The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001 กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001 กศน.

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001 กศน.

94

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

95

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

96

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

97

แบบฝก หดั ทายบทที่ 4

1. เซลลพืชกบั เซลลส ตั ว มีความแตกตางกันอยางไร
ก. เซลลพชื มผี นงั เซลล เซลลส ตั วไ มม ีผนังเซลล
ข. เซลลพชื ไมมผี นังเซลล เซลลสัตวมผี นังเซลล
ค. เซลลพ ชื มีเยื่อหมุ เซลล เซลลสตั วไ มม เี ยื่อหุมเซลล
ง. เซลลพืชไมมีเยอ่ื หมุ เซลล เซลลสัตวมเี ย่อื หุมเซลล

2. เปรยี บผนงั เซลลเปนสว นใดของรางกาย
ก. ผวิ หนงั
ข. ช้นั ไขมัน
ค.เสน เลอื ด
ง .หวั ใจ

3. เซลลทม่ี ี ไรโบโซมมากที่สดุ คือ
ก .เซลลตับ
ข. เซลลท บ่ี รเิ วณหลอดของหนว ยเนฟรอน
ค. เซลลเ มด็ เลอื ดขาว
ง.เซลลของตอมไรทอ

4. ในการคายน้าํ ของพืช นา้ํ จะออกจากพชื มากทส่ี ดุ ทางใด
ก. หนา ใบ
ข. ปลายใบ
ค. หลงั ใบ
ง. ขอบใบ

5. ดานบนของใบมะมวงมีสเี ขม มากกวาดานลา งเปนเพราะเหตุใด
ก. ไดรับแสงมากกวา
ข. แพลเิ ซดเซลลเ รยี งตวั หนาแนน กวา สปองจเี ซลล
ค. แพลเซดเซลลมีคลอโรพลาสตมากกวาสปองจีเซลล
ง. สปองจีเซลลมีคลอโรพลาสตมากกวาแพบลิเซดเซลล

98

6. การเคลือ่ นทีข่ องแรธาตุในดนิ เขาสูร ากพชื ตองอาศัยกระบวนการใดโดยตรงทสี่ ดุ
ก. การหายใจ
ข.การสังเคระหแสง
ค. การคายน้ํา
ง. กตั เตชนั

7. เพราะเหตใุ ดเวลายา ยตนไมไปปลูกจึงนิยมตัดใบออกเสียบาง
ก. สะดวกในการเคลอ่ื นยา ย
ข. ลดการคายน้ําของพืช
ค. สะดวกในการบงั แดด
ง. ลดนาํ้ หนกั พชื สว นทเ่ี หนอื ดนิ

8. การสงั เคราะหดว ยแสงเปน ขบวนการที่พชื สรา งอะไร
ก. แปง และ คารบ อนไดออกไซด
ข. น้ําตาล และ คารบ อนไดออกไซด
ค. แปง และ ออกซเิ จน
ง. คารโ บไฮเดรต และ ออกซเิ จน

9. คาํ กลา วในขอใดไมเกย่ี วของกับขบวนการสังเคราะหแ สง
ก. สังเคราะหอนิ ทรียสารไดม ากทสี่ ดุ ในโลก
ข. ตนไมเพอื่ นชวี ติ เจา ดดู อากาศพษิ แทนขา
ค. ชวยรักษาระดับคารบอนไดออกไซด ในบรรยากาศใหอยูในภาวะสมดุล
ง. กาซคารบอนมอนอกไซดในอากาศ พืดูดไปใชประโยชนได

10. อะไรจะเกิดขนึ้ ถาแสงท่สี งมายังโลกมเี ฉพาะสเี ขียว
ก. ปริมาณ ออกซิเจนในอากาศจะสูงขึ้น
ข. ปริมาณ คารบอนไดออกไซด ในอากาศจะลดลง
ค. ปริมาณอาหารสะสมในพืชจะสูงขึ้น
ง. ปรมิ าณอาหารท่เี ปน ประโยชนตอสัตว

11. แรธ าตชุ นิดใดท่ีพืชไดจ ากบรรยากาศโดยตรง
ก. ไนโตรเจน
ข. ไฮโดรเจน
ค. คารบอน
ง. ฟอสฟอรสั

99

12. สภาวะใดทไ่ี มจ ําเปนตอ การงอกของเมล็ดพืชสวนใหญ
ก. มีออกซิเจนเพียงพอสําหรับการหายใจ
ข. มนี า้ํ เพยี งพอสําหรบั ปฎิกิริยาเอนไซม
ค. มอี ุณหภมู ิเหมาะสมสาํ หรบั ปฎิกิรยิ าเอนไซม
ง. มีแสงเพยี งพอสําหรับใบเลยี้ ง

13. เอมบรโิ อของพชื มีดอก คือ อะไร
ก. กลุม นเ้ี ยอ่ื ทกี่ ําลงั เจริญอยภู ายในเนือ้ เยือ่ เมลด็ ทั้งหมด
ข. กลุม น้ีเยอ่ื ทก่ี ําลังเจริญในเน้อื เย่อื หุมเมล็ดยกเวน ใบเล้ยี ง
ค. กลมุ นีเ้ ย่อื ทก่ี ําลงั เจริญภายในเนอื้ เยอ่ื เมลด็ ยกเวนเอนโดสเปรม
ง. กลมุ น้ีเยอ่ื ท่ีกําลงั เจริญภายในเนือ้ เย่ือเมล็ดยกเวน ใบเล้ยี งและเอนโดสเปรม

14. ในระหวางการงอกของเมล็ดถว่ั เหลอื ง เอมบรโิ อไดอาหารเกอื บทงั้ หมดมาจากอะไร
ก. ใบเลยี้ ง
ข. เอนโดสเปร ม
ค. เอพคิ อทลิ
ง. นาํ้ และแรธ าตใุ นดนิ

15. ดอกไมค ลบี่ านได เพราะกลบี ดอกมอี ะไร
ก. การเคลอ่ื นไหวแบบนวิ เตชนั
ข. การเคลอ่ื นไหวแบบเทอรเ กอร
ค. การเคลอ่ื นไหวแบบนาสตกิ
ง. กลุมเซลลพวกพัลไวนสั ซ่งึ ไวตอการเปลีย่ นแปลงของอณุ หภูมิ

100

เฉลยแบบทดสอบบทท่ี 4 เรือ่ งกระบวนการดาํ รงชีวติ ของพชื และสตั ว
1. ก 2. ก 3. ค 4. ค 5. ข 6. ค 7. ข 8. ง 9. ง 10. ง

11. ค 12. ง 13. ค 14. ข 15. ค

101

บทที่ 5

ระบบนเิ วศ

สาระสําคัญ

ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ การถายทอดพลังงาน สายใยอาหาร วัฎจักรของ

นา้ํ และวฎั จักรคารบอน

ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวงั
1. อธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศในทองถิ่นและการถายทอด

พลังงานได
2. อธิบายและเขียนแผนภูมิแสดงสายใยอาหารของระบบนิเวศตาง ๆ ในทองถิ่นได
3. อธิบายวัฎจักรของน้ําและคารบอนได

ขอบขายเนอื้ หา
เรอ่ื งที่ 1 ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ
เร่ืองที่ 2 การถายทอดพลังงาน
เร่อื งที่ 3 สายใยอาหาร
เรอ่ื งที่ 4 วฎั จกั รของน้าํ
เร่อื งท่ี 5 วัฎจักรคารบอน

102

เรือ่ งท่ี 1 ความสมั พันธข องสง่ิ มชี ีวิตตา ง ๆ ในระบบนเิ วศ

ระบบนเิ วศ คอื อะไร
ระบบนิเวศ (Ecosystem) เปนช่ือเรยี กของกลุม สิ่งมีชวี ิตและปจ จัยแวดลอ มในบริเวณกวา งแบบ

ใดแบบหนึ่งที่เนนความสัมพันธก นั ของสงิ่ มีชีวิตและส่ิงแวดลอม ซง่ึ ถอื เปน หนว ยที่สําคญั ทสี่ ดุ มกี าร
แลกเปลย่ี นสสาร แรธ าตุ และพลงั งานกบั ส่ิงแวดลอ ม โดยผานระบบหวงโซอ าหาร ( Food chain) เพราะ
ระบบนิเวศนั้นประกอบดวยความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด และความสัมพันธระหวาง
สิง่ มชี ีวติ กับส่งิ แวดลอมทอ่ี าศัยอยู ซึ่งส่งิ แวดลอ มก็คอื สภาพตา งๆ ของสิ่งที่อยรู อบตัวเรา ไดแก
อุณหภูมิ ความชนื้ ระนาบพื้นทส่ี ูง ประเภทของหิน ดนิ ฯลฯ มีการกินกันเปน ทอดๆ ทําใหสสารและ
แรธ าตมุ กี ารหมนุ เวยี นในระบบจนเกดิ เปน วฏั จกั ร

ระบบนเิ วศทใี่ หญท ีส่ ดุ ในโลกเรยี กวา โลกของสิ่งมชี วี ติ โครงสรางของโลกประกอบไปดวย
ทะเล เกาะ และพน้ื ทวปี อกี ทั้งยงั มีสภาพภมู ิอากาศทีห่ ลายหลากจงึ เกิดเปน ระบบนเิ วศหลายรปู ดว ย
เหตุน้ี ระบบนิเวศท่มี คี วามคลายคลึงกนั จึงเรยี กกันวา “ชวี นเิ วศ”

ความแตกตางที่สําคัญระหวางชีวนิเวศแตละแหงมี 2 อยาง คือ ความหลากหลายทางชีวภาพ
หรอื ความหลากหลายสายพนั ธุข องส่งิ มชี ีวติ และ มวลชวี ภาพ หรือปรมิ าณอนิ ทรยี ว ตั ถตุ อ หนว ยพ้นื ที่
ชีวนิเวศที่อุดมสมบูรณที่สุดคือปารกที่มีทั้งความหลากหลายทางชีวภาพและมวลชีวภาพสูง

ระบบนเิ วศหลากหลายบนโลก
ระบบนิเวศทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญมีความแตกตางกัน แตมีความเหมือนกันคือ เปนที่อยูตาม

ธรรมชาติของพชื และสัตว ซงึ่ อยรู วมกันเปน กลุมและมอี ทิ ธิพลตอกัน ทั้งในแหลงน้ําจืด ชายหาด หรือถ้ํา
ใตดินโลกมีน้าํ จดื ในแหลงตางๆ รวมกนั เพียง 0.04% ของปริมาณน้ําทั้งโลก (อกี 2.4% ในปริมาณนํา้ จดื
ท้ังหมดเปนนํ้าท่เี กิดการแขง็ ตัว) น้ําจืดมีปรมิ าณสารละลายเกลอื ในนาํ้ นอยกวาน้าํ ทะเล ซง่ึ สว นใหญเ ปน
นํ้าฝนทต่ี กลงบนพื้นทวปี

ระบบนเิ วศ (ถาํ้ ใตดนิ – ชายฝง ทะเล – ปา ชายเลน)
สงิ่ มชี ีวิตหลกั ๆ ในน้าํ จดื ไดแ ก สาหราย พืชช้นั สูงบางชนดิ และสัตวจ ําพวกครัสเตเซยี น แมลง

ปลา และสตั วครึ่งบกครง่ึ นํ้าชนิดตางๆ สตั วเล้ียงลกู ดวยนมท่ีหาอาหารจากในนํ้าแลว สรา งรงั ไวร ิมฝง
แมนาํ้ เหมือนตวั นากและตัวบีเวอร พ้ืนทช่ี ุมนํ้าเปนแหลงทีม่ ีส่งิ ชีวิตหลากหลายสายพันธุท่ีสดุ เพราะมี
สภาพเปนระบบนิเวศแบบผสมผสานระหวางบนบกกับในน้ํา

