The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเข้าใจดิจิทัลกับพลเมืองไทย ในศตวรรษที

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by puttachart, 2022-03-23 04:54:31

การเข้าใจดิจิทัลกับพลเมืองไทย ในศตวรรษที

การเข้าใจดิจิทัลกับพลเมืองไทย ในศตวรรษที

ช่อื หนงั สอื : การเข้าใจดิจิทลั กบั พลเมืองไทย (Digital Literacy in 21st)
Digital Literacy for Thai Citizenship in 21st

ฉบับปรบั ปรุงใหม่

ช่อื ผแู้ ต่ง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาภรณ์ เกียรติสิน
ผู้รับผดิ ชอบจัดการพิมพ์ : ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สภุ าภรณ์ เกยี รตสิ ิน
เลขท่ี 25/25 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล
จังหวัดนครปฐม 73170
เบอรโ์ ทรศพั ท์ : 02-889-2138 ต่อ 6302 , 6312

ข้อมูลบรรณานกุ รมของสานักหอสมดุ แห่งชาติ
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุภาภรณ์ เกียรติสนิ . การเข้าใจดจิ ิทัลกับพลเมืองไทย (Digital Literacy in
21st). นนทบุรี : มหาวิทยาลยั มหดิ ล, 2562, 230 หน้า

ISBN: 978-616-485-859-6

สงวนสิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก จัดพมิ พ์ หรือทาซ้ารวมทงั้ ดัดแปลงเปน็ สอื่ อืน่ ๆ
ก่อนได้รบั อนญุ าต

พมิ พ์คร้งั ท่ี 1 : มีนาคม 2561 จานวนพิมพ์ : 100 เล่ม
พมิ พค์ รงั้ ที่ 2 :
พิมพ์คร้งั ท่ี 3 : พฤษภาคม 2562 จานวนพิมพ์ : 200 เล่ม
จดั พมิ พ์ที่ :
สงิ หาคม 2563 จานวนพิมพ์ : 200 เล่ม

บรษิ ัท อพั ทรูยู ครีเอทนิว จากัด

48/84 ถ.บางกรวย-ไทรน้อย ต.บางกร่าง อ.เมืองนนทบุรี จ.นนทบุรี

11000 โทรศัพท์ 02-964-8484

ii

Change Management Control

- Index
- Chapter 12 สถานภาพ อา้ งองิ จาก Framework
- Chapter I,II (Group) จัดทา Framwork Goal Output Comparison Internation

Model
- Chapter 2-10 Revise Content
- Chapter 10 เพมิ่ พ.ร.บ. ไซเบอร์ และคุ้มครองข้อมลู สว่ นบุคคล

- Chapter 11 Update ผลการสารวจสถานะภาพการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื และสารสนเทศปี 2564

หน้า ii

i

ปจั จุบนั นเ้ี ราทกุ คนลว้ นอยใู่ นยคุ ของโลกดจิ ทิ ัล เกิดจากการเปลย่ี นแปลง
เทคโนโลยีอย่างรวดเรว็ บนอนิ เทอรเ์ นต็ จงึ สง่ ผลให้เกิดเหตกุ ารณต์ รงขา้ ม
กบั อดีต ไม่มีอีกแลว้ คาวา่ ปลาใหญก่ ินปลาเล็ก เพราะอนิ เทอร์เน็ตก่อใหเ้ กิด
โลกไรพ้ รมแดน ซ่งึ มาพรอ้ มเทคโนโลยดี จิ ิทัลทีเ่ ปลยี่ นโลกอย่างฉบั พลนั
ทาใหก้ ารอยูร่ อดในชีวติ ประจาวันซับซอ้ นมากขึ้น การใช้ชวี ติ แปรเปลยี่ นไป
เราสัมผสั และผกู ติดกับดจิ ิทลั ทุกเวลามานานมาก ดังน้นั การทีจ่ ะอยไู่ ดใ้ น

โลกใบนห้ี รือพาสงั คมไทยไปสยู่ ุคไทยแลนด์ 4.0 นนั้ การเข้าใจดิจิทลั
(Digital Literacy) จงึ เปน็ เรื่องสาคญั มาก ในศตวรรษที่ 21 ท่ีจะถึงนี้

เราพร้อม แคไ่ หนและเราเขา้ ใจ
เกยี่ วกับการเปลย่ี นผา่ น
นี้ดแี ล้วหรือยัง?

โลกดิจทิ ัล กาลงั เปลย่ี น “คณุ ”



i

คำนำ
(พมิ พค์ ร้ังที่ 1)

โลกาภิวัตน์ท่ีเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว นวัตกรรมที่เกิดขึ้นใหม่ถูกผลักดันจากเทคโนโลยี
ดิจิทัล ทาให้เกิดความสะดวกสบาย เพิ่มประสิทธิภาพกิจกรรมในชีวิตประจาวันที่มากข้ึน อย่างไรก็ดี
การที่จะใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพน้ัน ประชาชนจาเป็นที่จะต้องเรียนรู้แนวทางการใช้งาน
เทคโนโลยีดิจิทัลที่ถูกต้องและเหมาะสม สาหรับประเทศไทยที่มีนโยบายยุคไทยแลนด์ 4.0 นั้น
จัดเป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบาย ที่เปลี่ยนเศรษฐกิจแบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
โครงสรา้ งของเทคโนโลยีดจิ ิทัลจะเป็นปจั จัยแห่งความสาเร็จ เราจะก้าวข้ามผ่านกับดักประเทศรายได้
ปานกลางไปสู่รายได้สูง ในยุคไทยแลนด์ 4.0 ได้ก็ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่าย เพ่ือพัฒนา
ประเทศไปสู่เป้าหมายให้ได้ ทั้งหมดนี้การพัฒนาประเทศจะยั่งยืนได้ต้องหวังกับประชาชนให้มี
สมรรถนะด้านดิจิทัล แต่สุดท้ายพ้ืนฐานของการพัฒนาคนในยุคดิจิทัลคือ การเข้าใจดิจิทัล (Digital
Literacy)

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในความเป็นอยู่ของ
ประชาชน จึงได้ทางานร่วมกับทีมปรึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในโครงการ
กิจกรรมศึกษาวิเคราะห์กรอบแนวทางการพัฒนา ทักษะดิจิทัลเบื้องต้น (Digital Literacy) สาหรับ
ประชาชนทุกกลมุ่ วัยที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย ภายใต้โครงการส่งเสริมการใช้ดิจิทัลอย่าง
สร้างสรรค์และรับผิดชอบต่อสังคม สรุปสถานภาพปัจจุบันและการส่งเสริมการเข้าใจดิจิทัล (Digital
Literacy) มีการจัดทาหลักสูตรการเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy Curriculum) ทั้ง 9 มิติ
แนวทางการพัฒนาและสง่ เสริมการเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy)

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สภุ าภรณ์ เกยี รติสนิ
มนี าคม 2561

ii

คำนำ

(พมิ พ์คร้งั ท่ี 2)

หนังสือ “การเข้าใจดิจิทัลกับพลเมืองไทย (Digital Literacy in 21st)” เล่มน้ี ถูกจัดพิมพ์ขึ้น
เป็นครั้งท่ี 2 สืบเน่ืองจากปี พ.ศ. 2559 กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ได้เล็งเห็นถึง
ความสาคัญในความเป็นอยู่ของประชาชน จึงได้พัฒนาโครงการศึกษาวิเคราะห์กรอบแนวทางการ
พฒั นา ทกั ษะดจิ ทิ ลั เบื้องต้น (Digital Literacy) สาหรบั ประชาชนทกุ กลมุ่ วัยท่เี หมาะสมกบั บรบิ ทของ
ประเทศไทย ร่วมกับท่ีปรึกษา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล ภายใตโ้ ครงการส่งเสริมการ
ใช้ดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์และรับผิดชอบต่อสังคม ผลลัพธ์ของโครงการในภาพรวมสามารถส่งเสริมให้
รัฐบาลตระหนักเห็นถึงความสาคัญกับประชาชนไทย จึงได้จัดพิพม์หนังสือ “การเข้าใจดิจิทัลกับ
พลเมืองไทย (Digital Literacy in 21st) Digital Literacy for Thai Citizenship in 21st” ข้ึนเป็น
ครั้งแรกเม่ือปี พ.ศ. 2561 แต่เน่ืองจากปัจจุบันเทคโนโลยีท่ีปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว ทาให้ต้องมีการ
ปรับเปลี่ยนหน่วยการเรียนใหท้ ันสมัยข้ึน ในฐานะหัวหน้าทีมท่ีปรึกษาโครงการจึงได้มีการปรับเน้อื หา
ในแต่ละบทเรียนของหนังสือที่จัดพิมพ์คร้ังแรกน้ีใหม่ โดยดาเนินการปรับหลักสูตรการเข้าใจดิจิทัล
ของประเทศไทยและเพ่ิมบทการสารวจวิเคราะห์การเข้าใจดิจิทัลของประชาชนไทย เพ่ือต้องการให้
เจา้ หนา้ ที่ของรฐั และประชาชนจากทกุ ภาคส่วนไดต้ ระหนักถึงภาพรวมการพฒั นายกระดบั ความรอบรู้
ด้านดิจิทลั ของประเทศ

จุดมุ่งหมายสาคญั ในการปรบั ปรงุ เนอ้ื หาในหนังสอื “การเขา้ ใจดจิ ทิ ลั กับพลเมอื งไทย (Digital
Literacy in 21st) สาหรับยุคดิจิทัล ในปี พ.ศ. 2562” เพ่ือความทันสมัยสาหรับยุคดิจิทัล ตระหนักถึง
ความสาคัญในการส่งเสริมและพัฒนาให้เกิดการเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy) เพื่อรองรับการ
ขับเคล่ือนเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลของรัฐบาล ท่ีประกอบด้วยกิจกรรมจัดทาแผนการพัฒนา
Digital Literacy เพอ่ื กาหนดทิศทางการดาเนินงานกจิ กรรม/โครงการให้เกิดการบูรณาการเช่ือมโยงข้าม
หน่วยงานท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน การจัดเก็บข้อมูล Baseline ด้าน Digital Literacy
ของประเทศ เพื่อเป็นฐานข้อมูลหลักในการวางแผนและกาหนดทิศทางในการพัฒนาความรู้ ทักษะ และ
ทัศนคติทางด้านดิจิทัลแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทีมที่ปรึกษาได้ดาเนินการ
ทาการสารวจการเข้าใจดิจิทัลเพื่อนามาเป็นแนวทางการขับเคล่ือนการพัฒนา Digital Literacy
(Roadmap) พัฒนากลไกและมาตรการพัฒนาให้เกิด Digital Literacy ที่เหมาะสมและท่ัวถึงสาหรับ
ประชาชนไทยทุกกลุ่ม แล้วเรียบเรียงไว้ในหนังสือเล่มน้ีพร้อมหลักฐานเชิงประจักษ์ในบริบทของ
ประเทศไทยเพ่อื พฒั นาส่พู ลเมืองดจิ ทิ ลั ในอนาคต

หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายให้เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนจากทุกภาคส่วน ได้เข้าใจ
องค์ประกอบของการเข้าใจดิจิทัล มั่นใจที่จะก้าวเข้าสู่สังคมท่ีขับเคล่ือนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล และ
พร้อมท่ีจะเป็นพลเมืองดิจิทัลของประเทศ โดยมีเน้ือหาหลักตามกรอบการเข้าใจดิจิทัล กระทรวง
ดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ประกอบดว้ ย 9 มิตเิ หมอื นเดิม เชน่ สทิ ธแิ ละความรับผิดชอบ
ในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล รูปแบบการเข้าถึงส่ือและประเภทของสื่อดิจิทัล การสื่อสารยุคดิจิทัล การ
รกั ษาความปลอดภยั ต่อตนเอง การรเู้ ทา่ ทนั ส่อื และสารสนเทศ มารยาทและข้อควรปฏิบตั ิในการเข้าสู่
สังคมดิจิทัลเพื่อพัฒนาสังคมดิจิทัลที่มีคุณภาพ การสร้างสุขภาวะท่ีดีในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ทั้ง

iii

ทางด้านจิตใจ และทางด้านกายภาพ พร้อมนาความรู้มาสู่การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีพาณิชย์
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ทใ่ี กล้ตวั มากข้นึ และเป็นไปตามกฎ ระเบียบ กฎหมาย และขอ้ ตกลงต่าง ๆ ที่เกย่ี วข้อง
กับดิจิทัล ซึ่งเป็นสิ่งท่ีสาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาตนเองสู่การเป็นพลเมืองดิจิทัล ตลอดจนผู้เขียนได้
สอดแทรกเคล็ดลับในการกระตุ้นการเรียนรู้ โดยเฉพาะส่ิงที่สาคัญที่จะสามารถพัฒนาผู้อ่านให้มี
สมรรถนะทางด้านดิจิทัลอย่างครบถ้วนได้ โดยหนังสือเล่มน้ีแบ่งเนื้อหาออกเป็น 12 บท โดยบทแรก
เก่ียวกับ ความหมาย นิยามของการเข้าใจดิจิทัล บทที่ 2 เกี่ยวกับเนื้อหาการวิเคราะห์ และได้มาซึ่ง
หลักสูตรการเข้าใจดิจิทัลทง้ั 9 หนว่ ย สว่ นบทท่ี 3 ถงึ บทท่ี 11 จะเป็นเน้อื หารการเรียนรู้ท้ัง 9 หนว่ ย
และบทที่ 12 เนอ้ื หาภาพรวมของการประเมินการเขา้ ใจดิจิทัลของประเทศ ทัง้ 9 ดา้ น ดงั นัน้ หนงั สือ
เล่มน้ีนอกจากจะเหมาะสมกับประชาชนทุกคนท่ีใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเปน็ พื้นฐานในการดารงชีวิต หรือ
แนวทางในการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้งานในชีวิตประจาวันของประชาชนกลุ่มต่าง ๆ เช่น กลุ่ม
เยาวชน กลุม่ วัยทางาน กลุม่ ผู้ดอ้ ยโอกาส และกลุม่ ผู้สงู อายุ อกี ทั้งเน้ือหายังครอบคลุมประเด็นสาคัญ
สาหรับนักวิจัยที่จะนาเนื้อหา ข้อมูล และหลักการมาดาเนินการวิจัยเรื่องการเข้าใจดิจิทัลต่อไป และ
ด้วยเน้ือหาที่เปิดกว้างสาหรบั การเรียนรพู้ ัฒนาต่อยอดทักษะ และความสมรรถนะทางด้านดิจิทัลของ
ผู้อ่านได้ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะมีบทบาทสาคัญในการสนับสนุนให้เกิดการพัฒนา
ตนเองสู่การเป็นพลเมอื งดิจิทัลที่มีประสทิ ธภิ าพและเปน็ พลงั ท่ียิ่งใหญ่ในการพัฒนาประเทศชาตอิ ยา่ ง
ย่ังยนื ในโลกยคุ ดิจทิ ลั

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สภุ าภรณ์ เกยี รตสิ นิ
พฤษภาคม 2562

iv

สำรบญั

หนา้

คานา (พิมพค์ รั้งที่ 1) .................................................................................................i
คานา (พมิ พค์ รัง้ ท่ี 2) ................................................................................................ii
สารบัญ .....................................................................................................................iv
สารบัญรูปภาพ.........................................................................................................vii
สารบัญตาราง............................................................................................................xi
บทที่ 1 การพัฒนาดา้ นการเข้าใจดิจทิ ัล (Digital Literacy)...................................... 1

