The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านตาวร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by agela2535, 2022-09-07 22:58:16

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านตาวร

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านตาวร



ปรัชญา วสิ ยั ทศั น์ โรงเรียนบา้ นตาวร

ปรัชญา
ปญฺญา โลกสฺมิ ปชโฺ ชโต ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก

วิสัยทัศน์
โรงเรียนบ้านตาวร จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มี
ความร้คู ูค่ ุณธรรม ดำรงตนอยู่ในสังคมอยา่ งมีความสขุ ภายใตป้ รัชญาของเศรษกิจพอเพียง

อตั ลักษณ์
ทกั ทาย ไหว้สวย รวยย้ิม

คำขวัญ
มีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยู่อยา่ งพอเพียง

เอกลักษณ์
โรงเรยี นสะอาด ปลอดภยั นา่ อยู่น่าเรยี น

ผ้อู ำนวยการโรงเรียน
นายโสรนิ ทร์ หว้ ยทราย

ผู้อำนวยการเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3
นางนชิ าภา อินทรช์ ้าง

พนั ธกิจ
๑. จัดหลักสูตรที่เหมาะสม จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมอย่างมีคุณภาพ มีสื่ออุปกรณ์อย่าง
เพยี งพอ ท่ัวถึงและทันสมยั โดยมีการพัฒนาอย่างต่อเนอ่ื ง
๒. เสรมิ สร้างศกั ยภาพผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศทกุ ดา้ น มคี ุณธรรม มีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามท่ี
โรงเรยี นคาดหวงั และมจี ติ สำนกึ ทดี่ ี ต่อสาธารณสมบัติ
๓. พัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยเน้นการมีส่วนร่วม สร้างเครือข่ายชุมชนสัมพันธ์ เพื่อให้เป็น
องค์กรแหง่ การเรียนรู้ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในการพัฒนาผเู้ รยี นใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย
๔. พัฒนาบุคลากรให้เป็นผทู้ ีม่ คี วามรคู้ คู่ ุณธรรม เชย่ี วชาญในการจดั การเรยี นรู้ มคี วามรู้ความสามารถ
ในการใช้สื่ออุปกรณ์ เทคโนโลยีที่ทันสมัย และปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
และอยู่อยา่ งพอเพียง
๕. พฒั นาสิง่ แวดลอ้ มภายในโรงเรยี นใหม้ ีความสะอาด ร่มร่ืน ปลอดภัยและเปน็ แหลง่ เรียนรู้



เป้าประสงค์หลัก
๑. ผูเ้ รียนมสี ขุ ภาพกายสุขภาพจิตที่ดี มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมเป็นทีย่ อมรับและต้องการของสังคม อยู่ในสังคมได้
อยา่ งเป็นสขุ
๒. ผเู้ รยี นใฝ่รู้ใฝเ่ รียน มคี วามคดิ สร้างสรรค์ สามารถพัฒนาศกั ยภาพของตนเองอย่างต่อเน่ือง และร้เู ท่าทันการ
เปลย่ี นแปลงของสงั คมโลก
๓. ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มีทักษะในการคิด การจัดการ ในการดำเนิน
ชีวติ อยา่ งเป็นระบบ
๔. ผู้เรียนมีความรู้และทกั ษะพื้นฐานในการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตอยูอ่ ย่างพอเพียง สามารถพึ่งพาตนเองได้ และ
สรา้ งสรรคส์ ิ่งทดี่ งี ามใหแ้ กต่ นเอง ท้องถ่ิน และประเทศชาติ
๕. ผู้เรียนรักการอ่าน การเขียน การค้นคว้า สามารถใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อยา่ ง
ถูกตอ้ งเหมาะสม
๖. ผเู้ รียนมีความรัก ภาคภมู ิใจในความเป็นไทย อนุรักษ์ภาษาไทย ศลิ ปวฒั นธรรม และภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติ
ตามขนบธรรมเนียมประเพณีวฒั นธรรมอนั ดีงามของไทย
๗. ผเู้ รยี นสามารถใชเ้ ทคโนโลยที ีท่ ันสมัยในการพัฒนาตนเองและสงั คม



ความสมั พันธข์ องการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

จุดหมาย

๑. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมทพ่ี ึงประสงค์ เหน็ คุณคา่ ของตนเอง มวี ินัยและปฏิบตั ติ นตาม
หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนับถือ ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๒. มคี วามรอู้ นั เป็นสากลและมคี วามสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี
และมที ักษะชวี ิต

๓. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทดี่ ี มสี ขุ นสิ ัยและรักการออกกำลงั กาย
๔. มคี วามรกั ชาติ มจี ิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมนั่ ในวถิ ชี ีวติ และการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ
๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มีจติ สาธารณะ ทีม่ ่งุ ทำประโยชนแ์ ละสร้างสง่ิ ที่ดีงามในสังคม และอยรู่ ่วมกันในสงั คมอย่างมคี วามสขุ

สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น

๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชนต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน
การเลอื กใช้วิธกี ารสือ่ สารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยคำนึงถงึ ผลกระทบทม่ี ีตอ่ ตนเองและสงั คม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ
สารสนเทศเพอ่ื การตัดสนิ ใจ เกีย่ วกับตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ทเ่ี ผชิญได้
อย่างถูกต้อง เหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและ
แก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและ
ส่งิ แวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดำเนนิ ชวี ิตประจำวัน การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การเรียนรอู้ ย่างต่อเนื่อง การทำงานและการอยู่ร่วมกันในสังคม
ด้วยการสรา้ งเสรมิ ความสัมพนั ธ์อนั ดรี ะหว่างบคุ คล การจัดการแก้ปญั หาและความขัดแยง้ ต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง
พฤตกิ รรมท่ีไมพ่ ึงประสงค์ท่สี ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อนื่

๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือกและการใช้เทคโนโลยีด้านตา่ ง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทำงาน การแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมคี ุณธรรม



คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้
สามารถอยูร่ ่วมกบั ผอู้ ่นื ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้

๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ
๓. มีวนิ ัย
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๕. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง
๖. มงุ่ ม่ันในการทำงาน
๗. รกั ความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ

มาตรฐานการเรียนรู้

การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน จงึ กำหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ ๘ กลุม่ สาระการเรียนรู้ ดังน้ี

๑. ภาษาไทย
๒. คณิตศาสตร์
๓. วทิ ยาศาสตร์
๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๕. สุขศึกษาและพลศึกษา
๖. ศลิ ปะ
๗. การงานอาชพี และเทคโนโลยี
๘. ภาษาตา่ งประเทศ

กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน

๑. กจิ กรรมแนะแนว
๒. กจิ กรรมนักเรียน ( ลูกเสือ – เนตรนารี และกจิ กรรมชุมนุม )
๓. กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์



โครงสรา้ งและอัตราเวลาการจัดการเรยี นรู้
หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นตาวร พทุ ธศักราช ๒๕๖5
ระดบั ชน้ั ประถมศึกษา และระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม เวลาเรยี น ระดบั มธั ยมศึกษา
ระดับประถมศึกษา ม. ๑ ตอมน. ๒ตน้ ม. ๓
* กลุม่ สาระการเรียนรู้ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๑. ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
200 200 200 ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ 160 160 160
๒. คณิตศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑2๐ 120 120 120
40 40 40
๓. วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 120 120 120 ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑2๐ ๑2๐ ๑2๐
- วทิ ยาศาสตร์
- วิทยาการคำนวณ 8๐ 8๐ 8๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ 80 80 80

๔. สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม
- หนา้ ที่พลเมอื ง วฒั นธรรม และ
การดำเนนิ ชวี ิตในสังคม
- เศรษฐศาสตร์
- ภูมิศาสตร์
- ประวตั ศิ าสตร์

๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๖. ศลิ ปะ
๗. การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๘. ภาษาอังกฤษ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ 80 80 80

รวมเวลาเรียน(พื้นฐาน) ๑20 ๑2๐ ๑2๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
* รายวชิ าเพ่มิ เติม ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ 880 880 880
80 80 80 ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๒0๐ ๒0๐ ๒0๐

๑. คอมพวิ เตอร์ - - - - - - ๘๐ ๘๐ ๘๐

๒. ภาษาไทยเพมิ่ เตมิ - - - - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐

๓. คณติ ศาสตร์เพิม่ เติม - - - - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐

4. การปอ้ งกนั การทจุ ริต 40 40 40 40 40 40 40 ๔๐ ๔๐

5. ภาษาองั กฤษเพ่ิมเตมิ 40 40 40 40 40 40 - - -



* กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

๑. แนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

๒. ลูกเสอื – เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐

๓. ชุมนมุ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

๔. กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐

รวมเวลาเรียนทง้ั หมด ๑,๐40 ๑,๐40 ๑,๐40 ๑,๐40 ๑,๐40 ๑,๐40 ๑,20๐ ๑,20๐ ๑,20๐



โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา ระดับชั้นประถมศกึ ษา
โรงเรยี นบา้ นตาวร สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต ๓

รหสั วชิ า ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เวลาเรียน (ชม./ปี)
ท๑๑๑๐๑ รายวิชา / กจิ กรรม
ค๑๑๑๐๑ * รายวิชาพ้ืนฐาน ๒๐๐
ว๑๑๑๐๑ ๑. ภาษาไทย 200
ส๑๑๑๐๑ ๒. คณิตศาสตร์ 80
ส๑๑๑๐๒ ๓. วทิ ยาศาสตร์ 80
พ๑๑๑๐๑ 4. สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐
ศ๑๑๑๐๑ 5. ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
ง๑๑๑๐๑ 6. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐
อ๑๑๑๐๑ 7. ศิลปะ ๔๐
8. การงานอาชีพ 120
อ11201 9. ภาษาองั กฤษ ๘๔๐
ส11201 8๐
รวมเวลาเรยี น(พนื้ ฐาน) ๔๐
* รายวชิ าเพมิ่ เติม 40
๑๒๐
๑. ภาษาองั กฤษเพ่ิมเตมิ ๔๐
2. การป้องกนั การทุจริต ๓๐
* กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๔๐
๑. แนะแนว ๑๐
๒. ลูกเสือ – เนตรนารี ๑,๐4๐
๓. ชุมนมุ
๔. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลาเรยี นท้ังหมด



โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา ระดบั ช้ันประถมศกึ ษา
โรงเรยี นบา้ นตาวร สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต ๓

รหสั วชิ า ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2 เวลาเรียน (ชม./ปี)
ท๑2๑๐๑ รายวิชา / กจิ กรรม
ค๑2๑๐๑ * รายวชิ าพ้ืนฐาน ๒๐๐
ว๑2๑๐๑ ๑. ภาษาไทย 200
ส๑2๑๐๑ ๒. คณติ ศาสตร์ 80
ส๑2๑๐๒ ๓. วิทยาศาสตร์ 80
พ๑2๑๐๑ 4. สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐
ศ๑2๑๐๑ 5. ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
ง๑2๑๐๑ 6. สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐
อ๑2๑๐๑ 7. ศลิ ปะ ๔๐
8. การงานอาชีพ 120
อ12201 9. ภาษาองั กฤษ ๘๔๐
ส12201 8๐
รวมเวลาเรียน(พืน้ ฐาน) ๔๐
* รายวิชาเพม่ิ เติม 40
๑๒๐
๑. ภาษาองั กฤษเพิ่มเตมิ ๔๐
2. การป้องกนั การทุจรติ ๓๐
* กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น ๔๐
๑. แนะแนว ๑๐
๒. ลกู เสือ – เนตรนารี ๑,๐4๐
๓. ชมุ นุม
๔. กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทั้งหมด

๑๐

โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษา ระดับช้นั ประถมศึกษา
โรงเรยี นบ้านตาวร สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต ๓

