15 คดที จุ ริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง
พมิ พค์ ร้งั ที่ 1 : กันยายน 2565
จ�ำนวน : 5,000 เลม่
ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหง่ ชาติ
15 คดที จุ รติ ป.ป.ช.ตอ้ งฟอ้ งเอง.-- นนทบรุ ี
สำ� นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปราม
การทจุ รติ แหง่ ชาติ (สำ� นกั งาน ป.ป.ช.), 2565.
288 หนา้ .
1. การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบทางการเมอื ง. I. ชอื่ เรอ่ื ง.
364.1323
ISBN 978-616-8280-13-3
จดั ทำ� โดย : สำ� นกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ
เลขท่ี 361 ถ.นนทบรุ ี ต.ท่าทราย อ.เมืองนนทบรุ ี จ.นนทบุรี 11000
โทรศพั ท ์ 0 2528 4800 www.nacc.go.th
บรรณาธกิ าร : ชอ้ งนาง วิพธุ านพุ งษ์
ออกแบบปกและศลิ ปกรรม : พชิ ญ์ อุทยั ภพ
พสิ จู นอ์ ักษร : ณรงค์ พง่ึ บุญพา
ดำ� เนินการผลิต : MATICHON PREMIUM PRINT บรษิ ทั มติชน จ�ำกัด (มหาชน)
เลขที่ 12 ถ.เทศบาลนฤมาล หมู่บ้านประชานเิ วศน์ 1
แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 0 2589 0020 ตอ่ 2419
E-mail [email protected]
พมิ พท์ ี่ : โรงพิมพ์มติชน บรษิ ทั มติชน จ�ำกดั (มหาชน)
เลขที่ 12 ถ.เทศบาลนฤมาล หม่บู า้ นประชานเิ วศน์ 1
แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900
หนงั สอื เลม่ นเี้ ปน็ ลขิ สทิ ธขิ์ องสำ� นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ
ตามพระราชบญั ญตั ลิ ขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. 2537
ค�ำนำ�
ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
หรือส�ำนักงาน ป.ป.ช. เป็นองค์กรที่มีภารกิจและหน้าที่หลักในการป้องกัน
และปราบปรามการทจุ รติ ของประเทศ มคี วามนา่ เชอ่ื ถอื ไดร้ บั การยอมรบั จาก
ประชาชนที่เข้าสู่กระบวนการอ�ำนวยความยุติธรรม ตลอดจนองค์กรต่าง ๆ
ท้ังในและต่างประเทศ โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2540 ได้ก�ำหนดใหค้ ณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นองค์กรอสิ ระ มอี �ำนาจหนา้ ที่
ในการด�ำเนินคดีอาญาผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองท่ีถูกกล่าวหาว่าทุจริตและ
ประพฤตมิ ชิ อบ และมกี ารตราพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการ
ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. 2542 เพอื่ ใหอ้ ำ� นาจคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ด�ำเนินการไต่สวนข้อเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐาน วินิจฉัยคดีและ
ด�ำเนินคดีกับผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง เรียกว่า “การไต่สวนข้อเท็จจริง”
นอกจากน้ี ยงั กำ� หนดใหม้ ศี าลฎกี าแผนกคดอี าญาของผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื ง
พ.ศ. 2542 เพ่ือใช้ในการดำ� เนินกระบวนการพิจารณาของศาล
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. 2561 ไดก้ ำ� หนดกระบวนการยุตธิ รรมทางอาญา
ในเรื่องที่ได้ด�ำเนินการไต่สวนโดยคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม
การทุจริตแห่งชาติ ให้อัยการสูงสุดเป็นผู้ยื่นฟ้องคดีต่อศาลที่มีเขตอ�ำนาจ
อยา่ งไรกต็ าม การปฏบิ ตั งิ านรว่ มกนั ในเชงิ การพจิ ารณาพยานหลกั ฐานทางคด ี
ระหวา่ งคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาตแิ ละอยั การสงู สดุ
อาจมีมมุ มองความเห็นตอ่ พยานหลักฐานทางคดใี นแตล่ ะเร่อื งแตกต่างกันเกิด
ขึน้ ได้ ซึ่งแม้ตามมาตรา 77 แหง่ พระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู ดังกล่าว
จะไดก้ �ำหนดกระบวนการเพอื่ ลดทอนสภาพปญั หาดังกลา่ วไว้ โดยใหม้ กี ารตั้ง
“คณะกรรมการร่วม” ข้ึนท�ำหน้าที่รวบรวมพยานหลักฐานในคดีน้ัน ๆ
ให้สมบรู ณ์ก็ตาม แตใ่ นท้ายทส่ี ดุ อาจเกิดกรณีท่ีทัง้ สององค์กรไม่อาจหาขอ้ ยุติ
ทางความเหน็ ดงั กลา่ วได้ อยา่ งไรกต็ าม หากคดอี าญาทอี่ ยใู่ นหนา้ ทแ่ี ละอำ� นาจ
ของคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ ซง่ึ ลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็
เรอ่ื งทส่ี ำ� คญั และสง่ ผลกระทบตอ่ สว่ นรวมจะตอ้ งยตุ ลิ งดว้ ยเหตดุ งั กลา่ ว อาจกอ่
ให้เกิดความเสียหายต่อประเทศชาติในภาพรวมได้ ดังน้ัน พระราชบัญญัติ
ประกอบรฐั ธรรมนญู ฉบบั ดงั กลา่ วจงึ ไดว้ างกลไกใหค้ ณะกรรมการปอ้ งกนั และ
ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ซึ่งเป็นองค์กรอิสระท่ีได้รับการบัญญัติขึ้นโดย
รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย และเปน็ องคก์ รทม่ี ีความรู้ความเชย่ี วชาญ
ในด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต สามารถพิจารณาด�ำเนินการ
ยื่นฟ้องคดีต่อศาลที่มีเขตอ�ำนาจเองได้ต่อไป เพ่ือให้การด�ำเนินคดีอาญาที่อย ู่
ในหนา้ ทแ่ี ละอำ� นาจของคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ
เป็นไปโดยสมบูรณ์
จากความในกฎหมายขา้ งต้นจะเห็นไดว้ า่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. เปน็
ผมู้ บี ทบาทสำ� คญั ในการดำ� เนนิ คดอี าญาผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื ง โดยเปน็
ผกู้ ลา่ วหาทมี่ ใิ ชผ่ เู้ สยี หาย เปน็ ผทู้ ำ� หนา้ ทแ่ี สวงหาขอ้ เทจ็ จรงิ และรวบรวมพยาน
หลักฐาน เป็นผู้ท�ำหน้าท่ีไต่สวนข้อเท็จจริงและวินิจฉัยช้ีมูลความผิด รวมท้ัง
มีอ�ำนาจฟ้องคดีได้เอง หรือแต่งต้ังทนายความให้ฟ้องคดีแทนได้ จึงสามารถ
กล่าวได้ว่า คณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นผู้มีอ�ำนาจในการด�ำเนินคดีอาญา
ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองทุกข้ันตอนในการด�ำเนินกระบวนการยุติธรรม
ทางอาญา โดยที่ผ่านมา คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มกี ารด�ำเนนิ คดีอาญากับ
ผู้ด�ำรงตำ� แหนง่ ทางการเมือง และข้าราชการเจ้าหนา้ ทีข่ องรฐั ท่รี ่�ำรวยผิดปกติ
ในหลายเรอ่ื งหลายคดดี ้วยกัน หนังสือ “15 คดีทจุ ริต ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง” นี้
จงึ เปน็ ชอ่ งทางสำ� คญั ในการทจี่ ะนำ� ผลการดำ� เนนิ คดอี าญาของผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่
ทางการเมืองที่เข้าสู่กระบวนการไต่สวนจนถึงการด�ำเนินคดีถึงที่สุดแล้ว
มาตแี ผใ่ หก้ บั ทกุ ภาคสว่ นของสงั คมและประชาชนไดร้ บั รรู้ บั ทราบถงึ พษิ ภยั ของ
การทุจริตคอร์รัปชัน ว่ามูลค่าความเสียหายที่เกิดข้ึนมีมากมายเพียงไร และ
สง่ ผลกระทบต่อประเทศชาติและตัวผกู้ ระท�ำการทุจริตอยา่ งไรบ้าง
คณะกรรมการ ป.ป.ช. หวงั วา่ หนงั สอื “15 คดที จุ รติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง”
เล่มน้ีจะเป็นเสมือนบทเรียน หรือแนวทางที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน
ใหค้ วามรู้ ขอ้ คดิ เตอื นใจทเี่ ปน็ ประโยชน์ และทำ� ใหเ้ กดิ การตระหนกั รแู้ ละรว่ มกนั
เปน็ เครอื ขา่ ยในการรว่ มกนั ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ และปอ้ งกนั การทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั
ท่ีจะเกิดขึน้ ในอนาคตต่อไป
ส�ำนกั งาน ป.ป.ช.
คำ� นยิ ม
การแกไ้ ขปญั หาคอรร์ ปั ชนั ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ โครงสรา้ ง ระบบ และตวั บคุ คล
ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เริ่มต้ังแต่เจ้าหน้าที่ของรัฐระดับปฏิบัติงานเพ่ือให้บริการ
โดยตรงต่อประชาชน รวมถึงประชาชนและภาคีทุกภาคส่วน ต้องเข้ามา
มสี ว่ นรว่ มในการแจง้ เบาะแสการทจุ รติ ใหก้ บั สำ� นกั งาน ป.ป.ช. หรอื หนว่ ยงาน
ทเี่ กยี่ วขอ้ งไดร้ บั รู้ รบั ทราบ และดำ� เนนิ การกำ� จดั การทจุ รติ ใหห้ มดไป สงิ่ สำ� คญั
คือ “การสรา้ งเครือข่ายในการตอ่ ต้านการทุจรติ คอรร์ ัปชนั ” ท่มี ปี ระชาชนเปน็
ศนู ยก์ ลาง รวมถงึ การใหค้ วามรถู้ งึ รปู แบบกระบวนการในการทจุ รติ สง่ิ ทส่ี ำ� คญั
คือภาครฐั ที่เก่ียวขอ้ ง ต้องส่งเสริมองคค์ วามรู้ โดยจัดท�ำสอ่ื ที่สามารถบอกเลา่
เรื่องราว กระบวนการสาเหตุ ปัจจยั ท่ีส่งผลต่อการทจุ ริตคอรร์ ปั ชัน ทีส่ ามารถ
ประชาสัมพันธ์ไปยงั ประชาชน ซึง่ เป็นสอื่ ท่เี ขา้ ใจง่าย ให้ความรู้ ข้อคิด ท่ีเปน็
ประโยชน์ต่อการป้องกันและปราบปรามการทุจริต หนังสือ “15 คดีทุจริต
ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง” เลม่ นเี้ ปน็ เสมอื น “ตำ� ราปราบทจุ รติ ” ซงึ่ เมอื่ ทา่ นอา่ นแลว้
จะสะทอ้ นให้เหน็ ภาพ เห็นกระบวนการทุจริตที่ชดั เจน ซบั ซ้อน แยบยล ของ
ข้าราชการเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ท่ีร่วมกันกระท�ำความผิดทุจริตต่อหน้าท่ีราชการ
ท้ังในเร่ืองของการคอร์รัปชันเชิงนโยบาย การทุจริตงบประมาณ การจัดซ้ือ
จดั จ้างภาครฐั การร่ำ� รวยผดิ ปกติ รวมถงึ ในเรอ่ื งของการกระทำ� ความผดิ ทาง
จริยธรรมร้ายแรงของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ซึ่งหากไม่มีการไต่สวน
หรือตรวจสอบข้อเท็จจริงจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. กระบวนการเหล่าน ้ี
ก็จะยังคงด�ำเนินการต่อไป และยังคงสร้างความเสียหายมากมายมหาศาล
แบบซำ�้ ๆ ตอกยำ�้ สรา้ งความเสยี หาย ความเจบ็ ปวดใหก้ บั ภาครฐั และประเทศชาต ิ
เรอ่ื ยไป หนังสอื “15 คดีทุจรติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง” เล่มนี้ไดร้ วบรวมคดี
ทจุ รติ ทส่ี ำ� นกั งาน ป.ป.ช. ฟอ้ งเอง จนเรอื่ งถงึ ทสี่ ดุ จงึ ผลติ ขนึ้ เพอ่ื เปน็ สอื่ กลาง
เป็นข้อคิดแนวทางให้กับประชาชนและทุกภาคส่วน ในการช่วยกระตุ้นเตือน
และสรา้ งความตระหนกั รู้ และร่วมกันเป็นหเู ป็นตา เปน็ เบาะแสใหก้ บั ภาครัฐ
ใหม้ กี ารดำ� เนนิ งานอยา่ งโปรง่ ใสและตรวจสอบไดท้ กุ ขน้ั ตอน “หากทา่ นรู้ แตย่ งั นง่ิ
เราจะสูญเสียทุกสิ่งให้กับการทุจริตคอร์รัปชัน” เพราะ “ประชาชนทุกคน
เปรียบเสมือนกลไกส�ำคัญในการปราบการทุจริตให้หมดไปจากสังคมไทย”
ดงั นน้ั การ “ไมท่ ำ� ไมท่ น ไมเ่ ฉย” จงึ เปน็ ภารกจิ ของคนไทยทกุ คนทจ่ี ะไมย่ อมจำ� นน
ตอ่ การทจุ รติ ทกุ รปู แบบ
พลตำ� รวจเอก วัชรพล ประสารราชกจิ
ประธานกรรมการ ป.ป.ช.