1.1 ความหมายของการเข้าใจ (Literacy).....................................................................................5
1.2 นิยามและหลกั เกณฑข์ องการเข้าใจดจิ ิทัล (Digital Literacy)................................................9
1.3 การพัฒนาหลักสตู รการเข้าใจดิจทิ ลั สาหรบั ประเทศไทย ......................................................15
1.4 สรปุ .....................................................................................................................................21
1.5 เอกสารอา้ งอิง......................................................................................................................22

บทที่ 2 สทิ ธแิ ละความรับผิดชอบ ............................................................................ 26

2.1 คาจากัดความสทิ ธิและเสรภี าพ............................................................................................26
2.2 ความเขา้ ใจในเรอ่ื งสิทธิ เสรภี าพ ของพลเมืองดจิ ิทัล ............................................................29
2.3 การเขา้ ใจความรับผิดชอบในโลกออนไลน์............................................................................31
2.4 แนวโน้มการใช้สอ่ื สังคม (Social Media) ในปจั จบุ นั ...........................................................36
2.5 ปัญหาและผลกระทบจากการเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพ่ือการส่อื สาร .............................................37
2.6 ผลการวเิ คราะหก์ ารประยกุ ต์สทิ ธแิ ละความรบั ผดิ ชอบที่ใชก้ ับชวี ติ ประจาวนั .......................40
2.7 สรปุ .....................................................................................................................................42
2.8 เอกสารอ้างอิง......................................................................................................................43

บทที่ 3 การเข้าถงึ สอื่ ดจิ ิทลั ..................................................................................... 46

3.1 การเช่ือมต่อ.........................................................................................................................46
3.2 เข้าใจส่อื ดจิ ิทลั .....................................................................................................................51
3.3 สอื่ ดจิ ิทัลชนดิ ต่างๆ ..............................................................................................................52
3.4 การสบื คน้ ข้อมูล...................................................................................................................64
3.5 ผลการวเิ คราะหก์ ารประยุกต์การเขา้ ถงึ ส่ือดิจทิ ัลใช้กับชีวติ ประจาวนั ...................................70
3.6 สรปุ .....................................................................................................................................71
3.7 เอกสารอ้างอิง......................................................................................................................72

บทที่ 4 การส่ือสารยคุ ดิจิทัล .................................................................................... 74

4.1 พืน้ ฐานการสอื่ สาร ...............................................................................................................74
4.2 ลักษณะการสือ่ สารยคุ ดิจิทลั ................................................................................................78
4.3 แนวทางการสื่อสารยุคดิจิทัลเพื่อส่ือสารให้ได้ความหมายและสร้างคุณค่า ............................84
4.4 การสื่อสารยุคดิจิทัลใหป้ ลอดภัย ..........................................................................................84

v

สำรบญั (ตอ่ )

หนา้
4.5 การจัดการปัญหาการสื่อสารยุคดิจิทัล ................................................................................. 85
4.6 ผลการวเิ คราะหก์ ารประยกุ ต์การสื่อสารยคุ ดจิ ิทัลในชีวิตประจาวนั ..................................... 86
4.7 สรุป..................................................................................................................................... 88
4.8 เอกสารอา้ งอิง ..................................................................................................................... 89

บทท่ี 5 ความปลอดภัยยคุ ดจิ ทิ ลั ...............................................................................92

5.1 ความม่นั คง (Security) กับ ความเป็นสว่ นตวั (Privacy) ..................................................... 92
5.2 ความเป็นสว่ นตัว ................................................................................................................. 93
5.3 ความปลอดภัย .................................................................................................................... 96
5.4 ผลการวเิ คราะห์การประยกุ ต์ความปลอดภยั ยคุ ดิจทิ ัลใช้กับชีวติ ประจาวนั ........................103
5.5 สรปุ ...................................................................................................................................105
5.6 เอกสารอ้างอิง ...................................................................................................................106

บทที่ 6 การรเู้ ทา่ ทันสื่อและสารสนเทศ...................................................................110

6.1 หลักการพนื้ ฐานของส่ือและผใู้ หเ้ ผยแพรส่ ่ือ.......................................................................110
6.2 ประเภทของสอื่ .................................................................................................................111
6.3 ภาษาของส่อื .................................................................................................................112
6.4 ความเป็นมาของการรเู้ ทา่ ทันส่อื และสารสนเทศ (MIL – Media and Information Literacy)

..................................................................................................................................... 113
6.5 แนวคดิ การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ......................................................................................................116
6.6 ผลการวเิ คราะห์การประยกุ ต์การรูเ้ ท่าทันสื่อและสารสนเทศใช้กับชีวิตประจาวัน ..............123
6.7 สรปุ ...................................................................................................................................124
6.8 เอกสารอา้ งอิง ...................................................................................................................125

บทท่ี 7 แนวปฏบิ ัติในสงั คมดจิ ทิ ัล ..........................................................................128

7.1 แนวปฏิบตั ิ.........................................................................................................................128
7.2 การกลั่นแกล้ง (Bullying)..................................................................................................136
7.3 ผลการวเิ คราะห์การประยกุ ต์แนวปฏบิ ตั ใิ นสังคมดิจทิ ลั ใช้กบั ชวี ิตประจาวัน ......................146
7.4 สรปุ ...................................................................................................................................147
7.5 เอกสารอ้างอิง ...................................................................................................................148

บทที่ 8 สุขภาพดียคุ ดจิ ิทลั .....................................................................................152

8.1 ปจั จัยเสย่ี งท่ีเกดิ ทาให้เกิดปญั หาสขุ ภาพ............................................................................152
8.2 สขุ ภาพ (กาย) ดียุคดิจทิ ลั ..................................................................................................153
8.3 สขุ ภาพ (จิต) ดี ยคุ ดิจิทัล ..................................................................................................157
8.4 ผลการวเิ คราะหก์ ารประยุกต์สขุ ภาพดยี ุคดจิ ิทลั ใช้กบั ชีวติ ประจาวนั .................................162
8.5 สรุป...................................................................................................................................163

vi

สำรบญั (ตอ่ )

หนา้
8.6 เอกสารอา้ งอิง................................................................................................................... 164

บทท่ี 9 ดิจิทลั คอมเมิรซ์ .........................................................................................167

9.1 ดิจทิ ัลคอมเมิร์ซ (Digital Commerce หรือ e-Commerce)............................................ 167
9.2 ขั้นตอนการซอ้ื สินคา้ ในดิจิทลั คอมเมริ ซ์ ............................................................................ 168
9.3 การสร้างรา้ นคา้ ในดจิ ิทลั คอมเมิร์ซ.................................................................................... 170
9.4 กฎระเบียบและกฎหมายทเ่ี กีย่ วกบั พาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ บ้อื งตน้ .................................... 173
9.5 ผลการวเิ คราะห์การประยุกต์ใชด้ ิจิทัลคอมเมิรซ์ กบั การใชช้ วี ติ ประจาวัน........................... 174
9.6 สรปุ .................................................................................................................................. 175
9.7 เอกสารอา้ งอิง................................................................................................................... 176

บทท่ี 10 กฎหมายดจิ ทิ ัล........................................................................................178

10.1 กฎหมายดิจิทัล ............................................................................................................... 178
10.2 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และท่ีแก้ไข

เพม่ิ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560..................................................................................... 179
10.3 พระราชบัญญตั กิ ารรักษาความมน่ั คงปลอดภยั ไซเบอร์ พ.ศ. 2562................................. 187
10.4 พระราชบัญญตั คิ ุม้ ครองข้อมูลสว่ นบคุ คล พ.ศ. 2562 ..................................................... 189
10.5 พระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. 2537 และเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 และเพ่ิมเติม (ฉบับ

ท่ี 3) พ.ศ. 2558 และเพ่มิ เติม (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2561 ................................................... 190
10.6 ผลการวเิ คราะห์การประยกุ ต์กฎหมายดจิ ทิ ัลกับการใช้ชีวิตประจาวัน ............................. 196
10.7 สรุป ................................................................................................................................ 196
10.8 เอกสารอา้ งอิง................................................................................................................. 199

บทที่ 11 วเิ คราะหส์ ถานภาพการเข้าใจดจิ ทิ ัลของประเทศไทย...............................202

11.1 กรอบแนวทางการสารวจสถานภาพ................................................................................ 202
11.2 ผลการวิเคราะหส์ ถานภาพการเข้าใจดจิ ิทัลของประเทศไทย ........................................... 204
11.3 สรปุ ผลการสารวจ วิเคราะห์ และประเมินสถานภาพการเข้าใจดิจิทลั ของประเทศไทย.... 208
11.4 แนวทางการพัฒนาการเขา้ ใจดิจทิ ลั (Digital Literacy) .................................................. 208
11.5 สรปุ ................................................................................................................................ 211
11.6 เอกสารอา้ งองิ ................................................................................................................. 211

ภาคผนวก ก ชดุ ทดสอบสมรรถนะการเขา้ ใจดิจทิ ัล................................................213
ภาคผนวก ข สื่อและช่องทางพฒั นาการเขา้ ใจดิจิทลั .............................................221
ภาคผนวก ค เฉลยแบบประเมนิ การเขา้ ใจ.............................................................227
ดรรชนี ..................................................................................................................231

vii

สำรบัญรปู ภำพ

หน้า

รปู ภาพที่ 1 การเปรียบเทียบเทคโนโลยกี ารสือ่ สารระหวา่ งอดีตกบั ปจั จบุ ัน ...................................... 2
รูปภาพท่ี 2 กรอบแนวคดิ เพ่ือการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 .................................................................. 4
รปู ภาพที่ 3 ความสัมพนั ธข์ อง COMPETENCE และ LITERACY ............................................................... 5
รูปภาพที่ 4 องคป์ ระกอบของ COMPETENCE ...................................................................................... 6
รปู ภาพที่ 5 ความหมายของ ABILITY และ PROFICIENCY ...................................................................... 7
รปู ภาพที่ 6 องค์ประกอบของ COMPETENCY ท่ีทาใหเ้ กิดการเข้าใจ (LITERACY) ................................... 8
รูปภาพที่ 7 นยิ ามของคาว่า DIGITAL LITERACY ................................................................................. 10
รูปภาพที่ 8 แบบจาลองของ KSA ................................................................................................... 11
รปู ภาพท่ี 9 กรอบการพฒั นาทักษะและความสามารถ..................................................................... 11
รปู ภาพท่ี 10 การยกระดบั ของสมรรถนะ......................................................................................... 12
รปู ภาพที่ 11 แสดงระดับความชัดเจน และระดบั ความแนน่ อน........................................................ 13
รปู ภาพท่ี 12 นยิ าม LITERACY โดยใช้ แบบจาลอง 4 สถานะของสมรรถนะและการใชส้ ติ ................. 14
รูปภาพที่ 13 กระบวนการจัดทาหลกั สูตรความเขา้ ใจดจิ ทิ ลั ............................................................ 16
รปู ภาพท่ี 14 หลักสตู รความเขา้ ใจดิจทิ ัล (DIGITAL LITERACY) ปี พ.ศ. 2559...................................... 17
รูปภาพท่ี 15 หลักสูตรความเขา้ ใจดิจทิ ลั (DIGITAL LITERACY) ปี พ.ศ. 2562...................................... 19
รปู ภาพท่ี 16 อัตราการใช้ส่อื สังคม (SOCIAL MEDIA) ท่วั โลก เดือนมกราคาคม 2561 ........................ 36
รูปภาพท่ี 17 ตัวอยา่ งผูช้ ่วยส่วนตวั GOOGLE ASSISTANT ทใ่ี ชร้ ะบบรู้จาเสยี ง .................................... 53
รูปภาพท่ี 18 ตัวอยา่ งหน้าจอของ ITUNES STORE............................................................................. 54
รปู ภาพที่ 19 ตวั อยา่ งบริการสตรมี มิง่ เพลงออนไลน์ SPOTIFY........................................................... 55
รปู ภาพที่ 20 ตัวอย่างโปรแกรมตดั ตอ่ วิดีโอ ADOBE PREMIERE PRO .................................................. 56
รปู ภาพที่ 21 ตวั อยา่ งบริการวิดโี อดิจทิ ลั PRIME VIDEO..................................................................... 57
รูปภาพท่ี 22 ตัวอย่างบริการถา่ ยทอดสดการเล่นเกมออนไลน์ TWITCH............................................ 58
รปู ภาพที่ 23 ตวั อย่างหนา้ ร้านคา้ หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ AMAZON KINDLE........................................ 59
รูปภาพท่ี 24 ตัวอยา่ งบรกิ ารจดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ ....................................................................... 60
รปู ภาพท่ี 25 ตัวอยา่ งระบบส่งข้อความทนั ใจ LINE.......................................................................... 61
รปู ภาพที่ 26 ระบบโทรทางอินเทอร์เนต็ SKYPE................................................................................ 62
รูปภาพที่ 27 ระบบ VIDEO CONFERENCE ของ GOOGLE HANGOUTS MEET......................................... 63
รูปภาพท่ี 28 แสดงถงึ GOOGLE บริการการคน้ หาทางอินเทอรเ์ นต็ ................................................... 64

viii

สารบัญรปู ภาพ (ตอ่ )

หน้า

รปู ภาพที่ 29 หนา้ จอของแอปพลิเคชัน GOOGLE MAPS บน IOS และ ANDROID ................................67
รปู ภาพที่ 30 หน้าตาของระบบการคน้ หาสถานทีข่ อง GOOGLE MAPS...............................................68
รปู ภาพที่ 31 หน้าจอของผลการคน้ หาสถานที่ใน GOOGLE MAPS .....................................................69
รูปภาพที่ 32 หนา้ จอการปรับรปู แบบแผนทีใ่ น GOOGLE MAPS.........................................................69
รปู ภาพที่ 33 สดั สว่ นการใช้งานส่อื ดิจทิ ัลในประเทศไทย พ.ศ. 2561 ................................................70
รปู ภาพท่ี 34 องค์ประกอบหลักของกระบวนการสอ่ื สาร...................................................................75
รปู ภาพท่ี 35 โครงสร้างรูปแบบการสอ่ื สาร ......................................................................................77
รปู ภาพที่ 36 การโพสต์สถานะผ่าน FACEBOOK.................................................................................79
รปู ภาพท่ี 37 การกดถกู ใจและการแสดงความคิดเห็น.......................................................................80
รปู ภาพที่ 38 การกาหนดกล่มุ ผู้รบั สาร (ผู้ทีส่ ามารถมองเหน็ โพสต์)...................................................80
รปู ภาพท่ี 39 การทวตี (TWEET) ........................................................................................................81
รปู ภาพที่ 40 การแสดงความคดิ เห็น การถกู ใจ การรีทวีต.................................................................81
รูปภาพท่ี 41 ตวั อย่างการส่ือสารด้วย INSTAGRAM.............................................................................82
รูปภาพท่ี 42 ตัวอย่างกระแส # ผา่ นทวีตเตอร์ .................................................................................83
รูปภาพท่ี 43 ตัวอยา่ งสต๊กิ เกอรจ์ ากแอปพลิเคชัน LINE.....................................................................83
รูปภาพท่ี 44 แสดงถงึ ADD-ON WOT ท่ใี ช้ในการตรวจคัดกรองเว็บไซต์ท่ีไม่นา่ เชื่อถอื ......................95
รูปภาพที่ 45 แสดงถึง ADD-ON PRIVACY BADGER ท่ีใชใ้ นการปอ้ งกนั การตดิ ตามรอยเทา้ ดิจทิ ลั .........96
รูปภาพที่ 46 แสดงถงึ แอปพลิเคชันพิสูจน์ตัวบุคคล MICROSOFT AUTHENTICATOR และ AUTHY ........97
รูปภาพท่ี 47 แอปพลิเคชันยนื ยนั ตวั ตนของ STEAM (ซ้าย) และ BATTLE.NET (ขวา) ...........................98
รปู ภาพที่ 48 ตวั อยา่ งกุญแจยืนยนั ตัวตนของ YUBIKEY .....................................................................98
รูปภาพท่ี 49 ตัวอยา่ งอีเมลหลอกลวงท่ีหลอกให้เชื่อว่าผ้ปู ระสงคร์ า้ ยได้เข้าไปเจาะข้อมูล.............. 101
รูปภาพท่ี 50 หนา้ ตาของ WINDOWS DEFENDER ............................................................................. 102
รปู ภาพท่ี 51 การรู้เทา่ ทนั สื่อและสารสนเทศ (MIL) เป็นแนวคิดแบบผสม ..................................... 113
รปู ภาพท่ี 52 กระบวนการคิดสังเคราะห์ ....................................................................................... 122
รูปภาพที่ 53 ตวั อยา่ งสญั ลกั ษณอ์ โิ มตคิ อน.................................................................................... 130
รูปภาพท่ี 54 ตัวอยา่ งสัญลักษณ์อโิ มจิ (EMOJI)............................................................................... 131
รูปภาพที่ 55 ตัวอยา่ งสติกเกอร์ (STICKER) ..................................................................................... 131
รูปภาพท่ี 56 ตวั อย่างภาพมมี (MEME)........................................................................................... 132

ix

สารบัญรูปภาพ (ตอ่ )

