The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุนีรัตน์ ชูช่วย, 2021-11-09 00:47:40

วิจัยเล่ม

วิจัยเล่ม

รายงานการพฒั นาการจัดการเรยี นรู้โดยใชช้ ดุ การสอน
เรื่องเสียงและการได้ยนิ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
วิชาฟสิ กิ ส์เพิ่มเตมิ 3 รหัสวิชา ว 30203 ของนกั เรียนชั้น

มธั ยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง

นางสุนีรัตน์ ชูช่วย
ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ

โรงเรียนประสาธน์ราษฎรบ์ ารุง ตาบลคลองเส อาเภอถ้าพรรณรา
สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 12

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

บทคดั ยอ่

หัวข้อวิจัย รายงานการพฒั นาการจดั การเรียนร๎โู ดยใชช๎ ุดการสอน เรอื่ งเสยี งและการได๎ยนิ
เพือ่ พฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น วิชาฟสิ กิ ส์เพม่ิ เติม 3 รหัสวชิ า ว 30203 ของ
ผู้วจิ ัย นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประสาธนร์ าษฎรบ์ ารุง
ปีที่วจิ ัย
นางสุนีรัตน์ ชูชวํ ย

2556

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพื่อสร๎างและหาประสิทธิภาพของชุดการสอน
เร่ืองเสยี งและการไดย๎ นิ เพ่ือพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน วชิ าฟสิ ิกสเ์ พิ่มเตมิ 3 รหัสวิชา ว 30203
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุงให๎มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์
80/80 2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู๎โดยใช๎ชุดการสอน เร่ืองเสียงและการได๎
ยิน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว 30203 ของนักเรียนชั้น
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง 3) เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกํอนและ
หลังใช๎ชุดการสอน เรื่องเสียงและการได๎ยิน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม
3 รหัสวิชา ว 30203 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง 4) เพ่ือวัด
ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตํอการจัดการเรียนร๎ูโดยใช๎ชุดการสอน เร่ืองเสียงและการได๎ยิน เพื่อพัฒนา
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น วชิ าฟสิ กิ สเ์ พ่มิ เตมิ 3 รหสั วชิ า ว 30203 ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5
โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง กลํุมตัวอยํางที่ใช๎ในการวิจัยคร้ังน้ีเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5
ห๎อง 5/1 โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12
จานวน 30 คน ซ่ึงได๎มาจากการเลือกกลุํมตัวอยํางแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เนื้อหาท่ีใช๎ในการทดลอง
เป็นเน้ือหา วิชาฟิสิกส์เพ่ิมเติม 3 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 เร่ืองเสียงและการได๎ยิน ตามหลักสูตร
การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานพุทธศกั ราช 2551 การวิจยั คร้ังน้ีดาเนินการวิจัยในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2556 รวมระยะเวลาท่ีใช๎ในการวิจัย จานวน 22 ชั่วโมง เครื่องมือท่ีใช๎ในการวิจัยประกอบด๎วย 1) ชุดการสอน
เรื่องเสียงและการได๎ยนิ วชิ าฟสิ ิกส์เพ่ิมเตมิ 3 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวิชา วิชาฟิสิกส์เพ่ิมเติม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เร่ืองเสียงและการได๎ยิน เป็น
แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข๎อ 3) แบบวัดความพึงพอใจในการจัดการเรียนร๎ูโดยใช๎
ชุดการสอน เร่ืองเสียงและการได๎ยิน วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สถิติที่ใช๎ในการวิเคราะห์
ขอ๎ มูล ไดแ๎ กํ คาํ เฉลี่ย คาํ เบ่ยี งเบนมาตรฐานและการทดสอบคาํ ที (t–test) คําประสทิ ธิภาพของ

ชุดการสอนด๎วย E1/E2 และคําดัชนีประสิทธิผล E.I. ผลการวิจัยสรุปได๎วํา 1) ชุดการสอน เร่ืองเสียงและ
การได๎ยิน วิชาฟิสิกส์เพ่ิมเติม 3 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพ 83.35/82.33 จากกลํุม
ตัวอยําง 2) ดัชนีประสิทธิผล เทํากับ 0.7476 คิดเป็นร๎อยละ 74.76 3) นักเรียนท่ีเรียนโดยใช๎ชุดการสอน
เร่ืองเสียงและการได๎ยิน วิชาฟิสิกส์เพ่ิมเติม 3 ได๎คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูง
กวํากํอนเรียนอยํางมีเลขนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 4) ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตํอการจัดการเรียนร๎ู
โดยใช๎ชุดการสอน เร่ืองเสียงและการไดย๎ ิน วิชาฟสิ กิ ส์เพม่ิ เติม 3 อยํใู นระดบั พอใจมากทส่ี ุด

กติ ติกรรมประกาศ

รายงานวจิ ยั ฉบบั นสี้ าเร็จลุลวํ งไดด๎ ีได๎รับความกรณุ าอยํางยิ่งจาก รศ. ดร.ปญั ญา เลิศไกร
ดร.อนุมัติ เดชนะ ผศ.ดร.พิสณุ ฟองศรี ดร.ไกรเดช ไกรสกุล นายสุชาติ ศิริคาและนางตรัยรัตน์
สงํ ทวี และนางกลอยใจ ศรลี าเทพ เป็นผ๎เู ชย่ี วชาญทไี่ ดส๎ ละเวลาใหค๎ วามชวํ ยเหลอื และแนะนาในการ
แก๎ไขเคร่ืองมือที่ใช๎ในการวิจัยจนทาให๎เคร่ืองมือมีความถูกต๎องสมบูรณ์ ได๎ให๎คาปรึกษาแนะนา
ชํวยเหลือ สํงเสริมและสนับสนุนให๎กาลังใจตลอดเวลาการจัดทาวิจัย ผู๎วิจัยร๎ูสึกซาบซึ้งในความ
กรุณาและขอขอบพระคุณเป็นอยาํ งสงู ไว๎ ณ โอกาสนี้

ขอกราบขอบพระคุณนายเฉลิมพงศ์ ชํวยคุ๎ม ผู๎อานวยการ คณะครู อาจารย์ทุกทําน
โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง อาเภอถ้าพรรณรา จังหวัดนครศรีธรรมราชที่ได๎ให๎การสนับสนุน
และอานวยความสะดวกรวมทั้งขอบใจนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา
2556 ท่ใี หค๎ วามรวํ มมือในการดาเนินการทดลอง

ขอขอบพระคุณครอบครัวที่คอยให๎กาลังใจและสนับสนุนทุกอยํางเพื่อการวิจัยน้ีสาเร็จไป
ได๎ด๎วยดี ประโยชน์และคุณคําทั้งปวง อันเกิดจากการทาวิจัยฉบับนี้ ผ๎ูวิจัยขอมอบบูชา แดํบิดา
มารดา ครู อาจารย์ ผสู๎ รา๎ งรากฐานชีวติ และแนวทางในการดาเนนิ ชีวติ อันทรงคุณคําแกํผู๎วิจัย หาก
งานวิจัยนี้สามารถเป็นเคร่ืองหมายที่แสดงถึงความอดทน ความขยันหม่ันเพียรและความวิริยะ
อุตสาหะได๎แล๎วผูว๎ จิ ัยขอมอบเปน็ กาลงั ใจแดํคุณครูทกุ คน

สนุ รี ตั น์ ชูช่วย

สารบญั หน้า

เร่อื ง ค
บทคัดยอ่ ง
กติ ตกิ รรมประกาศ ฌ
สารบญั ฑ
สารบญั ตาราง 1
สารบัญภาพ 1
บทท่ี 1 บทนา 4
5
ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา 5
วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั 6
สมมตฐิ านการวจิ ัย 8
ขอบเขตของการวจิ ัย 9
นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 11
ประโยชน์ที่ได๎รบั จากการวิจัย 14
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี กย่ี วข้อง 19
หลักสูตรการศกึ ษาแกนกลางข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 29
หลกั สูตรการศกึ ษาแกนกลางขั้นพน้ื ฐาน กลุํมสาระการเรียนรูว๎ ิทยาศาสตร์ 36
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ พุทธศักราช 2553 40
ชดุ การสอน 46
ประสิทธภิ าพและดชั นีประสิทธผิ ล 62
ความพงึ พอใจ 70
แผนการจัดการเรยี นรู๎ 76
การเรียนรแ๎ู บบสบื เสาะหาความรู๎ 81
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
งานวจิ ัยท่เี กีย่ วข๎อง
กรอบแนวคิดการวจิ ัย

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า
82
เรอ่ื ง 82
บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการวิจัย 82
83
หลักการและแนวปฏิบตั ิ 83
ประชากรและกลุมํ ตวั อยําง 92
การสร๎างและหาคณุ ภาพเคร่ืองมือ 93
เครอ่ื งมอื ท่ีใช๎ในการวจิ ยั 98
การเกบ็ รวบรวมข๎อมูล 98
สถติ ิทีใ่ ช๎ในการวิเคราะห์ข๎อมูล
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 99
สญั ลกั ษณท์ ี่ใชใ๎ นการวเิ คราะห์ขอ๎ มูล 99
105
ลาดบั ขัน้ ตอนการวเิ คราะห์ข๎อมูล 105
ผลการวเิ คราะหข์ ๎อมูล 106
บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 106
วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั 106
สมมตฐิ านการวจิ ัย 106
ประชากรและกลมํุ ตัวอยําง 107
ระยะเวลาท่ใี ชใ๎ นการวิจัย 108
เครอ่ื งมอื ท่ีใช๎ในการวจิ ัย 109
วิธีดาเนนิ การวจิ ยั 109
การวิเคราะห์ขอ๎ มูล 110
สถติ ิทใี่ ช๎ในการวเิ คราะห์ขอ๎ มูล 114
สรปุ ผลการวิจยั
อภิปรายผล
ข๎อเสนอแนะ

บรรณานกุ รม 115
ภาคผนวก 124

สารบญั (ต่อ)

เรือ่ ง หนา้

ภาคผนวก ก 125

รายนามชือ่ ผ๎เู ชี่ยวชาญ 126

ภาคผนวก ข เครอ่ื งมือเกบ็ รวบรวมข้อมูล 130

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของชุดการสอน วชิ าฟสิ ิกสเ์ พิม่ เตมิ 3 ช้นั 131

มัธยมศึกษาปที ี่ 5 เร่ืองเสียงและการไดย๎ ิน

แบบวัดความพึงพอใจที่มตี อํ การจัดการเรียนรโ๎ู ดยใชช๎ ดุ การสอน วชิ าฟิสกิ ส์เพม่ิ เติม 139

3 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 เรอ่ื งเสยี งและการได๎ยิน

แบบประเมินแผนการจัดการเรยี นร๎ขู องชุดการสอนโดยใช๎ชดุ การสอน วิชาฟิสกิ ส์ 141

เพม่ิ เติม 3 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 เรือ่ งเสียงและการไดย๎ ิน

แบบประเมินชุดการสอน วชิ าฟิสิกสเ์ พิ่มเตมิ 3 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 143

เรอ่ื งเสยี งและการได๎ยิน โดยผเ๎ู ชย่ี วชาญ

ภาคผนวก ค การหาคุณภาพเครือ่ งมือเก็บรวบรวมข้อมูล 144

การหาคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น วชิ าฟสิ ิกส์เพ่ิมเตมิ 3 ชัน้ 145

มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 เรอื่ งเสียงและการได๎ยนิ

การหาคุณภาพแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีตํอการจดั การเรียนร๎ูโดยใชช๎ ุดการสอน 190

วิชาฟิสกิ ส์เพ่ิมเติม 3 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 เรอื่ งเสียงและการไดย๎ นิ

ภาคผนวก ง การหาคุณภาพเครือ่ งมือที่ใช้ทดลอง 194

การหาคุณภาพแผนการจดั การเรยี นร๎ู วิชาฟิสิกสเ์ พิ่มเติม 3 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 195

เรื่องเสียงและการได๎ยนิ

การหาคณุ ภาพชดุ การสอน วิชาฟสิ กิ สเ์ พิ่มเตมิ 3 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 เรอ่ื งเสียง 202

และการได๎ยิน

ภาคผนวก จ ผลการวิเคราะห์ข้อมลู 207

คะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นกํอนและหลังเรยี นโดยใช๎ชดุ การสอน เรอื่ งเสียงและ

การไดย๎ นิ วิชาฟสิ กิ ส์เพมิ่ เติม 3 รหสั วชิ า ว 30203 ของนักเรียน 208
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 212
คะแนนแบบทดสอบท๎ายชุดการสอน เรื่องเสียงและการไดย๎ ิน วิชาฟิสกิ สเ์ พ่ิมเติม 3
รหัสวชิ า ว 30203 ของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5

สารบัญ (ต่อ) หนา้

เร่อื ง 215
ผลการวเิ คราะห์ความพงึ พอใจทมี่ ตี ํอการจดั การเรียนรโ๎ู ดยใช๎ชดุ การสอน เร่ือง 216
เสยี งและการไดย๎ ิน วิชาฟิสกิ ส์เพม่ิ เติม 3 รหัสวชิ า ว 30203 ของนักเรยี น 217
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 218
219
ภาคผนวก ฉ หนงั สือขอความอนุเคราะห์เป็นผู้เชย่ี วชาญ
หนังสอื ขอความอนเุ คราะหเ์ ป็นผู๎เชยี่ วชาญ

ภาคผนวก ช หนังสือเผยแพรผ่ ลงาน
หนงั สอื เผยแพรผํ ลงาน

ภาคผนวก ซ ตวั อย่างชดุ การสอน
ตวั อยาํ งชุดการสอน

ประวตั ิผู้วิจัย

สารบญั ตาราง หนา๎
3
ตารางที่ 20
1 แสดงระดบั ผลการเรยี นวชิ าฟิสกิ สเ์ พม่ิ เติม 3 รหัสวิชา ว 30203 22
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2554-2555 โรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารุง 28
2 โครงสร๎างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ วิชาฟิสกิ ส์ 49
พืน้ ฐานและเพิ่มเติม ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4-6
3 โครงสร๎างการจดั หนํวยการเรียนร๎ู วิชาฟสิ ิกสเ์ พ่ิมเตมิ 3 รหสั วิชา ว 30203 100
โรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ
4 แผนการจัดการเรยี นร๎ูของชดุ การสอน เรื่องเสยี งและการได๎ยิน วชิ าฟิสกิ ส์ 101
เพิม่ เติม 3 รหสั วชิ า ว 30203
5 แสดงองคป์ ระกอบของแผนการสอนและแผนการจัดการเรียนร๎ู 102
6 แสดงผลการวิเคราะหห์ าประสิทธิภาพของชุดการสอน เร่ือง เสยี งและการไดย๎ ิน
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาฟสิ กิ สเ์ พิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว 30203 กบั 103
นกั เรียนกลํมุ ตัวอยําง โรงเรียนประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ จานวน 30 คน
7 แสดงคําดชั นีประสิทธิผลทางการเรยี น ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 1
ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง โดยใช๎ชุดการสอน
เร่อื งเสียงและการไดย๎ นิ (คะแนนเต็ม 30 คะแนน)
8 แสดงการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกอํ นและหลงั การใชช๎ ดุ การสอน
เรอ่ื ง เสยี งและการไดย๎ ิน เพื่อพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน วชิ าฟิสิกส์
เพม่ิ เติม 3 รหสั วชิ า ว 30203 ของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรยี น
ประสาธนร์ าษฎรบ์ ารุง
9 แสดงคาํ เฉลย่ี (  ) คาํ เบี่ยงเบนมาตรฐาน ( ) เกีย่ วกบั ความพงึ พอใจของ
นักเรยี น
ท่ีมีตอํ การจัดการเรยี นร๎ูโดยใช๎ชุดการสอน เรื่อง เสียงและการไดย๎ นิ เพ่ือ
พัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน วชิ าฟสิ ิกสเ์ พิม่ เตมิ 3 รหสั วชิ า ว 30203 ของ
นกั เรียน
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 โรงเรยี นประสาธนร์ าษฎร์บารงุ

10 แสดงการพิจารณาความสอดคลอ๎ งของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 145
162
กบั ผลการเรียนรู๎ โดยผเู๎ ชย่ี วชาญ 164
หนา๎
11 ผลการประเมินความสอดคล๎องระหวํางของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ 165
166
เรียนและ ผลการเรียนร๎ู เร่อื งเสียงและการไดย๎ นิ วชิ าฟสิ กิ ส์เพิม่ เติม 3 โดย 167
168
ผ๎ูเชีย่ วชาญ 169
12 การหาคาํ p, คํา q, คํา pq, คํา pq , คาํ X, คํา X2 ของแบบทดสอบวดั ผล

สมั ฤทธิท์ างการเรยี น วชิ าฟิสิกส์เพม่ิ เติม 3 ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5

โรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารุง จานวน 50 ขอ๎ (ข๎อ 1-17) โดยใช๎เทคนิค 33

% ของกลํุมสูง

สารบัญตาราง (ตอ่ )