รหสั วิชา ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 เวลาเรียน (ชม./ป)ี
ท๑3๑๐๑ รายวิชา / กจิ กรรม
ค๑3๑๐๑ * รายวชิ าพน้ื ฐาน ๒๐๐
ว๑3๑๐๑ ๑. ภาษาไทย 200
ส๑3๑๐๑ ๒. คณติ ศาสตร์ 80
ส๑3๑๐๒ ๓. วิทยาศาสตร์ 80
พ๑3๑๐๑ 4. สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐
ศ๑3๑๐๑ 5. ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
ง๑3๑๐๑ 6. สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐
อ๑3๑๐๑ 7. ศลิ ปะ ๔๐
8. การงานอาชีพ 120
อ13201 9. ภาษาอังกฤษ ๘๔๐
ส13201 8๐
รวมเวลาเรียน(พนื้ ฐาน) ๔๐
* รายวชิ าเพม่ิ เติม 40
๑๒๐
๑. ภาษาองั กฤษเพิ่มเติม ๔๐
2. การป้องกันการทจุ ริต ๓๐
* กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๔๐
๑. แนะแนว ๑๐
๒. ลกู เสือ – เนตรนารี ๑,๐4๐
๓. ชมุ นุม
๔. กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลาเรียนทั้งหมด

๑๑

โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา ระดบั ชั้นประถมศึกษา
โรงเรยี นบ้านตาวร สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต ๓

รหัสวิชา ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลาเรียน (ชม./ป)ี
ท๑๔๑๐๑ รายวชิ า / กจิ กรรม
ค๑๔๑๐๑ * รายวชิ าพ้นื ฐาน ๑๖๐
ว๑๔๑๐๑ ๑. ภาษาไทย ๑๖๐
ส๑๔๑๐๑ ๒. คณติ ศาสตร์ 120
ส๑๔๑๐๒ ๓. วิทยาศาสตร์ ๘๐
พ๑๔๑๐๑ 4. สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐
ศ๑๔๑๐๑ 5. ประวัตศิ าสตร์ ๘๐
ง๑๔๑๐๑ 6. สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๘๐
อ๑๔๑๐๑ 7. ศิลปะ ๔๐
8. การงานอาชีพ ๘๐
อ14201 9. ภาษาอังกฤษ ๘๔๐
ส14201 ๘๐
รวมเวลาเรียน(พนื้ ฐาน) ๔๐
* รายวชิ าเพ่มิ เติม 40
๑๒๐
๑. ภาษาอังกฤษเพ่ิมเตมิ ๔๐
2. การป้องกันการทจุ รติ ๓๐
* กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๔๐
๑. แนะแนว ๑๐
๒. ลูกเสอื – เนตรนารี ๑,๐4๐
๓. ชุมนุม
๔. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทั้งหมด

๑๒

โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา ระดบั ชั้นประถมศึกษา
โรงเรยี นบ้านตาวร สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต ๓

รหัสวิชา ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เวลาเรียน (ชม./ป)ี
ท๑5๑๐๑ รายวชิ า / กจิ กรรม
ค๑5๑๐๑ * รายวชิ าพ้นื ฐาน ๑๖๐
ว๑5๑๐๑ ๑. ภาษาไทย ๑๖๐
ส๑5๑๐๑ ๒. คณติ ศาสตร์ 120
ส๑5๑๐๒ ๓. วิทยาศาสตร์ ๘๐
พ๑5๑๐๑ 4. สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐
ศ๑5๑๐๑ 5. ประวัตศิ าสตร์ ๘๐
ง๑5๑๐๑ 6. สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๘๐
อ๑5๑๐๑ 7. ศิลปะ ๔๐
8. การงานอาชีพ ๘๐
อ15201 9. ภาษาอังกฤษ ๘๔๐
ส15201 ๘๐
รวมเวลาเรียน(พนื้ ฐาน) ๔๐
* รายวชิ าเพ่มิ เติม 40
๑๒๐
๑. ภาษาอังกฤษเพ่ิมเตมิ ๔๐
2. การป้องกันการทจุ รติ ๓๐
* กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๔๐
๑. แนะแนว ๑๐
๒. ลกู เสอื – เนตรนารี ๑,๐4๐
๓. ชุมนุม
๔. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทั้งหมด

๑๓

โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา ระดบั ชั้นประถมศึกษา
โรงเรยี นบ้านตาวร สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต ๓

รหัสวิชา ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 เวลาเรียน (ชม./ป)ี
ท๑6๑๐๑ รายวชิ า / กจิ กรรม
ค๑6๑๐๑ * รายวชิ าพ้นื ฐาน ๑๖๐
ว๑6๑๐๑ ๑. ภาษาไทย ๑๖๐
ส๑6๑๐๑ ๒. คณติ ศาสตร์ 120
ส๑6๑๐๒ ๓. วิทยาศาสตร์ ๘๐
พ๑6๑๐๑ 4. สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐
ศ๑6๑๐๑ 5. ประวัตศิ าสตร์ ๘๐
ง๑6๑๐๑ 6. สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๘๐
อ๑6๑๐๑ 7. ศิลปะ ๔๐
8. การงานอาชีพ ๘๐
อ16201 9. ภาษาอังกฤษ ๘๔๐
ส16201 ๘๐
รวมเวลาเรียน(พนื้ ฐาน) ๔๐
* รายวชิ าเพ่มิ เติม 40
๑๒๐
๑. ภาษาอังกฤษเพ่ิมเตมิ ๔๐
2. การป้องกันการทจุ รติ ๓๐
* กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๔๐
๑. แนะแนว ๑๐
๒. ลูกเสอื – เนตรนารี ๑,๐4๐
๓. ชุมนุม
๔. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทั้งหมด

๑๔

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับช้ันมัธยมศึกษา
โรงเรยี นบา้ นตาวร สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต ๓

รหัสวชิ า ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น หน่วยกติ
ท๒๑๑๐๑ (ชม./ภาค)
ค๒๑๑๐๑ รายวิชา / กิจกรรม ๑.๕
ว๒๑๑๐๑ ๖๐ ๑.๕
ว๒๑๑๐๒ * รายวิชาพื้นฐาน ๖๐ ๑.๕
ส๒๑๑๐๑ ๑. ภาษาไทย ๖๐ ๐.๕
ส๒๑๑๐๒ ๒. คณิตศาสตร์ ๒๐ ๑.0
พ๒๑๑๐๑ ๓. วิทยาศาสตร์ 40 ๐.๕
พ21102 ๔. วิทยาการคำนวณ ๒๐ 0.5
ศ๒๑๑๐๑ ๕. สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 20 0.5
ศ21102 ๖. ประวตั ศิ าสตร์ 20 0.5
ง๒๑๑๐๑ ๗. สุขศกึ ษา 20 0.5
อ๒๑๑๐๑ 8. พลศึกษา 20 ๐.๕
9. ทศั นศลิ ป์ 40 ๑.๕
ท๒๑๒๐๑ 10. ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๖๐ ๑๑
ค๒๑๒๐๑ 11. การงานอาชีพ ๔2๐ 2.5
ง21201 ๑2. ภาษาองั กฤษ 100 ๐.๕
ส21201 รวมเวลาเรยี น(พืน้ ฐาน) ๒๐ ๐.๕
2๐ 1.0
* รายวิชาเพิม่ เติม 40 0.5
๑. ภาษาไทยเพ่ิมเติม 20
๒. คณิตศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ 60
3. คอมพิวเตอร์ 20
4. การป้องกนั การทุจรติ 20
15
* กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน 5
๑. แนะแนว ๖๐๐
๒. ลกู เสอื – เนตรนารี
๓. ชมุ นุม
๔. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรียนทั้งหมด

๑๕

โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา ระดับช้ันมธั ยมศึกษา
โรงเรยี นบา้ นตาวร สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต ๓

รหัสวิชา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลาเรยี น หน่วยกติ
ท๒๑๑๐2 (ชม./ภาค)
ค๒๑๑๐2 รายวชิ า / กิจกรรม ๑.๕
ว๒๑๑๐3 ๖๐ ๑.๕
ว๒๑๑๐4 * รายวิชาพ้นื ฐาน ๖๐ ๑.๕
ส๒๑๑๐3 ๑. ภาษาไทย ๖๐ ๐.๕
ส๒๑๑๐4 ๒. คณิตศาสตร์ ๒๐ ๑.0
พ๒๑๑๐3 ๓. วิทยาศาสตร์ 40 ๐.๕
พ21104 ๔. วิทยาการคำนวณ ๒๐ 0.5
ศ๒๑๑๐3 ๕. สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 20 0.5
ศ21104 ๖. ประวัตศิ าสตร์ 20 0.5
ง๒๑๑๐2 ๗. สุขศกึ ษา 20 0.5
อ๒๑๑๐2 8. พลศกึ ษา 20 ๐.๕
9. ทศั นศลิ ป์ 40 ๑.๕
ท๒๑๒๐๒ 10. ดนตรี-นาฏศิลป์ ๖๐ ๑๑
ค๒๑๒๐๒ 11. การงานอาชพี ๔2๐ 2.5
ง๒๑๒๐๒ ๑2. ภาษาองั กฤษ 100 ๐.๕
ส21202 รวมเวลาเรียน(พื้นฐาน) ๒๐ ๐.๕
2๐ 1.0
* รายวชิ าเพิ่มเติม 40 0.5
๑. ภาษาไทยเพมิ่ เตมิ 20
๒. คณติ ศาสตรเ์ พมิ่ เตมิ 60
3. คอมพวิ เตอร์ 20
4. การปอ้ งกนั การทุจริต 20
15
* กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 5
๑. แนะแนว ๖๐๐
๒. ลูกเสอื – เนตรนารี
๓. ชุมนุม
๔. กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี นท้งั หมด

๑๖

โครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษา ระดับช้ันมัธยมศกึ ษา
โรงเรยี นบา้ นตาวร สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต ๓

รหัสวชิ า ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น หน่วยกติ
ท๒2๑๐๑ (ชม./ภาค)
ค๒2๑๐๑ รายวชิ า / กจิ กรรม ๑.๕
ว๒2๑๐๑ ๖๐ ๑.๕
ว๒2๑๐๒ * รายวชิ าพื้นฐาน ๖๐ ๑.๕
ส๒2๑๐๑ ๑. ภาษาไทย ๖๐ ๐.๕
ส๒2๑๐๒ ๒. คณติ ศาสตร์ ๒๐ ๑.0
พ๒2๑๐๑ ๓. วทิ ยาศาสตร์ 40 ๐.๕
พ22102 ๔. วิทยาการคำนวณ ๒๐ 0.5
ศ๒2๑๐๑ ๕. สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 20 0.5
ศ22102 ๖. ประวตั ศิ าสตร์ 20 0.5
ง๒2๑๐๑ ๗. สุขศกึ ษา 20 0.5
อ๒2๑๐๑ 8. พลศึกษา 20 ๐.๕
9. ทัศนศลิ ป์ 40 ๑.๕
ท๒2๒๐๑ 10. ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๖๐ ๑๑
ค๒2๒๐๑ 11. การงานอาชพี ๔2๐ 2.5
ง22201 ๑2. ภาษาองั กฤษ 100 ๐.๕
ส22201 รวมเวลาเรียน(พืน้ ฐาน) ๒๐ ๐.๕
2๐ 1.0
* รายวชิ าเพิม่ เติม 40 0.5
๑. ภาษาไทยเพ่ิมเตมิ 20
๒. คณิตศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ 60
3. คอมพิวเตอร์ 20
4. การป้องกนั การทุจริต 20
15
* กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน 5
๑. แนะแนว ๖๐๐
๒. ลกู เสือ – เนตรนารี
๓. ชุมนุม
๔. กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรียนทงั้ หมด

๑๗

โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษา
โรงเรยี นบา้ นตาวร สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต ๓