หน้า

รูปภาพท่ี 57 การสง่ ข้อความทลี ะพยางค์ไมจ่ บประโยค .................................................................135
รูปภาพท่ี 58 ลักษณะการนั่งทางานที่เหมาะสม.............................................................................154
รปู ภาพท่ี 59 สภาพแวดลอ้ มของการทางานท่ีเหมาะสม ................................................................155
รูปภาพที่ 60 แสดงการวางมือขณะพมิ พ์คอมพิวเตอร์....................................................................156
รปู ภาพที่ 61 แบบประเมนิ โรคซึมเศรา้ ออนไลน์.............................................................................161
รูปภาพท่ี 62 แสดงถึงหน้าเว็บไซตข์ องผู้ขายสนิ คา้ กบั ทาง AMAZON ของประเทศไทย....................171
รปู ภาพท่ี 63 แผนภูมิทรพั ยส์ ินทางปัญญา แบง่ เปน็ 7 ประเภท......................................................191
รปู ภาพที่ 64 ประเภทของทรัพย์สนิ ทางปญั ญา..............................................................................194
รปู ภาพที่ 65 “10 ขอ้ ควรระวังทไ่ี ม่ควรโพสต์ลงโซเชยี ล” ..............................................................197
รูปภาพท่ี 66 ประเภทของทรัพยส์ ินทางปัญญา..............................................................................198
รปู ภาพท่ี 67 แสดงเรดารก์ ราฟค่าระดับคะแนนของการเข้าใจดจิ ิทัล 9 มติ ิ....................................204
รูปภาพท่ี 68 ผลการสารจการเขา้ ใจดจิ ิทัลของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2562 .....................................206
รูปภาพที่ 69 ระดบั ชนั้ ของกรอบการประเมินผลการรู้เทา่ ทันสอ่ื และสารสนเทศ............................209
รปู ภาพที่ 70 ระดบั ขนั้ ท่ี 1 ความพร้อมของประเทศ .....................................................................209
รูปภาพที่ 71 ระดับข้นั ท่ี 2 สมรรถนะการเขา้ ใจดิจิทัล ..................................................................210
รปู ภาพที่ 72 ภาพองคป์ ระกอบของการเปน็ ของสมรรถนะของพลเมืองดิจทิ ัล ...............................211



xi

สำรบญั ตำรำง

หน้า
ตารางท่ี 1 หลกั สูตรการเขา้ ใจดจิ ทิ ัล พ.ศ. 2559 และ 2562 ............................................................ 18
ตารางที่ 2 ตารางเปรียบความแตกตา่ งขององค์ประกอบการสือ่ สาร ระหว่างส่ือด้ังเดมิ และสือ่ ใหม่ .. 34
ตารางที่ 3 การเปรียบเทียบลักษณะข้อเทจ็ จริง (FACT) และขอ้ คิดเหน็ (OPINION)............................. 85
ตารางที่ 4 ตัวอย่างข้อความท่ีเปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ และข้อคิดเห็น ............................................................ 85
ตารางที่ 5 ระดับของอาการ ออฟฟิศซินโดรม ................................................................................155
ตารางที่ 6 คาอธบิ ายระดับผลการประเมินการเข้าใจดิจิทัล (DIGITAL LITERACY) .............................207



1

2

บทที่ 1

การพัฒนาด้านการเขา้ ใจดจิ ิทัล
(Digital Literacy)

1

บทท่ี 1
กำรพัฒนำดำ้ นกำรเขำ้ ใจดิจทิ ัล (Digital Literacy)

การเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy) ในบทน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอการเรียนรู้พื้นฐาน
ความหมาย นิยามและหลักเกณฑ์ของการเข้าใจดิจิทัล เพ่ือให้ทราบถึงความสาคัญของการเข้าใจ
ดิจิทัลสาหรับประชาชนทุกกลุ่มวัยที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย การตื่นตัวในการนาการเข้าใจ
ดิจิทัลเข้ามาใช้กับการเรียนการสอน ก็ได้มีการรวมกลุ่มจากหน่วยงานต่าง ๆ ผลจากการรวมกลุ่ม
หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องของต่างประเทศนั้นทาให้เกิด ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 หรือ 21st
Century Skills ซ่ึงในปัจจุบัน ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ถือเป็นกรอบการศึกษาหลักของสากล
ประเทศส่วนใหญ่ใช้ในการจัดการศึกษาในสถานศึกษาต่าง ๆ เนื่องจาก ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ได้
รวมการเขา้ ใจและวธิ ีการคิดวิเคราะห์ที่เหมาะสมกับโลกอนาคตด้วย

เกือบศตวรรษนับตั้งแต่อินเทอร์เน็ตได้ถูกพัฒนาข้ึนจากการเกิดเครือข่าย ARPANET
(Advanced Research Project Agency NET) ในปี พ.ศ.25121 โดยวัตถปุ ระสงค์เพ่ือสร้างเครือข่าย
เช่ือมต่อกับคอมพิวเตอร์ให้สามารถส่งข้อมูลและเกิดการส่ือสารระหว่างกัน และได้มีการพัฒนา
เป็นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ท่ีสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้หลายด้าน ทั้งทางอุตสาหกรรม
ธุรกิจ การศึกษา ความบันเทิง ตลอดจนการใช้ชีวิตประจาวัน อีกท้ัง ยังเข้ามามีบทบาทและอิทธิพล
มากขึ้นกว่าในอดีตท่ีผ่านมา ยกตัวอย่างเช่น ในอดีต การส่ือสารทางไกลต้องผ่านทางโทรเลข
หรือไปรษณีย์ แต่ปัจจุบันเรามีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) ที่สามารถส่ือสารได้ทั้งข้อความ
ภาพถ่าย วิดีโอ โดยการแนบไฟล์ไปได้พร้อมกัน เป็นต้น กระบวนการระหว่างผู้รับส่ือกับผู้ส่งส่ือ
สามารถเช่ือมต่อกันได้อย่างไร้ขีดจากัด คนท่ัวทุกมุมโลกสามารถพูดคุยกันได้อย่างเรียลไทม์ (Real
Time) ซึ่งมีผลอย่างมากต่อการดาเนินชีวิตทางสังคมวิทยาของมนุษย์ ดังเช่นคาพูดของอดีต
ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา นายโรนัลด์ เรแกน ได้กล่าวถึงความสาคัญของข่าวสารไว้ว่า
“Information is the oxygen of the modern age” (Ronald Reagan: 1970) หมายความโดยนยั
คือ ข้อมลู ข่าวสารน้ันเทยี บได้กับอากาศที่มีความจาเป็นสาหรบั มนุษย์ในยุคสมัยใหม่ ซง่ึ เราไม่สามารถ
ขาดได้ ด้วยเพราะมนุษย์เป็นสัตว์สงั คมและต้องมีการติดต่อส่อื สารกนั อยู่ตลอดช่วงชีวิตที่เรามีอยู่ ด้วย
เหตนุ ้ี จุดเริ่มต้นของการมีเทคโนโลยีอนิ เทอร์เน็ต ไมใ่ ช่แคเ่ พยี งสญั ญาณท่ีเชือ่ มต่อจากคอมพิวเตอร์ตัว
หนึ่งไปยังคอมพิวเตอร์อีกตัวหน่ึงเพียงเท่าน้ัน แต่กลับเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมการดารงชีวิตของ
มนุษยชาตใิ นทกุ ๆ ด้านอยา่ งสิน้ เชงิ

เพ่อื เปรียบเทยี บให้เห็นภาพมากข้ึน เมอื่ ต้องการหาข้อมูลสาหรับทารายงานเรอ่ื งหนึ่ง สิง่ แรก
ท่ีต้องทาคือ เดินไปที่ห้องสมุดที่เป็นแหล่งรวบรวมความรู้มหาศาล แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะมีทุก
เร่ือง และบางครั้งหนังสืออาจถูกยืมไปโดยคนอ่ืน จึงทาให้ต้องรอยืมหนังสือเล่มน้ันต่อ การเปิด – ปิด
ห้องสมุดในเวลาราชการ และปิดให้บริการในวันหยุด วันหยุดนักขัตฤกษ์ ปัญหาการเข้าถึงแหล่ง
ค้นคว้าข้อมูลที่มีความเหล่ือมล้าขึ้นอยู่กับความเจริญของเมืองท่ีอาศัยอยู่ จึงไม่ใช่เร่ืองง่ายสาหรับ
การค้นคว้าหาข้อมูลสาหรับทารายงาน นอกเหนือจากน้ัน หากเป็นการหาข้อมูลท่ีไม่ใช่เชิงวิชาการ

1 Brief History of the Internet 1997. สบื ค้นเม่อื 20 เมษายน 2561, จาก https://www.internetsociety.org/wp-content/uploads/2017/09/ISOC-

History-of-the-Internet_1997.pdf

2

หรือไม่สามารถหาได้จากห้องสมุด เช่น สูตรอาหารโบราณตารับชาววัง หรือ การติดตามข่าวดารา
นกั แสดงท่ชี นื่ ชอบ เร่อื งเหล่านี้ อาจไมไ่ ดม้ อี ยู่ในฐานข้อมลู ของระบบหอ้ งสมดุ แตต่ อ้ งไปหาซ้อื หนังสือ
และนิตยสาร ตามร้านหนังสือทั่วไป ซึ่งทาให้เสียเวลาและเสียเงินเพิ่มข้ึน จึงทาให้การหาข้อมูลต่าง ๆ
ไม่สามารถทาได้อย่างปัจจุบันทันด่วน แต่ในปัจจุบัน แค่เพียงมีคอมพิวเตอร์ หรือ โทรศัพท์มือถือ
สมาร์ตโฟน ทสี่ ามารถเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตได้ ก็สามารถสืบคน้ ข้อมูลได้ ตง้ั แตห่ นงั สอื เรยี นหรือผลงาน
วิชาการ ไปจนถึงข่าวซุบซิบจากท่ัวทุกมุมโลกได้อย่างไร้ขีดจากัด แค่นั่งอยู่ในบ้านไม่ต้องออกไปไหน
ไม่มีคา่ ใช้จ่ายใดใดนอกเหนือจากคา่ บริการอนิ เทอร์เนต็ รายเดอื นเพียงเทา่ นั้น

รูปภาพท่ี 1 การเปรยี บเทียบเทคโนโลยีการสือ่ สารระหวา่ งอดตี กับปัจจบุ นั
(วาดโดยสุภาภรณ์ เกยี รติสิน)

จากรูปภาพท่ี 1 เป็นเพียงตัวอย่างการเปรียบเทียบของโลกอินเทอร์เน็ตท่ีเข้ามา
พลิกบทบาทการใช้ชีวิตประจาวันของมนุษย์ การผสมผสานกลมกลืนของวิถีชีวิตควบคู่ไปกับ
เทคโนโลยีดิจิทัล เป็นส่ิงท่ีชัดเจนของการเข้าสู่สังคมไร้พรมแดน ประเด็นเหล่าน้ีเป็นประเด็นที่เกิด
ขึ้นอยู่ท่ัวโลก จนกระทั่งเกิดกรอบการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning) โดย P212
ซึ่งทักษะท่ีสาคัญในการใช้ชีวิตและทางานในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
ทักษะสารสนเทศ ส่ือ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ และได้กาหนดขึ้นเพื่ออธิบายทักษะ ความรู้
และความชานาญของนักเรยี นท่ีต้องประสบความสาเรจ็ ท้ังในด้านการงานและการใชช้ วี ิตคือ จะต้องมี
การบูรณาการผสมผสานความรู้ ความสามารถ ทักษะพิเศษ ความถนัด และการตระหนักรู้เข้าไว้
ด้วยกัน (Framework for 21st Century Learning Definitions,2019)3 ซึ่งสาเหตุท่ีมีการเน้นไป
ท่ีสถาบันการศึกษาน้ัน เพราะเป็นแหล่งที่บ่มเพาะประชากรรุ่นถัดไปที่เป็นแรงงานสาคัญ
ในการขับเคลื่อนประเทศ การเรียนการสอนแบบในห้องเรียนแบบเดิมไม่เพียงพออีกต่อไป ประชากร
รุ่นใหม่ต้องมีทักษะเพิ่มเติม ที่สามารถใช้ชีวิตในโลกอนาคตที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ตลอดเวลา มีกฎกติกาใหม่หลายด้าน เช่น การปรับตัวทางเศรษฐกิจ ระเบียบด้านการค้า การลงทุน
การแกไ้ ขปัญหาทางส่ิงแวดล้อม ทม่ี ผี ลสัมพนั ธเ์ ชอ่ื มโยงในระดบั โลกร่วมกัน การเกดิ อุตสาหกรรมใหม่
ท่ีนาหุ่นยนต์และเทคโนโลยีมาใช้แทนมนุษย์ ส่งผลต่ออาชีพที่เกิดใหม่ และอาชีพที่ใกล้จะสูญหายไป
ในอนาคต โดยเฉพาะอาชีพที่มีกระบวนการทางานเชิงระบบ เป็นกลไกเดิม ๆ และไม่ได้สร้างสิ่งใหม่

2 P21 ยอ่ มาจาก the Partnership for 21st Century Learning
3 Framework for 21st Century Learning Definitions, Partnership for 21st Century Learning A Network of Battlle for Kids, 2018.

