The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเข้าใจดิจิทัลกับพลเมืองไทย ในศตวรรษที

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by puttachart, 2022-03-23 04:54:31

การเข้าใจดิจิทัลกับพลเมืองไทย ในศตวรรษที

การเข้าใจดิจิทัลกับพลเมืองไทย ในศตวรรษที

131

• สญั ลกั ษณอ์ ิโมจิ (Emoji) คือ อักษรภาพ ท่ีคดิ คน้ โดยบรษิ ทั NTT docomo บริษทั
ผใู้ ห้บริการสง่ ขอ้ ความเพจเจอร์ (Pager) ประเทศญี่ป่นุ โดยเพม่ิ สัญลกั ษณร์ ูปหัวใจ
และรูปอน่ื ๆ ตามมาในภายหลัง ดงั รูปภาพที่ 54

รูปภาพที่ 54 ตัวอย่างสัญลกั ษณ์อโิ มจิ (Emoji)4
• สติกเกอร์ (Sticker) คือ อักษรภาพท่ีถูกพัฒนาให้มีความทันสมัยและมีรูปแบบ

ทห่ี ลายหลายมากกว่าอโิ มจิ มขี นาดทีใ่ หญก่ วา่ และมีข้อความแทรกดว้ ย ในปัจจุบัน
สติ๊กเกอร์เป็นท่ีนิยมมากของคนไทย ด้วยเพราะสามารถใช้ส่งแทนการพิมพ์
ข้อความในทันที ดังรปู ภาพที่ 55

รูปภาพที่ 55 ตัวอยา่ งสตกิ เกอร์ (Sticker)5
• มีม (Meme) คือ การนาเรื่องราวหรือกระแสบนโลกออนไลน์ นามาเผยแพร่ซ้า ๆ

โดยผ่านบุคลิกหรือลักษณะตัวตนของบุคคลอ่ืน ซ่ึงอาจจะทาโดยการนาภาพของ

4 ตัวอย่างสญั ลักษณ์อิโมจิจากแอปพลิเคชัน LINE
5 ตวั อยา่ งสตกิ เกอร์จากแอปพลเิ คชัน LINE

132

บุคคลนั้นมาเพ่ิมเติมคาพูดหรือข้อความ ในขณะเดียวกับที่มีการทาซ้าในลักษณะ
เช่นเดียวกันนี้แต่เปลี่ยนเป็นข้อความอ่ืน ๆ แทน ในลักษณะของการ “ตัดต่อภาพ
และข้อความ” และมีการเผยแพร่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างกว้างขวาง ซึ่งใน
ปั จ จุ บั น น้ี พ บ ว่ า มี ก า ร ล้ อ เ ลี ย น แ ล ะ แ ช ร์ ใ น ลั ก ษ ณ ะ เ ช่ น นี้ อ ยู่ เ ป็ น จ า น ว น ม า ก
นอกเหนือจากภาพนิ่งแล้วก็ยังมีการทาเป็นภาพนิ่งเคลื่อนไหวได้ (GIF) ซ่ึงสามารถ
ใชแ้ ทนการสง่ สติ๊กเกอร์ ดงั รปู ภาพท่ี 56

รูปภาพที่ 56 ตวั อย่างภาพมีม (Meme)6
จากรปู แบบการสื่อสารบนสังคมออนไลน์ของประเทศไทยในปัจจบุ ันจะพบว่า การใช้ “ภาษา
แชท” นั้น มีความแพร่หลายและไดรับความนิยมในหมู่มาก การส่ือสารอย่างไม่เป็นทางการได้รับ
ความนิยมมากขึ้นจนทาให้บุคคลขาดการแยกแยะถึงวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร รวมไปถึงไม่ได้
คานึงถึงความเหมาะสมของสถานภาพของบุคคลที่เรากาลังสื่อสารอยู่ ดังน้ันจึงต้องมีการทบทวนและ
คิดใหร้ อบคอบ ประเมินสถานการณ์และบคุ คลท่ตี อ้ งการสนทนาดว้ ยให้เหมือนกับโลกความเป็นจรงิ

7.1.3 มารยาทใช้โทรศัพท์

โทรศัพท์มือถือเป็นปัจจัยพ้ืนฐานในการดารงชีวิตของคนในปัจจุบัน ซ่ึงจากผลสารวจ7
พบว่า คนไทยมีการอัตราการใช้มือถือสมาร์ตโฟน มากที่สุดเป็นอันดับหนึ่ง ในทุกช่วงกลุ่มอายุ
ท่ัวประเทศ เน่อื งจากราคาที่ถูกลง ทาให้สามารถเปน็ เจ้าของได้ง่ายขน้ึ รวมทงั้ การใหบ้ ริการเครือข่าย
สัญญานโทรศพั ท์ท่ีครอบคลุมมากขน้ึ กว่าในอดีต อย่างไรก็ดีการใชโ้ ทรศัพทส์ ่วนบุคคลก็มคี วามจาเป็น
ทจ่ี ะต้องเขา้ ใจถงึ มารยาทของการใชโ้ ทรศัพท์ในพื้นที่สาธารณะดว้ ยเชน่ กนั มารยาทการใชโ้ ทรศัพท์ใน
ทส่ี าธารณะท่คี วรพงึ ปฏิบัตมิ ีดงั น้ี

• ควรปิดโทรศัพท์หรือเปิดระบบส่ันเม่ืออยู่ในโรงภาพยนตร์ โรงละคร ห้องประชุม
หอ้ งเรียน ห้องสมั มนา โรงพยาบาล วัด โบสถ์ ห้องสมุด และสถานที่อื่น ๆ ทม่ี ีปา้ ย
เตอื นห้ามใช้เสียง

• ไม่ควรรับสายเรียกเข้าขณะกาลังขึ้น-ลง รถโดยสาร ขณะกาลังขับรถ หากมีความ
จาเป็นควรใชอ้ ปุ กรณเ์ สริม เช่น หฟู ัง หรือ Bluetooth headphone

6 ตัวอยา่ งมีมจากแอปพลิเคชัน 9GAG
7 สานักงานคณะกรรมการดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ. (2562). ผลสารวจการรู้เทา่ ทนั สื่อและสารสนเทศของไทย ประจาปี 2562. กรงุ เทพฯ: กระทรวง
ดิจิทลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ.

133

• ระมัดระวังการใช้ภาษาที่ไม่สุภาพ รวมถึงการพูดคุยเรื่องสาคัญ เรื่องส่วนตัว
ในทส่ี าธารณะ

• หลีกเล่ียงการตะโกนคุยกับปลายสาย แต่ควรใช้ระดับเสียงท่ีเบากว่าการพูดปกติ
เลก็ นอ้ ย

• ไม่ควรใช้โทรศัพทม์ ือถอื ในทเี่ ปลีย่ ว เพราะอาจเกดิ เหตุอันตรายได้
• ไม่ควรก้มเล่นโทรศัพท์มากเกนิ ไป จนลมื สังเกตสิ่งแวดล้อมรอบตัว
• ไม่ควรน่ังหรือใช้พื้นท่ีสาธารณะเพื่อเล่นโทรศัพท์จนกลายเป็นการลิดรอนสิทธิการ

ใช้พ้ืนท่ีสาธารณะของบุคคลอ่ืน เช่น การน่ังเล่นโทรศัพท์ในห้องน้ า
ในหา้ งสรรพสนิ ค้า การนัง่ เล่นโทรศพั ทใ์ นฟติ เนส เป็นต้น
• ไม่ควรใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อความบันเทิงจนเป็นการรบกวนผู้อ่ืน เช่น เปิดเพลง
ดัง ๆ ในท่ีสาธารณะ การเปิดคลิปวดิ ีโอยูทูบในห้องทางานท่ีมีบุคคลอ่ืนน่ังรว่ มดว้ ย
หากมีความจาเป็นควรใชห้ ูฟงั
• ไม่ควรใช้โทรศัพท์มือถือถ่ายรูปและวิดีโอ ในสถานที่ราชการและ/หรือบริเวณท่ีมี
การแจ้งเตือนว่าไม่อนุญาตให้ถ่ายภาพหรือบันทึกวิดีโอ เช่น ห้องผู้ป่วย
ในโรงพยาบาล พพิ ิธภัณฑ์ ห้องปฏิบตั ิการทางราชการบางแหง่ หอ้ งการปฏบิ ตั ิการ
ทดลอง เปน็ ต้น
• ไม่ควรใช้มือถือถ่ายเหตุการณ์หรือพฤติกรรมของผู้อื่นในที่สาธารณะเพื่อนามา
เผยแพร่เชิงล้อเลยี น ขาขนั หรอื กลั่นแกล้ง เชน่ การถ่ายวิดโี อบุคคลอ่ืนท่ีแต่งตัวไม่
เหมาะสมในที่สาธารณะ แล้วนามาแชร์เพ่ือวิพากษ์วิจารณ์ในส่ือสังคมออนไลน์
เปน็ ต้น
• การไม่เล่นโทรศัพท์มือถือมากเกินไปจนไม่มีส่วนร่วมกับกิจกรรมที่กาลังกระทาอยู่
ร่วมกับผู้อ่ืน เช่น การเล่นมือถือบนโต๊ะรับประทานอาหาร การเล่นมือถือในงาน
เลย้ี งสรรสรรค์ การเลน่ มือถือขณะมีการประกอบพิธีทางศาสนา เปน็ ตน้
ทั้งน้ี เพ่ือเป็นการส่งเสริมจิตสานึกการใช้โทรศัพท์โดยคานึงถึงการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง
สันติสุขและปลอดภัย รวมท้ังกระตุ้นให้เห็นความสาคัญของการปรับพฤติกรรมในการอยู่ร่วมกัน
ในสังคมปัจจุบัน

7.1.4 การเอาใจใส่ผอู้ ่นื (Empathy)

จิตวิทยาของการเอาใจใส่ผู้อื่น (Psychology of Empathy) (Scapaletti Danielle,
2011) ได้กล่าวถึงว่า เม่ือผู้คนนึกถึงคาว่า “การเอาใจใส่ผู้อ่ืน (Empathy)” มักจะมีความคิดว่า
หมายถึงการที่บุคคลหน่ึง นึกถึงผลประโยชนข์ องอีกบุคคลหนึ่ง (The way that one person cares
about the welfare of another.) ซึ่งในความหมายทานองเดียวกันคือ การกระทาท่ีนึกถึงผลที่คน
อ่ืนจะได้รับ โดยการนึกถึงความรู้สึกของผู้อื่น ทั้งความรู้สึกท่ีแสดงออกทางกิริยา และแสดงออกทาง
ความรู้สึก เพื่อปรับทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการรับรู้และเข้าใจพฤติกรรมที่แสดงออกในโลกอินเทอร์เน็ต
ของผู้อื่น และส่งเสริมจริยธรรมท่ีดีงาม เหมาะสมกับบริบทของสังคมและวัฒนธรรมไทย
ซง่ึ การติดต่อสื่อสารแบบไม่พบเหน็ ตวั ตนมสง่ ผลให้การรบั รู้อารมณแ์ ละความรู้สึกของบุคคลทเี่ รากาลัง
ติดต่อสื่อสารด้วยไม่สามารถทาได้ จึงทาให้ไม่ทราบว่าผลกระทบท่ีเกิดจากข้อความท่ีถูกส่งไปหรือ

134

เน้ือหาเร่ืองราวของบุคคลอ่ืนท่ีถูกเผยแพร่ไปสร้างผลกระทบและความเสียหายทางจิตใจต่อผู้อื่น
ซ่ึงในปัจจุบันจะพบว่าการแสดงความคิดเห็น (Comment) บนส่ือสังคมดิจิทัลน้ัน เป็นการวิพากษ์
วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นโดยไม่คานึงถึงสภาพแวดล้อมความจรงิ ว่าเราไมไ่ ด้อยรู่ ่วมในเหตุการณ์
นั้น จึงทาให้ไม่สามารถรับทราบต้นเหตุของเหตุการณ์ต้ังแต่ต้น ซึ่งจะเป็นเพียงการได้เห็นภาพ
หรือวิดีโอแค่เพียงบางช่วงขณะ ซ่ึงการตัดสินเหตุการณ์เช่นน้ีเปรียบเสมือนการมองเพียงด้านเดียว
คอื ด้านของผรู้ ับชมสอื่ เท่านั้น

ในดา้ นของการส่อื สาร (Communication) โดยเฉพาะการส่ือสารทคี่ นไทยนิยมเป็นอยา่ งมาก
ในปัจจุบัน คือ แอปพลิเคชันไลน์ ซึ่งแทบจะกลายเป็นการสื่อสารหลัก (Main communication)
แทนการโทรศัพท์ จึงสมควรยกตัวอย่างของพฤติกรรมท่ีไม่ควรกระทาในการติดต่อส่ือสารผ่าน
แอปพลิเคชันไลน์ (Line) (ข้อความต่อจากนีจ้ ะใชค้ าว่า “ไลน์” เพอ่ื ความกระชบั ของคา) ดงั นี้

• พฤติกรรมการอ่านข้อความแล้วไม่ตอบ เนื่องด้วยเมื่อผู้ส่งข้อความทางไลน์
จะสามารถทราบได้ว่าผู้รับข้อความได้เปิดอ่านแล้ว จากการแสดงสถานะ “อ่านแล้ว” (Read)
พร้อมเวลากากับ ซ่ึงหากผู้รับข้อความใช้เวลานานเกินไปในการตอบ (ในกรณีเป็นเร่ืองเกี่ยวกับงาน
ท่ีไม่เร่งด่วน หรือ เรื่องอื่นแต่ผู้ส่งต้องการคาตอบ) ก็อาจจะส่งผลให้ผู้ส่งข้อความรู้สกึ ว่าไม่ได้รับความ
สนใจ ไมเ่ ห็นคุณค่า และอาจสรา้ งให้เกิดความรสู้ ึกที่ไมด่ ีซง่ึ กันและกนั

• พฤติกรรมการนาความลับไปเปิดเผย การถ่ายภาพหน้าจอ (Screen capture)
บทสนทนาที่คุยกันเป็นการส่วนตัวและนาไปเผยแพร่สู่สาธารณะชน เป็นการกระทาที่ถือว่าเป็นการ
ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลและอาจทาให้เกิดความเสื่อมเสียช่ือเสียง ทั้งน้ี ผู้ท่ีถูกนาข้อมูลส่วนตัว
ไปเผยแพร่สามารถดาเนินคดีตามพระราชบัญญัติการกระทาความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
และ พระราชบญั ญัติการกระทาความผดิ ทางคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560

• พฤติกรรมการส่งข้อความท่ีบ่อยเกินไปจนเป็นการก่อกวนผู้อื่น เช่น การส่ง
รูปภาพตดิ กนั เป็นจานวนมากในคราวเดยี วกนั 10 รูปขน้ึ ไป การส่งข้อความท่ีไม่จบประโยค ส่งเป็นคา
สั้น ๆ เช่น สวัสดี-ครับ-พอดี-มี-เร่ือง-รบ-กวน เป็นต้น ซ่ึงอาจสร้างความราคาญให้กับผู้ที่ได้รับ
ข้อความ นอกจากน้ีในกรณีท่ีเป็นกลุ่มสนทนา (Line group) ข้อความท่ีสาคัญอาจถูกเล่ือนขึ้นไป
ด้านบน ทาให้เรอื่ งทสี่ าคญั ที่ตอ้ งการจะแจ้งให้คนในกลุ่มทราบขาดหายไป เปน็ ต้น ดังรูปภาพท่ี 57

135

ตัวอยา่ งการส่ง
ข้อความไมจ่ บ

ประโยค

รูปภาพท่ี 57 การส่งขอ้ ความทลี ะพยางค์ไมจ่ บประโยค8

• พฤติกรรมการแชร์ข่าวโดยท่ีไม่คานึงถึงท่ีมาและความเป็นจริง เน่ืองจากการส่ง
ข่าว หรือเรื่องราวต่าง ๆ ผ่านไลน์ มีความสะดวกและรวดเร็ว และในบางคร้ังการท่ีมีห้องสนทนา
หลายห้อง มีการแชร์ข้อมูลมากมาย ในบางคร้ังด้วยความเจตนาดีที่ต้องการจะแชร์ข้อความหรือภาพ
เพื่อให้คนอื่นได้รับรู้ด้วย โดยไม่ได้พิจารณาไตร่ตรองถึงแหล่งที่มาและข้อเท็จจริงของเหตุการณ์
น้ันก่อน ท้ังนี้ เกิดมาจากการที่เราไม่ทราบถึงพลังของเครือข่ายโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network)
ท่ีมีการเช่ือมโยงระหว่างกันระหว่างบุคคลหน่ึงไปยังสังคมขนาดใหญ่ โยงใยกันไปไม่มีที่ส้ินสุด
ดังจะเห็นได้จากบางข่าวท่ีเมือ่ ถูกแชร์และส่งต่อกันไปแล้วก็เปน็ การยากที่จะลบข่าวน้ันท้ิง ด้วยเพราะ
เราไม่สามารถตามหาได้ว่าตาแหนง่ หรอื ขา่ วทถ่ี ูกแชรไ์ ปแล้วนน้ั จะไปอยู่ท่ใี ดในเครือข่ายสังคมออนไลน์
น้ี ด้วยเหตุน้ีเอง จึงมีความจาเป็นและพึงระวังเป็นอย่างมากในการเผยแพร่ภาพ ข้อมูล ข่าวสารใด ๆ
ออกสู่พนื้ ท่ีสาธารณะ

• พฤติกรรมการออกจากกลุ่มไลน์ (Line group) โดยไมแ่ จง้ สาเหตุ (ในกรณที ี่ไม่ได้
เกิดจากความผิดพลาดของแอปพลิเคชัน) ด้วยเพราะการตั้งกลุ่มไลน์ เปรียบเสมือนกับการรวมกลุ่ม
ของคนหลายคนที่มีจุดประสงค์เพ่ือการดาเนินกิจกรรมร่วมกัน เฉกเช่นเดียวกับการรวมกลุ่มในชีวิต
ปกติ ทั้งน้ี จะพบว่าพฤติกรรมของการให้ความสาคัญทั้งในโลกออฟไลน์และโลกออนไลน์ แทบจะเท่า
เทียมกัน ด้วยเหตุน้ีการออกจากลุ่มไลน์โดยไม่แจ้งจุดประสงค์หรือสาเหตุ มักทาให้เกิดข้อกังขา
และความใจผิดของผู้รวมอยู่ในกลุ่มเสมอ โดยมักจะสร้างความสับสนและเป็นประเด็นสงสัยเกี่ยวกับ
สาเหตุของการที่บุคคลหน่ึงออกจากลมุ่ แชทไปโดยไม่ทราบสาเหตุ ดังนนั้ เพอ่ื ความเหมาะสมควรแจ้ง
เหตุผลและวัตถุประสงค์ก่อนทุกคร้ัง เช่น "ขออนุญาตออกจากกลุ่มเน่ืองจากเสร็จส้ินภาระกิจ แล้ว
หากต้องการติดต่อกรุณาติดต่อที่ข้อความส่วนตัว" หรือในกรณีท่ีเกิดจากความผิดพลาดของระบบ
การเปลี่ยนมือถือ โทรศพั ทห์ าย ก็ควรทีจ่ ะฝากเพื่อนทอ่ี ยูร่ ว่ มกลุ่มให้แจ้งเหตุสถานการณเ์ พื่อให้คนอ่ืน
ในกล่มุ รับทราบแทนเรา

8 ภาพจากแอปพลเิ คชนั LINE

136

นอกเหนือจากพฤติกรรมการส่ือสารทางไลน์ท่ีสมควรจะนึกถึงความรู้สึกกับผู้รับสารแล้ว
การแสดงความคิดเห็นบนเว็บไซต์ กระดานแสดงความคิดเห็น และบนส่ือโซเชียลมีเดียต่าง ๆ
เช่น เฟซบุ๊ก (Facebook) ยูทูบ (Youtube) พันทิป (Pantip) เป็นต้น ก็ควรที่จะคานึงถึงความรู้สึก
ของผู้อ่ืนก่อนท่ีจะโพสต์แสดงความคิดเห็น เพื่อหลีกเลี่ ยงการการทาให้ผู้อื่นรู้สึกอับอาย
หรอื เสอื่ มเสียช่อื เสยี งอันนาไปสกู่ ารฟอ้ งรอ้ งคดีความในท่สี ุด

7.2 การกลนั่ แกล้ง (Bullying)

ความหมายของคาว่า “การกล่ันแกล้ง” สามารถให้คานิยามได้หลากหลาย บางคร้ังสามารถใช้
คาว่า การข่มแหงรังแก แทนด้วยก็ได้ ท้ังนี้ เป็นพฤติกรรมของการที่บุคคลหรือกลุ่มคนหนึ่ง
มีวัตถุประสงค์ที่ต้องการให้อีกบุคคลหนึ่งได้รับความทุกข์ ความเสียใจ ท้ังน้ีได้มีนักวิชาการได้ให้
ความหมายที่แตกตา่ งกันไป ดังต่อไปน้ี

มาสเตอร์ (Master, 2002) ให้ความหมายว่า เป็นการแสดงหรือการกระทาท่ีได้คิดไตร่ตรอง
อนั สง่ ผลต่อผู้อนื่ ให้ได้รับความเจ็บปวดและมีการเกิดพฤติกรรมดังกล่าวซ้า ๆ โดยบุคคลท่ขี ่มเหงจะใช้
พลังเหนอื กวา่

โรเบริ ์ต จเู นยี ร์ (Rober Jr., 2006) ให้ความหมายวา่ พฤตกิ รรมขม่ เหงรังแก มคี วามใกล้เคียง
กับพฤติกรรมการย่ัวยุ การเยาะเย้ย การเสียดสี การกลั่นแกล้ง การคุกคาม แต่การแสดงพฤติกรรม
ตอ้ งกระทาซา้ ๆ อย่างต่อเนอื่ งเปน็ ระยะเวลานาน

ฮันเตอร์ (Hunter, 2013) ได้ให้ความหมายว่ากิจกรรมใด ๆ ท่ีใช้การบังคับ หรือการคุกคาม
ในการกอ่ กวน กล่ันแกล้งบุคคลอืน่ ๆ และทาให้บคุ คลนัน้ รูส้ กึ แย่

จากนิยามการให้ความหมายของการกลั่นแกล้ง สามารถสรุปได้ว่า พฤติกรรมท่ีเป็นการย่ัวยุ
เสียดสี ก่อกวน เพ่ือเจตนาทาให้ผู้อ่ืนได้รับความเสียหาย ความอับอาย โดยได้มีการคิดไตร่ตรอง
กระบวนการกระทาน้ันไว้ล่วงหน้า ประเภทของการข่มเหงรังแก สามารถแบ่งเป็นประเภทได้
ดังต่อไปน้ี (Langan, 2011)

1) การข่มเหงรังแกด้านร่างกาย (Physical Bullying) เป็นลักษณะของการทาร้ายร่างกาย
การชก การต่อย การผลกั การตบ การตี เป็นตน้

2) การข่มเหงรังแกด้านสังคมหรือด้านอารมณ์ (Social or Emotional Bullying)
เป็นลักษณะของการใช้กลุ่มเพื่อนหรือสังคมกดดัน (Peer Pressure) และทาให้บุคคล
แยกออกจากกลุ่มอันเป็นผลทาให้เกิดความรู้สึกเจ็บปวด หรือเสียใจจากการกระทา
ดงั กล่าว

3) การข่มเหงรงั แกด้านคาพดู (Verbal Bullying) เปน็ ลักษณะการพูดใด ๆ ทสี่ ่งผลกระทบ
ต่อความรู้สึกหรือทาให้เจ็บปวด จะเกิดข้ึนในสถานการณ์ท่ีมีการยั่วยุ เย้าแหย่ เยาะเย้ย
ข่มขู่ การพูดจาดูถูก เสียดสีกันในกลุ่มเพื่อน ท้ังนี้อาจหมายถึงการวิจารณ์ด้วยคาพูดใน
ลักษณะของการประโคมข่าว ข่าวลือ คานินทา และการพูดจาโกหกบิดเบือนด้วยข้อมูล
ทไี่ ม่เป็นความจริง