ค�ำนิยม
หนงั สอื “15 คดที จุ รติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง” เลม่ นี้ เมอ่ื ไดอ้ า่ นแลว้ ทำ� ให้
เห็นว่ามีคดีทุจริตจ�ำนวนมากเมื่อกระบวนการด�ำเนินมาถึงข้ันตอนที่จะน�ำคด ี
ขนึ้ สศู่ าล บางครงั้ อาจเกดิ ความเหน็ ตา่ งดา้ นมมุ มองขอ้ กฎหมายและสำ� นวนคดี
เปน็ ทม่ี าของการที่ ป.ป.ช. ตอ้ งนำ� คดขี น้ึ สศู่ าลเอง จนถงึ บทสรปุ ซงึ่ คำ� พพิ ากษา
ของศาล ซงึ่ ความเหน็ ตา่ งอนั สจุ รติ นเี้ กดิ จากเปา้ ประสงคเ์ ดยี วกนั คอื การพสิ จู น์
เพอื่ ลงโทษผกู้ ระทำ� ทจุ รติ “15 คดที จุ รติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง” ทอี่ ยใู่ นมอื ผอู้ า่ น
มไิ ด้ชี้หรือมงุ่ ย้�ำต่อผู้ที่เป็นเจา้ ของเรือ่ งราว เพราะการกระท�ำทุจริตในอดตี น้ัน
อาจเกดิ จากสภาพแวดล้อมของสถานการณ์ ความพลง้ั พลาด หรอื บรบิ ทอ่นื ใด
ณ ขณะน้ัน ซึ่งไม่สามารถน�ำไปตัดสินการกระท�ำในปัจจุบันและอนาคตของ
เขาเหล่านน้ั ได้ คดีทจุ ริตท้งั 15 คดีจะเปน็ บทเรียนแกส่ ังคมให้มคี วามเขา้ ใจใน
หลกั การท�ำงานของ ป.ป.ช. และตระหนักวา่ “เม่ือทำ� กรรมไว้อย่างไรก็ย่อม
ต้องรับผลของกรรมน้ัน อย่างไมม่ วี นั หลีกเลยี่ งได้” เรยี กไดว้ า่ ทุจริตไปก็หนี
ไมร่ อด ตอ้ งถกู ดำ� เนนิ คดแี นน่ อน ตลอดจนการใหแ้ งค่ ดิ ในการระมดั ระวงั ตน
เพ่ือปฏิบัติหน้าท่ีราชการมิให้เข้าไปสู่วังวนของการทุจริต การได้อ่านเรื่องราว
คดีทุจริตเหล่านี้นอกจากจะเป็นประโยชน์แก่ตัวผู้อ่านเองแล้ว ผมยังหวังเป็น
อยา่ งยิ่งวา่ หนังสอื “15 คดีทุจรติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง” นี้ จะเปน็ ประโยชน์
ต่อส่วนรวมที่จะช่วยจุดประกายความสุจริตโปร่งใสให้เกิดข้ึนในสังคมไทย
ของเราดว้ ยเชน่ กนั ซง่ึ สำ� นกั งาน ป.ป.ช. ตระหนกั เสมอวา่ การปอ้ งกนั การทจุ รติ
ส�ำคัญกว่าการปราบปรามการทุจริต ดังนั้น การเผยแพร่เน้ือหาคดีทุจริต
จงึ เปน็ การสง่ สารไปยงั ผอู้ า่ น เพอื่ เปน็ การปอ้ งปราม และชว่ ยกนั สอดสอ่ งเปน็ ห ู
เป็นตา ในการรว่ มกันแจ้งเบาะแสการทุจริตทอี่ ยรู่ อบ ๆ ตวั ทัง้ นี้ เพื่อไม่ให้
เกดิ การทจุ รติ ทจ่ี ะตอ้ งมาปราบปรามในภายหลงั ซง่ึ จะทำ� ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย
ท่มี ากกว่า
นายนิวัตไิ ชย เกษมมงคล
เลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช.
สารบญั
01 คดแี ก้ไขสญั ญาสมั ปทานโครงการดาวเทียมส่ือสาร 15
ภายในประเทศโดยมิชอบเพ่อื ใหเ้ กดิ ความเสียหายแก่รฐั
กรณีกลา่ วหา นพ.สรุ พงษ์ สบื วงศล์ ี เมอ่ื ครัง้ ดำ� รงต�ำแหนง่
รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที)
02 คดคี วามผดิ ต่อตำ� แหนง่ หน้าท่ีราชการกรณปี ล่อยกู้ 49
Exim Bank แก่รัฐบาลเมยี นมา 87
กรณกี ล่าวหา พนั ตำ� รวจโท ทกั ษณิ ชินวัตร หรอื นายทักษิณ ชนิ วตั ร
เม่ือครั้งด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี
03 คดีไม่เรยี กเก็บภาษจี ากการขายหุ้น บ.ชินคอรป์
กรณกี ล่าวหา นางเบญจา หลุยเจรญิ
เมื่อครั้งด�ำรงต�ำแหนง่ ทปี่ รึกษาด้านพฒั นาภาษี
(เจา้ หนา้ ทว่ี ิเคราะห์นโยบายและแผน 10 ชช) กบั พวก
04 คดหี วยบนดิน : กรณเี ป็นเจา้ หน้าท่ีของรัฐรว่ มกนั 117
เป็นคสู่ ัญญาในสญั ญาท่ีทำ� กับหน่วยงานของรฐั
กรณีกล่าวหา พนั ตำ� รวจโท ทกั ษิณ ชนิ วตั ร หรือนายทกั ษิณ ชนิ วตั ร
เมอ่ื ครั้งดำ� รงตำ� แหน่งนายกรัฐมนตรี
05 คดแี ตง่ ตงั้ คณะกรรมการคดั เลอื กกรรมการ 145
ธนาคารแห่งประเทศไทย
กรณีกลา่ วหา นายสุรพงษ์ สืบวงศ์ลี
เม่อื ครั้งด�ำรงตำ� แหน่งรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการคลงั
06 คดีการกระท�ำอนั เป็นการฝ่ าฝื นหรอื ไม่ปฏบิ ัติ 163
ตามมาตรฐานทางจริยธรรมอยา่ งร้ายแรง
กรณกี ล่าวหา นางสาวปารีณา ไกรคปุ ต์
เมอื่ ครัง้ ดำ� รงต�ำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
07 คดสี นามกอล์ฟอลั ไพน์ 183
กรณีกลา่ วหา นายยงยทุ ธ วชิ ยั ดิษฐ เมือ่ ครงั้ ด�ำรงตำ� แหนง่
รองปลัดกระทรวงมหาดไทย รักษาราชการแทนปลดั กระทรวงมหาดไทย
08 คดจี งใจย่ืนบญั ชีแสดงรายการทรัพย์สนิ และหนี้สนิ 199
และเอกสารประกอบตอ่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ดว้ ยข้อความ
อันเป็นเทจ็ หรือปกปิ ดขอ้ เท็จจรงิ ท่ีควรแจง้ ใหท้ ราบ
กรณีเข้ารบั ต�ำแหน่งผู้อำ� นวยการสำ� นักงาน
กรณกี ลา่ วหา นายพนม ศรศิลป์ เมอ่ื ครั้งดำ� รงต�ำแหน่ง
ผ้อู �ำนวยการส�ำนักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ
09 คดีจดั ซ้ือน้ำ� มนั เชื้อเพลงิ ระหว่างเทศบาลต�ำบลเหนือคลอง
211กับบริษทั ดสุ ติ มอเตอร์ออยล์ จำ� กัด
กรณกี ลา่ วหา นายดุสิต ธุระหาญ เมอื่ ครง้ั ดำ� รงตำ� แหนง่
นายกเทศมนตรตี �ำบลเหนอื คลอง จงั หวัดกระบี่
10 คดปี ระกาศใช้แผนพัฒนาโดยไมผ่ า่ นการพจิ ารณาของ 217
องค์การบรหิ ารสว่ นต�ำบลนาง้ิว จงั หวัดขอนแก่น
กรณีกลา่ วหา นายสมนึก สงคราม เม่อื คร้ังด�ำรงตำ� แหนง่
นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตำ� บลนางวิ้ จังหวดั ขอนแก่น
11 คดีลงลายมือช่ือรบั รองในแบบรายงานการตรวจสอบ 227
คำ� ขอรับเงนิ ค่าเช่ า และลงลายมือช่ือรับรอง
ในแบบขอเบิกเงนิ คา่ เช่ าบ้านโดยทุจริต
กรณกี ล่าวหา นายไพฑูรย์ เทพศาสตรา เมื่อครง้ั ดำ� รงตำ� แหน่ง
ปลดั เทศบาลตำ� บลหนองแปน อ�ำเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ กบั พวก
12 คดีเรยี กรับเงินในการอนุมัติเงินโบนสั และพจิ ารณา 241
เงินโบนสั โดยมิชอบ ใหแ้ ก่พนักงานและลูกจา้ ง
ขององค์การบรหิ ารสว่ นต�ำบลหนองหาน จังหวัดอุดรธานี
กรณีกล่าวหา นางมะลจิ นั ทร์ ทศิ าใต้ เมอื่ คร้ังดำ� รงตำ� แหน่งนายกองคก์ าร
บริหารสว่ นตำ� บลหนองหาน จงั หวัดอุดรธานี กับพวก
13 คดกี อ่ สรา้ งหา้ งเทสโกโ้ ลตสั กันทรลักษ์ 253
กรณีกล่าวหา นายทรงชยั รุจริ ารังสรรค์
เมื่อครงั้ ด�ำรงตำ� แหนง่ นายกเทศมนตรเี มอื งกันทรลักษ์ จงั หวดั ศรีสะเกษ
14 คดีจัดท�ำเอกสารเบิกจา่ ยเงนิ ในการเดินทาง 265
ไปราชการอันเป็นเทจ็
กรณีกล่าวหา นายชวนนิ ทร์ เพมะ
เมื่อครง้ั ด�ำรงต�ำแหนง่ นายกเทศมนตรีต�ำบลกงไกรลาศ จังหวดั สุโขทัย
15 คดีละเว้นไมน่ ำ� ประกาศประกวดราคาและเอกสาร 275
จา้ งเหมาการระบายน้ำ� ถนนแสงชูโตสง่ ท่ีทำ� การไปรษณีย์
จังหวดั กาญจนบุรี และปลอมตราประจ�ำวัน
และปลอมลายมอื ช่ือพนักงานรับฝากของไปรษณีย์
กรณีกล่าวหา นางอรณี น�้ำใจตรง เม่อื ครงั้ ด�ำรงต�ำแหนง่ เจา้ หนา้ ทีธ่ รุ การ 6
เทศบาลเมอื งกาญจนบุรี จังหวดั กาญจนบรุ ี
15 คดีทจุ รติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง
14
15 คดที ุจริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง
1คดีท่ี
กรณกี ลา่ วหา นพ.สุรพงษ์ สืบวงศล์ ี เม่ือครัง้ ด�ำรง
ต�ำแหนง่ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสาร (ไอซี ที) กับพวกรวม 3 คน
ปฏิบตั ิหน้าท่โี ดยมิชอบเพ่ือใหเ้ กิดความเสียหายแก่รฐั
กรณีอนมุ ัติแก้ไขสญั ญาสมั ปทานโครงการดาวเทยี ม
ส่ือสารภายในประเทศ
อ่านค�ำพิพากษา (ฉบบั เต็ม)
15
15 คดที จุ ริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง
คดหี มายเลขด�ำท่ี อม. 66/2558
คดีหมายเลขแดงท่ี อม. 107/2559
สรุปคำ� ฟ้ องของโจทก์
นพ.สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี จ�ำเลยท่ี 1 ด�ำรงต�ำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ตง้ั แต่วันที่ 3 ตลุ าคม 2545
ถงึ วนั ที่ 1 ธนั วาคม 2550 เปน็ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ตามมาตรา 4 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ
ประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. 2542
และเปน็ เจา้ พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา มีอำ� นาจหน้าที่เกยี่ วกบั การ
บรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ตามมาตรา 20 แห่งพระราชบญั ญตั ิระเบียบบรหิ าร
ราชการแผน่ ดิน พ.ศ. 2534 และราชการอน่ื ตามทมี่ ีกฎหมายกำ� หนดให้เปน็
อำ� นาจหนา้ ทข่ี องรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร
นายไกรสร พรสธุ ี จำ� เลยท่ี 2 ดำ� รงตำ� แหนง่ ปลดั กระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สารเมอื่ วนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2547 มอี ำ� นาจหนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ
ควบคุมราชการประจ�ำในกระทรวง และเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของ
สว่ นราชการในกระทรวง รองจากรฐั มนตรี ตามมาตรา 21 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ
ระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดิน พ.ศ. 2534
16
15 คดที จุ รติ ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง
นายไชยยนั ต์ พง่ึ เกยี รตไิ พโรจน์ จำ� เลยที่ 3 ดำ� รงตำ� แหนง่ ผอู้ ำ� นวยการ
ส�ำนักกิจการอวกาศแห่งชาติ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร เม่ือวันที่ 1 เมษายน 2547 มีอ�ำนาจหน้าที่รับผิดชอบ
ในการปฏิบัติราชการของส�ำนักกิจการอวกาศแห่งชาติและเป็นผู้บังคับบัญชา
ขา้ ราชการ ตามมาตรา 36 แหง่ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ
พ.ศ. 2534
จำ� เลยทง้ั สามมีอ�ำนาจหนา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ กำ� กบั ดูแล ตรวจสอบ และ