103
ถํ้า เปนระบบนิเวศที่ไมมีแสงสวาง (แสงสวา งเปนปจจัยที่ทาํ ใหเ กดิ การสรางอินทรียวัตถ)ุ มี
ความชืน้ สูง และอุณหภมู ิเกอื บคงทต่ี ลอดท้งั ป อินทรยี วตั ถุทีจ่ าํ เปน ตอการดาํ รงชีวติ สามารถเขาไปสใู น
ถ้าํ ไดตามกระแสน้าํ ใตด นิ หรอื สัตวเปน ตัวนาํ เขา มา ดังนัน้ สตั วก ลมุ หลกั ทอี่ าศยั ในถ้าํ จงึ เปนจําพวกแมลง
ปลาบางชนิด สัตวครึ่งบกครึ่งน้ํา โดยเฉพาะคางคาว ซึ่งของเสียจากคางคาวเปนองคประกอบสําคัญของ
อินทรยี วตั ถุ
ชายฝง ทะเล เปนระบบนิเวศที่มีความพิเศษ ซึ่งคาบเกี่ยวระหวางพื้นดินกับทะเล บางแหงน้ําทะเล
ล้ําเขามาในผืนดินตามทางน้ําในหุบเขา หรือ กอนน้ําแข็ง ทําใหเกิดปาชายเลน บางแหงเปนแมน้ําที่ไหล
ลงสูทะเล ทาํ ใหเกดิ ดนิ ดอนสามเหลีย่ ม บางแหงเปน น้ําทะเลไหลเขาสพู ื้นดนิ เพยี งบางชวง ทาํ ใหเกิด
ทะเลสาบชายฝงทะเลขึ้น ทะเลสาบบางแหงมีปริมาณเกลือสูงกวาในทะเล สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูจึงแตกตาง
กนั ออกไปในแตล ะแหง

ภาพชายหาดบริเวณอุทยานวิทยาศาสตรพระจอมเกลา ณ หวากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ
ปาชายเลน เปน ระบบนเิ วศชายฝงที่พบไดเ ฉพาะในเขตรอ นเทา น้นั เปนแหลง ท่ีอยขู องตนไม
และไมพุมทีม่ กี ารปรบั ตัวใหเ ขากบั สภาพแวดลอ ม ตนไมในปาชายเลนจะมรี ากใตด ินยึดผิวดนิ ไว และ
เปน แหลง พักอาศัยของสง่ิ มชี วี ติ บรเิ วณน้ัน ตวั ออ นของส่ิงมชี ีวิตหลายประเภทจะไมส ามารถเตบิ โตเปน
ตัวเต็มวยั ได หากไมมีรากเหลา นค้ี อยคุม กนั สวนเหนอื น้ําจะมรี ากในอากาศ ทาํ หนาทีช่ วยในการหายใจ
เมลด็ จะผสมพนั ธใุ นตน โดยไมต กลงสพู ้ืนดนิ จนกวา จะมนี าํ้ หนกั มากพอที่จะฝงตัวเองในพืน้ ดนิ ได เพอ่ื
ไมใ หก ระแสนาํ้ พดั หายไป

104

ภาพปาโกงกาง บริเวณคลองโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร
(ตนโกงกางเปนตนไมที่ขึ้นบริเวณปาชายเลน)

การเปลีย่ นแปลงแทนท่ีทางนิเวศวิทยา
พ้นื ที่เกษตรกรรมสวนใหญในอดตี เคยเปนปามากอน หากปลอ ยใหร กรา งนานๆ ก็กลับกลายเปน

ปา อีกครงั้ ดวยการทห่ี ญาหรอื วชั พชื ข้ึนมาปกคลมุ ดินสงู ขึน้ เรอื่ ยๆ จากนนั้ พมุ ไมและไมอ อนจะงอก
ขึ้นมาในทุงหญา ตอมาเมื่อไมใหญแตกกิ่งกานสาขา รมเงาของมันจะทําใหหญาคอยๆ ตายในที่สุด ไม
ใหญท ท่ี ําใหพ ื้นท่กี ลายเปนปาเรยี กวา “การเปลี่ยนแปลงแทนที่ทางนิเวศวิทยา”

ในธรรมชาตทิ ่ัวไป การเปล่ยี นแปลงแทนทเ่ี กดิ ข้ึนไดท กุ หนทุกแหง ท้งั ในดินในน้ํา ตวั อยางเชน
เราอาจเคยเหน็ สระนาํ้ ท่ีมพี ชื หลายชนดิ ขน้ึ อยูเ ต็มสระจนรากใตผวิ นาํ้ รกแนนไปหมด รากเหลานีจ้ ะยึด
และสะสมดินหรือซากใบเนาไวจนกระทั่งสระนํา้ คอยๆ ตื้นเขินขน้ึ เรือ่ ยๆ กลายเปนทล่ี ุมช้นื แฉะ และพชื
นํ้าท่เี คยมีกค็ อยๆ หายไปฝนขณะทต่ี น ไมเลก็ ๆ งอกขึ้นแทนทแ่ี ละคอยๆ ทาํ ใหท ่ลี ุมแฉะแหงนน้ั กลายเปน
ดงไมรมช้นื ในทสี่ ุด
ชนั้ ของสิง่ มีชวี ิต

ลักษณะเดน ทสี่ ดุ ของดาวเคราะหท ี่ชอ่ื วา “โลก” คอื การมีสิ่งมชี วี ติ อาศยั อยบู นพ้นื ผิวบางๆ ทีป่ ก
คลุมโลก

105
ชวี ติ ไดเริม่ ถอื กาํ เนิดขนึ้ บนโลกต้งั แตเมอื่ ประมาณ 3,500 ลานปกอน ซึ่งเปนระยะเวลาที่
ยาวนานเพียงพอสาํ หรบั วิวัฒนาการจนเกิดเปน ส่งิ มชี วี ติ หลากหลายสายพนั ธุขึน้ มา

โลกเรามีสภาพแวดลอมและภูมิอากาศหลากหลายรูปแบบเรียกวา “ ความหลากหลายทาง
ชีวภาพ ” แตสงิ่ มีชีวติ บนโลกกย็ ังตองขึน้ อยกู ับแหลงพลงั งานจากภายนอกโลก คือพลังงานจาก
แสงอาทติ ย ซ่ึงทําใหโลกเรามอี ุณหภมู ิที่เหมาะสมตอการสรา งอนิ ทรยี วัตถขุ ้ึนจากกระบวนการ
สังเคราะหแสง

การศึกษาสิง่ มชี วี ติ ทําได 2 วิธี คอื การศกึ ษาตามสปชสี  เหมือนท่ีนักพฤกษศาสตรศ ึกษาพรรณไม
หรือ นักสัตววิทยาศึกษาสัตวตางๆ และ การศึกษาโดยองครวม โดยเลือกเขตใดเขตหนึ่งมาวิเคราะห
สิง่ มชี ีวติ ทุกชวี ิตทอี่ าศัยอยูในเขตนั้น ๆ ตลอดจนความสัมพันธระหวางสง่ิ มีชวี ติ แตล ะชนดิ ทีเ่ รียกวา
“นเิ วศวทิ ยา” คอื การศึกษาส่งิ มชี ีวติ รวมกนั เปนระบบนิเวศ

106

การจดั ลาํ ดบั ชัน้ ของชีวภาพ

ชีวภาค ระบบนเิ วศ และแหลงทอ่ี ยู
โลกของสงิ่ มีชวี ิตท้งั หมดกค็ ือ “ชวี ภาค” สว นหนง่ึ ๆ ของชวี ภาคจะสมั พนั ธเ กี่ยวขอ งกับสว น

อื่นๆ ไมทางตรงก็ทางออม แตชีวภาคทั้งหมดนั้นซับซอนและมีขอบเขตกวางใหญไพศาลจนไมอาจนํามา
ศึกษารวมกันทเี ดยี วได นกั นิเวศวิทยาจงึ แบงชวี ภาคออกเปน หนวยยอ ยทคี่ รอบคลมุ เฉพาะพชื หรอื สัตว
เชน ปาดบิ ชน้ื เขตรอน ปา แลง หรือปา สนเขตหนาวเหนอื โดยเรียกแตล ะหนวยวา “ระบบนิเวศวิทยา” แต
ระบบนิเวศวิทยาก็ใหญโตมาก ในบางสวนของโลก พื้นปาชนิดเดียวกันอาจมีอาณาบริเวณกวางไกล
หลายรอยหลายพันตารางกิโลเมตร

การสาํ รวจปรากฏการณในระบบนเิ วศหนึ่งๆ นักนิเวศวิทยาจะพจิ ารณาสวนยอยๆ ท่มี ีสปช ีส
สาํ คญั อาศัยอยูเทานน้ั โดยสวนยอยของระบบนิเวศน้เี รยี กวา “แหลงที่อยู”

107

ปา ดบิ ชน้ื ปา เขตรอน
ปาดิบช้นื หรือปาเขตรอ นตง้ั อยบู รเิ วณรอบเสน ศูนยสูตร เปน ปา ที่มคี วามหลากหลายทางชวี ภาพ

ที่สุดบนโลก เพราะมพี ืชและสตั วม ากมายหลายพันธุ สภาพของปา เอ้อื ตอสิง่ มชี วี ติ มาก หมตู น ไมจ ะ
ตอสูแยงชงิ พืน้ ทกี่ นั ยดื รากแผก ิ่งกานสาขารบั แสงอาทติ ย ทาํ ใหใ นปา มีตน ไมใ บหญา นานาชนดิ
ครอบคลุมพื้นที่ถึงสามระดับเหมือนคนมีชีวิตอยูคอนโด เพราะหญาและไมพุมบางชนิดปรับตัวขึ้นไปอยู
บนก่ิงกา น ลาํ ตน ไมห รือเปล่ียนรูปเปน ไมเ ลือ้ ยเกย่ี วพนั ตนไมอ่ืน
ปาดิบชืน้ ในทวีปเอเชยี เรยี กวา ปารกหรอื ปา มรสุม ซึ่งแตกตา งจากปาดบิ ชนื้ อน่ื ๆ ตรงท่ไี มไดม ี
ฝนตกตลอดเวลา แตจ ะตกเปน ฤดกู าล ฤดฝู นของปาเหลา น้จี ะช้นื อยกู ับลมมรสุมที่นาํ สายฝนอันหนัก
หนว งมาตกในฤดรู อ นแตใ นฤดหู นาวจะกลายเปน ลมแลง

ภาพปาบริเวณอุทยานแหงชาติตาพระยา จังหวัดสระแกว
ปาดิบชื้นเปนปอดของโลกเพราะเปนที่ผลิตออกซิเจนปริมาณมหาศาล การทําลายปาของมนุษย
อยา งไมหยุดยง้ั อาจทําใหพืชและสตั วห ลายชนดิ สญู พันธุ

มหาสมุทร

สง่ิ สําคัญท่ีทําใหโ ลกแตกตางจากดาวเคราะหดวงอืน่ ๆ ในระบบจกั รวาลหรือเอกภพ (Universal)

คือแหลงนาํ้ อันอดุ มสมบูรณซง่ึ มมี ากถงึ สองในสามสวนของพื้นท่ผี วิ โลก ดงั นน้ั ภมู อิ ากาศบนโลกจงึ

ไดรับอิทธิพลสวนใหญจากมหาสมุทรซึ่งรวบรวมและกระจายพลังงานแสงอาทิตยอยางชาๆ หากไมมี

มหาสมุทร ภูมิอากาศจะแตกตางกันอยางสุดขั้วโดยอุณหภูมิระหวางกลางวันและกลางคืนจะตางกันถึง

250 องศาเซลเซียส สง่ิ มีชวี ติ ยุคแรกๆ จึงใชเ วลานานมากกวาจะข้ึนจากนํา้ มาสูบนพื้นดินท่ีเต็มไปดวย

108
รังสีอัลตราไวโอเลตท่แี สนอนั ตรายได น่ันหมายถึงการเกดิ ข้นึ ของชนั้ โอโซนเม่อื ราว 500 ลา นปก อน
ทําใหสิ่งมีชีวิตสามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมบนพื้นทวีปได

ภูมิประเทศใตมหาสมุทร มีรูปแบบหลัก คือสันเขาใตทะเลและรองลึกใตทะเล สันเขาใตทะเล
คือกลมุ เทอื กเขาซง่ึ ยาวมากกวา เทือกเขาบนพ้ืนดนิ และรองลึกใตทะเลคือรอยแยกลึกทเ่ี ปน ตน เหตุของ
การเกดิ แผน ดนิ ไหวครง้ั ใหญบ นพน้ื โลกสว นมาก

องคประกอบของระบบนเิ วศ
การจําแนกองคประกอบของระบบนิเวศ สวนใหญจะจําแนกไดเปนสององคประกอบหลักๆ คือ
องคประกอบที่ไมมีชีวิต (Abiotic) และองคประกอบที่มีชีวิต (Biotic)

1. องคประกอบที่ไมมีชีวิต (Abiotic component)
1.1 สารประกอบอินทรยี  (Organic compound) เชน โปรตนี ไขมนั

คารโ บไฮเดรต วิตามิน สารเหลานม้ี ีการหมนุ เวียนใชใ นระบบนิเวศ เรยี กวา วฏั จักรของสารเคมธี รณีชีวะ
(biogeochemical cycle)

