The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเข้าใจดิจิทัลกับพลเมืองไทย ในศตวรรษที

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by puttachart, 2022-03-23 04:54:31

การเข้าใจดิจิทัลกับพลเมืองไทย ในศตวรรษที

การเข้าใจดิจิทัลกับพลเมืองไทย ในศตวรรษที

31

หรือกลุ่มบุคคลไปยังอีกบุคคลหรือกลุ่มบุคคลเพื่อค่าตอบแทนหรือผลประโยชน์ หรือการค้าประเวณี
เด็กและส่ือลามกที่เกี่ยวกับเด็ก (Child Prostitution and Child Pornography) การใช้เด็ก
ในกิจกรรมทางเพศเพื่อค่าตอบแทนหรือผลประโยชน์ หรือการนาเสนอกิจกรรมทางเพศหรือส่วนใด
ในทางเพศของเด็กจากตัวตนจริงหรือการทาจาลองเพื่อจุดประสงค์ในทางเพศ รูปแบบที่กล่าวมา
ทั้งหมดที่ก่อให้เด็กเสียหายจะครอบคลุม” ที่ได้รับการคุ้มครองภายใต้กฎหมายและมีบทลงโทษ
ทางอาญา

2.3 การเข้าใจความรบั ผิดชอบในโลกออนไลน์

สื่อ (Media) เป็นเคร่ืองมือที่ช่วยในการรับส่งข้อมูลข่าวสารที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์ทั้งใน
ด้านสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง ซึ่งมีการสนับสนุนด้านของการสร้างความ
ต้องการความรับรู้ กระตุ้นการตอบสนองท้ังในเชิงบวกและเชิงลบ หรือเพื่อชักนาจูงใจให้เกิดความ
คล้อยตาม ดงั นัน้ กรอบการเรยี นรู้แหง่ ศตวรรษที่ 21 จึงมีการบรรจุทักษะสาคัญทจ่ี าเปน็ สาหรบั โลกใน
อนาคต คือ ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี (Information, Media & Technology Skills)
โดยเน้นความตระหนักด้านข้อมูลข่าวสาร (Information Literacy) การตระหนักด้านส่ือ (Media
Literacy) และการตระหนักด้านสื่อและสารสนเทศไอซีที (Information, Communications,
and Technology Literacy)

สอ่ื สามารถแบ่งได้เปน็ 2 ประเภท ได้แก่ สอ่ื ดัง้ เดมิ (Traditional Media) และสอื่ ใหม่ (New
Media) ดงั นี้

• สื่อด้งั เดมิ (Traditional Media) หมายถงึ สอ่ื ทีผ่ ้สู ง่ สารทาหนา้ ท่ีส่งสารไปยงั ผู้รบั สารได้
ทางเดียวท่ีผู้รับสารไม่สามารถติดต่อกลับไปทางผู้ส่งสารได้ เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ
โทรทัศน์ ภาพยนตร์

• ส่ือใหม่ (New Media) หมายถึง สื่อท่ีเอ้ือให้ผู้ส่งสารและผู้รับสารทาหน้าท่ีส่งสาร
และรับสารได้พร้อมกันเป็นการสอื่ สารสองทาง และส่ือยังทาหน้าที่ส่งสารได้หลายอยา่ ง
รวมกัน คือภาพ เสียง และข้อความไปพร้อมกัน โดยรวมเอาระบบเทคโนโลยีของสื่อ
ดั้งเดิม เข้ากับความก้าวหน้า ของระบบเทคโนโลยีแบบประสม (Multimedia) ปัจจุบัน
ส่ือใหม่พัฒนาขึ้นหลากหลาย ที่เป็นที่รู้จัก และนิยมกันมากคือ ส่ืออินเทอร์เน็ต ส่ือ
โทรศัพท์เคล่ือนที่ นอกจากน้ีในอนาคตส่ือใหม่พัฒนาย่ิงขึ้น โดยการนาเอาส่ือด้ังเดิม
โดยเฉพาะอย่างยิ่งส่ือโทรทัศน์มาผนวกรวมกับส่ืออินเทอร์เน็ต เรียกว่า ส่ือ โทรทัศน์
แบบปฏิสัมพันธ์ ท่ีทาหน้าที่ส่งสารหลายอย่างเช่นกัน คือ ภาพ เสียง และข้อความ
ดังนั้นเม่ือผู้บริโภคดูรายการโทรทัศน์แบบปฏิสัมพันธ์จะสามารถสื่อสารผ่านด้วย
ขอ้ ความ หรอื รปู ภาพ ส่ืออินเทอร์เนต็ พรอ้ มกัน

ทง้ั น้หี ากแบง่ ตามประเภทเนื้อหาส่ือ (Mass Media Content)6 สามารถแบ่งประเภทได้ ดงั นี้
• ข่าว (News) เป็นการรายงานความเปล่ียนแปลง เหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึน ใน

หลากหลายรูปแบบ เชน่ การรายงานสด สกู๊ปข่าว สารคดีข่าว การวเิ คราะห์ขา่ ว เป็นตน้
• การประชาสัมพันธ์ (Public Relations) เป็นส่ือสารท่ีมุ่งหวังความพึงพอใจ ต้องการ

ส่วนแบ่งทางจิตใจ (Share of Mind) ผ่านการจัดกิจกรรมชักจูงใจต่าง ๆ เช่น ข่าวแจก

6 Winona State University. (2013). The Media of Mass Communication. Winona: USA. Winona State University.

32

สื่อสัมพันธ์ ชุมชนสัมพันธ์ ลูกค้าสัมพันธ์ เป็นต้น ความสาเร็จในการประชาสัมพันธ์ คือ
สัมพันธภาพท่ดี ี

• การโฆษณา (Advertising) มคี วามมงุ่ หวังด้านการขายสินค้าหรือสว่ นแบง่ ทางการตลาด
(Market Share) ในยุคการตลาดมวลชน เดิมโฆษณาจะมุ่งนาเสนอไปกลุ่มคนจานวน
มาก และในปัจจุบันเม่ือการบริโภคข่าวสารเปลี่ยนไป โฆษณาก็ต้องปรับเปล่ียนการ
นาเสนอใหเ้ ขา้ ถึงสมาชิกสังคมกลมุ่ ยอ่ ย

• ความบันเทิง (Entertainment) เป็นการสร้างความสนุกสนานเพลิดเพลินกับผู้รับสาร
เช่น แสดงการเล่าเร่ือง (Storytelling) ดนตรี กีฬา เกมโชว์ วาไรต้ี รวมท้ังคุณค่าทาง
ศิลปะ เป็นตน้

โดยสถานการณด์ า้ นความเจริญกา้ วหน้าของเทคโนโลยีในยุคดจิ ิทัลที่มกี ารพัฒนาศกั ยภาพทั้ง
ในดา้ นการเขา้ ถึงส่ือและการใช้ท่ีมคี วามสะดวกรวดเร็ว มคี า่ ใช้จ่ายท่ถี กู ลง ส่งผลใหม้ ีการเปลีย่ นแปลง
ของสื่อ คือ การปรับตัวจากช่องทางของผู้ที่ต้องการส่งสาร เป็นช่องทางของท้ังผู้ส่งสารและรับสารใน
เวลาเดียวกัน ผู้ส่งสารสามารถส่งสารได้อย่างไร้ขีดจากัดเม่ือเทียบกับในอดีต ในขณะที่ผู้ส่งสาร
สามารถเปน็ ใครก็ได้บนเครือข่ายออนไลน์ โดยไม่ตอ้ งจากัดอยู่ในวิชาชีพของสื่อมวลชนหรือหน่วยงาน
ท่ีให้บริการด้านส่ือเพียงอย่างเดียว ซ่ึงทาให้เกิดกระแสสาคัญของส่ือแนวใหม่ขึ้น นั่นคือ ส่ือประสม
(Multimedia) ซ่ึงหมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับโปรแกรมประยุกต์ในการสื่อความหมายโดย
การผสมผสานส่อื หลายชนดิ เช่น ขอ้ ความ กราฟิก ภาพเคลอื่ นไหว เสยี ง และวีดทิ ัศน์ เปน็ ต้น และถา้
ผใู้ ชส้ ามารถควบคุมส่ือใหน้ าเสนอออกมาตามต้องการได้จะเรยี กว่า สอ่ื ประสมเชงิ โต้ตอบ การโตต้ อบ
ของผู้ใช้สามารถจะกระทาได้โดยผ่านทางแผงแป้นอักขระ เมาส์ หรือตัวชี้ เป็นต้น และเม่ือผนวกส่ือ
ด้ังเดิมเข้ากับส่ือออนไลน์และสื่อประสม ซ่ึงทาให้รูปแบบการนาเสนอสื่อใหม่ เช่น หนังสือ E-book
นิตยสารออนไลน์ แบบเรียนออนไลน์ โฆษณาแผ่นพับท่ีปัจจุบันอยู่ในรูปแบบของ “แบนเนอร์”
(Banner) บนเว็บไซต์ต่าง ๆ เป็นต้น การเปล่ียนแปลงของระบบนิเวศน์ของส่ือน้ันผันแปรไปตาม
เทคโนโลยีและสอดคล้องกับกลไกทางการตลาดที่ผู้บริโภคสามารถเป็นท้ังผู้บริโภคและผู้กระจาย
ขอ้ มลู โดยอาศัยช่องทางของ” สื่อสงั คม (Social Media) ” เป็นชอ่ งทางหลกั

สอื่ สงั คมออนไลนป์ จั จุบนั สามารถแบง่ ประเภทหลัก ได้ดงั น้ี

1) Weblogs หรือ Blogs คือ ส่ือส่วนบุคคลบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร
ความรู้ ข้อคิดเห็น บันทึกส่วนตัว โดยสามารถแบ่งปันใหบ้ ุคคลอื่น โดยผู้รับสารสามารถ
เข้าไปอ่าน หรือแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ ซ่ึงการแสดงเน้ือหาของบล็อกน้ัน มีการ
แสดงผลเรียงลาดับจากเน้ือหาใหม่ไปสู่เนื้อหาเก่า ผู้เขียนผู้อ่านสามารถค้นหาเนื้อหา
ย้อนหลังเพื่ออ่านและแก้ไขเพ่ิมเติมได้ตลอดเวลา เช่น Bloggang Wordpress
Okanation เปน็ ตน้

2) Social Networking หรือ เครือข่ายทางสังคมบนอินเทอร์เน็ต โดยใช้เช่ือมต่อระหว่าง
บุคคล กลุ่มบุคคล เพ่ือให้เกิดเป็นกลุ่มสังคม (Social Community) เพ่ือร่วมกัน
แลกเปลี่ยนและแบ่งปันข้อมูลระหว่างกันทั้งด้านธุรกิจ การเมือง การศึกษา เช่น
Facebook LinkedIn เป็นตน้

3) Micro Blogging และ Micro Sharing หรอื ท่ีเรยี กกนั วา่ “บลอ็ กจิ๋ว” ซงึ่ เป็นเว็บเซอรว์ สิ
(Web Service) หรือเว็บไซต์ที่ให้บริการแก่บุคคลทั่วไป เพ่ือผู้ใช้บริการเขียนข้อความ

33

สั้นๆ ประมาณ 140 ตัวอักษร ที่เรียกว่า “Status” หรือ “Notice” เพ่ือแสดงสถานะ
ของตัวเองว่ากาลังทาอะไรอยู่ หรือแจ้งข่าวสารต่าง ๆ แก่กลุ่มเพ่ือนในสังคมออนไลน์
(Online Social Network) (Wikipedia, 2010) ท้ังนี้จุดเด่น เร่ืองการกาหนดให้ใช้
ข้อมูลในรูปข้อความส้ันๆ ทาให้ผู้ใช้ที่เป็นทั้งผู้เขียนและผู้อ่านเข้าใจง่าย ตัวอย่างท่ีนิยม
ใช้กนั อย่างแพรห่ ลาย คอื Twitter
4) Online Video เป็นเว็บไซต์ท่ีให้บริการด้านวิดีโอออนไลน์ ซ่ึงปัจจุบันได้รับความนิยม
อย่างแพร่หลายและขยายตวั อย่างรวดเรว็ เนอื่ งจากลกั ษณะการนาเสนอในรปู แบบวิดีโอ
ออนไลนม์ ีความเปน็ อิสระ ไม่ถูกจากัดโดยผังรายการทีแ่ นน่ อนและตายตัว เปิดโอกาสให้
ผู้ใช้บริการสามารถเลือกติดตามชมได้อย่างต่อเน่ือง รวมท้ังผู้ใช้สามารถเลือกชมเน้ือหา
ได้ตามความต้องการและยังสามารถเชื่อมโยงไปยังเว็บวิดีโออ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องได้จานวน
มากอีกดว้ ย เช่น YouTube Instagram TV เป็นตน้
5) Photo Sharing เป็นเว็บไซต์ท่ีเน้นบริการฝากรูปภาพโดยผู้ใช้บริการสามารถอัปโหลด
( Upload) แ ล ะ ด า ว น์ โ ห ล ด (Download) รู ป ภ า พ
เพ่ือนามาใช้งานต่อได้ ที่สาคัญนอกเหนือจากผู้ใช้บริการจะมีโอกาสแบ่งปันรูปภาพแล้ว
ยังสามารถใช้เป็นพื้นที่เพื่อเสนอขายภาพที่ตนเองนาเข้าไปฝากได้อีกด้วย เช่น
Instagram Pinterest เปน็ ตน้
6) Wikis เป็นเว็บไซต์ท่ีมีลักษณะเป็นแหล่งข้อมูลหรือความรู้ (Data/Knowledge) ซ่ึง
ผู้เขียนส่วนใหญ่อาจจะเป็นนกั วชิ าการ นักวิชาชีพหรือผ้เู ช่ียวชาญเฉพาะทางด้านต่าง ๆ
ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ซ่ึงผู้ใช้สามารถเขียนหรือแก้ไขข้อมูลได้อย่าง
อิสระ เช่น Wikipedia Research Gate เป็นต้น
7) Virtual Worlds คอื การสรา้ งโลกจนิ ตนาการ ผา่ นการจาลองส่วนหน่ึงของชีวิต จดั เป็น
สื่อสังคมออนไลน์ที่บรรดาผทู้ ่องโลกไซเบอร์ใช้เพื่อส่อื สารระหวา่ งกันบนอินเทอร์เน็ตใน
ลักษณะโลกเสมือนจริง (Virtual Reality) ซ่ึงผู้ที่จะเข้าไปใช้บริการ มีทั้งบริษัทหรือ
องค์การด้านธุรกิจ ด้านการศึกษา รวมถึงองค์การด้านสื่อ เช่น สานักข่าวรอยเตอร์
สานักขา่ วซเี อน็ เอน็ บรกิ ารลักษณะน้ีมักมีคา่ ใช้จ่ายในการซ้ือพ้ืนท่ีเพื่อใหบ้ คุ คลในบริษัท
หรือองค์กรได้มีช่องทางในการนาเสนอเรื่องราวต่างๆ ไปยังกลุ่มเครือข่ายผู้ใช้ส่ือ
ออนไลน์ ซ่ึงอาจจะเป็นกลุ่ม ลูกค้าท้ังหลักและรอง หรือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของ
บ ริ ษั ท ห รื อ อ ง ค์ ก า ร ก็ ไ ด้ ปั จ จุ บั น เ ว็ บ ไ ซ ต์ ที่ ใ ช้ ห ลั ก Virtual Worlds
ท่ปี ระสบผลสาเร็จและมีช่ือเสียง คอื Second life
8) Crowd Sourcing มาจากการรวมของคาสองคาคือ Crowd และ Outsourcing ใช้
หลักการขอความร่วมมือจากบุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยจัดทาในรูปของ
เว็บไซต์ที่มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อค้นหาคาตอบและวิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งทางธุรกิจ
การศกึ ษา รวมทง้ั การสอ่ื สาร โดยอาจจะเป็นการดึงความร่วมมือจากเครือข่ายทางสังคม
มาช่วยตรวจสอบข้อมลู เสนอความคดิ เห็นหรือให้ข้อเสนอแนะ กลมุ่ คนท่เี ขา้ มาให้ข้อมูล
อาจจะเป็นประชาชนท่ัวไปหรือผู้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่อยู่ในภาคธุรกิจหรือ
แ ม้ แ ต่ ใ น สั ง ค ม นั ก ข่ า ว ข้ อ ดี ข อ ง ก า ร ใ ช้ ห ลั ก Crowd Souring คื อ
ทาให้เกิดความหลากหลายทางความคิดเพ่ือนาไปสู่การแก้ปัญหาท่ีมีประสิทธิภาพ

34

ตลอดจนช่วยตรวจสอบหรือคัดกรองข้อมูลซึ่งเป็นปัญหาสาธารณะร่วมกันได้ เช่น
เว็บบอรด์ พันทิป GotoKnow เป็นตน้
9) Podcasting ห รื อ Podcast ม า จ า ก ก า ร ร ว ม ตั ว ข อ ง ส อ ง ค า คื อ “ Pod” กั บ
“Broadcasting” ซึ่ง “POD” หรือ Personal On - Demand คือ อุปสงค์หรือความ
ต้องการส่วนบุคคล ส่วน “Broadcasting” เป็นการนาส่ือต่าง ๆ มารวมกันในรูปของ
ภาพและเสียง หรืออาจกล่าวได้ว่า Podcast หมายถึงบริการด้านบันทึกภาพและเสียง
แล้วนามาไว้ในเว็บเพจ (Web Page) เพื่อเผยแพร่ให้บุคคลภายนอก (The public in
general) ที่สนใจดาวน์โหลดเพื่อนาไปใช้งานต่อไป เช่น Dual Geek Podcast, Wiggly
Podcast เปน็ ต้น
10) Discuss / Review/ Opinion เป็นลักษณะเว็บบอร์ดท่ีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถแสดง
ความคิดเห็น โดยอาจจะเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ ประเด็นสาธารณะทางการเมือง
เศรษฐกิจ สังคม เช่น Epinions, Moutshut, Yahoo! Answer, Pantip, Yelp เปน็ ต้น

จากการเปรียบเทียบและแบ่งประเภทของสื่อทั้งในอดีตและปัจจุบันพบว่าเทคโนโลยีดิจิทัล
เข้ามามีบทบาทสาคัญ ทาให้ระบบนิเวศของส่ือเปล่ียนแปลงไปอย่างมาก อย่างไรก็ดีเกณฑ์ท่ีเป็น

องค์ประกอบหลักสาคัญของกระบวนการส่ือสาร 5 ประการ ได้แก่ ผู้ส่งสาร สาร ช่องทางการสื่อสาร

ผู้รับสาร และปฏิกิริยาสะท้อนกลับ ยังคงเป็นพ้ืนฐานหลักของการสื่อสาร และหากมีการเปรียบเทียบ
ความแตกต่างของกระบวนการสื่อในอดีตกับปัจจุบัน จากบทความในหนังสือรู้เท่าทันส่ือ (Media
Literacy) 7 ได้เปรียบเทียบไว้ ดงั ตารางท่ี 2

ตารางที่ 2 ตารางเปรยี บความแตกตา่ งขององค์ประกอบการสอ่ื สาร ระหว่างสอ่ื ดง้ั เดิมและส่อื ใหม่

ผสู้ ่งสาร สอ่ื ด้งั เดมิ สื่อใหม่
สาร องคก์ รขนาดใหญ่ เช่น หนงั สือพมิ พ์ บุ ค ค ล ท่ั ว ไ ป ที่ สื่ อ ส า ร กั น ร ะ ห ว่ า ง
ช่องทางการสือ่ สาร วิทยุ โทรทัศน์ เป็นตน้ บุคคลหรือส่ือสารกันภายในกลุ่ม เชน่
เฟซบุก๊ ทวิตเตอร์ เวบ็ บอรด์ เปน็ ต้น
ผ้รู บั สาร สอื่ มวลชนเปน็ ผถู้ ูกกล่นั กรองความ เน้อื หาความคดิ เหน็ ส่วนบุคคล
ถกู ต้อง และเป็นเนือ้ หาท่ีสร้าง
ผลกระทบต่อสังคมวงกวา้ ง สือ่ อินเทอร์เน็ตเป็นหลัก โดยมี
สอื่ มวลชน ได้แก่ หนังสือพิมพ์ สอ่ื อุปกรณ์ส่ือสารทส่ี ่งผา่ นระบบ
นติ ยสาร สือ่ วิทยุ ส่อื โทรทัศน์ ออนไลนท์ างอินเทอรเ์ น็ตไดจ้ านวน
เป็นต้น มากมาย เปน็ เครือ่ งมือในการส่ือสาร
เช่น สมาร์ตโฟน แทบ็ เล็ต เป็นตน้
ผรู้ ับสารไมเ่ ปน็ ที่รูจ้ ักของผู้ส่งสาร ผู้รับสารของสื่อใหม่มักเป็นท่ีรู้จักกัน
(ส่ือมวลชน) กับผ้สู ง่ สาร

7 อรุ าเพญ็ ยมิ้ ประเสริฐ. (2557). แนวคดิ เกย่ี วกับสื่อ. ใน รเู้ ทา่ ทนั สอื่ (หนา้ 1-19). กรงุ เทพฯ: สานกั งานคณะกรรมการกิจการกระจายเสยี ง กิจการโทรทัศน์ และ
กิจการโทรคมนาคม (กสทช.).