3

จะถูกทดแทนด้วยเทคโนโลยีอัจฉริยะ (Artificial Intelligence) อัตราการตกงานมีเพ่ิมสูงขึ้น
หากไม่สามารถทางานร่วมกันกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ท่ีเข้ามามีบทบาทในแทบทุกสายงานอาชีพ
รวมทงั้ การดาเนนิ ชีวิตในประจาวนั

ด้วยเหตุน้ีเองประเทศสหรัฐอเมริกา นาโดยสมาคมห้องสมุดอเมริกา ได้ริเริ่มการพัฒนา
การเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy) ตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ.2533 โดยมีจุดมุ่งหมายให้นักวิจัย นักศึกษา
สามารถนาข้อมูลไปวิเคราะห์และประเมินข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เพ่ือนาไปใช้วิจัยต่อไป ต่อมา
สื่อชนิดใหม่ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ ท่ีมีความแตกต่างจากหนังสือ ได้มีการแพร่หลายมากข้ึน ทาให้เป็น
จุดเร่ิมต้นของการต่ืนตัวของประชาชนในการบริโภคส่ือรูปแบบใหม่ จึงทาให้เกิดการศึกษาเร่ืองการ
เขา้ ใจสือ่ หรอื Media Literacy กันอย่างมาก จนกระทัง่ เกิดเทคโนโลยใี หม่ทเี่ รยี กวา่ “คอมพิวเตอร์”
(Computer) และเร่ิมนามาใช้งานในทางธุรกิจทั่วไป ซึ่งการใช้งานคอมพิวเตอร์มีความจาเป็น
ต้องมีการเข้าใจและมีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ จึงทาให้เกิดการพัฒนาเป็นการเข้าใจสารสนเทศ
หรือ ICT Literacy และต่อมาในช่วงปี พ.ศ.2543 อุปกรณ์ดิจิทัล รวมถึงอินเทอร์เน็ต เริ่มมีการ
นามาใช้อย่างแพร่หลาย นอกเหนือจากการใช้งานเชิงธุรกิจ เป็นเหตุให้มีการพัฒนาเป็น “การเข้าใจ
ดิจิทัล” หรือ Digital Literacy โดยมีประเทศอเมริกาเป็นประเทศแรกท่ีเริ่มมีการสนับสนุนให้มีการ
สอนเพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับด้านนีใ้ นหนว่ ยงานการศึกษาตา่ ง ๆ กอ่ ใหเ้ กิดการรวมกลุ่มจาก
หน่วยงานและบริษัทเอกชนต่าง ๆ ท่ัวอเมริกาทาให้เกิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 หรือ 21st Century
Skills หมายถงึ กล่มุ ความรู้ ทักษะ และนิสัยการทางานที่เชอื่ ว่ามีความสาคญั ยิ่งต่อความสาเรจ็ ในการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต4 ซ่ึงต่อมาได้กลายเป็นกรอบการศึกษาหลักท่ีนานาประเทศใช้ในการจัดการศึกษา
ในสถานศึกษาต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กับเร่ืองสะเต็มศึกษา (Science Technology Engineering
and Mathematics Education: STEM Education)5 เป็นแนวทางการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้และสามารถบูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรม
และคณิตศาสตร์ ไปใช้ในการเชื่อมโยงและแก้ปัญหา ในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการ
หรอื ผลผลติ ใหมค่ วบคู่ไปกับการพฒั นาทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ตามรูปภาพที่ 2

4 ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 บัญญัตเิ มื่อวนั ที่ 27 สิงหาคม 2557 สานกั งานราชบณั ฑิตยสภา
5 ภทั รพล สเุ มธลกั ษณ์, สภุ าภรณ์ เกียรติสิน, สมิทธิ ดารากร ณ อยธุ ยา. การวเิ คราะหส์ ะเตม็ ศึกษาสูแ่ นวทางการศึกษาของประเทศไทย. (2561). The 3rd
Technology Innovation Management and Engineering Science International Conference (TIMES-iCON).

4

รปู ภาพที่ 2 กรอบแนวคิดเพ่ือการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 216
(ดัดแปลงจาก Framework for 21st Century Learning Definition)

6 The Partnership for 21st Century. (2018). FRAMEWORK FOR 21st CENTURY LEARNING DEFINITIONS. Battelle for Kids

5

1.1 ความหมายของการเขา้ ใจ (Literacy)

Oxford Dictionary7 ให้ความหมายของคาว่า Literacy (ลิเทอเรซี) ไว้ว่า ความสามารถในการ
อ่านและการเขียน หรือ หมายถึงความสามารถหรือความรู้ในการกระทาบางส่ิง บางอย่างตาม
ที่กาหนดได้อย่างประสบความสาเร็จหรืออย่างมีประสิทธิภาพ” โดยนัยแล้วสามารถกล่าวได้ว่า
Literacy น้ัน หมายถึง การมีความสามารถหรือสมรรถนะเพ่ือทาบางส่ิง บางอย่าง โดยใช้ทักษะ
ในระดับสูงในการทาภารกิจท่ีกาหนดให้ประสบความสาเร็จและมีประสิทธิภาพ Oxford Dictionary
ได้ใหค้ วามหมายคาว่า Literacy ไว้น่าสนใจว่า

Literacy | ˈlɪt(ə)rəsi |

noun [ mass noun ]
1. The ability to read and write:
‘tests of literacy and numeracy’
[AS MODIFIER]: ‘adult literacy programmes’.
• Competence or knowledge in a specified area:
‘computer literacy is essential’

Literacy คือ Competence หรอื Knowledge ในเร่อื งทีก่ าหนด

Competence Literacy

รูปภาพท่ี 3 ความสมั พนั ธข์ อง Competence และ Literacy
(วาดโดยสภุ าภรณ์ เกยี รตสิ นิ )

จากรูปภาพที่ 3 Oxford Dictionary ไดใ้ ห้ความหมาย Competence ไว้วา่

Competence | ˈkɒmpɪt(ə)ns |

noun [ mass noun ]
1. The ability to do something successfully or efficiently:
‘courses to improve the competence of staff’
‘the players displayed varying degrees of competence’

• The legal authority of a court or other body to deal with a particular matter:
‘the court’s competence has been accepted to cover these matters’

• (also linguistic or language competence) Linguistics A person’s subconscious
knowledge of the rules governing the formation of speech in their first language.
Often contrasted with performance.

• Biology & Medicine Effective performance of the normal function.

7 https://en.oxforddictionaries.com/definition/literacy

6

2. dated An income large enough to live on, typically an unearned one:
‘he found himself with an ample competence and no obligations’

Competence = ความสามารถ (Ability) ในการทาบางส่ิง อย่างประสบความสาเร็จหรือ
อย่างมีประสิทธภิ าพ ในรปู ภาพที่ 4

Ability + Competence Literacy

Efficiently
Successfully

รปู ภาพท่ี 4 องคป์ ระกอบของ Competence
(วาดโดยสภุ าภรณ์ เกียรตสิ นิ )

จากนัน้ ยงั ได้ใหค้ วามหมายของคาวา่ Ability ต่อไปอีก 2 ความหมายคอื
1) ทักษะ (Skill) ท่จี ะทาบางอย่าง หรอื คุณลักษณะเพอ่ื ทจ่ี ะกระทาบางสงิ่
2) Proficiency ในขอบเขตท่สี นใจ

Ability | əˈbɪlɪti |

noun (plural abilities)
1. [IN SINGULAR, WITH INFINITIVE] Possession of the means of skill to do

something:
‘the manager had lost his ability to motivate the players’

2. [AS MODIFIER] Talent, skill, or proficiency in a particular area:
‘a man of exceptional ability’
[COUNT NOUN]: ‘pupils of all abilities’

และเม่ือดูเพ่ิมเติมต่อไปจะพบว่า Oxford ได้ให้ความหมายของ Proficiency ว่า
Proficiency = ทักษะในระดบั สงู

Proficiency | prəˈfɪʃ(ə)nsi |

noun [ mass noun ]
A high degree of skill; expertise:
‘he demonstrated his proficiency in Chinese’

7

Skill + Ability + Competence Literacy

A High Efficiently
degree Successfully

รูปภาพท่ี 5 ความหมายของ Ability และ Proficiency
(วาดโดยสภุ าภรณ์ เกียรตสิ ิน)

จากรปู ภาพท่ี 5 Oxford Dictionary ยงั ได้ให้ความหมาย ทักษะ (Skill) ไว้ว่า
Skill = การทาภารกิจ (Task) ทีก่ าหนดได้อยา่ งดี

Skill | prəˈfɪʃ(ə)nsi |

verb [WITH OBJECT] (usually as noun skilling)

Train (a worker) to do particular task:

‘there is a lack of basic skilling’

noun [MASS NOUN]

1. The ability to do something well; expertise:

‘difficult work, tasking great skill’

• A particular ability:

‘the skills of cookery’
โดยนยั จากความหมายของ Oxford Dictionary เราสามารถกลา่ วไดว้ ่า

• Literacy คอื การมี Competence ในเร่ืองน้ัน
• Literacy คือ การมี Ability เพื่อทาบางอย่าง อย่างประสบความสาเร็จ และ มี

ประสิทธภิ าพ
• Literacy คือ การมีทักษะในระดับสูง เพ่ือทาบางอย่าง อย่างประสบความสาเร็จและมี

ประสทิ ธภิ าพ
• Literacy คือ การมี ความสามารถในการทาภารกิจที่กาหนด อย่างประสบความสาเร็จ

และมีประสิทธภิ าพ

8

Task

Skill + Ability + Competence Literacy

A High Efficiently
degree Successfully

รปู ภาพที่ 6 องคป์ ระกอบของ Competency ท่ที าให้เกดิ การเขา้ ใจ (Literacy)
(วาดโดยสภุ าภรณ์ เกียรตสิ ิน)

จากรูปภาพที่ 6 การจะมีสมรรถนะ (Competency) เพื่อทาภารกิจให้ประสบความสาเร็จ
จะต้องประกอบไปด้วย ทักษะ (Skill) ทักษะพิสัย (Psychomotor) ความรู้ (Knowledge) การรับรู้
(Cognitive) ทศั นคติ (Attitude) และจติ ใจ อารมณ์ (Affective) จึงช่วยใหม้ คี วามสามารถเพื่อดาเนิน
กจิ กรรมที่กาหนดใหป้ ระสบความสาเรจ็ และมปี ระสิทธภิ าพ อย่างไรก็ดกี ารเข้าใจ (Literacy) สามารถ
แบ่งประเภทไดเ้ ปน็ การเขา้ ใจหนงั สอื (Basic Literacy) การเข้าใจคอมพิวเตอร/์ ICT (Computer/ICT
Literacy) การเข้าใจเทคโนโลยี (Technology Literacy) การเข้าใจสารสนเทศ (Information
Literacy) การเขา้ ใจสอ่ื (Media Literacy) และการเข้าใจดิจทิ ัล (Digital Literacy) ซึง่ ได้มกี ารนิยาม
ไว้หลากหลายในระดับสากล อยา่ งไรกด็ ี ประเภทของการเข้าใจท่ีสาคัญสาหรับการเป็นพลเมืองดิจิทัล
คือ การเข้าใจดจิ ิทัล (Digital Literacy)

9

1.2 นยิ ามและหลกั เกณฑ์ของการเขา้ ใจดิจิทัล (Digital Literacy)

การเขา้ ใจดิจิทัล (Digital Literacy)8 คือ ความสามารถในการเขา้ ใจและใช้สารสนเทศที่ถูกนามาเสนอ
บนโลกออนไลน์ผ่านอุปกรณ์ดิจิทัล เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์สมาร์ตโฟน ฯลฯ โดยข้อมูลนั้น อาจจะมี
รูปแบบท่ีหลากหลายและมาจากแหล่งท่ีแตกต่างกัน โดยมีการกาหนดสมรรถนะหลั ก
(Key Competence) ที่สาคญั 4 หัวเร่ือง คอื

1) ความรู้ในการรวบรวมความรู้เข้าด้วยกัน (Assembling Knowledge) หมายถึง
ความสามารถในการแปลงข้อมูลท่ีได้รับจากหลายแหล่งที่มา นามาจัดเก็บได้อย่างเป็น
ระบบถูกวธิ ี

2) ความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูล (Evaluation) หมายถึง ความสามารถในการนา
ข้อมลู มาสังเคราะหเ์ พื่อใหเ้ ขา้ ใจในแกน่ แท้ของข้อมูลน้ัน

3) ความสามารถในการค้นหาข้อมูล (Searching) หมายถึง ความสามารถในการสืบค้น
แหลง่ ตาแหนง่ ของข้อมูลเพ่ือการนามาใชป้ ระโยชน์

4) ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลด้วยวิธีหลากหลาย (Navigating Non-Linear Mode)
หมายถึง ความสามารถในการใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์เพ่ือเข้าถึงแหล่งท่ีมา ตาแหน่ง
ของขอ้ มูลด้วยวธิ ีทเ่ี หมาะสม

นอกจากนี้ Paul Glister ระบุว่าความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking)
น้ันมคี วามสาคญั มากใน Digital Literacy โดยการคดิ เชิงวิพากษเ์ ป็นหวั ใจหลกั ของการเข้าใจดจิ ิทลั ซง่ึ การเลือก
และประเมินเชิงวิพากษ์ เป็นส่ิงที่ทาให้การเข้าใจดิจิทัลเคลื่อนเข้าสู่การเป็นสมรรถนะ (Competence)
แทนทีจ่ ะเป็นทักษะทางเทคนิคเท่านนั้ (Technical Skills)

จากเอกสาร Mapping Digital Literacy Policy and Practice in the Canadian Education 9
โดย Media Smarts ได้พูดถึง Digital Literacy โดยรวมถึงสังคมเข้าไปด้วย คือ “Digital Literacy
ไม่เป็นเพียงการนิยามกลุ่มของทักษะข้ันต่าสุด ท่ีจาเป็นในการใช้เทคโนโลยี แต่เป็นการนิยามอย่างกว้าง
ถึงขีดความสามารถท่ีจาเป็นในการเข้าร่วมสังคมที่มีการใช้ระบบดิจิทัลในการติดต่อส่ือสาร ไม่ว่าจะเป็น
การทางาน หน่วยงานรัฐบาล การศึกษา วัฒนธรรม พลเมือง ท่ีพักอาศัยและเพ่ือความบันเทิง” และได้
อธบิ ายนิยามท่ีครอบคลุมท่ัวถึงของ Digital Literacy ว่า

1) ความสามารถในการจดจา ความสามารถในการเข้าถึง และช่องทางสาหรบั การเข้าถึง
2) ผนวกรวมความสามารถในการสร้างเว็บไซต์ การสร้างและแบ่งปันวิดีโอ การแก้ไขภาพ

การออกแบบระบบเกบ็ ข้อมูลเพ่ือการเข้าถึงและแบ่งปันข้อมลู
3) ทักษะหรือความชานาญที่เก่ียวข้องกับคน (Soft Skills) เช่น คิดเชิงวิพากษ์

การจดั การ การเปน็ ผู้นา การทางานเป็นทีม และจรยิ ธรรม
ทั้งน้ี สิ่งท่ีสาคัญสาหรับการเข้าใจดิจิทัล คือ ความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์
(Critical Thinking) ซึ่งหมายถึง ความสามารถในการสื่อสารที่อยู่บนกฎหมาย กฎระเบียบที่เป็นพื้นฐาน
ของสังคม การมีจริยธรรมการคานึงถึงวัฒนธรรมและประเพณี โดยไม่ได้จากัดอยู่แค่เพียงการสื่อสาร
บนโลกดิจิทัลเพียงอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการเผยแพร่ การผลิตซ้า การโต้ตอบกันระหว่างบุคคลบนโลก
ออนไลน์ท่ีอาจส่งผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตในโลกความเป็นจริง เน่ืองจากการเกิดขึ้นของ Web 2.0

8 นิยามของ Digital Literacy โดย Paul Glister จากหนังสือ Digital Literacy (New York,1997)
9 นิยาม Media Smarts (2015) , “Mapping Digital Literacy Policy and Practice in the Canadian Education”

10

ท่ีผู้ใช้งานสามารถสร้างเน้ือหาข้ึนมาได้เอง ขาดการควบคุมใด ๆ จึงเป็นเหตุให้ได้มีการเน้นย้าเร่ือง
จริยธรรม และ การคดิ เชงิ วิพากษ์ อย่างมาก ดงั รปู ภาพที่ 7 นยิ ามของคาว่า Digital Literacy

Information Literacy Digital Literacy

ICT Literacy

Media and
Information Literacy

Media Literacy

Social Literacy Ethical Literacy

Social Media Literacy

รปู ภาพท่ี 7 นยิ ามของคาวา่ Digital Literacy (ดดั แปลงจาก Digital Literacy Framework)10

จากงานวิจัยและ บทความทางการศึกษา 11 ได้สรุปว่า การจะมี Competence

ตอ้ งประกอบด้วย 3 อย่าง คอื (ดังรูปภาพที่ 8)

o ทกั ษะ (Skill) ทักษะพิสยั (Psychomotor)

o ความรู้ (Knowledge) การรบั รู้ (Cognitive)

o ทศั นคติ (Attitude) จติ ใจ อารมณ์ (Affective)

10 นยิ ามของ Digital Literacy โดย Paul Glister จากหนงั สือ Digital Literacy (New York,1997)
11 Laird, Dugan (1985). “Approaches To Training And Development. Reading”, MA: Addison-Wesley, p107.

