The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

AW 15คดีทุจริตป.ป.ช.ต้องฟ้องเอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prnacc.4815, 2022-09-26 03:36:33

AW 15คดีทุจริตป.ป.ช.ต้องฟ้องเอง

AW 15คดีทุจริตป.ป.ช.ต้องฟ้องเอง

15 คดีทจุ รติ ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง

2คดีท่ี

กรณกี ล่าวหา พนั ตำ� รวจโท ทกั ษณิ
หรอื นายทกั ษณิ ชิ นวตั ร

เม่อื ครงั้ ด�ำรงตำ� แหน่งนายกรฐั มนตรี
คดคี วามผิดตอ่ ตำ� แหนง่ หนา้ ท่รี าชการ
กรณปี ล่อยกู้ Exim Bank แกร่ ฐั บาลเมียนมา

อา่ นคำ� พพิ ากษา (ฉบบั เตม็ )

49

15 คดีทจุ ริต ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง

คดีหมายเลขดำ� ท่ี อม. 3/2551
คดหี มายเลขแดงท่ี อม. 4/2551

ระหว่างวันท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2544 ถึงวันท่ี 19 กันยายน 2549
พนั ตำ� รวจโท ทักษิณ ชินวัตร หรือนายทักษิณ ชนิ วัตร ดำ� รงต�ำแหน่งนายก
รัฐมนตรี มีอ�ำนาจหน้าที่ส่ังการและก�ำกับโดยท่ัวไปซ่ึงการบริหารราชการ
แผน่ ดินทง้ั ปวง ตามพระราชบัญญตั ิระเบยี บข้าราชการการเมอื ง พ.ศ. 2535
มาตรา 4 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 4 และพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการแผ่นดนิ พ.ศ. 2534 มาตรา 10 มาตรา 11 และมาตรา 12
รวมถึงการสั่งราชการที่เกี่ยวข้องกับธนาคารเพ่ือการส่งออกและน�ำเข้า
แหง่ ประเทศไทย ผา่ นทางรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการคลงั และรฐั มนตรวี า่ การ
กระทรวงการต่างประเทศ เช่น การแต่งต้ังกรรมการ การแต่งต้ังถอดถอน
ประธานกรรมการธนาคารเพอื่ การสง่ ออกและนำ� เขา้ แหง่ ประเทศไทย ตอ้ งไดร้ บั
ความเหน็ ชอบจากคณะรฐั มนตรขี องจำ� เลยตามมาตรา 13 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ
ธนาคารเพอ่ื การส่งออกและน�ำเขา้ แหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2536

50

15 คดที จุ ริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง

ดังนั้น จ�ำเลยจึงเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และ
เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซ่ึงมีหน้าที่จัดการดูแลกิจการของธนาคารเพ่ือการส่งออก
และน�ำเขา้ แห่งประเทศไทย และในสว่ นท่ีเกย่ี วข้องกบั การต่างประเทศ จ�ำเลย
มีอำ� นาจสง่ั การผา่ นรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการตา่ งประเทศ

ขณะเกิดเหตุ จ�ำเลยและนางพจมาน ชินวัตร คู่สมรสของจ�ำเลย
ให้บุคคลต่าง ๆ ถือหุ้นบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) แทน
รวมทง้ั หมด 1,150,380,520 หนุ้ คดิ รวมเปน็ รอ้ ยละ 47.08 ของจำ� นวนหนุ้ ทง้ั หมด
และบริษทั ชนิ คอรป์ อเรชน่ั จ�ำกดั (มหาชน) เป็นผถู้ อื หุ้นรายใหญ่ในบรษิ ัท
ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน) ซ่ึงเป็นผู้ได้รับสัมปทานโทรคมนาคม
ท่วั ประเทศของสหภาพพม่า

แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงผู้ถือหุ้นและจ�ำนวนหุ้นท่ีถือครองในบริษัท
ชนิ คอรป์ อเรชนั่ จำ� กดั (มหาชน) และมกี ารขายหนุ้ ทง้ั หมดใหก้ บั กลมุ่ เทมาเสก็
ประเทศสิงคโปร์ และแม้จะมีการท�ำหลักฐานการโอนหุ้นและการช�ำระหน้ี
แต่ก็กลับพบข้อพิรุธจนไม่น่าเช่ือว่าจะมีการซื้อขายหุ้นกันจริงระหว่างจ�ำเลย
กบั ผถู้ อื หนุ้ แทนดงั กลา่ ว ดงั นนั้ จำ� เลยจงึ ไดร้ บั ประโยชนจ์ ากผลประกอบกจิ การ
ของบริษัท ชนิ แซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน)

บคุ คลตา่ ง ๆ ที่เปน็ ผ้ถู ือหุ้น

ร้อยละ

47.08

1,150,380,520 หนุ้ หนุ้ บรษิ ทั ชิ น
คอร์ปอเรชั่น จำ� กดั (มหาชน)

51

15 คดที ุจริต ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง

เมอ่ื ระหวา่ งวนั ที่ 6 ตลุ าคม 2546 ถงึ วนั ท่ี 19 ธนั วาคม 2549 จำ� เลย
มีเจตนาทุจริต โดยเข้าไปมีส่วนร่วมในการเจรจาเพื่อให้สหภาพพม่ากู้ยืมเงิน
ในการลงทุนพัฒนาระบบโทรคมนาคม จนในที่สุดจ�ำเลยส่ังการเห็นชอบให้
สหภาพพม่า กเู้ งนิ 3,000 ลา้ นบาท และยังเห็นชอบให้เพม่ิ วงเงินกอู้ กี 1,000
ล้านบาท ส�ำหรับโครงการพัฒนาระบบโทรคมนาคมของสหภาพพม่า แต่ใน
การประชุมที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า ตามปฏิญญาพุกามไม่มีข้อตกลงเร่ือง
การพัฒนาโทรคมนาคมดงั กล่าว

จ�ำเลยกระท�ำในฐานะเป็นเจ้าพนักงานมีหน้าท่ีจัดการหรือดูแล
กิจการธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทย เข้ามีส่วนได้เสีย
เพื่อประโยชน์ส�ำหรับตนเองหรือบริษัท ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน)
ทจี่ ำ� เลยกบั พวกไดร้ บั ประโยชนใ์ นผลของการประกอบกจิ การ จงึ เปน็ การกระทำ�
เพื่อประโยชน์ส�ำหรับตนเองหรือผู้อ่ืนเน่ืองด้วยกิจการนั้น อันเป็นความผิด
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 152

การที่จ�ำเลยเป็นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ก�ำกับดูแลกิจการธนาคาร
เพอื่ การสง่ ออกและนำ� เขา้ แหง่ ประเทศไทย ไดส้ ง่ั การใหธ้ นาคารดงั กลา่ วอนมุ ตั ิ
เงินกู้จ�ำนวน 4,000 ล้านบาท แก่สหภาพพม่า โดยมีอัตราดอกเบ้ียต�่ำกว่า
ตน้ ทนุ รวมท้งั ใหข้ ยายระยะเวลาปลอดการชำ� ระหนี้การจา่ ยเงนิ ตน้ จาก 2 ปี
เป็น 5 ปี ไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งธนาคารเพ่ือการส่งออกและ
นำ� เขา้ แหง่ ประเทศไทย ตามพระราชบญั ญตั ธิ นาคารเพอ่ื การสง่ ออกและนำ� เขา้
แหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2536 มาตรา 7 และมาตรา 8 เปน็ เหตใุ หธ้ นาคารเพอ่ื
การส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทยได้รับความเสียหายตามประมาณการ
โครงการท้ังสนิ้ เปน็ เงิน 670,436,201.25 บาท และต้องขอความคุ้มครองจาก
กระทรวงการคลังเพ่ือชดเชยความเสียหาย ซ่ึงกระทรวงการคลังต้องจัดสรร
งบประมาณรายจา่ ยประจำ� ปี 2549 และปี 2550 ชดเชยความเสยี หายดงั กลา่ ว
ให้แก่ธนาคารเพ่ือการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทยคิดถึงวันท่ี
16 มถิ ุนายน 2551 ได้รับความเสยี หายเปน็ เงนิ 189,125,644.55 บาท

การกระท�ำของจ�ำเลยดังกล่าวจึงเป็นการปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติ
หน้าทีโ่ ดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หน่งึ ผูใ้ ดหรอื ปฏบิ ัตหิ รอื ละเว้น

52

15 คดีทจุ รติ ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง

การปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตอันเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 157

ขอใหล้ งโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 152, 157 ใหจ้ ำ� เลย
คนื หรือใชเ้ งินจ�ำนวน 189,125,644.55 บาท แกก่ ระทรวงการคลัง

ต่อมาจ�ำเลยหลบหนี ศาลออกหมายจับและมีค�ำส่ังจ�ำหน่ายคดี
ชวั่ คราว ตอ่ มาโจทกย์ นื่ คำ� รอ้ ง ขอใหย้ กคดขี นึ้ พจิ ารณาใหม่ ตามพระราชบญั ญตั ิ
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทาง
การเมอื ง พ.ศ. 2560 ศาลอนุญาตให้ยกคดขี นึ้ พิจารณา และไดส้ ง่ หมายเรยี ก
และส�ำเนาคำ� ฟ้องให้จำ� เลยทราบอีกครงั้ โดยชอบแลว้

จ�ำเลยไม่มาศาลในนัดพิจารณาครั้งแรก จึงออกหมายจับจ�ำเลย
มาเพื่อพิจารณาคดี แต่ไม่สามารถจับจ�ำเลยได้ภายในก�ำหนด 3 เดือน
จงึ พจิ ารณาคดตี อ่ ไปโดยไมก่ ระทำ� ตอ่ หนา้ จำ� เลย และถอื วา่ จำ� เลยใหก้ ารปฏเิ สธ
ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยวธิ พี จิ ารณาคดอี าญาของผดู้ ำ� รง
ต�ำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 28 และมาตรา 33

พเิ คราะหพ์ ยานหลกั ฐานตามทางไตส่ วนประกอบรายงานของโจทกแ์ ลว้
ขอ้ เทจ็ จริงเบอ้ื งต้นรบั ฟังไดว้ ่า

53

15 คดีทจุ ริต ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง

ลTำ� IMดEบั LเIหNตEกุ ารณ์

9 กุมภาพันธ์ 2544 ถึง 19 กนั ยายน 2549
จ�ำเลยดำ� รงตำ� แหนง่ นายกรฐั มนตรี

19 และ 20 มิถนุ ายน 2544
จำ� เลยเดนิ ทางเยอื นสหภาพพมา่ อยา่ งเปน็ ทางการ กระทรวง

การตา่ งประเทศ สรุปผลการเดนิ ทางวา่ จำ� เลยพบปะหารือกับพลโท
ขนิ่ ยนุ้ เลขาธกิ าร 1 สภาสนั ตภิ าพและการพัฒนาแหง่ รัฐ ในวนั ท่ี
19 มิถนุ ายน 2544 และพลเอกอาวโุ ส ตาน ฉว่ ย ประธานสภา
สันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐและนายกรัฐมนตรีสหภาพพม่า
ในวันที่ 20 มถิ นุ ายน 2544 ผูน้ �ำทงั้ สองฝา่ ยได้มกี ารลงนามบันทึก
ความเข้าใจระหวา่ งไทย - พมา่ วา่ ด้วยความร่วมมือในการควบคมุ
ยาเสพตดิ และไดอ้ อกแถลงการณร์ ว่ มเกยี่ วกบั ผลการหารอื ในขอ้ 18
ระบวุ า่ นายกรฐั มนตรที ง้ั สองเหน็ ตรงกนั วา่ การพฒั นาเครอื ขา่ ยระบบ
คมนาคมระหว่างพม่าและไทยมีส่วนส�ำคัญยิ่ง ส�ำหรับการส่งเสริม
ความสมั พนั ธด์ ้านการค้า การทอ่ งเทยี่ ว และกิจกรรมทางเศรษฐกจิ
ต่าง ๆ ระหว่างประเทศทั้งสอง จึงตกลงกันว่าหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้อง
จะหารือกันต่อไป เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ รวมทั้ง
แหลง่ ทม่ี าของเงินทุน

54

15 คดที ุจรติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง

9 และ 10 กุมภาพนั ธ์ 2546
จ�ำเลยเดินทางเยือนสหภาพพม่าอีกคร้ัง ผลการหารือ

มรี ายละเอยี ดวา่ รฐั บาลไทยพรอ้ มจะรว่ มมอื กบั สหภาพพมา่ ในการพฒั นา
พ้ืนท่ีชายแดนสหภาพพม่าเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยเน้นเป็น
พิเศษในด้านการแก้ปัญหาพ้ืนฐาน คือการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่
ของประชาชนในชนบท พื้นท่ีชายแดน และการพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐาน การท่องเทีย่ ว และการลงทนุ

6 ถงึ 8 ตลุ าคม 2546
จ�ำเลยเดินทางไปประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเชียนที่เมืองบาหลี

สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ในการประชุมจ�ำเลยได้แสดงความยินดีกับ
พลโท ขิ่น ยุ้น ท่ีได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีสหภาพพม่า
หลงั จากการประชมุ ดงั กล่าว นายวนิ ออ่ ง รัฐมนตรวี า่ การกระทรวง
การตา่ งประเทศสหภาพพมา่ มีหนังสือลงวันที่ 13 ตุลาคม 2546
ถงึ นายสรุ เกยี รติ์ เสถยี รไทย รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการตา่ งประเทศ
สรปุ วา่ ในการประชุมสดุ ยอดผนู้ �ำอาเซียนท่ีเมืองบาหลี มกี ารหารอื
อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการระหวา่ งจำ� เลยและพลโท ขนิ่ ยนุ้ จำ� เลยไดแ้ สดง
ความพรอ้ มของประเทศไทยทจี่ ะใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทางดา้ นการเงนิ
เพอ่ื การกอ่ สรา้ งโครงสรา้ งขน้ั พนื้ ฐาน (Infrastructure building)
สหภาพพม่าจงึ ขอวงเงินสินเชอ่ื จ�ำนวนอย่างน้อย 3,000 ล้านบาท
ซึ่งวงเงินดังกล่าวจะถูกน�ำไปใช้เพื่อซื้อเครื่องจักรกลการก่อสร้าง
และวสั ดอุ ปุ กรณจ์ ากประเทศไทย เพอื่ ใชใ้ นการกอ่ สรา้ งโครงสรา้ ง
พน้ื ฐาน ทง้ั นี้ เครอื่ งจกั รกล และวสั ดอุ ปุ กรณร์ วมถงึ รถแทรกเตอรเ์ กลยี่
ดนิ (bulldozers) รถขดุ ตกั (backhoes) รถบดถนน (rollers) เครอื่ ง
บีบอดั (compacters) รถบรรทุก (dump trucks) ส่วนประกอบ

