The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001 กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001 กศน.

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001 กศน.

194

5.4. รังสีแกมมา g เกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานของนิวเคลียส จะไมมีการ
เปลี่ยนแปลงเลขมวลและเลขอะตอมของนิวเคลียสที่แผรังสีแกมมาออกมา
ชนิดและอันตรายจากกัมมันตภาพรังสี
1. รังสีแกมมา มีอํานาจการทะลุทะลวงมากและสามารถทําลายเนื้อเยื่อของรางกายได
2. รังสแี อลฟาและรงั สีเบตา เปน รังสที ่ีมอี นภุ าคสามารถทําลายเนือ้ เยือ่ ไดดี ถงึ แมจ ะมีอาํ นาจการ
ทะลทุ ะลวงเทา กับรังสีแกมมา แตถ าหากรังสีชนิดน้ีไปฝง บริเวณเนือ้ เย่อื ของรา งกายแลว กม็ อี าํ นาจการ
ทําลายไมแพรังสีแกมมา
3. รงั สเี อ็กซ สามารถปลอ ยประจุไฟฟาแรงสงู ในทส่ี ญุ ญากาศ อนั ตรายอาจจะเกิดขึน้ ถา หากรงั สี
เอ็กซร ว่ั ไหลออกจากเคร่ืองมือและออกสูบรรยากาศ สัมผสั กับรังสเี อ็กซม ากเกินไป เชน จากหลอด
เอก็ ซเรยก็จะเกิดโรคผวิ หนังทม่ี ือ มีลักษณะหยาบ ผิวหนังแหงมีลกั ษณะคลายหูด แหง และเลบ็ หักงาย ถา
สมั ผัสไปนาน ๆ เขา กระดูกก็จะถูกทําลาย
4. รงั สีท่ีสามารถมองเหน็ และรงั สอี ลั ตราไวโอเลตหรือรังสีเหนอื มว ง รงั สีชนิดน้ีจะไมทะลุ
ทะลวงผา นช้นั ใตผวิ หนงั รงั สีอลั ตราไวโอเลตจะมีอันตรายรนุ แรงกวารงั สีอนิ ฟราเรด และจะทําให
ผวิ หนงั ไหมเ กรยี ม และทําอันตรายตอเลนซตา คนท่ัว ๆ ไปจะไดร ับรังสีอัลตราไวโอเลตจากแสงอาทิตย
ฉะนั้นคนที่ทํางานกลางแสงอาทิตยแผดกลาติดตอกันเปนระยะเวลานาน โอกาสที่จะเปนเนื้องอกตาม
บรเิ วณผิวหนงั ท่ีถกู แสงแดดในท่ีสุดก็จะกลายเปน เนอ้ื รายหรือมะเร็งได รงั สอี ัลตราไวโอเลตจะมีอนั ตราย
ตอผิวหนังมากขึ้น ถาหากผิวหนังของเราไปสัมผัสกับสารเคมีบางอยาง เชน ครีโซล ซึ่งเปนสารเคมีที่มี
ความไวตอแสงอาทิตยมาก

195

เรือ่ งที่ 2 สมบัตขิ องโลหะ อโลหะ และโลหะกึง่ อโลหะ

ธาตุโลหะ(metal) จะเปนธาตุที่มีสถานะเปนของแข็ง(ยกเวนปรอท ที่เปนของเหลว) มีผวิ ทม่ี ันวาว
นาํ ความรอ น และไฟฟา ไดด ี มจี ดุ เดอื ดและจดุ หลอมเหลวสงู (ชว งอุณหภูมริ ะหวางจดุ หลอมเหลวกับจดุ
เดือดจะตางกันมาก ) ไดแ ก โซเดียม (Na), เหลก็ (Fe) , แคลเซียม (Ca) , ปรอท (Hg), อะลมู เิ นียม (Al),
แมกนเี ซยี ม (Mg) , สังกะสี (Zn) , ดบี กุ (Sn) ฯลฯ

ธาตุอโลหะ มไี ดท ้งั สามสถานะ สมบัติสวนใหญจ ะตรงขา มกบั โลหะ เชน ผวิ ไมมันวาว ไมนํา
ไฟฟา ไมนําความรอ น จดุ เดอื ดและจดุ หลอมเหลวต่าํ เปนตน ไดแ ก คารบ อน ( C ) , ฟอสฟอรสั (P) ,
กาํ มะถนั (S) โบรมนี (Br), ออกซเิ จน (O2) ไฮโดรเจน (H2), คลอรนี (Cl2) , ฟลอู อรนี (F2) เปนตน

1. มที ง้ั 3 สถานะ คอื
ของแข็งเชน คารบอน ( C ) กํามะถนั (S )
ของเหลว เชน โบรมีน ( )
กา ช เชน ไฮโดรเจน ( ) ออกซเิ จน ( )

2. มจี ดุ เดอื ดและจดุ หลอมเหลวตาํ่ ยกเวน แกรไฟต
3. เปราะ แตกงาย ตีเปนแผนหรือดงึ เปน เสนไมได
4. ไมน าํ ไฟฟา และความรอ น ยกเวน แกรไฟต
5. มคี วามแตกตา งของอณุ หภมู ริ ะหวา งจดุ เดอื ด และจดุ หลอมเหลวแคบ
6. เคาะไมมีเสียงกังวาน
7. ผิวไมม นั วาว
8. มคี วามหนาแนน ตาํ่
9. มีคา EN สูง จึงรบั อเิ ลก็ ตรอนไดง า ยเกดิ เปน ไอออนลบ เชน
ธาตุกงึ่ โลหะ (metalloid) ไดแ ก โบรอน (B) , ซลิ คิ อน ( Si) , เปนตน
หมายเหตุ
ก. ธาตุกง่ึ โลหะ ถา ใชก ารนําไฟฟา เปนเกณฑ จะหมายถงึ ธาตุทีน่ าํ ไฟฟา ไดเล็กนอ ยทีอ่ ุณหภูมิ

ปกติ แตทอ่ี ุณหภูมิสูงขึ้นจะนําไฟฟาไดม ากขนึ้ เชน ธาตโุ บรอน , ซลิ ิคอน ,เจอรม าเนยี ม ,
อารเ ซนกิ
ข. ธาตุกงึ่ โลหะ ถาใชส มบตั ิของออกไซดเปนเกณฑ จะหมายถงึ ธาตุทีเ่ กดิ เปนออกไซดแ ลวทาํ
ปฏิกิริยาไดทง้ั กรดแกแ ละเบสแก เชน ธาตุเบริลเลียม , อะลมู เิ นยี ม , แกลเลียม , ดบี กุ ,
และตะกั่ว

196

เรอ่ื งที่ 3 ธาตกุ มั มนั ตรังสี

ธาตุกัมมนั ตรังสี หมายถงึ ธาตทุ ีม่ สี มบัติในการแผรังสี สามารถแผร ังสีและกลายเปน อะตอมของ
ธาตอุ ่นื ไดรงั สที ี่เปลง ออกมาจะมอี ยู 3 ชนดิ ดงั น้ี

1. รังสีแอลฟา มสี ญั ลักษณนวิ เคลียรเปน บางครั้งอาจเรียกวา อนุภาคแอลฟา และใช

สัญลักษณเ ปน รงั สีแอลฟาเปน นวิ เคลียสของธาตฮุ ีเลียม ซงึ่ ประกอบดว ย 2 โปรตอน และ 2
นิวตรอนจึงมปี ระจไุ ฟฟาเปน +2 มีมวล 4.00276 amu รังสีแอลฟาอํานาจทะลุทะลวงต่ํา ไมสามารถทะลุ
ผา นแผน กระดาษ หรอื โลหะบางๆ ได และเนอ่ื งจากมปี ระจุบวก เม่อื อยูในสนามไฟฟาจึงเบีย่ งเบนไปทาง
ขั้วลบ เมื่อวิ่งผานอากาศอาจจะทําใหอากาศแตกตัวเปนไอออนได

2. รงั สีบีตา บางคร้ังเรียกวาอนุภาคบีตา ใชส ญั ลกั ษณเปน b หรอื รงั สีบตี า มสี มบตั เิ หมอื น
อเิ ล็กตรอน คอื มปี ระจไุ ฟฟา -1 มีมวลเทากับ 0.000540 amu เทากับมวลของอิเล็กตรอน รังสีบีตามีอํานาจ
ในการทะลุทะลวงสูงกวารังสีแอลฟาประมาณ 100 เทา มีความเร็วในการเคลื่อนที่ใกลเคียงกับแสง
เนื่องจากมีประจุลบจึงเบี่ยงเบนไปทางขั้วบวก เมื่ออยูในสนามไฟฟา

3. รงั สแี กมมา ใชส ัญลักษณ g รังสีแกมมาเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความยาวคลื่นสั้นมาก
คือประมาณ 0.001-1.5 pm ไมมีมวลและไมมีประจุ มีอํานาจทะลุทะลวงสูงสุด สามารถทะลุผานสิ่งกีด
ขวางไดเปนอยา งดี ดงั นน้ั วตั ถุที่จะกั้นรังสีแกรมมาได จะตองมีความหนาแนนและความหนามากพอที่จะ
ก้นั รงั สีได เนอื่ งจากไมมีประจไุ ฟฟา จึงไมเ บ่ียงเบนในสนามไฟฟา

ประโยชนของธาตุกัมมันตรังสี
1. ทําเตาปฏิกรณปรมาณู ทําโรงงานไฟฟาพลังงานปรมาณู และเรือดําน้ําปรมาณู
2. ใชส รา งธาตใุ หมห ลงั ยูเรเนียม สรา งขึ้นโดยยิงนวิ เคลียสของธาตุหนกั ดว ยอนภุ าคแอลฟา

หรอื ดว ย นวิ เคลียสอื่นๆ ทีค่ อ นขา งหนกั และมพี ลังงานสูง
3. ใชศึกษากลไกของปฏิกิริยาเคมี เชน การเกิดปฏิกิริยาของเอสเทอร
4. ใชในการหาปริมาณวิเคราะห
5. ใชในการหาอายุของซากสิ่งมีชีวิต
6. การรกั ษาโรค เชน มะเรง็
โทษของธาตุกัมมันตรังสี
ถารางกายไดรับจะทําใหโมเลกุลภายในเซลลเกิดการเปลี่ยนแปลง ไมสามารถทํางานตามปกติ
ได ถาเปนเซลลทเี่ กี่ยวของกบั การถายทอดลักษณะก็จะเกดิ การผาเหลา เมอื่ เขาไปในรางกายจะไปสะสม
ในกระดูก แสงอนุภาคแอลฟาที่เปลง ออกมาจะไปทาํ ลายเซลลท ่ที ําหนา ที่ผลติ เมด็ เลือดแดง ทาํ ใหเกดิ
มะเรง็ ในเมด็ เลอื ดได

197

เรือ่ งท่ี 4 สารประกอบ
สารประกอบ (compound) หมายถึง “สารบริสทุ ธเิ์ นือ้ เดยี วทีเ่ กิดจากธาตุตัง้ แตส องชนดิ ขึ้นไป

เปนองคประกอบ” สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของธาตุโดยวิธีการทางเคมี สามารถแยกสลายใหเกิด

เปน สารใหมห รือกลบั คืนเปน ธาตุเดิมได สารประกอบจะมสี มบัติเฉพาะตวั ทแ่ี ตกตา งจากธาตุเดิม เชน นํา้

มีสตู รเคมเี ปน H2O น้ําเปนสารประกอบที่เกิดจากธาตุไฮโดรเจน (H) และออกซเิ จน (O) แตม สี มบัติ
แตกตางจากไฮโดรเจนและออกซิเจน น้ําตาลทรายประกอบดวยธาตุคารบอน ( C ),ไฮโดรเจน (H) ,และ

ออกซเิ จน (O) เปน ตน

- การเกิดสารประกอบ

สารประกอบเกิดจากการสรางพันธะเคมีระหวางอะตอมของธาตุตางชนิดกัน โดยการ

แลกเปลี่ยนอนุภาคมูลฐานภายในอะตอม การรวมตัวของธาตุเปนสารประกอบนั้น เปนที่นาสงสัยวา

สารประกอบทีเ่ กดิ ขึ้นนน้ั มสี มบตั ทิ ี่แตกตา งกันไป และแตกตางไปโดยสิ้นเชิงจากสมบัติของธาตุเดิมที่

เปนองคประกอบ เชน

น้ําตาลทราย เปนสารประกอบที่เกิดจากธาตุคารบอน (C) ไฮโดรเจน (H) และออกซเิ จน (O)

น้าํ เปน สารประกอบที่เกิดจากธาตไุ ฮโดรเจน (H) และออกซเิ จน (O) ดงั ภาพ

ภาพแสดง การรวมตัวของธาตุเปนสารประกอบ (น้าํ )

- ธาตแุ ละสารในชีวติ ประจําวนั
1. สารปรุงแตงอาหาร หมายถึง สารปรุงรสอาหารใชใสในอาหารเพื่อทําใหอาหารมีรสดีขึ้น เชน

น้ําตาล น้าํ ปลา น้าํ สม สายชู น้ํามะนาว ซอสมะเขือเทศ และใหร สชาติตางๆ เชน
- นาํ้ ตาล ใหร สหวาน
- เกลอื น้าํ ปลา ใหร สเค็ม
- น้ําสม สายชู นา้ํ มะนาว ซอสมะเขอื เทศ ใหรสเปรี้ยว

198
2. สารทําความสะอาด ประเภทของสารทําความสะอาด แบงตามการเกิด ได 2 ประเภท คอื

1) ไดจากการสังเคราะห เชน นํา้ ยาลางจาน สบกู อน สบเู หลว แชมพสู ระผม ผงซกั ฟอก
สารทําความสะอาดพื้นเปนตน

2) ไดจากธรรมชาติ เชน น้าํ มะกรูด มะขามเปยก เกลอื เปน ตน

ภาพแสดง สารทําความสะอาดที่ไดจากธรรมชาติ (มะกรูด มะนาว มะขามเปยก เกลือ)
การแบงตามวัตถุประสงคในการใชงานเปนเกณฑ แบงออกไดเปน 4 ประเภท คอื

1. สารประเภททําความสะอาดรางกาย ไดแก สบู แชมพูสระผม เปนตน
2. สารประเภททําความสะอาดเสื้อผา ไดแก สารซักฟอกชนิดตางๆ
3. สารประเภททําความสะอาดภาชนะ ไดแก น้ํายาลางจาน เปนตน
4. สารประเภททําความสะอาดหองน้ํา ไดแก สารทําความสะอาดหองน้ําทั้งชนิดผงและชนิดเหลว

199

แบบฝก หดั ทา ยบทท่ี 8
คําชแ้ี จง : ขอสอบมีทั้งหมด 10 ขอ ใหเ ลอื กคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพยี งคาํ ตอบเดียว

1. อนภุ าคทเ่ี ล็กที่สุดของสสารเรยี กวาอะไร
ก. ธาตุ
ข. อะตอม
ค.โมเลกลุ
ง.สารประกอบ

2.ขอ ใดถูกตอ ง
ก. ในภาวะปกติ ธาตุมีไดท งั้ 3 สถานะ

ข. ธาตุสามารถแยกเปนองคประกอบยอยไดอีก
ค. ธาตุอาจเปน สารเนอ้ื เดียวกนั หรือสารเนื้อผสมกไ็ ด
ง. ธาตุสองชนิดขึ้นไปมาผสมกัน ตองไดสารประกอบเสมอ
3. ขอใดเปนธาตุทั้งหมด
ก. เหลก็ อากาศ ทองคํา
ข. ไฮโดรเจน คารบอน นเิ กิล
ค. กาํ มะถนั ดางทับทิม ปรอท
ง. พลวง ปรอท แอลกอฮอล

4. ขอ ใดตอ ไปน้ี จัดเปน ธาตุทั้งหมด
ก. CO2 NO2 O2 H2
ข. Mg N2 Br2 O2
ค. K Mg Be CO
ง. H2O He Na Cl2

5. ขอใดเปนสัญลักษณของธาตุทองคํา
ก. Au
ข. Ag

ค. Cu
ง. Ga

200

6. ธาตุในขอ ใด เปน โลหะทงั้ หมด
ก. Li Al P

ข. Al B Zi
ค. Zn Ag Na
ง. Na Mg C
จงพิจารณาขอมูลตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 7-8
ธาตุ A มสี มบัตนิ าํ ไฟฟาได, ผวิ เปน มนั วาว
ธาตุ B มสี มบตั นิ าํ ไฟฟาไมได, เปราะ
ธาตุ C มีสมบัตนิ าํ ไฟฟาได, เปราะ
ธาตุ D มสี มบัตนิ ําไฟฟา ไมไ ด, มีสถานะกาซ
7. ธาตใุ ดเปน โลหะ
ก. A
ข. B

ค. C
ง. D
8. ธาตใุ ดเปน กง่ึ โลหะ
ก. A
ข. B
ค. C
ง. D
9. โมเลกุลของ H3PO4 กับ C2H6O มีจาํ นวนอะตอมแตกตางกันก่อี ะตอม
ก. 1 อะตอม
ข. 2 อะตอม
ค. 3 อะตอม
ง. 4 อะตอม
10. อนุภาคมูลฐานของธาตุ คือขอใด
ก. โปรตอน และอเิ ลก็ ตรอน
ข. โปรตอน และนวิ ตรอน

ค. นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอน
ง. โปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอน

201

เฉลยแบบทดสอบบทท่ี 8 เรือ่ ง ธาตแุ ละสารประกอบ
1. ข
2. ก
3. ข
4. ค
5. ค

6. ค
7. ก
8. ค
9. ก
10. ง

202

บทท่ี 9
สารละลาย

สาระสําคัญ
สมบตั แิ ละองคป ระกอบของสารละลาย ปจ จยั ทม่ี ีผลตอการละลายของสาร หาความ

เขมขนของสารละลาย เตรียมสารละลายบางชนิด จําแนกกรด เบสและเกลือ ตรวจสอบความเปนกรด
เบส ของสารได การใชก รด เบส บางชนิดในชีวิตได

ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวัง
อธิบายเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของสาร การจําแนก สาร กรด เบส ธาตุ

สารประกอบ สารละลายและของผสมและใชสารและผลิตภณั ฑใ น ชีวิตประจาํ วนั ไดอยา งถูกตองและ
ปลอดภยั ตอชวี ติ

