The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001 กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001 กศน.

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001 กศน.

144
• ลมทะเล (Sea Breeze) เกิดในฤดรู อ นตามชายฝงทะเล ในเวลากลางวนั เมอ่ื พน้ื ดนิ ไดร บั ความรอ น
จากดวงอาทิตยจะมีอุณหภมู สิ ูงกวา พืน้ นา้ํ และอากาศเหนือพนื้ ดินเม่ือไดร บั ความรอ นจะขยายตัวลอยขึ้นสู
เบื้องบน อากาศเหนือพ้นื นํา้ ซง่ึ เย็นกวาจะไหลเขาไปแทนที่ เกิดลมจากทะเลพัดเขาหาฝงมีระยะทางไกล
ถงึ 16-48 กโิ ลเมตร และความแรงของลมจะลดลงเมื่อเขาถึงฝง
• ลมบก (Land Breeze) เกิดในเวลากลางคืน เมือ่ พนื้ ดนิ คายความรอนโดยการแผร งั สอี อก จะ
คายความรอ นออกไดเรว็ กวาพื้นนา้ํ ทาํ ใหมอี ณุ หภูมติ ํา่ กวา พืน้ นา้ํ อากาศเหนือพน้ื นํา้ ซ่งึ รอนกวาพนื้ ดนิ จะ
ลอยตวั ขน้ึ สูเบื้องบน อากาศเหนอื พ้นื ดนิ ซ่งึ เย็นกวาจะไหลเขาไปแทนท่ี เกิดเปนลมพัดจากฝงไปสูทะเล
ลมบก ซึ่งลมบกจะมีความแรงของลมออนกวาลมทะเล จึงไมสามารถพัดเขาสูทะเลไดระยะทางไกล
เหมอื นลมทะเล โดยลมบกสามารถพัดเขาสูทะเลมีระยะทางเพียง 8-10 กิโลเมตร เทา นัน้

2. ลมภเู ขาและลมหุบเขา (Valley Breeze) เปนลมประจําวันเชนเดียวกับลมบกและลมทะเล ลม
หุบเขา เกิดขึ้นในเวลากลางวัน อากาศตามภูเขาและลาดเขารอน เพราะไดรับความรอนจากดวงอาทิตย
เต็มที่ สวนอากาศที่หุบเขาเบื้องลางมีความเย็นกวาจึงไหลเขาแทนที่ ทําใหมีลมเย็นจากหุบเขาเบื้องลางพัด
ไปตามลาดเขาขึ้นสูเบื้องบน เรียกวา ลมหุบเขา

ภาพ : การเกิดลมหุบเขาและการเกิดลมภูเขา

3. ลมพดั ลงลาดเขา (Katabatic Wind) เปนลมที่พัดอยูตามลาดเขาลงสูหุบเขาเบื้องลาง ลมนี้มี
ลักษณะคลายกับลมภเู ขา แตมกี ําลงั แรงกวา สาเหตุการเกดิ เน่ืองจากลมเยน็ และมีนํา้ หนักมากเคล่ือนท่จี าก
ทีส่ งู ลงสูท ต่ี ่าํ ภายใตแรงดึงดดู ของโลก สว นใหญเ กดิ ขน้ึ ใน ชวงเวลากลางคืน เมื่อพื้นดินคายความรอน
ออก ในฤดูหนาวบริเวณทรี่ าบสูงภายในทวีปมีหมิ ะทับถมกนั อยู อากาศเหนอื พืน้ ดนิ เย็นลงมาก ทาํ ใหเปน
เขตความกดอากาศสูง ตามขอบที่ราบสูงแรงความชันความกดอากาศมีความแรงพอที่จะทําใหอากาศ
หนาว จากทส่ี งู ไหลลงสทู ตี่ ่าํ ได บางคร้งั จงึ เรียกวา ลมไหล (Drainage Wind) ลมนม้ี ีช่อื แตกตา งกันไปตาม
ทอ งถ่ินตาง ๆ เชน ลมโบรา ( Bora) เปน ลมหนาวและแหง มตี น กาํ เนดิ มาจากลมหนาวในสหภาพโซเวยี ต
(ป พ.ศ. 2534 เปล่ียนชอื่ เปนเครอื จกั รภพอสิ ระ) พัดขามภูเขาเขาสูชายฝงทะเลเอเดรียติกของประเทศ

145
ยูโกสลาเวีย จากทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ในฤดหู นาว เกดิ ขน้ึ ไดท ง้ั เวลากลางวนั และกลางคนื แตจะเกิดขึ้น
บอยและลมมีกําลังแรงจัดในเวลากลางคืนและสมมิสทราล ( Mistras) เปน ลมหนาวและแหง เชน เดยี วกบั
ลมโบรา แตมีความเร็วลมนอยกวา พัดจากภูเขาตะวันตกลงสูหุบเขาโรนทางตอนใตของประเทศฝรั่งเศส

ภาพ : ลมพัดลงลาดเขา
4. ลมชนี ุก (Chinook) เปนลมที่เกิดขึ้นทางดานหลังเขา มีลักษณะเปนลมรอนและแหง ความแรงลม
อยูในขั้นปานกลางถึงแรงจัด การเคลื่อนที่ของลมเปนผลจากความกดอากาศแตกตางกันทางดานตรงขาม
ของภูเขา ภูเขาดานที่ไดรับลมจะมีความกดอากาศมากและอากาศจะถูกบังคับใหลอยสูงขึ้นสูยอดเขา ซงึ่ จะ
ขยายตัวและพัดลงสูเบื้องลางทางดานหลังเขา ขณะที่อากาศลอยต่ําลง อุณหภมู ิจะคอ ย ๆ เพ่มิ สงู ขน้ึ ตาม
อตั ราการเปลยี่ นอุณหภูมิอะเดียแบติก จงึ เปน ลมรอ นและแหง ลมรอนและแหงที่พัดลงไปทางดานหลังเขา
ทางตะวนั ออกของเทอื กเขารอ็ กกี เรยี กวา ลมชีนุก บรเิ วณที่เกดิ ลมเปนบรเิ วณแคบ ๆ มีความกวางเพียง
2-3 รอ ยกโิ ลเมตร เทาน้นั และแผขยายจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของมลรัฐนิวเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา
ไปทางเหนือเขาสูแคนาดา ลมชีนุกเกดิ ขึน้ เม่ือลมตะวันตกชน้ั บนท่ีมีกาํ ลงั แรงพดั ขามแนวเทือกเขาเหนอื
ใตค อื เทือกเขาร็อกกี และ เทือกเขาแคสเกต อากาศทางดานเขาที่ไดรับลมถูกบังคับ ใหลอยขึ้น อณุ หภูมิ
ลดต่ําลง แตเมื่อลอยต่ําลงไปยังอีกดานของเขา อากาศจะถูกบีบ ทําใหม ีอณุ หภมู ิสูงข้นึ ถาลมที่มลี ักษณะ
อยางเดียวกบั ลมชนี ุก แตพัดไปตามลาดเขาของภูเขาแอลปในยุโรป เรียกวา ลมเฟหน ( Foehn) และถาเกิด
ในประเทศอารเจนตินา เรียกวา ลมซอนดา (Zonda)

146

ภาพ : ลักษณะการเกิดลมชีนุก
5. ลมซานตาแอนนา ( Santa Anna) เปน ลมรอ นและแหง พดั จากทางตะวนั ออก หรอื
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เขาสภู าคใตม ลรัฐแคลฟี อรเ นยี จะพดั ผา นบริเวณทะเลทรายและภูเขา จึงกลายเปน
ลมรอนและแหง ลมนี้เกิดขึ้นในเขตความกดอากาศสูงบริเวณแกรตเบซิน และเมื่อพดั ผานบรเิ วณใดจะ
กอใหเกดิ ความเสยี หายแกพืชผลบรเิ วณนน้ั โดยเฉพาะในฤดูใบไมผลิ เม่ือตน ไมต ิดผลออนและบรเิ วณท่ี
มลี มพดั ผา นจะมอี ุณหภูมิสูงขึ้น เชน เมอื่ ลมน้ีพัดเขาสภู าคใตม ลรัฐแคลฟิ อรเนีย ทําใหอ ณุ หภมู ิสูงกวา
บรเิ วณทไ่ี มมี ลมนพี้ ดั ผาน
6. ลมทะเลทราย (Desert Winds) เปนลมทองถิ่นเกิดในบริเวณทะเลทราย เวลาเกิดจะมาพรอมกับ
พายฝุ ุนหรอื พายทุ ราย คือ ลมฮาบูบ ( Haboob) มาจากคํา Hebbec ในภาษาอาหรับแปลวา ลม
ลมฮาบูบเวลาเกิดจะหอบเอาฝุนทรายมาดวย บริเวณที่เกิดไดแก ประเทศซูดานในทวีปแอฟริกา เฉล่ยี จะ
เกิดประมาณปละ 24 ครั้ง และบริเวณทะเลทราย ทางตะวันตกเฉียงใตของสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะทาง
ภาคใตของมลรัฐแอริโซนา
7. ลมตะเภาและลมวาว เปนลมทองถิ่นในประเทศไทย โดยลมตะเภาเปนที่พัดจากทิศใตไปยังทิศ
เหนือคือ พัดจากอาวไทยเขาสูภาคกลางตอนลาง พดั ในชว งเดือนกมุ ภาพนั ธถ ึงเดอื นเมษายน ซงึ่ เปนชว งท่ี
ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จะเปลี่ยนเปนลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต เปนลมที่นําความชื้นมาสูภาค
กลางตอนลาง ในสมัยโบราณลมนี้ จะชวยพัดเรือสําเภาซึ่งเขามาคาขายใหแลนไปตามลําน้ําเจาพระยา และ
พัดในชว งทีล่ มมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต จะเปลี่ยนเปนลมมรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนือ หรอื อาจจะเรยี กวา
ลมขาวเบา เพราะพัดในชวงที่ขาวเบากําลังออกรวง

147
เครื่องมือวดั อตั ราเร็วลม

เครอ่ื งมือวัดอตั ราเรว็ ลม เรยี กวา แอนนโิ มมเิ ตอร( Anemometer) มีหลายรูปแบบ บางรูปแบบทํา
เปนถุงปลอยลู บางรูปแบบทําเปนรูปถวย ครึ่งทรงกลม 3 - 4 ใบ วดั อตั ราเร็วลมโดยสังเกตการณยกตัวของ
ถุง หรอื นบั จาํ นวนรอบของถว ยทห่ี มนุ ในหนง่ึ หนว ยเวลา

เครื่องมือตรวจสอบทิศทางลม เราเรียกวา ศรลม สวนใหญมีลักษณะเปนลูกศร มหี างเปน แผน
ใหญ ศรลม จะหมุนรอบตัวตามแนวราบ จะลูลมในแนวขนานกับทิศทางที่ลมพัด เมื่อลมพัดมา หางลูกศร
ซ่งึ มีขนาดใหญจะถูกลมผลักแรงกวา หวั ลูกศร หัวลูกศรจึงชี้ไปทิศทางที่ลมพัดมา
เครือ่ งมือที่ใชใ นการวัดกระแสลม ไดแก

1. ศรลม
2. อะนโิ มมเิ ตอร
3. แอโรแวน

ภาพ : อะนโิ มมเิ ตอร

ผลของปรากฏการณท างลมฟา อากาศทม่ี ตี อมนุษยแ ละสิง่ แวดลอม
ประโยชนข องปรากฏการณทางลมฟาอากาศ
1. การเกิดลมจะชวยใหเกิดการไหลเวียนของบรรยากาศ
2. การเกิดลมสนิ คา
3. การเกดิ เมฆและฝน
4. การเกิดลมประจําเวลา
ผลกระทบและภยั อนั ตราย
1. ผลกระทบจากอิทธิพลของลมมรสุม เชน น้ําทวม น้ําทวมฉับพลัน
2. ผลกระทบจากอิทธิพลของลมพายุ เชน ตนไมลมทับ คลื่นสูงในทะเล
ปรากฏการณธรรมชาติ คือ การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ทั้งในระยะยาวและระยะสั้น

สภาพแวดลอมของโลกเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา ทั้งเปนระบบและไมเปนระบบ เปนส่ิงท่ีอยรู อบตัวเรา
มันสง ผลกระทบตอส่ิงมีชีวิตในธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงบางอยาง มผี ลกระทบตอส่ิงมีชีวิตอยา งรนุ แรง

148

ตวั อยา งเหตุการณท่ีพบเห็นท่ัวไป ฝนตก ฟารอ ง ฟาผา พายุ และเหตุการณท ไ่ี มพ บบอยนัก เชน โลกรอ น
สุรยิ ุปราคา ฝนดาวตก

ปฏกิ ริ ยิ าเรอื นกระจก เกิดจากมลภาวะของแกสที่ไดสรางขึ้นในชั้นบรรยากาศของโลกและ
ปองกันไมใ หความรอ นนั้นระเหยออกไปในอวกาศในตอนกลางคนื ผลท่ไี ดค ือโลกจะมอี ุณหภมู สิ ูงข้ึนที่
เรยี กวา การเพิ่มอุณหภูมิของผิวโลก แกส็ ท่ีกอเกดิ ภาวะเรือนกระจกคอื

149

มวลอากาศ (Air mass)
มวลอากาศ หมายถึง ลักษณะของมวลอากาศที่มีลักษณะอากาศภายในกลุมกอนขนาดใหญมาก มีความชื้น
คลายคลึงกัน ตลอดจนสว นตา ง ๆ ของอากาศเทากัน มวลอากาศจะเกดิ ขน้ึ ไดตอ เม่ืออากาศสว นนั้นอยูก ับ
ที่ และมีการสมั ผสั กับพ้ืนผวิ โลก ซึง่ จะเปน พ้นื ดินหรือพืน้ นาํ้ ก็ได โดยสัมผสั อยูเปนระยะเวลานาน ๆ จนมี
คุณสมบัตคิ ลายคลงึ กับพน้ื ผิวโลกในสว นนน้ั ๆ เราเรียกบรเิ วณพืน้ ผวิ โลกนัน้ วา "แหลง กาํ เนดิ " เมอ่ื เกดิ
มวลอากาศขนึ้ แลวมวลอากาศน้นั จะเคลอ่ื นทอ่ี อกไปยงั บรเิ วณอน่ื ๆ มีผลทําใหลักษณะของลมฟาอากาศ
บริเวณน้ัน ๆ เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากมีสภาพแวดลอมใหม มวลอากาศจะสามารถเคลื่อนที่ไดในระยะ
ทางไกล ๆ และยงั คงรักษาคุณสมบตั ิสว นใหญเอาไวได การจําแนกมวลอากาศแยกพิจารณาไดเปน 2 แบบ
โดยใชคุณสมบตั ิของอุณหภูมิเปนเกณฑ และการใชล กั ษณะของแหลงกําเนดิ เปน เกณฑในการพจิ ารณา
ดงั น้ี

2.1 การจําแนกมวลอากาศโดยใชอุณหภมู ิเปน เกณฑ

2.1.1. มวลอากาศอุน (Warm Air mass) เปน มวลอากาศที่มีอุณหภมู ิสูงกวา อุณหภูมิของอากาศผิวพ้นื ที่
มวลอากาศเคลื่อนที่ผาน มกั มีแนวทางการเคลอื่ นท่จี ากละตจิ ดู ตํ่าไปยงั บริเวณละตจิ ูดสงู ขึ้นไป ใช
สัญลักษณแทนดวยตวั อกั ษร " W "

2.1.2 มวลอากาศเย็น (Cold Air mass) เปน มวลอากาศทีม่ ีอณุ หภูมิตาํ่ กวาอณุ หภมู ิผวิ พืน้ ทีม่ วลอากาศ
เคล่ือนท่ีผาน เปนมวลอากาศที่เคลอื่ นที่จากบรเิ วณละติจดู สงู มายังบริเวณละติจูดตาํ่ ใชส ญั ลักษณแ ทน
ดวยอักษรตัว " K " มาจากภาษาเยอรมัน คอื " Kalt " แปลวา เยน็

2.2 การจาํ แนกมวลอากาศโดยใชแหลงกําเนิดเปน เกณฑ

2.2.1 มวลอากาศข้วั โลก (Polar Air-mass)

2.2.1.1 มวลอากาศขวั้ โลกภาคพ้นื สมทุ ร (Marine Polar Air mass)
มีแหลงกําเนิดจากมหาสมุทร เม่อื มวลอากาศชนดิ นี้เคลอื่ นตวั ลงมายังละตจิ ดู ต่ําจะเปนลกั ษณะของมวล
อากาศที่ใหความเย็นและชุมชื้น แหลง กาํ เนดิ ของ มวลลอากาศชนดิ นอ้ี ยูบริเวณมหาสมทุ รแปซฟิ กตอน
เหนอื ใกลชองแคบแบริ่ง และเคลื่อนที่เขาปะทะชายฝงทะเลของประเทศสหรัฐอเมริกา ทําใหอากาศหนาว
เยน็ และมฝี นตก ในทางกลบั กนั ถา มวลอากาศน้เี คล่อื นทีไ่ ปยังบรเิ วณละตจิ ูดสูง จะกลายเปนมวลอากาศ
อนุ เรยี กวา "มวลอากาศอุนขั้วโลกภาคพื้นสมุทร" มลี ักษณะอากาศอบอุนและชมุ ชนื้

2.2.1.2 มวลอากาศขัว้ โลกภาคพื้นทวปี (Continental Polar Air mass)
มีแหลงกาํ เนดิ อยูบนภาคพ้ืนทวปี ในเขตละติจูดตํ่า มลี กั ษณะเปน มวลอากาศเยน็ และแหง เมื่อมวลอากาศ
เคล่อื นทผ่ี านบรเิ วณใดจะทําใหม ีอากาศเยน็ และแหง ยกตัวอยา งเชน สําหรับประเทศไทยจะไดรับอิทธิพล

150

จากมวลอากาศชนิดนซี้ ง่ึ มแี หลงกาํ เนดิ อยูแ ถบไซบเี รีย เมื่อเคลื่อนที่ลงมายังละติจูดต่ํากวาลงมายังประเทศ
ไทยในชวงเดือนพฤศจิกายน ถงึ มกราคม ทาํ ใหป ระเทศไทยมอี ณุ หภมู ติ ํ่าลง ลักษณะอากาศเย็นและแหง
ในฤดหู นาว