35

สอื่ ดัง้ เดมิ สอื่ ใหม่

ปฏิกิริยาสะท้อน ไม่มีปฏิกิริยาสะท้อนกลับไปยังผู้ มีปฏิกิริยาสะท้อนกลับไปยังผู้ส่งสาร

กลบั ส่งสาร (การสง่ สารทางเดยี ว) (การส่ือสารสองทาง)

การสื่อสารออนไลน์เป็นการส่ือสารในวงกว้างและเปน็ การสื่อสารได้หลายช่องทาง มีลักษณะ
เป็นใยแมงมุมรวมทั้งสามารถเผยแพร่ข้อมูลต่อได้อย่างไม่มีที่ส้ินสุด ดังจะเห็นได้จากว่าจะสามารถนา
สื่อในอดีตมาเผยแพร่ใหม่ (Re-post) ได้ตลอดเวลาถ้าหากข้อมูลนั้นยังคงอยู่ในสารระบบ ซ่ึงเป็น
มูลเหตุให้ผู้รับสารอาจจะเกิดความเข้าใจผิดหรือเกิดความสับสนของข้อมูล ผู้รับสารในยุคดิจิทัลจึงมี
ความจาเป็นต้องเป็นผู้ท่ีรอบรู้และเท่าทันส่ือ น่ันคือ มีความสามารถตรวจสอบเน้ือหาหรือข้อความที่
ได้รับได้ ตลอดจนส่งผลในเชิงบวก คือส่งเสริมให้มีใช้งานสื่อออนไลน์อย่างรอบด้าน เอ้ือต่อการ
รวมกลุ่มสังคม คือ มีการสอบถามข้อมูล ข้อเท็จจริง ข้อเสนอแนะจากคนส่วนรวมในสังคม เกิดการ
รวมกลุ่มทางความคิดและต่อยอดไปเป็นองค์ความรู้ใหม่หรือทฤษฎีใหม่ต่อยอดได้อย่างไม่รู้จบ
หลอ่ หลอมใหเ้ กิดองคค์ วามรู้แบบผสมผสาน

ประเภทของสอ่ื ออนไลน์สามารถแบ่งไดอ้ อกเปน็ 4 ประเภท ดังน้ี
1) Paid Media หมายถงึ สือ่ ทจี่ ่ายเงนิ เพ่อื ให้ไดพ้ น้ื ทใ่ี นการสอื่ สาร เชน่ Google AdWords

หรือลักษณะของการแสดงผลโฆษณาบนออนไลน์และส่ือสังคม ส่วนน้ีเป็นลักษณะของ
การเข้าถึงผู้บริโภคผ่านทางการโฆษณาหรือพื้นท่ีซึ่งจ่ายเงินเพ่ือให้เข้าถึงกลุ่มคนเฉพาะ
กลุ่มทก่ี าหนดขอบเขตไว้
2) Owned Media หมายถึง สื่อที่องค์กร หน่วยงาน บริษัท หรือบุคคลนั้นเป็นคนสร้างขึ้น
เอง เปน็ เจา้ ของเอง เชน่ บลอ็ ก เวบ็ ไซตข์ ององคก์ ร สอ่ื สังคมออนไลนข์ ององค์กร คือพ้นื ท่ี
ที่องคก์ รเป็นเจ้าของและทาการสอ่ื สารผ่านพ้ืนท่ีของตวั เอง
3) Earned Media หมายถึง พื้นท่ีซึ่งผู้รับสารหรือผู้บริโภคกลายเป็นช่องทางในการพูดถึง
เนื้อหา องคก์ ร หรือแบรนด์ สิ่งสาคัญคอื การบอกต่อ การกระจายข้อมูลต่อ และการสร้าง
คาพูดในลักษณะปากต่อปาก (Word of mouth) เช่น การรีวิว การจัดอันดับ การช่วย
ประชาสัมพันธ์ หรือการส่งต่อข้อมูลอย่างรวดเรว็ (Viral content) เช่น การติด hashtag
(#) ของส่ือแล้วมีคนพูดถึงประเด็นนั้นจนติดอันดับความสนใจ (Trending) บนส่ือทวิต
เตอร์ พืน้ ทนี่ ้ีเป็นพนื้ ทท่ี ค่ี นทวั่ ไปใช้พูดถงึ
4) Shared Media เน้นที่กิจกรรมที่เกิดขึ้นบนส่ือสังคม (Social Media) เป็นหลัก คือการ
สง่ ต่อและการสรา้ งเครือขา่ ยผา่ นสอ่ื สงั คม
หากพิจารณาจากประเภทของส่ือออนไลน์ท้ัง 4 ประเภท จะพบว่าเป็นรูปแบบท่ีปรากฏอยู่
ทั่วไปในปัจจุบัน ความหลากหลายน้ีเป็นความท้าทายของกลไกการตรวจสอบและติดตามสื่อและ
ข้อมูลข่าวสาร ด้วยเพราะขอบเขตของการนาเสนอนั้นมีมากมายจนแทบจะไร้ขีดจากัด ดังน้ัน กลไก
และเครื่องมือที่เคยถูกใช้ในอดีตอาจไม่มีศักยภาพเพียงพอท่ีจะตรวจสอบหรือตดิ ตามได้ อีกทั้งในอดีต
ยังไม่ได้มีการวางแผนระยะยาวและครอบคลุมด้านบทบาทและผลกระทบของเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีมี
อิทธิพลต่อการเปล่ียนแปลงท่ีพลิกบทบาทของการสื่อสารแบบดั้งเดิม ที่มีเพียงการตรวจสอบเฉพาะ
สอื่ สิ่งพิมพ์ หรอื สือ่ บันเทิงทางโทรทศั น์เพียงอย่างเดยี ว

36

2.4 แนวโนม้ การใช้สอ่ื สงั คม (Social Media) ในปัจจุบัน
สถานการณ์ปัจจุบันสามารถกล่าวได้ว่า “อินเทอร์เน็ต” (Internet) นั้นกลายเป็น

สาธารณูปโภคพ้ืนฐานในด้านการสื่อสารเบื้องต้นระหว่างบุคคล ถึงแม้ว่ายังคงมีประชากรบนโลก
มากกว่า 50% ของประชากรโลกทั้งหมด ท่ียังไม่สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ ด้วยเพราะสภาพ
เศรษฐกิจภายในประเทศที่ยังคงประสบปัญหาความยากจน และประเทศยังต้องอาศัยการกู้เงินจาก
ตา่ งประเทศเพอ่ื รักษาสภาพคล่องทางการเงินของรฐั ประชาชนมีประสบปญั หาความลาบากในการหา
เล้ียงและยังชีพตนเองและครอบครัว จนทาให้ไม่สามารถมีรายได้มากพอท่ีจะซื้ออุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์เพ่ือเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ต อย่างเช่น คอมพิวเตอร์ โน๊ตบุ๊ก หรือ โทรศัพท์สมาร์ตโฟน
เช่น ประเทศท่ีอยู่ในภูมิภาคแอฟริกากลาง (Middle Africa) ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
(DR Congo) สาธารณรัฐแองโกลา (Angola) สาธารณรัฐแคเมอรูน (Cameroon) สาธารณรัฐ
แอฟริกากลาง (Central African Republic) เปน็ ต้น ประเทศในภูมภิ าคแอฟริกาตะวนั ออก (Eastern
Africa) ได้แก่ สาธารณรัฐเอธิโอเปีย (Ethiopia) สหสาธารณรัฐแทนซาเนีย (Tanzania) สาธารณรัฐ
เคนยา (Kenya) สาธารณรฐั ยกู ันดา (Uganda) เปน็ ต้น

รูปภาพที่ 16 อัตราการใชส้ อื่ สังคม (Social Media) ทว่ั โลก เดือนมกราคาคม 2561
แบ่งตามภูมิภาค8 (อา้ งอิงจากเอกสารหมายเลข 8)

8 Statista. (2018). Social Network Penetration by Region. Retrieved December 15, 2018, from Statista: https://www.statista.com/
statistics/269615/social-network-penetration-by-region/

37

จากรูปภาพที่ 16 กลุ่มประเทศในแถบภูมิภาคอเมริกาเหนือ (Northern America) ได้แก่
ประเทศแคนาดา (Canada) ประเทศกรีนแลนด์ (Greenland) ประเทศสหรัฐอเมริกา (United
States) ประเทศในแถบตอนเหนือของยุโรป เช่น ประเทศสวีเดน (Sweden) ประเทศฟินแลนด์
(Finland) ประเทศนอร์เวย์ (Norway) ประเทศเอสโตเนีย (Estonia) ฯลฯ รวมไปถึงภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้มีอัตราการใช้ส่ือสังคมเพ่ิมข้ึนจากในอดีต ทั้งน้ีเน่ืองจากความสามารถของ
อินเทอร์เน็ตท่ีส่งผลในเร่ืองของพฤติกรรมการเข้าสังคมและการติดต่อสื่อสารของ มนุษย์เปล่ียนไป
ซึ่งแนวโนม้ ของการใชส้ ือ่ สงั คมบนโลกอินเทอรเ์ นต็ มีความสาคญั ดังนี้

1) การเขา้ ถึงแหล่งข้อมลู เพ่ือการเรยี นรู้ ความสนใจในประเดน็ ต่าง ๆ ส่อื เพื่อการบันเทิงได้
งา่ ยและเป็นอิสระจากทว่ั ทุกมมุ โลก รวมทั้งมคี ่าใช้จา่ ยและกระบวนการต่ากว่าในอดีต

2) การเพ่ิมยอดขายทางธุรกิจ โดยการประกาศโฆษณาที่มีต้นทุนต่าหรือไม่มีต้นทุนเลย
ซง่ึ ตา่ งจากในอดตี ทค่ี า่ โฆษณาตอ้ งมคี า่ ใชจ้ า่ ย

3) การเพ่มิ โอกาสการมสี ว่ นร่วมทางสาธารณะ การเขา้ ถงึ สังคมหม่มู าก เปน็ การเปดิ โอกาส
ในการขับเคล่ือนสังคม ท้ังในทางการเมือง การพัฒนาสังคม การขอความช่วยเหลือจาก
ผ้ดู ้อยโอกาส ฯลฯ

4) แหลง่ การเรยี นรู้และคลงั ขอ้ มลู ทสี่ นับสนนุ การสร้างสรรคค์ วามคดิ สร้างสรรค์ เช่น เพลง
วดิ ีโอการสอนแตง่ หนา้ หรอื How to ต่าง ๆ มากมาย รวมทัง้ เกมส์เพอ่ื ความบันเทิง

5) การถ่ายทอดและแชร์ประสบการณ์ของแต่ละบุคคลถึงแม้จะมีวัฒนธรรมและภาษาที่
แตกต่างกัน เนื่องจากอินเทอร์เน็ตมีเทคโนโลยีการแปลแบบทันที (Real-Time)
หรือ คาอธิบาย (Subtitle) จึงทาใหภ้ าษาไม่เปน็ อปุ สรรคอกี ต่อไป

6) การส่งเสริมศักยภาพและความสามารถของบุคคลท่ีเกิดจากการถ่ายทอด ฝึกฝน ทาซ้า
เพื่อนาเสนอบนโลกออนไลน์ เกิดเป็นการรวมกลุ่มสังคมของคนที่ชอบสิ่งเดียวกันหรือมี
รสนิยมใกล้เคียงกนั เปน็ กลุ่มสงั คมย่อย ๆ ทแี่ ตกแขนงออกไปไมร่ ูจ้ บ

7) การสร้างตัวตน (Identity) ของตัวเองในโลกออนไลน์ เพ่ือตอบสนองการมีตัวตนของ
บุคคล เพ่ิมความสามารถในการเข้าสังคม รู้สึกเติมเต็มในชีวิต รวมทั้งยังสามารถพัฒนา
ให้เกิดเป็นอาชีพ สร้างรายได้ จากการเป็นคนดังในโลกอินเทอร์เน็ตที่เปิดกว้างสาหรับ
ทกุ คนท่ีมคี วามพรอ้ มและมีความสามารถ (Influencer)

8) การส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ และเข้าถึงข้อมูลที่เก่ียวกับสุขภาพ ซ่ึงเกิดจากการ
นาเสนอเผยแพร่ทั้งของหน่วยงานทางสาธารณสุข หน่วยงานการแพทย์ ไปจนถึงกลุ่ม
การรักษาทางเลือก ทาให้ประชาชนสามารถเข้าไปค้นคว้าหาความรู้ ตรวจสอบอาการ
ของตนเองเบื้องต้น และสร้างกระแสให้ประชาชนเกิดความสนใจในสุขภาพและการ
เปล่ียนแปลงของร่างกายมากขึ้น รวมทั้งยังมีเทคโนโลยีที่สามารถสนับสนุน การรักษา
เช่น การรักษาทางไกล (Telemedicine) การให้คาปรึกษาออนไลน์ (Doctor
Conference) เพื่อเอ้ือประโยชน์ต่อการรักษาพยาบาลสาหรับคนที่ไม่มีความสะดวก
เดินทางไปโรงพยาบาลดว้ ยตนเอง หรือมอี ปุ สรรคด้านอนื่ ๆ

2.5 ปญั หาและผลกระทบจากการเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการสื่อสาร

ถึงแม้ว่าสื่อสังคมออนไลน์ มีประโยชน์หลายด้านแต่ในขณะเดียวกันก็มีความเส่ียงท่ีเป็นโทษ
หลายดา้ นเช่นกัน ซึ่งในปัจจบุ ันได้มีหลายฝ่ายทั้งในระดบั สากล เชน่ องคก์ ารยเู นสโก (UNESCO) หรือ

38

หน่วยงานภายในประเทศต่างให้ความสนใจและมีความตระหนักถึงผลกระทบท่ีเกิดจากการใช้ส่ือ
โซเชียลเป็นเครื่องมือทางอาชญากรรม ก่อความรุนแรง การปล่อยข่าวเพื่อสร้างความเสียหายต่อ
บุคคลและเพื่อผลประโยชน์ทางการเมือง โดยแนวโน้มความเส่ียงของการใช้สื่อสังคมบนโลก
อินเทอรเ์ น็ต มีดังน้ี

1) ปัญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Cyber -Crime) เป็นลักษณะของการกระทาผิด
กฎหมายโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพ่ือโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจากการ
ประชุมสหประชาชาติคร้ังที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อ
ผกู้ ระทาผดิ (The Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime
and the Treatment of Offenders) ได้มีการจาแนกอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
เป็น 5 ประเภท ได้แก่ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต การสร้างความเสียหายแก่ข้อมูล
หรอื โปรแกรมคอมพิวเตอร์ การก่อกวนการทางานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย
การยังยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จาก และภายในระบบหรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต
และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์ ซึ่งการกระทาที่มีผลกระทบต่อบุคคล
ทงั้ ในฐานะผูบ้ รโิ ภคและประชาชน สามารถแบง่ ยอ่ ยออกได้เป็น 6 ประเภท ดังนี้

• ประเภทที่เก่ียวกับการเงิน การหลอกหลวงเพื่อให้ได้มาซึ่งเงินทองและทรัพย์สิน
ของผ้อู นื่ การหลอกลวงให้รว่ มลงทุนหรอื คา้ ขาย การฟอกเงนิ เป็นตน้

• ประเภทท่ีเก่ียวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ การนาบทความ ข้อความ รูปภาพ เสียง
ทส่ี ร้างสรรค์ของผอู้ ืน่ มาใชเ้ พอื่ ดัดแปลงหรือนามาโพสต์ใหม่เปน็ ของตนเอง

• ประเภทที่เก่ียวกับการเจาะระบบ การได้มาซ่ึงสิทธิในการเข้าระบบคอมพิวเตอร์
หรือเครอื ข่ายของผู้อ่ืนโดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต การขโมยรหสั ผา่ น (Password) รวมไป
ถงึ การปลอมแปลงขอ้ มลู บญั ชีผูใ้ ช้ (Account) เพือ่ สรา้ งตัวตนปลอม เชน่ การเจาะ
รหัสบัญชีทางสังคมของผู้อ่ืน (Facebook Account) และใช้บัญชีนั้นกระทา
ความผดิ เปน็ ต้น

• ประเภทที่เก่ียวกับการก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้เกิด
ความหวาดกลวั เช่นเดยี วกบั การก่อการร้ายในรูปแบบท่ัวไป แตเ่ ป็นการก่อการร้าย
ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Terrorism) โดยจะเป็นลักษณะของการเจาะระบบ
คอมพิวเตอร์เพ่ือก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคล หรือทรัพย์สิน เช่น การเจาะระบบ
เว็บไซต์ของหน่วยงานภาครฐั เพอื่ ปลอ่ ยไวรัสท่สี ง่ ผลกระทบตอ่ ข้อมลู เป็นตน้

• ประเภทท่ีเก่ียวกับส่ือลามกและอนาจาร (Pornography) การเผยแพร่ภาพ คลิป
หรือ วิดีโอ ท่ีมีเน้ือหาย่ัวยุไปทางพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม ซึ่งบ่อยครั้งเป็นฝังไวรัส
หรือโปรแกรมเพ่ือใช้ในการเจาะรหัสข้อมูลคอมพิวเตอร์ เพื่อสร้างความเสียหาย
ให้กับผู้ที่เข้าถึงไปและอาจเป็นเหตุให้เสียทรัพย์หากโปรแกรมสามารถเข้าถึงบัญชี
ทางการเงนิ ได้

• ประเภทท่ีเกี่ยวกับการลักลอบใช้บริการ การเจาะระบบเพ่ือเข้าถึงการบริการ เชน่
อินเทอร์เนต็ หรือ ระบบการทางานของหนว่ ยงาน เพ่อื ลกั ลอบใชบ้ ริการโดยไม่เสีย
คา่ ใชจ้ า่ ยหรอื ไม่มสี ทิ ธ์ิเข้าถงึ การใช้บรกิ ารนนั้

39

2) ปัญหาการกล่ันแกล้งทางไซเบอร์ (Cyberbullying) เป็นปัญหาสาคัญท่ีพบได้อย่าง
กว้างขวางทุกมุมทั่วโลกและกาลังทวีความรุนแรงขึ้น โดยเป็นพฤติกรรมของการกระทา
ท่ีตั้งใจให้บุคคลอ่ืนรู้สึกอับอาย หรือ การทาให้รู้สึกเกลียดชังผู้อ่ืน ซ่ึงสามารถพบปัญหา
น้ไี ด้มากทสี่ ดุ ในกลมุ่ วัยร่นุ หรอื อายรุ ะหวา่ ง 13 – 16 ปี ท้ังนกี้ ารกลัน่ แกลง้ ทางไซเบอร์
นั้น สามารถแบ่งแยกพฤติกรรมย่อยเป็น การล่วงละเมิดทางเพศออนไลน์ (Online
Harassment or Cyber Sexual Harassment) ซ่ึงเฉพาะเจาะจงได้เป็น 3 ประเภท
หลัก ดังน้ี
• การเหยียดเพศ หมายถึง การแสดงความเห็นในทางดูถูกเหยียดหยามรสนิยมทาง
เพศหรือเพศสภาพของผู้อ่ืน นามาล้อเลียนหรือทาเป็นเร่ืองตลกเพ่ือให้เกิดความ
อบั อาย
• การลวนลามทางเพศ หมายถึง การแสดงความเห็นเพ่ือล่วงละเมิดผู้อ่ืน รวมถึงการ
ส่งข้อความเก่ียวกับเร่ืองเพศ โดยส่อถึงกิจกรรมหรือขอร่วมเพศกับผู้ได้รับความ
เสยี หาย
• การข่มขู่ทางเพศ หมายถงึ การกดดัน ขม่ ขู่ทางออนไลน์ โดยการนาภาพสว่ นตัวมา
ประจานหรือเพ่ือการแก้แค้น ซ่ึงมักเกิดจากบุคคลท่ีและมีความสนิทกัน หรือเกิด
จากพฤตกิ รรมการเกาะติดชีวิตออนไลน์ของผ้อู ื่น (Cyberstalking)