ขอบขายเนือ้ หา
เร่ืองที่ 1 สารละลาย
เร่อื งท่ี 2 กรด – เบส

203

เรอื่ งท่ี 1 สารละลาย

1.1 สมบัติของสารละลาย และองคประกอบของสารละลาย
สมบัตขิ องสารละลาย
เมือ่ เตมิ ตัวถูกละลายลงในตวั ทาํ ละลายจะไดสารละลายเกดิ ขึ้น ในนมี้ ีผลทาํ ใหส มบัตทิ างกายภาพของ
ตัวทําละลาย บริสุทธเปลี่ยนแปลงไป ความแตกตางทางกายภาพของสารละลายกับตัวทําละลายบริสุทธิ์
เรียกวา สมบัติคอลลเิ กตีฟ สมบัติคอลลิเกตีฟขึ้นอยกู บั จาํ นวนอนุภาค หรือจํานวนโมเลกุลของตวั ถูก
ละลายในสารละลาย ไมข้นึ อยกู บั ชนิดของตัวถกู ละลายสารละลายท่ีมีสมบัตคิ อลลิเกตฟี ตอ งเปน
สารละลายนอนอเิ ลก็ โตรไลท ซงึ่ ไมแ ตกตัวเปนไอออนในสารละลาย และตวั ถูกละลายตองเปน สารที่
ระเหยไดยากสมบัติคอลลิเกตีฟของสารละลายเปนสมบัติที่เกี่ยวของกับความดันไอ , จดุ เดอื ด, จดุ เยอื ก
แขง็ และความดนั ออสโมซสิ ดงั น้ี

1. ความดันไอของสารละลายต่ํากวาความดันไอของตัวทําละลายบริสุทธิ์
2. จุดเดือดของสารละลายสูงกวาจุดเดือดของตัวทําละลายบริสุทธิ์
3. จุดเยือกแข็งของสารละลายต่ํากวาจุดเยือกแข็งของตัวทําละลายบริสุทธิ์
4. แสดงความดนั ออสโมซสิ
องคประกอบของสารละลาย
1. ตัวทําละลาย (solvent) หมายถึง สารที่มีความสามารถ ในการทําใหสารตางๆ ละลายได
โดยไมท ําปฏิกิรยิ าเคมกี บั สารนั้น
2. ตัวละลาย (solute) หมายถึง สารที่ถูกตัวทําละลายละลายใหกระจายออกไปทั่วในตัวทํา
ละลายโดยไมท าํ ปฏกิ ริ ิยาเคมีตอ กัน
1.2 ความสามารถในการละลายของสาร
ความสามารถในการละลายของสารชนิดหนึ่งในสารอีกชนิดหนึ่งนั้นสามารถหาไดจาก
อตั ราสวนระหวางตัวถกู ละลาย กับตวั ทาํ ละลาย หรือ อตั ราสวนระหวางตัวถูกละลาย กับสารละลาย ใน
สภาวะทีส่ ารละลายนั้นเปนสารละลายอิม่ ตวั ซ่ึงสามารถบอกเปนความหนาแนนสูงสุดของสารละลายนั้น
ไดอ ีกดว ยซงึ่ ข้ึนอยูกับปจจัยหลายประการ เชน แรงระหวา งโมเลกุลของตัวทําละลายกบั ตัวถูกละลาย
อุณหภูมิ ความดัน และปจจัยอนื่ ๆ

204

1.3 ปจจัยที่มีผลตอการละลายของสาร

ชนิดของสาร อุณหภูมิ ความดัน

ความสามารถในการละลายของสาร(Solubility)ข้นึ อยูกับ

ชนิดของสาร เชน โซเดียมคลอไรด (Nacl) แตบางชนดิ เมือ่ อณุ หภมู เิ พ่มิ ข้ึนก็จะมี

ความสามารถในการละลายลดลง เชน กาซทุกชนิด แคลเซียมโครเมต( )

ความดัน ในกรณที ี่กาซละลายในของเหลว ถา ความดันสูงกา ซจะละลายไดด ี เชน กาซ

คารบอนไดออกไซคละลายในน้ําอัดลม ถาเราเพิ่มความดันปริมาณกาซคารบอนไดออกไซคที่ละลายใน

น้ําจะเพมิ่ ข้ึน แตถา เราเปดฝาขวด(ลดความดนั ) จะทําใหกาซคารบอนไดออกไซคหนีจากของเหลว นั่นคือ

กาซละลายไดนอยลง

1.4 ความเขมขนของสารละลาย

ความเขมขนของสารละลายเปนคาที่บอกใหทราบวาในสารละลายหนึ่งๆ มีปริมาณตัวถูกละลาย

จํานวนเทาไหร และการบอกความเขมขนของสารละลาย สามารถบอกไดหลายวิธีดังนี้

1. รอยละ แบง ออกไดเ ปน 3 ลักษณะ คือ

1.1 รอ ยละโดยมวลตอมวลหรือเรยี กสัน้ ๆ วารอยละโดยมวล เปน หนว ยทีบ่ อกมวลของตัว

ถกู ละลายท่มี ีอยใู นสารละลาย 100 หนว ยมวลเดยี วกนั (กรัม กิโลกรัม) เชน สารละลาย

ยูเรยี เขมขนรอ ยละ 25 โดยมวล หมายความวา ในสารละลายยูเรีย 100 กรมั มียูเรียละลาย

อยู 25 กรัม หรอื ในสารละลายยูเรีย 100 กิโลกรัม มียูเรยี ละลายอยู 25 กโิ ลกรมั

1.2 รอยละโดยปรมิ าตรตอปรมิ าตรหรอื เรียกสน้ั ๆ วา รอยละโดยปริมาตร เปน หนวยท่บี อก
ปริมาตรของตัวถูกละลายที่มีอยูในสารละลาย 100 หนว ยปรมิ าตรเดยี วกนั (ลูกบาศก
เซนตเิ มตร (cm3) ลูกบาศกเดซิเมตร (dm3) หรือลิตร) เชน สารละลายเอทานอลในน้ํา
เขมขนรอ ยละ 20 โดยปริมาตร หมายความวาในสารละลาย 100 cm3 มีเอทานอลละลาย
อยู 20 cm3 เปนตน

1.3 รอยละโดยมวลตอปรมิ าตร เปน หนวยท่ีบอกมวลของตัวถูกละลายทม่ี ีอยใู นสารละลาย
100 หนว ยปรมิ าตร (หนวยของมวลและของปริมาตรจะตองสอดคลองกัน เชน กรัมตอ
ลกู บาศกเซ็นติเมตร (g/cm3) กิโลกรัมตอ ลกู บาศกเ ดซิเมตร (kg/dm3) เปน ตน ) เชน

205

สารละลายกลูโคสเขมขนรอยละ 30 โดยมวลตอปริมาตร หมายความวา ในสารละลาย
100 cm3 มกี ลโู คสละลายอยู 30 กรมั หรอื ในสารละลาย 100 dm3 มกี ลูโคสละลายอยู 30
กโิ ลกรมั

2. โมลตอลกู บาศกเ ดซิเมตร หรอื โมลาริตี (mol/dm3 or Molarity)
เนอ่ื งจาก 1 ลูกบาศกเดซิเมตรมีคาเทากับ 1 ลติ ร จึงอนุโลมใหใชโมลตอลติ ร (mol/l) หรอื
เรยี กวา โมลาร (Molar) ใชสญั ลักษณ “M” หนว ยนบ้ี อกใหท ราบวาในสารละลาย 1 dm3 มีตัว
ถูกละลายอยูก โ่ี มล เชน สารละลายโซเดียมคลอไรตเขมขน 0.5 mol/dm3 (0.5 M) หมายความ
วาในสารละลาย 1 dm3 มีโซเดยี มคลอไรตล ะลายอยู 0.5 mol

3. โมลตอกโิ ลกรมั หรอื โมแลลติ ี (mol/kg molality) หนว ยนอ้ี าจเรยี กวา โมแลล (Molal)
ใชสญั ลกั ษณ “m” เปนหนวยความเขมขนที่บอกใหทราบวาในตัวทําละลาย 1 กโิ ลกรมั (kg)
มตี ัวถกู ละลาย ละลายอยกู โี่ มล เชน สารละลายกลูโคสเขม ขน 2 mol/kg หรอื 2 m
หมายความวามีกลูโคส 2 mol ละลายในนาํ้ 1 kg
หมายเหตุ สารละลายหนึ่งๆ ถาไมระบุชนิดของตัวทําละลาย แสดงวามีน้ําเปนตัวทําละลาย

4. สว นในลา นสว น (ppm) เปนหนวยความเขมขนที่บอกใหทรายวาในสารละลาย 1 ลา นสว นมี
ตวั ถกู ละลาย ละลายอยูก ี่สวน เชน ในอากาศมีกาซคารบอนมอนออกไซต (CO) 0.1 ppm
หมายความวาในอากาศ 1 ลา นสวน มี CO อยู 0.1 สว น (เชน อากาศ 1 ลานลูกบาศก
เซน็ ตเิ มตร มี CO 0.1 ลูกบาศกเซนติเมตร)

5. เศษสว นโมล (mole fraction) เปน หนว ยทแ่ี สดงสดั สว นโดยจาํ นวนโมลของสารทเ่ี ปน
องคประกอบในสารละลายตอจํานวนโมลรวมของสารทุกชนิดในสารละลาย

1.5 การเตรียมสารละลาย
สวนมากในการทดลองทางเคมีมักใชสารละลายที่เปนของเหลว จึงนิยมเตรียมสารใหอยูในรูปของ
สารละลาย

1. เครื่องมือที่ใชในการเตรียมสารละลาย
1.1) เครื่องชั่งสาร นิยมใชชั่งน้ําหนักของสารที่เปนของแข็ง และมีความละเอี ยดถึงทศนิยม
ตําแหนงท่ี 4
1.2) อุปกรณวดั ปริมาตรไดแก กระบอกตวง ปเ ปต นวิ เรต ขวดรูปชมพู และขวดวัดปรมิ าตร

206

2. วิธีการเตรียมสารละลาย
2.1) เตรียมจากสารบริสทุ ธิ์มีข้นั ตอนคอื
1. คํานวณหาปริมาณสารที่ใชในการเตรียม
2. ชง่ั สารตามจาํ นวนใสบีกเกอรแ ลวเติมนาํ้ กลนั่ เลก็ นอย คนจนละลาย
3. นําสารละลายในบีกเกอรรินใสขวดวัดปริมาตรตามจํานวนที่ตองการ
4. เทน้ําทลี ะนอ ย เพือ่ ลางสารในบกี เกอรเตมิ ลงในขวดวดั ปรมิ าตรหลาย ๆ คร้งั
5. ใชหลอดหยดน้ํากลั่นบีบลงในขวดวัดปริมาตรจนไดปริมาตรตรงตามตองการ
6. ปดจุกแลวเขยา ใหส ารละลายเขากัน
7. เก็บสารละลายในขวดที่เหมาะสมหรือระบุชนิด สูตรสารความเขมขน และวันที่เตรียม
2.2) เตรียมจากสารละลาย มขี น้ั ตอนดังนี้
1. คํานวณหาปริมาตรสารที่ใชในการเตรียม
2. ตวงสารละลายดว ยปเ ปตตามจํานวน ใสบ ีกเกอรเ ตมิ น้ําเลก็ นอ ยจากน้นั รินใสข วดวั ด
ปริมาตรตามขนาดที่ตองการ
3. เทนา้ํ กล่ันทีละนอ ย เพอ่ื ลางสารในบกี เกอรเติมลงในขวดวัดปรมิ าตรหลาย ๆคร้งั
4. ใชหลอดดูดน้ํากลั่นบีบลงในขวดวัดปริมาตรไดปริมาตรตรงตามตองการ
5. ปดจุกแลวเขยาใหสารละลายเขากัน
6. เก็บสารละลายในขวดที่เหมาะสม พรอมระบุชนิด สูตรสาร ความเขมขนและวันที่เตรียม

207

เรอ่ื งท่ี 2 กรด – เบส

2.1 ความหมายและสมบัติของกรด – เบส และเกลือ
กรด (Acid) คือ สารประกอบที่มีธาตุไฮโดรเจน(H) เปนองคประกอบ และอะตอมของ H อะตอม
ใหโ ลหะ หรอื หมูธาตุท่เี ทียบเทา โลหะทไ่ี ด และเม่ือกรดละลายนาํ้ จะแตกตวั ใหไฮโดรเจนออิ อน
คุณสมบัติของกรด
1. มีธาตุไฮโดรเจนเปนองคประกอบ
2. มรี สเปร้ียว
3. ทําปฏกิ ิริยากับโลหะ เชน สงั กะสี แมกนเี ซยี ม ทองแดง ดบี กุ และอะลมู เิ นยี ม จะไดแ กส

ไฮโดรเจน
4. ทําปฏิกิริยากับหนิ ปนู ซง่ึ เปนสารประกอบแคลเซยี มคารบ อเนต หินปนู สกึ กรอ น ไดแกส

คารบ อนไดออกไซด ทําใหน้าํ ปนู ใสขนุ
5. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีนํา้ เงนิ เปนสีแดง
6. ทาํ ปฏกิ ริ ยิ ากบั เบสไดเ กลอื และนํ้า เชน กรดเกลอื ทาํ ปฏิกิรยิ ากับโซดาแผดเผาหรอื โซเดียมไฮ

ดรอกไซดซ ึง่ เปนเบส ไดเ กลอื โซเดยี มคลอไรดห รือเกลอื แกง
7. สารละลายกรดทกุ ชนดิ นาํ ไฟฟา ไดด ี เพราะกรดสามารถแตกตวั ใหไ ฮโดรเจนไอออน
8. กรดมีฤทธใ์ิ นการกัดกรอ นสารตางๆไดโดยเฉพาะเน้อื เยอื่ ของสง่ิ มีชีวิต ถากรดถกู ผวิ หนงั จะ

ทาํ ใหผ วิ หนงั ไหม ปวดแสบปวดรอ น ถา กรดถูกเสน ใยของเสื้อผา เสนใยจะถกู กดั กรอ นให
ไหมไ ด นอกจากนกี้ รดยังทําลายเนือ้ ไม กระดาษ และพลาสตกิ บางชนดิ ไดดว ย

เบส (Base) คอื สารละลายนาํ้ แลว แตกตวั ใหไ ฮดรอกไซดไ อออน (OH-) ออกมา เม่อื ทําปฏกิ ิริยา
กบั กรดจะไดเ กลือกบั นํา้ หรือไดเ กลืออยา งเดยี ว
คุณสมบัติของเบส

1. เปลยี่ นสีกระดาษลติ มสั จากสีแดงเปนสีนาํ้ เงนิ
2. ทาํ ปฏิกริ ิยากับแอมโมเนยี มไนเตรต จะใหแ กสแอมโมเนยี มกี ลน่ิ ฉุน
3. ทาํ ปฏิกิริยากับน้าํ มนั หรือไขมนั ไดสบู
4. ทําปฏิกิริยากับโลหะบางชนิด
5. ลืน่ คลายสบู
6. ทําปฏิกริ ยิ ากบั กรดไดเกลอื และน้ํา เชน สารละลายโซดาไฟ (โซเดยี มไฮดรอกไซด ) ทาํ

ปฏกิ ริ ยิ ากบั กรดเกลือ (กรดไฮโดรคลอรกิ ) ไดเ กลือโซเดียมคลอไรด หรือเกลือแกงทใี่ ชป รงุ
อาหาร นอกจากนี้โซดาไฟยังสามารถทําปฏิกิริยากับกรดไขมัน ไดเกลือโซเดียมของกรด
ไขมนั หรือที่เรยี กวา สบู

208

เกลือ (salt) คณุ สมบัติทั่วไปของเกลือ
1. สวนมากมีลักษณะเปนผลกึ สีขาว เชน NaCl แตม หี ลายชนิดท่ีมีสี เชน

สมี ว ง ไดแ ก ดางทับทิม(โปแตสเซียมเปอรแมงกาเนต) KMnO4
สนี ้ําเงิน ไดแ ก จนุ สี(คอปเปอรซ ลั เฟต) CuSO4.5H2O

สีสม ไดแ ก โปแตสเซียมโครเมต KCr2O7

สเี ขียว ไดแ ก ไอออน(II)ซัลเฟต FeSO4.7H2O

2. มหี ลายรส เชน

รสเคม็ ไดแ ก เกลอื แกง(โซเดยี มคลอไรด) NaCl

รสฝาด ไดแ ก สารสม K2SO4.Al2(SO4)3.24H2O

รสขม ไดแ ก โปแตสเซียมคลอไรด , แมกนีเซยี มซัลเฟต KCl, Mg SO4.7H2O
3. นําไฟฟาได (อเิ ลก็ โตรไลท : electrolyte)

4. เม่อื ละลายนํา้ อาจแสดงสมบตั เิ ปนกรด เบส หรอื กลางกไ็ ด

5. ไมก ดั กรอ นแกว และเซอรามกิ

2.2 ความเปนกรด – เบสของสาร
ความเปนกรด-เบส ของสารเมื่อทดสอบกับกระดาษลิตมัส จะพบการเปลี่ยนแปลงดังนี้

1. เปลย่ี นสีกระดาษลติ มสั จากสนี ้ําเงินเปน สีแดง แตสีแดงไมเปลีย่ น สารมคี ุณสมบตั เิ ปนกรด
2. เปลย่ี นสีกระดาษลิตมสั จากแดงเปนสีน้าํ เงนิ แตส นี าํ้ เงินไมเ ปลี่ยน สารมีคณุ สมบตั เิ ปนเบส
3. กระดาษลิตมัสทั้งสองสีไมเปลี่ยนแปลง สารมีคุณสมบัติเปนกลาง
ความเปนกรด-เบส ของสารเมื่อทดสอบกับสารละลายฟนอลฟทาลีน จะพบการเปลี่ยนแปลงดังนี้
1. สารละลายฟน อลฟทาลนี เปลยี่ นสเี ปน สีชมพมู วง สารนั้นมสี มบตั ิเปน เบส

2. สารละลายฟน อลฟทาลีนใสไมมสี ี สารนัน้ อาจเปนกรดหรอื เปน กลางกไ็ ด
ความเปนกรด-เบส ของสารเมอ่ื ทดสอบกบั ยนู เิ วอรซ ลั อนิ ดเิ คเตอร จะพบการเปลี่ยนแปลงดังนี้

1. คา pH มีคา นอ ยกวา 7 สารละลายเปนกรด
2. คา pH มีคามากกวา 7 สารละลายเปนเบส
3. คา pH มีคาเทากับ 7 สารละลายเปนกลาง