4) การข่มเหงรังแกบนโลกออนไลน์ (Cyber Bullying) เป็นประเภทหน่ึงของการข่มเหง
รังแกที่เกิดข้ึนใหม่และเป็นประเด็นปัญหาสาคัญของสังคม โดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
ต่าง ๆ ได้แก่ การใช้โทรศัพท์ อีเมล ข้อความสาเร็จรูป ข้อความที่เขียนขึ้นเอง และภาพ
นาไปเผยแพร่บนส่ือสงั คมออนไลน์

137

ปัจจุบันการกล่ันแกล้งได้ทวีเพิ่มมากขึ้นบนโลกอินเทอร์เน็ต เพราะสามารถกระทาได้ง่าย
และปกปิดตัวตนของผ้กู ระทาได้ โดยผู้ที่เป็นฝ่ายกระทา เรียกว่า ผู้ข่มเหงรังแก (Bully) ผู้ท่ีถูกกระทา
เรียกว่า ผู้ถูกข่มเหงรังแกหรือเหยื่อ (Victim) และ ผู้ท่ีมีส่วนร่วม เรียกว่า ผู้ท่ีอยู่ในเหตุการณ์
(Bystander) ซ่ึงผู้ที่เกี่ยวข้องท้ังหมดนั้น เราอาจจะเป็นกลายเป็นผู้ข่มเหงรังแก เหยื่อ หรือผู้ที่อยู่ใน
เหตุการณ์ สถานะใด สถานะหนึง่ หากเราไมพ่ จิ ารณาและมสี ตทิ กุ คร้งั ในการใชง้ านอนิ เทอร์เน็ต

7.2.1 การกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ (Cyberbullying)

การกล่ันแกล้งทางไซเบอร์ (Cyberbullying) คือ การข่มขู่ คุกคาม ด้วยการใช้เทคโนโลยี
ดิจิทลั หรือการรงั แกผ่านโลกออนไลน์ ซ่งึ อาจจะทาให้ผู้ที่ถูกรงั แกเสียสุขภาพจิต จนอาจยกระดับเป็น
โรคซึมเศร้า ทาร้ายตนเอง และฆ่าตัวตายได้ ทั้งนี้พฤติกรรมของการกล่ันแกล้งบนสังคมดิจิทัล ท่ีพบ
เห็นในปจั จุบนั มดี ้วยกันหลากหลายวิธี เชน่

• ทาให้อับอาย สร้างความเสียหายต่อผู้ถูกกระทา โดยส่วนมากจะเป็นการแกล้งที่มี
จุดประสงค์สร้างความอับอายและความเสียหายต่อบุคคลอ่ืน ไม่ว่าจะเป็นการโพสต์
ด่าทอ พูดจาส่อเสียด ให้ร้าย ผ่านช่องทางการสนทนา หรือโพสต์อย่างโจ่งแจ้งที่หน้า
โซเชียลมเี ดียของผ้ถู ูกกระทา ฯลฯ

• แฉด้วยคลิป โดยเป็นคลิปอนาจาร หรือคลิปที่เหย่ือถูกรุมทาร้าย รุมแกล้ง แล้วนาคลิป
ไปโพสต์บนโซเชียลมเี ดยี ก่อใหเ้ กิดคอมเมนตท์ ี่ไม่เหมาะสมตอ่ เหย่ือ

• การแอบอ้างตัวตนของผู้อ่ืน โดยเฉพาะกรณีเปิดเผยรหัสผ่านของโซเชียลให้ผู้อ่ืนรู้
ยกตัวอย่างเชน่ ให้เพ่ือนสมัครเฟซบุ๊กหรือไลน์ให้ กรณีนี้ก็อาจโดนรังแกด้วยการถูกสวม
รอยใช้เฟซบุ๊กของตัวเองโพสต์ข้อความหยาบคาย ให้ร้ายบุคคลอ่ืน โพสต์รูปภาพ
ไมเ่ หมาะสม คลิปวิดีโอลามก หรือสร้างความเสยี หายในรปู แบบตา่ ง ๆ

• การแบล็คเมล (Blackmail) จากผู้อื่น คือ การนาความลับหรือภาพลับของเพื่อน
มาเปดิ เผยผา่ นเครอื ข่ายสงั คมออนไลน์ มีการแชรข์ ้อความต่อกนั เป็นวงกวา้ ง เชน่ ตดั ต่อ
รูปภาพ หรือการแอบถ่ายภาพหลุดท่ีน่าขามาโพสต์ประจานบนโลกออนไลน์ และแสดง
ความคิดเห็นอย่างสนุกสนาน โดยบางคร้ังก็อาจจะถึงข้ันเป็นการคุกคามทางเพศ
หรอื ถา่ ยภาพโป๊เปลอื ยมาลงอินเทอร์เน็ต

• การหลอกลวง มีท้ังการหลอกลวงให้หลงเชอื่ การหลอกลวงให้เสียทรัพย์ การหลอกลวง
เพ่อื การนามาซึง่ ข้อมลู เป็นตน้

• การสร้างกลุ่มในพ้ืนท่ีออนไลน์เพื่อโจมตีโดยเฉพาะ การจัดต้ังเพจแอนตี้โจมตีบุคคล
หรือองค์กร การลงข้อมูลเพ่ือสร้างความเสียหายให้กับฝ่ายท่ีถูกโจมตี แล้วนามาสรา้ งให้
เป็นประเด็นในสงั คมพรอ้ มกับโน้มนา้ วจูงใจให้เกดิ ความเกลยี ดชัง

นอกจากประเด็นที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมีประเด็นของการกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ที่พบว่า
เกิดขน้ึ และสร้างปญั หาใหก้ ับสังคมดิจิทัลในปัจจบุ นั สามารถจาแนกย่อยได้ดงั น้ี

7.2.1.1 การยุแหย่ (Provocation)

การใส่รา้ ยป้ายสีหรอื การนนิ ทาวา่ รา้ ย หมายถึง พฤติกรรมการสรา้ งขา่ วลอื ข่าว
ลวงเพ่อื วัตถปุ ระสงค์ท่ีตอ้ งการทาให้ผู้อน่ื เสื่อมเสยี ชื่อเสียง ซง่ึ เร่อื งนัน้ อาจจะไม่มมี ลู เหตขุ องความจริง

138

เลย ทงั้ นีก้ ารใส่ร้ายป้ายสหี รอื การยุแหย่ในโลกออนไลน์ สามารถกระทาได้ง่าย เช่น การตดั ตอ่ รูปภาพ
การตัดตอ่ หรอื ตัดทอนวดิ โี อ นามาเผยแพรแ่ คเ่ พียงบางส่วนเพื่อสร้างให้เกดิ ความเข้าใจผิด

กรณศี ึกษา9
“อุษามณี ไวทยานนท์ หรือขวัญ-อุษามณี ดารานักแสดงช่อง 7 เดินทางเข้าแจ้งความ
ดําเนินคดีกับบุคคลทไ่ี ม่หวังดีนําภาพของตนและยังพาดพิงถึงชาคริต แย้มนาม พระเอกหนุ่ม
ชื่อดังไปในเชิงลามกอนาจารเป็นคลิปการมีเพศสัมพันธ์ของชายหญิงท่ีอ้างว่าเป็น 2 ดารา
หนุ่มสาว ท้ังที่ไม่เป็นความจริงแล้วนําไปเผยแพร่ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กเกิดการแชร์ต่อเป็น
จาํ นวนมากและมีคนแชร์มากมายเข้าข่ายความผดิ ตามพรบ.คอมพิวเตอร์ 2550”

จากกรณีศึกษาพบว่า มีผู้ที่ไม่หวังดีนาภาพของดาราชายและหญิงมาตัดต่อ
ในเชิงลามกอนาจารพร้อมกับเผยแพร่ทางเฟซบุ๊ก ซึ่งดาราทั้งสองคนเป็นท่ีได้รับความนิยมและมีฐาน
แฟนคลับเป็นจานวนมาก ซ่ึงการกระทาเช่นนี้เข้าข่ายว่าเป็นการยุแหย่ให้สังคมเกิดความเกลียดชัง
ในพฤติกรรมของทั้งคู่ ท้ังท่ีไม่ใช่เร่ืองจริง ซ่ึงสุดท้ายแล้วผู้ท่ีกระทาความผิดได้รับบทลงโทษตาม
พรบ.คอมพิวเตอร์ มาตรา 16 ผู้ใดนาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนท่ัวไปอาจเข้าถึงได้
ซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีปรากฏเป็นภาพของผู้อื่น และภาพน้ันเป็นภาพท่ีเกิดจากการสร้างข้ึน ตัดต่อ
เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ทั้งน้ีโดยประการที่น่าจะทาให้ผู้อื่น
น้ันเสียชื่อเสียง ถูกดูหม่ิน ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอายต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี
หรือปรับไม่เกินหกหม่ืนบาทหรือทั้งจาท้ังปรับถ้าการกระทาตามวรรคหนึ่งเป็นการนาเข้า
ข้อมูลคอมพวิ เตอรโ์ ดยสุจริตผู้กระทาไมม่ ีความผิดความผดิ ตามวรรคหนึ่งเป็นความผิดอันยอมความได้
ถ้าผู้เสียหายในความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือ บุตรของ
ผู้เสียหายร้องทุกข์ได้ และให้ถือว่าเป็นผู้เสียหาย โดยมีโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6 หม่ืนบาท
หรอื ท้ังจาทัง้ ปรบั

ท้ังน้ี สาหรับผู้ท่ีแชร์คลิปก็ได้รับโทษเช่นกัน ตามมาตราที่14 นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์
ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ท่ีมีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์น้ันประชาชนท่ัวไปอาจ
เข้าถึงได้ เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์หรือแม้แต่เผยแพร่ กดส่งต่อไปยังผู้อ่ืนก็มีความผิดเท่ากับคนโพสต์
มโี ทษจาคกุ ไมเ่ กิน 5 ปี ปรบั ไมเ่ กนิ 1 แสนบาท

7.2.1.2 การประทุษวาจา (Hate speech)

ราชบัณฑติ ยสภาไดบ้ ัญญตั ิคาวา่ า “Hate Speech” เปน็ ภาษาไทยภายใต้ศัพท์
บัญญัติวิชาการในส่วนของศัพท์วรรณกรรรมว่า “ประทุษวาจา” เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ.2557
โดยอาศัยคาอธิบายศัพท์ ปฺรทุษฺ จากพจนานุกรรมสันสกฤตของ Monier Williams ว่า to commit
an offence againt someone ดังน้ัน Hate Speech หรือ ประทุษวาจา จึงหมายถึง คาพูดท่ีเป็น
การข่มขู่ คุกคาม สบประมาท หรือยั่วยุให้เกิดความเกลียดชัง การเลือกปฏิบัติ หรือความรุนแรง
มกั เปน็ เรือ่ งเช้ือชาติ ศาสนา สีผิว เพศ เปน็ ตน้ (ภัทรกานต,์ 2559)

9 ไทยรัฐออนไลน.์ ‘ขวัญ อุษามณี’ แจ้งลา่ คลิปโป๊ เอาภาพไปตัดต่อกับชาครติ . สืบค้นเมอื่ 10 มกราคม 2560, จาก
http://www.thairath.co.th/content/539098

139

การประทุษวาจาหรือคาพูดที่สร้างความเกลียดชัง คือ ถ้อยคาโจมตีบุคคลหรือ
กลุ่มบุคคลด้วยเหตุแห่งเชื้อชาติ ศาสนา เพศ หรือรสนิยมทางเพศ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ได้มีการให้
คานิยามเกี่ยวกับประทุษวาจาไว้อย่างหลายหลาย ซ่ึงจากคานิยามส่วนใหญ่แล้วสามารถสรุป
ความหมายของคาว่า “ประทุษวาจา หมายถึง การส่ือสารผ่านทางถ้อยคา ข้อความ ที่สร้างความ
เกลียดชัง โดยเกิดจากความอคติส่วนบุคคล” ซ่ึงมีเน้ือหาประกอบไปด้วย คาด่าท่ีใช้ภาษาหยาบคาย
รุนแรง ดูถูก เหยียดหยาม การลดคุณคา่ การให้ความหมายเชิงลบ เป็นต้น

กรณีศกึ ษา10
“ตร.หน่วยปฏิบัติการพิเศษ จังหวัดนครสวรรค์ ได้เชิญตัวนายวรรณกร สนธิกนกได้โพสต์
ข้อความเผยแพร่บนโลกโซเชียล พร้อมภาพประกอบรถยนต์ของราชการ 2 คันที่ใช้ในการ
ปฏิบัตหิ น้าที่ อันกอ่ ให้เกิดความเสยี หายต่อภาพลักษณ์ของเจา้ หนา้ ท่ีตํารวจ โดยมผี ู้ส่งมาให้ดู
จึงได้ตรวจสอบพบว่ามีข้อความดังกล่าวโพสต์อยู่จริง และเผยแพร่อยู่ในโลกโซเชียล โดย
ได้รับความเสียหาย อาจส่งผลให้ประชาชนขาดความเช่ือมั่นและความศรัทธาในองค์กร
ทางตํารวจหน่วยปฎิบัติพิเศษจึงได้เชิญเข้ามาปรับทัศนคติและรับทราบข้อกล่าวหา ตาม
ความผิด พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์”

จากกรณีศึกษาพบว่า นายวรรณกร สนธิกนกกุล ได้โพสตข์ อความหมิ่นประมาท
ตารวจก่อให้เกิดความเสียหายต่อภาพลักษณ์ของเจ้าหน้าและองค์กร ซึ่งบทลงโทษตาม
พรบ.คอมพวิ เตอร์ มาตรา ๑๔ ผใู้ ดกระทาความผิดที่ระบุไวด้ ังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไมเ่ กินห้าปี
หรือปรบั ไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรอื ทัง้ จาทั้งปรบั

(1) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าท้ังหมดหรือบางส่วน
หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น
หรอื ประชาชน

(2) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จโดยประการที่น่า
จะเกิดความเสยี หายต่อความมน่ั คงของประเทศหรือก่อให้เกดิ ความต่ืนตระหนกแก่
ประชาชน

(3) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเก่ียว
กั บ ค ว า ม มั่ น ค ง แ ห่ ง ร า ช อ า ณ า จั ก ร ห รื อ ค ว า ม ผิ ด เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร ก่ อ ก า ร ร้ า ย
ตามประมวลกฎหมายอาญา

(4) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามก
และขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์นัน้ ประชาชนทว่ั ไปอาจเข้าถึงได้

(5) เผยแพร่หรือส่งต่อซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์
ตาม (1) (2) (3) หรอื (4)

10 ไทยรัฐออน ไล น์. อ้ า งรู้เ ท่า ไ ม่ ถึ งก าร ณ์ ! ตร.นครสวรรค์ แจ้งความเ อาผิ ด มือโพสต์หม่ิ น ฯ จนท . สืบ ค้นเมื่อ 10 มกราคม 2560 ,
จาก http://www.thairath.co.th/content/542222

140

7.2.1.3 การสร้างข่าวลอื (Fake news)

ข่าวลือ หรือ ข่าวลวง เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในปัจจุบัน ท้ังน้ี ข่าวลวงน้ันไม่ได้
เป็นเหตุการณ์ท่ีอุบัติข้ึนมาใหม่ในศตวรรษนี้ แต่สิ่งท่ีแตกต่างจากในอดีตคือ การแพร่กระจาย
ของข่าวลวงท่ีมีความกว้างขวางและรวดเร็วมากกว่าแต่ก่อน ด้วยเพราะความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ส่งผลให้การเผยแพร่ข่าวสารสู่สังคมสาธารณะเป็นไปอย่างรวดเรว็ จากการรวบรวมบทความวิจัยและ
บทความวิชาการเกี่ยวกับข่าวลวงของ ธัญนนทณัฐ ด่านไพบูลย์ เฉลิมชัย ก๊กเกียรติกุล (2018)
ได้รวบรวมนยิ ามของขา่ วลอื หรือข่าวลวงไว้ดังต่อไปน้ี

พจนานุกรมออซฟอร์ด (Oxford dictionaries) ได้ให้ความหมายของคาว่า Fake หมายถึง
ปลอม หลอกลวง ปลอมแปลง เลียนแบบ

คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) ให้คานิยามข่าวลวง หมายถึงข้อมูลชุด
หนึ่งท่ีทาขึ้นมาโดยมีเจตนาจะบิดเบือนและโจมตีบุคคล กลุ่มคน หรือองค์กร และบางครั้งข่าวลวง
หมายความรวมถึงการเขียนข่าวเชิงลบ การเขียนโฆษณาชวนเชื่อทางการเมือง และรูปแบบโฆษณา
ท่ชี วนใหเ้ ข้าใจผิดจากทัศนคติของผู้รับสารรวมถึงการรายงานข่าวในรูปแบบเสียดสีและมีการใส่ข้อมูล
ท่ีผิด โดยเจตนาโจมตีทางไซเบอร์ เมื่อนิยามอย่างแคบข่าวลวงเป็นข่าวท่ีถูกสร้างข้ึนในการรายงาน
ข่าว ซงึ่ รวมถงึ สานกั ข่าว นกั การเมอื ง รวมถงึ บรษิ ัทผผู้ ลติ แพลตฟอรม์

โดยสรุปแล้วจากการรวบรวมนิยามของข่าวลือหรือข่าวลวง มีความหมายในบริบทของการ
เผยแพร่เรื่องราวอันเป็นเท็จ การโฆษณาชวนเช่ือเพื่อจุดประสงค์ในการโน้มน้าวให้เกิดผลประโยชน์
ของผู้ที่ให้ข่าว และถึงแม้จะไม่เกิดผลประโยชน์ท่ีเป็นรูปธรรม แต่ก็มีเป้าหมายเพื่อการสร้างความ
สับสน การเปลี่ยนแปลงความเช่อื ท่ีมีมาจากเดมิ โดยไมไ่ ด้คานึงถึงผลลพั ธ์ทเี่ กิดข้ึนในภายหลัง

ประเภทของข่าวลือ11 สามารถแบง่ ไดด้ ังน้ี
1) เน้อื หาท่ีสร้างขนึ้ (Fabricated content) เปน็ เนอื้ หาข่าวทเ่ี ท็จทั้งหมด
2) เน้ือหาที่มีการจัดการ (Manipulated content) เป็นเนื้อหาข่าวท่ีมีการบิดเบือน
จากข้อเท็จจริงหรือ เป็นการสร้างขึ้นจากจินตนาการ เช่น พาดหัวข่าวที่ต้องการ
สร้างเนื้อหากระตุ้นอารมณ์เพื่อเรียกร้อง ความสนใจจากผู้อ่านหรือผู้ชม หรือท่ีเรา
เรียกวา่ “พาดหัวเรียกแขก” (Click bait) ฯลฯ
3) เน้ือหาแอบอ้าง (Imposter content) เป็นการแอบอ้างแหล่งข่าวท่ีแท้จริง
เช่น การใชย้ ่หี ้อหรือ แบรนดข์ ององคก์ รทนี่ า่ เช่ือถือหรอื มีชื่อเสยี ง
4) เน้ือหาหลอกลวง (Misleading content) เป็นการใช้ข้อมูลเพ่ือหลอกลวง
ใหห้ ลงเช่อื อาทิ การนาเสนอ ความคิดเหน็ ในรปู ของขอ้ เท็จจริง
5) บริบทปลอมในการเชื่อมโยง (False context of connection) เป็นเนื้อหา
ท่ีถูกต้องตามข้อเท็จจริง อาทิ การพาดหัวข่าวในบทความไม่ได้สะท้อนเน้ือหา
ของขา่ วจริง

11 Tambini,D. (2017). Fake News: Public Policy Response (LSE Media Policy Project Brief 20.). Retrieved from London School of
Economics and Political Science website: http://eprints.lse.ac.uk/73015/1/LSE%20MPP%20Policy%20Brief%2020%20-
%20Fake%20news_final.pdf

141

6) การเสียดสีและล้อเลียน (Satire and parody) เป็นการนาเสนอข่าวในลักษณะ
ท่ีขาขันในลักษณะ ที่เหมือนเป็นข้อเท็จจริงแต่เป็นข่าวลวง อย่างไรก็ตาม
ข่าวประเภทน้ีมักจะถูกถือว่าเป็นข่าวลวงประเภทหน่ึง ซ่ึงอาจไม่ได้หลอกผู้อ่าน
อยา่ งต้งั ใจ แต่ตอ้ งการเสียดสแี ละลอ้ เลียนมากกว่า

กรณศี กึ ษา12
“เจ้าหน้าที่ปอท.ได้แจ้งข้อหานายอรรถวุฒิ อินทองหรือโจ๊ค IScreamได้โพสต์ภาพถูกสลาก
กินแบ่งรัฐบาลรางวัลท่ี1 ทั้งหมด 10ใบ มูลค่า30ล้านบาทส่งผลให้เกิดการถูกแชร์ออกไป
จํานวนมากทําให้เกิดความเข้าใจผิดกัน ถือเป็นการนําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์อันข้อมูลอัน
เป็นเท็จจริง แต่ในกรณีของนายอรรถวุฒิไม่มีผู้เสียหาย แต่เป็นการกระทําท่ีสร้างความ
แตกตน่ื ให้แก่ประชาชน”

จากกรณีศึกษาพบว่าผู้กระทาผิดได้มีเจตนาสร้างข่าวลือเกี่ยวกับการถูกรางวัลสลากกินแบ่ง
รัฐบาล เป็นมูลค่ากว่า 30 ล้านบาท โดยมีการตัดต่อภาพและโพสต์ข้อความท่ีมีเน้ือหาเข้าข่าย
การหลอกลวงให้เชื่อ และก่อให้เกิดความเข้าใจผิดสู่สาธารณะชน ซ่ึงอาจมีจุดประสงค์เพ่ือต้องการพื้นท่ี
สื่อเพื่อเรียกร้องความสนใจ ซึ่งเป็นการกระทาความผิดพรบ.คอมพิวเตอร์ มาตรา 14 ผู้ใดกระทาความผิด
ท่รี ะบุไว้ดงั ตอ่ ไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไมเ่ กินห้าปี หรอื ปรบั ไมเ่ กินหน่ึงแสนบาท หรือทงั้ จาท้ังปรับ

(1) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าท้ังหมดหรือบางส่วน
หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อ่ืน
หรือประชาชน

(2) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จโดยประการที่น่าจะ
เกิดความเสียหายต่อความม่ันคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่
ประชาชน

(3) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเก่ียวกับ
ความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวล
กฎหมายอาญา

(4) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและ
ขอ้ มลู คอมพิวเตอร์นัน้ ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถงึ ได้

(5) เผยแพรห่ รอื สง่ ต่อซ่ึงข้อมลู คอมพวิ เตอรโ์ ดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมลู คอมพิวเตอร์ตาม
(1) (2) (3) หรือ (4)

7.2.2 พฤตกิ รรมสรา้ งความราคาญ

โดยพ้ืนฐานของมนุษย์ทุกคนมีสิทธิและเสรีภาพเท่าเทียมกัน มีศักด์ิศรีของความ
เป็นมนุษย์ ซึ่งจะถูกล่วงละเมิดหรือลิดรอนสิทธิไม่ได้ตามการคุ้มครองของปฏิญญาสากลว่าด้วย
สิทธิมนุษยชน ของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ และการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจกั รไทย ท้ังนีห้ ากมบี ุคคลทพ่ี ยายามจะกา้ วก่ายในสิทธิอนั ชอบธรรมของผู้อ่นื หรอื สร้าง
ความหงุดหงิดใจ บุคคลนั้นเรียกได้ว่ามีพฤติกรรมท่ีสร้างความราคาญให้กับผู้อื่น ท้ังนี้พฤติกรรมนั้น

12 ไทยรัฐออนไลน.อุทาหรณ์! 'โจ๊ก IScream’ ขอโทษสังคมออนไลน์ หลังโพสต์ภาพตั ดต่อถูกรางวัลท่ี 1. .สืบค้นเม่ือ 10 มกราคม 2560,
จาก http://www.thairath.co.th/content/542222.