3) ปัญหาเกี่ยวกับสภาวะทางอารมณ์ท่ีเกิดจากการติดโซเชียล เช่น การติดตามชีวิตของ
ผู้อ่ืนทางสื่อสังคมออนไลน์ และนามาเปรียบเทียบกับตนเอง จึงทาให้เกิดความรู้สึกน้อย
เน้ือต่าใจ ท้ังน้ีจากงานวิจัยซึ่งตีพิมพ์วารสารการแพทย์กุมารเวชศาสตร์อเมริกัน
(American Academy of Pediatrics) เ ร่ื อ ง The Impact of Social Media on
Children, Adolescents, and Families9 พบว่า“ผู้ใช้เวลาอยู่บนเครือข่ายสังคม
ออนไลน์มาก เช่น เฟซบุ๊ก จะได้รับผลกระทบจากความทุกข์ หรือเรียกว่า “สภาวะ
ซึมเศร้าจากเฟซบุ๊ก” (Facebook Depression Syndrome) ซ่ึงจากการสารวจพบว่า
วัยรุ่นอเมริกามากกว่าร้อยละ 72 มีความเส่ียงท่ีจะมีอาการนี้ เนื่องจากบนสังคม
ออนไลน์ หรือ เว็บไซต์เฟซบุ๊กนั้น มักสร้าง “ความเป็นจริงเทียม” (Artificial Reality)
จึงทาให้ผู้ใช้มักจะเลือกแสดงแต่เร่ืองด้านดีของชีวิต และหลบซ่อนเร่ืองราวที่ไม่ดีของ
ตนเองเอาไว้ ผลที่ตามมาคือ ผู้ที่เข้ารับข้อมูลข่าวสาร ก็จะเห็นแต่ภาพชีวิตที่มีความสุข
และสมบูรณ์แบบจนกลายมาเป็นปัญหาให้เกิดการเปรียบเทียบกับชีวติ ตนเอง และท่ีมา
ของโรคซมึ เศรา้ รู้สกึ แปลกแยก รสู้ ึกว่าตัวเองไรค้ ่า ไมม่ คี วามหมายต่อคนอ่นื ในโลกใบนี้
และหากรุนแรงอาจเป็นปัจจัยให้มีพฤติกรรมเปลี่ยนไป เกิดความรู้สึกอิจฉาริษยา โมโห
ง่าย และรู้สึกว่าตัวเองถูกเอาเปรียบจากคนอื่นในสังคม จนอาจทาให้เกิดภาวะอยากฆ่า
ตัวตาย เป็นต้น ซ่ึงจากผลการศึกษาทั้งจากวารสารทางการแพทย์ด้านจิตวิทยา10 ต่าง
ระบุว่าปัญหาสังคมในปัจจุบันนี้ ส่วนนึงนั้นมีความเช่ือมโยงกับส่ือสังคมออนไลน์ ด้วย
เช่นกนั

9Gwenn Schurgin O’Keeffe, Kathleen Clarke-Pearson and Council on Communications and Media. (2011). Clinical Report The Impact of
Social Media on Children, Adolescents, and Families. Pediatrics Vol. 127 No. 4, 800-804
10 Lindsay H. Shaw, Larry M. Gant. (2004). In Defense of the Internet: The Relationship between Internet Communication and Depression,
Loneliness, Self-Esteem, and Perceived Social Support. CyberPsychology & Behavior, Vol. 5, No. 2, 157-171

40

4) ปัญหาเกี่ยวกับสิทธิส่วนบุคคล (Privacy) และ รอยเท้าหรือร่องรอยการกระทาในโลก
ดิจิทัล (Digital Footprint) ทั้งสองเร่ืองนี้มีแนวโน้มไปในทางเดียวกัน ในเรื่องประเด็น
ของสิทธิส่วนบุคคลน้ัน ปัญหาที่เกิดขึ้นจะพบได้มากท่ีสุดในช่วงอายุวัยรุ่นตอนต้น ไป
จนถึงวัยรุ่นตอนปลาย เนื่องจากยังไม่มีความรู้ความเข้าใจว่าข้อมูลใดท่ีถือว่าเป็นข้อมูล
สว่ นบุคคล ซ่งึ เป็นกลุ่มทีม่ คี วามเสย่ี งท่ีจะโพสต์ เผยแพร่ภาพ วิดีโอ หรือ ข้อความ ท่ีเกดิ
จากความคึกคะนองและรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และถึงแม้จะได้มีการลบออกไปแล้วแต่
เน่ืองจากในโลกอินเทอร์เน็ตน้ันทุกสิ่งทุกอย่างถูกบันทึกไว้แล้วแทบทั้งสิ้น ด้วยเพราะ
การขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทิ้งร่องรอยการกระทาหรือรอยเท้าดิจิทัล ที่การ
กระทาได้ถกู บนั ทึกไวแ้ ละสามารถสืบค้นยอ้ นหลังได้

5) ปัญหาท่ีเกิดจากส่ือหลอกลวงด้วยภาพหรือข้อความที่เป็นเท็จ เกิดได้จากหลาย
วัตถปุ ระสงค์ ดังนี้
• วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงธุรกจิ เชน่ การใช้ภาพดารา นักแสดง หรอื ผทู้ ีม่ ีช่ือเสียง ถ่ายรูปคู่
กับผลติ ภณั ฑ์สินคา้ เพ่อื ชชี้ วนถงึ ความนา่ เชอื่ ถือของผลิตภัณฑ์ ทัง้ ทบี่ คุ คลเหล่าน้ัน
ได้รับเงินค่าจ้างและไม่ได้ใช้ผลิตภัณฑ์จริงแต่เพียงการชวนเช่ือ ซ่ึงถ้าหากผู้รับสาร
ขาดการไตร่ตรองหลงเชื่อ และซื้อสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐานและคุณภาพ อาจส่งผล
กระทบเสยี ตอ่ สขุ ภาพ
• วัตถุประสงค์เชิงสร้างความปั่นป่วนในสังคม เกิดจากความไม่แน่นอนทางการเมอื ง
มีการสร้างข่าวลวง เพ่ือกลบเกล่ือนข่าวจริง สร้างกระแสนิยมและสร้างความ
เกลียดชังให้กับฝ่ายตรงข้าม การนาภาพมาตัดต่อเพ่ือสร้างสถานการณ์ต่าง ๆ การ
เขยี นบทความทน่ี าเสนอความคิดเห็นที่ไมเ่ ป็นกลาง และในเชิงแง่ลบ ส่งผลกระทบ
ต่อความสงบเรียบร้อยและความม่ันคงต่อประเทศ และ วัตถุประสงค์เพื่อต้องการ
สร้างกระแสในสังคม ต้องการเรียกยอดผู้ชมให้เข้ามาเยี่ยมชม (View) และกดไลก์
(Like) เฟซบุ๊ก หรือ ยูทูบ ของตนเองเป็นจานวนมาก เพ่ือให้ได้มาซ่ึงผลประโยชน์
คือ รายได้ท่ีได้จากการเข้าไปเยี่ยมชม (Cost per Click) จึงทาให้มีการนาเสนอ
ภาพที่มีการตกแต่งให้เกินจริง หรือ ใช้ข้อความที่ความหมายเกินจริง เช่น “แมว
ประหลาดท่ีนักวิทยาศาสตร์ยังไม่เคยพบมาก่อน” “พยาธิใบไม้ตับอาศัยอยู่ใน
ร่างกายมากกว่าสิบปี ตัวยาวกว่าสิบเมตร” เป็นต้น ซ่ึงหากได้มีการเข้าไปอ่าน
เนื้อหาแล้วจะพบว่าไม่มีความเก่ียวข้องหรือสอดคล้องกับข้อความหรือภาพท่ี
นาเสนอแต่อยา่ งใด

อย่างไรก็ตามด้วยเพราะสังคมออนไลน์ การกดแชร์สามารถทาได้ง่ายจึงทาให้เกิดการกด
เผยแพร่ข้อมูลเหล่านนั้ โดยท่ียังไมไ่ ด้ทบทวนหรอื พิจารณาความเป็นจรงิ ของข้อมูลก่อน และเม่ือมีการ
ส่งต่อกนั อย่างแพรห่ ลาย ทาให้เกิดกระแสความเช่อื ท่ผี ดิ ในสังคม กลายเป็น “ขา่ วลวง” (Fake News)
ทก่ี ลายเปน็ ผลกระทบต่อสังคมในวงกวา้ งอยา่ งรวดเร็ว

2.6 ผลการวิเคราะหก์ ารประยุกต์สทิ ธิและความรับผิดชอบทีใ่ ช้กบั ชวี ติ ประจาวนั

จากแนวโน้มการใช้อินเทอร์เน็ตและแนวโน้มความเสี่ยงของการใช้ส่ือสังคมออนไลน์ ซึ่งมีทั้ง
ประโยชน์และโทษแลว้ การแกไ้ ขปัญหาในระดับบุคคล (Individual) ไดแ้ ก่ การใหค้ วามรู้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการรู้เท่าทันสื่อ (Media and Information Literacy) การเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy)

41

ซ่ึงปัจจุบันรวมกันเรียกว่า“การรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล” (Media, Information and
Digital Literacy : MIDL) ท่ีปัจจุบันได้มีการเผยแพร่แนวคิดเพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ กับเด็ก
เยาวชน ผูใ้ หญ่ ผสู้ ูงอายุ ในทุกช่วงวัย เพ่ือรเู้ ท่าทันและสามารถระวังภัยจากโลกออนไลน์ตามแนวทาง
ของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การแก้ไขในระดับสถาบัน (Institute) ยกตัวอย่างเช่น สถาบันของรัฐ
สถาบันสื่อมวลชน สถาบันเอกชนที่ให้บริการด้านทีวีดิจิทัลและส่ืออินเทอร์เน็ต สถาบันระดับ
นานาชาติ ฯลฯ จะต้องมีการปรับกลไกการติดตามสื่อจากบริบทเดิมมาเป็น “สื่อออนไลน์ หรือ สื่อ
ดิจิทัล” แทน ท้ังนี้ในปัจจุบันพบว่าหลายองค์กร/หน่วยงาน ท่ัวโลกต่างมีการกระตุ้นและให้
ความสาคัญในด้านนี้มากขน้ึ มีการรณรงค์และการปฏริ ูปส่ือในหลาย ๆ ด้าน เพื่อให้เทา่ ทันเทคโนโลยี
ทเี่ ปลี่ยนผ่านไปอยา่ งรวดเร็ว

42

2.7 สรปุ

ปัจจุบันสถานการณ์ด้านการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ พบว่ามีปัญหาเป็นจานวนมาก
เนื่องจากประชาชนยังไม่เข้าใจและแยกแยะในเร่ืองเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้ส่ือออนไลน์
อย่างถูกวิธี โดยเฉพาะในเร่ืองประเด็นสิทธิและความรับชอบ ท่ียังคงมีความเข้าใจผิดว่าสามารถ
กระทาการใด ๆ ในโลกอินเทอร์เน็ตอย่างเป็นอิสระเสรี และยังคงไม่สามารถแยกแยะได้ระหว่างพื้นท่ี
สว่ นบคุ คลกับพื้นทสี่ าธารณะซ่งึ มีเสน้ บาง ๆ ของการจากัดสทิ ธิบนโลกออนไลน์ ทัง้ นีส้ ทิ ธแิ ละเสรีภาพ
มีความหมายคล้ายคลึงกัน คือ ความสามารถในการดาเนินกิจกรรมตามอานาจอันชอบธรรมตามที่
กฎหมายกาหนด ซ่ึงประชาชนยังคงมีความสับสนโดยเฉพาะในประเด็นด้านการสิทธิและเสรีภาพบน
อินเทอร์เน็ต กระทาสิ่งที่ไม่เหมาะสมบนเครือข่ายโลกออนไลน์ เช่น การกล่าวหาว่าร้ายกับผู้อื่น
การกลั่นแกลง้ ทางออนไลน์ การเผยแพร่ข่าวปลอม การคกุ คามและล่วงละเมิดทางเพศ และการทารุณ
เดก็ โดยอาจเกดิ จากการรู้ไมเ่ ทา่ ทนั เหตุการณ์ เปน็ ตน้

การละเมิดสิทธิและเสรภี าพ ไม่ควรกระทาท้ังในชีวิตจริงและชีวติ ออนไลน์ เพราะไม่ว่าจะอยู่
ในสังคมจริง (Real World) หรือสังคมเสมือน (Virtual Socitey) บุคคลจะต้องรับผิดชอบผลจากการ
กระทาของตนเอง ดว้ ยเหตนุ ปี้ ระชาชนควรต้องมีจิตสานึกในการเคารพสิทธขิ องผู้อื่น ไมว่ ่าจะเป็นการ
เคารพผู้อื่นท้ังต่อหน้าและลับหลัง การไม่ละเมิดความเป็นส่วนตัวของผู้อื่น รวมถึงมีความรับผิดชอบ
ต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมตามสทิ ธขิ ้ันพนื้ ฐานทไ่ี ดร้ บั อยา่ งถูกต้องตามกฎหมาย

เมื่อได้ทราบสิทธิและความรับผิดชอบของผู้ใช้ในการใช้งานดิจิทัลแล้ว ในบทถัดไป
จะนาเสนอถึงการเข้าถึงสื่อดิจิทัล เน่ืองจากส่ือดิจิทัลมีรูปแบบท่ีหลายหลายเป็นอย่างมาก
และมีวิธีการเชื่อมต่อที่แตกต่างกัน จึงมีความจาเป็นจะต้องเข้าใจหลักการพื้นฐานของส่ือดิจิทัล
เพื่อสามารถประยกุ ต์ใชส้ ่อื ดจิ ทิ ัลรูปแบบต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม

43

2.8 เอกสารอ้างอิง

Statista. (2018). Social Network Penetration by Region. Retrieved December 15, 2018,
from Statista: https://www.statista.com/statistics/269615/social-network-
penetration-by-region/

Internet Rights and Principles Coalition. ( 2 0 1 4 ) . The Charter of Human Rights and
Principles for Internet: UN Internet Governance Forum, 4th edition. Retrived
from: http://www.ohchr.org/Documents/Issues/Opinion/Communications/
InternetPrinciplesAndRightsCoalition.pdf

University, W. S. (2013). The Media of Mass Communication. Winona: Winona State
University

Gwenn Schurgin O’Keeffe, Kathleen Clarke-Pearson and Council on Communications
and Media. (2011). Clinical Report the Impact of Social Media on Children,
Adolescents, and Families. Pediatrics Vol. 127 No. 4, pp. 800-804

Lindsay H. Shaw, Larry M. Gant. (2004). In Defense of the Internet: The Relationship
between Internet Communication and Depression, Loneliness, Self-Esteem, and
Perceived Social Support. Cyber Psychology & Behavior, Vol. 5, No. 2, 157-171

วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง. (2561). คู่มือพลเมืองดิจิทัล. กรุงเทพฯ: สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม. สืบค้นจาก https://thaidigizen.com/wp-
content/uploads/2018/06/DigitalCitizenship-Book-ok.pdf

ราชบัณฑิตยสถาน. (2539). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญ
ทัศน์ อจท.

รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรสยาม พุทธศกั ราช 2475. (2475). กรงุ เทพฯ: สานกั งานเลขาธิการสภา
ผู้แทนราษฎร

สุภาภรณ์ เกียรติสิน. (2560). การเข้าใจดิจิทัลกับพลเมืองไทย. The 3rd Technology Innovation
Management and Engineering Science International Conference (TIMES-iCON)
(หน้า 1-5). กรุงเทพฯ: กลุ่มสาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการระบบสารสนเทศ , คณะ
วิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลยั มหดิ ล

สุเทพ เอี่ยมคง. (2550). สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย. สืบค้นเม่ือ 15 ธันวาคม 2561, จาก
สถาบนั พระปกเกล้า: http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=สิทธิและเสรภี าพของชนชาวไทย

อรุ าเพญ็ ยมิ้ ประเสริฐ. (2557). แนวคิดเกี่ยวกับสือ่ . ใน รูเ้ ท่าทันส่อื (หน้า 1-19). กรุงเทพฯ: สานกั งาน
คณะกรรมการกิจการกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคม (กสทช.)



45

บทที่ 3

การเข้าถงึ สอ่ื ดิจทิ ัล

46

บทที่ 3
กำรเขำ้ ถึงส่อดิจทิ ลั

การเข้าถึงส่ือดิจิทัล คือ ความสามารถในการค้นหาข้อมูล และสารสนเทศ

ด้วยเคร่ืองมือทางเทคโนโลยี สามารถใช้เครื่องมือเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
ค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตได้ ใช้ Search Engine ในการค้นหาข้อมูลได้อย่าง
รวดเร็ว แม่นยา หลากหลาย และตรงตามความต้องการ สามารถนาข้อมูล
และสารสนเทศไปใช้ได้อย่างถูกต้องตามจริยธรรม และมีการอ้างอิงแหล่งท่ีมา
รวมถึงสามารถจัดการ บนั ทึก จัดเกบ็ และค้นคนื ข้อมูลและสารสนเทศได้

3.1 การเช่ือมตอ่

ในการเข้าถึงส่ือดจิ ิทลั จาเป็นทจ่ี ะใชเ้ ครื่องมือเพื่อช่วยในการเข้าถงึ ซ่งึ นอกเหนือไปจากการเก็บ
ข้อมูลในอุปกรณ์ดิจิทัลต่างๆ แล้ว อีกช่องทางสาคัญที่ใช้ในการเข้าถึงสอ่ื ดิจิทัล คือ การเชื่อมต่อไปยัง
แหล่งขอ้ มูลหรืออปุ กรณต์ า่ ง ซ่ึงปัจจบุ นั มีการเชื่อมต่อหลายรปู แบบ

3.1.1 อินเทอร์เน็ต

คาว่า “อินเทอร์เน็ต” (Internet) เกิดจากการรวมคาระหว่างคาว่า Inter ซึ่งหมายถึง
ระหว่าง และ Net ที่ย่อมาจากคาว่า Network ที่หมายถึง เครือข่าย ดังน้ัน อินเทอร์เน็ต จึงหมายถึง
การเช่ือมโยงเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ทุกเครือข่ายเขา้ ด้วยกัน

ปัจจุบันการใช้งานอินเทอร์เน็ตสามารถใช้งานได้ตั้งแต่การสืบค้นข้อมูล การเย่ียมชมหน้า
เว็บไซต์ (ซึ่งเป็นการนาเสนอข้อมูลต่าง ๆ ในรูปแบบหน่ึง) การส่ือสารหากัน เช่น จดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ หรือการใช้งานบรกิ ารดจิ ิทัลบางรายการ เช่น การรับชมหรือรับฟัง โดยไม่ต้องมีข้อมลู
อยู่ภายในเครื่อง

3.1.2 ประเภทของการเขา้ ถึงอินเทอร์เน็ต

การเข้าถึงอินเทอร์ในเน็ตในปัจจุบัน มีรูปแบบหลักๆ สองรูปแบบคือ การเช่ือมต่อ
อินเทอร์เน็ตแบบใช้สาย (Wire Internet) และ การเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย (Wireless
Internet) โดยมีลักษณะสาคัญ ดงั นี้

47

3.1.2.1 การเชอ่ื มตอ่ อินเทอร์เนต็ แบบใชส้ าย (Wire Internet)

การเช่ือมต่อเข้าอินเทอร์เน็ตใช้สาย แบ่งตามความลักษณะของผู้ใช้
คือ 1) การเชื่อมต่อแบบองค์กร ในกรณีนี้ผู้เชื่อมต่อเป็นองค์กรท่ีมีการจัดต้ังระบบเครือข่ายใช้งาน
ภายในองค์กร (LAN) อยู่แล้ว การเช่ือมต่อสามารถเอาเคร่ืองแม่ข่าย (Server) ของเครือข่ายน้ันมา
เชื่อมต่อ จะทาให้เคร่ืองอ่ืนๆ ในระบบท้ังหมดสามารถเข้าไปใช้งานในอินเทอร์เน็ตได้ การเช่ือมต่อ
แบบน้ีอาจเช่ือมต่อผ่านทางสายโทรศัพท์ หรือ คู่สายเช่า (Lease line) และ 2) การเชื่อมต่อส่วน
บุคคล บุคคลทั่วไปสามารถขอเช่ือมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตโดยใช้คอมพิวเตอร์ที่ใช้อยู่ เช่ือมต่อผ่านทาง
สายโทรศัพท์ ผ่านอุปกรณท์ ี่เรียกว่า Modem

ในปัจจุบันการใช้งานอินเทอร์เน็ตในรูปแบบสายยังมีรูปแบบของ ADSL ท่ีใช้
เทคโนโลยีโมเด็มรปู แบบใหม่ สามารถรับส่งข้อมูลความเร็วสูงข้ึน นอกจากนี้ ยังมกี ารใช้ Fiber Optic
หรอื เสน้ ใยแก้วนาแสง ทส่ี ามารถรบั ส่งข้อมูลความเรว็ สงู ไดเ้ หนือกวา่ การใชง้ าน ADSL

3.1.2.2 การเชอื่ มต่ออนิ เทอร์เนต็ แบบไร้สาย (Wireless Internet)

การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบไร้สายในปัจจุบันมีความสะดวกกว่าในอดีต
เป็นอย่างมาก เนื่องจากในอดีต การเชื่อมต่อแบบไร้สาย จะต้องผ่านโทรศัพท์บ้านเคร่ืองท่ี เช่น PCT
และเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีโมเด็มเฉพาะเพ่ือให้สามารถใช้งานได้ หรือ การพัฒนาอีกระดับของการ
ใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือโดยตรง เช่น WAP (Wireless Application Protocol)
ซึ่งมีความเร็ว 9.6 kbps ถือว่าช้ามากในการรับส่งข้อมูล และมีราคาแพง ส่วน GPSR (General
Packet Radio Service) มีความเร็วสาหรับการใช้งานเพิ่มขึ้นเพียงพอสาหรับการรับส่งข้อมูล
มัลติมีเดีย เช่น ภาพ เสียง วิดีโอ มีความเร็วใกล้เคียงกับการใช้งานโมเด็ม ต่อมาคือการใช้ CDMA
(Code Division Multiple Access) ท่ีสามารถรองรับการใช้งานความเร็วสูงได้มากข้ึนสูงสุด 153
kbps ต่อมาคือ EDGE (Enhanced Data rates for Global Evolution) พัฒนาจาก GPRS ทาให้ส่ง
ข้อมูลได้เร็วข้ึน หรือกล่าวได้ว่าเป็นมาตรฐาน 4.75G อย่างไม่เป็นทางการเนื่องจากความเร็วของ
เครือข่ายท่ีช้ากว่า(mindpdp, 2560) ซ่ึงในปัจจุบัน การเช่ือมต่อด้วยอินเทอร์เน็ตไรส้ าย ได้เปล่ียนไป
อย่างสิน้ เชิง คือการใช้ 3G 4G LTE และ 5G ในอนาคตอนั ใกลน้ ีเ้ อง

การเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตในปัจจุบันมีหลายรูปแบบ แตกต่างกันตามความ
ต้องการของผู้ใช้งาน เช่น ในองค์การขนาดใหญ่ ท่ีต้องมีเครือข่ายเป็นของตัวเองจะต้องมีการใช้งาน
แบบสาย มี Sever ระบบ LAN ควบคู่กับการปล่อยสัญญาน WIFI ภายในองค์การ การใช้งานภายใน
บา้ นจะมกี ารลากสายสญั ญาน ADSL หรือ Fiber Optic และมี Router ในการปล่อยสญั ญาณเชอื่ มต่อ
กับอุปกรณต์ ่างๆ ภายในบ้าน และโทรศพั ทม์ ือถือของทุกคนในปัจจุบนั มีการใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ ผ่านผู้
ใหบ้ รกิ ารโทรศัพทม์ ือถือ 3G 4G LTE การเช่ือมต่ออินเทอรเ์ น็ตในปจั จุบัน จึงเป็นเรอื่ งทงี่ ่ายเป็นอย่าง
มากเมือ่ เทยี บกับในอดีต

48

3.1.3 อินเทอรเ์ น็ตตามสาย

การพัฒนารูปแบบการใช้งานอินเทอร์เน็ตใช้สายในปัจจุบัน มีรูปแบบท่ีสาคัญได้แก่
ระบบอินเทอรเ์ นต็ ผ่านสายทองแดง อินเทอร์เน็ตผ่านสายเคเบิล และ Fiber Optic

1) ระบบอินเทอร์เน็ตผ่านสายทองแดง เป็นเทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลอินเทอร์เน็ต
ที่อาศัยสายทองแดงในการรับส่งข้อมูล ซ่ึงมักจะเป็นสายโทรศัพท์บ้านที่มีอยู่แล้ว โดยใช้อุปกรณ์ใน
การแปลงสญั ญาณโทรศัพทต์ ามสายให้กลายเป็นสัญญาณอินเทอร์เน็ต แบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภทหลักคือ
ประเภทผา่ นระบบโทรศัพท์ (Dial-up) ทแ่ี ทนท่ีสัญญาณโทรศัพทผ์ ่านการแปลงสญั ญาณโทรศัพท์เป็น
อินเทอร์เน็ต และแบบท่ีใช้สัญญาณโทรศัพท์คู่ขนานกับสัญญาณอินเทอร์เน็ต (Digital Subscriber
LINE หรือ DSL) ซึ่ง DSL มีทั้งหมด 2 ประเภทหลักคือ ADSL (Asymmetric Digital Subscriber
LINE) และ VDSL (Very-high-bitrate Digital Subscriber LINE)

2) ADSL เป็นมาตรฐานของโมเด็มเทคโนโลยีใหม่ ที่เปล่ียนรูปแบบสายโทรศพั ท์ที่ทาจาก
ลวดทองแดง ให้เป็นสัญญาณนาส่งข้อมูลความเร็วสูง สามารถจัดส่งข้อมูลจากผู้ให้บริ การด้วย
ความเร็วมากกว่า 6 Mbps ไปยังผู้รับบริการ หมายความว่า ผู้ใช้บริการสามารถ Download ข้อมูล
ด้วยความเร็วสูงกว่า 6 Mbps ข้ึนไปจากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต เพียงพอต่อการใช้งาน ได้แก่
งานเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การให้บริการแพร่ภาพ Video On-Demand ระบบเครือข่าย LAN
การสือ่ สารข้อมูลระหวา่ งสถานท่ที างานกบั บ้าน (Telecommuting)

ADSL มีโครงสรา้ งของระบบสื่อสารข้อมลู เป็นแบบไมส่ มมาตร (Asymmetric) คือข้อมูล
ที่ส่งมาจาก ISP ไปยังผู้ใช้บริการจะมีความเร็วที่มากกว่า ข้อมูลท่ีส่งขึ้นไปจากผู้ใช้บริการไปยัง ISP
เนอ่ื งจาก การใช้งานอนิ เทอรเ์ นต็ แบบผู้ใช้งาน ส่วนใหญ่มกั จะเป็นการ Download ข้อมลู เสียมากกว่า
การ Upload ข้อมูล

การทางานของ Modem ADSL จะใช้การแบ่งช่องสัญญาณออกเป็น 3 ช่อง คือ ระบบ
โทรศัพท์เดิม ช่องสัญญาณ ADSL upstream และช่องสัญญาณ Downstream เทคโนโลยีน้ีมีช่ือว่า
FDM (Frequency Division Multiplexing) โดยการจัดสรรแถบความถี่สาหรับย่านความถี่ขนาด
ไม่เกิน 4 KHz ปกติจะถูกนามาใช้เป็น Voice กับ Fax ส่วนย่านความถี่ท่ีสูงกว่าน้ี จะถูกสารองจองไว้
ให้การรบั สง่ ขอ้ มลู โดยเฉพาะ ทาให้ผู้ใชง้ านสามารถสง่ ข้อมลู สื่อสารระหว่าง Modem ในระบบ ADSL
ไปมาอยู่บนคู่สายทองแดงคเู่ ดมิ และสามารถจะส่อื สารผ่านโทรศัพทไ์ ดพ้ รอ้ มกัน

3) VDSL น้ันเป็นเทคโนโลยีท่ีพัฒนาต่อจาก ADSL โดยมีอัตราการรับส่งข้อมูลที่เร็ว
ยิ่งขึ้น โดยมีความเร็วดาวน์โหลดสูงสุดที่ 52 Mbps และความเร็วอัปโหลดสูงสุด 16 Mbps
ท้ังน้ี เราเตอร์ท่ีใช้เทคโนโลยี ADSL จะไม่รองรับการใช้งานเทคโนโลยี VDSL ขณะท่ีเราเตอร์ที่ใช้
เทคโนโลยี VDSL จะสามารถรองรับการใชง้ าน ADSL ได้ ท้งั น้ขี ้ึนอยกู่ บั อุปกรณท์ ่ีรองรบั

4) อินเทอร์เน็ตผ่านสายโทรทัศน์เคเบิล (Data Over Cable Service Interface
Specification หรือ DOCSIS) เป็นเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตอีกรูปแบบหน่ึงที่ใช้สายโทรทัศน์เคเบิลมา
ให้บริการอินเทอร์เน็ตควบคู่กันกับการให้บริการโทรทัศน์เคเบิล โดยเทคโนโลยีน้ีถึงแม้ว่าจะมีแนวคดิ
ท่ีคล้ายคลึงกับระบบ DSL แต่ส่ิงท่ีแตกต่างคือ เนื่องจากสายโทรทัศน์เคเบิลมีขนาดที่ใหญ่กว่า
สายทองแดงปกติ ทาให้การรับส่งข้อมูลสามารถทาได้ด้วยความเร็วที่สูงกว่า ขณะที่ต้นทุนด้าน
คา่ สายเชื่อมต่อ แมว้ า่ จะสูงกว่าสายอนิ เทอรเ์ นต็ แบบทองแดง แตต่ า่ กว่าสายอนิ เทอร์เน็ตแบบไฟเบอร์
ออปติก

49

สาหรับความเร็วในการรับส่งข้อมูลน้ัน สามารถรองรับความเร็วในการดาวน์โหลด
ที่ 40 Mbps ถึง 10 Gbps และอัปโหลดท่ี 10 Mbps ถึง 10 Gbps ทั้งน้ี ขึ้นอยู่กับมาตรฐาน
ของการเช่ือมต่อ โดยปัจจุบัน ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผ่านเทคโนโลยี DOCSIS ส่วนมากจะให้บริการ
ท่ีมาตรฐาน DOCSIS 3.0 ท่ีให้ความเร็วในการดาวน์โหลดและอัปโหลดท่ี 1.2 Gbps/200 Mbps
ขณะทีป่ จั จุบนั มาตรฐานของเทคโนโลยีดังกล่าวไดอ้ อกถึงมาตรฐาน DOCSIS 3.1 Full Duplex

5) อินเทอร์เน็ตผ่านไฟเบอร์ ออปติก (Fiber Optic) สามารถเรียกได้ว่า เป็น Ultra
hi-speed Internet เนื่องจาก เป็นการส่งสัญญาณข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย โดยใช้สายนาสัญญาณ
คือ สายเคเบลิ ใยแกว้ นาแสง (Fiber Optic) และสายโคแอคเชยี ล มาทางานรว่ มกัน โดยจะเรยี กระบบ
นี้ว่า HFC หรือ Hybrid Fiber Coaxial Network ความสามารถของเคเบิลโมเด็ม (Cable Modem)
จะมีความสามารถดาวน์โหลด และอัปโหลดข้อมูลได้สูง และไม่มีปัญหาของสายหลุดในระหว่าง
การใช้งานเพราะ Cable Modem จะเปน็ การเช่อื มต่ออยู่ตลอดเวลา

3.1.4 เทคโนโลยกี ารสอ่ื สารไรส้ าย

การสอ่ื สารในปัจจุบันมีความสะดวกมากกว่าในอดตี เป็นอย่างมาก ซงึ่ เกือบทุกคนมีสมาร์ต
โฟนอยู่ในมือ และสามารถเช่ือมต่อกับสัญญาณอินเทอร์เน็ตได้ ผ่านการเช่ือมต่อท้ังแบบ 2G, 3G, 4G
และ 5G ซึ่งมีความแตกต่างกันในด้านประสิทธิภาพการใชง้ านโทรศัพท์มือถือ ความเป็นมาของการใช้
งานสัญญานต่างๆ การในเปลี่ยนรูปแบบอย่างสิ้นเชิงของสัญญาณที่ผ่านมา คือ การเปล่ียนจาก
2G เป็น 3G (Droidsans, 2015)

มาตรฐาน 3G ในช่วงแรก คือ UMTS ซึ่งยังมีความเร็วค่อนข้างต่า ประมาณ 384 kbps
และต่อมาได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีดังกล่าวในช่ือ High Speed Package Access (หรือ HSPA)
ซงึ่ สามารถแบ่งออกเปน็ HSPA ท่มี ีความเร็วในการดาวนโ์ หลดสงู สดุ ท่ี 7.2 Mbps ซึ่งสามารถสงั เกตได้
จากสญั ลักษณ์ H บนอุปกรณโ์ ทรศัพท์

ในช่วงถัดมา ได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีดังกล่าวให้รองรับความเร็วท่ีเพิ่มมากขึ้นโดยใช้
ชื่อว่า HSPA+ ท่ีมีความเร็วในการดาวน์โหลดสูงสุดที่ 21 Mbps สาหรับการเช่ือมต่อผ่านโครงข่าย
เด่ียวท่ี 21 Mbps เครือข่ายคู่ที่ 42 Mbps และหลากหลายเครือข่ายท่ี สามารถสังเกตได้จาก
สญั ลกั ษณ์ H+ บนอุปกรณโ์ ทรศัพท์

ในปัจจุบัน การใช้งานโทรศัพท์มือถือที่เช่ือมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต ผู้ให้บริการ
โทรศพั ทม์ อื ถอื ได้เลอื กทจี่ ะใช้เทคโนโลยที งั้ HSPA และ HSPA+ โดยให้เครอื ข่าย HSPA เปน็ เครือข่าย
ที่ใช้สาหรับการเปิดสถานะว่าง (idle) เพื่อประหยัดพลังงาน สามารถสังเกตได้จากสัญลักษณ์ “3G”
หรอื “H” ในเครือข่ายโทรศัพท์ ทงั้ น้ี การแสดงผลดงั กล่าวจะขน้ึ อยู่กับเคร่ืองและเสาสัญญาณ ขณะที่
เครือขา่ ย HSPA+ จะเปิดใช้งานต่อเม่ือมีการเข้าใช้งานอนิ เทอร์เน็ต โดยโทรศพั ทม์ ือถือส่งสัญญาณไป
ยังโครงข่ายเพื่อให้ระบบเช่ือมต่อกับเครือข่าย HSPA+ ซ่ึงผลท่ีได้น้ันจะทาให้อุปกรณ์ดังกล่าวใช้
พลังงานมากกวา่ สามารถสงั เกตได้จากสัญลกั ษณ์ “H+”

การเชื่อมต่อกับเสาสัญญาณในแต่ละพ้ืนท่ี มีความแตกต่างของการใช้เทคโนโลยี
ทาให้ความสามารถในการรับ – ส่งสัญญาณแตกต่างกัน ในการพัฒนาการสื่อสารไร้สายในปัจจุบัน
ได้เข้าสู่ยุคที่ 4 (หรือ 4G) ซ่ึงเป็นมาตรฐานของการส่ือสารที่ถูกกาหนดระดับความเร็วที่สูงขึ้นจาก
3G ในปัจจุบันเทคโนโลยีท่ีได้รับการยอมรับว่าเป็นเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายยุคที่ 4 ใช้เทคโนโลยี
ทช่ี อ่ื ว่า Long-Term Evolution หรอื LTE ทส่ี ามารถทาความเร็วสูงสดุ 100 Mbps ในระดับเบือ้ งต้น

50

และในปัจจุบนั ไดม้ กี ารพฒั นาเทคโนโลยีดังกลา่ วให้สามารถรองรับความเรว็ ในระดบั ความเรว็ ที่สูงข้ึน
สงู สุด 1 Gbps ผา่ นการใช้งานหลายคลื่นความถพ่ี ร้อมกนั

ในอนาคตอันใกล้นี้ จะมีเทคโนโลยีการส่ือสารไร้สายยุคท่ี 5 หรือ 5G ท่ีสามารถรองรับ
ความเร็วสูงระดับ 1 Gbps และมีความหน่วงท่ีน้อยลงจากแต่ก่อนมาก ทั้งน้ี เทคโนโลยีดังกล่าวยังอยู่
ระหวา่ งการทดสอบในพ้ืนที่จรงิ หลายท่ี รวมถงึ ประเทศไทยที่อาเภอศรีราชา จังหวดั ชลบรุ ี รวมถงึ เขต
ปทุมวนั เขตวฒั นา และเขตคลองสาน กรงุ เทพมหานคร

3.1.5 ความกว้างของคลื่นความถ่ี หรอื Bandwidth

แบนด์วิดธ์ (Bandwidth) หมายถึง ความกว้างของแถบคลื่นความถี่ เป็นคาท่ีใช้วัด
ความเร็วในการสง่ ข้อมลู ของอนิ เทอรเ์ นต็ ซึง่ โดยมากเรามกั วัดความเรว็ ของการสง่ ข้อมูลเป็น bps (bit
per second) เช่น แบนด์วิดธ์ของการใช้สายโทรศัพท์ในประเทศไทยเท่ากับ 14.4 Kbps เป็นต้น
เนื่องจากแบนด์วิดธ์ คือ ความกว้างของแถบคล่ืนความถ่ี ดังน้ัน ค่ายิ่งสูง การรับส่งข้อมูลเข้า-ออก
จะยิ่งมีประสิทธิภาพสูงด้วย เช่น การเลือกใช้บริการพื้นท่ีเว็บไซต์สาเร็จรูปหรือเว็บโฮสติ้ง
(Web hosting) หากเป็นไปได้ควรพิจารณาเลือกแบนด์วิดธ์แบบไม่จากัดปริมาณการรับส่งข้อมูล
(Unlimited bandwidth) จะเป็นผลดีมากกว่าโดยเฉพาะเว็บไซต์ท่ีมีจานวนคนเข้าชมเว็บไซต์
เปน็ จานวนมากตอ่ วัน

3.1.6 นโยบายการใช้อย่างยุตธิ รรม (Fair Usage Policy; FUP)

ปัจจุบันการเข้าถึงสื่อดิจิทัล สามารถเข้าถึงได้ง่ายมากยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
อย่างไรก็ตาม เมื่อมีผู้ใช้บริการเทคโนโลยีการส่ือสารไร้สายเพ่ิมขึ้น ทาให้ความเร็วที่ผู้ใช้บริการได้รับไม่
เป็นไปตามกาหนดเท่าที่ควร และเพ่ือให้ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่ได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดีท่ีสุด
หน่ึงในมาตรการที่ผู้ให้บริการนามา คือ นโยบายการใช้อย่างยุติธรรม (Fair Usage Policy; FUP)
ที่จะกาหนดปริมาณข้อมูลสูงท่ีสุดท่ีผู้ใช้แต่ละราย จะได้รับในแต่ละเดือนขึ้นอยู่กับระดับราคา
ท่ีผู้ใช้บริการจ่ายต่อเดือน ซ่ึงหลังจากครบปริมาณข้อมูลสูงสุดแล้ว ผู้ให้บริการจะปรับลดความเร็วของ
อินเทอร์เน็ตลงให้อยู่ในระดับต่า เพื่อเป็นการให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตไร้สายรายอื่น สามารถใช้งาน
อนิ เทอรเ์ น็ตไดด้ ว้ ยความเร็วทเี่ หมาะสมกับการใช้งาน

ข้อดขี องนโยบายน้ีคือ ผ้ใู ชง้ านอินเทอร์เนต็ จะยังคงสามารถใชง้ านอนิ เทอร์เน็ตได้ต่อเน่ือง
โดยไมต่ ้องกงั วลว่าเมอ่ื ปริมาณอนิ เทอร์เนต็ ทใ่ี ช้อย่นู ้ันจะหมดเมื่อไร เพราะเม่ือหมด ผูใ้ ช้จะยงั สามารถ
ใช้งานอินเทอร์เน็ตต่อไปได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม แต่ถ้าหากต้องการได้ความเร็วท่ีสูงข้ึน ผู้ใช้มี
ตัวเลือกที่จะจ่ายค่าบริการเพิ่มเติมเพื่อเพ่ิมปริมาณข้อมูลสูงสุดได้ ส่วนข้อเสียของนโยบายนี้
คือ ความเรว็ ที่ลดลงอย่างเห็นได้ชัดเมือ่ ใชง้ านจนครบปรมิ าณข้อมูลสูงสุดแลว้

แม้ว่านโยบายดังกล่าวจะใช้งานในหลายระดับราคา แต่ในปัจจุบันพบว่า ชุดบริการ
(Package) ที่ผู้ให้บริการเสนอให้กับผู้ใช้ เร่ิมมีแต่การกาหนดปริมาณข้อมูลท่ีใช้งานได้ต่อเดือน โดยท่ี
ไม่มีนโยบายการใช้อย่างยุติธรรม ซึ่งหมายความว่า ผู้ใช้งานอุปกรณ์ส่ือสารไร้สายจาเป็นต้องหม่ัน
สังเกตถึงปริมาณข้อมูลท่ีใช้อยู่ต่อเดือน ซ่ึงผู้ให้บริการเองมีบริการที่แจ้งเตือนการใช้งานอินเทอร์เน็ต
เมอ่ื ปริมาณข้อมลู ทีใ่ ช้ไดต้ ่อเดอื นใกล้จะหมดแล้วน่ันเอง

51

3.2 เข้าใจสื่อดจิ ิทัล

ปจั จุบัน เทคโนโลยีดิจทิ ลั มสี ่วนสาคัญกับการใชช้ ีวิตประจาวันของผู้คนอย่างมาก ประชาชนส่วน
ใหญ่ ใช้ส่ือดิจิทัลเป็นเสมือนส่วนหนึ่งในชีวิตประจาวัน และเมื่อพิจารณาถึงบริบทของเทคโนโลยี
ดิจิทัลท่ีสังคม ประชาชนมีการรับทราบถึงคาศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีดิจิทัลจานวนมาก
แต่ประชาชนบางส่วนยังไม่ทราบความหมายของคาเหล่าน้ัน ซึ่งในการเข้าใจสื่อดิจทิ ัลจาเป็นท่ีจะต้อง
เรยี นรกู้ ารเข้าใจสอื่ ดิจทิ ลั ดังรายละเอียดต่อไปนี้