ตารางที่
13 การหาคาํ p, คํา q, คาํ pq, คาํ pq , คํา X, คํา X2 ของแบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธ์ทิ างการเรียน วิชาฟิสกิ ส์เพิ่มเติม 3 ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5

โรงเรียนประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ จานวน 50 ข๎อ (ข๎อ 18-34) โดยใช๎เทคนิค 33

% ของกลํมุ สูง
14 การหาคํา p, คาํ q, คํา pq, คํา pq , คํา X, คํา X2 ของแบบทดสอบวดั ผล

สมั ฤทธ์ิทางการเรียน วิชาฟิสิกส์เพม่ิ เติม 3 ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5

โรงเรยี นประสาธนร์ าษฎร์บารงุ จานวน 50 ข๎อ (ข๎อ 35-50) โดยใชเ๎ ทคนิค 33

% ของกลุมํ สูง
15 การหาคํา p, คาํ q, คํา pq, คํา pq , คํา X, คํา X2 ของแบบทดสอบวัดผล

สมั ฤทธิท์ างการเรียน วิชาฟิสิกสเ์ พ่ิมเติม 3 ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5

โรงเรยี นประสาธน์ราษฎร์บารงุ จานวน 50 ข๎อ (ข๎อ 1-17) โดยใชเ๎ ทคนคิ 33

% ของกลมํุ ต่า
16 การหาคํา p, คาํ q, คาํ pq, คํา pq , คาํ X, คาํ X2 ของแบบทดสอบวดั ผล

สัมฤทธิ์ทางการเรยี น วชิ าฟสิ ิกส์เพม่ิ เติม 3 ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5

โรงเรียนประสาธนร์ าษฎรบ์ ารงุ จานวน 50 ขอ๎ (ข๎อ 18-34) โดยใชเ๎ ทคนิค 33

% ของกลํุมต่า
17 การหาคาํ p, คาํ q, คํา pq, คาํ pq , คํา X, คํา X2 ของแบบทดสอบวัดผล

สัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาฟิสกิ ส์เพมิ่ เติม 3 ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

โรงเรียนประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ จานวน 50 ข๎อ (ข๎อ 35-50) โดยใช๎เทคนิค 33

% ของกลุมํ ตา่

18 แสดงการหาคําความยากงาํ ย (p) และคําอานาจจาแนก (r) ของแบบทดสอบวดั

ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน วชิ าฟสิ กิ ส์เพิ่มเติม 3 ของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 5

โรงเรยี นประสาธน์ราษฎร์บารงุ จานวนนกั เรยี น 30 คน โดยใช๎เทคนคิ 33% 170

19 การหาคํา p, คาํ q, คํา pq, คาํ pq , คาํ X, คํา X2 ของแบบทดสอบวัดผล

สมั ฤทธิ์ทางการเรียน วิชาฟสิ กิ สเ์ พิ่มเติม 3ของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5

โรงเรียน 183

ประสาธน์ราษฎรบ์ ารุง จานวน 30 ข๎อ (ข๎อ 1-15) โดยใชเ๎ ทคนิค 33 % ของ

กลุํมสงู

20 การหาคํา p, คํา q, คํา pq, คาํ pq , คาํ X, คํา X2 ของแบบทดสอบวดั ผล

สมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น วชิ าฟสิ กิ ส์เพม่ิ เติม 3ของนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 5

โรงเรียน 184

ประสาธน์ราษฎร์บารุง จานวน 30 ข๎อ (ข๎อ 16-30) โดยใชเ๎ ทคนิค 33 % ของ

กลํุมสูง

21 การหาคาํ p, คาํ q, คํา pq, คํา pq , คํา X, คาํ X2 ของแบบทดสอบวัดผล

สมั ฤทธิท์ างการเรียน วชิ าฟสิ ิกสเ์ พ่ิมเติม 3ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5

โรงเรยี น 185

ประสาธน์ราษฎร์บารุง จานวน 30 ข๎อ (ข๎อ 1-15) โดยใชเ๎ ทคนิค 33 % ของ

กลํุมตา่

สารบัญตาราง (ตอ่ ) หน๎า
186
ตารางที่
22 การหาคาํ p, คํา q, คํา pq, คาํ pq , คาํ X, คาํ X2 ของแบบทดสอบวัดผล 187
สัมฤทธทิ์ างการเรียน วิชาฟิสิกส์เพ่มิ เติม 3ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5
โรงเรยี น
ประสาธน์ราษฎรบ์ ารุง จานวน 30 ข๎อ (ข๎อ 16-30) โดยใช๎เทคนิค 33 % ของ
กลุํมตา่
23 แสดงคาํ p และคํา q ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น เร่อื งเสียง
และ
การไดย๎ ิน วชิ าฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 จากการทดสอบกบั นักเรียน ช้นั มัธยมศึกษาปี

ที่ 5 โรงเรียนประสาธน์ราษฎรบ์ ารุง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2555

จานวน 30 คน

24 แสดงคําดชั นคี วามสอดคล๎องแบบวัดความพึงพอใจที่มีตอํ การจดั การเรยี นร๎ูโดยใช๎

ชุดการสอน เรอื่ ง เสยี งและการไดย๎ ิน วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 ของนักเรยี น

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 โรงเรยี นประสาธน์ราษฎร์บารงุ โดยผู๎เช่ียวชาญ 190

25 การหาคาํ ความแปรปรวนและความเชือ่ ม่ันของแบบวัดความพงึ พอใจที่มีตํอการ

จดั

การเรยี นรูโ๎ ดยใช๎ชุดการสอน เรือ่ งเสียงและการไดย๎ นิ วิชาฟสิ กิ สเ์ พ่ิมเตมิ 3

ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ตามวิธีของครอนบัค (1970) ภาคเรียนท่ี 1 ปี 191

การศกึ ษา 2555 จานวนนกั เรยี น 30 คน โรงเรียนประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ

26 แสดงคะแนนการประเมินของผ๎เู ช่ยี วชาญเกย่ี วกับคณุ ภาพของแผนการจดั การ

เรียนร๎ู

หนํวยการเรียนร๎ูที่ 2 เร่ือง เสยี งและการได๎ยนิ วิชาฟสิ ิกสเ์ พ่มิ เตมิ 3 195

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ

27 แสดงคําเฉลี่ย ( X ) คําเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เกย่ี วกบั การประเมนิ คุณภาพ

ของ

แผนการจดั การเรียนร๎ู หนวํ ยการเรียนร๎ทู ่ี 2 เรอ่ื ง เสยี งและการไดย๎ นิ ชั้น 197

มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 รหัสวชิ า ว 30203 โรงเรยี นประสาธน์ราษฎร์บารงุ จาแนก

เป็นรายด๎าน

28 แสดงคําเฉลีย่ ( X ) คาํ เบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) เก่ียวกบั การประเมินคุณภาพ

ของ

แผนการจดั การเรยี นร๎ู หนวํ ยการเรยี นรู๎ที่ 2 เรือ่ ง เสียงและการได๎ยนิ

วชิ าฟิสิกส์เพิม่ เติม 3 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ 198

ด๎านสาระสาคญั โดยผ๎เู ช่ยี วชาญ

29 แสดงคําเฉล่ีย ( X ) คาํ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) เกี่ยวกบั การประเมนิ คุณภาพ

ของ

แผนการจัดการเรียนรู๎ หนวํ ยการเรียนรู๎ท่ี 2 เรอื่ ง เสียงและการไดย๎ นิ

วชิ าฟสิ กิ สเ์ พิม่ เติม 3 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นประสาธน์ราษฎร์บารุง 198

ด๎านจุดประสงค์การเรียนร๎ู โดยผ๎เู ช่ยี วชาญ

สารบญั ตาราง (ตอ่ ) หนา๎
199
ตารางที่
30 แสดงคําเฉลี่ย ( X ) คาํ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) เก่ียวกบั การประเมนิ คุณภาพ 200
ของ
แผนการจัดการเรียนร๎ู หนวํ ยการเรยี นรู๎ท่ี 2 เรอ่ื ง เสียงและการไดย๎ นิ 201
วิชาฟิสิกสเ์ พม่ิ เติม 3 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรียนประสาธนร์ าษฎรบ์ ารงุ
ดา๎ นเนือ้ หาสาระ โดยผเ๎ู ช่ยี วชาญ 201
31 แสดงคําเฉลีย่ ( X ) คาํ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) เกีย่ วกับการประเมินคุณภาพ 202
ของ 203
แผนการจดั การเรียนรู๎ หนํวยการเรียนรทู๎ ี่ 2 เรอ่ื ง เสียงและการได๎ยิน 205
วชิ าฟิสิกสเ์ พมิ่ เติม 3 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรียนประสาธน์ราษฎรบ์ ารุง
ด๎านการจดั กิจกรรมการเรียนร๎ู โดยผเ๎ู ช่ยี วชาญ
32 แสดงคาํ เฉลย่ี ( X ) คาํ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เกีย่ วกับการประเมนิ คุณภาพ
ของ
แผนการจัดการเรียนรู๎ หนวํ ยการเรยี นรท๎ู ่ี 2 เรอ่ื ง เสยี งและการได๎ยนิ
วชิ าฟิสิกสเ์ พิม่ เติม 3 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 โรงเรยี นประสาธนร์ าษฎรบ์ ารงุ
ด๎านสอื่ และแหลํงเรยี นรู๎ โดยผ๎เู ช่ียวชาญ
33 แสดงคําเฉลีย่ ( X ) คาํ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เกีย่ วกบั การประเมนิ คุณภาพ
ของ
แผนการจดั การเรยี นร๎ู หนวํ ยการเรยี นรู๎ท่ี 2 เรื่อง เสยี งและการได๎ยนิ
วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง
ด๎านการวัดผลและประเมนิ ผล โดยผู๎เชี่ยวชาญ
34 แสดงคะแนนการทาแบบทดสอบหลงั เรยี นของชดุ การสอนรายชดุ และ
แบบทดสอบวดั
ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น เร่ือง เสียงและการไดย๎ นิ ของนักเรยี นรายบุคคล
35 แสดงคะแนนการทาแบบทดสอบหลังเรียนของชดุ การสอนรายชุดและ
แบบทดสอบวัด
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น เรื่อง เสียงและการได๎ยิน ของนักเรียนกลมุํ เล็ก
36 แสดงคะแนนการทาแบบทดสอบหลงั เรียนของชดุ การสอนรายชุดและ
แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น เรือ่ ง เสยี งและการไดย๎ นิ ของนกั เรยี น

ภาคสนาม 208
37 คาํ คะแนนเฉลีย่ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นกํอนเรยี นและหลงั เรียนโดยใชช๎ ดุ การ 212

สอน
เรอื่ งเสียงและการได๎ยิน วชิ าฟิสกิ ส์เพ่ิมเติม 3 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5
38 แสดงคะแนนการทาแบบทดสอบหลังเรยี นของชุดการสอนรายเลํมและ
แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น เรื่อง เสียงและการได๎ยิน ของนักเรยี น
กลุมํ ตวั อยาํ ง

สารบญั ตาราง (ต่อ) หน๎า
215
ตารางท่ี
39 ผลการศึกษาความพงึ พอใจของนักเรยี นที่มตี ํอการจดั การเรยี นรู๎โดยใช๎ชดุ การ
สอน
เรอื่ งเสยี งและการไดย๎ นิ วิชาฟสิ กิ สเ์ พ่ิมเติม 3 ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่
5
จานวน 30 คน

บทท่ี 1

บทนา

ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา

ประเทศชาติจะมีความก๎าวหน๎าและก๎าวทันตํอสังคมโลกในยุคโลกาภิวัฒน์ได๎นั้น
จาเป็นต๎องมีทรัพยากรบุคคลที่มีการศึกษา ดังน้ันการสร๎างบุคคลให๎มีคุณภาพด๎านการศึกษาจะชํวย
ให๎ประเทศมีการพัฒนาไปอยํางไมํหยุดยั้ง การศึกษาเป็นกระบวนการที่สาคัญย่ิงตํอการสร๎าง
ทรัพยากรมนุษย์ เพ่ือให๎เขาเหลํานั้นเกิดการเรียนร๎ูและการพัฒนาทางด๎านรํางกาย อารมณ์ สังคม
และสติปัญญา ซ่ึงสอดคล๎องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-
2559) ประเทศไทยจะต๎องเผชิญกับกระแสการเปล่ียนแปลงท่ีสาคัญท้ังภายนอกและภายในประเทศ
ท่ีปรับเปล่ียนเร็วและซับซ๎อนมากยิ่งข้ึนเป็นทั้งโอกาสและความเส่ียงตํอการพัฒนาประเทศ
โดยเฉพาะขอ๎ ผกู พนั ท่จี ะเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 จึงจาเปน็ ต๎องนาภูมิค๎ุมกันที่มีอยํูพร๎อมทั้ง
เรํงสรา๎ งภูมคิ ๎มุ กันในประเทศให๎เข๎มแขง็ ข้ึนมาใช๎ในการเตรียมความพร๎อมให๎แกํคน สังคม และระบบ
เศรษฐกิจของประเทศให๎สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได๎อยํางเหมาะสม
สามารถพัฒนาประเทศให๎ก๎าวหน๎าตํอไปเพ่ือประโยชน์สุขท่ีย่ังยืนของสังคมไทยตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการด๎านการพัฒนาเยาวชนของชาติเข๎าสูํโลกยุคศตวรรษที่ 21

โดยมํุงสํงเสริมผ๎ูเรียนมีคุณธรรม รักความเป็นไทยให๎มีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสร๎างสรรค์ มีทักษะ
ด๎านเทคโนโลยี สามารถทางานรํวมกับผู๎อ่ืนและสามารถอยูํรํวมกับผ๎ูอื่นในสังคมโลกได๎อยํางสันติ
(กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2553 : 2)

จดุ หมายประการหน่ึงของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 คือ
มุํงพัฒนาผู๎เรียนให๎เป็นคนดี มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตํอและประกอบอาชีพ
(กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2553 : 5) โดยสมรรถนะสาคญั ประการหน่ึงของผ๎ูเรียน คือ ความสามารถใน
การคิดเป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอยํางสร๎างสรรค์ การคิดอยํางมี
วจิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสกูํ ารสร๎างองคค์ วามร๎ูหรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
เก่ยี วกับตนเองและสังคมได๎อยาํ งเหมาะสม (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 : 6) เช่ือมโยงสูํการตัดสินผลการเรียนของ
ทกุ กลํุมสาระการเรียนร๎ู การอําน คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็นอีกหนึ่งด๎านท่ีนามาตัดสินผลการเรียนทุกระดับชั้น
ซึ่งผ๎ูเรียนต๎องได๎รับการประเมินและมีผลการประเมินผํานตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนดในการอําน คิด
วิเคราะห์ และเขียน (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2553 : 30)

ฟิสิกส์เป็นวิชาวิทยาศาสตร์สาขาหน่ึง ซ่ึงนักเรียนมีทัศนะคติท่ีไมํดีตํอวิชามีความเบื่อ
หนํายตํอการเรียนสํงผลให๎นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า เนื่องจากวิชาฟิสิกส์เป็นวิชาท่ีต๎อง
อาศยั ความรูพ๎ นื้ ฐานทางคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตรผ์ สมผสานกนั ฟสิ ิกสม์ ีเน้ือหาที่หลากหลายจาก
ประสบการณ์ในการสอนวิชาฟิสิกส์ เรื่องเสียงและการได๎ยิน ซึ่งเป็นเรื่องหน่ึงยังขาดสื่อการเรียนการสอนท่ีมี
ประสิทธิภาพ ทาใหน๎ กั เรยี นขาดแรงจูงใจในการเรียน ไมํสนใจเรียน ไมํตั้งใจเรียนในชั้นเรียนไมํเห็น
คุณคําจากการเรียนวิชาฟิสิกส์ เร่ืองเสียงและการได๎ยินเป็นเน้ือหาวิชาฟิสิกส์ท่ีจัดอยํูในหลักสูตร
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2553 กลุํมสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เป็นสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์เพ่ิมเติม ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน
ประสาธน์ราษฎร์บารุง ในกลุํมสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์ กาหนดให๎นักเรียนได๎เรียนวิชาฟิสิกส์
เพมิ่ เติม 3 เร่อื งเสียงและการได๎ยิน ในภาคเรยี นท่ี 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5

สานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แจ๎งผลการ
สอบประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ (National Test - NT) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปี
การศึกษา 2555 ในภาพรวมการสอบทุกวิชานักเรียนสามารถทาได๎คะแนนผํานเกณฑ์ท่ี สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด แตํคะแนนเฉลี่ยทุกวิชาไมํถึง 50 เปอร์เซ็นต์ (สานัก
ทดสอบทางการศึกษา, 2555) และจากการทดสอบของสานักทดสอบแหํงชาติได๎ประเมินผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน (NT) ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารุง ปีการศึกษา
2555 ปรากฏวําผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์มีคะแนนเฉล่ียร๎อยละ 33.27 (โรงเรียน
ประสาธนร์ าษฎร์บารงุ , 2555 : 11) ซ่งึ เปน็ ปญั หาทต่ี อ๎ งแกไ๎ ขโดยดํวน