2.2.2 มวลอากาศเขตรอ น (Topical Air mass)

2.2.2.1. มวลอากาศเขตรอนภาคพน้ื ทวปี (Continental Topical Air mass)
มแี หลงกําเนดิ บนภาคพ้ืนทวีป จะมีลกั ษณะการเคลื่อนท่ีจากละติจดู ตาํ่ ไปสูละติจูดสงู ลักษณะอากาศจะ
รอ นและแหง แลง ทาํ ใหบรเิ วณทมี่ วลอากาศเคล่ือนที่ผา นมลี ักษณะอากาศรอ นและแหงแลง จงึ เรียกมวล
อากาศนี้วา "มวลอากาศอุนเขตรอนภาคพื้นทวีป " แหลง กาํ เนดิ ของมวลอากาศชนดิ นอ้ี ยบู รเิ วณตอนเหนอื
ของประเทศแม็กซิโก และทางทิศตะวันตกเฉียงใตของประเทศสหรัฐอเมริกา ถาหากมวลอากาศนี้
เคล่อื นท่มี ายงั เขตละตจิ ดู ตํา่ จะทําใหอ ณุ หภมู ิของมวลอากาศลดต่าํ ลงกวา อณุ หภูมขิ องอากาศผวิ พ้นื ทม่ี วล
อากาศเคลื่อนที่ผานจึงกลายเปน "มวลอากาศเย็นเขตรอนภาคพื้นทวีป" มีลกั ษณะอากาศเยน็ และแหงแลง

2.2.2.2. มวลอากาศเขตรอนภาคพืน้ สมทุ ร (Marine Topical Air mass)
มีแหลงกําเนิดอยูบนภาคพื้นสมุทรจึงนําพาความชุมชื้น เม่อื เคลอ่ื นท่ผี านบรเิ วณใดจะทําใหเ กดิ ฝนตก และ
ถา เคลือ่ นทไี่ ปยังละตจิ ดู สูงจะทําใหอากาศอบอนุ ขนึ้ ยกตัวอยางเชน ถามวลอากาศเขตรอนภาคพื้นสมุทร
เคลื่อนที่จากมหาสมุทรอินเดียเขามายังคาบสมุทรอินโดจีนจะทําใหเกิดฝนตกหนักและกลายเปนฤดูฝน
เราเรียกมวลอากาศดังกลาววา "มวลอากาศอุนเขตรอนภาคพื้นสมุทร " ในทางกลับกันถามวลอากาศนี้
เคลอ่ื นทีไ่ ปยังเขตละติจดู ต่ําจัะมีผลทาํ ใหอุณหภมู ิลดตํา่ ลง อากาศจะเย็นและชุมชื้น เรยี กวา "มวลอากาศ
เย็นเขตรอนภาคพน้ื สมุทร" นอกจากมวลอากาศที่กลาวมาแลวยังมีมวลอากาศที่เกิดจากแหลงกําเนิดอื่น ๆ
อกี ไดแ ก เขตขวั้ โลก มีมวลอากาศอารกติก เปนมวลอากาศจากมหาสมุทรอารกติกเคลื่อนที่เขามาทางตอน
หนือของทวีปอเมริกา และมวลอากาศแอนตารกติก เปนมวลอากาศบริเวณขั้วโลกใต ซึ่งมีอากาศเย็นและ
เคลื่อนที่อยางรุนแรงมาก

3. แนวอากาศ (Air Front) หรอื แนวปะทะของมวลอากาศ
แนวอากาศ หรอื แนวปะทะมวลอากาศ เกิดจากสภาวะอากาศที่แตกตางกันมาก โดยมีอุณหภมู ิ

และความชื้นตางกันมากมาพบกัน จะไมผสมกลมกลืนกันแตจะแยกจากกัน โดยทส่ี ว นหนา ของมวล
อากาศจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปราง ลักษณะของมวลอากาศท่ีอนุ กวาจะถูกดนั ตัวใหลอยไปอยเู หนอื ลม่ิ
มวลอากาศเย็น เนื่องจากมวลอากาศอุนมีความหนาแนนนอยกวามวลอากาศเย็น แนวที่แยกมวลอากาศทั้ง
สองออกจากกนั เราเรยี กวา แนวอากาศ โดยทั่วไปแลวตามแนวอากาศหรือแนวปะทะอากาศจะมีลักษณะ
ของความแปรปรวนลมฟาอากาศเกิดขึ้น เราสามารถจําแนกแนวอากาศหรือแนวปะทะอากาศของมวล
อากาศได 4 ชนดิ ดงั น้ี

151

3.1 แนวปะทะของมวลอากาศอุน (Warm Front)
เกิดจากการที่มวลอากาศอุนเคลื่อนที่เขามายังบริเวณที่มีมวลอากาศเย็นกวา โดยมวลอากาศเย็นจะ

ยงั คงตวั บริเวณพนื้ ดนิ มวลอากาศอนุ จะลอยตวั สงู ข้ึน ซึ่งแนวของอากาศอุนจะมีความลาดชันนอยกวา
แนวอากาศเยน็ ซึ่งจากปรากฏการณแนวปะทะมวลอากาศอุนดังกลาวนี้ลักษณะอากาศจะอยูในสภาวะทรง
ตวั แตถ า ลกั ษณะของมวลอากาศอุนมีการลอยตวั ข้นึ ในแนวดิง่ (มีความลาดชันมาก ) จะกอใหเ กิดฝนตก
หนกั และพายฝุ นฟา คะนอง สงั เกตไดจ ากการเกดิ เมฆฝนเมฆนมิ โบสเตรตสั หรอื การเกดิ ฝนซู หรอื เรยี ก
อีกอยางหนง่ึ วาฝนไลช าง

3.2 แนวปะทะของมวลอากาศเย็น (Cold Front)
เมอื่ มวลอากาศเย็นเคล่อื นตัวลงมายังบรเิ วณทม่ี ลี ะติจดู ตาํ่ มวลอากาศเยน็ จะหนกั จงึ มีการเคลอ่ื น

ตวั ติดกบั ผิวดนิ และจะดนั ใหม วลอากาศอนุ ทม่ี คี วามหนาแนน นอ ยกวา ลอยตัวขึ้นตามความลาดเอียง ซ่งึ มี
ความลาดชันมากถึง 1:80 ซึ่งปรากฏการณดังกลาวตามแนวปะทะอากาศเย็นจะมีสภาพอากาศแปรปรวน
มาก มวลอากาศรอนถูกดันใหล อยตวั ยกสงู ข้ึน เปนลกั ษณะการกอตวั ของเมฆ ควิ มูโลนิมบสั
(Cumulonimbus) ทองฟาจะมืดครึม เกิดพายฝุ นฟาคะนองอยางรนุ แร u3591 . เราเรยี กบริเวณดงั กลา ววา
“แนวพายฝุ น” (Squall Line)

3.3 แนวปะทะของมวลอากาศซอน (Occluded Front)
เม่อื มวลอากาศเย็นเคลือ่ นทใ่ี นแนวทางติดกับแผนดนิ จะดนั ใหม วลอากาศอุนใกลกบั ผวิ โลก

เคลอ่ื นทไ่ี ปในแนวเดยี วกนั กบั มวลอากาศเยน็ มวลอากาศอนุ จะถกู มวลอากาศเยน็ ซอ นตวั ใหลอยสูงขึ้น
และเนื่องจากมวลอากาศเย็นเคลื่อนตัวไดเร็วกวาจึงทําใหมวลอากาศอุนชอนอยูบนมวลอากาศเย็น เราเรยี ก
ลักษณะดังกลาวไดอีกแบบวาแนวปะทะของมวลอากาศปด ลักษณะของปรากฏการณด ังกลาวจะทําใหเ กิด
เมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus) และทาํ ใหเ กดิ ฝนตก หรือพายุฝนไดเชน กนั

3.4 แนวปะทะมวลอากาศคงที่ (Stationary Front)
นอกจากแนวปะทะอากาศดังกลาวมาแลวนั้นจะมีลักษณะแนวปะทะอากาศของมวลอากาศคงที่

อกี ชนดิ หนง่ึ (Stationary Front) ซึ่งเปนแนวปะทะของมวลอากาศที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของมวลอากาศ
อุนและมวลอากาศเย็นเขาหากัน และจากสภาพที่ทั้งสองมวลอากาศมีแรงผลักดันเทากัน จงึ เกดิ ภาวะ
สมดุลของแนวปะทะอากาศขึ้น แตจ ะเกดิ ในชว่ั ระยะเวลาใดเวลาหนง่ึ เทา นน้ั เมื่อมวลอากาศใดมี
แรงผลักดันมากขึ้นจะทําใหลักษณะของแนวปะทะอากาศเปลี่ยนไปเปนแนวปะทะอากาศแบบอื่น ๆ ทันที

152

4. พายุหมุน
พายุหมุนเกิดจากศูนยกลางความกดอากาศต่ําทําใหบริเวณโดยรอบศูนยกลางความกดอากาศต่ําซึง่

กค็ อื ความกดอากาศสูงโดยรอบจะพัดเขาหาศูนยกลางความกดอากาศต่ํา ขณะเดียวกันศูนยกลางความกด
อากาศตาํ่ จะลอยตวั สงู ขน้ึ และเยน็ ลงดว ยอตั ราอะเดยี เบตกิ (อณุ หภูมิลดลงเม่ือความสงู เพิ่มข้นึ ) ทาํ ใหเกดิ
เมฆและหยาดนาํ้ ฟา พายุหมุนจะมีความรุนแรงหรือไมขึ้นอยูกับอัตราการลดลงของความกดอากาศ
ถาอัตราการลดลงของความกดอากาศมีมากจะเกิดพายุรุนแรเงราสามารถแบงพายุหมุนออกเปน3 กลุม ดงั น้ี

4.1. พายุหมนุ นอกเขตรอ น
พายหุ มนุ นอกเขตรอ น หมายถึง พายหุ มนุ ที่เกิดขึ้นในเขตละตจิ ูดกลางและเขตละติจดู สงู ซึง่ ใน

เขตละติจูดดังกลาวจะมีแนวมวลอากาศเย็นจากขั้วโลกหรือมหาสมุทรอารกติก เคลื่อนตัวมาพบกับมวล
อากาศอุนจากเขตกึ่งโซนรอน มวลอากาศดังกลาวมีคุณสมบัติตางกัน แนวอากาศจะเกดิ การเปลย่ี นโดยเรม่ิ
มีลกั ษณะโคงเปน รปู คลu่ื 3609 . อากาศอนุ จะลอยตัวสูงขึ้นเหนอื อากาศเยน็ ซง่ึ เชน เดยี วกบั แนวอากาศเยน็
ซ่งึ จะเคล่ือนทีเ่ ขาแทนท่แี นวอากาศอุน ทําใหม วลอากาศอุนลอยตวั สงู ขนึ้ และจากคณุ สมบตั ิการเคลอื่ นที่
ของมวลอากาศเย็นทีเ่ คลอ่ื นตวั ไดเรว็ กวา แนวอากาศเย็นจึงเคลื่อนไปทันแนวอากาศอุน ทาํ ใหเ กดิ ลักษณะ
แนวอากาศรวมขน้ึ และเกดิ หยาดนาํ้ ฟา เม่ืออากาศอนุ ท่ถี ูกบงั คับใหลอยตวั ขึ้นหมดไปพายหุ มนุ กส็ ลายตัว
ไป อยางไรก็ตามเวลาที่เกิดพายุหมุนนั้นจะเกิดลักษณะของศูนยกลางความกดอากาศขึ้น ซงึ่ ก็คอื
ศูนยกลางความกดอากาศต่ํา ลมจะพัดเขาหาศูนยกลาง (ความกดอากาศสูงเคลื่อนที่เขาหาศูนยกลางความ
กดอากาศต่ํา ) ซ่งึ ลมพัดเขา หาศูนยก ลางดงั กลา วในซีกโลกเหนือ มีทิศทางการพัดวนทวนเข็มนาฬิกา
สวนในซีกโลกใตมีทิศทางตามเข็มนาฬิกา ซึ่งเปนผลมาจากการหมุนของโลกนั่นเอง

4.2 พายทุ อรน าโด (Tornado)
พายุทอรนาโด เปนพายุขนาดเล็กแตมีความรุนแรงมากที่สุด มักเกิดในประเทศสหรัฐอเมริกา และ

นอกนน้ั เกดิ ทแ่ี ถบประเทศออสเตรเลยี พายุดังกลาวเกิดจากอากาศเคลื่อนที่เขาหาศูนกลางความกดอากาศ
ตํ่าอยา งรวดเรว็ ลักษณะพายุคลายปลองไฟสีดําหอยลงมาจากเมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus) ในมวล
พายุมีไอนาํ้ และฝนุ ละออง ตลอดจนวตั ถตุ า ง ๆ ที่ถกู ลมพดั ลอยขึน้ ไปดวยความเร็วลมกวา 400 กโิ ลเมตร /
ชั่วโมง เมื่อพายุเคลื่อนที่ไปในทิศทางใดฐานของมันจะกวาดทุกอยางบนพื้นดินขึ้นไปดวย กอ ใหเ กดิ ความ
เสียหายมาก พายุทอรน าโดจะเกิดในชวงฤดูใบไมผลิ และฤดรู อ น เนื่องจากมวลอากาศขั้วโลกภาคพื้น
สมุทรมาเคลื่อนที่พบกับมวลอากาศเขตรอนภาคพื้นสมุทร และถาเกดิ ขน้ึ เหนือพ้นื น้ําเราเรยี กวา "นาคเลน
นา้ํ " (Waterspout)

153

4.3 พายุหมนุ เขตรอ น
พายหุ มนุ เขตรอ น เปน พายหุ มุนที่เกดิ ขึ้นในเขตรอนบรเิ วณเสน ศูนยส ูตรระหวา ง 8 - 12 องศา

เหนอื และใต โดยมากมักเกิดบรเิ วณพ้นื ทะเลและมหาสมทุ รท่ีมีอุณหภูมิของนา้ํ สูงกวา 27 องศาเซลเซยี ส
พายุหมุนเขตรอนเปนลักษณะของบริเวณความกดอากาศต่ํา ศูนยกลางพายุเปนบริเวณที่มีความกดอากาศ
ต่าํ มากทีส่ ุด เรียกวา "ตาพายุ" (Eye of Storm) มีลักษณะกลม และกลมรี มขี นาดเสน ผาศูนยก ลางตัง้ แต 50
- 200 กโิ ลเมตร บริเวณตาพายุจะเงียบสงบ ไมม ลี ม ทองฟาโปรง ไมมีฝนตก สว นรอบๆ ตาพายุจะเปน
บรเิ วณทีม่ ลี มพัดแรงจัด มีเมฆครม้ึ มีฝนตกพายุรนุ แรง พายุหมุนเขตรอนจัดเปนพายุที่มีความรุนแรงมาก
เกิดจากศูนยกลางความกดอากาศต่ํา ที่มีลมพัดเขาหาศูนยกลาง ในซีกโลกเหนือทิศทางการหมุนของลมมี
ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา สวนซีกโลกใตมีทิศทางตามเข็มนาฬิกา ความเร็วลมเขาสูศูนยกลางอยูระหวาง 120
- 200 กโิ ลเมตร/ชวั่ โมง พายุในเขตนี้จะมฝี นตกหนกั องคการอุตุนิยมวิทยาโลกแบงประเภทพายุหมุนตาม
ความเร็วใกลศูนยกลางพายุ โดยแบงตามระดับความรุนแรง ไดด งั น้ี

พายุดเี ปรสช่นั (Depression) ความเรว็ ลมนอ ยกวา 63 กโิ ลเมตร/ ชว่ั โมงเปน พายอุ อ นๆมีฝนตกบางถงึ หนกั

พายุโซนรอน (Tropical Storm) ความเร็วลม 64 - 115 กโิ ลเมตร / ชัว่ โมง มีกําลังปานกลางมีฝนตกหนัก

พายุหมุนเขตรอ น หรือพายไุ ซโคลนเขตรอ น (Tropical Cyclone) ความเร็วลม มากกวา115 กโิ ลเมตร
ตอ ช่วั โมง เปนพายทุ มี่ กี าํ ลงั แรงสูงสุด มฝี นตกหนกั มาก บางครั้งจะมีพายุฝนฟาคะนองดวย พายุหมุนเขต
รอ นมีชอ่ื เรยี กตาง ๆ กนั ตามแหลง กาํ เนดิ ดงั น้ี

ถาเกิดในมหาสมุทรแปซิฟก และทะเลจนี ใต เรยี กวา ใตฝ นุ (Typhoon)
ถา เกดิ ในอา วเบงกอล และทะเลอาหรบั เรียกวา พายุไซโคลน (Cyclone)
ถา เกดิ ในแอตแลนตกิ และทะเลแคริบเบียน เรยี กวา พายเุ ฮอรร เิ คน (Hurricane)
ถาเกิดในทะเลประเทศฟลิปปนส เรยี กวา พายุบาเกียว (Baguio)
ถา เกดิ ทท่ี ะเลออสเตรเลยี เรียกวา พายุวิลลี วิลล่ี (Willi-Willi)

154

4.3.1 การเกิดพายหุ มุนเขตรอน
การเกดิ พายุหมุนเขตรอน มกั เกิดบรเิ วณแถบเสนศูนยส ูตรบริเวณละติจูด 8 - 15 องศาเหนือ ใต

ดังกลาวมาแลวขางตน สว นบรเิ วณเสน ศนู ยส ตู รจะไมเ กดิ การกอ ตัวของพายุหมุนแตอ ยา งใด เนื่องมาจากไมมี
แรงลม "คอรอิ อรสิ " (ซึ่งเปนแรงเหวี่ยงที่เกิดจากการหมุนรอบตัวเองของโลก บรเิ วณเสนศูนยสตู รจะมีคา เปน
ศนู ย) ลําดับการเกิดของพายุหมุนเขตรอนเปนดังนี้

1. สภาวะการกอตัว (Formation) มกั เกิดการกอ ตัวบรเิ วณทะเล หรือมหาสมุทร ทีม่ อี ุณหภมู ิสงู
กวา 27 องศาเซลเซยี ส