3.2.1 สือ่ ดจิ ิทลั

“ส่ือดิจิทัล” มีองค์ประกอบหลัก 2 ส่วนคือ “สื่อ” ซึ่งหมายถึง ส่ิงที่ใช้ในการติดต่อให้ถึง
กัน และสิ่งท่ีสร้างสรรค์งานให้มีความหมายตามแนวคิด (สานักงานราชบัณฑิตยสภา, 2554)
และ “ดิจิทัล” ท่ีเป็นคาทับศัพท์ภาษาอังกฤษตามคาว่า “Digital” ซึ่งเป็นคาที่ใช้แทนความหมาย
ของข้อมูลดว้ ยตวั เลขโดยเฉพาะเลขฐานสอง หรือเก่ยี วกบั รูปแบบข้อมลู ทคี่ อมพวิ เตอรส์ ามารถจัดเก็บ
และจดั การได้ (อารี พลดี, 2561)

ดังนั้น สื่อดิจิทัล หรือ Digital Media จึงหมายถึง การติดต่อ สิ่งที่ติดต่อให้ถึงกันและงาน
ท่ีสร้างสรรค์เพื่อส่ือความหมายในรูปแบบท่ีคอมพิวเตอร์สามารถจัดเก็บและจัดการได้ หรือที่รู้จักกัน
ว่าเป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยที่ส่ือดิจิทัลจะเป็นไปได้ในหลากหลายรูปแบบ เช่น เสียง วิดีโอ
ภาพถ่าย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ระบบส่งข้อความ การโทรศัพท์ด้วยระบบดิจิทัล วิดีโอคอนเฟอเรนซ์
การแพร่ภาพสด (Live) ซึ่งมีความแตกตา่ งกันกบั สื่อในอดีต ทเ่ี รยี กกนั ว่าสอื่ แอนะล็อก

ในระบบแอนะล็อก (Analog) คือ ระบบการส่งสัญญาณในรูปแบบหน่ึงท่ีส่งข้อมูลในรูปแบบ
ที่อิงจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น ข้อมูลภาพ หรือเสียง โดยที่ข้อมูลดังกล่าวจะสง่ ผา่ นในรูปแบบคล่ืน
ท่ีเปล่ียนแปลงไปความสูงของคลื่นที่ส่งตามสภาพของสื่อ ซ่ึงข้อเสียของการส่งข้อมูลในรูปแบบน้ี
คือ ถูกรบกวนได้ง่าย ต่างจากการส่งข้อมูลแบบดิจิทัลท่ีมีเพียงแค่สัญญาณ 0 หรือ 1 ซ่ึงเทียบได้กับ
การเปิดหรอื ปดิ ของอุปกรณไ์ ฟฟ้า

3.2.2 วิถชี ีวิตดจิ ทิ ัล (Digital Lifestyle)

นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีท่ีเกิดขึ้นในช่วงท่ีผ่านมานั้น ล้วนแต่สร้างอิทธิผลต่อมนุษย์
ส่งผลกระทบไปยังการส่ือสารของมนุษย์ที่เปล่ียนไปจากเดิมอย่างมาก จากการสื่อสารระหว่างบุคคล
แบบตัวตอ่ ตวั การส่งจดหมายผา่ นนกพริ าบหรอื ไปรษณยี ์ สกู่ ารตดิ ตอ่ ผา่ นการโทรศพั ท์ไปหาบุคคลอ่ืน
หรอื การใช้อีเมลในการสง่ จดหมายหรอื เอกสารทีจ่ าเปน็ แทนการส่งด้วยกระดาษ

จากการเปล่ียนแปลงดังกล่าวเรียกว่า Digital Disruption1 หรือการเปล่ียนแปลงทางดิจิทัล
ซ่ึงส่งผลให้การใช้ชีวิตขอบมนุษย์รุ่นปัจจุบันได้เปล่ียนไปอย่างส้ินเชิง สู่การเป็ นวิถีชีวิตดิจิทัล
หรือ Digital Lifestyle ท่นี าเทคโนโลยดี จิ ิทลั มาผสานเข้ากบั การใชช้ ีวติ ในประจาวัน

1 สุภาภรณ์ เกียรติสิน. การเข้าใจดจิ ิทลั กับพลเมอื งไทย. (2018). The 3rd Technology Innovation Management and Engineering Science International
Conference (TIMES-iCON)

52

3.2.3 เทคโนโลยกี ารเช่ือมตอ่ ดว้ ยบลูทธู (Bluetooth)

บลูทูธ (Bluetooth) เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายรูปแบบเครือข่ายส่วนบุคคล
(Personal Area Networks - PAN) ซ่ึงส่วนมากมักจะใช้ในการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ 2 อุปกรณ์
เข้าหากัน หรือใช้ในการเช่ือมต่อกับอุปกรณ์เสริมเข้ากับอุปกรณ์ดิจิทัลเพื่อทาการส่งต่อข้อมูลไปยัง
อินเทอร์เน็ต โดยปัจจุบัน บลูทูทได้พัฒนาถึงรุ่น 5.0 ซ่ึงมีความสามารถในการส่งข้อมูลท่ีเร็วมากขึ้น
ขณะทใ่ี ช้พลังงานน้อยลง

3.2.4 ระบบระบุพิกัด (Location Service)

ระบบระบุพิกัด เป็นเทคโนโลยีท่ีใช้ในการระบุตาแหน่งของผู้ที่เรียกใช้ระบบน้ี
โดยหลักการทางานคือ อุปกรณ์ดิจิทัลจะรับสัญญาณจากดาวเทียมท่ีทาหน้าที่ระบุพิกัด ซ่ึงมีความ
แมน่ ยาในระดับ 2.8-100 เมตร ขึ้นอยกู่ ับเทคโนโลยีที่ใช้

ปัจจุบัน มีเทคโนโลยีด้านการระบุพิกัดท่ีใช้งานอยู่หลักๆ 2 เทคโนโลยีด้วยกัน ประกอบด้วย
ระบบระบุตาแหน่งบนพน้ื โลก (Global Positioning System; GPS) ของสหรฐั อเมรกิ า และระบบนา
ทางผ่านดาวเทียมสากล (Global Navigation Satellite System; GLONASS) ของรสั เซีย

3.3 สอ่ื ดิจิทลั ชนดิ ต่างๆ

นอกเหนือไปจากการเชื่อมต่อดิจิทัลที่มีด้วยกันหลากหลายรูปแบบ ส่ือดิจิทัล เป็นอีกหน่ึงสิ่ง
ท่จี ะชว่ ยให้เกดิ การใช้งานการเชอ่ื มต่อดจิ ทิ ลั ให้เกดิ ประโยชนม์ ากทส่ี ุด ปัจจบุ ัน มสี อื่ ดิจทิ ัลหลากหลาย
รปู แบบ โดยในบทน้ี จะยกตัวอยา่ งสอื่ ดจิ ทิ ัลท่ีมสี ว่ นชว่ ยให้ชวี ติ ของผ้ใู ชง้ านสะดวกสบายข้นึ

3.3.1 เสียงดิจทิ ัล (Digital Audio)

เสียงดิจิทัล (Digital Audio) เป็นประเภทของสื่อดิจิทัลที่ใช้ในการรับฟัง ซึ่งสามารถ
นาไปใช้งานได้ทั้งการบันทึก ฟัง หรือปรุงแต่งเพ่ือใช้ในงานเฉพาะทาง เช่น ใช้ร่วมกับการตัดต่อวิดีโอ
(ซึ่งจะพูดถึงในส่วนนี้ในช่วงถัดๆ ไป) เสียงดิจิทัลน้ันเกิดจากการบันทึกเสียงปกติท่ีมีอยู่ตามธรรมชาติ
ซง่ึ มสี ภาพเป็นคล่ืนเสียง หรอื แมแ้ ตก่ ารใชอ้ ุปกรณห์ รอื ซอฟตแ์ วรใ์ นการจาลองคลื่นเสยี งท่ีต้องการโดย
เรียกกระบวนการในการจาลองคล่ืนเสียงนั้นว่า เสียงสังเคราะห์ (Audio Synthesis) โดยเสียง
สังเคราะห์สามารถนาเสียงที่มีอยู่แล้วมาศึกษาและสังเคราะห์เสียงดังกล่าวเพื่อใช้ประโยชน์ในงานท่ี
แตกต่างกัน เช่น ระบบอ่านตัวอักษรเป็นเสียง ที่นาตัวอย่างเสียงของมนุษย์มาวิเคราะห์และสกัด
ออกมาเพ่ือให้อ่านเสียงตัวอักษรท่ีต้องการภายหลังที่ได้บันทึกเสียงต่างๆ แล้ว เสียงเหล่าน้ันจะถูก
จัดเก็บในรูปแบบไฟล์เสยี ง ซ่ึงมีรูปแบบท่ีแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับประเภทและนามสกุลของไฟล์เสียง
ดังกล่าว

53

3.3.2 การร้จู าเสยี ง (Speech Recognition)
การรู้จาเสียง เป็นการนาคลื่นเสียงที่ได้จากการพูดของมนุษย์มาวิเคราะห์รูปแบบเสียง

และแปลงกลับเป็นตัวอักษรท่ีคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ (รูปภาพที่ 17) โดยปัจจุบันการรู้จาเสียง
มักจะใช้ใน 2 กรณีหลัก คือ ระบบพิมพ์ข้อความด้วยเสียง (Voice Input) และระบบผู้ช่วยส่วนบคุ คล
(Virtual Assistant)

รปู ภาพที่ 17 ตัวอย่างผูช้ ว่ ยส่วนตวั Google Assistant ทีใ่ ชร้ ะบบรูจ้ าเสยี ง2

2 แอพพลเิ คชัน Google Assistant

54

3.3.3 การจาหนา่ ยเพลงลิขสิทธ์ิผ่านชอ่ งทางดจิ ทิ ลั
อย่างท่ีกล่าวถึงการเข้ามามีบทบาทของเทคโนโลยี ทาให้รูปแบบการดารงชีวิตบางอย่าง

เปลี่ยนแปลงไป เช่น การฟังเพลง ในอดีต จะมีการฟังผ่านวิทยุ เทปคาสเซ็ท CD เคร่ืองเล่น MP3
จนไปสู่การซ้ือเพลงผ่านช่องทางดิจิทัลผ่านช่องทางออนไลน์ อย่าง iTunes Store, 7 Digital,
Bandcamp, Beatport และ TIDAL

รูปภาพที่ 18 ตัวอยา่ งหน้าจอของ iTunes Store3

3 แอพพลิเคชัน iTunes Store

55

3.3.4 การสตรีมมงิ่ เพลงออนไลน์ (Music Streaming)
บริการสตรีมมิ่งเพลงออนไลน์ (Music Streaming) ถือเป็นรูปแบบการฟังเพลงออนไลน์

ท่ีกาลังได้รับความนิยมในปัจจบุ ัน โดยใช้อินเทอร์เน็ตเป็นส่ือกลางในการถ่ายทอดเสียงเพลงไปยงั ผู้ใช้
มีลักษณะเหมือนการเช่าเพลงฟัง ในรูปแบบการฟังเพลงนี้ จะช่วยลดการละเมิดลิขสิทธิ์ได้ในระดับ
หน่ึง เนื่องจากผู้ให้บริการบางรายได้เปิดบริการให้ฟังได้ฟรี ถึงแม้จะดาวน์โหลดเก็บไว้ฟังได้
แต่ไม่อนุญาตให้แจกจ่ายไฟล์เหมือนกับการส่งต่อไฟล์ MP3 แบบเดิม (ธนาคาร เลิศสุดวิชัย, 2560)
นับว่าเป็นช่องทางหนึ่งท่ีช่วยสนับสนุนศิลปินได้อีกทางหนึ่ง โดยบริการที่เป็นท่ีนิยมในประเทศไทย
ไดแ้ ก่ Apple Music, Joox, Spotify และ TIDAL

รูปภาพที่ 19 ตวั อยา่ งบริการสตรมี ม่ิงเพลงออนไลน์ Spotify4

4 แอพพลิเคชนั Spotify

56

3.3.5 วิดโี อดจิ ิทัล (Digital Video)
วิดีโอดิจิทัล (Digital Video) เป็นวิธีการบันทึกภาพเคล่ือนไหวในรูปแบบสัญญาณดิจิทัล

ซ่ึงมีสื่อที่ใช้ในการเก็บบันทึกในรูปแบบต่างๆ เช่น เทป แผ่น CD DVD ฮาร์ดดิสก์ หน่วยความจา
แบบแฟลช เป็นต้น ซ่ึงการจัดเก็บวิดีโอดิจิทัลนั้น จะเก็บจากกล้องท่ีใช้บันทึกภาพให้เป็นข้อมูลใน
รูปแบบไฟล์นามสกุลต่างๆ ดังเช่น นามสกุล MP4, AVI, WMV หรือนามสกุลเฉพาะจากผู้ผลิตกล้อง
บางราย เช่น REDCODE สาหรับกล้องทใ่ี ชใ้ นการถา่ ยภาพยนตร์ยห่ี อ้ RED เปน็ ต้น

ในการใช้งานวิดีโอดิจิทัล ผู้ใช้สามารถเปิดอ่านไฟล์ในรูปแบบต่างๆ ได้ทันที ถ้าหาก
ซอฟต์แวร์ท่ีใช้งานรองรับการอ่านไฟล์ในนามสกุลดังกล่าว อย่างไรก็ดีถ้าหากต้องการท่ีจะนาวิดีโอ
ดิจิทัลท่ีได้มารวบรวม ตัดบางส่วนออก หรือปรับแต่งตามความต้องการแล้วรวบรวมเป็นไฟล์เดียวกัน
ผู้ใช้จาเป็นต้องตัดต่อวิดีโอดิจิทัลดังกล่าว ซ่ึงในปัจจุบัน การตัดต่อวิดีโอดิจิทัลสามารถทาได้อย่าง
ง่ายดายข้ึนผ่านเทคนิคและซอฟต์แวร์ที่ใช้งานง่ายข้ึนกว่าแต่ก่อน เช่น การใช้ภาพพ้ืนหลังสีฟ้าหรือสี
เขียวในการตัดวัตถุออกจากพื้นหลัง (Blue/Green Screen) หรือการใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลอง
ภาพท่ีวาดข้ึนในอุปกรณ์ต่างๆ (Computer Graphics หรือ CG) ผ่านซอฟต์แวร์ด้านการทาภาพ
จาลองอย่าง Maya, 3ds Max, SoftImage, LightWave3D โดยสามารถทาให้สมจริง (Realistic)
หรือเหนือจรงิ (Surrealistic) ได้ตามทีต่ อ้ งการ (Akkharaphon Dantonglang, ม.ป.ป.)

รปู ภาพท่ี 20 ตัวอย่างโปรแกรมตดั ต่อวดิ โี อ Adobe Premiere Pro5

5 แอพพลิเคชนั Adobe Premiere Pro

57

3.3.6 ดิจิทัลวิดโี อสตรมี มิ่ง (Digital Video Streaming)
ดิจิทัลวิดีโอสตรีมม่ิง เป็น บริการที่ให้ผู้ใช้สามารถรับชมวิดีโอดิจิทัลผ่านอินเทอร์เน็ต

โดยผ้ใู ห้บริการจะมหี น้าทใ่ี นการเก็บไฟล์วดิ โี อไวใ้ นพ้ืนทีจ่ ัดเกบ็ ของผใู้ ห้บริการ ซึง่ ผู้ใชบ้ ริการไม่จาเป็น
ท่ีจะต้องดาวน์โหลดวิดีโอต่างๆ เข้ามาในเคร่ืองบริการวิดีโอสตรีมม่ิงน้ัน สามารถแบ่งออกเป็น
3 รปู แบบ ดังต่อไปนี้

• บริการรับฝากวิดีโอ ที่เป็นบริการท่ีเปิดให้ผู้ใช้สามารถนาวิดีโอท่ีผู้ใช้ต้องการมาเผยแพร่
ทางออนไลน์ โดยตัวอยา่ งของบรกิ ารน้ี เชน่ YouTube, Vimeo, Daily Motion เปน็ ต้น

• บรกิ ารถ่ายทอดสดออนไลน์ (Livestream) ซง่ึ จะพูดถึงในสว่ นถัดไป
• บริการภาพยนตร์ออนไลน์ ซ่ึงจะมีภาพยนตร์ท่ีฉายทางโรงภาพยนตร์และภาพยนตร์

เฉพาะเร่ืองที่รับชมได้เฉพาะบางรายเท่าน้ัน โดยตัวอย่างของบริการดังกล่าว
เชน่ Netflix, iflix, Amazon Prime Videos เปน็ ต้น

รูปภาพที่ 21 ตวั อยา่ งบริการวดิ โี อดิจทิ ลั Prime Video6

6 แอพพลเิ คชนั Prime Video

58

3.3.7 การถ่ายทอดสดทางออนไลน์ (Livestream)
การถ่ายทอดสดทางออนไลน์ (Livestream) เป็นวิธีการถ่ายทอดภาพเคล่ือนไหวให้สามารถ

รับชมได้ในวงที่กว้างขึ้น ซ่ึงในอดีต การถ่ายทอดสดน้ันสามารถทาได้ด้วยวิธีการเช่ือมโยงสัญญาณ
ดาวเทียมเข้ากับสญั ญาณภาพทีไ่ ด้จากอปุ กรณ์บนั ทึกภาพที่มตี ้นทุนในการถ่ายทอดสญั ญาณที่สูง

โดยในปัจจุบัน การถ่ายทอดสดสามารถทาได้ง่ายข้ึน เพียงแค่มีอุปกรณ์ดิจิทัลท่ีสามารถ
เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ รวมถึงช่องทางการถ่ายทอดสด เช่น Facebook Live, Periscope, Twitch
หรือ YouTube Live ท่ีสามารถถา่ ยทอดสดได้ในทุกเหตุการณ์ท่ีผู้ใช้ต้องการไดท้ ันที

รูปภาพท่ี 22 ตัวอยา่ งบรกิ ารถ่ายทอดสดการเล่นเกมออนไลน์ Twitch7
3.3.8 ภาพถา่ ยดิจทิ ัล (Digital Photography)

ในอดีต การเล่าเร่ืองราวผ่านภาพถ่ายนั้นต้องใช้เวลาระดับหนึ่งในการถ่ายทอดภาพถ่าย
ท่ีได้จากฟิล์มม้วนในกล้องถ่ายรูป เพื่อพิมพ์ออกมาบนกระดาษโฟโต้ แต่ปัจจุบัน เพียงผู้ใช้มีอุปกรณ์
ดิจิทัล ผู้ใช้จะสามารถถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ ได้โดยง่าย ย่ิงไปกว่าน้ัน การเข้ามาของอินเทอร์เน็ตย่ิง
ทาใหก้ ารถ่ายทอดเรอ่ื งราวน้นั ง่ายขึ้นไปอีก

โดยส่ิงหน่ึงที่อุปกรณ์ดิจิทัลสมัยใหม่มักจะมีในแทบทุกอุปกรณ์ คือ กล้องบันทึกภาพ
โดยหลักการทางานของกล้องบันทึกภาพ คือ เมื่อผู้ใช้ออกคาสั่งให้ถ่ายภาพ กล้องบันทึกภาพจะนา
แสงที่ได้จากวัตถุที่อยู่ตรงหน้ากล้องเข้าสู่ตัวแปลงสัญญาณภาพ เพ่ือส่งบันทึกเป็นไฟล์ภาพที่พร้อมใช้
งานต่อได้ทันที ซึ่งผู้ใช้สามารถนาภาพท่ีได้มาตัดต่อ หรือมาปรับแต่งตามต้องการ เพื่อเล่าเรื่องราว
ทีผ่ ู้ใช้ต้องการจะส่อื สารนัน่ เอง

7 เว็บไซต์ https://www.twitch.tv/

59

3.3.9 หนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Book หรอื eBook)
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นการเปิดอ่านเอกสารบนอุปกรณ์ดิจิทัลผ่านการเปิดไฟล์ที่มีอยู่

โดยที่หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่มักจะเป็นไฟล์เอกสารนามสกุล PDF ท่ีสามารถเปิดอ่านได้
โดยรักษารูปแบบของเอกสารไมใ่ หเ้ พี้ยนไปจากเดิม

นอกจากน้ี หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยังมีในรูปแบบอ่ืนๆ โดยท่ีได้รับความนิยมมีตั้งแต่
เอกสารนามสกุล EPUB รวมถึงเอกสารนามสกุล AZW สาหรับเครื่องอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
Amazon Kindle

