หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดาเนนิ ชวี ติ
รายวิชา ทช33ห09น8ังสกญัอื เชรายี แนลสะากรัญะชทงกั ศษกึ ษะกาาเรพด่ือาใชเนเ้ ปนิ ็นชยีวาติ อยา่ งชาญฉลาด
รายวชิ า ทช33098หกนัญงั สชรือะาเดรแียบัลนมะสธักายญั รมะชศทกึงักศษษกึาะตษกอาานรเปดพาลอ่ืเานใยินชช้เปีวติ็นยาอยา่ งชาญฉลาด
รายวิชา ทช33098 กรญั ะรชะดดาับแับมลมธัะธั ยกยัญมมศศชกึึกงศษษกึาาษตตอาอนเนพปปอื่ลลใาชยา้เยป็นยาอยา่ งชาญฉลาด
สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กรงุ เทพมหานคร
สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สานักงานสง่ สเสารนิมกั กงาารนศปกึ ลษดั ากนรอะกทรระวบงบศแกึ ลษะากธาิกราศรกึ กษราะตทารมวองธัศยกึ าษศายั ธกิกราุงรเทพมหานคร
สานักงานส่งสเาสนรกั ิมงกานารสศ่งเกึ สษรมิานกาอรกศรึกะษบาบนอแกลระะกบาบรแศลกึ ะษการตศากึมษอาธั ตยาามศอยัธกยารศงุ ยัเทพมหานคร
สานกั งสาานนสกั ง่ งเาสนรปมิ ลกัดากรรศะึกทษรวางนศอกึ กษราะธบกิ บารแกลระะกทารรวศงึกศษึกษาาตธาิกมาอรัธยาศัย
สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร
รหานยังวสชิ ือาเรทยี ชนส3า3ร0ะ9ท8ักษกะญักาชรดา�ำแเลนะนิ กชัญีวิตชงศึกษา
เพ่อื ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
จดั ทำ�โดย
ส�ำ นักงาน กศน. กทม.
161/10 ซอยอรณุ อมรนิ ทร์ 15 ถนนอรุณอมรินทร์
แขวงบ้านชา่ งหลอ่ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700
02-866-2830 ถึง 33 02-866-2839
[email protected]
พิมพ์ท ่ี : บริษทั เอกพิมพไ์ ท จ�ำ กดั
9แข4-ว9ง8ศาหลมาู่ธ1ร0รมซสอพยนบ ์ร มเขรตาทชชววีนัฒนนี 1า1 7กถรุงนเนทบพรฯม1รา0ช1ช7น0นี
02-8888-152 02-8888-121
[email protected]
www.akepimthai.com
2
ค�ำคนำนำ�ำ
หนังสือเรียนสาระทักษะการดาเนินชีวิต ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยา
อย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดทาข้ึนเพ่ือให้ผู้เรียนหลักสูตรรายวิชาน้ี ใช้เป็นสื่อ
เอกสารในการศึกษาค้นคว้า และครูผู้สอนใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ ขณะพบกลุ่มจัดประสบการณ์
การเรียนรูใ้ หก้ ับผเู้ รียน สง่ ผลให้ผ้เู รียนมีความรู้ และเจตคติท่ีถกู ตอ้ งในการใช้กัญชาและกัญชงเปน็ ยา
ในการรักษา หรือควบคุมอาการของผู้ป่วยในครอบครัว รวมทั้งผู้ป่วยอ่ืน ๆ ที่ต้องการคาแนะนา
ท่ีถูกต้อง นอกจากน้ียังส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคิดวิเคราะห์
อันเป็นคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ที่สถานศึกษาต้องการให้เกิดข้ึนกับผู้เรียนส่วนผู้ท่ีสนใจศึกษาความรู้
เกี่ยวกับกัญชาและกัญชง ก็สามารถศึกษาเรียนรู้หนังสือเรียนฉบับนี้ได้ เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและ
ปัญญาในการใช้กัญชาและกัญชงเป็นยาอย่างรู้คุณค่าและชาญฉลาด ตลอดจนใช้เป็นเอ กส าร
ทางวชิ าการเพอ่ื การอา้ งอิงทเ่ี กีย่ วข้องกบั กญั ชาและกัญชงไดอ้ ีกดว้ ย
เอกสารหนังสือเรียนเล่มน้ีประกอบด้วย คาแนะนาการใช้หนังสือเรียน โครงสร้างรายวิชา
มเี นือ้ หาจานวน 7 บท ได้แก่ (1) เหตใุ ดตอ้ งเรียนรู้กญั ชาและกัญชง (2) กัญชาและกญั ชงพชื ยาที่ควรรู้
(3) รู้จักโทษและประโยชน์ของกัญชาและกัญชง (4) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชง
(5) กัญชาและกัญชงกับการแพทย์ทางเลือก (6) กัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปัจจุบัน และ
(7) ใชก้ ญั ชาและกญั ชงเป็นยาอยา่ งรคู้ ุณค่าและชาญฉลาด
ความสาเร็จของเอกสารหนังสือเรียนเล่มน้ีเกิดขึ้นจากวิทยากรพัฒนาหลักสูตร รายวิชา
ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ได้
ออกแบบหนังสือเรียน ให้ความรู้ในการจัดทาหนังสือเรียน การตรวจสอบคุณภาพของเอกสารหนังสือเรียน
ซ่ึงประกอบด้วย รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี ศรีสังข์ ผู้เช่ียวชาญด้านการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ข้าราชการบานาญ และนายสังคม โทปุรินทร์
ผู้เช่ียวชาญด้านการบริหารสถานศึกษา ผู้อานวยการสถานศึกษาเช่ียวชาญ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 ข้าราชการบานาญ และคณะผู้จัดทา ประกอบด้วย ผู้บริหาร และครู
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางรัก เขตบางกอกใหญ่ เขตราษฎร์บูรณะ
เขตบางบอน เขตจอมทอง เขตคลองสามวา และเขตประเวศ สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ท่ีร่วมมือร่วมใจกันจัดทาหนังสือเรียน
จนสาเร็จ ขอขอบพระคุณ และขอขอบคณุ ทกุ ทา่ นเปน็ อย่างสงู
(นายปรเมศวร์ ศริ ิรตั น์)
ผู้อานวยการสานกั งาน กศน.กทม.
สารบญั
หนา้
คำ�แนะน�ำ การใชห้ นังสอื เรยี น................................................................................................................1
โครงสรา้ งรายวิชา.................................................................................................................................3
สรปุ สาระสำ�คญั ......................................................................................................................3
ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง........................................................................................................ 24
ขอบข่ายเนอ้ื หา.................................................................................................................... 24
สื่อประกอบการเรยี น........................................................................................................... 26
บทท่ี 1 เหตใุ ดตอ้ งเรียนรูก้ ญั ชาและกญั ชง.................................................................................... 27
สาระส�ำ คญั .......................................................................................................................... 27
ผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวงั ........................................................................................................ 29
ขอบข่ายเนือ้ หา.................................................................................................................... 30
ส่ือประกอบการเรียน........................................................................................................... 30
เรอ่ื งที่ 1 มุมมองกฎหมายการใชก้ ัญชาและกญั ชงในประเทศไทยและตา่ งประเทศ............. 30
เรอ่ื งที่ 2 มมุ มองการใช้กัญชาและกัญชงของประชาชนทวั่ ไป.............................................. 37
เรือ่ งที่ 3 สภาพการณข์ อ้ มูลทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั กัญชาและกญั ชงผ่านส่ือออนไลน.์...................... 40
เร่ืองที่ 4 สภาพการณก์ ารใช้กญั ชาและกญั ชงในตา่ งประเทศ.............................................. 45
เรอ่ื งท่ี 5 สภาพการณก์ ารใชก้ ัญชาและกญั ชงในประเทศไทย.............................................. 46
เร่อื งท่ี 6 มุมมองการใช้กญั ชาและกญั ชงของบุคลากรทางการแพทย.์.................................. 47
เรอ่ื งที่ 7 มุมมองการใช้กัญชาและกญั ชงของผูป้ ว่ ย.............................................................. 50
เรื่องที่ 8 สภาพการณแ์ ละข้นั ตอนการให้บริการคลินกิ กญั ชาในประเทศไทย...................... 52
กจิ กรรมทา้ ยบท................................................................................................................... 63
บทที่ 2 กญั ชาและกญั ชงพืชยาท่ีควรร.ู้.......................................................................................... 67
สาระส�ำ คญั .......................................................................................................................... 67
ผลการเรียนรูท้ คี่ าดหวงั ........................................................................................................ 69
ขอบข่ายเนื้อหา.................................................................................................................... 70
สื่อประกอบการเรยี น........................................................................................................... 70
เรอ่ื งที่ 1 ประวัติความเปน็ มาของพืชกัญชาและกัญชง........................................................ 70
เรอ่ื งท่ี 2 ความรเู้ บอื้ งต้นเก่ียวกบั พชื กัญชาและกญั ชง......................................................... 73
เร่อื งที่ 3 พชื กญั ชาและกัญชงคืออะไร แตกต่างกันอย่างไร.................................................. 87
เร่อื งท่ี 4 การใช้พชื กัญชาและกัญชงในชวี ติ ประจำ�วันของคนในโลก.................................... 88
กิจกรรมทา้ ยบท................................................................................................................... 97
สารบัญ (ตอ่ )
หนา้
บทท่ี 3 รู้จกั โทษและประโยชนข์ องกญั ชาและกญั ชง.................................................................. 101
สาระส�ำ คญั ....................................................................................................................... 101
ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวัง.................................................................................................... 102
ขอบขา่ ยเน้อื หา................................................................................................................. 102
ส่อื ประกอบการเรยี น........................................................................................................ 102
เรอ่ื งที่ 1 โทษของกญั ชาและกัญชง................................................................................... 103
เรอ่ื งท่ี 2 ประโยชนข์ องกญั ชาและกัญชงทางการแพทย.์ .................................................. 109
กจิ กรรมทา้ ยบท................................................................................................................ 112
บทที่ 4 กฎหมายที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชา....................................................................... 115
สาระส�ำ คัญ....................................................................................................................... 115
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั .................................................................................................... 121
ขอบขา่ ยเนอ้ื หา................................................................................................................. 122
ส่อื ประกอบการเรียน........................................................................................................ 122
เรื่องท่ี 1 พระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. 2522..................................................... 123
เรื่องท่ี 2 พระราชบัญญตั วิ ตั ถุออกฤทธิ์ต่อจติ และประสาท พ.ศ. 2559............................ 124
เรอ่ื งที่ 3 พระราชบญั ญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2562................................... 127
เรือ่ งที่ 4 ประกาศกระทรวงสาธารณสุขท่ีเกย่ี วข้องกับกญั ชาและกัญชง........................... 131
เรอ่ื งที่ 5 ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ............................................... 135
เรื่องท่ี 6 พระราชบัญญัติสทิ ธิบัตรกับกัญชาและกญั ชง.................................................... 139
เรอ่ื งท่ี 7 ขอ้ ปฏบิ ตั ิท่ีตอ้ งทำ�ตามกฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ งกับกญั ชาและกญั ชง........................ 145
เรอ่ื งที่ 8 โทษของการฝา่ ฝืนกฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั กัญชาและกัญชง............................... 148
เรอ่ื งที่ 9 กฎหมายระหวา่ งประเทศเกีย่ วกับกัญชาและกัญชง........................................... 153
กจิ กรรมทา้ ยบท................................................................................................................ 156
บทท่ี 5 กัญชาและกญั ชงกบั การแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก.................................. 159
สาระสำ�คญั ....................................................................................................................... 159
ผลการเรยี นรูท้ ่คี าดหวัง.................................................................................................... 160
ขอบขา่ ยเนอ้ื หา................................................................................................................. 160
ส่อื ประกอบการเรยี น........................................................................................................ 161
เรื่องที่ 1 ประวัติความเป็นมาการใชก้ ญั ชาเปน็ ยาทางการแพทย์ในตา่ งประเทศ............... 161
เรื่องท่ี 2 ประวัตคิ วามเปน็ มาการใชก้ ญั ชาในการแพทยท์ างเลอื กของไทย....................... 162
สารบญั (ตอ่ )
หนา้
เรอื่ งที่ 3 ตำ�รบั ยาที่มีกญั ชาเป็นสว่ นประกอบท่ีได้มีการคัดเลือกและรบั รองโดย
กระทรวงสาธารณสุข........................................................................................ 177
เรอ่ื งที่ 4 ภูมิภเู บศรรวบรวมและเผยแพร่ภมู ิปัญญาไทย.................................................. 206
เรื่องท่ี 5 ภูมปิ ัญญาหมอพน้ื บ้าน นายเดชา ศิริภทั ร........................................................ 213
กจิ กรรมทา้ ยบท................................................................................................................ 216
บทท่ี 6 กัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปจั จบุ ัน................................................................... 219
สาระส�ำ คญั ....................................................................................................................... 219
ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง.................................................................................................... 222
ขอบขา่ ยเนื้อหา................................................................................................................. 222
สื่อประกอบการเรียน........................................................................................................ 223
เรอ่ื งท่ี 1 ประวตั ิการใช้กัญชาและกัญชงทางการแพทย์แผนปจั จุบัน................................ 223
เรื่องที่ 2 กัญชาและกัญชงที่ช่วยบรรเทาโรคแผนปจั จุบนั ................................................. 226
เรื่องท่ี 3 การใช้นำ�้ มนั กญั ชาและกัญชงกบั การแพทยแ์ ผนปัจจุบัน................................... 232
เรื่องที่ 4 ผลิตภัณฑก์ ัญชาและกัญชงทางการแพทย.์ ........................................................ 236
เรอ่ื งที่ 5 การใช้ผลติ ภณั ฑ์กญั ชาและกญั ชงให้ได้ประโยชน์ทางการแพทยใ์ นปัจจบุ นั ....... 241
เรอ่ื งท่ี 6 การใชผ้ ลิตภณั ฑ์กญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์น่าจะไดป้ ระโยชนใ์ นการ
ควบคมุ อาการ................................................................................................... 243
กจิ กรรมทา้ ยบท................................................................................................................ 244
บทที่ 7 ใชก้ ัญชาและกญั ชงเปน็ ยาอยา่ งรคู้ ุณค่าและชาญฉลาด................................................. 249
สาระสำ�คัญ....................................................................................................................... 249
ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวงั .................................................................................................... 252
ขอบขา่ ยเนื้อหา................................................................................................................. 252
สอ่ื ประกอบการเรียน........................................................................................................ 252
เรอ่ื งท่ี 1 ความเช่ือและความจรงิ เกยี่ วกับกัญชาและกัญชงทางการแพทย.์....................... 253
เรอ่ื งท่ี 2 การใช้ผลิตภณั ฑก์ ญั ชาและกัญชงทางการแพทยใ์ นอนาคตใหไ้ ดป้ ระโยชน.์....... 260
เรอ่ื งที่ 3 ขอ้ แนะน�ำ ก่อนตัดสนิ ใจใชผ้ ลิตภณั ฑก์ ัญชาและกัญชงทางการแพทย.์................ 261
เรอ่ื งที่ 4 การวางแผนการรักษาด้วยผลิตภัณฑก์ ัญชาและกัญชง....................................... 262
เรอ่ื งท่ี 5 การเร่มิ ใช้ผลติ ภณั ฑ์กญั ชาและกัญชงในทางการแพทย.์..................................... 263
เรอ่ื งที่ 6 ขอ้ ห้ามใชผ้ ลติ ภัณฑ์ทีม่ ีสาร THC และ CBD เปน็ สว่ นประกอบ......................... 266
เรื่องท่ี 7 ข้อควรระวังเกยี่ วกับการใชผ้ ลติ ภณั ฑ์กญั ชาและกัญชง...................................... 266
สารบัญ (ต่อ)
หนา้
เรอ่ื งที่ 8 ขอ้ ห้ามในการใชก้ ญั ชาและกัญชง...................................................................... 275
เร่ืองที่ 9 การถอนพษิ เบอ้ื งต้นจากการเมากญั ชาและกญั ชง............................................. 275
กจิ กรรมทา้ ยบท................................................................................................................ 277
บรรณานุกรม................................................................................................................................... 281
ภาคผนวก........................................................................................................................................ 297
ก นยิ ามศพั ท.์..................................................................................................................... 298
ข เฉลยกจิ กรรมท้ายบท..................................................................................................... 300
ค การอนุมัตใิ ช้หนงั สอื เรียน............................................................................................... 306
ง รายชื่อคณะท�ำ งานจดั ท�ำ ส่ือหนงั สือเรียน........................................................................ 308
สารบญั ภาพ
ภาพที่ หนา้
1 ข่าวใช้นำ้� มันกญั ชา “หยอดแล้วตาย” ทางอินเทอรเ์ น็ต........................................................41
2 ข่าวหมอพ้ืนบา้ นกบั ราชกิจจานเุ บกษา ทีร่ ับรองหมอพ้ืนบ้าน จาก Facebook....................42
3 ข่าวการระดมความคิดเตรยี มปลกู กญั ชา จาก Line..............................................................43
4 ข่าวทเี่ กี่ยวข้องกบั กัญชาทาง Youtube................................................................................44
5 โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภูเบศร........................................................................................55
6 ปา้ ยชอ่ื โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภเู บศร............................................................................55
7 ป้ายชอื่ คลินิกกญั ชาทางการแพทย.์.......................................................................................55
8 แพทย์ผ้เู ชี่ยวชาญ..................................................................................................................56
9 แพทย์ให้ค�ำปรกึ ษาคนไข.้......................................................................................................56
10 คณะแพทย์และเภสชั กรผใู้ หก้ ารรักษา..................................................................................56
11 ผู้ป่วยที่เข้ารับการรกั ษา........................................................................................................56
12 ตัวอย่างหนังสือส�ำคญั ผลิต ซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 5..............................................57
13 ตัวอย่างหนังสอื ส�ำคญั จ�ำหนา่ ยซึ่งยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5........................................58
14 ต�ำรบั ยากญั ชาแผนปจั จบุ ัน ยาน�้ำมนั หยดใต้ลิน้ ....................................................................59
15 ผลติ ภัณฑน์ ำ้� มันกัญชา โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภูเบศร...................................................59
16 ขั้นตอนการให้บริการคลินิกกัญชา........................................................................................61
17 พชื กญั ชา (Cannabis sativa L.)..........................................................................................74
18 การจ�ำแนกกัญชาออกเป็น 3 ชนดิ ย่อย ตามถ่ินก�ำเนิดและลักษณะทางกายภาพ.................76
19 ภาพแสดงถ่ินก�ำเนดิ ..............................................................................................................79
20 ต้นตัวผ.ู้.................................................................................................................................79
21 ตน้ ตัวเมยี ..............................................................................................................................80
22 ต้นกะเทย..............................................................................................................................80
23 ชอ่ ดอกของกัญชาเพศเมยี เมอื่ สอ่ งดว้ ยกล้องขยายจะเหน็ ไทรโครมอยู่บนชอ่ ดอก................83
24 ภาพแสดงชวี ะสังเคราะหข์ องสารคานาบินอยด.์ ...................................................................84
25 ดอกกัญชาแหง้ ......................................................................................................................89
26 Crystalline..........................................................................................................................90
27 Distillate..............................................................................................................................90
28 Live Resin...........................................................................................................................90
29 Shatter.................................................................................................................................91
30 Budder................................................................................................................................91
31 Snap.....................................................................................................................................91
32 Honeycomb.......................................................................................................................92
สารบัญภาพ (ตอ่ )
ภาพที่ หน้า
33 Crumble.............................................................................................................................. 92.