1.2 สารประกอบอนินทรีย (Inorganic compound) เชน น้าํ คารบ อนไดออกไซด
ฯลฯ, สภาพแวดลอมทางกายภาพ ( Abiotic environment) เชน อุณหภมู ิ แสงสวาง ความกดดัน พลังงาน
สสาร สภาพพ้ืนท่ี และสภาพสิ่งแวดลอม พลังงานแสง พลังงานไฟฟา พลังงานปรมาณู และซากสิ่งมีชีวิต
เนา เปอ ยทบั ถมกันในดิน (Humus) เปน ตน ซ่งึ สิ่งเหลา นเ้ี ปน องคป ระกอบสําคญั ในเซลลสิ่งมชี วี ติ

2. องคประกอบที่มีชีวิต (Biotic components) ท่มี าจาก พชื สัตวต า งๆ ตง้ั แตช นดิ ที่
มองเห็นดวยตาเปลา ไปจนถึงชนิดที่ไมสามารถมองเห็นดวยตาเปลา ซึ่งสามารถแบงออกได ดังนี้

109
2.1 ผูผลติ ( Producer or Autotrophic) ไดแก สิง่ มชี วี ิตท่สี รางอาหารเองได
(Autotroph) จากสารอนินทรยี สว นมากจะเปนพืชทมี่ คี ลอโรฟล ล

ภาพพืช แหลงสรางอาหารใหแกส ่ิงมชี ีวติ
2.2 ผบู รโิ ภค ( Consumer) ไดแก ส่งิ มชี วี ติ ทไี่ มสามารถสรา งอาหารเองได
(Heterotroph) ตองไดกินสง่ิ มชี ีวติ อื่นเปนอาหาร เน่ืองจากสตั วเหลาน้ีมขี นาดใหญจ ึงเรียกวา แมโครคอน
ซมู เมอร (Macro consumer) โดยแบงชนิดสิง่ มีชีวิตจากพฤติกรรมการกนิ เปน 4 อยา ง ไดแก
 กินพชื เชน โค กระบือ
 กินสตั ว เชน เสือ สงิ โต
 กินทั้งพืชและสัตว เชน มนษุ ย ไก
 กินซาก เชน แรง มด

110

ภาพแลน
(แลนเปนส่งิ มชี ีวิตทจ่ี ัดอยูในกลมุ ผบู ริโภค)
2.3 ผยู อยสลายอนิ ทรยี ส าร ( decomposer, saprotroph, osmotroph หรอื micro
Consumer) คือ พวกแบคทเี รีย ไดแกสิ่งมีชีวติ ขนาดเลก็ ท่สี รา งอาหารเองไมได เชน แบคทีเรยี เหด็ รา
(Fungi) และแอกติโนมัยซีต ( Actinomycete) ทาํ หนาท่ยี อยสลายซากส่งิ มีชีวิตท่ีตายแลวในรูปของ
สารประกอบโมเลกุลใหญใหกลายเปนสารประกอบโมเลกุลเล็กในรูปของสารอาหาร ( Nutrients)
เพอ่ื ใหผูผลิตนาํ ไปใชไดใหมอ ีก

ภาพเห็ด

111
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/16cm05/1116/16ecosys.htm

112

เร่ืองท่ี 2 การถายทอดพลังงาน

การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ มีความสําคัญมาก การถายทอดพลังงานในโซอาหาร มีความ
ยาวจํากัด โดยปกตจิ ะสนิ้ สดุ ทผี่ บู รโิ ภค ซ่งึ มีรายละเอียดดังนี้
พรี ะมิดการถายทอดพลงั งาน ( food pyramid )
1. พีระมดิ จาํ นวน ( pyramid of number )

• แตล ะขั้นแสดงใหเ หน็ จาํ นวนสง่ิ มีชีวิตในแตล ะลําดบั ขัน้ ของหวงโซอาหารตอ หนวยพื้นทหี่ รอื
ปริมาตร สิ่งมีชีวิตท่ีอยูบนยอดสุดของพีระมิดถกู รองรับ โดยสิง่ มีชีวิตจํานวนมาก

2. พรี ะมิดมวลชวี ภาพ ( pyramid of biomass )
• คลา ยกบั พรี ะมิดจาํ นวน แตขนาดของพีระมิดแตละขั้นจะบอก ถึงปริมาณหรือมวลชีวภาพ
ของ ส่งิ มีชีวิตในแตล ะลาํ ดบั ขน้ั ของหว งโซอ าหาร

113

3. พีระมิดพลงั งาน ( pyramid of energy )
• แสดงคาพลังงานในสิ่งมีชีวิตแตละหนวยมีหนวยเปนกิโลแคลอรีตอตารางเมตรตอป

114

เร่ืองท่ี 3 สายใยอาหาร (Food web)

หว งโซอ าหาร (food chain)
พชื และสัตวจ ําเปน ตองไดร บั พลงั งานเพ่ือใชใ นการดาํ รงชวี ิต โดยพืชจะไดรับพลังงานจากแสง

ของดวงอาทิตย โดยใชรงควตั ถุสีเขียวทเี่ รยี กวา คลอโรฟล ล (chlorophyll) เปน ตวั ดดู กลนื พลงั งาน
แสงเพื่อนํามาใช ในการสรางอาหาร เชน กลโู คส แปง ไขมัน โปรตนี เปนตน

พชื จงึ เปน ผผู ลติ (producer) และเปนสิ่งมีชีวิตอันดับแรกในการถายทอดพลังงานแบบหวงโซ
อาหาร
สาํ หรับสัตวเปน ส่งิ มชี วี ิต ทไ่ี มสามารถสรา ง อาหารเองได จําเปนตองไดรับพลังงาน
จากการบริโภค สิ่งมชี ีวิตอืน่ เปน อาหาร สตั วจ ึงถอื วา เปน ผูบรโิ ภค (consumer) ซึง่ แบงออกไดเปน

• ผบู รโิ ภคลาํ ดับทีห่ นงึ่ (primary consumer) หมายถึง สตั วทกี่ ินผูผ ลติ
• ผูบ ริโภคลาํ ดับที่สอง (secondary consumer ) หมายถึง สตั วท ก่ี นิ ผูบริโภคลาํ ดับที่หนง่ึ

ในกลุมส่งิ มีชวี ิตหนึง่ ๆ หว งโซอ าหารไมไ ดดาํ เนนิ ไปอยางอิสระ แตล ะหว งโซอ าหารอาจ
มีความสัมพันธ กบั หว งโซอื่นอีก โดยเปน ความสัมพันธท ีส่ ลับซบั ซอน เชน ส่งิ มชี ีวิตหนึ่งในหวงโซ
อาหาร อาจเปนอาหาร ของสิง่ มีชวี ติ อกี ชนิดหน่ึงในหว งโซอ าหารอ่ืนกไ็ ด เราเรยี กลักษณะหวงโซอ าหาร
หลายๆ หว งโซท ่ีมคี วามสมั พันธเ กี่ยวขอ งกันอยา งสลับซบั ซอนวา สายใยอาหาร (food web)

สายใยอาหารของกลุมสิ่งมีชีวิตใดที่มีความซับซอนมาก แสดงวาผูบรโิ ภคลําดบั ท่ี 2 และ
ลําดบั ที่ 3 มีทางเลือกในการกินอาหารไดหลายทางมีผลทําใหกลุมสิ่งมีชีวิตนั้นมีความมั่นคงในการ
ดํารงชีวิตมากตามไปดวย

ผบู ริโภคลําดบั สูงสดุ (top consumer) หมายถึง สตั วท ีอ่ ยปู รายสุดของหว งโซอ าหาร
ซ่ึงไมมสี ง่ิ มชี ีวิตใด มากนิ ตอ อาจเรยี กวา ผบู รโิ ภคลาํ ดบั สุดทา ย

115

เรือ่ งท่ี 4 วัฏจกั รของนาํ้

วัฎจักรของนา้ํ (Water cycle) หรือ ชื่อในทางวิทยาศาสตรวา “ วฏั จกั รของอุทกวทิ ยา ”
(Hydrologic cycle) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงสถานะของน้ําระหวางของเหลว ของแข็ง และกาซ วัฏ
จักรของน้ําจะมีการเปลี่ยนแปลงสถานะไปมา จากสถานะหนึ่งไปยังอีกสถานะหนึ่งอยางตอเนื่องไมมีที่
สิน้ สดุ ภายในอาณาจักรของนาํ้ (Hydrosphere) เชน การเปลี่ยนแปลงระหวาง ชน้ั บรรยากาศ นา้ํ ผิวดิน ผิว
นํ้า นํา้ ใตดนิ และพืช

การเปลี่ยนสถานะของน้ําเปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เร่ิมจากนา้ํ ในแหลง นาํ้
ตา งๆ เชน ทะเล มหาสมุทร แมน ํา้ ลําคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ การคายน้ําของพืช การขับถายของเสีย
และจากกิจกรรมตางๆ ในการดํารงชีวติ ของส่งิ มีชีวิต ทงั้ หมดน้เี มอ่ื ระเหยกลายเปนไอขึน้ สบู รรยากาศ
และกระทบกับความเย็นบนชั้นบรรยากาศจะควบแนนกลายเปนละอองน้ําเล็กๆ รวมตัวกันเปนกอนเมฆ
เม่ือมนี ้ําหนกั พอเหมาะก็จะกลายเปนฝน หรือลกู เหบ็ ตกลงสูพ นื้ ดนิ แลวไหลลงสแู หลง นา้ํ หมุนเวยี นอยู
เชนนีเ้ รื่อยไป

กระบวนการเปลี่ยนแปลงนี้ สามารถแยกไดเปน 4 ประเภท คอื การระเหยเปน ไอ ( Evaporation),
หยาดนาํ้ ฟา (Precipitation), การซึม (Infiltration), และ การเกดิ นํา้ ทา (Runoff)

การระเหยเปน ไอ ( Evaporation) เปนการเปลี่ยนแปลงสถานะของน้ําบนพื้นผิวไปสูบรรยากาศ
ทั้งการระเหยเปนไอ ( Evaporation) โดยตรง และจากการคายน้ําของพืช ( Transpiration) ซง่ึ เรียกวา
“Evapotranspiration”

116

หยาดน้ําฟา (Precipitation) เปนการตกลงมาของน้ําในบรรยากาศสูพื้นผิวโลก โดยละอองน้ําใน
บรรยากาศจะรวมตวั กันเปน กอ นเมฆ และในทส่ี ุดกล่ันตัวเปนฝนตกลงสูผ วิ โลก รวมถงึ หมิ ะ และ
ลูกเห็บ

การซึม (Infiltration) จากนา้ํ บนพ้นื ผิวลงสูดนิ เปน น้ําใตดิน อัตราการซมึ จะขึน้ อยกู ับประเภท
ของดิน หนิ และ ปจจัยประกอบอนื่ ๆ น้าํ ใตดินนัน้ จะเคลอื่ นตวั ชา และอาจไหลกลับข้ึนบนผิวดนิ หรือ
อาจถกู กักอยภู ายใตชัน้ หนิ เปน เวลาหลายพันป โดยปกติแลวนาํ้ ใตด ินจะกลบั เปน นํา้ ทผี่ ิวดินบนพนื้ ทที่ อี่ ยู
ระดับตาํ่ กวา ยกเวน ในกรณขี องบอ น้ําบาดาล

น้าํ ทา (Runoff) หรอื น้ําไหลผา นเปน การไหลของนา้ํ บนผวิ ดินไปสมู หาสมุทร นาํ้ ไหลลงสูแมน้าํ
และไหลไปสมู หาสมุทร ซึง่ อาจจะถกู กกั ชั่วคราวตาม บึง หรือ ทะเลสาบ กอนไหลลงสมู หาสมุทร น้ํา
บางสวนกลับกลายเปนไอกอนจะไหลกลับลงสูมหาสมุทร

ปจ จัยทท่ี ําใหเกิดการหมุนเวียนของนาํ้
1. ความรอนจากดวงอาทิตย ทําใหโมเลกุลของน้ําแตกตัวและเกิดการระเหยของน้ํากลายเปนไอ

ขน้ึ สบู รรยากาศ

2. กระแสลม ทําใหน า้ํ ระเหยกลายเปน ไอเร็วขนึ้
3. มนษุ ย และ สตั ว ขับถายของเสียออกมาในรูปของเหงื่อ ปสสาวะ และลมหายใจ กลายเปน
ไอนา้ํ สูช ้นั บรรยากาศ