2. สภาวะทวีกาํ ลังแรง จะเกิดบริเวณศูนยกลางความกดอากาศต่ํา เกิดลมพัดเขา สศู นู ยกลาง มีเมฆ
และฝนตกหนกั เปน บรเิ วณกวา ง

3. สภาวะรุนแรงเต็มท่ี (Mature Stage) มกี าํ ลังลมสงู สุด ฝนตกเปนบริเวณกวางประมาณ
500 - 1,000 กโิ ลเมตร

4. สภาวะสลายตัว (Decaying Stage) มกี ารเคลื่อนตัวเขาสูภาคพ้ืนทวีป และลดกําลังแรงลง
อันเน่อื งมาจากพืน้ แผนดินมีความชนื้ นอยลง และพัดผานสภาพภูมิประเทศที่มีความตางระดับ ทําใหพายุ
ออ นกําลังลงกลายเปนดเี ปรสช่นั และสลายตัวลงไปในที่สุด

4.3.2 พายหุ มนุ เขตรอ นในประเทศไทย
สว นใหญเกอื บท้ังหมดเปนพายหุ มุนเขตรอนท่ีเกดิ ในมหาสมุทรแปซิฟก หรอื ในทะเลจนี ใต และ

การเคลื่อนตัวเขาสูประเทศไทย นอกนน้ั กอ ตวั ในเขตมหาสมทุ รอนิ เดยี เมื่อพิจารณาประกอบกับสภาพ
ทางภูมิศาสตรของประเทศไทยในดานทําเลที่ตั้ง พบวา มกั ไมค อ ยไดรบั อทิ ธพิ ลจากพายุใตฝนุ (Typhoon)
มากนัก เนื่องจากทิศทางการเคลื่อนตัวโดยสวนมากมีการเคลื่อนตัวจากทางดานทะเลจีนใต เคล่ือนเขาสู
ประเทศไทยทางบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรอื ภาคเหนอื ในชวงเดือนกรกฎาคม ถงึ เดอื นกนั ยายน
โดยมากมักออนกําลังลงกลายเปนพายุดีเปรสชั่น หรือสลายตัวกลายเปนหยอมความกดอากาศต่ําเสียกอน
เนื่องจากพายุเคลอ่ื นตวั เขา สแู ผนดินจะออ นกําลงั ลงเมอ่ื ปะทะกับลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเทอื กเขาสงู แถบ
ประเทศเวียดนาม กมั พูชา และเทือกเขาชายแดนของประเทศไทยเสียกอน ระบบการหมุนเวียนของลมจึง
ถกู กดี ขวาง เปน เหตุทําใหพ ายุออ นกําลังลงนั่นเอง สวนทางดานภาคใตของประเทศไทยมีลักษณะภูมิ
ประเทศที่เปนคาบสมุทรยื่นยาวออกไปในทะเล ชายฝงทะเลภาคใตทางดานทิศตะวันตกมีแนวเทือกเขาสูง
ชนั ทอดตวั ยาวตลอดแนวจงึ เปน แนวกนั พายไุ ดด ี สวนทางดานภาคใตทางฝงทิศตะวันออกไมมีแนวกําบัง
ดังกลาวทําใหเกิดความเสียหายจากพายุไดงายกวา โดยมากมักเกิดพายุเขามาในชวงเดือนตุลาคม ถงึ เดอื น
ธนั วาคม เปน ตน ตวั อยา งเชน ความเสียหายรายแรงจากพายุใตฝุนเกย ที่พัดเขาทางดานภาคใตทางดานฝง
ทะเลตะวันออกของประเทศเมื่อ วนั ท่ี 4 พฤศจิกายน 2532 ทําใหเกิดความเสียหายเปนอยางมาก โดยทว่ั ไป
ประเทศไทยมักจะไดรับอิทธิพลจากพายุดีเปรสชั่นมากที่สุด โดยเฉลย่ี ปล ะ 3 - 4 ลูก สําหรับการเกิดพายุ
หมนุ เขตรอ นในประเทศไทยมกั เกดิ ในฤดฝู น ตั้งแตเ ดือนพฤษภาคม เปน ตน ไปจนถงึ เดอื นตลุ าคม จะเปน

155

พายุหมุนเขตรอนทีก่ อ ตัวข้นึ ในบริเวณมหาสมุทรอนิ เดยี บริเวณมหาสมุทรแปซิฟกและทะเลจีนใต
สามารถแยกพิจารณาไดดังนี้

ชวงเดือนพฤษภาคม กอนเขาฤดูฝนอาจจะมีพายุไซโคลนจากอาวเบงกอล เคลอ่ื นตัวเขาสปู ระเทศ
ไทยทางดานทิศตะวันตก ทําใหมีผลกระทบตอภาคตะวันตกของประเทศ
ชวงเดือนกรกฎาคม ถงึ เดอื นกนั ยายน อาจจะมีพายุใตฝุนในมหาสมุทรแปซิฟกพัดผานเขามาทางภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบน ทาํ ใหม ีผลกระทบตอ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ และภาคเหนอื ตอนบน

ชว งเดอื นกนั ยายน ถึงปลายเดือนตุลาคม อาจจะมีพายหุ มุนเขตรอ นในทะเลจนี ใตพัดผา นเขา มา
ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง ทําใหมผี ลกระทบตอภาคตะวนั ออก ภาคกลาง ตอนลางของ
ภาคเหนอื และตอนลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งเขตกรุงเทพมหานคร และปรมิ ณฑล

สําหรับชวงตนฤดูหนาวประมาณเดือนพฤศจิกายนถึงตนเดือนมกราคม มักจะมีความกดอากาศต่ํา
ในตอนลางของทะเลจีนใตพัดผานเขามาในอาวไทย ทาํ ใหมผี ลกระทบตอ ภาคใตฝ ง ตะวนั ออกต้งั แต
จังหวัดชุมพรลงไป

ปจจุบันเราสามารถทราบไดลวงหนาถึงการเกิดพายุหมุนเขตรอนและทิศทางการเคลื่อนที่โดยการ
ใชเครื่องมือตรวจอากาศที่ทันสมัย ไดแ ก ดาวเทียมอตุ นุ ิยมวิทยา เรดารต รวจอากาศ เปน ตน อยางไรก็ตาม
ผลกระทบจากความเสียหายอันเนื่องมาจากพายุหมุนเขตรอน อาทิเชน ฝนตกหนักตดิ ตอ กนั อาจทําใหเ กดิ
นาํ้ ปา ไหลหลากได ทําใหเสนทางคมนาคมถูกตัดขาดรวมทั้งแนวสายไฟฟา และเสาไฟฟา พนื้ ท่ี
เกษตรกรรมไดรับความเสียหาย ตลอดจนทาํ ใหเ รอื เลก็ และเรอื ใหญอ บั ปางได

4.3.3 การเรียกชอ่ื พายุหมุน
สาํ หรบั ในเขตภาคพน้ื มหาสมทุ รแปซฟิ ก เหนอื ดา นตะวนั ตก และทะเลจนี ใต นกั อุตุนิยมวิทยาได

ตงั้ ชอ่ื พายไุ ว 5 ชุด แตล ะชดุ ประกอบดวยชอ่ื พายุหมุน 28 ชอื่ โดยความรวมมือในการเสนอชื่อของ 14
ประเทศในแถบภูมิภาคดังกลาว นํามาใชเปนชื่อพายุหมุนเขตรอน การใชจะใชหมุนเวียนกันไปตามแถว
โดยเริม่ ตัง้ แตแถวแรกของสดมภท่ี 1 ไปจนถึงชื่อสุดทายของสดมภ แลวจึงขึ้นไปใชชื่อของแถวแรกของ
สดมภท ่ี 2 เชน "ดอมเรย"(Damrey) ไปจนถงึ "ทรามี" (Trami) แลว จึงขึน้ ไปท่ี "กองเรย" (Kong-Rey) เปน
ตน สําหรับประเทศไทยไดเสนอชื่อพายุหมุนเขตรอน คือ พระพริ ณุ , วภิ า, เมขลา, นดิ า , กหุ ลาบ, ทเุ รียน,
รามสูร, หนมุ าน , ชบา และขนนุ ( ตารางที่ 1)

156

ตารางที่ 1 แสดงรายชอ่ื พายหุ มนุ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในมหาสมทุ รแปซฟิ ก ตอนเหนอื ดา นตะวนั ตก

ประเทศที่ตงั้ ชือ่ สดมภท ่ี 1 สดมภท ่ี 2 สดมภที่ 3 สดมภที่ 4 สดมภท่ี 5

Cambodia ดอมเรย กองเรย นากรี กรอวาญ สารกิ า

China หลงหวาง ยทู ู ฟงเฉิน ตูเจี๊ยน ไหหมา

Dpr Korea โคโรจิ โทราจิ คาเมจิ เมมิ มอิ ะริ

Hk.China ไคตก๊ั มานยี่ ฟอ งวอง ฉอยหวน่ั มางอน

Japan เทมบิน อุซางิ คัมมุริ ขอบปุ โทะคาเงะ

Loa Pdr. โบลาเวน ปลาบึก พนั ฝน เกศนา นกเตน

Macau จนั จู วทู บิ หวงั ฟง พารมา มยุ ฝา

Malaysia เจอลาวตั เซอพตั รซู า มเี ลอ เมอรบ คุ

Micronesia เอวนิ ลา ฟโ ท ซินลากู เนพาทัค นนั มาดอล

Philippines บิลิส ดานสั ฮากุปด ลปู ค ทาลัส

Ro Korea เกมี นารี ซังมี ซดู าล โนรู

Thailand พระพริ ณุ วภิ า เมขลา นดิ า กหุ ลาบ

U.S.A. มาเรีย ฟรานซสิ โก ฮโี กส โอเมส โรเค

Viet Nam เซลไม เลคคีมา บาวี คอนซอน ซอนคา

Cambodia โบพา กรอซา ไมส กั จนั ทู เนสาด

China หวคู ง ไหเย่ียน ไหเ ฉิน เตย้ี มู ไหถ งั

Dpr Korea โซนามุ โพดอล พงโซนา มนิ ดอนเล นอเก

Hk.China ซานซาน แหลง แหลง ยนั ยนั เทงเทง บนั หยนั

Japan ยางิ คะจคิ ิ คจุ ริ ะ คอมปาซิ วาชิ

Loa Pdr. ชางสาร ฟาใส จนั ทรห อม น้าํ ตน มัทสา

Macau เบบินกา ฮวั เหมย หลนิ ฝา หมาเหลา ซนั หวู

Malaysia รมั เบีย ทาปา นังกา เมอรนั ติ มาวา

Micronesia ซูลิค มิเทค ซูเดโล รานานิม กโู ซว

Philippines ซิมารอน ฮาจิบิส อมิ บโุ ด มาลากัส ทาลิม

Ro Korea เซบี โนกรู ี โกนี เมกิ นาบี

Thailand ทุเรียน รามสรู หนมุ าน ชบา ขนนุ

U.S.A. อโู ท ซาทาน อโี ท โคโด วนิ เซนเต

Viet Nam ทรามี ฮาลอง แวมโค ซองดา เซลลา

ที่มา : ศนู ยอ ตุ นุ ยิ มวทิ ยาภาคเหนอื จงั หวดั เชยี งใหม ,2544.

157

5. พายุฝนฟาคะนอง (Thunderstorm)
พายฝุ นฟา คะนอง หมายถึง อากาศทม่ี ีฝนตกหนกั มีฟา แลบฟารอง เปนฝนที่เกิดจากการพาความ

รอ น มลี มพดั แรง เกิดอยางกระทนั หันและยตุ ิลงทนั ทที ันใด พายุฝนฟาคะนองเกิดจากการที่อากาศไดรับ
ความรอนและลอยตัวสูงขึ้นและมีไอน้ําในปริมาณมากพอ ประกอบกับการลดลงของอุณหภูมิ จงึ เกิดการ
กลน่ั ตวั ควบแนน ของไอนาํ้ และเกดิ พายฝุ นฟา คะนอง พายุฝนฟาคะนองประกอบดวยเซลลอากาศจํานวน
มาก ในแตล ะเซลลจ ะมอี ากาศไหลขน้ึ และลงหมนุ เวยี นกนั พายุฝนฟาคะนองเกิดมากในเขตรอน เนอ่ื งจาก
อากาศชนื้ มากและมีอณุ หภูมสิ ูง ทําใหมีสภาวะอากาศไมทรงตัว พายุฝนฟาคะนองมักเกิดจากเมฆคิวมู
โลนมิ บัส (Cumulonimbus)
5.1 ขัน้ ตอนการเกิดพายฝุ นฟาคะนอง
5.1.1 ระยะการเกดิ เมฆควิ มูลสั (Cumulus Stage) หรือข้นั กอตวั เมอ่ื อุณหภูมผิ วิ พ้ืนเพม่ิ สงู ขึน้ จะทาํ ให
มวลอากาศอุนลอยตัวขึ้นบน เกดิ การกลัน่ ตัวของไอน้าํ เปน เมฆคิวมูลัส (Cumulus) มวลอากาศรอนจะ
ลอยตวั สูงขนึ้ เรอื่ ย ๆ ทําใหมวลอากาศยกตัวสูงขึ้นสูเบื้องบนตลอด และเร็วขน้ึ
5.1.2 ระยะการเกิดพายุ (Mature Stage)

ระยะนี้พายุจะเริ่มพัดเกิดกระแสอากาศจมตัวลม เนื่องจากฝนตกลงมาจ ะดึงเอามวลอากาศใหจม
ตวั ลงมาดว ย และมวลอากาศอุนก็ยังคงลอยตัวขึ้นเบื้องบนตอไป จากผลดังกลาวทําใหเกิดสภาพอากาศ
แปรปรวน และลมกระโชกแรง เนื่องมาจากมวลอากาศในกอนเมฆมีความแปรผันมาก มกี ารหมนุ เวยี น
ของกระแสอากาศขึ้นลง เกดิ ฟา แลบ ฟารอง รวมทั้งอาจมีลูกเหบ็ ตกดว ยเชน กัน
5.1.3 ระยะสลายตัว (Dissipating Stage)
เปนระยะสดุ ทา ยเมอ่ื ศูนยกลางพายจุ มตัวลงใกลพ ้ืนดนิ รูปทรงของเมฆจะเปลี่ยนจากเมฆคิวมูโลนิมบัส
(Cumulonimbus) เปน เมฆอลั โตสเตรตสั (Altostratus) หรอื เมฆซโี รควิ มูลัส (Cirrocumulus) ฝนจะเบา
บางและหายไปในที่สุด

อยางไรก็ตามการเกิดพายุฝนฟาคะนองดังกลาว หากมีศูนยกลางพายุหลายศูนยกลางจะทําใหเกิด
พายุฝนฟาคะนองยาวนานมาก และเกิดกระแสอากาศที่รุนแรงมากจนสามารถทําใหเกิดลูกเห็บได
ชวงเวลาของการเกิดพายุฝนฟาคะนองประมาณ 1 - 2 ชั่วโมง
5.2 ชนดิ ของพายฝุ นฟาคะนอง
5.2.1 พายุฝนฟาคะนองพาความรอน (Convectional Thunderstorm)

เปนพายุฝนที่เกิดจากการพาความรอน ซง่ึ มวลอากาศอุนลอยตัวสูงขน้ึ ทําใหอุณหภมู ขิ องอากาศ
เยน็ ลง ไอน้ําจะกลั่นตัวกลายเปนเมฆควิ มโู ลนมิ บสั (Cumulonimbus) และเกดิ เปน พายฝุ นฟา คะนอง มกั
เกิดเนื่องจากโลกไดรับความรอนจากดวงอาทิตย ทําใหพนื้ ดนิ รอ นขนึ้ มาก อากาศบรเิ วณพ้นื ดนิ จะลอย
สงู ขน้ึ เกดิ เปน เมฆควิ มโู ลนมิ บสั (Cumulonimbus) มกั เกิดในชวงบา ยและเยน็ ในวันท่ีอากาศรอนจัด

158

5.2.2 พายฝุ นฟา คะนองภเู ขา (Orographic Thunderstorm)
เกิดจากการที่มวลอากาศอุนเคลื่อนที่ไปปะทะกับภูเขา ขณะที่มวลอากาศเคลื่อนที่ไปตามลาดเขา

อากาศจะเย็นตัวลง ไอนา้ํ กลนั่ ตัวกลายเปนเมฆควิ มโู ลนมิ บสั (Cumulonimbus) ทําใหเ กิดลักษณะของฝน

ปะทะหนาเขา พายลุ ักษณะนจ้ี ะเกิดบริเวณตนลมของภเู ขา เมฆจะกอ ตวั ในแนวตง้ั สงู มาก ทําใหล กั ษณะ

อากาศแปรปรวนมาก
5.2.3. พายุฝนฟา คะนองแนวปะทะ (Frontal Thunderstorm)
เกิดจากการปะทะกันของมวลอากาศ มักเกิดจากการปะทะของมวลอากาศเย็นมากกวา

มวลอากาศอุน มวลอากาศอุนจะถูกดนั ใหยกตัวลอยสูงขน้ึ ไอนํ้ากล่ันตัวกลายเปนเมฆคิวมูโลนิมบสั

(Cumulonimbus) และเกิดเปนพายุฝนฟาคะนองแนวปะทะอากาศเย็น อากาศเย็น มวลอากาศอุน

เคลือ่ นทไ่ี ป การเคลื่อนที่มาปะทะกันของปะทะภูเขา มวลอากาศอุนและเย็น ทําใหเกดิ พายฝุ นฟา คะนอง
5.3 ปรากฏการณท เ่ี กิดจากพายฝุ นฟาคะนอง
ขณะเกดิ พายุฝนฟา คะนองจะเกิดฟาแลบ ฟารอ ง ฟาผา ลูกเหบ็ ตก มีลมกระโชกแรงเปนครั้ง

คราว โดยในรอบ 1 ป ทั่วโลกมพี ายุฝนฟา คะนองเกิดข้ึนถงึ 16 ลา นครง้ั โดยเฉพาะในเขตละตจิ ดู สงู และใน

เมืองท่อี ากาศรอนช้นื จะมีจํานวนวนั ท่ีมพี ายุฝนฟาคะนองเกดิ ไดถ งึ 80 - 160 วนั ตอ ป สําหรับประเทศไทยมัก

