The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเข้าใจดิจิทัลกับพลเมืองไทย ในศตวรรษที

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by puttachart, 2022-03-23 04:54:31

การเข้าใจดิจิทัลกับพลเมืองไทย ในศตวรรษที

การเข้าใจดิจิทัลกับพลเมืองไทย ในศตวรรษที

181

มาตรา 7 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีมีมาตรการป้องกันการเข้าถึง
โดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สําหรับตน ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินส่ี
หมืน่ บาท หรือทั้งจาํ ทั้งปรับ

ตัวอย่าง การเข้าถึงไฟล์ข้อสอบที่เก็บไว้ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยได้ตั้งรหัสลับไว้ แต่ถ้ามี
บางคนสามารถเดารหัสลับหรือถอดรหัสได้ และเข้าไปดูข้อสอบ ก็ถือว่าบุคคลผู้นั้นได้กระทาการ
เข้าถงึ ข้อมลู โดยมชิ อบ

อย่างไรก็ตาม ข้อมูลในหน่วยความจาสารอง เช่น แผ่น CD, Handy Drive, External Hand
Drive ยังไม่ถือว่าได้รับความคุ้มครอง แต่ถ้านาแผ่น CD, Handy Drive, External Hand Drive
ไปใช้ในเครอื่ งคอมพวิ เตอร์และข้อมูลในอปุ กรณด์ งั กล่าวทมี่ รี ะบบปอ้ งกนั การเขา้ ถึงเอาไว้ แล้วมีบุคคล
อ่ืนไปคัดลอกข้อมูลหรือเข้าถึงข้อมูลได้โดยไม่ได้รับอนุญาตไม่ว่าจะเป็น การสุ่มพาสเวิร์ด หรือวิธีใดก็
ตาม จะถือว่ามคี วามผดิ เช่นกนั

มาตรา 8 ผ้ใู ดกระทําด้วยประการใดโดยมชิ อบดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ ซง่ึ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นท่ีอยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์น้ัน
มิได้มีไว้เพ่ือประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลท่ัวไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกิน
สามปี หรอื ปรับไม่เกนิ หกหม่นื บาท หรือท้งั จาํ ทง้ั ปรบั

การกระทาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ หมายถึง การใช้วิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์หรือทางเทคนิคใด เพ่ือดักรับข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล ติดตามเน้ือหาสาระของข้อมูล
บันทึกข้อมูล ท่ีมีการส่งผ่านถึงกันในระบบคอมพิวเตอร์หรืออินเทอร์เน็ต รวมถึงวิธีการอ่ืนๆเพ่ือให้
ได้มาซึ่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นการดักฟังข้อความเสียงของบุคคลอ่ืน บันทึกภาพ
เปน็ ต้น

ข้อมูลที่ได้รับความคุ้มครองคือข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลทางการค้า ข้อมูลทางทหาร
ข้อมูลความลบั ทางราชการ ขอ้ มลู อนื่ ๆทีผ่ สู้ ่งต้องการปกปิดเปน็ ความลับ ถ้าข้อมูลท่ีดักรับเปน็ ข้อมูลท่ี
มไี วเ้ พ่ือประโยชนส์ าธารณะหรอื เพ่อื ให้บคุ คลท่วั ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ กไ็ มถ่ ือวา่ มคี วามผิด หรือแม้จะเป็น
ข้อมูลลับ แต่ผู้ส่งไม่ได้เจตนาท่ีจะปกปิดแล้วมีผู้อ่ืนดักรับข้อมูลนั้น ก็ไม่มีความผิดเพราะถือว่าผู้ส่ง
ไมไ่ ดค้ ิดว่าตนมสี ิทธิสว่ นบคุ คลในข้อมูลนนั้

ตัวอย่าง การตดิ ต่อสอื่ สารทางวอยซ์ไอพี (VoIP) หรือ โปรแกรมแชท หรอื อีเมล แลว้ ผูก้ ระทา
ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือวิธีการทางเทคนิคใดๆท่ีสามารถดักฟังข้อความการสนทนา
หรือดูข้อความ ท่ีพิมพ์ถึงกันทาง โปรแกรมแชท หรือลักลอบอ่านอีเมลท่ีส่งผ่านระบบอีเมลสาธารณะ
หรือตรวจสอบเนื้อหาของไฟล์ท่ีแนบมากับข้อความ (Attached File) ที่มีการส่งผ่านทางอีเมล
สร้างเว็บไซต์ปลอมเพื่อดักรับเอาข้อความหรือข้อมูลหรือรหัสลับของลูกค้าธนาคาร (Phishing)
อีเมลปลอม เพื่อให้คนหลงผิดและใส่ข้อมูลบัตรเครดิตหรือข้อมูลส่วนตัว และดักรับข้อมูลน้ันไป
หรอื ดักฟังโทรศพั ทก์ ็ถอื ว่าเปน็ ความผิดตามมาตรานี้

มาตรา 9 ผู้ใดทําให้เสียหาย ทําลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพ่ิมเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือ
บางส่วน ซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกิน
หนึ่งแสนบาท หรือท้ังจาํ ทงั้ ปรับ

“ทาให้เสียหาย” หมายถึง การทาให้ข้อมูลน้ันเสียไป ไม่สามารถอ่านหรือใช้ข้อมูลได้ เช่น
การเข้าไปในระบบข้อมลู คอมพวิ เตอร์แล้ว ไปแกไ้ ฟลเ์ อกสารให้ อา่ นไม่ออก

182

“การทาลาย” หมายถึง การทาให้หมดสิ้นไป การสูญหาย หรือลบข้อมูลออกจากระบบ
คอมพิวเตอร์อันทาให้ไม่สามารถเรียกข้อมูลมาใช้งานได้ เช่น บริษัทเก็บข้อมูลลูกค้าไว้ในฐานข้อมูล
Hacker เข้าไปถกู ลบขอ้ มูลนน้ั ออกจากระบบจนไม่สามารถเรยี กใช้งานได้อกี ตอ่ ไป

“แก้ไขเปลย่ี นแปลง” หมายถึง แกไ้ ขเปลยี่ นแปลงข้อมลู ทีแ่ ทจ้ ริง เพิ่ม ลบ แกไ้ ข ขอ้ ความท่ีมี
อยู่แล้ว เช่น นาย ก. เข้าไปแก้ไขโดยการเพ่ิมชื่อของตนในบัญชีผู้มีสิทธิใช้งานเว็บไซต์ หรือ นาย ข.
เจาะเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ของธนาคารแล้วเพ่ิมยอดเงินฝากในบัญชีของตนหรือการสร้าง
โปรแกรมใหป้ ดั เศษเงินตา่ งๆเขา้ บัญชีตวั เอง

มาตรา 10 ผู้ใดกระทําด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทํางานของระบบคอมพิวเตอร์
ของผู้อ่ืนถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทํางานตามปกติได้ต้องระวางโทษจําคุก
ไม่เกนิ หา้ ปี หรือปรบั ไมเ่ กนิ หน่งึ แสนบาท หรือทงั้ จาํ ทัง้ ปรบั

ก า ร ก ร ะ ท า เ พื่ อ ใ ห้ เ ค รื่ อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ห รื อ ร ะ บ บ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ข อ ง ผู้ อื่ น ถู ก ร ะ งั บ
ชะลอ ขัดขวาง รบกวน หมายถึง การทาให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานได้อย่างปกติ ไม่วา่ จะ
เป็นการทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปิดตัวเองลง ประมวลผลได้ช้าลงกว่าปกติ ทางานได้ไม่เต็ม
ประสิทธิภาพ หรือทาลายเครื่องคอมพิวเตอรเ์ ครอ่ื งน้นั เปน็ ต้น ตวั อยา่ งเชน่

1) การแพร่กระจายไวรัสหรือชุดคาส่ังเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์แล้วทาให้เคร่ือง
คอมพิวเตอร์ทางานช้าลง หรอื ไม่สามารถใชง้ านบางโปรแกรมได้ หรอื ไวรัสดงั กล่าว
สงั่ ใหเ้ คร่อื งคอมพิวเตอร์หยดุ ทางาน

2) การส่งอีเมลจานวนมหาศาล (E-bomb) ไปยังอีเมลของบุคคลอ่ืน จนทาให้กล่อง
จดหมายเต็ม จนทาให้ไมส่ ามารถรับอเี มลไดอ้ ีก กเ็ ปน็ การทาใหร้ ะบบอเี มลถูกระงับ

3) การใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอรเ์ พือ่ สรา้ งลักษณะการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอรจ์ านวน
มากในคร้ังเดียวกัน จนทาให้ระบบคอมพิวเตอร์ไม่สามารถรองรับการใช้งานได้
เชน่ ในกรณีของเว็บไซต์ชื่อดัง ถกู แฮกเกอรห์ รือคนร้ายอาจสร้างการเรียกใช้ปลอม
ขึ้นเพอื่ ใหม้ ีการเข้าใชบ้ ริการคร้ังเดียวกันเป็นจานวนหนึ่งล้านครั้ง จนทาใหเ้ ว็บไซต์
ล่มหรือใช้งานช้าลง ก็ถือว่าเป็นการทาลายระบบตามมาตรา 10 หรือทาให้ระบบ
คอมพิวเตอรไ์ มว่ ่างตลอดเวลา เวลาเรียกไปก็จะไดร้ ับสัญญาณว่าระบบขดั ข้อง

4) การทาลายตัวเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง (Physical Attack) ไม่ว่าจะเป็นการ
ติดต้ังระเบิดที่เคร่ืองคอมพิวเตอร์เพื่อให้เครื่องเสียหายและทางานไม่ได้ เช่น กรณี
ศนู ย์บังคบั การจราจรซึ่งมรี ะบบป้องกันไวรัสช้ันสงู (High Security) ผูก้ ระทาจงึ นา
ระเบิดไปติดต้ังท่ีห้องเซิฟร์เวอร์ และระเบิดระบบคอมพิวเตอร์เสียเพ่ือทาให้ระบบ
จัดการจราจร ไม่สามารถใช้การได้ ก็ถือว่าเป็นการทาลายระบบคอมพิวเตอร์
เช่นกนั

หากผู้กระทาเป็นเจ้าของระบบหรือผู้ปฏิบัติการตามสัญญา เพื่อติดตั้งหรือดูแลระบบ
หรือทดสอบระบบ และไมท่ าให้ผ้อู นื่ ไดร้ ับความเสียหายกส็ ามารถทาได้

มาตรา 11 ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอ่ืนโดยปกปิด
หรือปลอมแปลงแหลง่ ท่ีมาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อนั เป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของ
บคุ คลอื่นโดยปกตสิ ุข ต้องระวางโทษปรบั ไมเ่ กินหนง่ึ แสนบาท

“ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอ่ืนอันมีลักษณะเป็นการ
ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรําคาญแก่ผู้รับข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่เปิด

183

โอกาสให้ผู้รับสามารถบอกเลิกหรือแจ้งความประสงค์เพื่อปฏิเสธการตอบรับได้โดยง่าย ต้องระวาง
โทษปรบั ไมเ่ กนิ สองแสนบาท

ให้รัฐมนตรีออกประกาศกําหนดลักษณะและวิธีการส่ง รวมท้ังลักษณะและปริมาณของ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ ซึ่งไม่เป็นการก่อให้เกิดความเดือดรอ้ นรําคาญแกผ่ ู้รบั
และลักษณะอนั เป็นการบอกเลกิ หรือแจง้ ความประสงคเ์ พื่อปฏิเสธการตอบรบั ได้โดยงา่ ย”

โดยข้อมูลคอมพิวเตอร์อาจจะเป็นข้อความท่ีส่งมายังโทรศัพท์มือถือ หรือ จดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีเมล เพื่อโฆษณาขายสินค้าหรือบริการต่างๆ หรือเพื่อแสวงหาผลประโยชน์
ทางการค้าอื่นๆ เช่น การรับสมัครงาน เชิญเข้าร่วมกิจกรรม เชิญชวนให้ใช้บริการทานายดวงชะตา
หรอื บริการตา่ งๆ เปน็ ตน้ หากผูส้ ง่ ปกปิด IP Address หรอื ปกปิดแหลง่ ทมี่ าของข้อมูล ทาให้ผ้รู ับไม่
สามารถตอบกลับหรือติดต่อกลับไปได้ ก็เข้าองค์ประกอบความผิดแล้ว นอกจากน้ี การส่งจดหมาย
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ดังกล่าวจะต้องเปน็ การรบกวนการใช้คอมพวิ เตอรข์ องคนอนื่ ซง่ึ จะตอ้ งพิจารณาว่าการ
ส่งข้อมูลน้นั ทาใหผ้ ู้รบั มีปญั หาในการใช้คอมพวิ เตอรห์ รือไม่

ตวั อย่าง การส่งอเี มลก่อกวน ถา้ สง่ มาแค่อเี มลฉบับเดียว ครัง้ เดยี ว กไ็ ม่เกดิ ปัญหา แต่หากส่ง
มาวันละหลายฉบับ และส่งทุกวัน เช่นนี้ก็จัดได้ว่าเป็นการรบกวนการใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
เพราะผู้ใชต้ อ้ งเสียเวลาและค่าใชจ้ ่ายในการลบขอ้ ความออก

มาตรา 12 ถ้าการกระทําความผิดตามมาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 8 หรือมาตรา
11 เป็นการกระทําต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ท่ีเกี่ยวกับการรักษา ความมั่นคง
ปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความม่ันคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือ
โครงสร้างพ้ืนฐานอันเปน็ ประโยชนส์ าธารณะ ตอ้ งระวางโทษจําคุกตงั้ แต่หนึ่งปถี ึงเจ็ดปี และปรบั ตง้ั แต่
สองหม่ืนบาทถงึ หน่ึงแสนส่ีหมนื่ บาท

ถา้ การกระทําความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นเหตุใหเ้ กิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรอื
ระบบคอมพิวเตอร์ดังกล่าว ต้องระวางโทษจําคุกต้ังแต่หน่ึงปีถึงสิบปี และปรับต้ังแต่สองหมื่นบาทถึง
สองแสนบาท

ถ้าการกระทําความผิดตามมาตรา 9 หรือมาตรา 10 เป็นการกระทําต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์
หรือระบบคอมพิวเตอร์ตามวรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจําคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หก
หมน่ื บาท ถึงสามแสนบาท

ถ้าการกระทําความผิดตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสามโดยมิได้มีเจตนาฆ่า แต่เป็นเหตุให้บุคคล
อื่น ถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจําคุกต้ังแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่หน่ึงแสนบาทถึงสี่แสน
บาท

มาตรา 12/1 ถ้าการกระทําความผิดตามมาตรา 9 หรือมาตรา 10 เป็นเหตุให้เกิดอันตราย
แก่บุคคลอ่ืนหรือทรัพย์สินของผู้อ่ืน ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาทถ้า
การกระทําความผิดตามมาตรา 9 หรือมาตรา 10 โดยมิได้มีเจตนาฆ่า แต่เป็นเหตุให้บุคคลอ่ืนถึงแก่
ความตาย ต้องระวางโทษจาํ คกุ ต้งั แต่หา้ ปถี งึ ย่ีสบิ ปี และปรับตงั้ แตห่ น่งึ แสนบาทถงึ ส่ีแสนบาท”

มาตรา 13 ผู้ใดจาํ หน่ายหรือเผยแพรช่ ุดคาํ ส่ังท่ีจัดทําข้ึนโดยเฉพาะเพื่อนําไปใชเ้ ป็นเคร่ืองมือ
ในการกระทําความผิดตามมาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 8 มาตรา 9 มาตรา 10 หรือ มาตรา
11 ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหน่งึ ปี หรือปรับไม่เกนิ สองหม่นื บาท หรอื ทั้งจาํ ทง้ั ปรับ