รหัสวิชา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรยี น หน่วยกติ
ท๒2๑๐2 (ชม./ภาค)
ค๒2๑๐2 รายวิชา / กจิ กรรม ๑.๕
ว๒2๑๐3 ๖๐ ๑.๕
ว๒2๑๐4 * รายวิชาพน้ื ฐาน ๖๐ ๑.๕
ส๒2๑๐3 ๑. ภาษาไทย ๖๐ ๐.๕
ส๒2๑๐4 ๒. คณติ ศาสตร์ ๒๐ ๑.0
พ๒2๑๐3 ๓. วทิ ยาศาสตร์ 40 ๐.๕
พ22104 ๔. วิทยาการคำนวณ ๒๐ 0.5
ศ๒2๑๐3 ๕. สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 20 0.5
ศ22104 ๖. ประวัติศาสตร์ 20 0.5
ง๒2๑๐2 ๗. สุขศกึ ษา 20 0.5
อ๒2๑๐2 8. พลศึกษา 20 ๐.๕
9. ทัศนศลิ ป์ 40 ๑.๕
ท๒2๒๐๒ 10. ดนตรี-นาฏศิลป์ ๖๐ ๑๑
ค๒2๒๐๒ 11. การงานอาชีพ ๔2๐ 2.5
ง๒2๒๐๒ ๑2. ภาษาองั กฤษ 100 ๐.๕
ส22202 รวมเวลาเรยี น(พ้นื ฐาน) ๒๐ ๐.๕
2๐ 1.0
* รายวชิ าเพิ่มเติม 40 0.5
๑. ภาษาไทยเพมิ่ เติม 20
๒. คณติ ศาสตร์เพมิ่ เติม 60
3. คอมพวิ เตอร์ 20
4. การปอ้ งกันการทุจรติ 20
15
* กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น 5
๑. แนะแนว ๖๐๐
๒. ลกู เสอื – เนตรนารี
๓. ชมุ นุม
๔. กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี นท้งั หมด

๑๘

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับช้ันมัธยมศึกษา
โรงเรยี นบา้ นตาวร สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต ๓

รหัสวชิ า ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น หน่วยกติ
ท๒3๑๐๑ (ชม./ภาค)
ค๒3๑๐๑ รายวชิ า / กิจกรรม ๑.๕
ว๒3๑๐๑ ๖๐ ๑.๕
ว๒3๑๐๒ * รายวิชาพนื้ ฐาน ๖๐ ๑.๕
ส๒3๑๐๑ ๑. ภาษาไทย ๖๐ ๐.๕
ส๒3๑๐๒ ๒. คณิตศาสตร์ ๒๐ ๑.0
พ๒3๑๐๑ ๓. วิทยาศาสตร์ 40 ๐.๕
พ23102 ๔. วิทยาการคำนวณ ๒๐ 0.5
ศ๒3๑๐๑ ๕. สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 20 0.5
ศ23102 ๖. ประวัตศิ าสตร์ 20 0.5
ง๒3๑๐๑ ๗. สุขศกึ ษา 20 0.5
อ๒3๑๐๑ 8. พลศึกษา 20 ๐.๕
9. ทัศนศิลป์ 40 ๑.๕
ท๒3๒๐๑ 10. ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๖๐ ๑๑
ค๒3๒๐๑ 11. การงานอาชีพ ๔2๐ 2.5
ง23201 ๑2. ภาษาองั กฤษ 100 ๐.๕
ส23201 รวมเวลาเรยี น(พืน้ ฐาน) ๒๐ ๐.๕
2๐ 1.0
* รายวชิ าเพิ่มเติม 40 0.5
๑. ภาษาไทยเพ่ิมเติม 20
๒. คณิตศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ 60
3. คอมพิวเตอร์ 20
4. การปอ้ งกนั การทุจรติ 20
15
* กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน 5
๑. แนะแนว ๖๐๐
๒. ลกู เสือ – เนตรนารี
๓. ชมุ นุม
๔. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรียนทั้งหมด

๑๙

โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา ระดับช้ันมธั ยมศึกษา
โรงเรยี นบา้ นตาวร สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต ๓

รหัสวิชา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี ๒ เวลาเรยี น หน่วยกติ
ท๒3๑๐2 (ชม./ภาค)
ค๒3๑๐2 รายวชิ า / กิจกรรม ๑.๕
ว๒3๑๐3 ๖๐ ๑.๕
ว๒3๑๐4 * รายวิชาพ้นื ฐาน ๖๐ ๑.๕
ส๒3๑๐3 ๑. ภาษาไทย ๖๐ ๐.๕
ส๒3๑๐4 ๒. คณิตศาสตร์ ๒๐ ๑.0
พ๒3๑๐3 ๓. วิทยาศาสตร์ 40 ๐.๕
พ23104 ๔. วทิ ยาการคำนวณ ๒๐ 0.5
ศ๒3๑๐3 ๕. สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 20 0.5
ศ23104 ๖. ประวัตศิ าสตร์ 20 0.5
ง๒3๑๐2 ๗. สุขศกึ ษา 20 0.5
อ๒3๑๐2 8. พลศกึ ษา 20 ๐.๕
9. ทศั นศลิ ป์ 40 ๑.๕
ท๒3๒๐๒ 10. ดนตรี-นาฏศิลป์ ๖๐ ๑๑
ค๒3๒๐๒ 11. การงานอาชพี ๔2๐ 2.5
ง๒3๒๐๒ ๑2. ภาษาองั กฤษ 100 ๐.๕
ส23202 รวมเวลาเรียน(พื้นฐาน) ๒๐ ๐.๕
2๐ 1.0
* รายวชิ าเพิ่มเติม 40 0.5
๑. ภาษาไทยเพมิ่ เตมิ 20
๒. คณติ ศาสตรเ์ พมิ่ เตมิ 60
3. คอมพวิ เตอร์ 20
4. การปอ้ งกนั การทุจริต 20
15
* กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 5
๑. แนะแนว ๖๐๐
๒. ลกู เสอื – เนตรนารี
๓. ชุมนุม
๔. กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี นท้งั หมด

๒๐

๒๑

โครงสรา้ งหลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑ – ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๓

รายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทย ๒๐๐ ชั่วโมง ๕ ชว่ั โมง/สปั ดาห์
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑
ภาษาไทย ๒๐๐ ชว่ั โมง ๕ ชั่วโมง/สัปดาห์
ท๑๑๑๐๑
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๒ ภาษาไทย ๒๐๐ ช่วั โมง ๕ ชั่วโมง/สปั ดาห์

ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ชั่วโมง ๔ ชว่ั โมง/สัปดาห์
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓
ภาษาไทย ๑๖๐ ชั่วโมง ๔ ชั่วโมง/สปั ดาห์
ท๑๓๑๐๑
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ภาษาไทย ๑๖๐ ชว่ั โมง ๔ ชว่ั โมง/สปั ดาห์

ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๖๐ ชว่ั โมง ๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห์
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ ภาษาไทย ๖๐ ชว่ั โมง ๓ ชั่วโมง/สปั ดาห์

ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๖๐ ชว่ั โมง ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ภาษาไทย ๖๐ ชว่ั โมง ๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห์

ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖๐ ชวั่ โมง ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาษาไทย ๖๐ ชวั่ โมง ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห์

ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทยเพมิ่ เติม ๒๐ ชว่ั โมง ๑ ชว่ั โมง/สปั ดาห์
ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทยเพิ่มเติม ๒๐ ชวั่ โมง ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒
ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทยเพิม่ เติม ๒๐ ชว่ั โมง ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห์
ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทยเพิ่มเติม ๒๐ ชวั่ โมง ๑ ชัว่ โมง/สปั ดาห์
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓
ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทยเพิ่มเติม ๒๐ ชว่ั โมง ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์
ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทยเพิ่มเติม ๒๐ ชว่ั โมง ๑ ช่ัวโมง/สัปดาห์
รายวชิ าเพม่ิ เติม
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑
ท๒๑๒๐๑
ท๒๑๒๐๒
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒
ท๒๒๒๐๑
ท๒๒๒๐๒
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓
ท๒๓๒๐๑
ท๒๓๒๐๒

๒๒

คำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

๒๓

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง

ฝึกอ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความสั้น ๆ บอกความหมายของคำและข้อความ ตอบคำถาม

เล่าเรื่องย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอ นำเสนอเรื่องที่อ่าน บอก

ความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์สำคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจำวัน มีมารยาท ในการอ่าน ฝึกคัด

ลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่าย ๆ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะใน

การฟัง ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆและปฏิบัติตาม ตอบคำถาม เล่าเรื่อง พูดแสดง ความคิดเห็นและความรู้สึก

จากเรื่องที่ฟังและดู พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์ เน้นมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ฝึกทักษะการ

เขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ เรียบเรียงคำเป็น

ประโยคง่าย ๆ ต่อคำคล้องจองง่าย ๆ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อย

กรองสำหรบั เด็ก ฝกึ ท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ

โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การพูดและการดู

การสื่อความ กระบวนการกลุ่ม การแสวงหาความรู้ การคิด การฝึกปฏิบตั ิ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบ

คำถาม การแสดงความคิดเห็น การสร้างความคิดรวบยอด รวมทั้งมีการประยุกต์ความรู้ ทักษะเจตคติและ

ค่านิยม ลงมือปฏบิ ตั จิ รงิ ในสถานการณ์ที่หลากหลายเพอื่ สรา้ งผลผลิต

เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สือ่ สารได้ถกู ต้อง รกั การเรยี นภาษาไทย เห็นคณุ ค่าของการ

อนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติและค่านิยม ไปประยุกต์ใช้ใน

การแกป้ ัญหา จัดการสง่ิ ต่าง ๆ ในชวี ติ ประจำวนั ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเป็นหลักคิดหลักปฏิบัติ

ในการเรยี นรู้

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั

ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘

ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓

ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕

ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔

ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒

รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ช้วี ดั

๒๔

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน

ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

ฝึกอ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ อธิบายความหมายของคำและ

ข้อความที่อ่าน ตั้งคำถาม ตอบคำถาม ระบุใจความสำคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและคาดคะเน

เหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย

และปฏิบัติตามคำสัง่ หรือข้อแนะนำ มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจง เต็มบรรทัด เขียนเรื่อง

สั้น ๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเรื่องสั้น ๆ ตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียนฝึกทักษะการฟัง ฟัง

คำแนะนำ คำส่ังที่ซับซอ้ นและปฏิบัติตาม เลา่ เร่อื ง บอกสาระสำคญั ของเร่ือง ต้ังคำถาม ตอบคำถาม พดู แสดง

ความคิดเห็น ความรู้สึก พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ฝึก

ทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ เรียบ

เรียงคำเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการสื่อสาร บอกลักษณะคำคล้องจอง เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน

และภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ฝึกจับใจความสำคัญจากเรื่อง ระบุข้อคิดทีไ่ ด้จากการอ่านหรือการฟัง

วรรณกรรมสำหรบั เด็ก เพื่อนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั รอ้ งบทร้องเล่นสำหรบั เด็กในท้องถิ่น ท่องจำบทอาขยาน

ตามทีก่ ำหนดและบทรอ้ ยกรองทีม่ คี ุณค่าตามความสนใจ

โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การพูดและการ ดู

การสื่อความ กระบวนการกลุ่ม การแสวงหาความรู้ การคิด การฝึกปฏบิ ตั ิ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบ

คำถาม การแสดงความคิดเห็น การสร้างความคิดรวบยอด รวมทั้งมีการประยุกต์ความรู้ ทักษะเจตคติและ

ค่านยิ ม ลงมือปฏิบตั ิจริงในสถานการณ์ท่หี ลากหลายเพื่อสรา้ งผลผลิต

เพอื่ ให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สือ่ สารได้ถกู ตอ้ ง รกั การเรียนภาษาไทย เหน็ คุณค่าของการ

อนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติและค่านิยม ไปประยุกต์ใช้ใน

การแกป้ ญั หา จัดการสงิ่ ต่าง ๆ ในชวี ิตประจำวนั ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ หลักคิดหลักปฏิบัติ