11

ดังแบบจาลองของ KSA

Knowledge Skill

Competence

Attitude

รปู ภาพท่ี 8 แบบจาลองของ KSA (ดัดแปลงจากโมเดล KSA)12

จากรูปภาพที่ 9 Raman K. Attri13 ได้ขยายความเพ่ิมเติมไปว่า การจะพัฒนาทักษะ (Skill)
ให้มีระดับสูงข้ึนจนถึงจุดท่ีเรียกว่ามีความสามารถ (Ability) ก็คือการพัฒนาความรู้ (Knowledge)
น่ันเอง

รปู ภาพที่ 9 กรอบการพัฒนาทักษะและความสามารถ
(วาดโดยสภุ าภรณ์ เกยี รติสิน)

แต่การจะทางานให้สาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ความสามารถอย่างเดียวไม่เพียงพอ
ตอ้ งมีทัศนคติ (Attitude) ด้วย

12 Careeronestop. (2018). Competency Model General Instructions. Retrieved from https://www.careeronestop.org/CompetencyModel/
CareerPathway/CPWGenInstructions.aspx#tiersF
13 Raman Attri. (2019). The Models of Skill Acquisition and Expertise Development: A Quick Reference of Summaries. Singapore: Speed
to Proficiency Research.

12

รูปภาพท่ี 10 การยกระดับของสมรรถนะ
(วาดโดยสุภาภรณ์ เกยี รติสิน)

จากรูปภาพท่ี 10 L. Spencer14 ได้กล่าววา่ สว่ นท่สี าคัญจรงิ ๆ คือ ทัศนคติ ซ่งึ ถอื เป็น 90%
ของ สมรรถนะ เปรยี บเสมอื นภเู ขาน้าแข็ง (Iceberg)

จากงานวิจัยของของ Stacey R.15, Stephenson J.16 และของ Fraser SW.17 ได้มีการ
อธิบาย Competence เพิ่มให้ชัดเจนยิง่ ขึ้นวา่

Competence = การทาภารกิจทีค่ ณุ เคย ในสภาพแวดลอ้ มท่ีค้นุ เคย หรือ
Competence = การแกป้ ัญหาที่รจู้ กั ใน สถานการณ์ท่รี ้จู ัก

14 Spencer, L., & Spencer, M. (1993). Competence at work: Models for superior performance, N.Y.: John Wiley & Sons. p11
15 Stacey RD. “Strategic management and organizational dynamics”. London: Pitman Publishing; 1996
16 Stephenson J. “Capability and quality in higher education”. In: Stephenson J, Yorke M, editors. Capability and quality in higher
education. London: KoganPage; 1995.
17 Fraser SW, Greenhalgh T. “Coping with complexity: educating for capability”. BMJ : British Medical Journal. 2001;323(7316):799-803.

13

รูปภาพท่ี 11 แสดงระดับความชดั เจน และระดบั ความแนน่ อน18
(ดัดแปลงจาก Christian Briggs)

จากรูปภาพที่ 11 Christian Briggs ได้นิยาม Literacy ขึ้นโดยใช้ แบบจาลอง 4 สถานะของ
สมรรถนะโดยกาหนดให้ Literacy คอื สถานะของทักษะ ทมี่ ีสมรรถนะ (Competence) แต่ยังตอ้ งใช้
สติ (Conscious) ในการทาภารกิจน้ันอยู่

กำรอบรม

Conscious Naivety Literacy
/
() (
)
กำรป ิบตั ิ
กำร ่ตน ัต Ignorance Fluency

Unconscious () (
/ )

Incompetence Competence

รปู ภาพที่ 12 แสดงระดบั สมรรถนะ และการใชส้ ติกากับ19
(ดัดแปลงจาก Christian Briggs)

18 Briggs C., Makice K., “Digital Fluency: Building Success in the Digital Age”. SociaLens, 2012
19 Briggs C., Makice K., “Digital Fluency: Building Success in the Digital Age”. SociaLens, 2012

14

นยิ าม Literacy โดยใช้ แบบจาลอง 4 สถานะของสมรรถนะและการใชส้ ติ ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. Ignorance คือ สถานะของคนที่ไม่มีสมรรถนะ และ ไมท่ ราบว่าของส่ิงน้ันมคี วามสาคัญ
เชน่ ผ้สู ูงอายบุ างทา่ นปกติ ใชแ้ ต่เงนิ สด จึงไมร่ ถู้ ึงความสาคญั ของการกดเงนิ ดว้ ยตู้ ATM
และตนเองกก็ ดเงินสดจากตู้ ATM ไม่เป็นด้วย
2. Naivety คือ สถานะของคนที่ไม่มีสมรรถนะ แต่ทราบว่าของส่ิงน้ันมีความสาคัญ เช่น
เกิดการต่ืนตัวของผู้สูงอายุที่ไม่สามารถกดเงินสดจากตู้ ATM ทั้ง ๆ ที่ทราบว่าตู้ ATM
มคี วามสาคญั และใชใ้ นการกดเงนิ สด
3. Literacy คือ สถานะของคนที่มีสมรรถนะ และทราบว่าของสิ่งนั้นมีความสาคัญ เช่น
ผู้สูงอายุทราบดีว่าการกดเงินสดจากตู้ ATM สาคัญ และท่านก็สามารถกดเงินสดจากตู้
ATM ได้ อาจเน่อื งมาจากลกู หลานสอนกดเงนิ สดจากตู้ ATM หลายคร้ัง
4. Fluency คือ สถานะของคนที่มีสมรรถนะ และทราบว่าของส่ิงน้ันมีความสาคัญ เช่น
ผู้สูงอายุทราบดีว่าการกดเงินสดจากตู้ ATM สาคัญ และท่านก็สามารถกดเงินสดจากตู้
ATM ได้หลาย ๆ สาขาธนาคาร อาจเน่ืองมาจากท่านกดเงินสดจากตู้ ATM หลายคร้ัง
จนรบั ทราบถงึ วธิ กี ารของกระบวนการกดเงนิ สดจากตู้ ATM โดยไมต่ อ้ งสอบถามจากผ้รู ู้
ประเทศไทยต้องการให้ประชาชนไทยเป็นพลเมืองดิจิทัล จนถึงสถานะ Fluency

ถ้าประชาชนมีความสามารถในการใช้ดิจิทัลจนเป็นนิสัย ประเทศไทยจะได้พลเมืองดิจิทัลในประเทศ
ไทย (Digital Citizenship)

15

1.3 การพฒั นาหลกั สูตรการเข้าใจดจิ ิทลั สาหรับประเทศไทย

การวเิ คราะหแ์ ละพฒั นาหลักสตู ร Digital Literacy กบั บริบทของประเทศไทยมกี ารวเิ คราะห์
และพัฒนาหลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ เพื่อให้เกิดภาพรวมที่เป็นเอกภาพของกระบวนการพัฒนา
หลักสตู ร เพื่อพฒั นาประชาชนใหม้ ีทักษะพน้ื ฐานการดารงชวี ติ สามารถพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของตนเอง
และสร้างให้เกิดสังคมดิจิทัล ท่ีทันต่อการเปลี่ยนแปลงในสังคมปัจจุบัน โดยในหลักสูตรนี้ มุ่งเน้นไปที่
การเขา้ ใจ การรผู้ ลดี ผลเสยี โอกาสและความเส่ยี งท่ีจะเกิดขนึ้ วิธีป้องกนั วธิ ลี ดผลกระทบ แนวทางการ
รับมอื และปฏบิ ัติ เมื่อต้องมีการใช้งานหรือปฏสิ ัมพันธ์ต่าง ๆ โดยมีจุดมงุ่ หมายหลกั เพ่ือใหป้ ระชาชนมี
ความเขา้ ใจ รเู้ ท่าทัน สามารถใชช้ วี ิตในสงั คมดจิ ทิ ัล ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

ทักษะหรือสมรรถนะการเข้าใจดิจิทัล เป็นส่ิงสาคัญท่ีใช้พิสูจน์การพัฒนาระดับประเทศ
และระดับนานาชาติ มีหน่วยงานและกลุ่มองค์กรทั้งแสวงหาผลกาไรและไม่แสวงหาผลกาไร พัฒนา
และดาเนินกรอบการเข้าใจดิจทิ ลั เพ่ือสนบั สนนุ การเป็นพลเมอื งในศตวรรษท่ี 21 หรอื พลเมืองดจิ ิทลั

ในปี พ.ศ. 2558 สหประชาชาติ (UNESCO - UN) ได้จัดทาเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
(Sustainable Development Goals–SDGs) มเี ปา้ หมายการพัฒนาที่ยั่งยนื 17 ขอ้ โดยในการเขา้ ใจ
ดิจทิ ัลเปน็ เปา้ หมายย่อยหนึ่งในการพฒั นาที่ยั่งยืนอยู่ในเป้าหมายที่ 4.4.220 กล่าวคือ ทักษะการเข้าใจ
ดิจิทัลเป็นทักษะหนึ่งที่สาคัญต่อการพัฒนาประเทศสู่ความยั่งยืน นาไปสู่การประกอบอาชีพและ
ประกอบธรุ กจิ ทมี่ คี วามสามารถ

ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาเทคโนโลยีทางด้านดิจิทัลได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ
เทคโนโลยีท่ีไร้พรมแดนและเกยี่ วข้องกับอินเทอร์เน็ต ปัญหาที่เกิดตามมาจากการพฒั นาอย่างรวดเร็ว
ทาให้ประชาชนบางกลุ่ม ขาดความรู้ความเข้าใจท่ีจะใช้ชีวิตร่วมกับเทคโนโลยีสมัยใหม่เหล่านี้
และผลจากการขาดความเข้าใจ ทาใหเ้ กิดปญั หาท้งั ในระดบั บุคคล ไม่วา่ จะเปน็ สุขภาพกาย สุขภาพจติ
อุบัติเหตุ และหลงเชื่อข้อความทางออนไลน์โดยขาดการย้ังคิด ในระดับสังคม ไม่ว่าจะเป็นขาดสมาธิ
ในการทางาน หมกมุ่นกบั สิ่งยั่วยทุ างออนไลน์ จนเกดิ สภาพเป็นสงั คมก้มหน้า แชทตลอดเวลาไม่สนใจ
งาน ซึง่ ยังส่งผลให้เกิดปัญหาในระดับประเทศจากการที่ประชากรในประเทศขาดประสิทธิภาพในการ
ทางาน ขาดความสามารถในการแข่งขนั กับประเทศอ่ืน การบรโิ ภคสินค้าฟุ่มเฟอื ยจานวนมาก เป็นหน้ี
ต่อครัวเรอื นสูง เนื่องจากกูเ้ งินเพือ่ นามาใชต้ อบสนองเทคโนโลยสี มัยใหม่

การแก้ปัญหาประชาชนในชาติขาดความเข้าใจทางด้านเทคโนโลยีในต่างประเทศ เช่น
สหรัฐอเมริกา ยุโรป ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ รวมถึงสหประชาชาติ (UN) รัฐบาลในประเทศน้ัน ๆ
โดยการนาของกระทรวงศึกษาธิการได้มุ่งพัฒนาระบบการศึกษาภาคพ้ืนฐานในระดับ ประถมศึกษา
และ มัธยมศึกษา ให้มีการเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy) อย่างเป็นรูปธรรม โดยใช้วิธีการให้ความรู้
ท่ีจาเป็นของการเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship) กระจายเป็นวิชาตลอดการศึกษา
ของนกั เรยี น และปรบั วิธีการสอนในวิชาอืน่ ๆ ใหม้ ีการนาเทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาใช้ เพอื่ ใหน้ ักเรียนได้เกิด
ความค้นุ เคย และสามารถใชเ้ ทคโนโลยตี ่าง ๆ ได้เป็นธรรมชาติ

เนื่องจากการเข้าใจดิจิทัล เป็นการจัดการศึกษาภาคพื้นฐาน หน่วยงานต่าง ๆ รวมถึง
สหประชาชาติ จึงมุ่งไปที่การพัฒนาครูเป็นหลัก เพราะเช่ือว่าเม่ือเราสามารถพัฒนาครู ซ่ึงเป็นคนให้
ความรู้ และเปน็ ผ้สู ร้างประชากรในชาติได้นนั้ ประชาชนในชาติกจ็ ะมีการพัฒนาข้ึนด้วย ถ้าครูผู้ที่เป็น

20 UNESCO. A Global Framework of Reference on Digital Literacy Skills for Indicator 4.4.2.

16

แม่พิมพ์ของชาติขาดความรู้ ความเข้าใจแล้ว ก็เป็นการยากที่ประชาชนในประเทศจะมีความรู้
และความเขา้ ใจเหล่านีไ้ ด้

สาหรับในประเทศไทย ยังไม่ปรากฏว่ามีการพัฒนาการศึกษาระดับพ้ืนฐานในระดับประเทศ
เพื่อส่งเสริมการเข้าใจสื่อและสารสนเทศ และการเข้าใจดิจิทัล อย่างเป็นทางการ อีกทั้ง ยังมีความ
เข้าใจผิดเกี่ยวกับการเข้าใจดิจิทัลเป็นอย่างมาก ว่าเป็นเรื่องของการพัฒนาทักษะทางคอมพิวเตอร์
(Computer Skill) แต่เพียงอย่างเดียว แต่ไม่ได้เน้นไปที่การเข้าใจดิจิทัลในด้านต่าง ๆ เพื่อให้
ประชาชนสามารถอยใู่ นสงั คมดิจทิ ัล สอ่ื สาร และมีปฏสิ ัมพนั ธ์กันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

รูปภาพท่ี 13 กระบวนการจดั ทาหลักสูตรความเขา้ ใจดจิ ิทลั (วาดโดยสภุ าภรณ์ เกียรตสิ ิน)
จากรูปภาพท่ี 13 กระบวนการในการจัดทาหลักสูตรจะประกอบด้วยการศึกษาองค์กรที่

สนับสนุนด้านเทคโนโลยีและการศึกษาทั้งไทยและต่างประเทศ เพ่ือให้ได้รูปแบบที่ดาเนินการได้ผล
ลัพธ์ที่ประสบความสาเร็จประกอบกับบริบทการสร้างพลเมืองดิจิทัลให้กับประเทศ โดยผนวกกับ
8 องค์ประกอบสาคัญของการเข้าใจดิจิทัล และบริบทของประเทศไทย ในกระบวนการดาเนินการ
จะอ้างอิงหลักการพัฒนาหลักสูตรจากสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ท่ีกาหนดมาตรฐาน
คุณวุฒิ สาขาคอมพิวเตอร์ พร้อมดาเนินการจัดทาประชาพิจารณ์หลักสูตร กับคณะผู้ทรงคุณวุฒิที่
เก่ียวข้องกับเทคโนโลยีดิจิทัล และความเข้าใจส่ือ สุดท้ายกาหนดองค์ประกอบท่ีจาเป็นในการเข้าใจ
ดจิ ิทัลสาหรบั ประชาชนทัง้ หมด 9 องค์ประกอบ ดังน้ีตามรปู ภาพที่ 14