ปัจจุบัน การเลือกซ้ือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถเลือกซื้อได้จากหลากหลายแหล่ง
โดยท่ีร้านค้าออนไลน์ที่ได้รับความนิยมสูงสุดคือ Amazon Kindle นอกจากนี้ ยังมีร้านค้าหนังสือ
รายอื่นๆ เชน่ Apple Books, Barnes and Noble, Google Play Books หรือ Kobo เป็นต้น

รูปภาพท่ี 23 ตวั อย่างหน้าร้านคา้ หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ Amazon Kindle8

8 เว็บไซต์ https://www.amazon.com/Kindle-eBooks

60

3.3.10 จดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail หรอื Email)
ในอดีตการส่งเอกสารหรือเอกสารต่างๆ จะทาได้เพียงแค่การส่งผ่านช่องทางจดหมาย

หรือไปส่งได้ด้วยตนเองเท่านั้น ซ่ึงจะเสียเวลาค่าจัดส่ง รวมถึงมีค่าใช้จ่ายในระดับหน่ึง ในปัจจุบัน
เทคโนโลยีดิจิทัลได้เข้ามาเปลยี่ นแปลงวิธกี ารส่งจดหมายแบบเดิมให้สะดวกและรวดเร็วย่ิงข้ึน จึงเป็น
ท่ีมาของบริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรืออีเมล ที่เปิดให้ผู้ใช้ได้ส่งข้อความ หรือไฟล์เอกสาร
ไปยงั ผ้รู ับได้เพยี งไมก่ ่วี ินาที

รปู ภาพท่ี 24 ตัวอยา่ งบรกิ ารจดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์9
การทางานของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์น้ัน ค่อนข้างคล้ายกับการรับส่งจดหมายแบบปกติ
คอื ผู้ใช้แต่ละคนจะมที ี่อยู่ประจาตวั ของตัวเอง ซึง่ เรียกวา่ อเี มลแอดเดรส โดยผใู้ ช้จะตอ้ งระบถุ ึงอีเมล
แอดเดรสของผู้รับ นอกจากน้ี ผู้ใช้ควรท่ีจะระบุหัวเรื่องท่ีต้องการจะส่งไปยังผู้รับ และข้อความที่
จะแสดงใหก้ ับผรู้ บั และผู้ส่งการได้มาซงึ่ อเี มลแอดเดรสนั้น ผ้ใู ชจ้ ะตอ้ งเปดิ บญั ชกี ับผใู้ หบ้ ริการจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์รายต่างๆ เช่น Outlook/Office 365, Gmail, Yahoo! Mail โดยลักษณะของอีเมล
แอดเดรสนั้นจะมีท้ังหมด 3 ส่วน คือ ส่วนช่ือผู้ใช้ที่สามารถกาหนดได้ด้วยตนเอง สัญลักษณ์ @ และที่
อยู่ของผู้ให้บริการหรือองค์กร ซึ่งในแต่ละรายจะมีท่ีอยู่ไม่เหมือนกัน ตัวอย่างของอีเมลแอดเดรสนั่น
คือ “[email protected]” โดยที่ “supaporn.kit” เป็นช่ือผู้ใช้ท่ีกาหนดขึ้นมา
และ mahidol.edu เป็นท่อี ย่ขู ององคก์ ร เปน็ ตน้
การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์นั้น สามารถใช้งานได้ทั้งระดับกันเอง จนไปถึงระดับทางการ
ฉะน้ัน การที่กาหนดที่อยู่ของผู้ใช้จึงเป็นเรื่องท่ีต้องพิจารณาในการตั้งท่ีอยู่ให้เหมาะสมกับระดับ
ของการสนทนา เช่น อีเมลท่ีใช้ในการสนทนาส่วนตัว สามารถใช้ท่ีอยู่ของผู้ใช้ตามสะดวก แต่ถ้าหาก
ผู้ใช้ต้องการใช้อีเมลในการติดต่อทางธุรกิจ ผู้ใช้จาเป็นจะต้องใช้ที่อยู่ของผู้ใช้ที่เป็นทางการข้ึน
เพื่อรกั ษามารยาทในการสนทนา

9 เวบ็ ไซต์ https://mail.google.com

61

3.3.11 ระบบสง่ ขอ้ ความทนั ใจ (Instant Messaging หรือ Chat)
บริการส่งข้อความทันใจ (Instant Messaging) เป็นบริการท่ีเปิดให้ผู้ใช้สามารถ

ส่งข้อความไปยังผู้รับอย่างสะดวก รวดเร็ว และทันที โดยผู้ใช้ สามารถส่งข้อความส้ัน หรือส่ืออ่ืน ๆ
ที่ต้องการสง่ ไปยังผู้ใชท้ ีต่ ้องการ และภายในไม่ก่ีวินาที ผู้ใช้จะไดร้ บั ขอ้ ความดงั กลา่ ว

และในปัจจุบัน ระบบส่งข้อความทันใจ มักจะข้ึนสถานะว่าผู้ใช้ที่ต้องการติดต่อพร้อมท่ีจะ
สนทนากับท่านหรือไม่ รวมไปถึงสถานะว่าข้อความต่างๆ ได้ถึงผู้รับ และผู้รับอ่านข้อความเหล่าน้ัน
แลว้ หรอื ไม่

ทั้งนี้บริการส่งข้อความทันใจนั้น ถูกออกแบบให้เหมาะสมกับการติดต่อสื่อสารแบบกันเองถงึ
ก่ึงทางการ ผู้ใช้อาจจะใช้บริการส่งข้อความทันทีเพื่อแจ้งให้กับผู้รับอย่างเป็นทางการได้ แต่อาจจะไม่
เหมาะสมมากนกั ในการติดต่อสอื่ สารในเชงิ ธรุ กิจ

รปู ภาพท่ี 25 ตวั อย่างระบบส่งขอ้ ความทันใจ LINE10

10 แอพพลเิ คชัน LINE

62

3.3.12 การโทรทางอินเทอรเ์ น็ต (Internet Calling)
การโทรทางอินเทอร์เน็ต เป็นอีกหน่ึงในวิธีการติดต่อสนทนากับปลายทางท่ีคล้าย

กับการสนทนาทางโทรศัพท์ด้วยวิธีปกติ ซึ่งรูปแบบการโทรทางอินเทอร์เน็ตสามารถทาได้ 2 ช่องทาง
คอื การโทรไปยงั ปลายสายที่เปน็ ผู้ใช้อีกราย และ การโทรไปยงั ปลายสายที่เปน็ หมายเลขโทรศัพท์ปกติ

การโทรไปยังปลายสายท่ีเป็นหมายเลขโทรศัพท์ปกตินั้น จะคล้ายกับการโทรไปยัง
หมายเลขโทรศัพท์ โดยผู้ใหบ้ รกิ ารโทรทางอนิ เทอรเ์ น็ตจะมีอตั ราค่าบริการในระดับหนงึ่ ซึง่ การใชง้ าน
บรกิ ารน้ีสามารถลดคา่ ใชจ้ ่ายในการตดิ ต่อสือ่ สารไปยงั ปลายสาย เนอื่ งจากค่าใชจ้ ่ายท่ีตา่ กว่า

ขณะท่ีการโทรไปยังปลายสายที่เป็นผู้ใช้อีกราย จะสามารถทาได้ต่อเม่ือ ผู้ใช้ท้ัง 2 ราย
ใช้บริการโทรศัพท์ทางอินเทอร์เนต็ รายเดียวกัน โดยปัจจุบัน ผู้ให้บริการด้านการโทรทางอินเทอรเ์ น็ต
มีหลายราย เช่น Skype Google Voice LINE Viber เป็นตน้

รูปภาพท่ี 26 ระบบโทรทางอินเทอร์เนต็ Skype11

11 เว็บไซต์ https://www.skype.com

63

3.3.13 การประชุมทางไกลผ่านวิดโี อ (Video Conference)
การประชุมทางไกลผ่านวิดีโอ (Video conferencing) เป็นช่องทางในการประชุม

ทก่ี าลงั ไดร้ ับความนิยมในปจั จบุ ัน เน่อื งจากความง่ายในการเชอื่ มต่อ และสามารถอานวยความสะดวก
ในการเข้าร่วมประชุมในเวลาทผ่ี เู้ ขา้ ร่วมประชุมไม่สะดวกท่ีจะเดนิ ทางมาประชมุ ดว้ ยตนเอง

ในปัจจุบันระบบการประชุมทางไกลมักจะใช้การเชื่อมต่อผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
ผ่านบริการท่ีรองรับการประชุมทางไกลหลากหลายบริการ เช่น Skype, Google Hangouts, Zoom
หรือ Apple FaceTime นอกจากน้ียังมีบริการส่งข้อความทันที (Instant Messaging) หลายรายท่ี
เร่ิมนาบริการประชุมทางไกลเข้ามาร่วมด้วย อย่าง Facebook Messenger, WhatsApp, Microsoft
Teams หรือแมแ้ ต่ LINE

การประชุมทางไกลน้ัน สามารถส่งต่อได้ท้ังภาพและเสียง โดยภาพท่ีส่งต่อไป สามารถ
ส่งได้ท้ังใบหน้าของผู้ร่วมประชุม ณ ขณะน้ัน หรือแม้แต่สื่อผสม (Multimedia) หลากหลายรูปแบบ
เช่น ภาพถ่าย วิดีโอ เอกสาร การนาเสนอผลงาน ซึ่งท้ังหมดน้ี ล้วนแล้วแต่พัฒนาข้ึนเพ่ืออานวย
ความสะดวกในการสนทนากับผู้ร่วมประชมุ ใหม้ ากย่ิงข้นึ

ท้ังนี้ ส่ิงที่ผู้ร่วมประชุมจาเป็นจะต้องเตรียมในการประชุมทางไกล คือ ลาโพงหรือหูฟัง
ไมโครโฟน รวมถึงการเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตที่เสถียรมากเพียงพอที่จะใช้งาน นอกจากนี้ ผู้ร่วมประชุม
สามารถตดิ ตง้ั กล้องเพิ่มเติมเพ่ือใช้ในการสอ่ื สารได้ในกรณที ่ีต้องการใหผ้ ้รู ว่ มประชมุ เห็นหนา้ ของผู้ใชเ้ อง

รปู ภาพท่ี 27 ระบบ Video Conference ของ Google Hangouts Meet12

12 เวบ็ ไซต์ https://meet.google.com

64

3.4 การสบื คน้ ขอ้ มลู
การสืบค้นข้อมูล เป็นหนึ่งในวิธีท่ีช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้ง่ายย่ิงขึ้น เพียงผู้ใช้

ค้นหาจากคาค้นหา (Keyword) ท่ีตอ้ งการ จากเดิมที่ผูใ้ ชจ้ ะตอ้ งจดจาถึงแหล่งท่อี ยขู่ องข้อมูล โดยการ
สืบค้นข้อมูลนั้นมีได้หลายรูปแบบ ซึ่งในท่ีนี้จะพูดถึง 2 รูปแบบคือ การค้นหาทางอินเทอร์เน็ต
และการคน้ หาตาแหนง่

3.4.1 การค้นหาทางอินเทอร์เนต็
ปัจจุบันข้อมูลท่ีอยู่ในอินเทอร์เน็ตมีมากมายมหาศาล และบางคร้ัง ผู้ใช้มิสามารถเข้าถึง

ข้อมูลเหล่านั้นได้โดยสะดวกนัก ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นที่มาของระบบการค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ต
(Search Engine) ท่ีเปดิ ให้ผู้ใชไ้ ดพ้ ิมพ์คาค้นหาทตี่ ้องการเพื่อค้นหาสิ่งท่ีผ้ใู ช้อยากทราบข้อมูลเพิ่มเติม
เก่ียวกบั คาค้นหาเหลา่ นนั้

โดยประโยชน์ของบริการค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตคือ ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องจดจาเว็บไซต์
ท่ีผู้ใช้ต้องการทราบข้อมูลในบางเร่ือง ทาให้การใช้งานอินเทอร์เน็ตสามารถใช้งานได้สะดวกและ
รวดเร็วยิ่งขึ้น อกี ทั้งในปจั จบุ นั ระบบการคน้ หาขอ้ มูลสามารถค้นหาได้หลากหลายยิง่ ข้นึ เชน่ สามารถ
ค้นหาเพลง รปู ภาพ หรือวดิ โี อได้

สาหรับวธิ กี ารค้นหาขอ้ มูลผา่ นระบบการคน้ หาข้อมูลในอินเทอร์เนต็ น้ัน ส่วนมากแล้วจะมี
ช่องทีเ่ ป็นกรอบส่เี หลี่ยมที่เขียนวา่ “ค้นหา” หรือในบางเวบ็ ไซต์ท่ีเป็นเวบ็ ไซต์สาหรับการคน้ หาข้อมูล
ในอินเทอรเ์ น็ตโดยเฉพาะ จะมีกรอบสเี่ หล่ยี มที่ให้คนกรอกคาค้นหาในกรอบนัน้ ได้ทันที

รปู ภาพท่ี 28 แสดงถึง Google บริการการคน้ หาทางอนิ เทอร์เนต็ 13

13 เวบ็ ไซต์ https://www.google.com

65

3.4.2 ประเภทการคน้ หาข้อมลู ในอนิ เทอร์เน็ต

ระบบการค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตมีค่อนข้างแพร่หลายข้ึนกว่าแต่ก่อน รวมไปถึง
มีช่องทางในการค้นหาข้อมูลที่มากข้ึนและเฉพาะทางย่ิงขึ้น การที่ผู้ใช้รู้จักประเภทของการค้นหา
ข้อมูลนั้นจะช่วยใหผ้ ูใ้ ชส้ ามารถค้นหาข้อมลู ได้จากช่องทางที่เหมาะสม

โดยปัจจุบันสามารถจาแนกประเภทการค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตได้ 3 ประเภท
ดงั ต่อไปนี้

1) ระบบการค้นหาข้อมูลที่อาศัยการดึงข้อมูลจากเนื้อหาบนเว็บไซต์ (Crawler-based
Search Engine) เป็นระบบการค้นหาท่ีใช้ระบบอัตโนมัติของระบบการค้นหาข้อมูล (ที่เรียกว่า
Web-crawler หรือ Spider) ในการจัดทาดัชนีการค้นหา (indexing) เพื่อแสดงผลการค้นหา
ที่ใกล้เคียงกับความต้องการของผู้ใช้ได้มากที่สุด ปัจจุบัน การค้นหาประเภทน้ีจัดเป็นประเภทท่ีได้รับ
ความนยิ มสูงสดุ ตัวอยา่ งของระบบการคน้ หากล่มุ นค้ี ือ Google, Bing และ DuckDuckGo เป็นต้น

2) สารบัญเว็บ (Web Directory) เป็นกลุ่มท่ีทาระเบียนรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ ซ่ึงมีการ
จัดกลุ่มเว็บไซต์ตามประเภทของเวบ็ ไซต์ เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถค้นหาเว็บไซต์ตามประเภทที่ต้องการ
เข้าใชง้ านใหเ้ หมาะสมกบั ความตอ้ งการ

3) ระบบการค้นหาท่ีอิงจากป้ายที่ระบุของเว็บไซต์ ( Meta Search Engine)
เป็นระบบการค้นหาท่ีอาศัยป้ายชื่อของข้อมูล (Meta Tag) ของแต่ละเว็บไซต์ในการจัดเก็บดัชนี
การคน้ หา ซึ่งเป็นระบบคน้ หาทม่ี ีความแม่นยาตา่ ท่ีสดุ

3.4.3 เทคนคิ ค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เนต็

ในการการค้นหาข้อมูลโดยใช้ระบบการค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตนั้น ส่วนมากมักจะมี
วิธีการในการค้นหาที่ไม่แตกต่างกันมาก ซ่ึงในส่วนน้ีจะอธิบายถึงแนวทางการค้นหาขั้นสูงท่ีช่วยให้
การค้นหาข้อมลู ในอินเทอรเ์ นต็ งา่ ยขึ้น โดยมเี ทคนิคในการสบื คน้ ข้อมูล ดังนี้

ใช้วรรคเพ่ือช่วยในการค้นหา ในกรณีที่ต้องการหาที่มีคาค้นหามากกว่าหน่ึง ผู้ใช้สามารถใช้
เว้นวรรคเพ่ือระบุถึงคาค้นหาท่ีมากกว่า 1 คาได้ เช่น ถ้าหากต้องการค้นหาสลากกินแบ่งรัฐบาล
(หรือที่ภาษาพูดเรียกว่า “หวย”) ในงวดล่าสุด ผู้ใช้สามารถค้นหาคาว่า “หวย ล่าสุด” เพื่อใช้ค้นหา
สลากกนิ แบ่งรฐั บาลในงวดล่าสดุ ได้

ใช้เคร่ืองหมายคาพูดเมื่อผลลัพธ์ต้องมีคาคานั้น ในบางกรณี การท่ีค้นหาด้วยคาค้นหาท่ีเป็น
วลีหรือประโยค ระบบค้นหาอาจจะตัดคาบางส่วนออกเพ่ือค้นหาจากคาค้นหาที่ใกล้เคียงกัน แต่ถ้า
หากผู้ใช้ต้องการค้นหาวลีนั้นทั้งวลี ผู้ใช้สามารถใช้เครื่องหมายคาพูดครอบคาค้นหาได้ เช่น ถ้าหาก
ต้องการค้นหาคาว่า “อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา” โดยไม่ต้องการที่จะแยกคาว่า “อินเทอร์เน็ต”
และ “เพ่ือการศึกษา” ออกจากกัน ผู้ใช้จะต้องค้นหาด้วยคาว่า “อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา”
โดยมีเคร่อื งหมายคาพูดครอบด้วย

การยกเวน้ ผลลัพธก์ ารค้นหา หากตอ้ งการยกเวน้ ผลลพั ธ์การคน้ หา ผู้ใช้สามารถทาไดโ้ ดยการ
ใส่เคร่ืองหมายลบ (-) ข้างหน้าคาท่ีไม่ต้องการค้นหาข้อมูล เพื่อให้ระบบค้นหาข้อมูลสามารถกรองผล
การค้นหาโดยที่ให้คาที่อยู่หลังเครื่องหมายลบน้ันขึ้นอยู่ในผลการค้นหา เช่น เมื่อต้องการค้นหาคาว่า
“digital” แต่ผู้ใช้ไม่ต้องการข้ึนผลลัพธ์ท่ีมีคาว่า “disruption” ในนั้น ผู้ใช้สามารถพิมพ์
“digital - disruption” ในชอ่ งการค้นหาได้

66

การค้นหาไฟล์เอกสารด้วยนามสกุลต่างๆ หากผู้ใช้ต้องการทาการค้นหาเอกสารนามสกุล
ต่างๆ อย่างเช่น .DOCX หรือ .PDF ผู้ใช้สามารถค้นหาเอกสารเหล่าน้ันโดย พิมพ์คาค้นหาท่ีต้องการ
แล้วตอ่ ท้ายด้วย “filetype:” ตามดว้ ยนามสกลุ ของเอกสารนั้นๆ ติดกบั เคร่ืองหมาย “:” ซง่ึ ระบบการ
ค้นหาจะประมวลผลลัพธ์ที่เป็นเอกสารท่ีถูกเก็บไว้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตัวอย่างเช่น
“ดแู ลเวบ็ ไซต์ filetype:pdf”

นอกเหนือไปจากเทคนิคที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว เว็บไซต์ที่ให้ระบบการค้นหาข้อมูลใน
อินเทอร์เน็ต เช่น Google, Bing หรือ DuckDuckGo นั้นยังมีระบบการค้นหาข้ันสูง ท่ีใช้เทคนิคใน
การค้นหาตามท่ีระบุมาข้างต้น รวมไปถึงเทคนิคอ่ืนๆ ท่ีสามารถจดจาเพื่อใช้ในคร้ังถัดไปได้ ซ่ึงการใช้
งานคุณสมบัติดังกล่าวน้ัน ให้ผู้ใช้สังเกตคาว่า “การค้นหาข้ันสูง” ในหน้าแรกของผู้ให้บริการค้นหา
ข้อมูล เพอื่ เข้าไปยังหนา้ เว็บไซตท์ สี่ ามารถกาหนดคาคน้ หาทตี่ รงกบั ความต้องการของผู้ใช้ให้มากทีส่ ุด

3.4.4 การคน้ หาตาแหนง่

การระบุตาแหน่งพิกัดบนพ้ืนโลกนั้นสามารถทาได้ง่ายข้ึนกว่าแต่ก่อนมาก เนื่องจาก
อปุ กรณ์ท่ีใช้มรี าคาที่เอื้อมถึงได้ ใช้งานงา่ ยขึน้ รวมถงึ สามารถใช้งานได้ในหลากหลายอุปกรณ์ หนงึ่ ใน
อุปกรณท์ ีไ่ ดร้ บั ความนิยมอย่างสูง คอื โทรศพั ทม์ อื ถอื