55

15 คดีทจุ ริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง

สายพานแบบไบเลย่ ์ (bailey bridge parts) ยางมะตอย และอื่น ๆ
(bitumen etc.) ประเทศไทยประกาศความพร้อมที่จะให้ความ
ชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ แกป่ ระเทศเพอ่ื นบา้ น เชน่ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื
แบบให้เปลา่ และการให้กู้เป็นสกุลเงนิ บาทแบบมีเง่อื นไขผอ่ นปรน
10 ถงึ 12 พฤศจิกายน 2546

มีการประชุมสุดยอดผู้น�ำว่าด้วยยุทธศาสตร์ความร่วมมือ
ทางเศรษฐกจิ (ECS) ระหวา่ งกมั พูชา ลาว พม่า และไทย ที่เมอื ง
พุกาม สหภาพพม่า จ�ำเลยอนุมัติให้นายพานทองแท้ ชินวัตร
บตุ รของจ�ำเลยร่วมเดินทางเปน็ คณะทางการด้วย
12 พฤศจกิ ายน 2546

พนักงานของบริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) และ
เจ้าหนา้ ที่ของบรษิ ัท แอดวานซ์ อนิ โฟร์ เซอร์วิส จ�ำกดั (มหาชน)
เข้าไปบริเวณสถานที่จัดการประชุมในฐานะคณะท�ำงานของบริษัท
ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน) ซ่ึงเป็นคู่สัญญากับกระทรวง
การส่ือสารไปรษณีย์และโทรเลขของสหภาพพม่า เพ่ือสาธิตระบบ
โทรศพั ท์เคลอื่ นท่ี GSM ผา่ นดาวเทยี ม ในการสาธิตระบบดังกลา่ ว
สามารถใช้โทรศัพท์ที่น�ำมาจากประเทศไทยจับคล่ืนสัญญาณของ
บรษิ ทั ไดใ้ นบรเิ วณสถานทปี่ ระชมุ ผลการประชมุ ไดใ้ หค้ วามเหน็ ชอบ
ปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) ซ่ึงระบคุ วามรว่ มมือ 5 สาขา
คอื

56

15 คดที จุ ริต ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง

1) การอำ� นวยความสะดวกดา้ นการค้าและการลงทนุ
2) ความรว่ มมือทางดา้ นเกษตรกรรมและอตุ สาหกรรม
3) การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมในภูมภิ าค
4) การท่องเทยี่ ว และ
5) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
จ�ำเลยเสนอให้สนับสนุนในส่วนที่เก่ียวข้องกับการเชื่อมโยง
เสน้ ทางคมนาคม ผลการประชมุ ไมม่ กี ารระบคุ วามตกลงหรอื ความ
รว่ มมือดา้ นการพัฒนาระบบโทรคมนาคมแตอ่ ยา่ งใด
ในการประชมุ กบั สหภาพพมา่ ไดม้ กี ารหารอื กนั อยา่ งไมเ่ ปน็
ทางการระหวา่ งนายสรุ เกยี รตฯิ์ กบั นายวนิ ออ่ ง เกย่ี วกบั ความรว่ มมอื
ทางด้านโทรคมนาคมกับประเทศไทย ต่อมาภายหลังจากการหารือ
กบั จำ� เลยแลว้ นายสรุ เกยี รตฯ์ิ แจง้ ตอ่ นายวนิ ออ่ ง วา่ ประเทศไทย
ไม่ขัดข้องที่จะให้เงินกู้สกุลบาทแก่สหภาพพม่าในลักษณะการให้
วงเงนิ Credit Line มลู คา่ 3,000 ลา้ นบาท โดยไมก่ ำ� หนดโครงการ
ในการใช้วงเงนิ ดงั กล่าว

57

15 คดที ุจริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง

8 มกราคม 2547
นายมา ท่ัน เว อธิบดีกรมความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ

ระหว่างประเทศ กระทรวงวางแผนและพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ
ของสหภาพพม่า มีหนังสือถึงนายโอภาส จันทรทรัพย์ อุปทูตไทย
ประจ�ำสหภาพพมา่ แจ้งวา่ สหภาพพม่ามีโครงการจะพฒั นา การให้
บรกิ ารระบบโทรคมนาคมในเขตชนบทและพน้ื ทห่ี า่ งไกล โดยจะขอรบั
ความช่วยเหลือจากรัฐบาลไทยส�ำหรับขอรับเงินกู้แบบมีเงื่อนไข
ผ่อนปรน มูลค่ารวม 24.05 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั โดยแบง่ เป็นเงินกู้
แบบผอ่ นปรน 23 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั และความชว่ ยเหลอื แบบใหเ้ ปลา่
อีกจ�ำนวน 1.05 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นายโอภาสฯ จึงโทรเลขถึง
กระทรวงการต่างประเทศ ซ่ึงการแจ้งผ่านอุปทูตในลักษณะดงั กล่าว
ไมเ่ ปน็ ไปตามชอ่ งทางปกติ

กระทรวงการตา่ งประเทศโดยนายเตช บุนนาค จึงโทรเลข
ถึงนายสพุ จน์ ธีรเกาศัลย์ เอกอคั รราชทูตไทยประจ�ำสหภาพพม่าวา่
ใหไ้ ปพบกบั เจา้ หนา้ ทรี่ ะดบั สงู ของสหภาพพมา่ เพอ่ื ขอรบั คำ� ยนื ยนั วา่
การขอรับเงินกู้ดังกล่าวได้รับความเห็นชอบจากผู้น�ำระดับสูง
ของสหภาพพม่าแล้วหรือไม่ รวมทั้งขอทราบนโยบายของรัฐบาล
สหภาพพม่าในเรอ่ื งนี้

58

15 คดที ุจริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง

12 มกราคม 2547
นายอภิชาติ ชินวรรโณ อธิบดีกรมเอเชียตะวันออก

มีหนงั สือของกระทรวงการต่างประเทศ ดว่ นมาก ท่ี กต 1303/43
แจ้งธนาคารเพ่ือการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทยเพ่ือด�ำเนิน
การเจรจากบั ฝ่ายสหภาพพมา่ โดยระบวุ า่ ตามท่ีจ�ำเลยได้แจง้ ผนู้ �ำ
สหภาพพม่าเกี่ยวกับความพร้อมของไทยท่ีจะให้ความช่วยเหลือแก่
สหภาพพม่าเพ่อื การกอ่ สรา้ งสาธารณปู โภคตา่ ง ๆ นน้ั นายวิน อ่อง
มีหนังสือระบุว่า ทางการสหภาพพม่ามอบหมายให้ธนาคารการค้า
ตา่ งประเทศแหง่ สหภาพพมา่ (Myanmar Foreign Trade Bank)เปน็
หน่วยงานหลักในการเจรจากับธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้า
แหง่ ประเทศไทย โดยนายตาน ยี่ ผจู้ ดั การบรหิ าร (Managing Director)
สะดวกท่ีจะหารือในวันท่ี 14 มกราคม 2547

19 มกราคม 2547
พลตรี ลา มนิ สว่ ย รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงคมนาคม และ

พลจัตวา เต็ง ซอ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและการ
โรงแรม และกระทรวงการสอื่ สาร ไปรษณยี ์ และโทรเลขของสหภาพ
พม่า ไดเ้ ชญิ นายสุพจนฯ์ และคณะเจ้าหน้าท่ีการทูตไปพบ

พลจตั วา เตง็ ซอ แจง้ วา่ จากการเขา้ เยยี่ มคารวะจำ� เลย จำ� เลย
กล่าวว่าประเทศไทยพร้อมที่จะให้การสนับสนุนเงินกู้เพ่ือการพัฒนา
เครอื ขา่ ยโทรคมนาคมในเขตชนบทและพน้ื ทห่ี า่ งไกลในสหภาพพมา่
ตามทส่ี หภาพพม่าเสนอเพ่อื ฝา่ ยไทยจะนำ� ไปพิจารณา และยงั กลา่ ว
ดว้ ยวา่ บรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) ของไทยและกระทรวง
การสอื่ สาร ไปรษณยี ์ และโทรเลขของสหภาพพมา่ ไดเ้ หน็ ชอบรว่ มกนั
ท่ีจะเปิดให้บริการ (Roaming) เพ่ือพัฒนาระบบการติดต่อสื่อสาร
ระหว่างกัน โดยได้เร่ิมให้บริการเช่ือมต่อสัญญาณโทรคมนาคม
เครอื ขา่ ยเอไอเอสไปแลว้ ตงั้ แตว่ ันท่ี 1 มกราคม 2547

59

15 คดที จุ รติ ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง

21 มกราคม 2547
คณะผู้แทนบริษัท ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน)

เขา้ พบนายสพุ จนฯ์ แจง้ ใหท้ ราบในรายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ วา่ กระทรวง
การสอื่ สาร ไปรษณยี ์ และโทรเลขของสหภาพพมา่ ไดล้ งนามความตกลง
ว่าด้วยการเชื่อมต่อสัญญาณกับบริษัท ซึ่งความตกลงดังกล่าว
เปน็ สว่ นหนงึ่ ของการขยายความรว่ มมอื ระหวา่ งบรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์
จ�ำกัด (มหาชน) กับกระทรวงการสื่อสาร ไปรษณีย์ และโทรเลข
ของสหภาพพม่า และบริษัทยังให้บริการส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม
ในสหภาพพม่าเพ่ือการแพร่ภาพของสถานีโทรทัศน์ตั้งแต่ปี 2541
ท้ังบริษัทยังได้รับคัดเลือกให้ด�ำเนินการแพร่ภาพสถานีโทรทัศน์
ในระบบ Broadband Satellite มาตงั้ แตป่ ลายปี 2546 ผา่ นดาวเทยี ม
ไทยคม 3 และดาวเทยี ม IP Star นอกจากนี้กระทรวงการสอื่ สาร
ไปรษณีย์ และโทรเลขของสหภาพพม่ายังได้ประสานงานกับบริษัท
เก่ียวกับการขอรับความช่วยเหลือจากรัฐบาลไทยในลักษณะขอรับ
เงนิ กแู้ บบผอ่ นปรนและเงนิ กแู้ บบใหเ้ ปลา่ โดยไดย้ นื่ ขอ้ เสนอโครงการ
พฒั นาระบบโทรคมนาคมใหบ้ รษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน)
พจิ ารณาแล้ว และผูใ้ ช้บริการเครือข่ายเอไอเอสสามารถน�ำโทรศัพท์
ระบบดงั กลา่ วไปใชใ้ นสหภาพพม่าได้

ในช่วงเวลาเดียวกันน้ัน คณะผู้แทนของบริษัท ชินแซท
เทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) เขา้ พบผอู้ ำ� นวยการกองเอเชยี ตะวนั ออก 2
กรมเอเชยี ตะวนั ออก กระทรวงการตา่ งประเทศ เพอ่ื ตดิ ตามขน้ั ตอน
การขอกู้เงินจากประเทศไทยเพื่อพัฒนาระบบโทรคมนาคมของ
สหภาพพมา่ ด้วย

กระทรวงการต่างประเทศสหภาพพม่ามหี นังสือลงวนั ท่ี 27
มกราคม 2547 ถงึ นายสุพจน์ฯ สง่ โครงการปรบั ปรุงคณุ ภาพบรกิ าร
โทรคมนาคมทวั่ สหภาพพมา่ รวม 3 โครงการ มลู คา่ รวม 24.05 ลา้ น

60

15 คดีทจุ รติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง

ดอลลารส์ หรฐั เพอื่ ขอรบั เงนิ กแู้ บบผอ่ นปรน 23 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั
(soft loan) และเงนิ กแู้ บบใหเ้ ปลา่ 1.05 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั (grant aid)
โดยมีบริษัท ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผู้รับเลือก
ให้ด�ำเนินการ ซึ่งโครงการน้ีได้ระบุถึงความช่วยเหลือแบบให้เปล่า
ในการกอ่ สรา้ งอาคารมูลคา่ 1.05 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั โดยมีบรษิ ทั
ชินแซทเทลไลท์ จำ� กัด (มหาชน) เปน็ ทีป่ รึกษา

นายอภชิ าตฯิ และนายสรุ เกยี รตฯิ์ ไมเ่ หน็ ดว้ ย ทจี่ ะใหก้ าร
สนบั สนนุ เงนิ กเู้ พอื่ พฒั นาเครอื ขา่ ยโทรคมนาคมตามทส่ี หภาพพมา่
รอ้ งขอ เนอื่ งจากจำ� เลยเพง่ิ ใหค้ วามเหน็ ชอบใหเ้ งนิ กู้ 3,000 ลา้ นบาท
การให้ความช่วยเหลืออีกคร้ังในห้วงเวลากระชั้นชิด อาจท�ำให้
ประเทศไทยตกเป็นเป้าหมายถูกวิพากษ์วิจารณ์ ท้ังยังเสี่ยงต่อ
การที่จ�ำเลยจะถูกเชื่อมโยงว่ามีส่วนในการได้รับผลประโยชน์
จากการให้ความช่วยเหลือสหภาพพม่า จึงได้ปฏิเสธการให้ความ
ชว่ ยเหลอื เปน็ การเฉพาะในการพฒั นาระบบโทรคมนาคมดงั กลา่ วไป
ตามเอกสารลงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2547 เรื่องพม่าขอกู้เงินเพ่ือ
พัฒนาระบบโทรคมนาคม
7 และ 8 กมุ ภาพันธ์ 2547

มกี ารประชมุ ระดบั รฐั มนตรขี องกลมุ่ ความรว่ มมอื BIMSTEC
ทจี่ ังหวดั ภูเก็ต นายวิน อ่อง แจ้งว่าฝ่ายพม่าประสงค์จะได้รับวงเงนิ
3,000 ล้านบาท ในลักษณะที่เป็น standby fund เพือ่ การนำ� เขา้
สนิ คา้ จากไทยมากกว่าท่จี ะเป็นสินเชอ่ื แบบโครงการ

61

15 คดีทุจรติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง

15 กุมภาพนั ธ์ 2547
นายวนิ ออ่ ง มหี นงั สอื ถึงนายสุรเกยี รตฯ์ิ ระบวุ ่า ระหว่าง

การประชมุ BIMSTEC ทจ่ี งั หวดั ภเู กต็ มกี ารหารือทวิภาคที ี่ส�ำคัญ
ประเดน็ การขอรบั วงเงนิ สนิ เชอ่ื 3,000 ลา้ นบาท และความเปน็ ไปได้
ในการลดอตั ราดอกเบย้ี ทเ่ี สนอโดยเจา้ หนา้ ทธี่ นาคารเพอ่ื การสง่ ออก
และนำ� เขา้ แห่งประเทศไทย

27 กมุ ภาพนั ธ์ 2547
นายสุรเกียรติ์ฯ ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ

ตา่ งประเทศ มหี นงั สอื เรยี นจำ� เลยในฐานะนายกรฐั มนตรวี า่ ฝา่ ยพมา่
ประสงค์ที่จะได้รับเงินกู้ 3,000 ล้านบาท ในลักษณะท่ีเป็นวงเงิน
(credit line) เพือ่ การน�ำเขา้ สนิ ค้าจากไทย มากกว่าทจ่ี ะเป็นสินเช่อื
แบบโครงการ เพื่อใช้ในการพัฒนาระบบโทรคมนาคมของพม่า
(วงเงิน 24.05 ล้านดอลลาร์สหรัฐ)

นายสุรเกียรต์ิฯ ได้แจ้งในหลักการว่ารัฐบาลไทยยินดีให้
ความสนับสนุนแต่ขอให้โครงการดังกล่าวอยู่ภายในกรอบสินเชื่อ
3,000 ลา้ นบาท

ในวนั เดยี วกนั นนั้ นายวรี ะศกั ดิ์ ฟตู ระกลู รองปลดั กระทรวง
การตา่ งประเทศ มหี นงั สอื ถงึ กระทรวงการคลงั และกรรมการผจู้ ดั การ
ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทยเก่ียวกับการท่ี
สหภาพพม่าขอทราบความเป็นไปได้ในการขยายวงเงินสินเชื่อจาก
จำ� นวน 3,000 ล้านบาทเป็น 5,000 ล้านบาท เพื่อใหค้ รอบคลมุ ถงึ
โครงการพฒั นาโทรคมนาคมในสหภาพพมา่ (24.05 ล้านดอลลาร์
สหรัฐ) กระทรวงการต่างประเทศเห็นว่า ฝ่ายไทยน่าจะคงจ�ำนวน
วงเงินสินเชื่อ 3,000 ลา้ นบาทเชน่ นีไ้ ว้กอ่ น หากอนาคตเหน็ ความ
จ�ำเป็นที่จะขยายวงเงินสินเช่ือตามข้อเสนอของฝ่ายพม่า จึงค่อย
พิจารณาตอ่ ไป

62

15 คดที ุจริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง

จากน้ัน นายสุรเกียรติ์ฯ ได้เข้าพบหารือกับจ�ำเลยและให้
ความเห็นแกจ่ �ำเลยว่าไมค่ วรมกี ารขยายวงเงินจาก 3,000 ล้านบาท
แต่จ�ำเลยสง่ั การว่า “เราใหห้ ลกั การขอไว้ 3,000 ลา้ นบาทเม่ือเขาขอ
มา 5,000 ลา้ นบาท กใ็ หพ้ บกนั ครง่ึ ทางใหเ้ ขา 4,000 ลา้ นบาท” และ
ใหน้ ายสรุ เกยี รตฯ์ิ แจง้ ไปวา่ จำ� เลยสงั่ การวา่ ใหเ้ พม่ิ เปน็ 4,000 ลา้ นบาท
และจะให้การอุดหนุนส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย นายสุรเกียรติ์ฯ
จึงมหี นังสอื แจง้ นายวิน อ่อง

8 มนี าคม 2547
จ�ำเลยสั่งการเห็นชอบให้กระทรวงการคลังพิจารณา

ความเป็นไปไดเ้ กีย่ วกบั อตั ราดอกเบีย้
25 มนี าคม 2547
ธนาคารเพ่ือการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทยมีมติ

เกี่ยวกบั วงเงินก้ดู งั กล่าว

63

15 คดที ุจรติ ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง

26 มนี าคม 2547
นายวิน อ่อง มีหนังสือถึงนายสุรเกียรต์ิฯ ขอให้พิจารณา

ลดอัตราดอกเบ้ียลงเหลือร้อยละ 3 ต่อปี และปลอดการช�ำระคืน
เงนิ ต้นจาก 2 ปี เป็น 5 ปี

ในการเจรจาขั้นสุดท้ายส�ำหรับวงเงินสินเช่ือดังกล่าว
ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทยได้อนุมัติโดยมี
สาระส�ำคญั คอื

1. อนมุ ตั วิ งเงินสินเช่อื 4,000 ล้านบาท เพ่อื ซื้อเคร่อื งจักร
และพฒั นาประเทศแกร่ ัฐบาลพม่า

2. อัตราดอกเบ้ียลดลงจากร้อยละ 5.75 เป็นอัตราคงท่ี
ร้อยละ 3 ตอ่ ปี

3. ให้ช�ำระดอกเบีย้ ปีละ 2 ครงั้
4. ระยะเวลากู้ 12 ปี
5. ปลอดการชำ� ระเงนิ ตน้ 5 ปี และผอ่ นชำ� ระเงนิ ตน้ 7 ปหี ลงั
6. ลักษณะวงเงินเป็นเงินกู้ระยะยาวเพื่อซื้อเคร่ืองจักร
อปุ กรณ์ วสั ดกุ ่อสร้าง และบรกิ ารทเ่ี ก่ียวข้องจากประเทศไทย
7. ขอความคุ้มครองจากรัฐบาลไทยตามพระราชบัญญัติ
ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2536
มาตรา 23 ซึ่งบัญญตั วิ า่ “ในกรณีท่ีธนาคารได้รับความเสียหาย
เน่ืองจากการด�ำเนินธุรกิจตามนโยบายของรัฐบาลหรือมติ
คณะรัฐมนตรี ให้กระทรวงการคลังด�ำเนินการจัดสรรเงินจาก
งบประมาณประจ�ำปี เพื่อชดเชยแก่ธนาคารตามที่เสยี หายน้ัน”
8. กรณีจ�ำเป็นต้องจัดหาสินค้าที่มีแหล่งก�ำเนิด
นอกประเทศไทยใหก้ ระทำ� ได้ไม่เกนิ ร้อยละ 30 ของวงเงินกู้

64

15 คดที จุ ริต ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง

28 เมษายน 2547
ธนาคารเพอื่ การสง่ ออกและนำ� เขา้ แหง่ ประเทศไทยมหี นงั สอื

ถงึ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการคลงั ขอรบั การสนบั สนนุ การใหร้ ฐั บาล
สหภาพพมา่ กยู้ มื เงนิ 4,000 ลา้ นบาท หากไดร้ บั ความเสยี หายขอให้
รัฐบาลจดั สรรงบประมาณประจ�ำปีเพอ่ื ชดเชย

14 พฤษภาคม 2547
ส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีสรุปเรื่องเสนอประกอบการ

พจิ ารณาของคณะรฐั มนตรีโดยมสี าระสำ� คัญวา่
• ในการประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียนที่เมืองบาหลี

สาธารณรัฐอินโดนเี ซยี เมอ่ื วนั ที่ 7 ตุลาคม 2546 พลโท ข่นิ ยนุ้
นายกรัฐมนตรีสหภาพพม่าได้เจรจาขอกู้เงินจากประเทศไทย
เพื่อใช้ในการซ้ือเคร่ืองจักรและวัสดุก่อสร้างจากประเทศไทย
ในการกอ่ สรา้ งสาธารณปู โภคในสหภาพพมา่ ซง่ึ จำ� เลยเหน็ ชอบใน
หลกั การตามคำ� ขอกเู้ งนิ ไมต่ ำ�่ กวา่ 3,000 ลา้ นบาท โดยใหธ้ นาคาร
เพ่ือการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทยเป็นตัวแทนในการเจรจา
และด�ำเนินการ

• สหภาพพม่าขอเพ่มิ เงินก้เู ปน็ 5,000 ลา้ นบาท แต่ฝ่าย
ไทยได้ประชุมหารือกันและตกลงให้วงเงินกู้แก่สหภาพพม่า 4,000
ล้านบาท

• นายสุรเกียรติ์ฯ เสนอความเห็นประกอบการพิจารณา
ดว้ ยวา่ ภมู หิ ลงั สหภาพพมา่ มคี วามประสงคจ์ ะขอรบั สนิ เชอื่ สำ� หรบั
โครงการพัฒนาระบบโทรคมนาคมของสหภาพพม่าวงเงิน 24.05
ลา้ นดอลลารส์ หรฐั นอกเหนอื จาก 3,000 ลา้ นบาท ทไ่ี ดเ้ จรจากนั แลว้

65

15 คดที ุจรติ ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง

ซ่ึงนายสุรเกียรติ์ฯ แจ้งว่าขอให้โครงการดังกล่าวอยู่ภายในวงเงิน
3,000 ล้านบาท แต่สหภาพพม่าขอขยายวงเงินสินเช่ือดังกล่าว
เป็น 5,000 ลา้ นบาท และเมือ่ วนั ที่ 2 มีนาคม 2547 ได้มหี นงั สือ
ถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหภาพพม่าว่าจ�ำเลย
ตกลงใหเ้ พม่ิ วงเงนิ สนิ เชอื่ จาก 3,000 ลา้ นบาท เปน็ 4,000 ลา้ นบาท
และจะสนับสนุน (subsidize) อตั ราดอกเบ้ียบางส่วน โดยมีการน�ำ
เรอื่ งดงั กลา่ วเขา้ ประชมุ คณะรฐั มนตรเี มอื่ วนั ท่ี 18 พฤษภาคม 2547

4 มถิ ุนายน 2547
พลโท ขิ่น ยุ้น เดินทางมาเยือนประเทศไทยอย่างเป็น

ทางการในฐานะนายกรัฐมนตรีสหภาพพม่า ในการหารือเต็มคณะ
(plenary meeting) จ�ำเลยได้แจ้งแก่ฝ่ายสหภาพพม่าว่าจะเสนอ
เร่ืองการให้วงเงินสินเชื่อ 4,000 ล้านบาทแก่สหภาพพม่าเพื่อขอ
ความเหน็ ชอบในการประชมุ คณะรฐั มนตรคี รง้ั ตอ่ ไป สนิ เชอื่ ดงั กลา่ ว
จะน�ำไปซอื้ เครือ่ งจกั รเพอื่ พัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐาน การพฒั นาพืน้ ท่ี
ชายแดน และแก้ไขปัญหาความยากจน

ต่อมากระทรวงการคลังมีหนังสือด่วนที่สุดลงวันท่ี 8
มถิ ุนายน 2547 ถงึ เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรเี หน็ สมควรเสนอเรอ่ื งนี้
เป็นวาระเพื่อพิจารณาจร ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาการขอรับ
การสนับสนุนการให้เงินกู้เพ่ือซื้อเคร่ืองจักรและพัฒนาประเทศ
แก่สหภาพพม่าอีกครั้ง จ�ำเลยและคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ
ใหด้ ำ� เนนิ การตอ่ ไปไดต้ ามทกี่ ระทรวงการคลงั เสนอ ซง่ึ จำ� เลยลงนาม
สง่ั การอนุมตั ิ

66

15 คดที ุจรติ ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง

25 มิถุนายน 2547
ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทยลงนาม

ในสญั ญาการใหส้ นิ เชอื่ เพอ่ื การสง่ ออกกบั ธนาคารการคา้ ตา่ งประเทศ
แห่งสหภาพพม่าวงเงิน 4,000 ล้านบาท เพื่อใช้ส�ำหรับการจัดซ้ือ
สนิ คา้ ทนุ และบรกิ ารสำ� หรบั การพฒั นาประเทศในภาคสาธารณปู โภค
ข้นั พ้ืนฐาน การเกษตร อตุ สาหกรรม และการโทรคมนาคมสือ่ สาร

ต่อมาธนาคารการค้าต่างประเทศแห่งสหภาพพม่าได้มี
ค�ำขอลงวนั ท่ี 5 สงิ หาคม 2547 ยืน่ ต่อธนาคารเพ่ือการสง่ ออกและ
นำ� เขา้ แหง่ ประเทศไทย ขอใหอ้ นมุ ตั สิ ญั ญาจดั ซอื้ จดั จา้ งระหวา่ งบรษิ ทั
ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน) กับหน่วยงานของสหภาพพม่า
ตามสัญญาลงวันท่ี 30 กรกฎาคม 2547 จ�ำนวนเงินตามสัญญา
15 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ซงึ่ มกี ารโอนสทิ ธติ ามสญั ญาบางสว่ นใหบ้ รษิ ทั
ฮาตาริ ไวร์เลส จ�ำกัด โดยบริษทั ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กัด (มหาชน)
ได้ส่งมอบ IP Star Broadband Satellite System อนั เป็นอุปกรณ์
ตดิ ตง้ั ภาคพ้ืน มูลค่าประมาณ 9.5 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั สว่ นอปุ กรณ์
ต่อพ่วงสัญญาณโทรศัพท์มูลค่าประมาณ 5.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
โอนสิทธิให้บริษัท ฮาตาริ ไวร์เลส จ�ำกดั เมอื่ งานแลว้ เสร็จ

ธนาคารเพ่ือการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทยได้จ่าย
เงินตามสัญญากู้ การใหส้ ินเชื่อใหแ้ ก่บรษิ ทั ชินแซทเทลไลท์ จำ� กัด
(มหาชน) จำ� นวน 9,430,701 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั สดั สว่ นตอ่ ภาระหน้ี
ร้อยละ 9.28 คิดเป็นเงิน 374,647,432.78 บาท และจ่ายเงิน
ใหแ้ กบ่ รษิ ทั ฮาตาริ ไวรเ์ ลส จำ� กดั จำ� นวน 5,569,299 ลา้ นดอลลาร์
สหรฐั คดิ เปน็ เงนิ 218,845,392.18 บาท สดั สว่ นตอ่ ภาระหนร้ี อ้ ยละ
5.48 รวมเป็นเงนิ ท้ังสิน้ 593,492,824.96 บาท

67

15 คดีทจุ รติ ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง

ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทยได้
ขอความคุ้มครองจากกระทรวงการคลังให้จัดสรรเงินงบประมาณ
ประจำ� ปเี พอ่ื ชดเชยสว่ นตา่ งของอตั ราดอกเบย้ี จากการใหก้ ยู้ มื ตาม
ประมาณการทั้งโครงการ เป็นเงนิ 670,436,201.25 บาท และ
กระทรวงการคลังจัดสรรงบประมาณประจ�ำปีชดเชยส่วนต่างของ
อัตราดอกเบยี้ ดังกลา่ วแล้ว ในปีงบประมาณ 2549 ปีงบประมาณ
2550 และปีงบประมาณ 2551 ถงึ วนั ท่ี 16 มถิ ุนายน 2551 รวม
เป็นเงินจ�ำนวน 189,125,644.55 บาท แต่ต่อมาอัตราดอกเบี้ย
มีการเปลยี่ นแปลงลดลงตลอดสญั ญา

กระทรวงการคลังชดเชยส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยปี 2549
ถึงปี 2553 ไปแล้วเปน็ เงิน 337.56 ลา้ นบาท

ตั้งแต่ปี 2554 เปน็ ต้นไปถงึ ครบอายุสญั ญา อตั ราดอกเบย้ี
ลดต่�ำลง ท�ำให้ธนาคารเพ่ือการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทย
สามารถบริหารต้นทุนได้ไม่เกินร้อยละ 3 ต่อปี จึงไม่มีการขอเบิก
งบประมาณ