เมื่อศึกษาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ในวิชาฟสิ ิกส์เพม่ิ เติม 3 รหัสวิชา ว 30203 ระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง ในปีการศึกษาที่ผําน ๆ มา พบวํา นักเรียนมี
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในวิชาฟิสิกส์เพ่ิมเติม 3 นักเรียนได๎ผลการเรียนในระดับ 4 และ 3.5 เป็น
จานวนนอ๎ ย ดงั ขอ๎ มูลในตารางท่ี 1
ตารางท่ี 1 แสดงระดบั ผลการเรียนวิชาฟิสิกสเ์ พ่ิมเติม 3 รหัสวิชา ว 30203

ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2554-2555 โรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารุง

ปี จานวน ผลการเรียน
การศึกษา นกั เรียน 0 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 X

2554 28 0 0 0 6 10 4 2 4 2.66

2555 26 0 2 0 6 10 4 2 4 2.76

ทมี่ า: โรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ , 2555 : 10

จากตารางที่ 1 จะเหน็ วําระดบั ผลการเรยี นระดบั 3-4 ในปกี ารศึกษา 2554 - 2555
รวมกนั แลว๎ คิดเป็นรอ๎ ยละ 54.84 และ 35.90 ตามลาดบั ซึ่งยังต่ากวาํ เกณฑ์มาตรฐานของโรงเรียน
ทีต่ งั้ ไวท๎ ีร่ ๎อยละ 60 (โรงเรยี นประสาธนร์ าษฎร์บารงุ . 2554 : 10) ถา๎ หากยงั ปลํอยใหผ๎ ลการเรียน
อยรูํ ะดบั คอํ นข๎างต่าเชํนนี้ตํอไปจะสํงผลใหโ๎ รงเรยี นไมผํ าํ นการประเมนิ ของสานักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา(องคก์ ารมหาชน)

ผูว๎ จิ ยั จึงได๎วเิ คราะหป์ ญั หาการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน วชิ าฟิสกิ สเ์ พม่ิ เตมิ 3 รหสั
วิชา ว 30203 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ของโรงเรียนประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ พบวํามีปญั หาและ
อุปสรรคในด๎านตําง ๆ มากมาย เชนํ

1. ดา๎ นเน้อื หา การสอนจาเปน็ ตอ๎ งใชว๎ ธิ กี ารในการนาเสนอ เพื่อให๎ผ๎ูเรียนเกิดการเรียนรู๎
คํอนข๎างยาก บางครั้งต๎องใช๎เวลาในการถํายทอดความรู๎นานและหลายคร้ัง ทาให๎มีเวลาเรียนไมํทัน
กับเนอ้ื หาท่ีตอ๎ งใหน๎ กั เรียนได๎เรียนรู๎

2. ด๎านผ๎ูเรียน จะเห็นได๎วํานักเรียนมีความแตกตํางระหวํางบุคคล ไมํวําจะเป็นพื้นฐาน
ดา๎ นความรูแ๎ ละความสามารถในการรับรร๎ู วมถึงพฤติกรรมของการใฝ่รู๎ใฝ่เรยี น และทักษะในการปฏบิ ตั งิ าน

3. ด๎านสอื่ การเรียนการสอน ไมํวาํ จะเป็นประเภทหนังสือ ตารา เอกสาร และวารสาร
ตลอดถงึ สิง่ พมิ พ์ตาํ ง ๆ ท่ีจะนามาสาหรับคน๎ ควา๎ หรอื แม๎แตํนวัตกรรมใหมํ ๆ มีไมหํ ลากหลาย ทาให๎
นักเรยี นไดร๎ ับความรไ๎ู มํเต็มที่

4. ด๎านผู๎สอน ต๎องทาหน๎าท่ีสอนจานวนหลายวิชา เชํน สอนวิชาฟิสิกส์ในระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 สอนวิชาเคมีในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สอนวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเติมใน

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 นอกจากน้ันต๎องทาหน๎าท่ีที่นอกเหนือจากงานสอนประจา เชํน หัวหน๎า
กลํุมบริหารงานวิชาการ หัวหนา๎ งานงานแนะแนว และงานครูท่ีปรึกษา จึงทาให๎ไมํคํอยมีเวลาท่ีจะทา
การสอนซ้า หรอื สอนซํอมเสริมใหก๎ บั นกั เรียนได๎มากเทําที่ควรดังกลําวข๎างต๎น อาจทาให๎เป็นอุปสรรค
ในการพฒั นาผลการเรยี นร๎ูของนักเรียนได๎

จากทก่ี ลําวมาสอดคลอ๎ งงานวจิ ยั ปวีณา แสงกลา๎ (2552 : บทคดั ยอํ ) ไดร๎ ายงานผล
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกํอนและหลังใช๎ชุดการสอนเสียงและการประยุกต์ใช๎
รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 (ว40203) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนยางชุมน๎อยพิทยาคม ภาค
เรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2552 จานวน 2 ห๎องเรียนนักเรียน จานวน 87 คน ผลการศึกษา
พบวํา ชุดการสอนเสียงและการประยุกต์ใช๎ที่สร๎างขึ้นมีประสิทธิภาพเทํากับ 81.95/80.06 มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด๎วยชุดการสอนเสียงและการประยุกต์ใช๎ มีคะแนน
หลังเรียนสูงกวํากํอนเรียน อยํางมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และนักเรียนท่ีเรียนด๎วยชุดการสอนเสียงและ
การประยกุ ต์ใช๎ รายวิชาฟสิ กิ ส์เพ่มิ เตมิ 3 (ว40203) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 มีความพึงพอใจตํอชุด
การสอนในระดับความพงึ พอใจมากทส่ี ดุ

นอกจากน้ี ญาตา เรอื งศรีตระกูล (2553 : บทคัดยํอ) ได๎ทาการวิจยั เรื่องรายงาน
การพฒั นาชดุ การสอนทีเ่ น๎นทักษะการแกโ๎ จทยป์ ัญหาฟสิ กิ ส์ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 3 รหสั วชิ า ว40203
หนวํ ยการเรยี นรท๎ู ่ี 1 เร่อื ง งานและพลังงาน ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 โรงเรยี นกันทรลักษณ์วิทยา
ผลการศึกษาปรากฏดังน้ี 1) ประสทิ ธภิ าพของชดุ การสอนท่ีเนน๎ ทักษะการแก๎โจทย์ปญั หาฟิสกิ ส์
รายวชิ าฟสิ ิกส์ 3 รหสั วิชา ว40203 หนํวยการเรยี นรูท๎ ่ี 1 เรื่อง งานและพลังงาน มีคาํ เทํากับ
77.97/79.19 สงู กวําเกณฑ์มาตรฐาน 75/75 ท่ีกาหนดไว๎ 2) ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นหลงั เรยี นสูง
กวาํ กํอนเรยี นโดยใช๎ ชุดการสอนท่เี น๎นทักษะการแก๎โจทย์ปัญหาฟสิ ิกส์ รายวิชาฟิสิกส์ 3 รหสั วชิ า
ว40203 หนวํ ยการเรียนรูท๎ ่ี 1 เร่ือง งานและพลงั งาน อยาํ งมนี ัยสาคัญทางสถิติทีร่ ะดับ .01 3)
นกั เรียนมคี วามพงึ พอใจตอํ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใชช๎ ุดการสอนทเ่ี น๎นทักษะการแก๎
โจทย์ปัญหาฟสิ ิกส์ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 3 รหัสวชิ า ว40203 หนํวยการเรียนร๎ทู ี่ 1 เรอื่ ง งานและ
พลังงาน ในระดบั มาก คําเฉลี่ยเลขคณติ เทํากับ 4.06 สํวนเบ่ียงเบนมาตรฐานเทํากับ 0.36 และ
สอดคล๎องกบั งานวจิ ัย รสสุคนธ์ ศรสี นั ดา (2555 : บทคดั ยํอ) ได๎ทาการวจิ ยั เรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ า
ฟสิ กิ ส์ เรื่องแรงมวลและกฎการเคลอื่ นท่ี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 ทไ่ี ดร๎ ับการสอนโดยใชช๎ ุดการสอน
ผลการศึกษาปรากฏดังนี้ 1) ชุดการสอนวิชาฟสิ ิกส์ เรื่องแรงมวลและกฎการเคล่ือนท่ี ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4
มปี ระสทิ ธภิ าพ 81.87/81.26 ซง่ึ สงู กวาํ เกณฑท์ ี่กาหนดอยํางมนี ยั สาคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05 2)
นักเรยี นทเี่ รียนด๎วยชุดการสอนวิชาฟิสกิ ส์ เรือ่ งแรงมวลและกฎการเคล่ือนทช่ี ัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 มี
ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นหลังเรียนสงู กวํากํอนเรยี นอยาํ งมีนัยสาคัญทางสถิติทีร่ ะดบั .05 3) จานวน
นกั เรียนมากกวํารอ๎ ยละ 80 มีความพึงพอใจตํอการเรียนด๎วยชดุ การสอนวิชาฟิสกิ ส์ เรอ่ื งแรงมวล

และกฎการเคลอื่ นที่ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ในระดับพงึ พอใจมากและมากทีส่ ดุ ซึง่ สูงกวําเกณฑท์ ี่
กาหนดอยํางมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ่ีระดบั .05 และจากการสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุมํ ของ
นกั เรียนพบวาํ มีพฤติกรรมการทางานกลํมุ อยํใู นระดบั ดี

จากปัญหาดังกลําวนี้ ทาให๎สํงผลกระทบตํอการเรียนร๎ูของนักเรียน สํงผลให๎นักเรียนมี
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า ซึ่งผู๎วิจัยคาดหวังไว๎วําผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนําจะสูงกวํานี้ ด๎วยเหตุ
ดังกลําว ทาให๎ผู๎วิจัยได๎คิดค๎นแนวทางในการแก๎ปัญหาให๎กับนักเรียนหลายรูปแบบ และวิธีการท่ี
วิเคราะห์แล๎วเหน็ วํา เป็นวธิ ีการที่แกป๎ ัญหาเรอื่ งน้ไี ด๎ดที ่สี ุดคือ การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดย
ใช๎ชุดการสอน เพ่ือใช๎เป็นส่ือการเรียนวิชาฟิสิกส์เพ่ิมเติม 3 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5
เน่ืองจากเป็นสื่อการเรียนท่ีมีเนื้อหาสาระครบถ๎วน และมีภาพประกอบเรื่องครอบคลุมเน้ือหาใน
หนวํ ยการเรยี นร๎ู นักเรียนสามารถเรียนร๎ูและเขา๎ ใจไดง๎ ําย โดยเฉพาะอยํางยิ่งมีบทสรุปเนื้อหาในแตํละ
ตอน ทาให๎งาํ ยแกกํ ารจดจาเนอ้ื หาโดยรวม และมกี ิจกรรมที่นักเรียนได๎ฝึกปฏิบัติจริง สามารถทาให๎
นักเรียนเขา๎ ถึงกระบวนการเหลําน้ี และทีส่ าคัญที่สุดนักเรียนสามารถเรียนร๎ูและค๎นคว๎าได๎ด๎วยตัวเอง
โดยไมํจากัดเวลาและสถานท่ี ซ่ึงจะกระต๎ุนให๎นักเรียนเกิดความสนใจและเข๎าใจเนื้อหาสาระ และใน
ปัจจุบันจะเห็นได๎วําบทบาทของผ๎ูสอนเปลี่ยนแปลงไป ต๎องเป็นผ๎ูช้ีนา ผู๎ชํวยเหลือ สํงเสริมและ
สนบั สนุนใหผ๎ ๎เู รยี นแสวงหาความร๎ูตําง ๆ อยํางมคี ณุ ภาพ ดังพระราชบัญญัติการศึกษาแหํงชาติ พ.ศ.
2542 มาตรา 22 ได๎กาหนดแนวทางในวิสัยทัศน์ไว๎วํา “หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุํง
พัฒนาผู๎เรียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาลังของชาติให๎เป็นมนุษย์ท่ีมีความสมดุลท้ังด๎านรํางกาย ความร๎ู คุณธรรม
มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข มีความรู๎และทักษะพืน้ ฐาน รวมทั้ง เจตคติ ท่ีจาเป็นตํอการศึกษาตํอ
การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุํงเน๎นผ๎ูเรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อวําทุกคนสามารถ
เรยี นร๎ูและพฒั นาตนเองไดเ๎ ตม็ ตามศักยภาพ (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2553 : 4)

วตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั

1. เพ่ือสร๎างและหาประสทิ ธิภาพของชดุ การสอน เร่ือง เสียงและการได๎ยิน เพ่ือพฒั นา
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว 30203 ของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่
5 โรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ ให๎มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80

2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนกํอนและหลังใชช๎ ดุ การสอน เรื่อง เสียงและการได๎ยิน เพื่อ
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาฟสิ ิกส์เพ่ิมเติม 3 รหัสวชิ า ว 30203 ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5
โรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ

3. เพ่ือศึกษาดชั นีประสิทธิผลของชุดการสอน เรอื่ งเสียงและการได๎ยนิ เพื่อพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรยี น วิชาฟสิ กิ สเ์ พม่ิ เตมิ 3 รหสั วิชา ว 30203 ของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียน
ประสาธนร์ าษฎรบ์ ารงุ ตามเกณฑด์ ชั นปี ระสิทธิผล

4. เพื่อวัดความพงึ พอใจของนกั เรยี นท่ีมีตํอการจัดการเรียนรโ๎ู ดยใช๎ชุดการสอน เร่ือง
เสียงและการได๎ยิน เพื่อพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน วชิ าฟิสิกส์เพ่มิ เตมิ 3 รหัสวชิ า ว 30203
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนประสาธนร์ าษฎรบ์ ารุง

สมมตฐิ านของการวจิ ัย

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์
บารุง ทีเ่ รียนโดยใช๎ชดุ การสอน เรื่อง เสียงและการได๎ยิน เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา
ฟสิ ิกสเ์ พ่มิ เติม 3 รหัสวชิ า ว 30203 หลงั เรยี นสงู กวาํ กอํ นเรยี น

ขอบเขตของการวิจัย

1. ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง

ประชากรและกลํุมตัวอยํางท่ีใช๎ในการวิจัยในคร้ังนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5
โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง จังหวัดนครศรีธรรมราช ประจาภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ใช๎เปน็ ประชากรและกลมุํ ตัวอยาํ ง จานวน 30 คน

2. ตวั แปรทวี่ ิจัย

2.1 ตัวแปรต๎น คือ การจัดการเรียนรู๎โดยใช๎ชุดการสอน เรื่อง เสียงและการได๎ยิน เพื่อ
พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาฟิสิกส์เพ่ิมเติม 3 รหัสวิชา ว 30203 ของนักเรียนชั้น
มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ

2.2 ตัวแปรตาม ไดแ๎ กํ
2.2.1 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรียน ทีเ่ รยี นไดร๎ บั การพฒั นา

การจัดการเรียนรู๎โดยใช๎ชุดการสอน เร่ือง เสียงและการได๎ยิน เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิชาฟิสกิ สเ์ พม่ิ เตมิ 3 รหัสวชิ า ว 30203 ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประสาธน์ราษฎรบ์ ารุง

2.2.2 ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตํอการจัดการเรียนรู๎โดยใช๎ชุดการสอน
เร่ือง เสียงและการได๎ยนิ เพ่อื พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วิชาฟสิ กิ สเ์ พิม่ เตมิ 3 รหัสวิชา
ว 30203 ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรียนประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ

3. ขอบเขตดา้ นเนอื้ หา
เนอ้ื หาทใ่ี ชใ๎ นการวิจัยในครั้งน้ี เปน็ เน้อื หาในหนํวยการเรยี นร๎ทู ่ี 2 เรื่อง เสยี งและ
การได๎ยิน วิชาฟิสิกส์เพ่ิมเติม 3 กลํุมสาระการเรียนร๎ูวิทยาศาสตร์ สาระท่ี 5 : พลังงาน ของ
นักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ซ่ึงมาจดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู๎ โดยใช๎ชุดการสอน โดยแบํงเนื้อหา
ออกเป็น 9 เรื่อง รวม 9 ชดุ ดงั น้ี
ชุดการสอนท่ี 1 ธรรมชาติและสมบัตขิ องเสียง
ชดุ การสอนที่ 2 อตั ราเรว็ ของเสียงและการเคล่อื นทขี่ องเสยี งผํานตัวกลาง
ชดุ การสอนที่ 3 ความเขม๎ เสียงและระดับเสยี ง
ชดุ การสอนที่ 4 มลภาวะของเสียงและหกู บั การได๎ยนิ
ชดุ การสอนท่ี 5 ระดับสงู ต่าของเสยี งและคุณภาพเสียง
ชดุ การสอนท่ี 6 ความถ่ธี รรมชาตแิ ละการสัน่ พ๎องของเสยี ง
ชดุ การสอนที่ 7 การบีตและคล่ืนนิ่งของเสยี ง
ชุดการสอนที่ 8 ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์และคลน่ื กระแทก
ชดุ การสอนท่ี 9 การประยกุ ต์ความร๎ูเร่อื งเสยี ง