209

2.3 กรด – เบส ของสารในชีวิตประจําวัน
สารละลายกรด – เบสในชวี ติ ประจําวันมีอยูม ากมาย ซึง่ สามารถจําแนกไดดงั น้ี

1. สารประเภททําความสะอาด
- บางชนิดกม็ สี มบัตเิ ปน เบส เชน สบู ผงซักฟอก น้าํ ยาลา งจาน
- บางชนิดมีสมบัติเปนกรด เชน นํ้ายาลา ง หองน้ํา และเคร่อื งสุขภณั ฑ

2. สารทใี่ ชท างการเกษตร ไดแ ก ปุย
- บางชนิดกม็ สี มบตั เิ ปน เบส เชน ยูเรีย
- บางชนิดมีสมบัติเปนกรด เชน แอมโมเนียมคลอไรค
- บางชนิดมีสมบัติเปนกลาง เชน โพแทสเซียมไนเตรต

3. สารปรุงแตงอาหาร
- บางชนิดก็มสี มบตั เิ ปนเบส เชน น้าํ ปูนใส น้าํ ขเี้ ถา
- บางชนิดมีสมบัติเปนกรด เชน น้ําสมสายชู น้ํามะนาว น้ํามะขาม
- บางชนิดมีสมบัติเปนกลาง เชน ผงชูรส เกลือแกง น้ําตาลทราย ฯลฯ

4. ยารกั ษาโรค
- บางชนิดกม็ สี มบัตเิ ปนเบส เชน ยาแอสไพริน วิตามินซี
- บางชนิดมีสมบัติเปนกรด เชน ยาลดกรด ยาธาตุ

5. เครื่องสําอาง
- บางชนดิ มสี มบตั ิเปนกลาง เชน นํ้าหอม สเปรยฉ ดี ผม ยารกั ษาสวิ ฝา

210

2.4 กรณีศึกษากรด – เบส ท่ีมผี ลตอคุณสมบัตขิ องดิน

ความเปน กรด-เบสของดนิ
ความเปนกรด-เบสของดิน หมายถึง ปริมาณของไฮโดรเจนที่มีอยูในดิน ความเปนกรด -
เบส กาํ หนดคา เปน ตัวเลขต้ังแต 1-14 เรยี กคาตวั เลขนว้ี าคา pH โดยจดั วา

สารละลายใดที่มีคา pH นอ ยกวา 7 สารละลายนัน้ มสี มบตั ิเปน กรด
สารละลายใดที่มีคา pH มากกวา 7 สารละลายนั้นมีสมบัติเปนเบส
สารละลายใดที่มีคา pH เทากับ 7 สารละลายนั้นมีสมบัติเปนกลาง
วิธีทดสอบความเปนกรด-เบสมวี ิธที ดสอบไดดงั น้ี
1. ใชก ระดาษลติ มัสสนี าํ้ เงินหรอื สีแดง โดยนาํ กระดาษลติ มัสทดสอบกับสารทสี่ งสยั ถา
เปน กรดจะเปล่ียนกระดาษลติ มสั สนี าํ้ เงนิ เปนสแี ดง และถาเปนเบสจะเปล่ยี นกระดาษลิตมสั สี
แดงเปน สีนํ้าเงิน
2. ใชก ระดาษยนู เิ วอรแ ซลอนิ ดเิ คเตอร โดยนาํ กระดาษยนู เิ วแซลอนิ ดเิ คเตอรท ดสอบกบั

สารแลว นาํ ไปเทียบกับแผน สที ่ขี า งกลอง
3. ใชน้ํายาตรวจสอบความเปนกรด -เบส เชน สารละลายบรอมไทมอลบลูจะใหสีฟา

ออ นในสารละลายท่ีมี pH มากกวา 7 และใหส เี หลอื งในสารละลายที่มี pH นอ ยกวา 7

รปู แสดงกระดาษลิตมัสและยนู เิ วอรซ ลั อนิ ดเิ คเตอร

211

รปู แสดงการเปลีย่ นสีของกระดาษยนู ิเวอรซัลอนิ ดิเคเตอร
ปจ จัยหรือสาเหตทุ ่ีทําใหดนิ เปน กรด ไดแก การเนา เปอ ยของสารอินทรยี ใ นดนิ การใส
ปุยเคมีบางชนิด สารที่ปลอยจากโรงงานอุตสาหกรรมบางประเภท
ปจ จยั ทีท่ าํ ใหดินเปน เบส ไดแก การใสปูนขาว (แคลเซยี มไฮดรอกไซด)
ความเปนกรด-เบสของดินน้นั มผี ลตอ การเจรญิ เตบิ โตของพชื พืชแตล ะชนดิ เจริญเติบโตไดด ใี น
ดนิ ทีม่ คี า pH ที่เหมาะแกพืชนั้นๆ ถาสภาพ pH ไมเหมาะสมทําใหพืชบางชนิดไมสามารถดูดซึม
แรธ าตทุ ต่ี อ งการทมี่ ีใน ดนิ ไปใชประโยชนไ ด
การแกไขปรับปรุงดิน
ดนิ เปน กรด แกไ ขไดโ ดยการเตมิ ปนู ขาว หรอื ดนิ มารล
ดินเปนเบสแกไ ขไดโดยการเติมแอมโมเนียมซัลเฟต หรอื ผงกาํ มะถนั

212

ความรเู พ่ิมเติม อ
อินดิเคเตอรจากธรรมชาติ คือ สารธรรมชาติที่สกัดไดจากสวนตางๆ ของพืช สามารถใชเพื่

ตรวจสอบความเปนกรด-เบสของสารละลายได

ตารางแสดงชวงการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอรจากธรรมชาติบางชนิด

ชนิดของพืช ชวง pH ที่เปล่ียนสี สีทม่ี ีการเปลย่ี นแปลง

อญั ชนั 1-3 แดง-มว ง
กหุ ลาบ 3-4 ชมพ-ู ไมม สี ี
กระเจี๊ยบ 6-7 แดง- เขยี ว
ชงโค 6-7 ชมพ-ู เขยี ว
บานไมร โู รย 8-9 แดง-มว ง
ดาวเรอื ง 9-10 ไมมสี -ี เหลอื ง
ผกากรอง 10-11 ไมม สี ี-เหลอื ง

การใชอินดิเคเตอรในการทดสอบหาคา pH ของสารละลายนั้นจะทราบคา pH โดยประมาณ
เทานั้น ถาตองการทราบคา pH ทีแ่ ทจ รงิ จะตองใชเ ครอ่ื งมือวัด pH ท่ีเรียกวา "พเี อชมเิ ตอร (pH meter)"
ซึ่งเปนเครื่องมือที่สามารถตรวจวัดคา pH ของสารละลายไดเปนเวลานานติดตอกัน ทําใหตรวจสอบการ
เปลี่ยนแปลงความเปนกรด -เบสของสารละลายได และคา pH ที่อานไดจะมีความละเอียดมากกวาการใช
อนิ ดเิ คเตอร

213

แบบฝก หัดทา ยบทท่ี 9
คําชแ้ี จง : ขอสอบมีทั้งหมด 10 ขอใหเ ลือกคําตอบทถ่ี ูกตอ งท่สี ดุ เพียงคาํ ตอบเดยี ว
1.ขอใดกลาวถึงสารละลายไดถูกตอง

ก.สารท่มี ีเนอื้ สารเหมือนกนั ตลอดทกุ สวน
ข.สารทม่ี เี น้อื สารมองดใู สไมมสี กี ล่ินและรส
ค.สารทไ่ี มบ รสิ ุทธเ์ิ กิดจากสารบริสุทธ์ติ ั้งแต 2 ชนดิ ผสมกัน
ง.สารที่มจี ดุ หลอดเหลวตา่ํ กวา 100 องศาเซลเซยี ส
2.ขอ ใดผดิ เกย่ี วกับตวั ทาํ ละลาย
ก.สารที่มีปริมาณมากกวา
ข.สารที่มีสถานะเดียวกับสาระละลาย
ค.สารที่มีสถานะเปนของเหลวเทานั้น
ง.สารที่มีสถานะเปนของแข็ง ของเหลว และกาซ
3.ตัวถูกละลายคืออะไร
ก.สารทมี่ ปี รมิ าณนอ ยกวา
ข.สารที่มีสถานะเดียวกับสารละลาย
ค.สารที่มีสถานะเปนของเหลวเทานั้น
ง.สารที่มีความหนาแนนนอยกวาสารละลาย
4.สาร A สามารถละลายในน้ําได 15 กรัม แตเมือ่ นาํ ไปตม สาร A ละลายไดเพ่มิ ข้นึ เปน 25 กรมั
และก็ไมสามารถละลายไดอีก เราเรียกสารอะไร
ก.สารละลายอิม่ ตวั
ข.สารละลายเขมขน
ค.สารละลายเจือจาง
ง.สารละลายไมอ่มิ ตัว
5.กระบวนการใดเรียกวา การตกผลึก
ก.การแยกตัวของตัวถูกละลายออกจากสารละลายอิ่มตัว
ข.การแยกตัวของตัวถูกละลายออกจากสารละลายเขมขน
ค.การแยกตัวของตัวทําละลายออกจากสารละลายอิ่มตัว
ง.การแยกตัวของตัวทําละลายออกจากสารละลายเขมขน

214

6. ความแตกตางของสารกับสารบริสุทธิ์คือขอใด
ก.สารละลายมีปริมาตรมากกวาสารบริสุทธิ์
ข.สารละลายมีจดุ เดอื ดไมคงที่ สารบรสิ ุทธ์มิ ีจดุ เดือดคงท่ี
ค.สารละลายมจี ุดเดือดคงที่ สารบรสิ ุทธมิ์ ีจดุ เดือดไมค งที่
ง.สารละลายมีจุดเยือกแข็งคงที่ สารบริสุทธิ์มีจุดเยือกแข็งไมคงที่

7. ขอใดตองใชตัวทําละลายตางจากพวก
ก.นํ้าตาล
ข.เชลแล็ก
ค.เกลอื แกง
ง.สีผสมอาหาร

8. ขอใดไมสงผลตอความสามารถในการละลายของสาร
ก.ความดัน
ข.อุณหภูมิ
ค.ความหนาแนน
ง.ชนิดของตัวทําละลายและตัวถูกละลาย

9. แอลกอฮอล 80% โดยปริมาตร มีความหมายตรงกับขอใด
ก.สารละลายนั้น 100 cm3 มเี อทลิ แอลกอฮอลอ ยู 80 cm3
ข.สารละลายนั้น 100 กรมั มเี อทลิ แอลกอฮอลอ ยู 80 กรมั
ค.สารละลายนั้น 100 cm3 มเี อทลิ แอลกอฮอลอ ยู 80 กรมั
ง.สารละลายนั้น 100 กรมั มเี อทลิ แอลกอฮอลอ ยู 80 cm3

10. ขอใดจดั เปนการพสิ ูจนว า สารx กับสารy มีความสามารถในการละลายในของเหลzวไดดกี วากนั
ก.ใชของเหลว Z ปรมิ าณเทากันที่อุณหภมู ิเดียวกัน
ข. ใชของเหลว Z ปรมิ าณเทากนั ท่อี ณุ หภมู ติ า งกัน
ค.ใชสาร x และ y ปรมิ าณเทา กนั ทอี่ ณุ หภูมติ างกนั
ง.ใชสาร x และ y ปรมิ าณเทา กนั ท่ีอณุ หภูมิเดียวกัน

215

เฉลยแบบทดสอบบทท่ี 9 เร่อื งสารละลาย
1. ก
2. ค
3. ก
4. ก
5. ค

6. ข
7. ข
8. ก
9. ก
10. ง

216

บทท่ี 10
สารและผลิตภัณฑในชวี ิต

สาระสําคัญ
ความหมายของ สาร ผลิตภัณฑ คุณสมบัติของสารประเภทตาง ๆ ไดแก สารอาหาร สารปรุงแตง
สารปนเปอน สารเจอื ปน สารพษิ สารสังเคราะห ประโยชนข องสารและผลิตภณั ฑใ นชวี ิตประจาํ วัน
การเลอื กใชส ารและผลติ ภัณฑอยางปลอดภยั ผลกระทบและโทษทเี่ กิดจากการใชสารและผลิตภัณฑตอ
ชวี ติ และสง่ิ แวดลอ ม
ผลการเรียนรทู คี่ าดหวงั

1. อธิบายสารและสารสังเคราะหได
2. อธิบายการใชสารและผลิตภัณฑของสารบางชนิดในชีวิตประจําวันและเลือกใชได
3. อธิบายผลกระทบที่เกดิ จากการใชสาร และผลิตภณั ฑท ม่ี ีตอชวี ติ และสิ่งแวดลอ ม
ขอบขา ยเน้อื หา
1. สารและคุณสมบัติของสาร
2. สารสังเคราะห
3. สารและผลิตภัณฑใ นชวี ิต
4. การเลอื กใชส ารและผลิตภณั ฑใ นชีวติ
5. ผลกระทบทเี่ กดิ จากการใชส ารและผลติ ภัณฑต อชีวิตและสง่ิ แวดลอ ม

217

เร่ืองท่ี 1 สารและคณุ สมบตั ขิ องสาร

สาระสําคัญ
ความหมายของสาร คุณสมบัติของสารประเภทตาง ๆ ไดแก สารอาหาร สารปรุงแตง สาร

ปนเปอ น สารเจือปน สารพษิ สารสงั เคราะห คณุ สมบตั แิ ละประโยชนของสาร ผลิตภณั ฑใน
ชวี ิตประจําวนั การเลอื กใชสารอยา งปลอดภยั ในชวี ติ และผลกระทบท่เี กดิ จากการใชสารตอ ชวี ิตและ
สง่ิ แวดลอ ม
ความหมายของสารและผลติ ภณั ฑ

สาร หมายถึง สง่ิ ท่มี ีตัวตน มีมวลหรอื น้ําหนกั ตองการท่อี ยูและสามารถสมั ผัสได เชน ดนิ หิน
อากาศ พืช และสตั ว ทกุ สงิ่ ทุกอยางมท่อี ยรู อบๆ ตวั เรา จดั เปน สารท้ังส้ิน สารแตละชนดิ มีสมบตั ิ
แตกตางกัน แตสามารถเปลี่ยนแปลงสถานะได

การที่สารมีสมบัติแตกตางกัน และมีสมบัติแตกตางกัน และมีความสามารถในการเปลี่ยนแปลง
สถานะไดแตกตา งกันนี้ ถือวา เปนลักษณะเฉพาะของสารแตละชนิด ดงั นนั้ จึงมีการใชเ กณฑก าร
พิจารณาและอธิบายสมบัติของสารมาจัดจําแนกสาร และมีการทดสอบสมบัติของสารเพื่อพิสูจนวาสาร
นั้นเปนสารชนิดใด เพราะหากอาศัยแตการสังเกตหรือมองเห็นเพียงอยางเดียวในบางครั้งก็ไมสามารถจะ
ตดั สนิ ไดแ นน อน

ผลิตภัณฑ ( Product) หมายถึง สิ่งที่เสนอขายใหกับตลาด สามารถตอบสนองความตองการ
ของลกู คา กลุมเปาหมายได ผลติ ภัณฑท่เี สนอขายอาจจะสัมผัสไดห รือสมั ผัสไมได ท้ังน้รี วมถึง สินคา
บรกิ าร สถานท่ี องคกร บคุ คล หรือความคิด

รปู ภาพ ผลติ ภณั ฑที่ใชใ นชวี ติ ประจําวนั

1.1 สารอาหาร (nutrients) หรอื โภชนาสาร 2541) อธิบายวา สารอาหาร หมายถึง
มผี ใู หความหมายไวด ังน้ี วนี ัส และ ถนอมขวัญ (

สารประกอบเคมี หรือแรธ าตุท่ีมอี ยใู นอาหารชนดิ ตางๆ ทร่ี า งกายตอ งการ สิริพันธุ (2542) อธิบายวา

สารอาหาร หมายถึง สวนประกอบที่เปนสารเคมีที่มีอยูในอาหาร เมื่อบริโภคเขาไปแลวรางกายสามารถ

นําไปใชประโยชนได โดยคารโบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน เปนสารอาหารที่รางกายตองการปริมาณมาก

218

และเปนสารอาหารที่ใหพลังงานแกรางกาย เรียก “macronutrients ” สวนวิตามิน และเกลอื แรเ ปน

สารอาหารที่รางกายตองการนอย และไมใหพลังงาน เรียก “micronutrients” เสาวนยี  (2544) อธิบายวา

สารอาหาร หมายถึง สารเคมีที่มีอยูในอาหาร มี 6 ชนิด คอื

1. คารโ บไฮเดรต 2. โปรตนี

3. ไขมัน 4. วิตามนิ

5. เกลอื แร 6. นํา้

สารอาหารแตละพวกทําหนาที่อยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยาง วนิ ัย และคณะ ( 2545) อธิบาย

วา สารอาหาร หมายถึง สารเคมีที่พบในอาหาร เปนสารที่มีความสําคัญตอกระบวนการของชีวิต
สรปุ สารอาหาร หรือโภชนสาร หมายถึง สารเคมที ่มี ีอยใู นอาหาร มี 6 ชนดิ เปน สารทีม่ คี วามสําคญั ตอ
กระบวนการทํางานของรางกาย โดยแบงสารอาหารที่รางกายตองการเปน สารอาหารที่ตองการใน

ปริมาณมาก หรือสารอาหารที่ใหพลังงาน หรือศัพทสมัยใหมเรียก สารอาหารมหภาคไดแก

คารโบไฮเดรต ไขมนั และโปรตีน ซึ่งทาํ หนา ที่ใหพลงั งาน และเสรมิ สรางเนอื้ เยอ่ื ในรางกาย สารอาหาร

ท่ตี อ งการในปรมิ าณนอ ย หรอื สารอาหารทไี่ มใหพ ลงั งาน หรือสารอาหารจลุ ภาค ไดแ ก วติ ามนิ และ

เกลือแร สวนน้ําเปนสารอาหารที่ไมใหพลังงานแตชวยสนับสนุนการทํางานของรางกายซึ่งจะขาดไมได

ท่ีผูเขยี นสรุปวานา้ํ คอื สารอาหารตวั หน่งึ ท้งั นี้ เพราะนา้ํ เปน สารเคมชี นิดหนงึ่ ที่อยใู นอาหารทกุ ชนดิ มาก