68

15 คดที จุ ริต ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง

ธนาคารการค้าต่างประเทศแห่งสหภาพพม่าช�ำระหน้ีให้แก่ธนาคาร
เพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทยครบถ้วนแล้วตั้งแต่เมื่อวันที่
4 สงิ หาคม 2559 โดยไม่มีการผดิ นดั ช�ำระหนี้

ขณะเกดิ เหตมุ บี คุ คลตา่ ง ๆ ถอื หนุ้ บรษิ ัท ชิน คอรป์ อเรช่นั จ�ำกัด
(มหาชน) ดังนี้

นายพานทองแท้ ชนิ วตั ร บตุ รชายจำ� เลย ถอื หนุ้ 293,950,220 หนุ้
นางสาวพณิ ทองทา ชนิ วตั ร หรอื นางสาวพนิ ทองทา ชนิ วตั ร บตุ รสาว
จำ� เลย ถือหนุ้ 440,000,000 หุ้น
นายบรรณพจน์ ดามาพงศ์ พ่ีชายของนางพจมานฯ ถือหุ้น
404,430,300 หนุ้
นางสาวยง่ิ ลกั ษณ์ ชินวตั ร นอ้ งสาวจำ� เลย ถอื ห้นุ 20,000,000 ห้นุ
และบริษทั แอมเพลิ รชิ อินเวสเม้นท์ จำ� กัด ถือหุ้น 229,200,000 หนุ้
โดยนายพานทองแท้ฯ นางสาวพินทองทาฯ นางสาวย่ิงลักษณ์ฯ
นายบรรณพจนฯ์ มชี อื่ ถอื ห้นุ ในบรษิ ทั แอมเพลิ ริช อนิ เวสเม้นท์ จำ� กดั รวม
ท้ังหมด 1,150,380,520 หุ้น คิดรวมเป็นร้อยละ 47.08 ของจ�ำนวนหุ้น
ทงั้ หมด และบรษิ ทั ชนิ คอรป์ อเรชนั่ จำ� กดั (มหาชน) เปน็ ผถู้ อื หนุ้ รายใหญใ่ น
บรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน) ซ่งึ เป็นผ้ไู ดร้ ับสัมปทานโทรคมนาคม
ทว่ั ประเทศของสหภาพพม่า

293,950,220 หุ้น 440,000,000 ห้นุ

404,430,300 หุ้น 20,000,000 หุ้น

69

15 คดีทุจริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง

มีปัญหาต้องวินิจฉัยประการต่อไปตามค�ำร้องของจ�ำเลยประการหนึ่ง
วา่ คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำ� ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายแกร่ ฐั มอี ำ� นาจ
ย่นื ฟอ้ งเปน็ คดนี ี้หรือไม่

จ�ำเลยย่ืนค�ำร้องอ้างว่าการกระท�ำตามค�ำฟ้องไม่เข้าหลักเกณฑ์
ตามประกาศคณะปฏริ ปู การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์
ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 30 เรื่อง การตรวจสอบการกระท�ำท่ีก่อให้เกิด
ความเสียหายแก่รัฐ เนื่องจากประกาศดังกล่าวระบุว่า คณะกรรมการตรวจ
สอบการกระท�ำท่ีก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐมีอ�ำนาจตรวจสอบการกระท�ำ
ของบุคคลในคณะรัฐมนตรี หรือคณะรัฐมนตรีซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งโดยผลของ
คณะปฏริ ปู การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็
ประมุข แตก่ ารกระทำ� ของจำ� เลยเปน็ การกระทำ� ทเ่ี กิดขึน้ ในการดำ� รงต�ำแหนง่
นายกรฐั มนตรขี องจ�ำเลยในวาระที่ 1 ซ่ึงไมใ่ ชเ่ ป็นการกระทำ� ทีเ่ กิดข้นึ ในการ
ด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีของจ�ำเลยในวาระที่ 2 ซ่ึงพ้นจากต�ำแหน่งเมื่อ
วนั ท่ี 19 กนั ยายน 2549 โดยคณะปฏริ ปู การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ

ดงั นนั้ คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำ� ท่ีกอ่ ให้เกิดความเสียหาย
แก่รัฐจึงไมม่ ีอ�ำนาจตรวจสอบและย่ืนค�ำฟ้องคดนี ี้

เหน็ ว่า
ตามประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข ฉบบั ที่ 30 ขอ้ 5 ก�ำหนดให้คณะกรรมการ
ตรวจสอบการกระท�ำท่ีก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐมีอ�ำนาจตรวจสอบการ
ดำ� เนนิ งาน หรอื โครงการทไ่ี ดร้ บั อนมุ ตั หิ รอื เหน็ ชอบโดยบคุ คลในคณะรฐั มนตรี
หรือคณะรัฐมนตรีซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งโดยผลของการปฏิรูปการปกครอง
ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ทมี่ เี หตอุ นั ควรสงสยั
วา่ จะเป็นไปโดยทุจริตหรอื ประพฤตมิ ิชอบ ตรวจสอบสัญญา สัญญาสัมปทาน
หรือการจัดซื้อจัดจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐ
ทมี่ เี หตอุ นั ควรสงสยั วา่ จะมกี ารกระทำ� ทเี่ ออ้ื ประโยชนแ์ กเ่ อกชนโดยมชิ อบ หรอื
มกี ารกระทำ� ทไี่ มช่ อบดว้ ยกฎหมายหรอื มกี ารกระทำ� ทท่ี จุ รติ หรอื ประพฤตมิ ชิ อบ

70

15 คดีทุจรติ ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง

ตรวจสอบการปฏิบตั ริ าชการใด ๆ ของเจ้าหน้าทีข่ องรัฐหรอื หนว่ ยงานของรฐั
ทมี่ เี หตอุ นั ควรสงสยั วา่ จะมกี ารดำ� เนนิ การทไ่ี มช่ อบดว้ ยกฎหมายหรอื มกี ารกระทำ�
ทท่ี จุ รติ หรอื ประพฤตมิ ชิ อบ รวมทงั้ มอี ำ� นาจตรวจสอบการกระทำ� ของบคุ คลใด ๆ
ที่เห็นว่าเป็นไปโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือหลีกเลี่ยงกฎหมายว่าด้วย
ภาษีอากรอนั เปน็ การกระท�ำให้เกดิ ความเสียหายแกร่ ฐั

นอกจากนี้ประกาศฉบับนี้ยังให้คณะกรรมการตรวจสอบการกระท�ำ
ที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐมีอ�ำนาจพิจารณาเร่ืองใด ๆ ท่ีเห็นควร
ตรวจสอบเรื่องท่ีมีผู้เสนอข้อมูล หรือเรื่องท่ีอยู่ในระหว่างการด�ำเนินการของ
หนว่ ยงานอน่ื อกี ด้วย

ดังนั้น แม้การกระท�ำความผิดตามค�ำฟ้องในคดีนี้จะเกิดขึ้น
ในระหว่างปี 2546 ถึงปี 2547 ซ่ึงมิใช่โครงการที่ได้รับอนุมัติหรือได้รับ
ความเห็นชอบจากจ�ำเลยในการด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวาระที่ 2
ซงึ่ พน้ จากตำ� แหนง่ โดยผลของคณะปฏริ ปู การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุขกต็ าม

แตเ่ ม่อื การกระท�ำตามคำ� ฟ้องมเี หตอุ นั ควรสงสัยว่าจะมี
การกระท�ำท่เี ป็นการทจุ ริตหรือประพฤตมิ ิชอบ

และคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำ� ท่กี อ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย
แกร่ ฐั เหน็ ควรตรวจสอบ กย็ อ่ มมอี ำ� นาจตรวจสอบได้

ทั้งประกาศฉบบั ดังกล่าวมีความหมายว่า คณะกรรมการตรวจสอบ
การกระท�ำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐมีหน้าที่ตรวจสอบการทุจริต
เป็นการทั่วไปตามท่ีระบุไว้ มิได้จ�ำกัดว่าจะต้องเป็นการกระท�ำเฉพาะ
คณะรฐั มนตรีคณะใดคณะหน่งึ เท่านน้ั

หากจะใหห้ มายความแตเ่ ฉพาะวา่ การตรวจสอบมไี ดแ้ ตค่ ณะรฐั มนตรี

71

15 คดีทจุ ริต ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง

ท่ีพ้นจากต�ำแหน่งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขดังที่จ�ำเลยอ้างแล้ว ผลก็คือจะมีเพียง
คณะรฐั มนตรขี องจ�ำเลยในวาระท่ี 2 เพยี งคณะเดยี วท่จี ะถกู ตรวจสอบ เทา่ กบั
เป็นการออกประกาศโดยมุ่งหมายจะให้ใช้บังคับแก่กรณีใดกรณีหน่ึงเป็นการ
เฉพาะ ซ่ึงย่อมมิใช่หลักการในการออกกฎหมายที่จะต้องใช้บังคับเป็นการ
ทั่วไป และไม่น่าจะใช่วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบความเสียหายท่ีเกิดข้ึน
แก่รัฐตามประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ ฉบับท่ี 30 ดงั กลา่ ว

ด้วยเหตุน้ี คณะกรรมการตรวจสอบการกระท�ำที่ก่อให้เกิด
ความเสยี หายแกร่ ฐั จงึ มีอ�ำนาจตรวจสอบเพื่อดำ� เนินคดนี ไ้ี ด้

กอ่ นยน่ื ฟอ้ งคดนี ี้ โจทกแ์ ละอยั การสงู สดุ ไดต้ งั้ คณะทำ� งานขน้ึ พจิ ารณา
และรวบรวมพยานหลักฐานร่วมกัน อันเป็นการด�ำเนินการตามขั้นตอนท่ี
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ด�ำรง
ตำ� แหนง่ ทางการเมอื ง พ.ศ. 2542 มาตรา 11 กำ� หนดไวแ้ ลว้ หาใชเ่ ปน็ การดำ� เนนิ การ
ข้ามขั้นตอนดังที่จำ� เลยอา้ งไม่

ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ฉบบั ท่ี 30 ขอ้ 9 ระบวุ า่ กรณที คี่ ณะกรรมการ
ตรวจสอบมมี ตวิ า่ ผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื งผใู้ ดกระทำ� ความผดิ ตอ่ ตำ� แหนง่
หน้าท่ีหรือทุจริตต่อหน้าท่ี ให้ส่งรายงานเอกสารหลักฐานพร้อมท้ังความเห็น
ไปยังอัยการสูงสุดเพ่ือให้ด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
วา่ ด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. 2542 และพระราชบญั ญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง
ทางการเมอื ง พ.ศ. 2542 โดยใหถ้ อื วา่ มตขิ องคณะกรรมการตรวจสอบเปน็ มติ
ของคณะกรรมการ ป.ป.ช.

ในกรณที อี่ ยั การสงู สดุ มคี วามเหน็ แตกตา่ ง แตค่ ณะกรรมการตรวจสอบ
มีความเห็นยืนยันความเห็นเดิม ให้คณะกรรมการตรวจสอบมีอ�ำนาจ
ด�ำเนินการให้มีการย่ืนค�ำร้องต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง
ทางการเมอื งพิจารณา

72

15 คดีทุจริต ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง

คดีนีเ้ มอ่ื อยั การสงู สุดมคี วามเหน็ วา่ ยังมีข้อไมส่ มบรู ณ์ จงึ ได้ขอให้ต้งั
คณะท�ำงานร่วมเพื่อด�ำเนินการรวบรวมพยานหลักฐานให้สมบูรณ์เพ่ือจะได้
วินิจฉัยส่ังคดีต่อไป แต่คณะกรรมการตรวจสอบการกระท�ำที่ก่อให้เกิด
ความเสยี หายแกร่ ฐั ไมเ่ หน็ ดว้ ย และมมี ตยิ นื ยนั วา่ สำ� นวนสมบรู ณแ์ ลว้ ยอ่ มถอื
ได้ว่าเป็นกรณีท่ีอัยการสูงสุดมีความเห็นแตกต่างกับคณะกรรมการตรวจสอบ
การกระท�ำท่ีก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายแกร่ ฐั แล้ว

แมเ้ ปน็ ความเหน็ แตกตา่ งกนั ในเรอ่ื งความสมบรู ณข์ องพยานหลกั ฐาน
เพียงพอจะด�ำเนินคดีแก่จ�ำเลยแล้วหรือไม่ ก็ถือเป็นความเห็นที่แตกต่างกัน
และไม่สามารถหาข้อยุติได้ตามความหมายของขอ้ 9 แห่งประกาศคณะปฏิรปู
การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ฉบบั ที่
30 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญา
ของผดู้ ำ� รงต�ำแหนง่ ทางการเมือง พ.ศ. 2542 มาตรา 11 แลว้

โจทก์มีอำ� นาจยนื่ ค�ำฟอ้ งเปน็ คดนี ี้ ข้ออ้างของจำ� เลยขอ้ นี้ฟงั ไม่ขึ้น
ปัญหาต้องวนิ จิ ฉยั ประการตอ่ ไปมวี ่า จำ� เลยกระท�ำความผดิ ตามฟ้อง
หรอื ไม่

เหน็ ว่า
จ�ำเลยด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการการเมือง พ.ศ. 2535 มาตรา 4 พระราชบัญญัติประกอบ
รฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. 2542 มาตรา 4
มอี ำ� นาจหนา้ ทส่ี ง่ั การและกำ� กบั โดยทวั่ ไปซง่ึ การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ทง้ั ปวง
และพระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. 2534 มาตรา 10
มาตรา 11 และมาตรา 12 ซงึ่ รวมถงึ การเปน็ หวั หนา้ รฐั บาล มอี ำ� นาจดำ� เนนิ การอนื่ ๆ
ในการปฏิบัติตามนโยบาย ในกรณีจ�ำเป็นจะยับยั้งการปฏิบัติราชการใด ๆ
ที่ขัดต่อนโยบายหรือมติคณะรัฐมนตรีก็ได้ ตลอดจนมีอ�ำนาจก�ำกับดูแล
ตามล�ำดับผา่ นรฐั มนตรี
ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทยเป็นนิติบุคคล
จดั ตงั้ ขนึ้ ตามพระราชบญั ญตั ธิ นาคารเพอื่ การสง่ ออกและนำ� เขา้ แหง่ ประเทศไทย