4. ระยะเวลาทใี่ ช้ในการวิจัย

ระยะเวลาที่ใช๎ในการวิจัย ดาเนินการในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ระหวําง
วันท่ี 13 เดอื นมถิ นุ ายน พ.ศ. 2556 ถึงวันท่ี 18 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 โดยใช๎เวลาใน

การจัดกจิ กรรมจานวน 22 ชว่ั โมง จานวน 11 แผนการจัดการเรียนรู๎ รวมเวลาทดสอบกํอนเรียน
และหลังเรียน

นยิ ามศพั ท์เฉพาะ

1. การจัดการเรียนรู๎ หมายถึง การจัดการเรียนการสอนโดยครูและนักเรียนรํวมกัน
อภิปรายสรุปความรู๎ที่ได๎จากชุดการสอน ครูนาอภิปรายโดยใช๎คาถามนา นักเรียนทากิจกรรมกลุํม
นักเรียนสบื ค๎นขอ๎ มูลและนาเสนอหน๎าช้ันเรียน อภิปรายข๎อมูลที่สืบค๎น ค๎นคว๎า รวบรวมข๎อมูลแล๎ว
รวํ มกันระดมความคิด และสือ่ อน่ื ๆ ท่ีใช๎ในการจดั การเรยี นร๎ู

2. ชดุ การสอน เร่ือง เสียงและการได๎ยิน หมายถึง เอกสารประกอบการเรียนที่ผู๎วิจัย
ได๎จัดทาขึ้น เพื่อใช๎เป็นเคร่ืองมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ เป็นสื่อที่สร๎างขึ้นโดยโดยกาหนด
ขอบเขตของเน้ือหาและวิธีการท่ีชัดเจน เป็นเอกสารที่สาระครบตามหลักสูตร มีลักษณะเป็นภาพสี
ประกอบเนือ้ หา รูปเลํมมีขนาด A4 จานวนเนื้อหา 1 หนํวยการเรียนร๎ู แบํงออกเป็น 9 ชุด คือ
ชุดการสอนที่ 1 ธรรมชาติและสมบัติของเสียง ชุดการสอนที่ 2 อัตราเร็วของเสียงและการ
เคล่ือนท่ีของเสียงผํานตัวกลาง ชุดการสอนที่ 3 ความเข๎มเสียงและระดับเสียง ชุดการสอนท่ี 4
มลภาวะของเสียงและหูกับการได๎ยิน ชุดการสอนที่ 5 ระดับสูงต่าของเสียงและคุณภาพเสียง ชุด
การสอนท่ี 6 ความถี่ธรรมชาติและการสั่นพ๎องของเสียง ชุดการสอนที่ 7 การบีตและคล่ืนน่ิงของ
เสียง ชุดการสอนท่ี 8 ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์และคลื่นกระแทกและชุดการสอนที่ 9 การ
ประยุกตค์ วามรูเ๎ รอ่ื งเสียง โดยใช๎ประกอบกบั แผนการจดั การเรยี นรู๎ จานวน 11 แผน

3. ผูเ๎ รียน หมายถงึ นกั เรียนระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 โรงเรยี นประสาธน์ราษฎร์บารุง
ปีการศกึ ษา 2556 จานวน 30 คน ที่เรยี นด๎วยชดุ การสอน เรอื่ ง เสยี งและการได๎ยิน เพ่ือพัฒนา
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น วิชาฟสิ ิกสเ์ พม่ิ เติม 3 รหัสวิชา ว 30203

4. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คะแนนความรู๎ความสามารถของผู๎เรียนที่ได๎จาก
การทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เสียงและการได๎ยิน วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3
รหัสวิชา ว 30203 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุงที่ผู๎วิจัยสร๎าง
ขึ้น

5. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบท่ีศึกษารวบรวมและ
สร๎างข้ึนและนามาหาคุณภาพ เพ่ือประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนกํอนและหลัง
การจัดการเรียนร๎ูโดยใช๎ชุดการสอน เรื่อง เสียงและการได๎ยิน วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว 30203 ของ

นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5 โรงเรยี นประสาธน์ราษฎร์บารุง มีลักษณะเป็นข๎อสอบปรนัยเลือกตอบ
4 ตัวเลือก จานวน 30 ข๎อ

6. ประสิทธิภาพของชุดการสอน หมายถึง ประสิทธิภาพของชุดการสอน เร่ือง เสียง
และการได๎ยิน วิชาฟิสิกส์เพ่ิมเติม 3 รหัสวิชา ว 30203 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
โรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารุง ซึง่ มคี าํ ประสิทธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80

80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉล่ียร๎อยละจากการทาแบบทดสอบในชุดการสอน
เร่ือง เสยี งและการได๎ยนิ วิชาฟสิ ิกส์เพ่ิมเติม 3 รหัสวิชา ว 30203 ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี
5 โรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารุง ซงึ่ ในแตลํ ะชุดจะมีคะแนน ชดุ ละ 10 คะแนน ได๎ถกู ตอ๎ ง

80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนเฉล่ียร๎อยละจากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ
หลังเรียน เร่ือง เสียงและการได๎ยิน วิชาฟิสิกส์เพ่ิมเติม 3 รหัสวิชา ว 30203 ของนักเรียนชั้น
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 โรงเรยี นประสาธนร์ าษฎร์บารงุ ไดถ๎ ูกตอ๎ ง

7. คุณภาพของชุดการสอน หมายถึง ผลที่ได๎จากการประเมินคุณภาพของชุดการสอน
เรอ่ื ง เสยี งและการได๎ยนิ วิชาฟิสกิ สเ์ พิม่ เติม 3 รหัสวิชา ว 30203 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน
ประสาธนร์ าษฎรบ์ ารงุ ซึ่งประเมนิ โดยผเู๎ ชยี่ วชาญอยใํู นเกณฑไ์ มนํ ๎อยกวาํ ระดับดี

8. การพฒั นาชดุ การสอน หมายถึง การสรา๎ งและปรบั ปรุงชุดการสอน เรอื่ ง เสียงและ
การได๎ยิน วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว 30203 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน
ประสาธนร์ าษฎร์บารงุ อยาํ งเปน็ ระบบ ถูกต๎อง มีคุณภาพ และประสิทธิภาพครบถ๎วนใน 1 หนํวย
การเรยี นร๎ู

9. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู๎สึกท่ีดีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ท่ีมี
ตํอการจดั การเรียนรู๎โดยใชช๎ ุดการสอน เรอ่ื ง เสียงและการไดย๎ นิ วชิ าฟสิ ิกสเ์ พ่ิมเติม 3 รหสั วชิ า
ว 30203 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง ซึ่งสามารถวัดได๎จาก
การตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจท่ผี ๎วู จิ ัยสรา๎ งข้นึ จานวน 10 ขอ๎

ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั จากการวจิ ัย

1. ผลการวิจัยทาให๎นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง มี
ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น เรอ่ื ง เสยี งและการได๎ยิน วชิ าฟิสิกสเ์ พิม่ เติม 3 รหัสวชิ า ว 30203 สูงกวํา
การจัดการเรียนรู๎แบบปกติ

2. ผลการวิจยั ทาใหไ๎ ด๎ชุดการสอนเร่ือง เสียงและการได๎ยิน วิชาฟิสิกส์เพ่ิมเติม 3 รหัส
วิชา ว 30203 สาหรับนามาใช๎ในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
80/80

3. ผลการวจิ ัยได๎แผนการจดั การเรียนรู๎ หนวํ ยการเรยี นรู๎ที่ 2 เร่อื ง เสยี งและการได๎ยิน
วิชาฟิสิกส์เพิ่มเตมิ 3 ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 สาหรับนามาใชใ๎ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรท๎ู มี่ ีคุณภาพ

4. ผลการวิจัยทาให๎ครูได๎รับข๎อมูลในการวางแผนพัฒนาการจัดการเรียนรู๎ในวิชาตําง ๆ
ได๎อยาํ งมปี ระสิทธิภาพมากย่งิ ขนึ้

5. ผลการวิจัยเป็นแนวทางสาหรับครูผ๎ูสอนในการศึกษาค๎นคว๎าและพัฒนาชุดการสอน
เพ่ือนาไปใช๎ในการพัฒนากระบวนการเรียนรู๎และพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนใน
รายวิชาอน่ื ๆ ตอํ ไป

6. ทาให๎นักเรยี นมีเจตคติท่ีดตี อํ วิทยาศาสตร์

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจยั ทเี่ กยี่ วข้อง

ในการวิจัยเรื่องการพัฒนาการจัดการเรียนร๎ูโดยใช๎ชุดการสอน เรื่องเสียงและการได๎ยิน
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว 30203 ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง ผ๎ูวิจัยได๎ศึกษาค๎นคว๎าทฤษฎีแนวคิดท่ีเกี่ยวข๎อง
จากนกั วิชาการ และผูเ๎ ชีย่ วชาญด๎านการศึกษาหลายทําน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาชุดการสอน
ดังกลําวให๎เกิดประโยชน์ในการนาไปประยุกต์ใช๎กับนักเรียนให๎ได๎ผลอยํางแท๎จริง โดยมีรายละเอียด
ตามหัวขอ๎ ตํอไปน้ี

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
วิสัยทศั น์ หลักการ จดุ หมาย
สมรรถนะสาคัญของผูเ๎ รียน
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
สอ่ื การเรยี นรู๎

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ทาไมต๎องเรยี นวิทยาศาสตร์
เรยี นรู๎อะไรในวิทยาศาสตร์
คุณภาพผูเ๎ รียน
สาระและมาตรฐานการเรียนรู๎วทิ ยาศาสตร์

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ พุทธศักราช 2553
โครงสร๎างหลักสตู รสถานศึกษา วิชาฟสิ ิกส์พ้นื ฐานและเพ่มิ เตมิ
คาอธบิ าย วิชาฟสิ กิ ส์เพ่ิมเติม 3 ว 30203
การจดั ทาหนวํ ยการเรียนร๎ู วชิ าฟสิ ิกส์เพิ่มเตมิ 3 ว 30203
การจดั แผนการจัดการเรยี นรข๎ู องชดุ การสอน เร่อื งเสยี งและการได๎ยิน วิชาฟิสกิ ส์เพมิ่ เตมิ

3
รหัสวชิ า ว 30203

ชดุ การสอน
ความหมายของชุดการสอน

แนวคดิ ที่นาไปสกูํ ารผลิตชุดการสอน
ประเภทของชดุ การสอน
องค์ประกอบของชดุ การสอน
การสรา๎ งชดุ การสอน
ประสทิ ธิภาพและดัชนปี ระสทิ ธิผล
ความพงึ พอใจ
ความหมายของความพึงพอใจ
ทฤษฎีเก่ียวกับความพึงพอใจ
การวัดความพึงพอใจ
การสร๎างแบบวดั ความพึงพอใจ
แผนการจดั การเรยี นรู้
ความหมายของแผนการจัดการเรียนร๎ู
ความสาคัญของแผนการจัดการเรยี นร๎ู
องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรยี นร๎ู
วิธเี ขียนแผนการจดั การเรียนร๎ู
รปู แบบของแผนการจดั การเรียนรู๎
การเรียนรูแ้ บบสืบเสาะหาความรู้
ความหมายการเรยี นรแ๎ู บบสบื เสาะหาความร๎ู
รปู แบบการจดั การเรียนร๎แู บบสบื เสาะหาความรู๎
การจัดการเรยี นร๎แู บบสืบเสาะหาความร๎ู
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
ความหมายของผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
ความหมายของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
ประเภทของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
การสร๎างแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
คณุ ลักษณะท่ีดีของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
งานวจิ ัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง
งานวิจัยในประเทศ
งานวจิ ัยในตํางประเทศ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551

หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรแกนกลางหรือหลักสูตร
ระดับชาตทิ ี่มํุงพฒั นาคนไทยใหเ๎ ปน็ มนุษยท์ ส่ี มบูรณ์ เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุขและมีความเป็นไทยมีศักยภาพ
ในการเรียนร๎ูตลอดชีวิตและการประกอบอาชีพ กลุํมสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์เป็นกลุํมสาระการ
เรียนรูท๎ ่กี าหนดไว๎ในหลกั สูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ซ่งึ มีรายละเอียดตามหลักสตู รดงั น้ี

วสิ ยั ทศั น์

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มํุงพัฒนาผู๎เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให๎
เป็นมนุษย์ท่ีมีความสมดุลทั้งด๎านรํางกาย ความรู๎ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็น
พลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู๎
และทักษะพื้นฐาน รวมท้ัง เจตคติ ที่จาเป็นตํอการศึกษาตํอการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอด
ชีวิต โดยมุํงเน๎นผู๎เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อวํา ทุกคนสามารถเรียนรู๎และพัฒนาตนเองได๎
เตม็ ตามศักยภาพ (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2553 : 4)

หลกั การ

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน มหี ลักการทีส่ าคัญ ดงั นี้ (กระทรวงศกึ ษาธิการ,
2553 : 4)

1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติมีจุดหมายและมาตรฐานการ
เรียนร๎ู เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให๎มีความรู๎ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบน
พื้นฐานของ
ความเปน็ ไทยควบคกํู บั ความเปน็ สากล

2. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาเพื่อปวงชนท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสไดร๎ ับการศกึ ษาอยําง
เสมอภาค และมีคณุ ภาพ

3. เป็นหลกั สูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให๎สังคมมีสํวนรํวมในการจดั
การศกึ ษาใหส๎ อดคล๎องกับสภาพและความต๎องการของท๎องถิ่น

4. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาท่ีมีโครงสรา๎ งยืดหยนํุ ทง้ั ด๎านสาระการเรียนรู๎ เวลาและการจดั
การเรยี นรู๎

5. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาทีเ่ น๎นผ๎เู รยี นเปน็ สาคญั
6. เป็นหลกั สตู รการศึกษาสาหรบั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย
ครอบคลุมทุกกลุมํ เป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นร๎ู และประสบการณ์

จุดหมาย

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน มงํุ พฒั นาผ๎ูเรยี นให๎เป็นคนดี มีปญั ญา มี
ความสุข มศี ักยภาพในการศึกษาตํอ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเปน็ จดุ หมายเพื่อใหเ๎ กดิ กบั
ผูเ๎ รยี น เมอ่ื จบการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ดังน้ี

1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคํานิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณคําของตนเอง มีวินัยและ
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

2. มคี วามรู๎ ความสามารถในการสอื่ สาร การคดิ การแก๎ปญั หา การใชเ๎ ทคโนโลยี และมที กั ษะชวี ิต
3. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทีด่ ี มสี ุขนสิ ยั และรักการออกกาลงั กาย
4. มคี วามรกั ชาติ มจี ติ สานกึ ในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ยดึ มน่ั ในวถิ ชี ีวติ และ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
ส่ิงแวดล๎อม มีจิตสาธารณะที่มุํงทาประโยชน์และสร๎างส่ิงที่ดีงามในสังคม และอยํูรํวมกันในสังคม
อยํางมคี วามสขุ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553 : 5)

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน มงุํ ให๎ผู๎เรยี นเกดิ สมรรถนะสาคญั 5 ประการ
ดงั น้ี

1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและสํงสาร มีวัฒนธรรมใน
การใช๎ภาษาถาํ ยทอดความคิด ความร๎ูความเข๎าใจ ความร๎ูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียน
ข๎อมลู ขําวสารและประสบการณอ์ ันจะเปน็ ประโยชน์ตอํ การพฒั นาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจา
ตํอรองเพ่ือขจัดและลดปัญหาความขัดแย๎งตําง ๆ การเลอื กรบั หรือไมรํ ับขอ๎ มูลขาํ วสารด๎วยหลักเหตุผล
และความถกู ต๎อง ตลอดจนการเลือกใช๎วธิ ีการส่ือสาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีตํอ
ตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคดิ สงั เคราะห์
การคิด อยาํ งสรา๎ งสรรค์ การคดิ อยาํ งมีวิจารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพือ่ นาไปสูํการสร๎าง
องค์ความรห๎ู รอื สารสนเทศเพื่อการตดั สนิ ใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได๎อยํางเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกป๎ ญั หา เปน็ ความสามารถในการแกป๎ ัญหาและอุปสรรคตําง ๆ
ที่เผชิญได๎อยํางถูกต๎องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข๎อมูลสารสนเทศ เข๎าใจ
ความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ตําง ๆ ในสังคม แสวงหาความร๎ู ประยุกต์ความร๎ูมาใช๎ในการ
ป้องกันและแก๎ไขปัญหา และมีการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดข้ึนตํอ
ตนเอง สังคมและสิง่ แวดลอ๎ ม