ปัจจุบัน มีบริการที่สามารถช่วยอานวยความสะดวกในการค้นหาเส้นทาง ระบุตาแหน่ง
คาดการณ์สภาพจราจร รวมไปถึงนาทางไปยังเส้นทางต่างๆ ได้ง่ายขึ้น เช่น Google Maps, HERE
Maps, Apple Maps เป็นต้น ซ่ึงในส่วนนี้ จะเขียนอธิบายวิธีการใช้งานที่เน้นไปที่ Google Maps
เปน็ หลัก อยา่ งไรกด็ ี ในบริการอนื่ ๆ มคี ุณสมบตั กิ ารใช้งานท่ีใกลเ้ คยี งกัน ผู้ใชส้ ามารถนาวิธีการใช้งาน
ดังกล่าวไปใช้งานกับบรกิ ารอื่นๆ ได้ไมย่ ากนัก

สาหรับวิธีการใช้งาน Google Maps นั้น สามารถใช้งานได้ท้ังบนเว็บไซต์ และแอปพลิเค
ชันบนอุปกรณ์พกพา โดยบนเว็บไซต์ให้เข้าไปท่ี Maps.Google.com ส่วนบนแอปพลิเคชันให้ค้นหา
คาว่า Google Maps ใน App Store ในกรณีที่ใช้อุปกรณ์ระบบปฏิบัติการ iOS หรือเลือกหาแอป
Google Maps บนอุปกรณ์ทใ่ี ชร้ ะบบปฏบิ ัติการ Android ดังรูปภาพที่ 29

67

รปู ภาพที่ 29 หน้าจอของแอปพลิเคชนั Google Maps บน iOS (ดา้ นซ้าย) และ Android
(ด้านขวา)14

สาหรับองค์ประกอบของ Google Maps นั้นประกอบด้วยกัน 5 ส่วน คือ ส่วนแถบค้นหา
และแถบเครื่องมือ ส่วนของแผนที่ ส่วนปุ่มควบคุมด้านขวา ส่วนแนะนาสถานที่ และแถบเคร่ืองมือ
ดา้ นล่าง

สาหรับการค้นหาสถานท่ีปัจจุบันน้ัน ผู้ใช้สามารถค้นหาได้จากการกดสัญลักษณ์ลูกศรช้ีข้ึน
ใน iOS หรือสัญลักษณ์เป้าเล็งใน Android โดยจะเป็นปุ่มพื้นหลังสีขาว และตัวสัญลักษณ์สีฟ้า
โดยในส่วนของแผนท่ีท่ีอยู่ตรงกลางหน้าจอนั้น จะมีสัญลักษณ์จุดสีฟ้ากรอบขาวพร้อมรัศมีท่ีระบุถึง
ระยะของตาแหนง่ ของผู้ใช้ในปจั จุบนั ท่ีเป็นไปได้จากความคลาดเคลือ่ นของการจบั สญั ญาณดาวเทียม

ในกรณีที่ผู้ใช้ต้องการค้นหาสถานที่ท่ีต้องการจะทราบรายละเอียดเพิ่มเติม ทั้งเส้นทาง
เวลาเปิด-ปิด รวมไปถึงข้อมูลการติดต่อ ผู้ใช้สามารถพิมพ์ค้นหาจากแถบค้นหาและแถบเครื่องมือ
ดา้ นบนของ Google Maps ดงั รูปภาพที่ 30

14 แอปพลเิ คชัน Google Maps

68

รปู ภาพที่ 30 หนา้ ตาของระบบการค้นหาสถานทข่ี อง Google Maps
เม่ือผู้ใช้เจอสถานท่ีที่ต้องการจะเดินทาง ผู้ใช้สามารถกดปุ่มนาทางเพื่อระบุเส้นทางการ
เดินทาง รวมไปถึงรูปแบบการเดินทางตั้งแต่การเดินเท้า ใช้รถสาธารณะ หรือรถยนต์และ
รถจกั รยานยนตส์ ว่ นบุคคล

69

นอกจากน้ีผลการค้นหาจะแสดงถึงข้อมูล รูปภาพท่ีเกิดจากการรวบรวมของผู้ใช้
และสภาพถนนของสถานท่ที ี่ระบุไว้จากการเกบ็ รปู ภาพของกเู กิล ดงั รปู ภาพที่ 31

รปู ภาพที่ 31 หน้าจอของผลการคน้ หาสถานที่ใน Google Maps
และอีกคุณสมบัติหน่ึงท่ีเป็นประโยชน์สาหรับการวางแผนในการเดินทางคือ การปรับแต่ง
สภาพแผนที่ โดยผูใ้ ชส้ ามารถกดปุ่มปรับแต่งสภาพแผนที่ท่ปี ุ่มด้านบนขวาบนแถบปุ่มควบคุมด้านขวา
ซ่ึงสามารถเลือกดูได้ทั้งแผนที่ปกติ แผนที่ภูมิประเทศ หรือแผนที่จากภาพถ่ายดาวเทียม นอกจากน้ี
ผ้ใู ชย้ งั สามารถเลือกเปิดหรอื ปดิ คุณสมบัตอิ นื่ ๆ เช่น สภาพการจราจร เป็นตน้ ดงั รปู ภาพท่ี 32

รูปภาพท่ี 32 หน้าจอการปรับรปู แบบแผนท่ีใน Google Maps

70

3.5 ผลการวิเคราะหก์ ารประยุกต์การเข้าถึงสื่อดจิ ิทัลใช้กับชีวิตประจาวัน

การเข้าถึงส่ือดิจิทัลในชีวิตประจาวันเป็นสิ่งที่ผู้อ่านมักจะเคยผ่านการใช้งานมาบ้างแล้ว
แต่ส่วนมาก ผ้อู า่ นมักจะไม่สังเกตว่าประเภทของส่อื ดจิ ิทลั ที่ใช้งานอยู่นน้ั คอื อะไร สว่ นมากมกั จะทราบ
ถึงว่าสามารถใช้งานอะไรได้บ้าง ซึ่งเป็นส่ิงที่พบเห็นได้ทุกประเทศท่ัวโลก ไม่จากัดเฉพาะประเทศไทย
เท่านน้ั

สาหรับประเทศไทยน้ัน มีแนวโน้มในการใช้งานสื่อดิจิทัลท่ีสูงมากข้ึน ถ้าหากอ้างอิงจาก
ผลการสารวจพฤติกรรมของผู้ใช้จากสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
หรือ สพธอ. ในปี พ.ศ. 2561 พบว่า ประชาชนไทยใช้อินเทอร์เน็ตเป็นระยะเวลาโดยเฉล่ียวันละ
10 ช่ัวโมง 5 นาทีตอ่ วนั ซง่ึ สูงขึน้ กว่าปี พ.ศ. 2560 ถึง 3 ช่ัวโมง 41 นาท1ี 5

สัดสว่ นการใช้งานสื่อดจิ ทิ ัล พ.ศ. 2561 (หน่วย: ชัว่ โมง)

1:31

3:30

สังคมออนไลน์
1:51 ดิจิทลั วดิ โี อ

การส่อื สารดจิ ิทัล
เกมออนไลน์
หนังสือและบทความออนไลน์

2:00
2:35

รปู ภาพท่ี 33 สดั ส่วนการใชง้ านส่ือดิจิทัลในประเทศไทย พ.ศ. 2561 (อ้างอิงจากเอกสารหมายเลข 15)
จากรปู ภาพที่ 33 พบว่าเวลาโดยเฉล่ียต่อวัน 2 ชว่ั โมง 35 นาทเี ป็นการใช้งานวิดโี อดจิ ิทลั ซง่ึ

รวมไปถึงการใช้งานบริการดจิ ทิ ลั วิดโี อสตรีมม่งิ และการถา่ ยทอดสดทางออนไลน์ ขณะที่เวลาโดยเฉล่ีย
ต่อวัน 2 ชั่วโมง เป็นการใช้งานในกลุ่มการส่ือสารดิจิทัล เช่น การส่งข้อความทันใจ การโทรทาง
อินเทอร์เน็ต และการประชุมทางไกลผ่านวิดีโอ และเวลาโดยเฉล่ียต่อวัน 1 ชั่วโมง 31 นาที เป็นการ
ใชง้ านเพ่อื อา่ นหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกสห์ รอื การอ่านบทความ

จากสถิติท่ีว่ามานี้ สะท้อนให้เห็นถึงการใช้งานส่ือดิจิทัลของประชาชนไทยที่มากย่ิงข้ึนกว่า
แต่ก่อน อย่างไรก็ดี จากการประเมินสถานภาพการเข้าใจดิจิทัลของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2562
พบว่า ผกู้ รอกแบบสอบถามมคี วามเข้าใจในด้านสื่อดิจทิ ัลในระดบั กลาง โดยมรี ายละเอียดดงั นี้

• สามารถแยกแยะประเภทการเข้าถงึ อินเทอร์เน็ตดว้ ยวธิ ตี ่างๆ รวมถงึ ระบุขอ้ ดขี ้อเสีย
ได้ ผลสารวจออกมาพบว่าโดยเฉลี่ย อยู่ในเกณฑ์ระดับกลาง ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย
ทีร่ อ้ ยละ 62.2

15 สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน). (2561). รายงานผลการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อนิ เทอรเ์ น็ตในประเทศไทย ปี 2561. กรุงเทพฯ :
กระทรวงดิจิทัลเพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม.

71

• สามารถเข้าใจสื่อดิจิทัลชนิดต่างๆ รวมถึงการนาไปประยุกต์ใช้งานในสถานการณ์
ที่เหมาะสมได้ ผลสารวจออกมาพบว่าโดยเฉล่ีย อยู่ในเกณฑ์ระดับกลาง
มคี ะแนนเฉลย่ี ทร่ี อ้ ยละ 63.1

• สามารถใช้ Search Engine ค้นหาข้อมูลที่ต้องการจากอินเทอร์เน็ตได้ ผลสารวจ
ออกมาพบวา่ โดยเฉล่ยี อยูใ่ นเกณฑ์ระดับกลาง มคี ะแนนเฉล่ยี ท่ีรอ้ ยละ 66.0

ซ่ึงจากตัวเลขดังกล่าว พบว่า การเข้าใจด้านการเข้าถึงส่ือดิจิทัลยังอยู่ในระดับที่ยังไม่ดีนัก
โดยจากผลการสารวจนั้น อาจจะเกิดจากการที่ผู้กรอกแบบสารวจยังไม่เข้าใจการใช้ส่ือดิจิทัล
เนื้อหาในบทนจ้ี งึ คาดหวังว่า ประชาชนจะสามารถนาความรเู้ หลา่ นี้ไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้

3.6 สรปุ

ในบทน้ีผู้อ่านได้เห็นว่า การเข้าถึงสื่อดิจิทัลน้ันสามารถแบ่งออกเป็น 2 หัวข้อหลัก คือ ด้านการ
เช่ือมต่อ และดา้ นบริการ

ในด้านการเชื่อมต่อ ประกอบไปด้วย อินเทอร์เน็ตตามสาย เช่น อินเทอร์เน็ตตาม
สายโทรศัพท์ และอินเทอร์เน็ตตามสายไฟเบอร์ อินเทอร์เน็ตไร้สายไร้สาย อย่าง วายฟาย
หรืออินเทอร์เนต็ บนโทรศพั ทม์ อื ถือ บลทู ทู และระบบระบุพิกดั เป็นตน้

ด้านบริการ ที่สามารถสื่อออกมาท้ังในรูปแบบตัวอักษร ภาพ เสียง เช่น เสียงดิจิทัล
การสตรมี มิ่งเพลงออนไลน์ วิดโี อดิจิทลั การถ่ายทอดสดทางออนไลน์ หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ จดหมาย
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ระบบสง่ ข้อความทนั ใจ การโทรทางอินเทอรเ์ น็ต การประชุมทางไกลผ่านวิดีโอ รวมไป
ถงึ การค้นหาขอ้ มูลและสถานทใ่ี นอนิ เทอรเ์ นต็

จะเห็นได้ว่า ปัจจุบัน มีการใช้งานดิจิทัลท่ีหลากหลายยิ่งข้ึนตามความก้าวหน้า
ของเทคโนโลยีดิจิทัล และสื่อดิจิทัลชนิดต่างๆ ทาหน้ามีการพัฒนาบริการที่ตอบสนองกับผู้ใช้เพิ่มขึ้น
เรื่อยๆ ส่ิงหน่ึงท่ีผู้อ่านควรจะทาเสมอคือ การติดตามข่าวสารด้านบริการใหม่ๆ และนาบริการ
ท่ีเหมาะสมกับการทางานของท่านเพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพในการใช้ส่ือดิจิทัลในชีวิตประจาวนั ได้ดียิ่งข้ึน
ประโยชน์ที่สาคัญของส่ือดิจิทัลอย่างหน่ึง คือการสื่อสารยุคดิจิทัล ในบทถัดไปจะเป็นการนาเสนอ
พ้ืนฐานของการสื่อสาร ลักษณะการสื่อสาร แนวทางการสื่อสารเพื่อให้ได้ความหมาย และการสื่อสาร
อย่างปลอดภัย เพื่อให้ใช้เคร่ืองมือดิจิทัลในการส่ือสารได้ตรงตามวัตถุประสงค์ มีความปลอดภัยใน
ข้อมูลต่างๆ และเกิดประโยชน์ในการใชง้ านมากทส่ี ุด

72

3.7 เอกสารอา้ งอิง

Akkharaphon Dantonglang. (ม.ป.ป.). CG / CGI / VFX / Compositing คอื อะไร. สบื คน้ 19
มนี าคม 2019, จาก BEAR - Creative School website:
http://www.beartheschool.com/share-1/2018/11/14/cg-cgi-vfx-compositing-

How to search on Google. (2018). Retrieved from Google Help: https://support.google
.com/websearch/answer/134479?hl=en

Licuanan, P. B. (2016). Teaching Guide for Senior High School MEDIA AND INFORMATION
LITERACY. Quezon: the Commission on Higher Education

Miller M. (2011). USING Google Advanced Search. Indiana: Person Education
ธนาคาร เลิศสดุ วิชัย. (2560). ทาความรจู้ ัก Music Streaming. สบื คน้ 21 มีนาคม 2019, จาก

Digital Marketing Wow website: https://digitalmarketingwow.com/2017/08/25
ศรดี า ตันทะอธิพานชิ . (2555). รู้เท่าทนั ส่ือ ICT. กรุงเทพฯ: มลู นิธิอินเทอร์เนต็ รว่ มพฒั นาไทย
โสภิดา วีรกุลเทวัญ. (2561). เท่าทันส่ือ : อํานาจในมือพลเมืองดิจิทัล. กรุงเทพฯ: มูลนิธิส่งเสริมส่ือ

เดก็ และเยาวชน, สถาบนั ส่ือเด็กและเยาวชน
สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน). (2561). รายงานผลการสํารวจ

พฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2561. กรุงเทพฯ : กระทรวงดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิจและสังคม
สานักงานราชบัณฑิตยสภา. (2554). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. สืบค้น 14
มนี าคม 2562, จาก http://www.royin.go.th/dictionary/index.php
อารี พลดี. (2561, มกราคม 18). ว่าด้วยดจิ ทิ ัล ในองค์ความรู้ ภาษา-วฒั นธรรม. ไทยรฐั , น. 24.
อรุ าเพ็ญ ยิม้ ประเสรฐิ . (2557). แนวคิดเกี่ยวกบั สื่อ. ใน ร้เู ทา่ ทนั สื่อ (หน้า 1-19). กรุงเทพฯ: สานักงาน
คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กจิ การโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม (กสทช.)

73

บทที่ 4

การสื่อสารยุคดจิ ทิ ัล

74

บทท่ี 4

กำรสอ่ สำรยคุ ดิจิทลั

การส่ือสารยุคดิจิทัล ผ่านทางสื่อ และเคร่ืองมือทางดิจิทัลในแง่มุมต่าง ๆ

ไม่ว่าจะเป็นความเหมาะสม ความแตกต่าง ความเสี่ยงของส่ือ และเครื่องมือ
พร้อมทั้งสา มา ร ถส่ื อส ารโ ดย กา รใช้ ข้ อ คว าม หรื อ ถ้ อย ค า อย่ างส ร้า ง ส ร ร ค์
มีประโยชน์ และเคารพผู้อื่น เพ่ือประโยชน์ต่อส่วนรวม นอกจากน้ียังรวมถึง
ความสามารถวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ท่ีมีอยู่บนส่ือดิจิทัลต่าง ๆ ว่าข้อมูลใดเป็น
ข้อเท็จจริง ข้อมูลใดเป็นความเห็น ข้อมูลใดเป็นความจริงบางส่วน ข้อมูลใดเป็นความจริงเฉพาะ
เหตกุ ารณน์ ้นั ๆ เพือ่ ไมใ่ ห้ตกเปน็ เหยอ่ื ของการส่ือสารทางดจิ ิทลั

4.1 พ้นื ฐานการสอื่ สาร

การส่ือสารเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิต เนื่องจากมนุษย์มีลักษณะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม
หรืออยู่ร่วมกับบุคคลอื่น ดังท่ี อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีก ได้กล่าวว่า มนุษย์เป็นสัตว์สังคม
(Social Animal) ดังน้ัน การสื่อสารจึงเป็นกิจกรรมสาคัญ และเกิดข้ึนอยู่ตลอดเวลาภายในสังคม
มนุษย์ การสื่อสารเป็นกระบวนการสาคัญที่ทาให้สังคมพัฒนาหรือเจริญก้าวหน้า ผ่านทางการ
ถ่ายทอดและการแบ่งปันองค์ความรู้ ภูมิปัญญา ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี จากบุคคลหน่ึงไป
สู่บุคคลหนึ่ง กล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า การสื่อสารทาให้มนุษย์มีความรู้และเปิดโลกท่ีกว้างข้ึน จึงทาให้
มนุษยส์ ามารถ สืบทอดพัฒนา เรยี นรู้ และสร้างวัฒนธรรมของตนและสังคมได้ ซึง่ ถือได้ว่าการสื่อสาร
เปน็ ปัจจัย ขับเคลอื่ นทจี่ ะสามารถบ่งชี้ระดบั การพัฒนาการสังคมในทุกดา้ น

มนุษยม์ แี นวทางในการพัฒนารูปแบบการสื่อสาร เรม่ิ ตน้ จากการสอ่ื สารดว้ ยภาษากาย และเร่ิมมี
การคิดค้นภาษาพูด ภาษาเขียนต้ังแต่รูปแบบอักษรรปู ล่ิม (Cuniform) จวบจนภาษาในชนชาติต่าง ๆ
สู่การสื่อสารด้วยการส่งจดหมาย และในยุคดิจิทัลปัจจุบันเป็นการรับส่งข้อความผ่านอินเทอร์เน็ต
จะเห็นวา่ ส่ิงประดษิ ฐแ์ ละนวตั กรรมการสร้างสรรค์ของมนุษย์ มสี ่วนสาคญั ทช่ี ว่ ยผลักดันให้มนุษย์รู้สึก
ใกล้ชดิ กับผู้อ่ืนไดง้ ่ายข้ึน และในช่วงที่ผ่านมา เทคโนโลยถี ือเป็นปจั จัยสาคัญทส่ี ร้างความเปลี่ยนแปลง
ในการส่ือสาร การเข้าใจแนวคิดการส่ือสารยุคดิจิทัลทาให้ผู้ใช้เข้าใจและสามารถส่ือสารกับผู้อื่นได้
อยา่ งถูกที่ ถกู เวลา ถูกตอ้ ง และมีประสทิ ธภิ าพ

รูปแบบการสื่อสารใหม่ ๆ ในยุคปัจจุบัน มีจุดประสงค์เพื่อเพ่ิมส่วนขยาย เพ่ิมประสิทธิภาพของ
การสื่อสาร น่ันคือ เพิ่มเติมความสามารถในการนาเสนอและการโต้ตอบ ผ่านเรื่องราว รูปภาพ
ภาพเคลื่อนไหว ที่สามารถถ่ายทอดหรือระบุความรู้สึกได้ชัดเจนมากข้ึน แตกต่างจากรูปแบบเดิมที่
อาจมีเพียงความคิดเห็น หรือการส่ือสารเพียงทางเดียว รวมทั้งเพิ่มความอิสระของการส่ือสารอย่าง
เสรีบนพื้นที่ส่วนตัวหรือโลกเสมือนจริง (Virtual Reality) นอกจากน้ี ยังสามารถสร้างปฏิสัมพันธ์
(Interactive) และความสัมพันธ์ (Relationship) กับบุคคลในโลกเสมือนจริงและขยายเครือข่าย
สังคมออนไลน์ (Social Networking) ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็

75

4.1.1 ความหมายของการใชส้ ่ือดิจิทัลเพือ่ การส่ือสาร
การส่ือสารดิจิทัล คือ กระบวนการท่ีใช้ทักษะในการวิเคราะห์ผู้รับสารและส่งสารให้มี