นอยขน้ึ อยูกับชนิดของอาหาร

การแบงประเภทของสารอาหาร แบงได (วนี สั และถนอมขวญั , 2541) ดงั น้ี

1.สารอาหารที่รางกายตองการในปริมาณมาก ไดแก สารอาหาร คารโบไฮเดรต ไขมัน และ

โปรตีน ซง่ึ ทําหนา ที่ใหพลงั งาน และเสรมิ สรา งเนอ้ื เย่อื

2.สารอาหารที่รางกายตองการในปริมาณนอยไดแก วิตามิน และเกลือแร รางกายตองการสาร

เหลานี้เพื่อกําหนด และควบคุมกระบวนการทํางานของรางกายเพื่อดํารงไวซึ่งสุขภาพที่ดี

3.น้ําเปนสวนประกอบที่สําคัญในการสนับสนุนการทํางานของสารอาหารทั้งหมดใน

กระบวนการทํางานของสิ่งมีชีวิต

1.2 สารปรงุ แตง หมายถึง สารปรุงรสอาหารใชใสในอาหารเพื่อทําใหอาหารมีรสดีขึ้น เชน
สารปรุงแตงอาหาร

นาํ้ ตาล นํา้ ปลา นํา้ สม สายชู นํา้ มะนาว ซอสมะเขือเทศ และใหร สชาติตา งๆ ดังรูป

รปู ภาพ สารปรงุ แตงรสอาหาร

219

กิจกรรมการเรียนรูท่ี 1

วิธีการการตรวจสอบ ผงชรู ส
เน่ืองจากผงชรู สเปน วัตถุท่ีสงั เคราะหข ึ้นมา การตรวจสอบผงชูรสอาจทําไดโดยการสังเกต

ลักษณะภายนอก แตในบางครั้งก็เปนการยากในการสังเกต วิธที ด่ี ที ส่ี ดุ ตองตรวจสอบโดยวธิ ที างเคมีซง่ึ มี
วธิ ีการดงั นี้

1. การเผา โดยการนําผงชูรส ประมาณ 1 ชอนชา ใสล งชอ นโลหะเผาบนเปลวไฟใหไ หมแ ลว
สงั เกต ถา เปนผงชูรสแทจ ะไหมเ ปนสีดาํ แตถ าเปนผงชรู สทมี่ ีสารอ่นื เจอื ปนจะเปนสขี าว

2. ตรวจสอบดว ยกระดาษขมน้ิ ซึ่งเตรียมโดยการเอาผงขมิ้นประมาณ 1 ชอ นชา ละลายใน
แอลกอฮอลห รอื นาํ้ 10 ชอนชา จะไดส ารสเี หลือง จากนั้นจุมกระดาษสีขาวหรือผาขาวลงในสารสาร
สเี หลอื ง นําไปผึ่งใหแหงจะไดก ระดาษขมนิ้ หรือผาขม้นิ การตรวจสอบทําไดโดยการละลายผงชูรสใน
น้าํ สะอาด จากนัน้ จมุ กระดาษขมิ้นหรอื ผาขมิ้นลงไปพอเปยก สังเกตการณเปล่ียนสี ถา เปน ผงชรู สที่มี
สารอน่ื เจอื ปนจะเปล่ยี นจากสีเหลอื งเปนสแี ดง แตถา ไมเ ปล่ียนสีเปน ผงชูรสแท

3. ตรวจดวยน้ํายาปูนขาวผสมน้ําสมสายชู การเตรียมน้ํายาปูนขาว ทําไดโดยเอาปูนขาวครึ่งชอน
ชา ละลาย ในน้ําสมสายชู 1 ชอนชา คนใหล ะลายตง้ั ทิ้งไวใ หต กตะกอน จะไดสว นท่เี ปนนา้ํ ใส คือ
น้ํายาปูนขาว การตรวจสอบทําไดโดยการเอาผงชูรสมาประมาณ 1 ชอนชา ละลายในนาํ้ เทน้ํายาปูน
ขาวลงไป 1 ชอนชา สังเกตการณเปลีย่ นแปลง ถาเปนผงชูรสแทจะไมมีตะกอนสีขาว แตถ าเปนผงชรู ส
ท่ีมีสารอ่นื เจือปนจะมีตะกอนสีขาว

กจิ กรรมการเรียนรูท่ี 2

การตรวจสอบนาํ้ ปลา มีวธิ ีการทดสอบดงั นี้
1.หยดน้ําปลาลงไปบนถานที่กําลังติดไฟ ไดกลิ่นปลาไหมจะเปนน้ําปลาแท ถาไมมกี ล่นิ เปน

น้ําปลาปลอม
2.นํามาตัง้ ทิง้ ไวแลวดูการตกตะกอน ถาเปนน้ําปลาแทจะไมตกตะกอน แตถาเปนน้ําปลาปลอม

จะตกตะกอน
3.การกรองโดยการนําน้ําปลามากรองดวยกระดาษกรอถงากระดาษกรองไมเปลี่ยนสีเปนน้ําปลาแท

แตถากระดาษกรองเปลี่ยนสี เปนน้ําปลาปลอม

220

กจิ กรรมการเรยี นรูที่ 3

การตรวจสอบนํา้ สม สายชู มีวิธี ดงั น้ี
1.การดมกลนิ่ ถา เปนน้าํ สม สายชูแทจ ะมกี ลิ่นหอมท่ีเกดิ จากการหมกั ธัญพชื หรอื ผลไม ถา เปน

นา้ํ สม สายชูปลอม จะมีกล่ินฉนุ แสบจมกู
2. ทดสอบกับผักใบบาง เชน ใบผักชี นําลงไปแชลงในน้ําสมสายชูประมาณ 30-45 นาที ถา

พบวาใบผกั ชีไมเ หี่ยวเปน นํ้าสมสายชแู ท แตถา ใบผักชเี ห่ียวเปนน้ําสมสายชปู ลอม
3.ทดสอบใชเ จน็ เทยี นไวโอเลต ( Gentian Violet ) หรอื ทเี่ รารูจักกันชื่อ ยามะมวง นําไปผสม

กบั นา้ํ ใหเจือจาง จากนนั้ นําไปหยดลงในนา้ํ สม สายชแู ท แตถา เปล่ยี นเปน สเี ขียวหรือสีนํ้าเงนิ ออน ๆ
เปนน้ําสมสายชูปลอม

1.3 สารปนเปอ น
สารปนเปอน (Contaminants) หมายถึง สารท่ีปนเปอนกบั อาหารโดยไมต ัง้ ใจ แตเ ปน ผลซง่ึ เกดิ

จากกระบวนการผลิต กรรมวธิ ีการผลิต โรงงานหรือสถานที่ผลิต การดูแลรักษา สิ่งปนเปอ นอาหารไมวา
จะมอี ยตู ามธรรมชาติหรือมนษุ ยสรางข้ึนน้ี หากจําแนกตามคุณสมบัติของสาร จะแบง ได ๓ ประเภท คอื

- สิง่ มีชวี ิต (บัคเตรี เชอ้ื รา เปน ตน)
- สารเคมี (สารกําจัดแมลง โลหะ สารพิษท่จี ุลนิ ทรียส รางขน้ึ เปนตน )

- สารกัมมันตรังสี

1.4 สารเจือปน
สารเจือปน
หมายถึง สารท่ีเติมลงไปเพื่อเพม่ิ คณุ ลักษณะดา น สี กล่นิ รส ของอาหาร ใหมี

ลักษณะใกลเคียงธรรมชาติ อาจมีคุณคาทางโภชนาการ หรือไมก ไ็ ด เปนสารท่ตี งั้ ใจเติมลงในอาหารไดแ ก

สารปรุงแตงสี สารปรงุ แตง กล่ิน เชน สียอมผา

รปู ภาพสารเจอื ปนในอาหาร
สาเหตุ ที่ตองใสว ตั ถุเจือปนอาหารลงไปกเ็ พ่ือวตั ถุประสงคทางดานเทคโนโลยีการผลติ การเตรยี ม
วัตถุดิบ และ การแปรรูป การบรรจุ การขนสง การเก็บรกั ษาอาหาร และ มีผลหรืออาจมีผลทางตรงหรือ
ทางออม ทาํ ใหสารนัน้ หรือผลติ ผลพลอยไดของสารน้ันกลายเปน สวนประกอบของอาหารนนั้ หรอื

221
มผี ลตอคณุ ลักษณะของอาหารน้ัน แตไ มรวมถงึ สารปนเปอน หรอื สารที่เติมลงไปเพื่อปรับปรุงคุณคา
ทางอาหารของอาหาร โดยท่กี ารใชวัตถเุ จอื ปนอาหารตอ งมไิ ดมีเจตนาหลอกลวงผบู รโิ ภค หรือปดบังการ
ใชวตั ถดุ บิ ทมี่ ีคณุ ภาพไมด ี หรือการผลิตที่มีการสุขาภิบาลไมถูกตองและตองไมทําใหคุณคาทางอาหาร
ลดลงดว ย
1.5 สารพิษ

สารพษิ หมายถึง สารทเี่ ปนอันตรายตอ สิ่งมีชวี ติ และทรพั ยสนิ สารพษิ ซง่ึ มีหรอื เกดิ ข้นึ ใน
สิ่งแวดลอมรอบตัวเราที่เขามาปะปนหรือปนเปอนอาหาร แลวกอ ใหเ กิดอาการพิษแกผ บู รโิ ภคนั้น จาํ แนก
ตามแหลงที่มาไดเปน 3 ประเภทคือ

1. สารพิษที่มีอยูตามธรรมชาติ ในสวนประกอบของอาหารซึ่งจะพบอยูในพืชและ
สตั ว สง่ิ เหลา น้ีจะมีโทษตอ มนุษยก ด็ ว ย ความไมรู หรอื รูเทา ไมถงึ การณ ไปเก็บเอาอาหารที่เปนพิษมา
บรโิ ภค เชน พิษจากเห็ดบางชนิด ลูกเนียง แมงดาทะเลเปนพิษ สารพษิ ในหวั มนั สาํ ปะหลงั ดบิ เปน ตน

รูปภาพ แสดงตวั อยา งสารพษิ ทีม่ ีอยูในธรรมชาติ
2. สารพิษที่เกิดจากการปนเปอนในอาหารตามธรรมชาติ สารพิษที่มาจากจุลินทรียซง่ึ
มี 2 ประเภทใหญ คือ อันตรายท่เี กดิ จากตัวจลุ นิ ทรยี และอันตรายท่ีเกิดจากสารพษิ ทจี่ ุลนิ ทรียส รางขนึ้
จุลินทรียท่ที าํ ใหเกิดพิษเนอ่ื งจากตัวของมันเอง มอี ยู 5 พวก ไดแ ก
1. แบคทีเรีย เชน Salmonella Shigella Vibrio
2. รา เชน Aspergillus Penicillin fusarum Rhizopus
3. โปรโตซวั เชน Entamoeba histolytica
4. พาราสิต เชน Trichinosis Tapeworms
5. ไวรสั เชน Poliovirus Hepatitis Virus

รปู ภาพ แสดงตัวอยางจลุ ินทรยี 

222

จลุ นิ ทรียที่ทาํ ใหเกดิ พษิ ภัยอนั เน่ืองมาจากสารพษิ ทีส่ รางข้นึ ในขณะท่จี ุลนิ ทรียนน้ั เจริญเติบโต
แลว ปลอ ยทง้ิ ไวใ นอาหาร มีทั้งสารพิษของแบคทีเรีย และของเชอ้ื รา สารพษิ ท่สี ําคญั ทพี่ บ ไดแ กสารพษิ
ท่เี กดิ จาก Clostridium botulinum เปนจุลนิ ทรยี ท่เี ปนสาเหตุใหเ กดิ พษิ ในอาหารกระปองและสารพิษจาก
เชอ้ื รา ที่เรยี กวา Alflatoxin มกั จะพบในพชื ตะกลู ถั่ว โดยเฉพาะถ่วั ลิสงและผลติ ภัณฑจ ากถ่วั
ลิสง ไดแ ก ถวั่ กระจก ขนมตบุ ตับ๊ นํ้ามัน ถั่วลสิ ง เปน ตน

3. พิษที่เกิดจากสารเคมี ซึ่งปะปนมากับอาหาร ไดแ ก สารหนู และโซเดยี มฟลอู อไรด
ที่มอี ยูในยาฆาแมลง หรือยาฆาวัชพืชตางๆ สําหรับยาฆา แมลงซง่ึ ใชม ากเกนิ ไปหรอื เก็บพืชผลเรว็ กวา
กาํ หนดเม่ือกินผกั ผลไมเ ขาไปจะทาํ ใหร างกายสะสมพิษ และเปน สาเหตทุ าํ ใหเ กดิ มะเรง็ ได สําหรบั พิษ
จากสารปลอมปนและสารปรุงแตงอาหารไดกลาวแลว

รูปภาพ ตวั อยางอาหารท่กี อ ใหเกิดสารพิษสะสมในรา งกาย

ตารางแสดงตัวอยา งสารพิษที่ปนมากับอาหารและอาการของผูทีไ่ ดรับสารพษิ

ชนดิ ของโลหะ อาการ
ตะกว่ั ( Lead)
- ระยะแรกรางกายออนเพลีย เบอ่ื อาหาร ปวดศรี ษะ โลหติ จาง
แคดเมียม ( Cadmium )
ปรอท ( Mercury ) - ระยะที่สอง เปนอัมพาตตามแขนขา สมองไมปกติ ชักกระตุก

โครเมียม ( Chromium ) เพอ คลัง่ หมดสติ

สารหนู ( Arsenic ) - ทอ งเดนิ ไอหอบ เหนอ่ื ยงาย โลหติ จาง กระดูกผุ ตับพกิ าร ไตพิการ
พลวง ( Antimony )
- ปวดศรี ษะ วงิ เวยี นศรี ษะ มือส่ัน นอนไมหลับ มีอาการทางประสาท

ระบบทางเดินอาหารและการทํางานของไตผิดปกติ

- เวียนศรี ษะ เกดิ แผลท่จี มกู ปอด ทางเดินอาหาร เบอ่ื อาหาร

คลน่ื ไส อาเจียน หมดสติ มีอันตรายตอตบั และไต อาจเสยี ชีวติ ได

เน่อื งจากปสสาวะเปน พิษ

- มีอาการทางผิวหนัง ตาอกั เสบ เสน ประสาทอกั เสบ ปวดศรี ษะ

วงิ เวยี น มีอาการทางสมอง ตบั และไตพกิ าร

- อาเจยี นบอ ย ๆ ถา ยอุจจาระเปน นํ้า มพี ิษตอตบั อยางรนุ แรง

223

ชนดิ ของโลหะ อาการ
เซเรเนยี ม ( Selemium)
- มีอาการปวดศีรษะบริเวณหนาผาก ตกใจงา ย ลิน้ เปน ฝา
ผิวหนงั อกั เสบ ออ นเพลยี ตับถูกทําลาย

เรื่องที่ 2 สารสังเคราะห

สารสงั เคราะห (synthetic substance)
สารที่ไดจากปฏิกิริยาเคมีนํามาใชประโยชนเพื่อทดแทนสารจากธรรมชาติซึ่งอาจมีปริมาณไม

เพียงพอ หรอื คณุ ภาพไมเหมาะสม

รูปภาพ สารสังเคราะหทไี่ ดจ ากธรรมชาติ

สารสงั เคราะห คือ สารทีม่ นษุ ยศกึ ษาคนควาวจิ ัยจากธรรมชาตจิ นคดิ วา รู และเขา ใจในสงิ่ น้ัน
อยางถองแทสามารถสังเคราะหสรางสารนั้นขึ้นมาทดแทน การสรางของธรรมชาติ ตลอดจนมกี าร
ดัดแปลงตอเติมโครงสรางบางประการใหเปนตามที่ตนตองการ โดยอาจไมคํานึงถึงผลกระทบตอสมดุล
ของธรรมชาติภายใตกฎเกณฑการเกิดขึ้น ตง้ั อยแู ละดบั ไปโดยสมั พนั ธกบั มติ ขิ องชวี ติ จิตวญิ ญาณของมติ ิ
ของกาลเวลาใน ธรรมชาติ ซึ่งกอใหเกิดการรบกวนกฎเกณฑการควบคุมสมดุลของธรรมชาติโดยปกติ
เชน การสังเคราะหโพลิเมอรหลายชนิดที่ทนทานตอการยอยสลายในสภาวะแวดลอมปกติ ของธรรมชาติ
ในปจจบุ ัน การตัดตอ พันธุกรรมพชื และสัตวใหผดิ เพี้ยนจากววิ ัฒนาการปจ จบุ นั โดยไมค าํ นงึ ถึงความ
เหมาะสม สมดลุ ในกาลปจจุบัน โดยมุงสนองตอตัณหากิเลสความเกงกลาของตนเองเปนสาเหตุใหเกิด
การสูญพันธุ ของพืช และสัตวหลายชนิดจากการแทรกแซงวิถีปกติของธรรมชาติ เชน การตดั ตอ เอาสาร
พันธุกรรมของแบคทเี รยี ไปใสไวใ นพชื ตระกลู ฝาย แลวจดสทิ ธิบัตรเปนพนั ธพุ ืชของตนเองเรียกวา ฝาย
BTในขณะเดียวกันเพื่อเปนการปกปองการละเมิดสิทธิบัตรของตน หรืออาจเจตนาทําลายฝายธรรมชาติ
ใหสูญพันธุหวังการผกู ขาด การปลูกฝา ยจึงตดั ตอยีนสใ หฝ าย BT เปนหมันโดยไมไดมีการปองกันการ
ปนเปอ นยีนส BT จากการผสมเกสรของแมลงใหเปนหมันในรุนตอมา หรือยีนส BTของแบคทีเรียอาจ
กระตนุ ใหฝ าย BT สรางสารพิษทําลายแมลงในธรรมชาติ จนกระทบหวงโซความสมดุลของแมลงใน
ธรรมชาตจิ นเกิดการสญู พนั ธขุ องพืชตระกูล ฝายและแมลงในธรรมชาติได