4. ความสามารถในการใช๎ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการตําง ๆ ไปใช๎ในการ
ดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนร๎ูด๎วยตนเอง การเรียนรู๎อยํางตํอเนื่อง การทางาน และการอยูํ
รํวมกันในสังคมด๎วยการสร๎างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหวํางบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย๎งตําง ๆ
อยํางเหมาะสมการปรับตัวให๎ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล๎อม และการร๎ูจัก
หลกี เล่ียงพฤตกิ รรมไมํพึงประสงคท์ สี่ ํงผลกระทบตํอตนเองและผ๎ูอน่ื

5. ความสามารถในการใช๎เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช๎ เทคโนโลยี
ดา๎ นตําง ๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด๎านการเรียนร๎ู การสื่อสาร
การทางาน
การแกป๎ ัญหาอยาํ งสรา๎ งสรรคถ์ ูกต๎อง เหมาะสม และมีคุณธรรม (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553 : 6-7)

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุํงพัฒนาผ๎ูเรียนให๎มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เพือ่ ใหส๎ ามารถอยํูรํวมกับผ๎ูอ่นื ในสงั คมได๎อยาํ งมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซ่อื สัตยส์ จุ ริต
3. มีวินยั
4. ใฝ่เรียนร๎ู
5. อยูอํ ยํางพอเพียง
6. มงุํ ม่ันในการทางาน
7. รักความเปน็ ไทย
8. มจี ติ สาธารณะ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2553 : 7)

สือ่ การเรยี นรู้

ส่ือการเรียนรู๎เป็นเคร่ืองมือสํงเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนร๎ู ให๎ผ๎ูเรียน
เข๎าถึงความร๎ู ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได๎อยํางมี
ประสิทธิภาพส่ือการเรียนรู๎มีหลากหลายประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ ส่ือสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และ
เครือขํายการเรียนรู๎ตําง ๆ ท่ีมีในท๎องถิ่น การเลือกใช๎ส่ือควรเลือกให๎มีความเหมาะสมกับระดับ
พัฒนาการ และลลี าการเรยี นรูท๎ ีห่ ลากหลายของผเู๎ รยี น

การจัดหาส่อื การเรียนร๎ู ผเ๎ู รียนและผู๎สอนสามารถจัดทาและพัฒนาข้ึนเอง หรือปรับปรุง
เลือกใช๎อยํางมีคุณภาพจากส่ือตําง ๆ ท่ีมีอยํูรอบตัวเพื่อนามาใช๎ประกอบในการจัดการเรียนร๎ูท่ี
สามารถสํงเสริมและส่ือสารให๎ผู๎เรียนเกิดการเรียนรู๎ โดยสถานศึกษาควรจัดให๎มีอยํางพอเพียง เพื่อ
พัฒนาให๎ผ๎ูเรียนเกิดการเรียนรู๎อยํางแท๎จริง สถานศึกษา เขตพ้ืนที่การศึกษา หนํวยงานที่เกี่ยวข๎อง
และผมู๎ ีหน๎าท่ีจัดการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ควรดาเนินการดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553 : 22)

1. จดั ให๎มแี หลงํ การเรียนรู๎ ศูนย์สอ่ื การเรยี นร๎ู ระบบสารสนเทศการเรียนรู๎ และเครือขํายการเรียนร๎ู
ท่ีมีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค๎นคว๎าและการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์การเรียนร๎รู ะหวาํ งสถานศึกษา ทอ๎ งถ่ิน ชมุ ชน สังคมโลก

2. จัดทาและจัดหาส่ือการเรียนรู๎สาหรับการศึกษาค๎นคว๎าของผ๎ูเรียน เสริมความรู๎ให๎
ผู๎สอน รวมทง้ั จัดหาสง่ิ ทม่ี อี ยใูํ นทอ๎ งถิ่นมาประยุกตใ์ ชเ๎ ป็นส่อื การเรยี นร๎ู

3. เลือกและใช๎สื่อการเรียนรู๎ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย
สอดคล๎องกับวิธีการเรียนรู๎ ธรรมชาติของสาระการเรียนร๎ู และความแตกตํางระหวํางบุคคลของ
ผเ๎ู รยี น

4. ประเมนิ คุณภาพของสอ่ื การเรียนรท๎ู เ่ี ลอื กใชอ๎ ยํางเปน็ ระบบ
5. ศึกษาค๎นควา๎ วิจัย เพ่ือพัฒนาส่ือการเรียนร๎ูให๎สอดคล๎องกับกระบวนการเรียนร๎ูของ
ผ๎เู รียน
6. จัดให๎มีการกากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธภิ าพเก่ียวกับสื่อและการใช๎ส่ือการ
เรยี นรู๎เป็นระยะ ๆ และสมา่ เสมอ
ในการจัดทา การเลือกใช๎ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู๎ท่ีใช๎ในสถานศึกษา
ควรคานึงถึงหลักการสาคัญของส่ือการเรียนรู๎ เชํน ความสอดคล๎องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การ
เรียนรู๎ การออกแบบกิจกรรมการเรียนร๎ู การจัดประสบการณ์ให๎ผู๎เรียน เน้ือหามีความถูกต๎องและ
ทันสมัย ไมํกระทบความม่ันคงของชาติ ไมํขัดตํอศีลธรรม มีการใช๎ภาษาที่ถูกต๎อง รูปแบบการ
นาเสนอทเี่ ข๎าใจงาํ ย และนําสนใจ (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2553 : 27)

สรุปได๎วํา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มํุงพัฒนาให๎
นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตท่ีดี เกิดความรักในชาติ
ศาสน์ กษัตริย์ และรักษ์ในความเป็นไทย วัฒนธรรมประเพณีท่ีดีงาม อยํูในสังคมอยํางมีความสุข
มคี วามสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก๎ปัญหา การใช๎ทักษะชีวิต และการใช๎เทคโนโลยี เป็น
การนาความร๎คู วามสามารถทั้งหมดไปประยกุ ต์ใช๎ในชวี ติ ประจาวัน

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ทาไมตอ้ งเรยี นวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์
เกี่ยวข๎องกับทุกคนทั้งในชีวิตประจาวันและการงานอาชีพตําง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือ
เคร่ืองใช๎และผลผลติ ตําง ๆ ท่ีมนุษย์ได๎ใช๎เพ่ืออานวยความสะดวกในชีวิตและการทางาน เหลําน้ีล๎วน
เปน็ ผลของความรู๎วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร๎างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ชํวย
ให๎มนุษย์ได๎พัฒนาวิธีคิด ท้ังความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร๎างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะ
สาคญั ในการค๎นคว๎าหาความรู๎ มีความสามารถในการแกป๎ ัญหาอยํางเปน็ ระบบ สามารถตัดสินใจโดย
ใช๎ข๎อมูลท่ีหลากหลายและมีประจักษ์พยานท่ีตรวจสอบได๎ วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลก
สมัยใหมํซึ่งเป็นสังคมแหํงการเรียนรู๎ (knowledge – based society) ดังนั้นทุกคนจึงจาเป็นต๎องได๎รับ
การพัฒนาให๎รู๎วิทยาศาสตร์ เพ่ือท่ีจะมีความร๎ูความเข๎าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีท่ีมนุษย์
สรา๎ งสรรค์ขึน้ สามารถนาความร๎ูไปใชอ๎ ยํางมเี หตผุ ล สร๎างสรรค์ และมีคุณธรรม (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553
: 92)

เรียนรอู้ ะไรในวทิ ยาศาสตร์

กลุํมสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์มุํงหวังให๎ผู๎เรียนได๎เรียนร๎ูวิทย าศาสตร์ท่ีเน๎นการ
เช่ือมโยงความรู๎กับกระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค๎นคว๎าและสร๎างองค์ความร๎ู โดยใช๎
กระบวนการในการสืบเสาะหาความร๎ู และการแก๎ปัญหาท่ีหลากหลายให๎ผ๎ูเรียนมีสํวนรํวมในการ
เรียนร๎ูทุกข้ันตอน มีการทากิจกรรมด๎วยการลงมือปฏิบัติจริงอยํางหลากหลายเหมาะสมกับระดับชั้น
โดยได๎กาหนดสาระสาคญั ไว๎ดงั นี้

ส่งิ มีชีวิตกบั กระบวนการดารงชีวิต สิ่งมีชีวิตหนํวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โครงสร๎างและ
หน๎าที่ของระบบตําง ๆ ของส่ิงมีชีวิต และกระบวนการดารงชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพการ

ถํายทอดทางพันธุกรรม การทางานของระบบตําง ๆ ของส่งิ มชี ีวิต วิวัฒนาการและความหลากหลาย
ของสิ่งมชี ีวิต และเทคโนโลยชี ีวภาพ

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ส่ิงมีชีวิตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธ์ระหวํางส่ิงมีชีวิตกับ
ส่ิงแวดล๎อม ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตตําง ๆ ในระบบนิเวศ ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
การใช๎และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในระดับท๎องถ่ิน ประเทศ และโลก ปัจจัยที่มีผลตํอการอยํู
รอดของส่ิงมชี ีวิตในสภาพแวดล๎อมตาํ ง ๆ

สารและสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึดเหนี่ยวระหวํางอนุภาค การ
เปล่ียนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมีของสาร สมการเคมี และการแยกสาร

แรงและการเคล่ือนท่ี ธรรมชาติของแรงแมํเหล็กไฟฟ้า แรงโน๎มถํวง แรงนิวเคลียร์
การออกแรงกระทาตํอวัตถุ การเคลือ่ นท่ขี องวัตถุ แรงเสียดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบตําง ๆ ใน
ชวี ิตประจาวนั

พลังงาน พลังงานกับการดารงชีวิต การเปล่ียนรูปพลังงาน สมบัติและปรากฏการณ์
ของแสง เสียง และวงจรไฟฟ้า คลื่นแมํเหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิสัมพันธ์ระหวํางสารและพลังงานการอนุรักษ์พลังงาน ผลของการใช๎พลังงานตํอชีวิตและ
สิง่ แวดลอ๎ ม

กระบวนการเปล่ียนแปลงของโลก โครงสร๎างและองค์ประกอบของโลก ทรัพยากรทาง
ธรณี สมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้า อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการ
เปลีย่ นแปลงของเปลอื กโลก ปรากฏการณท์ างธรณี ปจั จยั ทม่ี ีผลตอํ การเปลีย่ นแปลงของบรรยากาศ

ดาราศาสตร์และอวกาศ วิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพ ปฏิสัมพันธ์
และผลตํอส่ิงมีชีวิตบนโลก ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก ความสาคัญของ
เทคโนโลยีอวกาศ

ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะ
หาความร๎ู การแกป๎ ญั หา และจิตวทิ ยาศาสตร์ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2553 : 92-93)

คุณภาพผู้เรียน

จบช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 6
1. เขา๎ ใจการรักษาดลุ ยภาพของเซลลแ์ ละกลไกการรักษาดุลยภาพของสิง่ มีชวี ติ
2. เข๎าใจกระบวนการถํายทอดสารพันธุกรรม การแปรผัน มิวเทชัน วิวัฒนาการของ
ส่ิงมชี ีวิต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและปัจจัยที่มีผลตํอการอยูํรอดของส่ิงมีชีวิต ในสิ่งแวดล๎อม
ตําง ๆ

3. เข๎าใจกระบวนการความสาคัญและผลของเทคโนโลยีชีวภาพตํอมนุษย์สิ่งมีชีวิตและ
ส่งิ แวดล๎อม

4. เขา๎ ใจชนดิ ของอนุภาคสาคัญทีเ่ ป็นสวํ นประกอบในโครงสร๎างอะตอม การจดั เรยี งธาตุในตารางธาตุ
การเกิดปฏิกิริยาเคมีและเขียนสมการเคมี ปัจจัยทม่ี ผี ลตํออตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี

5. เขา๎ ใจชนดิ ของแรงยึดเหน่ียวระหวาํ งอนุภาคและสมบัติตาํ ง ๆ ของสารท่มี ี
ความสมั พันธก์ ับแรงยดึ เหนยี่ ว

6. เข๎าใจการเกิดปิโตรเลียม การแยกแก๏สธรรมชาติและการกล่ันลาดับสํวนน้ามันดิบ
การนาผลติ ภณั ฑ์ปโิ ตรเลียมไปใช๎ประโยชน์และผลตอํ สิ่งมีชีวติ และสิง่ แวดล๎อม

7. เขา๎ ใจชนดิ สมบตั ิ ปฏกิ ิรยิ าท่ีสาคญั ของพอลเิ มอร์และสารชีวโมเลกุล
8. เข๎าใจความสัมพันธร์ ะหวํางปรมิ าณที่เกย่ี วกับการเคลอ่ื นท่ีแบบตาํ ง ๆ สมบตั ขิ อง
คลน่ื กล คุณภาพของเสียงและการไดย๎ นิ สมบตั ิประโยชน์และโทษของคล่ืนแมํเหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสี
และพลังงานนิวเคลยี ร์
9. เข๎าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและปรากฏการณ์ทางธรณีท่ีมีผลตํอส่ิงมีชีวิต
และสิง่ แวดล๎อม
10. เขา๎ ใจการเกดิ และวิวฒั นาการของระบบสุรยิ ะ กาแล็กซี เอกภพและความสาคญั
ของเทคโนโลยอี วกาศ
11. เขา๎ ใจความสมั พันธข์ องความรู๎วิทยาศาสตร์ท่ีมีผลตอํ การพฒั นาเทคโนโลยีประเภท
ตาํ ง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีทส่ี ํงผลให๎มีการคดิ ค๎นความรทู๎ างวทิ ยาศาสตร์ทกี่ ๎าวหนา๎ ผลของ
เทคโนโลยีตํอชวี ติ สงั คม และสิง่ แวดล๎อม
12. ระบปุ ัญหา ต้งั คาถามที่จะสารวจตรวจสอบ โดยมีการกาหนดความสัมพันธ์ระหวําง
ตัวแปรตําง ๆ สืบค๎นข๎อมูลจากหลายแหลํง ตั้งสมมติฐานท่ีเป็นไปได๎หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือก
ตรวจสอบสมมตฐิ านทเี่ ป็นไปได๎
13. วางแผนการสารวจตรวจสอบเพ่ือแก๎ปัญหาหรือตอบคาถาม วเิ คราะห์ เชื่อมโยง
ความสัมพันธ์ของตวั แปรตําง ๆ โดยใชส๎ มการทางคณิตศาสตรห์ รือสร๎างแบบจาลองจากผลหรือความรู๎
ทไี่ ดร๎ บั จากการสารวจตรวจสอบ
14. สอื่ สารความคิด ความรู๎จากผลการสารวจตรวจสอบโดยการพดู เขียน จดั แสดง
หรอื ใชเ๎ ทคโนโลยีสารสนเทศ
15. อธิบายความรแ๎ู ละใช๎กระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ นการดารงชวี ติ การศกึ ษาหา
ความรู๎เพิม่ เติมทาโครงงานหรือสร๎างชิน้ งานตามความสนใจ
16. แสดงถึงความสนใจ มํุงม่ัน รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหา
ความรู๎ โดยใชเ๎ คร่อื งมือและวธิ ีการท่ีใหไ๎ ด๎ผลถกู ตอ๎ งเชือ่ ถือได๎

17. ตระหนกั ในคุณคาํ ของความรู๎วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีใช๎ในชีวิตประจาวัน การ
ประกอบอาชีพ แสดงถึงความช่ืนชม ภูมิใจ ยกยํอง อ๎างอิงผลงาน ชิ้นงานท่ีเป็นผลจากภูมิปัญญา
ท๎องถ่นิ และ
การพัฒนาเทคโนโลยีที่ทนั สมยั

18. แสดงความซาบซึ้ง หํวงใย มีพฤติกรรมเก่ยี วกับการใช๎และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล๎อม
อยํางร๎คู ุณคํา เสนอตวั เองรํวมมือปฏิบตั ิกบั ชุมชนในการป้องกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
สง่ิ แวดล๎อมของท๎องถ่ิน

19. แสดงถึงความพอใจ และเห็นคุณคําในการค๎นพบความรู๎ พบคาตอบ หรือ
แก๎ปญั หาได๎

20. ทางานรํวมกับผ๎ูอ่ืนอยํางสร๎างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีข๎อมูลอ๎างอิงและ
เหตุผลประกอบเก่ียวกับผลของการพัฒนาและการใช๎วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยํางมีคุณธรรมตํอ
สังคมและสงิ่ แวดลอ๎ ม และยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผูอ๎ น่ื (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553 : 98-99)

สาระการเรยี นรู้และมาตรฐานวทิ ยาศาสตร์

สาระการเรียนร๎ูทกี่ าหนดไว๎น้ีเป็นสาระหลักของวิทยาศาสตร์พ้ืนฐานที่นักเรียนทุกคนต๎อง
เรียนรู๎ ประกอบด๎วยสํวนท่ีเป็นความรู๎ เน้ือหา และหลักวิทยาศาสตร์และกระบวนการสาระท่ีเป็น
องค์ความรข๎ู องกลมํุ สาระการเรยี นรวู๎ ทิ ยาศาสตร์ ประกอบ 8 สาระยํอย ดงั นี้