4. พืช รากตนไม ซึ่งเปรยี บเหมือน
ฟองน้ํา ที่มีความสามารถในการดูด
นาํ้ จากใตด นิ จาํ นวนมากขน้ึ ไปเกบ็ ไว
ในสวนตาง ๆ ท้ังยอด กงิ่ ใบ ดอก ผล
และลําตน แลวคายนา้ํ สูบ รรยากาศ
ไอนาํ้ เหลา นจ้ี ะควบแนน และรวมกนั
กลายเปนเมฆและตกลงมาเปนฝน
ตอ ไป
ปริมาณน้ําที่ระเหย จากมหาสมุทร 84%
จากพน้ื ดนิ 16% ปริมาณน้ําทตี่ กลงใน
มหาสมุทร 77% บนพ้ืนดนิ 23%

117

เรือ่ งท่ี 5 วฏั จักรของคารบ อน (Carbon Cycle)

วัฎจักรของคารบอน เปนวัฏจักรที่มีการสังเคราะหดวยแสงโดยพืช สาหราย แพลงกต อนพชื และ
แบคทีเรยี ใชก าซคารบ อนไดออกไซด และใหผลผลิตเปน คารโบไฮเดรต ในรปู ของนํ้าตาลและเม่อื มกี าร
หายใจ กาซคารบอนไดออกไซดจะถูกปลดปลอยออกสูบรรยากาศอีกครั้ง

คารบอนที่ไดย ังอยูใ นรปู ของสารอินทรยี ทอ่ี ยูในสงิ่ มีชวี ิต เชน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน
กรดนวิ คลอี กิ ฯลฯ ปรมิ าณคารบ อนสว นนจ้ี ะหมนุ เวยี นในระบบนเิ วศผา นระบบหว งโซอ าหาร (Food
chain) จากผผู ลติ ไปสูผบู รโิ ภคในระดบั ตา งๆ เมื่อสิ่งมชี วี ิตตายลง ผูยอยสลาย เชน ราและแบคทีเรีย จะ
ยอยสลายคารบอนเหลานี้ ใหก ลายเปน แกส คารบ อนไดออกไซด

ภาพจาก http://student.nkw.ac.th/
คารบอนเปนธาตุพบในสารประกอบของสารอินทรียเคมีทุกชนิด ดังนั้น วัฏจักรของคารบอนจึง
เปนหัวใจของสิง่ มชี วี ติ ทุกชนิด คารบ อนจะสัมพนั ธก ับวัฏจกั รของธาตุอ่ืนๆ ในระบบนิเวศในรปู ของ
แกส คารบ อนไดออกไซดใ นอากาศ และ ในรปู ของไบคารบ อเนตในนาํ้ ผูผลิตสวนใหญไดแกพืช จะใช
แกส คารบ อนไดออกไซดใ นกระบวนการสงั เคราะหแ สง แลว ปลอ ยแกส คารบ อนไดออกไซดก ลบั สู
บรรยากาศหรือน้ําโดยกระบวนการหายใจ พืชจะเก็บธาตุคารบอนไวในรูปของสารอินทรีย แลว ถา ยทอด
สผู บู ริโภคผา นระบบหวงโซอาหาร สวนสตั วน นั้ จะปลอ ยคารบอนไดออกไซดอ อกสูอากาศโดย
กระบวนการหายใจ เมอื่ พืชและสัตวต ายจะพบวา มีธาตคุ ารบอนสะสมอยูดว ย คารบอนทอี่ ยใู นรูปของ
ซากพืชและซากสัตวบางชนิดจะไมยอยสลาย เม่ือเก็บไวนานๆ หลายรอยลานป ซากเหลานี้จะกลาย
เปลย่ี นเปนสารท่ใี หพ ลงั งาน ในปจ จุบันท่ใี ชก นั ก็คือ ถานหิน นํา้ มัน และแกส สารจาํ พวกนีม้ นษุ ยจ ะ
นํามาใชเปนเชื้อเพลิง เมื่อนํามาผานกระบวนการเผาไหมก็จะเกิดแกสคารบอน ซง่ึ แกส คารบ อนเหลานีก้ ็
ถูกปลอยเขาสูบรรยากาศ

118

ใบงาน เรอ่ื ง ระบบนเิ วศ

1. ระบบนิเวศ คืออะไร
ตอบ…

2. ยกตวั อยางสภาพตา งๆ ของส่ิงทอี่ ยูร อบตัวเรา มา 5 ตัวอยา ง
ตอบ

3. “ชวี นเิ วศ” คอื อะไร
ตอบ

4. ปรมิ าณนา้ํ จืดในแหลงตางๆ ทง้ั โลก มอี ยเู ทาไหร
ตอบ

5. จงอธิบายลักษณะของ “ถํ้า” มาพอสังเขป
ตอบ

6. ทําไมชายฝงทะเลจึงเปนระบบนิเวศที่มีความพิเศษ
ตอบ

7. บรเิ วณใดในโลกทพ่ี บ “ปาชายเลน” และทําไมจงึ เปนเชน น้ัน
ตอบ

8. การศึกษาสิ่งมีชีวิตทําไดก ่ีวธิ ี อะไรบางจงอธบิ าย
ตอบ…การศึกษาสงิ่ มีชวี ติ ทําได 2 วิธศึกษาโดยองครวม ….

9. ในการจัดลําดับชน้ั ของชีวภาพ สิ่งมชี ีวิตใดท่ที อ่ี ยูระดบั ตํา่ สดุ
ตอบ

10. จงอธิบายลักษณะของปาดิบชื้นในทวีปเอเชีย
ตอบ

11. ทําไมมหาสมุทรจึงมีความสําคัญตอดาวเคราะหโลก
ตอบ

12. องคประกอบของระบบนิเวศมีอะไรบางใหอธิบายพอสังเขป
ตอบ…มีองคประกอบ 2 แบบ คือริโภค และผูยอ ยสลาย…12

13. องคประกอบที่มีชีวิต (Biotic components) ท่ีมาจาก พืช สตั วตางๆ แบง ออกได เปน ก่แี บบ อะไรบา ง
ตอบ…3 แบบ คือองผูผ ลติ ….

14. พลังงานชนิดใดที่สงมาถึงระบบนิเวศทั้งมวลบนโลก
ตอบ

119

15. จงอธิบายลักษณะของการหายใจในระดับเซลล (Respiration)
ตอบแตกตวั ออกเปน CO2และ

16. “วัฏจักรของน้ํา” (Water cycle) คืออะไร และมีลักษณะอยางไร
ตอบ…การเปลี่ยนแปลงสถานะภาพของน้ํา มี 3 แบบ คือ

17. วัฏจักรของคารบอน (Carbon Cycle) คืออะไร และมลี ักษณะอยางไร
ตอบ

120

ใบงาน เรอ่ื ง ระบบนเิ วศ
ระบบนิเวศ คืออะไร

1. ตอบ…กลุมมชี ีวิตท่ีอาศยั อยูใสส่ิงแวดลอ มบริเวณใดบรเิ วณหน่ึง โดยมีความสมั พันธกัน
ผานระบบหวงโซอาหารและความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสภาพทางกายภาพ …

ยกตัวอยางสภาพตางๆ ของสิ่งท่ีอยูรอบตวั เรา มา 5 ตัวอยา ง
2. ตอบ…อณุ หภมู ิ ความชน้ื ดิน ความสงู ตํา่ ของพ้นื ทีอ่ าศัย….

“ชวี นเิ วศ” คอื อะไร
3. ตอบ…ระบบนิเวศที่มีความคลายคลึงกัน….

ปรมิ าณน้ําจดื ในแหลงตา งๆ ทงั้ โลก มีอยูเ ทาไหร
4. ตอบ… 0.04 %….

จงอธิบายลักษณะของ “ถาํ้ ” มาพอสังเขป
5. ตอบ…ภายในถ้าํ ไมมแี สงสวา ง ความชน้ื สงู อุณหภมู ิคงที่เกอื บตลอดท้งั ป… .

ทําไมชายฝงทะเลจึงเปนระบบนิเวศที่มีความพิเศษ
6. ตอบ…เพราะเปนระบบนิเวศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง….

บริเวณใดในโลกท่ีพบ “ปาชายเลน” และทําไมจงึ เปนเชนนนั้
7. ตอบ…บรเิ วณชายฝง ทะเลเขตรอ น….

การศกึ ษาส่ิงมชี วี ติ ทําไดก ่วี ธิ ี อะไรบางจงอธบิ าย
8. ตอบ…การศึกษาสิง่ มีชวี ติ ทาํ ได 2 วธิ ี คอื
1. ศึกษาตามสปชีส
2. ศึกษาโดยองครวม ….

ในการจดั ลําดับช้นั ของชีวภาพ ส่ิงมชี วี ิตใดท่ีที่อยรู ะดับตํ่าสุด
9. ตอบ…เซลล… .

จงอธิบายลักษณะของปาดิบชื้นในทวีปเอเชีย
10. ตอบ…ปาดบิ ชนื้ ในทวปี เอเชยี เปน ปามรสุม ซึง่ มฝี นตกเปน ฤดูกาล….

ทําไมมหาสมุทรจึงมีความสําคัญตอดาวเคราะหโลก
11. ตอบ…มหาสมุทรมีอิทธิพลตอสภาพภูมิอากาศบนโลก ถาไมมีมหาสมุทรอากาศบนโลกจะ

แตกตา งกันอยา งสุดข้ัว กลางวนั และกลางคนื จะมีอณุ หภมู ิที่ตา งกนั อยา งมาก….

121

องคประกอบของระบบนิเวศมีอะไรบางใหอธิบายพอสังเขป
12. ตอบ…มีองคประกอบ 2 แบบ คือ
1.องคประกอบที่ไมมีชีวิต (Abiotic) เชน โปรตีน ไขมนั คารโ บไฮเดรต วติ ามิน เปน ตน ซ่งึ สาร

เหลานี้ เปน สารอนิ ทรีย สว นทีเ่ ปน อนินทรยี  เชน นา้ํ คารบอนไดออกไซด นอกจากนน้ั ยงั รวมถึง
สภาพแวดลอ มทางกายภาพ เชน แสงสวา ง อุณหภูมิ ความกดดัน พลังงานตา ง ๆ เปน ตน

2.องคประกอบที่มีชีวิต (Biatic) มี 3 อยาง คอื ผูผ ลิต ผบู รโิ ภค และผูยอ ยสลาย….
องคประกอบที่มีชีวิต (Biotic components) ที่มาจาก พชื สตั วต างๆ แบงออกได เปน กี่แบบ อะไรบา ง

13. ตอบ…3 แบบ คือ
1.ผูผลิต ไดแก พชื และสาหราย
2.ผบู รโิ ภค คือ ผูท กี่ นิ พืชและกินสัตว
3.ผูยอ ยสลาย คอื ผทู ย่ี อ ยซากพืชซากสัตว ใหเ ปนสารอาหารของผผู ลติ ….
พลังงานชนิดใดที่สงมาถึงระบบนิเวศทั้งมวลบนโลก
14. ตอบ…แสงจากดวงอาทิตย….
จงอธิบายลักษณะของการหายใจในระดับเซลล (Respiration)
15. ตอบ…การหายใจในระดับเซลล เปนการทําใหโมเลกุลของอินทรียสารแตกตัวออกเปน CO2
และ H2O โดยอาศยั จลุ นิ ทรยี ท ช่ี ว ยอนิ ทรียสารจากซากพชิ ซากสัตว รวมถึงของเสียตา ง ๆ
“วัฏจกั รของน้าํ ” (Water cycle) คืออะไร และมลี ักษณะอยา งไร
16. ตอบ…การเปลี่ยนแปลงสถานะภาพของน้ํา มี 3 แบบ คือ
1. ของเหลว
2.ของแข็ง
3.กา ช ซึง่ สถานะภาพทั้ง 3 นี้ จะเปนวงจรท่ีไมมที ่สี ิน้ สุด….
วัฏจักรของคารบอน (Carbon Cycle) คืออะไร และมีลักษณะอยางไร
17. ตอบ…การสังเคราะหแสงโดยพืช สาหราย แพลงกตอนและแบคทรีเรีย โดยการใช CO2
และใหผ ลผลิตเปน คารโ บไฮเดรต ในรูปของน้ําตาล และในรปู ของกา ช CO2 จากการหายใจออกสูอากาศ
ของส่ิงมีชีวิตทง้ั คนและสตั ว…

122

แบบฝก หดั ทา ยบทท่ี 5
คาํ ช้ีแจง ใหเลือกคําตอบท่ีถูกตองทสี่ ุดเพยี งขอ เดียว แลวทําเครอ่ื งหมายทับ ตวั อกั ษร ก, ข,