เกดิ มากในเดอื น เมษายน - พฤษภาคม เปนชวงท่ีเกิดพายุฝนฟาคะนองมากท่สี ดุ
5.3.1 การเกิดฟาแลบ เกดิ ข้นึ พรอมกบั ฟารอง แตม นษุ ยเรามองเห็นฟา แลบกอ นไดย ินเสยี งฟา รอง
เนื่องจากแสงเดินทางเร็วกวาเสียง (แสงมอี ตั ราเร็ว 300,000 กโิ ลเมตร/วนิ าที สวนเสยี งมอี ตั ราเรว็ 1/3 ของ

แสง) ประกายไฟฟาของฟาแลบ 1 ครง้ั มปี ริมาณไฟฟา จาํ นวนสูงถงึ 200,000 แอมแปร และมีความตาง

ศกั ยถ งึ 30 ลา นโวลต ฟาแลบเกิดจากประจไุ ฟฟาเคล่ือนที่จากกอนเมฆสูกอ นเมฆ จากกอ นเมฆสพู ้นื ดิน

โดยมขี นั้ ตอนคอื ประจไุ ฟฟา ที่เคลอื่ นท่ีถายเทในกอนเมฆมกี ารเคลื่อนทหี่ ลดุ ออกมาและถายเทสูอาคาร

สง่ิ กอ สราง หรือตนไมส งู บนพน้ื ดิน เหตกุ ารณเ หลานีใ้ ชเ วลานอยกวา 1 วนิ าที และเกดิ เปน แสงของฟา

แลบ ซึ่งบางครั้งลําแสงมีความยาวถึง 60 - 90 เมตร
5.3.2 การเกิดฟารอ ง เนื่องจากประกายไฟฟาของฟาแลบทาํ ใหอากาศในบริเวณนัน้ มีอณุ หภูมสิ งู ข้นึ ถงึ
ประมาณ 25,000 องศาเซลเซยี ส อยางเฉียบพลัน มีผลทําใหอากาศมีการขยายตัวอยางรวดเร็วและรุนแรง

ทําใหเ กิดเสยี ง "ฟารอง" เนื่องจากฟารอ งและฟา แลบเกดิ ขึ้นพรอมกนั ดังน้ันเมื่อเรามองเหน็ ฟา แลบ และ

นับจาํ นวนวินาทตี อไปจนกวา จะไดย ินเสียงฟารอง เชน ถา นบั ได 3 วนิ าที แสดงวาฟาแลบอยูหางจากเรา

ไปประมาณ 1 เมตร และสาเหตุทเี่ ราไดยินเสียงฟารอ งครวญครางอยางตอเนื่องไปอกี ระยะหนง่ึ เนอ่ื งจาก

มีสาเหตุมาจากการเดินทางของเสียงมีความตางกันในเรื่องของระยะเวลาและระยะทางที่คาบเกี่ยวกัน

นน่ั เอง

159

5.3.3 การเกดิ ฟาผา เปนปรากฏการควบคูกันกั บฟา แลบ และฟา รอ ง เน่ืองจากประจไุ ฟฟาไดมีการหลุด
ออกมาจากกลุมเมฆฝน และถา ยเทลงสพู น้ื ดนิ ตน ไม อาคารหรือส่งิ กอ สรา ง ตลอดจนสง่ิ มีชวี ติ อน่ื ๆ
ฟา ผาอาจกอ ใหเกิดอันตรายถงึ ชีวติ ได เนื่องจากมีพลังงานไฟฟาสูง ความรุนแรงของกระแสไฟฟาจาก
ฟาผา เพียงพอทจ่ี ะจุดหลอดไฟฟา ขนาด 60 แรงเทยี นใหส วา งไดถ งึ จาํ นวน 600,000 ดวง เลยทเี ดยี ว
6. รองมรสุม (Monsoon Trough)

เกิดจากแนวความกดอากาศต่ํา ทําใหเ กดิ ฝนตก ซึ่งเปนลักษณะอากาศของประเทศไทย
แนวรอ งความกดอากาศตาํ่ จะอยใู นแนวทศิ ตะวนั ตก และทศิ ตะวนั ออก รองมรสุมจะมีการเปลี่ยนแปลง
ตําแหนงตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย เชน เมื่อดวงอาทิตยโคจรออมไปทางทิศเหนือ รอ งมรสมุ กจ็ ะ
เคลอื่ นที่ตามไปดวย การเคลื่อนที่ของรองมรสุมมีผลตอการเปลี่ยนทิศทางการรับลม เชน รองมรสุมที่
เคลื่อนที่ไปทางดานทิศเหนือ บริเวณที่รับลมทางดานทิศเหนือจะเปลี่ยนไปเปนการรับลมจากทางดานทิศใต
ทันที รองมรสุมมีผลตอ การเกดิ ฝนตกอนั เนือ่ งมาจากสาเหตขุ างตนคือ ทําใหอากาศบริเวณดังกลาวยกตัวลอย
สูงขนึ้ ขยายตัวกลายเปนเมฆฝน บริเวณรองมรสุมจึงมักมีเมฆมากและมีฝนตก สวนประเทศไทยรองมรสุม
เกิดจากการปะทะกันของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต
และลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มผี ลทาํ ใหเกดิ ฝนตกเปนบรเิ วณกวา ง ถาแนวชนของรองมรสุมทั้งสอง
ชนกันยิ่งแคบจะเกิดเปนพายุฝนฟาคะนองไดงาย และถาเกิดรองมรสุมนาน จะสงผลใหเกิดฝนตกนานทาํ
ใหเ กิดน้าํ ทว มไดเชนกัน
ทีม่ า : ศูนยอตุ ุนยิ มวิทยาภาคเหนอื จงั หวดั เชยี งใหม , 2544.

160

พายไุ ซโคลนนารกีส
นารกีส เปนชื่อของเด็กหญิงชาวมุสลิม แปลวา ดอกไม และใชเปนชื่อพายุไซโคลนที่เสนอโดยประเทศ

ปากีสถาน ไซโคลนนารกีส เปน พายุหมุนทีเ่ กดิ ขนึ้ ในอา วเบงกอล จัดเปนพายหุ มนุ เขตรอน ( Tropical
Cyclone) ชนดิ หนง่ึ

ภาพ พายุไซโคลนนารกีส http://en.wikipedia.org/wiki/Cyclone_Nargis

ขอ มูลพายไุ ซโคลนนารก ีส ประกอบดวย

ประเด็น รายละเอยี ด

วนั ท่ี 27เมษายน 2551

แหลง กาํ เนดิ อา วเบงกอลตอนกลาง มีศูนยกลางอยูท ี่ละตจิ ดู 15.9 องศาเหนอื
ลองตจิ ดู 93.7 องศาตะวนั ออก

ความเร็วลม 215 กิโลเมตรตอช่วั โมง

ความกดอากาศต่ํา 962 มิลลิบาร

อตั ราเรว็ ในการเคลื่อนท่ี ประมาณ 16-18 กิโลเมตรตอชวั่ โมง

วนั ท่ีสรางความเสยี หาย วันท่ี 3 พฤษภาคม 2551

พ้ืนที่ท่ีไดรับความเสยี หาย บริเวณสามเหลี่ยมปากแมน้ําอิระวดี และนครยางกุง ประเทศพมา

161

พายุไซโคลน
พายุไซโคลน เปน พายหุ มุนเขตรอน (Tropical Cyclone) ท่เี กดิ ข้ึนในบรเิ วณอาวเบงกอล หรือมหาสมทุ ร

อนิ เดยี พายหุ มุนเขตรอนเกิดในบรเิ วณเสนศนู ยสูตรระหวาง 23.5 องศาเหนือ กับ 23.5 องศาใต โดยจะเรม่ิ
กอตวั จากหยอมความกดอากาศตาํ่ ในทะเล แลวไตระดบั ขึน้ ไปเรอ่ื ยๆ จนกลายไปเปนพายุดีเปรสชัน พายุ
โซนรอ น และพายหุ มนุ เขตรอ น ตามระดับความเร็วลมสูงสุดใกลศูนยกลางของพายุ

ชื่อพายุ พายดุ เี ปรสชนั พายโุ ซนรอ น พายหมุนเขตรอน
(Depression) (Tropical Storm) (Tropical Cyclone)

กําลังแรง ออ น ปานกลาง รนุ แรง

ความเร็วลมสูงสุดใกลศูนยกลาง ไมเกิน 61 กม./ชม. ระหวา ง 62-117 กม./ชม. ตง้ั แต 118 กม./ชม. ข้ึนไป

การต้ังช่อื ไมมกี ารต้ังช่อื พายุ มกี ารต้งั ช่ือพายุ มีการตงั้ ชอ่ื พายุ

หมายเหตุ : การเรียกชนิดของพายุจะแตกตางกันตามแหลงที่เกิด เชน
• เกดิ ในมหาสมทุ รแปซฟิ ก เหนอื ดา นตะวนั ตก มหาสมทุ รแปซฟิ ก ใต และทะเลจนี ใต เรยี กวา พายุ
ไตฝ ุน
• เกิดในอา วเบงกอลหรือมหาสมุทรอนิ เดยี เรียก พายุไซโคลน
• เกดิ ในมหาสมทุ รแอตแลนตกิ เหนอื ทะเลแครบิ เบยี น อา วเมก็ ซโิ ก และทางดา นตะวนั ตกของ
เม็กซโิ ก เรียก พายเุ ฮอรร เิ คน
• เกดิ ในทะเลประเทศฟล ิปปนส เรียก พายุบาเกียว
• เกดิ แถบทวปี ออสเตรเลยี เรยี ก พายุวิลลี-วิลลี่

การกอ ตัวของพายุไซโคลน
พายุไซโคลน เปนพายทุ เ่ี กดิ ขนึ้ ในบรเิ วณแถบเขตรอ น กอ ตัวข้ึนในทะเลทมี่ คี วามกดอากาศตาํ่ ซึง่

มนี ํา้ อุนอยางนอ ย 27 องศาเซลเซยี ส และมีปริมาณไอนาํ้ สูง อากาศท่รี อนเหนือนํา้ อุนจะลอยตวั สูงข้นึ และ
อากาศบริเวณโดยรอบที่เย็นกวาจะพัดเขามาแทนที่ แตเนื่องจากโลกหมุน ทําใหลมที่พัดเขามา เกิดการ
หมนุ ไปดว ย โดยพายหุ มนุ เขตรอ นเหนอื เสน ศนู ยส ตู รจะหมนุ ในทศิ ทางทวนเขม็ นาฬกิ า สว นพายหุ มนุ
เขตรอนใตเ สนศนู ยส ตู รจะหมุนในทศิ ทางกลบั กนั คือตามเข็มนาฬิกา

พายหุ มนุ เขตรอ นเม่อื อยใู นสภาวะท่ีเจรญิ เติบโตเต็มท่ี จะเปน พายุท่มี คี วามรนุ แรงทีส่ ดุ ชนดิ หน่งึ
ในบรรดาพายทุ ี่เกิดขนึ้ ในโลก มเี สน ผานศูนยกลางต้งั แต 100 กโิ ลเมตรข้นึ ไป และเกดิ ขึ้นพรอ มกบั ลมท่ี
พัดแรงมาก

162

ผาพายุไซโคลน
การกอตัวของพายุไซโคลนแตละครั้ง ประกอบดวยสวนประกอบสําคัญ 3 สว น ไดแ ก
• ตาพายุ (Eye) เปนบริเวณจุดศูนยกลางของการหมุนของพายุ และเปนบริเวณที่มีความกดอากาศต่ํา
ลมพัดเบา ไมมีฝน มีเสนผานศูนยกลางประมาณ 10-50 กโิ ลเมตร
• ขอบตาพายุ หรือ กําแพงตา ( Eye Wall) เปน พื้นท่ีรอบๆ ตาพายุ เปน บรเิ วณทป่ี ระกอบดว ยลมท่ี
พดั รุนแรงที่สดุ
• บรเิ วณแถบฝน (Rainbands) เปนบรเิ วณท่ปี ระกอบดว ยเมฆพายุ และวงจรการเกดิ ไอนํ้า โดยมีการ
กลน่ั ตวั เปนหยดนาํ้ เพอื่ ปอ นใหแ กพายุ

ลักษณะการเกดิ "พายุงวงชาง" หรอื "นาคเลน นาํ้ " มี 2 แบบ ไดแ ก

1. เปน พายทุ อรนาโด ท่ีเกดิ ขนึ้ เหนอื ผนื น้าํ (ซง่ึ อาจจะเปน ทะเล ทะเลสาบ หรอื แอง นํ้าใดๆ) โดย
พายทุ อรน าโด จะเกดิ ข้นึ ระหวา งท่ีฝนฟา คะนองอยางหนัก เรยี กวา พายุฝนฟาคะนองแบบซูเปอรเซลล
(Supercell thunderstorm) และมีระบบอากาศหมุนวนที่เรียกวา เมโซไซโคลน ( Mesocyclone) จึงเรียกพายุ
นาคเลนนํ้าแบบนวี้ า นาคเลนน้ําท่ีเกิดจากทอรนาโด (Tornado waterspout)

2. เกดิ จากการทีม่ วลอากาศเย็น เคลอ่ื นผา นเหนือผิวนา้ํ ทีอ่ ุน กวา โดยบรเิ วณใกลๆ ผิวนาํ้ มี
ความชื้นสูง และไมคอยมีลมพัด (หรือถา มกี พ็ ดั เบาๆ) ผลกค็ อื อากาศทีอ่ ยตู ดิ กับผืนนาํ้ ซ่ึงอนุ ในบางบริเวณ
จะยกตวั ขน้ึ อยา งรวดเรว็ และรนุ แรง ทําใหอากาศโดยรอบไหลเขามาแทนที่ จากนั้นจึงพุงเปนเกลียวขึ้นไป
แบบน้ีเรยี กวา "นาคเลน นาํ้ " (True waterspout) ซึ่งมักเกิดในชวงอากาศดีพอสมควร (fair-weather
waterspout) อาจเกดิ ไดบ อ ย และประเภทเดียวกับกรณีที่เกิดขนึ้ ในประเทศไทย เนื่องจากในชว งทีเ่ กิด
มักจะมีพายฝุ นฟาคะนองรว มอยดู วย

ความแตกตางของ 2 แบบนกี้ ็คอื นาคเลนน้ําที่เกิดจากทอรนาโดจะเริ่มจากอากาศหมุนวน (ใน
บรเิ วณเมฆฝนฟา คะนอง) แลวหยอนลํางวงลงมาแตะพื้น คืออากาศหมุนจากบนลงลาง สว นนาคเลน นาํ้
ของแทจ ะเรมิ่ จากอากาศหมนุ วนบรเิ วณผิวพน้ื นา้ํ แลวพุงข้ึนไป คืออากาศหมุนจากลางขึ้นบน ในชวงที่
อากาศพุง ขึน้ เปน เกลยี ววนน้ี หากน้ําในอากาศยังอยูในรูปของไอน้ํา เราจะยังมองไมเห็นอะไร แตห าก
อากาศขยายตวั และเยน็ ตวั ลงถึงจดุ หนึ่ง ไอนา้ํ กจ็ ะกล่นั ตัวเปน หยดนํา้ จาํ นวนมาก ทาํ ใหเ ราเห็นทอ หรอื
"งวงชาง" เชอ่ื มผนื นา้ํ และเมฆ ซ่งึ เปน ทีม่ าของช่อื "พายุงวงชาง"

โดยสวนใหญมีความยาวประมาณ 10 - 100 เมตร ขนาดเสน ผา นศนู ยก ลางมีตัง้ แต 1 เมตร ไป
จนถงึ หลาย 10 เมตร โดยในพายอุ าจมที อ หมนุ วนเพยี งทอ เดยี วหรอื หลายทอ กไ็ ด แตล ะทอ จะหมนุ ดว ย
อตั ราเรว็ ในชว ง 20-80 เมตรตอ วินาที กระแสลมในตวั พายุเร็วถงึ 100 - 190 กโิ ลเมตรตอ ชว่ั โมง และอาจ
สูงถงึ 225 กโิ ลเมตรตอชั่วโมง ซึ่งสามารถคว่ําเรือเล็กๆ ไดสบาย ดังนั้น ชาวเรือควรสังเกตทิศทางการ
เคลอ่ื นทใ่ี หด ี แลว หนีไปในทิศตรงกันขา ม นอกจากน้ี พายุชนดิ นี้ยังสามารถเคล่อื นท่ีไดเ รว็ ต้ังแต 3 - 130

163
กิโลเมตรตอ ช่วั โมง แตสว นใหญจ ะเคลอื่ นทค่ี อ นขา งชา ประมาณ 18 - 28 กิโลเมตรตอช่วั โมง ท้ังนี้ พายุนี้
มอี ายไุ มยืนยาวนกั คอื อยูในชวง 2 - 20 นาที จากนั้นก็จะสลายตัวไปในอากาศอยางรวดเร็ว

อยางไรก็ตาม ดร.อานนท สนทิ วงศ ณ อยธุ ยา ผอ.ศูนยเ ครือขายงานวิเคราะหว จิ ัย และฝก อบรม
การเปลี่ยนแปลงของโลก แหงภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต กลาวถึงปรากฏการณ พายุงวงชาง วา
ปรากฏการณดังกลา วสว นใหญม ักจะเกิดในน้าํ โดยเฉพาะในทะเลจะเหน็ บอยกวา ในนํ้าจืด สาํ หรบั
ประเทศไทยเคยเกดิ ปรากฏการณนข้ี นึ้ แตไมบอ ยนัก และไมเ ปน อันตราย เพราะมีขนาด 1% ของพายุทอร
นาโด

ฝนกรด การเผาผลาญนํ้ามนั เช้ือเพลิงจะสง ผลใหก า ซซลั เฟอรไดออกไซดแ ละไนโตรเจน
ออกไซดเกดิ ขึน้ กาซเหลานี้จะลอยสูงขึ้นในชั้นบรรยากาศจากโรงงานอุตสาหกรรม โรงผลติ ไฟฟา
ยานพาหนะและแพรก ระจายลงในนาํ้ ซง่ึ จะระเหยเปน เมฆและรวมตวั กนั เปน กรดตกลงมาเรยี กวา ฝน
กรด ฝนกรดอาจสรางความเสียหายโดยตรงใหแกตนไม ถาน้ําในแมน้ําและทะเลสาบกลายมาเปนกรด
พชื และสัตวจะไมส ามารถดาํ รงชีวติ อยูได ฝนกรดยังสรางความเสียหายใหกับอาคาร และส่ิงปลูกสราง
ดว ย