สาระที่ 1 : สิ่งมชี ีวิตกบั กระบวนการดารงชวี ติ
สาระที่ 2 : ชีวติ กบั สงิ่ แวดลอ๎ ม
สาระท่ี 3 : สารและสมบตั ขิ องสสาร
สาระท่ี 4 : แรงและการเคลื่อนท่ี
สาระท่ี 5 : พลังงาน
สาระท่ี 6 : กระบวนการเปล่ียนแปลงของเปลือกโลก
สาระที่ 7 : ดาราศาสตร์และอวกาศ
สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

สาระที่ 1 สง่ิ มชี ีวติ กับกระบวนการดารงชีวิต

มาตรฐาน ว 1.1 เข๎าใจหนํวยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร๎าง และ
หน๎าทีข่ องระบบตาํ งๆ ของสงิ่ มชี วี ิตท่ที างานสัมพนั ธ์กนั มีกระบวนการสืบเสาะหาความร๎ู สื่อสารส่ิง
ที่เรียนรแู๎ ละนาความรู๎ไปใชใ๎ นการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสงิ่ มีชวี ิต

มาตรฐาน ว 1.2 เข๎าใจกระบวนการและความสาคัญของการถํายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม วิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช๎เทคโนโลยีชีวภาพท่ีมี
ผลกระทบตํอมนุษย์และสิ่งแวดล๎อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความร๎ูและจิตวิทยาศาสตร์ ส่ือสาร
สงิ่ ท่ีเรยี นร๎ู และนาความรไ๎ู ปใช๎ประโยชน์

สาระท่ี 2 ชวี ิตกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว 2.1 เข๎าใจสิ่งแวดล๎อมในท๎องถ่ิน ความสัมพันธ์ระหวํางส่ิงแวดล๎อมกับสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ระหวํางสิ่งมีชีวิตตํางๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความร๎ูและจิตวิทยา
ศาสตรส์ อื่ สารส่ิงที่เรยี นรู๎และนาความรไ๎ู ปใช๎ประโยชน์
มาตรฐาน ว 2.2 เข๎าใจความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช๎ทรพั ยากรธรรมชาติ
ในระดับท๎องถิ่น ประเทศ และโลกนาความร๎ูไปใช๎ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และ
สงิ่ แวดล๎อมในท๎องถนิ่ อยาํ งย่ังยนื
สาระที่ 3 สารและสมบตั ขิ องสาร
มาตรฐาน ว 3.1 เข๎าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหวํางสมบัติของ
สารกับโครงสร๎างและแรงยึดเหน่ียวระหวาํ งอนภุ าค มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรู๎และ
จิตวทิ ยาศาสตร์สอ่ื สารสง่ิ ทีเ่ รียนร๎ู นาความร๎ูไปใชป๎ ระโยชน์
มาตรฐาน ว 3.2 เข๎าใจหลกั การและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสาร
การเกดิ สารละลาย การเกิดปฏิกริ ิยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความร๎ูและจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่
เรยี นรู๎ และนาความร๎ูไปใช๎ประโยชน์
สาระที่ 4 แรงและการเคล่ือนที่
มาตรฐาน ว 4.1 เข๎าใจธรรมชาติของแรงแมํเหล็กไฟฟ้า แรงโน๎มถํวง และแรงนิวเคลียร์มี
กระบวนการสืบเสาะหาความร๎ู สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู๎และนาความร๎ูไปใช๎ประโยชน์อยํางถูกต๎องและมี
คณุ ธรรม
มาตรฐาน ว 4.2 เข๎าใจลักษณะการเคล่ือนท่ีแบบตําง ๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการสืบ
เสาะหาความรแู๎ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ ส่ือสารส่ิงทเี่ รียนรู๎และนาความร๎ไู ปใช๎ประโยชน์

สาระท่ี 5 พลังงาน

มาตรฐาน ว 5.1 เข๎าใจความสัมพันธ์ระหวํางพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูป
พลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหวํางสารและพลังงาน ผลของการใช๎พลังงานตํอชีวิตและส่ิงแวดล๎อม มี
กระบวน การสบื เสาะหาความรู๎ ส่อื สารส่ิงท่ีเรยี นร๎แู ละนาความรไู๎ ปใช๎ประโยชน์

สาระที่ 6 กระบวนการเปล่ียนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว 6.1 เขา๎ ใจกระบวนการตําง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์
ของกระบวนการตํางๆ ท่ีมีผลตํอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มี
กระบวนการสบื เสาะหาความร๎ูและจติ วทิ ยาศาสตร์ ส่ือสารสงิ่ ทเี่ รียนร๎แู ละนาความรู๎ไปใช๎ประโยชน์
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
มาตรฐาน ว 7.1 เข๎าใจววิ ฒั นาการของระบบสุริยะ กาแลก็ ซีและเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายใน
ระบบสุรยิ ะและผลตอํ สิง่ มีชวี ติ บนโลก มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู๎และจิตวิทยาศาสตร์ การส่ือสารส่ิงที่
เรียนร๎ูและนาความรูไ๎ ปใชป๎ ระโยชน์
มาตรฐาน ว 7.2 เข๎าใจความสาคัญของเทคโนโลยีอวกาศท่ีนามาใช๎ในการสารวจ
อวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ ด๎านการเกษตรและการส่ือสาร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู๎
และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู๎และนาความรู๎ไปใช๎ประโยชน์อยํางมีคุณธรรมตํอชีวิตและ
สงิ่ แวดลอ๎ ม
สาระท่ี 8 ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 8.1 ใชก๎ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ในการสบื เสาะหา
ความรู๎ การแก๎ปัญหารู๎วําปรากฏการณ์ทางธรรมชาติท่ีเกิดขึ้นสํวนใหญํมีรูปแบบท่ีแนํนอน สามารถ
อธิบายและตรวจสอบได๎ภายใต๎ข๎อมูลและเครื่องมือที่มีอยํูในชํวงเวลานั้น ๆ เข๎าใจวําวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี สังคม และส่ิงแวดล๎อมมีความเก่ียวข๎องสัมพนั ธ์กนั (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553 : 14-15)

จะเหน็ ได๎วาํ หลักสตู รกลมํุ สาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์มีบทบาทและมีความสาคัญมากใน
ยุคปัจจบุ ัน การเรียนร๎ูวิทยาศาสตร์เพื่อให๎มีความรู๎ความเข๎าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยี ดังน้ันทุก
คนจึงจาเป็นต๎องได๎รับการพัฒนาให๎มีความร๎ูวิทยาศาสตร์ เพ่ือท่ีจะนาความร๎ูไปใช๎อยํางมีเหตุผล
สรา๎ งสรรค์ และมีคุณธรรม ดังนั้นโรงเรียนจึงต๎องจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาในกลุํมสาระการเรียนรู๎
วิทยาศาสตร์ให๎สอดคล๎องกับหลักสูตรกลุํมสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์ของหลักสูตรแกนกลางขั้น
พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนประสาธนร์ าษฎรบ์ ารุง พทุ ธศักราช 2553

หลักสูตรสถานศึกษามีความสาคัญยิ่งตํอการพัฒนาผู๎เรียนในทุกด๎าน ท้ังด๎านความร๎ู
ทกั ษะ กระบวนการ คณุ ธรรม จริยธรรม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ดังนั้นจงึ เป็นหน๎าที่ความ
รับผิดชอบของสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ภายใต๎กรอบมาตรฐานของหลักสูตร
มาตรฐานการเรียนรู๎จากกลํุมสาระการเรียนร๎ูตําง ๆ และมาตรฐานการเรียนร๎ูท่ีกาหนดไว๎ในหลักสูตร
แกนกลาง และให๎เป็นไปตามปรัชญาและจุดมุํงหมายของสถานศึกษา โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุงได๎จัด
หลักสตู ร วชิ าฟิสกิ ส์เพ่ิมเติม 3 ดังน้ี

โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษา วิชาฟิสกิ ส์พื้นฐานและเพิม่ เติม

โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุงได๎ดาเนินการใช๎หลักสูตรสถานศึกษาครบทุกช้ันในปี
การศึกษา 2553 และโรงเรียนได๎จัดดาเนินการจัดโครงสร๎างของหลักสูตรกลํุมสาระการเรียนร๎ู
วทิ ยาศาสตร์ วิชาฟิสิกสพ์ ้นื ฐานและเพ่ิมเติม ดงั ตารางท่ี 2 (โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง, 2553
: 25)

ตารางที่ 2 โครงสร๎างหลกั สตู รโรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารงุ วชิ าฟสิ ิกส์พน้ื ฐานและเพิม่ เตมิ
ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4-6

รหสั วชิ า วชิ า ระดบั ชนั้ จานวนหนวํ ยกิต ภาคเรยี นท่ีสอน
ว 30101 ฟสิ กิ ส์พื้นฐาน มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 2.0 หนวํ ยกิต ภาคเรยี นท่ี 1
ว 30201 ฟสิ กิ สเ์ พิ่มเติม 1 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 2.0 หนํวยกิต ภาคเรียนที่ 1
ว 30202 ฟสิ ิกสเ์ พิ่มเติม 2 มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 2.0 หนวํ ยกติ ภาคเรยี นท่ี 2
ว 30203 ฟิสกิ ส์เพิ่มเติม 3 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 2.0 หนวํ ยกิต ภาคเรยี นท่ี 1
ว 30204 ฟิสกิ ส์เพิ่มเตมิ 4 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 2.0 หนํวยกิต ภาคเรียนที่ 2
ว 30205 ฟสิ กิ ส์เพิ่มเตมิ 5 มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 2.0 หนวํ ยกติ ภาคเรยี นท่ี 1
ว 30206 ฟสิ ิกสเ์ พิ่มเติม 6 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 2.0 หนวํ ยกติ ภาคเรยี นท่ี 2
12 หนํวยกติ
รวม

ทมี่ า : โรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารุง (2553: 45)

คาอธบิ าย วิชาฟิสิกสเ์ พ่ิมเติม 3 ว 30203

วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว 30203 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 กลํุมสาระการเรียนร๎ู
วิทยาศาสตร์ จานวนเวลา 80 ชว่ั โมง จานวน 4 หนํวยการเรียนร๎ู จานวน 2.0 หนวํ ยกติ

ศึกษาหลักการของคล่ืนในเรื่องการเคล่ือนท่ีแบบคล่ืน การถํายโอนพลังงานของคล่ืนกล การเกิด
คลื่นกล ชนิดของคลื่น คลื่นผิวน้า การซ๎อนทับของคล่ืน สมบัติของคลื่น การสะท๎อน การหักเห การ
แทรกสอด การเลยี้ วเบน คลื่นนง่ิ การเกิดเสียง ธรรมชาติสมบัติของเสียง สมบัติของเสียง การสะท๎อน การ
หักเห การแทรกสอด การเล้ียวเบนของเสียง การเคลื่อนที่ของเสียงผํานตัวกลาง ความเข๎มเสียง ระดับ
เสียง ระดับสูงต่าของเสียง คุณภาพเสียง มลภาวะของเสียง หูกับการได๎ยิน เวลาก๎องเสียง ความถี่
ธรรมชาติ การส่ันพ๎องของเสียงในอากาศ การบีตส์ คล่ืนนิ่ง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คล่ืนกระแทก
และการนาความรูม๎ าประยุกต์ใช๎ดา๎ นตาํ งๆ การสะท๎อนของแสง การหาตาแหนํงขนาดชนิดของภาพที่
เกิดจากระจกเงาราบและกระจกเงาโค๎งทรงกลม การหักเหของแสง กฎของสเนลล์ ดรรชนีหักเห มุม
วิกฤติ การสะทอ๎ นกลับหมด ความลึกจริง ความลกึ ปรากฏ การหาตาแหนํงภาพขนาด ชนิดของภาพที่
เกดิ จากเลนส์บาง การกระจายแสง ร๎ุง การทรงกลด มิราจ หลักการทางานของเครื่องฉายภาพ กล๎อง
ถํายรูป กลอ๎ งจลุ ทรรศน์ กลอ๎ งโทรทรรศน์ ความสวําง ตาและการมองเห็น สารสี แสงสี การเลี้ยวเบน
การแทรกสอดของแสง เกรตตงิ และการกระเจิงของแสง

โดยใช๎กระบวนการสบื เสาะหาความร๎ู สบื ค๎นข๎อมลู อธบิ าย ทดลอง เขียนภาพ สงั เกต
แกป๎ ัญหา ยกตวั อยาํ ง ทากิจกรรม บอกความสัมพันธ์ คานวณ วิเคราะห์และการนาความรไ๎ู ป
ประยกุ ตใ์ ช๎

เพื่อให๎เกิดความร๎ูความคิด ความเข๎าใจ ความคิด มีความสามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู๎ มีความสามารถ
ในการตัดสินใจ การนาความร๎ูไปใช๎ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคํานิยมท่ี
เหมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. อธบิ าย สังเกต เขยี นภาพการเคลอ่ื นท่ีแบบคลน่ื การถํายโอนพลงั งานของคลืน่ กล การ

เกิดคลน่ื กล ชนดิ ของคลนื่ คล่ืนผวิ นา้ การซ๎อนทบั ของคลนื่ และนาความสัมพันธ์ดงั กลาํ วไปแกป๎ ญั หาท่ี
กาหนดได๎อยาํ งถกู ต๎อง

2. อธบิ าย ทดลอง สมบตั ิของคลนื่ การสะท๎อน การหักเห การแทรกสอด การเลยี้ วเบน
คลนื่ น่งิ และนาความสัมพันธ์ดังกลําวไปแก๎ปัญหาคานวณหาปริมาณตําง ๆ ที่กาหนดให๎ได๎อยาํ งถูกต๎อง

3. อธบิ าย ยกตวั อยําง ทากิจกรรม เกยี่ วกบั การเกดิ เสียง ธรรมชาตขิ องเสียง สมบัติของ
เสยี งอัตราเรว็ เสียง การเคลื่อนทข่ี องเสยี งผาํ นตวั กลางและคานวณหาปรมิ าณตําง ๆ ท่เี ก่ียวขอ๎ งได๎
อยํางถูกต๎อง

4. สืบค๎น อธิบาย บอกความสัมพันธ์เกี่ยวกบั ความเข๎มเสียง ระดบั เสียง ระดบั สงู ต่าของ
เสียง คณุ ภาพเสียง มลภาวะของเสยี ง หูกับการได๎ยนิ เวลากอ๎ งเสยี งและคานวณหาปรมิ าณตําง ๆ ท่ี
เกย่ี วขอ๎ งพร๎อมทง้ั นาความร๎ูไปใช๎ในชีวิตประจาวนั ไดอ๎ ยํางเหมาะสม

5. อธิบาย ทดลอง ยกตัวอยําง เกยี่ วกับ ความถี่ธรรมชาติ การส่นั พ๎องของเสียงในอากาศ
การบีตสแ์ ละคลืน่ นงิ่ ของเสียงพร๎อมทง้ั คานวณหาปรมิ าณตําง ๆ ท่เี กย่ี วข๎องได๎อยาํ งถูกต๎อง

6. สบื คน๎ อธบิ าย ยกตวั อยาํ ง เกี่ยวกับลกั ษณะและเงื่อนไขของปรากฏการณ์ดอปเพลอร์
คล่ืนกระแทกและการประยุกตค์ วามร๎ูเร่อื งเสียงมาใช๎ด๎านตําง ๆ พรอ๎ มทงั้ คานวณหาปรมิ าณที่
เกย่ี วข๎องได๎
อยํางถูกต๎อง

7. อธิบาย ยกตวั อยาํ ง การสะทอ๎ นของแสง การหาตาแหนํง ขนาดและชนดิ ของภาพที่
เกิดจากกระจกเงาราบและกระจกเงาโค๎งทรงกลมโดยทั้งการเขยี นภาพและการคานวณได๎อยาํ งถูกต๎อง

8. อธิบาย ทดลอง การหักเหของแสง กฎของสเนลล์ ดรรชนหี ักเห มมุ วิกฤติ การสะทอ๎ น
กลับหมด ความลึกจรงิ ความลกึ ปรากฏพร๎อมทั้งคานวณหาปริมาณตําง ๆ ที่เก่ยี วข๎องได๎อยาํ งถกู ต๎อง

9. อธิบายการหาตาแหนงํ ภาพขนาดและชนดิ ของภาพท่ีเกิดจากเลนสบ์ างท้ังโดยการเขียน
ภาพและพร๎อมทงั้ คานวณหาปริมาณตําง ๆ ที่เกย่ี วข๎อง ได๎อยํางถูกต๎อง

10. อธิบาย ปรากฏการณ์ท่ีเก่ียวกบั แสง การกระจายแสง ร๎ุง การทรงกลด และมริ าจได๎
อยาํ งสมเหตุสมผล