ค หรือ ง ใหตรงกับขอที่ทานเลือกตอบ

1. ระบบนิเวศหมายถึงอะไร
ก. ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตตางๆ กับสิ่งแวดลอมของสิ่งมีชีวิตและมีการถายทอดไปตามลําดับ
ข. การกนิ กันเปนทอดๆ เรม่ิ ตัง้ แตผ ูผลติ ผูบ ริโภคพชื ผูบรโิ ภคสตั วตามลําดบั
ค. ลักษณะการกินกันซับซอนประกอบดวยหวงโซอาหารมากมาย
ง. พลังงานจากแสงอาทิตย

2. โครงสรางของระบบนิเวศ มีกี่หนวย
ก. 2 หนว ย คอื สิง่ ไมมีชวี ติ ผยู อ ยสลาย
ข. 2 หนว ย คอื ส่งิ ไมม ีชีวิต สิ่งมชี วี ติ
ค. 3 หนว ย คอื ส่ิงไมมีชีวติ ส่งิ มีชวี ิต และผูบรโิ ภค
ง. 3 หนวย คือ ส่ิงไมม ชี วี ิต ผูผ ลิต และผบู รโิ ภค

3. สง่ิ มชี วี ติ กลมุ ใดทสี่ ามารถเปลย่ี นอนินทรยี สารเปน อนิ ทรียสารได
ก. พชื สเี ขยี ว
ข. สัตวก นิ พืช
ค. สตั วกนิ เนื้อ
ง. ผูยอ ยสลาย

4. ขอ ใดจดั เปน หว งโซอ าหาร
ก. เหย่ยี ว---พชื ---ผเี สอื้ ---นก
ข. เหย่ียว---นก---ผเี สอื้ ---พชื
ค. นก---เหยย่ี ว---นก---ผีเสอ้ื
ง. ผีเส้อื ---พชื ---นก---เหยี่ยว

5. กลวยไมท ่ีอาศยั เกาะบนตนไมใหญ จัดเปนความสัมพันธแบบใด
ก. ภาวะการอยูร ว มกนั
ข. ภาวะลาเหยอ่ื
ค. ภาวะปรสติ
ง. ภาวะพึง่ พา

123

6. หมดั กดั สนุ ขั และ ยงุ กดั คน จดั เปนความสมั พันธแบบใด
ก. ภาวะอยูรวมกัน
ข. ภาวะลา เหยอื่
ค. ภาวะปรสิต
ง. ภาวะพึ่งพา

7. การตดั ตน ไม ทําลายปาจะทําใหเกิดผลกระทบใดตามมา
ก. น้ําปาไหลหลาก สง่ิ มชี วี ิตตาย

ข. แผน ดนิ ไหว ภเู ขาไฟระเบิด

ค. เกดิ สนึ ามิ สิ่งมชี ีวิตตาย

ง. ภาวะเรือนกระจก
8. การจดั ลาํ ดับช้นั ของชีวภาพขอใดเรียงจากสูงสุดไปหาตา่ํ สดุ ไดถ ูกตอ ง

ก. ชวี นเิ วศ – ระบบนิเวศ – ชุมชน – ประชากร

ข. ชวี นเิ วศ – ประชากร– ชุมชน – ระบบนเิ วศ

ค. ระบบนิเวศ – ชวี นเิ วศ – ชุมชน – ประชากร

ง. ระบบนิเวศ – ชวี นเิ วศ – ประชากร – ชุมชน
9. ขอ ใดกลา วถูกตอ ง

ก. คารโ บไฮเดรต เปน อนิ ทรยี ส ารที่เปน องคป ระกอบทม่ี ีชวี ิต

ข. คารโ บไฮเดรต เปน อนินทรยี ส ารท่เี ปนองคประกอบทม่ี ชี วี ิต

ค. คารบอนไดออกไซด เปน อนิ ทรยี ส ารทเ่ี ปน องคประกอบทีไ่ มม ีชีวติ

ง. คารบ อนไดออกไซด เปนอนินทรยี สารท่ีเปนองคประกอบทไี่ มมีชวี ิต
10. ขอ ใดกลา วถูกตองทีส่ ุด

ก. การหายใจระดับเซลล คือการทําใหโมเลกุลของอินทรียสารแตกตัว

ข. การหายใจระดับเซลล คือการทําใหโมเลกุลของอนินทรียสารแตกตัว

ค. การหายใจระดับเซลล คือการทําใหโมเลกุลของอินทรียสารแตกตัวและได CO2
ง. การหายใจระดับเซลล คือการทําใหโมเลกุลของอินทรียสารแตกตัว H2O

124

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

125

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

126

เฉลยแบบทดสอบบทท่ี 5 เร่อื งระบบนเิ วศน

1. ก 2. ข 3. ก 4. ข 5. ค 6. ค 7. ก 8. ก 9. ง 10. ก

127

บทท่ี 6
โลก บรรยากาศ ปรากฏการณท างธรรมชาติ

สง่ิ แวดลอ มและทรพั ยากรธรรมชาติ

สาระสําคัญ
โลก บรรยากาศ ปรากฏการณทางธรรมชาติ และทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

ผลการเรียนรทู คี่ าดหวัง
1. บอกสวนประกอบและวิธีการแบงชั้นของโลกได
2. อธิบายการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก กระบวนการตาง ๆได
3. บอกองคประกอบและการแบงชั้นบรรยากาศได
4. บอกความหมายและความสําคัญของอุณหภูมิ ความชื้นและความกดอากาศได
5. อธิบายความสัมพันธของอุณหภูมิ ความชื้นและความกดอากาศตอชีวิตความเปนอยูได
6. บอกชนิดของลมได
7. อธบิ ายอทิ ธิพลของลมตอมนษุ ยแ ละสิ่งแวดลอมได
8. บอกวิธีการปองกันภัยที่เกิดจากปรากฏการณทางธรรมชาติได
9. บอกประโยชนของการพยากรณอากาศได
10. อธิบายเกี่ยวกับสภาพ ปญหา การใชและการแกไขสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติใน

ทองถิ่นและประเทศ
11. อธิบาย สรุปแนวคิดในการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ การอนุรักษสิ่งแวดลอม และการใช

ทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืนได
ขอบขา ยเนือ้ หา

เรื่องท่ี 1 โลก
เรือ่ งที่ 2 บรรยากาศ
เรื่องที่ 3 ปรากฏการณทางธรรมชาติ
เรอ่ื งท่ี 4 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

128

เรอื่ งท่ี 1 โลก (Earth)

กําเนิดโลก
นักวิทยาศาสตรหลายคนพยายามที่จะอธิบาย การกําเนิดของโลกมา ตั้งแต ค.ศ. 1609 หนง่ึ ในนน้ั

คือ กาลเิ ลโอ ท่ีสอ งกลอ งขยายดพู ืน้ ผิวที่เปน หลมุ เปนบอ บนดาวเคราะหด วงอน่ื พบวา มีหลุมบอ มากมาย
หลุมบอเหลา นน้ั เปน ผลจากเทหวตั ถุ (อุกาบาต) วง่ิ ชนและเกดิ การหลอมรวมตวั กนั ทาํ ใหข นาดของดาว
เคราะหเ พิม่ ใหญขน้ึ เรอื่ ย

นักวิทยาศาสตร เชอ่ื กนั วาเอกภพเกดิ มา เม่ือ 10,000 ลานปแ ลว ขณะท่ีโลกเพงิ่ เกดิ มาเมือ่ 4,600
ลา นป การกําเนิดของโลกเริ่มจาก ปรากฏการณท ฝ่ี นุ และกาซท่กี ระจายอยใู นจกั รวาลมารวมตวั กันเปนวง
กา ซท่ีอณุ หภมู ิรอ นจัด และมีความหนาแนนมหาศาล อุณหภูมิสูงมากประมาณ การจนทาํ ใหกลมุ ฝนุ และ
กาซนเี้ กดิ การระเบดิ ขึ้นมาเรยี กวา บกิ๊ แบงค ถอื วา เปน การระเบดิ ครั้งย่ิงใหญ สงใหม วลสารแพรก ระจาย
ออกไปจดุ ศูนยกลางทร่ี อนทสี่ ดุ คือ ดวงอาทิตย (มีเสนผาศูนยก ลาง 1,400,000 กโิ ลเมตร อณุ หภมู ิ 15 ลาน
องศาเซลเซยี ส) สวนมวลสารอื่น ๆ ที่ยงั กระจายอยทู วั่ ไปเร่ิมเยน็ ลง (พรอมกันน้นั ไอน้าํ กเ็ ริ่มกล่นั ตวั เปน
หยดนาํ้ ) ไดเปนดาวเคราะหนอยมากมายประมาณวามีรอย ๆ ลานดวงลอยเควงควางอยูในจักรวาล ชน
กันเอง ชาบาง เร็วบาง ชนกันไปเรื่อย ๆ ในที่สุดการชนก็เริ่มมีการเปลี่ยนแปลง ชนกันไปชนกันมาดาว
เคราะหบางดวงคอย ๆ ปรากฏมวลใหญขึ้น เมื่อใหญขึ้นแรงดึงดูดก็มากขึ้นตามมา ยิ่งถูกชนมากยิ่งขนาด
ใหญข นึ้ เก็บสะสมพลงั งานไดมากขึน้ ดวยเหตุนี้การกอกําเนิดโลกกเ็ กดิ ขน้ึ ดาวพธุ ดาวศกุ ร กเ็ กิดขึ้นดว ย
ในทํานองเดียวกัน ชวงแรกพืน้ ผิวโลกจึงปรากฏรูพรุนเตม็ ไปหมด เนอ่ื งจากการชนกลายเปน หลุมอกุ า
บาตร ซง่ึ เทียบไดจากพืน้ ผวิ ของดวงจนั ทรซ ึ่งศึกษาไดในขณะน้ี

การโคจรของโลก
โลกหมุนรอบดวงอาทิตยเปนวงโคจรซึ่งใชเวลา 365.25 วนั เพ่ือใหครบ 1 รอบ ปฏิทินแตละปมี

365 วัน ซึ่งหมายความวาจะมี 1/4 ของวันทเ่ี หลอื ในแตละป ซึง่ ทกุ 4 ป จะมีวันพเิ ศษ คือจะมี 366 วนั
กลา วคอื เดือนกมุ ภาพันธจ ะมี 29 วัน แทนท่จี ะมี 28 วนั เหมอื นปกติ วงโคจรของโลกไมเปนวงกลม ใน
เดอื นธนั วาคมมนั จะอยใู กลดวงอาทิตยมากกวาเดือนมถิ ุนายน ซึ่งมันจะอยูหางไกลจากดวงอาทิตยมาก
ท่สี ุด โลกจะเอยี งไปตามเสน แกน ในเดือนมถิ ุนายน ซีกโลกเหนือจะเอยี งไปทางดวงอาทติ ยดงั น้ัน ซีกโลก
เหนอื จะเปน ฤดรู อ นและซกี โลกใตจ ะเปน ฤดหู นาว ในเดือนธันวาคมจะเอียงจากดวงอาทิตย ทาํ ใหซ ีกโลก
เหนอื เปน ฤดหู นาวและซกี โลกใตเ ปน ฤดรู อ น ในเดอื นมนี าคมและกนั ยายน ซีกโลกทง้ั สองไมเอยี งไปยัง
ดวงอาทิตย กลางวันและกลางคืนจึงมีความยาวเทากัน ในเดอื นมีนาคม ซีกโลกเหนอื จะเปนฤดูใบไมผ ลิ
และซกี โลกใตเ ปนฤดใู บไมร ว ง ในเดอื นกนั ยายน สถานการณจ ะกลับกัน

129

ภาพ : การโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย
โลกมีอายุประมาณ 4,700 ป โลกไมไ ดมรี ูปรางกลมโดยสน้ิ เชิง เสน รอบวงท่เี สนศูนยส ตู รยาว
40,077 กโิ ลเมตร (24,903 ไมล) และทข่ี ัว้ โลกยา ว 40,009 กโิ ลเมตร (24,861 ไมล) และมดี วงจนั ทรเ ปน
บริวาร 1 ดวง โคจรรอบโลกทกุ ๆ 27 วนั 8 ชั่งโมง
โลก มลี กั ษณะเปนทรงวงรี โดย ในแนวด่ิงเสน ผาศูนยก ลางยาว 12,711 กม. ในแนวนอน ยาว
12,755 กม. ตางกนั 44 กม. มีพื้นนํา้ 3 สว น หรอื 71% และมพี น้ื ดนิ 1 สว น หรอื 29 % แกนโลกจะเอียง
23.5 องศา
สว นประกอบของโลก
1. สว นทเ่ี ปนพ้ืนน้ํา ประกอบดว ย หว ยหนอง คลองบึง ทะเล มหาสมทุ ร นา้ํ ใตดนิ นา้ํ แขง็ ขัว้ โลก
2. สว นทเ่ี ปน พน้ื ดิน คือสว นทม่ี ลี กั ษณะแข็งหอ หุมโลก โดยทเ่ี ปลือกที่อยูใ ตทะเลมคี วามหนา 5
กิโลเมตร และสวนเปลือกที่มีความหนาคือ สว นทเ่ี ปน ภูเขา หนาประมาณ 70 กโิ ลเมตร
3. ชั้นบรรยากาศ เปนชั้นที่สําคัญ เพราะทําใหเกิดปรากฏการณตาง ๆ ทางธรรมชาติ เชน วัฏจักร
นํ้า ออิ อน ทจ่ี าํ เปน ตอ การติดตอส่อื สารเปน ตน
4. ชน้ั สิง่ มีชวี ติ