142

อาจไม่ส่งผลเสียร้ายแรง แต่ก็เป็นพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ ซ่ึงเป็นปัญหาหน่ึงท่ีมาพร้อมกับยุค
อินเทอร์เน็ตท่ีทุกคนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างไร้ขีดจากัด ลักษณะของพฤติกรรมที่สร้างความ
ราคาญในระดับปัจเจกบุคคลอาจมีความแตกต่างกัน อย่างไรก็ดี ในภาพรวมพฤติกรรมสร้างความ
ราคาญโดยทั่วไป มีดงั ตอ่ น้ี

1) การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวของตนเองมากเกินไป การโพสต์รูปกิจวัตรประจาวัน
ของตัวเองตลอดเวลา ซึ่งมักพบเห็นได้เป็นประจาในส่ือโซเชียลมีเดีย เช่น เฟซบุ๊ก
อินสตาแกรม เป็นต้น เป็นลักษณะของการนาโลกส่วนตัวของตนเองเผยแพร่ให้
คนอ่ืนรับรู้อย่างเป็นสาธารณะ และบ่อยคร้ังท่ีทาให้คนอื่นรู้สึกว่าผู้โพสต์มีความ
ต้องการจะอวดการใช้ชีวิตของตนเอง ท้ังท่ี ในโลกแห่งความเป็นจริงแล้ว คงไม่มี
ใครจะมานั่งบอกให้คนอ่ืนรับรูว้ า่ เราตื่นกี่โมง กินข้าวเช้ากับอะไร วันน้ีใส่ชุดสอี ะไร
และมอี ะไรเกิดข้นึ ในชีวติ บ้างของตนเองกับผ้อู ื่น ฯลฯ

2) การระบายความรู้สึกบนสื่อออนไลน์ การโพสต์ปัญหาชีวิตรัก การด่าทอผู้อื่นด้วย
ถ้อยคาหยาบคาย เสียดสี บนเฟซบุ๊ก ซึ่งข้อความเหล่าน้ีไม่ได้ทาให้ผู้อ่านรู้สึกเห็น
ใจหรือเข้าใจคุณมากขึ้น แต่กลับกลายเป็นสร้างสภาวะของสิ่งแวดลอ้ มออนไลนใ์ ห้
แย่ลง เพราะคนที่เล่นสื่อดิจิทัลคือ ต้องการความบันเทิง ผ่อนคลายจากกิจวัตร
ประจาวนั ไมไ่ ดต้ ้องการมีสว่ นร่วมกับปญั หาชีวิตของใครคนใดคนหนึง่

3) การตีสนิทกับผู้อื่นผ่านช่องทางออนไลน์ โดยท่ีไม่รู้จักกันมาก่อน ซ่ึงอาจจะทาให้
เกดิ ความรสู้ กึ หวาดระแวงหรือถูกคกุ คาม

4) การสง่ คาขอใหเ้ พื่อนมาเลน่ เกมหรอื แอปพลิชันท่ีคณุ ใช้อยู่มากเกนิ ไป จนกลายเป็น
การรบกวน สร้างความราคาญ

5) การโพสต์ข้อความเร่ืองราวเก่ียวกับศาสนา การเมือง สถานการณ์ความขัดแย้ง
ตา่ ง ๆ โดยใสอ่ ารมณแ์ ละความรสู้ ึกสว่ นมากเกนิ ไป

6) การโพสต์หรือแชร์เรื่องราวท่ีไม่เป็นความจริง เร่ืองงมงาย ไม่มีแหล่งท่ีมา
ทนี่ ่าเชื่อถอื

7) การแสดงความคิดเห็นท่ีไมเ่ หมาะสม การแซว การใชค้ าหยาบคาย การล้อเลียนให้
ขายหน้า บนหน้าเฟซบุ๊กของผู้อื่น ซ่ึงถึงแม้จะเป็นเพ่ือนหรือคนรู้จักกัน แต่
เน่ืองจากเฟซบุ๊กเป็นสื่อสังคมออนไลน์ท่ีบางคนมีเพื่อนเฟซบุ๊กเป็นครอบครัว
เจ้านาย ลูกค้า ซึ่งการกระทาเหล่าน้ีส่งผลต่อภาพลักษณ์และความน่าเช่ือถือของ
เจา้ ของเฟซบุ๊กดว้ ย

8) การโพสตร์ ปู อวดความร่ารวย สิ่งของแบรนด์แนม ฯลฯ มากจนเกินไป
9) การแท็ก (Tag) ข้อความท่ีเกี่ยวกับการขายสินค้า โปรโมชั่น ธุรกิจ โดยท่ีไม่ได้รับ

อนุญาตจากเจ้าของเฟซบกุ๊ ทางที่ดคี วรสนทนาเปน็ การส่วนตวั ผ่านข้อความ
10) การฝากร้านค้าของตนเอง ในคอมเม็น (Comment) ซ่ึงมักจะถูกพบได้บ่อยใน

เฟซบกุ๊ หรอื อินสตาแกรม ของคนมชี ื่อเสียง
11) การส่งสติ๊กเกอร์ (Sticker) ถ่ี ๆ ในขณะที่มีการถ่ายทอดสด (Live) บนเฟซบุ๊ก

เพราะจะทาให้ความเร็วของวิดีโอลดลง เป็นการรบกวนแบนวิดธ์ (Bandwidth)
อนิ เทอรเ์ น็ตของผอู้ ่นื

143

7.2.2.1 พฤติกรรมบคุ คลอันตราย

ในปัจจุบันพบว่าผู้ที่เล่นสื่อสังคมออนไลน์ถูกคุกคามจากบุคคลผู้ไม่พึงประสงค์
เป็นจานวนมาก ซ่ึงพฤติกรรมเหล่านี้เรียกว่า Cyber Stalking หรือแปลว่า “การคุกคามท่ีกระทาใน
ลักษณะของการเฝา้ ติดตามอยา่ งต่อเนื่อง” มลี ักษณะสาคัญดว้ ยกนั ทง้ั หมด 3 ประการ (อรณชิ า สวัสดิ
ชัย, 2553) ได้แก่

1) พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร คุ ก ค า ม ( Harassment) แ ล ะ ก า ร ติ ด ต า ม ( Follow or
Surveillance) ที่กระทาอย่างซ้า ๆ อย่างต่อเน่ือง การคุกคาม คือการกระทาผ่าน
ทางกิริยาอาการ หรือคาพูดซ่ึงแสดงถึงการคุกคาม รวมถึงการรบกวนหรือก่อกวน
ผู้อื่นโดย เจตนา และการกระทาดังกล่าวก่อให้เกิดความรู้สึกในแง่ลบต่อ
ผถู้ กู กระทาส่วนการติดตามนั้น คอื การเฝา้ คอยดู การตดิ ตามความ เคลือ่ นไหว การ
ติดต่อไปหาผู้ถูกกระทารวมถึงบุคคลใกล้ชิดของผู้ถูกกระทาเรื่อย ๆ โดยไม่มีความ
จาเป็นในลักษณะที่เป็นการรบกวน หรืออาจเป็นการเฝ้าติดตามโดยการใช้
เครื่องมืออิเล็กทรอนกิ สร์ ่วมด้วยก็ได้

2) มูลเหตุในการกระทาอาจเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น กรณีท่ีผู้กระทาเป็นบุคคล
ธรรมดา การคุกคามจากการเฝ้าติดตาม อย่างต่อเนื่องอาจเกิดจากการที่ผู้กระทา
ขัดแย้งกับผู้ถูกกระทาเร่ือง ผลประโยชน์ เร่ืองความเห็นทางการเมือง หรือเร่ือง
หน้าที่การงาน จึงต้องคอยเฝ้าติดตามดูพฤติกรรมของผู้ถูกกระทาเพ่ือทราบความ
เคลอ่ื นไหวอยู่เสมอหรือเพื่อเปน็ การข่มขู่ใหผ้ ู้ถูกกระทาเกิดความกลัวกเ็ ป็นได้ หรือ
ผู้กระทาอาจจะถูกตัดความสัมพันธ์จากผู้กระทา จึงได้เฝ้าติดตามผู้กระทาอย่าง
ต่อเนื่อง เพ่ือขอให้สาน ต่อความสัมพันธ์ หรืออาจจะต้องการแก้แค้น ในบางกรณี
ผู้กระทาอาจเป็นพวกท่ีมีปัญหาทางจิต คิดว่าผู้กระทาเป็นคนรักของตน จึงได้คอย
เฝ้าติดตามดูผู้กระทาตลอดเวลา ฯลฯ กรณีที่ผู้กระทาเป็นเจ้าหน้าท่ีรัฐ การสะกด
รอย การเฝ้าติดตามอย่างต่อเนื่องอาจ ถูกใช้เป็นเคร่ืองมืออย่างหนึ่งในการสืบสวน
สอบสวน ซึ่งในต่าง ประเทศได้มีเหตุยกเว้นโทษให้สาหรับการเฝ้าติดตามอย่าง
ตอ่ เนือ่ งทไี่ ด้ทาไปเพอ่ื รักษาความปลอดภยั และการสอบสวนดังกลา่ ว

3) พฤติกรรมท่ีก่อให้เกิดผลกระทบในทางลบ การคุกคามจากการเฝ้าติดตามอย่าง
ต่อเน่ืองน้ัน ส่งผลกระทบต่อท้ัง ทางด้านร่างกายและจิตใจต่อผู้ท่ีถูกกระทา โดย
ผลกระทบต่อจิตใจ ได้แก่ ความรู้สึกหงุดหงิดใจ เดือดร้อนราคาญ อับอาย โกรธ
หวาดระแวง กลัว ซึมเศร้า ขาดความเชื่อมั่นในตัวเอง ฯลฯ เป็น อันตรายต่อ
สุขภาพจติ จติ ใจท่ีไมป่ กตดิ ังกลา่ วย่อมจะส่งผลต่อ สภาพรา่ งกายของผทู้ ี่ถกู กระทา
เวลาต่อมา ได้แก่ การนอนไม่ หลับ การเส่ือมสมรรถภาพทางเพศ อ่อนเพลีย เป็น
โรคเกี่ยวกับระบบทางเดนิ อาหาร ปวดศรี ษะ หายใจติดขดั หรอื เปน็ โรคหวั ใจ

ประเด็นท่ีสาคัญที่สุดคือ การคุกคามจากการเฝ้าติดตาม อย่างต่อเน่ืองเป็นการ
กระทาที่ส่งผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพ โดย เป็นการแทรกแซงสิทธิเสรีภาพด้านต่าง ๆ ในการดาเนิน
ชีวิตโดย ส่วนตัว และการดาเนินชีวิตทางสังคมของบุคคลอ่ืนซ่ึงได้รับการ รับรองและคุ้มครองโดย
รัฐธรรมนญู บคุ คลมสี ิทธิท่ีจะดาเนนิ ชวี ิต ของตนโดยอสิ ระปราศจากการแทรกแซงจากบุคคลอืน่ หาก
มีการ แทรกแซงโดยการคุกคามจากการเฝ้าตดิ ตามอย่างต่อเน่ืองเกิดขน้ึ ความเปน็ อิสระในการดาเนิน

144

ชีวิตของบุคคลยอ่ มต้องไดร้ บั ความ กระทบกระเทือนและทาให้การดารงชวี ิตบางอย่างของผู้ถูกกระทา
ต้องเปลย่ี นแปลงไป และปราศจากเสรีภาพท่จี ะดารงชวี ติ โดยปกตสิ ุข

7.2.2.2 เปิดเผยข้อมลู สว่ นตัว
ความหมายของคาว่า “ขอ้ มลู สว่ นตัว” (Data privacy) มีดว้ ยกนั หลายหลาย เช่น
Samuel D. Warren และ Loise D. Brandeis (1890) กล่าวว่า ความเป็น

ส่วนตัว หมายถึง “สิทธิที่จะอยู่โดยลาพัง” (the right to be let alone) “ความเป็นส่วนตัว” หรือ
“Privacy” เป็นสิทธิมนุษยชนข้ันพ้ืนฐานของมนุษย์ที่สังคมยุคใหม่เกือบทุกประเทศให้ความสาคัญ
อย่างมาก ดังจะเห็นได้จากการรับรองหลักการดังกล่าวไว้ในรัฐธรรมนูญหรือแม้บางประเทศจะไม่ได้
บญั ญัติรบั รองไว้โดยตรง ในรฐั ธรรมนูญ แตก่ ไ็ ด้ตราบทบญั ญตั ิรบั รองไวใ้ นกฎหมายเฉพาะ “ความเป็น
ส่วนตวั ” ได้รวมถึงการคุ้มครองข้อมูลสว่ นบุคคล ซึ่งเป็นการตคี วามคาว่า “ความเปน็ ส่วนตัว” ในดา้ น
การจัดการขอ้ มลู ส่วนบุคคล

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 4 ศักด์ิศรีความเป็น
มนษุ ย์สทิ ธิเสรภี าพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมไดร้ บั ความคุ้มครอง มาตรา 35 สิทธิของบุคคล
ในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง ตลอดจนความเป็นอยู่ส่วนตัวยอ่ มได้รับความคุ้มครองการกล่าวหรือ
ไขขา่ วแพรห่ ลายซง่ึ ข้อความหรือภาพไม่วา่ ด้วยวธิ ใี ดไปยังสาธารณชนอันเป็นการละเมิดหรอื กระทบถึง
สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ช่ือเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัวจะกระทามิได้เว้นแต่กรณีท่ี
เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับความคุ้มครองจากการแสวงประโยชน์โดยมิชอบ
จากข้อมลู สว่ นบุคคลทเ่ี กยี่ วกบั ตน ทงั้ นต้ี ามที่กฎหมายบญั ญัติ

พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 “ข้อมูลข่าวสารส่วน
บุคคล” หมายความว่า ข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับส่ิงเฉพาะตัวของบุคคล เช่น การศึกษา ฐานะการเงิน
ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทางาน บรรดาท่ีมีช่ือของผู้น้ันหรือมีเลขหมาย
รหัส หรือสิ่งบอกลักษณะอ่ืนท่ีทาให้รู้ตัวผู้น้ันได้เช่น ลายพิมพ์นิ้วมือ แผ่นบันทึกลักษณะเสียงของคน
หรือรูปถ่าย และใหห้ มายความรวมถงึ ขอ้ มูลข่าวสารเก่ียวกบั สิ่งเฉพาะตัวของผูท้ ถ่ี ึงแก่กรรมแลว้ ดว้ ย

ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ข้อ 12 บุคคลใดจะถูกแทรกแซงตาม
อาเภอใจในความเป็นส่วนตัว ครอบครัว ที่อยู่อาศัย หรือการส่ือสาร หรือจะถูกลบหลู่เกียรติยศ
และช่ือเสียงไม่ได้ทุกคนมีสิทธทิ ี่จะได้รับความคุ้มครองของกฎหมายต่อการแทรกแซงสทิ ธิหรือการลบ
หลดู่ ังกล่าวนั้น

จากนิยามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัว สามารถสรุปได้ว่า ข้อมูลส่วนบุคคลท่ีบุคคล
นั้นเป็นเจ้าของ ซ่ึงเป็นข้อมูลที่เกี่ยวกับบุคคลน้ันต้ังแต่เกิดจนตาย ซึ่งรวมทั้งข้อมูลที่เป็นข้อความ
ภาพ เสียง สญั ลกั ษณ์ ทงั้ นีจ้ ะได้รบั การคุ้มครองตามกฎหมาย

อย่างไรก็ดีเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นเคร่ืองมือที่ช่วยให้การเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคล
ของเราสามารถถูกเขา้ ถึงได้ง่ายผ่านช่องทางอินเทอรเ์ น็ต เราจึงควรพึงระวังการกระทาทอี่ าจก่อให้เกิด
ความเส่ียงตอ่ การรวั่ ไหลของข้อมูลสว่ นตัวของเราได้ ส่ิงทค่ี วรพงึ ระวังเม่อื ใช้อนิ เทอร์เน็ตและเครือข่าย
สงั คมออนไลน์13 มีดงั น้ี

13 Security-in-a-Box. (2556) . ป กป้องตัวคุณและข้อมูลของคุ ณเม่ือ ใช้เว็บ ไซ ต์เครือ ข่า ยสังค ม . สืบ ค้นเม่ือ 20 มกราคม 2560 , จาก
https://securityinabox.org/th/guide/social-networking/

145

1) ใช้รหัสผ่านที่ปลอดภัยในการเข้าถึงเครือข่ายสังคม ถ้ามีใครเข้าถึงบัญชีของคุณได้
เขาจะเข้าถึงข้อมูลจานวนมากเก่ียวกับตัวคุณและเกี่ยวกับใครก็ตามที่คุณติดต่อผ่าน
ทางเครือข่ายสงั คมไดด้ ้วย ใหเ้ ปล่ยี นรหัสผ่านอยา่ งสมา่ เสมอเปน็ กิจวัตร

2) ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว โดยปริยายซ่ึงเว็บไซต์เครือข่ายสังคมได้ต้ังไว้แต่ต้น และ
เรยี นร้วู ธิ ปี รับแต่ง

3) พิจารณาการใช้ บัญชี/สิ่งระบุตัวแยกต่างหากหรืออาจใช้นามแฝงที่ต่างกันไป
สาหรับการรณรงค์หรือกิจกรรมต่าง ๆ จาไว้ว่ากุญแจของการใช้เครือข่ายอย่าง
ปลอดภัยคอื สามารถทาใหส้ มาชิกเช่ือใจได้ บัญชแี ยกต่างหากอาจเป็นวิธีที่ดีท่ีม่ันใจ
ได้วา่ ความเชือ่ ใจเป็นไปได้

4) ระวังเม่ือเข้าถึงบัญชีเครือข่ายสังคมของคุณจากพ้ืนที่อินเทอร์เน็ตสาธารณะ ลบ
รหัสผ่านของคุณจากบันทึกประวัติการเข้าชมเว็บไซต์ เม่ือใช้เบราว์เซอร์ในเครื่อง
คอมพวิ เตอร์สาธารณะ

5) เข้าถึงเว็บไซต์สังคมเครือข่ายโดยใช้ HTTPS:// เพ่ือปกป้องช่ือผู้ใช้ รหัสผ่าน ของ
คุณ และขอ้ มลู อื่นๆ ท่คี ุณโพสต์ การใช้ HTTPS:// แทน HTTP:// เป็นการเพมิ่ ความ
ปลอดภยั เขา้ ไปอีกชน้ั ซ่ึงเป็นการเขา้ รหสั การจราจรอินเทอร์เน็ตจากเบราวเ์ ซอร์ของ
คุณไปยังเว็บไซตเ์ ครอื ข่ายสงั คม

6) ระมัดระวังการใส่ข้อมูลมากเกินไปในช่องสเตตัสของคุณ การโพสต์บอกสถานะและ
กจิ กรรมประจาวัน ซงึ่ อาจเปน็ ข้อมูลสาคัญใหก้ บั ผทู้ ไ่ี มห่ วังดี

7) เครือข่ายสังคมส่วนใหญ่ยอมให้คุณรวมข้อมูลของคุณเข้ากับเครือข่ายสังคมอื่นๆ
ตัวอย่างเช่น คุณสามารถโพสต์และอัปเดตทวิตเตอร์ของคุณและให้ข้อมูลน้ันถูก
โพสต์โดยอัตโนมัติบนบัญชีเฟซบุ๊กด้วย ระวังเป็นพิเศษเมื่อรวมข้อมูลของคุณบน
บัญชีเครือข่ายสังคมเหล่านี้! คุณอาจจะคงสถานะนิรนามบนเว็บไซต์หน่ึง แต่อาจ
เปดิ เผยตวั ตนในอีกเวบ็ ไซต์หนง่ึ

8) ระมดั ระวงั ความปลอดภยั ของเน้ือหาที่อยู่บนเว็บไซตเ์ ครอื ข่ายสังคมวา่ มีมากน้อยแค่
ไหน อย่าใช้เว็บไซต์สังคมเครือข่ายเว็บใดเว็บหน่ึงเพื่อเก็บเนื้อหาหรือข้อมูลพ้ืนฐาน
ของคุณ

9) ไม่โพสตข์ ้อมูลส่วนตนบนเครือขา่ ยสังคม
10) หลกี เล่ยี งการเปิดเผยตาแหนง่ บ้าน หรือท่ีอยู่อาศัยของคุณ
11) หลีกเลี่ยงการแชร์วิดีโอหรือรูปถ่ายภายในเคหสถานของคุณ หรือที่ทางานท่ีเป็น

สว่ นตวั เพราะอาจเปน็ การเช้อื เชิญให้คนร้ายสามารถเขา้ ถงึ คณุ ไดง้ ่ายข้นึ

146

7.3 ผลการวเิ คราะหก์ ารประยุกตแ์ นวปฏิบัติในสังคมดิจิทัลใชก้ บั ชีวิตประจาวัน

มารยาท เป็นการแสดงออกถึงความเคารพผู้อ่ืนและการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเป็นปกติสุข
ท้งั นแี้ มแ้ ต่ในโลกดิจิทลั มารยาทก็เป็นสิ่งที่สาคัญเช่นกนั และอาจเป็นสง่ิ ทเ่ี ราต้องคานึงและระมดั ระวัง
เป็นพิเศษ ด้วยเพราะเราไม่ได้ส่ือสารกับบุคคลท่ีอยู่ตรงหน้า (Physical Interacaction) โดยตรง
แต่เป็นการส่ือสารผ่านอุปกรณ์ดิจิทัล ทาให้เราไม่ทราบว่าบุคคลท่ีเราสื่อสารด้วยนั้น มีอารมณ์หรือ
ความรู้สึกอย่างไร อีกท้ังเรานิยมสื่อสารกันผ่านทางข้อความออนไลน์ (Online Messaging) มากกว่า
การโทรศัพท์หากันแบบในอดีต เพราะประหยัดค่าใช้จ่ายและสามารถท้ิงข้อความไว้ได้หากผู้รับ
ยงั ไม่สะดวก