73

15 คดที ุจริต ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง

พ.ศ. 2536 มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ประกอบธรุ กจิ อนั เปน็ การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ
การส่งออกการน�ำเข้าและการลงทุน ทั้งนี้ เพ่ือการพัฒนาประเทศ โดยการ
ใหส้ นิ เชอื่ คำ�้ ประกนั รบั ประกนั ความเสย่ี ง หรอื ใหบ้ รกิ ารทจี่ ำ� เปน็ อนื่ ๆ ตามบทบญั ญตั ิ
แหง่ พระราชบญั ญตั นิ ี้ โดยมาตรา 21 แหง่ พระราชบญั ญตั ดิ งั กลา่ วบญั ญตั วิ า่
ให้รัฐมนตรีมีอ�ำนาจก�ำกับโดยทั่วไปซ่ึงกิจการของธนาคารเพ่ือการส่งออก
และนำ� เขา้ แหง่ ประเทศไทย จะสงั่ ใหธ้ นาคารชแี้ จงขอ้ เทจ็ จรงิ แสดงความคดิ เหน็
ทำ� รายงาน หรอื ยบั ยงั้ การกระทำ� ของธนาคารทขี่ ดั ตอ่ นโยบายของรฐั บาลหรอื
มติคณะรัฐมนตรี ตลอดจนมีอ�ำนาจท่ีจะส่ังให้ปฏิบัติตามนโยบายของรัฐบาล
หรอื มติคณะรัฐมนตรี และสัง่ สอบสวนขอ้ เท็จจริงทีเ่ กี่ยวกับการดำ� เนนิ การ

มาตรา 23 บัญญัติว่า ในกรณีท่ีธนาคารได้รับความเสียหายจาก
การด�ำเนินธุรกิจตามนโยบายของรัฐบาลหรือมติคณะรัฐมนตรี ให้กระทรวง
การคลงั จัดสรรเงินจากงบประมาณประจำ� ปีเพอื่ ชดเชยแก่ธนาคารตามจำ� นวน
ทเ่ี สยี หายนน้ั และมาตรา 13 ยงั กำ� หนดอกี วา่ การแตง่ ตงั้ กรรมการ การแตง่ ตงั้
ประธานกรรมการ และการให้ประธานกรรมการพ้นจากต�ำแหน่งต้องได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะรฐั มนตรี

พระราชบญั ญัตธิ นาคารเพ่อื การส่งออก
และนำ� เขา้ แหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2536

มาตรา
23

74

15 คดที จุ รติ ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง

นอกจากน้ัน นายสถาพร ชินะจิตร กรรมการผู้จัดการธนาคาร
เพอื่ การสง่ ออกและนำ� เขา้ แหง่ ประเทศไทยเบกิ ความวา่ การใหก้ ยู้ มื ในกรณนี ้ี
เป็นเงินจ�ำนวนมากและอัตราดอกเบ้ียต�่ำพิเศษ เป็นเรื่องไม่ปกติส�ำหรับ
ธนาคาร การให้กู้ยืมจึงเป็นการกระท�ำภายในกรอบของรัฐบาลซ่ึงต้องการ
ชว่ ยเหลือประเทศเพ่ือนบา้ น

นายปกรณ์ มาลากุล ณ อยุธยา ประธานกรรมการธนาคารเพ่ือ
การสง่ ออกและนำ� เขา้ แหง่ ประเทศไทยกเ็ บกิ ความวา่ ในการเจรจาวงเงนิ 3,000
ลา้ นบาท รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงการคลงั ในขณะนน้ั บอกใหพ้ ยานเดนิ ทาง
ไปเจรจาดว้ ยตนเอง เนอื่ งจากนายกรฐั มนตรไี ดพ้ ดู กบั พลโท ขน่ิ ยนุ้ วา่ รฐั บาลไทย
จะให้การสนับสนุนในวงเงิน 3,000 ล้านบาท ผ่านธนาคารเพ่ือการส่งออก
และนำ� เขา้ แห่งประเทศไทย การใหก้ ูย้ มื ครงั้ นีไ้ ม่ใช่เปน็ การริเริ่มโดยธนาคาร
แต่เป็นการด�ำเนินการของรัฐบาล ฉะนั้นธนาคารจะต้องป้องกันรักษา
ผลประโยชน์ขององค์กรตามมาตรา 23 ธนาคารจงึ ได้อนมุ ตั ิโดยมีเงอ่ื นไข
วา่ กระทรวงการคลงั จะตอ้ งนำ� เรอ่ื งเขา้ คณะรฐั มนตรเี พอื่ ขออนมุ ตั ิ ในกรณี
ขาดทนุ เสยี หายจากการให้กยู้ ืมจะต้องชดใช้จากงบประมาณแผน่ ตนิ

นายสรุ เกียรต์ิ เสถยี รไทย รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการตา่ งประเทศ
ในขณะนนั้ เบกิ ความวา่ สหภาพพมา่ มหี นงั สอื ขอขยายวงเงนิ จาก 3,000 ลา้ นบาท
เป็น 5,000 ล้านบาท พยานจึงน�ำเร่ืองเข้าหารือจ�ำเลย จ�ำเลยส่ังการว่า
ให้พบกันคร่ึงทางและให้กู้ยืม 4,000 ล้านบาท จากค�ำเบิกความของพยาน
โจทก์ดังกล่าวข้างต้น เมื่อพิจารณาประกอบกับข้อเท็จจริงท่ีจ�ำเลยลงนาม
อนมุ ตั วิ งเงนิ กู้ จำ� นวน 4,000 ลา้ นบาท แสดงใหเ้ หน็ ชดั เจนวา่ นายกรฐั มนตรี
มอี ำ� นาจเขา้ ไปกำ� กบั ดแู ลธนาคารเพอื่ การสง่ ออกและนำ� เขา้ แหง่ ประเทศไทยได้
ซงึ่ ในทางปฏบิ ตั ทิ ผ่ี า่ นมาจำ� เลยกไ็ ดใ้ ชอ้ ำ� นาจในฐานะนายกรฐั มนตรกี ำ� กบั ดแู ล
ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทยในเร่ืองท่ีเกี่ยวกับการให้
กยู้ มื ในคดนี ้ีมาโดยตลอด

75

15 คดที ุจริต ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง

จ�ำเลยจึงเป็นเจ้าพนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา
ซ่ึงมหี น้าท่จี ดั การหรอื ดแู ลกิจการของธนาคารเพ่ือการสง่ ออก

และนำ� เขา้ แห่งประเทศไทย

ปัญหาต่อไปว่า การที่จ�ำเลยส่ังการเห็นชอบให้สหภาพพม่ากู้เงิน
3,000 ล้านบาท และยังเห็นชอบใหเ้ พมิ่ วงเงินกู้อีก 1,000 ล้านบาท จะถือวา่
จำ� เลยเข้ามีสว่ นได้เสียเพอ่ื ประโยชน์สำ� หรบั ตนเอง หรือผอู้ ่นื เน่ืองด้วยกจิ การ
ธนาคารเพ่อื การสง่ ออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทยหรอื ไม่

เห็นว่า ในข้อน้ีตามทางไต่สวนได้ความว่า ในช้ันแรกที่มีการ
ประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียนที่เมืองบาหลี ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
จำ� เลยไดพ้ บกบั พลโท ขน่ิ ยนุ้ นายกรฐั มนตรแี หง่ สหภาพพมา่ ซงึ่ สหภาพพมา่ ได้
ขอวงเงนิ สนิ เชอื่ จำ� นวนอยา่ งนอ้ ย 3,000 ลา้ นบาท สำ� หรบั นำ� ไปซอ้ื เครอื่ งจกั รกล
การกอ่ สรา้ งและวสั ดอุ ปุ กรณจ์ ากประเทศไทย เพอื่ ใชใ้ นการกอ่ สรา้ งโครงสรา้ ง
พื้นฐาน ทั้งน้ีเครื่องจักรกลและวัสดุอุปกรณ์รวมถึงรถแทรกเตอร์เกล่ียดิน
(bulldozers) รถขุดตัก (backhoes) รถบดถนน (rollers) เคร่ืองบีบอัด
(compacters) รถบรรทกุ (dump trucks) สว่ นประกอบสายพานแบบไบเลย่ ์
(bailiey bridge parts) ยางมะตอย และอน่ื ๆ (bitumen etc.) ซง่ึ อยู่ในกรอบ
ความรว่ มมอื ทปี่ ระเทศไทยเคยเสนอในชนั้ ทจี่ ำ� เลยเดนิ ทางไปเยอื นสหภาพพมา่
ขณะน้ันยังไม่ปรากฏว่าสหภาพพม่ามีความต้องการจะขอความสนับสนุน
ชว่ ยเหลอื ทางด้านการเงินเพอ่ื พฒั นาระบบโทรคมนาคมแตอ่ ยา่ งใด

จนกระท่ังต่อมาจ�ำเลยเข้าร่วมการประชุมสุดยอดผู้น�ำว่าด้วย
ยุทธศาสตร์ความรว่ มมือทางเศรษฐกจิ (ECS) ระหว่างกัมพชู า ลาว พมา่
และไทย ทเ่ี มืองพกุ าม สหภาพพม่า

ผลการประชมุ ไดใ้ หค้ วามเหน็ ชอบปฏญิ ญาพกุ าม (Bagan Declaration)
ซึ่งระบุความร่วมมือ 5 สาขา คือ 1) การอ�ำนวยความสะดวกด้านการค้า

76

15 คดที จุ รติ ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง

ปฏิญญาพุ กาม
(Bagan Declaration)

1) การอ�ำนวยความสะดวกด้าน
การค้าและการลงทนุ
2) ความรว่ มมอื ทางดา้ นเกษตรกรรม
และอุตสาหกรรม
3) การเช่ือมโยงเส้นทางคมนาคม
ในภมู ภิ าค
4) การทอ่ งเท่ยี ว
5) การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์

และการลงทุน 2) ความร่วมมือทางด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
3) การเช่ือมโยงเส้นทางคมนาคมในภูมิภาค 4) การท่องเที่ยว และ
5) การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ ซงึ่ นายสรุ เกยี รติ์ เสถยี รไทย รฐั มนตรวี า่ การ
กระทรวงการต่างประเทศในขณะนั้น เบิกความว่า ในการประชุมดังกล่าว
พยานไดต้ ดั ความรว่ มมอื ทางดา้ นโทรคมนาคมออกไป เพราะจะเกดิ ขอ้ ครหา
และขอ้ สงสยั เรอื่ งผลประโยชนท์ บั ซอ้ นขนึ้ ได้ แลว้ จะทำ� ใหค้ วามรว่ มมอื ทจี่ ะ
ชว่ ยเหลอื เรอื่ งเศรษฐกจิ ไปไมไ่ ด้

ในปฏิญญาพุกามจึงไม่มีความร่วมมือทางด้านโทรคมนาคม
แตข่ อ้ เทจ็ จรงิ ไดค้ วามจากทางไตส่ วนวา่ ในการประชมุ ดงั กลา่ ว จำ� เลยอนมุ ตั ใิ ห้
นายพานทองแท้ ชนิ วตั ร บตุ รของจำ� เลยซง่ึ เปน็ ทที่ ราบกนั ทวั่ ไปวา่ เปน็ ผมู้ ชี อื่ ถอื
หุน้ รายใหญ่ในบริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่ จำ� กัด (มหาชน) เดนิ ทางไปในคณะ
ทางการดว้ ย อีกทงั้ ยงั มีนายเผด็จ ว่องพยาบาล เจ้าหนา้ ท่ีของบรษิ ัท ชนิ แซท
เทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน) หรอื บริษัท ไทยคม จ�ำกดั (มหาชน) เขา้ ไปสาธิต
ระบบโทรศพั ทเ์ คลอื่ นทขี่ องบรษิ ทั ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) ในบรเิ วณ
ที่ประชุม ท้ังทเี่ ปน็ การด�ำเนนิ การในเรอ่ื งนอกเหนอื จากกรอบปฏญิ ญาพกุ าม

77

15 คดีทุจรติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง

ข้อเทจ็ จรงิ จงึ สอ่ แสดงให้เห็นว่า นา่ จะมใิ ช่ เป็นเร่ืองบังเอญิ
หากแต่ไดม้ ีการริเร่มิ วางแผนเพ่อื จะใหส้ หภาพพม่า

น�ำเงินกยู้ ืมซ่ึงเป็นวงเงนิ สินเช่ือ (credit line) ไปใช้เพ่ือ
พฒั นาระบบโทรคมนาคมซ่ึงเก่ียวเน่ืองกบั กจิ การของ

บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำ� กัด (มหาชน)

ความขอ้ นีส้ อดคลอ้ งกับท่ใี นเวลาตอ่ จากน้ัน สหภาพพมา่ ไดข้ อความ
ช่วยเหลือในส่วนการพัฒนาระบบโทรคมนาคมเพ่ิมเติมเป็นการเฉพาะมูลค่า
24.05 ล้านดอลลาร์ โดยส่งคำ� ขอผ่านไปยังนายโอภาส จันทรทรพั ย์ อุปทูต
ไทยประจำ� สหภาพพม่า ซง่ึ นายสพุ จน์ ธีรเกาศัลย์ เอกอัครราชทูตไทยประจ�ำ
สหภาพพม่าเบิกความว่า

ตามช่ องทางปกติรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
ของสหภาพพมา่ จะติดตอ่ กับรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการ
ตา่ งประเทศของประเทศไทย การแจง้ ผ่านอุปทูตในลกั ษณะ
ดงั กล่าวไม่เป็นไปตามช่ องทางปกติ และนายสรุ เกยี รต์ิฯ
เบกิ ความอีกดว้ ยวา่ กระทรวงการตา่ งประเทศไม่ไดร้ ับทราบ

และไมไ่ ด้เสนอผา่ นกระทรวงการต่างประเทศ

พยานรายงานตอ่ จำ� เลยวา่ สหภาพพมา่ ยนื ยนั ความประสงคท์ จ่ี ะขอรบั
สินเช่ือวงเงิน 24.05 ล้านดอลลาร์สหรัฐ จากฝ่ายไทย ซ่ึงได้แจ้งไปแล้วว่า
ในหลักการรัฐบาลไทยยินดีให้ความสนับสนุน แต่ขอให้โครงการดังกล่าวอยู่
ภายในกรอบสินเชอ่ื วงเงนิ 3,000 ล้านบาททไ่ี ทยจะให้แก่สหภาพพมา่

78

15 คดที ุจริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง

หลงั จากปฏเิ สธไปดงั กลา่ ว รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการตา่ งประเทศ
ของสหภาพพม่ามีหนังสือเป็นทางการเสนอกลับมาเป็นขอขยายวงเงินกู้ยืม
เพิม่ ขน้ึ จาก 3,000 ลา้ นบาท เปน็ 5,000 ลา้ นบาท พยานจงึ ต้องน�ำเรอื่ งเข้า
หารือจ�ำเลย จ�ำเลยสั่งการว่าให้พบกันครึ่งทางและให้กู้ยืม 4,000 ล้านบาท
โดยจะให้การอุดหนนุ ในสว่ นต่างของดอกเบยี้