34 Sap....................................................................................................................................... 92.
35 PHO...................................................................................................................................... 93.
36 Hash oil............................................................................................................................... 93.
37 Charas.................................................................................................................................. 93.
38 อาหารท่มี สี ่วนผสมสารกัญชา............................................................................................... 94.
39 Hemp seed oil.................................................................................................................. 95.
40 ความหมายของยาเสพตดิ ................................................................................................... 123
41 พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธ์ติ ่อจติ และประสาท พ.ศ. 2559............................................. 125.
42 ประเภทของวตั ถุออกฤทธติ์ อ่ จติ ประสาท............................................................................ 126.
43 กัญชายังคงเปน็ ยาเสพตดิ .................................................................................................... 127.
44 ใครปลกู กญั ชาได้บ้าง.......................................................................................................... 129.
45 ก�ำหนดต�ำรับกัญชาท่ีใหเ้ สพเพ่อื รักษาโรคได.้...................................................................... 131
46 ผู้ประกอบวิชาชีพแผนไทยทส่ี ามารถปรงุ หรอื สัง่ จา่ ยต�ำรบั ยาท่ีมีกัญชาผสมอยไู่ ด.้............. 132
47 เง่ือนไขการยกเลิก กัญชาและกัญชง ออกจากยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 5..................... 134
48 ลกั ษณะกัญชง..................................................................................................................... 137
49 ความหมายของสทิ ธิบตั ร..................................................................................................... 140.
50 ความหมายของสิทธิบัตรการประดิษฐ.์ ............................................................................... 141.
51 ขัน้ ตอนการด�ำเนินการขอรับสิทธบิ ตั ร................................................................................. 142.
52 ตัวอย่างสิทธิบตั รการประดษิ ฐ.์ ........................................................................................... 143
53 ค�ำขอสิทธบิ ตั รกญั ชา ที่กรมทรพั ยส์ ินทางปญั ญายงั ไมย่ กเลิก............................................. 144.
54 โทษของการโพสตภ์ าพ หรือ ขอ้ ความ เพ่ือโฆษณายาเสพตดิ ............................................. 145.
55 นโยบายการแกไ้ ขปัญหายาเสพติดแนวใหม.่ ....................................................................... 147.
56 บทลงโทษการฝา่ ฝนื กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั กัญชา............................................................. 149.
57 บดิ เบอื นฉลากอาหาร ฉลากยา มีความผดิ .......................................................................... 150.
58 ชดุ ต�ำราภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยฉบับอนุรักษค์ ัมภีร์ธาตุพระนารายณ์
ฉบับใบลาน (ต�ำราพระโอสถพระนารายณ)์ ......................................................................... 163.
59 ต�ำรบั ยาท่อี ย่ใู นแผ่นศิลาวดั พระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม...................................................... 167.
60 จารึกต�ำรายา วดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร....................................................................... 172.
61 จารึกแผน่ สญู หาย แผน่ ท่ี 4................................................................................................. 173
สารบญั ภาพ (ต่อ)
ภาพท่ี หน้า
62 ต�ำราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รชั กาลที่ 5................................................................................ 175
63 คัมภีรป์ ฐมจนิ ดา.................................................................................................................. 175
64 คมั ภีรม์ หาโชตรัต..................................................................................................................176
65 คัมภีร์ชวดาร........................................................................................................................176
66 คัมภรี ก์ ระษยั ........................................................................................................................177
67 กระทรวงสาธารณสุข...........................................................................................................178
68 ตวั อยา่ งบรรจภุ ัณฑต์ �ำรับยาศขุ ไสยาศน.์..............................................................................204
69 ต�ำรบั ยาแผนไทยที่มีกญั ชาเป็นส่วนผสม จ�ำนวน 16 ต�ำรับ (ภาพท่ี 1)................................205
70 ต�ำรับยาแผนไทยท่ีมกี ัญชาเปน็ สว่ นผสม จ�ำนวน 16 ต�ำรบั (ภาพที่ 2)................................205
71 ภมู ภิ เู บศร.............................................................................................................................207
72 เรอื นหมอพลอย ภูมิภเู บศร..................................................................................................207
73 สวนสมนุ ไพรและภมู ปิ ัญญาสขุ ภาพ สร้างความรอบรู้สขุ ภาพดว้ ยแพทย์แผนไทย...............208
74 สมุนไพรและภูมปิ ัญญาสขุ ภาพ สร้างความรอบร้สู ขุ ภาพดว้ ยแพทย์แผนไทย......................209
75 โครงการปลูกกัญชาเพอื่ ใช้ประโยชนท์ างการแพทยโ์ ดยระบบปิด........................................213
76 ภมู ิปญั ญานายเดชา ศริ ภิ ัทร.................................................................................................214
77 ตวั อยา่ งน�ำ้ มนั กัญชา โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภเู บศร.....................................................233
78 นำ้� มันกัญชาทง้ั 3 สตู รขององค์การเภสัชกรรม (GPO).........................................................234
79 โดรนาบินอล (Dronabonol)...............................................................................................237
80 นาบโิ ลน (Nabilone)...........................................................................................................237
81 ซาตเิ วกซ์ (Satavex)............................................................................................................238
82 เอพดิ โิ อเลก็ ซ์ (Epidiolex)...................................................................................................239
83 นำ้� มันกญั ชาในรปู แบบคุกกีส้ �ำหรบั สนุ ขั ...............................................................................240
84 นำ�้ มันกัญชาส�ำหรบั รกั ษาสตั ว.์.............................................................................................240
คคำ�ำแแนนะะนนำ�ำกำกราใชรห้ใชนัง้หสนอื เังรสียนือเรียน
กกกกกกกหนงั สือเรยี นสาระทักษะการดาเนินชีวติ รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพื่อใช้
เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นสื่อเอกสารการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน
ที่ลงทะเบียนเรียนหลักสูตรรายวิชานี้ ใช้ศึกษาค้นคว้านาข้อมูลที่ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน
ผู้เรียน และครูผู้สอนขณะมาพบกลุ่ม นอกจากนี้ผู้ท่ีสนใจต้องการศึกษาค้นคว้าความรู้ที่เกี่ยวข้อง
กับการใช้กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ ก็สามารถใช้เป็นเอกสารอ้างอิงทางวิชาการได้อีกด้วย
ส่วนผู้เรียนต้องปฏิบัติตามข้ันตอนท่ีกาหนดไว้ในคาแนะนาการใช้หนังสือเรียน เพ่ือให้มีความรู้ และ
เจตคติที่ถูกต้องในการใช้กัญชาและกัญชงทางการการแพทย์ สามารถนาไปใช้เป็นประโยชน์ในชีวิต
จริง ได้แก่ ใช้กับตนเอง การให้คาแนะนาแก่บุคคลอ่ืน ๆ รวมท้ังผู้ท่ีประสงค์ที่จะใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา
และกัญชงรักษาโรคที่บุคคลเหลา่ น้ันเป็นอยูไ่ ด้อย่างถูกต้อง ส่งผลให้ผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้
ของหลกั สตู รน้ไี ด้
กกกกกกก1. ขนั้ ตอนการใช้หนังสือเรียน มี 2 ข้ันตอน ดงั นี้
กกกกกกกกกขั้นตอนท่ี 1 ให้ผู้เรียนศึกษาหัวข้อโครงสร้างรายวิชา ประกอบด้วย สรุปสาระสาคัญ
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ขอบข่ายเนื้อหา และสื่อประกอบการเรียน ให้เข้าใจก่อนที่ จะศึกษา
รายละเอยี ดเนอื้ หาของหนงั สือเรียน จานวน 7 บทเรียน ในลาดับถัดไป
กกกกกกกกกข้ันตอนที่ 2 ให้ผู้เรียนศึกษารายละเอียดของเนื้อหาในแต่ละบท โดยมีแนวปฏิบัติ
จานวน 7 ข้อ ดงั ต่อไปนี้
กกกกกกกกก ข้อ 1 ศึกษาสาระสาคญั ของบทที่นัน้ ๆ กอ่ นเปน็ ลาดับแรก
กกกกกกกกก ขอ้ 2 ศกึ ษาผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวังที่ต้องการให้เกิดข้ึนกับผู้เรียนในลาดับต่อมา
กกกกกกกกก ข้อ 3 ศึกษาขอบข่ายของเน้ือหาของบทท่ีน้ัน ๆ ว่ามีเนื้อหาจานวนเรื่องเท่าใด เพื่อให้
เหน็ ภาพรวมของเนอื้ หาของบทนั้น ๆ กอ่ น จะทาใหก้ ารเรยี นรูใ้ นภาพรวมมคี วามชดั เจนมากยงิ่ ขึ้น
กกกกกกกกก ข้อ 4 ศึกษาส่ือประกอบการเรียนของเนื้อหาบทท่ีนั้น ๆ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนที่ต้องการ
ศึกษาค้นควา้ เพม่ิ เตมิ ได้กวา้ งขวางและล่มุ ลึกมากขนึ้
กกกกกกกกก ข้อ 5 ศึกษารายละเอียดของเร่ืองในเน้ือหาบทที่น้ัน ๆ ให้เข้าใจอย่างชัดเจน ก่อนที่
จะทากิจกรรมท้ายบทของทุกบท ทง้ั 7 บท
กกกกกกกกก ข้อ 6 เม่ือปฏิบัติกิจกรรมท้ายบททุกกิจกรรมเสร็จส้ินแลว้ ให้ผู้เรียนตรวจสอบคาตอบ
กิจกรรมท้ายบทในภาคผนวก ข. ของหนังสือเรียนเล่มนี้ หากผู้เรียนตรวจสอบคาตอบของเฉลย
กจิ กรรมทา้ ยบทแล้ว พบว่า ไมถ่ ูกตอ้ ง ใหผ้ ูเ้ รยี นกลับไปอ่านทบทวนเน้ือหาเร่ืองนั้น ๆ ของบทที่ศึกษา
ใหม่อีกคร้ังหนึ่ง แล้วจึงมาฝึกปฏิบัติทากิจกรรมข้อนั้น ๆ ซ้าใหม่อีกรอบหนึ่ง เพ่ือความเข้าใจอย่าง
ชดั เจนในเน้อื หาของเรื่องนัน้ ๆ กอ่ นทีจ่ ะไปศึกษาในบททต่ี อ่ ไป
2
กกกกกกกกก ข้อ 7 ผู้เรียนสามารถนาผลของการฝึกปฏิบัติกิจกรรมท้ายบทไปพูดคุยแลกเปลี่ยนกับ
เพ่ือนผเู้ รยี น หรือกับครูผสู้ อนหลักสูตรรายวิชาน้ีขณะพบกลมุ่ เพอ่ื ช่วยเสริมความรู้ ความเข้าใจ ให้กับ
ผู้เรียนได้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา
เพื่อใชเ้ ป็นยาอยา่ งชาญฉลาด ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ได้
กกกกกกก2. เน้อื หาของหนังสือเรยี นเล่มนี้ ประกอบด้วย 7 บท ดงั น้ี
กกกกกกกกก บทท่ี 1 เหตใุ ดต้องเรยี นรกู้ ัญชาและกัญชง
กกกกกกกกก บทที่ 2 กญั ชาและกัญชงพชื ยาที่ควรรู้
กกกกกกกกก บทที่ 3 รูจ้ ักโทษและประโยชน์ของกัญชาและกญั ชง
กกกกกกกกก บทท่ี 4 กฎหมายท่ีเกยี่ วข้องกบั กญั ชาและกัญชง
กกกกกกกกก บทท่ี 5 กัญชาและกัญชงกบั การแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก
กกกกกกกกก บทท่ี 6 กัญชาและกัญชงกับการแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั
กกกกกกกกก บทท่ี 7 ใช้กญั ชาและกญั ชงเปน็ ยาอย่างรู้คุณคา่ และชาญฉลาด
2 หนงั สือเรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ติ เพื่อใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา
3
โครโงคสรรง้าสงร้ารงารยาวยวชิ ิชาา
สรุปสารสะสรปุาคสญั าระสำ�คัญ
บทที่ 1 เหตุใดตอ้ งเรยี นรกู้ ญั ชาและกัญชง