184

ผู้ใดจําหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคําส่ังท่ีจัดทําข้ึนโดยเฉพาะเพ่ือนําไปใช้เป็นเครื่องมือในการ
กระทําความผดิ ตามมาตรา 12 วรรคหนึง่ หรือวรรคสาม ตอ้ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ่ กนิ สองปี หรือปรับไม่
เกินสหี่ มนื่ บาทหรือท้งั จาํ ท้งั ปรบั

ผู้ใดจําหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคําส่ังท่ีจัดทําข้ึนโดยเฉพาะเพ่ือนําไปใช้เป็นเครื่องมือในการ
กระทาํ ความผิดตามมาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 8 มาตรา 9 มาตรา 10 หรือมาตรา 11
หากผู้นําไปใช้ได้กระทําความผิดตามมาตรา 12 วรรคหนึ่งหรือวรรคสาม หรือต้องรับผิดตามมาตรา
12 วรรคสองหรือวรรคส่ี หรือมาตรา 12/1 ผู้จําหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคําส่งั ดังกล่าวจะต้องรับผิดทาง
อาญาตามความผิดท่ีมีกําหนดโทษสูงขึ้นด้วย ก็เฉพาะเม่ือตนได้รู้หรืออาจเลง็ เห็นได้ว่าจะเกิดผลเช่นท่ี
เกดิ ข้นึ นน้ั

ผู้ใดจําหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคําส่ังท่ีจัดทําข้ึนโดยเฉพาะเพื่อนําไปใช้เป็นเครื่องมือในการ
กระทําความผิดตามมาตรา 12 วรรคหน่ึงหรือวรรคสาม หากผู้นําไปใช้ได้กระทําความผิดตามมาตรา
12 วรรคหนึ่งหรือวรรคสาม หรือต้องรับผิดตามมาตรา 12 วรรคสองหรือวรรคส่ี หรือมาตรา 12/1 ผู้
จาํ หนา่ ยหรอื เผยแพร่ชุดคาํ สั่งดังกลา่ วต้องรบั ผดิ ทางอาญาตามความผิดทีม่ ีกาํ หนดโทษสูงขน้ึ น้นั ด้วย

ในกรณีท่ีผู้จาํ หน่ายหรือเผยแพรช่ ดุ คาํ ส่ังผู้ใดต้องรับผิดตามวรรคหน่งึ หรือวรรคสอง และตาม
วรรคสาม หรือวรรคส่ีด้วย ใหผ้ ู้น้นั ต้องรบั โทษทีม่ ีอัตราโทษสงู ที่สดุ แต่กระทงเดยี ว

“จาหน่าย” หมายถึงการขายหรือการแลกเปลี่ยน โดยมีผลประโยชน์ตอบแทน ส่วนการ
“เผยแพร่” หมายถงึ ทาใหบ้ ุคคลอ่นื ไดท้ ราบถงึ หรอื รู้ในวงกว้าง

ตัวอย่าง นาย ก ค้นคิดโปรแกรมท่ีสามารถใช้เพ่ิมยอดเงินในบัญชีเงินฝากได้ หรือโปรแกรม
สปายแวร์ (Spyware) ซ่ึงเป็นโปรแกรมที่ทาให้สามารถเข้าถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ของบุคคลอ่ืนได้
หรือโปรแกรมเจาะจงเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอ่ืน นาย ก ขายโปรแกรมดังกล่าวให้กับ นาย
ข เช่นน้ีถือว่าเป็นการจาหน่าย หรือ อาจจะทาโดยประกาศแจกโปรแกรม บนอินเทอร์เน็ตให้บุคคลท่ี
ต้องการเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของผ้อู ่ืนดาวน์โหลดไปใช้ ก็ถือว่าเป็นการเผยแพร่ นอกจากน้ี การส่ง
ข้อมูลต่อๆกัน เช่น การส่งต่อเมล (Forward mail) หรือ การใช้ไฟล์ร่วมกัน (File Sharing) ก็ถือว่า
เปน็ การเผยแพร่ เชน่ กนั

มาตรา 14 ผู้ใดกระทําความผิดท่ีระบุไว้ดังต่อไปน้ี ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับ
ไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรอื ท้งั จาํ ทั้งปรบั

(1) โดยทจุ รติ หรอื โดยหลอกลวง นําเขา้ สูร่ ะบบคอมพวิ เตอรซ์ ่ึงข้อมลู คอมพวิ เตอรท์ ี่บิดเบือน
หรอื ปลอมไม่วา่ ทงั้ หมดหรือบางสว่ น หรือข้อมูลคอมพวิ เตอร์อนั เปน็ เทจ็ โดยประการท่ีน่าจะเกดิ ความ
เสียหายแก่ประชาชน อนั มใิ ชก่ ารกระทาํ ความผดิ ฐานหมนิ่ ประมาทตามประมวลกฎหมายอาญา

(2) นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิด
ความเสียหายต่อการรักษาความม่ันคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความม่ันคง
ในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้างพ้ืนฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะของประเทศ หรือ
ก่อใหเ้ กดิ ความตืน่ ตระหนกแกป่ ระชาชน

(3) นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความ
ม่ันคงแหง่ ราชอาณาจกั รหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการรา้ ยตามประมวลกฎหมายอาญา

(4) นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและ
ขอ้ มลู คอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทวั่ ไปอาจเข้าถึงได้

185

(5) เผยแพร่หรือส่งต่อซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอรโ์ ดยรู้อยู่แล้ววา่ เป็นขอ้ มลู คอมพวิ เตอรต์ าม (1)(2)
(3) หรอื (4)

ถ้าการกระทําความผิดตามวรรคหน่ึง (1) มิได้กระทําต่อประชาชน แต่เป็นการกระทําต่อ
บุคคลใดบุคคลหน่ึง ผู้กระทํา ผู้เผยแพร่หรือส่งต่อซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ดังกล่าวต้องระวางโทษจําคุก
ไม่เกินสามปีหรือปรับไมเ่ กนิ หกหมนื่ บาท หรือทง้ั จําทัง้ ปรบั และให้เปน็ ความผดิ อันยอมความได้

คาว่า “ข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอม” หมายถึง ข้อมูลท่ีไม่มีอยู่จริง แต่สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นจริง
หรือ อาจเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่จริง แต่มีการแก้ไขเปล่ียนแปลงไม่ว่าจะเป็นทั้งหมดหรือ
บางสว่ น

ตัวอย่างเชน่ นางสาว ก รูปรา่ งอ้วน ต้องการหาแฟน จงึ นารูปของบุคคลอื่นมาใช้แทนรูปของ
ตนเองในการพูดคุยหาคู่ผ่านอินเทอร์เน็ตเพื่อหาคู่ ถือว่าเป็นข้อมูลปลอม เพราะรูปท่ีนามาใช้ในการ
แสดงไม่ใช่ร่างกายของเธอจริง เป็นการไปเอารูปคนอื่นมา หรือ การแอบอ้างเอกลักษณ์ส่วนบุคคล
ของคนที่ไม่มีตัวตนที่แก้จริงมาแอบอ้างว่าเป็นของตน แล้วใช้ข้อมูลนี้ไปหลอกคนอื่นเพื่อให้ได้มาซึ่ง
ทรัพสิน เช่น นาย ข นาข้อมูลส่วนตัวของนาย ค มาสมัครสมาชิกอีเมลแล้วใช้อีเมลนั้นไปหลอก
นางสาว ก ไปข่มขืน หรือใช้ช่ือปลอมสมัครอีเมลแล้วใช้ติดต่อซ้ือสินค้าแล้วไม่ยอมชาระเงินทาให้
เจา้ ของช่ือที่แท้จรงิ ได้รับความเสยี หาย กเ็ ปน็ การนาข้อมลู ชอ่ื ปลอมเขา้ สู่ระบบคอมพวิ เตอร์

“ส่วนข้อมูลอันเป็นเท็จ” หมายถึง ข้อมูลท่ีไม่ใช่ของจริง เช่น นารูปบุคคลอื่นท่ีเป็นรูปจริง
ของเขามาแอบอา้ งช่ือวา่ รปู น้ีเป็นของตน

มาตรา 15 ผใู้ หบ้ รกิ ารผใู้ ดให้ความรว่ มมือ ยนิ ยอม หรือรู้เห็นเป็นใจให้มีการกระทําความผิด
ตามมาตรา 14 ในระบบคอมพวิ เตอร์ทีอ่ ยู่ในความควบคมุ ของตน ตอ้ งระวางโทษเช่นเดยี วกับผูก้ ระทํา
ความผิดตามมาตรา 14

ให้รัฐมนตรีออกประกาศกําหนดขั้นตอนการแจ้งเตือน การระงับการทําให้แพร่หลายของ
ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ และการนําขอ้ มูลคอมพิวเตอร์นัน้ ออกจากระบบคอมพิวเตอร์

ถ้าผู้ให้บริการพิสูจน์ได้ว่าตนได้ปฏิบัติตามประกาศของรัฐมนตรีท่ีออกตามวรรคสอง ผู้น้ันไม่
ต้องรบั โทษ

ตัวอยา่ ง กรณีของผู้ใหบ้ ริการวิดโี อออนไลน์ซ่ึงเป็นผูใ้ หบ้ ริการอัพโหลด และชมวิดโี อออนไลน์
หาก นาย ก อัพโหลดวิดีโอแอบถ่ายการ่วมประเวณีเข้าไปในผู้ให้บริการวิดีโอออนไลน์ แม้ว่า ขณะ
อัปโหลดเว็บไซต์ผู้ให้บริการวิดีโอออนไลน์จะไม่ทราบก็ตาม ซึ่งก็จะต้องสร้างระบบหรือมาตราการใน
การแจ้งเตือน หากได้รับแจ้งเตือนว่าวิดีโอนี้เป็นข้อมูลลามก แต่ผู้ดูแลเว็บ (Webmaster) เพิกเฉย
หรอื ไมย่ อมกระทาการใด กฏหมายถือว่าเปน็ การสนับสนนุ หรือยินยอมให้มีการกระทาผิดก็ต้องระวาง
โทษเท่ากับผู้กระทาผดิ

มาตรา 16 ผู้ใดนําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่ง
ข้อมลู คอมพวิ เตอรท์ ่ีปรากฏเป็นภาพของผู้อนื่ และภาพน้ันเป็นภาพท่ีเกิดจากการสร้างขน้ึ ตดั ตอ่ เตมิ
หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอ่ืนใด โดยประการท่ีน่าจะทําให้ผู้อื่นน้ั นเสีย
ช่ือเสียง ถูกดูหม่ินถูกเกลียดชงั หรือได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจาํ คกุ ไม่เกินสามปี และปรับไม่
เกนิ สองแสนบาท

ถ้าการกระทําตามวรรคหนึ่งเป็นการกระทําต่อภาพของผู้ตาย และการกระทําน้ันน่าจะทําให้
บิดามารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้ตายเสียช่ือเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับ
อายผ้กู ระทําตอ้ งระวางโทษดงั ท่บี ญั ญตั ิไว้ในวรรคหนึง่

186

ถ้าการกระทําตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง เป็นการนําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์โดยสุจริตอัน
เป็นการติชมด้วยความเป็นธรรม ซ่ึงบคุ คลหรือส่ิงใดอันเปน็ วิสยั ของประชาชนย่อมกระทํา ผกู้ ระทําไม่
มีความผดิ ความผดิ ตามวรรคหน่งึ และวรรคสองเปน็ ความผิดอนั ยอมความได้

ถ้าผู้เสียหายในความผิดตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสองตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่
สมรสหรอื บุตรของผเู้ สยี หายร้องทกุ ข์ได้ และใหถ้ ือว่าเป็นผู้เสยี หาย

มาตรา 16/1 ในคดีความผิดตามมาตรา 14 หรอื มาตรา 16 ซึ่งมีคาพิพากษาว่าจาเลยมี
ความผดิ ศาลอาจสงั่

(1) ใหท้ าลายขอ้ มูลตามมาตราดังกล่าว
(2) ให้โฆษณาหรือเผยแพรค่ าพพิ ากษาท้งั หมดหรือแตบ่ างสว่ นในสอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์
วทิ ยุกระจายเสียงวทิ ยโุ ทรทัศน์ หนงั สือพิมพ์ หรือส่ืออน่ื ใด ตามทศี่ าลเห็นสมควร โดยให้จาเลยเปน็ ผู้
ชาระคา่ โฆษณาหรือเผยแพร่
(3) ใหด้ าเนนิ การอน่ื ตามท่ีศาลเหน็ สมควรเพอ่ื บรรเทาความเสียหายท่ีเกิดขึ้นจากการกระทา
ความผดิ นั้น
มาตรา 16/2 ผใู้ ดรูว้ า่ ข้อมลู คอมพิวเตอร์ในความครอบครองของตนเป็นข้อมูลที่ศาลส่งั ให้
ทาลายตามมาตรา 16/1 ผู้น้ันตอ้ งทาลายขอ้ มูลดังกลา่ ว หากฝ่าฝืนตอ้ งระวางโทษก่ึงหน่ึงของโทษที่
บัญญตั ไิ วใ้ นมาตรา 14 หรอื มาตรา 16 แลว้ แต่กรณี
มาตรา 17 ผูใ้ ดกระทาํ ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้นอกราชอาณาจกั รและ
(1) ผู้กระทําความผิดน้ันเป็นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้นหรือ
ผเู้ สยี หายไดร้ ้องขอให้ลงโทษ หรือ
(2) ผู้กระทําความผิดนั้นเป็นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผู้เสียหายและ
ผู้เสียหายได้รอ้ งขอให้ลงโทษจะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร
มาตรา 17/1 ความผิดตามมาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 11 มาตรา 13 วรรคหนงึ่
มาตรา 16/2 มาตรา 23 มาตรา 24 และมาตรา 27 ใหค้ ณะกรรมการเปรียบเทยี บท่ีรัฐมนตรแี ต่งตัง้ มี
อํานาจเปรยี บเทียบได้
คณะกรรมการเปรยี บเทียบท่ีรฐั มนตรแี ต่งตัง้ ตามวรรคหน่งึ ใหม้ ีจาํ นวนสามคนซง่ึ คนหนึ่งตอ้ ง
เป็นพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา
เม่ือคณะกรรมการเปรียบเทยี บได้ทําการเปรียบเทยี บกรณีใดและผู้ตอ้ งหาไดช้ ําระเงินค่าปรับ
ตามคําเปรียบเทียบภายในระยะเวลาทีค่ ณะกรรมการเปรยี บเทียบกาํ หนดแลว้ ให้ถือว่าคดีน้นั เป็นอนั
เลกิ กนั ตามประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญา
ในกรณีท่ีผ้ตู ้องหาไม่ชาํ ระเงนิ ค่าปรบั ภายในระยะเวลาท่ีกาํ หนด ให้เร่ิมนบั อายุความในการ
ฟอ้ งคดีใหมน่ ับตง้ั แต่วนั ที่ครบกาํ หนดระยะเวลาดังกล่าว

187

10.3 พระราชบญั ญัตกิ ารรกั ษาความม่ันคงปลอดภยั ไซเบอร์ พ.ศ. 25622

พระราชบัญญัติฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการดาเนินมาตรการในการป้องกัน รับมือ และลด
ความเสี่ยงจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศที่ส่งผลกระทบต่อความ
มน่ั คงของรัฐ ความมน่ั คงทางเศรษฐกิจ ความม่ันคงทางทหาร และความสงบเรียบรอ้ ยภายในประเทศ

โดยภัยทุกคามทางไซเบอร์ เป็นการกระทาหรือการดาเนินการใด ๆ โดยมิชอบ โดยใช้
คอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์หรือโปรแกรมไม่พึงประสงค์ โดยมุ่งหมายให้เกิดการประทุษร้าย
ต่อระบบคอพพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง และเป็นภยันตรายท่ีใกล้จะถึง ที่
จะก่อให้เกิดความเสียหายหรือส่งผลกระทบต่อการทางานของคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ หรือ
ข้อมลู อ่นื ที่เกี่ยวข้อง