ภาพ : การเกิดฝนกรด

164

ภัยพิบตั ิ หมายถึง เหตุการณที่อาจเกิดจากธรรมชาติ หรือเกิดจากการกระทาํ ของมนษุ ยท ี่อาจเกดิ ขึ้น
ปจจุบันทนั ดว นหรือคอย ๆ เกิด มีผลตอชุมชนหรือประเทศชาติ ภยั พบิ ตั อิ าจเปน ไดท้งั เหตกุ ารณท่ี
เกดิ ขน้ึ ตามธรรมชาติ เชน อุทกภยั หรือเปนเหตุการณที่มนษุ ยก ระทําขนึ้ เชน การแพรก ระจายของ
สารเคมี เปนตน

165

เรือ่ งท่ี 4 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม

ส่งิ แวดลอมมที ัง้ ส่งิ ที่มีชวี ติ และไมม ีชวี ิตเกดิ จากการกระทาํ ของมนษุ ยห รอื มีอยตู ามธรรมชาติ
เชน อากาศ ดิน หิน แรธ าตุ นํ้า หว ย หนอง คลอง บงึ ทะเลสาบ ทะเล มหาสมทุ ร พชื พรรณสตั วตาง ๆ
ภาชนะเครือ่ งใชตาง ๆ ฯลฯ สิง่ แวดลอ มดังกลาวจะมกี ารเปล่ยี นแปลงอยเู สมอ โดยเฉพาะมนุษยเปน
ตัวการสําคัญยิ่งที่ทําใหสิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงทั้งในทางเสริมสรางและทําลาย

จะเหน็ วา ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีความสัมพันธกนั อยา งใกลชดิ
ตา งกนั ท่ีส่ิงแวดลอ มนน้ั รวมทกุ สิง่ ทุกอยางที่ ปรากฏ อยรู อบตวั เรา สวนทรัพยากรธรรมชาติเนน สง่ิ ที่
อํานวยประโยชนแ กม นษุ ยม ากกวา สง่ิ อน่ื

ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม

ทรพั ยากรธรรมชาติ แบงตามลักษณะที่นํามาใชไดเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คอื
1. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใชแลวไมหมดสิ้น ไดแ ก
1) ประเภทที่คงอยูตามสภาพเดิมไมมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เลย เชน พลังงาน จากดว ง

อาทติ ย ลม อากาศ ฝนุ ใชเ ทา ไรกไ็ มมกี ารเปลย่ี นแปลงไมรจู กั หมด
2) ประเภทที่มีการเปลี่ยนแปลงได เน่อื งจากถูกใชในทางทีผ่ ิด เชน ท่ดี ิน นํา้ ลักษณะภูมิ

ประเทศ ฯลฯ ถาใชไมเปนจะกอใหเกิดปญหาตามมา ไดแ ก การปลกู พืชชนดิ เดยี วกันซาํ้ ๆ ซาก ๆ ในท่เี ดมิ
ยอมทาํ ใหด ินเสอ่ื มคุณภาพ ไดผ ลผลิตนอ ยลงถา ตอ งการใหด ินมีคณุ ภาพดีตอ งใสปุย หรอื ปลูกพืชสลับและ
หมนุ เวยี น

2. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใชแลวหมดสิ้นไป ไดแ ก
1) ประเภทที่ใชแลว หมดไป แตสามารถรักษาใหคงสภาพเดิมไวได เชน ปาไม สตั วป า

ประชากรโลก ความอุดมสมบูรณของดิน น้ําเสียจากโรงงาน น้ําในดิน ปลาบางชนิด ทัศนียภาพอันงดงาม
ฯลฯ ซง่ึ อาจทําใหเกิดขนึ้ ใหมไ ด

2) ประเภทที่ไมอาจทําใหมีใหมได เชน คุณสมบัติธรรมชาติของดิน พรสวรรคของ
มนุษย สตปิ ญญา เผาพนั ธุข องมนุษยช าติ ไมพ มุ ตน ไมใ หญ ดอกไมป า สตั วบ ก สตั วน ้ํา ฯลฯ

3) ประเภทท่ีไมอาจรกั ษาไวได เมอ่ื ใชแ ลว หมดไป แตยังสามารถนํามายุบให กลบั เปน
วตั ถเุ ชนเดมิ แลวนํากลบั มาประดิษฐขึน้ ใหม เชน โลหะตาง ๆ สงั กะสี ทองแดง เงิน ฯลฯ

4) ประเภทท่ีใชแลวหมดส้ินไปนํากลับมาใชอกี ไมไ ด เชน ถานหิน นาํ้ มันกาซ อโลหะ
สว นใหญ ฯลฯ ถูกนาํ มาใชเ พยี งครง้ั เดียวก็เผาไหมหมดไป ไมสามารถนํามาใชใหมได

ทรัพยากรธรรมชาติหลักที่สําคัญของโลก และของประเทศไทยไดแ ก ดิน ปา ไม สัตวปา นา้ํ แร
ธาตุ และประชากร (มนุษย)

166

สงิ่ แวดลอ ม
สงิ่ แวดลอมของมนษุ ยท ี่อยูร อบ ๆ ตัว ทง้ั สิง่ ท่ีมชี วี ิตและไมมชี วี ติ ซ่งึ เกดิ จาก การกระทําของ

มนุษยแบง ออกเปน 2 ประเภท คอื

1. สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ

2. สง่ิ แวดลอ มทางวฒั นธรรม หรอื สง่ิ แวดลอ มประดษิ ฐ หรอื มนุษยเสรมิ สรา งกําหนดขึ้น

ส่งิ แวดลอ มธรรมชาติ จาํ แนกได 2 ชนิด คือ

1) สง่ิ แวดลอ มทางกายภาพ ไดแก อากาศ ดนิ ลกั ษณะภมู ิประเทศ ลักษณะ

ภูมิอากาศ ทศั นียภาพตาง ๆ ภูเขา หวย หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทรและ

ทรัพยากรธรรมชาติทุกชนิด

2) สิ่งแวดลอมทางชีวภาพหรือชีวภูมิศาสตร ไดแก พืชพนั ธธุ รรมชาติตางๆ

สตั วปา ปา ไม สงิ่ มชี วี ติ อ่ืน ๆ ที่อยูรอบตัวเราและมวลมนษุ ย
ส่ิงแวดลอ มทางวฒั นธรรม หรือสิ่งแวดลอ มประดษิ ฐ หรือมนษุ ยเ สรมิ สรา งข้นึ ไดแ ก
สิ่งแวดลอมทางสังคมที่มนุษยเสริมสรางขึ้นโดยใชกลวิธีสมัยใหม ตามความเหมาะสมของสังคม

เศรษฐกิจ การเมือง ศาสนา และวฒั นธรรม เชน เคร่อื งจักร เครือ่ งยนต รถยนต พดั ลม โทรทศั น วิทยุ

ฝนเทยี ม เขอ่ื น บานเรอื น โบราณสถาน โบราณวตั ถุ อ่นื ๆ ไดแ ก อาหาร เครอื่ งนงุ หม ทอี่ ยอู าศยั คา นยิ ม

และสุขภาพอนามัย
ประโยชนข องทรพั ยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติมีประโยชนมหาศาลตอมนุษยชาติทั้งทางตรงและทางออม แตละชนิดมี

ประโยชนแ ตกตา งกัน ดงั น้ี
น้ํา มนุษยใ ชบริโภค อปุ โภค ทสี่ ําคญั ก็คือ นํ้าเปนปจจยั สาํ คญั สาํ หรั บทรัพยากร ธรรมชาติ
ชนดิ อน่ื ดว ย เชน สตั วปา ปา ไม ทงุ หญา และดนิ
ดิน ทรัพยากรธรรมชาติสว นใหญ มดี ินเปน แหลงอาศัย หรอื บอ เกดิ มนุษยส ามารถสรา ง
ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดทดแทนไดโดยอาศัยดินเปนปจจัยสําคัญ นอกจากมนุษยจะอาศัยอยูบน

พืน้ ดินแลว ยังนําดินมาเปน สว นประกอบสาํ คัญในการสรา งท่อี ยูอาศัย เปนแหลง ทาํ มาหากิน ทํา

การเกษตร ทําการอตุ สาหกรรม เครอ่ื งปน ดินเผาตาง ๆ ถาขาดดินหรือดินขาดความอุดมสมบูรณ

ทรัพยากร ทเี่ ปน ปจจยั 4 ในการดาํ รงชวี ติ จะนอ ยลงหรอื หมดไป
ปา ไม ประโยชนที่สําคัญของปาไมคือ ใชไมในการสรางที่อยูอาศัย เปนที่อาศัยของสัตวปา เปน
แหลงตน นา้ํ ลําธาร เปนแหลงหาของปา เปน ปจ จยั สําคัญท่ีทําใหเ กิดวฏั จกั รของนา้ํ ทําใหอ ากาศบริสุทธิ์

ชว ยอนรุ กั ษดิน เปนแหลง นนั ทนาการ นอกจากน้ีปา ไมยงั กอ ใหเกดิ การอุตสาหกรรมอกี หลายชนดิ ทาํ ให

ประชาชนมีงานทํา เกิดแหลงอาชีพอิสระ และเปนแหลงยาสมุนไพร

167

สตั วป า มนุษยไดอ าหารจากสัตวปา สัตวป าหลายชนดิ ไดห นงั นอ เขา งา กระดกู ฯลฯ มาทาํ
ของใช เครื่องนุงหม และประกอบยารักษาโรค สัตวปาชวยใหเกิดความงดงามและคุณคาทางธรรมชาติ
ชวยรักษาดุลธรรมชาติ

แรธ าตุ มนษุ ยนาํ แรธ าตุตาง ๆ มาถลงุ เปน โลหะ ทาํ ใหเกิดการอตุ สาหกรรมหลายประเภท ทาํ
ใหราษฎรมีงานทํา สงเปนสินคาออกนํารายไดมาสูประเทศปละมาก ๆ นอกจากนี้ยังมีผลพลอยไดจากการ
ถลุงหรือกล่ันอกี หลายชนดิ เชน ยารักษาโรค น้ํามันชักเงา เครื่องสําอาง แรบางชนิดเกิดประโยชนใน
การเกษตร เชน แรโ พแทสเซยี ม ใชทาํ ปุย เปนตน

ทรัพยากรธรรมชาตติ างเปน ปจ จยั เอ้อื อํานวยตอ กัน เชน ดินเปนทเี่ กดิ ท่อี ยอู าศยั ของสัตวป า ปา
ไม ชวยรกั ษาดินและเกดิ ปุย ธรรมชาติ นา้ํ เปน ปจ จัยสาํ คญั ชว ยในการดาํ รงชีวติ ของสัตว พชื ปา ไม ทําให
เกิดวัฏจักรของน้ํา ซึ่งทําใหเกิดความสมดุลทางธรรมชาติ กอ ใหเ กิดส่งิ แวดลอมท่ีดีและเหมาะสมกับการ
ดํารงชีวิตของมนุษย

ปญหาของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม
การพัฒนาที่ผานมาไดระดมใชทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะทีด่ ิน ปา ไม แหลงนาํ้ ทรัพยากร
ชายฝง ทะเล ทรพั ยากรธรณี ในอัตราที่สูงมากและเปนไปอยางไมมีประสิทธิภาพ จนมีผลทาํ ให
ทรพั ยากรธรรมชาตเิ หลา นเ้ี กดิ การรอ ยหรอ และเสื่อมโทรมลงอยางรวดเร็ว รวมท้งั เรม่ิ สง ผลกระทบตอ
การดํารงชีวิตของประชาชนในชนบท ที่ตองพึ่งพาทรัพยากรเปนหลกั ในการยงั ชพี ไดแ ก
ทรพั ยากรปาไม พื้นที่ปาไมมีสภาพเสื่อมโทรมและมีแนวโนมลดลงอยางมาก เนื่องมาจากสาเหตุ
สําคัญหลายประการ ไดแก การลักลอบตัดไมทําลายปา การเผาปา การบกุ รกุ ทําลายปาเพื่อตองการท่ีดิน
เปน ท่ีอยูอาศัย และทําการเกษตร การทําไรเลือ่ น ลอยของชาวเขาในพื้นที่ตนน้ําลําธาร และการใชทด่ี นิ เพอื่
ดําเนินโครงการของรัฐบาล เชน การจัดนิคมสรางตนเอง การชลประทาน การไฟฟา พลังน้าํ การกอ สราง
ทาง กิจการรักษาความมั่นคงของชาติ เปนตน การท่ีพืน้ ทีป่ า ไมท วั่ ประเทศลดลงอยางมาก ไดส ง ผล
กระทบตอการควบคุมระบบนิเวศโดยสวนรวมอยางแจงชัด เชน กรณีเกิดวาตภัยและ อุทกภยั ครั้งรายแรง
ในพืน้ ทภ่ี าคใต ปญหาความแหงแลงในภาคตางๆ ของประเทศ

168

ภาพ : การตัดไมทําลายปา

ทรพั ยากรดนิ ปญหาการพังทลายของดินและการสูญเสียหนาดิน โดยธรรมชาติ เชน การชะลาง
การกัดเซาะของน้ําและลม เปนตน และที่สําคัญคือ ปญหาจากการกระทําของมนุษย เชน การทําลายปา เผา

ปา การเพาะปลกู ผิดวธิ ี เปน ตน กอใหเกดิ การสญู เสียความอุดมสมบรู ณของดินทาํ ใหใชประโยชนจ าก

ทด่ี นิ ไดล ดนอ ยลง ความสามารถในการผลิตทางดานเกษตรลดนอยลง และยังทําใหเกิดการทับถมของ

ตะกอนดนิ ตามแมน าํ้ ลาํ คลอง เข่ือน อา งเก็บน้ํา เปนเหตใุ หแ หลง น้าํ ตน้ื เขนิ
ทรัพยากรทด่ี ิน ปญหาการใชที่ดินไมเหมาะสมกับสมรรถนะของที่ดิน และไมคํานึงถึงผลกระทบ
ตอ สิ่งแวดลอ ม ไดแ ก การใชท ดี่ ินเพื่อการเกษตรกรรมอยางไมถ กู หลกั วิชาการ ขาดการบํารุงรักษาดิน การ

ปลอยใหผิวดินปราศจากพืชปกคลุม ทาํ ใหส ูญ เสยี ความชมุ ชืน้ ในดิน การเพาะปลกู ท่ี ทําใหด ิน

เสยี การใชปยุ เคมีและยากําจัดศัตรูพืชเพอ่ื เรงผลติ ผล ทําใหด นิ เส่อื มคุณภาพและสารพษิ ตกคา งอยูในดนิ

การบุกรุกเขาไปใชประโยชนที่ดินในเขตปาไมบนพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง รวมทั้งปญหาการขยายตัวของ

เมอื งที่รุกลํา้ เขาไปในพื้นท่เี กษตรกรรม และการนํามาใชเปนที่อยูอาศัย ที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรม หรอื

การเกบ็ ท่ดี ินไวเ พือ่ การเกง็ กําไร โดยมิไดมีการนํามาใชประโยชนแตอยางใด
ทรพั ยากรแหลง น้ํา การใชประโยชนจากแหลงน้ําเพื่อกิจกรรมตางๆ ยังมีความขัดแยงกัน ขน้ึ อยู
กับวตั ถุประสงคข องแตละกจิ กรรม กอ ใหเ กิดความยุงยากตอการจดั การทรพั ยากรนา้ํ และการพฒั นาแหลง

น้ําความขัดแยงดังกลาวมีแนวโนมวาจะสูงขึ้น จากปรมิ าณนาํ้ ทเ่ี กบ็ กักไดมจี าํ นวนจํากัด แตความตองการ

ใชนาํ้ มีปริมาณเพม่ิ ข้นึ ตลอดเวลา ทงั้ ในดา นเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการอุปโภคบริโภค เปน ผลให

มีน้ําไมเพียงพอกับความตองการ

169

ปะการัง ปะการังที่สวยงามในเมืองไทยหลายแหงตองเสื่อมโทรมลงอยางนาเสียดาย โดยเฉพาะ
ปญหาการถูกทําลายโดยฝมือมนุษย นับเปนปญหาสําคัญของความเสื่อมโทรมของปะการัง ไดแ ก การ
ระเบิดปลา เปนการทําลายปะการังอยางรุนแรง ซึ่งเทากับเปนการทําลายที่อยูอาศัยของสัตวและพืชใน
บรเิ วณนัน้ และเปนการทําลายการประมงในอนาคตดวย

การอนรุ ักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม
การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หมายถึง การใชทรัพยากรธรรมชาติและ

สงิ่ แวดลอมอยา งฉลาด โดยใชใ หน อ ยเพื่อใหเ กิดประโยชนสงู สุด โดยคาํ นงึ ถงึ ระยะเวลาในการใชให
ยาวนาน และกอ ใหเกิดผลเสยี หายตอ สิ่งแวดลอมนอ ยท่สี ุด รวมทง้ั ตองมีการกระจายการใช
ทรัพยากรธรรมชาติอยางทั่วถึง อยางไรก็ตาม ในสภาพปจจุบันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมี
ความเสื่อมโทรมมากขึ้น ดังนั้นการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจึงมีความหมายรวมไปถึง
การพฒั นาคุณภาพสงิ่ แวดลอ มดวย

การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมสามารถกระทําไดหลายวิธี ทั้งทางตรงและ
ทางออม ดังนี้

1. การอนรุ ักษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอมโดยทางตรง ซึ่งปฏบิ ตั ไิ ดใ นระดบั บคุ คล
องคกร และระดับประเทศ คือ

1) การใชอ ยา งประหยดั คอื การใชเทาทีม่ ีความจําเปน เพื่อใหมที รัพยากรไวใ ชไ ดน าน
และเกิดประโยชนอยางคุมคามากที่สุด