ควบคุมสัญญาด�ำเนินกิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศให้เป็นไปตาม
เงอื่ นไขของสญั ญา และเปน็ ตวั แทนฝา่ ยรฐั มหี นา้ ทด่ี แู ลและรกั ษาผลประโยชน์
ที่รัฐพึงได้รับจากสัญญา กลับร่วมกันด�ำเนินการเพื่ออนุมัติและแก้ไขเงื่อนไข
ตามสัญญาดงั กลา่ วโดย
จำ� เลยท่ี 1 ในฐานะรฐั มนตรี อนมุ ตั แิ ละแกไ้ ขสญั ญาโดยไมไ่ ดน้ ำ� เสนอ
คณะรฐั มนตรีเพอ่ื พิจารณา
จำ� เลยท่ี 2 ในฐานะปลดั กระทรวง และจำ� เลยที่ 3 ในฐานะผอู้ ำ� นวยการ
ส�ำนักกิจการอวกาศแห่งชาติ ร่วมในการเสนอข้อมูลและความเห็นให้แก้ไข
สัญญา
การกระท�ำดังกล่าวน้ี เป็นการกระท�ำท่ีมิชอบและเอื้อประโยชน์แก่
บริษทั ชิน คอร์ปอเรชน่ั จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำ� กดั
(มหาชน) ซ่ึงมีผลกระทบต่อความเชื่อมั่นและความมั่นคงในการก�ำกับดูแล
การประกอบกิจการโทรคมนาคมของรัฐ จึงเป็นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเสยี หายแกส่ ำ� นกั กจิ การอวกาศแหง่ ชาติ กระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอื่ สาร และทางราชการ หรอื ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีโดยทจุ รติ
เหตุเกิดท่ีกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แขวง
ทงุ่ สองหอ้ ง เขตหลักสี่ กรงุ เทพมหานคร
ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 ประกอบ
มาตรา 83
จำ� เลยทั้งสามใหก้ ารปฏเิ สธ
17
15 คดที จุ รติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง
ลTำ� IMดEับLเIหNตEุการณ์
ขณะเกดิ เหตจุ �ำเลยที่ 1 ด�ำรงตำ� แหน่งรัฐมนตรวี า่ การกระทรวง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จ�ำเลยท่ี 2 ด�ำรงต�ำแหน่ง
ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร จ�ำเลยท่ี 3 ด�ำรง
ตำ� แหน่งผูอ้ �ำนวยการสำ� นักกิจการอวกาศแห่งชาติ
4 มิถุนายน 2534
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติให้บริษัท ชินวัตร คอมพิวเตอร์
แอนด์ คอมมวิ นิเคชั่นส์ จ�ำกัด (ตอ่ มาแปรสภาพเปน็ บรษิ ทั มหาชน
จ�ำกดั ขณะเกิดเหตเุ ปล่ยี นชอ่ื เป็น บริษทั ชนิ คอรป์ อเรชัน่ จำ� กดั
(มหาชน) และเปลยี่ นชอื่ เปน็ บรษิ ทั อนิ ทชั โฮลดง้ิ ส์ จำ� กดั (มหาชน)
ในปจั จบุ นั ) ไดร้ บั สมั ปทานโครงการดาวเทยี มสอ่ื สารภายในประเทศ
และอนุมัติให้โครงการดังกล่าวเป็นโครงการของชาติ (National
Project)
18
15 คดที จุ ริต ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง
11 กันยายน 2534
กระทรวงคมนาคมกับบรษิ ทั ชนิ วตั ร คอมพวิ เตอร์ แอนด์
คอมมิวนิเคชั่นส์ จ�ำกัด ท�ำสัญญาด�ำเนินกิจการดาวเทียมสื่อสาร
ภายในประเทศ ซึ่งตามสัญญาข้อ 4 ก�ำหนดให้บริษัท ชินวัตร
คอมพิวเตอร์ แอนด์ คอมมิวนิเคช่ันส์ จ�ำกัด จะต้องจัดต้ังบริษัท
ขึ้นใหม่เพ่ือด�ำเนินงานตามสัญญา มีทุนจดทะเบียนไม่น้อยกว่า
1,000,000,000 บาท ให้เสร็จสิน้ ภายใน 12 เดือน นบั จากวันเริม่
ใหบ้ รกิ ารวงจรดาวเทยี มตามสญั ญา และบรษิ ทั ฯ จะตอ้ งเปน็ ผถู้ อื หนุ้
ในบรษิ ทั ทจี่ ดั ตง้ั ขนึ้ ใหมไ่ มน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 51 ของจำ� นวนหนุ้ ทงั้ หมด
ท้ังต้องด�ำเนินการให้บริษัทที่จัดต้ังขึ้นใหม่ รับผิดตามสัญญาต่อ
กระทรวงร่วมกนั และแทนกนั กับบรษิ ทั ฯ
ตอ่ มามกี ารจดั ตง้ั บรษิ ทั ชนิ วตั รแซทเทลไลท์ จำ� กดั ขน้ึ ใหม่
ตามสัญญาโดยมีพันต�ำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นกรรมการ
ผมู้ อี ำ� นาจลงนามในขณะนน้ั (ตอ่ มาแปรสภาพเปน็ บรษิ ทั มหาชนจำ� กดั
ขณะเกดิ เหตเุ ปลย่ี นชอื่ เปน็ บรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน)
และเปลี่ยนชือ่ เปน็ บริษัท ไทยคม จ�ำกัด (มหาชน) ในปจั จุบนั )
23 มนี าคม 2535
มกี ารแกไ้ ขสญั ญาฉบบั ที่ 1 เพอ่ื ใหบ้ รษิ ทั ชนิ วตั ร คอมพวิ เตอร์
แอนด์ คอมมวิ นเิ คชน่ั ส์ จำ� กดั และบรษิ ทั ชนิ วตั รแซทเทลไลท์ จำ� กดั
รับผิดตามสญั ญาร่วมกันและแทนกนั ตอ่ กระทรวง
นอกจากน้ีมีการแก้ไขสัญญาอีก 3 ฉบับ เน่ืองจากมีการ
แปรสภาพบรษิ ทั ชนิ วตั ร คอมพวิ เตอร์ แอนด์ คอมมวิ นเิ คชน่ั ส์ จำ� กดั
และบริษัท ชนิ วตั รแซทเทลไลท์ จำ� กดั เปน็ บริษัทมหาชนจ�ำกัด และ
เปลีย่ นช่ือเปน็ บรษิ ทั ชนิ คอร์ปอเรชัน่ จำ� กดั (มหาชน) และบรษิ ทั
ชนิ แซทเทลไลท์ จ�ำกดั (มหาชน)
19
15 คดีทุจริต ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง
24 ธันวาคม 2546
บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน) มีหนังสือถึง
ปลดั กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (หลงั ปฏริ ปู ระบบ
ราชการ) ขออนมุ ตั ลิ ดสดั สว่ นการถอื หนุ้ ของบรษิ ทั ชนิ คอรป์ อเรชน่ั
จ�ำกัด (มหาชน) ในบรษิ ัท ชินแซทเทลไลท์ จำ� กัด (มหาชน) จาก
ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 51 เปน็ ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 40 โดยใหเ้ หตผุ ลวา่ ธรุ กจิ
ใหบ้ รกิ ารชอ่ งสญั ญาณดาวเทยี มเปน็ ธรุ กจิ ทตี่ อ้ งใชเ้ งนิ ลงทนุ สงู มาก
โดยเฉพาะโครงการดาวเทยี มไอพสี ตาร์ ตอ้ งใชเ้ งนิ ลงทนุ ประมาณ
14,000,000,000 บาท จึงมีความจ�ำเป็นท่ีจะต้องหาพันธมิตร
เพื่อขยายศักยภาพในการแข่งขันหรือขยายฐานเงินทุนของบริษัท
ใหม้ คี วามเขม้ แขง็ และมเี งนิ ทนุ เพยี งพอทจ่ี ะดำ� เนนิ กจิ การใหบ้ รรลุ
ไปได้ด้วยดี และเพ่ือให้สามารถแข่งขันกับบริษัทต่างประเทศ
รายอืน่ ๆ ทีใ่ หบ้ ริการชอ่ งสัญญาณดาวเทยี มได้
คุณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์ ปลัดกระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารในขณะน้ัน ส่ังการให้นางสาวอนงค์
เศรษฐนนั ท์ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั กจิ การอวกาศแหง่ ชาตศิ กึ ษาวเิ คราะห์
ฝา่ ยผขู้ อและฝา่ ยกระทรวงวา่ มคี วามจำ� เปน็ อยา่ งไร โดยใหจ้ ำ� เลยท่ี 2
ซึ่งขณะน้ันด�ำรงต�ำแหน่งรองปลัดกระทรวงทราบด้วย นางสาว
อนงค์ฯ มอบหมายให้จ�ำเลยท่ี 3 ซง่ึ ขณะน้นั เปน็ เจา้ หน้าทวี่ ิเคราะห์
นโยบายและแผน 8 ว และนางสาวสุดสาคร สิงห์ศรโี ว ด�ำเนนิ การ
ศึกษาวเิ คราะห์
20
15 คดที ุจริต ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง
19 มกราคม 2547
บริษทั ชินแซทเทลไลท์ จำ� กัด (มหาชน) ทำ� หนงั สอื เสนอ
ข้อมูลเพ่ิมเติมว่า การขอลดสัดส่วนการถือหุ้นไม่มีปัญหาในทาง
กฎหมายทีเ่ กย่ี วขอ้ ง และบรษิ ัท ชิน คอร์ปอเรช่ัน จ�ำกัด (มหาชน)
ยงั สามารถควบคมุ การดำ� เนนิ ธรุ กจิ ของบรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กดั
(มหาชน) ได้ เหมอื นกับขณะทถี่ อื หุ้นในสัดสว่ นรอ้ ยละ 51
9 กุมภาพันธ์ 2547
สำ� นักกจิ การอวกาศแห่งชาติ โดยนางสาวอนงค์ฯ มบี นั ทึก
ถึงคุณหญิงทิพาวดีฯ ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร ผ่านจ�ำเลยที่ 2 เพื่อพิจารณาน�ำเสนอจ�ำเลยท่ี 1
ใหค้ วามเหน็ ชอบในหลกั การ โดยเสนอความเหน็ ของสำ� นกั กจิ การอวกาศ
แหง่ ชาตติ ามทไี่ ดม้ อบหมายใหจ้ ำ� เลยที่ 3 ดำ� เนนิ การศกึ ษาวเิ คราะหว์ า่
การลดสัดสว่ นการถือหนุ้ ดังกลา่ ว บริษัท ชนิ คอรป์ อเรชน่ั จำ� กัด
(มหาชน) จะยังคงรับผิดชอบการด�ำเนินงานตามสัญญาได้ และ
บรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) ยงั คงรกั ษาสดั สว่ นการถอื หนุ้
ของบุคคลสัญชาติไทย โดยไม่ขัดต่อกฎหมายต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง
หากกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารอนมุ ตั ใิ หล้ ดสดั สว่ น
การถือหุ้นดังกล่าว เห็นสมควรที่จะต้องแก้ไขสัญญาด�ำเนินกิจการ
ดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ เพ่ือมิให้ผิดข้อก�ำหนดของสัญญา
ข้อ 4 ซึ่งส�ำนักกิจการอวกาศแห่งชาติได้ร่างแก้ไขสัญญามาพร้อม
ดว้ ยแลว้ แตเ่ พอ่ื ความรอบคอบ เหน็ สมควรใหห้ ารอื สำ� นกั งานอยั การ
สงู สุดพิจารณาและตรวจร่างสญั ญาแก้ไขก่อน
จำ� เลยที่ 1 เหน็ ชอบให้หารอื สำ� นกั งานอัยการสงู สุด
21
15 คดที จุ ริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง
3 มถิ ุนายน 2547
หลังจากมีหนังสือหารือไปยังส�ำนักงานอัยการสูงสุด
นายชัยเกษม นิติสิริ รองอัยการสูงสุดปฏิบัติราชการแทนอัยการ
สูงสุด มีหนังสือตอบข้อหารือว่า การแก้ไขสัญญาดังกล่าว บริษัท
ชนิ คอรป์ อเรชน่ั จำ� กดั (มหาชน) ยงั คงเปน็ คสู่ ญั ญาทตี่ อ้ งรบั ผดิ ชอบ
ร่วมกันและแทนกันกับผู้รับสัมปทานโดยไม่เปล่ียนแปลง และ
ยังคงเป็นผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยรายใหญ่ที่สุด สามารถควบคุม
การดำ� เนนิ งานของบรษิ ทั ผรู้ บั สมั ปทานไดต้ ามเจตนารมณข์ องสญั ญา
นอกจากนี้การแก้ไขสัญญาดังกล่าวไม่ได้ลดภาระหน้าที่ของบริษัท
ผู้รับสัมปทาน และไม่ได้ท�ำให้บริษัทผูร้ บั สมั ปทานจา่ ยผลประโยชน์
ตอบแทนแก่รฐั ตามสัญญาลดลง จงึ ไมม่ ีกรณที ีร่ ฐั ต้องเสยี ประโยชน์
กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารจงึ สามารถใชด้ ลุ พนิ จิ
ที่จะพจิ ารณาอนุมัติให้แก้ไขเปลยี่ นแปลงสัญญาได้
แต่มขี อ้ สังเกตว่า การแก้ไขเปลีย่ นแปลงเงอื่ นไขสญั ญาน้ี
เป็นสาระส�ำคัญของสัญญาและเป็นส่วนหนึ่งแห่งที่มาของ
การอนุมัติโดยคณะรัฐมนตรี จึงควรน�ำเร่ืองดังกล่าวเสนอคณะ
รัฐมนตรีพจิ ารณาก่อนลงนามในสัญญา
17 มิถนุ ายน 2547
จ�ำเลยที่ 1 ลงนามในหนังสือถึงเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