โดยประชาชนที่ใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ควรศึกษาเพื่อไมล่ ะเมิด และสามารถแก้ไขปญั หาได้
จึงควรศึกษาและทาความเข้าถึงถึงคานิยามตามที่พระราชบัญญัติการรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซ
เบอร์ พ.ศ. 2562 ไดก้ าหนดไว้ดงั นี้

“การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์” หมายความว่า มาตรการหรือการดาเนินการ
ที่กาหนดข้ึนเพ่ือป้องกัน รับมือ และลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ท้ังจากภายในและ
ภายนอกประเทศ อันกระทบต่อความม่ันคงของรัฐ ความม่ันคงทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางทหาร
และความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ

“ภัยคุกคามทางไซเบอร์” หมายความว่า การกระทาหรือการดาเนินการใด ๆ โดยมิชอบ
โดยใช้คอมพิวเตอร์หรือ ระบบคอมพิวเตอร์หรือโปรแกรมไม่พึงประสงค์โดยมุ่งหมายให้เกิดการ
ประทุษรา้ ย ต่อระบบคอมพิวเตอร์ ขอ้ มลู คอมพิวเตอร์ หรือขอ้ มลู อื่นที่เก่ียวข้อง และเป็นภยันตรายที่
ใกล้จะถึง ท่ีจะก่อให้เกิดความเสียหายหรือส่งผลกระทบต่อการทางานของคอมพิวเตอร์ ระบบ
คอมพวิ เตอร์ หรอื ขอ้ มูลอืน่ ทเ่ี กีย่ วข้อง

“ไซเบอร์” หมายความรวมถึง ข้อมูลและการส่ือสารท่ีเกิดจากการให้บริการหรือการ
ประยุกต์ใช้ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบอินเทอร์เน็ต หรือโครงข่ายโทรคมนาคม รวมทั้งการ
ให้บรกิ ารโดยปกติของ ดาวเทียมและระบบเครอื ขา่ ยที่คลา้ ยคลงึ กนั ท่เี ชอ่ื มตอ่ กันเปน็ การท่วั ไป

“เหตุการณ์ที่เก่ียวกับความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์” หมายความว่า เหตุการณ์ท่ีเกิดจาก
การกระทาหรือการดาเนินการใด ๆ ที่มิชอบซึ่งกระทาการผ่านทางคอมพิวเตอร์หรือระบบ
คอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจเกิดความเสียหายหรือผลกระทบต่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ หรือ
ความมั่นคงปลอดภัย ไซเบอร์ของคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลอื่น
ท่เี กย่ี วข้องกบั ระบบคอมพวิ เตอร์

2 พระราชบัญญตั ิ การรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562 จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/069/T_0020.PDF

188

มาตรา 41 การรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์ต้องคานึงถึงความเป็นเอกภาพและการบูรณาการ
ในการดาเนินงานของหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานเอกชน และต้องสอดคล้องกับนโยบายและแผน
ระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมตามกฎหมายว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือ
เศรษฐกิจและสังคม และนโยบายและแผนแม่บทที่เก่ียวกับการรักษาความมั่นคงของสภาความมั่นคง
แหง่ ชาติ การดาเนนิ การดา้ นการรกั ษาความมนั่ คงปลอดภัยไซเบอร์ ต้องมุ่งหมายเพ่อื สร้างศักยภาพใน
การป้องกัน รับมือ และลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการปกป้อง
โครงสร้างพน้ื ฐานสาคญั ทางสารสนเทศของประเทศ

มาตรา 42 นโยบายและแผนว่าด้วยการรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์ ต้องมีเป้าหมาย และ
แนวทางอยา่ งน้อย ดังต่อไปนี้

(1) การบูรณาการการจัดการในการรักษาความม่นั คงปลอดภัยไซเบอร์ของประเทศ
(2) การสรา้ งมาตรการและกลไกเพ่ือพฒั นาศกั ยภาพในการป้องกนั รบั มือ และลดความ
เส่ยี ง จากภัยคกุ คามทางไซเบอร์
(3) การสร้างมาตรการในการปกป้องโครงสร้างพ้ืนฐานสาคัญทางสารสนเทศของ
ประเทศ
(4) การประสานความรว่ มมือระหว่างภาครัฐ เอกชน และประสานความรว่ มมือระหว่าง
ประเทศ เพ่ือการรกั ษาความม่ันคงปลอดภยั ไซเบอร์
(5) การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคง
ปลอดภยั ไซเบอร์
(6) การพัฒนาบุคลากรและผู้เช่ียวชาญด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์
ท้งั ภาครัฐ และเอกชน
(7) การสร้างความตระหนกั และความรู้ดา้ นการรกั ษาความมั่นคงปลอดภยั ไซเบอร์
(8) การพฒั นาระเบียบและกฎหมายเพ่ือการรกั ษาความมั่นคงปลอดภยั ไซเบอร

จากพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562 สามารถอานวย
ปลอดภัยและสามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่อง ของระบบคอมพิวเตอร์ โครงสร้างพ้ืนฐานทางด้าน
ดิจิทัลของหน่วยงานที่ให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัล พร้อมทั้งมีข้ันตอน กระบวนการ แนวทาง
คณะกรรมการในการรับมือภัยคุกคามทางไซเบอร์ โดยสามารถจากัดผลกระทบให้อยู่ในขอบเขต
ไม่ขยายออกเป็นวงกวา้ ง ทาให้สามารถบรหิ ารจัดการระบบดิจิทลั ให้สามารถกลับมาทางานได้รวดเร็ว
ขึ้น โดยหนว่ ยงานทีถ่ ูกจดั ตง้ั ข้ึนเพื่อควบคุม กากบั ดแู ล มีการกาหนดมาตรฐานความปลอดภัยไซเบอร์
โดยให้ความช่วยเหลือแก้ไขปัญหาได้ โดย พ.ร.บ. ฉบับน้ีมีผลทางกฎหมายทาให้เม่ือเกิดภัยคุกคาม
ร้ายแรง สามารถใช้คาสั่งศาลเพื่อคุ้มครองสิทธ์ิ ในการเข้าไปแก้ไขปัญหาท่ีต้องเข้าถึงทรัพย์สินได้
จงึ เป็นพระราชบญั ญตั ทิ ี่มปี ระโยชนส์ าหรบั การพฒั นาทกั ษะการเขา้ ใจดจิ ทิ ลั

189

10.4 พระราชบัญญัติคมุ้ ครองขอ้ มูลส่วนบุคคล พ.ศ. 25623

พระราชบัญญัติฉบับน้ีมีวัตถุประสงค์ในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่มีประสิทธิภาพ และ
เพื่อให้มีมาตรการเยียวยาเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจากการถูกละเมิดสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลที่มี
ประสทิ ธิภาพ ซึ่งครอบคลุการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ซง่ึ มีการกาหนดสิทธ์ิของ
เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล รวมทั้งบทกาหนดโทษที่เกี่ยวข้อง โดยสามารถดาเนินการร้องเรียนเพ่ือให้
คณะกรรมการผู้เช่ียวชาญออกคาสั่งเพื่อคุ้มครองเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล โดยไม่ครอบคลุมการเก็บ
รวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเพ่ือประโยชน์ส่วนตนหรือเพ่ือกิจกรรมในครอบครัวของบุคคล หรือการ
ดาเนนิ ของหนว่ ยงานของรัฐ โดยประกาศใช้ในวันท่ี 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

ซึ่งประชาชนท่ีให้ข้อมูลกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ควทาการศึกษาและทาความเข้าใจ
ถึงนยิ ามตามทพ่ี ระราชบัญญตั ิคุ้มครองข้อมูลส่วนบคุ คล พ.ศ. 2562 กาหนดไว้ดงั นี้

“ข้อมลู ส่วนบคุ คล” หมายความว่า ขอ้ มลู เกยี่ วกบั บุคคลซึง่ ทาใหส้ ามารถระบุตวั บุคคลนั้นได้
ไม่ว่าทางตรงหรอื ทางออ้ ม แต่ไม่รวมถงึ ขอ้ มลู ของผู้ถึงแก่กรรมโดยเฉพาะ

“ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล” หมายความวา่ บคุ คลหรอื นติ ิบุคคลซึ่งมีอานาจหน้าท่ีตัดสินใจ
เก่ียวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปดิ เผยขอ้ มลู สว่ นบคุ คล

“ผูป้ ระมวลผลข้อมูลส่วนบคุ คล” หมายความว่า บุคคลหรือนติ ิบุคคลซง่ึ ดาเนินการเกี่ยวกับ
การเก็บรวบรวม ใช้ หรอื เปดิ เผยข้อมลู สว่ นบุคคลตามคาสัง่ หรือในนามของผู้ควบคุมข้อมลู ส่วนบุคคล
ทง้ั น้ี บคุ คลหรือนิติบคุ คลซ่ึงดาเนนิ การดังกลา่ วไม่เป็นผูค้ วบคุมข้อมูลสว่ นบุคคล

โดยประโยชน์ท่ีได้รับจากพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล จาแนกออกเป็น 3 กลุ่ม
หลัก ประกอบด้วย ประชาชน หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน และประเทศ โดยแยกเป็น
รายละเอยี ดได้ดังต่อไปนี้

ประชาชน การทีป่ ระชาชนเกิดปัญหาจากการให้ข้อมูลเพื่อทาธรุ กรรม แลว้ มีการนา
ขอ้ มลู ไปใช้ประโยชน์ในช่องทางอนื่ ๆ โดยไมม่ กี ารขออนญุ าตเป็นลายลักษณ์อกั ษร ถือเป็นการละเมิด
ในการนาขอ้ มูลสว่ นบคุ คลไปใช้ เผยแพร่ ฯลฯ ประชาชนจึงจะต้องรบั ทราบและเขา้ ใจถึงวัตถุประสงค์
ของการจัดเก็บข้อมูล การนาข้อมูลไปใช้ หรือการเผยแพร่ข้อมูลอย่างชัดเจน ตามข้อกาหนดหรือ
ข้อตกลงก่อนท่ีจะให้ข้อมูลส่วนบุคคล โดยประชาชนมีสิทธิในการขอให้นิติบุคคลที่เป็นเก็บรวบรวม
ข้อมูล ลบ ทาลาย หรือขอให้ระงับการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลได้ โดยหากประชาชนได้รับผลกระทบจาก
การนาข้อมูลไปใช้นอกเหนือจากวัตถุประสงค์ ข้อกาหนด หรือข้อตกลง สามารถดาเนินการร้องเรียน
และขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนได้ จึงเป็น พ.ร.บ. ที่สามารถลดความเดือนร้อนลาคาญ หรือความ
เสียหายอนั เกิดข้ึนจากการระเมิดข้อมูลสว่ นบุคคลในกลมุ่ ประชาชนได้

3 พระราชบัญญตั ิคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/069/T_0052.PDF

190

หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน เป็นหน่วยงานท่ีให้ความสาคัญกับกฎหมาย
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล โดยยกระดับความเชื่อมั่นในมาตรฐานการจัดเก็บ ใช้ หรือเผยแพร่ข้อมูล
ส่วนบุคคล ทั้งในระดับชาติ และระดับนานาชาติ เพื่อให้เป็นไปตามกระบวนการท่ีชัดเจน ซ่ึงการ
กาหนดวัตถุประสงค์ของการจัดเก็บ ใช้ หรือเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคคลจะเป็นขอบเขตและการได้รับ
การอนุญาติอย่างชัดเจน ซึ่งส่งผลต่อการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคลท่ีมีความโปร่งใส
รับผิดชอบตอ่ สงั คม และตรวจสอบได้

ประเทศ ในภาพของประเทศไทยนั้นการมีมาตรการในการกากับดูแล ท่ีมีความ
สอดคล้องกับมาตรการในระดับสากล ในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลน้ัน ช่วยส่งเสริมให้เกิด
ภาพลักษณท์ ี่ดีของประเทศ พร้อมทั้งยังเปน็ เคร่ืองมือในการดาเนินงานในการส่งเสรมิ การใชป้ ระโยชน์
จากข้อมูลส่วนบุคคลอย่างถูกต้อง ก่อให้เกิดสังคมที่เข้มแข็ง ในการท่ีทุกภาคส่วนสามารถดาเนิน
กิจกรรมรว่ มกนั ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม

10.5 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 และเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2558 และเพ่ิมเติม (ฉบับที่
3) พ.ศ. 2558 และเพมิ่ เตมิ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2561

พระราชบัญญัติฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ให้ความคุ้มครองป้องกันผลประโยชน์ทั้งทางเศรษฐกิจ
และทางศีลธรรม ซึง่ บุคคลพงึ ไดร้ บั จากผลงานสรา้ งสรรคอ์ ันเกดิ จากความนกึ คดิ และสตปิ ญั ญาของตน
นอกจากน้ียงั มงุ่ ทจ่ี ะสนบั สนนุ ส่งเสริมให้เกดิ การสรา้ งสรรค์ผลงาน

โดยลิขสิทธ์ิ เป็นทรัพย์สินทางปัญญาอย่างหน่ึง ท่ีกฎหมายให้ความคุ้มครอง โดยให้เจ้าของ
ลิขสิทธถิ์ ือสทิ ธแิ ตเ่ พียงผู้เดยี ว ทจ่ี ะกระทาการใด ๆ เก่ยี วกบั งานสร้างสรรค์ทต่ี นได้กระทาขน้ึ งานอันมี
ลิขสิทธ์ิ ซึ่งงานสร้างสรรค์ท่ีจะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิต้องเป็นงานในสาขา
วรรณกรรม นาฎกรรม ศลิ ปกรรม ดนตรกี รรม โสตทศั นวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบนั ทึกเสียง งานแพร่เสียง
แพรภ่ าพ รวมถึงงานอื่น ๆ ในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรอื แผนกศลิ ปะ งานเหลา่ นี้ถอื เปน็ ผลงาน
ท่ีเกิดจากการใช้สติปัญญา ความรู้ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะ ในการสร้างสรรค์งานให้
เกดิ ข้นึ ซง่ึ ถอื เปน็ ทรพั ย์สนิ ทางปญั ญาประเภทหนึง่ ที่มคี ุณคา่ ทางเศรษฐกิจ

10.5.1 ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา (Intellectual Property)

ข้อมูลจากกรมทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา4 นิยามทรัพย์สินทางปัญญา
ถือเป็นผลงานท่ีเกิดจากการประดิษฐ์ คิดค้น หรือสร้างสรรค์ของมนุษย์ ซึ่งมุ่งเน้นที่ผลผลิต
ของสติปัญญาและความชานาญ โดยไม่คานึงถึงชนิดของการสร้างสรรค์หรือวิธีในการ แสดงออก
ทรพั ย์สนิ ทางปัญญาอาจจะแสดงออกในรปู แบบของส่งิ ท่ีจับต้องได้ เช่น สนิ คา้ ต่างๆ หรือในรูปส่ิงของ
ท่จี ับตอ้ งไมไ่ ด้ เชน่ บรกิ าร แนวคิดในการดาเนนิ ธรุ กิจ กรรมวิธกี ารผลติ ทางอตุ สาหกรรม เป็นต้น

4 กรมทรัพสินทางปัญญา. (2554). ความรู้เบ้ืองต้นด้านทรัพย์สินทางปัญญา. กรุงเทพฯ: กระทรวงพาณิชย์. เรียกใช้เม่ือ 15 ธันวามคม 2561 จาก
https://www.ipthailand.go.th/images/633/book/basic_IP.pdf

191

รูปภาพที่ 63 แผนภมู ิทรัพยส์ ินทางปัญญา แบ่งเป็น 7 ประเภท (อา้ งอิงจากเอกสารหมายเลข 2)
10.5.2 ความรูเ้ บอ้ื งต้นของทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา
ทรัพย์แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คอื ทรพั ย์สนิ ทางอุตสาหกรรม (Industrial Property)