ในการเรียนรู้

มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ัด

ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘

ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔

ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗

ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕

ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓

รวม ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตัวช้ีวัด

๒๕

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน

ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง

ฝึกอ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ อธิบายความหมายของคำและ

ข้อความท่ีอ่าน ตัง้ คำถาม ตอบคำถามเชงิ เหตุผล ลำดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ ข้อคิดจาก

เรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่

อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ

แผนที่ และแผนภูมิ มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึก

ประจำวัน เขยี นเรือ่ งตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะการฟัง การดู และการพดู เลา่ และบอก

สาระสำคัญ ตง้ั คำถาม ตอบคำถาม แสดงความคดิ เห็น ความรสู้ กึ ส่อื สารได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ มมี ารยาทใน

การฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ ระบุชนิด

หน้าที่ของคำ ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคง่าย ๆ แต่งคำคล้องจองและคำขวัญ

เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ระบขุ ้อคดิ ท่ีได้จากการอ่านวรรณกรรมเพื่อ

นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก เพื่อปลูกฝังความชื่นชมวัฒนธรรมท้องถิ่น แสดง

ความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีที่อ่าน ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความ

สนใจ

โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การพูดและการดู

การสื่อความ กระบวนการกลุ่ม การแสวงหาความรู้ การคิด การฝึกปฏบิ ตั ิ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบ

คำถาม การแสดงความคิดเห็น การสร้างความคิดรวบยอด รวมทั้งมีการประยุกต์ความรู้ ทักษะ เจตคติและ

คา่ นยิ ม ลงมอื ปฏิบตั ิจรงิ ในสถานการณท์ ห่ี ลากหลายเพือ่ สรา้ งผลผลิต

เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สื่อสารไดถ้ ูกตอ้ ง รักการเรยี นภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ

อนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติและค่านิยม ไปประยุกต์ใช้ใน

การแก้ปัญหา จดั การส่งิ ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเป็นหลักคิดหลักปฏิบัติ

ในการเรียนรู้

มาตรฐาน/ตวั ช้วี ดั

ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙

ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖

ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖

ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖

ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตัวชี้วดั

๒๖

คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน

ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง

ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและสำนวนจาก

เรื่องที่อ่าน อ่านเร่ืองสั้น ๆ ตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น

จากเรื่องที่อ่าน คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรื่องทีอ่ ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรู้และข้อคดิ จากเรือ่ งที่

อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เลือกอ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความ

คดิ เหน็ เก่ียวกับเร่ืองที่อ่าน มมี ารยาทในการอ่าน ฝกึ คัดลายมือดว้ ยตวั บรรจงเต็มบรรทดั และคร่ึงบรรทัด เขียน

สื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนา

งานเขียน เขียนย่อความจากเรื่องสั้น ๆ เขียนจดหมายถงึ เพื่อนและมารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจาก

การศกึ ษาคน้ คว้า เขยี นเร่อื งตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝกึ ทกั ษะการฟงั การดแู ละการพดู จำแนก

ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นเรื่องที่ฟังและดู พูดสรุปจากการฟัง และดู พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและ

ความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู พูดรายงานเรื่อง

หรือประเด็นที่ศกึ ษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียน

ตามหลักการเขียน เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่าง ๆ ระบุชนิดและหน้าที่ของคำใน

ประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา แต่งบทร้อยกรองและ

คำขวัญ บอกความหมายของสำนวน เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้ ระบุข้อคิดจากนิทาน

พื้นบ้านหรือนิทานคติธรรมอธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริงร้องเพลงพื้นบ้านท่องจำบท

อาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/

กระบวนการอา่ น การเขยี น การฟัง การพูดและการดู การส่อื ความ กระบวนการกลมุ่ การแสวงหาความรู้ การ

คิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม การแสดงความคิดเห็น การสร้างความคิดรวบ

ยอด รวมทงั้ มีการประยุกต์ความรู้ ทักษะ เจตคตแิ ละค่านิยม ลงมือปฏบิ ัตจิ ริงในสถานการณท์ ี่หลากหลายเพื่อ

สร้างผลผลติ

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เหน็ คุณค่าของการ

อนุรกั ษภ์ าษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ความเขา้ ใจ ทักษะ เจตคติและคา่ นยิ มไปประยุกต์ใช้ในการ

แก้ปัญหา จัดการสิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักคิดหลักปฏิบัติใน

การเรียนรู้

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด

ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘

ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘

ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖

ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗

ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตวั ช้ีวดั

๒๗

คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน

ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง

ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและข้อความท่ี

เปน็ การบรรยายและการพรรณนา อธบิ ายความหมายโดยนยั แยกข้อเท็จจรงิ ขอ้ คดิ เหน็ วิเคราะห์ แสดงความ

คิดเห็น อา่ นงานเขียนเชิงอธิบาย คำส่งั ข้อแนะนำ และปฏิบตั ิตาม เลือกอา่ นหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจ

มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสาร เขียนแผนภาพ

โครงเรื่อง แผนภาพความคิด เขียนย่อความ เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดงความรู้สึกและ

ความคิดเห็น กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง

การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก ตั้งคำถาม ตอบคำถาม วิเคราะห์ความ พูด

รายงาน มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค จำแนกส่วนประกอบ

ของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น ใช้คำราชาศัพท์ บอกคำภาษาต่างประเทศใน

ภาษาไทย แต่งบทร้อยกรอง ใช้สำนวนได้ถูกต้อง สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน ระบุความรู้

ข้อคิดที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องจำบทอาขยานตามที่

กำหนดและบทร้อยกรองท่ีมคี ณุ คา่ ตามความสนใจ

โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การพูดและการดู

การสื่อความ กระบวนการกลุ่ม การแสวงหาความรู้ การคิด การฝึกปฏบิ ัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบ

คำถาม การแสดงความคิดเห็น การสร้างความคิดรวบยอด รวมทั้งมีการประยุกต์ความรู้ ทักษะ เจตคติและ

คา่ นิยม ลงมอื ปฏิบตั จิ รงิ ในสถานการณ์ทห่ี ลากหลายเพือ่ สรา้ งผลผลติ

เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ ส่อื สารไดถ้ ูกตอ้ ง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคณุ ค่าของการ

อนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติและค่านิยม ไปประยุกต์ใช้ใ น

การแก้ปัญหา จดั การส่งิ ตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจำวัน ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักคิดหลักปฏิบัติ

ในการเรียนรู้

มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด

ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘

ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙

ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕

ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗

ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตวั ชว้ี ัด

๒๘

คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน

ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย

ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง

ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและข้อความที่

เปน็ โวหาร อ่านเรอ่ื งส้นั ๆ อย่างหลากหลาย แยกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ีอา่ น วิเคราะห์และแสดง

ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต อ่านงานเขียน เชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ

และปฏบิ ตั ติ าม อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนท่ี แผนภูมิและกราฟ เลอื กอ่านหนังสือ

ตามความสนใจและอธบิ ายคณุ ค่าทไี่ ด้รับ มีมารยาทในการอา่ น ฝกึ คดั ลายมอื ด้วยตัวบรรจงเตม็ บรรทดั และคร่ึง

บรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้องชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด

เพ่ือใช้พัฒนางานเขียน เขยี นเรยี งความ เขียนยอ่ ความจากเร่ืองอา่ น เขยี นจดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการ

ต่าง ๆ เขียนเรอื่ งตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มมี ารยาทในการเขียน ฝกึ ทกั ษะการฟัง การดูและการพดู พูด

แสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟัง

และดู วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเร่ืองที่ฟังและดูสื่อโฆษณาอย่างมีเหตุผล พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นท่ี

ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนาพูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ มีมารยาทในการฟัง

การดูและการพูด ฝึกวิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล

รวบรวมและบอกความหมายของคำภาษาต่างประเทศท่ีใชใ้ นภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทร้อย

กรอง วิเคราะห์เปรียบเทียบสำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต ฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือ

วรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นบ้านท้องถิ่นตนเองและนิทานพื้นบ้านของท้องถิ่นอื่น อธิบายคุณค่าของ

วรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ ่านและนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ ทอ่ งจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อย

โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การพูดและการดู

การสื่อความ กระบวนการกลุ่ม การแสวงหาความรู้ การคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบ

คำถาม การแสดงความคิดเห็น การสร้างความคิดรวบยอด รวมทั้งมีการประยุกต์ความรู้ ทักษะ เจตคติและ

คา่ นิยม ลงมือปฏิบัติจริงในสถานการณท์ หี่ ลากหลายเพื่อสร้างผลผลติ

เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สอื่ สารได้ถกู ต้อง รกั การเรยี นภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ

อนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติและค่านิยม ไปประยุกต์ใช้ใน

การแก้ปญั หา จดั การสิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเป็นหลักคิดหลักปฏิบัติ

ในการเรยี นรู้

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั

ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙

ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙

ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖

ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖

ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตวั ช้ีวัด

๒๙

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน

รายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท๒๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๖๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง จับใจความสำคัญ ระบุเหตุผลและข้อคิดเท็จ
จริงกับความคิดเห็น อธิบายคำเปรียบเทียบ และคำที่มีหลายความหมาย ตีความคำยากในเอกสารวิชาการ

ข้อสังเกตและความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ โดยพิจารณาจากบริบทต่าง ๆ
จากเรือ่ งท่ีอ่านปฏิบัติตามคู่มอื แนะนำวธิ ีการใช้งานของเคร่ืองมือหรือเครื่องใช้ในระดับทย่ี ากขนึ้ วิเคราะห์คุณ
คา่ ทีไ่ ดร้ บั จากการอา่ นงานเขียนอยา่ งหลากหลาย เพือ่ นำไปแก้ปัญหาชีวิต มมี ารยาทในการอา่ น

คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคำที่ถูกต้อง ชัดเจน เหมาะสม และ
สละสลวย เขียนบรรยายประสบการณ์ โดยระบุสาระสำคัญและรายละเอียดสนับสนุน เขียนเรียงความ
เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากส่วนที่ได้รับ เขียนจดหมายส่วนตัว

และจดหมายกิจธรุ ะ เขยี นรายงานการศกึ ษาค้นควา้ และโครงงาน มมี ารยาทในการเขยี น
พูดสรุปใจความสำคัญของเรื่องที่ฟังและดู เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่ฟังและดู พูดแสดงความคิดเห็น

อย่างสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู ประเมินความน่าเชื่อถือของสื่อที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจ พูดรายงาน

เรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา มีมารยาทในการฟัง การดูและการพดู
และพดู สือ่ ความเก่ยี วกับประเทศในกลมุ่ อาเซยี น

อธิบายลักษณะของเสียงและสรา้ งคำในภาษาไทย วิเคราะห์ชนดิ และหน้าท่ีของคำในประโยค ความ

แตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขยี น แต่งบทร้อยกรอง จำแนกและใช้สำนวนทเี่ ปน็ คำพงั เพยและสภุ าษิต
สรุปเน้ือหา วิเคราะห์ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ น พร้อมยกเหตุผลประกอบ

สรุปความรู้และข้อคิด จากการอ่านเพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอ้ ย

กรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการทางภาษาไทย การอ่าน การเขียน การฟัง การดู และ
การพดู การสบื เสาะหาความรู้การสืบคน้ ข้อมูล บนั ทึก วิเคราะห์วิจารณแ์ ละการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้
ความคิด ความเข้าใจ ความรูสึก เห็นคุณค่าและนำความรู้ไปใช้ในชีวิตจริง มีคุณธรรม จริยธรรมและ

ค่านิยมที่เหมาะสม มีมารยาทในการใช้ภาษา การอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด เห็นคุณค่า
ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่าน รักความเปน็ ไทย นำข้อคดิ จากเร่ืองทีอ่ า่ นไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั

ท ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ท ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ท ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖

ท ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
ท ๕.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๕ ตวั ชวี้ ดั