นายอภิชาติ ชินวรรโณ อธิบดีกรมเอเชียตะวันออก พยานโจทก์
อกี ปากหนงึ่ กเ็ บกิ ความวา่ กรมเอเชยี ตะวนั ออก กองเอเชยี ตะวนั ออก ไดม้ บี นั ทกึ
ขอ้ ความแจง้ ขอ้ คดิ เหน็ ประกอบการพจิ ารณาวา่ โดยทนี่ ายกรฐั มนตรเี พงิ่ ไดใ้ ห้
ความเหน็ ชอบใหว้ งเงนิ สนิ เชอื่ (credit line) มลู คา่ 3,000 ลา้ นบาทเรว็ ๆ น้ี
การที่รัฐบาลไทยจะพิจารณาให้ความช่วยเหลือแก่พม่าอีกครั้งในห้วงเวลา
กระชน้ั ชดิ และในวงเงนิ มลู คา่ สงู เชน่ นอี้ าจทำ� ให.้ .. “(2) เสยี่ งตอ่ การทน่ี ายก
รัฐมนตรีอาจถูกวิพากษ์วิจารณ์และโยงว่ามีส่วนได้รับประโยชน์จากการให้
ความชว่ ยเหลอื แกพ่ มา่ หากรฐั บาลไทยจะตอบรบั ใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกพ่ มา่
ในเร่ืองน้ี ก็อาจด�ำเนินการในวิธีการท่ีไทยได้รับประโยชน์มากที่สุด ได้แก่
ขอให้รัฐบาลพม่ารวมเงินที่ไทยให้วงเงินสินเช่ือ จ�ำนวน 3,000 ล้านบาท
ให้อยใู่ นวงเงนิ ทส่ี หภาพพม่าจะขอกู้เพื่อพฒั นาโทรคมนาคมในครง้ั นี้”

แตข่ อ้ เทจ็ จรงิ ปรากฏวา่ วนั ท่ี 4 มถิ นุ ายน 2547 พลโท ขน่ิ ยนุ้ เดนิ ทาง
มาเยอื นประเทศไทย อยา่ งเปน็ ทางการในฐานะนายกรฐั มนตรสี หภาพพมา่ ใน
การหารอื เตม็ คณะ (plenary meeting) จำ� เลยแจง้ ฝา่ ยสหภาพพมา่ วา่ จะเสนอ
เรอ่ื งการใหว้ งเงนิ สนิ เชอื่ 4,000 ลา้ นบาทแกส่ หภาพพมา่ เพอื่ ขอความเหน็ ชอบ
ในการประชมุ คณะรฐั มนตรคี รง้ั ตอ่ ไป สนิ เชอื่ ดงั กลา่ วจะนำ� ไปซอื้ เครอื่ งจกั รเพอ่ื
พฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน การพฒั นาพนื้ ทชี่ ายแดนและแกไ้ ขปญั หาความยากจน

ดังนี้ พฤติการณ์ที่ได้มีการขอกู้ยืมเงินเพ่ิมเติมอีกมูลค่า 24.05
ล้านดอลลาร์สหรัฐโดยไม่ใช้ช่องทางปกติท่ีต้องเสนอผ่านกระทรวงการ
ต่างประเทศ และเมื่อได้รับการปฏิเสธก็เปลี่ยนเป็นขอขยายวงเงินกู้ยืม
เพ่ิมขึ้นจาก 3,000 ลา้ นบาท เป็น 5,000 ล้านบาทแทน เพอ่ื จะนำ� ไปใช้
ในเร่อื งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การพฒั นาพ้นื ท่ีชายแดนและแก้ไขปัญหา
ความยากจนซ่ึงเปน็ เร่ืองทอี่ ยู่ในกรอบความร่วมมือของปฏญิ ญาพกุ ามน้ัน

79

15 คดที ุจริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง

บง่ ชี้ให้เหน็ ถึงการมุ่งท่ีจะหลบเล่ยี งขอ้ ทักท้วงของกระทรวง
การตา่ งประเทศท่ไี ม่เหน็ ดว้ ยกับการให้กูย้ ืมเพ่ือพฒั นาระบบ
โทรคมนาคมน่นั เอง แต่ในความเป็นจรงิ แลว้ วงเงินสินเช่ือก้ยู มื

เพ่มิ เตมิ อีก จำ� นวน 1,000 ลา้ นบาทนม้ี ไิ ด้นำ� ไปใช้
ตามวตั ถปุ ระสงคเ์ ดิม

ดังจะเห็นได้จากสัญญาระหว่างกระทรวงการส่ือสาร ไปรษณีย์
และโทรเลขของสหภาพพม่า กับบริษัท ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน)
พรอ้ มคำ� แปล ในสว่ นเงอ่ื นไขทางการคา้ หมวด 1 คำ� นยิ ามโครงการ มคี วามหมายวา่
เป็นการจัดหาและการติดต้ังระบบเกตเวย์ ดาวเทียมบรอดแบนด์ อุปกรณ์
ปลายทาง อปุ กรณด์ าวเทยี มบรอดแบนด์ ระบบซแี บนด์ วแี ซต ทรงั คก์ งิ้ ระบบ
ส่ือสัญญาณด้วยเส้นใยแก้วน�ำแสงชอฟสวิตช์ และการบริการให้ค�ำปรึกษา
ดา้ นเครือข่ายไร้สาย

ตามข้อ 12 การมีผลของสัญญาระบุว่า สัญญาฉบับน้ีให้มีผลและ
ใช้บังคับอย่างสมบูรณ์ในวันท่ีบรรลุเง่ือนไข ดังต่อไปน้ี “เอ) เมื่อสัญญากู้
สินเช่ือเพื่อลงทุนในการส่งออก มีผลใช้บังคับระหว่างธนาคารการค้าระหว่าง
ประเทศพม่าและธนาคารเพ่ือการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทย ตามที่
เก่ียวกบั โครงการนี้”

ขอ้ กำ� หนดในการชำ� ระเงนิ ขอ้ 5.1 ระบวุ า่ “ตามทสี่ ญั ญากสู้ นิ เชอื่ เพอ่ื
การลงทุนในการส่งออก จ�ำนวน 4,000 ล้านบาท ไดร้ บั การลงนามระหว่าง
ธนาคารการค้าระหว่างประเทศพม่าและธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้า
แห่งประเทศไทย เม่อื วันท่ี 25 มถิ นุ ายน 2004 (ปี 2547) การช�ำระเงนิ ตาม
สัญญานีใ้ ห้ด�ำเนินการจากการก้สู นิ เชอ่ื เพ่ือการลงทนุ ในการสง่ ออก”

เมื่อพิจารณาจากเงื่อนไขในการเกิดสัญญาและช�ำระเงินตามสัญญา
ขึน้ อยกู่ บั การไดร้ ับเงินกู้ยืม จ�ำนวน 4,000 ลา้ นบาทดังกลา่ วมานี้

80

15 คดีทุจริต ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง

ย่อมแสดงใหเ้ หน็ วา่ การอา้ งเหตผุ ลในการกยู้ มื สว่ นท่ีเพ่ิมติม
อกี 1,000 ลา้ นบาท เพ่อื นำ� ไปซ้ือเคร่อื งจกั ร และพฒั นาประเทศ

ตามวตั ถปุ ระสงคเ์ ดมิ นนั้ มีลกั ษณะเป็นท�ำนองหลกี เล่ียง
ท่จี ะใช้คำ� ว่าเพ่อื พัฒนาระบบโทรคมนาคมอันเป็นข้อทกั ทว้ ง

ของกระทรวงการตา่ งประเทศเท่านนั้ ซ่ึงเป็นการยาก
ท่ีจำ� เลยจะไม่รู้เหน็ ในการนี้

นอกจากนี้ยังได้ความว่ามีการขอความช่วยเหลือจากรัฐบาลไทย
เทยี บเทา่ เงนิ จำ� นวน 1,050,000 ดอลลารส์ หรฐั เพอ่ื ใชใ้ นการกอ่ สรา้ งอาคารใหม่
5 ช้ัน ระบบไฟฟ้า และสายเคเบิลเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีบริษัท ชิน
แซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) เปน็ ผจู้ ดั การโครงการและทปี่ รกึ ษาดา้ นวชิ าการ

การที่สหภาพพม่าน�ำเงินให้กู้ยืมน้ีไปใช้พัฒนาระบบโทรคมนาคม
ดงั กลา่ ว บรษิ ทั ทไ่ี ดเ้ ขา้ มาเกย่ี วขอ้ งในการนอี้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งมาตง้ั แตแ่ รกโดยตลอด
และในที่สุดก็ได้รับประโยชน์จากการขายสินค้ารวมท้ังเป็นผู้บริหารและ
ท่ีปรึกษาโครงการให้แก่สหภาพพม่าโดยตรงก็คือ บริษัท ชินแซทเทลไลท์
จำ� กัด (มหาชน)

ข้อเท็จจริงปรากฏว่าก่อนจ�ำเลยจะเข้าด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง
จ�ำเลยเคยถือหุ้นในบริษัท ชิน คอร์ปอเรช่ัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท
ดังกล่าวก็ถอื ห้นุ ในบริษัท ชนิ แซทเทลไลท์ จำ� กดั (มหาชน) แมข้ ณะเกดิ เหตุ
จะมีบุคคลต่าง ๆ ในครอบครัวของจ�ำเลยมีชื่อเป็นผู้ถือหุ้นบริษัท ชิน
คอร์ปอเรช่ัน จ�ำกัด (มหาชน) ดังน้ี นายพานทองแท้ ชินวัตร บุตรชาย
ถอื หนุ้ 293,950,220 หนุ้ นางสาวพณิ ทองทา ชนิ วตั ร หรอื นางสาวพนิ ทองทา
ชนิ วตั ร บตุ รสาว ถอื หนุ้ 440,000,000 หนุ้ นายบรรณพจน์ ดามาพงศ์ พชี่ ายของ
นางพจมาน ถอื หนุ้ 404,430,300 หนุ้ นางสาวยงิ่ ลกั ษณ์ ชินวัตร นอ้ งสาว
จ�ำเลย ถอื หนุ้ 20,000,000 หนุ้ และบริษทั แอมเพิลริช อนิ เวสเมน้ ท์ จำ� กดั

81

15 คดีทุจริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง

ถอื หนุ้ 229,200,000 หนุ้ โดยนายพานทองแทฯ้ นางสาวพนิ ทองทาฯ นางสาว
ยงิ่ ลกั ษณฯ์ นายบรรณพจนฯ์ ยงั มชี อ่ื ถอื หนุ้ ในบรษิ ทั แอมเพลิ รชิ อนิ เวสเมน้ ท์
จ�ำกดั อกี ด้วย รวมท้ังหมด 1,150,380,520 ห้นุ คิดรวมเปน็ รอ้ ยละ 47.08
ของจำ� นวนหุ้นท้ังหมด

ทางไต่สวนในคดีนี้ไม่ปรากฏพยานหลักฐานใดท่ีน่าเชื่อได้ว่าบุคคล
ในครอบครวั ของจำ� เลยเปน็ เจา้ ของหนุ้ นน้ั อยา่ งแทจ้ รงิ กลบั ปรากฏจากเอกสาร
และค�ำพิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง
ตามคดีหมายเลขแดงท่ี อม. 1/2553 ที่ศาลมีค�ำส่ังให้น�ำมารวมกับคดีนี้
โดยคำ� พพิ ากษาศาลฎกี าแผนกคดอี าญาของผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื งฉบบั
ดงั กลา่ ววินจิ ฉยั ว่า จำ� เลยและนางพจมาน ชินวัตร ยงั คงเปน็ ผู้ถอื หุ้นรายใหญ่
อย่างแท้จริงในบริษัท ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท ชิน
คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ซ่ึงข้อเท็จจริงดังกล่าวน�ำมารับฟังเป็นพยาน
หลักฐานในคดีนี้ได้

ดงั นนั้ จำ� เลยจึงเป็นผูไ้ ดร้ ับประโยชน์จากผลประกอบการ
ของบรษิ ทั ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกดั (มหาชน)
และบรษิ ทั ชิน คอร์ปอเรช่ัน จำ� กัด (มหาชน)

อันถอื เป็นมูลเหตเุ พียงพอให้จำ� เลยเรง่ ส่ังการให้นายสรุ เกยี รต์ิฯ
แจง้ สหภาพพมา่ ว่าจำ� เลยพร้อมท่จี ะเพ่ิมวงเงนิ กจู้ าก
3,000 ล้านบาท เป็น 4,000 ลา้ นบาท ทงั้ ท่ีรูอ้ ยูแ่ ล้วว่า
มีขอ้ ทกั ทว้ งของกระทรวงการต่างประเทศ อีกทงั้ วงเงนิ
3,000 ล้านบาทแรก และสว่ นท่เี พ่ิมข้นึ 1,000 ลา้ นบาท
ก็ยังมไิ ดน้ ำ� เข้าพิจารณาในคณะรฐั มนตรี

82

15 คดที ุจรติ ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง

การกระท�ำของจ�ำเลยจึงเข้าลักษณะของการเข้ามีส่วนได้เสีย
เพอื่ ประโยชน์ส�ำหรบั ตนเองหรือผู้อืน่

แม้จะได้ความจากทางไต่สวนว่าประเทศไทยอาจให้ความสนับสนุน
ให้กู้ยืมแก่ประเทศเพื่อนบ้านได้ และการให้กู้ยืมคร้ังนี้เป็นส่วนหนึ่งในการ
แก้ปัญหาต่าง ๆ ท่ีกระทบต่อความม่ันคงของประเทศไทยบริเวณชายแดน
กต็ าม แตค่ วามผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 152 ไมม่ อี งคป์ ระกอบ
ของความผดิ หรอื มลู เหตชุ กั จงู ใจวา่ จะตอ้ งเปน็ การเสยี หายแกร่ ฐั หรอื เพอ่ื ใหเ้ กดิ
ความเสยี หายแกผ่ หู้ นงึ่ ผใู้ ด แมจ้ ำ� เลยเปน็ ผเู้ หน็ ชอบสงั่ การไปตามขนั้ ตอนของ
ทางราชการตงั้ แตเ่ รม่ิ จนแลว้ เสรจ็ โดยไมป่ รากฏชดั แจง้ วา่ มขี น้ั ตอนใดทก่ี ระทำ�
โดยฝา่ ฝนื ระเบยี บใด จำ� เลยกไ็ มอ่ าจปฏเิ สธความผดิ ของตนได้ เพราะไดเ้ กดิ มี
ความทบั ซอ้ นกนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวมขน้ึ ซง่ึ
เปน็ เรอ่ื งทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั จรยิ ธรรมของผมู้ ตี ำ� แหนง่ หนา้ ทตี่ ามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ
ห้ามไว้ โดยจำ� เลยเปน็ นายกรัฐมนตรี ซง่ึ นายสรุ เกยี รต์ิ เสถยี รไทย รฐั มนตรี
ว่าการกระทรวงการตา่ งประเทศก็ได้ทกั ทว้ งแลว้

เม่ือจ�ำเลยเป็นเจ้าพนักงานมีหน้าท่ีจัดการหรือดูแลกิจการธนาคาร
เพอื่ การสง่ ออกและนำ� เขา้ แหง่ ประเทศไทย ยอ่ มถอื ไดว้ า่ จำ� เลยเขา้ มสี ว่ นไดเ้ สยี
เพ่ือประโยชน์ส�ำหรับตนเอง หรือบริษัท ชินแซทเทลไลท์ จ�ำกัด (มหาชน)
อนั เปน็ การกระทำ� เพอ่ื ประโยชนส์ ำ� หรบั ตนเองหรอื ผอู้ นื่ เนอื่ งดว้ ยกจิ การนน้ั จงึ
เป็นความผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 152