224

จะเห็นไดวาการเกิดขึ้นของสารสังเคราะห หรือการสังเคราะหสรา งสรรพสง่ิ ทีผ่ ดิ เพ้ียนจาก
ธรรมชาติโดยยังขาดความตระหนัก ในความละเอยี ดออ น ซบั ซอ น ลึกซึ้งในสมดุลของธรรมชาติอาจ
กอใหเกิดหายนะภยั แกธ รรมชาติ และสง่ิ แวดลอ มเกนิ กวาจะแกไขเยียวยาไดใ นปจจุบันมนุษยพ บวาอตั รา
การสญู เผาพันธุของสิ่งมีชวี ิตในธรรมชาตเิ พม่ิ ขนึ้ ในอัตราที่นาตกใจความหลากหลายทางชีวภาพที่เสื่อม
ทรดุ หดหายไป ยอ มหลกี ไมพ น ทีจ่ ะกระทบตอ การดาํ รงอยูข องเผาพนั ธุมนุษยเ ชน เดยี วกบั การเกดิ โรคอบุ ตั ิ
ใหมท ้งั หลาย เชน ไขหวัดซาร เอดส ไขหวัดนก และอื่นๆ และโรคความเสื่อมจากการเสียสมดุลของ
รางกายจากผลกระทบของสารเคมีสังเคราะห ซึ่งกระทบตอสิ่งแวดลอมกระทบตอสมดุลของธาตุใน
รางกาย เชน โรคเบาหวาน ไขมันในเลือด โรคไต และ ตับวายจากการทํางานหนัก ในการขจัดสาร
แปลกปลอมตางๆที่รบกวนสมดุลของรางกายโดยเฉพาะโรคภูมิแพ เหลานี้ลวนเกิดจากผลกรรมที่มนุษย
แทรกแทรงสมดุลของธรรมชาติใหเสียไปทั้งสิ้น

สารสงั เคราะหท ี่มีสมบตั คิ ลายฮอรโมน
สารสังเคราะหท ีม่ คี ณุ สมบตั ิเหมอื นออกซิน สงั เคราะหเพอ่ื ใชประโยชนทางการเกษตร สาํ หรบั

ใชเรงรากของกิ่งตอนหรือกิ่งปกชํา ชวยในการเปลี่ยนเพศดอกบางชนิด ชวยใหผลติดมากขึ้น ปองกันการ
รว งของผล สารสงั เคราะหเ หลานี้ ไดแ ก

- IBA (indolebutylic acid )
- NAA (naphtaleneacetic acid )
- 2, 4 - D (2-4 dichlorophenoxyacetic acid)
สารสังเคราะห 2, 4-D นําไปใชในวงการทหารในสงครามเวียดนาม ใชโปรยใสตนไมในปาเพื่อให
ใบรว ง จะไดเหน็ ภูมิประเทศ ในปา ไดช ัดขนึ้ สารสงั เคราะหท่มี คี ุณสมบตั เิ หมือนไซโทไคนนิ นยิ ม
นํามาใชกระตนุ การเจรญิ ของตาพืช ชวยรกั ษาความสด ของไมตัดดอกใหอ ยไู ดน าน ไดแก
- BA (6-benzylamino purine)
- PBA (tetrahydropyranyl benzyladenine)
สารสังเคราะหท ีม่ ีคณุ สมบตั เิ หมือนเอทิลนี ไดแ ก
- สารเอทฟิ อน (ethephon, 2-chloroethyl phosphonic acid ) นํามาใชเพิ่มผลผลิตของน้ํายางพารา
- สาร Tria ใชเรงการเจริญเติบโตของพืช ประเภทขาว สม ยา

225

กจิ กรรมการเรียนรทู ี่ 1

ปฏกิ ิริยาสะปอนนฟิ เคชนั (การเตรียมสบู)
จุดประสงคการเรยี นรู
1. ทําการทดลองเตรียมสบูได

อปุ กรณ 2. อธิบายและเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาน้ํามันพืชกับสารละลาย NaOH ได

1. ถว ยกระเบอ้ื งขนาดเสน ผาศนู ยก ลาง 8 cm 1 ใบ
2. ขวดรปู กรวยขนาด 100 cm3
3. บิกเกอรข นาด 250 cm3 1 ใบ

4. กระบอกตวงขนาด 10 cm3 1 ใบ

1 ใบ

5. แทงแกว คน 1 อนั
6. จุกยางปดขวดรูปกรวยขนาด 100 cm3
1 อนั

สารเคมี 7. ตะเกยี งแอลกอฮอลพ รอ มท่ีกั้นลม 1 ชุด

1. นา้ํ มันพชื 3 cm3 (นํา้ มันมะกอกหรอื นา้ํ มันมะพราว)
2. สารละลาย NaOH 2.5 mod/dm3 จาํ นวน 5 cm3
3. น้าํ 20 cm3

ลําดับข้ันตอนการปฏิบตั ิ
1. ผสมนํา้ มันมะกอก 3 cm3 กับสารละลาย NaOH 2.5 mod/dm3 จาํ นวน 5 cm3 ในถวยกระเบอื้ ง

ใหความรอนและคนตลอดเวลาจนสารในถวยกระเบือ้ งเกือบแหงตงั้ ทิ้งไวใหเ ยน็ สังเกตการเปลย่ี นแปลง
ท่ีเกดิ ขึน้ และบนั ทกึ ผล

2. แบงสารจากขอ 1 จาํ นวนเลก็ นอ ยใสล งในขวดรปู กรวยแลว เตมิ นาํ้ ลงไป 5 cm3 ปดจกุ แลวเขยา
บนั ทกึ ผล
ผลการทดลอง

สารท่ไี ดจะมีสเี หลอื งออ นปนนํา้ ตาล มีกลนิ่ คลา ยสบู เมอ่ื เติมน้ําลงไปแลวเขยา พบวา เกิดฟอง
สรปุ และอภปิ รายผล

สารที่เกิดจากปฏิกิริยาระหวางน้ํามันมะกอกกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) คอื สบู

226

เร่ืองท่ี 3 สารและผลติ ภัณฑท ใ่ี ชใ นชีวิต

สารเคมใี นชวี ิตประจาํ วนั
ในชวี ติ ประจาํ วนั เราจะตองเกยี่ วขอ งกบั สารหลายชนดิ ซ่งึ มีลกั ษณะแตกตางกัน สารทใ่ี ชใน

ชีวิตประจําวันจะมีสารเคมีเปนองคประกอบ ซึ่งสามารถจําแนกเปนสารสังเคราะหและสารธรรมชาติ เชน
สารปรุงรสอาหาร สารแตงสีอาหาร สารทําความสะอาด สารกําจัดแมลงและสารกําจัดศัตรูพืช เปนตน ใน
การจําแนกสารเคมีเปนพวกๆ นั้นเราใชวัตถุประสงคในการใชเปนเกณฑการจําแนก ดังรายละเอียด
ตอไปนี้
ผลติ ภณั ฑทําความสะอาดคอมพวิ เตอร (Computer Cleaners)

ทมี่ จี ําหนายเปน สว นผสมของอะลิฟาติกไฮโดรคารบ อนหลาย ๆ ชนดิ ( aliphatic hydrocarbon)35
% อะลฟิ าติกไฮโดรคารบ อนนเี้ ปนสวนประกอบหลกั ของผลิตภัณฑทีใ่ ชในชวี ิตประจําวนั หลายชนิด เชน
นาํ้ มันสน แกสโซลนี สีน้ํามันเปน ตน คุณสมบัตขิ องอะลิฟาตกิ ไฮโดรคารบอนคอื ไวไฟได อะลิฟาติก
ไฮโดรคารบ อนสว นใหญ หากสมั ผัสซ้ํา ๆ ทําใหผ วิ หนงั แหง เนื่องจากมันสามารถละลายไขมนั ทผ่ี วิ หนงั
ไดด ี ซ่ึงอาจทาํ ใหผ ิวหนังเกิดอาการแพเ ชนเปน ผืน่ แดง คัน เปนตุมพอง เปนแผลระบม ฟกชํ้า ตกสะเก็ด
และอะลิฟาติกไฮโดรคารบอนบางชนิด เชน n-hexane ยงั เปน สารพษิ ทยี่ บั ยงั้ หรือทําลายเน้ือเยือ่ ของระบบ
ประสาท หากสดู ไอระเหยเขา ไปเปน เวลานานอยา งตอ เนอ่ื ง การไดรับสารทั้งแบบระยะสั้นในปริมาณ
มากหรือตอเนื่องในระยะยาวทําใหมีปญหาดานสุขภาพ เชน การกดระบบประสาทสวนกลาง หัวใจ
ลมเหลว หมดสติ โคมา และอาจถึงตายได ดงั น้ันในการใชสารพิษชนิดนี้เปนประจําควรมเี ครือ่ งปองกนั
การหายใจ และใชในทม่ี ีอากาศถายเทไดด ี หลีกเลย่ี งการใชใ นทีป่ ด เชน หองปรบั อากาศ หรอื ในมุมอับ
อากาศ และควรสวมถุงมือดวย
ผลติ ภัณฑเพม่ิ ความชุม ช้นื ของผวิ หนัง (Moisturizer)

ปกตผิ วิ หนังจะมกี ารปกปองการสญู เสยี น้าํ ตามธรรมชาติอยูแลว โดยมผี วิ หนัง ขไ้ี คล ซึง่ เปน
แผน ใสคลุมผวิ อยู นอกจากนั้นยังมนี ้ํามนั หลอเลีย้ งผิวหนงั ซึง่ ชว ยเก็บความชมุ ช้ืนของผิวไวอีกชน้ั หนึง่
แตบางคนหรือบางสถานการณ เชน โรคหนังแหงจากพันธุกรรม การชําระลางเกินความจําเปน หรอื ใน
ภาวะอากาศแหงในฤดูหนาว หรือการทํางานในหองปรับอากาศ นํา้ จะระเหยจากผิวหนงั เพมิ่ มากขนึ้
ผลติ ภัณฑเ พิม่ เพ่ือความชุมชน้ื จึงเปนท่นี ิยม จนกลายเปนความจาํ เปนขึน้ มา ลักษณะของผลติ ภณั ฑมที ้งั
ชนดิ ครมี โลชันขุน โลชน่ั ใส เจล สเปรย หลักการทํางานของมนั กค็ อื เพอ่ื ใหผ ิวหนงั มีความชมุ ชืน้ เพม่ิ ขึ้น
องคประกอบมที ัง้ สารชว ยเพิม่ น้ําในช้ันผิวหนัง เชน กรดอะมโิ น โซเดียมพซี ีเอ (Sodium Pyrrolidone
Carboxylic Acid) โพลเิ พปไทด ยเู รีย แลคเตต เปน ตน สวนสารปองกนั การระเหยของนาํ้ จากชัน้ ผิวก็เปน
พวกนาํ้ มันและขี้ผึ้ง ไขสตั ว ซิลิโคน บางผลิตภัณฑจะเติมสารดูดความชื้นจากบรรยากาศเพื่อปองกันการ
ระเหยของน้ําจากเน้อื ครีม เชน กลีเซอรนี นํา้ ผง้ึ กรดแลคตกิ

227

เอ เอช เอ (AHA) กับความงามบนใบหนา
AHA ยอมาจาก Alpha Hydroxyl Acids มสี รรพคณุ ท่กี ลาวขวัญวาเปน สารชวยลดรว้ิ รอยจุดดา ง

ดาํ บนผวิ หนงั ได จงึ ใชผสมกับครมี และโลช่นั เครื่องสําอางที่มี AHA เปน สว นประกอบถกู จดั ในกลุม
เดียวกับสารเคมสี ําหรับลอกผวิ ซ่งึ ใชง านกันในหมูแพทยผิวหนงั และศลั ยกรรมพลาสตกิ AHA ที่ใชกนั
มากคือ กรดไกลโคลกิ และกรดแลกตกิ แตย งั มีหลายชนดิ ทีใ่ ชเ ปน สวนประกอบ โดยปกติที่วางตลาดมี
ความเขมขนรอยละ 10 หรือนอ ยกวา นนั้ แตในกรณขี องผเู ชย่ี วชาญดา นผิวหนังสามารถใชไ ดถงึ ระดับ
ความเขมขนรอยละ 20 -30 หรือสงู กวา น้ัน AHA จดั อยใู นผลิตภัณฑท่ไี มใ ชเ คร่ืองสําอางทว่ั ไป แตอ ยใู น
หมวดของเวชสําอาง ( Cosmeceutical) ตามองคการอาหารและยาแหงสหรัฐอเมริกา (FDA) ซงึ่ ใหความ
สนใจเปนพิเศษ เนอื่ งจาก AHA ไมเหมือนเครื่องสําอางทั่วไป แตม นั ซมึ ผา นเขา ไปในช้ันผิวหนงั ได และ
หากเขม ขน พอก็จะลอกผวิ ซึ่งเกดิ ผลในทางลบคือทําใหเ ซลผิวเสอื่ มเร็วขึ้น และยงั ทําใหผ วิ หนังช้นั นอก
บางลงดวย ผใู ชผ ลติ ภัณฑท ี่มี AHA จํานวนหนง่ึ ใชแ ลว พบวาผิวของตนไวตอแสงอาทติ ยมากขน้ึ หรอื
แพแ ดดนน่ั เอง การทดลองใชก รดไกลโคลกิ เขม ขน และตอ เนอ่ื ง จะพบอาการผวิ แดงและทนตอ แสงยวู ไี ด
นอ ยลง องคการท่ดี แู ลความปลอดภัยของผูบริโภค ไดส รปุ ผลในการใช AHA อยางปลอดภยั ใหม คี วาม
เขมขน ไมเ กนิ รอ ยละ 10 และเมื่อผสมพรอมใชจะตองมีคาความเปนกรด-ดา งไมต าํ่ กวา 3.5 นอกจากนน้ั
ผลติ ภัณฑน ้นั ยังตอ งมสี วนผสมทชี่ ว ยลดระดบั ความไวตอแสงแดด หรอื มสี ารกนั แดด หรอื มขี อ ความ
แนะนาํ ใหใ ชควบคกู บั ผลติ ภณั ฑส ํา หรบั กนั แดด ถา อยากทราบวา ผลิตภัณฑท่ใี ชอ ยมู ี AHA หรอื ไมล อง
อานฉลากดู และมองหาชื่อสารเคมีตอไปนี้

- กรดไกลโคลิก (Glycolic acid)
- กรดแลคตกิ (Lactic acid)
- กรดไกลโคลิกและแอมโมเนียมไกลโคเลต (Glycolic acid and Ammonium glycolate)
- กรดอลั ฟาไฮดรอกซคี าโพรลกิ (Alphahydroxy caprylic acid)
- กรดผลไมร วม (Mixed fruit acid)
- กรดผลไมสามอยาง (Triple fruit acid)
- กรดผลไมช นดิ ไตรอลั ฟาไฮดรอกซี (Tri-alpha hydroxyl fruit acid)
- สารสกัดจากนํ้าตาลออ ย (Sugar cane extract)

228

ผลติ ภัณฑก ําจดั สงิ่ อุดตนั

การเกิดสิ่งอุดตันในทอโดยเฉพาะทอน้ําทิ้งจากอางลางชาม สว นหนง่ึ เกดิ จากไขมนั จากเศษ
อาหารแข็งตัวเกาะอยูในทอ สารเคมที ี่ใชเ ปน ผลิตภัณฑกําจดั ส่ิงอดุ ตันสวนใหญค อื โซเดียมไฮดรอกไซด
หรอื โซดาไฟ (sodium hydroxide) ซ่งึ มีทง้ั ชนดิ ผงหรือเมด็ และชนดิ น้ํา ความเขม ขนของทงั้ 2 ชนดิ จะ
แตกตางกัน ชนิดผงจะมีความเขมขนของโซเดียมไฮดรอกไซด ประมาณ 50% โดยนาํ้ หนกั ในขณะทช่ี นดิ
น้ําจะมีความเขมขนประมาณ 25% โดยนาํ้ หนกั โซเดยี มไฮดรอกไซด จะทําปฏกิ ริ ิยากบั สง่ิ อดุ ตันประเภท
ไขมันกลายเปนสารที่ละลายน้ําได

โซเดยี มไฮดรอกไซด มคี วามเปน พิษมาก เพราะฤทธก์ิ ดั กรอ น การสัมผสั ทางผวิ หนังทําใหเกิด
แผลไหม การสัมผสั ถกู ตามฤี ทธ์กิ ดั กรอ น ทําใหเกิดการระคายเคืองอยา งรุนแรง เปนแผลแสบไหม อาจทํา

ใหม องไมเ หน็ และถงึ ขน้ั ตาบอดได การหายใจเอาฝุนหรือละอองของสารอาจทําใหเกิดการระคายเคือง
เล็กนอยของทางเดินหายใจสวนบนไปจนถึงระคายเคืองอยางรุนแรง ทงั้ น้ีขึ้นอยกู บั ปรมิ าณของการไดรับ
สาร อาการอาจมีการจาม เจ็บคอ มีน้ํามูก เกิดการหดเกรง็ ของกลามเนือ้ อักเสบ การบวมนํ้าที่ถงุ ลม และ
เกิดอาการบวมน้ําที่ปอด การกลืนหรือกินทําใหเกิดการไหมอยางรุนแรงของปาก คอ และชองทอง ทําให
เนอ้ื เยอื่ เปนแผลรุนแรงและอาจตายได อาการยังรวมถึงเลอื ดออกในชอ งทอ ง อาเจียน ทอ งเสยี ความดนั
เลอื ดตาํ่ การปฐมพยาบาลควรลางบริเวณที่ไดรับสารดวยน้ําอยางนอย 15 นาที โซเดยี มไฮดรอกไซดเ มอ่ื
ละลายในนาํ้ จะใหค วามรอ นสงู จนอาจเดอื ดกระเดน็ เปน อนั ตรายได และยงั ทาํ ใหเ กิดละอองท่ีมีกลิน่ ฉนุ
และระคายเคืองมาก หามผสมหรือใชรว มกบั ผลิตภัณฑท ี่มสี มบตั ิเปน กรดดังนัน้ หามผสมนา้ํ ยาลางหองน้าํ
ซึง่ มีฤทธ์ิเปน กรด เพราะโซเดยี มไฮดรอกไซดม ฤี ทธ์ิเปน เบสซง่ึ เกิดปฏิกิริยารุนแรงและทําใหส ารหมด

ประสทิ ธิภาพ ความเปนดางของโซเดียมไฮดรอกไซด มีผล ตอพีเอชหรือความเปนกรดดางของ
สงิ่ แวดลอ มจน ทาํ ใหส งิ่ มีชวี ติ นาํ้ ตายได หามทงิ้ ลงสูแหลงน้ํา นํา้ เสยี หรอื ดนิ ทางที่ดีจึงควรหลีกเลี่ยงใช
ผลิตภณั ฑก ําจดั ส่ิงอดุ ตนั ประเภทนี้ หากจาํ เปนควรใชโ ซเดียมไฮดรอกไซด อยางระมดั ระวงั ไมส ัมผัส
สารโดยตรง ควรใสถุงมือ และใชส ารใหห มดภายในครงั้ เดียว การเก็บรักษาควรเกบ็ ใหมดิ ชิด และปด ฝา
ใหสนิทเนื่องจากโซเดียมไฮดรอกไซดดูดความชื้นและคารบอนไดออกไซดจากอากาศไดดีมาก ทําให
ประสิทธิภาพลดลง