เพื่อเสนอคณะรฐั มนตรพี ิจารณาตามขอ้ สงั เกตของอยั การสูงสดุ
22
15 คดีทจุ รติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง
20 สิงหาคม 2547
เลขาธิการคณะรัฐมนตรีส่งเรื่องคืน โดยให้เหตุผลว่า
เรื่องดังกล่าวไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะต้องเสนอคณะรัฐมนตรี
พจิ ารณา ประกอบกบั คณะรฐั มนตรมี นี โยบายทจี่ ะลดเรอื่ งทจี่ ะเสนอ
คณะรัฐมนตรี
2 กนั ยายน 2547
จ�ำเลยที่ 3 มีบันทึกข้อความถึงปลัดกระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร ผา่ นจำ� เลยท่ี 2 น�ำเสนอขอ้ พจิ ารณาวา่
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารสามารถใช้ดุลพินิจ
ทจ่ี ะพจิ ารณาอนมุ ตั แิ กไ้ ขเปลย่ี นแปลงสญั ญาได้ พรอ้ มรา่ งสญั ญาแกไ้ ข
เพม่ิ เตมิ สญั ญาดำ� เนนิ กจิ การดาวเทยี มสอื่ สารภายในประเทศ (ฉบบั ที่ 5)
ตามข้อพจิ ารณาของสำ� นักงานอัยการสูงสดุ เพ่ือนำ� เสนอจ�ำเลยท่ี 1
พิจารณาอนุมตั แิ ละก�ำหนดวันเวลาลงนามรว่ มกัน 3 ฝ่าย
21 กนั ยายน 2547
จ�ำเลยท่ี 1 ส่ังการให้หารืออัยการสูงสุดอีกครั้งเก่ียวกับ
ความเห็นของอัยการสูงสุดในข้อสังเกตท่ีต่อท้าย และที่เลขาธิการ
คณะรัฐมนตรีเห็นว่าไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ท่ีต้องเสนอคณะรัฐมนตรี
พจิ ารณา จำ� เลยท่ี 2 จงึ ลงนามในหนงั สอื หารอื ไปยงั สำ� นกั งานอยั การ
สูงสดุ อีกครง้ั
23
15 คดที ุจริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง
13 ตุลาคม 2547
นายชยั เกษมฯ รองอัยการสูงสดุ ปฏบิ ัตริ าชการแทนอัยการ
สงู สดุ มหี นงั สอื ตอบขอ้ หารอื วา่ เมอ่ื สำ� นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี
มีความเห็นว่าเร่ืองน้ีไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ท่ีจะเสนอคณะรัฐมนตรี
พิจารณาดังข้อเสนอแนะของส�ำนักงานอัยการสูงสุด กระทรวง
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารจงึ มดี ลุ พนิ จิ ทจ่ี ะแกไ้ ขสญั ญา
ตามร่างทสี่ �ำนักงานอัยการสูงสดุ ไดต้ รวจแก้ไขไว้ได้
14 ตลุ าคม 2547
จ�ำเลยท่ี 3 มีบันทึกข้อความด่วนท่ีสุดถึงจ�ำเลยท่ี 2
ซ่ึงขณะน้ันด�ำรงต�ำแหน่งปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสอื่ สาร เพอื่ นำ� เสนอจำ� เลยท่ี 1 พจิ ารณา โดยเสนอใหอ้ นมุ ตั แิ กไ้ ข
เปลี่ยนแปลงสัญญาด�ำเนินกิจการดาวเทียมส่ือสารภายในประเทศ
และขอกำ� หนดวนั เวลาลงนามในสญั ญารว่ มกนั 3 ฝา่ ย พรอ้ มแนบรา่ ง
สัญญาแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาด�ำเนินกิจการดาวเทียมส่ือสารภายใน
ประเทศ (ฉบบั ที่ 5) ไปดว้ ย ตอ่ มาจำ� เลยที่ 2 ลงนามเสนอจำ� เลยท่ี 1
ขออนุมัตใิ ห้แกไ้ ขเปล่ียนแปลงสัญญา
อนมุ ัติ
24
15 คดที ุจรติ ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง
18 ตลุ าคม 2547
จ�ำเลยที่ 1 อนุมตั ิ และลงนามในสัญญา
27 ตุลาคม 2547
หลังจากนั้นบริษัท ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน)
ได้ยื่นหนังสือขออนุญาตเสนอขายหุ้นสามัญเพ่ิมทุนแก่บุคคลทั่วไป
ตอ่ สำ� นกั งานคณะกรรมการกำ� กับหลกั ทรัพยแ์ ละตลาดหลักทรพั ย์
21 กมุ ภาพันธ์ 2548
บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้รับอนุญาต
ให้ขายหุ้นเพ่ิมทุน และต่อมาได้เสนอขายหุ้นเพิ่มทุนต่อบุคคลทั่วไป
จ�ำนวน 208,000,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 15.30 บาท ไดร้ ับเงินคา่ หุ้น
หลังหักค่าธรรมเนียมจำ� นวน 3,110,796,000 บาท
26 กมุ ภาพนั ธ์ 2553
ศาลฎกี าแผนกคดอี าญาของผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื ง
มคี ำ� พพิ ากษาคดหี มายเลขแดงท่ี อม. 1/2553 ระหวา่ งอยั การสงู สดุ
ผ้รู อ้ ง พนั ตำ� รวจโท ทักษณิ ชนิ วตั ร ผถู้ กู กลา่ วหา เรื่อง ขอให้
ทรพั ย์สินตกเปน็ ของแผน่ ดิน
25
15 คดีทุจริต ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง
3 มนี าคม 2553
ร้อยตรีหญิง ระนองรักษ์ สุวรรณฉวี รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในขณะน้ัน มีค�ำส่ัง
แตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบสวนขอ้ เทจ็ จรงิ อนั ปน็ ผลมาจากคำ� พพิ ากษา
ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง
ตามคดหี มายเลขแดงท่ี อม. 1/2553
คณะกรรมการฯ เสนอความเห็นวา่ เหน็ ควรนำ� ประเด็นทีม่ ี
การเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาสัมปทานที่ได้ด�ำเนินการไปแล้ว เข้าสู่
การพิจารณาของคณะกรรมการประสานงาน ตามพระราชบัญญัติ
วา่ ดว้ ยการใหเ้ อกชนเขา้ รว่ มงานหรอื การดำ� เนนิ การในกจิ การของรฐั
พ.ศ. 2535 มาตรา 22
1 มิถนุ ายน 2553
คณะกรรมการประสานงาน ตามพระราชบัญญัติว่าด้วย
การให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือการด�ำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.
2535 มาตรา 22 พจิ ารณาไดค้ วามวา่ ในการดำ� เนนิ กจิ การดาวเทยี ม
ส่ือสารภายในประเทศเหน็ ควรใหค้ งสดั สว่ นการถอื หนุ้ ตามทก่ี ำ� หนดไว้
ในสญั ญา เปน็ ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 51 ตามเดมิ และควรน�ำเรอื่ งเสนอ
คณะรัฐมนตรเี พอ่ื พิจารณา ส�ำหรับคดีนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ
การกระท�ำที่ก่อให้เกิดความเสยี หายแกร่ ฐั (คตส.) ไดส้ ง่ เรือ่ งการ
ดำ� เนนิ คดใี หโ้ จทกพ์ จิ ารณา
โจทกไ์ ดพ้ จิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ มเี หตอุ นั ควรสงสยั วา่ จำ� เลยที่ 1
เมอ่ื ครงั้ ดำ� รงตำ� แหนง่ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการส่ือสารกับพวก กระท�ำความผิดต่อต�ำแหน่งหน้าท่ีราชการ
ตามประมวลกฎหมายอาญา หรอื กระทำ� ความผดิ ตอ่ หนา้ ที่ หรอื ทจุ รติ
26
15 คดที ุจริต ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง
ต่อหน้าที่ตามกฎหมายอ่ืน ตามมาตรา 66 แห่งพระราชบัญญัติ
ประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ.
2542 จงึ มมี ตริ บั พจิ ารณาและมคี ำ� สงั่ แตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการไตส่ วน
เพื่อด�ำเนินการไต่สวนข้อเท็จจริง ต่อมาโจทก์มีความเห็น ด้วยมติ
เสยี งขา้ งมาก วา่ จำ� เลยท่ี 1 ไมม่ อี ำ� นาจอนมุ ตั ใิ หแ้ กไ้ ขสญั ญาสมั ปทาน
กอ่ นไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะรฐั มนตรี แตก่ ลบั ใชด้ ลุ พนิ จิ อนมุ ตั ิ
ใหแ้ กไ้ ขสญั ญาดงั กลา่ ว โดยมจี ำ� เลยที่ 2 และที่ 3 รว่ มในการนำ� เสนอ
ข้อมูลและเสนอความเห็นให้แก้ไขสัญญา เป็นการปฏิบัติหน้าที่
โดยมชิ อบเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเสยี หายแกร่ ฐั หรอื ปฏบิ ตั หิ นา้ ทโ่ี ดยทจุ รติ
มีมูลความผิดทางอาญาฐานเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้น
การปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพ่ือให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หน่ึงผู้ใด
หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีโดยทุจริต ตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 157 ประกอบมาตรา 83
ไม่มอี �ำนาจ
จ�ำเลยท่ี 2 น�ำเสนอขอ้ มูล
จ�ำเลยท่ี 1 จำ� เลยท่ี 3 น�ำเสนอขอ้ มูล
27
15 คดีทุจริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง
การวนิ ิจฉัยของศาล
มีปัญหาต้องวินิจฉัยว่า จ�ำเลยท้ังสามร่วมกันกระท�ำความผิดฐาน
ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีโดยมิชอบ เพ่ือให้เกิดความเสียหายแก่
ผหู้ นึ่งผู้ใด หรอื ปฏิบตั ิหรือละเว้นการปฏบิ ตั หิ นา้ ทีโ่ ดยทุจริต ตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 157 หรือไม่
ศาลพิจารณาตามองค์ประกอบความผิด แยกเป็น 3 ประเดน็ ดังนี้
ประเดน็ ท่ี 1 ในการพิจารณาปัญหาดังกลา่ ว เหน็ สมควร
วินิจฉัยเสียก่อนว่าการที่จ�ำเลยที่ 1 อนุมัติให้แก้สัญญาสัมปทาน
(ฉบบั ที่ 5) ใหบ้ รษิ ทั ชนิ คอรป์ อเรชน่ั จำ� กดั (มหาชน) ลดสดั สว่ น
การถอื หนุ้ ในบรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) โดยไมน่ ำ� เสนอ
ตอ่ คณะรฐั มนตรเี พอ่ื พจิ ารณา เปน็ การอนมุ ตั โิ ดยชอบดว้ ยกฎหมาย
หรอื ไม่
มขี อ้ ปญั หาวา่ เงอ่ื นไขของสญั ญาสมั ปทานขอ้ ท่ี 4 ซง่ึ ใหผ้ รู้ บั สมั ปทาน
จัดตั้งบริษัทใหม่ภายใน 12 เดือน นับจากวันเริ่มให้บริการวงจรดาวเทียม
โดยผรู้ บั สมั ปทานจะตอ้ งเปน็ ผถู้ อื หนุ้ ในบรษิ ทั ทจี่ ดั ตงั้ ขนึ้ ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 51
ของจ�ำนวนหุ้นท้ังหมด เป็นเงื่อนไขส�ำคัญที่ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี
หรอื ไม่
ข้อเท็จจริงได้ความว่า ในการยื่นข้อเสนอขอรับสัมปทานโครงการ
ดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ บริษัท ชินวัตร คอมพิวเตอร์ แอนด์
คอมมวิ นเิ คชนั่ ส์ จำ� กดั เปน็ ผเู้ สนอเงอ่ื นไขดที ส่ี ดุ และกระทรวงคมนาคมไดเ้ ชญิ
มาเจรจาเกยี่ วกบั รายละเอียดการให้สัมปทาน ครัง้ แรกเมื่อวันท่ี 27 ธันวาคม
2533 บรษิ ทั ฯ ไดเ้ พม่ิ เตมิ ขอ้ เสนอหลายขอ้ หนงึ่ ในขอ้ เสนอเพมิ่ เตมิ คอื บรษิ ทั ฯ
จะจัดต้ังบริษัทขึ้นใหม่มีทุนจดทะเบียนไม่น้อยกว่า 1,000,000,000 บาท
เพื่อเป็นผู้ลงนามในสัญญาสัมปทาน รวมทั้งเป็นผู้ด�ำเนินงานบริหารโครงการ
28
15 คดีทจุ รติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง
ดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ โดยบริษัทฯ จะเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทที่จะ
จดั ตงั้ ข้นึ ใหม่ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 51 ของจำ� นวนหุ้นทง้ั หมด
ต่อมาวันท่ี 2 มกราคม 2534 บริษัทฯ มีหนังสือยืนยันข้อเสนอ
เพม่ิ เตมิ ดงั กลา่ วถงึ ประธานคณะกรรมการพจิ ารณาสมั ปทานโครงการดาวเทยี ม
สอ่ื สารภายในประเทศ เมอื่ กระทรวงคมนาคมเสนอคณะรฐั มนตรใี หค้ วามเหน็ ชอบ
ให้บริษัทฯ เป็นผู้ได้รับสัมปทาน ส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้มีหนังสือ
ขอให้กระทรวงการคลังพิจารณาเสนอความเห็นเพ่ือประกอบการพิจารณา
ของคณะรัฐมนตรี
กระทรวงการคลังได้เสนอความเห็นในประเด็นการก�ำหนดสัดส่วน
การถอื หนุ้ ในบรษิ ทั ทจ่ี ะจดั ตงั้ ขน้ึ ใหมว่ า่ ควรกำ� หนดเปน็ เงอ่ื นไขวา่ การจำ� หนา่ ยหนุ้
คราวเดยี วหรอื หลายคราวซง่ึ มผี ลทำ� ใหบ้ คุ คลใดบคุ คลหนงึ่ ถอื หนุ้ เกนิ กวา่ อตั รา
ทกี่ ำ� หนด เชน่ รอ้ ยละ 5 หรอื รอ้ ยละ 10 ตอ้ งไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากรฐั บาลกอ่ น
และการคัดเลือกผู้ได้รับสัมปทาน ให้รัฐบาลพิจารณาคุณสมบัติและ
ความช�ำนาญของผู้ยื่นข้อเสนอด้วย และมีการน�ำเข้าสู่การพิจารณาของ
คณะกรรมการกลน่ั กรองเรอ่ื งเสนอคณะรฐั มนตรฝี า่ ยเศรษฐกจิ โดยคณะกรรมการ
กลนั่ กรองฯ มีมติเม่ือวนั ที่ 29 พฤษภาคม 2534 วา่ เห็นควรอนุมัติใหบ้ ริษัท
ชนิ วัตร คอมพิวเตอร์ แอนด์ คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จ�ำกดั เป็นผไู้ ด้รบั สมั ปทาน
โครงการดาวเทียมส่ือสารภายในประเทศ ตามเงื่อนไขการให้สัมปทานของ
กระทรวงคมนาคมในข้อก�ำหนดการท�ำข้อเสนอขอรับสัมปทานโครงการ
ดาวเทียมส่ือสารภายในประเทศ โดยมีระยะเวลาคุ้มครองการลงทุน 8 ปี
นบั แตว่ นั ลงนามในสญั ญา และมรี ะยะเวลาสมั ปทาน 30 ปี และคณะรฐั มนตรี
มมี ตเิ มอ่ื วนั ท่ี 4 มถิ นุ ายน 2534 เหน็ ชอบตามมตคิ ณะกรรมการกลนั่ กรองฯ
แมว้ า่ ในขอ้ กำ� หนดการทำ� ขอ้ เสนอขอรบั สมั ปทานโครงการดาวเทยี ม
สื่อสารภายในประเทศไม่ได้ก�ำหนดว่าผู้เสนอราคาจะต้องจัดตั้งบริษัท
ข้ึนใหม่เพื่อด�ำเนินงานตามสัญญาและผู้เสนอราคาจะต้องถือหุ้นในบริษัท
ทจี่ ะจดั ตง้ั ขน้ึ ใหมไ่ มน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 51 กต็ าม แตเ่ มอ่ื เปน็ ขอ้ เสนอเพม่ิ เตมิ
ของบริษัทฯ ที่สืบเน่ืองมาจากผลการเจรจากับคณะกรรมการพิจารณา
ข้อเสนอโครงการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ และขณะที่กระทรวง
29
15 คดีทจุ รติ ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง
คมนาคมเสนอใหค้ ณะรฐั มนตรพี จิ ารณาอนมุ ตั กิ ไ็ ดร้ ะบเุ งอ่ื นไขเรอื่ งสดั สว่ น
การถือหุ้นในบริษัทท่ีจะจัดต้ังขึ้นใหม่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ตามท่ีบริษัท
เสนอเพม่ิ เตมิ ไวใ้ นหนงั สอื ขอความเหน็ ชอบจากคณะรฐั มนตรดี ว้ ย ขอ้ เสนอ
เพม่ิ เตมิ ในเรอ่ื งดงั กลา่ วจงึ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของขอ้ กำ� หนดการทำ� ขอ้ เสนอขอรบั
สมั ปทานโครงการดาวเทียมสอ่ื สารภายในประเทศ
เม่อื คณะรัฐมนตรีไดพ้ ิจารณาแลว้ มีมติเหน็ ชอบ
ตามท่กี ระทรวงคมนาคมเสนอใหบ้ รษิ ัท ชินวตั ร คอมพวิ เตอร์
แอนด์ คอมมวิ นเิ คช่ันส์ จำ� กดั เป็นผูไ้ ดร้ บั สมั ปทาน
จึงตอ้ งถือว่ามติคณะรฐั มนตรคี รอบคลมุ ถงึ
เร่อื งการก�ำหนดให้ต้องถือห้นุ ในบรษิ ทั ท่ีจะจัดตงั้ ขน้ึ ใหม่
ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 51 ของจำ� นวนหุ้นทงั้ หมด
นอกจากนน้ั เงอื่ นไขสญั ญาสมั ปทานขอ้ ท่ี 4 ดงั กลา่ ว ยงั สอดคลอ้ งกบั
วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการดาวเทยี มสอ่ื สารในประเทศครงั้ นี้ ในเรอื่ งการกำ� หนด
คณุ สมบตั ขิ องผรู้ บั สมั ปทาน ซง่ึ เปน็ เหตผุ ลสำ� คญั ประการหนงึ่ ทคี่ ณะรฐั มนตรี
พจิ ารณาอนมุ ตั ใิ หบ้ รษิ ทั ชนิ วตั ร คอมพวิ เตอร์ แอนด์ คอมมวิ นเิ คชน่ั ส์ จำ� กดั เปน็
ผไู้ ดร้ บั สมั ปทาน ดงั จะเหน็ ไดว้ า่ เมอื่ กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ
สอ่ื สารไดม้ หี นงั สอื หารอื ไปยงั อยั การสงู สดุ อยั การสงู สดุ กไ็ ดต้ งั้ ขอ้ สงั เกตวา่
คุณสมบัติ ความน่าเชื่อถือ และความสามารถของบริษัทผู้รับสัมปทาน
เปน็ เงอ่ื นไขสาระสำ� คญั อยา่ งยงิ่ ของสญั ญาสมั ปทาน เมอ่ื จะแกไ้ ขเปลยี่ นแปลง
เงื่อนไขสัญญาข้อน้ีซึ่งเป็นสาระส�ำคัญของสัญญาและเป็นส่วนหน่ึงท่ีได้รับ
การอนุมัติโดยคณะรัฐมนตรี ก็ต้องน�ำเร่ืองเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา
ใหค้ วามเหน็ ชอบเสยี กอ่ นลงนามในสัญญา
การที่จ�ำเลยท่ี 1 ใช้อ�ำนาจในฐานะรัฐมนตรีอนุมัติให้มีการแก้ไข
30
15 คดีทุจริต ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง
สญั ญาลดสดั สว่ นการถอื หนุ้ ของบรษิ ทั ชนิ วตั ร คอมพวิ เตอร์ แอนด์ คอมมวิ
นเิ คชนั่ ส์ จำ� กดั ในบรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) จงึ เปน็ การฝา่ ฝนื
ระเบยี บส�ำนกั นายกรัฐมนตรี ว่าดว้ ยการเสนอเร่ืองตอ่ คณะรฐั มนตรี พ.ศ.
2531 ข้อ 7 (4)
ทจี่ ำ� เลยทง้ั สามนำ� สบื ตอ่ สวู้ า่ การกำ� หนดสดั สว่ นการถอื หนุ้ ในบรษิ ทั
ทจ่ี ะจัดต้ังขึน้ ใหม่ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 51 ตามทร่ี ะบไุ วใ้ นข้อ 4 ของสัญญา
ไมใ่ ชม่ ตขิ องคณะรัฐมนตรี หากแต่เป็นดำ� ริของ นายนกุ ลู ประจวบเหมาะ
รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคมในขณะนั้น ศาลเหน็ วา่
ตามบันทึกข้อความ ลงวันที่ 27 สิงหาคม 2534 ไดค้ วามว่า ในชัน้
ตรวจรา่ งสญั ญาดำ� เนนิ กจิ การดาวเทยี มสอ่ื สารภายในประเทศ นายนกุ ลู ฯ เพยี ง
แตส่ ง่ั การใหแ้ กไ้ ขรา่ งสญั ญาในเรอื่ งการจดั ตง้ั บรษิ ทั ใหมม่ าดำ� เนนิ งานตามรา่ ง
สัญญาข้อ 4 ซ่งึ ตามร่างเดิมระบเุ ปน็ ดลุ พินจิ ของบรษิ ัท ชินวตั ร คอมพวิ เตอร์
แอนด์ คอมมวิ นเิ คชน่ั ส์ จำ� กัด ท่ีจะจดั ตง้ั บรษิ ัทขึ้นมาดำ� เนนิ งานตามสญั ญา
หรือไม่ก็ได้ แล้วเปล่ียนเป็นบทบังคับให้ต้องจัดต้ังบริษัทใหม่เพื่อด�ำเนินงาน
ตามสญั ญาภายใน 12 เดือน นับจากวนั ใหบ้ รกิ ารวงจรดาวเทยี ม นอกจากนี้
ยงั สง่ั การใหเ้ พม่ิ เงอื่ นไขใหบ้ รษิ ทั ทง้ั สองยงั คงตอ้ งรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ตามสญั ญา
ส่วนเร่ืองก�ำหนดสัดส่วนถือหุ้นในบริษัทที่จัดต้ังขึ้นใหม่ไม่น้อยกว่า
รอ้ ยละ 51 ของจำ� นวนหนุ้ ทงั้ หมดนน้ั คงเปน็ ไปตามขอ้ เสนอเพมิ่ เตมิ ของบรษิ ทั
ชนิ วตั ร คอมพวิ เตอร์ แอนด์ คอมมวิ นเิ คชน่ั ส์ จำ� กดั โดยไมม่ กี ารเปลยี่ นแปลง
ข้อตอ่ สขู้ องจำ� เลยทั้งสามที่ว่า การก�ำหนดสัดสว่ นการถือครองหนุ้
ในบรษิ ทั ทจ่ี ะจดั ตง้ั ขน้ึ ใหมไ่ มน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 51 ไมไ่ ดผ้ า่ นการพจิ ารณาจาก
คณะรฐั มนตรี จึงไมถ่ ือเปน็ มติของคณะรฐั มนตรีน้ัน ฟงั ไมข่ น้ึ
ปญั หาตอ่ ไปวา่
การท่จี ำ� เลยท่ี 1 อนุมตั ใิ ห้แก้ไขสัญญาดังกล่าวเสยี เอง
เป็นการกระท�ำโดยสจุ รติ และมีขอ้ แกต้ วั หรอื ไม่
จำ� เลยท่ี 1 ใหก้ ารตอ่ สวู้ า่ ไดส้ ง่ เรอ่ื งการรอ้ งขอแกไ้ ขสญั ญาของบรษิ ทั
ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กัด (มหาชน) ไปยงั เลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพอื่ น�ำเขา้ สู่
31
15 คดที จุ รติ ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง
การพิจารณาของคณะรัฐมนตรีแลว้ แต่ได้รบั หนงั สือคนื มาโดยแจ้งว่า ไม่เขา้
หลกั เกณฑท์ ต่ี อ้ งใหค้ ณะรฐั มนตรพี จิ ารณา ทง้ั จำ� เลยท่ี 1 ไดห้ ารอื อยั การสงู สดุ
แล้วได้รับค�ำตอบวา่ จำ� เลยท่ี 1 มีดุลพนิ ิจที่จะอนุมตั ิให้แกไ้ ขสัญญาได้
ในเรือ่ งนี้ศาลเห็นวา่
ส�ำหรับจ�ำเลยที่ 1 ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสาร แม้จะน�ำเร่ืองการขอแก้ไขการลดสัดส่วน
การถือหุ้นของบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) เสนอต่อคณะ
รัฐมนตรี แต่ข้อเท็จจริงได้ความจากนายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ เลขาธิการ
คณะรัฐมนตรีในขณะเกิดเหตุว่า เร่ืองดังกล่าวไม่อาจน�ำเข้าพิจารณาใน
คณะรฐั มนตรไี ด้ เนอ่ื งจากนายกรฐั มนตรเี ปน็ คสู่ ญั ญา ขดั ตอ่ พระราชบญั ญตั ิ
ระเบียบวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มาตรา 13 และ
นายบวรศักดิ์ฯ ไดแ้ จ้งจำ� เลยที่ 1 ทราบทางโทรศพั ท์ พรอ้ มกับขอให้ถอนเรื่อง
แต่จำ� เลยที่ 1 ปฏิเสธ
ส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจึงมีหนังสือส่งเรื่องคืนกระทรวง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร โดยระบุในหนังสือส่งเร่ืองคืนว่า ไม่
เข้าหลักเกณฑ์ เพื่อรักษาหน้าของรัฐมนตรีและรักษาความสัมพันธ์ระหว่าง
นายบวรศักดฯ์ิ กบั นายกรฐั มนตรี
แมจ้ �ำเลยท่ี 1 เบกิ ความยืนยนั ว่า นายบวรศักดิ์ฯ ไม่เคยโทรศพั ท์แจ้ง
ให้ถอนเรอื่ งคืนตามเหตผุ ลท่ีอ้าง แตจ่ ำ� เลยที่ 1 เบิกความยอมรับว่า ในวันที่
ส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีมีหนังสือตอบกลับมายังกระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสาร จ�ำเลยที่ 1 ได้ตามเรื่องจากเจ้าหน้าที่ของส�ำนัก
เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ต่อมาเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้โทรศัพท์แจ้งว่า