17

, ,,

รูปภาพที่ 14 หลกั สูตรความเข้าใจดจิ ทิ ลั (Digital Literacy) ปี พ.ศ. 2559
(วาดโดยสภุ าภรณ์ เกียรติสิน)

1) สิทธคิ วามรับผดิ ชอบ – สิทธิ เสรีภาพ ความรับผิดชอบ ความเข้าใจต่างๆ

ตอ่ สื่อสาธารณะ

2) การเข้าถึงสอ่ื ดจิ ทิ ัล – ชนิดของส่ือดิจิทัล ช่องทางการเข้าถึงส่ือดิจิทัล

และอนิ เทอร์เน็ต

3) การสื่อสารยคุ ดจิ ทิ ลั – การสื่อสารระหว่างบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ

โดยใช้ช่องทางดิจทิ ลั

4) ความปลอดภัยยุคดจิ ิทัล – การใช้อุปกรณ์ดิจิทัลอย่างปลอดภัย รวมถึงข้อมูล

ส่วนบุคคล

5) การรูเ้ ท่าทนั สื่อและสารสนเทศ – การประเมินข้อเท็จจริงของสื่อดิจิทัล และการ

สรา้ งสรรค์

6) มารยาทในสังคมดิจทิ ลั – หลักปฏิบัติที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากลของการ

ใช้อินเทอรเ์ นต็

7) สขุ ภาพดียคุ ดจิ ทิ ลั – ปัญหาสขุ ภาพท้ังสขุ ภาพกาย และ สุขภาพจติ

8) ดิจทิ ลั คอมเมริ ์ซ – การซื้อสินค้าทางออนไลน์ และกลโกง การโฆษณา

ของร้านคา้ ออนไลน์

9) กฎหมายดจิ ทิ ลั – กฎหมายข้ันพน้ื ฐานทป่ี ระชาชนต้องรู้เกีย่ วกับดิจิทัล

18

ในปี พ.ศ. 2558 สหประชาชาติ (UNESCO - UN) ได้จัดทาเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน
(Sustainable Development Goals–SDGs) มีเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ั่งยนื 17 ขอ้ โดยในการเขา้ ใจ
ดจิ ทิ ัลเป็นเป้าหมายย่อยหนึ่งในการพัฒนาทยี่ ั่งยืนอยู่ในเป้าหมายที่ 4.4.221 กลา่ วคือ ทกั ษะการเข้าใจ
ดิจิทัลเป็นทักษะหนึ่งท่ีสาคัญต่อการพัฒนาประเทศสู่ความย่ังยืน นาไปสู่การประกอบอาชีพและ
ประกอบธรุ กิจท่มี คี วามสามารถ จึงจาปน็ ต้องมกี ารปรบั ปรุงหลักสูตรเพ่อื ให้ทันสมัยกับยุคดิจิทัล

สาหรับการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรการเข้าใจดิจิทัล พ.ศ. 2562 ได้ใช้กรอบหลักสูตร
การเข้าใจดิจิทัล พ.ศ. 2559 ของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นแกนในการพัฒนา
หลักสูตร และนากรอบสมรรถนะดิจิทัลหรือหลักสูตรดิจิทัลของในประเทศและต่างประเทศ
มาประยุกต์ ปรับปรุงให้ทันสมัยยิ่งข้ึน และในส่วนหัวข้อการเรียนรู้ (Topic) หน่วยการเรียนรู้ (Unit)

และเนื้อหาการเรียน (Content) จะใช้เนื้อหาจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้
และทกั ษะ (Body of Knowledge and Skill) นน้ั มากาหนดตามตารางที่ 1
ตารางท่ี 1 หลกั สตู รการเขา้ ใจดิจิทัล พ.ศ. 2559 และ 2562

ชื่อสมรรถนะใน ช่อื สมรรถนะใน อา้ งอิงหัวข้อการเรยี นรู้ หนว่ ยการ
หลักสูตรการ หลกั สตู รการเขา้ ใจ เรียนรแู้ ละเนือ้ หาการเรยี น โดยยึด
ลาดบั เขา้ ใจดิจทิ ลั พ.ศ. ดิจทิ ลั พ.ศ. 2562 การเข้าใจดจิ ทิ ัล พ.ศ. 2559 ของ
กระทรวงดิจิทลั เพ่ือเศรษฐกิจและ
2559 สิทธิและความ
รับผดิ ชอบ สังคม
1 สทิ ธแิ ละความ
รับผิดชอบ • สหประชาชาติ

2 การเข้าถึงส่ือดิจิทัล การเขา้ ถงึ สอื่ ดิจิทลั • สหประชาชาติ (UNESCO)

• สานักงานคณะกรรมการกิจการ

กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ

กิจการโทรคมนาคมแห่งช าติ

(กสทช.)

3 การสื่อสารยคุ การสอื่ สารยคุ ดิจิทัล • สหประชาชาติ (UNESCO)
ดิจิทัล • สานกั งานคณะกรรมการกจิ การ

กระจายเสียง กจิ การโทรทัศน์ และ

กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

(กสทช.)

4 ความปลอดภยั ความปลอดภัยยคุ ดิจิทัล • สานักงานพฒั นาธุรกรรมทาง
ยุคดจิ ิทลั
อเิ ล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)

5 ความเขา้ ใจส่ือ การรู้เท่าทนั สื่อ • สหประชาชาติ (UNESCO)
ดจิ ิทัล และสารสนเทศ* • สานกั งานคณะกรรมการกิจการ

กระจายเสยี ง กิจการโทรทัศน์ และ

21 UNESCO. A Global Framework of Reference on Digital Literacy Skills for Indicator 4.4.2

19

ชื่อสมรรถนะใน ช่ือสมรรถนะใน อ้างอิงหัวขอ้ การเรียนรู้ หน่วยการ
หลักสูตรการ หลกั สตู รการเขา้ ใจ เรยี นรู้และเน้อื หาการเรยี น โดยยึด
ลาดบั เข้าใจดิจิทัล พ.ศ. ดจิ ทิ ัล พ.ศ. 2562 การเข้าใจดิจิทลั พ.ศ. 2559 ของ
กระทรวงดิจทิ ลั เพ่ือเศรษฐกิจและ
2559
สังคม
6 แนวปฏิบตั ิในสังคม แนวปฏบิ ัติในสงั คม กิจการโทรคมนาคมแหง่ ชาติ
ดิจิทลั ดิจิทัล (กสทช.)

7 สุขภาพดยี คุ ดิจิทลั สุขภาพดียคุ ดิจิทลั • DQ Institute

8 ดจิ ิทลั คอมเมิร์ซ ดิจิทัลคอมเมริ ์ซ • สหภาพยุโรป (EU)
9 กฎหมายดจิ ิทัล กฎหมายดิจทิ ลั
• สานกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัล
(DEPA)

• สานักงานกองทุนสนับสนนุ การ
สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.)

• กรมพัฒนาธรุ กจิ การค้า

• สานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (องค์การมหาชน)

หมายเหตุ: *เปลีย่ นช่อื สมรรถนะในหลกั สตู รปี พ.ศ. 2562

รปู ภาพท่ี 15 หลกั สตู รความเข้าใจดจิ ิทัล (Digital Literacy) ปี พ.ศ. 2562
(วาดโดยสภุ าภรณ์ เกียรติสนิ )

20

จากรูปภาพท่ี 15 หลักสูตรการเข้าใจดิจทิ ัล (Digital Literacy) พ.ศ. 2562 ประกอบไปด้วย
9 รายวิชา ได้แก่ สิทธิและความรับผิดชอบ การเข้าถึงส่ือดิจิทัล การส่ือสารยุคดิจิทัล ความปลอดภัย
ยุคดิจิทัล การรู้เท่าทันส่ือและสารสนเทศ แนวปฏิบัติในสังคมดิจิทัล สุขภาพดียุคดิจิทัล ดิจิทัล
คอมเมิรซ์ และกฎหมายดจิ ิทัล มคี าอธบิ ายรายวชิ าดงั น้ี

สิทธิและความรับผิดชอบ (รายละเอียดในบทที่ 3)
เรียนรู้สิทธิของพลเมืองดิจิทัลแ ละเข้าใจความรับผิดชอบใ นโ ลกออ น ไล น์
ในยคุ ศตวรรษที่ 21 ไดแ้ ก่ สทิ ธใิ นการเข้าถงึ และไมถ่ ูกเลือกปฏิบัติ สิทธใิ นการ
ชุมนุมและการสมาคมออนไลน์ สิทธิในความเป็นส่วนตัวและในการคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล เสรีภาพในการแสดงความเห็นและการเข้าถึงข้อมูล
จริยธรรมคอมพิวเตอร์ ความรับผิดชอบในการสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูล
อย่างมีมารยาท ความรับผิดชอบในการใช้และอ้างอิงผลงานของผู้อ่ืน
ความรับผิดชอบในการปฏิบัติตามกฎหมาย ความรับผิดชอบในการรักษา
ความปลอดภัยออนไลน์ ความรับผิดชอบต่อสุขภาพของตนเอง และความ
รบั ผิดชอบในการใช้พาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์

การเขา้ ถงึ สื่อดจิ ิทัล (รายละเอียดในบทที่ 4)
เรยี นร้พู ้นื ฐานหลักการของข้อมูล และสารสนเทศ รูร้ ะบบอินเทอรเ์ นต็ สามารถ
ใช้เครื่องมือเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต สามารถค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตได้
สามารถใช้ Search Engine ในการค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว แม่นยาและ
ตรงตามความต้องการ สามารถนาข้อมูลและสารสนเทศไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
ตามจริยธรรม สามารถบันทกึ จดั เกบ็ และค้นคืนขอ้ มูลและสารสนเทศได้

การส่ือสารยุคดิจิทัล (รายละเอยี ดในบทท่ี 5)
เรียนรู้หลกั การสาคญั ของการสื่อสาร การส่ือสารยุคดิจทิ ัลหรือการส่อื สารผ่าน
สังคมออนไลน์ เพื่อสามารถแยกแยะพ้ืนท่ีส่วนตัวและพื้นที่สาธารณะ
ใช้วิจารณ์การสื่อสารยุคดิจิทัล รวมถึงเรียนรู้การรับมือปัญหาการส่ือสารยุค
ดิจิทัล ได้แก่ การจัดการสารที่ผิดกฎหมายและผิดจริยธรรมในยุคดิจิทัล
การพดู คยุ กับคนแปลกหน้าบนโลกออนไลน์ การรบั มือกับดรามา่ ทางออนไลน์
ผู้ประทษุ วาจา และผู้ใชต้ รรกะวิบตั ิ

ความปลอดภัยยคุ ดิจิทัล (รายละเอียดในบทที่ 6)
เรียนรู้ความรู้พ้ืนฐานทั่วไปของความปลอดภัยท่ีมาจากผู้ไม่ประสงค์ดีในโลก
อินเทอร์เน็ต เครือข่ายสังคมออนไลน์ ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย เพ่ือการ
หลีกเล่ียงภัยคุกคาม และรับมอื กับภยั อนั ตรายในโลกดจิ ทิ ัล

21

การรเู้ ท่าทนั ส่ือและสารสนเทศ (รายละเอยี ดในบทท่ี 7)
เรียนรู้หลักการพ้ืนฐานของส่ือและผู้ให้บริการส่ือ แนวคิดการรู้เท่าทันสื่อและ
สารสนเทศ การวเิ คราะห์ วพิ ากษ์ ตคี วามหมาย ประเมินผล สรปุ ผล แยกแยะ
ข้อเท็จจริง ขอ้ คิดเหน็ ประเมนิ คุณคา่ ของสอ่ื และสารสนเทศ การรูเ้ ทา่ ทันข่าว
ปลอม (Fake News) และรู้เท่าทันโฆษณาชวนเชื่อ (Propaganda) รวมถึง
การจัดการส่ือและสารสนเทศเบื้องต้น ได้แก่ เอกสาร เสียงบันทึก ภาพนิ่ง
และภาพเคลื่อนไหวได้

แนวปฏบิ ัตใิ นสงั คมดิจทิ ัล (รายละเอียดในบทท่ี 8)
เรียนรู้มารยาทการใช้อินเทอร์เน็ต มารยาทการใช้โทรศัพท์ในท่ีสาธารณะ
และการเอาใจใส่ผู้อ่ืน เพ่ือสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ต โทรศัพท์เคลื่อนท่ีได้
อย่างถูกต้อง เหมาะสมตามกาลเทศะ รวมถึงเข้าใจอารมณ์ความอ่อนไหวของ
บุคคลหรือสงั คมบนโลกออนไลน์ได้

สขุ ภาพดยี ุคดิจิทลั (รายละเอยี ดในบทท่ี 9)
เรียนรู้อันตรายและผลกระทบด้านสุขภาพในแง่มุมต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้าน
สุขภาพกาย สุขภาพจิต โรคที่เกิดข้ึน รวมถึงความสัมพันธ์และผลกระทบ
ต่อเยาวชน การใช้อินเทอร์เน็ตและส่ือดิจิทัล เพ่ือป้องกัน หลีกเล่ียง
ลดผลกระทบ จนถึงวิธีการรักษาเบื้องต้น ท้ังต่อตัวเอง และคนใกล้ตัว
เพอื่ ใหส้ ามารถใชช้ วี ติ อยา่ งมีความสุขในยุคดจิ ิทลั ได้

ดจิ ิทัลคอมเมริ ซ์ (รายละเอียดในบทที่ 10)
เรียนรู้ความรู้พื้นฐานท่ัวไปของดิจิทัลคอมเมิร์ซ ได้แก่ นิยามความหมาย
องค์ประกอบ ความสาคัญ ลักษณะ กระบวนการ และรูปแบบการซื้อ-ขาย
สินค้าในดิจิทัลคอมเมิร์ซ สามารถซ้ือขายสินค้าในดิจิทัลคอมเมิร์ซได้อย่าง
ถูกต้องและปลอดภัย จัดการแก้ปัญหาจากการซื้อขายสินค้าได้ และสามารถ
สร้างร้านค้าขายสินค้า และขายสินค้าในดิจิทัลคอมเมิร์ซได้เบ้ืองต้น รวมถึง
เขา้ ใจกฎหมายทเี่ ก่ียวกบั ดิจิทลั คอมเมริ ์ซเบื้องตน้

กฎหมายดจิ ทิ ัล (รายละเอียดในบทท่ี 11)
เรียนรู้กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญา และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กับเศรษฐกิจดิจิทัล เพื่อให้ระบุได้ว่าการกระทาใดเป็นความผิดที่เกี่ยวกับ
กฎหมายดิจิทัล ทราบถึงโทษของการกระทาความผิด มีแนวทางป้องกันการ
กระทาความผดิ ทีเ่ ก่ียวกับกฎหมายดิจทิ ัล

1.4 สรุป

การวางรากฐานด้านการศึกษาของประชากรไทย และวางรากฐานของเศรษฐกิจดิจิทัลให้เริ่ม
ขับเคลื่อนได้อย่างจริงจัง จะทาให้ทุกภาคเศรษฐกิจก้าวหน้าไปได้ทันโลกและสามารถแข่งขันในโลก