และ ลขิ สิทธ์ิ (Copyright)
1. ลิขสิทธิ์ คือ สิทธิแต่เพียงผู้เดียวของผู้สร้างสรรค์ท่ีจะกระทาการใด ๆ เก่ียวกับงานท่ีผู้
สร้างสรรค์ได้ตามประเภทลิขสิทธิ์ท่ีกฎหมายกาหนด ได้แก่ งานวรรณกรรม นาฏกรรม
ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทศันวัสดุ ภาพยนตร์ ส่ิงบันทึกเสียง หรืองานอ่ืนใดในแผนก
วรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศลิปะ ไม่ว่างานลักษณะดังกล่าวจะแสดงออก
โดยวธิ หี รือรูปแบบอย่างใด นอกจากนัน้ กฎหมายลิขสทิ ธิ์ยังให้ความคุ้มครองถึงสิทธิของ
นักแสดงด้วย การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ สิทธิในลิขสิทธิ์จะเกิดขึ้นโดยทันที นับต้ังแต่ผู้
สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ผลงานโดยไม่ต้องจดทะเบียน ดังนั้น เจ้าของลิขสิทธ์ิจึงควรท่จี ะ
ป ก ป้ อ ง คุ้ ม ค ร อ ง สิ ท ธิ ข อ ง ต น เ อ ง โ ด ย ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ห ลั ก ฐ า น ต่ า ง ๆ
ที่แสดงว่าได้ทาการสร้างสรรค์ผลงานประโยชน์ในการพิสูจนส์ ิทธิ หรือความเป็นเจ้าของ
ในโอกาสตอ่ ไป ส่วนบคุ คลทเี่ ป็นเจ้าของลิขสทิ ธิ์ ได้แก่ บคุ คลดังต่อไปน้ี

• ผู้สร้างสรรค์งาน โดยความคิดริเร่ิมของตนเอง โดยไม่ลอกเลียนงานของบุคคลอ่ืน

และ อาจหมายรวมถึงผู้สรา้ งสรรคง์ านร่วมกันด้วย

• ูผ้สรา้ งสรรค์ในฐานะพนักงานหรือลูกจ้าง
• ผู้ว่าจา้ งในกรณวี า่ จา้ งให้บคุคลอื่นสร้างสรรคง์ าน
• ดัดแปลง รวบรวม หรือประกอบกนั เขา้ โดยได้รับอนญุ าตจากเจ้าของลิขสิทธิ์
• กระทรวง ทบวง กรม หรอื หน่วยงานอนื่ ใดของรัฐหรอื ของท้องถนิ่
• ผูร้ บู โอนลขิ สิทธ์ิ

192

การคุ้มครองลิขสิทธิ์ เจ้าของลิขสิทธิ์มีสทิ ธิแตเ่ พียงผู้เดียวท่ีจะกระทาการใด ๆ ต่องาน อันมี
ลขิ สิทธิของตนดงั น้ี

• ทาซา้ หรือดัดแปลง

• เผยแพรต่ ่อสาธารณชน

• ให้เช่าต้นฉบับหรือสาเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์

หรือส่ิง บนั ทกึ เสยี ง

• ใหป้ ระโยชนอ์ นั เกิดจากลขิ สิทธ์ิแก่ผอู้ น่ื

• อนุญาตให้ผู้อ่ืนใช้สิทธิตามข้างต้น โดยจะกาหนดเง่ือนไขอย่างใดหรือไม่ก็ได้ท่ี

ไมเ่ ปน็ การจากดั การแข่งขนั โดยไมเ่ ปน็ ธรรม
อายกุ ารุคม้ ครอง โดยทัว่ ๆ ไป การคุ้มครองลิขสิทธจิ์ ะมีผลเกดิ ข้นึ โดยทันทีที่มกี ารสร้างสรรค์
ผลงาน โดยความคุ้มครองน้ี จะมีตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และจะคุ้มครองต่อไปอีก 50 ปี นับแต่
ผู้สร้างสรรค์เสียชีวิต หากแต่มีงานบางประเภทที่จะมีอายุการคุ้มครองแตกต่างกัน ดังน้ัน อายุการ
คุ้มครองสามารถแยกไดโ้ ดยสรุป ดงั น้ี

• อายุการคุ้มครองทั่วไป ลิขสิทธิ์จะมีอยู่ตลอดอายุผู้สร้างสรรค์ และจะมีต่อไปอีก

50 ปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย กรณีที่นิติบุคคลเป็นผู้สร้างสรรค์ลิขสิทธิ์
จะมีอายุ 50 ปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งานน้ันข้ึนมา กรณีท่ีผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝง
หรือไมป่ รากฎช่อื ผสู้ รา้ งสรรค์ลขิ สทิ ธิม์ อี ายุ 50 ปี นบั แตไ่ ด้ สรา้ งสรรคง์ านนี้

• งานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพ

ลขิ สิทธิ์มอี ายุ 50 ปี นับแต่ได้สรา้ งสรรค์งานน้ันขึน้

• งานที่สร้างสรรค์โดยการจ้างหรือตามคาส่ังของกระทรวง ทบวง กรม หรือ

หนว่ ยงานอ่นื ใดของรัฐ ใหม้ ีอายุ 50 ปี นับแตไ่ ดส้ รา้ งสรรค์งานนนั้ ขน้ึ

• งานศลิ ปประยกุ ต์ ลขิ สทิ ธิม์ อี ายุ 25 ปี นบั แต่ไดส้ ร้างสรรคง์ านนน้ั ขนึ้

กรณที ่ีได้มีการโฆษณางานตามข้อข้างบน ในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ใหล้ ิขสิทธิ์มีอายุ 50 ปี
นับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก ยกเว้นกรณีงานตามข้อสุดท้าย ให้ลิขสิทธิ์มีอายุ 25 ปีนับแต่ได้มี
การโฆษณา เปน็ ครง้ั แรก

2. ทรพั ย์สนิ ทางอตุ สาหกรรม (Industrial Property) คอื ความคดิ สร้างสรรค์ของมนษุย์
ที่เก่ียวกับสินค้าอตุสาหกรรมตา่ งๆ ความคิดสร้างสรรค์อาจเป็นความคิดในการประดษิ ฐ์
คิดค้น ซ่ึงอาจเป็นกระบวนการหรือเทคนิคในการผลิตท่ีได้ปรับปรุงหรือ คิดค้นขึ้นใหูม่
หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ทางอตุสาหกรรมท่ีเป็นองค์ประกอบและรูปร่างของ
ผลิตภัณฑ์ นอกจากน้ียังรวมถึงเคร่ืองหมายการค้าหรือยี่ห้อ ช่ือและถ่ินท่ีอยู่ทางการค้า
รวมถึงแหล่งกาเนิดและการป้องกันการแข่งขันทางการค้าท่ีไมูเป็นธรรม ทรัพย์สินทาง
อตุ สาหกรรมจึงสามารถแบง่ ออกได้ ดงั น้ี

• ความลับทางการค้า (Trade Secrets) คือ ความลับทางการค้า (Trade Secret)

คือ ข้อมลูการค้าท่ียังไม่เป็นท่ีรู้จักแพร่หลาย โดยเป็นข้อมูล ท่ีมีมูลค่าเชิงพาณิชย์

193

เนื่องจากข้อมูลนั้นเป็นความลับ และมีการดาเนินการตามสมควรเพ่ือทาให้ข้อมูล
เป็นความลบั

• ชื่อทางการค้า (Trade Name) หมายถงึ ชื่อที่ใช้ในการประกอบกจิ การ เช่น AIA วุ้น

คุณอุ๊ เป็นตน้

• แ บ บ ผั ง ภู มิ ข อ ง ว ง จ ร ร ว ม ( Layout - Design of Integrated Circuit) คื อ

แบบแผนผงั หรอื ภาพทีท่ าข้นึ อาจปรากฎในรูปแบบหรือวิธใี ด เพือ่ แสดงถงึ การจดั วาง
และการเช่ือมตอ่ ของวงจรไฟฟ้า เช่น ตวั นาไฟฟ้า หรอื ตวั ต้านทาน เปน็ ตน้

• สิทธิบัตร (Patent) คือ หนังสือสาคัญท่ีรัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์

(Invention) หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Industrial Design) ที่มีลักษณะตาม
ท่ีกฎหมายกาหนด ได้แก่ สิทธบิ ตั รการประดิษฐ์ (Patient for Invention) สิทธบิ ตั ร
การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Patient for Industrial Design) และอนุสิทธิบัตร
(Petty Patent)

• เคร่ืองหมายการค้า (Trademark) คือ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือตรา ที่ใช้กับ

สนิ คา้ หรอื บรกิ าร แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ไดแ้ ก่
o เครื่องหมายการค้า (Trademark) คือ เครื่องหมายท่ีใช้หรือจะใช้กับสินค้า

เพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้ เคร่ืองหมายน้ันแตกต่างกับสินค้าท่ีใช้เคร่ืองหมาย
การค้าของ บคุ คลอืน่ เชน่ Xerox ลโิ พ เปน็ ต้น
o เคร่ืองหมายบริการ (Service Mark) คือ เครื่องหมายท่ีใช้หรือจะใช้บริการ
เพ่ือแสดงว่าบริการที่ ใช้เครื่องหมายน้ันแตกต่างกับบริการที่ใช้เคร่ืองหมาย
บริการของบุคคลอ่ืน เช่น ธนาคารไทยพาณิชย์ โรงพยาบาลศิริราช โรงแรม
เซน็ ทรา เปน็ ต้น
o เคร่ืองหมายรับรอง (Certification Mark) คือ เครื่องหมายท่ีเจ้าของ
เครื่องหมายรับรองใช้หรือจะใช้สินค้าหรือบริการของบุคคลอ่ืน เพื่อเป็นการ
รับรองเก่ียวกับสินค้าหรือบริการน้ัน เช่น มิชลิน CISCO HACCP HIPPO
เป็นต้น
o เคร่ืองหมายร่วม (Collective Mark) คือ เคร่ืองหมายการค้าหรือเครื่องหมาย
บริการท่ีใช้หรือจะใช้ โดยบริษัทหรือรัฐวิสาหกิจในกลุ่มเดียวกัน หรือ
โดยสมาชิกของสมาคม สหกรณ์ สหภาพ สมาพันธ์ กลุ่มคน หรือองค์กรอ่ืนใด
ของรัฐหรอื เอกชน เช่น บรษิ ัท ปตท. จากดั (มหาชน) เป็นต้น

• ส่ิงบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indications) คือ ช่ือ สัญลักษณ์ หรือส่ิงอ่ืน

ใดที่ใช้เรียกหรือใช้แทนแหล่งภูมิศาสตร์และสามารถบ่งบอกว่า สินค้าที่เกิดจาก
แหล่งภูมิศาสตรน์ ้ัน เป็นสินค้าท่ีมีคุณภาพ ชื่อเสียง ภูมิศาสตร์ เช่น ข้าวหอมสรุ นิ ทร์
สัปปะรดภแู ล มะมว่ งบางคลา้ ทุเรยี นเมอื งนนท์ เป็นต้น

194

10.5.3 ประเภทของทรพั ยส์ ินทางปัญญา

ปัญหาเรื่องทรัพย์สินทางปัญญาถือว่าเป็นเร่ืองที่สาคัญอย่างมาก เน่ืองจากเป็นปัญหา
ท่ีสามารถเกิดการฟ้องร้องในช้ันศาลได้ ซ่ึงประเภทของทรัพย์สินทางปัญญาสามารถแบ่งออกเป็น 3
ประเภทตามเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา ซ่ึงประกอบด้วย ทรัพย์สินสาธารณะ (Public Domain)
ทรัพย์สินทางปัญญาแบบเปิด (Opened Intellectual Property) และทรัพย์สินทางปัญญาที่มี
ลขิ สิทธ์ิ (Copyright) ดงั รปู ภาพท่ี 64

ทรัพย์สนิ สาธารณะ ครเี อทีฟคอมมอนส์ ทรพั ยส์ นิ ทางปัญญาที่
Public Domain Creative Commons มลี ขิ สิทธิ์ Copyright

C CC CC

รปู ภาพท่ี 64 ประเภทของทรัพย์สนิ ทางปัญญา (วาดโดยสภุ าภรณ์ เกยี รติสนิ )

ทรัพย์สินสาธารณะ (Public Domain) เป็นรูปแบบทรัพย์สินทางปัญญาท่ีผู้สร้างมอบ
ทรัพย์สินทางปัญญาให้เป็นของสาธารณะ ซ่งึ ผทู้ ใ่ี ช้งาน สามารถนาทรพั ย์สนิ ทางปัญญาไปใช้งานได้ใน
ทกุ กรณี ซง่ึ รวมไปถึงการทาซา้ ดัดแปลง หรือแก้ไข

ทรัพย์สินทางปัญญาแบบเปิด (Opened Intellectual Property) เป็นรูปแบบทรพั ยส์ ิน
ทางปัญญาท่ีเปิดให้ผู้อ่ืนนาทรัพย์สินทางปัญญาไปใช้งานต่อได้อย่างไม่ผิดกฎหมาย แต่ยังคงไว้ซ่ึง
เจ้าของลิขสิทธ์ิท่ีปกป้องตามหน่วยงานท่ีจัดการด้านลิขสิทธ์ิ โดยทรัพย์สินทางปัญญาแบบเปิดมีได้
หลายรูปแบบ ซึ่งในส่วนนี้จะยกตัวอย่างประเภทของทรัพย์สินทางปัญญาแบบเปิดท้ังหมด 2 กลุ่ม
คอื ครีเอทฟี คอมมอนส์ (Creative Commons) และซอฟตแ์ วรแ์ บบเปิด (Open Source Software)

ครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons) เป็นรูปแบบหน่ึงของทรัพย์สินทางปัญญา
แบบเปิดที่ปกป้องลิขสิทธ์ิโดยมูลนิธิครีเอทีฟคอมมอนส์ สามารถแบ่งออกเป็น 6 ประเภท5
ประกอบด้วย

• การระบุแหล่งท่ีมา (Attribute หรือ CC BY) เป็นประเภทที่เปิดให้ผู้อ่ืนทาซ้า
ดัดแปลง แก้ไข หรือสร้างผลงานที่อิงจากทรัพย์สินทางปัญญา ซ่ึงครอบคลุมไปถึง
การใช้งานทรัพย์สินทางปัญญาในเชิงพาณิชย์ ตราบใดก็ตามที่ผู้ที่นาทรัพย์สินทาง
ปญั ญาไปใช้ระบถุ งึ แหลง่ ท่ีมาของทรัพยส์ ินทางปญั ญา

• การระบุแหล่งที่มาประเภทแบ่งปันเหมือนกัน (Attribute-ShareAlike
หรือ CC BY-SA) เป็นประเภทที่คล้ายกับครีเอทีฟคอมมอนส์ที่มีการระบุ
แหล่งที่มา แต่สิ่งที่แตกต่างคือ ผู้ใช้จะต้องแบ่งปันเนื้อหาในรูปแบบเดียวกันเพื่อให้
คนอ่ืนใชง้ านตอ่ ได้

• การระบุแหล่งท่ีมาประเภทไม่อิงจากสัญญา (Attribute-NoDerivs หรือ
CC BY-ND) เป็นประเภทท่ีเปิดให้ผู้อื่นทาซ้าผลงาน ท่ีอิงจากทรัพย์สินทางปัญญา

5 Common Sense. Creative Commons3.0. เรยี กใชเ้ มอ่ื 15 ธนั วามคม 2561 จาก https://creativecommons.org/licenses/

195

ซ่ึงครอบคลุมไปถึงการใช้งานทรัพย์สินทางปัญญาในเชิงพาณิชย์ แต่ห้ามดัดแปลง
หรอื แกไ้ ขในทุกกรณี รวมไปถึงต้องระบทุ ี่มาโดยผ้เู ขียนเทา่ นนั้