2) การนาํ กลับมาใชซ ํา้ อกี สิ่งของบางอยางเมื่อมีการใชแลวครั้งหนึ่งสามารถที่จะนํามาใช
ซํ้าไดอกี เชน ถุงพลาสติก กระดาษ เปนตน หรอื สามารถที่จะนํามาใชไ ดใ หมโดยผา นกระบวนการตาง ๆ
เชน การนํากระดาษที่ใชแลวไปผานกระบวนการตาง ๆ เพ่อื ทาํ เปนกระดาษแขง็ เปน ตน ซึง่ เปนการลด
ปริมาณการใชทรัพยากรและการทําลายสิ่งแวดลอมได

3) การบรู ณ ะซอมแซม สิ่งของบางอยางเมื่อใชเปนเวลานานอาจเกิดการชํารุดได
เพราะฉะนั้นถามีการบูรณะซอมแซม ทําใหสามารถยืดอายุการใชงานตอไปไดอีก

4) การบําบดั และการฟน ฟู เปนวิธีการที่จะชวยลดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดวยการ
บําบัดกอ น เชน การบําบัดน้าํ เสียจากบา นเรอื นหรอื โรงงานอตุ สาหกรรม เปนตน กอ นทจี่ ะปลอ ยลงสู
แหลงนํา้ สาธารณะ สว นการฟนฟูเปนการรอ้ื ฟน ธรรมชาตใิ หกลบั สูสภาพเดมิ เชน การปลูกปาชาย
เลน เพื่อฟนฟูความ สมดุลของปาชายเลนใหกลับมาอุดมสมบูรณ เปนตน

5) การใชส งิ่ อื่นทดแทน เปนวิธีการที่จะชวยใหมีการใชทรัพยากรธรรมชาตินอยลงและไม
ทําลายสิ่งแวดลอม เชน การใชถุงผาแทนถุงพลาสติก การใชใบตองแทนโฟม การใชพลังงานแสงแดด
แทนแรเ ชือ้ เพลิง การใชปุยชีวภาพแทนปยุ เคมี เปน ตน

170

6) การเฝาระวงั ดแู ลและปอ งกัน เปน วธิ กี ารทีจ่ ะไมใ หท รพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ ม
ถูกทําลาย เชน การเฝา ระวังการท้ิงขยะ ส่งิ ปฏิกลู ลงแมนาํ้ ลาํ คลอง การจัดทําแนวปองกันไฟปา เปนตน

2. การอนุรักษทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมโดยทางออม สามารถทาํ ไดหลายวธิ ี ดังน้ี
1) การพัฒนาคุณภาพประชาชน โด ยสนบั สนนุ การศกึ ษาดา นการอนรุ กั ษ
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่ถูกตองตามหลักวิชา ซึ่งสามารถทําไดทุกระดับอายุ ทั้งในระบบ
โรงเรียนและสถาบันการศึกษาตาง ๆ และนอกระบบโรงเรียนผานสื่อสารมวลชนตาง ๆ เพือ่ ใหป ระชาชน
เกิดความตระหนักถึงความสําคัญและความจําเปนในการอนุรักษ เกิดความรักความหวงแหน และใหความ
รวมมอื อยางจรงิ จงั

2) การใชมาตรการทางสงั คมและกฎหมาย การจัดตั้งกลุม ชุมชน ชมรม สมาคม เพื่อการ
อนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ มตาง ๆ ตลอดจนการใหความรวมมือทั้งทางดานพลังกาย พลัง
ใจ พลังความคดิ ดว ยจิตสํานกึ ในความมีคณุ คา ของสิง่ แวดลอมและทรัพยากรท่ีมีตอตัวเรา เชน กลุม ชมรม
อนรุ กั ษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ มของนักเรียน นกั ศึกษา ในโรงเรียนและสถาบันการศกึ ษา
ตา ง ๆ มลู นธิ คิ มุ ครองสัตวปาและพรรณพชื แหง ประเทศไทย มูลนิธิสืบนาคะเสถียร มลู นิธโิ ลกสเี ขยี ว
เปนตน

3) สงเสริมใหป ระชาชนในทองถิน่ ไดม ีสว นรว มในการอนรุ กั ษ ชวยกันดแู ลรักษาใหคง
สภาพเดิม ไมใหเกิดความเสื่อมโทรม เพื่อประโยชนในการดํารงชีวิตในทองถิ่นของตน การประสานงาน
เพื่อสรางความรูความเขาใจ และความตระหนักระหวางหนวยงานของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่นกับ
ประชาชน ใหมีบทบาทหนาที่ในการปกปอง คุมครอง ฟนฟูการใชทรัพยากรอยางคุมคาและเกิดประ
โยชนสูงสุด

4) สง เสรมิ การศึกษาวิจยั คนหาวธิ ีการและพฒั นาเทคโนโลยี มาใชในการจัดการกับ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหเกิดประโยชนสูงสุด เชน การใชความรูทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
มาจัดการวางแผนพัฒนา การพัฒนาอุปกรณเครื่องมือเครื่องใชใหมีการประหยัดพลังงานมากขึ้น
การคน ควาวจิ ยั วธิ ีการจดั การ การปรับปรุง พัฒนาสิ่งแวดลอ มใหมีประสิทธภิ าพและยงั่ ยืน เปนตน

5) การกําหนดนโยบายและวางแนวทางของรัฐบาล ในการอนรุ กั ษแ ละพฒั นาส่งิ แวดลอ ม
ทง้ั ในระยะสันและระยะยาว เพือ่ เปน หลกั การใหห นว ยงานและเจาหนา ทขี่ องรัฐท่ีเก่ยี วของยดึ ถอื และ
นําไปปฏิบัติ รวมทั้งการเผยแพรขาวสารดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทั้งทางตรง
และทางออม

171

เยาวชนกับการอนุรักษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม
การอนุรักษทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม หมายถึงการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ

โดยไมเกิดผลกระทบในทางเสียหายตอสภาพแวดลอมปจจุบันและอนาคต
แนวคดิ ในการอนรุ ักษ

1. มนษุ ยเ ปน สว นหนง่ึ ของสง่ิ แวดลอ ม
2. มนษุ ยไ มอาจแยกตัวเปนอสิ ระจากส่ิงแวดลอมได เพราะฉะนั้น กระบวนการทางการอนุรักษ
ยอมแสดงถึงการจัดการทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ จึงนับเปนหนทางแหงการปกปองตนเองของ
มนุษยชาติ ใหสามารถอยูรอดไดช ว่ั นิรันดร
เยาวชนกบั การอนุรกั ษ
(1) ตอ งมหี วั ใจเปน นกั อนุรกั ษ จากคาํ กลา วทีว่ า ทานถูกเรียกวานักรอง ดว ยเหตทุ ี่ทานรองเพลงได
ไพเราะ ทา นถูกเรยี กวา เปน จิตกร ดวยเหตุที่ทานสามารถสรางสรรคงานจิตรกรรมไดเปนที่ยอมรับตอ
สาธารณชน "ศิลปน ยอมมีผลงานศิลปะ " เพราะฉะนั้น นกั อนุรกั ษไมเพยี งแตร ักงานอนุรกั ษ หรอื เปน
นักวิชาการอนรุ กั ษ จําเปน ตอ งปฏบิ ตั ิตนเปนอนุรกั ษอ ยางแทจริงดว ยตนเอง
(2) ตองมีหวั ใจแหง การเสยี สละ นัน่ คอื ตองคํานึงถึงประโยชนของสังคมสวนรวมมากกวา
ประโยชนแ หง ตน
(3) ตอ งมีหวั ใจทร่ี กั และหวังดตี อเพอ่ื นมนษุ ยด วยกัน นน่ั คอื นกั อนุรักษไมพ ึง มีอคติตอผอู น่ื งาน
อนุรักษจ ะสําเร็จไดด ว ยมติ รภาพและความเขา ใจอันดี
การพฒั นากบั การอนรุ กั ษ
การพฒั นา………..คือ การทาํ ใหเ จริญข้ึน ดีขน้ึ
การอนุรักษ……….คอื ใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ
กระบวนการพัฒนาที่เหมาะสมคือ การจัดการทางวิทยาการอยางมีประสิทธิภาพ โดยไมเกิด
ผลเสียทางสิง่ แวดลอม

172

ภาพ : แนวปองกันการกัดเซาะชายฝงทะเล (ใชล ําไมไ ผ)
แนวทางการอนรุ ักษท รพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม

- การอนรุ ักษท รพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ ม จะตองอาศัยความรวมมือจากทุกฝาย ทั้ง
ภาครัฐบาลและเอกชน โดยดําเนินการ ดงั น้ี

- แกไขแนวคิดและจิตสํานึกของคนใหมีความรูความเขาใจวา สิ่งแวดลอมมีความสําคัญตอความ
อยรู อดของมนุษยและสิง่ ท่ีมีชีวิตซึ่งทุกคนตอ งมีสวนรว มในความรบั ผิดชอบ

- เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนในทองถิ่น เชน การบริโภคทงั้ กินและใช ตอ งใชและกนิ อยา ง
ประหยัด เพราะปจ จุบนั ทรพั ยากรธรรมชาตมิ อี ยูจ าํ กดั ใชทรัพยากรธรรมชาติทุกอยางใหเกิดประโยชน
มากท่สี ุด และนานทสี่ ุด
ภาวะโลกรอ น

ภาวะโลกรอ น หมายถึง การเปล่ยี นแปลงภูมิกาศท่เี กดิ จากการกระทาํ ของมนษุ ย ทที่ าํ ใหอ ณุ หภมู ิ
เฉลย่ี ของโลกเพิ่มสงู ขึน้ เราจงึ เรยี กวา ภาวะโลกรอน ( Global Warming) กิจกรรมของมนษุ ยท ี่ทําใหเ กิด
ภาวะโลกรอ น คอื กจิ กรรมท่ที ําใหป ริมาณกา ซเรือนกระจกในบรรยากาศเพ่มิ มากข้นึ ไดแ ก การเพ่ิม
ปริมาณกาซเรอื นกระจกโดยตรง เชน การเผาไหมเช้ือเพลงิ และการเพิ่มปริมาณกาซเรอื นกระจกโดย
ทางออม คือ การตัดไมทําลายปา
ปรากฏการณเรือนกระจก หมายถึง การที่ชั้นบรรยากาศของโลกกระทําตัวเสมือนกระจกที่ยอมให
รงั สคี ลนื่ สั้นจากดวงอาทิตยผา นทะลุลงมายงั ผวิ พนื้ โลกได แตจ ะดูดกลืนรังสีคลืน่ ยาวท่ีโลกคายออกไป
ไมใหหลุดออกนอกบรรยากาศ ทําใหโลกไมเย็นจัดในเวลากลางคืน บรรยากาศเปรียบเสมือนผาหมใหญที่

173

คลมุ โลกไว กา ซท่ียอมใหรังสีคลืน่ สน้ั จากดวงอาทิตยผ า นทะลลุ งมาไดแตไ มยอมใหร ังสคี ลน่ื ยาวท่ีโลก
คายออกไปหลุดออกนอกบรรยากาศ เรียกวา กาซเรือนกระจก
กาซเรอื นกระจกที่สําคญั ไดแ ก กา ซคารบอนไดออกไซด กาซมเี ทนและกาซไนตรสั ออกไซด

1. กาซคารบอนไดออกไซด เกิดจากการเผาไหมเชื้อเพลิง โรงงานอุตสาหกรรมและการตัดไม
ทําลายปา

2. กาซมีเทน เกิดจาก การยอยสลายซากสงิ่ มชี ีวิตในพื้นทีท่ ่ีมนี ํ้าขัง เชน นาขา ว
3. กาซไนตรัสออกไซด เกิดจาก อุตสาหกรรมทใี่ ชกรดไนตรกิ ในกระบวนการผลติ และการใช
ปยุ ไนโตรเจนในการเกษตรกรรม
เราสามารถชวยกนั ปองกันและแกไ ขปญ หาภาวะโลกรอ นไดดว ยวธิ กี ารตาง ๆ เชน

- อาบนาํ้ ดวยฝกบวั ประหยัดกวาตกั อาบหรอื ใชอางอาบนํา้ ถึงครงึ่ หนึ่งในเวลาเพียง 10 นาที
ปด นาํ้ ขณะแปรงฟน ประหยดั ไดเ ดอื นละ 151 ลติ ร

- เปดน้ํารอนใหนอยลง ในการทําน้ํารอน ใชพลังงานในการตมสูงมาก การปรับเครื่องทํา
นา้ํ อนุ ใหม อี ุณหภมู ิและแรงน้ําใหน อยลง จะลดคารบ อนไดออกไซดไ ด 159 กโิ ลกรัมตอป หรือการซกั ผา
ในนาํ้ เยน็ จะลดคารบ อนไดออกไซด ไดป ล ะ 227 กโิ ลกรมั

- ใชห ลอดไฟตะเกยี บ ประหยดั กวา หลอดธรรมดา 4 เทา ใชงานนานกวา 8 เทา แตละหลอด
ชวยลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดได 4,500 กิโลกรมั หลอดไฟธรรมดาเปล่ียนพลังงานนอ ยกวา
10% ไปเปนแสงไฟ สวนที่เหลือถูกเปลี่ยนไปเปนความรอนเทากับสูญพลังงานเปลา ๆ มากกวา 90%

- ถอดปล๊ักเครือ่ งใชไฟฟา เพราะยงั คงกนิ พลังงานมากแมจ ะปด แลว ดังนน้ั ควรถอดปลั๊ก
โทรทศั น สเตริโอ คอมพวิ เตอร ไมโครเวฟ ฯลฯ เมอื่ ไมใชหรอื เสียบปลัก๊ เขา กบั แผงเสียบปลก๊ั ท่ีคอยปด
สวิทซไวเ สมอ เม่ือไมใ ชและควรถอดปลัก๊ ที่ชารจ โทรศัพทม อื ถือและ MP3 เมื่อไฟเต็มแลว

- ใชตูเยน็ แบบ 2 ประตู ขนาดความจุ 400 ลิตร ต้งั อุณหภูมทิ ี่ 3 – 5 องศา และ -17 - -15 องศา
ในชองแชแข็ง มีประสิทธิภาพในการประหยัดไฟมากที่สุด

- เปดแอรที่ 25 องศา อณุ หภมู ิตา่ํ กวา นใ้ี ชพ ลงั งานเพิม่ ข้นึ 5 – 10%
- ใชแล็ปท็อปจอแบน ประหยัดไฟมากกวาคอมพิวเตอรตั้งโตะถึง 5 เทา ใช screen server
และหมวดสแตนบายดไมไดชวยประหยดั ไฟ พลงั งานท่เี สียไปเทา กับซอื้ คอมพิวเตอรใ หมได 1 เครอ่ื ง
และพรนิ้ เตอรเ ลเซอรป ระหยัดพลงั งานมากกวาองิ คเจ็ท
- พกถุงผาไปช็อปปงแทนการใชถุงพลาสติก แตละปทั่วโลกทิ้งถึงพลาสติกจากซุปเปอรมา
เก็ตหลายแสนลานใบ อยาลืมวา ลดขยะเทากับลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด
- ใสเ ส้อื ผา ฝา ยออรแกนคิ และใชเคร่อื งใชร ีไซเคลิ หรอื นาํ กลับมาใชใ หมได หลีกเล่ยี ง
ผลิตภณั ฑทมี่ ีบรรจภุ ณั ฑม าก เพยี งแคลดขยะของคุณเอง 10% จะลดคารบ อนไดออกไซดไ ด 545 กโิ ลกรมั
ตอ ป

174

- ปลกู ตน ไม เพราะตนไม 1 ตน ดดู ซบั คารบ อนไดออกไซดไ ด 1 ตนั ตลอดอายขุ ยั และรดนํ้า
ชวงเชา และกลางคืน ปองกันการระเหย

- กนิ เน้อื สตั วใหนอยลง เพราะการผลิตเนือ้ สตั วใชพ ลังงานและทรัพยากรมากกวาการปลูก
พืชและธญั พืช 18% ของกา ซเรือนกระจกมาจากอุตสาหกรรมปศุสตั ว คณุ ไมต องเปน มงั สวริ ัตกิ ็ได
เพอื่ ท่จี ะสรางความเปลีย่ นแปลง ลองไมกินเน้ือสัตวสัปดาหล ะครง้ั จะลดการปลอยกาซเรือนกระจกได
มหาศาล

- เดินแทนขบั พาหนะใชน ้ํามนั ถงึ คร่ึงหน่งึ ของโลก และปลอยกา ซเรือนกระจกท่ี 1 ใน 4
สวน การทงิ้ รถไวท บี่ านแมเ พียงสัปดาหล ะ 1 วนั สามารถประหยดั น้าํ มนั และการปลอ ยกาซเรอื นกระจก
ไดมากมายภายใน 1 ป ลองเดนิ ขีจ่ กั รยาน นงั่ รถกบั คนอืน่ หรือน่งั รถเมลหรือรถไฟฟา แทน หรือลองดูวา
คุณสามารถทํางานที่บาน โดยตอคอมพิวเตอรเขากับเครือขายของบริษัทสัปดาหละครั้งไดหรือไม

- เช็คลมยาง ใหแนใจวายางรถสูบลมแนนการขับรถโดยที่ลมยางมีลมนอย อาจทําใหเปลือง
นํา้ มันขน้ึ ไดถึง 3% จากปกติ นา้ํ มันทุก ๆ แกลลอนที่ประหยดั ไดจะลดคารบอนไดออกไซดไ ด 9 กโิ ลกรมั
ยางที่สูบลมไมพอจะใชน้ํามันไดในระยะทางสั้นลง 5%

- ลด ใชซ าํ้ และรไี ซเคลิ ใหมากข้ึน ลดขยะของบา นคุณใหไดครงึ่ หน่ึงจะชวยลด
คารบ อนไดออกไซดไ ดถ งึ 1ลา นกิโลกรมั ตอป
สาํ คัญท่ีสุด ตองตง้ั ใจแนว แนว า จะชวยหยดุ โลกรอน และตอ งใชพลงั งานอยางมีประสทิ ธิภาพ
และเลือกใชพลังงานสะอาด

175

ใบงาน เรื่อง โลก บรรยากาศ ปรากฏการณทางธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ
1. เหตุการณก ารเกดิ “บิ๊กแบงค” มีลกั ษณะอยา งไร

ตอบ…………………………………………………………………………………………
2. โลกใชเวลา หมุนรอบดวงอาทิตยเปนวงโคจรกี่วัน

ตอบ…………………………………………………………………………………………
3. สวนประกอบของโลก มีกี่อยา ง อะไรบาง

ตอบ…………………………………………………………………………………………
4. เปลอื กโลก (Crust) ประกอบดวยอะไรบาง

ตอบ…....................................................................................................................................
5. ชน้ั แมนเทลิ (Mantle หรอื Earth's mantle) มลี กั ษณะเปนอยา งไร

ตอบ…....................................................................................................................................
6. แกน โลกแบง ไดอ อกเปน ก่ีชน้ั ไดแ กอะไรบาง

ตอบ…....................................................................................................................
7. แผนยูเรเซยี นครอบคลุมทวีปอะไรบาง

ตอบ…....................................................................................................................................
8. การเคลอื่ นท่ขี องแผน เปลอื กโลกน้ันมสี าเหตุมาจากอะไร

ตอบ…....................................................................................................................................
9. บรรยากาศมีสว นประกอบอะไรบาง

ตอบ…....................................................................................................................................
10. ทําไม “โอโซน” (Ozone) จงึ เปน กา ซทส่ี ําคญั มากตอ มนษุ ย

ตอบ…....................................................................................................................................
11. ซี เอฟ ซี (CFC) นํามาใชในอุตสาหกรรมประเภทใดบาง และมีผลกระทบกับโลกอยางไร

ตอบ……................................................................................................................................
12. จงอธิบายสภาพบรรยากาศในชั้นโทรโพสเฟย ร และ ไอโอโนสเฟย ร มาพอสังเขป

ตอบ……................................................................................................................................