11. อธบิ าย ทากิจกรรม หลกั การทางานของเครื่องฉายภาพ กล๎องถํายรปู กล๎อง
จุลทรรศน์ กลอ๎ งโทรทรรศนแ์ ละนาความรู๎ไปประยุกตใ์ ชใ๎ นชีวติ ประจาวันได๎อยาํ งสมเหตุสมผล

12. อธิบาย นาความร๎ู เก่ียวกับความสวาํ งตาและการมองเห็น สารสี และแสงสีไป
ประยกุ ตใ์ ช๎ในชีวิตประจาวันไดอ๎ ยาํ งสมเหตุสมผล

13. อธบิ าย ทดลอง วเิ คราะห์ สรุปเกยี่ วกับการเลี้ยวเบน การแทรกสอด เกรตติงและการ
กระเจงิ ของแสงพร๎อมทัง้ คานวณหาปรมิ าณตําง ๆ ท่ีเกย่ี วข๎อง ได๎อยํางถกู ต๎อง

รวม 13 ผลการเรยี นรู้

การจดั ทาหน่วยการเรยี นรู้ วชิ าฟสิ ิกส์เพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว 30203

ตารางที่ 3 โครงสรา๎ งการจัดหนํวยการเรียนร๎ู วิชาฟิสกิ ส์เพิม่ เตมิ 3 รหสั วชิ า ว 30203
โรงเรยี นประสาธนร์ าษฎร์บารุง

ลาดบั หนํวย ผลการเรยี นรู๎ สาระการเรียนรู๎ เวลา น้าหนกั
ที่ การเรยี นร๎ู (ช่ัวโมง ) คะแนน

1. คล่นื กล 1. อธบิ าย สงั เกต เขียน 1. การส่ันการเคลือ่ นท่ี 8 10

ภาพการเคลื่อนที่แบบคล่ืน แบบฮารม์ อนิกอยํางงําย

การถํายโอนพลงั งานของ 2. การเกิดคลน่ื

คล่ืนกล การเกดิ คล่ืนกล 3. ชนิดของคล่ืน

ชนดิ ของคลื่น คล่นื ผิวนา้ 4. คลืน่ ผิวนา้

การซอ๎ นทบั ของคลื่นและนา 5. การซอ๎ นทบั ของคลนื่

ความสมั พนั ธด์ ังกลาํ วไป

แกป๎ ญั หาที่กาหนดได๎อยําง

ถกู ต๎อง

ตารางท่ี 3 (ตํอ)

ลาดบั หนวํ ย ผลการเรียนร๎ู สาระการเรียนรู๎ เวลา น้าหนัก
ท่ี การเรยี นร๎ู (ช่วั โมง ) คะแนน

2. คลืน่ กล อธบิ าย ทดลอง สมบัติของ 1. การสะทอ๎ น 8 10

คลนื่ การสะท๎อน การหักเห 2. การหกั เห

การแทรกสอด การเล้ียวเบน 3. การแทรกสอด

คล่ืนนงิ่ และนาความสัมพันธ์ 4. การเล้ียวเบน

ดงั กลําวไปแกป๎ ัญหา

คานวณหาปรมิ าณตําง ๆ ท่ี

กาหนดให๎ได๎อยาํ งถูกตอ๎ ง

3. เสยี งและ อธิบาย ยกตัวอยาํ ง ทา 1. ธรรมชาตแิ ละสมบตั ิ 6 7.5
การได๎ยนิ กิจกรรม เกีย่ วกับการเกิด ของเสียง

เสียง ธรรมชาตขิ องเสียง 2. อตั ราเร็วของเสยี ง
สมบตั ิของเสียงอตั ราเรว็ 3. การเคลอื่ นท่ีของเสยี ง
เสยี ง การเคลอ่ื นทข่ี องเสยี ง ผาํ นตัวกลาง
ผํานตวั กลางและคานวณหา
ปริมาณตํางๆ ทเ่ี กย่ี วข๎องได๎
อยาํ งถูกต๎อง

4. เสยี งและ สบื คน๎ อธิบาย บอก 1. ความเขม๎ เสยี ง 6 7.5

การได๎ยิน ความสมั พนั ธ์เกี่ยวกับความ 2. ระดบั เสียง

เขม๎ เสยี ง ระดบั เสยี ง 3. มลภาวะของเสยี ง

ระดับสูงตา่ ของเสียง 4. หูกับการได๎ยนิ

คุณภาพเสยี ง มลภาวะของ 5. เวลาก๎องเสยี ง

เสยี ง หกู ับการไดย๎ นิ เวลา

กอ๎ งเสยี งและคานวณหา

ปริมาณตาํ ง ๆ ท่ีเกย่ี วข๎อง

พรอ๎ มท้ังนาความรไ๎ู ปใชใ๎ น

ชวี ิตประจาวันไดอ๎ ยาํ ง

เหมาะสม

ตารางที่ 3 (ตอํ )

ลาดั หนวํ ย ผลการเรียนร๎ู สาระการเรยี นรู๎ เวลา น้าหนกั
บที่ การเรียนรู๎ (ชว่ั โมง ) คะแนน

5. เสียงและ อธบิ าย ทดลอง ยกตัวอยาํ ง 1. ระดบั สูงต่าของเสยี ง 6 7.5

การได๎ยิน เก่ยี วกบั ความถ่ธี รรมชาติ 2. คุณภาพเสยี ง

การสั่นพ๎องของเสยี งใน 3. ความถ่ธี รรมชาติ

อากาศ การบตี สแ์ ละคลน่ื น่งิ 4. การสนั่ พอ๎ งของเสยี งใน

ของเสียงพรอ๎ มทั้ง อากาศ

คานวณหาปริมาณตาํ ง ๆ ที่ 5. การบตี และคล่นื นิ่งของ

เกยี่ วขอ๎ งได๎อยาํ งถูกต๎อง เสยี ง

เสียงในอากาศ การบตี และ
คลนื่ นิง่ ของเสียงพร๎อมท้ัง
บอกเงื่อนไขทีเ่ ก่ยี วข๎องได๎
อยํางถูกต๎อง

6. เสียงและ สบื ค๎น อธบิ าย ยกตัวอยาํ ง 1. ปรากฏการณ์ 45

การไดย๎ นิ เกี่ยวกับลกั ษณะและเง่ือนไข ดอปเพลอร์

ของปรากฏการณ์ดอป 2. คลื่นกระแทก

เพลอร์ คลนื่ กระแทกและ 3. การประยกุ ต์ความรู๎

การประยุกต์ความร๎เู ร่ือง เรอ่ื งเสียง

เสียงมาใชด๎ า๎ นตาํ งๆ พร๎อม

ท้ังคานวณหาปริมาณตําง ๆ

ทีเ่ กี่ยวข๎องได๎อยาํ งถูกต๎อง

สอบกลางภาค 2

ตารางท่ี 3 (ตอํ )

ลาดบั หนวํ ย ผลการเรียนร๎ู สาระการเรยี นรู๎ เวลา นา้ หนกั
ที่ การเรียนร๎ู (ช่ัวโมง ) คะแนน

7. แสงและ อธิบาย ทดลอง 1. การเคลื่อนท่ีและ 45

ทศั น ยกตวั อยํางการเคลื่อนที่ อตั ราเรว็ ของแสง

อปุ กรณ์ และอตั ราเร็วของแสง การ 2. การสะทอ๎ นของแสง

สะทอ๎ นของแสง การหา 3. การหาตาแหนงํ

ตาแหนงํ ขนาดและชนดิ ขนาดและชนิดของภาพท่ี

ของภาพท่เี กิดจากกระจก เกดิ จากกระจกเงาราบ
เงาราบและกระจกเงาทรง และกระจกเงาทรงกลม
กลมท้ังโดยการเขยี นภาพ
และการคานวณ พร๎อมทัง้
นาความรู๎ไปประยุกต์ใช๎ใน
ชวี ิตประจาวันไดอ๎ ยาํ ง
ถูกต๎อง

8. แสงและ อธบิ าย ทดลอง การหักเห 1. การหกั เหของแสง 10 12.5

ทัศน ของแสง กฎของสเนลล์ 2. กฎของสเนลล์

อปุ กรณ์ ดรรชนีหกั เห มุมวกิ ฤติ การ 3. ดรรชนหี ักเห

สะทอ๎ นกลับหมด ความลึก 4. มุมวกิ ฤติ

จรงิ ความลกึ ปรากฏพรอ๎ ม 5. การสะทอ๎ น

ทั้งคานวณหาปริมาณตาํ ง ๆ กลับหมด

ที่เกีย่ วข๎องได๎อยํางถกู ต๎อง 6. ความลึกจรงิ ความลกึ

ปรากฏ

ตารางที่ 3 (ตํอ)

ลาดับ หนวํ ย ผลการเรียนรู๎ สาระการเรยี นรู๎ เวลา นา้ หนกั
ที่ การเรียนร๎ู (ช่ัวโมง ) คะแนน

9. แสงและ อธบิ ายการหาตาแหนงํ ภาพ 1. การหาตาแหนํงภาพ 2 2.5

ทัศน ขนาดและชนดิ ของภาพที่ ขนาดและชนดิ ของภาพท่ี

อุปกรณ์ เกดิ จากเลนส์บางทงั้ โดย เกิดจากเลนสบ์ าง

การเขยี นภาพและพร๎อมทง้ั
คานวณหาปริมาณตาํ ง ๆ ท่ี
เกี่ยวข๎อง ได๎อยํางถูกต๎อง

10. แสงและ อธิบาย ปรากฏการณท์ ่ี 1. การกระจายแสง 2 2.5
45
ทศั น เกย่ี วกบั แสง 2. การทรงกลด

อปุ กรณ์ การกระจายแสง 3. มริ าจ

รุ๎ง การทรงกลด และ

มิราจได๎อยาํ งสมเหตสุ มผล

11. แสงและ อธบิ าย ทากิจกรรม 1. เคร่ืองฉายภาพ

ทัศน หลกั การทางานของเคร่ือง 2. กลอ๎ งถํายรปู

อปุ กรณ์ ฉายภาพ กลอ๎ งถํายรูป 3. กลอ๎ งจลุ ทรรศน์

กล๎องจุลทรรศน์ กล๎อง 4. กล๎องโทรทรรศน์

โทรทรรศน์และนาความร๎ู

ไปประยุกตใ์ ชใ๎ น

ชีวติ ประจาวันไดอ๎ ยําง

สมเหตสุ มผล

ตารางท่ี 3 (ตอํ )

ลาดับ หนํวย ผลการเรยี นรู๎ สาระการเรียนร๎ู เวลา น้าหนกั
ท่ี การเรยี นร๎ู (ชั่วโมง ) คะแนน

12. แสงและ อธิบาย นาความรู๎ เกี่ยวกับ 1. ความสวาํ ง 6 7.5

ทัศน ความสวําง 2. ตาและการมองเหน็
อปุ กรณ์ ตาและการมองเห็น สารสี 3. สารสี และแสงสี
และแสงสีไปประยุกต์ใชใ๎ น
ชวี ติ ประจาวนั ไดอ๎ ยําง
สมเหตสุ มผล

13. แสงและ อธบิ าย ทดลอง วเิ คราะห์ 1. การเลี้ยวเบน 8 10
ทศั น สรุปเก่ยี วกบั การเลี้ยวเบน 2. การแทรกสอด
อปุ กรณ์ การแทรกสอด เกรตติงและ 3. เกรตติง 2
การกระเจิงของแสงพร๎อม 4. การกระเจงิ ของแสง 80 100
ท้ังคานวณหาปริมาณตําง ๆ
ทีเ่ กีย่ วข๎อง ได๎อยํางถกู ต๎อง

สอบปลายภาค
รวม

ที่มา : โรงเรยี นประสาธน์ราษฎร์บารุง (2553: 50)

การจัดแผนการจัดการเรียนรู้ของชดุ การสอน เรื่องเสียงและการไดย้ นิ วิชาฟสิ ิกสเ์ พ่ิมเติม 3
รหสั วิชา
ว 30203

ตารางท่ี 4 แผนการจดั การเรยี นร๎ูของชดุ การสอน เรื่องเสียงและการไดย๎ นิ วิชาฟิสกิ สเ์ พิ่มเตมิ 3
รหสั วิชา ว 30203

แผนการจดั ชุดการสอนเร่ือง วัน/เดือน/ปที ี่สอน เวลา
การเรยี นรู๎
ธรรมชาติและสมบัติของเสยี ง 13, 15 ม.ิ ย. 2556 4 ชั่วโมง
1 อัตราเรว็ ของเสียงและการเคลือ่ นทขี่ องเสียง 20 ม.ิ ย. 2556 2 ชว่ั โมง
2 ผาํ นตวั กลาง
ความเข๎มเสียงและระดบั เสียง 23 มิ.ย. 2556 2 ชั่วโมง
3 มลภาวะของเสยี งและหูกับการได๎ยนิ 25 มิ.ย. 2556 2 ชัว่ โมง
4 ระดับสูงต่าของเสียงและคุณภาพเสียง 27 ม.ิ ย. 2556 2 ช่วั โมง
5 ความถีธ่ รรมชาติและการส่นั พ๎องของเสียง 2, 4 ก.ค. 2556 4 ช่วั โมง
6 การบีตสแ์ ละคลื่นน่ิงของเสียง 11 ก.ค. 2556 2 ชวั่ โมง
7 ปรากฏการณด์ อปเพลอร์และคลนื่ กระแทก 16 ก.ค. 2556 2 ชว่ั โมง
8 การประยุกตค์ วามรู๎เรื่องเสยี ง 18 ก.ค. 2556 2 ชั่วโมง
9 22 ช่ัวโมง
รวม

จากหลกั สูตรสาระการเรียนร๎ูวิทยาศาสตร์ วิชาฟิสิกส์เพ่ิมเติม 3 สรุปได๎วําเป็นสาระการเรียนรู๎
วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม เวลาเรียน 80 ช่ัวโมงตํอภาคเรียน จานวน 2 หนํวยกิต ทาการเรียนการสอนใน
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ของภาคเรียนท่ี 1 โดยประกอบด๎วยหนํวยการเรียนรู๎ จานวน 4
หนํวยคือ หนํวยท่ี 1 เรื่องคลนื่ กล หนํวยท่ี 2 เรอ่ื งเสยี งและการไดย๎ นิ และหนํวยท่ี 3 เร่ืองแสง
และทศั นอปุ กรณ์ และ
หนวํ ยที่ 4 เร่อื งแสงเชงิ ฟสิ ิกส์ ในงานวิจยั ครง้ั นผี้ ๎ูวจิ ัยได๎นาหนวํ ยการเรียนร๎ูที่ 2 เรื่องเสียงและการ
ได๎ยิน มาจัดทาเป็นชดุ การสอนทัง้ หมด 9 ชุด

ชุดการสอน

ความหมายของชุดการสอน

ชดุ การเรียนการสอน ชดุ การสอน ชดุ การเรียน และ ชดุ การเรียนร๎ู เปน็ คาท่ีมีความหมาย
และแนวคิดพอ๎ งกัน ดงั ทีน่ ักการศกึ ษาได๎แสดงทัศนะเกย่ี วกับความหมายไว๎ ดงั น้ี

สวุ ทิ ย์ มูลคา และอรทยั มูลคา (2551 : 51) ได๎ให๎ความหมายของชุดกิจกรรม วําเป็นส่ือ
การสอนชนดิ หน่ึงที่เป็นลักษณะของสื่อประสม และเป็นการใช๎ส่ือต้ังแตํสองชนิดขึ้นไปรวมกันเพ่ือให๎
นักเรียนได๎รับความต๎องการ โดยอาจจัดทาขึ้นสาหรับหนํวยการเรียนตามหัวข๎อเร่ือง และ
ประสบการณ์ของแตํละหนํวยท่ีต๎องการจะให๎นักเรียนได๎เรียนร๎ู อาจจัดไว๎เป็นชุดในกลํอง ซอง
กระเปา๋ ชดุ กิจกรรมอาจประกอบด๎วยเนอื้ หาสาระ คาส่งั ใบงานในการทากิจกรรม วสั ดุอุปกรณ์

สคุ นธ์ สนิ ธพานนท์ และคณะ(2551 : 14) ได๎อธบิ ายลักษณะของ ชุดการเรยี นการสอน
ไวว๎ าํ เป็นนวัตกรรมท่ีใชป๎ ระกอบการสอนที่เนน๎ ผู๎เรียนเปน็ สาคัญ โดยผ๎เู รยี นศึกษาและใช๎สื่อตาํ ง ๆ ที่
ผู๎สอนสรา๎ งขน้ึ ประกอบดว๎ ยคาแนะนาให๎ทากิจกรรมตําง ๆ ส่อื อุปกรณ์ กิจกรรมการเรียนการสอน
การวดั และประเมินผล ผู๎เรยี นศึกษาด๎วยตนเองผูส๎ อนเป็นเพียงผ๎ูใหค๎ าแนะนา