• ก า ร ร ะ บุ แ ห ล่ ง ท่ี ม า ป ร ะ เ ภ ท ไ ม่ ใ ห้ ใ ช้ ใ น เ ชิ ง พ า ณิ ช ย์ (Attribute-
NonCommercial หรือ CC BY-NC) เป็นประเภททค่ี ลา้ ยกบั ครเี อทีฟคอมมอนส์
ท่ีมีการระบุแหล่งทมี่ า แต่ส่ิงท่ีแตกต่างคือ ผู้ใช้จะต้องไม่นาผลงานดังกลา่ วไปใช้ใน
เชิงพาณิชยเ์ ป็นอันขาด

• การระบุแหล่งที่มาประเภทไม่ให้ใช้ในเชิงพาณิชย์และแบ่งปันเหมือนกัน
(Attribute-NonCommercial-ShareAlike หรอื CC BY-NC-SA)
เป็นประเภทที่คล้ายกับครีเอทีฟคอมมอนส์ท่ีมีการระบุแหล่งท่ีมาประเภทแบ่งปัน
เหมือนกัน แต่สิ่งท่ีแตกต่างคือ ผู้ใช้จะต้องไม่นาผลงานดังกล่าวไปใชใ้ นเชิงพาณิชย์
เป็นอนั ขาด

• การระบุแหล่งท่ีมาประเภทไม่ให้ใช้ในเชิงพาณิชย์และไม่อิงจากสัญญา
(Attribute-NonCommercial-NonDerivs หรอื CC BY-NC-ND)
เป็นประเภทที่คล้ายกับครีเอทีฟคอมมอนส์ที่มีการระบุแหล่งท่ีมาประเภทไม่อิง
จากสัญญา แต่สง่ิ ทแี่ ตกตา่ งคือ ผูใ้ ชจ้ ะตอ้ งไมน่ าผลงานดังกล่าวไปใช้ในเชงิ พาณิชย์
เปน็ อันขาด

ท้งั นี้ ผ้ใู ชส้ ามารถสงั เกตประเภทของครีเอทฟี คอมมอนส์ได้จาก 4 สัญลกั ษณ์ ดังต่อไปน้ี

• แสดงถึงการระบุแหล่งท่ีมา (Attribute) ซ่ึงจะมีในทุกๆ ผลงานที่ใช้ลิขสิทธิ์
ของครีเอทฟี คอมมอนส์

• แสดงถงึ การแบ่งปันเหมือนกัน (ShareAlike หรอื SA) ซง่ึ จะระบถุ ึงการเปดิ ให้ผู้อื่น
สามารถแบ่งปนั เนือ้ หาตอ่ ดว้ ยลขิ สทิ ธเ์ิ ดียวกัน

• แสดงถึงการไม่อิงจากสัญญา (NonDerivs หรือ ND) ซึ่งระบุถึงการห้ามดัดแปลง
หรอื แกไ้ ขผลงานทรัพยส์ ินทางปัญญา

• แสดงถงึ การไมใ่ ห้ใชใ้ นเชิงพาณิชย์ (NonCommercial หรือ NC)
ซอฟต์แวร์แบบเปิด (Open Source Software) เป็นซอฟต์แวร์ท่ีมีการแบ่งปันโค้ดของ
ซอฟต์แวร์ (Software Coding) สู่สาธารณะและเปิดให้ผู้ใช้สามารถร่วมพัฒนาซอฟต์แวร์ได้
โดยลิขสิทธ์ิของซอฟต์แวร์แบบเปิดน้ันส่วนมากมักจะเป็นการเปิดให้ใช้งานได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
และมกี ารคมุ้ ครองตามประเภทลขิ สทิ ธิ์ตา่ งๆ ทนี่ กั พัฒนาได้ระบไุ ว้ เชน่ การค้มุ ครองลิขสิทธใ์ิ นรปู แบบ
ของ MIT, GPL หรือ Apache โดยตัวอย่างกลุ่มซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Linux
เบราว์เซอร์ Chromium (ซ่ึงเป็นเบราเซอร์พื้ นฐานของ เบราว์เซอร์ Google Chrome)
ระบบปฏิบตั กิ าร Android ภาษาโปรแกรมตระกลู .NET (ดอทเนต็ ) หรอื ภาษาโปรแกรมตระกลู Swift
เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีซอฟต์แวร์แบบเปิดบางรายการที่แม้จะเป็นซอฟต์แวร์แบบเปิด แต่มีค่าใช้จ่าย
ในการใช้งานบางประเภท ตัวอย่างกลุ่มซอฟต์แวร์ประเภทน้ีได้แก่ ซอฟต์แวร์ของ Red Hat ระบบ
ฐานข้อมลู MongoDB ประเภทใช้งานเชงิ พาณิชย์ เปน็ ต้น
ท รั พ ย์ สิ น ท า ง ปั ญ ญ า ท่ี มี ลิ ข สิ ท ธ์ิ (Copyrighted Intellectual Property)6
เป็นทรัพย์สินทางปัญญาท่ีมีเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา และได้รับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา

196

ผ่านกฎหมายของแต่ละประเทศ โดยท่ีผลงานบางอย่างจะถูกคุ้มครองด้วยกฎหมายโดยอัตโนมัติ
และผู้ท่ีจะใช้ผลงานลิขสิทธ์ิจะต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของลิขสิทธิ์เท่าน้ัน สาหรับประเทศไทย
นนั้ ทรพั ย์สินทางปัญญาท่ีมลี ิขสทิ ธจิ์ ะไดร้ บั การคมุ้ ครองจากพระราชบญั ญัตลิ ขิ สทิ ธิ์7

10.6 ผลการวิเคราะห์การประยุกต์กฎหมายดจิ ิทัลกับการใช้ชวี ิตประจาวนั

ปัจจุบันประชาชนในประเทศมีการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลมากข้ึนจานวนมาก1 โดยประชาชน
มรี ะยะเวลาในการใชง้ านอินเทอร์เน็ตท่ีมากขน้ึ และอนิ เทอร์เน็ตกลายเป็นช่องทางการส่ือสารพ้ืนฐาน
ของสงั คม ประชาชนมีการแลกเปล่ียนข้อมูลขา่ วสาร และจดั เก็บข้อมลู ตา่ งๆบนอุปกรณด์ จิ ิทลั

ซ่ึงในการดาเนินชวี ติ ประจาวันหรือทางานนน้ั ประชาชนควรมีการตระหนักถงึ ผลกระทบที่จะ
ตามมาหลักจากทากิจกรรมต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต ไม่ว่าจะเป็นการเข้าถึงข้อมูล การแสดงความ
คิดเหน็ หรือการนาเขา้ ขอ้ มลู ในการทากจิ กรรมดงั กลา่ วจาเป็นทจ่ี ะต้องปฎิบตั ิดังต่อไปนี้

1) ห้ามนาเข้าหรือโพสต์ (Post) ข้อมูลเท็จ ข้อมูลผู้เสียชีวิต รูปภาพเด็กและเยาชน
รูปภาพอนาจาร ข้อความต่อว่าผู้อื่น หรือ ทาให้ผู้อื่นได้รับความอับอายหรือ
เสยี หาย บนสือ่ สังคมออนไลนห์ รือเวบ็ ไซต์ต่างๆ

2) หา้ มสง่ อีเมลหรอื ขอ้ มูลในลักษณะทีท่ าให้เกดิ การรบกวนผู้อ่ืน
3) ห้ามส่งตอ่ ขอ้ มลู ที่เป็นเทจ็ หรือ มที ่ีมาไม่ชดั เจน ใหแ้ กผ่ ูอ้ น่ื
4) ห้ามเข้าถึงระบบ หรือข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาติหรือยินยอมจากเจ้าของ

ข้อมลู
5) ห้ามแกไ้ ข ดดั แปลง หรอื ทาใหข้ ้อมูลผู้อื่นเสียหาย
ซ่ึงจากแนวทางท่ีกล่าวมานั้นทาให้สามารถปฎบิ ัติตนได้อย่างเหมาะสม เมื่อใช้งานเทคโนโลยี
ดจิ ิทัล และสามารถแก้ไขปัญหาในกรณที ่ไี ดร้ บั ผลกระทบจากการใชง้ านเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั จากผอู้ ื่น

10.7 สรปุ

กฎหมายดิจิทัลนั้นก็เปรียบเสมือนกฎหมายในชีวิตจริง ซ่ึงเป็นข้อบังคับที่เก่ียวข้องกับการ
ใช้งานดิจิทลั ทง้ั ทางตรงและทางอ้อม

กฎหมายดิจิทัลที่เก่ียวข้องกับดิจิทัลทางอ้อม เช่น พระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ ซึ่งเป็นกฎหมาย
ท่ีแม้ว่าจะไม่เก่ียวข้องกับการใช้งานดิจิทัลโดยตรง แต่กฎหมายดังกล่าวมีผลไปยังสื่อดิจิทัลด้วย
ซ่ึงผู้อ่านเองก็ควรที่จะระมัดระวังในการนาผลงานของผู้อ่ืนมาใช้งาน หน่ึงในทางเลือกท่ีจะช่วย
แก้ปัญหาน้ีนั้นก็คือ การเลือกใช้ทรัพย์สินทางปัญญาแบบสาธารณะ ทั้งทรัพย์สินสาธารณะ ครีเอทีฟ
คอมมอนส์ หรือแม้แตซ่ อฟตแ์ วรแ์ บบเปดิ

ขณะท่ีกฎหมายดิจิทัลที่เกี่ยวข้องกับดิจิทัล เช่น พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิด
เก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 ท่ีจะมีผลกระทบโดยตรงกับการใช้งานดิจิทัลโดยตรง ซึ่งผู้อ่านควร
ทราบ ทาความเขา้ ใจ และปฏิบัตติ ามพระราชบัญญัตเิ หลา่ น้ี

7 ประเกียรติ รงั สมิ มาม, สมเกยี รติ วฒั นศิริชยั กุล, สมิทธิ ดาดรากร ณ อยุธยา, สภุ าภรร์ เกยี รติสน. (2561). ประชาชนชาวไทยได้อะไรจากกฎหมายค้มุ ครอง
ขอ้ มลู ส่วนบุคคล GDPR ของสหภาพยโุ รป. วารสารกฎหมายทรพั ยส์ ินทางปัญญาและการคา้ ระหว่างประเทศ(21), 461-469.
1 สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน). (2561). รายงานผลการสารวจพฤติกรรมผ้ใู ช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2561. กรุงเทพฯ :
กระทรวงดิจทิ ัลเพ่อื เศรษฐกิจและสังคม.

197

รูปภาพท่ี 65 “10 ข้อควรระวังทไ่ี ม่ควรโพสต์ลงโซเชียล” จดั ทาโดยกระทรวงดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกิจ
และสังคม และหัวหน้าโครงการ ผศ.ดร.สุภาภรณ์ เกียรติสนิ

198

รูปภาพท่ี 66 ประเภทของทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา จดั ทาโดยกระทรวงดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคม
และหัวหน้าโครงการ ผศ.ดร.สุภาภรณ์ เกียรติสนิ

จากทุกบทที่กล่าวมา การเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy) ในแต่ละองค์ประกอบจะมีส่วนช่วย
ใหผ้ ใู้ ช้งานในสงั คมดิจทิ ัล สามารถใช้เคร่ืองมือต่างๆ ไดอ้ ยา่ งเกิดประโยชน์ ถกู ตอ้ งตามแนวปฏิบัติของ
สังคมและกฎหมาย และสานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
และผู้เขียน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาภรณ์ เกียรติสิน หัวหน้าโครงการ ได้สารวจสถานภาพ
การเข้าใจดิจิทัลของประเทศไทย ปี พ.ศ.2562 โดยจะนาเสนอผลการสารวจในบทท่ี 12 สถานภาพ
การเขา้ ใจดจิ ิทลั ตอ่ ไป

199

10.8 เอกสารอา้ งองิ

ประเกียรติ รังสิมมาม, สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล, สมิทธิ ดาดรากร ณ อยุธยา, สุภาภรร์ เกียรติสน.
(2561). ประชาชนชาวไทยไดอ้ ะไรจากกฎหมายคุ้มครองข้อมูลสว่ นบุคคล GDPR ของสหภาพ
ยโุ รป. วารสารกฎหมายทรพั ยส์ นิ ทางปัญญาและการค้าระหวา่ งประเทศ(21), 461-469.

สานักยุทธศาสตร์. (2561). รายงานผลการสํารวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี
2561. กรงุ เทพฯ: สานกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ (องค์การมหาชน).

ราชกิจจานุเบกษา. (2560). พระราชบัญญัตว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับท่ี
๒) พ.ศ. ๒๕๖๐. กรุงเทพฯ: ราชกจิ จานุเบกษา.

สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2560). กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ (พิมพ์คร้ังที่ 8
ฉบบั ปรับปรงุ ). กรงุ เทพฯ: กระทรวงดจิ ิทัลเพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม.

สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2559). ทรัพย์สินทางปัญญากับการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ. กรงุ เทพฯ: กระทรวงดิจิทลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม.

กรมทรัพสินทางปัญญา. (2554). ความรู้เบ้ืองต้นด้านทรัพย์สินทางปัญญา. กรุงเทพฯ: กระทรวง
พาณชิ ย.์ สบื คน้ เม่ือ 15 ตลุ าคม 2560, จาก https://www.ipthailand.go.th/images/633/
book/basic_IP.pdf

คณะกรรมการกฤษฎีกา. (2550). พระราชบัญญัตว่าด้วยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร
พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2561,
จาก http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%c771/%c771-20-9999-update.pdf

พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562 สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2564
จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/069/T_0020.PDF

พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 สืบค้นเม่ือ 15 เมษายน 2564
จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/069/T_0052.PDF



201

บทท่ี 11

วเิ คราะหส์ ถานภาพการเข้าใจดิจทิ ัล
ของประเทศไทย

202

บทที่ 11
ิเครำะหส์ ถำนภำพกำรเข้ำใจดิจิทัลของประเทศไทย

ในบทนี้ นาเสนอรายงานผลสารวจสถานภาพการร้เู ท่าทันส่ือและสารสนเทศของประเทศไทย
ปี พ.ศ.2564 เป็นจดุ เรมิ่ ตน้ ในการนาทางเข้าสู่สังคมดิจิทลั ดว้ ยการใช้ผลการสารวจเพ่ือออกแบบการ
พัฒนาการรู้เท่าทันส่ือและสารสนเทศ สาหรับประชาชนในกลุ่มภาค/จังหวัด ท่ัวประเทศ เพ่ือสร้าง
“พลเมืองดิจิทัล” โดยสารวจและประเมินข้อมูลสถานภาพการเข้าใจดิจิทัลของประเทศไทย เพ่ือให้มี
ขอ้ มลู มหภาคเชิงลกึ เกี่ยวกบั พฤติกรรมการเข้าใจ การใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งสร้างสรรค์ของประชาชนไทย
มาสนับสนุนการตัดสินใจ ในการกาหนดนโยบายสาหรับการกากับดูแลอย่างเหมาะสม รณรงค์ให้เกิด
ความรู้ด้านการเข้าใจดิจิทัลในวงกว้าง มุ่งเน้นการเพิ่มขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในชีวิต
ประจาอย่างมีประสิทธิภาพ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม ผลักดันพลเมืองไทยให้ก้าวสู่พลเมือง
ดจิ ิทัลอยา่ งสมบูรณ์