๓๐

คาํ อธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน

รายวิชาภาษาไทย รหสั วิชา ท๒๑๑๐๒ กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย

ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๖๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง จับใจความสำคัญ ระบุเหตุผลและข้อคิดเท็จ
จริงกับความคิดเห็น อธิบายคำเปรียบเทียบ และคำที่มีหลายความหมาย ตีความคำยากในเอกสารวิชาการ

ข้อสังเกตและความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชักจูงโน้มนา้ วใจ โดยพิจารณาจากบริบทต่าง ๆ จาก
เร่ืองท่อี า่ นปฏบิ ัติตามคู่มือแนะนำวธิ ีการใช้งานของเครื่องมือหรือเครือ่ งใชใ้ นระดับทย่ี ากขนึ้ วเิ คราะห์คุณค่าที่
ได้รบั จากการอา่ นงานเขียนอย่างหลากหลาย เพือ่ นำไปแก้ปญั หาชีวิต มมี ารยาทในการอ่าน

คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคำที่ถูกต้อง ชัดเจน เหมาะสม และ
สละสลวย เขียนบรรยายประสบการณ์ โดยระบุสาระสำคัญและรายละเอียดสนับสนุน เขียนเรียงความ
เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากส่วนที่ได้รับ เขียนจดหมายส่วนตัว

และจดหมายกจิ ธุระ เขยี นรายงานการศึกษาค้นควา้ และโครงงาน มมี ารยาทในการเขยี น
พูดสรุปใจความสำคัญของเรื่องที่ฟังและดู เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่ฟังและดู พูดแสดงความคิดเห็น

อย่างสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู ประเมินความน่าเชื่อถือของสื่อที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจ พูดรายงาน

เรื่องหรือประเด็นทีศ่ ึกษาค้นควา้ จากการฟัง การดู และการสนทนา มีมารยาทในการฟัง การดูและการพดู
และพูดสือ่ ความเกี่ยวกับประเทศในกลมุ่ อาเซียน

อธบิ ายลักษณะของเสียงและสร้างคำในภาษาไทย วิเคราะห์ชนิดและหน้าทีข่ องคำในประโยค ความ

แตกตา่ งของภาษาพดู และภาษาเขยี น แตง่ บทร้อยกรอง จำแนกและใชส้ ำนวนทเ่ี ปน็ คำพังเพยและสุภาษติ
สรุปเนื้อหา วิเคราะห์ อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ น พร้อมยกเหตุผลประกอบ

สรุปความรู้และข้อคิด จากการอ่านเพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอ้ ย

กรองที่มคี ุณคา่ ตามความสนใจ
โดยใช้กระบวนการทางภาษาไทย การอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด การสืบเสาะหา

ความรู้การสืบคน้ ข้อมูล บันทึก วิเคราะหว์ ิจารณแ์ ละการอภิปราย

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ความรูสึก เห็นคุณค่าและนำความรู้ไปใช้ในชีวิตจริง มี
คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม มีมารยาทในการใช้ภาษา การอ่าน การเขียน การฟัง การดู
และการพูด เห็นคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน รักความเป็นไทย นำข้อคิดจากเรื่องที่อ่านไป

ประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวัน
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙

ท ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ท ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
ท ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖

ท ๕.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕,
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๕ ตัวช้ีวัด

๓๑

คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ

รายวิชาภาษาไทยเพิ่มเตมิ รหสั วิชา ท๒๑๒๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ

การอ่านในใจและการออกเสียงทั้งร้อยแก้ว ร้อยกรอง อ่านหนังสือนอกเวลาหรืองานเขียนต่าง ๆ ทั้ง
บันเทิงและสาระคดีและเรื่องราวต่างๆ ในประเทศอาเซียน การอ่านจับใจความ การตีความ การแสดงความ

คิดเห็น การอ่านประเมินค่าการอ่านเพื่อวิเคราะห์ ผลงานต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลทั้งด้านเนื้อหาและสังคมและ
การท่องจำบทประพันธ์ที่มีคุณค่า เพื่อสร้างความรู้ความคิด ไปใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต
และมีนสิ ยั รักการอ่านและผอู้ ่านควรมีวจิ ารณญาณในการอ่านและการจับใจความ

ผลการเรยี นรู้
๑. รูห้ ลักการอา่ นและอ่านได้อย่างคล่องแคล่ว ทัง้ การอ่านในใจและการอา่ นออกเสียง
๒. สามารถอา่ นคำประพันธ์งา่ ยๆ เป็นทำนองเสนาะได้ถูกต้องท้ังวรรคตอนและนำ้ เสียง

๓. สามารถจบั ใจความสำคัญจากเร่อื งทก่ี ำหนดใหไ้ ด้
๔. บอกข้อแนะนำในการอ่านได้
๕. เลอื กอา่ นหนังสือท่ีดีและมีประโยชน์ได้

๖. มีความรูค้ วามเข้าใจในการวิเคราะหข์ า่ วและบทความได้
รวมทั้งหมด ๖ ผลการเรียนรู้

๓๒

คาํ อธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ

รายวชิ าภาษาไทยเพ่ิมเตมิ รหสั วิชา ท๒๑๒๐๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ

ฝึกการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ร้อยกรอง การอ่านในใจ เพื่อจับใจความสำคัญ ระบุเหตุผล
ขอ้ เทจ็ จรงิ กับข้อคดิ เห็นจากเร่ืองท่ีอา่ น ปฏบิ ตั ติ ามคู่มือแนะนำวธิ ีการใช้งานของเครื่องมือเคร่ืองใช้ในระดับที่

ยากขึ้น ฝึกคดั ลายมอื ตัวบรรจง เขียนสอ่ื สารไดถ้ ูกตอ้ ง ชดั เจน สละสลวย
โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการเรียนภาษา เพื่อให้เกิดทักษะการอ่าน

การเขียนภาษาไทยและใช้ภาษาสือ่ สารได้อย่างมีประสิทธภิ าพ มีมารยาทในการเขียน เป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียนเปน็

ผ้รู รู้ กั ษว์ ฒั นธรรมไทย
ผลการเรยี นรู้
๑. อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกบั เร่ืองท่ีอา่ น

๒. จับใจความสำคญั จากเร่อื งท่ีอ่าน
๓. ระบุเหตผุ ลและข้อเทจ็ จรงิ กบั ขอ้ คิดเห็นจากเรื่องที่อา่ น
๔. ปฏบิ ตั ิตามคมู่ ือแนะนำวิธกี ารใชง้ านของเครอ่ื งมือหรือเคร่อื งใช้ในระดบั ทีย่ ากข้นึ

๕. คัดลายมอื ตัวบรรจงคร่ึงหน้า
๖. เขียนส่ือสารโดยใชถ้ ้อยคำถูกต้อง เขยี นสะกดคำถูกต้อง เขียนประโยคสื่อสารถูกต้อง ชดั เจน สละสลวย
๗. มมี ารยาทในการอ่านเขยี น

รวมท้ังหมด ๗ ผลการเรียนรู้

๓๓

คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน

รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท๒๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๖๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยาย บทพรรณนา บทร้อยกรอง เช่น กลอนบทละคร กลอนนิทาน
กลอนเพลงยาว และกาพยห์ อ่ โคลง อา่ นจบั ใจความจากสื่อต่าง ๆ เช่น วรรณคดี บทความ บนั ทึกเหตุการณ์ บทสนทนา

บทโฆษณา งานเขยี นโนม้ น้าวใจ บทความ เร่อื งราวจากบทเรียน การอา่ นตามความสนใจ มมี ารยาทในการอา่ น
คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนบรรยาย และพรรณนา เขียน

เรียงความเกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนย่อความจากสื่อต่าง ๆ เช่น นิทาน คำสอนบทความทางวิชาการ บันทึก

เหตุการณ์ เรื่องราวในบทเรียน นิทานชาดก การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้าและรายงานโครงงาน การเขียน
จดหมายกิจธุระ ได้แก่ จดหมายเชิญวิทยากรและจดหมายขอความอนุเคราะห์ เขียนวิเคราะห์วิจารณ์จากสื่อต่าง ๆ
เชน่ บทความ บทเพลง หนงั สอื อา่ นนอกเวลา สารคดีและบันเทงิ คดี มีมารยาทในการเขียน

พูดสรุปความจากเรือ่ งทีฟ่ งั และดู พูดวเิ คราะห์ พดู ในโอกาสต่าง ๆ เชน่ อวยพร โนม้ น้าว โฆษณา พดู
รายงานการศกึ ษาค้นควา้ มีมารยาทในการฟงั การดู และการพดู

การสร้างคำสมาส ลักษณะของประโยคในภาษาไทย ประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซ้อน

แตง่ กลอนสภุ าพ คำราชาศพั ท์ คำท่ีมาจากภาษาตา่ งประเทศ
วรรณคดีและวรรณกรรมเกยี่ วกับศาสนา ประเพณี พธิ กี รรม สภุ าษิต คำสอน เหตกุ ารณ์

ประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี และบันทึกการเดินทาง การวิเคราะห์คุณค่าและข้อคิดจากวรรณกรรม วรรณคดี

และวรรณกรรมท้องถิน่ บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทม่ี ีคุณคา่ ตามท่กี ำหนดและตามความสนใจ
โดยการใช้ทักษะกระบวนการอ่าน กระบวนการ ทักษะกระบวนการคิด การรวบรวมและนำเสนอ

ข้อมูลและงาน การใช้ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์

เพื่อพัฒนาส่งเสริมทักษะทางภาษาอย่างเต็มตามศักยภาพ สามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้ เห็นคุณค่าของ
วรรณคดี นำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ มีทกั ษะชีวิต อนรุ ักษภ์ าษาไทยอนั เปน็ เอกลกั ษณ์ของชาติ มีความซาบซึ้ง
และมสี ุนทรียภาพทางภาษา

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘

ท ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕
ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๒ ตวั ช้วี ัด

๓๔

คําอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน

รายวิชาภาษาไทย รหสั วิชา ท๒๒๑๐๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต

ฝึกทักษะการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง จับใจความสำคัญ สรุปความ
และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความเข้าใจในบทเรียนต่าง ๆ ที่อ่าน

วิเคราะห์และจำแนกข้อเท็จจริง ข้อมูลสนับสนุนและข้อคดิ เห็นจากบทความทีอ่ ่าน อ่านหนังสือบทความหรือ
คำประพันธ์อย่างหลากหลาย และประเมินคุณค่าหรือแนวคิดที่ได้จาก การอ่านเพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต
ฝึกคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนย่อความ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า เขียนจดหมายกิจธุระ ฝึก

วิเคราะหข์ ้อเท็จจริง ขอ้ คดิ เห็นและความน่าเช่ือถือของข่าวสารจากส่ือต่าง ๆ วิเคราะห์วิจารณ์เรื่องท่ีฟังและดู
อย่างมีเหตุผลเพ่ือนำข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า จาก
การฟัง การดูและการสนทนา ศึกษาการสร้างคำในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยค

ความรวมและประโยคความซ้อน แต่งบทร้อยกรอง รวบรวมและอธบิ ายความหมายของคำภาษาต่างประเทศท่ี
ใช้ในภาษาไทย สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านในระดับที่ยากขึ้น วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี
วรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน สรุป

ความรู้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตจริง ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองท่มี ี
คุณค่า ตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด

กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการ
เรียนรู้ความเข้าใจ เพื่อให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การพูด และการดู มี
ความสามารถในการสื่อสาร ในการคดิ การใช้ทักษะชีวิต ในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ผ้ใู ฝร่ ูใ้ ฝ่เรียน มุง่ มัน่ ในการ

ทำงาน รกั ความเปน็ ไทย มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมท่เี หมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๕, ม.๒/๗, ม.๒/๘

ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗
ท ๓.๑ ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๕
ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๕

ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ช้ีวดั

๓๕

คาํ อธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม

รายวชิ าภาษาไทยเพ่ิมเตมิ รหสั วชิ า ท๒๒๒๐๑ กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษาหลักการเขียนเรื่องสั้น ความหมายของเรื่องสั้น วิธีการเขียนเรื่องสั้น ลักษณะของเรื่องส้ัน
องค์ประกอบของเรื่อสั้น ด้านโครงเรื่อง ตัวละคร แก่นของเรื่อง ฉากและสถานที่ กลวิธีในการเล่าเรื่องหรือ

มมุ มอง ลลี าการเขียน ประเมินคุณค่าของเรื่องสัน้ ในดา้ นการใชภ้ าษา แนวคิดของเร่ือง ความบันเทงิ ใจ
เพือ่ ให้มีทักษะในการเขียน ควรใชค้ ำในภาษาไทยโดยการเลือกคำมาใช้ให้เหมาะสมและถูกต้อง ใช้คำ

ให้ตรงความหมาย ผู้เขียนต้องรู้ความหมายของคำที่ถูกต้อง ใช้คำให้ตรงกับชนิดของคำ เช่น คำนาม คำสรรพ

นาม คำกรยิ า คำบพุ บท คำสนั ธาน เขียนสะกดคำให้ถูกต้องชัดเจน หลกี เลีย่ งการใช้คำศัพทแ์ สลง หรือคำท่ีมา
จากภาษาต่างประเทศ และสมกับระดับภาษา รู้จักใช้โวหาร และสำนวนในการเขียนให้ถูกต้อง ใช้ถ้อยคำท่ี
สละสลวยสามารถถา่ ยทอดความรูส้ กึ ความรู้ หรือจิตนาการเพอ่ื ให้งานเขยี นมีความสมบรู ณแ์ ละถูกต้องยงิ่ ข้ึน

ผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวัง
๑. มีนิสยั รักการเขียนเขยี นเชงิ สร้างสรรคแ์ ละมีมารยาทในการเขียน
๒. อธบิ ายความหมายของเรอ่ื งส้ันและบอกองคป์ ระกอบของเร่อื งสนั้ ได้

๓. เลอื กภาษาในการเขียนได้เหมาะสมและถูกต้อง
๔. รู้จกั จติ นาการสรา้ งสรรค์คำพูดเปน็ เรอ่ื งส้ันได้
๕. รู้จกั แสดงความรู้ ความคดิ ความร้สู กึ อยา่ งขว้างขวางมาผกู เปน็ เร่อื งสั้นได้

๖. เหน็ คณุ ค่าประเมินค่าเปน็ เรื่องส้ันได้
๗. มที กั ษะในการเขียนสามารถนำมาใช้ประโยชนใ์ นการดำเนนิ ชวี ิตได้
รวมทั้งหมด ๗ ผลการเรยี นรู้

๓๖

คําอธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม

รายวิชาการอา่ นบทประพันธ์ รหัสวิชา ท ๒๒๒๐๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษาหลักการอ่าน และลักษณะคำประพันธ์ ประเภทกลอนสุภาพ โคลงสี่สุภาพ กาพย์ยานี ๑๑ ฝึก
และเรยี นร้วู ธิ กี ารอ่านอหลกั การอา่ นให้ถูกต้อง ตามหลกั ฉนั ทลกั ษณท์ ่ีบงั คบั การใช้ถอ้ ยคำการใช้นำเสียงในการ

ทอดเสียงให้เกิดความไพเราะ การถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึก การอ่านคำควบกล้ำให้ถูกต้องชัดเจน เว้นวรรค์
ในการอ่านให้ถูกต้องตามหลักคำประพันธ์รู้จกั ทอดเสยี งหนกั เบา ค่อย ให้พอเหมาะกับเนื้อหา มีการทอดเสียง
ผ่านจงั หวะใหช้ ้าลง เมอ่ื บทรอ้ ยกรองใกล้จะจบเพอื่ เพิม่ อรรถรสและความไพเราะยิง่ ข้นึ

เพ่อื ให้มที ักษะในการอ่าน มนี สิ ัยรักการอ่าน มีความสามารถอ่านได้คล่องอ่านได้ถูกต้องตามหลักฉันท
ลักษณ์บังคับสื่ออาราม์ความรู้สึกเห็นคุณค่าด้านวรรณศิลป์ รู้จักคิด วิเคราะห์เนื้อหาสื่อความหมายของคำ
ประพันธไ์ ดถ้ ูกต้อง

เป็นการอนุรักษ์และสืบทอดภาษาไทยในด้านคำประพันธ์เพื่อเป็นมรดกวัฒนธรรมของชาติไทย เห็น
คณุ ค่าดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และวฒั นธรรมท้องถน่ิ และสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน

ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวงั

๑. มนี สิ ัยรกั การอ่านคำประพนั ธ์และมีมารยาทในการอ่าน
๒. อธิบายลกั ษณะคำประพนั ธ์และหลักการอ่าน กาพย์ กลอน โคลงได้
๓. สามารถอา่ นไดค้ ล่องและถกู ต้องตามหลกั ฉนั ทลกั ษณ์บงั คับ

๔. อ่านไดถ้ ูกต้องตามอักขรวิธี ( ร ล ว ควบกล้ำเสียงวรรณยุกต์)
๕. สามารถใชน้ ้ำเสียงได้ไพเราะและสอื่ อารมณ์ไดเ้ หมาะสม
๖. เหน็ คณุ ค่าด้านวรรณศลิ ป์ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม วฒั นธรรมทอ้ งถนิ่

๗. สามารถนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้
รวมท้ังหมด ๗ ผลการเรียนรู้

๓๗

คาํ อธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน

รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๓๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว บทความทั่วไป บทความปกิณกะ บทร้อยกรอง เช่น กลอนบทละคร

กลอนเสภา กาพย์ยานี ๑๑ กาพยฉ์ บัง ๑๖ และโคลงสี่สุภาพ อ่านจับใจความจากสือ่ ต่าง ๆ เช่น วรรณคดี

ในบทเรียน ข่าวและเหตุการณ์สำคัญ บทความ บันเทิงคดี สารคดี สารคดีเชิงประวัติ ตำนาน งานเขียน

เชงิ สร้างสรรค์ เรอ่ื งราวจากบทเรียน การอา่ นตามความสนใจ เชน่ หนงั สืออ่านนอกเวลา หนังสืออ่านตาม

ความสนใจ หนังสืออ่านท่คี รูและนกั เรยี นรว่ มกันกำหนดมารยาทในการอ่าน

คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนข้อความตาม

สถานการณ์และโอกาสต่าง ๆ เช่น คำอวยพร คำขวัญ คำคม โฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ การเขียน

อตั ชีวประวตั ิหรอื ชวี ประวตั ิ เขียนยอ่ ความจากส่ือต่าง ๆ เช่น นิทาน ประวตั ิ ตำนาน สารคดี ทางวิชาการ

พระราชดำรัส พระบรมราโชวาท จดหมายราชการ การเขียนจดหมายกิจธุระ เพื่อเชิญวิทยากร ขอความ

อนุเคราะห์และแสดงความขอบคุณ การเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็นและโต้แย้งในเรื่องต่าง ๆ

การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความรู้ความคิดเห็นจากสื่อต่าง ๆ เช่นบทโฆษณา บทความทางวิชาการ

การกรอกแบบสมัครงาน การเขียนรายงานจากการศกึ ษาคน้ คว้าและรายงานโครงงาน มารยาทในการเขียน

พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ พูดรายงานการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ ภูมิปัญญาท้องถิ่น

พดู โอกาสตา่ ง ๆ เชน่ การพดู โตว้ าที อภิปราย ยอวาที โนม้ นา้ ว มารยาทในการฟงั การดู และการพดู

คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ ประโยคซับซ้อน ระดับภาษา คำทับศัพท์ คำศัพท์บัญญัติ คำศัพท์

ทางวิชาการ และวชิ าชพี โคลงสส่ี ภุ าพ

วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นเกี่ยวกับ ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิตคำ

สอน เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี การวิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรม

บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองท่ีมีคณุ คา่ ทง้ั บทอาขยานตามท่ีกำหนดและตามความสนใจ

โดยการศึกษา ค้นคว้า ใชท้ กั ษะกระบวนการอา่ น การะบวนการเขียน ทักษะกระบวนการคดิ เพ่ือ

พฒั นาส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะทางภาษาอย่างเตม็ ตามศักยภาพ สามารถใชท้ กั ษะการส่ือสารได้เป็นอย่างดี

เห็นคุณค่าของวรรณคดีไทย มีความซาบซึ้งและมีสุนทรียภาพ อนุรักษ์ภาษาไทยไว้เป็นเอกลักษณ์ของชา ติ

นำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีทกั ษะชวี ติ และจิตสาธารณะ

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั

ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐

ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐

ท ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖

ท ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖

ท ๕.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๖ ตัวชว้ี ัด

๓๘

คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน

รายวิชาภาษาไทย รหสั วิชา ท๒๓๑๐๒ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๖๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ

ฝึกการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองประเภทต่างๆ ได้ถูกต้องและเหมาะสมกับเรื่องที่
อ่าน อ่านเรื่องจากวรรณคดีในบทเรียน ข่าวและเหตุการณ์สำคัญ บทความ สารคดี สารคดีเชิงประวัติ

ตำนาน งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการ
เรียนรอู้ ่นื และระบคุ วามแตกต่างของคำที่มคี วามหมายโดยตรงและความหมายโดยนยั ประเมนิ ความถูกต้อง
ของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนในเรื่องที่อ่าน วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลำดับความเป็นไปได้ของเรื่อง และ

วิเคราะห์เพื่อแสดงความคิดเห็นโต้แยง้ ฝึกการเขยี นข้อความตามสถานการณ์และโอกาสต่าง ๆ โดยใช้ถ้อยคำ
ได้ถูกต้องตามระดับภาษา การเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโต้แย้งอย่างมีเหตุผล การเขียน
วิเคราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรือโตแ้ ยง้ การกรอกแบบสมคั รงานพร้อมเขียนบรรยาย

เกี่ยวกับความรู้และทักษะที่เหมาะสมกับงาน ฝึกการฟัง การดู การพูด ในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตาม
วตั ถปุ ระสงค์ การพูดโนม้ น้าวโดยนำเสนอหลักฐานตามลำดบั เน้ือหาอยา่ งมเี หตุผลนา่ เชือ่ ถือ ศกึ ษาเก่ยี วกับการ
วเิ คราะห์ระดับภาษา การใชค้ ำทับศัพท์ ศพั ทบ์ ญั ญัติ และคำศัพท์ทางวชิ าการและวชิ าชีพ การแต่งบทร้อย

กรองประเภทโคลงสส่ี ุภาพเก่ียวกับท้องถ่ินสมุทรปราการ อ่านวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่น
เกี่ยวกับศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิตคำสอน เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี แล้ววิเคราะห์
วิถีไทยและคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรม สรปุ เนือ้ หา ความรู้ ข้อคิด จากเรอ่ื งที่อา่ นเพ่ือนำไปประยุกต์ใช้

ในชีวิตจริง ตลอดจนท่องจำและบอกคุณค่าของบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตาม
ความสนใจและนำไปใชอ้ ้างอิง

โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด

กระบวนการปฏิบัติกระบวนการกลุ่ม กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการเรียนรู้ของตนเอง
เพื่อให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด มีความสามารถในการสื่อสาร
การคิด การใช้ทักษะชีวิต การใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย

มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมทเ่ี หมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ท ๑.๑ ม.๓/๒, ม.๓/๒, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๑๐

ท ๒.๑ ม.๓/๒, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๑๐
ท ๓.๑ ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๔.๑ ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖

ท ๕.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตัวชี้วัด

๓๙

คําอธิบายรายวิชาเพ่ิมเตมิ

รายวชิ าภาษาไทยเพิ่มเติม รหสั วชิ า ท๒๓๒๐๑ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย

ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ

การอ่านออกเสียงร้อยแก้วบทความ ปกิณกะ การอ่านบทร้อยกรอง กลอนบทละคร กลอนสุภาพ กลอนเสภา
กาพยย์ านี ๑๑ กาพยฉ์ บัง ๑๖ และโคลงสส่ี ภุ าพการอ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ วรรณคดี ขา่ วและเหตุการณ์สำคัญ

บทความบันเทิงคดี สารคดี สารคดีเชิงประวัติ ตำนาน งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ การอ่านในใจ การอ่านเพื่อวิเคราะห์
การอ่านเพื่อประเมินค่า การอ่านเพื่อวิจารณ์ การอ่านเพื่อตีความ การอ่านตามความสนใจ การอ่านหนังสือนอกเวลา
เพื่อสร้างความรู้ และแนวคิดที่หลากหลาย เพื่อนำไปใช้ในการตัดตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต มีนิสัยรักการ

อา่ น ผ้อู ่านควรมีวจิ ารณญาณในการอ่านและมีมารยาทในการอ่าน
ผลการเรยี นรู้
๑. รู้หลกั การอา่ นและอ่านไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง

๒. สามารถอา่ นคำประพันธไ์ ดถ้ กู ต้อง
๓. สามารถจับใจความสำคัญจากเรื่องท่ีกำหนดใหอ้ ่านได้
๔. เลือกอา่ นหนงั สือท่ีดแี ละมปี ระโยชน์ได้

๕. มีความร้คู วามเข้าใจในการวิเคราะห์ขา่ วและบทความได้
๖. ตคี วามและประเมนิ คุณค่าจากเรือ่ งท่ีอ่านได้
๗. ตระหนกั ถงึ คณุ ค่าของการอ่านและมีมารยาทในการอา่ น

๘. สามารถนำความรใู้ นการอา่ นไปใชใ้ นการสือ่ สารในชวี ิตประจำวันได้
รวมท้ังหมด ๘ ผลการเรียนรู้

๔๐

คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

รายวชิ าภาษาไทยเพิ่มเตมิ รหัสวชิ า ท๒๓๒๐๒ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย

ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

ฝึกการเขียนในรูปแบบต่าง ๆ แต่งคำประพันธ์ประเภทกาพย์และกลอน เขียนข้อความตาม
สถานการณ์ในโอกาสต่าง ๆ เขียนคำอวยพร คำขวัญคำคมโฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ ชีวประวัติ ย่อความ

นิทาน ตำนาน สารคดี พระราชดำรัส พระบรมราโชวาท การเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง
เขียนบทความต่าง ๆ เพื่อให้สามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้อยา่ งถูกต้องมีมารยาทในการเขียนมีนิสัยรักการ
เขียน และนำความรู้ที่ได้ใช้ในการตัดสนิ ใจแกป้ ญั หาในการดำเนนิ ชีวิตประจำวัน

ผลการเรียนรู้
๑. บอกรปู แบบของงานเขียนประเภทต่าง ๆ ได้
๒. สามารถเขยี นขอ้ ความตามสถานการณใ์ นโอกาสตา่ ง ๆ ได้

๓. สามารถแตง่ คำประพันธ์ประเภทกาพย์และกลอนไดถ้ ูกต้อง
๔. สามารถอธบิ ายความและแสดงความคิดเหน็ และโตแ้ ยง้ ได้
๕. สามารถยอ่ และสรปุ ความจากเรือ่ งที่อา่ นได้

๖. มีทกั ษะในการเขยี นอย่างสรา้ งสรรค์
๗. สามารถนำความรู้ท่ีไดไ้ ปใช้ในการสอื่ สารและในชวี ิตประจำวนั
๘. ตระหนกั ในคุณค่าของการเขยี นและมีมารยาทในการเขียน

รวมทง้ั หมด ๘ ผลการเรยี นรู้

๔๑

๔๒

โครงสรา้ งหลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ - มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓

รายวชิ าพ้ืนฐาน คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ช่วั โมง ๕ ชว่ั โมง/สัปดาห์

ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ชั่วโมง ๕ ช่วั โมง/สปั ดาห์
ค ๑๑๑๐๑
คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ชั่วโมง ๕ ชั่วโมง/สปั ดาห์
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๒
ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐ ชว่ั โมง ๔ ชั่วโมง/สัปดาห์

ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๓ คณิตศาสตร์ ๑๖๐ ชั่วโมง ๔ ช่ัวโมง/สปั ดาห์
ค ๑๓๑๐๑
คณิตศาสตร์ ๑๖๐ ชั่วโมง ๔ ชั่วโมง/สปั ดาห์
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔
ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์พนื้ ฐาน 60 ชั่วโมง 3 ช่วั โมง/สัปดาห์
คณติ ศาสตร์พื้นฐาน 60 ชั่วโมง 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์พน้ื ฐาน 60 ชั่วโมง 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์
คณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน 60 ช่วั โมง 3 ชัว่ โมง/สัปดาห์
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๖
ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน 60 ชว่ั โมง 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์
คณิตศาสตร์พน้ื ฐาน 60 ชว่ั โมง 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1
ค 21101
ค 21102

ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2
ค 22101
ค 22102

ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3
ค 23101
ค 23102

รายวชิ าเพ่มิ เตมิ คณติ ศาสตร์เพิม่ เติม 20 ชั่วโมง 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์
คณติ ศาสตรเ์ พิม่ เติม 20 ชว่ั โมง 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1
ค 21201 คณติ ศาสตรเ์ พิ่มเติม 20 ชว่ั โมง 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์
ค 21102 คณิตศาสตร์เพมิ่ เติม 20 ชว่ั โมง 1 ชัว่ โมง/สปั ดาห์

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 คณิตศาสตรเ์ พิม่ เติม 20 ชว่ั โมง 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ค 22201 คณิตศาสตรเ์ พมิ่ เติม 20 ชว่ั โมง 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ค 22102

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
ค 23201
ค 23102

๔๓

คำอธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑ - มธั ยมศึกษาปีที่ ๓

๔๔

อธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

ศึกษา การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ

๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ การแสดง จำนวนไม่เกิน ๒๐ ในรูปความสัมพันธ์ของจำนวนแบบส่วนย่อย-ส่วนรวม การ

บอกอนั ดบั ที่ หลกั ค่าประจำหลักและคา่ ของเลขโดด ในแตล่ ะหลกั การเขียนตวั เลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย

การเปรียบเทียบจำนวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ โดยใช้เครื่องหมาย = ≠ > < การเรียงลำดับจำนวนนับ ๑ ถึง

๑๐๐ และ ๐ ตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จำนวน ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การหาผลบวก การหา

ผลลบ การหาตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ โจทย์ปัญหาการบวก โจทย์ปัญหาการลบ การสร้างโจทย์

ปญั หา รูปเรขาคณิตสองมิติ และรปู เรขาคณติ สามมิติ แบบรูปของจำนวนที่เพมิ่ ขึ้นหรือลดลงทลี ะ ๑ ทีละ ๑๐

แบบรูปซ้ำของจำนวน รูปเรขาคณิตและรปู อื่น ๆ การวัดความยาวโดยใช้หน่วยที่ไม่ใชห่ น่วยมาตรฐาน การวัด

และเปรียบเทยี บความยาวเป็นเซนติเมตรและเมตร โจทยป์ ญั หาเกยี่ วกับความยาวทีม่ หี นว่ ยเปน็ เซนตเิ มตรและ

เมตร การวดั นำ้ หนักโดยใช้หนว่ ยที่ไม่ใช่หนว่ ยมาตรฐาน การวดั และเปรียบเทียบน้ำหนัก โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ

นำ้ หนกั ท่มี ีหนว่ ยเปน็ กโิ ลกรมั เป็นขีด การอ่านแผนภมู ริ ปู ภาพ

โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียน ใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/

กระบวนการคณติ ศาสตร์ กระบวนการคดิ คำนวณ การคดิ เชงิ เหตผุ ล กระบวนการกลมุ่ กระบวนการแกป้ ัญหา

การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน การสร้าง

ความคิดรวบยอด รวมทั้งมีการประยุกต์ความรู้ ทักษะเจตคติและค่านิยม ลงมือปฏิบัติจริงในสถานการณ์ที่

หลากหลายเพ่อื สร้างเป็นผลผลติ

เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ

รอบคอบ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณ มีความคิดริเร่มิ สรา้ งสรรค์และมีความเชื่อมนั่ ในตนเอง สามารถนำ

ความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติและค่านิยม ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ แก้ปัญหา จัดการสิ่งต่าง ๆ

ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักคิดหลักปฏิบัติในการ

เรยี นรู้

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด

ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕

ค ๑.๒ ป.๑/๑

ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒

ค ๒.๒ ป.๑/๑

ค ๓.๑ ป.๑/๑

รวมท้ังหมด ๑๐ ตัวช้วี ัด

๔๕

คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน

ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง

ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกแก้ปัญหา จำนวนนับ ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและแสดง

จำนวนสิง่ ต่าง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อ่านและเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับทห่ี ลัก คา่ ของ

เลขโดดในแต่ละหลัก และเขียนแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ โดย

ใชเ้ คร่อื งหมาย = ≠ > < เรยี งลำดบั จำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จำนวน และหาค่าของ

ตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสัญลกั ษณแ์ สดงการบวก การลบ การแก้โจทยป์ ัญหาการบวกการลบของจำนวนนับไม่

เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลกั ษณ์ แสดงการคูณของจำนวน ๑ หลักกับจำนวน

ไม่เกิน ๒ หลัก และประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารท่ีตัวตัง้ ไม่เกิน ๒ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก โดยที่ผลหารมี ๑

หลัก ทั้งหารลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ

๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ข้นั ตอนของจำนวนนับไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของ

โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาที่มีหน่วยเดี่ยวและเป็นหน่วยเดียว วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและ

เซนตเิ มตร พรอ้ มทั้งแสดงวธิ ีการหาคำตอบของโจทย์ปญั หาการบวก การลบความยาว ทมี่ หี น่วยเป็นเมตรและ

เซนติเมตร วัดและเปรยี บเทียบนำ้ หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด พร้อมทั้งแสดงวธิ ีการหาคำตอบ

ของโจทย์ปัญหาการบวกการลบเกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด วัดและ

เปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็นลิตร จำแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยมและวงกลม ใช้ข้อมูล

จากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเมื่อกำหนดรูป ๑ รูปแทน ๒ หน่วย ๕ หน่วยหรือ ๑๐

หนว่ ย

โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียน ใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/

กระบวนการคณติ ศาสตร์ กระบวนการคิดคำนวณ การคิด เชงิ เหตผุ ล กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้ปัญหา

การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน การสร้าง

ความคิดรวบยอด รวมทั้งมีการประยุกต์ความรู้ ทักษะเจตคติและค่านิยม ลงมือปฏิบัติจริงในสถานการณ์ท่ี

หลากหลายเพ่อื สร้างเป็นผลผลติ

เพอื่ ให้เห็นคุณค่าและมเี จตคติทดี่ ีต่อคณติ ศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเปน็ ระบบ มีระเบียบ

รอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณ มีความคิดริเริ่มสรา้ งสรรคแ์ ละมคี วามเชื่อม่ันในตนเอง สามารถนำ

ความรคู้ วามเข้าใจ ทักษะ เจตคตแิ ละคา่ นิยม ไปประยุกตใ์ ช้ในการเรียนรู้ แก้ปญั หา จดั การสงิ่ ตา่ ง ๆ ใน

ชวี ิตประจำวนั อยา่ งสรา้ งสรรค์ โดยยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปน็ หลักคิดหลกั ปฏิบัตใิ นการเรยี นรู้

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด

ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘

ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖

ค ๒.๒ ป.๒/๑

ค ๓.๑ ป.๒/๑

รวม ๑๖ ตัวชี้วัด

๔๖

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์

ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐

และ ๐ เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่าน

และเขียนเศษส่วนท่ีแสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งตา่ ง ๆ ตามเศษส่วนที่กำหนด เปรียบเทียบเศษส่วนท่ี