กกกกกกก1. 1. มุมมองกฎหมายการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ
กฎหมายที่เก่ียวขอ้ งกบั การใชก้ ัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ
เพื่อเปิดโอกาสให้สามารถนากัญชา ไปทาการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์ และ
สามารถนาไปใช้ในการรักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์ได้ ในต่างประเทศ ได้แก่
ประเทศอุรุกวัย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย อิสราเอล และมาเลเซีย
แต่ในบางประเทศ เช่น ประเทศแคนาดา หรือในบางรัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศ
ทางยุโรป เปน็ ตน้ มกี ารอนุญาตใหใ้ ชก้ ัญชาเพ่อื การนนั ทนาการได้อีกด้วย
กกกกกกก1. 2. มมุ มองการใชก้ ัญชาและกัญชงของประชาชนทัว่ ไป
2.1 มิติการระบาดของกัญชาและกัญชง
กกกกกกก ในประเทศไทยมีการแพร่กระจายของการนานามันกัญชา มาใช้ในการ
รักษาโรคต่าง ๆ ตามความเช่ือของประชาชน ซึ่งการใช้นามันกัญชาในปัจจุบันโดยส่วนมากเป็นการ
แอบซือมาใช้โดยไม่ทราบแหล่งที่มา และไม่ทราบว่าใช้กัญชาในการผลิตมากน้อยเพียงใด ไม่มีการ
ควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย หลังจากที่ประชาชนนาไปใช้ ทาให้ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้
นามันกัญชา และในต่างประเทศทั่วโลก มุ่งหน้าสู่การทาให้กัญชาเป็นส่ิงถูกกฎหมาย ในรูปแบบใด
รูปแบบหน่ึง ในหลายประเทศพยายามจะก้าวตามให้ทัน ซ่ึงจะเห็นได้หลายแห่งในภูมิภาคลาติน
อเมริกา รัฐบาลอยากให้ชาวไร่ สามารถเข้าถึงการปลูกกัญชาเพื่อการแพทย์มากขึน เพราะได้ผลกาไร
ดี และเปน็ ตลาดที่กาลังเจริญเตบิ โต
2.2 ความเชื่อทีเ่ กีย่ วข้องกับกญั ชาและกัญชงในวถิ ีชวี ิต
ความเชื่อในประเทศไทยและต่างประเทศ มีลักษณะคล้ายคลึงกันในการ
นากัญชามาใช้ในการปรุงอาหารเพื่อเพ่ิมรสชาติ ในขณะที่ประเทศไทยมีความเช่ือว่ากัญชาเป็น
สว่ นผสมของยาพนื บ้านใช้ประโยชน์ทางยาได้ สว่ นในตา่ งประเทศจะใช้นามนั กัญชาเพ่ือรักษาโรคและ
บรรเทาอาการป่วย ผู้ท่ีคิดจะนานามันกัญชาไปใช้จึงควรตระหนักถึงโทษอันตรายท่ีอาจจะเกิด
ขนึ กับตนเอง หรอื ผ้มู สี ่วนเกีย่ วขอ้ งได้
2.3 การสารวจความคิดเหน็ ของประชาชน
จากผลการสารวจเรือ่ ง “คนไทยคิดเหน็ อย่างไร กับการนากญั ชามาใช้เป็น
ยารักษาโรค” พบว่าประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการผลักดันให้มีการนากัญชามาใช้เป็นยารักษา
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพอื่ ใชเ้ ป็นยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ 3
อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
4
โรคในประเทศไทย เรื่อง “กญั ชาประโยชน์หรือโทษ” พบว่าประชาชนสว่ นใหญเ่ ห็นดว้ ย เพราะกัญชา
มีประโยชน์หลายอย่าง สามารถใช้ในการรักษาโรคได้ ถ้านามาใช้ทางการแพทย์คาดว่าจะเกิด
ประโยชน์อย่างมาก และเรื่อง “การอนุญาตให้ใช้กัญชาและกระท่อมในทางการแพทย์” พบว่า
ประชาชนส่วนใหญ่ รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการอนุญาตให้ใช้ประโยชน์จากกัญชาและกระท่อม
ทางการแพทย์ ในพระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562
กกกกกกก1. 3. สภาพการณ์ข้อมลู ที่เกยี่ วขอ้ งกับกัญชาผ่านส่อื ออนไลน์
ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชงผ่านสื่อออนไลน์ มีทังข้อมูลทาง
อนิ เทอร์เน็ต (Internet) เฟซบกุ๊ (Facebook) ไลน์ (Line) และยูทูบ (YouTube) ข้อมูลเหลา่ นี ทาให้
ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย แต่ยังขาดการคิดวิเคราะห์ว่าข้อมูลใดมีความน่าเชื่อถือ จึงควรมีความรู้ในการ
คิดวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลท่ีสืบค้นได้ผ่านส่ือออนไลน์ และตระหนักถึงความสาคัญของการคิด
วเิ คราะห์แยกแยะขอ้ มูลท่ถี ูกต้อง
กกกกกกก1. 4. สภาพการณ์การใช้กญั ชาและกญั ชงในตา่ งประเทศ
การใช้กัญชาและกัญชงในต่างประเทศ ใช้เสรีได้เพื่อนันทนาการ มีอยู่ใน
ประเทศอุรุกวัย แคนาดา สหรัฐอเมริกาเป็นบางรัฐ สเปนใช้ในพืนที่ส่วนตัว เนเธอร์แลนด์ใช้ในร้าน
กาแฟ ในขณะท่ีประเทศอ่ืน ๆ มากกว่า 30 ประเทศ ให้ใช้กัญชาในทางการแพทย์รวมถึงประเทศไทยด้วย
ส่วนการศึกษาและวิจัยเก่ียวกับกัญชาและกัญชง มีในต่างประเทศมานานแล้ว สาหรับประเทศไทยยัง
ไม่มกี ารศึกษาวจิ ยั เนื่องจากกญั ชาและกญั ชงเปน็ ยาเสพตดิ จึงยงั ไมม่ ผี ลการวิจัยมารองรับ
กกกกกกก1. 5. สภาพการณ์การใชก้ ัญชาและกญั ชงในประเทศไทย
กระทรวงสาธารณสุข อนุญาตให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบนั
ในการรักษาโรคภาวะคล่ืนไส้อาเจียนในผู้ป่วยท่ีได้รับยาเคมีบาบัด โรคลมชักที่รักษายากและท่ีดือต่อ
ยารักษา ภาวะกล้ามเนือหดเกร็งในผู้ป่วยปลอกประสาทเสื่อมแข็ง ภาวะปวดประสาทที่รักษาวิธีอ่ืน
ไม่ได้ผล และใหค้ วบคุมอาการของโรคพาร์กินสัน อลั ไซเมอร์ โรควิตกกงั วล โรคปลอกประสาทอักเสบ
และผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ส่วนการแพทย์ทางเลือกได้คัดเลือก และรับรองตารับยาที่มีกัญชา
เปน็ สว่ นประกอบ ใหผ้ ปู้ ่วยใช้ได้โดยอยู่ภายใต้การควบคมุ ดูแลของแพทย์ท่ีได้รับอนญุ าต
กกกกกกก1. 6. มุมมองการใช้กัญชาและกญั ชงของบุคลากรทางการแพทย์
บุคลากรทางการแพทย์ มีความคิดเห็นว่าหากจะใช้กัญชาและกัญชงในทาง
การแพทย์ต้องแจ้งให้ชัดเจน ว่าใช้ได้กับโรคใดท่ีได้ผลชัดเจน มีความปลอดภัยทางวิชาการ คุณภาพ
ของสารสกัดจากกญั ชาและกัญชง ต้องระบวุ ธิ ีการสกัด หรือมีสารปนเป้อื นหรอื ไม่ การเขา้ ถึงอย่างเป็น
ระบบ ทังระยะสันและระยะยาว รวมถึงมีการศึกษาเรื่องความปลอดภัยการใช้ในคนและในมิติต่าง ๆ
เพ่ือให้แน่ใจว่าใช้แล้วไม่เกิดการเสพติด หรือมีการนาไปใช้ในทางที่ผิด ซึ่งในการผลิตยานันไม่ได้
ต้องการเพียงยาที่รักษาโรคเท่านัน แต่ยังต้องการยาท่ีมีความปลอดภัย มีมาตรฐาน และมีคุณภาพ
4 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชีวิต เพอ่ื ใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา
5
แม้กัญชาและกัญชงจะมีสรรพคุณเป็นยาท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยในบางโรค แต่ถ้าใช้กัญชาอย่าง
ไมถ่ ูกตอ้ ง และไมม่ กี ารควบคุมกจ็ ะเป็นอนั ตรายทงั ต่อผใู้ ช้และสังคม
กกกกกก 7. มมุ มองการใช้กัญชาและกัญชงของผู้ปว่ ย
ผู้ป่วยมีความคิดเห็นว่าการใช้กัญชาและกัญชงต้องคานึงถึงความจาเป็นและ
ความต้องการของผู้ป่วย โดยเฉพาะความพึงพอใจท่ีมีต่อการใช้ยา ในการจัดการอาการ เพ่ือบรรเทา
อาการต่าง ๆ ของโรค ถึงแม้ว่าจะเกิดอาการข้างเคียงท่ีเป็นผลลบบ้าง แต่อาการข้างเคียงดังกล่าว
ก็ขึนอยู่กบั ปรมิ าณการใช้ยาที่มีกญั ชาและกัญชงและความแตกต่างของแตล่ ะบุคคล
กกกกกกก 8. สภาพการณ์และขนั ตอนการให้บริการคลินิกกัญชาในประเทศไทย
ประเทศไทยเร่ิมให้บริการคลินิกกัญชาครังแรก เมื่อวันท่ี 24 มิถุนายน
พ.ศ. 2562 ท่ีโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี ต่อมาวันท่ี 17 สิงหาคม
พ.ศ. 2562 เปิดที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา และวันท่ี 2 กันยายน
พ.ศ. 2562 ได้เปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลศูนย์ จานวน 14 แห่ง ตลอดจน
ภายในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการเปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยเพ่ิมเติมในโรงพยาบาลชุมชน
จานวน 12 แหง่ รวมทงั เปิดคลนิ กิ วจิ ยั นามนั กญั ชาตารับหมอเดชา จานวน 22 แห่งอีกด้วย นอกจากนี
วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 กระทรวงสาธารณสุขเปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน
110 แหง่ และคลินิกกัญชาทางการแพทยแ์ ผนไทย 24 แหง่ เพอ่ื เพม่ิ การเข้าถงึ ยากัญชาอย่างปลอดภัย
ของผ้ปู ่วย
บทท่ี 2 กญั ชาและกัญชงพชื ยาท่ีควรรู้
กกกกกกก1. 1. ประวตั ิความเปน็ มาของพืชกัญชาและพชื กัญชง
ประวัติพืชกัญชาในต่างประเทศมีการนามาใช้ตังแต่ 10,000 ปี มาแล้ว นามา
ใช้ในการสูดดมควัน ใช้เส้นใยทาเสือผ้า ทาใบเรือและเชือกในการสร้างเรือ ใช้เป็นส่วนผสมในอาหาร
ใช้ในพิธีกรรมเก่ียวกับศาสนา และการใช้เสพเพ่ือนันทนาการ จนกระทั่งจดสิทธิบัตรรักษาโรค
ทางระบบประสาท สว่ นประเทศไทยใชเ้ ป็นตารบั ยาในการรักษาโรค
กกกกกกก1. 2. ความรู้เบืองต้นเกี่ยวกบั พชื กัญชาและพืชกญั ชง
กกกกกกก 2.1 พฤกษศาสตร์ของพชื กัญชาและพืชกัญชง
พืชกัญชา มีช่ือวิทยาศาสตร์ คือ Cannabis sativa L. เป็นพืชในวงศ์
Cannabaceae มีช่ือสามัญหลากหลายตามแต่ละท้องถ่ิน เป็นไม้ล้มลุกปีเดียว ลาต้นตังตรง
สูงประมาณ 1-5 เมตร ใบเด่ียว มี 3 - 9 แฉก รูปฝ่ามือ เรียงสลับ ดอกแยกเพศผู้และเพศเมีย
อยู่ต่างต้นกัน (Dioecious Species) และมีแบบต้นกะเทย คือ เพศผู้ และเพศเมียในต้นเดียวกัน
(Monoecious Species) ออกดอกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายยอด ช่อดอกเพศเมีย เรียกว่า
“กะหลี่กัญชา” ผลแหง้ เมลด็ ล่อน เล็ก เรียบ สนี าตาล
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่ือใช้เปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ 5
อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
6
กกกกกกก 2.2 ชนดิ (Species) ของพืชกัญชาและพืชกญั ชง
กัญชาและกัญชง นักพฤกษศาสตร์จัดว่าเป็นพืชในสปีชีส์ (Species)
เดียวกัน คือ Cannabis sativa L. ซ่ึงจัดอยู่ในสกุล (Genus) Cannabis และเป็นพืชในวงศ์ (Family)
Cannabaceae แต่ในส่วนขององค์การอนามัยโลก (WHO) ได้แบ่งย่อยเป็น 2 ซับสปีชีส์ (Subspecies)
ได้แก่ Cannabis sativa L. Subsp. sativa (กัญชง, Hemp) ซึ่งมักจะมีปริมาณ THC น้อยกว่ารอ้ ยละ 0.3
ในใบและช่อดอกแห้ง (แต่ในบางครังอาจจะสูงถึงร้อยละ 1) และ Cannabis sativa L. subsp. indica
(กัญชา, Cannabis) ซ่ึงมักจะพบปริมาณ THC มากกว่าร้อยละ 1 ในใบและช่อดอกแห้ง การจาแนก
พืชกัญชาและกัญชง โดยสังเกตจากลักษณะทางสัณฐานวิทยาทาได้ยาก เนื่องจากสาร THC ในกัญชา
เปลี่ยนแปลงได้ง่ายจากปัจจัยด้านส่ิงแวดล้อม นักวิชาการเกษตรด้านการปรับปรุงสายพันธ์ุมักจะจาแนก
กัญชา และกญั ชงออกเป็น 3 สายพันธุ์ ได้แก่ ซาติว่า (Cannabis sativa L.) อินดิก้า (Cannabis
indica Lam.) และรูเดอลาลิส (Cannabis ruderalis Janishch.) ซ่ึงจาแนกตามลักษณะทาง
กายภาพของพชื เช่น ลกั ษณะใบ ความสูง ถิน่ กาเนิดที่พบ เป็นตน้
กกกกกกก 2.3 องค์ประกอบทางเคมี และสาระสาคัญทีพ่ บในพืชกัญชาและพืชกญั ชง
องค์ประกอบทางเคมีท่ีพบในพืชกัญชาและกัญชงมีมากกว่า 500 ชนิด
และมีอยู่หลายกลุ่ม แต่สารท่ีมีความสาคัญทางยา คือ สารในกลุ่มแคนนาบินอยด์ (Cannabinoids/
Phytocannabinoids) พบมากบริเวณยางในไทรโครมของดอกเพศเมียที่ยังไม่ได้รับการผสมพันธุ์
(Resin Glandular Trichomes)
2.3.1 สารสาคญั ท่พี บในพชื กญั ชาและพชื กญั ชง
1) สารแคนนาบิเจอรอล (Cannabigerol, CBG) เป็นอนุพันธ์ของสาร
CBGA เมื่อสาร CBGA ถูกความร้อนจะเปล่ียนสภาพเป็นสาร CBG ดังนัน สาร CBG จึงสามารถตรวจ
พบได้ในพืชกัญชาและกัญชง สาร CBGA เป็นสารต้นกาเนิดของสารทังหมดท่ีพบในพืชกัญชาและกญั ชง
เมื่อพืชโตขึน สาร CBGA นี จะถูกเปลี่ยนเป็น THCA CBDA และสาร อื่น ๆ เมื่อสารถูกความร้อน หรือ
ออกซไิ ดซ์ สาร CBGA THCA และสาร CBDA จะเปลยี่ นสภาพเปน็ สาร CBG สาร THC และสาร CBD
2) สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol,THC)
เป็นสารทีม่ ีฤทธิ์ทาให้มึนเมาออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง (Psychoactive Effect) ปริมาณ
ของ THC ในแต่ละส่วนของพืชมีปริมาณไม่เท่ากัน จะออกฤทธ์ิกระตุ้นประสาททาให้ผู้เสพต่ืนเต้น
ช่างพูด หัวเราะอารมณ์ดี ต่อมาจะกดประสาทมีอาการคล้ายเมาเหล้าอย่างอ่อน ๆ เซื่องซึม
ง่วงนอน และหลอนประสาท โดยขึนอยู่กับปริมาณท่ีได้รับ
3) สารแคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) สารนีไม่มีผลต่อจิต
และประสาท (non-psychoactive) และช่วยลดผลข้างเคียงจาก THC ซึ่งเป็นสารที่มีคุณสมบัติมีขัวต่า
6 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ิต เพือ่ ใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา
7
ละลายไดด้ ใี นนามัน ดังนันการสกดั สาระสาคัญจากกัญชา จึงมกั นยิ มใชต้ ัวทาละลายที่มขี ัวต่า หรอื นามัน
ในการสกดั เพราะจะสามารถละลายเอาสารแคนนาบนิ อยด์ออกมาไดด้ ี
4) สารออกฤทธิ์ท่รี ่วมกับแคนนาบินอยด์ เช่น สารในกลุ่มฟลาโวนอยด์
และเทอรป์ ีน เป็นสารท่ชี ว่ ยเสริมการออกฤทธิ์ทางยาแก่สารกลมุ่ แคนนาบินอยด์
กกกกกกก1. 3. พืชกญั ชาและพืชกญั ชงคืออะไร แตกต่างกนั อย่างไร
กกกกกกก1. 2.3d พืชกัญชาและกัญชงมีชื่อวิทยาศาสตร์เดียวกันคือ Canabis Sativa L.