11.1 กรอบแนวทางการสารวจสถานภาพ

11.1.1 ระเบียบวิธกี ารสารวจ

การสารวจและประเมินสถานภาพการเข้าใจดิจิทัล และการเข้าใจสื่อและสารสนเทศ
ใช้หลักเกณฑ์ทางสถิติเพ่ือคัดเลือกกลุ่มตัวแทนตอบแบบสารวจที่ครอบคลุม เพศ การศึกษา ช่วงวัย
อาชีพ กลุ่มคนพิการและพื้นท่ี ครอบคลุมท้ังหมด 77 จังหวัด โดยมีจานวนประชาชนที่สารวจ
ทั้งสิ้น 37,776 คน และมีผู้ควบคุมกระบวนการสารวจและผู้ปฏิบัติงาน ได้แก่ สานักงานสถิติจังหวัด
สังกัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) กรมการส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน
และศูนย์ดิจิทัลชุมชน ซึ่งสารวจในช่วงเดือนมิถุนายน - กันยายน พ.ศ.2563 โดยแบบสารวจเป็นทั้ง
แบบออนไลนแ์ ละแบบกระดาษ และมสี ื่อเป็นการสารวจทีเ่ อื้อประโยชน์กบั คนชราและคนพิการ

โดยการดาเนินการสารวจ เป็นการจัดกิจกรรมกระจายเพ่ือให้ครอบคลุมภายในจังหวัด
ทั้งนี้ เนื่องจากอุปสรรคเรื่องระยะเวลา จึงทาให้การเก็บข้อมูลยังไม่สามารถครอบคลุมทุกอาเภอ
อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างที่ทาแบบสารวจเป็นกลุ่มตัวอย่างที่มีการควบคุมเกณฑ์ของการเป็นกลุ่ม
ตัวอย่างที่ดตี ามหลกั ทางสถติ ิ จงึ ทาให้ผลการสารวจในครั้งนี้สามารถเช่ือถอื ได้

11.1.2 การแบ่งระดบั คะแนนและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะ

ในการสารวจได้อ้างอิงเกณฑ์การประเมินจากกรอบการประเมนิ การเขา้ ใจส่ือและสารสนเทศ
ของยูเนสโก1 และหลักสูตรการเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy) โดยกาหนดเกณฑ์การประเมินที่
สะท้อนถงึ สมรรถนะแต่ละด้านเข้ากับแบบสารวจที่มีลักษณะคาถามแบบตวั เลือกเชิงความคิดเห็นเพื่อ
ใช้เป็นเครื่องมือสะท้อนถึงสมรรถนะรายบุคคล ซ่ึงมีเกณฑ์การประเมินการเข้าใจดิจิทัล 12 มิติ
ซ่งึ ภายในแบบสารวจในแต่ละตอนประกอบด้วยจานวนเกณฑด์ ังนี้

1 Global Media and Information Literacy Assessment Framework: Country Readiness and Competencies.

203

• ตอนที่ 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐาน
• ตอนท่ี 2 คาถามประเมินสมรรถนะการเข้าใจดิจิทัลแบบชม/ฟังส่ือวีดิทัศน์แล้วตอบ

คาถาม (Digital Literacy)
หลังจากการสารวจจึงนาคาตอบจากเกณฑ์ประเมินทั้งหมดมาประมวลผลเป็นคะแนน
และสรุปผลข้อมลู ระดับรายบคุ คลในรูปแบบคะแนน “รอ้ ยละ2” ในการสรปุ ผลการประเมนิ สถานภาพ
การเข้าใจดิจิทัล แบ่งระดับคะแนนท้ังหมด 4 ระดับได้แก่ ดีมาก ดี พื้นฐาน และปรับปรุง โดยแต่ละ
ระดับคะแนนสามารถสะท้อนถึงระดับองค์ความรู้ ประสบการณ์ พฤติกรรมในชีวิตประจาวัน ที่ส่ังสม
เปน็ สมรรถนะได้ดงั นี้
1) ระดับดีมาก หมายถึงบุคคล หรือ กลุ่มคนที่มีขอบเขตความรู้ครอบคลุมทุกเกณฑ์การ

ประเมินของการสารวจและตระหนักถึงองค์ความรเู้ หล่าน้นั ในการดาเนินชวี ติ ประจาวัน
เพื่อกาหนดแนวทางปฏิบัตใิ นสังคมได้อยา่ งเหมาะสม และสามารถนาองค์ความรู้ ทักษะ
ประสบการณ์มาช่วยตดั สนิ ใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ บุคคลท่มี ีสมรรถนะในระดับดีมาก
จะมคี ะแนนเฉลยี่ มากกว่า 80 คะแนน
2) ระดับดี หมายถึงบุคคล หรือ กลุ่มคนที่มีความรู้ในมิติต่างๆท่ีสอดคล้องกับเกณฑ์การ
ประเมินของการสารวจ โดยสามารถระลึกถึงองค์ความรู้เหล่าน้ันและประยุกต์ใช้
ตัดสินใจในชีวิตประจาวนั ได้อย่างเหมาะสม บุคคลท่ีมีสมรรถนะในระดับดี จะมีคะแนน
เฉล่ียมากกวา่ 65 คะแนน แตไ่ ม่ถึงคะแนนเฉล่ยี 80 คะแนน
3) ระดับพ้ืนฐาน หมายถึงบุคคล หรือ กลุ่มคนท่ีมีความรู้สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมิน
ของการสารวจในระดับเบ้ืองต้น สามารถระลึกองค์ความรู้เหล่าน้ันได้บางส่วน ยังคงมี
องค์ความรู้ที่ยังไม่แตกฉานเหล่าน้ันเพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเต็มท่ี
บุคคลที่มีสมรรถนะในระดับพ้ืนฐาน จะมีคะแนนเฉลี่ยที่ 50 คะแนนข้ึนไป แต่ไม่ถึง
คะแนนเฉลยี่ 65 คะแนน
4) ระดับปรับปรุง หมายถึงบุคคล หรือกลุ่มคนที่ขาดองค์ความรู้ที่ครอบคลุมกับเกณฑ์การ
ประเมินหรือมีความรู้สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินของการสารวจเพียงบางส่วน
และยังไม่แตกฉานในองค์ความรูเ้ หล่านั้นท่ีอาจจะทาให้ประสบปัญหากับการประยุกต์ใช้
ในชีวติ ประจาวันได้ บคุ คลทม่ี ีสมรรถนะในระดบั ปรับปรงุ จะมคี ะแนนเฉล่ยี นอ้ ยกว่า 50
คะแนน

2 คะแนนร้อยละหรือคะแนนเต็ม 100 คะแนน

204

11.2 ผลการวเิ คราะหส์ ถานภาพการเข้าใจดิจทิ ัลของประเทศไทย3

รูปภาพที่ 67 แสดงกราฟคา่ ระดบั คะแนนของการเขา้ ใจดิจิทลั 9 มิติ

3 สภุ าภรณ์ เกียรติสนิ , “การประเมินผลสารวจการเขา้ ใจดิจทิ ัลและการรูเ้ ทา่ ทันสื่อของพลเมืองไทย”. (2018) The 3rd Technology Innovation
Management and Engineering Science International Conference (TIMES-iCON)

205

กล่มุ ตัวอย่าง กลุ่มตวั อย่างแยกตามเพศ กล่มุ ตวั อย่างแยกตามกลมุ่ อายุ คนพกิ าร

จานวน 37,776 ชาย 17,948 คน Baby Boomers 7,521 คน 621 คน
คน หญงิ 19,826 คน Gen. X 9,141 คน

Gen. Y 10,653 คน
Gen. Z 10,461 คน

1) ระดบั ปรับปรุง = ต่ากว่า 50 คะแนน

2) ระดบั พน้ื ฐาน = 50 - 64 คะแนน

3) ระดับดี = 65 - 79 คะแนน

4) ระดบั ดีมาก = 80 - 100 คะแนน

ภาพรวมผลการสารวจสถานภาพของประเทศไทย ทไ่ี ดม้ ีการกาหนดกลมุ่ ตัวอย่างและการสุ่ม

แบบเฉพาะเจาะจงจานวนท้ังสิ้น 37,776 คน แบ่งเป็นเพศหญิง จานวน 17,948 คน และเพศชาย

จานวน 19,826 คน โดยแบง่ เปน็ ชว่ งอายุดังนี้

1) กลมุ่ Generation Z (ชว่ งอายุ 6 - 20 ปี) (เกิดหลงั พ.ศ. 2540) จานวน 10,461 คน

2) กลุ่ม Generation Y (ชว่ งอายุ 21 -38 ป)ี (พ.ศ. 2523 - 2540) จานวน 10,653 คน
3) กลุ่ม Generation X (ช่วงอายุ 39 -53 ป)ี (พ.ศ. 2508 - 2522) จานวน 9,141 คน
4) กลมุ่ Baby Boomers (ช่วงอายุมากกว่า 54 ปี) (พ.ศ. 2489 - 2507) จานวน 7,521 คน

และการสารวจกลมุ่ ตวั อยา่ งท้งั หมดไดจ้ ดั เก็บกลุม่ คนพกิ ารรวมอยูท่ ง้ั สิน้ จานวน 621 คน

206

รปู ภาพท่ี 68 ผลการสารจการเขา้ ใจดจิ ทิ ัลของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2564

207

ตารางท่ี 6 คาอธิบายระดับผลการประเมนิ การเข้าใจดจิ ิทลั (Digital Literacy)4

เกณฑ์การประเมิน เฉลีย่ ระดบั ความหมาย

การเข้าใจดิจิทลั 68.6 ดี บุคคลเข้าใจทฤษฎี หลักการ แนวทางปฏบิ ัติ ข้อบังคบั

กฎหมาย ท่เี ก่ียวข้องกับการใช้ขอ้ มลู เพ่ือสื่อสารในสังคม

ดจิ ทิ ัลท่มี ปี ระสิทธิภาพและมีจริยธรรม การใชง้ าน

เครอื่ งมอื ดิจิทลั อินเทอร์เนต็ และความสามารถในการ
ประเมนิ สอ่ื ดจิ ิทลั

DL 1 สทิ ธิและ 66.7 ดี บุคคลเข้าใจและสามารถแยกแยะสิทธิ เสรีภาพ

ความรับผิดชอบ ขัน้ พื้นฐานของในการใชส้ อ่ื สาธารณะในสงั คมดิจทิ ลั ได้
อยา่ งถูกต้องและมีความรบั ผิดชอบ

DL 2 การเข้าถงึ ส่ือ 68.6 ดี บุคคลเขา้ ใจในการคน้ หา/เข้าถงึ ดว้ ยเคร่ืองมือดิจทิ ลั

ดิจิทลั รวมถงึ ทราบความแตกต่างของประเภทการเขา้ ถึงและ
ชนดิ ส่ือและสารสนเทศได้อยา่ งเหมาะสม

DL 3 การส่ือสารยุค 71.7 ดี บคุ คลสามารถใช้กระบวนการคดิ เชงิ วิพากษ์ในการ

ดจิ ิทลั ส่ือสารผา่ นเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ได้อย่างชัดเจน
สรา้ งสรรค์และเคารพผูอ้ ่นื รวมถึงสามารถแยกแยะ
ข้อเท็จจริงออกจากข้อคดิ เห็นจากบรบิ ทท่ีซับซอ้ นบน

สงั คมดจิ ทิ ัลไดอ้ ย่างเหมาะสม

DL 4 ความ 67.3 ดี บคุ คลเข้าใจเกี่ยวกับการปฏบิ ัติเพ่ือรักษาความม่นั คง

ปลอดภัยยุคดิจทิ ลั ปลอดภยั ยุคดจิ ทิ ัล รวมถงึ รู้จักเทคโนโลยี/เครื่องมือดิจิทลั

DL 5 การรเู้ ทา่ ทัน 72.3 ดี บุคคลสามารถวเิ คราะห์ ประเมนิ คณุ คา่ และผลกระทบ

ส่ือและสารสนเทศ รวมถึงจดั ระบบสอ่ื และสารสนเทศได้อยา่ งเหมาะสม

DL 6 แนวปฏิบตั ใิ น 70.9 ดี บุคคลสามารถปฏิบัติตามหลักมารยาทในสงั คมดิจิทัลได้

สังคมดจิ ทิ ลั อย่างถูกต้องและเหมาะสม

DL 7 สขุ ภาพดยี ุค 68.0 ดี บุคคลสามารถใช้เครอ่ื งมือทางดิจทิ ลั ได้อย่างถูกตอ้ ง

ดจิ ิทลั เหมาะสม ไม่ส่งผลกระทบต่อสขุ ภาพกาย สุขภาพจิต

และโรคทเ่ี กิดขึน้ รวมถึงความสัมพนั ธแ์ ละผลกระทบต่อ
บุคคลอน่ื

DL 8 ดิจิทัล 68.5 ดี บคุ คลร้แู ละเข้าใจเกี่ยวกับการทาธุรกจิ ออนไลน์ หรอื อี

คอมเมริ ซ์ คอมเมริ ซ์ ประเภทตา่ งๆ รวมถงึ อันตราย ภัย และ
ความเสยี่ งจากการทาธุรกรรมออนไลน์นนั้ รวมถงึ รู้วธิ ี

ปอ้ งกนั ลดความเส่ียงและรบั มือกบั อันตราย ภัย

ตลอดจนความเส่ยี งเหล่านน้ั

4 สานกั งานคณะกรรมการดิจทิ ลั เพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต.ิ (2562). รายงานผลการสารวจข้อมลู สถานภาพการรเู้ ท่าทันสอ่ื และสารสนเทศของประเทศไทย
ปี พ.ศ.2562 เล่มท่ี 1. กรงุ เทพฯ: กระทรวงดจิ ิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม.

208

เกณฑก์ ารประเมนิ เฉลย่ี ระดับ ความหมาย

DL 9 กฎหมาย 63.1 พื้นฐาน บุคคลรูแ้ ละเขา้ ใจเกย่ี วกบั สิทธแิ ละข้อจากัดที่ควบคมุ
ดิจิทัล การใช้สอื่ ดจิ ิทลั ในรปู แบบต่างๆ ซงึ่ ไดถ้ ูกกาหนดโดย
ภาครฐั

11.3 สรุปผลการสารวจ วิเคราะห์ และประเมนิ สถานภาพการเขา้ ใจดจิ ทิ ัลของประเทศไทย

จากรูปภาพที่ 68 และตารางท่ี 6 สรุปผลสารวจสถานภาพการเข้าใจดิจิทัลของประเทศไทย
มีจานวนกลุ่มตัวอยา่ ง 37,776 คน พบว่ามคี ะแนนเฉลย่ี สถานภาพ 68.6 คะแนน

การเข้าใจดจิ ทิ ัลท้ัง 9 ด้าน พบว่าสมรรถนะทอี่ ยใู่ นระดบั ดี มจี านวน 8 สมรรถนะ ได้แก่

• ดา้ นการร้เู ทา่ ทนั สื่อและสารสนเทศ มีคะแนนเฉลี่ย 72.3 คะแนน
• ด้านการสอ่ื สาร มคี ะแนนเฉลี่ย 71.7 คะแนน
• ดา้ นแนวปฏิบัตใิ นสังคมดิจิทัล มคี ะแนนเฉลี่ย 70.9 คะแนน
• ด้านการเข้าถงึ ส่ือดจิ ทิ ัล มคี ะแนนเฉลี่ย 68.6 คะแนน
• ด้านดจิ ทิ ลั คอมเมิรซ์ มีคะแนนเฉลี่ย 68.5 คะแนน
• ด้านความปลอดภัยยุคดจิ ทิ ัล มคี ะแนนเฉลี่ย 67.3 คะแนน
• ด้านสขุ ภาพดยี คุ ดจิ ทิ ลั มีคะแนนเฉล่ีย 68.0 คะแนน
• ดา้ นสทิ ธแิ ละความรบั ผดิ ชอบ มคี ะแนนเฉลย่ี 66.7 คะแนน

สมรรถนะที่อยู่ในระดับพ้ืนฐาน ซ่ึงเป็นประเด็นที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาเร่งด่วน มีจานวน 5
สมรรถนะ ได้แก่