229

ผลิตภัณฑไลย ุง (Insect Repellents)
ผลิตภณั ฑไ ลย งุ (Insect Repellents) ทีใ่ ชกันมีสารเคมีทเ่ี ปนสารออกฤทธค์ิ อื DEET, ไดเมทิล พทา

เลต (dimethyl phthalate) และ เอทลิ บิวทลิ อเซติลามโิ น โพรพโิ นเอต (ethyl butylacetylamino propionate)
ผลติ ภณั ฑไ ลยงุ มหี ลายรปู แบบ ทัง้ แบบสเปรย ลูกกล้งิ (roll on) โลชั่นทากันยุง และแปงทาตัว DEET หรอื
diethyltoluamide เปนสารออกฤทธิ์ที่นิยมใชมาก เปนพิษแบบเฉียบพลันไมมากนัก ถาสมั ผสั ทางผวิ หนงั
กอใหเ กิดการระคายเคอื งตอผวิ หนงั และตา หากสูดดมขา ไป ทําใหเกดิ การระคายเคอื งท่แี ผน เยอ่ื เมอื กและ
ทางเดนิ หายใจสว นบน และการไดร บั สารเปน เวลานานอาจกอ ใหเ กดิ อาการแพไ ด ในการทดลองกบั หนู
การไดรับสารแบบเรือ้ รงั จะกอ ใหเ กิดการกลายพันธแุ ละมีผลตอ ทารกในครรภ ความเขมขนของ DEET
ในผลิตภณั ฑไลยุงอยูร ะหวาง 5-25% โดยนํา้ หนัก ปริมาณ % ที่มากขึ้นไมไดหมายถึงประสิทธิภาพใน
การไลยุงจะมากขึ้น แตหมายถึงระยะเวลาในการปองกันยุงนานขึ้น เชนที่ 6% จะปองกันยุงได 2 ช่ัวโมง
ในขณะท่ี 20% จะปอ งกันยงุ ได 4 ช่วั โมง dimethyl phthalate มีความเปนพิษปานกลาง อาจทําใหเกิดการ
ระคายเคืองเชนเดียวกับ DEET แลวยังกดระบบประสาทสวนกลาง รบกวนระบบทางเดินอาหาร ทํา
อนั ตรายตอ ไต มีความเสี่ยงทําใหเกิดการพิการแตกําเนิดของทารกในครรภมีความเปนพิษเล็กนอยตอ
สิง่ มชี ีวติ ในน้าํ โดยเฉพาะกับปลา Ethyl butylacetylamino propionate มีความเปนพิษปานกลาง กอใหเกิด
การระคายเคืองตา นอกจากใชไลยุงแลว Ethyl butylacetylamino propionate มีประสิทธิภาพในการไลมด
แมลงวัน แมงมุม เห็บ หมดั อกี ดว ย ผลิตภณั ฑไ ลยุงสวนใหญมีผลกอ การกลายพันธุห ากใชอ ยา งตอเนือ่ ง
ดังน้นั ควรใชเม่อื จาํ เปน เทาน้ันและควรใชอยางระมัดระวัง...

คําแนะนําในการใช
- ไมควรใชทาผิวหนังทม่ี เี ส้ือผา ปกปดอยู
- อยาทาบรเิ วณทม่ี บี าดแผลหรือรอยผื่นคนั
- อยาทาบริเวณดวงตา ปาก ถาใชแบบสเปรยใหฉีดสเปรยลงบนมือกอนแลวจึงทาที่ใบหนา อยา
ฉีดสเปรยเขาที่ใบหนาโดยตรง
- หา มเด็กใชผ ลิตภัณฑดวยตวั เอง ควรทาบนมือกอนแลวจึงทาใหเด็ก อยาฉีดหรือเทลงบนมือ
ของเดก็
- ใชใ นปริมาณทเี่ พียงพอสําหรบั ปกปอ งผิว ไมจําเปนตองทาใหหนาเพราะไมชวยเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการไลยงุ
- ถาใชแ ลว เกิดผ่นื หรอื เกดิ ผลขางเคียง ควรลา งออกดวยน้าํ สบู แลว ไปพบแพทยพรอมกบั นาํ
ผลิตภัณฑไปดว ย
- งดใชในสตรมี คี รรภ

230

ลกู เหม็น (Mothball)
ลูกเหม็นที่เราคุนเคยมีลักษณะเปนกอนกลมสีขาวขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 1 เซนตเิ มตร
เอาไวใ สใ นตเู สื้อผา หรอื ตเู ก็บรองเทาเพ่อื ระงับกลนิ่ และปอ งกนั แมลงกัดแทะ เพราะลูกเหมน็ ใหไ อที่มี
กลิ่นออกมาจากสารเคมีที่เปนของแข็ง เรียกวาระเหิดออกมา (ถา ไอออกมาจากของเหลว เรยี กวา ระเหย)
สารเคมที ีม่ กี ลิ่นและระเหิดไดน าํ มาใชท าํ ลกู เหมน็ ไดแก แนพธาลีน ( Naphthalene) เปนผลกึ สขี าว แขง็
และสามารถระเหิดเปนไอไดงาย หากกินหรอื กลืนเขา ไปทําใหมีอาการปวดศีรษะ คลื่นไส อาเจยี น มึนงง
ระคายเคืองตอกระเพาะอาหารและลําไส การไดรับเขาไปในปริมาณที่มากอาจทําลายเซลเม็ดเลือดแดง
การหายใจเขาไปจะทําใหเจ็บคอ ไอ ปวดศรี ษะ และคลนื่ ไส การสมั ผสั ทางผวิ หนังทาํ ใหเ กิดการระคาย
เคอื งปวดแสบปวดรอ น สารนส้ี ามารถดูดซมึ ผา นผวิ หนังและทําใหเปน อนั ตรายได การสมั ผัสถูกตาทําให
ปวดตา และสายตาพรามัว ยังมีอีกสารหนึ่งที่นํามาใชแทนแนพธาลีน คือ p-Dichlorobenzene (1,4-
Dichlorobenzene หรอื p-DCB) มีสมบัติสามารถระเหิดกลายเปนไอ อยางชาๆ และไอของมันจะทําหนาที่
ดับกล่นิ หรือฆาแมลงพิษของ p-Dichlorobenzene คลายๆแนพธาลีน มีความเปนพิษมาก
(www.wikipedia.org) สารเคมีทใ่ี ชทาํ ลกู เหมน็ อกี ชนิดหน่ึงคือ แคมเพอร หรือ การบรู ( Camphor; 1,7,7-
trimethylnorcamphor) มีความเปนพิษมาก ถาหายใจเขาไปกอใหเกิดการระคายเคืองตอทางเดินหายใจ ไอ
หายใจถ่ี มีผลตอระบบประสาทเปนไดตั้งแตมึนงงจนถึงชัก ข้นึ อยูก ับปรมิ าณและระยะเวลาทไี่ ดร ับสาร
การกลืนหรือกินเขาไปกอใหเกิดการระคายเคืองตอทางเดินอาหาร เกดิ อาการคล่ืนไสอาเจยี น ทอ งเสยี อาจ
ทาํ ใหปวดศรี ษะ เปนลมการสัมผัสทางผิวหนังกอใหเ กดิ อาการเปน ผนื่ แดงคนั และเจบ็ สามารถดูดซึมผาน
ผวิ หนงั ไดอ ยา งรวดเรว็ ถา ไดร บั สารเปน เวลานา นอาจทําลายตับและไต คนที่มีอาการผิดปกติทางระบบ
ประสาทหรือเปน โรคเก่ียวกบั ตบั อยแู ลว จะไดร บั ผลกระทบตอ สารนี้ไดงาย
อยางไรก็ตาม การใชลกู เหมน็ ตามปกติไมไ ดใ หอ นั ตรายเชน วา น้ี เพราะมันคอยๆระเหิดใหไอ
ออกมา เราไมไดไปสูดดมแรงๆ หรือสัมผสั นานๆ สิ่งทค่ี วรระมดั ระวงั คือเกบ็ ใหพนมอื เดก็ ทีอ่ าจเลน
หรือหยิบไปใสปากได...

นํ้ายาขัดพ้นื และเฟอรนเิ จอร
นา้ํ ยาขดั พน้ื และเฟอรนเิ จอร มักมีสวนผสมของสารเคมีหลกั ๆ อยู 2-3 ชนิดคอื ไดเอธลิ นี

ไกลคอล ( Diethylene Glycol) นาํ้ มนั ปโ ตรเลยี ม และไนโตรเบนซนี ทง้ั หมดเปน สารไวไฟและให
ไอระเหย แตส ว นใหญค อื 2 ชนดิ แรก สว นไนโตรเบนซนี มนี อ ย ไดเอธลิ ีนไกลคอลและน้าํ มันปโ ตรเลยี ม
ทําหนาที่เปนตัวทําละลายความเปนพิษของทั้งสองตัวนี้ไมรุนแรงและไมมีพิษเฉียบพลัน นอกจากกลืน
กินเขาไป อันตรายจึงอยูที่ความไวไฟและไอระเหยที่อาจสูดดมเขาไประยะยาว แตเ ม่อื มนั มาอยูในบานเรา
ก็ตองระวังเดก็ กนิ เขาไปเทาน้นั ถา กลนื กนิ เขา ไปจะมีอาการคล่นื ไส อาเจยี น ทอ งรวง ตองใหผูปวยดม่ื น้ํา
มาก ๆ ลว งคอใหอ าเจยี นแลว สง แพทย สําหรบั ไนโตรเบนซนี ท่ีอาจเปน สวนผสมอยูน น้ั ดวยตวั ของมนั
เองจะมีพิษมากกวา เพราะเมือ่ สูดดมหรือซมึ ซบั เขาผิวหนงั เปนเวลานาน จะเปนพิษตอ เมด็ เลือด อาการ

231

รุนแรงอาจถึงขน้ั ปวดศีรษะ ชพี จรเตน ไมเปนจังหวะ ความดันเลือดลดลง หายใจลําบากเกดิ อาการตวั เขยี ว

และระบบสวนกลางผิดปกติ เม่ือเกดิ ไฟไหม ใหใ ชโ ฟมสาํ หรับดบั ไฟ หรอื ผงเคมี หรือ

คารบอนไดออกไซดดบั ไฟได แตถ าน้ํายาปรมิ าณไมมากกใ็ ชน ้ําได การถูกผิวหนงั ไมม ีอนั ตรายมากนัก

เพียงแตลางออกทนั ทีดวยน้าํ มากๆ ทีส่ ําคัญไมควรปลอ ยไนโตรเบนซนี สูส่ิงแวดลอ ม

การท่ีเราตอ งพึง่ พานํ้ายาตา งๆ ตง้ั แตน าํ้ ยาขดั พ้นื หอ งนา้ํ ท้ังกรดและดา ง แลว ยังนา้ํ ยาขัด

เฟอรน ิเจอรอกี นาจะหยุดคดิ วา มีความจําเปน สกั เพยี งใด ลดลงไดหรอื ไม อาจหาส่งิ อื่นทดแทนกไ็ ด เชน

อาจใชน้ํามันผสมน้ํามะนาว (2:1) ขดั เฟอรนเิ จอรแทน หรือถาทอ ตนั ลองใชวธิ ีทะลวงทอหรือลางดวยน้าํ

รอ น กอ นหนั ไปใชโ ซเดยี มไฮดรอกไซด หรอื แทนท่จี ะใชนาํ้ ยาลางหอ งนาํ้ ที่เปนกรดไฮโดรคลอลิก อาจ

ใชแ คนํา้ ผสมผงซักฟอกแลวขัดดวยแปรงกไ็ ด หรือถา อยา งออ น ๆ ก็หันไปใชผงฟู (โซเดยี มไบ

คารบอเนต) แทน ดังนั้นกอนจะซื้อน้ํายาทําความสะอาดใด ๆ มาใช หยุดคดิ ถึงสง่ิ แวดลอ มสกั นิด ภัยใกล

ตวั กอ็ าจลดลงดว ย

โฟมพลาสติก
โฟมพลาสตกิ ท่ีเราใชกันแพรหลายทุกวันนี้ เรยี กอีกอยางหน่ึงวา โพลสิ ไตรนี โฟม หรอื สไต

โรโฟม มลี กั ษณะเปนเน้ือพอง เปน เมด็ กลมเบยี ดอัดกันแนนอยใู นแผน โฟม แข็งแรง ยืดหยนุ ได ใชม ดี ตัด
แตง ได เบา และราคาไมแพง จึงนิยมใชเปนหีบหอกันกระเทือน กันความรอน ใชเปนภาชนะใสอาหาร
สว นชนดิ เบามคี วามหนาแนน นอ ย นยิ มใชเ ปน วสั ดตุ กแตง เวที และพวงหรดี โฟมทาํ ใหชีวติ ประจําวัน
ของเราสะดวกสบายขึ้นก็จริง แตมันก็เปนตัวสรางปญหามลภาวะอยางมาก เพราะมนั ไมเ นาเปอยหรอื ยอย
สลายตามธรรมชาติ โฟมใชแลวจะถูกทิ้งลงถังขยะ ความท่มี นั มขี นาดใหญ เบา และกินท่ี การเก็บ
รวบรวมขยะจึงสรางปญหาใหกับเทศบาล เพราะมันเขาไปอุดตันตามทอระบายน้ํา และทําลายทัศนียภาพ
อีกท้ังยังตองใชเตาเผาพเิ ศษ จึงจะกําจดั ได จงึ ควรหลีกเลยี่ งการใช นอกจากนน้ั เม่อื เผาทาํ ลายมันยงั ปลอย
กาซซีเอฟซซี ึ่งเตมิ ลงไปในกระบวนการผลิตทําใหเกิดการพองตัว กา ซนีเ้ ปนตัวทาํ ลายช้ันโอโซนของ
บรรยากาศ สาเหตขุ องปรากฏการณโลกรอนอันเนอ่ื งมาจากกาซเรือนกระจก ดังน้นั เราควรชว ยกนั ลด

การใชโ ฟมเพือ่ สง่ิ แวดลอ มที่เราอาศยั อยู
(ที่มา : http://www.chemtrack.org)

232

กิจกรรมการเรียนรูท ่ี 1

สบู ผงซกั ฟอก และแชมพทู ําความสะอาดไดอยา งไร
จดุ ประสงค
1.ทดลองเปรียบเทียบและสรุปเกี่ยวกับการละลายของน้ํามันพืชในน้ํา กอนและหลังเติมสารทํา

ความสะอาดบางชนิดได

อุปกรณ 2.อธิบายสาเหตุที่สบู ผงซักฟอก และแชมพู สามารถใชทําความสะอาดได

1.น้าํ มันพืช 5 cm3
cm3
2.นา้ํ สบู 3 cm3

3.สารละลายผงซักฟอก 3 cm3

4.สารละลายแชมพู 3 cm3

5.นาํ้ กล่นั 50

6.หลอดทดลองขนาดกลาง 4 หลอด

7.ทตี่ ั้งหลอดทดลอง 1 อนั
8.กระบอกฉีดยาขนาด 5 cm3
1 อนั

9.หลอดหยด 1 อนั cm3

10.บีกเกอรขนาด 50 4 ใบ

วิธกี ารทดลอง
1.ใชก ระบอกฉดี ยาดูดน้าํ กลัน่ ทเี่ ตนยี มไวใสลงไปในหลอดทดลองทั้ง 4 หลอด หลอดละ 3 cm3
2.ใชห ลอดหยดดดู นาํ้ มนั พชื แลว นาํ ไปหยดใสห ลอดทดลองทง้ั 4 หลอด หลอดละ 3 หยด สงั เกต

การเปลี่ยนแปลงและบันทึกผล
3.นาํ หลอดทดลองท่ี 1 มาเขยานานประมาณ 20 วนิ าที แลวนําไปตงั้ ทิ้งไวในท่ตี งั้ หลอดทดลอง

สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผล
4.ใชก ระบอกฉดี ยาดูดนา้ํ สบทู ีเ่ ตรียมไว เติมลงไปในหลอดทดลองที่ 2 ปรมิ าณ 1 cm3
จากนั้นนําหลอดทดลองมาเขยาประมาณ 20 วินาที แลว นําไปต้งั ทิง้ ไวในทีต่ ั้งหลอดทดลอง

สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผล
5.ดาํ เนนิ การเชน เดยี วกบั ขอ 4 แตจะใชส ารละลายผงซกั ฟอกและแชมพู แทนนํา้ สบู ตามลาํ ดับ

233

ตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง

การทดลอง ผลการทดลอง
1.เติมน้ํามนั พืชลงในน้ํา มหี ยดนํา้ มันหยดเลก็ ๆ แทรกไปในนํ้า และเม่อื ทิง้
ไปนาน ๆ นาํ้ มนั จะแยกออกจากนาํ้ เปน ชน้ั เหน็ ได
2.เติมนา้ํ สบูลงในนํา้ ที่มีน้ํามันพืชอยู ชดั เจน
3.เติมสารละลายผงซักฟอกลงในน้ําทีม่ นี ้าํ มนั พชื ไดสารละลายขุนขาว ไมม ีน้าํ มันเหลืออยู
อยู ไดส ารละลายขนุ ขาว ไมมีนา้ํ มันเหลืออยู
4.เตมิ สารละลายแชมพลู งในนา้ํ ที่มีน้ํามนั พืชอยู
ไดสารละลายขนุ ขาว ไมมีนา้ํ มนั เหลอื อยู

สรปุ ผลการทดลอง
เมอื่ เตมิ นํ้ามันพืชลงในนํ้าหลังจากเขยา และตง้ั ทิ้งไว มหี ยดนา้ํ มนั หยดเลก็ ๆ แทรกไปในน้าํ

และเมอื่ ท้งิ ไปนาน ๆ น้ํามันจะแยกออกจากนา้ํ เปนช้นั เหน็ ไดช ดั เจน แตเมื่อเติมนํ้าสบู สารละลาย
ผงซกั ฟอก สารละลายแชมพู ลงในนํา้ ทม่ี นี าํ้ มันพืชอยู หลังจากเขยาและตัง้ ทิง้ ไว พบวา ไดส ารละลาย
ขนุ ขาว ไมมนี ํา้ มันเหลืออยู จากการทดลองนแ้ี สดงใหเ ห็นวา น้าํ สบู สารละลายผงซักฟอก สารละลาย
แชมพู ชวยทาํ ใหนาํ้ มนั ละลายนํา้ ได