มีถิ่นกาเนิดมาจากพืชเดิมชนิดเดียวกัน ลักษณะภายนอก หรือสัณฐานวิทยาของพืชทังสองชนิดจึงมี
ความแตกตางกันนอย การแยกโดยสัณฐานวิทยาทาได้ค่อนข้างยาก ปัจจุบันพืชกัญชาและกัญชงแยก
จากกัน โดยตัดสินจากปริมาณสาร THC ซึ่งข้อกาหนดขององค์การอนามัยโลก (WHO) กาหนด
ให้กัญชงมีปริมาณ THC ไม่เกินร้อยละ 0.3 ในใบและช่อดอกแห้ง ส่วนกฎหมายของประเทศไทย
กาหนดให้กัญชงมีปริมาณ THC ไม่เกินร้อยละ 1.0 ในใบและช่อดอกแห้ง
กกกกกกก1. 4. การใช้พืชกัญชาและพืชกัญชงในชีวิตประจาวันของคนในโลก
กกกกกกก1. 2.3d 4.1 ผลิตภัณฑ์พืชกัญชาและกัญชงไม่แปรรูป เช่น ดอกกัญชาแห้ง (Cannabis Dries
Flower) ในประเทศท่ีอนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ ผู้ป่วยจะสามารถนาใบสั่งซือจากแพทย์ไปซือ
กญั ชาแหง้ มาเพื่อใชส้ ูบหรอื ใชเ้ พ่ือการรักษาได้
4.2 ผลิตภัณฑ์พืชกัญชาและกัญชงแปรรูป คือ ผลิตภัณฑ์จากพืชกัญชาและกัญชง
ท่ีแปรรูปเป็นสารสกัดเข้มข้น (Concentrates) ซึ่งมีหลายรูปแบบ และมีช่ือเรียกแตกต่างกันไป
ผลิตภัณฑ์สารสกัดกัญชาจะให้สารแคนนาบินอยด์ที่เข้มข้นกว่าในรูปพืชแห้ง แต่ทังสองรูปแบบ
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ทังทางการแพทย์ และเพ่ือการนันทนาการได้ตามกฎหมายของแต่ละ
ประเทศทม่ี ีการอนุญาตใหใ้ ช้
4.3 การบรโิ ภคและอปุ โภค
กกกกกกกกกกกกกกก มีการใช้พืชกัญชาหรือกัญชงเป็นส่วนประกอบในอุตสาหกรรมอาหาร
บางประเทศ มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาในอาหารซ่ึงจะต้องระบุปริมาณสาร THC และ CBD ให้ชัดเจน
โดยปกติต้องไม่เกิน 10 มิลลิกรัมต่อหน่วยบริโภค แต่ในอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมความงาม
และสุขภาพ รวมไปถึงอุตสาหกรรมสิ่งทอ มีการใช้ประโยชน์อย่างมากมายของกัญชง เช่น การผลิต
เครือ่ งสาอาง นามนั จากเมล็ด ซึง่ มคี ุณคา่ ทางโภชนาการสงู การทาเคร่ืองแต่งกาย เสอื กนั กระสนุ เปน็ ตน้
กกกกกกก1. 2.3d 4.4 การนนั ทนาการ
กกกกกกกกกกกกกกก กัญชาเป็นพืชทม่ี ีสารออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ทาให้เกิดความผ่อนคลาย
และความรู้สึกเป็นสุข ในบางประเทศอนุญาตให้ใช้พืชกัญชาเพื่อการนันทนาการได้ เช่น ประเทศ
อุรุกวัย ประเทศแคนาดา และในบางรัฐของสหรัฐอเมริกา เน่ืองจากผู้ใช้กัญชารู้สึกเกิดการผ่อนคลาย
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต 7
อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
8
และเป็นสุขขณะที่ใช้ แต่เนื่องจากกัญชายังมีสารท่ีทาให้ติดได้ จึงไม่ควรใช้กัญชาต่อเน่ืองและใช้
ในปรมิ าณสูง
บทท่ี 3 รู้จกั โทษและประโยชน์ของกญั ชาและกัญชง
1. โทษของกัญชาและกญั ชง
1.1 ผลกระทบต่อร่างกายและผลข้างเคียง ผู้เช่ียวชาญเกี่ยวกับสารเสพติดจาก
สาขาต่าง ๆ และรายงานทางวิชาการ พบว่า กัญชามีผลกระทบต่อร่างกายเกี่ยวกับระบบหัวใจและ
หลอดเลือด ผลต่ออาการติดยา นอกจากกระทบต่อการใช้ชีวิตตามปกติแล้ว กัญชายังมีโทษต่อ
ทุกส่วนของร่างกาย ผู้เสพกัญชา ร่างกายจะเส่ือมโทรม ทาลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย และ
ทาลายสมอง ก่อให้เกดิ ความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปอด ทารา้ ยทารกในครรภ์ มผี ลกระทบต่อทางเดินหายใจ
หัวใจ และหลอดเลือด กัญชาจะเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจเร็ว เมื่อใช้กัญชาในปริมาณมาก และยาวนาน
ตอ่ เนอ่ื งไมส่ ามารถควบคุมอาการติดยาได้
1.2 ผลกระทบต่อจิตใจ ฤทธิ์ของกัญชาและกัญชงทาให้ผู้เสพมีความผิดปกติ
ทางความรู้สึก ความคิด อาการ หรือพฤติกรรมต่าง ๆ จิตฟ่ันเฟือน มีอาการประสาทหลอน ความคิด
สบั สนนาไปสูโ่ รคจิตเวช หรอื ภาวะซมึ เศรา้ ได้
1.3 ผลกระทบต่อครอบครวั ชุมชน และสงั คม การเสพกญั ชาและกัญชงทาให้
มีผลกระทบต่อครอบครัวทาลายความสุขในบ้าน เป็นที่รังเกียจของชุมชน ทาลายช่ือเสียงวงศ์ตระกูล
อาจเพม่ิ ความรนุ แรงถึงขันเกดิ ปญั หาอาชญากรรมต่าง ๆ ในชมุ ชน และสังคมตามมาได้
1.4 ผลกระทบต่อประเทศชาติ เมื่อประชากรเสพติดกัญชามาก ส่งผลทาลาย
เศรษฐกิจ สูญเสียงบประมาณในการดูแลรักษาผู้ท่ีเสพติดกัญชา ทาลายความม่ันคงของประเทศ
ต้องสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ท่ีมีคุณภาพในการพัฒนาประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศก็จะ
เป็นไปอย่างเชื่องช้า เกิดข้อขัดแย้งทางการเมือง หรือความไม่สงบระหว่างประเทศ ทาให้เส่ือมเสีย
ชื่อเสยี ง และเกียรตภิ ูมิในสายตาของชาวต่างชาติได้
2. ประโยชน์ของกัญชาและกัญชงทางการแพทย์ สารสกัดจากกัญชาที่นามาใช้
ประโยชน์ทางการแพทย์ มีสารกลุ่ม แคนนาบินอยด์ (Cannabinoid) ทม่ี สี ารออกฤทธิ์สาคัญ 2 ชนดิ
คือ แคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) มีคุณสมบัติลดอาการเจ็บปวด อักเสบ ชักเกร็ง คลื่นไส้ และ
สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) มีคุณสมบัติต่อจิตประสาททาให้
ผ่อนคลาย ลดอาการตึงเครียด สารสกัดจากกัญชาทางการแพทย์แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม (1) สารสกัด
กัญชาที่มีข้อมูลทางวิชาการที่สนับสนุนชัดเจน (2) สารสกัดกัญชาช่วยในการควบคุมอาการ ควรมี
ข้อมูลทางวิชาการที่สนับสนุนเพิ่มเติม และ (3) สารสกัดกัญชาที่ยังขาดข้อมูลจากการวิจัยสนับสนุน
ที่ชัดเจนเพียงพอ ดังนัน การนาสารสกัดกัญชามาใช้ในทางการแพทย์จาเป็นต้องคานึงถึงประสิทธิผล
และความปลอดภัยเป็นสาคัญ และในทางการแพทย์แผนไทย มีการอนุญาตให้ใช้ตารับยาที่มีกัญชา
8 หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ิต เพ่อื ใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา
9
เป็นส่วนประกอบที่ได้มีการคัดเลือก และรับรองโดยกระทรวงสาธารณสุข 16 ตารับ การใช้ยาจาก
กัญชาต้องอยู่ภายใต้การควบคุม ดูแลของแพทย์ และแพทย์แผนไทย เพ่ือให้ผู้ป่วยได้รับประโยชน์
สงู สุด
กกกกกกกบทที่ 4 กฎหมายท่เี กยี่ วข้องกับกัญชาและกัญชง
กกกกกกกกก 1. พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522
กกกกกกกกกกกกก พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ให้ความหมายคาว่า “ยาเสพติด
ใหโ้ ทษ” หมายถึง สารเคมีหรอื วตั ถชุ นิดใด ๆ ซึ่งเมอ่ื เสพเข้าสูร่ ่างกายไมว่ ่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ
ฉีด หรือดว้ ยประการใด ๆ แล้วทาให้เกิดผลต่อรา่ งกายและจติ ใจในลักษณะสาคญั เช่น ตอ้ งเพ่มิ ขนาด
การเสพขึนเป็นลาดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพ ทังร่างกายและจิตใจ
อย่างรุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง กับให้รวมตลอดถึงพืชหรือส่วนของพืช
ท่เี ปน็ หรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดใหโ้ ทษหรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดใหโ้ ทษและสารเคมที ี่ใช้ในการ
ผลิตยาเสพติดให้โทษด้วย นอกจากนียังแบ่งยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท โดยกัญชา
ถูกบัญญัติไว้ในกฎหมายว่าเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามมาตรา 7 โดยกาหนดไว้ว่าห้ามปลูก
หา้ มเสพ หา้ มจาหน่ายและมไี วค้ รอบครอง
กกกกกกกกก 2. พระราชบัญญัติวัตถอุ อกฤทธต์ิ ่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559
กกกกกกกกกกกกก พระราชบัญญัติวัตถุเพ่ือออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 มีเหตุผลใน
การประกาศใช้เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ซ่ึงมีสภาพปัญหาเก่ียวกับวัตถุออกฤทธ์ิ
ที่ทวคี วามรนุ แรงยิง่ ขนึ สมควรปรับปรุงบทบัญญตั เิ ก่ียวกับองค์ประกอบของคณะกรรมการวตั ถุท่ีออก
ฤทธิ์ต่อจิตและประสาท การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ หน้าท่ีของผู้รับ
อนุญาต หน้าที่ของเภสัชกร การโฆษณาและอานาจหน้าท่ีของพนักงานเจ้าหน้าท่ี รวมทังเพ่ิมเติม
บทบัญญัติเกี่ยวกับด้านตรวจสอบวัตถุออกฤทธิ์ และการให้โอกาสแก่ผู้เสพ หรือเสพและมีไว้
ในครอบครอง หรือเสพและมีไว้ในครอบครองเพ่ือขาย หรือเสพและขายซึ่งวัตถุออกฤทธ์ิ ได้สมัครใจ
เข้ารับการบาบัดรักษาในสถานพยาบาล ตลอดจนปรับปรุงบทกาหนดโทษ และอัตราค่าธรรมเนียม
ให้เหมาะสมย่ิงขึน ทังนีกัญชามีสารวัตถุออกฤทธ์ิช่ือว่า “เตตราไฮโดรแคนนาบินอล ”
(Tetrahydrocannabinol, THC) และถกู บญั ญัติไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื งระบชุ ่ือวัตถุ
ออกฤทธ์ใิ นประเภท 1
กกกกกกกกก 3. พระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562
กกกกกกกกกกกก พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 เป็นฉบับ
ที่แก้ไขเพม่ิ เตมิ จากพระราชบัญญัตยิ าเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522 เปดิ โอกาสให้สามารถนากัญชาและ
พชื กระทอ่ มไปทาการศึกษาวจิ ัย เพื่อประโยชน์ทางการแพทยแ์ ละสามารถนาไปใช้ในการรักษาภายใต้
การดูแลและควบคุมของแพทย์ผู้ได้รับอนุญาตได้ เพ่ือให้ถูกต้องตามหลักวิชาการให้ทาได้โดยชอบ
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ป็นยา หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ 9
อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
10
ด้วยกฎหมาย เพ่ือสร้างความมั่นคงทางด้านยาของประเทศ และป้องกันไม่ให้เกิดการผูกขาด
ทางด้านยา นอกจากนีส่งผลให้อนาคตผู้ป่วยในประเทศ ลดภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพได้อย่างมาก
และส่งผลทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ เปิดทางให้ใช้ในอุตสาหกรรมยา สมุนไพร อาหารและ
เครื่องสาอาง เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติ พร้อมสนับสนุนผู้ประกอบการภายในประเทศ
ใช้ประโยชนจ์ ากกัญชงนอกเหนอื จากเส้นใย หวงั เพม่ิ มูลคา่ ทางเศรษฐกจิ นารายไดเ้ ขา้ ประเทศ
กกกกกกกกกกกก พระราชบัญญัติฉบับนี กัญชา ยังคงเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ห้ามมิให้
ผู้ใดเสพ เว้นแต่เสพเพื่อรักษาโรคตามคาส่ังของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือเป็นการเสพ
เพ่ือศึกษาวิจัย และยังสามารถใช้ประโยชน์ได้ ตามวัตถุประสงค์ในกรณีจาเป็น คือ ประโยชน์
ของทางราชการ ประโยชน์ทางการแพทย์ ประโยชน์ในการรักษาผู้ป่วย ประโยชน์ในการศึกษาวิจัย
และพัฒนา และประโยชน์ในการเกษตรกรรม พาณิชยกรรม วิทยาศาสตร์ หรืออุตสาหกรรม อีกทัง
ในมาตรา 26/5 ยังกาหนดผู้มีสิทธิ์ท่ีจะขอออกใบอนุญาตให้ผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย หรือมีไว้
ครอบครอง ผู้ขออนุญาตต้องเป็นหนว่ ยงานของรัฐ ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรม สถาบันอุดมศึกษาตาม
กฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมท่ีรวมกลมุ่ เป็นวิสาหกจิ
ชุมชน ผู้ประกอบการขนส่งสาธารณะระหว่างประเทศ ผู้ป่วยเดินทางระหว่างประเทศ และผู้ขอ
อนุญาตอ่ืนตามที่รัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกาหนดในกฎกระทรวง ซ่ึงในวาระ
เร่ิมแรกภายในระยะเวลา 5 ปี การขอรับใบอนุญาตสาหรับวัตถุประสงค์ผลิต นาเข้า ส่งออก
เพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์หรือการรักษาผู้ป่วย ให้อนุญาตได้ คือ ให้อนุญาตได้เฉพาะกรณีท่ีผู้ขอ
อนุญาตเป็นหน่วยงานของรัฐ หรือเป็นผู้ขออนุญาตตามมาตรา 26/5 ซึ่งดาเนินการร่วมกับผู้ขอ
อนุญาตทเ่ี ป็นหนว่ ยงานของรัฐ
กกกกกกก1. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ท่ีเกีย่ วข้องกบั กัญชาและกัญชง
กกกกกกกกกกกกประกาศ และระเบียบของกระทรวงสาธารณสุขที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชง
ทาให้เกิดความชัดเจนตามกฎหมายสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยทุกด้าน ทังนี
เพื่อใช้ประโยชน์จากสารสาคัญในกัญชา และกัญชง มีจานวน 5 ฉบับ ดังนี (1) ประกาศกระทรวง
สาธารณสุข เรื่อง กาหนดตารับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ ท่ีให้เสพเพื่อ
รักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ (2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง กาหนดผู้ประกอบวิชาชีพ
การแพทย์แผนไทยและหมอพืนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ท่ีจะสามารถปรุง
หรือส่ังจ่ายตารับยาที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ได้ (3) ประกาศกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก เร่ือง กาหนดแบบตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการรับรองหมอพืนบ้าน
พ.ศ. 2562 (4) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง ระบุชือ่ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 5 พ.ศ. 2561
มีสารสาคัญโดยกาหนดให้ กัญชา (Cannabis) เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ลาดับท่ี 1 ซึ่งมีชื่อ
พฤกษศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. และ Cannabis indica Lam. ทังนีให้หมายความรวมถึง
10 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต เพือ่ ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา
11
ทุกส่วนของพืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น และ วัตถุหรือสารต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในพืชกัญชา เช่น
ยาง นามัน ยกเว้นเปลือกแห้ง แกนลาต้นแห้ง เส้นใยแห้ง และผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากเปลือกแห้ง
แกนลาต้นแห้ง เส้นใยแห้ง และ (5) ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง ระบุช่ือยาเสพติดใหโ้ ทษประเภท 5
(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 มีสารสาคัญคือ กาหนดยกเลิกและแก้ไขเพ่ิมเติม ลาดับ 1 กัญชา (Cannabis)
ซึ่งเป็นพืชในสกุล Cannabis ทังนีให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของพืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล
ลาต้น และวัตถหุ รอื สารตา่ ง ๆ ที่มีอยูใ่ นพชื กญั ชา เชน่ ยาง นามัน และ ลาดบั ที่ 5 คือ กญั ชง (Hemp)
ซึ่งมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. Subsp. sativa อันเป็นชนิดย่อยของพืชกัญชา
(Cannabis sativa L.) ทงั นีให้หมายความรวมถึง ทกุ สว่ นของพืชกัญชง เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น
ท่ีมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) และลักษณะเป็นไป
ตามทค่ี ณะกรรมการประกาศกาหนด
กกกกกกก1. 5. ประกาศคณะกรรมการควบคมุ ยาเสพติดให้โทษ
กกกกกกกกกกกก ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษท่ีเก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชง
ท่ีสาคัญมีจานวน 6 ฉบับ ได้แก่ (1) ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เร่ือง การแสดง
ความจานงและการตรวจสอบผู้แสดงความจานงเป็นผู้รับอนุญาตตังแต่วันท่ีผู้รับอนุญาตตาย
(2) เร่ือง กาหนดแบบการจัดทาบัญชีรับจ่ายและรายงานเก่ียวกับการผลิต การนาเข้า การส่งออก
การจาหน่าย การมีไว้ในครอบครอง ซ่ึงยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา (3) เร่ือง กาหนด
ฉลากและเอกสารกากบั ยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 5 คาเตือนหรือข้อควรระวังการใช้ทภี่ าชนะบรรจุ
หรือหีบหอ่ บรรจุยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 5 ท่ีผลิต นาเขา้ หรือสง่ ออก สาหรับยาแผนปัจจบุ ันซ่ึงมี
กัญชาปรุงผสมอยู่ (4) เรื่อง กาหนดเมล็ดพันธ์ุเฮมพ์เป็นเมล็ดพันธ์ุรับรองตามกฎกระทรวง การขอ
อนญุ าตและการอนญุ าตผลิต จาหน่าย หรือมีไวใ้ นครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษประเภท 5 เฉพาะเฮมพ์
พ.ศ. 2559 (5) เรื่อง กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp) ประกาศเม่ือวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2562 โดย
กาหนดลักษณะกัญชง เพ่ือเป็นประโยชน์ในการควบคุมการผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย หรือมีไว้
ครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชง ท่ีมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล
(Tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 0.5 ต่อนาหนักแห้ง และเมล็ดพันธ์ุ
รับรองมีลักษณะเป็นเมล็ดพันธุ์กัญชงที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol,
THC) ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 0.3 ต่อนาหนักแห้ง และ (6) เรื่อง กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp)
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2562 โดยกาหนดให้มีการยกเลิกประกาศ
ฉบบั เดิม ซง่ึ สาระสาคัญของประกาศฉบบั นี คือ กาหนดลกั ษณะกัญชง (Hemp) มลี กั ษณะเปน็ พืชซึ่งมี
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ว่า Cannabis sativa L. Subsp. sativa อันเป็นชนิดย่อยของพืชกัญชา (Cannabis
sativa L.) ที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอก
ไม่เกินร้อยละ 1.0 ต่อนาหนักแห้งโดยตรวจวิเคราะห์ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีคณะกรรมการ
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ 11
อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
12
ประกาศกาหนด และ เมลด็ พนั ธ์รุ บั รองมลี ักษณะเปน็ เมล็ดพนั ธุ์กญั ชง (Hemp) ท่ีมีปรมิ าณสารเตตรา
ไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ในใบ และช่อดอก ไม่เกินร้อยละ 1.0
ตอ่ นาหนักแห้ง ทงั นี ตามทค่ี ณะกรรมการประกาศกาหนด โดยการตรวจวเิ คราะห์ตามหลักเกณฑ์และ
วธิ กี ารท่คี ณะกรรมการประกาศกาหนด และเป็นพนั ธุ์พืชขนึ ทะเบยี นตามกฎหมายวา่ ดว้ ยพันธุ์พืช โดย
ประกาศฉบับนีจะไม่มีผลบังคับใช้กับกรณีกัญชงท่ีปลูกอยู่ก่อนประกาศดังกล่าวมีผลบังคับใช้ รวมถึง
เมล็ดพันธ์ุที่รับรองแล้วก่อนประกาศมีผลบังคับใช้ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาสายพันธ์ุกัญชง โดยเฉพาะ
พนั ธุพ์ ืนเมอื ง เปิดกวา้ งใหเ้ กิดการใช้ประโยชน์กัญชงอยา่ งคมุ้ คา่
กกกกกกก1. 6. พระราชบัญญัติสทิ ธิบัตรกับกญั ชาและกัญชง
กกกกกกกกกกก ตามพระราชบญั ญัติสิทธบิ ตั ร พ.ศ. 2522 ฉบบั แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535
และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2542 ให้ความหมาย “สิทธิบัตร” หมายถึง หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อ
คุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกาหนด ทังนี
ขันตอนการย่ืนคาขอจดสิทธิบัตรที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชง มี 3 ขันตอน ได้แก่ ขันตอนท่ี 1
กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะพิจารณาว่าขัดต่อพระราชบัญญัติสิทธิบัตรในมาตรา 9 (1) ซ่ึงกาหนดว่า
สัตว์ พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืชไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติหรือ หากขัดกับ
มาตราดังกล่าวจะไม่สามารถยื่นจดสิทธิบัตรได้ เช่น สารสกัดจากกัญชาไม่สามารถจดได้ ขันตอนที่ 2
หากการยื่นคาขอไม่ขัดกับมาตรา 9 (1) เช่น ตารับยาจากกัญชาสาหรับใช้รักษาโรคต่าง ๆ
กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะเป็นผู้ตรวจสอบว่าสามารถจดได้หรือไม่ โดยพิจารณาตามหลักการ คือ
ต้องเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ มีขันตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึน และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการผลิต
อุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรมได้ และขันตอนท่ี 3 เม่ือผ่านการพิจารณา
ในขันตอนที่ 2 จะประกาศโฆษณาให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถคัดค้านหรือให้ข้อเสนอแนะได้
เม่ือประกาศโฆษณาแล้วผู้ขอต้องยื่นขอให้ตรวจสอบการประดิษฐ์ เจ้าหน้าท่ีจะนาข้อคัดค้านหรือ
ข้อเสนอแนะมาประกอบการพิจารณาร่วมกับการตรวจสอบการประดิษฐ์อีกครัง ก่อนจะพิจารณา
ว่าสามารถจดสิทธิบัตรได้หรือไม่ ปัจจุบันนีมีผู้ขอจดสิทธิบัตรที่เก่ียวข้องกับกัญชากับกรมทรัพย์สิน
ทางปัญญา มีจานวน 3 บริษัท โดยมีจานวน 10 คาขอ ซึ่งอยู่ในขันตอนการดาเนินการ และการขอ
จดสทิ ธิบตั ร
กกกกกกก1. 7. ขอ้ ปฏิบัติท่ีตอ้ งทาตามกฎหมายที่เก่ยี วข้องกบั กญั ชาและกญั ชง
กกกกกกกกกขอ้ ปฏิบัติท่สี าคญั ตามกฎหมายกัญชาและกัญชง มีข้อท่ีควรปฏิบตั ิดังนี
7.1 โพสต์ภาพ หรือข้อความ เพื่อโฆษณายาเสพติด มีโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี
ปรับไม่เกนิ 200,000 บาท
12 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวิต เพื่อใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา
7.2 ใชอ้ บุ ายหลอกลวง ข่เู ขญ็ ใช้ก�ำลังประทษุ ร้าย ข่มขืนใจใหผ้ ู้อ่นื เสพ มีโทษดงั น้ี
7.2.1 จ�ำคุก 1 - 10 ปี และปรบั ตั้งแต่ 100,000 - 1,000,000 บาท
7.2.2 ถ้าท�ำโดยมีอาวุธหรือร่วมกัน 2 คนข้ึนไป จ�ำคุก 2 - 15 ปี และปรับ
ตง้ั แต่ 200,000 - 1,500,000 บาท
7.2.3 ถ้ากระท�ำต่อหญิงหรือผู้ยังไม่บรรลุนิติภาวะ หรือเพ่ือจูงใจให้ผู้อื่น
ท�ำผิดอาญา หรือเพื่อประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อ่ืนในการท�ำผิดอาญา จ�ำคุก 3 ปี ถึงตลอดชีวิต และ
ปรบั 300,000 - 5,000,000 บาท
7.2.4 ยุยงส่งเสริมให้ผู้อ่ืนเสพ มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน
20,000 บาท หรือท้งั จ�ำทง้ั ปรับ
7.2.5 ใช้อุบายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้ก�ำลังประทุษร้าย ข่มขืนใจให้ผู้อื่นผลิต
น�ำเขา้ สง่ ออก จ�ำหนา่ ย ครอบครองเพอื่ จ�ำหนา่ ย มโี ทษเปน็ สองเทา่ ของโทษทก่ี ฎหมายบญั ญตั ไิ วส้ �ำหรบั
ความผดิ น้ัน ๆ
ปจั จบุ นั ประเทศไทยมผี เู้ ขา้ ไปเกยี่ วขอ้ งกบั ยาเสพตดิ เปน็ จ�ำนวนมาก ซงึ่ กระทรวงยตุ ธิ รรม
ได้ก�ำหนดแนวทางการช่วยเหลือผู้เสพยาเสพติดแนวใหม่ ภายใต้กรอบความคิด “ผู้เสพ คือ ผู้ป่วย”
ท่ีจะต้องได้รับการบ�ำบัดรักษาอย่างถูกต้อง โดยแพทย์และพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐทุกแห่ง
ทว่ั ประเทศ และหลงั จากทผี่ เู้ สพไดร้ บั การบ�ำบดั รกั ษาแลว้ กส็ ามารถกลบั ไปใชช้ วี ติ ในสงั คมอยา่ งปกตสิ ขุ
โดยรัฐบาลจะให้การติดตามช่วยเหลือส่งเสริมการประกอบอาชีพ เพ่ือให้ผู้เสพได้เร่ิมต้นชีวิตใหม่
“เปล่ียนเพอ่ื ครอบครวั เพอ่ื อนาคตที่ดกี วา่ ”
8. โทษของการฝา่ ฝืนกฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับกัญชาและกญั ชง
บทลงโทษของการฝ่าฝืนกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกญั ชาและกญั ชง มี 5 กลุ่มดงั นี้
8.1 กลุ่มผเู้ สพ (นอกเหนือเพือ่ รักษาตามค�ำสั่งแพทย)์ มีบทลงโทษ จ�ำคกุ ไม่เกนิ 1 ปี
หรือปรบั ไม่เกนิ 20,000 บาท หรอื ทัง้ จ�ำท้งั ปรบั
8.2 กลุ่มครอบครอง หรือจ�ำหน่ายโดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต (ไม่ถึง 10 กิโลกรัม)
มบี ทลงโทษ จ�ำคุกไมเ่ กิน 5 ปี หรอื ปรับไมเ่ กนิ 100,000 บาท หรือทงั้ จ�ำทัง้ ปรับ
8.3 กลุ่มจ�ำหน่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต (ปริมาณ 10 กิโลกรัมข้ึนไป) มีบทลงโทษ
จ�ำคุกตัง้ แต่ 1 - 15 ปี และปรบั 100,000 - 1,500,000 บาท
8.4 กลมุ่ ผ้ฝู ่าฝนื ผลิต น�ำเขา้ หรอื สง่ ออก มบี ทลงโทษ จ�ำคุกไมเ่ กิน 5 ปี
และปรับไมเ่ กิน 500,000 บาท
8.5 กลมุ่ กรณีเพื่อจ�ำหน่าย มบี ทลงโทษ จ�ำคุกไมเ่ กนิ 1-15 ปี และปรับ 100,000 -
1,500,000 บาท
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวิต 13
อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ในส่วนผขู้ ออนุญาตตามมาตรา 26/5 มีสิทธทิ ี่จะขอใบอนุญาตให้ผลิต น�ำเขา้
ส่งออกจ�ำหน่ายหรือมีไวใ้ นครอบครองซึ่งผู้ขออนุญาตตามข้อ 2,3,4 และ 7 มบี ุคคลอยู่ 2 กลุ่ม ดงั นี้
กลมุ่ ท่ี 1 กรณบี คุ คลธรรมดา สัญชาตไิ ทย มีถ่ินทีอ่ ยใู่ นไทย
กลุ่มท่ี 2 กรณีนติ ิบุคคล จดทะเบียนตามกฎหมายไทย 2 ใน 3 กรรมการ หนุ้ สว่ น
ผู้ถือหุ้น มีสัญชาตไิ ทย มสี �ำนกั งานในไทย
นอกจากนกี้ ารน�ำกญั ชามาโฆษณาชวนเชือ่ บดิ เบอื นฉลากอาหาร - ฉลากยา มคี วามผิด
ตอ้ งระวางโทษ ปรบั ไมเ่ กนิ 30,000 บาท หากเขา้ ขา่ ยเปน็ อาหารทม่ี กี ารแสดงฉลากเพอ่ื ลวง หรอื พยายาม
ลวงให้เข้าใจผิดเร่ืองคุณภาพ ปริมาณ ประโยชน์ สถานท่ีผลิต จัดเป็นอาหารปลอม ต้องระวางโทษ
จ�ำคกุ ตั้งแต่ 6 เดอื น - 10 ปี และปรบั ตัง้ แต่ 5,000 - 100,000 บาท
ต่อมาไดม้ ีการนริ โทษกรรม โดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข 3 ฉบบั ซึง่ ประกาศใช้ใน
ราชกิจจานุเบกษา ลงวันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ดงั นี้ ฉบบั ที่ 1 เรื่อง การก�ำหนดใหย้ าเสพติด
ให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชาตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข หรือให้ท�ำลายกัญชาที่ได้รับมอบ
จากบคุ คล ซง่ึ ไมต่ อ้ งรบั โทษ ตามมาตรา 22 แหง่ พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2562
โดยรายละเอียดผู้ที่ได้รับการนิรโทษกรรม หรือการครอบครองก่อนหน้านี้ไม่ผิด และให้มาแจ้งภายใน
90 วนั ฉบบั ท่ี 2 เรอื่ งการครอบครองยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 5 เฉพาะกญั ชา ส�ำหรบั ผปู้ ว่ ยทม่ี คี วาม
จ�ำเป็นต้องใช้เพื่อรักษาโรคเฉพาะตัว ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562
ใชบ้ งั คบั ใหไ้ มต่ อ้ งรบั โทษ ซงึ่ ในกรณนี ผ้ี ปู้ ว่ ยทมี่ คี วามจ�ำเปน็ ตอ้ งใชก้ ญั ชารกั ษาตวั และมคี รอบครองกอ่ น
กฎหมายใช้บังคับ และฉบับที่ 3 เร่ือง การแจ้งการมีไว้ในครอบครองกัญชา ส�ำหรับผู้มีคุณสมบัติตาม
มาตรา 26/5 และบุคคลอื่นที่มิใช่ผู้ป่วยตามมาตรา 22 (2) ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ
(ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2562 ใช้บงั คับใหไ้ ม่ตอ้ งรบั โทษ กล่าวคือ บุคคลท่ไี ม่ใชก่ ลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 โดยใน
ฉบบั น้ี ใหห้ นว่ ยงานหรอื บคุ คลผคู้ รอบครองกญั ชากอ่ นกฎหมายมผี ลใชบ้ งั คบั เพอ่ื ประโยชนท์ างการแพทย์
การรักษาผู้ป่วย การใช้รักษาโรคเฉพาะตวั หรือการศกึ ษาวจิ ัย
9. กฎหมายระหวา่ งประเทศเกีย่ วกับกญั ชาและกญั ชง
ประเทศไทยในมติ ดิ า้ นความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ ไดเ้ ขา้ เปน็ รฐั ภาคี จ�ำนวน 4 ฉบบั
ดว้ ยกัน คือ ฉบบั ท่ี 1 อนสุ ัญญาเด่ยี ววา่ ด้วยยาเสพตดิ ให้โทษ ค.ศ. 1961 และพธิ ีแก้ไขอนสุ ญั ญาเด่ยี ว
ว่าด้วยยาเสพติดใหโ้ ทษ ค.ศ. 1961, ค.ศ. 1972 ฉบับท่ี 2 อนุสญั ญาวา่ ดว้ ยวัตถทุ ่ีออกฤทธต์ิ อ่ จิตและ
ประสาท ค.ศ. 1971 ฉบบั ท่ี 3 อนุสญั ญาสหประชาชาตวิ ่าด้วยการต่อต้านการลักลอบค้ายาเสพตดิ และ
วตั ถทุ อ่ี อกฤทธต์ิ ่อจิตและประสาท ค.ศ. 1988 และฉบับที่ 4 อนุสัญญาสหประชาชาตวิ ่าดว้ ยการต่อต้าน
อาชญากรรมขา้ มชาตทิ จ่ี ัดตั้งในลกั ษณะองค์กร ค.ศ. 2000
14 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ เพื่อใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา
15
กกกกกกกกก ตามอนุสัญญาเดี่ยวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961 ได้บัญญัติกัญชา สารสกัด
จากกัญชา จัดให้อยู่ในตารางการควบคุมในบัญชีเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 และยางกัญชา
เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 4 โดยห้ามปลูก ผลิต ส่งออก นาเข้า ค้าขาย ครอบครองหรือ
ใช้ประโยชน์ เว้นแต่เพื่อใช้ทางการแพทย์หรือการศึกษาวิจัยเท่านัน ภาคีประเทศต้องกาหนด
มาตรการควบคมุ ป้องกันมใิ ห้มีการนาใบของพืชกัญชาไปในทางทผี่ ิด หรือทาการคา้ ทีผ่ ดิ กฎหมาย
นอกจากนอี นสุ ัญญาของสหประชาชาติ (United Nation, UN) เป็นข้อตกลงสากล
สงู สุดในเร่อื งการควบคุมยาเสพติดอย่างเชน่ กัญชา อนสุ ัญญาดังกล่าวกาหนดความรับผดิ ชอบร่วมกัน