ทั้งหมดน้ีหล่อหลอมวัฒนธรรมใหม่ของการส่ือสารแบบไร้ตัวตน จนเราลดความสนใจและใส่
ใจว่า “บคุ คลทเ่ี ราสนทนาดว้ ยน้ันคือใคร” เดก็ ส่งสติก๊ เกอร์ทักทายหาอาจารย์ โดยไมไ่ ดค้ านึงถงึ ความ
เหมาะสม การพิมพ์ข้อความตอบแบบสั้น ๆ การใช้คาย่อ คาแสลง ศัพท์วัยรุ่น จนสร้างความเชื่อแบบ
ทีผ่ ิดเพยี้ นของการใช้ภาษาเขียน ที่เห็นโดยประจาคือ การใชค้ าวา่ “ตัวเอง เป็น เตง” “ได้ เป็น ดา้ ย”
“เหรอ เป็น หรา” “เปล่า เป็น ป่าว” ฯลฯ จากตัวอย่าง เป็นการพยายามใช้ภาษาเขียนที่ส่ืออารมณ์
ของผู้พิมพ์ ซ่ึงหากสามารถแยกแยะได้ว่าผู้รับสารนั้นเป็นใคร และเป็นการสนทนาที่เป็นทางการ
หรือไม่เป็นทางการ ก็ถือว่าเป็นการคานึงมารยาทในการสื่อสารเบื้องต้น แต่ปัจจุบันปรากฏว่า
การสือ่ สารลักษณะที่ไม่เปน็ ทางการกลบั พบไดบ้ ่อยกว่าในโลกออนไลน์ และบางครั้งสง่ ผลให้เกิดความ
เข้าใจผิดระหว่างผู้ส่งสารและผู้ส่งสารด้วยกัน บ่อยคร้ังท่ีการสื่อสารเช่นน้ีสร้างความไม่พอใจ
และความหงุดหงิดอันเกิดจากท่ีเรายังคงมีการดาเนินชีวิตตามแนวทางปฏิบัติของสังคมพื้นฐานอยู่
(Etiquette) จึงเป็นเร่ืองสาคัญท่ีเราต้องเรียนรู้การใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลและการส่ือสารออนไลน์
อย่างมีมารยาท (Netiquette) เป็นคุณลักษณะของพลเมืองดิจิทัลท่ีควรมีการแสดงออกทางสังคม
อยา่ งมีวิจารณญานและเป็นการสรา้ งคา่ นยิ มทีถ่ กู ต้องให้กบั สงั คม

147

7.4 สรปุ

การใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัล โดยเฉพาะบนโลกออนไลน์ ก็เปรียบเสมือนการท่ีเราเดิน
ในสวนสาธารณะ หรือสถานที่สาธารณะอื่นๆ ซ่ึงผู้ใช้งานควรท่ีจะมีมารยาทในการใช้งาน รวมถึงเห็น
อกเหน็ ใจผู้อน่ื เพราะผู้อา่ นต้องไมล่ ืมวา่ สังคมดจิ ทิ ลั ไมไ่ ด้มเี พียงเราอยเู่ พียงคนเดียวเทา่ นัน้

ส่ิงหนึ่งที่ผู้อ่านควรระลึกไว้ก็คือ มารยาทเน็ต (Nettiquette) ที่มีข้อท่ีควรระลึกอย่างเช่น
การท่ีผู้อ่านระลึกเสมอว่าท่านกาลังติดต่อกับคนท่ีมีตัวตนจริง พยายามทาให้ตัวท่านเองดูดีแต่ไม่ใช่
สร้างภาพหรือโอ้อวด หรือแม้แต่การใช้อานาจในทางท่ีสร้างสรรค์ ซึ่งทั้งหมดน้ีเองจะช่วยเสริมสร้าง
ภาพลกั ษณข์ องทา่ นใหเ้ ป็นบุคคลทน่ี า่ เคารพและน่าเชือ่ ถือ

นอกจากน้ี ในชีวิตจริงเองก็ควรที่จะมีมารยาทในการใช้งานอุปกรณ์ดิจิทัลต่างๆ เช่น การไม่
ใช้เสียงระหวา่ งอยทู่ ี่ประชุมหรอื รบั ชมการแสดง การใหค้ วามสนใจกบั ผ้ทู ่สี นทนาดว้ ยกนั อย่างเอาใจใส่
หรือไม่ใช้งานอุปกรณ์ดิจิทัลระหว่างการขับรถยนต์หรือเดินบนถนน เพ่ือไม่ให้สร้างความราคาญให้
กับผู้อ่ืน รวมไปถึงเป็นการลดความเสี่ยงในการประสบอุบัติเหตุ ซึ่งจะสร้างความเสียหายทั้งชีวิต
และทรัพย์สนิ ให้แก่ท่านอกี ทางหนง่ึ ดว้ ย

แนวทางการใช้งานเครื่องมือดิจิทัลต่างๆ ล้วนแล้วแต่เป็นประโยชน์ในการใช้ชีวิตประจาวัน
ของทุกคน แต่อยา่ งไรก็ตาม การใช้งานเครื่องมือต่าง ๆ มากเกินไปในยุคดิจิทัล ก็อาจทาใหเ้ กิดปัญหา
สุขภาพได้ ท้ังในเชิงของสุขภาพกายและสุขภาพจิต ดังน้ัน ในบทท่ี 9 สุขภาพดียุคดิจิทัล
มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ใช้ ทราบถึงปัจจัยเสี่ยงและลดการปฏิบัติตัวท่ีเส่ียงต่อปัญหาสุขภาพนั้น ๆ
เพื่อให้สามารถใชช้ วี ติ ในสังคมยุคดจิ ทิ ัลอย่างสขุ ภาพดีมากทส่ี ดุ

148

7.5 เอกสารอ้างอิง

Danielle J Scapaletti. ( 2 0 1 1 ) . Psychology of Empathy. New York: Nova Science
Publishers Inc

Davies C. (2018). Prince William tells tech leaders: do more to counter cyberbullying.
Retrieved from https://www.theguardian.com/uk-news/2 0 1 8 / nov/1 5 / prince-
william-tells-tech-leaders-do-more-to-counter-cyberbullying

Hunter Nick. (2013). Cyber Bullying. Chicago: Heinemam Library.
iT24Hrs. (2558). ร้จู ักทม่ี าของ Emoticon และ Emoji. สบื ค้นเมอ่ื ธันวามคม 2560, จาก iT24Hrs:

https://www.it24hrs.com/2015/emoticon-emoji-story/
Kontominas B. (2018). Cyberbullies and online trolls face up to five years in jail under

law change. Retrieved from https://www.abc.net.au/news/2018-10-07/online-
trolls-and-cyberbullies-in-nsw-face-tougher-new-laws/10348246
Langan Pual. (2011). Bullying in Schools : What you need to know. New Jersey:
Townsend Press Inc.
Mantelero A. (2013). The EU Proposal for a General Data Protection Regulation and
the roots of the ‘right to be forgotten’. Computer Law & Security Review, 29(3),
2 2 9 - 2 3 5 . Retrieved from http://www.sciencedirect.com/science/article/
pii/S0267364913000654. doi:https://doi.org/10.1016/j.clsr.2013.03.010
Master Backline. (2002). Bullying. R.I.C. Publication.
Oxford Dictionaries. (n.d.). Definition of etiquette in English. Retrieved 2018 December,
from https://en.oxforddictionaries.com/definition/etiquette
Oxford Dictionaries. (n.d.). Definition of netiquette in English. Retrieved 2018 December,
from https://en.oxforddictionaries.com/definition/netiquette
Robert JR., W. B. (2008). Working with Parents of Bullies and Victims. สบื คน้ จาก
https://www.goodreads.com/book/show/5791134-working-with-parents-of-
bullies-and-victims
Seth T Ross. ( 2 0 1 1 ) . Netiquette. Retrieved 2 0 1 8 December, from Albion:
http://www.albion.com/netiquette/
Security in-a-box. (2556). 9 ปกปอ้ งตวั คุณและข้อมูลของคุณเมอ่ื ใช้เว็บไซต์เครือข่ายสังคม. สบื คน้
เมือ่ ธนั วาคม 2560, จาก https://securityinabox.org/th/guide/social-networking/
Tambini D. (2017). Fake News: Public Policy Responses.Media Policy Brief 20. London:
The London School of Economics and Political Science Department of Media
and Communications
Trenholm R. (2 0 1 4 ) . Google must delete search results on request, rules EU court.
Retrieved from https://www.cnet.com/news/google-must-delete-search-
results-rules-european-court/

149

Whitney L. (2 0 1 4 ) . Google already being asked to remove search results. Retrieved
from https://www.cnet.com/news/google-already-being-asked-to-remove-
search-results/

กองขับเคลื่อนดิจิทัลเพื่อสังคม. (2562). สรุปผลการสํารวจขอมูลสถานภาพการรูเทาทันส่ือและ
สารสนเทศของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ, กระทรวงดิจทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม.

เฉลิมชัย ก๊กเกียรติกุล, ธัญญนนทณัฐ ด่านไพบูลย์. (2561). ข่าวลวง : ปัญหาและความท้าทาย.
วารสารวชิ าการ กสทช. ประจาปี 2561, 254.

ไทยรัฐ. (2559). อทุ าหรณ!์ 'โจก๊ IScream’ ขอโทษสังคมออนไลน์ หลังโพสตภ์ าพตดั ตอ่ ถกู รางวลั ท่ี 1.
สืบค้นเมื่อ กุมภาพันธ์ 2560, จาก ไทยรัฐออนไลน์: https://www.thairath.co.th/
content/571737

ธญั นนทณัฐ ด่านไพบลู ย์, & เฉลิมชยั ก๊กเกียรติกลุ . (2018). ข่าวลวง: ปัญหา ความทา้ ทาย และ
แนวทางจดั การ. NBTC Journal, 3, 173–192.

ไทยรัฐ. (2558). ‘ขวัญ อุษามณี’ แจ้งล่าคลิปโป๊ เอาภาพไปตัดต่อกับชาคริต. สืบค้นเมื่อ ธันวาคม
2560, จาก ไทยรฐั ออนไลน:์ https://www.thairath.co.th/content/539098

ภทั รกานต์ ภัทรธารง. (2559). การเปิดรับและความคิดเหน็ ตอ่ เน้อื หาประทุษวาจา (Hate Speech)
ของผรู้ บั สารส่ือออนไลน:์ กรณศี ึกษาเฟซบุ๊กแฟนเพจ “หยุดดัดจริตประเทศไทย”
(วทิ ยานิพนธ์ ปรญิ ญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์, ปทุมธาน.ี

สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2555). Netiquette. สืบค้นเม่ือ ธันวาคม 2560, จาก
ส า นั ก ง า น พั ฒ น า ธุ ร ก ร ร ม ท า ง อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ : https: / / www. etda. or. th/
terminology-detail/1522.html

อรณิชา สวัสดิชัย. (2553). ประเทศไทยกับปัญหาการคุ้มครองผู้ถูกคุกคามจากการเฝ้าติดตามอย่าง
ต่อเน่อื ง. BU Academic Review, 48-55.



151

บทท่ี 8

สขุ ภาพดยี ุคดิจิทลั

152

บทท่ี 8

สุขภำพดยี คุ ดิจทิ ลั

สุขภาพดียุคดิจิทัล ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัล ส่งผลให้

เทคโนโลยีการแพทย์และสาธารณสุขมีประสิทธิภาพพร้อมกับปริมาณข้อมูล
ข่าวสารด้านสุขภาพท่ีมากข้ึนและเข้าถึงได้ง่ายจากการใช้การใช้อินเทอร์เน็ต
ประชาชนจึงต้องมีความตระหนักและเข้าใจถึงผลกระทบจากเทคโนโลยีดิจิทัล
ที่มีต่อสุขภาพทั้งในเชิงบวกและเชิงลบ การเกิดโรคทางกายภาพ สภาวะการ
เปลี่ยนแปลงทางอารมณ์และจิตใจ เพื่อสามารถปรับพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสมกับยุคดิจิทัล
มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตอันแข็งแรง ตลอดจนสามารถหลีกเล่ียงปัจจัยเส่ียง มีพฤติกรรมสุขภาพที่
เหมาะสม และทาให้มคี ณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ีอยา่ งยงั่ ยืน

8.1 ปัจจยั เสี่ยงที่เกดิ ทาให้เกดิ ปัญหาสุขภาพ

ในยุคปัจจุบันที่ถูกขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีและการสื่อสาร ซ่ึงเรียกได้ว่าเป็น ยุคดิจิทัล
เทคโนโลยีดิจิทัลทาให้เกิดรูปแบบการดาเนินชีวิตใหม่ที่สะดวกสบายมากข้ึน อุปกรณ์ต่าง ๆ มีความ
ฉลาดมากขึ้น กลายเป็นอุปกรณ์อัจฉริยะ (Smart Device) ท่ีสามารถเช่ือมต่อกันผ่านระบบเครือข่าย
การสื่อสารความเร็วสูง ในทานองเดียวกัน สาหรับด้านการสืบค้นข้อมูล การค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ
สามารถทาได้อย่างง่ายดาย เนื่องจากมีอินเทอร์เน็ตช่วยให้เข้าถึงข้อมูลได้ท่ัวทุกมุมโลก รวมทั้งการ
เกิดข้ึนของการส่ือสารรูปแบบใหม่ คือ เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Media) เช่น Facebook,
Instagram, Twitter, YouTube และ LINE เปน็ ตน้ ทาใหส้ ามารถย่อโลกลงมาอยู่เพยี งปลายนวิ้ ลว้ น
แล้วแต่ทาให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ การดาเนินชวี ติ ความสัมพันธก์ บั บุคคลอ่นื

แต่อย่างไรก็ตามประโยชน์ที่เกิดขึ้น เม่ือถูกนามาใช้โดยขาดความสมดุล ย่อมเกิดเป็นผลเสีย
ได้เช่นกัน เช่น การพ่ึงพิงหรือเสพติดอุปกรณ์มากเกินไป การทางานในออฟฟิศเป็นเวลานาน ๆ ทาให้
ขาดการออกกาลงั กาย กจ็ ะทาใหเ้ กิดอาการเจบ็ ปว่ ย ในด้านของการสอื่ สาร การมีข้อมูลขา่ วสารที่มาก
เกินไป หากขาดจิตสานึกและการไตร่ตรองข้อมูล อาจหลงเชื่อข้อมูลอันเป็นเท็จ ตลอดจนเกิดภัย
อันตรายรูปแบบใหม่ ได้แก่ อาชญากรรมทางไซเบอร์ การกลั่นแกล้งผ่านสังคมออนไลน์
(Cyberbullying ) มากมาย ท่ีสามารถส่งผลต่อร่างกายและจิตใจท้ังทางตรงและทางอ้อม ส่ิงเหล่าน้ี
ล้วนเป็นผลเสียที่อาจ เกิดข้ึน กับ ทุกคน ที่ใช้เทคโนโ ลยีแล ะอุป กร ณ์ในยุ คดิจิทัล อย่างขาดคว าม
ระมัดระวัง

เทคโนโลยีดิจิทัล เข้ามามีบทบาทสาคัญท้ังในการชีวิตประจาวัน การติดต่อส่ือสารระหว่าง
บคุ คล ทกั ษะการใชง้ านคอมพิวเตอร์ และถูกจัดเป็นคณุ สมบัตทิ ่ีจาเปน็ ต่อการประกอบอาชพี ส่งผลให้
เกิดการใช้เทคโนโลยีและอุปกรณ์มากขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพได้จาก
พฤตกิ รรมและปัจจยั เสย่ี งสาคญั สรุปดงั น้ี

• การอยู่ในพฤติกรรมใดพฤติกรรมหน่ึงนานเกินไป โดยขาดการพักผ่อน หรือออก
กาลงั กาย ทาให้ร่างกายมคี วามเครยี ดสะสม สง่ ผลต่อทั้งสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิต

153

• การนงั่ ทางาน หรือการใชอ้ ปุ กรณ์ดิจทิ ัล โดยมีท่าทาง อริ ยิ าบทและการจัดระเบียบ
ร่างกายท่ีไม่เหมาะสม ทาให้กล้ามเน้ือเกร็งมากเกินไป จนเกิดอาการปวดเม่ือย
และอกั เสบ

• พฤติกรรมชอบแชร์หรือส่งต่อข้อมูลโดยขาดการไตร่ตรอง การมีปริมาณข้อมูล
ข่าวสารท่ีมากเกินไป ซึ่งมีการปะปนกันระหว่างข้อมูลท่ีถูกต้องและข้อมูลที่ผิด
โดยอาจมแี หล่งทม่ี าหรอื ไมก่ ไ็ ด้

• การใช้งานอุปกรณ์ดิจิทัลหรือเครือข่ายสังคมออนไลน์มากเกินไป จนเกิดอาจเกิด
การเสพติดดิจิทัล ท่ีส่งผลต่อระบบสมอง ภาวะอารมณ์แปรปรวน วิตกกังวล
และซึมเศรา้ ได้

8.2 สุขภาพ (กาย) ดียุคดิจิทัล

ปัญหาสุขภาพกายท่ีเกิดจากการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มักมีสาเหตุหลักมาจากการใช้งานที่มาก
เกินไปจนทาให้มีผลกระทบต่อระบบการทางานของร่างกาย ท่ีสาคัญ ได้แก่ ระบบการมองเห็น
และระบบกลา้ มเนือ้

8.2.1 โรคคอมพิวเตอร์วิชันซนิ โดรม (Computer Vision Syndrome)

จัดเป็นกลุ่มอาการหน่ึงในออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) พบมากในบุคคล
ท่ีทางานอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน 2 – 3 ชั่วโมง หรือถึง 6 ช่ัวโมง โดยมีอาการสาคัญ
คือ ปวดเมือ่ ยตา แสบตา ตามัว

สาเหตุหลัก คือ การจ้องดูข้อมูลบนคอมพิวเตอร์ติดต่อกันเป็นเวลานานเกินไป ทาให้การ
กระพริบตานอ้ ยลง จนมีอาการทาให้ตาแหง้ อาจจะมีอาการตาแดง

การปอ้ งกนั และแกไ้ ขขั้นต้น
• ขณะทางานหน้าจอ ควรกระพรบิ ตาให้บอ่ ยขนึ้ เพอื่ เพิม่ ความชมุ่ ชืน้ ใหผ้ ิวดวงตา
• การพักสายตาทุก 15 นาที โดยละสายตาจากหน้าจอเพื่อพักสายตา เช่น การมองใน

ระยะไกลประมาณ 10 - 20 วินาที แล้วกลับมามองในระยะใกล้ เพ่ือไม่ให้ดวงตาเกิด
อาการลา้ การนวดคลงึ ท่ีตาเบา ๆ เพอื่ ลดอาการล้า และไมค่ วรขยตี้ า
• การบริหารดวงตา เป็นวิธีหน่ึงท่ีสามารถช่วยเสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อบริเวณ
นัยน์ตา สามารถปฏิบัติได้เป็นประจาเหมือนกับการออกกาลังกาย ซ่ึงสามารถทาง่าย ๆ
ดงั นี้ ใหเ้ หลอื บตาลง กลอกนยั น์ตาเป็นวงกลมซ้ายไปขวาและขวาไปซ้าย ชายหางตาไป
ทางขวายอ้ นมาซา้ ยสลับกนั
• ควรตรวจสุขภาพตา ปีละ 1 คร้งั เพอ่ื วัดความดันภายในลูกตา ตรวจเชค็ จอประสาทตา
และความผิดปกตอิ ่นื ๆ ด้านสายตา

8.2.2 ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome)

มักพบกับคนที่ทางานในออฟฟิศ ที่มีพฤติกรรมและอิริยาบถในการทางาน รวมไปถึง
สภาพแวดล้อมท่ีไม่เหมาะสม มีอาการแสดงสาคัญ คือ การปวดกล้ามเนื้อเฉพาะท่ี เช่น คอ บ่า ไหล่
สะบัก นิ้ว ข้อมือ โดยการปวดจะมีลักษณะเป็นบริเวณกว้าง ไม่สามารถระบุตาแหน่งได้ชัดเจน

154

อาจพบอาการปวดร้าวไปยังบริเวณใกล้เคียง เน่ืองจากมีการใช้งานของกล้ามเน้ือมัดเดิมซ้า ๆ
เป็นระยะเวลานานอย่างต่อเนื่อง จึงทาให้รู้จักในอีกช่ือหนึ่งว่า กลุ่มอาการปวดกล้ามเน้ือและเย่ือ
พังผืด (Myofascial Pain Syndrome) อาการอ่ืนท่ีสามารถพบร่วมได้กับบริเวณท่ีมีอาการปวด เช่น
ชา วูบ เย็น เหน็บ หรือ มึนงง หูอ้ือ ตาพร่า ซึ่งสัมพันธ์กับอาการปวดบริเวณคอ หากมีอาการรุนแรง
อาจพบ อาการชาหรืออ่อนแรงบริเวณแขนและมือจากการที่ระบบประสาทถูกกดทับนานเกินไป
(โรงพยาบาลศริ ริ าชปิยมหาราชการณุ ย์, 2556)

สาเหตุหลัก คือ การนั่งทางานเป็นระยะเวลานานต่อเนื่องเป็นเวลานานมากกว่า 6 ช่ัวโมงตอ่
วัน การมีอิริยาบทท่ีไม่เหมาะสม เช่น การน่ังหลังค่อม ท่าก้มหรือเงยคอมากเกินไป น่ังทางานหน้าจอ
คอมพิวเตอร์เป็นระยะเวลานานเกินไป สภาพแวดล้อมหรืออุปกรณ์ในการทางานไม่เหมาะสม เช่น
แสงสว่างไมเ่ พียงพอ การพกั ผอ่ นไม่เพยี งพอ และความเครยี ด เป็นตน้ ดังรูปภาพที่ 58

รูปภาพท่ี 58 ลักษณะการน่ังทางานทเ่ี หมาะสม (วาดโดยสภุ าภรณ์ เกียรติสนิ )

155

ตารางที่ 5 ระดบั ของอาการ ออฟฟิศซินโดรม (โรงพยาบาลบารงุ ราษฎร์, ม.ป.ป.)1

ระดบั การสังเกตอาการ แนวทางแกไ้ ข

- พักสลับทางานเปน็ ระยะ ๆ

ระดบั ที่ 1 อาการเกิดข้นึ เมอื่ ทางานไประยะหนึ่ง - ยืดกลา้ มเน้ือเพื่อผ่อนคลาย
พักแล้วดีข้นึ ทนั ที - นวดผอ่ นคลาย

- ออกกาลังกาย

ระดับท่ี 2 อาการเกดิ ขน้ึ พกั นอนหลับแลว้ แต่ - ปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมการทางาน
ยังคงมีอาการอยู่ - รับการรกั ษาท่ถี ูกต้อง

ระดับที่ 3 อาการปวดมากแมท้ างานเพียงเบาๆ พัก - พกั งาน/ปรบั เปลี่ยนงาน
แลว้ อาการกย็ ังไม่ทเุ ลาลง - รบั การรกั ษาที่ถูกต้อง

การปอ้ งกันและแกไ้ ขขั้นตน้
จากรูปภาพท่ี 59 และรูปภาพที่ 60 การปรับพฤติกรรมและสภาพแวดล้อมบริเวณทางานให้
เหมาะสม ดังนี้

รปู ภาพท่ี 59 สภาพแวดล้อมของการทางานทเ่ี หมาะสม (วาดโดยสุภาภรณ์ เกียรตสิ ิน)
• อยู่ในท่าทางานสามารถต้ังศีรษะได้ตรง สายตามองไปด้านหน้าได้สะดวก จอภาพอยู่ต่า

เลก็ นอ้ ยกว่าระดับสายตา
• ปรบั ทา่ ทางและอริ ยิ าบถในการนั่งทางาน ไดแ้ ก่ ดงั รูปภาพที่ 60

o กล้ามเนื้อไหล่ผ่อนคลาย มือท้ังสองข้างอยู่ในแนวเดียวกันกับแขน หลังต้ังตรงพอดีกับ
ทพ่ี ักหลัง เอกสารอยู่ในตาแหน่งที่ง่ายต่อการมอง เท้าทงั้ สองข้างสามารถวางได้พอดี

o การวางมือที่ถูกต้อง เม่ือใช้คีย์บอร์ดหรือเมาส์ คือ ข้อมือต้องไม่กระดกขึ้นหรืองอ
ลง ไมค่ วรวางพกั ขอ้ มือลงพืน้ โต๊ะที่แข็ง เพราะทาให้มกี ารกดทบั ท่ีบริเวณขอ้ มือ

1 โรงพยาบาลบารุงราษฎร์. (ม.ป.ป.-b). อาการออฟฟศิ ซนิ โดรม (office syndrome). สบื ค้นเมอ่ื 12 ธันวาคม 2560, จาก https://www.bumrungrad.com/th/
rehabilitation-clinic-sathorn/conditions/office-syndromes