130

โครงสรา งภายในโลก

ภาพ : โครงสรางภายในโลก

เปลือกโลก
เปลอื กโลก (crust) เปนชั้นนอกสุดของโลกที่มีความหนาประมาณ 60-70 กิโลเมตร ซ่ึงถือวาเปน

ชั้นท่บี างทส่ี ุดเมอ่ื เปรียบกบั ชนั้ อ่นื ๆ เสมือนเปลือกไขไ กห รอื เปลอื กหัวหอม เปลอื กโลกประกอบไปดวย
แผน ดนิ และแผนนํา้ ซึง่ เปลือกโลกสวนทีบ่ างท่สี ุดคือสวนท่อี ยูใตมหาสมทุ ร สวนเปลือกโลกทห่ี นาทสี่ ดุ
คือเปลือกโลกสว นที่รองรบั ทวีปท่มี ีเทือกเขาทส่ี งู ท่ีสุดอยูด ว ย นอกจากนเี้ ปลอื กโลกยังสามารถแบง
ออกเปน 2 ชนั้ คอื

ภาพ : สวนประกอบของโลก

131

- ชน้ั ทหี่ น่งึ : ชน้ั หินไซอัล (sial) เปนเปลอื กโลกชน้ั บนสุด ประกอบดว ยแรซ ลิ กิ าและอะลูมนิ าซ่งึ เปน
หินแกรนติ ชนิดหนงึ่ สําหรับบรเิ วณผวิ ของชั้นนีจ้ ะเปนหนิ ตะกอน ชั้นหินไซอัลน้ีมีเฉพาะเปลอื กโลก
สว นที่เปนทวีปเทา น้นั สว นเปลอื กโลกท่ีอยูใตทะเลและมหาสมทุ รจะไมม ีหินช้ันนี้
- ชน้ั ท่ีสอง: ชน้ั หนิ ไซมา (sima) เปนชั้นทอ่ี ยใู ตห ินชัน้ ไซอัลลงไป สวนใหญเปนหินบะซอลต
ประกอบดวยแรซิลกิ า เหลก็ ออกไซดแ ละแมกนีเซียม ชนั้ หินไซมาน้ีหอ หมุ ท่ัวท้ังพนื้ โลกอยใู นทะเล
และมหาสมุทร ซึ่งตางจากหินชั้นไซอัลที่ปกคลุมเฉพาะสวนที่เปนทวีป และยังมีความหนาแนน
มากกวา ช้นั หนิ ไซอลั

แมนเทลิ
แมนเทลิ (mantle หรอื Earth's mantle) เปน ชน้ั ท่ีอยูระหวา งเปลอื กโลกและแกน โลก มีความหนา

ประมาณ 3,000 กโิ ลเมตร บางสว นของหนิ อยใู นสถานะหลอมเหลวเรยี กวา หนิ หนดื (Magma) ทําใหชั้น
แมนเทลิ มคี วามรอนสูงมาก เน่อื งจากหินหนดื มอี ุณหภูมปิ ระมาณ 800 - 4300 °C ซ่งึ ประกอบดว ยหนิ อคั นี
เปน สว นใหญ เชนหินอัลตราเบสกิ หินเพรโิ ดไลต

แกน โลก
แกน โลก (Core) ความหนาแนนของโลกโดยเฉลี่ยคือ 5,515 กก./ลบ.ม. ทําใหโลกเปน ดาวเคราะห

ทห่ี นาแนน ทส่ี ดุ ในระบบสรุ ยิ ะ แตถ า วดั เฉพาะความหนาแนน เฉลย่ี ของพน้ื ผวิ โลกแลว วดั ไดเ พยี งแค
3,000 กก./ลบ.ม. เทานั้น ซง่ึ แกน โลกมีองคประกอบเปนธาตุเหล็กถึง 80% รวมถึงนกิ เกิลและธาตทุ ีม่ ี
นาํ้ หนกั ทเ่ี บากวาอืน่ ๆ เชนตะกัว่ และยูเรเนยี ม เปน ตน แกน โลกสามารถแบง ออกเปน 2 ชน้ั ไดแก

- แกน โลกชน้ั นอก ( Outer core) มีความหนาจากผิวโลกประมาณ 2 ,900 - 5 ,000 กโิ ลเมตร
ประกอบดวยธาตุเหล็กและนกิ เกลิ ในสภาพหลอมละลาย และมีความรอ นสงู มอี ณุ หภูมิประมาณ 6200 -
6400 มีความหนาแนนสัมพัทธ 12.0 และสว นนม้ี สี ถานะเปน ของเหลว

- แกน โลกชน้ั ใน (Inner core) เปนสว นที่อยใู จกลางโลกพอดี มรี ัศมปี ระมาณ 1 ,000 กโิ ลเมตร มี
อณุ หภมู ิประมาณ 4 ,300 - 6 ,200 และมีความกดดันมหาศาล ทําใหสวนนี้จึงมีสถานะเปนของแข็ง
ประกอบดวยธาตุเหล็กและนกิ เกลิ ทอี่ ยใู นสภาพเปน ของแขง็ มคี วามหนาแนนสัมพัทธ 17.0

แผนเปลอื กโลก
(องั กฤษ: Plate tectonics; มาจากภาษากรีก " แปลวา "ผูสรา ง") เปน ทฤษฎีเชงิ ธรณีวทิ ยาที่ถูก

พัฒนาขนึ้ เพอื่ อธิบายถงึ หลักฐานจากการสงั เกตการเคลอื่ นตวั ของแผนเปลือกโลกขนาดใหญ
โครงสรา งนอกสดุ ของโลกประกอบดวยชั้น 2 ชนั้ ชนั้ ท่อี ยูนอกสดุ คอื ช้ันดนิ แขง็ ( lithosphere) ท่ี

มเี ปลือกโลกและชน้ั นอกสุดของแมนเทลิ ที่เปน เย็นตัวและแข็งแลว ภายใตช ัน้ ดินแข็งคือช้นั ดินออน
(aethenosphere) ถงึ แมวายงั มีสถานะเปนของแขง็ อยู แตชน้ั ดนิ ออ นน้นั มีความยืดหยนุ คอนขางต่ําและขาด
ความแข็งแรง ทั้งยังสามารถไหลไดคลายของเหลวซึ่งขึ้นอยูกับลําดับเวลาเชิงธรณีวิทยา ชั้นแมนเทิลที่อยู

132
ลึกลงไปภายใตชั้นดินออนนั้นจะมีความแข็งมากขึ้นอีกครั้ง กระนั้นความแข็งดังกลาวไมไดมาจากการเย็น
ลงของอุณหภมู ิ แตเนอื่ งมาจากความดันท่มี อี ยูสูง

ชน้ั ดินแขง็ นั้นจะแตกตัวลงเปน ส่งิ ท่เี รียกวา แผนเปลือกโลก ซึ่งในกรณขี องโลกนนั้ สามารถ
แบง เปน แผน ขนาดใหญไ ด 7 แผน และแผนขนาดเลก็ อกี จํานวนมาก แผนดนิ แขง็ จะเลอื่ นตัวอยูบนชั้นดิน
ออน และจะเคล่อื นตวั สมั พันธก บั แผน เปลือกโลกอื่นๆ ซ่งึ การเคล่อื นท่ีน้สี ามารถแบงไดเ ปน 3 ขอบเขต
ดว ยกนั คอื

1. ขอบเขตที่มีการชนกันหรือบรรจบกัน
2. ขอบเขตที่มีการแยกตัวออกจากกันหรือกระจายจากกัน
3. ขอบเขตที่มีการแปลงสภาพ
โดยปรากฏการณทางธรณีวิทยาตางๆ ไดแก แผน ดนิ ไหว ภูเขาไฟปะทุ การกอตวั ข้ึนของภูเขา
และการเกิดข้ึนของเหวสมทุ รนัน้ จะเกิดขน้ึ พรอมกับการเปลี่ยนแปลงของขอบเขตแผนดิน การเคลื่อนตวั
ดานขางของแผนดินนน้ั มีอัตราเร็วอยูระหวาง 0.66 ถงึ 8.50 เซนตเิ มตรตอ ป

ภาพ : แผน เปลอื กโลกขนาดใหญ

133
แผนเปลือกโลกท่ีมีขนาดใหญ ไดแ ก

• แผนแอฟรกิ ัน: ครอบคลุมทวีปแอฟริกา เปนแผนทวีป
• แผน แอนตารค ตกิ : ครอบคลุมทวีปแอนตารคติก เปนแผนทวีป
• แผน ออสเตรเลยี น : ครอบคลมุ ออสเตรเลยี (เคยเช่อื มกบั แผนอินเดยี นเมื่อประมาณ 50-55 ลานป

กอ น) เปน แผนทวปี
• แผน ยเู รเซยี น: ครอบคลุมทวีปเอเชียและยุโรป เปนแผนทวีป
• แผน อเมรกิ าเหนอื : ครอบคลุมทวีปอเมริกาเหนือและทางตะวันออกเฉียงเหนือของไซบีเรีย เปน

แผน ทวปี
• แผนอเมรกิ าใต: ครอบคลุมทวีปอเมริกาใต เปนแผนทวีป
• แผนแปซฟิ ก: ครอบคลุมมหาสมุทรแปซิฟก เปนแผนมหาสมุทร

นอกจากน้ี ยงั มีแผน เปลอื กโลกทมี่ ีขนาดเลก็ กวา ไดแ ก แผน อนิ เดยี น แผนอาระเบียน แผน แคริ
เบยี น แผน ฮวนเดฟกู า แผน นาซคา แผน ฟล ปิ ปนสและแผน สโกเทยี

การเคลอ่ื นท่ีของแผน เปลือกโลก มีสาเหตุมาจากการรวมตัวและแตกออกของทวีปเมื่อผาน
ชว งเวลาหนง่ึ ๆ รวมถึงการรวมตัวของมหาทวีปในบางครั้ง ซึ่งไดรวมทุกทวีปเขาดวยกัน มหาทวีปโรดิ
เนยี (Rodinia) น้นั คาดวากอ ตัวขึ้นเมอ่ื หนึ่งพันลา นปท ่ผี านมา และไดค รอบคลุมผืนดนิ สว นใหญบนโลก
จากนน้ั จงึ เกดิ การแตกตวั ไปเปน แปดทวปี เมอ่ื 600 ลา นปท แี่ ลว ทวปี ทัง้ 8 น้ี ตอมาเขามารวมตัวกันเปน
มหาทวปี อกี คร้ัง โดยมีชื่อวาแพนเจีย ( Pangaea) และในท่ีสดุ แพนเจยี ก็แตกออกไปเปนทวีปลอเรเซยี
(Laurasia) ซึ่งกลายมาเปนทวีปอเมริกาเหนือและยูเรเซีย และทวีปกอนดวานา ( Gondwana) ซึ่งกลายมา
เปน ทวปี อนื่ ๆ นอกเหนือจากทไี่ ดก ลา วขางตน

การเคลื่อนท่ีของแผน เปลือกโลก

ภาพ : การเคล่อื นท่ีของแผน เปลือกโลก

134

เรอ่ื งท่ี 2 บรรยากาศ

บรรยากาศ คือ อากาศที่ห มหมุ โลกเราอยโู ดยรอบ โดยมีขอบเขตนับจากระดับน้ําทะเลขึ้นไป
ประมาณ 1,000 กโิ ลเมตร บริเวณใกลพน้ื ดนิ อากาศจะมคี วามหนาแนน มากและจะลดลงเม่อื อยูสงู ข้ึนไป
จากระดบั พน้ื ดนิ บริเวณใกลพ ืน้ ดิน โลกมอี ณุ หภูมิ 15 องศาเซลเซียส โดยเฉลี่ย