234

เรอื่ งที่ 4 การเลอื กใชสารในชวี ติ

สารเคมีในชีวติ ประจาํ วัน
ทุกครวั เรอื นจําเปนตองใชผลิตภัณฑตางๆที่มสี ารเคมีเปนสว นประกอบ ซงึ่ ไดแก ผลิตภัณฑท ํา

ความสะอาดหองน้ํา ผลติ ภณั ฑที่ใชในหองครัว ผลิตภัณฑท่ีใชสวนบุคคล หรือแมแตย าฆาแมลง เปนตน
คณุ เคยหยุดคดิ สักนิดบางไหมวา ผลิตภัณฑต า งๆที่ใชภ ายในบา นเหลา นปี้ ระกอบดวยสารเคมีบางชนิดที่
เปนอนั ตรายตอสมาชกิ ในครอบครัวและสตั วเลย้ี งทคี่ ุณรัก โดยถานาํ ไปใช เก็บ หรอื ทาํ ลายท้ิง อยา งไมถ กู
วิธี อาจเปน อนั ตรายตอ สุขภาพ และสงิ่ แวดลอ ม หรอื อาจติดไฟทําลายทรัพยส นิ ของคุณได อยางไรกต็ าม
ถาเรารจู ักใช เก็บ และท้ิงผลติ ภัณฑเ หลา นีอ้ ยางถกู วิธี เราก็จะสามารถปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได
และใชผ ลติ ภณั ฑเ หลา น้ไี ดอยางปลอดภยั
ทําไมสารเคมที ่ีใชภายในบา นจึงเปนอันตราย

ผลิตภณั ฑส ารเคมที ่ใี ชภ ายในบา นมีอันตราย โดยอยางนอ ยมีคณุ สมบัติขอใดขอหนึง่ ดังนี้ เปน
พษิ กัดกรอ น ติดไฟได หรอื ทาํ ปฏิกิรยิ าท่ีรนุ แรงได ผลิตภณั ฑทีม่ สี ารเคมที ่ีเปน อันตรายเปน
สว นประกอบ ไดแก นํ้ายาทําความสะอาดทั่วไป ยาฆาแมลง สเปรยชนิดตางๆ นํ้ายาขจัดคราบไขมัน น้าํ
มนั เชื้อเพลิง สแี ละผลติ ภณั ฑท ่ถี กู ทาสมี าแลว แบตเตอรี และหมกึ ผลติ ภณั ฑและสารเคมีตางๆเหลา นี้
สว นมากถา ไดรับหรือสัมผสั ในปรมิ าณทีน่ อยคงไมก อ ใหเกิดอันตรายมากนกั แตถ าไดร ับหรือสมั ผัสใน
ปริมาณทม่ี าก หรอื ในกรณอี ุบตั เิ หตุ เชน สารเคมีหกรดรางกาย หรือรั่วออกจากภาชนะบรรจุ ก็อาจทําให
เกดิ อนั ตรายถึงชวี ิตได
สงิ่ ทคี่ วรปฏบิ ตั เิ พ่ือใหบานของคณุ ปลอดภัย

1. จดั เกบ็ ผลิตภณั ฑต างๆไวในทีท่ แี่ หง และเย็น หา งจากความรอน จดั วางบนพน้ื หรอื ช้ันท่ีม่ันคง
และเกบ็ ใหเ ปน ระบบ ควรแยกเก็บผลิตภัณฑท ่มี ีฤทธกิ์ ัดกรอ น ตดิ ไฟได ทาํ ปฏิกริ ิยาทร่ี นุ แรงได หรอื เปน
พิษ ไวบ นชน้ั ตางหาก และทาํ ความคนุ เคยกบั ผลิตภัณฑแตละชนิด ควรจดจาํ ใหไ ดว า เกบ็ ไวท ไ่ี หน และ
แตละผลิตภัณฑมวี ัตถุประสงคใ นการใชอยางไร เมือ่ ใชเ สรจ็ แลว ควรนาํ มาเกบ็ ไวท ีเ่ ดิมทนั ที และตรวจให
แนใ จวาภาชนะทุกชิ้นมีฝาปดทแี่ นนหนา ผลิตภัณฑบางชนดิ อาจเปนอนั ตรายไดมากกวาทีค่ ณุ คดิ
ผลิตภณั ฑเหลานีไ้ ดแก

- ผลติ ภณั ฑท าํ ความสะอาดภายในบา น เชน นาํ้ ยาเช็ดกระจก แอมโมเนีย นํา้ ยาฆาเชอ้ื นา้ํ ยาทํา
ความสะอาดพรม น้ํายาขดั เฟอรนเิ จอร รวมทง้ั สเปรยป รับอากาศ เปน ตน

- ผลติ ภณั ฑซกั ผา เชน ผงซักฟอก น้ํายาปรับผานมุ นา้ํ ยาฟอกสีผา เปน ตน
- ผลติ ภณั ฑเพอ่ื สุขภาพและความงาม เชน สเปรยใ สผม นํ้ายาทาเล็บ น้าํ ยาลา งเลบ็ นํ้ายากาํ จดั ขน
นาํ้ ยายอมผม เครื่องสาํ อางอืน่ ๆ เปน ตน
- ผลิตภณั ฑท่ใี ชใ นสวน เชน ปุย ยากําจดั วชั พืช ยาฆา แมลง เปน ตน
- ผลติ ภณั ฑเ พอ่ื การบํารงุ รักษาบาน เชน สีทาบาน กาว นํา้ ยากันซึม นาํ้ มนั ลางสี เปนตน

235

- ผลิตภณั ฑสาํ หรบั รถยนต เชน น้ํามนั เชื้อเพลิง นา้ํ มนั เบรนคํ้ามนั เครือ่ ง นํ้ายาลา งรถ นา้ํ ยาขดั าเงเปน ตน
2. ผลติ ภณั ฑสารเคมที กุ ชนดิ ตอ งมีฉลากและตอ งอา นฉลากกอ นใชงานทกุ ครง้ั ผลิตภัณฑท ่เี ปน
อันตรายควรตองใชดวยความระมัดระวัง อานฉลากและทําตามวิธีใชอยางถูกตองรอบคอบ โดยเฉพาะ
อยางยิ่ง ถาฉลากมีคําวา “อนั ตราย (DANGER)”, “สารพษิ (POISON)”, “คาํ เตอื น (WARNING)”, หรอื
“ขอ ควรระวงั (CAUTION)” โดยมรี ายละเอยี ดอธบิ ายไดด ังน้ี
- อนั ตราย (DANGER) แสดงใหเห็นวาควรใชผ ลติ ภัณฑด วยความระมัดระวังเพม่ิ มากข้ึนเปน
พเิ ศษ สารเคมที ี่ไมไดถ ูกทําใหเจือจาง เม่ือสัมผสั ถกู กับตาหรอื ผิวหนังโดยไมไดตั้งใจ อาจทําใหเนอื้ เยอื่
บรเิ วณนนั้ ถกู กดั ทาํ ลาย หรือสารบางอยางอาจติดไฟไดถาสัมผัสกับเปลวไฟ
- สารพษิ (POISON) คือ สารท่ีทาํ ใหเ ปน อนั ตราย หรือ ทาํ ใหเ สียชวี ิต ถา ถกู ดดู ซึมเขาสูรางกาย
ทางผวิ หนงั รบั ประทาน หรือ สดู ดม คํานี้เปน เปน ขอ เตือนถึงอนั ตรายทรี่ นุ แรงทส่ี ุด
- เปนพิษ (TOXIC) หมายถึง เปนอันตราย ทําใหอวยั วะตา งๆทําหนา ทผ่ี ิดปกติไป หรือ ทําให
เสียชวี ติ ได ถา ถูกดดู ซึมเขาสูรางกายทางผวิ หนงั รบั ประทาน หรอื สดู ดม
- สารกอความระคายเคือง ( IRRITANT) หมายถึง สารที่ทําใหเกิดความระคายเคือง หรืออาการ
บวมตอผิวหนัง ตา เย่ือบุ และระบบทางเดินหายใจ
- ติดไฟได ( FLAMMABLE หรอื COMBUSTIBLE) หมายถึง สามารถติดไฟไดงาย และมี
แนวโนม ทจ่ี ะเผาไหมไ ดอ ยา งรวดเรว็
- สารกดั กรอ น (CORROSIVE) หมายถึง สารเคมี หรือไอระเหยของสารเคมีนั้นสามารถทําให
วัสดถุ ูกกัดกรอ น ผุ หรอื สิง่ มีชีวิตถกู ทําลายได
3. เลือกซอื้ ผลติ ภณั ฑเทา ทต่ี องการใชเทานัน้ อยาซือ้ สิ่งทไี่ มต อ งการใช เพราะเสมือนกับเปนการ
เกบ็ สารพิษไวใกลตวั โดยไมจ าํ เปน พยายามใชผลติ ภณั ฑท่มี ีอยเู ดมิ ใหหมดกอ นซื้อมาเพม่ิ ถามีของที่ไม
จําเปน ตอ งใชแลว เหลอื อยู ควรบรจิ าคใหกับผูท ่ีตองการใชต อ ไป หรอื ไมก ็ควรเกบ็ และทําฉลากใหด ี
โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อฉลากใกลหลุดหรือฉีกขาด และควรท้ิงผลิตภณั ฑท เ่ี กา มากๆ ซึ่งไมค วรนํามาใชอ กี
ตอ ไป
4. เก็บใหไกลจากเด็ก สารทําความสะอาด หรือ สารเคมีที่ใชภายในบานอาจทําใหเปนอันตรายถึง
แกชีวิต ควรเกบ็ ในตูท่ีเดก็ เออ้ื มไมถ งึ อาจลอ็ คตูดวยถา จําเปน สอนเด็กๆในบานใหทราบถึงอันตรายจาก
สารเคมี นอกจากนี้ ควรจดเบอรโ ทรศัพทฉ กุ เฉนิ ไวใ กลก ับโทรศพั ท เบอรโ ทรศพั ทเ หลา น้ี ไดแก เบอร
รถพยาบาลหรือโรงพยาบาลที่ใกลบาน สถานีดับเพลิง สถานีตํารวจ หนวยงานท่ที าํ หนา ที่เก่ยี วกับการ
ควบคุมสารพิษ และแพทยประจําตัว
5. ไมควรเก็บสารเคมีปะปนกับอาหาร ทั้งนี้เนื่องจากสารเคมีอาจหกหรือมีไอระเหยทําให
ปนเปอนกับอาหารได และเม่อื ใชผลิตภัณฑสารเคมีเสรจ็ แลวควรลา งมือใหส ะอาดทุกครง้ั

236

6. ไมควรเกบ็ ของเหลวหรือกา ซทีต่ ดิ ไฟไดไวในบาน นํ้ามนั เชื้อเพลิงสําหรบั รถยนตหรือถงั
บรรจุกาซถาสามารถทําไดไมควรนํามาเก็บไวภายในบาน ถังบรรจกุ าซควรเก็บไวนอกบา นในบริเวณใต
รมเงาที่มีอากาศถายเทไดสะดวก ตอ งไมเก็บของเหลวหรือกา ซที่ตดิ ไฟไดไ วใ กลกับแหลงของความรอน
หรอื เปลวไฟ และเก็บไวในภาชนะบรรจดุ งั้ เดิมหรือภาชนะทไ่ี ดรบั การรับรองแลว เทา นัน้

7. เกบ็ สารเคมไี วใ นภาชนะบรรจุดัง้ เดมิ เทา น้ัน ไมควรเปลี่ยนถายสารเคมีที่ใชภายในบานลงใน
ภาชนะชนดิ อน่ื ๆ ยกเวนภาชนะที่ติดฉลากไวอยางเหมาะสมและเขากันไดกับสารเคมีนั้นๆโดยไมทําให
เกิดการรั่วซมึ นอกจากนี้ ไมควรเปลี่ยนถายสารเคมีลงในภาชนะที่ใชสําหรับบรรจุอาหาร เชน ขวดนา้ํ อดั
ลม กระปองนม ขวดนม เปนตน เพอื่ ปองกนั ผูท ่ีรเู ทา ไมถ ึงการณน าํ ไปรบั ประทาน

8. ผลติ ภณั ฑห ลายชนิดสามารถนาํ ไปแปรรูปเพอื่ นาํ กลับมาใชใ หมไ ด เพื่อลดปริมาณสารเคมีที่
เปน พษิ ในสง่ิ แวดลอ ม

9. ใชผลิตภณั ฑอ ื่นๆทม่ี ีอนั ตรายนอ ยกวาทดแทนสําหรับงานบานทว่ั ๆไป ตวั อยา งเชน สามารถ
ใชผงฟู และน้าํ สม สายชูเทลงในทอระบายนํ้า เพื่อปองกันการอุดตนั ได

10. ท้ิงผลิตภัณฑแ ละภาชนะบรรจุใหถูกตอ งเหมาะสม ไมเทผลิตภณั ฑลงในดนิ หรอื ในทอ ระบาย
น้ําท้งิ ผลิตภณั ฑห ลายชนดิ ไมค วรทิง้ ลงในถังขยะหรือเทลงในโถสวม ควรอานฉลากเพื่อทราบวิธีการทิ้ง
ที่เหมาะสมตามคําแนะนําของผูผลิต

ทําอยางไรใหป ลอดภยั ขณะใชสารเคมี
1. เลือกใชผ ลิตภัณฑที่ไมเ ปนพษิ แทน
2. อานฉลากและปฏิบัติตามวิธีการใชทุกครั้ง
3. สวมถุงมือและเส้ือคลมุ ทกุ ครัง้ ถา ผลิตภณั ฑสามารถทาํ ใหเ กดิ อันตรายไดโดยการสมั ผสั ตอผิวหนงั
4. สวมแวน ตาปอ งกนั สารเคมี ถาผลติ ภณั ฑส ามารถทาํ ใหเ กิดอันตรายตอ ตา
5. หา มสวมคอนแทคเลนสเ ม่อื ใชต วั ทําละลายอินทรยี  เชน ทินเนอร เปน ตน
6. หยุดใชผลติ ภณั ฑท นั ทถี ารูสกึ วงิ เวียน ปวดทอ ง คลืน่ ไส อาเจียหนรอื ปวดศรี ษะ
7. ควรใชผลิตภัณฑสารเคมีในที่ที่มีอากาศถายเทไดส ะดวถกา เปนไปไดควรใชผ ลิตภณั ฑใ นทโี่ ลงแจง
8. หา มสบู บหุ รเี่ ม่อื ใชผ ลติ ภณั ฑทสี่ ามารถตดิ ไฟได
9. หามผสมผลิตภัณฑสารเคมีเอง เนื่องจากสารเคมีบางชนิดอาจทําปฏิกิริยาตอกันเกดิ เปน ไอควนั พษิ

หรอื อาจระเบดิ ได
10. พบแพทยท นั ทถี าสงสยั วาไดรบั สารพิษหรอื ไดรับอนั ตรายเม่อื สมั ผัสกบั สารเคมที ่ใี ชภายในบา น

(ทม่ี า: http://oldweb.pharm.su.ac.th/Chemistry-in-Life/index2.html)

237

กจิ กรรมการเรียนรทู ี่ 1

ทดสอบความเปนกรด-เบส ของสารที่ใชใ นชีวิตประจาํ วนั
จดุ ประสงค
1.จําแนกสารที่ใชในบานโดยใชและสมบัติความเปนกรด-เบส เปน เกณฑไ ด

2.ทดสอบและสรุปสมบัติของสารเมื่อทําปฏิกิริยากับกระดาษลิตมัสได
อปุ กรณ
1.นา้ํ อัดลม 5 cm3
cm3
2.นํา้ สมสายชู 5 cm3

3.นํา้ สบู 5 cm3

4.สารละลายยาสีฟน 5 cm3

5.เกลอื แกง 5

6.หลอดทดลอง 5 หลอด

7.แทงแกวคน 1 หลอด

8.ท่ตี ง้ั หลอดทดลอง 1 อนั

9.กระดาษลิตมสั สีแดงและสีนาํ้ เงนิ 10 แผน
วธิ ีการทดลอง
1.ตดั กระดาษลติ มสั สนี าํ้ เงนิ และสแี ดง ขนาด 1 เซนตเิ มตร x 0.5 เซนตเิ มตร วางไวบ นกระดาษ

ขาวเปนคู ๆ มีระยะหางกันพอสมควร

2.ใชแทง แกวคนจุมลงในน้าํ อัดลม แลว นํามาแตะกระดาษลติ มสั สีน้ําเงินและสีแดงที่วางบน

กระดาษขาว สังเกตการเปล่ยี นแปลงท่เี กดิ ข้นึ แลวบนั ทกึ ผล

3.ดาํ เนนิ การเชน เดยี วกบั ขอ 2 แตใ ชน้ําสมสายชู นาํ้ สบู สารละลายยาสฟี น และเกลือแกง พรอ ม

ทั้งบันทึกผลการทดลอง
หมายเหตุ
1.ตอ งลา งแทง แกว ใหส ะอาดและเชด็ ใหแ หง กอ นนาํ มาทดสอบสารแตล ะชนดิ

2.สารละลายทุกชนิดตองทิ้งใหตกตะกอนและรินเอาเฉพาะสารละลายใส ๆ ใสหลอดทดลองไว

238

ตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง ผลการทดสอบกบั กระดาษลติ มสั
สีนา้ํ เงนิ สแี ดง
สาร
นา้ํ อดั ลม เปลย่ี นเปน สแี ดง -
น้ําสมสายชู
น้ําสบู เปลย่ี นเปน สแี ดง -
สารละลายยาสีฟน
เกลอื แกง - เปลี่ยนเปนสนี าํ้ เงิน

- เปลีย่ นเปนสีนํ้าเงิน

--

สรุปผลการทดลอง
สามารถจําแนกสารละลายโดยใชสมบัติของสารที่ทําใหกระดาษลิตมัสเปลี่ยนสีมาเปนเกณฑโดย

1.สารที่เปลีย่ นสีกระดาษลิตมัสจากสนี ํา้ เงนิ เปนสีแดง จดั วามสี มบตั ิเปนกรด ไดแก นํ้าอัดลม
น้ําสมสายชู
2.สารทเ่ี ปลีย่ นสกี ระดาษลติ มัสจากสีแดงเปน สนี ้ําเงนิ จัดวา มสี มบัตเิ ปน เบส ไดแ ก นา้ํ สบู
สารละลายยาสีฟน
3.สารที่ไมเปล่ยี นสีกระดาษลติ มสั จัดวามสี มบัตเิ ปน กลาง