156

รปู ภาพท่ี 60 แสดงการวางมือขณะพมิ พค์ อมพิวเตอร์ (ศักดพ์ิ งษ์ เสรีเศวตรตั น์, 2552)
• จดั แสงสวา่ งเพียงพอในการทางาน ปรบั ตาแหนง่ ของจอภาพให้อยใู่ นแนวขนาน
• ปรับค่าความละเอียดของหน้าจอ (Screen Resolution) ให้พอดีกับขนาดของหน้าจอ

ไม่เล็กหรือใหญ่เกินไป เพราะจะทาให้ขนาดของภาพและตัวหนังสือผิดเพ้ียนไปจาก
ความจริง ปรับขนาดตัวอักษรและความเข้มที่เหมาะสม ควรเลือกใช้ขนาดตัวอักษรที่
ใหญ่พอดี ปรับความเข้มของตัวอักษรให้มากขึ้น สังเกตได้จากการท่ีเราสามารถอ่าน
ตวั อักษรไดใ้ นระยะห่างเปน็ 3 เทา่ ของระยะที่น่ังทางาน
• ปรับระดับเสียงอุปกรณ์ให้เหมาะสม โดยเฉพาะการใช้หูฟัง ควรมีระดับเสียงไม่เกิน
50% ของระดับเสียงสูงสุด หรือปรับระดับเสียงไปท่ีระดับกลาง และไม่ควรฟังต่อเนื่อง
เกนิ 2 ช่ัวโมง
• หมน่ั ออกกาลังกายเพอ่ื ลดความเครยี ด และเสริมสร้างความแข็งแรงของกลา้ มเน้อื
• ควรมกี ารเปลีย่ นอิริยาบถ หรือการยืดกลา้ มเนอ้ื ระหวา่ งทางาน
การรกั ษากลมุ่ อาการออฟฟิศซนิ โดรม เม่อื ไดร้ บั การวินจิ ฉัยโดยแพทย์ แพทย์จะพจิ ารณาการ
รักษาท่ีเหมาะสมกับอาการของแต่ละบุคคล ซ่ึงประกอบด้วยกายภาพบาบัด การรักษาด้วยยา การ
รกั ษาด้วยศาสตร์ทางเลอื กอืน่ เช่น การฝงั เข็ม การนวดแผนไทย เปน็ ตน้

157

8.2.3 ข้อควรปฏบิ ตั อิ น่ื ๆ เพอื่ สขุ ภาพ (กาย) ดียคุ ดิจทิ ัล

• การรักษาความสะอาดอุปกรณ์ที่มีการใช้งานเป็นประจา ซ่ึงสามารถเป็นแหล่งสะสม
ของฝนุ่ เชอื้ โรค แบคทเี รียตา่ ง ๆ

• การดื่มน้าให้เพียงพอ เน่ืองจากน้าเป็นองค์ประกอบสาคัญและมีหน้าท่ีหล่อเล้ียง
สว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย โดยเฉพาะยิ่งเม่ือมกี ารทางานท่ีต้องใชส้ มองและร่างกาย

• การพักผอ่ นให้เพยี งพอ
• การลดพฤติกรรมติดเก้าอี้ เน่ืองจากการใช้เทคโนโลยีท่ีอานวยความสะดวก ทาให้ต้อง

เฝ้าหน้าจอมากข้ึน นามาสู่การลดการเดินทาง ลดกิจกรรมการเคลื่อนไหวของร่างกาย
อกี ท้งั การอย่ตู ดิ กับหนา้ จอ มกั จะเพลิดเพลินกบั ขนมขบเคีย้ วซึง่ นาไปสภู่ าวะน้าหนักเกิน
ได้ในทีส่ ุด

8.3 สุขภาพ (จติ ) ดี ยคุ ดจิ ิทลั

ปัญหาด้านสุขภาพจิตท่ีมีสาเหตุจากเทคโนโลยีดิจิทัล เกิดจากความไม่สมดุลในการใช้งาน
ความเครยี ดสะสม ไมส่ ามารถบริหารจัดการเวลาได้อย่างเหมาะสม ภาวะเสพติดทางใจ จนไมส่ ามารถ
ควบคมุ พฤตกิ รรม ขาดความยบั ยั้งช่ังใจ หากรุนแรงอาจส่งผลตอ่ ระดบั สารเคมีในสมองทาใหเ้ กิดภาวะ
สุขภาพจติ เชน่ ภาวะวิตกกังวล โรคซึมเศรา้ เปน็ ต้น

8.3.1 โรคเครยี ดจากคอมพิวเตอร์ (Computer Stress Syndrome)

การใช้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ดิจิทัล เพ่ือการทางานและติดต่อสื่อสารอยู่ตลอดเวลา
ทาใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมคนุ้ ชนิ กบั การตอบสนองจากอุปกรณ์ดิจิทัลอย่างทนั ทีและรวดเร็ว

ดังนั้นหากพบปัญหาคอมพิวเตอร์ทางานช้า ไม่รวดเร็วทันใจ อาจจะทาให้เกิดความเครียด
และหงุดหงิด หรือมีอารมณ์รนุ แรงขน้ึ (ไทยรฐั ออนไลน์, 2553)

8.3.2 การทาหลายงานในเวลาเดียวกนั (Controlling Multi-Tasking)

การใชอ้ ุปกรณด์ ิจิทัลเพ่ือการทางานและการตดิ ต่อสื่อสาร สามารถทาให้การทางานหลาย
พร้อม ๆ กันได้ แต่พบว่าการทางานหลายอย่างพร้อมกัน จะทาให้เสียสมาธิกับงานหลักท่ีกาลังทาอยู่
เดิม เช่น การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) การแจ้งเตือนของโปรแกรมสนทนาหรือ
อีเมล จึงต้องละความสนใจจากงานที่ทาอยกู่ ่อน เพือ่ ตอบข้อความหรอื อีเมล ทาให้มผี ลคุณภาพในการ
ทางานและมีความล่าช้า ดังนั้น จึงควรต้ังใจทางานทีละชิ้น ปิดการแจ้งเตือนท่ีไม่จาเป็น เพ่ือลดการ
รบกวนและสรา้ งสมาธิท่จี ะทาใหก้ ารทางานมปี ระสิทธิภาพ (อมรเดช คีรีพฒั นานนท์, 2559)

8.3.3 ภาวะเสพตดิ ดิจทิ ลั (Digital Addiction)

การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีมากเกินไป ทาให้สูญเสียสมดุลของการดาเนินชีวิตประจาวัน
และความสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้าง มีอาการสาคัญ คือ มีความหมกมุ่น และต้องการอยู่กับอุปกรณ์
ดจิ ทิ ลั อนิ เทอร์เน็ต สือ่ สังคมออนไลน์ และเกม อยตู่ ลอดเวลา หากไมไ่ ด้ใชง้ านดังกล่าว มกั เกดิ อาการ
วติ กกังวล กระวนกระวาย หงดุ หงดิ และอารมณแ์ ปรปรวน โดยระดับอาการของการเสพติดดจิ ทิ ัลน้ัน

158

มีหลายระดับ ตั้งแต่ไม่แสดงอาการใดๆ หรือระดับท่ีก่อให้เกิดปัญหาและความราคาญกับบุคคลอ่ืน
หรือ ระดับท่ีไม่สามารถหักห้ามใจตนเองให้หยุดหรือเลิกใช้ได้ จนกระทั่งระดับรุนแรงส่งผลกระทบ
ต่อชีวิตสว่ นตวั การศึกษา การทางาน และสขุ ภาพร่างกาย

การป้องกนั และแก้ไขข้นั ต้น
• สารวจพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีและอุปกรณ์ดิจิทัลของตนเอง เช่น จานวนชั่วโมงต่อ

วันท่มี ีการใช้งาน อาการแสดงของตนเองหากไม่ไดง้ านอุปกรณ์ดจิ ิทลั
• สร้างระเบียบวินัยในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล โดยกาหนดเวลาที่ชัดเจนในการใช้งาน

เช่น เวลาช่วงที่จะสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตหรือเล่นเกมได้ กาหนดจานวนชั่วโมง
ตอ่ วัน หรือ การปิดอปุ กรณ์ดิจทิ ัลเพ่อื ตัดชอ่ งทางการเข้าถึง (พสุ เดชะรินทร์, 2558)
• Disconnect to Reconnect เม่ือลดการใช้งานและการอยู่บนโลกออนไลน์แล้ว
ควรกลับมาดาเนินชีวิตและเช่ือมโยงตนเองเข้ากับโลกความเป็นจริงและสิ่งแวดล้อม
รอบตัวด้วย เช่น การสังเกตส่ิงรอบตัวมากข้ึน พูดคุยกับคนรอบตัวมากขึ้น
สร้างความสัมพันธ์ท่ีจับต้องได้จริง ๆ ไม่ใช่ในโลกแห่งจินตนาการในส่ือสังคมออนไลน์
และเมื่อพบมีความสุขกับโลกแห่งความจริงที่เป็นอยู่ ก็จะไม่รู้สึกอยากไปกลับอยู่ในโลก
เสมอื น (ธดิ ากานต์ รจุ พิ ฒั นกลุ , 2561)

8.3.4 โรคความจาเสื่อมจากดิจิทลั (Digital Dementia)

เป็นภาวะที่พบได้มากข้ึนในปัจจุบัน พบได้ในทุกช่วงวัย ตั้งแต่เด็ก เยาวชนและผู้ใหญ่
โดยมีสาเหตุมาจากการเสพติดหรือใช้งานอินเทอร์เน็ต สมาร์ตโฟน หรืออุปกรณ์ดิจิทัลมากเกินไป
เนื่องจากระหว่างการใช้งานอุปกรณ์ดิจิทัล ผู้ใช้มักจะไม่มีการใช้สมาธิกับข้อมูลใด ๆ เนื่องจาก
พฤติกรรมการใช้งานจะเป็นลักษณะการกวาดสายเป็นหลัก รวมท้ัง การสืบค้นข้อมูลที่ทาได้โดยง่าย
ทาให้สมองไม่ได้พฒั นาทักษะในการจดจาและการคิดวเิ คราะห์ (วมิ าลี ววิ ฒั นกุลพาณิชย์, 2561)

โรคนี้มีอาการสาคัญคือ ความจาเส่ือมถอย สมาธิส้ันลง (Attention Deficit Traits) เช่น
ไม่สามารถจาเบอร์โทรศัพท์ได้ เพราะปัจจุบันสามารถบันทึกลงในสมาร์ตโฟน การคิดเลขง่าย ๆ
ก็ใช้เคร่ืองคิดเลขแทน เป็นต้น มีพฤติกรรมลดความสนใจและการไม่รับรู้สภาพสังคม คนรอบข้าง
หรือสภาวะแวดลอ้ มภายนอก อาจมอี าการปวดศีรษะอย่างรุนแรง หรอื อาจรนุ แรงจนมีอาการป่วยทางจิต

การป้องกันและแก้ไขข้ันต้น ต้องสร้างสมดุลใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม ควรมีกิจกรรมอ่ืน
ทาเพ่ือช่วยพัฒนาทักษะทางสมอง เช่น การออกกาลังกาย การฟังเพลง การเล่นดนตรี การอ่าน
หนงั สือ เป็นต้น (ธวัชชัย สขุ สีดา, 2561)

8.3.5 โรคโนโมโฟเบีย (Nomophobia)

คาว่า “Nomophobia” มีที่มาจาก “no mobile phone phobia” นั่นคือ การกลัว
การไม่มีโทรศัพท์มือถือหรือสมาร์ตโฟน อาการสาคัญ คือ เมื่อไม่มีโทรศัพท์มือถือ (รวมท้ังสัญญาน
โทรศัพท์) จะรูส้ กึ กังวล หงดุ หงิด กระวนกระวาย สามารถจัดอยู่กลุ่มโรควิตกกังวลชนิดหนงึ่ ท่ีมีสาเหตุ
หลักมาจากการใช้เทคโนโลยีมากข้ึนและการเสพติดดิจทิ ัล

159

การป้องกันและแก้ไขขั้นต้น การกาหนดและสร้างวินัยในการใช้โทรศัพท์มือถือ ใช้เท่าที่
จาเป็น ทากิจกรรมอ่ืนทดแทน เช่น กาหนดว่าจะไม่เล่นโทรศัพท์มือถือระหว่างรับประทานอาหาร
กาหนดหอ้ งนอนเป็นเขตปลอดโทรศัพท์ เปน็ ต้น

8.3.6 ผลกระทบเชิงลบอืน่ ๆ จากการใชง้ านดจิ ิทัล

นอกจากเทคโนโลยีดิจิทัลจะทาให้เกิดโรค/กลุ่มอาการผิดปกติต่าง ๆ ของร่างกายแล้ว
ยงั อาจส่งผลในด้านอ่ืน ๆ ที่สามารถเปน็ ปจั จัยเสี่ยงที่จะทาใหเ้ กดิ กล่มุ โรคในอนาคตได้ ดังน้ี

• การสูญเสียการยับย้ังช่ังใจในโลกออนไลน์ (Online Disinhibition Effect) มีอาการ
สาคัญคือ มีตัวตนในโลกออนไลน์ทีมีลักษณะก้าวร้าว/รุนแรงกว่าตัวจริง มีสาเหตุหลัก
จากการไม่ต้องเปิดเผยตัวเอง จึงมีตัวตนบนโลกออนไลน์ซ่ึงแปลกแยกจากตัวจริง
การไม่สัมพันธ์กันระหว่างตัวจริงกับตัวตนในออนไลน์ การส่ือสารโดยมองไม่เห็น
หน้ากัน การยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง ความมีจินตนาการเบี่ยงเบนจากโลกแห่ง
ความจรงิ และคิดว่าอยเู่ หนอื กฎเกณฑ/์ กฎระเบียบต่าง ๆ (Healthy Gamer, 2557)

• การเสพติดดราม่าจากโลกออนไลน์ อาจนามาสภู่ าวะซมึ เศรา้ ได้ ดงั น้ี
o ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ครอบครัวและสังคมมีความเปราะบางมากขึ้น
การสร้าง/มีสายใยสัมพันธ์กันอย่างแท้จริงเริ่มจางหายไป และถูกแทนที่ด้วยการ
ส่อื สารผา่ นโลกออนไลน์
o ความคาดหวังให้ “ส่วนตัว/ตัวตน” เป็นที่รู้จัก สนใจและอยากจะให้คนอื่นรับรู้”
และ “ชื่นชม” จึงมีพฤติกรรมนาเสนอเรื่องส่วนตัว ความคิดเห็น บนเครือข่าย
สังคมออนไลน์ ให้เป็นภาพท่ีอยากให้คนอ่ืนเห็นและได้รับความสนใจ จนเกิด
พฤติกรรมใหม่ เช่น Selfie เป็นต้น เพื่อให้ได้รับความสนใจ ได้จานวนกด Like
มากขี้น ซ่ึงหากไม่ได้รับความสนใจตามที่คาดหวัง อาจทาให้มีความรู้สึกต่อตนเอง
ว่าตนไมม่ ีค่า ไม่มีความหมายใด ประกอบกับบนโลกออนไลน์ จะมีการเปลย่ี นแปลง
ของอารมณ์ความรู้สึกอย่างรุนแรงและรวดเร็ว ได้ ย่ิงเป็นความเส่ียงให้เกิดสภาวะ
ซึมเศร้าไดง้ า่ ยขนึ้ (อรรถจกั ร์ สัตยานรุ กั ษ์, 2559)
o การมีความรู้สึกร่วมในเหตุการณ์บนโลกโซเชียลมากเกินไป ไม่สามารถแยกแยะ
ระหวา่ งตวั ตนแหง่ ความจรงิ กบั โลกออนไลนไ์ ด้

• ส่ือสังคมออนไลน์ ทาให้มีสิทธิและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น และนาเสนอส่ือ
ในได้ต่างๆ อย่างเปิดกว้าง ดังน้ัน จึงพบเหตุการณ์การเลียนแบบพฤติกรรมที่
ไม่เหมาะสมบนโลกอินเทอร์เน็ต เน่ืองจากมีความฉลาดทางอารมณ์และความสามารถ
ในคิดวเิ คราะห์ลดลง (Praornpit Katchwattana, 2561)

• อันตรายจากการแพร่รังสีของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ถึงแม้จะยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน
ด้านผลกระทบเก่ียวกับรังสีต่าง ๆ ที่ออกมาจากอุปกรณ์ดิจิทัล แต่ก็พบว่า การใช้งาน
อปุ กรณแ์ ละโทรศัพทน์ ั้น ทาให้เกิดคลืน่ ความถว่ี ิทยุ ทีอ่ าจสามารถทาให้โครงสร้างของ
สารพันธุกรรม เช่น ดีเอ็นเอ สามารถเปล่ียนแปลง หรือสร้างความเสียหายในระดับ
เซลลข์ องมนุษย์ได้ ดังนั้น จงึ ควรมีความตระหนักและระมัดระวังในการใชง้ านอุปกรณ์

160

ต่าง เช่น ลดการใช้งานเท่าทจี่ าเปน็ ไมว่ างอุปกรณ์ไวใ้ กล้อวัยวะทส่ี าคญั เลือกอุปกรณ์
ทปี่ ลอ่ ยคลื่นความถ่ตี ่า เป็นต้น

8.3.7 การดแู ลเยาวชนในยุคดิจิทัล

ปัจจุบันเยาวชนมกี ารเรียนรู้และเข้าถึงเทคโนโลยีดิจทิ ลั อย่างรวดเร็ว ดังนนั้ ผูป้ กครองต้อง
มีความรู้เท่าทัน และควรมีแนวทางในการดูแลเยาวชน เพื่อป้องกันการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และการ
สอ่ื สารไปในทางทไ่ี มเ่ หมาะสม หรอื การใชง้ านทม่ี ากเกนิ ไป ดงั นี้ (Healthy Gamer, 2559)

• เปิดใจ: พ่อแม่ ผู้ปกครอง ต้องทาใจให้กว้าง ยอมรับ รับฟัง และพยายามทาความ
เขา้ ใจในสง่ิ ทเ่ี กดิ กับลูกบนโลกออนไลน์

• ต้ังกติกา: เพื่อให้มีระเบียบด้านการใช้งานอินเทอร์เน็ตของลูก เช่น ระยะเวลาการ
ใช้งาน ต้องทาการบ้านก่อนถึงจะใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ อะไรดูได้หรือไม่ได้ และมี
การอธิบายผลดผี ลเสียในด้านตา่ ง ๆ

• สอนให้รจู้ ักความเปน็ ส่วนตัว และเคารพสทิ ธขิ องตนเองและผอู้ ่ืน
• พ่อแม่และผู้ปกครองควรมีความตระหนักและไตร่ตรองถึงผลกระทบต่อเยาวชน

อย่างรอบคอบ ก่อนจะนาเสนอเรื่องราว รูปถ่าย หรือข้อความที่เก่ียวกับลูก ผ่าน
สือ่ สังคมออนไลน์

161

8.3.8 แนวทางปฏบิ ตั เิ ม่ือเกดิ ปญั หาสขุ ภาพจิต
กรมสุขภาพจิต และสายด่วน 1323 เป็นหน่วยงานท่ีสามารถให้ความช่วยเหลือ เมื่อพบว่า
ตนเองประสบปัญหาด้านอารมณ์ ความเครียด และสุขภาพจิต หรือสามารถประเมินโรคซึมเศร้า
ทางออนไลนไ์ ด้ท่ี http://www.prdmh.com/แบบประเมนิ โรคซมึ เศร้า-9-คาถาม-9q.html

รูปภาพท่ี 61 แบบประเมินโรคซมึ เศร้าออนไลน์
9.3.9 แนวทางการนาธรรมะ มาใช้แกป้ ญั หาชีวิตในยคุ ดจิ ิทลั

“หิริโอตตัปปะ” สอนให้เกิดความความละอายเกรงกลวั ต่อบาป นนั่ คอื ก่อนการกระทาใด
ต้องมีการไตร่ตรอง โดยการเคารพสิทธิของตนเอง ผู้อ่ืน ความหลากหลายของวัฒนธรรมทั้งหมด
ไม่ทาให้ผู้อื่นเดือดร้อน การมีหิริโอตตัปปะจะสามารถลดผลด้านลบของเทคโนโลยีดิจิทัล สร้างความ
รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดลอ้ ม เช่น ไม่ทาอันตรายแก่ผู้อ่ืนโดยการทาให้สูญเสียข้อมูลสว่ นบคุ คล
การหลอกหลวงใหท้ รัพยส์ ินสูญหาย เป็นต้น

"กาลามสูตร” เป็นหลักธรรมท่ีเหมาะสม สาหรับการพิจารณารับข่าวสารในยุคดิจิทัล
ได้อย่าง "รู้เท่าทัน" ไม่หลงเชื่อข้อมูลข่าวสารอย่างง่ายดาย หลักกาลามสูตรสอนให้ฝึกการไตร่ตรอง
ด้วยสติ ก่อนการจะเช่ือถือในข่าวสารเหล่าน้ัน เช่น ไม่เชื่อเพียงเพราะเป็นข้อมูลที่มีการส่งต่อกัน
ทางออนไลน์ จากเพ่ือน ครอบครัว ครูอาจารย์ หรือบุคคลใกล้ชิด ข้อมูลที่ทรงอิทธิพลและก่อให้เกิด
ความไว้วางใจต่อผู้รับสารเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ ไม่ควรเลือกบริโภคหรือเสพข้อมูลเฉพาะท่ีตรงกบั
ความเชื่อของตนเอง ดังนน้ั การเปิดรับขอ้ มูลข่าวสารที่ดีที่สุด คอื การเปิดรบั ขอ้ มลู ขา่ วสารให้รอบด้าน
พยายามลดอคติท่เี กดิ ขน้ึ ในใจ และรับฟงั ข้อมูลข่าวสารด้วยสติ และไมใ่ ช้อารมณ์ในการประเมินข้อมูล
พิจารณาพึงรู้ด้วยตนเอง โดยฝึกตนให้เป็นท่ีพึ่งของตนเองได้ มีวิธีพิจารณารู้ได้ด้วยตนเองเม่ือเจอ
ข้อมูลใหม่ ไมห่ ลง มสี มั ปชญั ญะ มีสติมั่นคง และเชอื่ โดยใช้ปัญญา (สุนันทา กรชิ ไกรวรรณ, 2557)