ในระดบั สากล สาหรับการควบคมุ การผลติ การค้า และการใช้ยาควบคุม โดยทั่วไปแล้วแตล่ ะประเทศ
จะกาหนดกฎหมายว่าด้วยยาซ่ึงสัมพันธ์กับการออกกฎหมายและข้อบังคับเก่ียวกับยารักษาโรค
สาหรับกัญชาทางการแพทย์ อานาจและมาตรการควบคุมของประเทศอ่ืน ๆ มีเป้าหมาย 3 ประการ
ดังนี ประการที่ 1 ควบคุมการเข้าถึงและการใช้กัญชาทางการแพทย์ที่ชอบด้วยกฎหมาย ประการ
ที่ 2 เปิดโอกาสให้สามารถเข้าถึงกัญชาท่ีมาจากวิธีการทางเภสชั กรรมเพ่ือวตั ถุประสงค์ทางการแพทย์
บางกรณีในปริมาณที่เพียงพอ ประการท่ี 3 อนุญาตให้สามารถมีการเพาะปลูก และผลิตกัญชาเพื่อ
วตั ถปุ ระสงคด์ ังกล่าว โดยประเทศทีล่ งนามในอนุสญั ญามีภาระหน้าทใ่ี นการควบคุมการส่งออก นาเข้า
และการขายสง่ กญั ชา และยาเตรียมจากกัญชาอย่างระมดั ระวัง กกกกกกก
ข้อกาหนดดังกล่าวท่ีมีผลผูกมัด ให้ประเทศท่ีลงนามอนุสัญญานีต้องควบคุมการ
ส่งออก นาเข้า และขายส่งกัญชาและยาท่ีผลิตจากกัญชาอย่างระมัดระวัง แต่สาหรับประเทศไทยเรา
ยังไม่มีความพร้อมเรื่องระบบการควบคุม ถึงเราจะมีความพร้อมด้านการปลูกกัญชา แต่องค์การ
สหประชาชาติ มีข้อกาหนดเร่ืององค์กรกลางในการกากับดูแลการใช้กัญชาทางการแพทย์ ซึ่งขณะนี
ประเทศไทยมสี านักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เป็นองคก์ รกลางท่ีรบั ผิดชอบอยู่ แต่ปัญหา
ที่เกิดขึนภายหลังจากท่ีกฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว คือประเทศไทยมีการเปิดเสรีให้ใช้กัญชาทาง
การแพทย์เป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทาให้ไม่มีกัญชาในปริมาณที่เพียงพอ
สาหรับรักษาผู้ป่วยที่มีความจาเป็นต้องใช้กัญชาเพื่อการรักษาโรคต้อง ไปหากัญชามาจากแหล่งท่ีไม่
อาจเปดิ เผยได้ หรอื ตลาดมืดทาให้เกิดความสบั สนแยกไม่ออกระหว่างพวกธรุ กิจท่ีถูกและผดิ กฎหมาย
พวกท่ีเสพเพื่อนันทนาการสนุกสนาน หรือผู้ป่วยท่ีมีความจาเป็นต้องใช้ในการรักษา ซึ่งสานักงาน
ป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) จะดาเนินการปราบปรามก็ทาไดไ้ ม่ค่อยถนัดนัก เพราะเป็น
เรื่องของจริยธรรม มนุษยธรรม และยากท่ีจะแยกแยะออกได้ว่าบุคคลใดเป็นผู้เสพ บุคคลใดเป็น
ผูค้ รอบครอง และบคุ คลใดเป็นผจู้ าหนา่ ยได้ มีระบบกากับควบคมุ ส่งออก ขายสง่ กญั ชาและยาที่ผลิต
จากกัญชา ท่ีผลิตภัณฑ์ยา ท่ีมีประสิทธิภาพ จึงเป็นส่ิงที่รัฐต้องดาเนินการให้ชัดเจน เข้มงวด กวดขัน
และท่ัวถึง ให้มีประสิทธิภาพโดยทาให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้จริง และ
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพือ่ ใชเ้ ปน็ ยา หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวติ 15
อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
16
ต้องแยกแยะผู้ป่วยกับผู้ท่ีแอบแฝงเป็นผู้ป่วยใหไ้ ด้ เมื่อถึงจุดนันการป้องกันและปราบปรามยาเสพตดิ
กจ็ ะสามารถทาได้อย่างประสบผลสาเร็จ
บทท่ี 5 กญั ชาและกญั ชงกบั การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กกกกกกกกกก 1. ประวัติความเป็นมาการใช้กัญชาและกัญชงในต่างประเทศ พบหลักฐานบันทึก
ไว้ว่า มีการใช้กัญชาเป็นยารักษา หรือควบคุมอาการของโรคต่าง ๆ ในทวีปยุโรป ได้แก่ โปรตุเกส
สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ในทวีปเอเชีย ได้แก่ ประเทศจีน อินเดีย และอิหร่าน มาอย่างช้านาน ในบาง
ประเทศมหี ลกั ฐานวา่ เคยมีการใช้กญั ชามานานกวา่ 4,700 ปี
กกกกกกกกกก 2. ประวัติความเป็นมาการใช้กัญชาและกัญชงในการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก ในประเทศไทยมีหลักฐานการใช้กญั ชาในการรักษา หรอื ควบคุมอาการของโรคต่าง ๆ ตงั แต่
สมัยอยุธยาตอนปลาย สมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช จนถึงกรุงรตั นโกสินทร์ สมัยพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีการรวบรวมไว้เป็นตารายาหลายเล่ม และสูตรยาหลายขนาน เช่น
ตาราพระโอสถพระนารายณ์ ตาราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ พระคัมภีร์ปฐมจินดา พระคัมภีร์
มหาโชตรัต พระคัมภีร์ชวดาร และพระคัมภีร์กษัย เป็นต้น มีการระบุตารับยาที่ใช้กัญชา หรือมีกัญชา
เปน็ ส่วนประกอบทีใ่ ชใ้ นการรักษา นบั แตใ่ นอดตี สบื เนือ่ งกันมากกกกกกกก
ก 3. ตารับยาทีม่ ีกัญชาเปน็ ส่วนประกอบท่ีได้มีการคดั เลือก และรับรองโดยกระทรวง
สาธารณสขุ ในปัจจุบัน พ.ศ. 2562 ประกาศใช้ทังหมด 16 ตารบั ไดแ้ ก่ (1) ยาอัคคินวี คณะ (2) ยาศุขไสยาศน์
(3) ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย (4) ยานามันสน่ันไตรภพ (5) ยาแก้ลมขึนเบืองสูง (6) ยาไฟอาวุธ (7) ยาแก้
นอนไม่หลับหรือยาแก้ไข้ผอมเหลือง (8) ยาแก้สัณฑฆาต กล่อนแห้ง (9) ยาอัมฤตย์โอสถ (10) ยาอไภยสาลี
(11) ยาแก้ลมแก้เส้น (12) ยาแก้โรคจิต (13) ยาไพสาลี (14) ยาทาริดสีดวงทวารหนักและโรคผิวหนงั
(15) ยาทาลายพระสเุ มรุ และ (16) ยาทพั ยาธิคณุ
กกกกกกก1. 4. ภูมภิ เู บศรรวบรวมและเผยแพร่ภูมิปัญญาไทย
ภูมิภูเบศร ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรครบวงจร ภายใต้แนวคิดการพึ่งพาตนเอง
เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ประกอบด้วย (1) เรือนหมอพลอย (2) สวนสมุนไพรภูมิภเู บศร
และ (3) อภยั ภูเบศรโมเดล
กกกกกกก1. 5. ภูมิปญั ญานายเดชา ศิริภทั ร หมอพนื บา้ น
นายเดชา ศิรภิ ทั ร หมอพืนบา้ น ประธานมูลนิธิข้าวขวัญ เปน็ ผทู้ ไี่ ด้นากัญชามา
รักษาโรคตามตารับยาพืนบ้านไทยจากกระแสความนิยมที่มาจากตะวันตก ได้เริ่มทดลองใช้กัญชา
รักษาตัวเอง โดยนาความรู้พืนฐานในการสกัดที่เผยแพร่โดย ริค ซิมป์สัน (Rick Simpson) ชาว
อเมริกันท่ีป่วยเป็นโรคมะเร็งแล้วสกัดกัญชารักษาโรคมะเร็งที่ตัวเอง เป็นมาผสมผสานกับความรู้
พืนบ้าน เป็นนามันเดชา (Decha Oil) นามาใช้กับตนเองในการช่วยให้นอนหลับได้ลึกขึน หลงลืมง่าย
และต้อเนือในตาในช่วง 4 - 5 ปี ที่ผ่านมา จึงขยายผลเผยแพร่ ทายาแจกให้ผู้ป่วยโรคต่าง ๆ โดยไม่
16 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต เพ่ือใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา
17
เสียค่าใช้จ่าย เป็นจานวนมากกว่า 4,000 ราย ปัจจุบัน นามันเดชาได้รับการรับรองให้เป็นตารับยา
พืนบ้าน ของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งหมอพืนบ้านผู้เป็นเจ้าของตารับยาสามารถจ่ายให้กับผู้ป่วยของ
ตนเองได้ และกระทรวงสาธารณสุขอยู่ระหว่างทาการวิจัยเพื่อวิจัยพิสูจน์ประสิทธิภาพและความ
ปลอดภยั ของสูตรการรกั ษาดงั กลา่ ว
กกกกกกกบทท่ี 6 กญั ชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปจั จบุ ัน
กกกกกกก1. 1. ประวตั กิ ารใชก้ ัญชาและกัญชงทางการแพทย์แผนปัจจบุ ัน
1.1 ตา่ งประเทศ
ในต่างประเทศใช้กัญชาเป็นยารักษาโรค ได้แก่ ประเทศอังกฤษ อนุญาต
ให้ใช้กัญชา ในลักษณะเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ทางการแพทย์ ในรูปของยาเม็ด ยาแคปซูล นามันกัญชา
แต่ไม่อนุญาตให้มีการสูบ ในประเทศเยอรมนี ให้ใช้ในรูปแบบสเปรย์ (Spray) สาหรับรักษาอาการ
ปวดเกร็งกล้ามเนือ ในประเทศสเปน มีการวิจัยทางคลินิกการใช้กัญชารักษามะเร็งหรือ
เนืองอกชนิด กลัยโอบลาสโตมา (Glioblastoma หรือ GBM) ผลการวิจัย พบว่าได้ผลดี ในประเทศ
สหรัฐอเมริกา มีการจดสิทธิบัตรกัญชาและ พบฤทธ์ิของกัญชาที่อาจมีผลดีต่อโรคทางระบบประสาท
เช่น อัลไซเมอร์ พาร์กินสัน โรคหลอดเลือดสมอง และโรคที่เกิดจากเซลล์ถูกทาลายโดยอนุมูลอิสระ
(Oxidative) โรคหัวใจ โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง โรคเบาหวาน โดยรัฐโคโลราโด อนุญาตให้ใช้
กัญชาถูกกฎหมาย และอีก 33 มลรัฐ อนุญาตใช้นามันกัญชาทางการแพทย์ได้ นอกจากนี ประเทศ
อิสราเอล โคลมั เบีย และแคนาดา อนญุ าตใหใ้ ช้ผลิตภัณฑ์จากกัญชารักษาโรคได้
1.2 ประเทศไทย
กัญชา เข้าสู่ประเทศไทยจากประเทศอินเดีย โดยอ้างหลักฐานจากความ
คล้ายของช่ือไทยกับคาว่า (Ganja) ในภาษาฮินดี เดิมกัญชาใช้ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็น
ส่วนประกอบอาหาร เคร่ืองเทศ และยา ในประเทศไทย มองกัญชาเป็นสมุนไพรท่ีใช้ประกอบเปน็ ตวั
ยาเพ่ือบาบัดรักษาอาการป่วยต่าง ๆ ในอดีต ดังที่มีปรากฏในคัมภีร์หรือตารายาโบราณ เช่น ตารา
โอสถธาตุพระนารายณ์ มีตารับ “ยาศุขไสยาสน์” ใช้ช่วยนอนหลับ ช่วยเจริญอาหาร บรรเทาอาการ
เกร็งกล้ามเนือ แขนขาชาอ่อนแรง ในผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาต ในปัจจุบันกฎหมายในประเทศไทย
อนุญาตใหส้ ามารถนากญั ชามาใช้ในกรณีจาเปน็ เพอ่ื ประโยชน์ของราชการ การแพทย์ การรกั ษาผปู้ ่วย
หรือการศึกษาวิจยั และพฒั นา
กกกกกกก1. 2. กัญชาและกญั ชงทีช่ ว่ ยบรรเทาโรคแผนปัจจุบนั
2.1 กัญชาและกัญชงกับโรคพาร์กนิ สนั
สาร CBD เป็นสารสกัดที่ได้จากกัญชงและกัญชา ไม่มีฤทธ์ิต่อจิต และ
ประสาท ช่วยให้ผู้ป่วย ลดความวิตกกังวล บรรเทาอาการเกร็งของกล้ามเนือ และมีฤทธิ์ระงับปวดได้
และมกี ลไกที่เชื่อวา่ อาจทาให้ลดอาการสน่ั อาการยุกยกิ ซ่งึ เปน็ ผลแทรกซ้อนจากยาพารก์ นิ สัน ทาให้
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพอื่ ใช้เปน็ ยา หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต 17
อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
18
การเคลื่อนไหวดีขึน ปัจจุบันยังไม่ทราบกลไกการออกฤทธิ์ที่ชัดเจน คาดว่าทัง สาร CBD และ
สาร THC ในกัญชาจะมีส่วนช่วยชะลออาการของโรคพาร์กินสัน จากฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระ ลดการ
อักเสบ และปกป้องเซลล์สมอง ซึ่งต้องการงานวิจัยเพ่ิมเติมในอนาคตถึงสัดส่วน สาระสาคัญ ที่ใช้ใน
โรคพาร์กินสัน
2.2 กญั ชาและกัญชงกับโรคมะเร็ง
มะเร็ง เป็นโรคที่สามารถพบได้ในผู้ป่วยทุกเพศ ทุกวัย ตังแต่เด็กแรกเกิด
ไปจนถึงผู้สูงอายุ แต่โดยส่วนใหญ่จะพบในผู้ป่วยที่เป็นผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก และจะพบได้สูงในผู้ป่วย
ที่อายตุ ังแต่ 50 ปีขนึ ไป
มีการศึกษาเก่ียวกับการใช้กัญชาต่อต้านมะเร็งในประเทศไทย พบว่า
กัญชาสามารถออกฤทธ์ิฆ่าเซลลม์ ะเร็งในการเพาะเลียงเซลลใ์ นห้องทดลอง แต่ยังไม่มีการศึกษาถึงผล
ของกัญชาต่อโรคมะเร็งในมนุษย์ ส่วนในต่างประเทศสารในกัญชา ได้แก่ สาร THC และสาร CBD
มงี านวจิ ยั ในมนุษย์ ได้แก่ มะเร็งปอด และมะเร็งเมด็ เลือดขาว
2.3 กัญชาและกัญชงกบั การลดอาการปวด
มีการศึกษาการนากัญชามาใช้ลดอาการปวด มีบทบาทในการบรรเทา
อาการปวดเรือรัง (Chronic Pain) ที่เป็นการปวดทางระบบประสาท (Neuropathic Pain) เช่น
ปวดเสียวแปลบเหมือนไฟช็อต แสบร้อน รู้สึกยิบ ๆ ชา ๆ ท่ีมีอาการรุนแรง หรือไม่ตอบสนองต่อการ
รักษาในยามาตรฐาน สามารถบรรเทาอาการปวดลงได้ ส่วนการบรรเทาอาการปวดเฉียบพลัน เช่น
หลังผ่าตัด พบว่าให้ผลการรักษาที่ไม่ดี กรณีท่ีนากัญชามาใช้บรรเทาอาการปวดจากโรคมะเร็ง
พิจารณาใช้เป็นยาเสริมยามาตรฐาน ไม่ค่อยได้ผล เน่ืองจากมีงานวิจัยพบว่า ยามอร์ฟีนมีฤทธิ์ระงับ
ปวดได้ดกี ว่ากัญชา
2.4 กัญชาและกัญชงกับโรคลมชกั
อาการของโรคลมชักท่ีเห็นได้ชัด คือ ชักแบบเหม่อลอย ชักเกร็ง ชักแบบ
กล้ามเนืออ่อนแรง ชักกระตุก ชักกระตุกและเกร็ง ชักสะดุ้ง และชักเฉพาะส่วน ผู้ป่วยโรคลมชัก
ส่วนใหญ่จะรักษาโดยการใช้ยาต้านอาการชัก จะไม่สามารถรักษาโรคลมชักให้หายขาดได้ ทาได้เพียง
ควบคมุ อาการชักเท่านัน
สาหรับกัญชาที่องค์การอาหารและยา (Food and Drug Administration)
ของประเทศสหรัฐอเมริกา อนุมัติยาจากสารสกัดกัญชา ตัวแรก (ไม่ใช่สารสังเคราะห์) ช่ือการค้า
Epidiolex ประกอบด้วยตัวยา CBD 100 mg/ml ในรูปแบบสารละลายใหท้ างปาก (Oral Solution)
โดยมีข้อบ่งใช้ในการรักษาโรคลมชักชนิดรุนแรง 2 ชนิด คือ Lennox - Gastaut Syndrome และ
Dravet Syndrome พบได้ในผู้ปว่ ยอายุ 2 ปขี ึนไป
18 หนงั สือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ติ เพ่ือใชเ้ ป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา
19
ในประเทศไทย กรมการแพทย์ ประกาศถึงประโยชน์ของสารสกัดจาก
กญั ชาทางการแพทย์ ในการนาตัวยา CBD มาใช้โรคลมชกั ท่ีรักษายาก และโรคลมชกั ท่ีดือต่อยารักษา
เท่านนั
2.5 กญั ชาและกัญชงกับโรคผวิ หนงั
ในประเทศไทยการใช้กัญชากับโรคผิวหนัง นายแพทย์เวสารัช เวสสโกวทิ
ท่ีปรึกษาผู้อานวยการด้านวิชาการ สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข กาลัง
ดาเนินการศึกษาวิจัย การนานามนั กัญชามาใช้ในโรคสะเก็ดเงิน และโรคหนังหนาแต่กาเนิดในรูปแบบ
ยาทา เนอื่ งจากทังสองโรคนีมรี ายงานในต่างประเทศพบวา่ ให้ผลการรักษาทีด่ ี สาหรบั ในตา่ งประเทศ
มกี ารคน้ พบการรักษาโรคมะเร็งผวิ หนังด้วยกัญชา ในปี ค.ศ. 2003 Rick Simpson สังเกตเหน็ “ตุม่ ”
ผิดปกติที่ผิวหนังบนแขน จานวน 3 ตุ่ม และเมื่อไปพบแพทย์ ผลการตรวจชินเนือยืนยันว่าเป็น
“มะเร็งผิวหนัง” เขาจึงตัดสินใจจะใช้กัญชาในการรักษามะเร็งผิวหนังด้วยตัวเขาเอง เพราะเคยอ่าน
ได้ยินมาว่าสาร THC สามารถฆ่าเซลล์มะเร็งในหนูทดลองได้ เขาจึงสกัดกัญชา แล้วนามาประคบไว้
บริเวณที่เป็นตุ่มเนือมะเร็งบนผิวหนัง หลังจากนัน 4 วัน เขาพบว่าตุ่มเนือนัน มีขนาดลดลงอย่างมาก
จากนันมาเขากพ็ ัฒนาสตู รในการผลติ กญั ชาสกัดเปน็ ของตนเอง เรียกว่า “Rick Simpson Oil : RSO”
แล้วนามาเผยแพร่แก่ประชาชนชาวสหรัฐอเมริกา และประเทศอังกฤษ มีรายงานใช้ในโรคตุ่มนาพอง
แต่กาเนิด เพอ่ื ลดอาการปวด
2.6 กญั ชาและกัญชงกบั โรคตอ้ หิน
โรคต้อหิน สามารถใช้กัญชารักษาได้ผลพอสมควร งานวิจัย ตังแต่
ปี ค.ศ. 1971 พบว่าการสูบกัญชา ทาให้ความดันในลูกตาลดลงได้ แต่ฤทธิ์นีอยู่ได้แค่ 3 ชั่วโมง และ
ขึนอยู่กับปริมาณการสูบกัญชาด้วย สูบมากก็มีผลมาก ผลข้างเคียงบางอย่างก็ตามมา เช่น ความดัน
โลหติ ต่าลง หัวใจเต้นเรว็ ขึน จึงไมน่ ยิ มใชก้ ัญชาในการรกั ษา
3. การใช้นามันกัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปจั จุบนั
นามันกัญชา คือ สารสกัดกัญชา (Cannabis Extract) ท่ีเจือจางอยู่ในนามันตัวพา