• ด้านกฎหมายดจิ ิทัล มีคะแนนเฉล่ีย 63.1 คะแนน

สถานภาพและสมรรถนะการเข้าใจดิจิทัลของประเทศไทย อยู่ในระดับพื้นฐานแ ละดี
ซึ่งสมรรถนะที่ได้ระดับพ้ืนฐาน 5 สมรรถนะ ต้องเร่งส่งเสริมและพัฒนาเป็นอันดับแรก เพราะหาก
ปล่อยไว้จะส่งผลต่อศักยภาพการดาเนินชีวิตประจาวัน ประกอบอาชีพ และพัฒนาตนเอง
ของประชาชน ที่มีต่อกระแสโลกที่เข้าสู่ยุคดิจิทัลมากขึ้น หากปล่อยให้ประชาชนส่วนใหญ่มีระดับ
สถานภาพเช่นน้ีจะสูญเสียโอกาสและมีความเส่ียงต่างๆ เช่น การโพสต์ข้อมูลที่ไม่เหมาะสมลงบนโลก
ออนไลน์นาไปสู่การเข้าใจผิดและถูกกลั่นแกล้งในโลกออนไลน์ (Cyberbullying) รวมถึงการเผยแพร่
ข้อมูลส่วนตัวบนพื้นท่ีสาธารณะการไม่เข้าใจวธิ ีการซื้อ-ขายสนิ ค้าออนไลน์ (e-Commerce) หรือการ
ใช้อนิ เทอร์เน็ตจนเกิดผลกระทบกบั สุขภาพ เป็นต้น

11.4 แนวทางการพฒั นาการเขา้ ใจดจิ ิทลั (Digital Literacy)

การเสนอคาแนะนาเก่ียวกับระเบียบวิธีและเครื่องมือในการปฏิบัติตลอดจนการประเมินผล
ในการเตรียมความพร้อม สมรรถนะของประเทศเกยี่ วกบั การเข้าใจดิจิทลั ถกู แบ่งออกเป็น 2 ระดบั ชัน้
ดังรปู ภาพท่ี 69

ระดับประเทศ ระดับข้นั ที่ 1 209
หนว่ ยงาน ความพรอ้ มของประเทศ
สถานศกึ ษา สภาพแวดล้อม

ระดบั บุคคล ระดับขนั้ ท่ี 2 สมรรถนะ
สมรรถนะการเขา้ ใจดิจิทลั

รูปภาพที่ 69 ระดบั ช้นั ของกรอบการประเมนิ ผลการรเู้ ท่าทันส่ือและสารสนเทศ 5

(อา้ งอิงจากกรอบการประเมนิ สอ่ื และสารสนเทศ UNESCO)

ระดับข้ันท่ี 1: ความพรอ้ มของประเทศ
เป็นการจัดหาข้อมลู เกย่ี วกบั ระดับของการเขา้ ใจดิจิทลั ของประเทศและสมรรถนะในการริเร่ิม
เก่ียวกับการเข้าใจดิจิทัล ซ่ึงจาเป็นต้องใช้ประโยชน์จากแหล่งข้อมูลในระดับนานาชาติระดับภูมิภาค
และระดับประเทศท่ีมีอยู่ เพอ่ื นามาสรา้ งโปรไฟล์ของประเทศทีเ่ นน้ การรเิ รมิ่ มาตรการระดับชาติที่อาจจะ
นาไปสู่การพัฒนาของสมรรถนะในการเข้าใจดิจิทัลของแต่บุคคล โดยในระดับขั้นท่ี 1 นี้จะถูกแบ่งออกเป็น
5 ประเภท ดงั รูปภาพที่ 70

• การศึกษาการเข้าใจดิจิทลั
• นโยบายการเขา้ ใจดจิ ิทลั
• อปุ ทานการเข้าใจดจิ ทิ ลั
• การเขา้ ถงึ และใช้การเขา้ ใจดิจทิ ลั
• ประชาสงั คมการเข้าใจดจิ ิทัล

ระดับขั้นที่ 1

ความพรอ้ มของประเทศ

การศกึ ษา นโยบาย อปุ ทาน การเข้าถงึ /ใช้ ประชาสังคม

รูปภาพที่ 70 ระดับขน้ั ที่ 1 ความพร้อมของประเทศ6
(อา้ งอิงจากกรอบการประเมนิ สอื่ และสารสนเทศ UNESCO)

5 UNESCO. (2013). Global Media and Information Literacy Assessment Framework: country readiness and competencies. Paris: UNESCO
6 UNESCO. (2013). Global Media and Information Literacy Assessment Framework: country readiness and competencies. Paris: UNESCO

210

ระดับขัน้ ที่ 2: สมรรถนะการเข้าใจดจิ ทิ ัล
มีเป้าหมายให้ประชาชนทุกคน โดยเฉพาะครูที่ทางานและฝึกอบรม เน่ืองจากครูถือเป็น
กุญแจที่จะใช้ไขเปิดประตูแห่งความรู้ ดังน้ันครูจึงจาเป็นท่ีจะต้องได้รับการสนับสนุน โดยครูที่มี
การเข้าใจดิจิทัล จะส่งต่อความรู้และประสบการณ์ให้แก่นกั เรียน และเม่ือเวลาผ่านไปนักเรยี นเหล่านี้
กจ็ ะช่วยส่งเสรมิ การเขา้ ใจสื่อและสารสนเทศ และช่วยให้เกดิ ผลกระทบต่อสงั คมในวงกวา้ ง กรอบการ
ประเมินผลการเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy Assessment Framework) โดยสมรรถนะการเข้าใจ
ดิจิทัลจะสามารถสะท้อนถึงปัจจัยของบริบทระดับประเทศท่ีช่วยอานวยความสะดวกในการสร้าง
สภาพแวดล้อมทเี่ ป็นประโยชนแ์ ก่การเข้าใจดจิ ิทลั ดังรปู ภาพที่ 71

ระดบั ขั้นท่ี 2
สมรรถนะการเชา้ ใจสือ่ และสารสนเทศ

สว่ นประกอบ เนื้อหา สมรรถนะ เกณฑ์ ระดบั ความชานาญ

รปู ภาพที่ 71 ระดับขัน้ ท่ี 2 สมรรถนะการเข้าใจดจิ ทิ ลั 7
(อา้ งอิงจากกรอบการประเมินส่อื และสารสนเทศ UNESCO)

กรอบการประเมินผลการเข้าใจดิจิทัลจะช่วยเสนอคาแนะนาเกี่ยวกับระเบียบวิธีใน
กระบวนการปรับตัวของประเทศ ด้วยการประเมินนี้จะทาให้ผ้มู ีบริหารท่ีกาหนดนโยบาย สามารถทา
การตัดสินใจจากข้อมูลที่อยู่บนพ้ืนฐานของผลลัพธ์ของการประเมินผล วางแผนการและกลยุทธ์ท่ี
มุ่งเน้นไปท่ีการกระทา จัดการการแทรกแซงท่ีมุ่งเป้าไปที่การพัฒนาอย่างต่อเน่ืองของการการสร้าง
พลเมืองดิจิทลั ดว้ ยการอุปถมั ภ์สภาพแวดล้อมและเพิ่มสมรรถนะให้แกป่ ระชาชนในประเทศ หรือชว่ ย
นาทางไปสู่การร่วมสร้างประชากรหรือพลเมืองที่มีคุณภาพ (Citizenship) หรือการเอื้อให้เกิดการ
เรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชนในสังคม และในประเทศน้ันๆ ได้อีกด้วย ดังน้ัน จะเห็นได้ว่าเกือบทุก
ประเทศท่ัวโลก โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศท่ีพัฒนาแล้ว จะกาหนดหลักการ หรือหลักเกณฑ์ต่างๆ
รว่ มกนั ในการใชเ้ ขา้ ใจดจิ ทิ ัลเพอ่ื ให้เปน็ เครื่องมือท่เี ออ้ื ต่อการพัฒนาคนพฒั นาประเทศของตน

7 UNESCO. (2013). Global Media and Information Literacy Assessment Framework: country readiness and competencies. Paris: UNESCO

211

รปู ภาพท่ี 72 ภาพองคป์ ระกอบของการเปน็ ของสมรรถนะของพลเมอื งดิจิทลั
(วาดโดยสุภาภรณ์ เกยี รติสนิ )

แนวทางและแผนงานในการส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะในการเขา้ ใจดิจิทัลของประเทศไทย
ในการพัฒนาทุนมนุษย์ที่มีความสามารถในการพัฒนาและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ มี
วจิ ารณญาณและรู้เท่าทัน เพ่ือขับเคลื่อนประชาชนเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship) โดยการ
ประชาชนเป็นพลเมืองดิจิทัลนั้นจาเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาการเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy) และ
ทักษะดิจิทัล (Digital Skill) ควบคู่กันไป และการเข้าใจดิจิทัลจัดว่าเป็นองค์ประกอบหนึ่งของการ
เข้าใจดิจิทลั ซ่งึ เป็นพ้นื ฐานท่ีสาคญั ในการใช้ชวี ิตของประชาชนท่ีมีการติดต่อส่ือสารกับระหว่างบุคคล
ด้วยเครอ่ื งมือและมกี ารใชง้ านรูปแบบของส่ือท่หี ลากหลาย
11.5 สรปุ

บทนี้มีข้อมูลการสารวจการเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy) ของประเทศไทยตามหลักการ
ทางสถิติ จากผลการประเมินพบว่าผลสารวจสถานภาพการเข้าใจดิจิทัลของประเทศไทย มีจานวน
กลุ่มตัวอย่าง 37,776 คน พบว่ามีคะแนนเฉลี่ยสถานภาพ 68.6 คะแนน อยู่ใน “ระดับดี”
ซ่ึงหมายความว่าประชาชนโดยเฉล่ียเข้าใจทฤษฎี หลักการ แนวทางปฏิบัติ ข้อบังคับ กฎหมาย
ท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้ข้อมูลเพื่อส่ือสารในสังคมดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพและมีจริยธรรม การใช้งาน
เครื่องมือดิจิทัล อินเทอร์เน็ต และความสามารถในการประเมินสื่อ โดยมีรายละเอียดของสมรรถนะ
หลัก ดังน้ี

• สมรรถนะหลักท่ีอยู่ในระดับดี ได้แก่ DL 1 สิทธิและความรับผิดชอบ DL 2 การ
เข้าถึงสื่อดิจิทัล DL 3 การส่ือสารยุคดิจิทัล DL 4 ความปลอดภัยยุคดิจิทัล DL 5
การรู้เท่าทันส่ือและสารสนเทศ DL 6 แนวปฏิบัติในสังคมดิจิทัล และ DL 7 สุขภาพ
ดียคุ ดจิ ิทัล DL 8 ดจิ ทิ ลั คอมเมริ ซ์

• สมรรถนะหลักทอี่ ยใู่ นระดับพ้นื ฐาน ไดแ้ ก่ DL 9 กฎหมายดจิ ิทลั
11.6 เอกสารอ้างอิง
UNESCO. ( 2 0 1 3 ) . Global Media and Information Literacy Assessment Framework:

country readiness and competencies. Paris: UNESCO

212

สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). สรุปผลการสํารวจข้อมูล
สถานภาพการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ:
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. สืบค้นเม่ือ 10 กุมภาพันธ์ 2562, จาก
https://file.onde.go.th/assets/portals/1/ebookcategory/19_Booklet_2/

สานกั งานคณะกรรมการดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ. (2562). รายงานผลการสาํ รวจข้อมูล
สถานภาพการรู้เท่าทันส่ือและสารสนเทศของประเทศไทย ปี พ.ศ.2562 เล่มที่ 1. กรุงเทพฯ:
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสงั คม.

213

ภำคผน ก ก
ชุดทดสอบสมรรถนะกำรเข้ำใจดจิ ิทลั



215

ชุดทดสอบสมรรถนะการเข้าใจดจิ ิทลั

คาชแี้ จง: มีเป้าหมายในการประเมินสมรรถนะการเข้าใจดิจิทัลเบื้องต้นของบคุ คล เพ่ือประเมินระดับ
ความสามารถของบุคคลในการเข้าใจดิจิทัล เพ่ือให้คาแนะนาและพัฒนาสมรรถนะการ
เขา้ ใจดิจทิ ลั ต่อไปในอนาคต

ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลพ้นื ฐานทเี่ ก่ียวขอ้ งกับผ้ทู าชุดทดสอบ
ตอนท่ี 2 คาถามประเมินสมรรถนะการเข้าใจดิจิทลั

______________________________________________________

ตอนที่ 1 ข้อมลู พื้นฐาน

คาแนะนา: กรณุ าตอบแบบสารวจตามความเปน็ จริง พร้อมกรอกข้อความและเขียน
เครือ่ งหมาย  ลงใน  หรือ  ที่ตรงกับขอ้ มูลของทา่ น

1.1 เพศ (เลือกข้อเดียว)  หญงิ  เพศทางเลอื ก
 ชาย

1.2 อายุ

..........................ปี

1.3 ระดบั การศึกษาสงู สุด (เลือกข้อเดยี ว)

 ประถมศึกษา  มธั ยมศึกษาตอนตน้

 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย  หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.)

 ปรญิ ญาตรี  หลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้นั สงู (ปวส.)

 ปรญิ ญาโท  ปรญิ ญาเอก

 ใบประกอบวชิ าชีพ  น้อยกวา่ ประถมศึกษา

1.4 รายได้เฉลย่ี ตอ่ เดือน (เลือกข้อเดียว)

 ตา่ กว่า 5,000 บาท  5,001 – 10,000 บาท

 10,001 – 15,000 บาท  15,001 – 30,000 บาท

 30,001 – 50,000 บาท  50,001 – 100,000 บาท

 มากกวา่ 100,000 บาท

216

ตอนที่ 2 คาถามประเมินสมรรถนะการเข้าใจดจิ ทิ ัล

1) ท่านคดิ ว่าทาไมทีวีดจิ ิทลั แต่ละชอ่ งจงึ มีการรายงานเหตุการณ์สดผา่ น Facebook Live
ก. เพอ่ื ต้องการมีปฏสิ มั พันธ์กับผู้ชม (Interaction)
ข. เพื่อต้องการเพิ่มจานวนผู้สนับสนนุ (Sponsor)
ค. เพือ่ ต้องการเพ่ิมจานวนยอดไลค์ (Like)
ง. เพอื่ ต้องการสรา้ งยอดผเู้ ข้าชม (View)

2) เพราะเหตุใดถงึ ตอ้ งมีการรวบรวมขอ้ มูลจากหลายแหล่งทีม่ า เชน่ ห้องสมดุ อนิ เทอร์เนต็
หรือ ผเู้ ช่ียวชาญ เปน็ ต้น

ก. เพราะเนื้อหาต้องเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายไดแ้ ตกตา่ งกัน
ข. เพราะขอ้ มูลจากแต่ละทมี่ ีความนา่ เชอ่ื ถือไม่เหมือนกัน
ค. เพราะต้องมีการเปรียบเทียบข้อมูลเพื่อใหม้ ีความถกู ต้องมากทสี่ ดุ
ง. เพราะข้อมลู นนั้ ไมม่ ีความน่าเชือ่ ถือ

3) ข้อใดไมใ่ ช่วิธีการตรวจสอบข้อมูลที่ดีท่ีสุด
ก. หาข้อมลู อ้างอิงจากแหล่งอื่น
ข. ตดิ ต่อโดยตรงกับผู้ที่เขยี นขน้ึ
ค. สอบถามไปทางหนังสอื พิมพ์
ง. สอบถามคนใกลช้ ิด

4) หากต้องการเขียนเอกสารเพื่อเชิญผู้ว่าราชการประจาจงั หวัดมาเปิดงานเทศกาล
ประจาปี ตัวเลอื กใดเหมาะสมทส่ี ุด

ก. เขียนอีเมลด้วยภาษาทางการส่งไปตามที่อยู่ทร่ี ะบใุ นเวบ็ ไซตข์ องจงั หวัด
ข. เขยี นจดหมายเชญิ ดว้ ยภาษาทางราชการสง่ ไปรษณยี ์ไปทวี่ า่ การอาเภอ
ค. โทรศัพท์ติดต่อเลขาหน้าห้องผูว้ ่าฯ เพ่ือขอทราบตารางการทางานก่อนสง่ เอกสารเชิญ
ง. นาจดหมายเชญิ และกาหนดการไปยนื่ ท่กี องสารบัญของท่ีว่าการอาเภอ