162

8.4 ผลการวเิ คราะห์การประยุกต์สุขภาพดียุคดจิ ิทัลใชก้ ับชีวิตประจาวนั

จากสถานการณ์ด้านปัญหาสุขภาพท่ีสาคัญในปัจจุบัน ร่วมกับความเจริญก้าวหน้า
ของเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสื่อสาร โดยเฉพาะการเพ่ิมขึ้นของปริมาณข้อมูลข่าวสาร การส่งต่อ
และแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านเครือข่ายสื่อสังคมออนไลน์ จะเห็นได้ว่าประชาชนมีความสามารถ
ในการปรับตัวในด้านสุขภาพอย่างรวดเร็ว จากรายงานพฤติกรรมการใช้งาน อินเทอร์เน็ต
ของประชาชนท่ีมีแนวโน้มเข้ามาค้นหาข้อมูลด้านสุขภาพมากขึ้น ท้ังในกรณีค้นหาข้อมูลเม่ือมีอาการ
เจ็บป่วยเพื่อรักษาอาการของตน การค้นหาข้อมูลด้านปัจจัยเส่ียงเพ่ือป้องกันและรักษาสุขภาพ
แต่อย่างไรก็ตามสามารถตั้งข้อมูลสังเกตด้านข้อมูลทางสุขภาพบนโลกออนไลน์ว่ามีความสับสน
มีการปะปนกันระหว่างข้อมูลที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง ดังน้ัน ประชาชนมีความจาเป็นต้องมีความ
ฉลาดในการเลือกบริโภคข้อมูลสุขภาพ เพ่ือเลือกปฏิบัติ และสร้างสุขภาพท่ีดีได้ ซ่ึงทักษะนี้อาจ
เรียกว่า Health literacy ท่ีควรมีควบคู่ไปกับความเข้าใจดิจิทัล (Digital literacy) ที่จะทาให้
ประชาชนรู้จักเลือกบริโภคข้อมูล และปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมในการใช้เทคโนโลยีและ
อุปกรณด์ จิ ิทลั ได้อย่างมสี มดุล หลกี เล่ียงพฤติกรรมการใชท้ ่ีมากเกินไปทจ่ี ะนาไปสู่ภาวะเสพติด นัน่ คือ
มีความปรารถนาท่ีจะใช้อุปกรณ์และเทคโนโลยีดิจิทัลอยู่ตลอดเวลา หากไม่สามารถได้ตาม ความ
ต้องการ จะมีภาวะอารมณ์แปรปรวน หงุดหงิด กระวนกระวายได้ นอกจากนี้ พฤติกรรมการหมกมุ่น
อยู่กับเทคโนโลยีดิจิทัลมากเกินไป จะทาให้ร่างกายมีภาวะเครียด เกิดอาการปวดเกร็งอักเสบ
ของบริเวณอวัยวะหรือกล้ามเน้ือท่ีใช้งาน หนัก ๆ ได้ เช่น อาการแสบตา อาการตาพร่า อาการปวด
ศรี ษะ อาการปวดหลงั ปวดข้อมอื เป็นต้น รวมทั้งยังเป็นบอ่ เกดิ ปัญหาดา้ นความสมั พันธ์กบั ครอบครัว
บคุ คลรอบข้างและการเขา้ สังคม

จากสถานการณ์การเข้าใจดิจิทัล ความฉลาดทางสุขภาพ และการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัล
ซึ่งสามารถวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ของความผิดปกติของร่างกายและกลุ่มอาการเจ็บป่วยต่าง ๆ
ได้อย่างตรงไปตรงมา คือ การใช้มากย่อมทาให้เกิดปัญหามาก ถึงแม้เทคโนโลยีดิจิทัลจะมีประโยชน์
และอานวยความสะดวกในชีวิตประจาวันได้อย่างมาก ดังนั้น หลักทางสายกลางหรือการสร้างสมดุล
นับเป็นหลักสาคัญท่ีสามารถใช้ป้องกันและแก้ปัญหาด้านสุขภาพท่ีเกิดข้ึนจากยุคดิจิทัลได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ สถาบันครอบครัวยังเป็นพลังสาคัญในการสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่เยาวชน
เพื่อให้สามารถเตบิ โตและดารงชวี ติ ประจาวนั ในยุคดจิ ิทัลได้อย่างมีคุณภาพชวี ิตท่ีดี ตลอดจนสามารถ
ใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยไี ด้อยา่ งปลอดภัย ถกู ตอ้ งและเหมาะสม

163

8.5 สรปุ

พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมากเกิน รวมทั้งการเสพข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพบนโลก
ดิจิทัลโดยขาดการวิเคราะห์และไตร่ตรองอย่างรอบคอบ เป็นปัจจัยสาคัญที่จะนามาสู่โรค
และภัยสุขภาพต่าง ๆ ได้ โดยท่ีสุขภาพดียุคดิจิทัล ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก คือ สุขภาพกายและ
สุขภาพจติ

สุขภาพกาย มีสาเหตุหลักมาจากพฤติกรรมการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลมากกว่าความจาเป็น
จนเกิดความไม่สมดุลของร่างกาย เกิดภาวะปวดอักเสบของอวัยวะในระบบต่าง ๆ เช่น การมองเห็น
ลดลง โรคออฟฟศิ ซนิ โดรม เปน็ ต้น

สุขภาพจิต ได้แก่ สภาวะการเปล่ียนแปลงทางอารมณ์และจิตใจ โรคเครียดท่ีเกิดจาก
คอมพวิ เตอร์ หรอื การทางานหลายงานในช่วงเวลาเดียวกัน โรคสมาธิส้ัน ภาวะเสพตดิ ดิจทิ ลั ภาวะติด
เกม โรคกลัวที่จะไม่มีโทรศัพท์มือถือ รวมทั้งการสูญเสียความสัมพันธ์กับบคุ คลอื่นเนื่องจากการใช้สอ่ื
สงั คมออนไลน์มากเกนิ ไป

แนวทางหลักในการป้องกันและแก้ปัญหาสุขภาพในยุคดิจิทัล การปรับพฤติกรรมลดการใช้
งานเทคโนโลยีดิจิทัล สร้างความสมดุลของการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัล หรือใช้เท่าที่จาเป็น ระหว่าง
การใช้งานควรมีการเปล่ียนอิริยาบถ การพักสายตา การบริหารร่างกาย และการทากิจกรรมร่วมกับ
ครอบครัว ซง่ึ ถ้าหากมีอาการผิดปกติควรปรึกษาแพทยเ์ พ่ือได้รับคาแนะนาและการรักษาอย่างถูกต้อง
เหมาะสม

เม่ือได้เรียนรู้แนวทางการใช้งานดิจิทัล การปฏิบัติตัว การรักษาสุขภาพยุคดิจิทัลแล้ว เพื่อให้
ใช้งานดิจิทัลอย่างมีประโยชน์มากขึ้นในเชิงเศรษฐกิจ คือการใช้งานด้านคอมเมิร์ซ (Commerce) ใน
บทท่ี 10 ดิจิทัลคอมเมิร์ซ เพื่อให้ผู้อ่านได้เรียนรู้หลักการของดิจิทัลคอมเมิร์ซ (Digital Commerce)
การสร้างร้านค้าออนไลน์ ข้ันตอนการซ้ือสินค้าออนไลน์ และรวมถึงกฎระเบียบท่ีเก่ียวข้อง เพื่อให้
ผู้อ่านสามารถประยุกต์ใช้เคร่ืองมือดิจิทัล เพื่อการสร้างรายได้ และการยกระดับเศรษฐกิจดิจิทัลให้มี
การพัฒนาในสงั คมได้

164

8.6 เอกสารอา้ งอิง

Healthy Gamer. (2559). Dtac Parent Guide คูม่ อื พอ่ แมย่ ุคดิจิทลั . สบื คน้ เม่อื 23 มนี าคม 2560,
จาก http://www1.si.mahidol.ac.th/Healtygamer/download/e-book/160294

Healthy Gamer. (2557). ภาวะ (โรค) ทางสังคมออนไลน์ (Online Disinhibition Effect). สืบค้น
เ มื่ อ 12 ธั น ว า ค ม 2560, จ า ก http: / / www1. si. mahidol. ac. th/ Healtygamer/
information/article/15040

Jason Yang. ( 2012) . 5 Healthy Home Office Habits. Retrieved December 2018, from
Apartment Therapy: https://www.apartmenttherapy.com/healthy-home-office-
habits-180174

Lawan Jaroensuk. (2558). ผลกระทบจากส่ือออนไลน์กบั เด็กและครอบครวั . สืบคน้ เมื่อ 23 มนี าคม
2560, จาก Lawan Jaroensuk: http://www.familymediawatch.org/?lay=show
&ac=article&Id=539335286&Ntype=2

LuckyAries. (2552). การดูแลสุขภาพ หน้าจอคอมพิวเตอร์. สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2560, จาก
Kapook: https://health.kapook.com/view5405.html

Praornpit Katchwattana. (2561). เปิดพฤติกรรมเสี่ยง โลกดิจิทัล เดก็ ไทยยคุ ดิจทิ ลั IQ & EQ สงู ไม่
พอ ตอ้ งมี DQ สงู ดว้ ย - salika. สบื ค้นเมอื่ 23 มนี าคม 2562, จาก https://www.salika.co/
2018/02/08/meeting-the-challenges-of-digital-citizenship/

Rama Channel. (2558). โรคเซลฟ่ีในวัยรุ่น. สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2562, จาก Rama Channel:
http: / / med. mahidol. ac. th/ ramachannel/ old/ index. php/ knowforhealth-
20150218-2/

ธิดากานต์ รุจิพัฒนกุล. (2561). ดิจิทัล ดีท็อกซ์ กลับมานะสติ. สืบค้น 23 มีนาคม 2019, จาก THE
STANDARD website: https://thestandard.co/digital-detox/

ธวัชชัย สุขสีดา. (2561). ใช้เทคโนโลยีมากเกินไปทาให้ ความจา คุณเส่ือมลง. สืบค้น 22 มีนาคม
2019, จาก http://blog.dpu.ac.th/ajtonrak/index.php/2018/09/19/technology/

ไทยรัฐออนไลน์. (2553). เผยเคร่ืองคอมทางานช้า โรคเครียดอาจถามหา. สืบค้น 22 มีนาคม 2019,
จาก www.thairath.co.th website: https://www.thairath.co.th/content/117745

พสุ เดชะรินทร์. (2558). โรคเสพติดดิจิทัล. สืบค้น 22 มีนาคม 2019 , จาก website:
http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/633865

รัตนาภรณ์ อมรรัตนไพจิตร, สุดธิดา กรุงไกรวงศ์. (2544). การยศาสตร์ในการทํางาน. สืบค้นจาก
http://ergo.engr.tu.ac.th/frameknow/know1_3.htm

โรงพยาบาลบารุงราษฎร์. (ม.ป.ป.-a). โรคหมอนรองกระดูกเคล่ือนทับเส้นประสาท. สืบค้นเมื่อ 12
ธนั วาคม 2560, จาก https://www.bumrungrad.com/th/conditions/herniated-disc

โรงพยาบาลบารุงราษฎร์. (ม.ป.ป.-b). อาการออฟฟิศซินโดรม (office syndrome). สืบค้นเม่ือ 12
ธันวาคม 2560 , จาก https://www.bumrungrad.com/th/rehabilitation-clinic-
sathorn/conditions/office-syndromes

โรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์. (ม.ป.ป.-a). การถนอมสายตา (Eyes Care). สืบค้นเม่ือ 12
ธั น ว า ค ม 2 5 6 0 , จ า ก http: / / www. siphhospital. com/ th/ news/ article/
share/2/Eyes-Care

165

โรงพยาบาลศิริราชปยิ มหาราชการุณย์. (ม.ป.ป.-b). โรคออฟฟศิ ซนิ โดรม (Office syndrome). สืบคน้
เมื่อ 12 ธันวาคม 2560, จาก http://www.siphhospital.com/th/news/article/
share/696/Officesyndrome

วิมาลี วิวัฒนกุลพาณิชย์. (2561). Digital Dementia วัยไหนก็สมองเส่ือมได้. สืบค้น 22 มีนาคม
2019, จาก Digital Dementia วัยไหนก็สมองเส่ือมได้ | ศูนย์รวมข้อมูลเพ่ือธุรกิจ SME (เอส
เอ็มอ)ี website: https://www.smethailandclub.com/trick-2133-id.html

ศักดิ์พงษ์ เสรีเศวตรัตน์. (2552). เมื่อต้องน่ังใช้คอมฯ นาน. สืบค้นเม่ือ 12 ธันวาคม 2560, จาก
Good Healthy for Computer User: https://care4friends.wordpress.com/2009/
05/05/long_use_comp_part1/

สมาคมรูมาติสซึมแห่งประเทศไทย. (2559). โรคกล้ามเน้ืออักเสบ. สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2560,
จาก http://www.thairheumatology.org/

สุนันทา กริชไกรวรรณ. (2557). พุทธธรรมกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สืบค้น 23
มีนาคม 2019, จาก http://phd.mbu.ac.th/index.php/2014-08-28-08-57-4/98-2014-
09-19-23-45-25

สุพิณญา คงเจริญ. (2560). โรคอ้วน: ภัยเงียบในยุคดิจิทัล. EAU Heritage Journal Science and
Technology, 11(3), 22–29.

อมรินทร์. (2560). Digital Dementia โรคความจําเส่ือมเพราะเด็กเล่นเทคโนโลยี. สืบค้นเมื่อ 12
ธันวาคม 2560, จาก AMARIN Baby And Kids: https://www.amarinbabyandkids
.com/health/digital-dementia/

อมรเดช ครี ีพัฒนานนท์. (2559). ทาหลายอย่างในเวลาเดียวกัน ได้งานเยอะกว่า จรงิ หรอื ไม.่ สืบคน้
22 มีนาคม 2019, จาก BeYourCyber website:
https://beyourcyber.com/2016/multi-task-not-better-than-single-task/

อรรถจกั ร์ สตั ยานุรกั ษ.์ (2559). โลกโซเชียลกับโรคซมึ เศร้า. สบื ค้น 23 มีนาคม 2019, จาก website:
http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/637547

166

บทที่ 9

ดจิ ิทัลคอมเมิรซ์

167

บทที่ 9
ดจิ ิทัลคอมเมริ ซ์

ดิจิทัลคอมเมิร์ซ ความรู้พื้นฐานท่ัวไปของดิจิทัลคอมเมิร์ซ ได้แก่ นิยาม

ความหมาย องคป์ ระกอบ ความสาคัญ ลักษณะ กระบวนการ และรปู แบบการ
ซ้ือ-ขายสินค้าในดิจิทัลคอมเมิร์ซ สามารถซ้ือขายสินค้าในดิจิทัลคอมเมิร์ซได้
อย่างถูกต้องและปลอดภัย จัดการแก้ปัญหาจากการซ้ือขายสินค้าได้
และสามารถสร้างร้านค้าขายสินค้า และขายสินค้าในดิจิทัลคอมเมิร์ซได้
เบื้องตน้ รวมถงึ เขา้ ใจกฎหมายท่เี กี่ยวกับดจิ ทิ ัลคอมเมริ ์ซเบื้องต้น

9.1 ดจิ ทิ ัลคอมเมิร์ซ (Digital Commerce หรือ e-Commerce)

ดจิ ิทัลคอมเมริ ์ซ หรอื อคี อมเมิรซ์ เป็นชอ่ งทางการคา้ หนึ่งที่อานวยความสะดวกให้กับผู้ขายและผู้
ซ้ือผ่านการค้าขายทางช่องทางออนไลน์ โดยมีตัวกลางผ่านระบบการส่ือสารดิจิทัล อย่างเช่น การส่ง
ข้อความออนไลน์ โทรศัพท์สมารต์ โฟน หรอื แมแ้ ตช่ ่องทางการค้าขายผ่านทางเว็บไซต์จากหนว่ ยงานที่
เปิดช่องทางนี้ เช่น ตลาดกลางการซื้อขาย (marketplace) หรือบริการประกาศการซื้อขาย
(classified) โดยการที่จะขายสินค้าผ่านช่องทางดิจิทัลคอมเมิร์ซ ควรคานึงถึงหลัก 6P
ซ่งึ ประกอบดว้ ย

• Product หรือผลิตภัณฑ์ เป็นตัวสินค้าที่จะวางขายผ่านช่องทางดิจิทัลคอมเมิร์ซ
ซึ่งประกอบไปด้วย สินค้าที่จับต้องไม่ได้ หรือสินค้าดิจิทัล ซึ่งเป็นสินค้าท่ีไม่มีตัวตนจริง
และเม่ือซ้ือสินค้าแล้วจะสามารถใช้การได้เลย เช่น เพลง หนังสือดิจิทัล กับสินค้าที่จับ
ต้องได้ ซ่ึงเป็นสินค้าท่ีมีตัวตนจริงและต้องใช้เวลาในการจัดส่งสินค้า เช่น เสื้อผ้า
เฟอร์นิเจอร์ หรอื อุปกรณ์ดจิ ิทลั

• Price หรือราคา การวางจาหน่ายสินค้าแต่ละอย่าง ข้ึนอยู่กับราคาท่ีผู้ขายมีความ
ประสงค์ทีจ่ ะขาย ซง่ึ ข้นึ อยู่กบั ปจั จัยหลายๆ อย่าง เชน่ ต้นทุน การขนสง่ หรอื การตลาด

• Place หรือสถานที่ ในกรณขี องการขายทางดิจิทัลคอมเมิร์ซ สว่ นมากจะมีช่องทางท่ีขาย
ระหว่างผู้ค้ากับผู้ขายโดยตรง หรือการค้าขายผ่านบริการค้าขายออนไลน์ รวมไปถึง
ชอ่ งทางที่ใหผ้ ู้ซอื้ สามารถเขา้ ถึงข้อมูลสินคา้ ได้

• Promotion หรือการส่งเสริมการขาย เป็นกลยุทธ์ในการเพิ่มฐานลูกค้า ผ่านโครงการ
ส่งเสริมการขายต่างๆ เช่น การจัดช่วงลดราคาสินค้า การใช้คูปองส่วนลด หรือการแจก
สินค้าเมอื่ ซ้อื สินค้าในปริมาณหน่ึง

• Personalization หรือการให้บริการส่วนบุคคล เป็นการศึกษาพฤติกรรมของผู้ซื้อ
เพอ่ื นาเสนอสินคา้ ท่ตี รงใจต่อผู้บริโภค

168

• Privacy หรอื การรักษาความเป็นสว่ นตวั เปน็ สิง่ ทผี่ ูค้ า้ ควรจะเคารพกับผู้ใช้ เชน่ การเก็บ
ข้อมลู สว่ นตัวของผู้ใช้ ผใู้ ช้ควรจะทราบวา่ ผูค้ ้าไดเ้ ก็บข้อมูลอะไรบ้าง1

การซ้ือขายสินค้าผ่านทางดิจิทัลคอมเมิร์ซสามารถแบ่งผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องออกเป็น 3 ส่วน
คือ ผูซ้ อ้ื ผู้ขาย และตัวกลางหรอื ช่องทางในการซื้อขาย

สาหรับกระบวนการซื้อขายสินค้าในดิจิทัลคอมเมิร์ซน้ัน จะเหมือนกับกระบวนการซื้อสินค้า
ปกติคือ ผู้ซ้ือเลือกสินค้า ชาระเงิน แล้วผู้ขายจะเป็นคนจัดส่งสนิ ค้าไปยงั ผู้ซ้ือ ทั้งน้ี ระหว่างการส่ังซอ้ื
สินคา้ จะมีตัวกลางในการติดต่อส่ือสารระหว่างผูซ้ ื้อและผู้ขาย อธบิ ายคือ ตัวกลางเปรียบเสมือนตลาด
ทผี่ ู้ซื้อและผูข้ ายเข้ามาพบเจอกัน

ในส่วนของรูปแบบการซ้ือขายสนิ ค้าผ่านดจิ ิทัลคอมเมริ ์ซนั้น สามารถแบง่ รปู แบบการซ้ือขาย
สินคา้ ผา่ นดิจทิ ลั คอมเมริ ์ซออกเปน็ 4 รูปแบบ ดงั ต่อน้ี

• ธุรกิจท่ีเป็นการค้าขายระหว่างผู้ค้าท่ีเป็นธุรกิจหรือองค์กร กับผู้ซ้ือท่ีเป็นผู้บริโภคหรือ
ผู้ใช้ท่ัวไป (Business to Customer หรือ B2C) ซ่ึงผู้ซ้ือสามารถส่ังซ้ือสินค้าจากเจ้าของ
ธุรกิจโดยตรง

• ธุรกิจท่ีเป็นการค้าขายระหว่างธุรกิจหรือองค์กรด้วยกันเอง (Business to Business
หรือ B2B) ซึ่งเป็นการส่ังซื้อระหว่างองค์กร ส่วนมากจะนาสินค้าท่ีสั่งซื้อมาเพื่อ
วัตถุประสงค์ทางธุรกิจบางอย่าง เช่น การขายส่ง หรือการสั่งซ้ือเพ่ือเป็นอุปกรณ์เพ่ือใช้
ในองคก์ ร

• ธุรกิจที่เป็นการค้าขายระหว่างผู้บริโภคหรือผู้ใช้ด้วยกันเอง (Customer to Customer
หรือ C2C) ซ่ึงเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าที่ผู้ใช้มีความประสงค์ที่จะขายในจานวนไม่มาก
เชน่ สินคา้ มอื สอง

• ธุรกิจที่เป็นการค้าขายระหว่างผู้บริโภคหรือผู้ใช้ทั่วไป กับผู้ซื้อที่เป็นธุรกิจหรือองค์กร
(Customer to Business หรือ C2B) ซ่ึงเป็นการติดต่อจากทางผู้บริโภคเพื่อกระทาการ
บางส่ิงบางอย่างเพ่ือผลประโยชน์ขององค์กร เช่น การหาผู้ตอบแบบสารวจ การหา
คนทางาน การรับซ้อื ของเก่า เปน็ ต้น

การที่ผู้ใช้เข้าใจรูปแบบของดิจิทัลคอมเมิร์ซ จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถเลือกช่องทางในการซื้อ
และขายสนิ ค้าใหต้ รงกบั เปา้ หมายที่ผซู้ ื้อและผูข้ ายต้องการน่นั เอง

9.2 ข้ันตอนการซอื้ สนิ ค้าในดจิ ทิ ัลคอมเมริ ์ซ

สาหรับขั้นตอนการเลือกซ้ือสินค้า จะสามารถแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอนด้วยกัน ประกอบด้วย
ขั้นตอนการเลือกสินคา้ การสอบถามไปยงั ผ้ขู าย การสั่งซือ้ สินค้า การชาระเงิน และการรับสนิ ค้า

สาหรับขั้นตอนการเลือกซื้อสินค้า ผู้ใช้สามารถเลือกสินค้าตามประเภทของสินค้าที่ต้องการ
หรือถ้าหากผู้ใช้ต้องการหาสินค้าบางอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ผู้ใชส้ ามารถคน้ หาได้จากแถบค้นหาบน
บริการดิจิทัลคอมเมิร์ซท่ีผู้ใช้กาลังใช้งานอยู่ได้ เม่ือผู้ใช้เจอสินค้าท่ีต้องการเลือกซื้อ ผู้ใช้สามารถอ่าน
รายละเอียดสินค้า รวมไปถึงการให้คะแนนของผู้ซื้อด้วยกันเอง (ในกรณีท่ีซ้ือผ่านช่องทางตลาดกลาง

1 Jill Woods. (2012, December 12). The 6 P’s of Marketing (+1) – understanding the full picture. Retrieved from Practice Momentum Ltd:
http://www.jillwoods.com/the-6-ps-of-marketing/

169

การซ้ือขาย) รวมถึงผู้ซื้อควรท่ีจะสังเกตถึงความน่าเชื่อถือของผู้ขายว่ามีความน่าเช่ือถือในระดับใด
ราคาสมเหตสุ มผลกบั สง่ิ ของที่ซอื้ มาหรอื ไม่

ในกรณีท่ีผู้ใช้มีประเด็นข้อสงสัย หรือต้องการสอบถามรายละเอียดเพ่ิมเติมกับผู้ขาย
ผใู้ ช้สามารถสอบถามไปยังผูข้ ายไดผ้ ่านช่องทางทีผ่ ู้ใหบ้ ริการดจิ ทิ ัลคอมเมิร์ซไดเ้ ตรียมไว้ได้ ท้งั น้ี ผขู้ าย
บางรายอาจจะเปน็ ผู้ขายทีม่ าจากต่างประเทศ ฉะนนั้ ควรศึกษารายละเอียดของผู้ขายใหด้ ีก่อนติดต่อ
ทาธรุ กิจร่วมกัน