13. มาตราวัด 40 องศาเซลเซยี ส (℃) เทากับ องศาเคลวิน (K)
ตอบ…....................................................................................................................................

176

14. มาตราวัด 25 องศาเซลเซยี ส (℃) กี่องศาฟาเรนไฮต (℉)
ตอบ…....................................................................................................................................

15. จงอธิบายความสําคัญของกระแสนาํ้ อุน และกระแสน้ําเย็นทม่ี ีตอ ฤดกู าล
ตอบ…....................................................................................................................................

16. เมฆระดับสูง มีกี่ชนดิ อะไรบาง
ตอบ…....................................................................................................................................

17. จงอธิบายลักษณะของการเกิด “ฝน”(Rain) มาพอสังเขป
ตอบ…....................................................................................................................................

18. ลม(Wind) เกดิ จากสาเหตอุ ะไรบาง
ตอบ…....................................................................................................................................

19. ฝนกรด เกดิ จากกาซชนิดใดบา ง มีแหลง ใด อตุ สาหกรรม เปน ตน เหตุ และ ความเสียหาย จาก
ฝนกรดเกิดไดอ ยางไร
ตอบ…....................................................................................................................................

20. จงอธิบายลักษณะของ “ลมทะเล” (Sea Breeze) และ “ลมบก” (Land Breeze)
ตอบ…....................................................................................................................................

21. ลมภูเขาและลมหุบเขา เปน ลมชนดิ ใด และ เกดิ ในเวลาใดบา ง
ตอบ…....................................................................................................................................

22. “ลมตะเภา” พัดจากทิศใดไปยังทิศใด จากบริเวณใดเขา สบู รเิ วณใด และเกดิ ในชว งเดอื นใด
ตอบ…....................................................................................................................................

23. ใหยกตวั อยางทรัพยากรธรรมชาติประเภทใชแลวไมหมดสิ้นมา 6 อยา ง
ตอบ…....................................................................................................................................

24. ใหย กตัวอยางทรัพยากรธรรมชาติหลักที่สําคัญของโลก และของประเทศไทย มา 5 อยาง
ตอบ…....................................................................................................................................

25. ใหย กตวั อยา ง สง่ิ แวดลอ มทางวฒั นธรรม หรอื สง่ิ แวดลอ มประดษิ ฐ หรอื มนุษยเสรมิ สราง
ข้นึ มา 10 อยาง
ตอบ…....................................................................................................................................

26. ใหอ ธบิ ายปญหาของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มาพอสังเขป
ตอบ…....................................................................................................................................

177

27. ใหอ ธิบายการอนุรักษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม มาพอสังเขป
ตอบ…....................................................................................................................................

28. การพัฒนาคุณภาพประชาชน และ การใชมาตรการทางสังคมและกฎหมาย เพอ่ื การ อนรุ ักษ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมแตกตางกันอยางไร จงอธิบาย
ตอบ…....................................................................................................................................

29. การพฒั นา กบั การอนุรกั ษ แตกตางกันอยางไร
ตอบ…....................................................................................................................................

178

เฉลยใบงาน เรอ่ื ง โลก บรรยากาศ ปรากฏการณท างธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ มและทรพั ยากรธรรมชาติ
1. เหตกุ ารณก ารเกดิ “บิ๊กแบงค” มีลกั ษณะอยางไร

ตอบ…บิก๊ แบงค เกดิ จาก การท่ฝี นุ กา ชในอวกาศมารวมตัวกันเปนวงฝนุ กาช โดยมกี ารอดั แนน
กันจนทาํ ใหมคี วามหนาแนน และมีอณุ หภูมสิ ูง เมอ่ื ถึงขดี หน่งึ จึงทําใหเ กิดการระเบดิ จากใจกลาง ทาํ ให
เกิดเปนดาวเคราะหนอยตาง ๆ มากมายหลายรอยลานดวง….
2. โลกใชเวลา หมุนรอบดวงอาทิตยเปนวงโคจรกี่วัน

ตอบ…365.25 วนั ….
3. สวนประกอบของโลก มกี ่ีอยาง อะไรบา ง

ตอบ…3 อยาง คือ เปลอื กโลก แมนเทลิ และแกน โลก….
4. เปลอื กโลก (Crust) ประกอบดวยอะไรบาง

ตอบ…แผน ดิน แผน นํา้ ….
5. ชน้ั แมนเทลิ (Mantle หรอื Earth's mantle) มีลักษณะเปนอยา งไร

ตอบ…อยูระหวา งเปลอื กโลกกับแกนโลก มีบางสว นทม่ี ีสถานะหลอมเหลว เรยี กวา หินหนดื
(magma) มีความรอนสูงมาก….
6. แกนโลกแบง ไดอ อกเปน กช่ี ั้นไดแ กอะไรบาง

ตอบ…มี 2 ชน้ั
1.ช้ันนอก เปนธาตเุ หลก็ และนิกเกลิ ทีห่ ลอมละลายมีความรอนสูง
2.ชั้นใน อยูตรงใจกลาง มีความกดดันอยางมหาศาล….
7. แผนยูเรเซียนครอบคลุมทวีปอะไรบาง
ตอบ…ทวีปเอเชียและทวีปยุโรป….
8. การเคลอื่ นที่ของแผนเปลอื กโลกน้นั มสี าเหตุมาจากอะไร
ตอบ…การรวมตวั และการแตกตวั ของทวปี ….
9. บรรยากาศมีสวนประกอบอะไรบาง
ตอบ…แกสตา ง ๆ เชน N2,O2 ,CO2 ,Ar , ฝนุ ละอองและแกส อ่ืน ๆ….
10. ทําไม “โอโซน” (Ozone) จึงเปน กาซทสี่ ําคัญมากตอ มนษุ ย
ตอบ…เพราะชว ยดดู กลนื รงั สี UV และรงั สตี างท่มี าจากดวงอาทิตย ใหตกลงมาสูพน้ื โลกนอยลง
ทาํ ใหผิวหนังไมไหมเกรยี ม….
11. ซี เอฟ ซี (CFC) นํามาใชในอุตสาหกรรมประเภทใดบาง และมีผลกระทบกับโลกอยางไร
ตอบ…มาจากอุตสาหกรรมพลาสติก การทําความเย็น การทําโฟม ฯลฯ สงผลกระทบตอโลก คือ
ทําใหชน้ั โอโซนเกดิ รูรัว่ หรอื รูโหว ทาํ ใหรังสี UV สามารถเขา สูพืน้ โลกไดมากยิ่งข้ึน เปน สาเหตุทาํ ให
เกิดปรากฎการณเรือนกระจก ….

179

12. จงอธิบายสภาพบรรยากาศในชั้นโทรโพสเฟยร และ ไอโอโนสเฟยร มาพอสังเขป
ตอบ…ช้ันโทรโฟสเพยี ร เปนชั้นบรรยากาศทีต่ ิดกบั ผวิ โลกเปน ชน้ั ที่มี ไอน้ํา เมฆ หมอก
ชน้ั ไอโอโพรสเฟยร จะเปนชนั้ บรรยากาศในลําดับที่ 4 นับจากผิวโลก ชั้นนี้มีอากาศเบาบาง

มาก….

13. มาตราวัด 40 องศาเซลเซียส (℃) เทากับ องศาเคลวิน (K)

ตอบ… K = ℃+ 273.15
K = 40 + 273.15
K = 313.15 องศาเคลวิน (K) ….

14. มาตราวัด 25 องศาเซลเซียส (℃) กี่องศาฟาเรนไฮต (℉)

ตอบ… F = 9 (℃ + 32)

5

F = 9 (25 + 32)

5

F = 9 (57)

5

F = 9x57

5

F = 513

5

F = 102.6 ℉….
15. จงอธิบายความสําคัญของกระแสน้ําอุน และกระแสนา้ํ เยน็ ทีม่ ตี อฤดูกาล

ตอบ… การแสน้ําอุนและกระแสน้ําเย็น จะนําพาอากาศรอนและอากาศหนาวมา ทําให
เกดิ การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล ถากระแสน้าํ อุน และกระแสนาํ้ เย็นเกดิ ความผดิ ปกติจะสง ผลใหอ ากาศท่วั
โลกเกดิ การผิดเพี้ยนไป….
16. เมฆระดบั สงู มีกชี่ นิด อะไรบาง

ตอบ… มี 3 ชนิด ไดแก เซอรโ รควิ มูลสั เซอรรัสและเซอรโรสเตรตสั ….
17. จงอธิบายลักษณะของการเกิด “ฝน”(Rain) มาพอสังเขป

ตอบ… ฝนเกดิ จากละอองนา้ํ ในกอนเมฆซงึ่ เย็นจัด เมื่อไอนํ้ากลัน่ เปน ละอองนํ้าเกาะกับ
มากขึ้น ทําใหมีน้ําหนักมากขึ้นจนเกาะกันไมไหวจึงตกลงมาเปนน้ําฝนตามแรงดึงดูดของโลก….
18. ลม(Wind) เกิดจากสาเหตุอะไรบาง

ตอบ… ความแตกตางของอุณหภูมิและความแตกตางของหยอมความกดอากาศ….

180

19. ฝนกรด เกดิ จากกา ซชนดิ ใดบา ง มแี หลง ใดอตุ สาหกรรมเปน ตน เหตุ และความเสยี หายจากฝนกรด
เกดิ ไดอยางไร

ตอบ… เกิดจากกา ชซัลเฟอรไดออกไซดและไนโตรเจนออกไซด มาจากอตุ สาหกรรมการผลติ
ไฟฟา ยานพาหนะ เมื่อสารเหลาน้ีกระจายลงสแู หลงนํ้าและระเหยเปนไอ เกดิ การรวมตัวกันกบั กอนเมฆ
เม่ือฝนตกลงมาจงึ กลายเปน ฝนกรด ซง่ึ สรา งความเสยี หายแกต นไม พืชและสัตว ทาํ ใหไมส ามารถ
ดาํ รงชีวิตอยูไดรวมถงึ อาคารสิ่งปลกู สรางดวย….
20. จงอธิบายลักษณะของ “ลมทะเล” (Sea Breeze) และ “ลมบก” (Land Breeze)

ตอบ…ลมทะเลจะพดั เขาชายฝง ในเวลากลางวัน เน่อื งจากตอนกลางวันพน้ื ดินจะรอ นกวา พนื้ น้าํ
ทําใหอ ากาศบนพนื้ ดนิ ยกตัวข้นึ อากาศจากทะเลจงึ เขา แทนท่ี สว นลมบกจะพดั จากฝง เขาสทู ะเล ในเวลา
กลางคนื เพราะกลางคนื พน้ื น้าํ จะมอี ณุ หภมู ิสงู กวาพนื้ ดิน อากาศจากพื้นดนิ เขไปแทนท.ี่ ..
21. ลมภูเขาและลมหุบเขา เปน ลมชนดิ ใด และ เกดิ ในเวลาใดบา ง

ตอบ…ลมภูเขาและลมหุบเขาเปนลมประจําวัน ลมหุบเขาเกิดในเวลากลางวัน จะพัดจากลางขึ้นสู
พื้นบนเขา สวนลมภูเขาจะเกิดในเวลากลางคืน จะพัดจากยอดเขาลงสูหุบเขา….
22. “ลมตะเภา” พัดจากทศิ ใดไปยังทศิ ใด จากบรเิ วณใดเขาสูบรเิ วณใด และเกดิ ในชว งเดอื นใด

ตอบ…ลมตะเภาเปนลมทองถน่ิ ในไทย จะพดั จากทศิ ใตไปสทู ิศเหนอื คือ พัดจากอาวไทยเขา สู
ภาคกลางตอนลางเกดิ ในชว งเดือนกุมภาพนั ธถ งึ เดือนเมษายน เรียกวา ลมวา ว….
23. ใหยกตัวอยางทรัพยากรธรรมชาติประเภทใชแลวไมหมดสิ้นมา 6 อยา ง

ตอบ…แสงแดด กระแสลม ฝุน ดนิ น้าํ อากาศ….
24. ใหยกตัวอยางทรัพยากรธรรมชาติหลักที่สําคัญของโลก และของประเทศไทย มา 5 อยาง

ตอบ…นา้ํ ดนิ ปาไม สตั วปา แรธ าตุ….
25. ใหย กตวั อยา งสง่ิ แวดลอ มทางวฒั นธรรม หรอื สง่ิ แวดลอ มประดษิ ฐ หรือมนษุ ยเ สรมิ สรางขนึ้

มา 10 อยาง
ตอบ …เคร่ืองจักร เครือ่ งยนต รถยนต พัดลม โทรทศั น วิทยุ ฝนเทียม บา นเรือน เขอ่ื น

โบราณสถาน….
26. ใหอธิบายปญหาของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มาพอสังเขป

ตอบ…ปญหาของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เกิดจากการพัฒนาทางดานเทคโนโลยี
อยางรวดเร็ว ซึ่งมีเทคโนโลยีหลายประเภทที่มนุษยนําไปใชในการเสาแสวงหาทรัพยากร ปาไม น้ํา แร
ธาตุ ในดินและแหลงนาํ้ ออกมาใชอยา งฟมุ เฟอ ยจนทําใหธรรมชาตเิ สียสมดลุ

181

27. ใหอ ธิบายการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มาพอสังเขป
ตอบ…การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางชาญ

ฉลาด กลา วคือ ใชใ นปริมาณนอ ย แตนํามาใชใหไดประโยชนสูงสุดหรอื ทําใหคมุ คาน้นั เอง
28. การพัฒนาคุณภาพประชาชน และ การใชมาตรการทางสังคมและกฎหมาย เพือ่ การอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมแตกตางกันอยางไร จงอธิบาย

ตอบ…การพัฒนาคุณภาพประชาชน เปนการสงเสริม สนับสนุนใหคนมีความรูความเขาใจและ
ตระหนักถึงประโยชนของการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สวนการใชมาตรการทาง
สังคมและกฎหมายเปนการออกระเบียบและกฎหมายใหมีผลบังคับใช เพื่อใหคนปฏิบัติตาม ถาไมปฏิบัติ
ตามใหถือวาผิดกฎหมายและระเบียบที่วางไว….
29. การพัฒนา กับ การอนุรกั ษ แตกตางกันอยางไร

ตอบ …การพัฒนาคอื การทําใหเจริญขึ้น สว นการอนุรักษ คือ การใชท รัพยากรอยางมี
ประสิทธภิ าพ

182

แบบฝกหดั ทา ยบทท่ี 6

จงเลอื กคําตอบทถ่ี ูกตอ งทสี่ ดุ เพยี ง 1 ขอ โดยทําเครื่องหมาย × กบั ขอ ทเ่ี ลอื ก
1. โครงสรางของโลกแบงเปนกี่ชั้น
ก. 2 ช้ัน
ข. 3 ช้ัน
ค. 4 ชั้น
ง. 5 ช้นั
2. สว นใดทีอ่ ยูช น้ั นอกสดุ ของโลก
ก. เปลอื กโลก
ข. แกน โลก
ค. แมนเทลิ
ง. ขั้วโลก
3. ปรากฏการณท ่แี ผนเปลอื กโลกเกดิ การสนั่ สะเทือน เน่อื งมาจากการเล่อื นตวั ของแผน เปลอื กโลก
คือปรากฏการณใด
ก. ปฏิกริ ยิ าเรอื นกระจก
ข. ภเู ขาไฟระเบดิ
ค. แผน ดนิ ไหว
ง. ดนิ ถลม
4. สาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดสภาพมลพิษทางอากาศในกรุงเทพมหานครคืออะไร
ก. การจราจรที่ติดขัดมาก
ข. โรงงานอุตสาหกรรมตางๆ
ค. อาคารบานเรือน และตึกสูงๆ
ง. การใชโฟมและถุงพลาสติกใสอาหาร

183

5. เคร่ืองมอื ทีใ่ ชว ัดความกดอากาศคือ เครื่องมืออะไร

ก. เทอรม อมเิ ตอร

ข. ไฮโกรมเิ ตอร

ค. บารอมเิ ตอร

ง. ศรลม

6. เครื่องมือที่ใชตรวจสอบความเร็วของกระแสลม คือเครื่องมืออะไร

ก. บารอมเิ ตอร

ข. ไฮโกรมเิ ตอร

ค. เทอรโ มมเิ ตอร

ง. แอนนมิ อมเิ ตอร

7. เหตุการณใ ดทาํ ใหเกดิ ปรากฏการณฟา รอ ง ฟา แลบ และฟาผา
ก. ฝนตก
ข. น้าํ ทว ม
ค. แผน ดนิ ไหว
ง. ปรากฏการณเ รอื นกระจก

8. ปรากฏการณใดที่จําเปนตอการดํารงชีวิตของมนุษยมาก
ก. ฝน
ข. ฟา ผา
ค. ฟา รอง
ง. ฟา แลบ