217

5) เมอ่ื คณุ อยากทราบคาขวัญของจงั หวดั เชียงราย คณุ จะคน้ หาข้อมูลอย่างไรให้รวดเร็ว
และประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยทส่ี ดุ
ก. ค้นหาจาก เวบ็ ไซต์ กูเกล้ิ (Google)
ข. เข้าหอ้ งสมดุ
ค. ซอ้ื หนังสือการท่องเที่ยว
ง. โทรไปสอบถามทศี่ าลากลางจังหวัด

6) #เส้ือผ้ามือสองราคาถูก
#กระเปา๋ แฮนดเ์ มด
#สินค้านาเขา้ จากตา่ งประเทศ
จากตวั อย่างขอ้ ความดา้ นบนทม่ี ีการใชส้ ัญลกั ษณ์ # (ชารป์ ) หรือทเ่ี รยี กว่า แฮชเทค

(Hashtag) นาหนา้ ข้อความ ท่านทราบถงึ วตั ถุประสงคห์ รอื ไม่
ก. เพื่อให้ง่ายตอ่ การคน้ หา
ข. เปน็ เครอ่ื งมือแยกหมวดหมู่ใหก้ บั ข้อความหรอื ภาพ
ค. ใช้สาหรับสรา้ งกระแสนิยมบนโลกออนไลน์
ง. ชว่ ยเพ่มิ ยอดขายใหก้ ับรา้ นคา้ ในอินเทอร์เน็ต

7) ข้อใดเปน็ หนา้ ทีข่ องสื่อมวลชน
ก. ผลติ ข่าวถกู ตอ้ งตามเหตุการณ์จริง
ข. ผลติ ขา่ วทไี่ มล่ ะเมิดลขิ สิทธิ์
ค. ผลิตข่าวทม่ี ีผสู้ นใจ
ง. ผลติ ข่าวทีถ่ กู ต้องตามจรรยาบรรณของส่ือ

218

8) เมอ่ื ได้รับข่าวแผ่นดนิ ไหวจากเพอ่ื น ทา่ นจะทาอย่างไรเป็นลาดับแรก
ก. แบง่ ปนั (Share) ขอ้ มลู ต่อ
ข. ตรวจสอบแหล่งทม่ี าของข่าว
ค. เปรียบเทียบขา่ วจากแหล่งต่างๆ
ง. สอบถามคนรอบตวั

9) เม่อื เราพบข้อมูลท่นี ่าสนใจบน Facebook และเราต้องการสง่ ตอ่ ควรทาอยา่ งไร
ก. กดถูกใจ (Like) ก่อนแบ่งปัน (Share)
ข. คัดลอก (Copy) มาเก็บไวก้ อ่ น แลว้ จึงโพสตใ์ หม่เปน็ ของเรา
ค. แสดงความขอบคุณ (Etiquette) ก่อนนาไปแบ่งปนั
ง. ตรวจสอบความถกู ต้องของขอ้ มลู ก่อน (Check)

10) การปดิ ก้ันการเขา้ ถงึ เวบ็ ไซต์ท่ีเนือ้ หาลามกอนาจาร มีผลดอี ยา่ งไร
ก. เพ่อื ป้องกนั การละเมดิ ลขิ สิทธิ์
ข. เพ่อื ป้องกันการกระทาผิดทางเพศ
ค. เพอ่ื ป้องกันเยาวชนจากการหมกมนุ่ เร่ืองทางเพศ
ง. เพอ่ื รกั ษาไว้ซึ่งขนบธรรมเนียมอนั ดงี าม

11) เมื่อท่านใชง้ านอนิ เทอร์เน็ตแล้วพบขอ้ มูลทนี่ ่าสนใจ และต้องการเก็บไว้อา่ นภายหลงั
ตอ้ งทาอยา่ งไร

ก. ใชฟ้ ังกช์ นั กเู ก้ิล คีป (Google Keep) บนเว็บบราวเซอร์
ข. ใชค้ าสงั่ บกุ๊ มาร์ค (Bookmarks) เพอ่ื จดที่อยู่เว็บไซต์ (URL) เนอื้ หานน้ั ไว้
ค. พิมพ์ข้อมลู ผ่านปริ้นเตอร์
ง. คลกิ ขวาเพื่อสาเนา (Copy) ลงิ ก์ URL ของเว็บไซต์ไว้ในโนต๊ ของคอมพวิ เตอร์

219

12) จากข้อความโฆษณา “นึกถึงวันพักผ่อน นกึ ถึงชะอา” “นึกถึงชะอา !! นกึ ถึงโกลเดน้ รี
สอร์ท” เปน็ การโฆษณาโดยใช้เทคนิคใด

ก. การใชค้ าซ้าเพอื่ ให้เกิดการจดจา
ข. การทาใหเ้ กิดจนิ ตนาการ
ค. การใช้วลสี ัน้ ๆ แตไ่ ดใ้ จความ
ง. การใชค้ า ภาษาท่ีชวนใหส้ นใจ

13) เมอ่ื ทา่ นไดร้ บั ชมสอื่ วีดโี อผ่าน ยูทูบ (Youtube) เพ่ือหาความรู้ ท่านจะประเมินเร่อื งใด
เปน็ สาคัญ

ก. เจา้ ของส่ือ แหล่งท่มี าของส่อื
ข. จานวนผู้ทแ่ี บง่ ปนั (Share) วดี โี อ
ค. จานวนผ้เู ข้าชม
ง. ระยะเวลาของวีดีโอ

14) เมือ่ ทา่ นรบั ทราบขา่ วจากข้อความ ทา่ นจะมีวธิ ีการในการตรวจสอบข้อเท็จจริง หรือ
ความนา่ เช่ือถืออยา่ งไร

ก. ตรวจสอบขอ้ มูลจากเวบ็ ไซตห์ รือสอื่ อื่นๆ จากแหล่งท่ีเชือ่ ถอื ได้
ข. หาขอ้ มูลจากผเู้ ชี่ยวชาญ
ค. ปรกึ ษากับเพ่ือน
ง. ดจู ากเนอ้ื หาทีว่ ิเคราะห์โดยผูเ้ ช่ียวชาญ

15) ในการสรุปเน้อื หาสาระของข่าวที่ไดร้ บั ชม ควรสรุปในประเดน็ ใดบ้าง
ก. ใคร ทาอะไร ท่ีไหน เม่ือไร เพราะอะไร อย่างไร
ข. ใจความสาคญั ใจความรอง
ค. ข้อเท็จจริง ข้อคิดเหน็
ง. บทนา เนือ้ หา สรุป

220

16) หากทา่ นได้รับข่าวจากไลน์ (Line) และอยากเผยแพร่บนโลกออนไลน์ ท่านจะทาอยา่ งไร
ก. ตรวจสอบและสรปุ ข้อมลู ก่อนการเผยแพร่
ข. เผยแพร่พร้อมแสดงความคิดเหน็
ค. เผยแพรโ่ ดยใชข้ อ้ ความจากการสรปุ ของท่านเอง
ง. หาขอ้ มลู เพิ่มเติมจากอินเทอร์เนต็

17) การนารูปภาพจากเวบ็ ไซตอ์ ่นื มาทาโปสเตอรป์ ระชาสัมพันธ์ ข้อใดเหมาะสมท่ีสดุ
ก .ลบลายนา้ ออกจากรปู ภาพ
ข. ขออนุญาตเจา้ ของภาพ
ค. ใหอ้ า้ งอิงเจ้าของรูปภาพ
ง. ใชร้ ูปภาพเดมิ โดยไม่เปลยี่ นแปลง

18) หากต้องการส่งไฟล์วิดีโอใหเ้ พือ่ น ทา่ นตอ้ งทาอย่างไรจงึ ปลอดภัยท่ีสดุ
ก. โพสตว์ ิดโี อลงเฟซบกุ๊ (Facebook) ของเพ่อื นแบบสาธารณะ
ข. อพั โหลดวิดโี อลงยทู ูบ (Youtube) และใหเ้ พ่อื นเขา้ มาดูแบบเจาะจงเฉพาะบุคคล
ค. บันทึกลงซดี ี (CD) และส่งไปรษณีย์ให้เพ่ือน
ง. ส่งให้เพอื่ นทางไลน์ (Line)

19) การสอนปลกู ตน้ ไม้ ควรใช้วิธใี ดจึงเรียกความสนใจจากผู้ชมได้มากท่ีสุด
ก. ขอ้ ความบรรยาย
ข. เสยี ง
ค. รูปภาพ
ง. วิดีโอ

20) ขา่ วใดสมควรเผยแพรเ่ พอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อสงั คมมากท่ีสดุ
ก. ผบู้ ริหารเฟซบกุ๊ (Facebook) เผยเตรียมให้บริการ "หาค"ู่
ข. พ่อแม่ออกกาลัง-บริหารสมอง ส่งผลให้ลูกฉลาดได้ไม่ต้องพ่ึงพันธุกรรม
ค. สุนัข 3 ขาเปน็ ศพดับอนาถ
ง. สาวชลบรุ คี ลอดลูกกะทันหัน ชาวบา้ นแห่ดูบ้านเลขท่ี เชือ่ ทารกน้อยจะนาโชค

221

ภำคผน ก ข
ส่อและชอ่ งทำงพฒั นำกำรเข้ำใจดจิ ิทลั



223

สือ่ และช่องทางพัฒนาการเข้าใจดิจทิ ัล
Thai MOOC

แหล่งการเรยี นรู้ผา่ นระบบออนไลน์ทใ่ี ชง้ านง่าย เพียงแค่คลิก
สมัครสมาชิก เลือกวิชาเรียนท่ีสนใจ ศึกษาบทเรียนจากคลิป
VDO เน้ือหาส้ัน ๆ เข้าใจได้ง่าย และทากิจกรรมประเมิน
ตนเอง ดาเนินงาน เพื่อรองรับ “การศึกษาระบบเปิดเพ่ือการ
เรยี นรตู้ ลอดชวี ิต” (Lifelong Learning Space)

เข้าถึง : https://thaimooc.org/

Digital Skill

แหล่งการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์เพ่ือส่งเสริมคุณภาพและ
ทักษะของคนรุ่นใหม่ด้านเทคโนโลยีในประเทศไทย ด้วยองค์
ความรู้ฟรีบนสื่อออนไลน์และการสนับสนุนด้านอาชีพต่อไป
ดาเนินงานโดยสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลและสมาคม
โปรแกรมเมอร์ไทย

เขา้ ถึง : https://course.digitalskill.org/

CodingThailand

CodingThailand.org เป็น Online Knowledge Community
ชุมชนแห่งการเรียนรู้และพัฒนาทักษะสาหรับเยาวชน ที่
สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา โดยผสมผสานระหวา่ งความรู้
และส่ือเพ่ือความบันเทิง เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด
ความสนใจในตัวบทเรียนโดยไม่เกิดการเบ่ือหน่ายด้วยการ
ส ร้ า ง เ น้ื อ ห า ข อ ง บ ท เ รี ย น ท า ง ด้ า น ก า ร เ ขี ย น โ ป ร แ ก ร ม
คอมพิวเตอร์

เข้าถงึ : https://www.codingthailand.org

224

มหาวิทยาลยั ไซเบอรไ์ ทย

ศูนย์กลางการศึกษาผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ครอบคลุมการศึกษาในทุกระบบ ท้ังการศึกษาในระบบ
โรงเรียน (Formal Education) การศึกษานอกระบบ
โรงเรียน (Non Formal Education) และการศึกษาตาม
อัธยาศัย (In-Formal Education) ท่ีประชาชนทุกคน
สามารถเขา้ มาศกึ ษาหาความรไู้ ด้

เข้าถงึ : https://www.thaicyberu.go.th

Skooldio

สคูลดิโอ เราเชื่อในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ด้วยบทเรียนผ่าน
ห้องเรียนจริงและห้องเรียนออนไลน์ เรามุ่งมั่นท่ีจะช่วยให้
ทุกคนมีความเช่ียวชาญในทักษะสมัยใหม่ที่กาลังเป็นท่ี
ต้องการสูงสุดในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการเขียนโปรแกรม
วิทยาศาสตร์ข้อมูล กระบวนการคิดเชิงออกแบบ หรือการ
ทาธุรกิจดิจิทัล และช่วยองค์กรต่างๆสร้างทีมงานท่ีมีความ
พรอ้ มท่ีจะนาองค์กรไปสู่ความเปน็ ผู้นาในกลุ่มธรุ กจิ ของตน

เข้าถึง : https://www.skooldio.com

CHULA MOOC

เพราะเราเชือ่ ว่าทุกคนมสี ิทธ์ิทีจ่ ะเรียนรู้ และควรจะได้
เรยี นรู้ตลอดชวี ิต มารว่ มกนั ฝึกทักษะทางความคิด
ความสามารถและสตปิ ญั ญาเพอื่ พฒั นาศักยภาพของ
ตนเอง

เข้าถึง : https://mooc.chula.ac.th/

225

สานักงานพฒั นาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

องค์กรเพ่ือพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการทาธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศให้เป็นไปตามความต้องการ
โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศท่ีเอ้ือต่อการทาธุรกรรมทาง
อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ แ ล ะ ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร เ กี่ ย ว กั บ ธุ ร ก ร ร ม ท า ง
อิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนการมีมาตรฐานเทคโนโลยี
สารสนเทศ และการสื่อสารท่ีมีความมั่นคงปลอดภัยและ
นา่ เชอ่ื ถอื ดังนัน้ เพือ่ ให้การดาเนินการบรรลุผล

เขา้ ถงึ : https://www.etda.or.th/documents-
for-download.html

สานกั งานคณะกรรมการดจิ ิทลั เพอื่ เศรษฐกจิ และ
สงั คมแหง่ ชาติ

ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลอย่างยั่งยืนเพื่อยกระดับ
คุณภาพชีวิตของประชาชน และเพ่ิมขีดความสามารถในการ
แข่งขันในเวทีประชาคมโลก ส่งเสริมให้เกิดสภาพแวดล้อมที่
เอ้ือต่อการสร้างสรรค์นวัตกรรม และการใช้ประโยชน์จาก
เทคโนโลยีดิจิทัล ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม

เข้าถึง : https://www.onde.go.th/view/1/E-
BOOK/TH-TH

Skilllan

Skilllane คือสถาบันออนไลน์ที่มุ่งเน้นในการพัฒนาและดึง
ศักยภาพของคนทางานออกมาอย่างเต็มท่ี เว็บไซต์นี้จะรวบรวม
ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขามาสอนในรูปแบบของวิดีโอ ทาให้ทุก
คนสามารถเรียนรู้และพัฒนาทักษะได้อย่างสะดวก ไม่ว่าท่ีไหน
และเม่ือไร

เขา้ ถึง : https://www.skilllane.com



227

ภำคผน ก ค
เฉลยแบบประเมนิ กำรเข้ำใจ



229

กระดาษเฉลยคาตอบชุดทดสอบสมรรถนะการเขา้ ใจดจิ ทิ ัล

ข้อ ก ข ค ง ขอ้ ก ข ค ง

1  11 

2 12 

3  13 

4  14 

5 15 

6 16 

7 17 

8 18 

9  19 

10  20 

เกณฑ์คะแนนแบ่งเปน็ 4 ระดับ: ปรบั ปรุง = ไดค้ ะแนนนอ้ ยกวา่ หรือเทา่ กับร้อยละ 50
ปานกลาง = ได้คะแนนรอ้ ยละ 51-70
ดี = ได้คะแนนร้อยละ 71-90
ดีมาก = ไดค้ ะแนนมากกวา่ ร้อยละ 90


Click to View FlipBook Version