เมื่อผู้ใช้ได้สินค้าท่ีต้องการซื้อแล้ว ให้กดส่ังซ้ือ หรือติดต่อผู้ขายสินค้าเพื่อส่ังซื้อ ท้ังน้ี
ข้ึนอยู่กับช่องทางในการซ้ือขายว่าผู้ใช้ได้เลือกซ้ือสินค้าผ่านช่องทางไหน ในระหว่างการส่ังซ้ือสินค้า
ผู้ใช้สามารถเลือกแบบสินค้าท่ีผู้ใช้ต้องการได้ถ้าหากผู้ขายสินค้ามีตัวเลือกให้ผู้ใช้สามารถเลือกแบบ
ของสินค้าได้ จากนั้น จะเข้าสู่กระบวนการชาระค่าสินค้า โดยรูปแบบการชาระสินค้านั้นมีท้ังหมด
3 รูปแบบ คือ ชาระสินค้าทันที ผ่อนชาระสินค้า และชาระสินค้าเม่ือส่งถึงปลายทาง ท้ังน้ี ก่อนท่ีผู้ใช้
จะส่ังซื้อสินค้า ผู้ใช้ควรศึกษาถึงนโยบายการส่งคืนสนิ ค้าและการคืนเงินของผู้ขายหรอื ตัวกลางในการ
ซอ้ื ขาย เพอื่ เป็นการปอ้ งกันตวั เองในการถูกหลอก

เม่ือผู้ใช้เลือกช่องทางการชาระเงิน และ/หรือชาระเงินเป็นท่ีเรียบร้อยแลว้ ผู้ขายสินค้าจะส่ง
สินค้า และจะมีการระบุถึงเลขท่ีพัสดุ เพื่อใช้ในการติดตามสินค้าต่างๆ ได้ทันที และเมื่อผู้ใช้ได้รับ
สนิ ค้าเปน็ ทเี่ รียบร้อยแลว้ ก็จะถือว่าเป็นการเสรจ็ ส้ินกระบวนการซื้อขายสินคา้

แม้ว่าการค้าขายผ่านชอ่ งทางดิจิทัลคอมเมิร์ซมีมามากกว่า 10 ปีแล้ว แต่ก็ยังคงมีปัญหาท่ีท้ัง
ผู้ซื้อและผู้ขายยังประสบพบเจอกับการซื้อขายผ่านช่องทางดิจิทัลคอมเมิร์ซ โดยในหน่วยนี้จะอธิบาย
ถึงปัญหาท่ีมักจะพบเจอกับการซ้ือขายทางช่องทางดิจิทัลคอมเมิร์ซ รวมไปถึงหนึ่งในปัญหาที่พบเจอ
กันมากที่สุดคือ ผู้ซื้อได้สินค้าท่ีไม่ตรงตามที่ต้องการ ไม่ได้คุณภาพ หรือผิดไปจากท่ีผู้ขายได้โฆษณา
หรอื ระบไุ ว้ในหน้าร้านคา้ ของผู้ขาย ซงึ่ ผซู้ ้อื ควรทจ่ี ะสอบถามกับผู้ขาย รวมไปถึงให้เลือกซ้ือสนิ ค้าด้วย
ความระมัดระวัง เลือกสินค้าให้ดีก่อนท่ีจะตัดสินใจส่ังซื้อ รวมไปถึงศึกษาข้อมูลของสินค้าชิ้นน้ันๆ
เชน่ การอ่านการใหค้ ะแนนสนิ คา้ ต่างๆ วา่ เป็นไปในทศิ ทางไหน ฯลฯ

สิ่งหนึ่งท่ีผู้ซ้ือควรท่ีจะระมดั ระวงั คือ การหลอกลวง ซึง่ สามารถเกิดขึน้ ไดท้ ั้งกับผู้ซ้อื และผู้ขาย
สินคา้ ในกรณีของผซู้ ือ้ ผซู้ อื้ อาจจะหลอกวา่ ชาระคา่ สินค้าแล้ว ท้ังท่ผี ู้ซ้ือยังไม่ชาระเงนิ โดยในปัจจบุ นั
บริการชาระค่าสินค้า หรือบริการโอนเงิน ล้วนแล้วแต่รองรับการแจ้งเตือนและการตรวจสอบ
ทัง้ ฝ่ายผโู้ อนและผรู้ บั โอน ซึ่งเป็นหนึ่งในวิธีที่สามารถป้องกันความเส่ยี งท่ีผ้ขู ายสินคา้ จะโดนหลอกได้

ขณะทฝ่ี ง่ั ผูซ้ ้ือเองก็ต้องระมัดระวังสินคา้ ทผี่ ู้ขายสินคา้ ไดส้ ง่ มา โดยหนึง่ ในแนวทางป้องกันท่ีดี
ท่ีสุดอย่างหนึ่งคือ การเลือกซ้ือสินค้าจากแหล่งที่ไว้ใจได้ เช่น ร้านค้าที่ได้รับคะแนนของร้านค้าท่ีดี
หรือแม้แต่ช่องทางการจาหน่ายสินค้าท่ีน่าเช่ือถือและมีนโยบายคุ้มครองผู้ซื้อไว้อย่างดี รวมไปถึงการ
แจ้งความดาเนนิ คดีกับผู้ซือ้ หรอื ผูข้ ายสินคา้ ในกรณีทฝ่ี ่งั ใดฝั่งหนง่ึ หลอกลวง

ปัญหาสุดท้ายคือ ผู้ซ้ือได้สินค้าปลอม ซ่ึงผู้ซื้อจะต้องเก็บข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับการซ้ือขาย
ดังกล่าว รวมไปถึงข้อมูลการติดต่อซื้อ-ขาย และส่งเรื่องร้องเรียนไปยังทางสานักงานคณะกรรมการ
คมุ้ ครองผบู้ ริโภค (สคบ.) เพื่อดาเนนิ การทางคดคี วามต่อไป

170

9.3 การสรา้ งร้านค้าในดิจิทลั คอมเมิร์ซ

การสร้างร้านค้าในดิจิทัลคอมเมิร์ซน้ัน ผู้ใช้ควรจะคานึงถึง 4 องค์ประกอบสาคัญ ประกอบไป
ด้วย คุณสมบัติของช่องทางการขายของร้านค้า การสร้างร้านค้า การทาการตลาด
(Digital Marketing) และการดูแลลูกคา้

9.3.1 ประเภทของช่องทางการขายของรา้ นค้า

การสรา้ งร้านคา้ นัน้ ควรทราบถึงประเภทของชอ่ งทางการขายของร้านค้า ซ่ึงมีทั้งหมด
3 รปู แบบของการซอ้ื ขายสนิ ค้าทางดิจทิ ลั คอมเมริ ์ซในระดับประชาชน ประกอบดว้ ย

• ช่องทางการขายประเภท C2C เช่น Craigslist, eBay, Facebook Marketplace
หรอื Kaidee ฯลฯ

• ช่องทางการขายประเภท B2C เช่น Amazon, Lazada, Shopee, JD, Lnwshop
หรอื eBay ฯลฯ

• ช่องทางการขายประเภท B2B เช่น พันธวณิช (Pantavanij) และ กู๊ดช้อยส์
(Goodchoiz) เป็นต้น

9.3.2 การสรา้ งร้านคา้

เม่ือผู้ใช้ทราบถึงช่องทางการขายสินค้าท่ีต้องการแล้ว ขั้นตอนถัดมาคือการสร้าง
รา้ นคา้ โดยส่งิ ที่ผใู้ ชต้ ้องเตรียมในการสรา้ งร้านคา้ ในดจิ ทิ ัลคอมเมริ ์ซประกอบดว้ ย

• อุปกรณ์ดิจิทัล ซ่ึงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์นั้นจะนาไปใช้ในการใช้งานร่วมกับ
ช่องทางการขายสนิ ค้า เชน่ คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์มือถือ หรอื แท็บเล็ต

• อินเทอร์เน็ต เป็นอุปกรณท์ จี่ ะใช้ในการเชื่อมต่อกับช่องทางการขายสนิ ค้า สามารถ
ใช้ได้ทงั้ รปู แบบมีสาย และไรส้ าย

• ช่องทางการส่ือสาร เพ่ือใช้ในการลงทะเบียนเข้าใช้งานในช่องทางการขายสินค้า
ประกอบดว้ ย อเี มล หรอื หมายเลขโทรศัพท์

• บัญชีธนาคาร และ/หรือ ช่องทางการชาระเงิน เพ่ือใช้ในการเก็บค่าสินค้าจากผูซ้ อ้ื
สินค้า

• สนิ คา้ ที่จะขาย
• ชอ่ื ร้านคา้
• หมายเลขทะเบียนร้านค้ากับทางกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์

เพอ่ื รับประกันให้กับผ้ซู อ้ื ว่าร้านค้ามอี ยจู่ ริง และเพิ่มความนา่ เชือ่ ถือจากกรมพัฒนา
ธรุ กจิ การคา้ กระทรวงพาณิชย์ไปในตัว
• ส่ิงอื่นๆ ท่ีอาจจะจาเป็นในการขาย ในบางช่องทางการขายสินค้า ผู้ใช้อาจจะต้อง
เตรียมบางส่ิงบางอย่างเพิ่มเติม เช่น ช่องทางการส่งเสริมการขาย หรือในบาง
ช่องทางอย่าง Amazon จะต้องมีค่าใช้จ่ายในการเปิดร้านค้าที่ 39.99 ดอลลาร์
สหรัฐตอ่ เดือน

171

เมื่อผู้ใช้พร้อมที่จะเปิดร้านค้าแล้ว ผู้ใช้ก็สามารถสมัครเข้าบริการทางช่องทางการขายสินค้า
ตามท่ผี ้ใู ชต้ อ้ งการได้

รูปภาพที่ 62 แสดงถึงหน้าเว็บไซตข์ องผู้ขายสนิ ค้ากับทาง Amazon ของประเทศไทย2
ภายหลังจากผู้ใช้ได้จัดต้ังร้านเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ข้ันตอนถัดไปคือการนาสินค้าไปวาง
จาหน่าย โดยการจัดวางสินค้าในหนา้ ร้านค้าบนดิจิทัลคอมเมิร์ซ ควรท่ีจะสร้างความน่าเชอื่ ถือให้กับผู้
ซอื้ รวมถึงการสือ่ สารไปยังผู้ซ้ือด้วยความซื่อตรง เช่น การระบุถึงรายละเอียดสินค้าท่ีมีความเที่ยงตรง
ท้ังรูปภาพ ข้อความ รวมไปถึงการถามตอบกับผู้ซ้ือท่ีมีความจริงใจต่อผู้ซ้ือ เพื่อเป็นการรักษาฐาน
ลูกคา้ ทมี่ ีอยใู่ ห้กลับมาซ้อื สินค้ากับร้านค้าน้นั อีก
นอกจากนี้ ผู้ขายควรกาหนดช่องขนส่งสินค้าท่ีลูกค้าสามารถติดตามการจัดส่งสินค้าได้
และช่องทางการชาระเงินซ่ึงในบริการการขายสินค้าทางดิจิทัลคอมเมิร์ซบางบริการจะสามารถเลือก
ช่องทางการชาระเงนิ แบบเก็บเงนิ ปลายทางได้
9.3.3 การทาการตลาดดิจิทลั (Digital Marketing)

การขยายยอดผ้ซู ้ือสนิ คา้ เป็นอีกหน่งึ ปัจจัยสาคัญทีจ่ ะผลักดนั ให้รา้ นค้าของผู้ใช้ประสบ
ความสาเร็จในการขายสินค้าได้ โดยหน่ึงในแนวทางการขยายยอดผู้ซ้ือสนิ ค้านนั่ ก็คือการทาการตลาด
ดิจิทัล (Digital Marketing)

ในการทาการตลาดดิจิทัลนั้น เป็นการสร้างกลยุทธ์ผ่านช่องทางดิจิทัลเพ่ือดึงดูดให้ลูกค้า
เข้ามาซื้อสินคา้ หรอื บรกิ ารจากผู้จัดจาหน่ายหรอื ผู้ใหบ้ รกิ าร

โดยการทาการตลาดดิจิทัลน้ันสามารถทาได้ใน 3 รูปแบบเบื้องต้น คือ การทาโครงการ
ส่งเสริมการขายในช่องทางการจัดจาหน่าย การจัดอันดับและการโฆษณาในระบบการค้นหา
และการใชส้ งั คมออนไลนใ์ หเ้ กิดประโยชน์ ซงึ่ มีรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี

1) บริการการขายสินค้าทางดจิ ิทัลคอมเมิรซ์ บางบรกิ าร จะเปิดใหผ้ ซู้ ือ้ สนิ คา้ สามารถทาโครงการ
ส่งเสริมการขายในช่องทางการจัดจาหน่ายได้ ซ่ึงจะเป็นได้ทั้งในรูปแบบ การลดราคาสินค้า

2 Amazon Services LLC. (2018). Amazon Global Selling. Retrieved December 15, 2018, from Amazon Services LLC:
https://services.amazon.co.th/

172

การแจกส่วนลดให้กับผู้ซ้ือสินค้า หรือการลงโฆษณา เช่น ในช่องทางการจัดจาหน่ายของ
Amazon จะเปิดให้เจ้าของร้านสามารถซ้ือโฆษณาเก่ียวกับสินค้าต่างๆ ได้ หรือใน Lazada
ที่มีการลดราคาสินค้าในช่วงเวลาจากัด เพ่ือกระตุ้นให้ลูกค้าตัดสินใจซื้อสินค้าที่มากข้ึน
ซ่ึงการทาโครงการส่งเสริมการขายในช่องทางการจัดจาหน่ายนั้น เพื่อเป็นการเพิ่มยอดผู้ซื้อ
สนิ ค้าใหม้ ากย่ิงขึน้ น่นั เอง
2) ระบบการจัดอันดบั และระบบการโฆษณาในระบบการค้นหา (search engine) โดยการทจ่ี ะ
ใชช้ อ่ งทางน้ี ควรมหี นา้ เวบ็ ไซตส์ าหรับการแนะนาผลิตภัณฑ์ ซง่ึ ในการจดั อนั ดบั ในระบบการ
คน้ หา จะอา้ งอิงจากเนื้อหาในหน้าเว็บไซต์ รวมไปถึงคาค้นทีม่ ีความใกล้เคียงกันกับเน้ือหาใน
เว็บไซต์ นอกจากน้ี ในระบบการค้นหาหลายรายเปิดโอกาสให้ผู้ใช้ได้ลงโฆษณาเพ่ือ
ประชาสัมพันธ์สินค้าได้ ซึ่งจะอิงจากคาค้นหาต่างๆ โดยผู้ใช้จะต้องซ้ือหรือประมูลช่อง
โฆษณาทผี่ ู้ใหบ้ รกิ ารโฆษณาได้กาหนดปริมาณของผูใ้ ช้ได้
3) การใช้สังคมออนไลน์ในการส่งเสริมการขายเป็นอีกหน่ึงช่องทางท่ีผู้ใช้จะสามารถขยายฐาน
ลูกค้าได้โดยที่ใช้ต้นทุนต่า ซึ่งผู้ใช้สามารถสร้างหน้าสาหรับธุรกิจบนสังคมออนไลน์ เช่น
Facebook Page ทวิตเตอร์หรือบัญชีธุรกิจของ Instagram โดยวิธีการขยายฐานลูกค้านั้น
สามารถทาได้ทั้งการโพสต์กระตุ้นยอด การลงโฆษณา หรือการจ่ายเงินเพ่ือเพิ่มยอดผู้เข้าถึง
(หรือ boost post) ทั้งนี้ เนื้อหาแต่ละเนื้อหาจะใช้วิธีการขยายฐานลูกค้าท่ีแตกต่างกัน เช่น
เนื้อหาที่เป็นเชิงสาระ จะสามารถกระตุ้นยอดการเข้าถึงเนื้อหาได้จากจ่ายเงินให้กับทาง
เครือข่ายสังคมออนไลน์ แต่ถ้าหากเป็นเน้ือหาโฆษณาสนิ ค้า ควรจะใช้วิธีการซื้อโฆษณาแทน
เปน็ ต้น

9.3.4 การดแู ลลูกค้า

การรักษาฐานลูกค้าและจูงใจให้ลูกค้ากลับมาใช้บริการอีกคร้ังถือเป็นอีกหนึ่งถือเป็น
อีกหน่ึงส่ิงสาคัญที่จะทาให้ร้านค้าของผู้ใช้ยั่งยืนได้ และด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัยข้ึน
ทาให้ร้านค้าและลูกค้าอยู่ใกล้ชิดกันมากขึ้น ซ่ึงแนวทางในการดูแลลูกค้านั้น สามารถทาได้ทั้งก่อน
การขาย ระหวา่ งการขาย และหลงั การขาย

การดูแลลูกค้าก่อนการขาย ส่วนมากจะเป็นการถ ามตอบข้อสงสัยจากลูกค้า
ผู้ขายควรอธิบายเกี่ยวกับสินค้าและบริการด้วยความสุภาพ ไม่มีการเสียดสีประชดประชัน
รวมไปถงึ แสดงความจริงใจตอ่ ลกู คา้ เพ่ือให้ลูกคา้ เกิดความสบายใจในการสง่ั ซ้ือสนิ คา้

การดูแลลูกค้าระหว่างการขาย จะเกิดข้ึนเม่ือลูกค้าได้ส่ังสินค้ากับทางร้านค้าของผู้ใช้แล้ว
ซ่ึงในระหว่างการสั่งซ้ือสินค้า ผู้ใช้ควรสื่อสารกับลูกค้าถึงสถานะในการส่งสินค้า เช่น ผู้ใช้อาจจะ
ถา่ ยภาพสินคา้ ก่อนท่จี ะส่ง หรือถา่ ยภาพพัสดุ เพ่ือเปน็ การยนื ยนั วา่ สง่ ไปหาลกู คา้ แลว้ รวมถงึ การถาม
ตอบคาถามทล่ี ูกค้าอาจจะคา้ งคาใจเพิ่มเติม

เมื่อลูกค้าส่ังซื้อสินค้าเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว ลูกค้าอาจจะประสบปัญหาในด้านการใช้งาน
ปัญหาดา้ นสนิ คา้ หรือปญั หาอนื่ ๆ ซงึ่ การดูแลลูกค้าหลังการขายเป็นสิ่งสาคญั ที่ผใู้ ช้ควรจะตระหนักอยู่
เสมอ โดยจะตอ้ งชว่ ยแก้ไขปญั หาลกู คา้ ดว้ ยความจริงใจและแก้ปญั หา

173

9.4 กฎระเบียบและกฎหมายทเี่ ก่ียวกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกสเ์ บ้ืองตน้

การเร่ิมต้นการเปิดร้านค้าผ่านช่องทางดิจิทัลคอมเมิร์ซ สิ่งหนึ่งท่ีต้องคานึงถึงคือเรื่องกฎหมาย
ที่เก่ียวข้อง เพื่อให้สามารถดาเนินการเปิดร้านค้าได้อย่างถูกกฎหมาย รวมถึงได้รับการสนับสนุน
จากภาครัฐอีกด้วย ซึ่งส่ิงที่จะต้องทราบในส่วนนี้มีท้ังหมด 2 ส่วน คือ การจดทะเบียนพาณิชย์
อิเล็กทรอนกิ ส์ และกฎหมายทเี่ ก่ียวข้องกับพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนิกส์เบื้องตน้

9.4.1 การจดทะเบยี นพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์

การเปิดร้านค้าผ่านช่องทางดิจิทัลคอมเมิร์ซนั้น ผู้ใช้ควรท่ีจะลงทะเบียนพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ให้เรียบร้อยก่อน ด้วยเหตุผลท่ีว่า ในช่องทางการจัดจาหน่ายทางดิจิทัลคอมเมิร์ซ
ส่วนมาก มักจะขอหมายเลขแสดงการจดทะเบียนพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ก่อนที่จะสามารถเปดิ ร้านคา้
ได้ โดยผู้ใชจ้ ะตอ้ งลงทะเบยี นร้านค้าภายใน 30 วันนับต้ังแตเ่ ริม่ ตน้ กจิ การ3

ซึ่งประเภทท่ีครอบคลุมการจดทะเบียนพาณชิ ย์อิเล็กทรอนิกส์นัน้ ได้แก่ การขายสินค้า
ผ่านดิจิทัลคอมเมิร์ซ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ผู้ให้บริการเช่าพื้นที่ของคอมพิวเตอร์แม่ข่ายผ่าน
อินเทอรเ์ นต็ (web hosting) และผ้ทู ี่เปน็ สอื่ กลางในการขายสินค้าทางดิจทิ ัลคอมเมิรซ์

สาหรับการลงทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์นั้น ผู้ใช้สามารถไปจดทะเบียนได้
ที่สานักงานเขต หรือสานักการคลังของกรุงเทพมหานคร ในกรณีท่ีผู้ใช้จะเปิดร้านค้าภายใน
กรงุ เทพมหานคร สว่ นผใู้ ชท้ ่ีจะเปิดร้านค้านอกเขตกรุงเทพมหานคร ให้ลงทะเบยี นท่ีเทศบาล องคก์ าร
บรหิ ารสว่ นตาบล หรือสานักงานเมอื งพทั ยา ข้นึ อยู่กบั ความสะดวกของผู้ใช้

ส่ิงที่จะต้องเตรียมตัวกอ่ นท่จี ะลงทะเบยี นพาณชิ ยอ์ ิเล็กทรอนกิ สป์ ระกอบด้วย
• สาเนาบัตรประชาชนของผูใ้ ช้
• สาเนาทะเบียนบา้ นของผใู้ ช้
• สาเนาหนังสอื รับรองนติ ิบุคคล (ในกรณีทเ่ี ป็นนติ บิ คุ คล)
• หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ตั้งสถานประกอบการ สาเนาทะเบียนบ้านท่ีใช้เป็น
สถานทป่ี ระกอบการ หรอื เอกสารยนิ ยอมในการตง้ั สถานประกอบการ

9.4.2 กฎหมายที่เกีย่ วกับพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกสเ์ บื้องต้น

นอกเหนือไปจากการจดทะเบียนพาณิชย์อิเลก็ ทรอนิกส์แลว้ ยังมีกฎหมายท่ีผใู้ ชค้ วรที่
จะทราบเพมิ่ เตมิ ในการประกอบธรุ กิจ ซึ่งประกอบไปดว้ ย

• พระราชบัญญตั วิ ่าด้วยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ พ.ศ. 2551
• พระราชบญั ญตั ิวา่ ด้วยการกระทาผิดเกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
• พระราชบญั ญัตขิ ายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545
• พระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองผูบ้ ริโภค พ.ศ. 2522
• พระราชบัญญัติทะเบียนพาณชิ ย์ พ.ศ. 2499

3 กองพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. (2561). การสร้างความเชื่อม่ันในการประกอบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (จดทะเบียนพาณิชย์สาหรับร้านค้าออนไลน์ / DBD
Registered / DBD Verified). สืบคน้ เมอื่ 15 ธนั วามคม 2561 จากกรมพัฒนาธรุ กจิ การคา้ : https://www.dbd.go.th/ewt_news.php?nid=2868

174

• พระราชบญั ญัติลขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. 2537
• พระราชบัญญตั วิ า่ ดว้ ยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ. 2542
• พระราชบัญญัตจิ ดแจง้ การพิมพ์ พ.ศ. 2550
• พระราชบญั ญตั ิอาหาร พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญตั ิยา พ.ศ. 2510
• กฎหมายธรุ กจิ นาเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551
นอกจากนี้ยังมีกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องอ่ืนๆ เช่น กฎหมายด้านการเก็บภาษีจากการทา
ธุรกรรมอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ซ่งึ ผู้ใชค้ วรทีจ่ ะศกึ ษาเพมิ่ เติม