239

เร่ืองท่ี 5 ผลกระทบท่ีเกิดจาการใชส ารตอ ชีวติ และสง่ิ แวดลอม

ปญหามลพิษทางสง่ิ แวดลอ ม ตลอดจนแนวทางการปอ งกนั แกไ ขทด่ี ี ปญ หาสิง่ แวดลอ มท่มี นษุ ย
กําลงั ประสบอยูในปจจบุ ันทส่ี ําคญั ไดแก ปญหาการลดลงของทรัพยากรธรรมชาติ ปญหาสารพิษ และ
ปญหาของระบบนิเวศ ซึ่งปญหาที่สําคัญเหลานี้มาจากปญหายอยๆหลายปญหา เชน มลพิษทางน้ํา มลพิษ
ทางอากาศ มลพษิ ทางเสียง ขยะมลู ฝอยและส่ิงปฏกิ ลู เปน ตน ปญหาเหลา น้ถี าไมรีบปองกันแกไ ข อาจ
สง ผลกระทบตอววิ ัฒนาการของส่ิงมีชวี ิตได ซึ่งการปองกันแกไขปญหาสิ่งแวดลอมเปนหนาที่ของทุกคน
ท่จี ะตอ งชวยกนั

มลพิษทางสงิ่ แวดลอ ม
สิง่ แวดลอ มตางๆ เชน นา้ํ อากาศ ดิน เปนตน มีความจําเปนตอการดํารงชีวิตของมนุษย มนุษย

จําเปนตองใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้มากมาย แตการใชประโยชนโดยไมคํานึงถึง
ผลกระทบทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ทาํ ใหเ กดิ มลพิษข้นึ ในส่ิงแวดลอมน้ันๆ

มลพิษทางสิ่งแวดลอม หมายถึง สภาวะที่สิ่งแวดลอมตามธรรมชาติถูกปะปนหรือปนเปอนดวย
สงิ่ สกปรก สิ่งแปลกปลอม หรือสารมลพิษ ทาํ ใหมลี กั ษณะหรอื สมบัตแิ ตกตางไปจากเดมิ หรอื จาก
ธรรมชาติ โดยเปลี่ยนแปลงไปในทางทเ่ี ลวลง ยงั ผลใหใชประโยชนไ ดนอ ยหรือใชป ระโยชนไ มไ ดเ ลย
และมีผลเสยี ตอสุขภาพ มลพิษทางสงิ่ แวดลอมที่สาํ คัญ ไดแก มลพิษทางนาํ้ มลพิษทางอากาศ มลพิษทาง
เสยี ง และมลพิษทเี่ กิดจากขยะมูลฝอยและส่งิ ปฏกิ ลู

มลพษิ ทางนํ้า
มลพิษทางน้ํา (Water pollution) เปนปญหาสิ่งแวดลอมที่สําคัญที่สุดปญหาหนึ่งของประเทศเมื่อ

เปรียบเทียบกับปญหามลพิษอื่นๆปญหามลพิษทางน้ํามักเกิดกับเมืองใหญๆแหลงน้ําที่สําคัญของประเทศ
ถูกปนเปอนดวยสิ่งสกปรกและสารมลพิษตางๆทําใหไมสามารถใชประโยชนจากแหลงน้ําไดเต็มที่ ซงึ่
สงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตและการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม

สาเหตขุ องการเกิดมลพษิ ทางนาํ้ สวนใหญเ กดิ จากนาํ้ ทิ้งจากทอ่ี ยอู าศยั ซึง่ มกั จะมสี ารอินทรยี 
ปนเปอ นมาดว ย นาํ้ ทิ้งดงั กลาวมักเปน สาเหตุของการทนี่ า้ํ มสี ดี าํ และมกี ลน่ิ เนาเหม็น น้าํ ทมี่ ีสารพษิ
ตกคา งอยู เชน นา้ํ จากแหลงเกษตรกรรมทีม่ ีปยุ และยากาํ จัดศัตรพู ชื น้ําท้งิ ที่มีโลหะหนักปนเปอ นจาก
โรงงานอุตสาหกรรม เปนตน สารเหลานีจ้ ะถูสะสมในวงโคจรโซอาหารของสัตวน ้ํา และมผี ลตอมนษุ ย
ภายหลงั

ผลกระทบจากมลพษิ ทางน้ํา
นํา้ ที่อยใู นระดับรนุ แรง ซึ่งประชาชนท่ัวไปเรยี กวา นา้ํ เสีย มลี กั ษณะทีเ่ ห็นไดช ัดเจน คอื ตะกอนขุนขนสีดาํ
คล้าํ สง กล่ินเนาเหมน็ กอใหเกดิ ความรําคาญตอชมุ ชน และอาจมฟี องลอยอยเู หนอื นาํ้ เปน จาํ นวนมาก

240

อยางไรก็ตาม ลกั ษณะของน้ําเสียบางครัง้ เราอาจมองไมเ ห็นก็ได ถานาํ้ นนั้ ปนเปอ นดวยสารพิษ เชน ยา
ปราบศัตรู หรอื ยาฆาแมลง แรธ าตุ เปนตน

น้ําท่ีเปนมลพิษจะมีผลกระทบตอการดาํ รงชีวิตของสิ่งมชี วี ติ อยางเหน็ ไดชดั กวา ปญ หา
ส่ิงแวดลอมอ่ืนๆเพราะกอใหเ กิดผลเสียหายหลายประการ ซ่ึงสามารถสรุปไดดงั นี้

1. ผลกระทบทางดานสาธารณสุข
2. ผลกระทบทางดานเศรษฐกิจ
3. ผลกระทบทางดานสังคม

แนวทางการปองกันแกไ ขปญ หามลพิษทางน้ํา
1. การบําบัดนาํ้ เสยี
2. การกําจัดขยะมลู ฝอยและสง่ิ ปฏกิ ูล
3. การใหการศึกษาและความเขาใจเกี่ยวกับปญหามลพิษทางน้ําแกประชาชน
4. การใชกฎหมาย มาตรการ และขอบังคับ
5. การศึกษาวิจัยคุณภาพน้าํ และสาํ รวจแหลง ท่ีระบายนํา้ เสยี ลงสูแ มน ้ํา

กิจกรรมการเรยี นรทู ี่ 1

คาํ สัง่ จงตอบคําถามหรือเติมชองวางดวยคําหรือขอความสั้นๆ
1. มลพิษทางน้ํา หมายถึง อะไร
ตอบ
2. มลพิษทางน้ําที่เมืองใหญ เชน กรงุ เทพ เชียงใหม เปนตน กําลังเผชญิ อยูในปจจบุ นั สวนใหญ

เกดิ จากสาเหตใุ ด
ตอบ
3. สาเหตุสาํ คญั ทท่ี ําใหเ กิดปญ หามลพิษทางน้ํา ไดแ ก อะไรบาง
ตอบ
4. ของเสียจากแหลงชุมชนสวนมากจะอยูในรูปของ สารประเภทใด
ตอบ
5. ของเสียที่ปลอยจากโรงงานอุตสาหกรรมจะมีลักษณะแตกตางกันไปขึ้นอยูกับอะไร
ตอบ
6. นาํ้ ที่เปน มลพษิ มลี กั ษณะทีเ่ ห็นไดช ดั เจน คอื อะไร
ตอบ

241

7. น้ําเสียสงผลกระทบตอการบริโภคอาหาร ทําใหเ กดิ ปญ หาสุขภาพโดยตรงตอ มนษุ ยจัดเปน
ผลกระทบทางดานใดบาง
ตอบ
8. การแกไขปญ หามลพิษทางนํา้ ท่ไี ดผ ล และเปน การแกไขปญหาท่ีตน เหตุ คอื อะไร
ตอบ

แนวคาํ ตอบกจิ กรรมการเรียนรูท่ี 1
ขอท่ี 1. แหลงน้ําที่ถูกปนเปอนดวยสิ่งสกปรกและสารมลพิษตางๆทําใหไมสามารถใชประโยชน

จากแหลง นาํ้ ไดเตม็ ท่ี
ขอท่ี 2. สว นใหญเกิดจากนาํ้ ท้ิงจากทีอ่ ยอู าศัย
ขอที่ 3.
1. ของเสียจากแหลงชุมชน
2. ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
3. ของเสียจากกิจกรรมทางการเกษตร
4. สารมลพิษอ่ืนๆท่ไี มม ีแหลงกําเนิดแนน อน
ขอท่ี 4. สารอินทรีย เชน เศษอาหาร สบู ผงซักฟอก อจุ จาระ ปสสาวะ เปนตน

ขอ ที่ 5. ประเภทและชนิดของโรงงานอุตสาหกรรม
ขอ ที่ 6. คือตะกอนขนุ ขน สดี ําคลา้ํ สง กล่ินเนาเหมน็
ขอ ที่ 7. ผลกระทบทางดานสาธารณสุข
ขอ ที่ 8. การใหการศึกษาและความเขาใจเกี่ยวกับปญหามลพิษทางน้ําแกประชาชน

มลพิษทางอากาศ
สว นใหญเ กดิ จากควนั ของยานพาหนะและจากโรงงานอตุ สาหกรรม ควนั ดงั กลา วมผี ลตอ

สุขภาพของมนุษยโดยตรง ควันจากโรงงานอุตสาหกรรมบางแหงที่มี กาซซลั เฟอรไดออกไซดห รือ

ไนโตรเจนออกไซด เปน องคป ระกอบ เมื่อรวมกับละอองน้ําในอากาศ จะกลายเปนสารละลายกรด

ซลั ฟว รกิ หรอื กรดไนตริก กลายเปนฝนกรด ตกลงมาอันเปน อันตรายตอสิ่งมชี วี ิตและยงั ทาํ ใหส ่งิ กอ สรา ง

เกิดการสึกกรอนได สถานที่กําลังประสบปญหากับมลพิษทางอากาศเหลานี้ จะมีผลกระทบตอสขุ ภาพ

ของมนุษยเปนอยางมาก โดยจะมีผลตอระบบทางเดินหายใจ อาจทําใหเกิดโรคภูมแิ พ โรคทรวงอก เยอ่ื บุ

ตาอกั เสบ และเปน อนั ตรายตอ เดก็ ในครรภต ลอดจนเสยี ชวี ติ ได

242

ปรากฏการณเรือนกระจก (Green house effect)
เปน ปรากฏการณทีท่ าํ ใหโ ลกมีอุณหภูมสิ ูงขึน้ ซึ่งจะมีผลกระทบตอภูมิอากาศทั่วโลกอยางที่ไมเคยปรากฏ
มากอน โดยนกั วิทยาศาสตรไดประมาณการไวว าที่บริเวณเหนือเสนศูนยส ตู รขน้ึ ไป ฤดหู นาวจะสน้ั ขน้ึ
และมีความชื้นมาก สว นฤดรู อ นจะยาวนานขน้ึ อาจทาํ ใหพ น้ื ดนิ บางแหง บนโลกกลายเปน ทะเลทราย และ
ในเขตรอ นอาจจะมพี ายบุ อยครง้ั และรุนแรง บริเวณขั้วโลกความรอนสงผลโดยตรงตอการละลายของ
หมิ ะเปน เหตุ ใหป ริมาณน้าํ ในทะเลเพ่มิ ขน้ึ มีผลตอการเกิดอุทกภัย นอกจากน้ียังสง ผลกระทบตอ พชื และ
สตั ว เกิดการเปลี่ยนแปลงทําใหปากใบ พืชปดไมสามารถรับกาซคารบอนไดออกไซดและไอน้ําไดการ
สงั เคราะหด ว ยแสงลดลง สัตวบ างชนดิ อาจไดร บั ความกระทบกระเทอื นตอเน้ือเยอ่ื ตา ผิวหนัง และเปน
เหตุใหสูญพนั ธไุ ดใ นทสี่ ุด

สารคลอโรฟลอู อโรคารบ อน( CFC) มีชื่อทางการคาวา ฟรีออน( Freon) ฟรีออนใชในการ
อุตสาหกรรมหลายประเภท เชน ใชเปนสารทําความเย็นในตูเย็น เครื่องปรับอากาศ ใชเ ปนกา ซขบั ดนั ใน
ผลติ ภณั ฑส เปรย เปน สวนผสมในการผลติ โฟม ใชก บั เครื่องสําอาง ใชกบั ผลิตภณั ฑทมี่ ีแอลกอฮออล ใช
เปนตัวทําละลายและทําความสะอาดใชเปนฉนวนไฟฟาและใชเปนสารดับเพลิงเปนตน

กิจกรรมการเรยี นรูท ่ี 2

คําส่งั จงตอบคําถามหรือเติมชองวางดวยคําหรือขอความสั้นๆ
1. มลพิษทางอากาศ หมายถึง
2. สงิ่ ที่เปน มลพษิ ที่ปลอ ยออกจากทอไอเสยี รถยนต ไดแก
3. ผลกระทบของมลพิษทางอากาศชนิดเฉียบพลันที่มีตอมนุษย คือ
4. ตัวอยางผลกระทบตอพืชจากมลพิษทางอากาศ เชน
5. กา ซสาํ คญั ทท่ี าํ ใหเ กดิ ปรากฏการณฝ นกรด คอื
6. เมอื่ กาซจากขอ 5 ถูกแสงแดดจะรวมตัวกับออกซิเจนในอากาศเกิดปฏิกิริยาเคมีกลายเปน
สาร
7. คําถาม ผลกระทบของฝนกรดท่ีมีตอ ส่งิ มีชีวิต คอื
8. คําถาม กา ซทส่ี ําคญั ท่ที าํ หนา ที่หอ หุมโลก ซึง่ เปรียบเหมอื นกับกระจกของเรือนกระจก

ไดแ ก ถากาซเหลานี้มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นในบรรยากาศผลที่จะ
เกิดขึ้นตามมาคือ

แนวคาํ ตอบกิจกรรมตอนท่ี 2
ขอ ท่ี 1. สภาวะที่อากาศตามธรรมชาติถูกปนเปอนหรือเจือปนดวยสิ่งแปลกปลอทมําใหองคประกอบสวน

ใดสว นหนง่ึ เปลย่ี นแปลงไปและเสอ่ื มโทรมลกงอใหเกดิ ผลกระทบตอ มนษุ ย สตั ว พชื และสงิ่ แวดลอ มอืน่ ๆ

243

ขอที่ 2. ฝนุ ละออง เขมา ควัน กา ซคารบ อนมอนอกไซด สารตะก่ัว ไนโตรเจนออกไซด ซัลเฟอร
ไดออกไซด ไฮโดรคารบ อน และคารบ อนไดออกไซด

ขอ ท่ี 3. เกิดจากการสูดหายใจเอาสารพิษในอากาศที่มีความเขมขนสูงเขาไป ทาํ ใหเกิดผลเสยี ตอ ระบบ
ทางเดนิ หายใจ หวั ใจ ปอด และทําใหต ามในทีส่ ดุ

ขอ ท่ี 4. ทําใหพ ชื ไมเจรญิ เติบโต ผลผลติ ลดลง สีของตน ไมและใบเปลี่ยนแปลงไป ทําใหการ
สังเคราะหดวยแสงและการหายใจของพืชเสื่อมลง

ขอท่ี 5. กา ซซลั เฟอรไ ดออกไซดแ ละกา ซไนโตรเจนออกไซด
ขอท่ี 6. กรดซัลฟรู ิก(กรดกํามะถัน)และกรดไนตรกิ
ขอที่ 7. จะไปทําลายโซอาหารตามธรรมชาติที่สําคัญของมนุษย คือตนไมและปาไม
ขอท่ี 8. คลอโรฟลอู อโรคารบ อนC(FC) ไนตรสั ออกไซด มีเทน คารบอนไดออกไซด โอโซน และไอนา้ํ
มลพษิ ทางเสยี ง
สิง่ ทเ่ี ปน ตน เหตุท่ที าํ ใหเกิดเสยี งดังจนเปนอันตรายตอมนุษยนั้นมหี ลายประการ เชน เสียงอกึ ทกึ ที่
เกิดจากเครื่องยนตตามทองถนน โดยเฉพาะถนนที่มีปญหาเรื่องการจารจรติดขัด เสียงเครื่องบิน
เสยี งดนตรี ในดิสโกเทค เสียงเพลงจากซาวดอะเบาท เสียงเครื่องจักรของโรงงาน เสียงเครื่องขยายเสียง
จากงานชุมชนตางๆ นอกจากนีย้ ังมเี สยี งจากอืน่ ๆอกี ท่อี ยใู นส่งิ แวดลอมอนั เปน เสียงท่ไี มพ งึ ประสงคและ
มีเสยี งดงั เกินเหตุ ระดับเสยี งปกติทีไ่ มเ ปน อันตรายตอการไดย นิ ของคนจะอยูในระดับไมเกิน 80 – 85
เดซิเบล และระดับเสียงในระดับปกติธรรมดาควรไมเกิน 50 – 70 เดซเิ บล แตระดบั เสียงในดิสโกเ ทค
เฉลี่ยประมาณ 90 – 100 เดซเิ บล นับวาเปนอันตรายอยางมากตอสุขภาพ โดยเฉพาะซาวดอะเบาท เปนการ
นําเอาเครื่องฟงแนบประกบไวกับหูตลอดเวลา และถา มเี สยี งรบกวนกจ็ ะเปด เสียงดงั เพิม่ ขึน้ เปนการเพิ่ม
ระดับคลน่ื เสียงใหมผี ลตอ ระบบประสาทหโู ดยตรง กอ ใหเ กดิ การสูญเสียการไดยนิ เปนอนั ตรายตอเย่อื
แกวหูอาจมผี ลทาํ ใหเ กดิ อาการหูหนวกเมอ่ื มอี ายมุ ากขึ้นและเกิดปญ หาหตู ึงไดใ นท่สี ุด

ขยะมูลฝอยและสิง่ ปฏิกลู ชายหาด
สว นใหญเ ปน การกระทําของมนษุ ย เชน การท้ิงขยะมลู ฝอยลงบนถนน แมน ํ้า ลําคลอง

หรือตามสถานที่สาธ ารณะตางๆ การปลูกสราง การติดปายโฆษณาการเดินสายไฟฟาที่ไมเปนระเบียบ

การปลอยน้ําเสียหรือควันของโรงงานอุตสาหกรรม สง่ิ เหลาน้ีถอื วา เปน การกระทาํ ท่กี อใหเกดิ มลพษิ ทาง

ทัศนาการเพราะทําใหความสวยงามของสถานที่ตางๆตองสูญเสียไป


Click to View FlipBook Version