เร่ืองดังกล่าวไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ท่ีจะต้องเสนอคณะรัฐมนตรี ขอให้ถอน
เรื่องกลับ จ�ำเลยที่ 1 ยืนยันว่าจะไม่ถอนเรื่องเพราะอัยการสูงสุดได้ต้ัง
ข้อสังเกตว่าต้องเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา โดยใช้เวลาพูดคุยกันไม่ถึง
1 นาที และไมไ่ ดพ้ ดู ถงึ เหตผุ ลอืน่
เห็นว่า นายบวรศักดิ์ฯ ด�ำรงต�ำแหน่งเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
มอี ำ� นาจหนา้ ทกี่ ลน่ั กรองเรอ่ื งกอ่ นเขา้ สกู่ ารพจิ ารณาของคณะรฐั มนตรี ขอ้ เทจ็ จรงิ
32
15 คดีทจุ รติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง
มาตรา 13 cCoOnNtTrAaCcTt
ไม่ปรากฏว่า นายบวรศักดิ์ฯ มีสาเหตุโกรธเคืองหรือมูลเหตุจูงใจให้ต้อง
เบกิ ความปรกั ปร�ำจำ� เลยท่ี 1 ทัง้ ไดใ้ ห้การยนื ยนั ถึงข้อเท็จจรงิ ดงั กล่าวมาโดย
ตลอด ตงั้ แตค่ ดที อ่ี ยั การสงู สดุ ยนื่ คำ� รอ้ งขอใหท้ รพั ยส์ นิ ของพนั ตำ� รวจโท ทกั ษณิ
ชนิ วตั ร ตกเปน็ ของแผน่ ดนิ นา่ เชอ่ื วา่ นายบวรศกั ดฯิ์ เบกิ ความไปตามความจรงิ
การทจ่ี �ำเลยที่ 1 ไดร้ ับแจ้งจากนายบวรศกั ดฯิ์ ถึงเหตุผลท่ไี มส่ ามารถ
นำ� เรอ่ื งเสนอคณะรฐั มนตรี และขอให้จ�ำเลยท่ี 1 ถอนเรื่องคืน ซึ่งมสี าเหตุจาก
ผลประโยชน์ทับซ้อนนั้น เป็นเหตุผลที่มีความชัดแจ้งและหนักแน่น “เพราะ
จ�ำเลยท่ี 1 ย่อมทราบดีว่านายกรัฐมนตรีในขณะน้ันเป็นประธานกลุ่มบริษัท
ผู้รับสัมปทาน แทนที่จ�ำเลยท่ี 1 จะค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติ
แตจ่ ำ� เลยที่ 1 กลับยนื ยันไม่ถอนเร่อื ง เพื่อใหน้ ายบวรศักด์ฯิ ส่งเรือ่ งคนื เป็น
ลายลกั ษณอ์ กั ษร เพอ่ื ใชอ้ า้ งเปน็ พยานหลกั ฐานปอ้ งกนั ตนเองหากมกี ารกลา่ วหา
ในภายหลัง ว่าตนได้มีการเสนอเรื่องเข้าคณะรัฐมนตรีแล้ว แต่เลขาธิการ
คณะรัฐมนตรสี ง่ เรื่องคนื ”
เม่ือกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้รับแจ้งเป็น
หนังสือจากส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีว่าได้ส่งเรื่องคืนแล้ว จ�ำเลยท่ี 3
ไดม้ บี นั ทกึ เสนอใหจ้ ำ� เลยที่ 1 อนมุ ตั แิ กไ้ ขเปลยี่ นแปลงสญั ญาและกำ� หนดวนั เวลา
33
15 คดที ุจริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง
การลงนามร่วมกันสามฝา่ ย แม้จำ� เลยท่ี 1 จะเขยี นสงั่ ในบันทกึ ใหห้ ารอื อยั การ
สูงสุดอีกคร้ังว่า กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารจะสามารถ
ใช้ดุลพินิจด�ำเนินการแก้ไขสัญญาโดยไม่ต้องเสนอคณะรัฐมนตรีได้หรือไม่
โดยไม่ได้หารือเรื่องท่ีนายบวรศักด์ิฯ มีความเห็นว่า พันต�ำรวจโท ทักษิณฯ
ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเป็นคู่สัญญา แสดงให้เห็นว่าจ�ำเลยท่ี 1
มเี จตนาปกปดิ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทห่ี ารอื ไปยงั อยั การสงู สดุ และสอ่ ถงึ เจตนาทแ่ี ทจ้ รงิ
วา่ ในการหารืออัยการสงู สดุ อีกครั้ง ก็เพ่อื เปน็ พยานหลักฐานป้องกนั ตนเอง
หากในภายหนา้ เกดิ ขอ้ รอ้ งเรยี นในเร่อื งนี้
สว่ นเรอ่ื งทอ่ี ยั การสงู สดุ ตอบขอ้ หารอื ครงั้ หลงั วา่ จำ� เลยท่ี 1 มดี ลุ พนิ จิ
ทจ่ี ะอนมุ ตั ใิ หแ้ กไ้ ขสญั ญาไดน้ น้ั กต็ อบภายใตเ้ งอื่ นไขวา่ ในเมอ่ื สำ� นกั เลขาธกิ าร
คณะรัฐมนตรีแจ้งว่าเรื่องดังกล่าวไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะให้คณะรัฐมนตรี
พิจารณา จ�ำเลยท่ี 1 ย่อมมีดุลพินิจท่ีจะแก้ไขสัญญาได้ โดยท่ีอัยการสูงสุด
ไมท่ ราบเบอื้ งหลงั การพดู คยุ ระหวา่ งจำ� เลยท่ี 1 กบั นายบวรศกั ดฯ์ิ ซงึ่ จำ� เลยที่ 1
ทราบดีอยแู่ ลว้
นอกจากน้ัน ในการขอแก้ไขสัญญาในคร้ังนี้ ปรากฏข้อพิรุธ
หลายประการ กลา่ วคอื บรษิ ทั ชนิ คอรป์ อเรชน่ั จำ� กดั (มหาชน) ประสงคข์ อลด
สดั สว่ นการถือหุน้ ในบรษิ ัท ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน) แต่บริษัท ชิน
แซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) เปน็ ผทู้ ำ� หนงั สอื ขออนมุ ตั ติ อ่ กระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสือ่ สารเสียเอง และไมป่ รากฏวา่ บริษัท ชิน คอรป์ อเรช่นั
จำ� กดั (มหาชน) ไดม้ มี ตขิ องคณะกรรมการบรษิ ทั หรอื มตขิ องทปี่ ระชมุ ผถู้ อื หนุ้
ในเรอื่ งขอลดสัดส่วนการถอื ห้นุ ในบริษัท ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน)
ขอ้ พริ ธุ ประการตอ่ มา ตามหนงั สอื ขอแกไ้ ขสญั ญาดงั กลา่ ว ระบเุ หตผุ ล
อย่างก�ำกวมท�ำนองว่าสภาวะการแข่งขันการให้บริการสื่อสารผ่านดาวเทียม
ในตลาดโลกมกี ารแขง่ ขนั สงู มาก มคี วามจำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ทผี่ ใู้ หบ้ รกิ ารชอ่ งสญั ญาณ
ดาวเทยี มในภมู ภิ าคเอเชยี จะจบั มอื กบั พนั ธมติ รทมี่ ปี ระสบการณ์ ความรู้ ความ
สามารถ แหลง่ เงนิ ทนุ และเทคโนโลยเี พอื่ เสรมิ ศกั ยภาพของตนเองใหส้ ามารถ
แข่งขันในตลาดโลกได้ เพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมในการแข่งขัน บริษัท
ชนิ แซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน) จะตอ้ งหาพนั ธมิตรเพือ่ ขยายศกั ยภาพ ซึ่ง
34
15 คดีทจุ ริต ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง
ออกหุน้ เพ่มิ ทนุ ประชาชนท่ัวไป
เพ่อื จ�ำหน่าย
208,000,000 หุ้น
บมจ. ชินแซทเทลไลท์
จะมผี ลท�ำใหส้ ัดสว่ นการถอื หนุ้ ของบรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน)
ลดลงจากรอ้ ยละ 51 เนื่องจากตอ้ งใหพ้ ันธมติ รหรือเจา้ ของแหลง่ เงินทนุ เข้ามา
มสี ่วนในการถือหนุ้ บางสว่ น
ศาลเห็นว่า ข้ออ้างที่ว่า บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน)
ต้องหาพันธมิตรเพ่ือเสริมศักยภาพของตนเองให้สามารถแข่งขันในตลาดโลก
ได้นนั้ ข้อเท็จจริงกลับไมป่ รากฏวา่ บริษทั ชนิ แซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน)
ไดเ้ จรจากบั พนั ธมติ รรายใด และปรมิ าณหนุ้ ทอี่ า้ งวา่ พนั ธมติ รจะเขา้ มาถอื ครอง
บางส่วนนั้นคดิ เป็นร้อยละเท่าใด
ประการสดุ ทา้ ย ตามหนงั สอื ขอแกไ้ ขสญั ญาของบรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์
จ�ำกดั (มหาชน) ไม่ได้แนบเอกสารประกอบใด ๆ ไม่ไดก้ ล่าวเฉพาะเจาะจงว่า
บริษัทมีความจ�ำเป็นต้องระดมทุนไปใช้ในกิจการใด เพียงแต่ยกตัวอย่างว่า
การลงทุนในโครงการดาวเทียมไอพีสตาร์ต้องใช้เงินลงทุนสูงประมาณ
14,000,000,000 บาท ดงั นนั้ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทยี่ กขนึ้ อา้ งเพอ่ื ประกอบการขอแกไ้ ข
สัญญาจึงเลื่อนลอย น่าเช่ือว่าการขอแก้ไขสัญญามีวัตถุประสงค์อ่ืนแอบแฝง
ดังจะเหน็ ได้วา่ หลังจากจ�ำเลยท่ี 1 อนมุ ัตใิ ห้แก้ไขสญั ญาแลว้ บรษิ ัท ชินแซท
เทลไลท์ จำ� กัด (มหาชน) ได้ออกหุ้นเพ่มิ ทุน 208,000,000 ห้นุ ขายใหแ้ ก่
บุคคลท่ัวไป ไม่ได้ขายให้พันธมิตรที่มีประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ
แหล่งเงินทนุ และเทคโนโลยีตามท่อี า้ งในหนังสือขอแก้ไขสญั ญาแตป่ ระการใด
35
15 คดีทุจริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง
สว่ นการท่บี ริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำ� กัด (มหาชน) ได้มหี นงั สอื น�ำส่ง
ข้อมูลด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องต่อกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สอื่ สาร โดยชีแ้ จงถงึ ประเดน็ ข้อกฎหมายในการแกไ้ ขสญั ญาเท่านน้ั แต่ไม่ได้
ชแ้ี จงถงึ เหตผุ ลความจำ� เปน็ ทบ่ี รษิ ทั ชนิ คอรป์ อเรชน่ั จำ� กดั (มหาชน) ตอ้ งลด
สดั ส่วนการถอื หนุ้ ในบรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน) สำ� หรับข้ออา้ ง
เรอ่ื งต้องหาพันธมิตรหรอื แหลง่ เงนิ ทุนก็มิได้มกี ารชแ้ี จงแต่อยา่ งใด
จากข้อเท็จจริงและพฤติการณ์แวดล้อมดังที่ได้วินิจฉัยมาข้างต้น
การทจ่ี �ำเลยท่ี 1 อนุมัติให้บริษทั ชิน คอร์ปอเรช่นั จำ� กดั (มหาชน) แก้ไข
สญั ญาโดยลดสดั สว่ นการถอื หนุ้ ของบรษิ ทั ชนิ คอรป์ อเรชนั่ จำ� กดั (มหาชน)
ในบรษิ ัท ชินแซทเทลไลท์ จำ� กัด (มหาชน) จากไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 51 เปน็
ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 40 โดยไมไ่ ดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะรฐั มนตรกี อ่ น จงึ
เป็นการอนุมัติที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี
วา่ ดว้ ยการเสนอเรือ่ งตอ่ คณะรฐั มนตรี พ.ศ. 2531 และเป็นการกระทำ� โดย
ไม่สุจรติ และปราศจากขอ้ แกต้ วั อนั จะรบั ฟงั ได้
ประเดน็ ที่ 2 ปญั หาตอ้ งวนิ จิ ฉยั ตอ่ ไปวา่ การอนมุ ตั ใิ หแ้ กไ้ ข
สัญญาครั้งนีท้ ำ� ให้รฐั เสียหายหรอื ไม่
ศาลเห็นว่า
ตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540 ทใ่ี ชบ้ งั คบั
ในขณะเกดิ เหตุ มาตรา 40 ได้บัญญัตใิ หค้ ลืน่ ความถ่ที ใี่ ชใ้ นวิทยกุ ระจายเสียง
วทิ ยโุ ทรทศั น์ และวทิ ยโุ ทรคมนาคมเปน็ ทรพั ยากรสอ่ื สารของชาติ เพอื่ ประโยชน์
สาธารณะ โดยใหม้ อี งคก์ รของรฐั ทเี่ ปน็ อสิ ระทำ� หนา้ ทจ่ี ดั สรรคลนื่ ความถ่ี และ
ก�ำกับดูแลการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์และกิจการ
โทรคมนาคม ท้งั น้ี ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิ
ต่อมาได้มีพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.