ภาพ : สภาพบรรยากาศของโลก
ชน้ั บรรยากาศ

สภาพอากาศของโลก คือ การถูกหอหุมดวยชั้นบรรยากาศ ซึ่งมีทั้งหมด 5 ชนั้ ไดแ ก
1. โทรโพสเฟย ร เริม่ ต้งั แต 0-10 กโิ ลเมตร จากผวิ โลก บรรย ากาศมีไอน้ํา เมฆ หมอก ซึ่งมีความ

หนาแนนมาก และมีการแปรปรวนของอากาศอยูตลอดเวลา
2. สตราโตสเฟย ร เร่ิมต้ังแต 10-35 กโิ ลเมตร จากผวิ โลก บรรยากาศช้นั นีแ้ ถบจะไมเ ปล่ียนแปลง

จากโทรโพสเฟย ร แตม ีผงฝนุ เพิ่มมาเล็กนอ ย
3. เมโสสเฟยร เรมิ่ ตงั้ แต 35-80 กโิ ลเมตร จากผวิ โลก บรรยากาศมกี าซโอโซนอยูมากซึง่ จะชว ยสกัด

แสงอลั ตรา ไวโอเรต (UV) จากดวงอาทิตยไมใหมาถึงพื้นโลกมากเกินไป
4. ไอโอโนสเฟยร เริ่มตั้งแต 80-600 กิโลเมตร จากผิวโลก บรรยากาศมีออกซิเจนจางมากไมเหมาะ

กับมนษุ ย
5. เอกโซสเฟย ร เร่ิมต้ังแต 600 กิโลเมตรขึ้นไป จากผิวโลก บรรยากาศมีออกซิเจนจางมาก ๆ และมี

กาซฮเี ลยี ม และไฮโดรเจนอยเู ปน สว นมาก โดยเปน ท่ชี น้ั ตดิ ตอกับอวกาศ

135
ความสําคัญของบรรยากาศ

บรรยากาศมีความสําคัญตอสิ่งมีชีวิต ดังนี้
1. ชวยปรับอณุ หภูมิบนผิวโลกไมใหส ูงหรือต่ําเกนิ ไป
2. ชวยปอ งกนั อันตรายจากรงั สีและอนุภาคตา งๆทมี่ าจากภายนอกโลก เชน ชวยดดู กลืนรังสี
อัลตราไวโอเลตไมใ หส อ งผา ยมายงั ผิวโลกมากเกนิ ไป ชวยทาํ ใหว ัตถุจากภายนอกโลกที่ถูกแรงดงึ ดดู ของ
โลกดึงเขามาเกดิ การลุกไหมหรือมขี นาดเลก็ ลงกอ นตกถงึ พน้ื โลก

ภาพ : ชั้นของบรรยากาศ
องคป ระกอบของบรรยากาศ

บรรยากาศหรืออากาศ จัดเปนของผสมประกอบดวยแกสตาง ๆ เชน แกสไนโตนเจน ( N2) แกส
ออกซเิ จน (O2) แกส คารบ อนไดออกไซด (CO2) แกส อารก อน (Ar) ฝุนละออง และแกสอน่ื ๆ เปน ตน

ภาพ : องคประกอบของบรรยากาศ

136

กาซท่เี ก่ียวกบั ช้นั บรรยากาศที่สําคญั มอี ยู 2 กา ซคอื
โอโซน (Ozone) เปนกาซท่สี ําคญั มากตอมนุษย เพราะชว ยดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเลตท่มี าจาก

ดวงอาทิตย ไมใหต กสพู ื้นโลกมากเกนิ ไป ถา ไมมีโอโซนก็จะทําใหรังสีอุลตราไวโอเลตเขามาสูพน้ื โลก
มากเกินไป ทาํ ใหผวิ หนงั ไหมเ กรยี ม แตถ าโอโซนมมี ากเกนิ ไปก็จะทาํ ใหรังสอี ลุ ตราไวโอเลตมาสูพ นื้ โลก
นอยเกินไปทําใหมนษุ ยข าดวติ ามิน D ได

ซีเอฟซี (CFC=Chlorofluorocarbon) เปนกา ซที่ประกอบดว ย คารบ อน ฟลูออรีน คลอรนี ซึง่ ได
นํามาใชในอุตสาหกรรมบางชนิด เชน พลาสติก โฟม ฯลฯ โดยกาซ CFC น้าํ หนกั เบามาก ดังน้ัน เม่ือ
ปลอยสูบรรยากาศมากขึ้นจ นถึงช้ันสตราโตสเฟยร CFC จะกระทบกบั รังสีอุลตราไวโอเลตแลว แตกตวั
ออกทันทีเกิดอะตอมของคลอรีนอิสระที่จะเขาทํา ปฏกิ ิริยากบั โอโซน ไดสารประกอบมอนอกไซดของ
คลอรีน และกา ซออกซเิ จน จากนน้ั สารประกอบมอนอกไซดจะรวมตัวกับอะตอ มออกซเิ จนอสิ ระ
เพอ่ื ทจ่ี ะสรา งออกซเิ จนและอะตอมของคลอรนี ปฏกิ ิรยิ านี้จะเปน ลูกโซตอเนอ่ื งไมส ิน้ สุด โดยคลอรี น
อสิ ระ 1 อะตอม จะทําลายโอโซนไปจากชั้นบรรยากาศไดถึง 100,000โมเลกลุ

อุณหภมู ิ
อณุ หภูมิ คือ คุณสมบัติทางกายภาพของระบบ โดยจะใชเพื่อแสดงถึงระดับพลังงานความรอน

เปนการแทนความรูสึกทั่วไปของคําวา "รอ น" และ "เยน็ " โดยสิ่งทมี่ อี ุณหภมู ิสงู กวาจะถกู กลา ววา รอ น
กวา หนว ย SI ของอณุ หภมู ิ คือ เคลวนิ
มาตราวัด

มาตรฐานวดั หลกั ไดแ ก

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ จุดเยอื กแขง็ ของนํ้า จดุ เดอื ดของนาํ้

องศาเซลเซยี ส Celsius (℃) 0 100

องศาฟาเรนไฮต Fahrenheit (℉) 32 212

เคลวนิ Kelvin (K) 273 373

องศาโรเมอร Réaumur (°R) 0 80

โดยมสี ตู รการแปลงหนว ย ดงั น้ี

137
กระแสน้าํ กับอณุ หภมู ขิ องโลก

กระแสน้ําในมหาสมุทร คือ การเคลื่อนที่ของน้ําในมหาสมุทรในลักษณะที่เปนกระแสธาร ที่
เคลือ่ นทีอ่ ยา งสมํ่าเสมอ และไหลตอเนอื่ งไปในทศิ ทางเดยี วกนั มี 2 ชนิด คอื กระแสนาํ้ อุน และกระแสนํ้า
เยน็

กระแสนาํ้ อนุ เปนกระแสน้ําที่มาจากเขตละตจิ ูดตํา่ (บริเวณท่ีอยใู กลเ สน ศนู ยสตู ร ตงั้ แต เสน
ทรอปก ออฟแคนเซอรถ งึ ทรอปก ออฟแคบรคิ อรน ) เคลื่อนที่ไปทางขั้วโลก มอี ุณหภมู สิ งู กวา นาํ้ ทอ่ี ยู
โดยรอบไหลผานบริเวณใดก็จะทาํ ใหอ ากาศบริเวณนน้ั มีความอบอนุ ชมุ ชน้ื ขึน้

ภาพ : ทิศทางการไหลของกระแสน้ําอุน - นาํ้ เย็นหรือเทอรโมฮาไลนทไี่ หลรอบโลก
กระแสนา้ํ เยน็ ไหลผา นบรเิ วณใดกจ็ ะทาํ ใหอ ากาศแถบนน้ั มคี วามหนาวเยน็ แหง แลง เปน
กระแสนํ้าทไี่ หลมาจากเขตละตจิ ูดสงู (บริเวณตง้ั แต เสนอารก ติกเซอรเ คิลถึงขั้วโลกเหนอื และบรเิ วณเสน
แอนตารกติกเซอรเคลิ ถึงขัว้ โลกใต) เขามายังเขตอบอุน และเขตรอนจงึ ทําใหก ระแสนํ้าเย็นล งหรอื
อณุ หภมู ิตํา่ กวา นํา้ ท่อี ยโู ดยรอบ
กระแสน้ําอนุ และกระแสน้ําเย็น จะนําพาอากาศรอนและอากาศหนาวมา ทําใหเ กดิ ฤดูกาลที่
เปลี่ยนไปตามธรรมชาติ ถาไมม กี ระแสน้ําอากาศกจ็ ะวปิ ริตผิดเพ้ียนไป รอ นและหนาวมากผดิ ฤดู สง ผล
ใหพืชไมออกผล เกดิ พายฝุ นทร่ี นุ แรง และแปรปรวน

138

นอกจากน้ี ยังมีผลตอความชื้นในอากาศ คือ ลมท่พี ัดผา นกระแสนํ้าอุนมาสูท วปี ทเี่ ย็น จะทาํ ให
ความช้นื บริเวณน้นั มมี ากข้นึ และมฝี นตก ในขณะทล่ี มท่พี ดั ผา นกระแสนาํ้ เยน็ ไปยงั ทวปี ท่อี นุ จะทําให
อากาศแหงแลง ชายฝงบางที่จึงมีอากาศแหงแลง บางที่ก็เปนทะเลทราย แตถ า กระแสน้ําอุนกับกระแสนํา้
เย็นไหลมาบรรจบกันจะทําใหเกิดหมอก

หากขาดกระแสน้ําทั้งสองชนิดนี้ ก็จะไมมีการเปลี่ยนแปลงของอากาศ แตใ นบางพน้ื ที่กระแสน้ําก็
ไมม ผี ลตออณุ หภูมเิ พราะไมมที ้ังกระแสนํา้ อนุ และกระแสนํ้าเย็นไหลผาน เชน ประเทศไทย

เมื่อน้าํ แข็งท่ีข้ัวโลกละลาย น้ําทะเลกจ็ ะเจอื จางลง ทาํ ใหก ระแสนํ้าอุน และกระแสนาํ้ เย็นหยุด
ไหล เมอ่ื หยุดไหลแลว ก็จะไมม ีระบบหลออุณหภูมขิ องโลก โลกของเราก็จะเขาสยู ุคนาํ้ แขง็ อีกครัง้ หนงึ่
หรือไมก เ็ กิดภาวะน้าํ ทว มโลก

สมบตั ขิ องอากาศ
1. ความหนาแนน ของอากาศ

ความหนาแนนของอากาศ คือ อัตราสวนระหวางมวลกับปริมาตรของอากาศ
1.1 ที่ระดับความสูงจากระดับน้ําทะเลตางกัน อากาศจะมีความหนาแนนตางกัน
1.2 เมื่อระดับความสูงจากระดับน้ําทะเลเพิ่มขึ้น ความหนาแนนของอากาศจะลดลง
1.3 ความหนาแนนของอากาศจะเปลี่ยนแปลงตามมวลของอากาศ อากาศที่มวลนอยจะมีความหนาแนน
นอ ย
1.4 อากาศที่ผิวโลกมีความหนาแนนมากกวา อากาศที่อยรู ะดบั ความสงู จากผิวโลกข้นึ ไป เนอื่ งจากมชี ้ัน

อากาศกดทบั ผิวโลกหนากวาช้ันอน่ื ๆ และแรงดงึ ดูดของโลกทม่ี ีตอ มวลสารใกลผ ิวโลก
2. ความดันของอากาศ

ความดันของอากาศหรือความดันบรรยากาศ คือ คาแรงดันอากาศที่กระทําตอหนึ่งหนวยพื้นที่ที่
รองรบั แรงดนั นน้ั

- เครื่องมือวัดความดันอากาศ เรียกวา บารอมิเตอร
- เคร่ืองมือวัดความสูง เรียกวา แอลติมเิ ตอร
ความสัมพันธระหวางความดันอากาศกับระดับความสูงจากระดับน้ําทะเล สรุปไดดังนี้
1. ที่ระดับน้ําทะเล ความดันอากาศปกติมีคาเทากับความดันอากาศที่สามารถดันปรอทใหสูง
76 cm หรอื 760 mm หรอื 30 น้วิ
2. เมื่อระดับความสูงเพิ่มขึ้น ความกดของอากาศจะลดลงทุกๆ ระยะความสูง 11 เมตรระดบั
ปรอทจะลดลง 1 มลิ ลิเมตร
3. อณุ หภูมิของอากาศ การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิตามความสูงในบรรยากาศชั้นนี้พบวา โดยเฉลี่ย
อุณหภมู จิ ะลดลงประมาณ 6.5 ๐C