ชยั ยงค์ พรหมวงศ์, บญุ เลศิ สํองสวําง และวาสนา ทวีกุลทรพั ย์ (2551 :(14) 6) ได๎ให๎
ความหมายของชุดการเรยี นการสอน (Instructional Package) ไว๎วํา เปน็ ส่ือประสมประเภทหนงึ่ มี
จดุ มุงํ หมายเฉพาะที่จะสอนชํวยใหก๎ ารเรยี นรู๎ของผ๎ูเรยี นเป็นอสิ ระจากอารมณ์และบุคลิกของผสู๎ อน
และทาให๎มีโอกาสฝกึ ฝนการแสดงความคิดเหน็ และการตดั สินใจแสวงหาความร๎ูด๎วยตนเอง

ชยั วฒั น์ สทุ ธริ ตั น์ (2552 : 435) ได๎กลาํ ววํา ชุดการสอน เปน็ กระบวนการสอนแบบ
โปรแกรมชนิดหน่ึง อาศยั ระบบสอ่ื ประสมทส่ี อดคลอ๎ งกับเน้ือหา และประสบการณข์ องแตํละหนวํ ยมา
ชํวยเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมการเรยี นรูใ๎ ห๎เป็นไปอยาํ งมีประสิทธภิ าพ

แสงศรี ศลิ าออํ น (2553 : 32) ได๎กลําววาํ ชดุ การสอน หมายถึง สื่อการสอนที่ครูสร๎าง
ขึ้นเป็นสื่อประสมท่ีมีส่ือตั้งแตํสองชนิดขึ้นไปนามาใช๎ประกอบกันอาจจัดทาข้ึนเป็นหนํวยการเรียน
ตามท่ีต๎องการให๎ผู๎เรียนเรียนร๎ูและอาจจัดไว๎เป็น ชุด ๆ ซึ่งแตํละชุดประกอบด๎วย ช่ือชุดกิจกรรม คา
ชี้แจง คาแนะนา จุดมํุงหมายเวลาในการทากิจกรรม คาส่ัง ใบกิจกรรม ใบความร๎ูหรือเอกสารอื่นท่ี
จาเปน็ ตํอการจดั กจิ กรรมนักเรียนสามารถเรียนรู๎ดว๎ ยตนเอง โดยมีครเู ป็นท่ปี รึกษาและให๎คาแนะนา

จากท่กี ลําวมาสรปุ ไดว๎ าํ ชุดการเรยี นการสอน ชดุ การสอน ชดุ การเรยี น ตรงกบั
ภาษาองั กฤษวํา Instructional Package, Learning Package, Instructional Kits เปน็ คาท่มี ี

ความหมายเหมือนกัน ขึน้ อยูํกบั วําจะเลอื กใช๎คาใด และในการวจิ ัยคร้งั นี้ ผว๎ู จิ ยั เลือกใชค๎ าวําชุดการ
สอน (Instructional Package) แทน ชดุ การเรียนการสอน และชดุ การเรยี นรู๎ จากความหมายที่กลําว
สรุปได๎วาํ เป็นสื่อท่สี รา๎ งขึ้นโดยรวมเอาสือ่ หลากหลายลกั ษณะมาเข๎าไวด๎ ๎วยกนั เนอ้ื หาเป็นเรอ่ื งใด
เรือ่ งหนงึ่ โดยเฉพาะ แยกไวเ๎ ป็นชดุ ๆ ผูเ๎ รียนศึกษาดว๎ ยตนเอง ผสู๎ อนเปน็ ผคู๎ อยกากบั แนะนาเพ่ือให๎
การเรยี นดาเนินไปด๎วยความเรยี บรอ๎ ยและบรรลุตามทีก่ าหนดไว๎

แนวคิดที่นาไปส่กู ารผลิตชดุ การสอน

ชยั ยงค์ พรหมวงศ์, บญุ เลศิ สอํ งสวาํ ง และวาสนา ทวีกุลทรพั ย์ (2551 : (14)7-9) ได๎
อธิบายไวว๎ าํ แนวคิดทนี่ าไปสูํการผลิตชุดการสอนมีหลายแนวคดิ ดงั นี้

1. การประยุกต์ทฤษฎีความแตกตํางระหวํางบุคคล นักการศึกษาได๎นาหลักจิตวิทยามา
ประยุกต์ใช๎ในการเรียนการสอน ดังนั้นกระบวนการจัดการเรียนร๎ูต๎องคานึงถึงความแตกตํางระหวําง
การเรียนร๎ูและบุคคลเป็นสาคัญ วิธีการเรียนรู๎ท่ีเหมาะสมท่ีสุดคือการเปิดให๎ผู๎เรียนศึกษาด๎วยตนเอง
และการเรยี นโดยใช๎ชดุ การเรยี นการสอน ซ่งึ จะชวํ ยให๎ประสบผลสาเร็จและมีประสทิ ธิภาพ

2. ความพยายามท่ีจะเปลี่ยนแปลงการสอนไปจากเดิมยึดครูเป็นศูนย์กลางเดิมทีการ
จัดการเรียนการสอนจะยึดครูเป็นหลักการปรับเปลี่ยนบทบาทของครู จากผู๎ให๎ความรู๎มาเป็นการจัด
ประสบการณ์ เตรียมส่ือวัสดุ อุปกรณ์และวิธีการให๎สอดคล๎องกับเนื้อหาท่ีจะสอนในแตํละหนํวยอยูํ
ในรูปของชุดการเรียนการสอน วิธีน้ีผู๎เรียนจะเรียนจากครูประมาณ 1 ใน 4 สํวนที่เหลือผ๎ูเรียนจะ
เรียนดว๎ ยตนเอง สรุป คือ เปน็ วิธเี รยี นท่ีสํงเสรมิ และยึดผูเ๎ รยี นเปน็ สาคัญ

3. การใช๎โสตทัศนูปกรณ์ได๎เปลี่ยนและขยายตัวออกไปเดิมการผลิตและการใช๎ส่ือการ
เรียนการสอนมักจะอยํูในรูปตํางคนตํางผลิตและใช๎เป็นสื่อเพียงชนิดเดียวทาให๎ไมํนําสนใจ มิได๎
จัดระบบสื่อแบบหลากหลายบูรณาการ แนวโน๎มใหมํจะนิยมผลิตส่ือในรูปส่ือแบบประสมให๎เป็นชุด
การเรยี นการสอน เป็นการชํวยครู คอื ผ๎ูเรียนสามารถหยบิ สื่อจากทค่ี รเู ตรียมไว๎ในรปู ชดุ การเรียนการ
สอนมาศึกษาด๎วยตัวเองได๎

4. ปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหวํางครูกับนักเรียน นักเรียนกับนักเรียน และนักเรียนกับ
สภาพแวดล๎อม แตํเดิมความสัมพันธ์ระหวํางครูกับนักเรียนในห๎องเรียนมีลักษณะเป็นทางเดียวคือครู
เป็นผ๎ูนานักเรียนเป็นผ๎ูตาม นักเรียนไมํมีโอกาสได๎แสดงความคิดเห็นนอกจากครูจะถามปัจจุบัน
แนวโน๎มเปลี่ยนไปมีการนากระบวนการกลํุมสัมพันธ์มาใช๎ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎นักเรียนมี
โอกาสไดท๎ ากจิ กรรมรวํ มกัน ทฤษฎีกระบวนการกลํุมจึงเป็นแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ ซึ่งนามาสํู
การผลิตสื่อออกมาในรปู ชุดการเรียนการสอน

5. การจัดสภาพแวดล๎อมการเรียนรู๎นั้น ได๎ยึดหลักจิตวิทยาการเรียนมาใช๎ โดยจัด
สภาพการณ์ออกมาเป็นการสอนแบบโปรแกรม หมายถึง ระบบการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให๎
นกั เรยี นได๎เขา๎ รวํ มในกิจกรรมการเรยี นดว๎ ยตนเอง มที างทราบการตัดสินใจหรือการทางานของตนถูก
หรือผิด มีการเสริมแรงบวกทาให๎ผ๎ูเรียนภาคภูมิใจท่ีได๎ทาถูกคิดถูก และได๎เรียนรู๎ไปทีละข้ันตาม
ความสามารถของตนเอง การจัดสภาพดงั กลําวจะเอ้ืออานวยตอํ การเรียนร๎ูของผ๎ูเรียน และเครื่องมือ
ที่จะชวํ ยให๎บรรลุจดุ หมายปลายทางโดยการจัดการสอนแบบโปรแกรมในรูปของกระบวนการ และใช๎
ชุดการเรยี นการสอนเป็นเคร่อื งมือสาคญั

โดยสรุปแนวคิดที่นาไปสํูการผลิตชุดการสอนจะครอบคลุมทฤษฎีความแตกตํางระหวําง
บุคคล ความพยายามที่จะยึดผู๎เรียนเป็นสาคัญ การขยายตัวของการจัดสื่อการเรียนการสอน การ
ปฏิสัมพันธ์ระหวํางครูกับนักเรียน นักเรียนกับนักเรียน และความสัมพันธ์ของสภาพแวดล๎อมทาง
การศกึ ษา สาหรัหบการวจิ ยั ครัง้ นผ้ี ว๎ู ิจยั ใชช๎ ุดการสอนรายบุคคล

ประเภทของชุดการสอน

การจะตดั สนิ ใจวําจะสรา๎ งชดุ การสอนในรปู แบบใดนน้ั ผสู๎ ร๎างจะต๎องศึกษารปู แบบ
ประเภทของชุดการสอนวํามีกี่ประเภท แตํละประเภทมีจุดมุงํ หมายในการใชแ๎ ตกตํางกนั อยาํ งไร ไดม๎ ี
นกั การศึกษาหลายทาํ นได๎แบํงประเภทของชุดการสอนไว๎ ดังนี้

สุวิทย์ มูลคา และอรทัย มูลคา (2551 : 52) ได๎แบํงประเภทของชุดกิจกรรมได๎ 3
ประเภท ดังน้ี

1. ชดุ กจิ รรมประกอบคาบรรยายของครู เปน็ ชดุ กจิ กรรมสาหรบั ผ๎ูเรยี นกลุํมใหญํหรือเป็น
การสอนที่มํุงเนน๎ การปูพนื้ ฐานใหท๎ ุกคนรบั รแู๎ ละเขา๎ ใจในเวลาเดียวกัน มํุงในการขยายเน้ือหาสาระให๎
ชัดเจนย่ิงขึ้น ชุดกิจกรรมแบบนี้ลดเวลาในการอธิบายของผู๎สอนให๎น๎อยลง เพ่ิมเวลาให๎ผู๎เรียนได๎
ปฏิบัติมากขึ้นโดยใช๎ส่ือท่ีมีอยูํพร๎อมในชุดกิจกรรม ในการนาเสนอเนื้อหาตําง ๆ ส่ิงสาคัญคือส่ือ ที่
นามาใช๎จะตอ๎ งใหผ๎ เ๎ู รียนไดเ๎ ห็นชดั เจนทุกคน และมโี อกาสได๎ใช๎ครบทกุ คนหรือทกุ กลมุํ

2. ชุดกิจกรรมแบบกลํุมกิจกรรม หรือชุดกิจกรรมสาหรับการเรียนเป็นกลุํมยํอยเป็นชุด
การสอนสาหรับให๎ผู๎เรียนเรียนรํวมกันเป็นกลํุมยํอย ประมาณกลุํมละ 4-8 คน โดยใช๎ส่ือการสอน
ตําง ๆ ทบ่ี รรจุได๎ในชุดกิจกรรมแตํละชุด มํุงที่จะฝึกทักษะในเน้ือหาวิชาท่ีเรียนโดยให๎ผู๎เรียนมีโอกาส
ทางานรํวมกัน ชุดกิจกรรมชนิดนี้มักใช๎ในการสอนแบบกิจกรรมกลํุม เชํน การสอนแบบศูนย์การ
เรียนการสอนกลํมุ สัมพันธ์ เป็นตน๎

3. ชุดกิจกรรมรายบุคคลหรือชุดกิจกรรมตามเอกัตภาพเป็นชุดการสอนสาหรับเรียนด๎วย
ตนเองเป็นรายบุคคล คือผ๎ูเรียนจะต๎องศึกษาหาความรู๎ตามต๎องการและความสนใจของตนเองอาจจะ

เรียนท่ีโรงเรียนหรือเรียนท่ีบ๎านก็ได๎ จุดประสงค์หลัก คือ มุํงให๎ทาความเข๎าใจกับเนื้อหาวิชาเพิ่มเติม
ผ๎เู รียนสามารถประเมินผลการเรียนด๎วยตนเองได๎ ชุดกิจกรรมน้ีสํวนใหญํจัดในลักษณะของหนํวยการ
สอนยอํ ยหรือโมดูลตวั อยํางเชนํ ชดุ วิชาตําง ๆ ของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช

ชัยยงค์ พรหมวงศ์, บุญเลิศ สํองสวําง และวาสนา ทวีกุลทรัพย์ (2551 : 146) ได๎
กลาํ วถงึ ประเภทของชดุ การสอนโดยแบํงออกเปน็ 4 ประเภท ดังน้ี

1. ชุดการสอนประกอบการบรรยาย เปน็ ชุดการสอนท่ีมํุงชํวยขยายเนื้อหาสาระการสอน
แบบบรรยายใหช๎ ัดเจนขึ้น ชวํ ยให๎ครูผ๎ูสอนพูดน๎อยลง และให๎สื่อการสอนทาหน๎าท่ีแทนชุดการเรียน
การสอนประเภทนน้ี ยิ มใชก๎ ับการฝกึ อบรมและการสอนในระดบั อดุ มศึกษา

2. ชดุ การสอนแบบกลมุํ กิจกรรม เป็นชุดการสอนท่ีมุํงให๎ผ๎ูเรียนได๎ประกอบกิจกรรมกลํุม
เชนํ ในการสอนแบบศนู ยก์ ารเรียน การสอนแบบกลํมุ สมั พันธ์

3. ชุดการสอนรายบุคคล เป็นชุดการสอนที่มุํงให๎ผ๎ูเรียนสามารถศึกษาหาความรู๎ด๎วย
ตนเองตามความแตกตํางระหวํางบุคคล อาจเป็นการเรียนในโรงเรียนหรือท่ีบ๎านก็ได๎ เพ่ือให๎ผ๎ูเรียน
ก๎าวไปข๎างหน๎าตามความสามารถ ความสนใจ และความพร๎อมของผู๎เรียนชุดการเรียนการสอน
รายบคุ คลอาจออกมาในรูปของหนวํ ยการสอนยํอย หรือ “โมดูล”

4. ชุดการสอนทางไกล เป็นชุดการสอนท่ีผ๎ูสอนกับผ๎ูเรียนอยูํตํางถ่ินตํางเวลากัน มํุงสอน
ให๎ผ๎ูเรียนศึกษาได๎ด๎วยตนเองโดยไมํต๎องเข๎าชั้นเรียน ประกอบด๎วยส่ือประเภทส่ิงพิมพ์ รายการ
วิทยุกระจายเสยี ง วทิ ยโุ ทรทศั น์ ภาพยนตร์ และการสอนเสริมตามศูนย์บริการการศึกษา เชํน ชุดการ
เรยี นทางไกลมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช เปน็ ตน๎

สุคนธ์ สินธพานนท์ (2551 : 16-17) ได๎สรุปวํา ชุดการสอน ท่ีเหมาะสมกับครูผู๎สอน
สามารถแบงํ ได๎ 4 รูปแบบคอื

1. ชุดการสอนสาหรับครูผ๎ูสอน เป็นชุดการสอนที่ครูใช๎ประกอบการสอนประกอบด๎วย
คูํมือ ส่ือการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย มีการจัดกิจกรรมและส่ือการสอนประกอบการบรรยายของ
ผ๎สู อน ชดุ การเรียนการสอนนม้ี เี น้อื หาสาระวชิ าเพยี งหนํวยเดียวและใช๎กับผู๎เรียนทั้งช้ันแบํงเป็นหัวข๎อ
ท่ีจะบรรยาย มกี ารกาหนดกิจกรรมตามลาดับขัน้

2. ชุดการสอนสาหรับกิจกรรมกลํุม เป็นชุดการเรียนการสอนท่ีให๎ผ๎ูเรียนได๎ศึกษาความร๎ู
รวํ มกนั โดยปฏบิ ัติกิจกรรมตามลาดับขน้ั ตําง ๆ ท่ีกาหนดไว๎ในชุดการเรียนการสอนหรืออาจจะเรียนรู๎
ชุดการเรียนการสอนในศูนย์การเรียน กลําวคือ ในแตํละศูนย์การเรียนรู๎จะมีชุดการเรียนการสอนใน
แตํละหวั ขอ๎ ยํอยของหนํวยการเรยี นทใี่ ห๎ผเ๎ู รยี นศกึ ษา ผู๎เรียนแตํละกลุํมจะหมุนเวียนศึกษาความรู๎และ
ทากิจกรรมในชุดการเรียนการสอนจนครบทกุ ศูนย์การเรียนรู๎


Click to View FlipBook Version