(Carrier Oils หรอื Diluent) ส่วนมากนิยมใช้นามันมะกอก และนามนั มะพร้าวสกัดเยน็ โดยหากผ่าน
การผลิตท่ีได้มาตรฐานจะมีการควบคุมคุณภาพของปริมาณสารสาคัญ ปริมาณความเข้มข้นของตัวยา
THC และ CBD นามันกัญชามีสีเหลืองอ่อนจนถึงสีนาตาล ลักษณะข้นหนืด นามันกัญชาที่มีการผลิต
อย่างได้มาตรฐาน ในประเทศไทยจากองค์การเภสัชกรรม และโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
ปัจจุบันมีอยู่ 3 สูตร สูตรท่ี 1 นามันสูตร THC สูง สูตรที่ 2 นามันสูตร THC : CBD ในอัตราส่วน
เท่า ๆ กนั สูตรที่ 3 นามนั สตู ร CBD สงู วธิ กี ารสกัดนามนั กัญชาโดยใช้ปริมาณกัญชาต่อนามนั มะกอก
ในอตั ราส่วน 1 : 10 ทอ่ี ุณหภูมิ 98 องศา เปน็ เวลา 2 ช่วั โมง แลว้ กรองกากออก จะเป็นวิธที ่ีเหมาะสม
ที่สุด ขนาดการใช้นามันกัญชาจะต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ และเภสัชกร โดยมีหลักการ คือ
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่ือใช้เปน็ ยา หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวติ 19
อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
20
เริ่มยาท่ีขนาดต่า ๆ โดยแนะนาให้เริ่มท่ี 0.05 - 0.1 ซีซี หรือเท่ากับ 1 - 2 หยด และปรับเพ่ิมขนาด
ช้า ๆ ตามคาแนะนาของแพทย์ ยากัญชาอาจจะทาให้มีภาวะง่วงซึม จึงแนะนาให้ใช้เวลาก่อนนอน
และหลกี เลย่ี งการทางานใกล้เครอ่ื งจักร หรือขับรถ
4. ผลิตภัณฑก์ ญั ชาและกัญชงทางการแพทย์
ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปจากกัญชาเพ่ือใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ สาหรับคน
มีรูปแบบแคปซูล สเปรย์ใต้ลิน ยาเม็ด ยาเหน็บทวาร หรือรูปแบบแผ่นแปะบนผิวหนัง ยากัญชาจะมี
สูตรแตกต่างกันตามสัดส่วน และปริมาณสารสาคัญ THC และ CBD ยากัญชาที่ได้รับการขึนทะเบียน
(Registered Drug) ขณะนีมอี ยู่ 3 รูปแบบ คอื รูปแบบ THC สงั เคราะห์ สารสกดั แคนนาบินอยด์จาก
ธรรมชาติ และสารสกดั CBD นอกจากนีในตา่ งประเทศยังมผี ลติ ภณั ฑร์ ักษาอาการเจ็บปว่ ยในสัตว์
5. การใช้ผลติ ภัณฑ์กัญชาและกญั ชงให้ไดป้ ระโยชน์ทางการแพทย์ในปัจจบุ ัน
5.1 ภาวะคลน่ื ไสอ้ าเจยี นจากเคมบี าบดั เคโมเธอราภี อินดวิ ซ นอเซยี แอนด์ วอม
มิท (Chemotherapy Induced Nausea and Vomiting) โดยแพทยส์ ามารถใช้ผลิตภัณฑก์ ัญชาเพ่ือ
รักษาภาวะคลนื่ ไสอ้ าเจยี นจากเคมีบาบัด ท่รี ักษาด้วยวธิ ีตา่ ง ๆ แลว้ ไม่ไดผ้ ล
5.2 โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชกั ที่ดือตอ่ ยารกั ษา (Intractable Epilepsy)
ผู้ส่ังใช้ควรเป็นแพทย์ผู้เช่ียวชาญด้านระบบประสาท และได้รับการอบรมการใช้สารสกัดจากกัญชา
เพ่ือการรักษาผู้ป่วย
5.3 ภาวะกล้ามเนือหดเกร็ง สปาทิซิตี (Spasticity) ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาท
เสื่อมแข็ง (Multiple Sclerosis) แพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาในกรณีที่รักษาภาวะกล้ามเนือหด
เกร็ง ท่ดี อื ต่อการรกั ษารวมถงึ ในกรณีท่ีรกั ษาดว้ ยวธิ ีอืน่ ๆ แล้วไม่ไดผ้ ล
5.4 ภาวะปวดประสาท นวิ รพู าททริค เพน (Neuropathic Pain) แพทยส์ ามารถใช้
ผลิตภัณฑ์กญั ชาในกรณีทร่ี ักษาภาวะปวดประสาทท่ดี ือต่อการรักษา
6. การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์น่าจะได้ประโยชน์ ในการควบคุม
อาการ ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยวิธีมาตรฐานแล้วไม่สามารถควบคุมอาการของโรคได้ หาก
จะนาผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงมาใช้กับผู้ป่วยเฉพาะราย ปฏิญญาเฮลซิงกิ ของแพทย์สมาคมโลก
(ปี ค.ศ. 2013) ระบุว่ามีความเป็นไปได้หากไม่มีวิธีการรักษาอ่ืน ๆ หรือมีวิธีการรักษาแต่ไม่เกิด
ประสิทธิผล ภายหลังจากได้ปรึกษาหารือผู้เชี่ยวชาญ และได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย หรือญาติ
โดยชอบธรรมแล้ว แพทย์อาจเลือกวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงมาช่วยชีวิตผู้ป่วย ฟ้ืนฟู
สุขภาพ หรือลดความทกุ ขท์ รมานของผู้ปว่ ย
กกกกกกกบทที่ 7 ใชก้ ัญชาและกญั ชงเป็นยาอยา่ งรู้คณุ ค่าและชาญฉลาด
กกกกกกกกก 1. ความเชือ่ และความจริงเกี่ยวกับกญั ชาและกัญชงทางการแพทย์
20 หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ติ เพอ่ื ใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา
21
1.1 ความเชื่อเกี่ยวกับกัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ ได้แก่ ตาราสมุนไพร
โบราณ กัญชาและกัญชงรักษาโรคมะเร็งได้ และกัญชาและกัญชงเป็นยารักษาชีวิตได้ ซ่ึงความเช่ือ
บางอย่าง ยังไม่มีผลการศึกษาวิจัยรองรับ แต่ความเชื่อบางอย่างยังอยู่ในการศึกษาวิจัย จึงไม่ควร
ปฏบิ ตั ติ ามจนกวา่ จะมผี ลการวิจยั ความเชอ่ื ทไี่ ดศ้ กึ ษา ในหัวข้อดังกลา่ ว
1.2 ความจริงเกีย่ วกับกัญชาและกญั ชงทางการแพทย์ จากการวิจัยเกยี่ วกับการใช้
กัญชาและกัญชงช่วยในการรักษาอาการ และโรคดังนี (1) อาการปวดเรือรังจากเส้นประสาท (2) อาการ
คลนื่ ไสอ้ าเจยี น และเพม่ิ ความอยากอาหาร (3) โรคปลอกประสาทเสือ่ ม และ (4) โรคลมชัก
กกกกกกกกก 2. การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตให้ได้ประโยชน์ เช่น
โรคมะเรง็ โรคสมองเสอื่ ม โรคเบาหวาน และโรคไตเรือรงั เปน็ ตน้ จาเปน็ ตอ้ งมกี ารศึกษาวจิ ัยถึงความ
ปลอดภัย และประสิทธิผลอย่างละเอียด ซึ่งปัจจุบัน (พ.ศ. 2562) ยังมีข้อมูลหลักฐานทางวิชาการ
ไม่เพียงพอ ผู้ป่วยจึงควรได้รับการรักษาตามวิธีมาตรฐานทางการแพทย์ในปัจจุบันหากเลือกใช้ เฉพาะ
ผลติ ภณั ฑ์กัญชาและกัญชงในการรักษาแล้ว อาจทาให้ผู้ป่วยเสียโอกาสในการรักษาได้
กกกกกกกกก 3. ข้อแนะนาก่อนตัดสินใจใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ มี 8 ข้อ
ได้แก่ (1) ความสัมพันธ์ ระหว่างแพทย์กับผู้ป่วย เป็นพืนฐานในการยอมรับการรักษาพยาบาล รวมถึง
การประเมนิ ผปู้ ่วยวา่ เหมาะสมทจี่ ะใช้ผลติ ภณั ฑ์กญั ชาและกญั ชงหรือไม่ (2) การประเมนิ ผู้ปว่ ย ขอ้ มูล
ประวัติท่ีเกย่ี วข้องกับอาการของผู้ปว่ ย (3) การแจง้ ให้ทราบ และตัดสินใจร่วมกัน (4) ขอ้ ตกลงการรักษา
รว่ มกนั (5) เงื่อนไขที่เหมาะสม ในการตัดสนิ ใจของแพทย์ในการสง่ั ใช้ผลิตภัณฑก์ ัญชาและกญั ชง (6) การ
ติดตามอย่างต่อเน่ืองและปรับแผนการรักษา (7) การให้คาปรึกษา และการส่งต่อ และ (8) การบันทึกเวช
ระเบียน จะช่วยสนับสนุนการตัดสินใจในการแนะนาการใช้ผลติ ภัณฑ์กญั ชาและกญั ชง
กกกกกกกกก 4. การวางแผนการรักษาด้วยผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง แนะนาให้ใช้ผลิตภัณฑ์
กัญชาและกัญชงในการทดลองรักษาระยะสัน เพือ่ ประเมินประสิทธิผลในการรักษาผู้ป่วย แผนการรักษา
ควรมีความชัดเจน ใน 6 ประเด็น ได้แก่ (1) วางเป้าหมายการเร่ิมรักษา และการหยุดใช้ แพทย์ควร
หารือร่วมกับผู้ป่วยให้ชัดเจน (2) การบริหารจัดการโดยแพทย์เวชปฏิบัติท่ัวไป (3) มีกระบวนการ
จัดการความเส่ียง (4) กากับติดตาม ทบทวนทุกสัปดาห์ โดยแพทย์ หรือเภสัชกรผู้เช่ียวชาญ
(5) ให้ผู้ป่วยลงนามยินยอม และ (6) ให้คาแนะนาผู้ป่วยเมื่อใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง
ทางการแพทย์
กกกกกกกกก 5. การเร่ิมใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงกับผู้ป่วยในทางการแพทย์ ต้องคานึงถึง
ข้อปฏิบัติ 2 ประการ ได้แก่ (1) การซักประวัติอาการป่วยในปัจจุบัน ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติเจ็บป่วยทางจิต และโรคทางจิตเวช และอาการทางจิตจากการได้รับยารักษาโรคพาร์กินสัน
ยารักษาโรคสมองเสื่อม และพฤติกรรมเสี่ยงท่ีสัมพันธ์กับการติดสารเสพติด และ (2) การกาหนด
ขนาดยา และการบริหารยา ไม่มีขนาดยาเร่ิมต้นท่ีแน่นอนในผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงแต่ละชนิด
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต 21
อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
22
ขนาดยาที่เหมาะสมขึน กับลกั ษณะของผูป้ ่วยแตล่ ะคน โดยเรม่ิ ตน้ ขนาดต่า และปรับเพิ่มขนาดช้า ๆ จน
ได้ขนาดยาที่เหมาะสม ส่งผลต่อการรักษาสูงสุด และเกิดผลข้างเคียงต่าสุด ขนาดยาในระดับต่า
มีโอกาสเกิดผลข้างเคยี งนอ้ ย
กกกกกกกกก 6. ข้อห้ามใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสาร THC และ CBD เป็นส่วนประกอบมี 4 ข้อ ได้แก่
(1) ผู้ท่ีมีประวัติแพ้ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสารสกัดกัญชาและกัญชง (2) ผู้ท่ีมีอาการรุนแรง หรือมีปัจจัย
เสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ (3) ผู้ที่เป็นโรคจิต หรืออาการของโรคอารมณ์แปรปรวน หรือโรควิตก
กังวลมาก่อน และ (4) สตรีมีครรภ์ สตรีท่ีให้นมบุตร รวมทังสตรีวัยเจริญพันธุ์ที่ไม่ได้คุมกาเนิด หรือ
สตรวี างแผนท่จี ะตงั ครรภ์
กกกกกกกกก 7. ข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกญั ชง
7.1 ข้อควรระวังทางการแพทย์ ไม่ควรใช้ผลติ ภัณฑ์กัญชาและกัญชงในผู้ป่วย
ที่มีอายุต่ากว่า 25 ปี เพราะมผี ลข้างเคียงต่อสมองที่กาลังพัฒนา และไม่ควรใชก้ ับผู้ปว่ ยโรคตับ ผตู้ ิดสาร
เสพติด รวมถึงนิโคติน ผู้ด่ืมสุราอย่างหนัก ผู้ใช้ยาในกลุ่มโอปิออยด์ (Opioids) ยากล่อมประสาท เด็ก
และผู้สูงอายุ เนอื่ งจากยงั ไมม่ ีข้อมลู ทางวิชาการมากเพียงพอ
7.2 ขนาดของกัญชาและกัญชงท่ีใช้ในทางการแพทย์ ในการรักษาโรค ยังไม่
สามารถกาหนดขนาดการใช้ท่ีแน่นอนได้ โดยต้องปรับให้เหมาะกับแต่ละบุคคล และมีหลักสาคัญคือ
เร่ิมทีละน้อย แล้วค่อย ๆ เพ่ิมขนาด ซ่ึงผู้ป่วยท่ีเป็นโรค หรือมีอาการต่างกัน จะใช้ขนาดยาต่างกัน
โดยหากใชข้ นาดยากญั ชาและกัญชงทไี่ ม่ถูกตอ้ งจะเกดิ การดือยา
7.3 ห้ามใช้นามันกัญชาและกัญชงทาบุหร่ี เพราะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อ
ระบบทางเดินหายใจ และไม่ควรใชก้ ับบหุ ร่ีไฟฟา้ อาจทาให้ปอดอกั เสบเปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ
7.4 สารตกค้างจากการสกัดนามันกัญชาและกัญชง ในการเลือกผลิตภัณฑ์
กัญชาและกัญชงต้องศึกษาว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวใช้สารสกัดชนดิ ใด มีความปลอดภัยมากน้อยเพียงใด
การสกัดโดยตัวทาละลายแนฟทา หรือปิโตรเลียมอีเทอร์ มีความปลอดภัยน้อยกว่าการสกัดด้วย
เอทานอล หรือการต้มในนามันมะกอก เนื่องจากพบการตกค้างของตัวทาละลายที่มีความเส่ียงท่ีทาให้
เกิดโรคมะเร็งได้ และวิธีการสกัดใหม่ที่เป็นท่ีนิยมในปัจจุบัน ได้แก่ การสกัดโดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์
เหลว และเอทานอล สกัดเย็น เน่ืองจากมีความปลอดภัยสูง สามารถสกัดได้ปริมาณมาก และได้สาร
แคนนาบนิ อยดเ์ ขม้ ข้น
7.5 ความปลอดภัยของนามันกัญชาและกัญชง ต้องคานึงถึงแหล่งที่มา
ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานการผลิตท่ีดี ต้องผ่านการตรวจควบคุมคุณภาพ และสั่งจ่ายภายใต้แพทย์
เภสัชกร และแพทย์แผนไทยที่ผ่านการอบรมการใช้กัญชาและกัญชง เพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์
มาแล้ว
22 หนังสือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชีวิต เพือ่ ใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา
23
7.6 สายพันธุ์กัญชาและกัญชงเหมาะกับบางโรค จากการสังเกตการณ์เก็บ
ขอ้ มูลจากงานวิจัย สารเคมีทแ่ี ตกตา่ งกันในกัญชาและกญั ชงแต่ละสายพันธ์ุ และผลการรกั ษาในผู้ป่วย
แต่ละโรคในต่างประเทศ พบว่ากัญชาและกัญชงแต่ละสายพันธ์ุมีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับแต่ละโรค
ไมเ่ ท่ากนั แต่ยงั เปน็ งานวจิ ยั ขนั ต้น ต้องมกี ารศกึ ษาในเชงิ ลึกต่อไป
7.7 หลกั ธรรมนาชีวิตพ้นพิษภยั จากกัญชาและกัญชง การใชพ้ ุทธธรรมเพื่อสร้าง
ภูมิคุ้มกัน ทางด้านจิตใจให้มีความเข้มแข็ง โดยใช้ภูมิคุ้มกันทางครอบครัวท่ีเป็นความรักความอบอุ่น
ความเข้าใจซึ่งกันและกัน ภูมิคุ้มกันจากสังคมสิ่งแวดล้อม ภูมิคุ้มกันจากกัลยาณมิตร รวมถึงการ
เสริมสร้างการเรียนรู้ท่ีเกิดจากตนเองเป็นผู้กาหนด เยาวชนของชาตสิ ่วนใหญ่ทห่ี ลงเขา้ ไปเสพยา หรอื
เก่ียวข้องกับยาเสพติด รวมทังกัญชาและกัญชง อาจเนื่องจากขาดความรักความอบอุ่น ขาดความรู้
ความเข้าใจต่อสังคม เข้าใจว่าตนเองไม่มีคุณค่า และขาดความรู้ทางธรรมะพืนฐาน หากเราต้องการ
แก้ปญั หาเรอ่ื งยาเสพติดของเยาวชน เราจาเปน็ ตอ้ งแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของเยาวชน รวมทงั ตวั เราควร
ได้เรียนรู้ปรับทัศนคติมุมมองด้วยการใช้ปัญญา เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาของตนเอง
ในด้านครอบครัว สังคม และมิตร ให้ประสานสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เสมือนเฟืองสามตัว
ขบั เคลอ่ื นกลไกใหท้ างานในเวลาเดียวกัน ดงั นันการป้องกนั มใิ หเ้ ยาวชน รวมทังตัวเราได้มีโอกาสเข้าไป
ยุ่งเก่ียว กับยาเสพติด เป็นการป้องกันในลักษณะการสร้างความพร้อมในการใช้ชีวิตเตรียมความพร้อม
ในการเป็นผู้ใหญ่ หรือเป็นผู้ดูแลตนเองได้ โดยใช้ปัญญาเป็นเคร่ืองมือที่จะนาพาตนเองให้อยู่ในสังคม
เป็นพลเมือง ที่มีคุณภาพ ซ่ึงจะเป็นปัจจัยสาคัญท่ีจะทาให้เราใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างภาคภูมิใจ เป็น
พลเมืองท่ีมีคุณภาพ มีความเข้มแข็งที่เกิดจากกระบวนการใช้ปัญญาเป็นหลักที่ยึดเหน่ียว ซ่ึงจะเป็น
พืนฐานสาคัญท่ีจะทาให้ประเทศไทยมีพลเมืองท่ีมีคุณภาพนาพาประเทศให้มีความสุขสงบ
เจริญรงุ่ เรอื งสืบไป
กกกกกกก1. 8. ข้อห้ามในการใช้กัญชาและกัญชงกับบุคคลต่อไปนี ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีอาการทางระบบ
ประสาทผิดปกติ ผ้ปู ว่ ยโรคหัวใจขนั รุนแรงทีม่ ีอาการความดนั โลหติ ต่าลง หรือหัวใจเตน้ เร็ว สตรีตังครรภ์
หรือให้นมบุตร บุคคลที่มีอายุต่ากว่า 25 ปี ผู้ป่วยโรคตับ โดยถ้าจาเป็นต้องใช้ต้องอยู่ในความดูแล
ของแพทยผ์ เู้ ชี่ยวชาญ
กกกกกกก1. 9. การถอนพิษเบืองต้นจากการเมากัญชาและกัญชง ท่ีมีอาการมึนศีรษะ โคลงเคลง