139

4. ความชื้นของอากาศ
ความชนื้ ของอากาศ คือ ปรมิ าณไอนํา้ ที่ปะปนอยใู นอากาศ อากาศท่มี ีไอนาํ้ อยใู นปริมาณเตม็ ที่
และจะรับไอนํ้าอกี ไมไดอีกแลว เรยี กวา อากาศอ่ิมตวั
 การบอกคาความชื้นของอากาศ สามารถบอกได 2 วธิ ี คอื

1.ความชื้นสัมบูรณ คือ อัตราสวนระหวางมวลของไอน้ําในอากาศกับปริมาตรของอากาศขณะนั้น

2. ความชื้นสัมพันธ คือ ปริมาณเปรียบเทียบระหวางมวลของไอน้ําที่มีอยูจริงในอากาศขณะนั้น

กบั มวลของไอนา้ํ อม่ิ ตัว ทอ่ี ุณหภมู ิและปริมาตรเดียวกัน มีหนวยเปน เปอรเ ซน็ ต

 เครอื่ งมอื วัดความชืน้ สมั พทั ธ เรยี กวา ไฮกรอมเิ ตอร ท่นี ยิ มใชมี 2 ชนิด คือ

1. ไฮกรอมิเตอรแบบกระกระเปยกกระเปาะแหง

เมฆ 2. ไฮกรอมเิ ตอรแ บบเสน ผม

1.1 เมฆและการเกดิ เมฆ

เมฆ คอื นํ้าในอากาศเบือ้ งสงู ทอ่ี ยูในสถานะเปนหยดนํา้ และผลกึ นาํ้ แข็ง และอาจมีอนภุ าคของ

ของแขง็ ทีอ่ ยูในรูปของควันและฝนุ ทีแ่ ขวนลอยอยูในอากาศรวมอยดู วย

1.2 ชนิดของเมฆ

การสังเกตชนิดของเมฆ

กลุมคําที่ใชบรรยายลักษณะของเมฆชนิดตาง ๆ มีอยู 5 กลุม คํา คือ

เซอรโ ร(CIRRO) เมฆระดบั สงู

อลั โต (ALTO) เมฆระดับกลาง

คิวมลู สั (CUMULUS) เมฆเปน กอ นกระจกุ

สเตรตสั (STRATUS) เมฆเปน ชน้ั ๆ

นิมบัส (NUMBUS) เมฆทกี่ อ ใหเ กิดฝน

นกั อตุ นุ ยิ มวทิ ยาแบง เมฆออกเปน 4 ประเภท คอื
1. เมฆระดับสูง เปนเมฆที่พบในระดับความสูง 6500 เมตรขึ้นไป
ประกอบดว ยผลกึ น้าํ แข็งเปนสว นใหญ มี 3 ชนิด คือ
- เซอรโรคิวมลู ัส
- เซอรร สั
- เซอรโ รสเตรตสั

140

ภาพ : เมฆชนิดตาง ๆ
2. เมฆระดบั กลาง

- อลั โตสเตรตสั
- อัลโตควิ มูลัส
3. เมฆระดบั ต่าํ
- สเตรตสั
- สเตรโตควิ มูลัส
- นมิ โบสเตรตสั
4. เมฆซึ่งกอ ตวั ในทางแนวตงั้
- ควิ มลู ัส
- ควิ มโู ลนิมบสั
หยาดนาํ้ ฟา
หยาดนํา้ ฟา หมายถึง น้ําที่อยูในสถานะของแข็งหรือของเหลวที่ตกลงมาจากบรรยากาศสูพื้นโลก
หมอก(Fog) คอื เมฆท่เี กดิ ในระดบั ใกลพ ้นื โลก จะเกดิ ตอนกลางคนื หรือเชา มืด

141
น้าํ คา ง( Dew) คอื ไอนํ้าทกี่ ล่ันตัวเปนหยดน้ําเกาะติดอยูต ามผวิ ซงึ่ เย็นลงจนอณุ หภมู ิต่ํากวา จดุ
น้ําคางของขณะนั้น
จดุ นํา้ คา ง คือ ขดี อณุ หภมู ิทีไ่ อนํา้ ในอากาศเร่ิมควบแนนออกมาเปนละอองนา้ํ
นํ้าคางแข็ง( Frost) คอื ไอนํ้าในอากาศที่มีจดุ นํา้ คา งตํ่ากวาจุดเยอื กแขง็ แลว เกดิ การกลน่ั ตวั เปน
เกล็ดน้ําแข็ง โดยเกิดเฉพาะในเวลากลางคืน หรือตอนเชามืด
หมิ ะ(Snow) คอื ไอน้ําทกี่ ลัน่ ตวั เปน เกลด็ นาํ้ แข็ง เม่ืออากาศอม่ิ ตัว และอณุ หภมู ติ ํ่ากวาจดุ เยือก
แขง็
ลูกเห็บ(Hail) คือ เกลด็ น้ําแขง็ ทถ่ี กู ลมพดั หวนขนึ้ หลายคร้งั แตละครง้ั ผา นอากาศเย็นจดั ไอนํ้า
กลายเปนนํ้าแข็งเกาะเพ่มิ มากข้ึน จนมขี นาดใหญม ากเม่ือตกถงึ พนื้ ดิน
ฝน(Rain) เกดิ จากละอองนาํ้ ในกอ มเมฆซงึ่ เย็นจดั ลง ไอนํ้ากลั่นตวั เปน ละอองนํา้ เกาะกนั มาก
และหนกั ขน้ึ จนลอยอยไู มไ ด และตกลงมาดว ยแรงดงึ ดดู ของโลก

ภาพ : กระบวนการเกิดฝน
ปริมาณน้ําฝน หมายถึง ระดับความลึกของน้ําฝนในภาชนะที่รองรับน้ําฝน เครื่องมือปริมาณ
นา้ํ ฝนเรยี กวา เครอ่ื งวดั นํ้าฝน(Rain gauge)

142

เรอ่ื งท่ี 3 ปรากฏการณท างธรรมชาติ

ลม (Wind) คือ มวลของอากาศที่เคลื่อนที่ไปตามแนวราบ กระแสอากาศทเ่ี คลอ่ื นทใ่ี นแนวนอน
สวนกระแสอากาศคือ อากาศท่ีเคลือ่ นทใี่ นแนวต้ัง การเรียกชื่อลมนั้นเรียกตามทิศทางที่ลมนั้นๆ พัดมา
เชน ลมทพ่ี ัดมาจากทศิ เหนือเรยี กวา ลมเหนอื และลมทีพ่ ัดมาจากทิศใตเ รียกวา ลมใต เปน ตน ในละติจูด
ต่ําไมสามารถจะคํานวณหาความเร็วลม แตในละติจูดสูงสามารถคํานวณหาความเร็วลมได

การเกิดลม
สาเหตเุ กดิ ลม คอื

1. ความแตกตางของอุณหภูมิ
2. ความแตกตางของหยอมความกดอากาศ
หยอ มความกดอากาศ(Pressure areas)
- หยอ มความกดอากาศสูง หมายถงึ บริเวณที่มีความกดอากาศสูงกวาบริเวณขางเคียง
ใชต วั อกั ษร H
- หยอ มความกดอากาศต่าํ หมายถงึ บริเวณที่มีความกดอากาศต่ํากวาบริเวณขางเคียง
ใชต วั อกั ษร L
ชนดิ ของลม ลมแบงออกเปน ชนิดตาง ๆ คอื
- ลมประจาํ ปห รือลมประจาํ ภมู ภิ าค เชน ลมสินคา
- ลมประจําฤดู เชน ลมมรสุมฤดูรอ น และลมมรสมุ ฤดูหนาว
- ลมประจําเวลา เชน ลมบก ลมทะเล
- ลมที่เกิดจากการแปรปรวนหรือลมพายุ เชน พายุฝนฟาคะนอง พายุหมุนเขตรอน

ลมผวิ พ้นื
ลมผวิ พนื้ (Surface Winds) คอื ลมที่พัดจากบริเวณผิวพื้นไปยังความสูงประมาณ 1 กโิ ลเมตรเหนอื

พนื้ ดนิ เปนบริเวณที่มีการคลุกเคลาของอากาศ และมีแรงฝดอันเกิดจากการปะทะกับสิ่งกีดขวางรวม
กระทาํ ดว ย ในระดับต่ําแรงความชันความกดอากาศในแนวนอนจะไมสมดุลกับแรงคอริออลิส แรงฝดทาํ
ใหความเร็วลมลดลง มีผลใหแรงคอริออลิสลดลงไปดวย ลมผวิ พ้นื จะไมพ ัดขนานกบั ไอโซบาร แตจะพัด
ขามไอโซบารจากความกดอากาศสูงไปยังความกดอากาศต่ํา และทํามุมกับไอโซบาร การทํามมุ น้นั ข้นึ อยู
กับความหยาบของผิวพื้น ถาเปนทะเลที่ราบเรียบจะทํามุม 10 ถงึ 20 แตพ น้ื ดนิ ทาํ มมุ 20 ถงึ 40 สว น
บริเวณที่เปนปาไมหนาทึม อาจทํามุมถึง 90 มุมที่ทํากับไอโซบารอยูในระดับความสูง 10 เมตร เหนอื ผวิ
พ้นื ที่ระดับความสูงมากกวา 10 เมตร ขึน้ ไป แรงฝดลดลง แตความเร็วลมจะเพ่มิ ขนึ้ มุมที่ทํากับไอโซบาร
จะเล็กลง สวนทรี่ ะดับความสงู ใกล 1 กโิ ลเมตร เกือบไมม แี รงฝด ดังนั้นลมจึงพัดขนานกับไอโซบาร

143

ลมกรด (Jet Stream) เปน กระแสลมแรงอยใู นเขตโทรโพพอส (แนวแบง เขตระหวา งชน้ั โทรโพส
เฟย รกบั ช้นั สเตรโตสเฟย ร) เปนลมฝายตะวันตกที่มีความยาวหลายพันกิโลเมตร มีความกวางหลายรอย

กโิ ลเมตร แตมีความหนาเพียง 2-3 กโิ ลเมตร เทานั้น โดยท่วั ไปลมกรด พบอยูในระดับความสูงประมาณ

10 และ 15 กโิ ลเมตร แตอาจจะเกิดข้นึ ไดทั้งในระดบั ท่สี ูงกวา และในระดบั ทต่ี า่ํ กวา นไี้ ด ตรงแกนกลาง

ของลมเปนบริเวณแคบ แตลมจะพัดแรงที่สุด ถัดจากแกนกลางออกมาความเร็วลมจะลดนอยลง ลมกรดมี

ความเร็วลมประมาณ 150-300 กิโลเมตรตอ ช่วั โมง และทร่ี ะดบั ความสงู ใกล 12 กิโลเมตร จะมีความเร็ว

ลมสูงถึง 400 กิโลเมตรตอชวั่ โมง ในขณะทลี่ มฝา ยตะวนั ตกอ่นื ๆ มีความเรว็ ลมเพียง 50-100 กโิ ลเมตรตอ

ชั่วโมง
ลมมรสุม
ลมมรสุม (Monsoon) มาจากคําในภาษาอาหรับวา Mausim แปลวา ฤดู ลมมรสุมจึงหมายถึง ลมที่
พัดเปลี่ยนทิศทางกลับการเปลี่ยนฤดู คือ ฤดรู อนจะพดั ในทิศทางหนงึ่ และจะพัดเปลี่ยนทิศทางในทาง

ตรงกนั ขา มในฤดหู นาว คร้งั แรกใชเ รียกลมนใี้ นบริเวณทะเลอาหรับซง่ึ พัดอยูใ นทศิ ทาง

ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เปน ระยะเวลา 6 เดอื น และพดั อยูใ นทิศทางตะวันตกเฉยี งใตเ ปนระยะเวลา 6 เดอื น

แตอยูในสวนอื่นๆ ของโลก ลมมรสมุ ที่เหน็ ชัดเจนทส่ี ดุ คอื ลมมรสมุ ทีเ่ กดิ ขน้ึ ในเอเชียตะวนั ออก และ

เอเชยี ใต
ลมทอ งถนิ่
ลมทองถ่ิน เปน ลมท่เี กิดขน้ึ ภายในทองถนิ่ เนื่องจากอิทธิพลของภูมิประเทศและความ
เปลี่ยนแปลงของความกดอากาศ ลมทองถิ่นแบงแยกออกเปนประเภทใหญ ๆ ดงั นี้
1. ลมบกและลมทะเล เปนลมที่เกิดจากความแตกตางอุณหภูมิของอากาศหรือพื้นดินและ
พ้นื น้าํ เปนลมทีพ่ ดั ประจําวัน

ภาพ : การเกิดลมทะเลและการเกิดลมบก


Click to View FlipBook Version