9. เราจะชวยรักษาสภาพแวดลอมทางธรรมชาติไดอยางไร

ก. ไมฆ า สัตวในวันพระ

ข. ไมใ ชน าํ้ ในแมนาํ้ ลําคลอง

ค. ไมเ ลย้ี งสัตวใ นบรเิ วณบาน

ง. ไมทิ้งขยะลงในแมน้ําลําคลอง

184

10. ขอใดหมายถึงกระบวนการรีไซเคิล
ก. วสั ดใุ ชแ ลว --> ขาย
ข. วสั ดใุ ชแ ลว --> เผาทําลาย
ค. วสั ดใุ ชแ ลว --> ทําความสะอาด --> ใชใหม
ง. วสั ดใุ ชแ ลว --> กระบวนการผลิต --> วสั ดใุ หม

เฉลยแบบทดสอบบทท่ี 6 เรอ่ื งระบบนเิ วศน 9. ง 10. ง
1. ข 2. ก 3. ค 4. ก 5. ค 6. ง 7. ก 8. ก

185

บทที่ 7
สารและการจาํ แนกสาร

สาระสําคัญ
สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมี ความแตกตาง และจําแนกธาตุ สารประกอบ สารละลาย

และสารผสม จําแนกสารโดยใชเนื้อสารและสถานะเปน เกณฑได

ผลการเรียนรูทค่ี าดหวัง
อธิบายเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของสาร การจําแนก สาร กรด เบส ธาตุ

สารประกอบ สารละลายและของผสมและใชสารและผลติ ภณั ฑใน ชีวติ ประจาํ วนั ไดอ ยา งถกู ตองและ
ปลอดภัยตอชีวิต

ขอบขายเนอ้ื หา
เรือ่ งที่ 1 สมบัติของสาร และเกณฑใ นการจาํ แนกสาร
เรื่องที่ 2 สมบัติของธาตุ สารประกอบ สารละลาย สารผสม

186

เรอ่ื งท่ี 1 สมบัติของสาร และเกณฑใ นการจาํ แนกสาร

สมบัติของสาร หมายถงึ ลกั ษณะเฉพาะตัวของสาร เชน เนื้อสาร สี กลิ่น รส การนําไฟฟา การ
ละลายนาํ้ จดุ เดอื ด จดุ หลอมเหลว ความเปน กรด– เบส เปนตน สารแตละชนดิ มีสมบัติเฉพาะตัวทแี่ ตกตา ง
กัน แบงเปน 2 ประเภทคือ

1. สมบัติทางกายภาพของสาร เปนสมบัติของสารที่สามารถสังเกตไดงาย เพื่อบอกลักษณะของ
สารอยางครา ว ๆ ไดแก สถานะ ความแข็ง ความออ น สี กล่ิน ลกั ษณะผลกึ ความหนาแนน หรอื เปน
สมบัติที่อาจตรวจสอบไดโดยทําการทดลองอยางงาย ๆ ไดแก การละลายน้ํา การหาจุดเดอื ด การหาจดุ
หลอมเหลว หรือจุดเยือกแข็ง การนําไฟฟา การหาความถวงจําเพาะ การหาความรอนแฝง

2. สมบัติทางเคมี หมายถึง สมบัติเฉพาะตัวของสารที่เกี่ยวของกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เชน การเกิด
สารใหม การสลายตัวใหไดส ารใหม การเผาไหม การระเบิด และการเกิดสนิมของโลหะ เปน ตน

เกณฑในการจําแนกสาร

ในการศกึ ษาเร่อื งสาร จําเปนตอ งแบง สารออกเปน หมวดหมู เพอ่ื ใหง ายตอ การจดจาํ สาร โดยท่วั ไป
นิยมใชสมบัติทางกายภาพดานใดดานหนึ่งของสารเปนเกณฑในการจําแนกสารซึ่งมีหลายเกณฑดวยกัน เชน

1.ใชสถานะเปน เกณฑ จะแบงสารออกไดเปน 3 กลุม คอื
1.1 ของแข็ง ( solid ) หมายถึงสารที่มีลักษณะรูปรางไมเปลี่ยนแปลง และมีรูปรางเฉพาะตัว

เนื่องจากอนภุ าคในของแขง็ จดั เรยี งชดิ ตดิ กันและอัดแนน อยา งมีระเบียบไมมกี ารเคลอื่ นทห่ี รือเคลอื่ นที่ได
นอยมาก ไมสามารถทะลุผานไดและไมสามารถบีบหรือทําใหเล็กลงได เชน ไม หนิ เหลก็ ทองคํา ดิน
ทราย พลาสติก กระดาษ เปน ตน

1.2 ของเหลว ( liquid ) หมายถึงสารที่มลี กั ษณะไหลได มรี ปู รา งตามภาชนะท่บี รรจุ
เน่ืองจากอนุภาคในของเหลวอยหู า งกนั มากกวา ของแข็ง อนุภาคไมย ดึ ติดกันจงึ สามารถเคลือ่ นทไ่ี ดใ น
ระยะใกล และมีแรงดึงดดู ซงึ่ กันและกัน มปี ริมาตรคงท่ี สามารถทะลผุ า นได เชน นํ้า แอลกอฮอล นํ้ามัน
พืช นาํ้ มันเบนซิน เปนตน

1.3 แกส ( gas ) หมายถงึ สารท่ลี ักษณะฟงุ กระจายเตม็ ภาชนะท่ีบรรจุ เนือ่ งจากอนภุ าคของ
แกสอยูหางกันมาก มีพลังงานในการเคลื่อนที่อยางรวดเร็วไปไดในทุกทิศทางตลอดเวลา จึงมีแรงดึงดูด
ระหวา งอนุภาคนอ ยมาก สามารถทะลุผา นไดงา ย และบีบอัดใหเ ลก็ ลงไดง าย เชน อากาศ แกสออกซิเจน
แกสหงุ ตม เปนตน

2.ใชความเปนโลหะเปน เกณฑ แบงไดเ ปน 3 กลมุ คือ
2.1 โลหะ( metal)
2.2 อโลหะ( non-metal )
2.3 กึ่งโลหะ( metaliod )

187

3.ใชการละลายน้ําเปนเกณฑ แบง ได 2 กลุม คอื
3.1 สารที่ละลายนาํ้
3.2 สารทีไ่ มละลายนํา้

4.ใชเนอ้ื สารเปน เกณฑ แบงออกเปน 2 กลุม คือ
4.1 สารเนอ้ื เดยี ว ( homogeneous substance )
4.2 สารเนือ้ ผสม ( heterogeneous substance )

188

เรื่องท่ี 2 สมบัติของธาตุ สารประกอบ สารละลาย สารผสม

ธาตุ (Element) หมายถึง สารบริสุทธิ์ที่มีองคประกอบอยางเดียว ธาตุไมสามารถจะนํามา
แยกสลายใหกลายเปนสารอื่นโดยวิธีการทางเคมี ธาตุมีทั้งสถานะที่เปนของแข็ง เชน ธาตุสังกะสี (Zn)
ตะก่วั (Pb) เงนิ (Ag) และดบี กุ (Sn) , เปนของเหลว เชน ปรอท (Hg) เปนกา ซ เชน ไนโตรเจน (N2) ฮเี ลยี ม
(He) ออกซเิ จน (O2) ไฮโดรเจน (H2) เปนตน

สารประกอบ (compound) หมายถึง “สารบรสิ ุทธเ์ิ นอื้ เดียวทเี่ กิดจากธาตุตง้ั แตสองชนดิ ขนึ้ ไป
เปนองคประกอบ” สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของธาตุโดยวิธีการทางเคมี สามารถแยกสลายใหเกิด
เปนสารใหมห รอื กลบั คนื เปนธาตเุ ดมิ ได สารประกอบจะมีสมบัตเิ ฉพาะตวั ท่ีแตกตา งจากธาตุเดมิ เชน นาํ้
มสี ูตรเคมีเปน H2O น้ําเปนสารประกอบที่เกิดจากธาตุไฮโดรเจน (H) และออกซเิ จน (O) แตม สี มบตั ิ
แตกตางจากไฮโดรเจนและออกซิเจน น้ําตาลทรายประกอบดวยธาตุคารบอน ( C ),ไฮโดรเจน (H) ,และ
ออกซเิ จน (O) เปน ตน

สารละลาย (solution) หมายถงึ สารเน้ือเดยี วทไี่ มบรสิ ทุ ธ์ิ เกดิ จากสารตง้ั แต 2 ชนิดขึ้นไปมา
รวมกนั

สารผสม หมายถึง สารที่มอี งคประกอบภายในแตกตางกัน หรอื สารทเ่ี น้ือไมเ หมอื นกันทกุ สวน
เชน พริกเกลือ คอนกรีต ดนิ หรืออาจเปนสารต้ังแตส องชนดิ ขึน้ ไปผสมกนั อยู โดยทส่ี ารเหลา น้ยี ังมี
สมบัติเหมือนเดิมและสามารถแยกออกจากกันไดโดยวิธีงายๆ

189

แบบฝกหดั ทา ยบทท่ี 7
คาํ ช้แี จง จงเลือกคําตอบที่คดิ วาถูกตองที่สุดเพยี งคาํ ตอบเดียวในแตล ะขอ

1) ขอใดไมใชสสาร
ก. เกลือแกงใสลงในอาหาร
ข. เสียงของสุนัขหอน
ค. นา้ํ แกงกําลังเดือด

ง. สายไฟที่ทําจากพลาสติก
2) ทองเหลืองจัดเปนสารประเภทใด

ก. ธาตุ
ข. สารประกอบ
ค. สารละลาย
ง. สารเน้อื ผสม

3) ขอใดตอไปนี้เปนความหมายของสารประกอบ

ก. โมเลกุลของสารประกอบดวยธาตุ 2 อะตอมขน้ึ ไป
ข. สารทีธ่ าตุเปนชนิดเดียวกนั
ค. สารที่เกดิ จากธาตุ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน
ง. ผลติ ภณั ฑท ไ่ี ดจากการทําปฏกิ ิริยากันของสาร 2 ชนดิ
4) ขอ ความตอไปนขี้ อ ใดถูกตอง
ก. สารละลายทุกชนิดเปนสารบริสุทธิ์
ข. สารบริสุทธ์ิบางชนดิ เปนสารเนอื้ เดยี ว
ค. สารประกอบทุกชนิดเปนสารเนื้อเดียว

ง. ธาตุบางชนิดเปนสารเนื้อเดียว
5) ถาจัด เหลก็ นํ้าเชอื่ ม และสารละลายกรดซัลฟว ริก ใหอยูในกลมุ เดยี วกนั จะตอ ง

ใชอ ะไรเปน เกณฑใ นการจดั
ก. การนําไฟฟา
ข. การละลาย
ค. การเปน สารเนื้อเดียวกนั
ง. สมบตั ิเปนกรด-เบส

190

6) วิธกี ารกล่นั นาํ้ ใหบรสิ ุทธแ์ิ บบธรรมดาจะไมเหมาะสม เมื่อนาํ มาใชกบั อะไร
ก. นํา้ ทะเล

ข. นา้ํ คลอง
ค. นาํ้ ผสมแอลกอฮอล
ง. สารละลายโพแทสเซียมคลอไรด
7) การแยกนาํ้ มนั ดบิ สว นใหญอ าศยั วธิ กี ารแบบใด
ก. การสนั ดาป
ข. การกลัน่ ลาํ ดบั สวน
ค. การตกตะกอนลําดับสวน
ง. การสลายตัวดวยความรอน

8) กรดในขอ ใดเปน กรดอนิ ทรยี ท ง้ั หมด
ก. น้ํามะขาม กรดไฮโดรคลอริก
ข. นาํ้ มะนาว กรดไนตรกิ
ค. กรดแอซติ กิ นา้ํ มะนาว
ง. น้ํามะขาม กรดซัลฟว รกิ

9) สารใดตอ ไปนีม้ ีสภาพเปนเบส ทัง้ หมด
ก. นาํ้ มะนาว นํา้ อัดลม
ข. น้าํ มะขาม น้ําเกลอื

ค. สารละลายผงซกั ฟอก น้ําขี้เถา
ง. สารละลายยาสีฟน น้ํายาลางจาน
10) สบูเ กิดจากปฏิกริ ิยาเคมีระหวา งสง่ิ ใด
ก. แชมพูกับน้ํามนั พืช
ข. กรดกบั ไขมนั สตั ว
ค. ไขมันสตั วก บั น้าํ ขี้เถา
ง. ไมม ีขอ ใดถูก

191

เฉลยแบบทดสอบบทท่ี 7 เร่อื งสารและการจาํ แนกสาร
1. ข
2. ก
3. ค
4. ค
5. ก

6. ง
7. ข
8. ก
9. ค
10. ง

192

บทที่ 8
ธาตแุ ละสารประกอบ

สาระสําคัญ
จาํ แนกธาตุ สารประกอบ โลหะ อโลหะ และโลหะก่งึ โลหะ บอกผลกระทบทเ่ี กิดจาก

ธาตกุ มั มันตรังสี อธบิ ายการเกิดสารประกอบ บอกธาตแุ ละสารประกอบท่ใี ชใ นชวี ิตประจาํ วัน

ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวงั
อธิบายเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของสาร การจําแนก สาร กรด เบส ธาตุ

สารประกอบ สารละลายและของผสมและใชส ารและผลติ ภณั ฑใ น ชวี ติ ประจําวนั ไดอยา งถกู ตอ งและ
ปลอดภยั ตอชีวิต

ขอบขายเนื้อหา
เรื่องท่ี 1 ความหมายและสมบัติของธาตุ กัมมันตรังสี
เร่ืองท่ี 2 สมบัตขิ องโลหะ อโลหะ และกง่ึ โลหะ
เร่ืองท่ี 3 ธาตุกัมมันตรังสี
เร่ืองท่ี 4 สารประกอบ

193

เร่อื งท่ี 1 ความหมายและสมบตั ขิ องธาตุ กัมมนั ตรงั สี

กัมมันตภาพรงั สี (Ionizing Radiation)
1. กมั มนั ตภาพรงั สี (Radioactivity) หมายถึง รังสีที่แผออกมาไดเองจากธาตุบางชนิด
2. ธาตกุ ัมมนั ตรงั สี หมายถึง ธาตทุ ี่มีในธรรมชาติท่ีแผร ังสอี อกมาไดเอง
3. เฮนร่ี เบคเคอเรล นกั ฟส ิกสชาวฝร่ังเศส เปนผูคน พบกมั มนั ตภาพรังสีโดยบังเอิญ ในขณะท่ี
ทําการวิเคราะหเ กยี่ วกับรังสีเอกซ กมั มันตภาพรงั สมี สี มบตั แิ ตกตา งจากรงั สีเอกซ คือ มคี วามเขมนอ ย
กวา รังสีเอกซ การแผรังสเี กิดข้ึนอยา งตอเนอื่ งตลอดเวลา
4. รังสี เปนปรากฏการณธรรมชาติ บางชนดิ เปน คลื่นแมเหลก็ ไฟฟา เชน รงั สีเอกซ รงั สอี ุล
ตราไวโอเลต รงั สอี นิ ฟราเรด บางอยางเปนอนุภาค เชน รังสที ่ีเกดิ จากอนภุ าคอิเลคตรอน รงั สที ี่ไดจาก
ธาตกุ มั มันตรังสีมี 3 ชนดิ คอื รังสีแอลฟา รังสเี บตา และรังสีแกมมา
ชนิดของกัมมันตภาพรังสี กมั มนั ตภาพรงั สมี ี 3 ชนดิ คอื
1) รังสีแอลฟา (alpha, a) คอื นวิ เคลยี สของอะตอมธาตฮุ เี ลยี ม 24He มปี ระจุไฟฟา +2 มีมวลมาก
ความเร็วต่ํา อํานาจทะลุทะลวงนอย มพี ลังงานสูงมากทาํ ใหเ กิดการแตกตวั เปน อิออนไดดที ีส่ ดุ
2) รงั สีเบตา (Beta, b) มี 2 ชนิด คือ อเิ ลคตรอน 0e-1 (ประจลุ บ) และ โฟซติ รอน 0e+1 (ประจุ
บวก) มีความเร็วสูงมากใกลเคียงกับความเร็วแสง
3) รังสีแกมมา (gamma, g) คอื รังสที ไ่ี มม ปี ระจไุ ฟฟา หมายถึง โฟตอนหรือควอนตมั ของแสง มี
อํานาจในการทะลุทะลวงไดสูงมาก ไมเบี่ยงเบนในสนามแมเหล็กและสนามไฟฟา เปน คลนื่
แมเ หล็กไฟฟา ทมี่ ีความถ่ีสูงกวารงั สเี อกซ
คุณสมบัติของกัมมันตภาพรังสี
1. เดนิ ทางเปน เสน ตรง
2. บางชนิดเกิดการเลี้ยวเบนเมื่อผานสนามแมเหล็กและสนามไฟฟา เชน a, b
3. มีอํานาจในการทะลุสารตางๆ ไดดี
4. เมอื่ ผา นสารตา งๆจะสญู เสียพลังงานไปโดยการทาํ ใหส ารน้ันแตกตัวเปนอิออน ซงึ่ อิออน
เหลานน้ั จะกอ ใหเกดิ ปรากฏการณอ่ืนๆ เชน ปฏิกริ ิยาเคมี เกดิ รอยดาํ บนฟลม ถา ยรูป
5. การเปล่ยี นสภาพนิวเคลียส

5.1. การแผกัมมนั ตภาพรังสี เปน ผลมาจากการเปลยี่ นแปลงนิวเคลียส เมื่อนวิ เคลยี ส
ปลดปลอยรังสีออกมานิวเคลียสเองจะเปลี่ยนสภาพเปนนิวเคลียสของธาตุใหม

5.2. การแผรังสีแอลฟา a นิวเคลียสของธาตุเดิมจะเปล่ียนไปโดยท่ีมวล และนิวเคลียส
เดิมลดลงเทากับมวลของอนุภาคแอลฟา

5.3. การแผร ังสีเบตา b ประจไุ ฟฟาของนวิ เคลียสใหมจ ะเพม่ิ หรอื ลดลง 1 e หนว ย


Click to View FlipBook Version