152 157
กฎหปมราะยมอวาลญา
ประมวล
กฎหมายอาญา

83

15 คดีทุจริต ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง

องค์คณะโดยมติเสียงข้างมากเห็นว่าเมื่อการกระท�ำของจ�ำเลยเป็น
ความผดิ ตามมาตรา 152 ซ่ึงเป็นบทเฉพาะ ดงั ไดว้ นิ จิ ฉยั มาแลว้ จึงไมจ่ �ำตอ้ ง
ปรบั บทท่ัวไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 อีก

ปัญหาต้องวินิจฉัยประการสุดท้ายมีว่า โจทก์มีสิทธิขอให้จ�ำเลยคืน
หรือใช้ค่าเสียหายให้แก่กระทรวงการคลังหรือไม่ เพียงใด ในปัญหานี้ กรณี
เปน็ เรอ่ื งทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. ซงึ่ เขา้ เปน็ คคู่ วามแทนโจทกช์ อบทจ่ี ะตอ้ งแจง้
ใหก้ ระทรวงการคลงั ดำ� เนนิ การใหจ้ ำ� เลยนน้ั ชดใชค้ วามเสยี หายนน้ั เอง ไมม่ บี ท
กฎหมายใดใหอ้ ำ� นาจโจทกม์ คี ำ� ขอใหจ้ ำ� เลยคนื หรอื ใชค้ า่ เสยี หายใหแ้ กก่ ระทรวง
การคลงั เข้ามาในคดีนี้ได้ จึงตอ้ งยกคำ� ขอโจทกใ์ นสว่ นน้ี

อนง่ึ ระหวา่ งพจิ ารณาของศาลฎกี าแผนกคดอี าญาของผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่
ทางการเมอื ง ไดม้ พี ระราชบญั ญตั แิ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบบั ท่ี 26)
พ.ศ. 2560 มาตรา 7 ให้ยกเลิกอัตราโทษในมาตรา 152 และให้ใช้
อตั ราโทษใหม่ แตก่ ฎหมายทแี่ กไ้ ขใหมไ่ มเ่ ปน็ คณุ แกจ่ ำ� เลย จงึ ตอ้ งใชก้ ฎหมาย
ท่ใี ชใ้ นขณะกระทำ� ความผิดบังคบั แกจ่ �ำเลย

พิพากษาว่า จ�ำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 152 (เดิม) องคค์ ณะโดยมติเสยี งขา้ งมากใหจ้ �ำคกุ 3 ปี

คำ� รอ้ งของจำ� เลยและค�ำขออื่นของโจทกน์ อกจากนใี้ ห้ยก

84

หุน้ ท้งั หมดของ 15 คดที ุจรติ ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง
บริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่
ร้อยละ 47.08
จำกดั (มหาชน)
■ นายพานทองแท้ ชนิ วัตร
■ นางสาวพินทองทา ชนิ วตั ร
■ นายบรรณพจน์ ดามาพงศ์
■ นางสาวยง่ิ ลกั ษณ์ ชินวตั ร
■ บริษัท แอมเพลิ ริช อนิ เวสเมน้ ท์ จำกดั
(ผู้ถอื หุ้นคือ นายพานทองแท้ฯ
นางสาวพนิ ทองทาฯ นายบรรณพจน์ฯ
และนางสาวยง่ิ ลกั ษณ)์

บุคคลอืน่ ๆ

บริษัท ชนิ แซทเทลไลท์ บริษทั ชนิ คอรป์ อเรช่นั จำกดั (มหาชน)
จำกดั (มหาชน) เปน็ ผถู้ อื หนุ้ รายใหญใ่ นบรษิ ัท
ชนิ แซทเทลไลท์ จำกดั (มหาชน)

บรษิ ัท ชนิ คอร์ปอเรชั่น จำกดั
(มหาชน) เปน็ ผถู้ อื หุน้ ใหญ่
(เกนิ 50%)

บุคคลอนื่ ๆ

ได้รับสมั ปทาน
โทรคมนาคม
ทว่ั ประเทศ
สหภาพพมา่

85

15 คดีทจุ รติ ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง
86

15 คดที จุ ริต ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง

3คดีท่ี

กรณกี ลา่ วหา นางเบญจา หลยุ เจรญิ
เม่อื ครงั้ ดำ� รงต�ำแหนง่ ท่ปี รกึ ษาด้านพฒั นาภาษี

กรมสรรพากร กับพวกรวม 5 ราย
ตอบข้อหารอื ให้บุคคลไม่ต้องเสยี ภาษี

กรณีซ้ื อหนุ้ จากแอมเพิลริช

อ่านค�ำพิพากษา (ฉบับเตม็ )

87

15 คดที ุจรติ ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง

ค�ำพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี 5897/2562
สรุปคำ� ฟ้ องของโจทก์

นางเบญจา หลยุ เจรญิ ตำ� แหนง่ ทปี่ รกึ ษาดา้ นพฒั นาภาษี นางสาวจำ� รสั
แหยมสร้อยทอง ต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการส�ำนัก (นิติกร 9) ส�ำนักกฎหมาย
นางสาวโมรีรตั น์ บุญญาศิริ ต�ำแหนง่ นิตกิ ร 9 ชช. สำ� นกั กฎหมาย นายกรชิ
วิปุลานุสาสน์ ต�ำแหน่งนิติกร 8 ว. กลุ่มงานกฎหมาย ส�ำนักกฎหมาย
ขา้ ราชการพลเรอื น สงั กัดกรมสรรพากร ทั้ง 4 ราย ได้ร่วมกันตอบขอ้ หารอื
ทางภาษีว่า นายพานทองแท้ ชินวัตร และนางสาวพินทองทา ชินวัตร
ไมม่ หี นา้ ทต่ี อ้ งชำ� ระภาษอี ากรตามประมวลรษั ฎากร กรณที บี่ รษิ ทั Ample Rich
Investment Limited (แอมเพิลรชิ ) ได้ซือ้ ห้นุ บริษัท ชิน คอร์ปอเรช่นั จำ� กัด
(มหาชน) ไว้ แลว้ ตอ่ มาในระหวา่ งทแี่ อมเพลิ รชิ ถอื หนุ้ บรษิ ทั ชนิ ฯ ไดล้ ดราคา
พารล์ ง เป็นเหตุให้จำ� นวนห้นุ ที่แอมเพลิ ริชถอื เพ่มิ ขน้ึ และแอมเพิลริชไดต้ กลง
ขายหนุ้ บริษทั ชนิ ฯ ทีถ่ ือท้ังหมดให้แก่นายพานทองแท้ ชนิ วตั ร และนางสาว
พนิ ทองทา ชนิ วตั ร ในราคาพารท์ ลี่ ดลงดงั กลา่ ว โดยไมผ่ า่ นตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่
ประเทศไทย อันเปน็ การปฏิบตั ิหน้าที่โดยมชิ อบ เพอ่ื ให้เกดิ ความเสียหายแก่
กรมสรรพากร โดยมนี างสาวปราณี เวชพฤกษพ์ ทิ กั ษ์ ผูห้ ารอื เป็นผู้สนับสนนุ
การกระทำ� ความผดิ

88

15 คดี ทจุ ริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟ้องเอง

ลTำ�IMดEับLIเNหEตุการณ์

1 กรกฎาคม 2548
นางสาวปราณี เวชพฤกษ์พิทักษ์ ซ่ึงท�ำงานท่ีส�ำนักงาน

ผสู้ อบบญั ชขี องกลมุ่ บรษิ ทั ชนิ วตั ร มหี นา้ ทเี่ กย่ี วกบั การใหค้ ำ� ปรกึ ษา
ด้านภาษีอากร ได้มีหนังสือหารือถึงอธิบดีกรมสรรพากรโดยมี
ประเด็นหารือว่า บริษัท แอมเพิลริช อินเวสเม้นท์ จ�ำกัด ได้ซ้ือ
หุ้นบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ซ่ึงเป็นบริษัทท่ี
จดทะเบยี นในตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทยผา่ นตลาดหลกั ทรพั ย์
แห่งประเทศไทย จ�ำนวน 32,920,000 หนุ้ ในราคาพาร์ 10 บาท
เม่อื วันที่ 11 มถิ นุ ายน 2542 และในระหว่างที่ถอื หุน้ บริษทั ชินฯ
ไดล้ ดราคาพาร์ลงเหลอื 1 บาท เปน็ เหตุใหจ้ ำ� นวนห้นุ ทแี่ อมเพิลรชิ
ถือเพ่ิมเป็น 329,200,000 หุ้น ต่อมาแอมเพิลริชตกลงขายหุ้น
ชินทถี่ อื ท้ังหมดใหแ้ กน่ ายพานทองแท้ ชินวัตร ในราคาพาร์ 1 บาท
โดยไม่ผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จึงหารือว่า
เมอื่ นายพานทองแทฯ้ ซอ้ื หนุ้ ชนิ จากแอมเพลิ รชิ จะมภี าระตอ้ งชำ� ระ
ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรหรอื ไม่

89

15 คดี ทุจริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง

4 กรกฎาคม 2548
นางเบญจา หลุยเจริญ ปฏิบัติหน้าที่แทนอธิบดี

กรมสรรพากรมอบหมายใหส้ ำ� นักกฎหมายพิจารณา โดยมนี ายกริช
วปิ ลุ านุสาสน์ เป็นผู้พิจารณาตอบขอ้ หารอื

7 กนั ยายน 2548
นางสาวโมรีรัตน์ บุญญาศิริ มีหนังสือถึงนางสาวปราณี

เวชพฤกษพ์ ทิ กั ษ์ เพอ่ื สอบถามขอ้ เทจ็ จรงิ เพมิ่ เตมิ วา่ (1) แอมเพลิ รชิ ฯ
ประกอบกจิ การใด (2) มบี คุ คลใดเปน็ ผถู้ อื หนุ้ (3) นายพานทองแท้
ชินวัตร เป็นหรือเคยเป็นพนักงาน ลูกจ้าง กรรมการ ที่ปรึกษา
หรือบุคคลผู้รับท�ำงานให้ในลักษณะท�ำนองเดียวกันของบริษัท ชินฯ
หรือไม่ (4) ปัจจุบันแอมเพิลริชถือหุ้นบริษัท ชินฯ จ�ำนวน
329,200,000 หุ้นอยู่หรือไม่ และ (5) แอมเพิลริชได้ขายหุ้น
ดังกลา่ วให้แก่นายพานทองแท้ ชนิ วัตร เมอื่ ใด

AMPLE RICH

90

15 คดี ทุจรติ ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง

12 กันยายน 2548
นางสาวปราณี เวชพฤกษ์พิทักษ์ มีหนังสือช้ีแจงว่า

(1) แอมเพลิ รชิ ประกอบกจิ การซอื้ ขายหลกั ทรพั ย์ ไมม่ สี ถานประกอบการ
ในประเทศไทย (2) แอมเพลิ ริช มีนายพานทองแท้ ชินวัตร และ
นางสาวพนิ ทองทา ชนิ วตั ร เปน็ กรรมการบรษิ ทั และ (3) นายพานทองแท้
ชินวัตร และนางสาวพินทองทา ชินวัตร ไม่เป็นพนักงาน ลูกจ้าง
กรรมการที่ปรึกษา หรือบุคคลผู้รับท�ำงานในลักษณะเดียวกันของ
บรษิ ทั ชนิ ฯ แตไ่ มม่ คี ำ� ตอบชแ้ี จงคำ� ถามขอ้ ที่ (4) และ (5) นอกจากน้ี
ยงั ไดห้ ารอื เพมิ่ เตมิ วา่ หากแอมเพลิ รชิ ขายหนุ้ ใหแ้ กน่ ายพานทองแท้
ชนิ วตั ร จำ� นวน 164,600,000 หนุ้ และขายใหแ้ กน่ างสาวพนิ ทองทา
ชนิ วตั ร จำ� นวน 164,600,000 หนุ้ ในราคาพาร์ 1 บาท บคุ คลทง้ั สอง
จะมภี าระต้องช�ำระภาษีตามประมวลรัษฎากรหรือไม่
20 กนั ยายน 2548

นายกรชิ วิปลุ านุสาสน์ มีความเห็นวา่ กรณีซือ้ หุ้นในราคา
ตำ�่ กวา่ ราคาตลาด สว่ นตา่ งของราคาซอื้ กบั ราคาตลาดไมเ่ ขา้ ลกั ษณะ
เป็นเงินได้หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้รับอันเข้าลักษณะเป็นเงินได้
พงึ ประเมนิ ตามมาตรา 39 แหง่ ประมวลรษั ฎากร นางสาวโมรรี ตั น์
บุญญาศิริ และนางสาวจ�ำรัส แหยมสร้อยทอง ให้ความเห็นชอบ
และเสนอต่อนางเบญจา หลุยเจริญ ซ่ึงปฏิบัติราชการแทนอธิบดี
กรมสรรพากรตอ่ ไป

91

15 คดี ทจุ รติ ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง

21 กันยายน 2548
นางเบญจา หลุยเจริญ ได้ลงนามตอบข้อหารือ มีสาระ

สำ� คญั วา่
1. การขายหุน้ บริษทั ชนิ ฯ ในราคาหนุ้ ละ 1 บาท ให้แก่

นายพานทองแท้ฯ และนางสาวพินทองทาฯ ถือเป็นการซื้อขาย
ทรัพย์สินระหว่างบริษัทผู้ขายกับผู้ซื้อ เป็นเรื่องปกติทางการค้า
ส่วนราคาท่ีตกลงซื้อขายกันต�่ำกว่าราคาตลาด ผู้ขายและผู้ซื้อมี
สิทธิตกลงกันได้ โดยผู้ซื้อต้องใช้ราคาทรัพย์สินตามท่ีตกลงนั้น
ตามมาตรา 453 แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์

สำ� หรบั ประเดน็ ภาระภาษกี ารซอ้ื ขายหนุ้ (1) กรณบี รษิ ทั ซง่ึ
เปน็ ผขู้ ายนนั้ ผลประโยชนท์ ไี่ ดจ้ ากการโอนหนุ้ ทงั้ น้ี เฉพาะซงึ่ ตรี าคา
เปน็ เงนิ ไดเ้ กนิ กวา่ เงนิ ลงทนุ ถอื เปน็ เงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ ตามมาตรา 40
(4) (ช) แหง่ ประมวลรษั ฎากร

หากการขายหุ้นต่�ำกว่าราคาตลาด โดยไม่มีเหตุอันสมควร
เจา้ พนกั งานประเมนิ มอี ำ� นาจประเมนิ คา่ ตอบแทนตามราคาตลาดใน
วันท่โี อนห้นุ ได้ตามมาตรา 65 ทวิ (4) แหง่ ประมวลรษั ฎากร