2544 ใช้บังคับ ซ่ึงในมาตรา 8 (1) ก�ำหนดให้ผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบ
36
15 คดที จุ ริต ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง
กิจการโทรคมนาคมแบบที่สาม (ผู้ประกอบกิจการโทรคมนาคมท่ีมีโครงข่าย
เปน็ ของตนเอง ซงึ่ มวี ตั ถปุ ระสงคใ์ หบ้ รกิ ารแกบ่ คุ คลทวั่ ไปจำ� นวนมาก หรอื อาจ
มีผลกระทบโดยนัยส�ำคัญต่อการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม หรือกระทบ
ต่อประโยชน์สาธารณะ) จากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
จะต้องมีสัดส่วนการถือหุ้นของบุคคลผู้มีสัญชาติไทยไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
ของทนุ ทง้ั หมดในนติ บิ คุ คลนน้ั รวมทงั้ ตอ้ งมกี รรมการไมน่ อ้ ยกวา่ สามในสข่ี อง
จ�ำนวนกรรมการทั้งหมด และผู้มีอ�ำนาจกระท�ำการผูกพันนิติบุคคลน้ันต้อง
เป็นผูม้ สี ัญชาตไิ ทย และตามมาตรา 31 และมาตรา 63 ของพระราชบัญญัติ
ดังกล่าว ก็ให้อ�ำนาจคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมสามารถด�ำเนินการ
ให้มีการเชื่อมเครือข่ายโทรคมนาคมทั้งหมดได้เม่ือรัฐบาลร้องขอ หรือคณะ
กรรมการกิจการโทรคมนาคมอาจส่ังให้เจ้าพนักงานเข้าครอบครองอุปกรณ์
หรือเครื่องมือของผู้รับใบอนุญาต เพ่ือด�ำเนินการอย่างใดได้เพ่ือประโยชน์ใน
การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน ความม่ันคงของประเทศ หรือ
เสถยี รภาพทางเศรษฐกิจ หรือเพ่อื ประโยชนส์ าธารณะได้
จากบทบญั ญัติแห่งรฐั ธรรมนญู และพระราชบัญญตั ดิ งั กลา่ ว
แสดงใหเ้ ห็นถึงเจตนารมณข์ องกฎหมายว่าใหค้ วามส�ำคัญ
กับกจิ การโทรคมนาคม มีความประสงค์คมุ้ ครองกิจการ
โทรคมนาคมมิใหต้ กเป็นของต่างชาติ จึงกำ� หนดใหผ้ ูข้ อรบั
ใบอนุญาตประกอบกจิ การโทรคมนาคม จะตอ้ งมสี ดั สว่ น
การถือหุน้ กับสดั สว่ นกรรมการและผู้มอี �ำนาจกระทำ� การผูกพนั
นิติบุคคลนนั้ ต้องเป็นผู้มีสญั ชาตไิ ทย
นอกจากนี้ เจตนารมณ์ตามข้อก�ำหนดในการท�ำข้อเสนอขอรับ
สมั ปทานโครงการดาวเทยี มสอื่ สารภายในประเทศ ผยู้ น่ื ขอ้ เสนอขอรบั สมั ปทาน
37
15 คดที ุจรติ ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง
เหน็ ชอบ
เจตนารมณ์ตามข้อกำ� หนดในการทำ� ขอ้ เสนอ
ขอรบั สัมปทานโครงการดาวเทียมส่อื สารภายในประเทศ
ที่ได้รับการพิจารณาเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ต้องท�ำสัญญากับกระทรวง
คมนาคมดว้ ยตนเอง แตเ่ นื่องจากข้อ 1.2.7 ก�ำหนดไว้ว่า กระทรวงคมนาคม
สงวนสทิ ธทิ จ่ี ะสง่ ผแู้ ทนเขา้ รว่ มเปน็ กรรมการบรหิ ารกจิ การดว้ ย 1 คน บรษิ ทั ชนิ
คอร์ปอเรช่ัน จ�ำกัด (มหาชน) ในฐานะผู้ย่ืนขอรับสัมปทานจึงได้เพิ่มเติม
ข้อเสนอวา่ จะจัดตัง้ บรษิ ทั ข้ึนใหม่ เมอ่ื คำ� นึงถึงที่มาและวัตถปุ ระสงค์ของการ
จดั ตงั้ บรษิ ทั ขนึ้ ใหมเ่ พอ่ื ดำ� เนนิ งานตามสญั ญา สถานะของบรษิ ทั ทจี่ ดั ตง้ั ขน้ึ ใหม่
จงึ ตอ้ งมคี ณุ สมบตั คิ วามนา่ เชอ่ื ถอื เทยี บเทา่ กบั บรษิ ทั ชนิ คอรป์ อเรชนั่ จำ� กดั
(มหาชน) ซ่งึ เปน็ ผู้ยื่นขอรบั สัมปทาน
คณะกรรมการพิจารณาสัมปทานโครงการดาวเทียมสื่อสารภายใน
ประเทศมคี วามเหน็ ควรใหบ้ รษิ ทั ชนิ คอรป์ อเรชน่ั จำ� กดั (มหาชน) เปน็ ผไู้ ดร้ บั
สมั ปทานกโ็ ดยพจิ ารณาภายใตเ้ งอ่ื นไขคณุ สมบตั ิ ประสบการณ์ ความชำ� นาญ
ความม่ันคงทางการเงิน รวมท้ังความเหมาะสมและน่าเชื่อถือด้านอ่ืน ๆ
โดยเฉพาะในเรอื่ งการกำ� หนดใหบ้ รษิ ทั ตอ้ งถอื หนุ้ ในบรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์
จำ� กดั (มหาชน) ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 51 ของจำ� นวนหนุ้ ทงั้ หมด กส็ บื เนอื่ งจาก
ความนา่ เชอื่ ถอื ในสถานะของบรษิ ทั และตอ้ งการใหม้ อี ำ� นาจควบคมุ บรหิ าร
จดั การอยา่ งเด็ดขาดในบริษทั ชนิ แซทเทลไลท์ จ�ำกดั (มหาชน) ซึ่งถือเป็น
นัยส�ำคัญประการหนึ่งที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติให้บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น
จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผไู้ ด้รบั สมั ปทาน
38
15 คดที จุ รติ ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง
การอนุมตั ิใหแ้ กไ้ ขสญั ญาสมั ปทานโดยลดสดั ส่วนการถือห้นุ
ของบริษทั ชิน คอร์ปอเรช่ัน จ�ำกัด (มหาชน) ในบริษัท ชิน
แซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน) ย่อมเป็นการลดทอนความม่ันคง
ในการบริหารจัดการและการควบคุมในการดำ� เนนิ
โครงการดาวเทียมส่อื สารภายในประเทศของบรษิ ัท ชิน
คอร์ปอเรช่ัน จำ� กัด (มหาชน) ในฐานะผู้รบั สมั ปทาน
ดังจะเห็นไดว้ า่ ตามหนงั สือชแ้ี จงของบริษทั ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กัด
(มหาชน) ระบุว่า การทีบ่ รษิ ัท ชิน คอรป์ อเรชนั่ จ�ำกดั (มหาชน) ลดสดั ส่วน
การถือหุ้นในบริษทั ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน) ลงเหลอื รอ้ ยละ 40 นั้น
โอกาสทผี่ ถู้ อื หนุ้ รายยอ่ ยซงึ่ มจี ำ� นวนมากกวา่ จะรวมตวั กนั ออกเสยี งลงคะแนน
ไปในทิศทางเดียวกันเพ่ือคัดค้านการตัดสินใจของผู้ถือหุ้นใหญ่คือ บริษัท
ชนิ คอรป์ อเรชน่ั จำ� กัด (มหาชน) นน้ั มีนอ้ ยมากหรือแทบจะไมม่ เี ลย แตถ่ ้า
ไม่แกไ้ ขสญั ญาย่อมไม่มโี อกาสเกิดขึ้นได้เลย
สญั ญาสมั ปทานเกยี่ วเนอื่ งกบั ความมน่ั คงในการสอื่ สารของประเทศ
มผี ลกระทบตอ่ สงั คมและประชาชนอยา่ งกวา้ งขวาง การตดั สนิ ใจดำ� เนนิ การใด ๆ
จงึ ตอ้ งกระทำ� อยา่ งละเอยี ดรอบคอบ และตอ้ งไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี่ งแมแ้ ต่
นอ้ ย
การแกไ้ ขสญั ญาสมั ปทานดังกลา่ วข้างตน้ ยอ่ มก่อใหเ้ กิด
ความเส่ียงต่อการด�ำเนินงานของบรษิ ทั ชินแซทเทลไลท์ จำ� กัด
(มหาชน) กระทบต่อความม่นั คงและความม่ันใจในการดำ� เนนิ
โครงการของบริษทั ชิน คอร์ปอเรช่ัน จำ� กดั
(มหาชน) และท�ำใหร้ ฐั เสียหาย
39
15 คดที ุจริต ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง
พระราชบญั ญตั บิ ริษัทมหาชน
พ.ศ. 2535 มาตรา 107
3 ใน 4
จำ� นวนคะแนนเสยี งท่ีจะใช้
ลงมตพิ เิ ศษในท่ปี ระชุมผูถ้ ือหุ้น
แม้ว่าหลังจากแก้ไขสัญญาสัมปทานผ่านมาจนถึงปัจจุบันยังไม่เคย
เกดิ เหตกุ ารณผ์ ถู้ อื หนุ้ รายยอ่ ยรวมตวั กนั ลงคะแนนเสยี งคดั คา้ นการตดั สนิ ใจ
ของบริษัท ชิน คอร์ปอเรช่ัน จ�ำกัด (มหาชน) ในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่
ก็ยังไม่ใชข่ อ้ พิสจู น์เดด็ ขาดว่าในอนาคตจะไม่เกิดเหตุการณ์เช่นนน้ั
ส่วนข้อท่ีจ�ำเลยท้ังสามต่อสู้ว่าอ�ำนาจควบคุมบริหารจัดการ
อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาดย่อมหมายถึงจ�ำนวนคะแนนเสียงที่จะใช้ลงมติพิเศษใน
ทป่ี ระชมุ ผถู้ อื หนุ้ ซง่ึ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 1194 และ
พระราชบัญญัตบิ รษิ ัทมหาชนจำ� กดั พ.ศ. 2535 มาตรา 107 ใหถ้ อื คะแนน
เสยี งไมน่ อ้ ยกวา่ สามในสข่ี องจำ� นวนเสยี งทง้ั หมดของผถู้ อื หนุ้ ทม่ี าประชมุ และมี
สทิ ธอิ อกเสียงลงคะแนน แตต่ ามสัญญาด�ำเนนิ กจิ การดาวเทียมสื่อสารภายใน
ประเทศ ขอ้ 4 (2) กำ� หนดวา่ บรษิ ัทผู้รบั สมั ปทานต้องเปน็ ผถู้ อื หุ้นในบริษทั
ท่จี ัดตั้งขน้ึ ใหมไ่ ม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 51 ของจำ� นวนหนุ้ ทั้งหมด แสดงใหเ้ หน็ ว่า
ตามขอ้ สญั ญาดงั กลา่ วมเี จตนารมณเ์ พยี งวา่ ประสงคใ์ หบ้ รษิ ทั ชนิ คอรป์ อเรชนั่
จำ� กดั (มหาชน) ดำ� รงสถานะเปน็ ผถู้ อื หนุ้ รายใหญ่ เพอ่ื ใหม้ อี ำ� นาจครอบงำ� การ
ดำ� เนนิ กิจการของบรษิ ทั ชินแซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) เทา่ นั้น หาใชต่ ้อง
ถึงขนาดเบ็ดเสรจ็ เดด็ ขาดไม่
40
15 คดที ุจรติ ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง
การอนุมตั ใิ ห้บริษทั ชิน คอรป์ อเรชัน่ จ�ำกดั (มหาชน) ลดสดั สว่ น
การถอื ครองหนุ้ บรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) จากไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 51
เป็นไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 จึงมิได้มีผลเป็นการเปล่ียนแปลงอ�ำนาจครอบง�ำ
กิจการของบริษัท ชิน คอร์ปอเรช่ัน จ�ำกัด (มหาชน) ในบริษัท ชินแซท
เทลไลท์ จำ� กัด (มหาชน)
ศาลเห็นว่า ศาลได้วินิจฉัยถึงเจตนารมณ์ของสัญญาข้อดังกล่าวไว้
โดยละเอยี ดข้างตน้ แล้ว ขอ้ ตอ่ สู้ของจำ� เลยทัง้ สามฟงั ไม่ขนึ้
นอกจากนี้ ในการแกไ้ ขสญั ญาซงึ่ มรี ฐั เปน็ คสู่ ญั ญากบั เอกชน ยอ่ มอยู่
ภายใตบ้ งั คบั ของระเบยี บสำ� นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 ขอ้
136 ท่วี ่า สญั ญาทล่ี งนามแลว้ จะแกไ้ ขเปลี่ยนแปลงมไิ ด้ เว้นแตก่ ารแกไ้ ขน้ัน
จะเปน็ ความจำ� เปน็ โดยไมท่ ำ� ใหร้ าชการเสยี ประโยชนห์ รอื เปน็ การแกไ้ ขเพอื่
ประโยชน์แกท่ างราชการ
แต่การท่ีจำ� เลยท่ี 1 อนมุ ัติให้แก้สัญญาครงั้ นไ้ี มป่ รากฏวา่
มีการวิเคราะหค์ วามจำ� เป็น และทางไดเ้ สยี หรือประโยชน์
ของทางราชการท่ไี ดจ้ ากการแก้ไขสญั ญา ในการวิเคราะหแ์ ละ
นำ� เสนอของจำ� เลยท่ี 2 และจำ� เลยท่ี 3 ก็มแี ตเ่ พยี งเหตผุ ล
ท่ีบริษัท ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน) มีความจำ� เป็น
ต้องหาพันธมิตร และต้องการระดมเงินทุนอนั เป็นประโยชน์
ท่บี ริษัทจะได้รับฝ่ ายเดียว
แสดงให้เห็นว่ารัฐมิได้ประโยชน์ใดเพิ่มข้ึนจากการอนุมัติให้แก้ไข
สัญญา กลับเพิ่มความเส่ียงในการท่ีจะสูญเสียอ�ำนาจในการควบคุมก�ำกับ
บริษัทผู้รับสัมปทานและบ่ันทอนความม่ันคงของโครงการของชาติมากข้ึน
ดังทีไ่ ดว้ นิ จิ ฉัยแล้ว
41
15 คดที ุจริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง
ประเด็นท่ี 3 ข้อเท็จจริงต้องวินิจฉัยประการต่อไปว่า การ
อนุมัติให้ลดสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัท ชิน คอร์ปอเรช่ัน จ�ำกัด
(มหาชน) ในบรษิ ัท ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) เป็นการเออ้ื
ประโยชนแ์ ก่บรษิ ัทท้ังสองหรือไม่
พฤติการณ์ของจ�ำเลยทั้งสามท่ีกล่าวมาส่อแสดงให้เห็นว่ามีเจตนา
ด�ำเนินการให้มีการอนุมัติแก้ไขสัญญาเพื่อเอ้ือประโยชน์แก่บริษัททั้งสอง ซ่ึง
หลงั จากแกไ้ ขสญั ญา บรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) ไดท้ ำ� การเพมิ่ ทนุ
208,000,000 หุน้ ท�ำให้บริษัท ชนิ คอร์ปอเรชนั่ จำ� กดั (มหาชน) ไมต่ อ้ ง