22

สมัยใหม่ได้ ซ่ึงเป็นที่ยอมรับว่า ผู้ท่ีมีความสามารถทางด้านการใช้ดิจิทัลได้มากกว่า ย่อมเป็น
ผู้ได้เปรียบในสังคมเนื่องจากสามารถใช้ประโยชน์จากดิจิทัลเพื่อเพิ่มคุณค่าให้กับชีวิต สร้างสรรค์
นวัตกรรมและสงิ่ ใหม่ได้มากกว่า ทาใหพ้ ฒั นาเศรษฐกิจให้ก้าวหน้าได้ดี มคี ุณภาพชวี ิตที่ดขี ้ึน นโยบาย
ของทุกประเทศจึงพยายามเพ่ิมขีดความสามารถทางด้านการใช้ดิจิทัลให้กับประชาชน และพยายาม
ลดช่องว่างทางดิจิทัลระหว่างประชาชนในชุมชนเมือง และชุมชนห่างไกลที่เรียกว่า ช่องว่างดิจิทัล
(Digital Divide) ซ่ึงอยู่ภายใต้การส่งเสริมการใช้ดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์ และรับผิดชอบต่อสังคมตาม
นโยบายของคณะรฐั มนตรี

หนึ่งในการเปล่ียนแปลงหลักของยุคดิจิทัลในทศวรรษ ที่ 21 คือการที่ผู้ใช้สามารถทาตัวเป็น
ผู้รับเนื้อหาและสร้างเน้ือหาได้พร้อมกันโดยไม่มีการกากับดูแลในยุค Web 2.0 เป็นเหตุให้ผู้ใช้ยิ่งตอ้ ง
เพ่ิมขีดความสามารถเร่ืองการคิดเชิงวิพากษ์ ว่าเนื้อหาเหล่านี้ มีความถูกต้องหรือไม่ นอกจากนี้
ยังจาเป็นต้องมีจริยธรรมและคานึงถึงผลที่จะเกิดข้ึนต่อผู้อ่ืน และสังคมอันเน่ืองมาจากการพูดหรือ
สร้างข้อมูลของตนข้ึนสู่อินเทอร์เน็ตอีกด้วย โดยรวมแล้ว สามารถสรุปได้ว่า “การเข้าใจดิจิทัล
หมายถึง การมีสมรรถนะในการใช้ข้อมูลเพ่ือส่ือสารในสังคมดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมี
จรยิ ธรรมซงึ่ ประกอบดว้ ย ความสามารถในการเข้าใจดิจิทลั ท่ที าให้เกดิ ความคล่องแคลว่ ทางเทคนิคที่
จาเป็นในการใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ความเข้าใจสารสนเทศและสามารถประเมินส่ือ
ดจิ ิทัล เพื่อนาไปเข้าสูก่ ระบวนการตัดสินใจในการดาเนนิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ได้

โดยการพัฒนาหลักสูตรการเข้าใจดิจิทัลในปี พ.ศ. 2559 มีท้ังหมด 9 มิติ ต่อจากน้ันมีการ
เปลี่ยนแปลงหลักสูตรการเข้าใจดิจิทัลในปี พ.ศ. 2562 จากหัวข้อ ความเข้าใจสื่อดิจิทัล
เป็น การรู้เท่าทันสื่อและสารทนเทศ จะเห็นว่าการพัฒนาหลักสูตรเป็นส่ิงสาคัญในการพัฒนาต้นทุน
มนุษย์ โดยมีการนาทักษะของพลเมืองดิจิทัลมาเป็นจุดเร่ิมต้นในการค้นหาสมรรถนะของพลเมือง
ดิจิทัลในทุก ๆ 9 มิติ จากนั้นก็จะเกิดองค์ความรู้ (Body of Knowledge) กลายเป็นหลักสูตร
ที่ทันสมัยในบริบทของประเทศไทย โดยทักษะหรือสมรรถนะการเข้าใจดิจิทัลเป็นส่ิงสาคัญท่ีใช้พสิ ูจน์
การพฒั นาระดับนานาชาติและระดับประเทศมีหน่วยงานและกลมุ่ องค์กรระดับประเทศและนานาชาติ
ทั้งแสวงหาผลกาไรและไม่แสวงหาผลกาไร ได้พัฒนาและดาเนินกรอบการเข้าใจดิจิทัล เพ่ือสนับสนุน
การเป็นพลเมอื งในศตวรรษที่ 21 หรอื พลเมืองดจิ ิทัล

ความหมาย หลักเกณฑ์ การวิเคราะหแ์ ละพฒั นาหลักสตู รการเข้าใจดจิ ิทลั (Digital Literacy)
ทาให้เกิดหลักสูตรการเข้าใจดิจิทัล ซึ่งมีหัวข้อหลักจานวน 9 หัวข้อ ได้แก่ สิทธิและความรับผิดชอบ
การเข้าถึงสื่อดิจิทัล การส่ือสารยุคดิจิทัล ความปลอดภัยยุคดิจิทัล การรู้เท่าทันสื่อและสารส นเทศ
แนวปฏิบัติในสงั คมดิจิทัล สุขภาพดียุคดิจิทัล ดิจิทัลคอมเมิร์ซ และกฎหมายดิจิทัล โดยจะนาเสนอใน
บทท่ี 3 ถึงบทที่ 10 ซง่ึ มคี วามครอบคลมุ การเข้าใจดจิ ทิ ลั ในสังคมไทยในปจั จุบนั มากทส่ี ดุ

1.5 เอกสารอ้างองิ

Careeronestop. (2018). Competency Model General Instructions. Retrieved from
https://www.careeronestop.org/CompetencyModel/CareerPathway/CPWGenIn
structions.aspx#tiersF

23

Raman Attri. (2019). the Models of Skill Acquisition and Expertise Development: A Quick
Reference of Summaries. Singapore: Speed to Proficiency Research

The Partnership for 21st Century. (2018). FRAMEWORK FOR 21st CENTURY LEARNING
DEFINITIONS. Battelle for Kids

Barry M. Leiner, V. G. (2017). Brief History of the Internet 1997. Retrieved from
https://www.internetsociety.org/wp-content/uploads/2017/09/ISOC-History-of-
the-Internet_1997.pdf

Michael, DeWaard, Helen. Hoechsmann. (2015). Mapping Digital Literacy Policy and
Practice in the Canadian Education. Retrieved from MediaSmarts:
http://mediasmarts.ca/sites/mediasmarts/files/publication-report/full/mapping
-digital-literacy.pdf

Briggs C., Makice K. (2012). Digital Fluency: Building Success in the Digital Age. SociaLens
Paul Glister. (1997). Digital Literacy. New York: Wiley
Stephenson J. (1995). Capability and quality in higher education. (Yorke M Stephenson

J, บ.ก.) London: KoganPage
Spencer, L., & Spencer, M. (1993). Competence at work: Models for superior

performance. N.Y: John Wiley & Sons
Dugan Laird. (1985). Approaches To Training and Development. Reading. MA: Addison-Wesley
B Banathy. (1968). Instructional Systems. Palo Alto. California: Fearon Publishers
Department of Defense Handbook. (1988). Instructional System Development/ System

Approach to Training and Education (part 2 of 5). Department of Defense
Oxford Dictionaries. (n.d.). Definition of literacy in English. Retrieved December 2018,

from https://en.oxforddictionaries.com/definition/literacy
ภัทรพล สุเมธลักษณ์. สุภาภรณ์ เกียรติสิน. สมิทธิ ดารากร ณ อยุธยา. การวิเคราะห์สะเต็มศึกษาสู่

แนวทางการศึกษาของประเทศไทย. (2561). The 3rd Technology Innovation
Management and Engineering Science International Conference (TIMES-iCON).
จินดารัตน์ โพธ์ินอก. (2557). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21. สืบค้นจาก สานักงานราชบัณฑิตยสภา:
http://www.royin.go.th/?knowledges=ทักษะแห่งศตวรรษที่-๒๑
David Woo, Jimmy de la Torre, Gary Wong Nancy Law. (2018). A Global Framework of
Reference on Digital Literacy Skills for Indicator 4 . 4 . 2 . Quebec: Institute for
Statistic, UNESCO
Jian Xi Teng. (2018). Digital literacy and beyond. Bangkok: Education Sector, UNESCO
Katharine Reedy, Natasha Huckle, Wendy Mears. (2018). Digital skills and digital literacy.
Retrieve from The Open University: https://www.open.edu/openlearn/ocw/
mod/oucontent/view.php?id=26153&section=2
Jonghwi Park. (2 0 1 7 ) . Conference on Digital Citizenship Education in Asia-Pacific
Outcome Document. Bangkok: Asia and Pacific Regional Bureau for Education,
UNESCO

24

Jonghwi Park, Maria M Tan. (2016). A Policy Review: Building Digital Citizenship in Asia-
Pacific through Safe, Effective and Responsible Use of ICT. Paris: the United
Nations Educational, UNESCO

สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และมหาวิทยาลัยมหิดล. (2559).
หลักสูตรการเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy Curriculum) 2559. กรุงเทพฯ: กระทรวง
ดจิ ิทลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คม

25

บทที่ 2

สทิ ธิและความรบั ผดิ ชอบ

26

บทท่ี 2
สิทธิและค ำมรับผิดชอบ

สิทธิและเสรีภาพ เป็นองค์ประกอบพ้ืนฐานสาคัญท่ีต้องคานึงถึง เม่ือมีการ

ส่ือสารสาธารณะในยุคดิจิทัล ซึ่งต้องคานึกถึงความรับผิดชอบต่อตนเอง
และสังคม ท้ังในระดับชุมชน ระดับประเทศ และระดับโลก อันเป็นผล
มาจากการกระทาโดยตรงและทางกฎหมาย ดังน้ัน การใช้สิทธิ เสรีภาพอย่าง
ถูกต้อง จะทาให้การอยู่ร่วมกันในสังคมเดียวกันอย่างสงบสุข ภายใต้กฎหมาย
กฎระเบียบ จริยธรรม ศีลธรรม ของสังคม ถือเป็นเร่ืองพ้ืนฐานประการแรกท่ีจาเป็นต้องทราบ
และสามารถปฏบิ ตั ิตนได้อย่างเหมาะสม เพือ่ สร้างสรรคส์ ังคมออนไลน์ท่ีพงึ ประสงคแ์ ละเกิดการมีส่วน
รว่ มทางสงั คมอย่างแทจ้ รงิ
2.1 คาจากดั ความสทิ ธแิ ละเสรภี าพ
สิทธิ คือ ประโยชน์หรืออานาจของบุคคลที่กฎหมายรับรองและคุ้มครองมิให้มีการละเมิด
รวมทั้งบังคับการใช้เป็นไปตามสิทธิในกรณีที่มีการละเมิดด้วย อันได้แก่ สิทธิภายในครอบครัว สิทธิ
ความเป็นอยู่ส่วนตัว สิทธิในเกียรติยศช่ือเสียง สิทธิในการเลือกอาชีพ ถิ่นท่ีอยู่ การเดินทาง และสิทธิ
ในทรพั ยส์ นิ เปน็ ต้น
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน1 ได้ให้ความหมายคาว่า “สิทธิ หมายถึง ความสาเร็จ
หรอื อานาจท่ีจะกระทาการใด ๆ ไดอ้ ย่างอสิ ระ โดยไดร้ ับการรบั รองจากกฎหมาย”
เสรีภาพ เป็นคาที่มักถูกใช้เคียงคู่กับคาว่า “สิทธิ” นั่นคือ “สิทธิเสรีภาพ” จึงทาให้เกิดความ
เข้าใจว่ามีความหมายอย่างเดียวกัน โดยแท้จริงแล้ว คาว่า “เสรีภาพ” หมายถึง อานาจตัดสินใจด้วย
ตนเองของมนุษย์ที่จะเลือกดาเนินพฤติกรรมของตนเอง โดยไม่มีบุคคลอ่ืนใดอ้างหรือใช้อานาจ
แทรกแซงเกยี่ วข้องกับการตดั สินใจนนั้ และเป็นการตัดสินใจดว้ ยตนเองทจ่ี ะกระทาหรือไมก่ ระทาการ
ส่ิงหน่ึงสิ่งใดอันไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย การท่ีบุคคลจะดารงชีวิตอยู่ในสังคมนอกจากปฏิบตั ิตาม
กฎหมายแล้ว จาเป็นท่ีจะต้องคานึงถึงกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของสังคม ขนบธรรมเนียม และวัฒนธรรม
ดังน้ัน สทิ ธิและเสรภี าพ จงึ เป็นปัจจัยสาคัญในการบง่ ช้ีว่าสังคมหรือบ้านเมืองใด มคี วามสงบสขุ มีสันติ
หรือมีความเปน็ ประชาธิปไตยหรอื ไม่

1 พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525. พิมพค์ รงั้ ที่ 1 : อักษรเจรญิ ทศั น์. กรุงเทพฯ, 2525

27

2.1.1 สิทธิและเสรภี าพตามรฐั ธรรมนูญไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 ได้นาเร่อื งการคุม้ ครองสทิ ธิและเสรภี าพของ
ประชาชนมาบัญญัติไว้เป็นครั้งแรก ว่า “บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการนับถือศาสนาหรือลัทธิ
ใด ๆ และมีเสรีภาพในการปฏิบัติพิธีกรรมตามความเช่ือของตน เม่ือไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อหน้าท่ีของ
พลเมืองและไม่เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมของประชาชน”2 และ “ภายในบังคับ
แห่งกฎหมาย บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในร่างกาย เคหสถาน ทรัพย์สิน การพูด การเขียน การ
โฆษณา การศึกษาอบรม การประชุมโดยเปิดเผย การต้ังสมาคม การอาชีพ” ถึงแม้รัฐธรรมนูญ
จะวางหลักการด้านสิทธิและเสรีภาพไว้อย่างกว้าง ๆ เพื่อให้เป็นแนวทางปฏิบัติ ดังน้ัน การกระทา
บางประการทไ่ี ม่ขดั ตอ่ รัฐธรรมนญู แตเ่ น่อื งด้วยไม่มกี ฎหมายมารองรบั จึงอาจพบว่าเกิดผลเสียต่อการ
ปกครองบ้านเมือง ดังกรณี การตั้งสมาคมคณะราษฎรที่มีกิจกรรมในทางการเมืองประหน่ึง
เป็นพรรคการเมืองที่มุ่งเน้นส่งผสู้ มัครรบั เลอื กต้ัง จนกระทั่งนาไปสู่ความขัดแย้งทางการเมืองระหวา่ ง
คณะราษฎรกบั ขนุ นางชน้ั สูง เปน็ ต้น

จากเหตุการณ์ข้างต้น ทาให้การจัดทารัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ ผู้ท่ีเกี่ยวข้องจะคานึงถึง
การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเป็นประการสาคัญเสมอ เนื่องจากสิทธิและเสรีภาพ
เป็นเกียรติยศและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ และประเทศท่ีปกครองในระบอบประชาธิปไตย
หากละเลยหรือไม่คุ้มครองเรื่องเหล่านี้ย่อมส่งผลต่อเกียรติภูมิของประเทศชาติอีกด้วย ดังจะเห็นได้จาก
ในการจัดทารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 สภาร่างรัฐธรรมนูญได้กาหนดกรอบว่า
“...มีสาระสาคัญเป็นการส่งเสริมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ให้ประชาชนมีส่วนร่วมใน
การปกครองและตรวจสอบการใช้อานาจรัฐเพิ่มขึ้น... ”3 และในการจัดทารัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 สภาร่างรัฐธรรมนูญก็ได้ยดึ กรอบดังกล่าว พร้อมกับขยายขอบเขต
การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพให้ครอบคลุมมากข้ึน ทั้งได้กาหนดออกมาเป็นส่วน ๆ เพ่ือสร้างความเข้าใจ
ของประชาชนผู้ได้รับการคุ้มครองโดยรัฐธรรมนูญ รวมถึงรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2560 ได้มีการกาหนดรายละเอียดต่างๆท่เี กีย่ วข้องไวเ้ พมิ่ เตมิ