เน่ืองจากตามข้อเท็จจริง แอมเพิลริชจดทะเบียนนิติบุคคล
ใน British Virgin Islands ไม่มีสถานประกอบการในประเทศไทย
และไมม่ อี นสุ ญั ญาภาษซี อ้ นกบั ประเทศไทย ดงั นน้ั หากแอมเพลิ รชิ มิ
ได้เข้ามาในประเทศเพือ่ การขายหนุ้ หรอื ไดข้ ายหนุ้ ผา่ นลูกจ้าง หรือ
ผู้ท�ำการแทน หรือผู้ท�ำการติดต่อในการประกอบกิจการใน
ประเทศไทย กรณียังถือไม่ได้ว่าแอมเพิลริชกระท�ำกิจการใน
ประเทศไทยทอี่ ยใู่ นบงั คบั ตอ้ งเสยี ภาษเี งนิ ไดต้ ามมาตรา 66 วรรคสอง
และมาตรา 76 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร เม่ือมีการจ่ายเงนิ ค่าหุ้น
ไปใหก้ บั แอมเพลิ รชิ ซง่ึ มไิ ดป้ ระกอบกจิ การในประเทศไทย เนอ่ื งจาก
เงินได้ท่ีได้รับไม่เข้าลักษณะเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40

92

15 คดี ทจุ ริต ป.ป.ช. ต้องฟอ้ งเอง

(2) (3) (4) (5) หรอื (6) แหง่ ประมวลรษั ฎากร กรณแี อมเพิลริช
จงึ ไมม่ หี นา้ ทตี่ อ้ งนำ� สง่ ภาษเี งนิ ไดต้ ามมาตรา 70 แหง่ ประมวลรษั ฎากร
(2) กรณีนายพานทองแท้ฯ และนางสาวพินทองทาฯ ซึ่งเป็นผู้ซ้ือ
การไดซ้ อ้ื หนุ้ ในราคาตำ่� กวา่ ราคาตลาด เปน็ การซอื้ ทรพั ยส์ นิ ในราคาถกู
ซง่ึ เปน็ เรอื่ งของการตกลงกนั ระหวา่ งผซู้ อ้ื และผขู้ ายอนั เปน็ เรอ่ื งปกติ
ทวั่ ๆ ไป ของการซอ้ื ขายตามมาตรา 453 แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่
และพาณชิ ย์ สว่ นตา่ งของราคาซ้อื กบั ราคาตลาด จึงไมเ่ ข้าลกั ษณะ
เปน็ เงินได้พงึ ประเมิน ตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร

2. กรณีแอมเพิลริชได้ขายหุ้นบริษัท ชินฯ ที่ถือไว้ให้กับ
นายพานทองแท้ฯ และนางสาวพนิ ทองทาฯ ซึ่งเป็นกรรมการของตน
ตามข้อเท็จจริงหุ้นที่แอมเพิลริชได้ซ้ือไว้ถือเป็นทรัพย์สินหรือสินค้า
ของบริษัท มิใช่หุ้นของบริษัทเป็นผู้ออกเอง กรณีจึงไม่เข้าลักษณะ
ตามค�ำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรท่ี 28/2538
เรื่องภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีการเสียภาษีในกรณีได้รับแจก
หุ้น หรือได้ซื้อหุ้นในราคาต่�ำกว่าราคาตลาดตามข้อตกลงพิเศษ
ลงวันที่ 7 กุมภาพนั ธ์ 2538

93

15 คดี ทุจริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง

23 มกราคม 2549
แอมเพลิ รชิ นำ� หนุ้ บรษิ ทั ชนิ ฯ ไปขายใหแ้ กน่ ายพานทองแท้

ชินวตั ร และนางสาวพนิ ทองทา ชนิ วัตร ซึ่งมีต�ำแหนง่ เป็นกรรมการ
ของแอมเพลิ รชิ จำ� นวนคนละ 164,600,000 หนุ้ ในราคาพารห์ นุ้ ละ
1 บาท รวมเปน็ เงนิ คนละ 164,600,000 บาท ขณะทรี่ าคาตลาดหนุ้ ละ
49.25 บาท เป็นการขายต่�ำกว่าราคาตลาดหุ้นละ 48.25 บาท
นายพานทองแทฯ้ และนางสาวพนิ ทองทาฯ ไมไ่ ดแ้ สดงรายการเงนิ ได้
จากส่วนต่างระหว่างราคาซ้ือกับราคาตลาดของการซ้ือหุ้นในการยื่น
แบบแสดงรายการภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา

ต่อมาคณะกรรมการตรวจสอบการกระท�ำท่ีก่อให้เกิด
ความเสียหายแก่รัฐ (คตส.) ตรวจสอบแล้วพบว่า มีหลักฐานอัน
น่าเชื่อว่า มีการกระท�ำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ กรณีการ
โอนขายหนุ้ บรษิ ัท ชินฯ โดยมี นายศุภรัตน์ ควัฒน์กลุ กับพวกรวม
8 คน เป็นผู้ถูกกลา่ วหา
2 กรกฎาคม 2550

คตส. แต่งต้ังคณะอนุกรรมการไต่สวน เพ่ือด�ำเนินการ
ไต่สวนข้อเท็จจริง และได้มีการแจ้งให้กรมสรรพากรตรวจสอบ
ซ่ึงกรมสรรพากรได้ตรวจสอบและประเมินเรียกเก็บเงินได้บุคคล
ธรรมดา รวมเบ้ียปรบั และเงินเพิ่ม (คำ� นวณถึงวันที่ 30 สงิ หาคม
2556) จากนายพานทองแท้ฯ เป็นเงิน 5,904,791,172.29 บาท
และนางสาวพนิ ทองทาฯ เปน็ เงิน 5,904,503,601 บาท

94

15 คดี ทจุ ริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง

18 กมุ ภาพนั ธ์ 2551
คตส. มีมตวิ ่าการกระท�ำของผถู้ ูกกล่าวหา รายนางเบญจา

หลยุ เจรญิ นางสาวจำ� รสั แหยมสรอ้ ยทอง นางสาวโมรรี ตั น์ บญุ ญาศริ ิ
และ นายกริช วิปุลานุสาสน์ เป็นความผิดตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 154 และมาตรา 157 ประกอบมาตรา 83 และ
การกระท�ำของนางสาวปราณี เวชพฤกษ์พิทักษ์ เป็นความผิด
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 154 และมาตรา 157 ประกอบ
มาตรา 86

ต่อมาอัยการสูงสุดได้แจ้งว่าข้อกล่าวหาไม่สมบูรณ์พอท่ีจะ
ดำ� เนนิ คดี และเมอ่ื ไมอ่ าจหาขอ้ ยตุ เิ กย่ี วกบั การดำ� เนนิ การฟอ้ งคดไี ด้
คณะกรรมการ ป.ป.ช. เห็นว่าคดีมีพยานหลักฐานสมบูรณ์
ในการพสิ จู นค์ วามผดิ ผถู้ กู กลา่ วหา จงึ ไดเ้ ปน็ โจทกฟ์ อ้ งคดตี อ่ ศาล
เอง

95

15 คดีทุจริต ป.ป.ช. ต้องฟ้องเอง

การพิจารณาของศาลทงั้ 3 ชั้นศาล

ศาลชั้นต้น

(1) ค�ำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรที่ 28/2538
เร่ือง ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การเสียภาษีในกรณีได้รับแจกหุ้นหรือได้
ซ้ือหุ้นในราคาต่�ำกว่าราคาตลาดตามข้อตกลงพิเศษ ลงวันท่ี 7 กุมภาพันธ์
2538 ก�ำหนดแนวปฏิบัติไว้ว่า “กรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลน�ำ
หุ้นไปแจกให้พนักงาน ลูกจ้าง กรรมการท่ีปรึกษา หรือบุคคลผู้รับท�ำงาน
ใหใ้ นลกั ษณะทำ� นองเดยี วกนั หรอื นำ� หนุ้ ไปขายใหก้ บั บคุ คลตามขอ้ ตกลงพเิ ศษ
ในราคาท่ีต�่ำกว่าราคาตลาด กรณีย่อมถือได้ว่าบุคคลดังกล่าวได้รับเงินพึง
ประเมินตามมาตรา 39 แห่งประมวลรษั ฎากรแล้ว จงึ ต้องน�ำไปรวมค�ำนวณ
เพ่ือเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจ�ำปีภาษีท่ีได้รับกรรมสิทธิ์ในหุ้นไม่ว่า
หุ้นดังกล่าวจะมีเง่ือนไขหรือไม่มีเง่ือนไขเกี่ยวกับการจ�ำหน่ายจ่ายโอนและ
ไมว่ า่ หนุ้ ดงั กลา่ วจะเปน็ หนุ้ ทม่ี กี ารซอ้ื ขายในตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย
หรือนอกตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย” ค�ำวินิจฉัยนี้มิได้จ�ำกัดเฉพาะ
ห้นุ เพิม่ ทุนหรือหุ้นทุน แตอ่ ยา่ งใด

96

15 คดีทจุ ริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง

(2) ปี 2537 กรมสรรพากรเคยมีความเห็นวา่ กรณีของผู้ได้รับหุ้น
ที่เป็นบุคคลธรรมดา ควรถือว่ามีเงินได้ที่ต้องน�ำไปค�ำนวณภาษีต้ังแต่ได้รับ
หลักทรพั ยม์ าในราคาต่�ำ เพราะตามมาตรา 39 แหง่ ประมวลรษั ฎากร ค�ำว่า
เงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ ให้หมายความรวมตลอดถึงทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชน์อื่นท่ไี ด้
รับซง่ึ อาจคิดคำ� นวณได้เปน็ เงิน

การตคี วามเหมอื นท่ีปฏบิ ัติอยู่วา่ เป็นการซ้ือทรัพย์สนิ มา
มใิ ช่ ไดร้ บั ทรพั ยส์ ินมา จงึ ไม่มกี ารประเมนิ ทรพั ยส์ ิน
เพ่มิ เตมิ ถงึ แมจ้ ะได้รบั มาในราคาถูกมากกต็ าม
จะกอ่ ให้เกิดการหลกี เล่ยี งภาษีไดง้ า่ ย

(3) ปี 2543 กรมสรรพากรเคยช้ีแจงมายังคณะอนุกรรมการ
ตรวจสอบทรัพย์สินของโจทก์ว่า กรณีบุคคลธรรมดาซ้ือหุ้นโดยไม่ผ่าน
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่ว่าหุ้นบริษัทน้ีจะจดทะเบียนหรือมิได้
จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ผู้ซ้ือหุ้นไม่มีเงินได้พึงประเมิน จึงไม่มีหน้าที่
เสียภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา เวน้ แต่เป็นการซอ้ื ห้นุ ในราคาต�่ำกวา่ ราคาหรอื
คา่ อันพึงมี ผลตา่ งระหวา่ งราคาหรอื ค่าอนั พึงมีกบั ราคาซือ้ เข้าลักษณะเป็น
ประโยชน์อย่างอ่ืนที่ได้รับ ซึ่งเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 39
แห่งประมวลรัษฎากร ผู้ซ้ือหุ้นต้องน�ำไปรวมค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้
บคุ คลธรรมดา

การตอบข้อหารือของจ�ำเลยท่ี 1 ถึงที่ 4 จึงขัดกับค�ำวินิจฉัยท่ี
28/2538 ซึ่งเป็นระเบียบปฏิบัติของกรมสรรพากร และยังขัดกับแนวปฏิบัติ
การตอบขอ้ หารอื ทว่ี า่ ขอ้ หารอื ทถี่ อื วา่ เปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทสี่ มมตุ ขิ น้ึ ไมส่ มควรตอบให้
เน่ืองจากในขณะท่ีจ�ำเลยท่ี 5 หารือมาน้ันยังไม่มีการซ้ือขายหุ้นกันในความ
เป็นจรงิ แตอ่ ยา่ งใด

97

15 คดีทจุ ริต ป.ป.ช. ตอ้ งฟอ้ งเอง

เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่า วันที่ 23 มกราคม 2549 แอมเพิลริช
นำ� หนุ้ บรษิ ทั ชนิ ฯ ขายใหแ้ กน่ ายพานทองแทฯ้ และนางสาวพนิ ทองทาฯ คนละ
164,600,000 บาท ในราคาหนุ้ ละ 1 บาท ขณะทร่ี าคาตลาดหนุ้ ละ 49.25 บาท
เทา่ กบั วา่ ขายในราคาตำ�่ กวา่ ราคาตลาดหนุ้ ละ 48.25 บาท แลว้ บคุ คลทงั้ สองนำ�
หนุ้ พพิ าทไปใหบ้ ดิ ารวบรวมขายใหแ้ กก่ ลมุ่ เทมาเสก็ ของประเทศสงิ คโปร์ ถอื วา่
นายพานทองแท้ฯ และนางสาวพินทองทาฯ ได้รับประโยชน์จากส่วนต่าง
ของค่าหุ้นอันอาจค�ำนวณได้เป็นเงินหรือเป็นทรัพย์สินหรือประโยชน์ที่ได้
เข้าลักษณะเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร
จำ� นวนคนละ 7,941,950,000 บาท จงึ ตอ้ งนำ� ไปรวมคำ� นวณเพอื่ เสยี ภาษี และ
ปภี าษี 2549 บคุ คลทง้ั สองไมไ่ ดแ้ สดงรายการเงนิ ไดจ้ ากสว่ นตา่ งระหวา่ งราคา
ซ้ือกับราคาตลาดของหุ้นชิน การถือครองหุ้นพิพาทรวมท้ังการโอนขายมี
ลกั ษณะเปน็ การสมยอมกนั เพอ่ื หลกี เลย่ี งภาษี การตอบขอ้ หารอื ของจำ� เลยท่ี
1 ถงึ ที่ 4 กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายแกก่ รมสรรพากร เปน็ ความผดิ สำ� เรจ็ ขณะ
ตอบข้อหารือเมื่อวนั ท่ี 14 กนั ยายน 2548

การกระทำ� ของจำ� เลยทงั้ หา้ ทำ� ใหผ้ เู้ สยี ภาษนี ำ� คำ� ตอบขอ้ หารอื ไปใช้
ประโยชนโ์ ดยมิชอบ เป็นความผิดตามฟอ้ ง

พพิ ากษาวา่ จำ� เลยท่ี 1 ถงึ ท่ี 4 มคี วามผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 157, 83 จำ� เลยที่ 5 มคี วามผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
157, 86 จ�ำคกุ จ�ำเลยที่ 1 ถงึ ที่ 4 คนละ 3 ปี จ�ำคุกจำ� เลยท่ี 5 มีก�ำหนด
2 ปี ไมม่ ีเหตสุ มควรรอการลงโทษ

จ�ำเลยทง้ั ห้าอทุ ธรณ์

98


Click to View FlipBook Version