ความเหมาะสมกับระดับของการสื่อสารของแต่ละบุคคล ผ่านช่องทางในการส่ือสารต่าง ๆ ในท่ีน้ีคือ
ส่ือดิจิทัล ทาให้เกิดการแลกเปล่ียนสาร เช่น ข้อความ ภาพ เสียง เป็นต้น เพ่ือให้ผู้รับสารเข้าใจสาร
ทีต่ ามจดุ ประสงค์ของผสู้ ่งสารตง้ั ใจ

รูปภาพที่ 34 องคป์ ระกอบหลกั ของกระบวนการสื่อสาร (วาดโดยสุภาภรณ์ เกยี รติสนิ )
จากรปู ภาพท่ี 34 องคป์ ระกอบหลักของกระบวนการส่ือสาร ประกอบดว้ ย 5 ส่วนดังน้ี

1. ผู้ส่งสาร คือ ผู้เป็นเจ้าของสาร สารสนเทศ หรือข้อความ ที่จะต้องการส่งสาร
ของตวั เองไปยังผรู้ ับสาร

2. สาร คือ เน้ือหาท่ีต้องการส่ือความหมายไปยังผู้รับสาร ซึ่งผู้รับสารเมื่อได้รับ
สารดังกลา่ วอาจเกิดปฏิกรยิ าสะท้อนกลับ เชน่ ปฎบิ ตั ติ ามเนื้อสาร เกดิ ความสนใจ
เกิดการเรยี นรู้ เกิดการโต้แย้ง เป็นต้น

3. ช่องทางการสื่อสาร คือ ช่องทางท่ีนาสารไปยังผู้รับสาร ช่องทางสื่อสารด้ังเดิม
เช่น สื่อบุคคล สื่อส่ิงพิมพ์ ส่ือโทรศัพท์ สื่อวิทยุ เป็นต้น ช่องทางสื่อดิจิทัล
เช่น สอื่ อินเทอรเ์ นต็ สื่อสงั คมออนไลน์ สือ่ ชมุ ชนออนไลน์ เป็นตน้

4. ผู้รับสาร คือ เป้าหมายท่ีผู้ส่งสารต้องสื่อสารความหมายให้ไปถึง ซึ่งเป็นบุคคล
หรอื กลุ่มคน

5. ปฏิกิริยาสะท้อนกลับ คือ ปฏิกิริยาต่อสารที่ผู้ส่งสารส่งมา โดยผู้รับสารสามารถ
มปี ฏิกริ ิยาทางบวก หรือทางลบก็ไดห้ ลงั จากได้รับสารไปแลว้

นอกจากน้ี ยังมีองค์ประกอบท่ีมีความเกี่ยวข้องในบริบทของการส่ือสารท่ีสามารถช่วย
ส่งเสริมความเข้าใจหรอื ความหมายของสารท่ีส่งออกมา และมักพบส่ิงรบกวนหรือกีดขวางการส่ือสาร
(Noise) ซ่ึงสามารถเกิดขึ้นได้ในองค์ประกอบหลักท้ัง 5 ซ่ึงส่งผลให้การส่ือสารมีการเปลี่ยนแปลง
ทงั้ ในด้านคุณภาพหรอื ประสิทธิภาพด้อยลง

76

4.1.2 ความสาคัญของการส่ือสาร

การสื่อสารจัดเป็นกิจกรรมสาคัญท่ีมนุษย์ใช้ในการดารงชีวิตประจาวัน ซ่ึงก่อให้เกิด
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและสังคม มีผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและสังคมท้ัง
ทางตรงและทางอ้อม อีกทั้งยังเป็นปัจจัยสาคัญต่อการพัฒนาของสังคมและเจริญก้าวหน้าในด้าน
ตา่ ง ๆ ทั้งในด้านบุคคล สังคม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม นวัตกรรม เป็นต้น

ดังนั้น การส่ือสารที่มีประสิทธิภาพ คือ การท่ีผู้ส่งสารได้ส่งสารไปยังผู้รับสารให้เข้าใจ
ความหมายของสารมากท่ีสุด หรือเกิดปฏิกิริยาสะท้อนกลับตามที่ผู้ส่งสารตั้งเป้าหมายไว้ภายใต้
สภาพแวดล้อมและสงิ่ รบกวนกวนตา่ ง ๆ

ในการส่ือสารระหวา่ งบุคคลน้นั มีวตั ถุประสงค์ในการส่ือสารทแี่ ตกตา่ งกนั โดยมีวตั ถุประสงค์
ของการส่ือในประเภทต่าง ๆ ดงั นี้1

1. เพื่อแจ้งให้ทราบ (Inform) ในการทาการส่ือสาร เช่น การชี้แจง การเล่าข่าว เหตุการณ์
หรอื เรื่องราว เป็นตน้

2. เพ่ืออบรม สอน หรือถ่ายทอดวิชาความรู้ (teach for education) เพื่อให้ผู้รับสาร
มพี ฒั นาการด้านความร้เู พ่ิมเตมิ ขึ้น

3. เพื่อสร้างความพอใจ หรือให้ความบันเทิง (please of entertain) โดยสามารถส่งสาร
ท้งั ในรูปแบบคาพดู ข้อความ กิริยาหรือท่าทาง เพ่ือให้ผรู้ บั สารเกดิ ความบันเทงิ

4. เพ่อื เสนอ โน้มนา้ ว หรอื ชักจูงใจ (propose or persuade) มจี ุดประสงค์เพ่ือใหผ้ ู้รบั สาร
มีความคล้อยตามจนยอมปฏิบัติตามสิ่งท่ีผู้ส่งสารต้องการ เช่น การเสนอแนะสินค้า
เปน็ ตน้

5. เพ่ือแสวงหาความรู้ หรือเรียนรู้ (learn) เกี่ยวข้องกับสารท่ีมีเน้ือหาที่เป็นสาระ ความรู้
ทผี่ ูร้ ับสารตอ้ งการเรียนรู้ และรวมถงึ กระบวนการทาความเขา้ ใจบทเรยี นต่าง ๆ

6. เพ่ือกระทาหรอื ตัดสนิ ใจ (dispose or decide) เปน็ การสือ่ สารท่ใี ห้ข้อมูล ข้อเสนอแนะ
หรอื ชกั จงู เพอื่ ให้ผู้รบั สารตดั สนิ ใจเลอื กปฏิบตั ิหรอื กระทาการอยา่ งใดอย่างหน่ึง

4.1.3 รูปแบบการสง่ สาร

การส่ือสารนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยท้ังหมด 2 ปัจจัย กล่าวคือ ปัจจัยด้านเวลา และปัจจัย
ดา้ นสถานที่ ดงั น้ี

ปัจจัยด้านเวลา หมายถึง การสื่อสารระหว่างผู้รับสารและผู้ส่งสารโดยมีการส่งสาร
ผ่านช่องทางภายในช่วงเวลาเดียวกัน (Synchronous) กับการส่ือสารระหว่างผู้รับสารและผู้ส่งสาร
ในชว่ งเวลาทแี่ ตกตา่ งกัน (Asynchronous)

ปัจจัยด้านสถานท่ี หมายถึง การสื่อสารระหว่างผู้รับสารและผู้ส่งสารอยู่ในสถานท่ีเดียวกัน
(In-Person) และผู้รับสารและผู้ส่งสารอยู่ต่างสถานท่ีกัน (Roam) หรือการสื่อสารผ่านช่องทาง
ออนไลน์ (Online)

1 ผศ.ดร.ม.ล.วิฏราธร จริ ประวตั ิ และคณะ. (2558). หลักการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ (Principles of Advertising and Public Relations) ปรับปรุงครั้ง
ท่ี 2 (หนว่ ยท่ี 1-8). นนทบรุ ี: สาขาวชิ านเิ ทศศาสตร์, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.

77

เม่ือพิจารณาปัจจัยด้านเวลาและสถานท่ี ทาให้สามารถแบ่งรูปแบบการส่ือสารเป็น
4 ประเภท ดงั รปู ภาพที่ 35

รปู ภาพท่ี 35 โครงสรา้ งรูปแบบการสือ่ สาร2 (ดัดแปลงจากเอกสารหมายเลข 2)
4.1.4 ประเภทของการส่อื สาร
หากแบ่งประเภทของการส่ือสารด้วยระดับภาษาของการใช้ภาษา จะสามารถจาแนกได้เป็น
2 ประเภทหลกั ดงั นี้

1) การส่ือสารแบบเป็นทางการ (Formal communication) มีรูปแบบของภาษา
เป็นทางการหรือภาษาราชการ เป็นประเภทของการสื่อสารท่ีมีระเบียบ แบบแผน
และมีข้อกาหนดท่ีได้วางไว้เป็นมาตรฐานขององค์กรหรือสังคม ส่วนมากมักจะใช้
ในการติดต่อในระดับหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ท่ีต้องทาเป็นลายลักษณ์อักษร
เพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐาน การติดต่อสื่อสารแบบเป็นทางการ สามารถพบได้
ท้งั การสือ่ สารจากบนลงล่าง การส่อื สารจากล่างสบู่ น การส่ือสารตามแนวนอน

2) การส่ือสารแบบไม่เป็นทางการ (Informal Communication) เป็นประเภท
ของการสื่อสารที่ไม่ต้องอิงจากรูปแบบการสื่อสารแบบเป็นทา งการ
ไม่มีข้อกาหนดรูปแบบของภาษาที่ชัดเจน ซึ่งจะเป็นการติดต่อสื่อสารระหว่าง
บุคคลหรือกลุ่มสังคมที่อ้างอิงระดับการสื่อสารจากระดับความสัมพันธ์ของแต่ละ

2 สุภาภรณ์ เกยี รตสิ ิน. การเขา้ ใจดิจิทัลกบั พลเมืองไทย. (2018). The 3rd Technology Innovation Management and Engineering Science International
Conference (TIMES-iCON).

78

บุคคล โดยส่วนมากจะเป็นลักษณะของการพบปะพูดคุยสนทนากัน เช่น
การสอื่ สารภายในครอบครวั การส่อื สารระหวา่ งเพอื่ น เปน็ ตน้

4.1.5 รปู แบบการติดตอ่ สอื่ สาร

การส่ือสารระหว่างมนุษย์น้ันสามารถแบ่งได้ออกเป็น 2 ประเภท โดยอ้างอิงจากจานวน
ของผู้รบั สารและผ้สู ่งสาร ซึง่ สามารถแบ่งได้เปน็ รูปแบบดงั ต่อไปนี้

การสื่อสารแบบตัวต่อตัว (1-1 Communication) เป็นการส่ือสารท่ีมีผู้รับสารและผู้ส่ง
สารเพียงไม่เกิน 3 คน ครอบคลุมท้ังการสื่อสารระยะใกล้และระยะไกล อาจเผชิญหน้ากันหรือไม่ก็ได้
ขึ้นอยู่กับบริบทและจุดประสงค์ของการสื่อสาร ซ่ึงมีจุดประสงค์ได้หลากหลายรูปแบบ เช่น การสร้าง
ความสัมพนั ธ์ การแจง้ ข่าว การถา่ ยทอดความรู้ และการเสนอแนะชกั จงู เปน็ ต้น

การสื่อสารแบบกลุ่ม (Group Communication) เป็นการสื่อสารระหว่างกลุ่มบุคคล
จานวนมากท่ีมีความสนใจร่วมหรือต้องการแสดงออกในเรื่องราวเดียวกัน ซึ่งสามารถเป็นได้ตั้งแต่
การสื่อสารภายในกลุ่มเล็ก เช่น การล้อมวงสนทนา การอภิปราย ตลอดจนเป็นการส่ือสารแบบ
กล่มุ ใหญ่ เชน่ การสัมมนา การบรรยาย เป็นต้น และมักมีระดบั การใช้ภาษาแบบเป็นทางการ

4.2 ลักษณะการสื่อสารยคุ ดิจิทัล

การสื่อสารยุคดิจิทัล หมายถึง การสื่อสารระหว่างบุคคลและสังคม ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
โดยการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์สมาร์ตโฟน โทรศัพท์ดิจิทัล เป็นต้น
และผา่ นชอ่ งทางการสือ่ สารดจิ ทิ ัลหรือดจิ ทิ ลั แพลตฟอร์ม (Digital Platform)

เนื่องด้วยความเจริญก้าวหน้าและการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลและอินเทอร์เน็ต รวมไปถึง
อุปกรณ์สื่อสารในรูปแบบพกพาท่ีมีประสิทธิภาพมากข้ึน ทาให้เพิ่มความสะดวกให้แก่การ
ติดต่อส่ือสาร และราคาท่ีถูกลง ทาให้ประชาชนมีโอกาสท่ีเข้าถึงเทคโนโลยีอุปกรณ์สื่อสารได้ง่ายและ
แพร่หลายอย่างรวดเร็ว จากผลการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561
โดยสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พบว่า คนไทยใช้อินเทอร์เน็ต
โดยเฉลยี่ วันละ 10 ช่ัวโมง 5 นาที ซ่ึงเพิม่ ข้ึนจากปี พ.ศ. 2560 จานวน 3 ชว่ั โมง 30 นาที

ขณะที่พบว่ากิจกรรมท่ีใช้งานมากที่สุดผ่านอินเทอร์เน็ต 5 อันดับแรก ได้แก่ สื่อสังคม
ออนไลน์ (93.6%) รับส่งอีเมล (74.2%) ค้นหาข้อมูล (70.8%) ดูโทรศัพท์/ฟังเพลง (60.7%)
ตามลาดบั

เม่ือพิจารณาเฉพาะในส่วนส่ือสังคมออนไลน์และชุมชนออนไลน์ จะพบว่าประชาชนชาวไทย
ส่วนใหญ่นิยมใช้งาน YouTube เป็นอันดับที่ 1 ท่ีร้อยละ 98.8 อันดับท่ี 2 Line ที่ร้อยละ 98.6
อั น ดั บ ท่ี 3 Facebook ที่ ร้ อ ย ล ะ 9 6 . 0 ถั ด ม า Facebook Messenger (ร้ อ ย ล ะ 8 8 . 4 )
Instagram (ร้อยละ 67.2) Pantip ซ่ึงเป็น ชุมชนออนไลน์หนึ่งเดียวของไทย (ร้อยละ 64.2)
Twitter (รอ้ ยละ 43.0) และ WhatsApp (รอ้ ยละ 10.6) ตามลาดับ

รูปการส่ือสารดิจิทัลมีรูปแบบการสื่อสารที่หลากหลายครอบคลุมท้ังตัวอักษร ภาพ เสียง
และภาพเคลื่อนไหว และมีการพัฒนาไปสู่ส่ือรูปแบบผสมผสาน รวมท้ังสื่อเสมือนจริง
(Virtual Reality) ซง่ึ ช่วยเพิม่ ประสิทธภิ าพในการเชื่อมโยงกนั ไดม้ ากข้นึ ดงั นี้

79

• การส่ือสารแบบด้วยตัวอักษร (Text) เป็นรูปแบบการสื่อสารทางดิจิทัลพ้ืนฐาน
ที่พบไดท้ กุ รูปแบบสื่อ และทกุ ชอ่ งทางสอ่ื สาร

• การส่ือสารแบบด้วยภาพนิ่ง (Image) เป็นรูปแบบการสื่อสารทางดิจิทัลท่ีพบไดท้ ุก
รปู แบบสื่อ และทุกชอ่ งทางสื่อสาร

• การส่ือสารด้วยภาพเชิงสัญลักษณ์ (Emoticon และ Sticker) เป็นรูปแบบการ
สื่อสารทางดิจิทัลที่พบได้บ่อยในสื่อสังคมออนไลน์ เช่น Facebook, Line,
Twitter, Instagram เป็นต้น และได้รับความนิยมมากข้ึนในปัจจุบัน เนื่องจากมี
การผสมผสานสื่อภาพ เสียง และสามารถเป็นตัวแทนของผู้ส่งสารเพื่อแสดงออก
ทางความรู้สึกได้

• การส่ือสารแบบด้วยภาพเคลือ่ นไหวจริง (Video) เป็นรปู แบบการสอ่ื สารทางดิจิทัล
ทพี่ บไดบ้ ่อยในสอื่ สงั คมออนไลน์ เชน่ Youtube, Facebook, Twitch เปน็ ต้น

• การสื่อสารแบบด้วยภาพเคลื่อนไหวจริงแบบทันท่ีทันใด (Real Time Video/Live
Video) เป็นรูปแบบการสื่อสารทางดิจิทัลที่พบได้บ่อยในส่ือสังคมออนไลน์
เช่น Youtube, Facebook, Twitch เป็นตน้

4.2.1 การสอื่ สารผ่านเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์
ในปัจจุบันมีเครือข่ายสังคมออนไลน์อยู่มากมาย แต่ท่ีได้รับความนิยมมาก ได้แก่

Facebook, Twitter, Line, YouTube และ Instagram เป็นตน้
การส่ือสารด้วย Facebook จุดเด่นของ Facebook คือ “การโพสต์สถานะ” ที่สามารถ

แสดงความคดิ เห็นความร้สู ึกผ่านตวั อักษร รูปภาพ ภาพเคล่อื นไหว ระบกุ จิ กรรม รวมท้ังสามารถระบุ
ตาแหน่งของสถานที่ (Check-in) และสถานะท่ีได้รับการโพสต์ออกไป กลุ่มผู้รับสาร สามารถส่ง
ปฏิกิริยาสะท้อนกลับผ่านคุณสมบัติหลักของ Facebook คือ การกดไลค์ (Like) หรือการกดถูกใจ
ซ่ึงเป็นการแสดงออก ว่าเห็นด้วยหรือช่ืนชอบกับโพสต์นั้น นอกจากนี้ยังสามารถพิมพ์ข้อความแสดง
ความคดิ เหน็ ตอบกลับโพสตน์ ัน้ ไดอ้ กี ด้วย ดังรูปภาพที่ 36 และรูปภาพท่ี 37

รปู ภาพที่ 36 การโพสตส์ ถานะผ่าน Facebook

80

รูปภาพที่ 37 การกดถูกใจและการแสดงความคิดเหน็
นอกจากการสื่อสารให้ถูกต้องเหมาะสม ผู้ใช้ควรสามารถในการตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
ให้เหมาะสม เพื่อปกป้องข้อมูลส่วนบุคคลของตนเอง และเป็นการจากัดข้อมูลท่ีเป็นประเด็นส่วนตัว
ท่ีไม่ควรส่ือสารออกในลักษณะสาธารณะ เพ่ือเป็นการกาหนดผู้รับสารท่ีเหมาะสม เช่น เรื่องส่วนตัว
ท่ีต้องการจะแบ่งปันเฉพาะกลุ่มเพ่ือนที่สามารถเห็นข้อมูลที่ต้องการส่ือสาร โดย Facebook
ไดก้ าหนดระดบั ความเปน็ ส่วนตัว 3 ระดบั คอื

• สาธารณะเป็นการกาหนดวา่ ไมใ่ ครกต็ ามสามารถเห็นโพสต์ข้อความที่นาเสนอได้
• เพ่ือนเปน็ การกาหนดว่าเฉพาะ เพือ่ นใน Facebook เทา่ นน้ั ที่สามารถมองเหน็ โพสต์

ของเราได้
• เฉพาะฉันเป็นกาหนดให้เฉพาะตนเองเท่านั้นท่ีจะเห็นโพสต์ นั่นคือ บุคคลอื่นไม่

สามารถเห็นโพสตน์ นั้ ได้
ดังนั้น ก่อนท่ีจะรับคาของเป็นเพื่อนบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ Facebook ควรมีการ
พจิ ารณาระดบั ความสมั พนั ธข์ องบุคคลน้นั เพอ่ื เปน็ การคดั กรองกลมุ่ ผรู้ บั สาร ไม่ควรตอบรบั คาขอเป็น
เพ่ือนจากบคุ คลที่ไมร่ ูจ้ กั รวมท้งั บุคคลท่ีใช้บญั ชีการแอบอ้างชือ่ บุคคลอื่น ดังรูปภาพท่ี 38

รปู ภาพที่ 38 การกาหนดกล่มุ ผู้รับสาร (ผูท้ ่ีสามารถมองเห็นโพสต์)
นอกจากการโพสต์สถานะแล้ว Facebook ยังมีคุณสมบัติในการสนทนา (Facebook
Messenger) ทส่ี ามารถใชส้ นทนาสว่ นบุคคลหรอื สรา้ งกลุม่ สนทนากับเพือ่ นใน Facebook ได้อีกด้วย
การส่ือสารด้วย Twitter เป็นช่องทางการส่ือสารออนไลน์ท่ีมีความรวดเร็ว สามารถสร้าง
กระแสของข้อมูลสารสารได้อย่างรวดเร็วผ่านการ Tweet (ทวีต) และ Retweet (รีทวีต) ท่ีเป็น
การแบ่งปันข้อมูลนี้ไปสู่บุคคลอื่นบนแพลตฟอร์ม Twitter ซ่ึงเราสามารถกาหนดว่าจะติดตาม


Click to View FlipBook Version