9.5 ผลการวิเคราะห์การประยกุ ต์ใชด้ ิจทิ ัลคอมเมิร์ซกับการใช้ชีวติ ประจาวัน

ปัจจุบันการซอ้ื ขายสินค้าออนไลน์ ถือว่าเปน็ เรือ่ งปกติของประชาชนในกลุ่มวยั รุ่นและวนั แรงงาน
และมูลค่าการซื้อขายท่ีมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนทุกปี4 ซ่ึงสะท้อนให้เห็นว่าประชาชาชนมีความเช่ือม่ันในการ
ใชง้ านดิจทิ ลั คอมเมริ ์ซในชีวิตประจาวนั และมีการเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมในสงั คม จากที่ตอ้ งออกจาก
ท่ีพักอาศัย เพ่ือไปซื้อสินค้าต่างๆ ถูกแทนท่ีด้วยการใช้แอปพลิเคชันในการซ้ือสินค้าออนไลน์
โดยเป็นผลมาจากปจั จยั หลกั ดังตอ่ ไปนี้

1) การซอ้ื ของออนไลนท์ าใหเ้ กดิ การประหยดั เวลา โดยทีผ่ ูซ้ ื้อไม่ตอ้ งเสียเวลาในการ
เดนิ ทางไปยังรา้ นคา้ หรือมีภาระในการไปรับสินคา้ ต่างๆ

2) การซือ้ ของออนไลน์ไดส้ นิ คา้ ราคาถูก โดยสินคา้ บางอย่างจะมีราคาท่ีถูกกว่าสนิ ค้า
ทอ่ี ย่ใู นศูนย์การคา้ เนือ่ งจากสินค้าทขี่ ายอยู่ในรา้ นค้าออนไลนท์ ีต่ น้ ทนุ ในการขาย
ตา่ กว่า

3) การซื้อของออนไลนส์ ามารถเปรยี บเทยี บราคาได้งา่ ย โดยผู้ซื้อสามารถเข้าไปเลอื ก
ซ้ือและเปรียบเทียบราคาจากเวบ็ ไซตต์ ่างๆ ไดส้ ะดวก รวมถงึ สามารถเปรยี บเทยี บ
โปรโมชัน่ จากกิจกรรมสง่ เสริมการขายได้

จากปัจจัยหลักดังกล่าวทาให้ประชาชนมีการซื้อสินค้าท่ีเพิ่มข้ึน ประกอบการความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีดิจิทัลด้านการเงิน ทาให้การชาระเงินค่าสินค้าเปน็ ไปได้ง่าย ไม่ว่าจะเป็นชาระเงินด้วยบัตร
เครดิต การชาระเงินผ่านกระเป๋าดิจิทัล การโอนเงินผ่านธนาคารดิจิทัล หรือการชาระผ่านเคาน์เตอร์
เซอร์วิสต่างๆ โดยการชาระเงินด้วยบัตรเครดิตผ่านชอ่ งทางดิจิทัลท่ีง่ายข้ึนนน้ั ประชาชนจาเป็นอยา่ ง
ยิ่งท่ีจะต้องมีความรอบคอบในการใช้งานและจะต้องบริหารจัดการค่าใช้จ่ายของตนเองอย่างเป็น
ระบบ เพื่อป้องกันไมใ่ ห้เกดิ การใชจ้ ่ายเงินมากจนกอ่ ให้เกิดภาระหนีส้ นิ

ความนิยมในการซื้อสินค้าออนไลน์ของประชาชนน้ัน ผู้ขายสินค้าออนไลน์บางรายได้ใช้โอกาสน้ี
ในการหลอกลวง หรือ เอาเปรียบผู้บริโภค ดังนั้น ประชาชนท่ีจะซื้อสินค้าออนไลน์จึงจาเป็นจะต้อง
มีความรอบครอบและสังเกตถึงความผิดปกติๆ ต่างของการขายสินค้า เช่น สินค้าท่ีมีราคาถูกผิดปกติ
สินคา้ ท่มี ีรายละเอียดไมช่ ัดเจน เป็นตน้ และควรมกี ารซื้อสินคา้ จากเว็บไซตท์ น่ี า่ เชื่อถอื

การซือ้ สนิ คา้ ของประชาชนของไทย บางส่วนยงั เป็นการซ้ือขายสินค้าผา่ นการโอนเงินไปยังผู้ขาย
ท่ีนาเสนอสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เช่น Facebook line และ Instagram เป็นต้น ซึ่งทาให้ผู้ซื้อ
ไม่ทราบถึงตัวตนท่ีแท้จริงของผู้ขายได้ ดังนั้น ควรหลีกเลี่ยงการจ่ายเงินจานวนมากให้กับผู้ขายที่ไม่

4 สานักยุทธศาสตร์. (2561). รายงานผลการสารวจมูลค่าพาณิชย์อิเลก็ ทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2561. สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การ
มหาชน).

175

เคยซื้อขายกันมาก่อน รวมถึงควรมีการตรวจสอบผู้ขายก่อน โดยการขอเอกสารยืนยัน หรือ บัญชี
ธนาคาร เพอ่ื นามาตรวจสอบข้อมูลก่อนตัดสินใจซ้ือขายสนิ ค้า เช่น การนาชือ่ ผขู้ ายมาคน้ หาข้อมูลบน
อินเทอรเ์ นต็ เปน็ ตน้

สาหรับประชาชนท่ีมีธุรกิจท่ีเกี่ยวข้องกับการค้าขายหรือต้องการสร้างรายได้จากการค้าขายนั้น
สามารถใช้ดิจิทัลคอมเมิร์ซเป็นช่องทางในการขายสินค้าไปยังลูกค้าได้ท่ัวประเทศและทั่วโลก ซ่ึงการ
ทางานของระบบดิจิทัลคอมเมิร์ซน้ันจะ ช่วยสนับสนุนกระบวนการค้าขายต่างๆ อาทิ ด้านการตลาด
การจัดส่ง การจัดเก็บและชาระเงิน เป็นต้น แต่ในการขายสินค้าออนไลน์นั้น ประชาชนจะต้องไม่ให้
ข้อมลู สนิ คา้ ทีเ่ กนิ ความจรงิ หรอื เป็นการหลอกลวงผบู้ ริโภค

9.6 สรุป

ดิจิทัลคอมเมิร์ซ เป็นช่องทางหน่ึงในการที่เปิดให้ผู้ซื้อและผู้ขายสามารถทาการซื้อขายได้อย่าง
ง่ายดายย่ิงข้ึน ซึ่งมีองค์ประกอบหลัก 4 ส่วนคือ ผู้ซ้ือ ผู้ขาย ตัวสินค้า และสถานท่ีขายสินค้า ซึ่งมีท้ัง
แบบตลาดกลางการซอ้ื ขาย (marketplace) หรือบรกิ ารประกาศการซ้ือขาย (classified)

ในแง่ของผู้ซื้อ โดยใช้ช่องทางดิจิทัลคอมเมิร์ซในการทาธุรกรรม ตั้งแต่การเลือกสินค้า ส่ังสินค้า
จ่ายค่าสินคา้ และติดตามการจดั สง่ สินค้าที่ผู้ซ้ือไดส้ ง่ั ซ้อื มา ซ่งึ ก่อนทผี่ ู้ซ้ือจะตดั สินใจซ้ือสนิ ค้าสกั อย่าง
ผู้ซื้อควรจะสังเกตเก่ียวกับสินค้าว่ามีความน่าเชื่อถือระดับใด เป็นสินค้าท่ีเป็นของแท้หรือ ไม่
หรือแม้แต่ความน่าเช่ือถือของผู้ขายและแหล่งท่ีขายสินค้าเองก็เป็นส่วนสาคัญท่ีจะช่วยให้ผู้ซ้ือได้รับ
สินค้าท่ีตรงตามท่ีผู้ซ้ือต้องการจริง ในส่วนของผู้ขายเอง ก็ควรที่จะหาสถานท่ีขายท่ีเหมาะสมกับการ
ขายสินค้า รวมไปถึงศึกษากระบวนการขายสินค้า และการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในกรณี
ท่ผี ู้ขายต้องการเปดิ ร้านขายสนิ คา้ อยา่ งจริงจงั

ดังน้ัน ผู้อ่านจะเห็นประโยชน์ของการใช้งานดิจิทัลคอมเมิร์ซ เพ่ือสร้างรายได้ แต่ต้องเข้าใจ
ระเบียบกฏหมายด้านพาณิชย์เพ่ือให้สามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง แต่อย่างไรก็ตาม การเข้าใจดิจิทัล
มีกฎหมาย ระเบียบอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องจานวนมาก ผู้ใช้ควรเข้าใจกฎหมายพ้ืนฐาน และในบทที่ 11
กฏหมายดิจิทัล เพ่ือใหไ้ มเ่ กดิ การใชง้ านท่สี มุ่ เสยี่ งตอ่ การกระทาผดิ กฏหมายได้

176

9.7 เอกสารอ้างองิ

Amazon Services LLC. (2018). Amazon Global Selling. Retrieved December 15, 2018,
from Amazon Services LLC: https://services.amazon.co.th/

Bhalla, P. (2017). Types of eCommerce Business Models, Pros, and Cons. Retrieved
from https://360.shiprocket.in/blog/ecommerce-business-models-types-pros-
cons/

Kotler, P., Kartajaya, H., & Setiawan, I. (2017). Marketing 4.0 (1st ed.). John Wiley & Sons Inc.
Laudon, K., & Traver, C. (2014). E-commerce (10th ed.). Boston: Pearson.
Jill Woods. (2012). The 6 P’s of Marketing (+1) – understanding the full picture.

Retrieved from Practice Momentum Ltd: http://www.jillwoods.com/the-6-ps-of-
marketing/
Chaudhury, A., & Kuilboer, J. (2002). E-business and e-commerce infrastructure. Boston,
Mass: McGraw-Hill.
กองพาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส.์ (2561). การสรา้ งความเชอ่ื ม่นั ในการประกอบพาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (จด
ทะเบยี นพาณชิ ยส์ าํ หรบั ร้านค้าออนไลน์ /DBD Registered / DBD Verified). สบื คน้ เมอ่ื 15
ธั น ว า ค ม 2561, จ า ก ก ร ม พั ฒ น า ธุ ร กิ จ ก า ร ค้ า : https://www.dbd.go.th/ewt
_news.php?nid=2868
สานักยุทธศาสตร์. (2561). รายงานผลการสํารวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี
2561. กรงุ เทพฯ: สานกั งานพฒั นาธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ (องคก์ ารมหาชน).
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2561). คู มือเปิดร้านค้าออนไลน์ Easy Online Shop. สืบค้นจาก
https://www.dbd.go.th/download/ecommerce_file/pdf/dbd_ecommmanual
_openshopoonline_6202.pdf
สุภาภรณ์ เกียรติสิน, ปรีสาร รักวาทิน, ยุทธพงศ์ อุณหทวีทรัพย์. (2561). สตาร์ทอัพ มุ่งสู่ฝัน

Startup: Pushing your Dream. สื บ ค้ น เ ม่ื อ ธั น ว า ค ม 2561, จ า ก ThaiMOOC:

https://thaimooc.org/courses/course-v1:DEPA-MOOC+depa001+2018_T1/about
สุภาภรณ์ เกียรติสิน, ยุทธพงศ์ อุณหทวีทรัพย์. (2560). สอนชุมชนเปิดร้านออนไลน์. กรุงเทพฯ:

สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, กระทรวงดิจิทัลเพื่อ
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม . สื บ ค้ น จ า ก https://drive.google.com/file/d/0B8aZlp
LlDIvKLWhkRFVsTEpTNzQ

177

บทที่ 10

กฎหมายดจิ ทิ ลั

178

บทท่ี 10

กฎหมำยดิจิทัล

กฎหมายดิจิทัล กล่าวถึงการกระทาผิดทางคอมพิวเตอร์และกฎหมาย

ท่ีเกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญาสาหรับประชาชนท่ีควรรู้ โดยประชาชน
สามารถระบุได้ว่าการกระทาใดเป็นความผิดท่ีเกี่ยวกับกฎหมายดิจิทัล
พร้อมกับทราบถึงโทษของการกระทาความผิด และมีแนวทางป้องกัน
การกระทาความผิดที่เกยี่ วกบั กฎหมายดิจทิ ลั

10.1 กฎหมายดิจิทัล

กฎหมายดิจิทัล คือ กฎหมายที่รัฐได้ตราข้ึน เพื่อความสงบเรียบร้อยของสังคมทั้งทางตรงและ
ทางอ้อม ในการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลของประชาชนและนิติบุคคลในประเทศไทย โดยกฎหมาย
ดิจิทัลจะประกอบด้วยกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ในการทากิจกรรมหรือดาเนินงานต่าง ๆ
ดังต่อไปน้ี

1) การกระทาความผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์
1.1) พระราชบัญญตั ิการกระทาความผิดทางคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550
1.2) พระราชบัญญตั ิว่าดว้ ยการกระทาความผดิ เกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2560
1.3) พระราชบญั ญัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562
1.4) พระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองข้อมูลส่วนบคุ คล พ.ศ. 2562

2) ทรพั ยส์ ินทางปัญญาทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั ธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์
2.1) พระราชบญั ญตั ลิ ิขสทิ ธิ์ พ.ศ. 2537
2.2) พระราชบญั ญตั ิลิขสทิ ธ์ิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558
2.3) พระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558
2.4) พระราชบญั ญัติลิขสทิ ธิ์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2561

ซ่ึงจากที่กล่าวมานั้นจะเห็นได้ว่าในการดาเนินการเพ่ือกากับดูแลความสงบเรียบร้อยของ
สังคมท้ังทางตรงและทางอ้อม ในการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลของประชาชนและนิติบุคคลในประเทศ
ไทย ประเทศไทยได้มกี ารออกกฎหมาย และข้อบังคับ มาเปน็ จานวนมาก ซึ่งในบทน้ีจะนาเสนอเฉพาะ
ในสว่ นของกฎหมายท่ีสาคญั โดยมรี ายละเอยี ดดังต่อไปน้ี

179

10.2 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไข
เพม่ิ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 25601

พระราชบัญญัติฉบับน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิดกับบุคคล
ที่ใช้คอมพิวเตอร์กระทาความผิด ไม่ว่าจะเป็นการทาให้ระบบคอมพิวเตอร์ไม่ทางานตามคาสั่งที่
กาหนดไว้ หรือทาใหร้ ะบบได้ปฏบิ ัตติ ามคาส่งั ผิดพลาดไป อกี ท้งั การใช้วิธีการอนั ใดๆ ทีเ่ ป็นการเข้าถึง
ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่น แก้ไข หรือทาลายข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ รวมถึงเผยแพร่
ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จหรือเป็นข้อมูลท่ีมีลักษณะลามกอนาจาร อันส่งผลให้เกิดความเสียหาย
ตอ่ สงั คม เศรษฐกิจ ความม่ันคงของรัฐและความสงบสุขหรือศีลธรรมอันดขี องประชาชน ท้ังน้ี ไม่วา่ ตัว
ผู้กระทาความผิดจะอยนู่ อกราชอาณาจักร ไมว่ ่าจะเป็นคนไทยหรือเป็นคนต่างชาติ ถ้าผู้เสยี หายมีการ
ร้องขอให้ลงโทษ ผู้กระทาความผิดต้องรับโทษภายในราชอาณาจักรไทยตามพระราชบัญญัตินี้
เร่ิมบังคับใช้เม่ือ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2550 และได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทา
ความผดิ เก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560 เมอื่ วนั ท่ี 23 มกราคม พ.ศ. 2560

ซึ่งประชาชนที่มีการใช้งานดิจิทัลควรทาการศึกษา และทาความเข้าใจถึงคานิยามตาม
ทีพ่ ระราชบญั ญัติว่าดว้ ยการกระทาความผดิ เกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์ กาหนดไวด้ ังน้ี

“ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า “อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ทเี่ ชอ่ื มการ
ทางานเข้าดว้ ยกนั โดยได้มีการกาหนดคาส่งั ชุดคาส่งั หรอื ส่งิ อืน่ ใด และแนวทางปฏบิ ัติงานให้อุปกรณ์
หรอื ชดุ อุปกรณท์ าหนา้ ทปี่ ระมวลผลข้อมลู โดยอตั โนมตั ิ

“ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คาสั่ง ชุดคาส่ัง หรือส่ิงอ่ืนใดบรรดา
ท่ีอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึง
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกสต์ ามกฎหมายวา่ ด้วยธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ดว้ ย

“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเก่ียวกับการติดต่อสื่อสารของระบบ
คอมพิวเตอร์ ซ่ึงแสดงถึงแหล่งกาเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลา
ชนิดของบริการ หรอื อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกบั การตดิ ต่อส่อื สารของระบบคอมพิวเตอรน์ นั้

โดยพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ได้กาหนดลักษณะ
การกระทาผิดที่เก่ียวข้องกบั คอมพิวเตอร์ไวด้ ังนี้

มาตรา 5 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซ่ึงระบบคอมพิวเตอร์ท่ีมีมาตรการป้องกันการเข้าถึง
โดยเฉพาะและมาตรการน้ันมิได้มีไว้สําหรับตน ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน
หน่งึ หม่นื บาท หรอื ทั้งจาํ ทั้งปรบั

เข้าถึงโดยมิชอบ หมายความว่า การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ท่ีมีมาตรการป้องกันการเข้าถึง
และมีไว้เพื่อให้บุคคลท่ีได้รับอนุญาตใช้งาน โดยผู้กระทาไม่มีสิทธิหรืออานาจที่จะกระทาได้
หากมีอานาจตามกฎหมายสัญญาหรือได้รับอนุญาตจากเจ้าของระบบแล้ว ก็สามารถกระทาได้
ตัวอย่าง การเข้าถึงของผู้ดูแลเว็บ (Webmaster) อย่างไรก็ตาม หากได้รับอนุญาตให้เข้าถึงระบบ
คอมพิวเตอร์ของระบบ แต่ไปเข้าระบบคอมพิวเตอร์อ่ืนท่ีตนไม่ได้รับอนุญาตก็มีความผิดเช่นกัน
นอกจากนี้ การเข้าถึงโดยมิชอบไม่จาเป็นที่จะต้องมีเจตนาพิเศษ ตัวอย่าง การขโมยข้อมูล หรือเข้าไป

1 คณะกรรมการกฤษฎีกา. (2550). พระราชบญั ญตั ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร พ.ศ. 2550. กรงุ เทพฯ: สานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า.
เรยี กใช้เม่อื 13 ธนั วาคม 2561 จาก http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%c771/%c771-20-9999-update.pdf

180

แก้ไขข้อมูล เพียงแต่เข้าถึงก็มีความผิดแล้ว ไม่ว่าจะเข้าไปในระบบแล้วเพียงแต่อ่านข้อมูล เย่ียมชม
หรอื สารวจระบบ ก็เปน็ ความผดิ

คาว่า “ผู้ใด” หมายถึง บคุ คลธรรมดา ไมว่ า่ จะมีอายเุ ทา่ ใด กส็ ามารถเป็นผกู้ ระทาความผิดได้
การเข้าถึง (Access) หมายถึง การกระทาใดๆท่ีทาให้สามารถใช้ตัวเคร่ืองคอมพิวเตอร์หรือเข้าถึง
ระบบคอมพิวเตอร์ได้ การเขา้ ถึงแบ่งไดเ้ ป็น 2 วธิ ี

1) การเข้าถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง หมายความว่า การเข้าใช้งาน
คอมพิวเตอร์โดยตรงท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์เลย เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ต้ังโต๊ะ
(Desktop) หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดเคล่ือนท่ี (Laptop) ท่ีมีการต้ังมาตรการ
ป้องกันการเข้าถึงไว้ไม่ว่าจะเป็น รหัสผ่าน สแกนลายน้ิวมือสแกนม่านตา
บัตรสมาร์ตการ์ด แต่ผู้กระทาใช้วิธีการใดๆเพ่ือให้ได้มาซึ่ง รหัสผ่าน ข้อมูล
ลายนวิ้ มือ แลว้ ผ่านระบบการป้องกัน ทาให้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ หรอื จะใช้วธิ ีทาง
เทคนิคอื่นที่ทาให้ใช้เคร่ืองได้โดยไม่จาเป็นต้องใช้รหัสผ่าน ก็ถือว่าเป็นการเข้าถึง
คอมพิวเตอร์เช่นกัน การได้มาซ่ึงรหัสลับ น้ันไม่ว่าผู้กระทาจะได้มาโดยวิธีใด
เช่น แอบดูเจ้าของเคร่ืองกดรหัสหรือใช้โปรแกรมถอดรหัสลับหรือแฮ็คเข้าระบบ
โดยอาศยั ขอ้ บกพรอ่ งของระบบ ก็ถอื ว่าเปน็ การเข้าถงึ เช่นกัน

2) การเข้าถึงจากที่ห่างไกล (Remote Access) หมายความว่า การเข้าถึงเครื่อง
คอมพวิ เตอร์ผา่ นทางระบบเครือขา่ ยมีการเชื่อมต่อกบั เคร่ืองคอมพิวเตอร์เคร่ืองน้ัน
โดยผู้เข้าถึงไม่ได้ใช้งานคอมพิวเตอร์เครื่องน้ันโดยตรง เช่น ระบบ เครือข่ายที่ทา
ให้ผู้กระทาซึ่งอาจจะน่ังอยู่ที่บ้านหรืออยู่ต่างประเทศหรือท่ีใดๆ สามารถเข้าไปใน
ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นได้โดยไม่จาเป็นต้องอยู่ที่เคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีจะ
เข้าถึง เช่น ที่โต๊ะทางานของนาย ก มีเครื่องคอมพิวเตอร์ต้ังโต๊ะ (Desktop)
ที่มีระบบการป้องกันการเข้าถึงและเชื่อมต่อกับระบบแลน และอินเทอร์เน็ต
ของท่ีทางาน นาย ข ซึ่งน่ังอยู่อีกบริษัทก็ใช้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับระบบแลน
และอินเทอร์เน็ต ได้เข้ามาในเครื่องของนาย ก และทาการ ดูข้อมูลการทางาน
หรือส่งไวรัสมารบกวนการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ก็ถือได้ว่าเป็นการเข้าถึง
จากที่ห่างไกล (Remote Access)

มาตรา 6 ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ท่ีผู้อ่ืนจัดทําขึ้นเป็นการ
เฉพาะ ถ้านํามาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการท่ีน่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้อง
ระวางโทษจาํ คุก ไมเ่ กินหนึง่ ปี หรอื ปรับไมเ่ กนิ สองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

หมายความว่า ระบบคอมพิวเตอร์ทมี่ มี าตรการปอ้ งกนั การเขา้ ถึง เช่น การใช้ รหสั ผา่ น สแกน
ลายน้ิวมือสแกนม่านตา บัตรสมาร์ตการ์ด ที่จัดทาขึ้นโดยเฉพาะประจาตัวบุคคลใดบุคคลหนึ่งเท่าน้ัน
เพ่ือให้ผู้มีสิทธิใช้แสดงตนเวลาเข้าสู่ระบบ หากเจ้าหน้าที่ หรือบุคคลใดรู้ข้อมูลเหล่าน้ีแล้วนาไป
เปดิ เผย โดยการแจง้ หรือบอกใหบ้ ุคคลอ่ืนทราบ รวมถงึ การขายข้อมลู ดังกลา่ วด้วยก็เปน็ ความผิดตาม
มาตราน้ี

ตัวอย่าง กรณีของผู้ดูแลเกมส์ (Game Master) ซึ่งเป็นผู้ควบคุมดูแล User ID และข้อมูล
ต่างๆของลูกค้าผู้ใช้บริการเกมส์ออนไลน์ (Game online) แล้ว ผู้ดูแลเกมส์นา User ID หรือข้อมูล
ของเกมส์ไปขายให้กับบุคคลอ่นื เพ่ือใหเ้ ข้ามาใช้บริการ หรือกรณผี ดู้ แู ลระบบคอมพิวเตอร์ของธนาคาร
นาข้อมลู ของลูกค้า พนักงาน หรือผบู้ รหิ ารไปขายใหก้ บั บรษิ ทั คแู่ ข่ง เป็นตน้


Click to View FlipBook Version