ซ้ือหุ้นเพ่ิมทุนเพ่ือรักษาสัดส่วนการถือหุ้น จึงเป็นการเอ้ือประโยชน์แก่บริษัท
ทงั้ สอง และท�ำใหเ้ กดิ ความเสียหายแกส่ ำ� นกั กจิ การอวกาศแหง่ ชาติ กระทรวง
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร และทางราชการ
การกระทำ� ของจ�ำเลยที่ 1 จึงเป็นการปฏบิ ัติหรือละเวน้ การปฏิบัติ
หน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด และปฏิบัติหรือ
ละเวน้ การปฏิบตั ิหน้าท่ีโดยทุจรติ องค์คณะผูพ้ พิ ากษามีมตเิ ปน็ เอกฉนั ท์วา่
จ�ำเลยท่ี 1 มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157
มีปัญหาตอ้ งวนิ จิ ฉัยต่อไปวา่ จ�ำเลยท่ี 2 และท่ี 3 ร่วมกระท�ำ
ความผิดกบั จำ� เลยท่ี 1 หรือไม่
เมื่อกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้รับหนังสือของ
บรษิ ัท ชนิ แซทเทลไลท์ จ�ำกดั (มหาชน) คุณหญงิ ทิพาวดี เมฆสวรรค์ ปลดั
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ได้สั่งการถึงนางสาวอนงค์
เศรษฐนันท์ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั กิจการอวกาศแหง่ ชาติวา่ ควรมกี ารวเิ คราะห์
ของฝ่ายผู้ขอและฝ่ายกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารด้วยว่ามี
ความจ�ำเป็นอยา่ งไร และให้จ�ำเลยที่ 2 ในฐานะรองปลดั กระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สารทราบ ในวนั เดียวกนั น้ันนางสาวอนงค์ฯ ได้บนั ทึก
มอบหมายให้จำ� เลยท่ี 3 ซ่ึงขณะน้นั ดำ� รงตำ� แหน่งเจา้ หนา้ ที่วิเคราะหน์ โยบาย
42
15 คดีทุจรติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง
และแผน 8 ว ส�ำนกั กจิ การอวกาศแห่งชาติ ด�ำเนินการโดยดว่ น หลงั จากนนั้
สำ� นกั กจิ การอวกาศแหง่ ชาตไิ ดเ้ ชญิ เจา้ หนา้ ทขี่ องบรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กดั
(มหาชน) มาใหข้ อ้ มูลเพิม่ เติมและใหจ้ ดั ท�ำเอกสารประกอบการชแ้ี จง
บรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) ไดม้ หี นงั สอื ชแ้ี จงตอ่ กระทรวง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร แต่เป็นการชี้แจงประเด็นข้อกฎหมาย
ในการแก้ไขสัญญาเท่าน้ัน โดยไม่ได้ชี้แจงถึงเหตุผลความจ�ำเป็นท่ีบริษัท
ชนิ คอรป์ อเรชนั่ จ�ำกดั (มหาชน) ตอ้ งลดสดั สว่ นการถือหุน้ และไม่ไดช้ ้แี จง
เร่ืองพันธมิตรทีจ่ ะมารว่ มลงทุนหรือแหล่งเงินทนุ
อีกทั้งเมือ่ พิจารณาถึงรายละเอียดของผลการศกึ ษาทจ่ี �ำเลยท่ี 3 รว่ ม
กับนางสาวสุดสาคร สิงห์ศรีโว ท�ำการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าเป็นการ
วิเคราะห์เฉพาะข้อกฎหมายตามแนวทางท่ีบริษัท ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด
(มหาชน) ไดช้ แ้ี จงตอ่ กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร โดยไมไ่ ด้
ศึกษาวิเคราะห์หรือตรวจสอบข้อพิรุธดังวินิจฉัยข้างต้น “ไม่ได้ตรวจสอบถึง
เหตผุ ลความจำ� เปน็ ทบ่ี รษิ ทั ชนิ คอรป์ อเรชนั่ จำ� กดั (มหาชน) ตอ้ งลดสดั สว่ น
การถอื หนุ้ ในบรษิ ทั ชนิ แชทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) และไมป่ รากฏขอ้ เทจ็ จรงิ
เรื่องท่ีบริษัท ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน) อ้างว่าต้องเพ่ิมทุนโดย
การหาพนั ธมิตรหรอื แหล่งเงนิ ทุน นอกจากน้ียงั ไม่มกี ารวเิ คราะหว์ ่ากระทรวง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารจะได้รับผลกระทบหรือได้รับประโยชน์
จากการแกไ้ ขสญั ญาในครง้ั นีห้ รือไม่ อย่างไร”
43
15 คดีทจุ รติ ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ประเดน็ เรอ่ื งการกำ� หนดใหบ้ รษิ ทั ชนิ คอรป์ อเรชน่ั
จำ� กดั (มหาชน) ตอ้ งถือครองหุ้นในบริษัททจี่ ะจัดตง้ั ข้ึนใหม่ในสัดสว่ นไม่นอ้ ย
กว่ารอ้ ยละ 51 ของจ�ำนวนหนุ้ ทั้งหมดนั้น ตามผลการศึกษาวิเคราะห์ระบวุ ่า
มาจากข้อพิจารณาของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมในขณะน้ัน แต่โดย
ข้อเท็จจริงแล้วข้อก�ำหนดในเรื่องสัดส่วนการถือหุ้นเป็นข้อเสนอของบริษัท
ชนิ คอรป์ อเรชน่ั จำ� กดั (มหาชน) และเปน็ ผลจากการเจรจากบั คณะกรรมการ
พิจารณาข้อเสนอโครงการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ ซึ่งได้ผ่านการ
พจิ ารณาให้ความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรีแล้ว
การปฏบิ ตั หิ น้าท่ใี นการศึกษาวิเคราะห์ของจ�ำเลยท่ี 3
มีข้อบกพรอ่ ง ไม่เป็นไปตามขอ้ เท็จจรงิ ไมม่ ีการพจิ ารณา
ความจำ� เป็นของทางราชการและประโยชนข์ องราชการ
มุง่ ศึกษาวิเคราะหไ์ ปในทางสนบั สนุนให้มกี ารแก้ไข
สญั ญาสมั ปทานและเออื้ ประโยชน์แก่ผูข้ อแก้ไขสัญญา
เมอ่ื บนั ทกึ ของนางสาวอนงคฯ์ ถกู เสนอตามลำ� ดบั ชน้ั มาถงึ นายณฐั กนต์
ปิ่นปรีชากุล นิติกร 9 ชช ส�ำนักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสอ่ื สาร นายณฐั กนตฯ์ ไดเ้ สนอความเหน็ วา่ การขอลดสดั สว่ นการถอื หนุ้
มผี ลกระทบตอ่ สญั ญาและข้อกฎหมายท่ีเก่ยี วขอ้ ง
เม่ือเรื่องผ่านมายังจ�ำเลยที่ 2 ในฐานะรองปลัดกระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งเป็นผู้ก�ำกับดูแลส�ำนักกิจการอวกาศแห่งชาติ
ท่ีคณุ หญงิ ทิพาวดฯี มอบหมายใหด้ แู ลในเร่ืองน้ี แต่จ�ำเลยท่ี 2 เพยี งลงนาม
รบั ทราบผลการศกึ ษาของสำ� นกั กจิ การอวกาศแหง่ ชาติ โดยไมป่ รากฏวา่ ไดเ้ รยี ก
นายณฐั กนตฯ์ มาสอบถามเพม่ิ เตมิ ทง้ั มไิ ดส้ ง่ั การใหส้ ำ� นกั กจิ การอวกาศแหง่ ชาติ
ไปท�ำการศกึ ษาวิเคราะห์ข้อมลู ใหค้ รบถ้วน
44
15 คดีทจุ ริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง
ทงั้ ไดค้ วามวา่ จำ� เลยท่ี 1 ไดม้ คี ำ� สง่ั ท่ี 38/2546 แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ
ประสานงานการก�ำกับดูแลและติดตามผลการด�ำเนินงานตามสัญญาด�ำเนิน
กิจการดาวเทียมส่ือสารภายในประเทศ ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้
เอกชนเขา้ รว่ มงานหรอื การดำ� เนนิ การในกจิ การของรฐั พ.ศ. 2535 มาตรา 22
ขณะนั้นจ�ำเลยท่ี 2 เป็นรองปลัดกระทรวงผู้ได้รับมอบหมายให้ท�ำหน้าที่เป็น
ประธานกรรมการชุดดงั กล่าว
ศาลเหน็ ว่า โดยอ�ำนาจและหน้าทขี่ องจ�ำเลยที่ 2 และที่ 3 ย่อมต้อง
ทราบความเป็นมาของสัญญาด�ำเนินกิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ
การขอแก้ไขสัญญาสัมปทานคร้ังนี้เป็นเรื่องส�ำคัญ มีผลกระทบต่อประโยชน์
ไดเ้ สยี ของประเทศชาติ ตอ้ งพจิ ารณาโดยละเอยี ดรอบคอบ สมควรนำ� เขา้ หารอื
ในคณะกรรมการชดุ ดงั กลา่ วซงึ่ มอี ำ� นาจหนา้ ทใี่ หค้ วามเหน็ โดยตรงเพอื่ ทำ� การ
ตรวจสอบวเิ คราะหด์ ว้ ย เนอื่ งจากยงั มคี วามเหน็ ตา่ งระหวา่ งสำ� นกั กจิ การอวกาศ
แหง่ ชาติกบั นิติกร 9 ชช ในประเด็นว่า การลดสดั ส่วนการถือหนุ้ มีผลกระทบ
ตอ่ สญั ญาและในเชงิ กฎหมายท่เี กย่ี วขอ้ งหรอื ไม่
จำ� เลยท่ี 2 เปน็ รองปลดั กระทรวงผรู้ บั ผดิ ชอบกำ� กบั ดแู ลสำ� นกั กจิ การ
อวกาศแหง่ ชาติ ยอ่ มทราบขอ้ เทจ็ จรงิ และความเปน็ มาของสญั ญาสมั ปทานเปน็
อยา่ งดี มหี นา้ ทคี่ วบคมุ ดแู ลผลการศกึ ษาวเิ คราะหใ์ หร้ อบดา้ น เมอื่ สำ� นกั กจิ การ
อวกาศแหง่ ชาตแิ ละนิติกร 9 ชช ยังมีความเหน็ แตกตา่ ง จ�ำเลยที่ 2 ย่อม
สามารถเสนอความเหน็ ตอ่ ปลดั กระทรวงหรอื จำ� เลยท่ี 1 ใหน้ ำ� เขา้ หารอื ในคณะ
กรรมการชดุ ดังกลา่ วเพอ่ื ระดมความคิดเหน็ ได้ แตจ่ �ำเลยที่ 2 เพยี งแตล่ งช่ือ
รบั ทราบโดยไม่ไดแ้ สดงความเห็นใด ๆ อนั เป็นการไมป่ ฏิบตั ิตามหนา้ ทที่ ไี่ ดร้ ับ
มอบหมายอยา่ งทค่ี วรจะเป็น
ขณะบรษิ ทั ชนิ คอรป์ อเรชนั่ จำ� กดั (มหาชน) ยนื่ เสนอขอรบั สมั ปทาน
นนั้ มีพนั ต�ำรวจโท ทกั ษณิ ชนิ วตั ร เป็นประธานกรรมการ และยงั เปน็ ผเู้ จรจา
เง่ือนไขรายละเอียดกับทางราชการและเป็นผู้ลงนามสัญญาสัมปทานในฐานะ
ประธานกรรมการบรษิ ทั ชนิ วตั ร คอมพวิ เตอร์ แอนด์ คอมมวิ นเิ คชน่ั ส์ จำ� กดั เมอ่ื
มกี ารจัดตงั้ บรษิ ทั ใหม่มาดำ� เนินงานตามสญั ญา โดยมกี ารแกไ้ ขสญั ญาคร้งั ที่ 1
เพือ่ ให้ทงั้ สองบริษทั รบั ผิดรว่ มกันและแทนกัน พันต�ำรวจโท ทกั ษิณฯ ก็เป็นผู้
45
15 คดีทจุ ริต ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง
ลงนามในสญั ญาสมั ปทานทแี่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ในฐานะประธานกรรมการของบรษิ ทั
ท่ีจัดต้ังขน้ึ ใหม่ จำ� เลยท่ี 2 และที่ 3 ยอ่ มทราบวา่ นายกรฐั มนตรีขณะนนั้
มีผลประโยชน์ทับซ้อนและมีส่วนได้เสียในการแก้ไขสัญญา เป็นการเอื้อ
ประโยชนใ์ หแ้ กบ่ รษิ ทั ชนิ คอรป์ อเรชนั่ จำ� กดั (มหาชน) และบรษิ ทั ชนิ แซท
เทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) อนั เปน็ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทโ่ี ดยมชิ อบและโดยทจุ รติ
แต่ข้อเท็จจริงไม่ปรากฏว่าจ�ำเลยท่ี 2 และท่ี 3 กระท�ำความผิด
ดงั กล่าวโดยสมรู้ร่วมคิดกนั หรือสมรู้ร่วมคิดกับจำ� เลยท่ี 1 โดยต่างกระทำ�
ความผดิ ในขณะใชอ้ ำ� นาจหนา้ ทขี่ องตน จำ� เลยทง้ั สามจงึ ไมเ่ ปน็ ตวั การรว่ มกนั
องคค์ ณะผพู้ พิ ากษามมี ตโิ ดยเสยี งขา้ งมาก วา่ จำ� เลยที่ 2 และท่ี 3 มคี วามผดิ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157
พิพากษาว่า จ�ำเลยท้ังสามมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 157
ให้จ�ำคุกจ�ำเลยที่ 1 มีก�ำหนด 1 ปี
จำ� คุกจำ� เลยท่ี 2 และท่ี 3 คนละ 1 ปี และปรับคนละ 20,000 บาท
จำ� เลยท่ี 2 และท่ี 3 เป็นผู้ใตบ้ งั คับบัญชาของจ�ำเลยที่ 1 และไมม่ ีอ�ำนาจหนา้ ท่ี
ในการอนมุ ตั ใิ หแ้ กไ้ ขสญั ญาสมั ปทาน โทษจำ� คกุ จงึ ใหร้ อการลงโทษไวม้ กี ำ� หนด
คนละ 5 ปี
46
15 คดที จุ ริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง
บรษิ ัท ชินวัตร คอมพิวเตอร์ สญั ญาขอ 4 บรษิ ทั ชนิ วัตร
แอนด์ คอมมิวนเิ คชั่นส์ จำกดั แซทเทลไลท์ จำกัด
กำหนดใหจ ดั ตั้ง (บรษิ ทั ทีจ่ ดั ต้งั ขนึ้ ใหม)่
ผ้ไู ด้รับสัมปทานโครงการ บรษิ ัทขน้ึ ใหม
ดำเนนิ กิจการดาวเทียมสือ่ สาร โดยมเี งือ่ นไข 51%
• มีทนุ จดทะเบียน
ภายในประเทศ ทนุ จดทะเบียน
ไมนอ ยกวา 1 พนั ลา้ นบาท
1 พันลา นบาท
• ใหเสร็จส้นิ 23 ม.ี ค. 2535
ภายใน 12 เดอื น
• ถอื หุนในบรษิ ัท
ทจี่ ัดตั้งขึ้นใหม
ไมน อยกวารอยละ 51
มีการเสนอแกไ้ ข
สญั ญาขอ้ 4
40%
47
15 คดีทจุ รติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง
48