ตวั เศษเทา่ กัน โดยท่ีตัวเศษนอ้ ยกวา่ หรอื เท่ากบั ตัวส่วน หาคา่ ของตวั ไมท่ ราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการ

บวกและการลบของจำนวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดง

การคูณของจำนวน ๑ หลักกับจำนวนไม่เกิน ๔ หลักและจำนวน ๒ หลักกับจำนวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่

ทราบค่าในประโยคสัญลักษณแ์ สดงการหารทต่ี ัวตงั้ ไมเ่ กิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลกั และหาผลลพั ธ์การบวก ลบ

คูณ หารระคนและแสดงวิธกี ารหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนบั ไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐

หาผลบวกและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากนั และผลบวกไม่เกิน ๑

และหาผลลบพร้อมทัง้ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาการลบของเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากัน ระบุจำนวนที่

หายไปในแบบรปู ของจำนวนท่เี พิ่มข้นึ หรือลดลงทีละเทา่ ๆ กนั แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาเก่ียวกับเงิน

เวลาและระยะเวลา เลือกใชเ้ ครื่องมือความยาวท่ีเหมาะสม วดั และบอกความยาวของสิ่งต่าง ๆ เปน็ เซนติเมตร

และมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาว

และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระหว่างเซนตเิ มตรกับมิลลเิ มตร เมตรกับเซนตเิ มตร กิโลเมตร

กบั เมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เครอ่ื งชั่งท่ีเหมาะสม วัดและบอกนำ้ หนักเป็นกิโลกรัมและขีด กโิ ลกรัม

และกรัม คาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด เปรียบเทียบน้ำหนักและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์

ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้

เครื่องตวงที่เหมาะสมวัดและเปรียบเทียบปริมาตร ความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวิธีหา

คำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิเมตร ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกน

สมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิรูปภาพและใชข้ ้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของ

โจทยป์ ัญหา เขียนตารางทางเดยี วจากขอ้ มูลทีเ่ ปน็ จำนวนนับและใช้ข้อมูลจากตารางทางเดียวในการหาคำตอบ

ของโจทยป์ ญั หา

โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียน ใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/

กระบวนการคณิตศาสตร์ กระบวนการคดิ คำนวณ การคดิ เชิงเหตผุ ล กระบวนการกลมุ่ กระบวนการแก้ปัญหา

การให้เหตุผล การส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์ การปฏบิ ัตจิ รงิ ทดลอง สรปุ รายงานการสรา้ งความคิดรวบ

ยอด รวมทั้งมีการประยุกต์ความรู้ ทักษะเจตคติและค่านิยม ลงมือปฏิบัติจริงในสถานการณ์ที่หลากหลายเพือ่

สร้างเป็นผลผลติ

เพื่อใหเ้ หน็ คณุ ค่าและมเี จตคติท่ดี ีตอ่ คณติ ศาสตร์ สามารถทางานได้อยา่ งเปน็ ระบบ มรี ะเบยี บ

รอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ มีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรคแ์ ละมคี วามเชอื่ มั่นในตนเอง สามารถนำ

ความรูค้ วามเข้าใจ ทกั ษะ เจตคตแิ ละค่านิยม ไปประยุกต์ใชใ้ นการเรยี นรู้ แก้ปญั หา จัดการส่งิ ตา่ ง ๆ ใน

ชวี ิตประจำวนั อย่างสรา้ งสรรค์ โดยยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นหลักคิดหลักปฏบิ ัตใิ นการเรยี นรู้

๔๗

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙,

ป.๓/๑๐ , ป.๓/๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙,

ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑,ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
รวม ๒๘ ตัวชี้วดั

๔๘

คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน

ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง

ศึกษาการอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ ท่ี

มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หลัก ค่าประจำหลัก และค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก การเขียนตัวเลขแสดง

จำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนทมี่ ากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ คา่ ประมาณของจำนวนนับ

การใช้เครื่องหมาย การบวก การลบ การคูณ การหาร การประมาณผลลัพธ์การหาตัวไม่ทราบค่าในประโยค

สัญลักษณ์ โจทย์ปัญหา การบวก การลบ การคูณ และการหาร แบบรูปของจำนวนที่เกิดจากการคณู การหาร

ดว้ ยจำนวนเดยี วกัน เสน้ ตรง ส่วนของเสน้ ตรง ส่วนประกอบของมุม ชนดิ ของมุม การวัดและการสร้างมุม ชนิด

และสมบัติของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

ความหมาย การอ่านและเขียนเศษสว่ นและจำนวนคละทต่ี ัวสว่ นตัวหนึง่ เปน็ พหุคูณของอีกตวั หนึ่ง ความหมาย

การอ่านและการเขียนทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง หลัก ค่าประจำหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของ

ทศนิยม การเขียนทศนิยมในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและเรียงลำดับ ทศนิยม การบวก การลบเศษส่วน

และจำนวนคละที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของอีกตัวหนึ่ง โจทย์ปัญหาการบวก การลบเศษส่วนและจำนวน

คละ การบวก การลบทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง โจทย์ปัญหาการบวก การลบทศนิยม การบอกระยะเวลา

เปน็ วินาที นาที ชั่วโมง วัน สปั ดาห์ เดอื น ปี การเปรียบเทยี บระยะเวลาโดยใช้ความสมั พันธ์ระหวา่ งหนว่ ยเวลา

การอ่านตารางเวลา โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา การเก็บรวบรวมข้อมูลและการจำแนกข้อมูล การอ่านและการ

เขียนแผนภมู ิแทง่ และการอ่านตารางสองทาง

โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียน ใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/

กระบวนการคณติ ศาสตร์ กระบวนการคดิ คำนวณ การคิด เชิงเหตผุ ล กระบวนการกลมุ่ กระบวนการแก้ปัญหา

การให้เหตผุ ล การส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์ การปฏิบัติจรงิ ทดลอง สรปุ รายงานการสร้างความคิดรวบ

ยอด รวมทั้งมีการประยุกต์ความรู้ ทักษะเจตคติและค่านิยม ลงมือปฏิบัติจริงในสถานการณ์ที่หลากหลายเพอื่

สรา้ งเป็นผลผลติ

เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ

รอบคอบ มคี วามรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคดิ ริเริม่ สร้างสรรค์และมีความเชอ่ื มั่นในตนเอง สามารถนำ

ความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะ เจตคตแิ ละค่านยิ ม ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรียนรูใ้ นชีวิตประจำวนั อย่างสร้างสรรค์ โดย

ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลกั คดิ หลักปฏบิ ตั ิในการเรียนรู้

มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด

ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙,

ป.๔/๑๐, ป.๔/๑๑, ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖

ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓

ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒

ค ๓.๑ ป.๔/๑

รวม ๒๒ ตัวชี้วดั

๔๙

คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน

ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์

ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง

เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม แสดงวิธี

หาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจำนวน

คละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ขั้นตอน หาผลคูณของ

ทศนิยม ที่ผลคูณเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง หาผลหารที่ตัวตั้งเป็นจำนวนนับหรือทศนิยมไม่เกิน ๓

ตำแหน่ง และตวั หารเป็นจำนวนนบั ผลหารเปน็ ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหนง่ แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหา

การบวก การลบ การคณู การหารทศนยิ ม ๒ ข้นั ตอน และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละไม่เกิน ๒

ขั้นตอน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ที่มีการเปลี่ยนหน่วยและเขียนในรูป

ทศนิยม แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะ

ทรงส่เี หลีย่ มมุมฉาก ความยาวรอบรปู ของรูปส่ีเหล่ียมและพ้ืนท่ีของรูปสเ่ี หลีย่ มด้านขนานและรูปสี่เหล่ียมขนม

เปียกปูน สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงที่กำหนดให้ จำแนกรูป

สี่เหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูปสี่เหลี่ยม ชนิดต่าง ๆ เมื่อกำหนดความยาวของด้านและ

ขนาดของมุมหรือเม่อื กำหนดความยาวของเส้นทแยงมมุ และบอกลกั ษณะของปริซึม ใช้ขอ้ มลู จากกราฟเส้นใน

การหาคำตอบของโจทย์ปญั หา และเขียนแผนภูมแิ ท่ง จากข้อมูลท่เี ป็นจำนวนนบั

โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียน ใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/

กระบวนการคณติ ศาสตร์ กระบวนการคิดคำนวณ การคดิ เชงิ เหตุผล กระบวนการกล่มุ กระบวนการแก้ปัญหา

การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน การสร้างความคิด

รวบยอด รวมทั้งมีการประยุกต์ความรู้ ทักษะเจตคติและค่านิยม ลงมือปฏิบัติจริงในสถานการณ์ที่หลากหลาย

เพ่ือสรา้ งเป็นผลผลิต

เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ

รอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณ มคี วามคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์และมีความเช่ือม่นั ในตนเอง สามารถนำ

ความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติและค่านิยม ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ แก้ปัญหา จัดการสิ่งต่าง ๆ ใน

ชีวิตประจำวนั อย่างสรา้ งสรรค์ และยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นหลกั คดิ หลักปฏิบตั ใิ นการเรียนรู้

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั

ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙

ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔

ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔

ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒

รวม ๑๙ ตัวช้ีวัด

๕๐

คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน

ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง

เปรียบเทียบ เรียงลำดับ เศษส่วนและจำนวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ เขียนอัตราส่วนแสดงการ

เปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณจากข้อความหรือสถานการณ์ โดยที่ปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจำนวนนับ หา

อัตราส่วนท่ีเท่ากับอัตราส่วนที่กำหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจำนวนนับไม่เกนิ ๓ จำนวน แสดงวิธีหา

คำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคน

ของเศษส่วนและจำนวนคละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาเศษสว่ นและจำนวนคละ ๒ – ๓ ขั้นตอน หา

ผลหารของทศนิยมที่ตัวหารและผลหาร เป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา

การบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๓ ขั้นตอน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาอัตราส่วน ปัญหา

ร้อยละ ๒ - ๓ ขั้นตอน แสดงวิธีคิดและหาคำตอบของปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์

ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก และแสดงวิธีหาคำตอบ

ของโจทยป์ ญั หาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพ้ืนท่ีของรูปหลายเหล่ียม ความยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของวงกลม

จำแนกรูปสามเหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูปสามเหลี่ยมเมื่อกำหนดความยาวของด้านและ

ขนาดของมมุ บอกลักษณะของ รูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ ระบรุ ปู เรขาคณติ สามมิตทิ ี่ประกอบจากรูปคล่ี

และระบุรูปคล่ขี องรูปเรขาคณติ สามมิติ ใชข้ ้อมูลจากแผนภมู ริ ปู วงกลมในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา

โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียน ใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/

กระบวนการคณติ ศาสตร์ กระบวนการคดิ คำนวณ การคิด เชิงเหตุผล กระบวนการกลมุ่ กระบวนการแก้ปัญหา

การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน การสร้างความคิด

รวบยอด รวมท้งั มีการประยุกต์ความรู้ ทักษะ เจตคตแิ ละค่านยิ ม ลงมอื ปฏิบัติจรงิ ในสถานการณ์ที่หลากหลาย

เพ่ือสรา้ งเปน็ ผลผลิต

เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ

รอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณ มีความคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์และมีความเช่ือมน่ั ในตนเอง สามารถนำ

ความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติและค่านิยม ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ แก้ปัญหา จัดการส่ิ งต่าง ๆ ใน

ชวี ิตประจำวันอย่างสรา้ งสรรค์ โดยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปน็ หลักคดิ หลกั ปฏิบัติในการเรียนรู้

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด

ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙,

ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑

ค ๑.๒ ป.๖/๑

ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓

ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

ค ๓.๑ ป.๖/๑

รวม ๒๐ ตัวช้วี ดั


Click to View FlipBook Version