2.1.2 การคุ้มครองสทิ ธแิ ละเสรีภาพตามเจตนารมณข์ องรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้บัญญัติด้านการคุ้มครองสิทธิ
และเสรีภาพของปวงชนชาวไทย โดยแต่ละสว่ นมีเจตนารมณส์ รปุ ได้ดังนี้4

1) บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย
เทา่ เทยี มกนั

2) บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย การค้นตัวบุคคลหรือการกระทาใด
อันกระทบกระเทือนต่อสิทธิหรือเสรีภาพในชีวิตหรือร่างกาย การจับและการคุมขังบุคคลจะกระทา

2 รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รสยาม พทุ ธศกั ราช 2475 . มาตรา 12, ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม 49 หนา้ 537. วันที่ 10 ธนั วาคม 2475
3 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
4 รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560

28

มิได้ เว้นแต่มีคาส่ังหรือหมายของศาลหรือมีเหตุอย่างอื่นตามท่ีกฎหมายบัญญัติ และการทรมาน
ทารุณกรรม หรือการลงโทษดว้ ยวิธีการโหดรา้ ยหรอื ไรม้ นษุ ยธรรมจะกระทามิได้

3) บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการนับถือศาสนาและย่อมมีเสรีภาพในการปฏิบัติหรือ
ประกอบพิธีกรรมตามหลักศาสนาของตน แต่ต้องไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อหน้าที่ของปวงชนชาวไทยไม่เป็น
อันตรายตอ่ ความปลอดภัยของรฐั และไม่ขัดตอ่ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

4) บุคคลยอ่ มมสี ิทธใิ นความเป็นอย่สู ว่ นตวั เกยี รติยศ ช่ือเสียง และครอบครวั

5) บุคคลย่อมมีเสรีภาพในเคหสถาน การเข้าไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอมของ
ผู้ครอบครอง หรือการค้นเคหสถาน หรือที่รโหฐานจะกระทามิได้ เว้นแต่มีคาสั่งหรือหมายของศาล
หรือมีเหตอุ ยา่ งอนื่ ตามท่กี ฎหมายบัญญตั ิ

6) บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา
และการส่ือความหมายโดยวิธีอื่น การจากัดเสรีภาพดังกล่าวจะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจ
ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายท่ีตราขึ้นเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ เพื่อคุ้มครองสิทธิ
หรือเสรีภาพของบุคคลอ่ืน เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อ
ป้องกันสุขภาพของประชาชน เสรีภาพทางวิชาการย่อมได้รับความคุ้มครอง แต่การใช้เสรีภาพน้ัน
ต้องไม่ขัดต่อหน้าท่ีของปวงชนชาวไทยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และต้องเคารพและไม่ปิดกั้น
ความเหน็ ตา่ งของบุคคลอ่นื

7) บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการติดต่อสื่อสารถึงกันไม่ว่าในทางใด ๆ การตรวจ การกัก
หรอื การเปิดเผยข้อมูลที่บคุ คลสื่อสารถึงกัน รวมท้งั การกระทาดว้ ยประการใดๆ เพอื่ ให้ล่วงร้หู รือได้มา
ซึ่งข้อมูลท่ีบุคคลสื่อสารถึงกันจะกระทามิได้ เว้นแต่มีคาส่ังหรือหมายของศาลหรือมีเหตุอย่างอื่นตาม
ท่ีกฎหมายบญั ญตั ิ

8) บุคคลย่อมมีสิทธิในทรัพย์สินและการสืบมรดก บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการเดินทางและ
การเลือกถิ่นที่อยู่ การจากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตาม
บทบัญญัติแห่งกฎหมายท่ีตราข้ึนเพ่ือความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบร้อยหรือสวัสดิภาพ
ของประชาชน หรือการผงั เมืองหรือเพ่ือรักษาสถานภาพของครอบครวั หรอื เพื่อสวัสดภิ าพของผู้เยาว์

9) บคุ คลย่อมมเี สรภี าพในการประกอบอาชีพ การจากดั เสรภี าพตามวรรคหน่ึงจะกระทามิได้
เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ตราข้ึนเพื่อรักษาความมั่นคงหรือเศรษฐกิจ
ของประเทศ การแข่งขันอย่างเป็นธรรม การป้องกันหรือขจัดการกีดกันหรือการผูกขาด การคุ้มครอง
ผู้บริโภค การจดั ระเบยี บการประกอบอาชีพเพียงเท่าท่จี าเปน็ หรือเพอื่ ประโยชน์สาธารณะอย่างอน่ื

10) บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิในการได้รับทราบและเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะ
ในครอบครองของหน่วยงานของรัฐ ตามท่ีกฎหมายบัญญัติ การเสนอเรื่องราวร้องทุกข์ต่อหน่วยงาน
ของรัฐและได้รับแจ้งผลการพิจารณาโดยรวดเร็ว การฟ้องหน่วยงานของรัฐให้รับผิดเนื่องจากการ
กระทาหรือการละเว้นการกระทาของข้าราชการพนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยงานของรฐั

11) บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการรวมกันเป็นสมาคม สหกรณ์ สหภาพ องค์กร ชุมชน
หรอื หม่คู ณะอน่ื

29

12) บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ การจากัดเสรีภาพ
ตามวรรคหน่ึงจะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายท่ีตราขึ้นเพ่ือรักษา
ความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยสาธารณะ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี ของประชาชน
หรอื เพือ่ คมุ้ ครองสทิ ธหิ รือเสรีภาพของบุคคลอน่ื

13) บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการรวมกันจัดต้ังพรรคการเมืองตามวิถีทางการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข ตามที่กฎหมายบญั ญัติ

14) สิทธิของผู้บริโภคย่อมได้รับความคุ้มครอง บุคคลย่อมมีสิทธิรวมกันจัดตั้งองค์กร
ของผบู้ รโิ ภคเพือ่ คุม้ ครองและพิทกั ษส์ ิทธิของผู้บรโิ ภค องค์กรของผู้บริโภคตามวรรคสองมีสิทธิรวมกัน
จัดตั้งเป็นองค์กรที่มีความเป็นอิสระเพื่อให้เกิดพลังในการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิของผ้บริ โภค
โดยไดร้ ับการสนับสนุนจากรฐั ทั้งน้ี หลกั เกณฑ์และวิธกี ารจัดตง้ั อานาจในการเปน็ ตัวแทนของผู้บริโภค
และการสนบั สนนุ ด้านการเงินจากรฐั ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีกฎหมายบัญญัติ

15) บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขของรัฐ บุคคลผู้ยากไร้ย่อมมีสิทธิได้รับบริการ
สาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตามที่กฎหมายบัญญัติ บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับการป้องกัน
และขจดั โรคตดิ ตอ่ อันตรายจากรฐั โดยไม่เสียคา่ ใช้จา่ ย

16) สิทธิของมารดาในช่วงระหว่างก่อนและหลังการคลอดบุตรย่อมได้รับความคุ้มครองและ
ช่วยเหลือตามที่กฎหมายบญั ญตั ิ

17) บุคคลจะใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ มไิ ด้

จากเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญข้างต้น จะสามารถวิเคราะห์ได้ว่า สิทธิและเสรีภาพของ
ปวงชนชาวไทยที่ได้รับการคุ้มครองโดยรัฐธรรมนูญนั้น จาแนกออกได้เป็น 3 ประเภท คือ (1) สิทธิ
และเสรีภาพส่วนบคุ คล (2) สิทธิและเสรีภาพในทางเศรษฐกิจ และ (3) สิทธิและเสรภี าพในการมีสว่ น
ร่วมทางการเมอื ง

ในระดบั นานาชาติ ไดม้ ีขอ้ ตกลงระหว่างประเทศสาหรับพิทักษ์และคุ้มครองดา้ นสิทธิเสรีภาพ
ของประชาชน เพอ่ื ให้มีความครอบคลุมในความเป็นประชาคมโลกทีม่ ีความแตกต่างกนั ตามอัตลักษณ์
ของแต่ประเทศ อันมีวิถีปฏิบัติต่อประชาชนของตนแตกต่างกัน และเพื่อให้ทุกคนได้รับการคุ้มครอง
สทิ ธเิ สรีภาพข้ันพน้ื ฐานเท่าเทยี มกัน เช่น ปฏิญญาสากลว่าดว้ ยสิทธิมนุษยชน หากพบวา่ ประเทศภาคี
สมาชิกใดละเมิดหรือไม่ปฏิบัติตามข้อตกลง ย่อมได้รับการลงโทษ ตอบโต้ หรือนามาตรการ
ทางเศรษฐกิจมากาหนดดา้ นความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศได้ เปน็ ต้น

2.2 ความเข้าใจในเรอ่ื งสิทธิ เสรภี าพ ของพลเมืองดิจิทัล5

จากเหตกุ ารณส์ าคญั ที่เกิดข้ึนในช่วงเดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2557 – พฤษภาคม พ.ศ. 2558 (มลู นิธิ
เพ่ืออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง, 2558) พบว่า มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยถูกคุกคาม

5 สุภาภรณ์ เกยี รตสิ ิน, “การเขา้ ใจดิจิทลั กับพลเมืองไทย”. (2018) The 3rd Technology Innovation Management and Engineering Science
International Conference (TIMES-iCON);.

30

และถูกจับกุมเพิ่มสูงข้ึน อันเป็นผลทาให้เกิดคาส่ังในการควบคุมเน้ือหา การเซ็นเซอร์ และทาลาย
ความหลากหลายของข้อมูลที่มีอย่บู นอินเทอรเ์ น็ต เน่ืองจากบนพื้นท่ีออนไลน์เป็นช่องทางแสดงความ
คิดเห็นที่ค่อนข้างรุนแรงสาหรับบุคคลหลายกลุ่มมาใช้ในการส่ือสาร และการจัดกิจกรรมท่ีไม่
เหมาะสม และเป็นการจากดั เสรภี าพในการแสดงความคดิ เห็น และละเมิดความเปน็ ส่วนตัว

ในปัจจุบันเครือข่ายสังคมออนไลน์มีหลากหลายช่องทาง เช่น Facebook LINE YouTube
Instagram และ Twitter เป็นต้น ได้รับความนิยมและมีปริมาณการใช้งานเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดย
คุณลักษณะสาคัญของเครือข่ายสังคมออนไลน์เหล่านี้ทาให้ประชาชนสื่อสารกันได้อย่างสาธารณะ
ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบข้อความ ภาพ และภาพเคล่ือนไหว เช่น การสร้างข้อความสาธารณะเพื่อบอก
สถานะหรือกิจกรรมทากาลังกระทาอยู่ เป็นต้น และเน่ืองด้วยความมีอิสระบนพ้ืนท่ีส่วนตัวบน
เครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ ทาใหง้ า่ ยต่อการนาเสนอข้อความและเน้ือหาท่ีไม่เหมาะสม หรอื การนาเสนอ
ขอ้ มูลส่วนตัวลงในพนื้ ทส่ี าธารณะโดยขาดความตระหนักจะนามาส่ภู ยั อันตรายได้อย่างไม่คาดคิด อาจ
ละเมิดสิทธิบุคคลอ่ืนท้ังต้ังใจและไม่ต้ังใจ ดังนั้น ผู้ใช้งานควรมีการเรียนรู้การต้ังค่าเกี่ยวกับความเป็น
ส่วนตัว การกาหนดขอบเขตการเข้าถึงพ้ืนที่ส่วนตัวของตน เช่น การกาหนดผู้รับข้อมูลอย่างจาเพาะ
เจาะจง เพ่ือให้การใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์มีความเหมาะสม ไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล
จนอาจนาไปสู่บทลงโทษทางกฎหมายได้

ป ฏิ ญ ญ า ส า ก ล ว่ า ด้ ว ยสิ ท ธิม นุ ษ ย ช น ( Universal Declaration of Human Rights)
ไดก้ ล่าวถงึ สิทธิ และเสรภี าพ ดงั นี้ “ขอ้ 19 วา่ ด้วยการท่ีบคุ คลมีสทิ ธิในเสรีภาพแห่งความเหน็ และการ
แสดงออก สิทธิน้ีรวมถึงเสรีภาพท่ีจะยึดมั่นในความเห็นปราศจากการสอดแทรก และท่ีแสวงหา
ตลอดจนแจ้งข่าว รวมท้ังความคิดเห็นผ่านส่ือใดๆ และโดยมิต้องคานึงถึงเขตแดน” และ “ข้อ 29
กล่าวถึง บุคคลมีหน้าที่ต่อประชาคมอันเป็นที่เดยี วซ่ึงบุคลิกภาพของตนจะพัฒนาได้อย่างเสรีและเตม็
ความสามารถ” ดังนั้น ในการใช้สิทธิและเสรีภาพ โดยบุคคลต้องอยู่ภายใต้ข้อกาหนดแห่งกฎหมาย
เพื่อให้ได้มาซ่ึงการยอมรับและการเคารพโดยชอบแก่สิทธิเสรีภาพของผู้อ่ืน และเพื่อให้สอดคล้องกับ
ข้อกาหนดอันยุติธรรมของศีลธรรม ความสงบเรียบร้อยของประชาชาติและสวัสดิการในสังคม
ประชาธิปไตย ซ่ึงไม่สามารถขัดแย้งกับจุดประสงค์และหลักการของสหประชาชาติได้ นอกจากน้ี
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ( ICCPR – International
Covenant on Civil and Political Rights) ได้กล่าวไว้ว่า “บุคคลทุกคนมีสิทธิท่ีจะมีความคิดเห็น
โดยปราศจากการแทรกแซง มีสิทธิในเสรีภาพแห่งการแสดงออก” หมายถึง การมีสิทธิและเสรีภาพ
ที่จะแสวงหา รับและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและความคิดทุกประเภทโดยไม่มีข้อจากัดด้านพรมแดน
รวมทัง้ วาจา ลายลักษณอ์ กั ษร การตพี มิ พ์ในรูปของศิลปะ หรอื โดยอาศัยส่อื ประการอื่นตามทต่ี นเลือก
อย่างไรก็ตาม การใช้สิทธิดังกล่าวอาจมีข้อจากัดในบางประเด็น ซ่ึงต้องมีการบัญญัติไว้ในกฎหมาย
เพื่อสร้างการเคารพในสิทธิหรือชื่อเสียงของบุคคลอื่น การรักษาความม่ันคงของชาติ หรือความสงบ
เรียบร้อย หรือการสาธารณสขุ หรอื ศลี ธรรมของประชาชน

กลุ่มเยาวชน เป็น กลุ่มประชาชนท่ีสาคัญ เน่ืองจากเร่ิมมีการใช้เคร่ืองมือดิจิทัลกันมากขึ้น
และยังมีการวเิ คราะห์ข้อมูลข่าวสารท่ีได้รบั มายงั ไม่ละเอียดถี่ถ้วน ไมร่ เู้ ทา่ ทนั สอื่ อย่างเพยี งพอ มีความ
เส่ียงต่อการถูกหลอกจาก ข้อความล่อลวง หรือกลโกงทางออนไลน์ ดังนั้น จึงมีการคุ้มครองสิทธิ
สาหรับกลุ่มเด็กและเยาวชนอยู่ใน “อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กของสหประชาชาติ (United Nations
Convention on the Rights of the Child) ซ่ึงกล่าวว่า การกระทาผิดในรูปแบบการค้าเด็ก
(Optional Protocol on the Sale of Children) หมายถึง การกระทาท่ีเด็กถูกส่งมอบโดยบุคคล


Click to View FlipBook Version