แนน่ หนา้ อกจากการใช้กญั ชาและกัญชงเกินขนาด มีอยู่ 3 วิธี ไดแ้ ก่ วธิ ที ี่ 1 ใหด้ มื่ นามะนาวผสมนาผึง
หรือนาตาลทราย วิธีท่ี 2 ดื่มสมุนไพรรางจืด และวิธีท่ี 3 รับประทานกล้วยนาว้าสุก วันละ 3 เวลา
เวลาเช้า กลางวนั และเย็น
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ 23
อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
24
24
ผลการเรผยี ลนกราูท้ ร่ีคเรายีดนหรวูท้ งั ค่ี าดหวงั
ผลการเรีย1น. รเทู้พี่คื่อใาหด้ผหู้เรวียังนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเหตุใดต้องเรียนรู้กัญชาและกัญชง กัญชา
และกัญชงพ1.ืชยเาพท่ือ่ีคใหวร้ผรู้เู้รรียู้จนักมโีคทวษาแมลระู้คปวราะมโเยขช้านใจ์ขเอกง่ียกวัญกับชาเหแตลุะใดกตัญ้อชงงเรกียฎนหรมู้กาัญยชทา่ีเแกลี่ยะวกขัญ้องชกงับกัญชา
และกัญชชงงพกืชัยญาชทาี่คแวลระรกู้ รัญู้จักชโงทกษับแกลาะรปแรพะทโยช์แนผ์ขนอไงทกยัญแชลาะแกลาะรกแัญพชทงยก์ทฎาหงเมลาือยกท่ีเกี่ยัญวชขา้อแงลกะับกกัญั ชาง
แกับลกะากรัญแชพงทยกแ์ ัญผชนาปแัจลจุบะกนั ัญแชลงะกใชับ้กกัญาชราแแพลทะยก์แญั ผชนงเไปทน็ ยยแาลอะยกา่ งารรู้คแณุ พคทา่ ยแ์ทละาชงเาลญือฉกลากดัญชาและกัญชง
กับการแพท2ย. ์แเผพนื่อปใัจหจ้ผบุ ู้เรนั ียนแลมะีทใกั ชษ้กะัญใชนากแาลระแกสญัวงชหงาเปค็นวายมารอู้ยแ่าลงะรทู้คักณุ ษคะ่าใแนลกะาชราคญิดฉวลิเคารดาะห์เกี่ยวกับเหตุ
ใดต้องเรียน2ร.ู้กเัญพช่ือาใแหล้ผะู้เรกียัญนชมงีทกั ัญษะชใานแกลาะรกแัญสชวงหพาืชคยวาาทม่ีครวู้ แรลรู้ะรทู้จักักษโทะใษนแกลาะรปคริดะวโิเยคชรนาะ์ขหอ์งเกกี่ยัญวชกาับแเหลตะุ
กใดัญตช้องงเกรฎียหนมรู้ากยัญทช่ีเากแี่ยลวขะก้อัญงกชับงกกัญัญชาชแาลแะลกะัญกัญชงชงกพัญืชชยาาแทล่ีคะวกรัญรชู้ รงู้จกักบโกทาษรแลพะทปยร์แะผโนยไชทนย์ขแอลงะกกัญารชแาพแทลยะ์
กทัญางชเลงอื กฎกหัญมชายกทัญี่เกช่ียงกวบัขก้อางรกแับพกทัญยช์แผาแนลปะัจกจัญบุ นัชงแลกะัญใช้กาแญั ลชะากแัญละชกงัญกชับงกเปารน็ แยพาอทยย่า์แงผร้คูนุณไทคย่าและชกาญรแฉพลาทดย์
ทางเลือกกญั 3ช.าเกพัญื่อชใงหก้ผับู้เกราียรนแมพีทักยษ์แผะนในปกัจจารุบในั หแ้คลาะแในชะ้กนัญาชกาาแรลใะชก้กญั ัญชชงเาปแน็ ลยะาอกยัญ่าชงรง้คูเปุณ็นคย่าาแอลยะช่าางญถูกฉลตา้อดง
กับบคุ คลอ่นื3.ๆเพทีเ่ือกใย่ีหว้ผขู้เ้อรีงยนมีทักษะในการให้คาแนะนาการใช้กัญชาและกัญชงเป็นยาอย่างถูกต้อง
กับบคุ คลอืน่4.ๆเทพเ่ีือกใ่ยี หว้ผขู้เ้อรงียนตระหนักถึงโทษของกัญชาและกัญชง และตระหนักถึงประโยชน์ของ
กญั ชาและก4ญั. ชเงพเ่ือพใอ่ืหใ้ผชู้เ้ รปียน็ นยตารทะาหงกนาักรถแึงพโททยษ์ทขาองเงลกอื ัญกชแาลแะลกะากรัญแพชทง ยแแ์ ลผะนตปรจั ะจหุบนันักถึงประโยชน์ของ
กขขัญออชบบาขขแ่า่าลยยะขบเเกนนทอญั อือืทบชหห่ีงข1าาา่เพยเหอ่ื เนตใชุใ้อื เ้ดปหตน็ ้อายงาเรทียานงกรูก้ารัญแชพาทแยล์ทะกางญั เลชอืงก และการแพทย์แผนปัจจบุ นั
โครง บทท่ี 1 เหร่อืตงใุ ทดต่ี 1อ้ งมเรมุ ยี มนอรงู้กกัญฎชหามแาลยะกกาัญรใชชงก้ ัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ
โครง เร่ืองท่ี 12 มุมมองกฎารหใมชา้กยัญกชาารแใชล้กะัญกัญชาชแงขลอะกงปญั รชะงชใานชปนรทะว่ัเทไปศไทยและต่างประเทศ
โครง เรอื่ งท่ี 23 มสภมุ มาพอกงกาารรณใ์ขช้อกมัญลู ชทาี่เแกล่ยี ะวกขัญ้อชงกงขบั อกงญั ปชราะแชลาะชกนัญทชั่วไงปผา่ นส่ือออนไลน์
โครง เรื่องที่ 43 สภาพการณ์กขอ้ารมใลู ชทก้ ี่เัญกช่ียาวแขล้อะงกับญกชญั งใชนาตแ่าลงะปกรัญะเชทงศผ่านสื่อออนไลน์
โครง เร่ืองท่ี 45 สภาพการณ์การใชก้ ญั ชาและกญั ชงในตป่ารงะปเทรศะเไทศย
โครง เรื่องที่ 56 สมภมุ มาพอกงกาารรณใ์กชาก้ รญั ใชก้าแัญลชะากแัญละชกงขัญอชงงบใุคนลปารกะรเทศางไทกายรแพทย์
โครง เรื่องที่ 76 มมุ มองการใชก้ ญั ชาและกัญชงของบผู้ปุค่วลยากรทางการแพทย์
โครง เร่อื งที่ 87 สมภมุ มาพอกงกาารรณใ์แชลก้ ะัญขชนั าตแอลนะกาัญรชใหงขบ้ อรงิกผาูป้ รว่คยลนิ ิกกญั ชาในประเทศไทย
โครง บทที่ 2 กเญัรือ่ ชงาทแ่ี ล8ะกสญั ภชางพพกืชายรณาทแ์ ่คี ลวะรขรันู้ ตอนการให้บริการคลินิกกญั ชาในประเทศไทย
โครง บทที่ 2 กเรญั ื่อชงทาแี่ 1ละปกรัญะชวงัตพิคืชวยาามทเปคี่ น็วรมราู้ ของพชื กัญชาและกญั ชง
โครง เร่อื งที่ 12 ปควราะมวัตร้เูคิ บวือางมตเ้นปเน็ กมย่ี าวขกอบั งพืชกกัญัญชชาาแแลละะกกญั ัญชชงง
โครง เรอื่ งที่ 23 คพวืชากมญั รช้เู บาือแงลตะน้กเญั กช่ยี งวคกือบั อพะืชไกรัญแชตากแตลา่ ะงกญันอชยง่างไร
โครง เรอ่ื งท่ี 34 พกาชื รกใัญชพ้ชชืาแกลัญะชกาัญแชลงะคกือัญอชะงไใรนแชตวี ติกปต่ารงะกจันาวอันยข่างอไงรคนในโลก
โครง เรื่องท่ี 4 การใชพ้ ชื กัญชาและกัญชงในชวี ติ ประจาวันของคนในโลก
24 หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต เพ่ือใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา
25
บทที่ 3 รู้จักโทษและประโยชนข์ องกัญชาและกญั ชง
โครง เร่ืองท่ี 1 โทษของกัญชาและกญั ชง
โครง เร่อื งที่ 2 ประโยชนข์ องกัญชาและกญั ชงทางการแพทย์
บทที่ 4 กฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ งกบั กญั ชาและกัญชง
กกก เรอื่ งที่ 1 พระราชบัญญตั ิยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
โครง เร่ืองที่ 2 พระราชบัญญัตวิ ตั ถุออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559
โครง เร่อื งท่ี 3 พระราชบญั ญตั ิยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562
โครง เร่อื งที่ 4 ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ทเี่ กยี่ วข้องกบั กญั ชาและกัญชง
เรอ่ื งที่ 5 ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ
เรอ่ื งที่ 6 พระราชบญั ญัติสิทธิบัตรกับกัญชาและกัญชง
โครง เรื่องที่ 7 ขอ้ ปฏบิ ัติทีต่ ้องทาตามกฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้องกับกัญชาและกัญชง
โครง เรื่องท่ี 8 โทษของการฝา่ ฝืนกฎหมายทีเ่ กยี่ วข้องกับกัญชาและกัญชง
โครง เร่ืองที่ 9 กฎหมายระหว่างประเทศเก่ยี วกบั กญั ชาและกัญชง
บทที่ 5 กัญชาและกญั ชงกับการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
โครง เรอ่ื งท่ี 1 ประวตั คิ วามเปน็ มาการใช้กญั ชาเปน็ ยาทางการแพทย์ในต่างประเทศ
โครง เรือ่ งท่ี 2 ประวตั ิความเปน็ มาการใช้กญั ชาในการแพทยท์ างเลอื กของไทย
โครง เร่อื งที่ 3 ตารบั ยาที่มีกัญชาเปน็ สว่ นประกอบที่ไดม้ ีการคดั เลือกและรับรองโดย
กระทรวงสาธารณสขุ
โครง เรื่องที่ 4 ภูมภิ เู บศรรวบรวมและเผยแพร่ภมู ิปญั ญาไทย
โครง เรือ่ งท่ี 5 ภูมิปญั ญาหมอพืนบา้ น นายเดชา ศริ ภิ ัทร
บทท่ี 6 กญั ชาและกญั ชงกับการแพทย์แผนปจั จุบนั
โครง เร่อื งท่ี 1 ประวตั ิการใช้กัญชาและกญั ชงทางการแพทยแ์ ผนปจั จุบัน
โครง เรอื่ งที่ 2 กญั ชาและกญั ชงทชี่ ว่ ยบรรเทาโรคแผนปัจจบุ ัน
โครง เร่อื งที่ 3 การใช้นามันกัญชาและกญั ชงกับการแพทย์แผนปัจจบุ ัน
โครง เร่อื งที่ 4 ผลิตภัณฑ์กญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์
โครง เรอ่ื งที่ 5 การใช้ผลิตภัณฑก์ ญั ชาและกัญชงใหไ้ ดป้ ระโยชน์ทางการแพทย์
ในปจั จบุ ัน
โครง เร่อื งที่ 6 การใชผ้ ลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์น่าจะได้ประโยชนใ์ นการ
ควบคมุ อาการ
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวติ 25
อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
2266
บบทททท่ี ี่77 ใใชช้ก้กญั ัญชชาาแแลละะกกัญัญชชงงเเปป็น็นยยาาออยย่าา่ งงรรู้คู้คุณุณคค่าา่ แแลละะชชาาญญฉฉลลาาดด
โโคครรงง เเรร่ืออ่ื งงทท่ี ่ี11 คคววาามมเเชชอ่ื ่อื แแลละะคคววาามมจจรรงิ ิงเเกก่ียีย่ ววกกับับกกัญัญชชาาแแลละะกกญั ัญชชงงททาางงกกาารรแแพพททยย์ ์
โโคครรงง เเรรอื่ อื่ งงทท่ี ่ี22 กกาารรใใชช้ผ้ผลลิติตภภัณณั ฑฑ์กก์ ัญญั ชชาาแแลละะกกัญญั ชชงงททาางงกกาารรแแพพททยย์ใ์ในนออนนาาคคตตใใหห้ไ้ไดดป้ ้ปรระะโโยยชชนน์ ์
โโคครรงง เเรร่อื ่ืองงทท่ี ี่33 ขขอ้ ้อแแนนะะนนาากก่อ่อนนตตดั ดั สสินนิ ใใจจใใชชผ้ ผ้ ลลติ ติ ภภณั ัณฑฑก์ ก์ ัญัญชชาาแแลละะกกัญญั ชชงงททาางงกกาารรแแพพททยย์ ์
โโคครรงง เเรร่ือื่องงทที่ ่ี44 กกาารรววาางงแแผผนนกกาารรรรกั กั ษษาาดดว้ ว้ ยยผผลลติ ติ ภภัณัณฑฑ์ก์กัญญั ชชาาแแลละะกกญั ัญชชงง
โโคครรงง เเรรอื่ ื่องงทที่ ่ี55 กกาารรเเรรมิ่ ิม่ ใใชช้ผผ้ ลลิติตภภัณัณฑฑ์กก์ ัญญั ชชาาแแลละะกกญั ัญชชงงใในนททาางงกกาารรแแพพททยย์ ์
โโคครรงง เเรรอื่ ่ืองงทที่ ่ี66 ขข้ออ้ หหา้ า้ มมใใชช้ผ้ผลลติ ติ ภภัณณั ฑฑ์ท์ทม่ี ่มี สี สี าารร TTHHCCแแลละะCCBBDDเเปปน็ น็ สส่วว่ นนปปรระะกกออบบ
โโคครรงง เเรร่ืออื่ งงทที่ ี่77 ขขอ้ ้อคคววรรรระะววังงั เเกกี่ย่ยี ววกกบั ับกกาารรใใชชผ้ ้ผลลิตติ ภภณั ณั ฑฑก์ ์กญั ัญชชาาแแลละะกกัญัญชชงง
โโคครรงง เเรรอื่ อ่ื งงทท่ี ี่88 ขขอ้ ้อหหา้ า้ มมใในนกกาารรใใชชก้ ้กญั ัญชชาาแแลละะกกัญัญชชงง
โโคครรงง เเรร่ือื่องงทที่ ี่99 กกาารรถถออนนพพษิ ษิ เเบบือืองงตตน้ ้นจจาากกกกาารรเเมมาากกญั ญั ชชาาแแลละะกกัญญั ชชงง
สสอื่ ่ือปปรระะกกอสอบื่อบกปการาระรเกเรรอยี ียบนนการเรียน
สส่ือ่ือทที่ใ่ีใชช้ศ้ศึกึกษษาาเเนนือือหหาาแแตต่ล่ละะบบททมมีทีทังังสสื่อื่อเเออกกสสาารร สสื่อ่ือออิเิเลล็ก็กททรรออนนิกิกสส์ ์ แแลละะสส่ือ่ือแแหหลล่ง่งเเรรียียนนรรู้ ู้
ใในนชชมุ ุมชชนน
26 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวติ เพ่ือใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา
27
บทที่ 1
1บทที่
เหตใุ ดตอ้ งเรยี นรกู้ ญั ชาและกญั ชง
เหตใุ ดตอ้ งเรยี นรกู้ ญั ชาและกญั ชง
สาระสาคสญั าระส�ำ คัญ
กกกกกกก1. มุมมองกฎหมายการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ กฎหมายท่ี
เกี่ยวข้องกับการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ เพ่ือเปิดโอกาสให้สามารถ
นากัญชา ไปทาการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ และสามารถนาไปใช้ในการ
รักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์ได้ ในต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศอุรุกวัย แคนาดา
เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย อิสราเอล และมาเลเซีย แต่ในบางประเทศ เช่น
ประเทศแคนาดา หรือในบางรัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศทางยุโรป เป็นต้น มีการ
อนุญาตใหใ้ ชก้ ัญชาเพ่ือการนันทนาการได้อีกดว้ ย
กกกกกกก2. มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของประชาชนทั่วไป
2.1 มิติการระบาดของกัญชาและกัญชง ในประเทศไทยมีการแพร่กระจายของการ
นานามันกัญชา มาใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ ตามความเช่ือของประชาชน ซึ่งการใช้นามันกัญชา
ในปัจจุบันโดยส่วนมากเป็นการแอบซือมาใช้โดยไม่ทราบแหล่งที่มา และไม่ทราบว่าใช้กัญชาในการ
ผลิตมากน้อยเพียงใด ไม่มีการควบคุมคุณภาพและความปลอดภยั หลังจากที่ประชาชนนาไปใช้ ทาให้
ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้นามันกัญชา และในต่างประเทศทั่วโลก มุ่งหน้าสู่การทาให้กัญชาเป็น
ส่ิงถูกกฎหมาย ในรูปแบบใดรูปแบบหน่ึง ในหลายประเทศพยายามจะก้าวตามให้ทัน ซ่ึงจะเห็นได้
หลายแห่งในภมู ิภาคลาตนิ อเมริกา รฐั บาลอยากใหช้ าวไร่ สามารถเข้าถงึ การปลูกกญั ชาเพื่อการแพทย์
มากขนึ เพราะได้ผลกาไรดี และเปน็ ตลาดทกี่ าลงั เจริญเตบิ โต
2.2 ความเช่ือท่ีเก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชงในวิถีชีวิต ความเชื่อในประเทศไทยและ
ต่างประเทศ มีลักษณะคล้ายคลึงกันในการนากัญชามาใช้ในการปรุงอาหารเพื่อเพ่ิมรสชาติ ในขณะท่ี
ประเทศไทยมีความเชื่อว่ากญั ชาเป็นส่วนผสมของยาพืนบ้านใช้ประโยชน์ทางยาได้ ส่วนในต่างประเทศ
จะใช้นามันกัญชาเพื่อรักษาโรคและบรรเทาอาการป่วย ผู้ท่ีคิดจะนานามันกัญชาไปใช้จึงควร
ตระหนกั ถึงโทษอนั ตรายท่อี าจจะเกิดขึนกบั ตนเอง หรอื ผู้มสี ่วนเก่ียวขอ้ งได้
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ 27
อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
28
2.3 การสารวจความคิดเห็นของประชาชน จากผลการสารวจเรื่อง “คนไทยคิดเห็น
อยา่ งไร กับการนากญั ชามาใช้เป็นยารักษาโรค” พบว่าประชาชนสว่ นใหญ่เห็นด้วยกับการผลกั ดนั ให้มี
การนากัญชามาใชเ้ ป็นยารักษาโรคในประเทศไทย เรอื่ ง “กัญชาประโยชน์หรือโทษ” พบว่าประชาชน
ส่วนใหญ่เห็นด้วย เพราะกัญชามีประโยชน์หลายอย่าง สามารถใช้ในการรักษาโรคได้ ถ้านามาใช้
ทางการแพทย์คาดว่าจะเกิดประโยชน์อย่างมาก และเรื่อง “การอนุญาตให้ใช้กัญชาและกระท่อม
ในทางการแพทย์” พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ รับทราบข้อมูลเก่ียวกับการอนุญาตให้ใช้ประโยชน์จาก
กัญชาและกระท่อมทางการแพทย์ ในพระราชบญั ญตั ิยาเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562
กกกกกกก3. สภาพการณ์ข้อมูลทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับกัญชาและกญั ชงผา่ นส่ือออนไลน์ ข้อมลู ที่เก่ียวข้องกับ
กัญชาและกัญชงผ่านสื่อออนไลน์ มีทังข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต (Internet) เฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์
(Line) และยูทูบ (YouTube) ข้อมูลเหล่านี ทาให้ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย แต่ยังขาดการคิดวิเคราะห์
ว่าข้อมูลใดมีความน่าเชื่อถือ จึงควรมีความรู้ในการคิดวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลที่สืบค้นได้ผ่านส่ือ
ออนไลน์ และตระหนักถึงความสาคญั ของการคิดวิเคราะหแ์ ยกแยะขอ้ มูลท่ีถูกต้อง
กกกกกกก4. สภาพการณ์การใช้กัญชาและกัญชงในต่างประเทศ การใช้กัญชาและกัญชงใน
ต่างประเทศ ใช้เสรีได้เพื่อนันทนาการ มีอยู่ในประเทศอุรุกวัย แคนาดา สหรัฐอเมริกาเป็นบางรัฐ
สเปนใช้ในพืนที่ส่วนตัว เนเธอร์แลนด์ใช้ในร้านกาแฟ ในขณะท่ีประเทศอื่น ๆ มากกว่า 30 ประเทศ
ใหใ้ ช้กัญชาในทางการแพทยร์ วมถงึ ประเทศไทยด้วย ส่วนการศึกษาและวจิ ัยเกี่ยวกับกัญชาและกัญชง
มีในต่างประเทศมานานแล้ว สาหรับประเทศไทยไม่มีการศึกษาวิจัยเน่ืองจากกัญชาและกัญชงเป็นยา
เสพติด จึงไม่มผี ลการวจิ ยั มารองรบั
กกกกกกก5. สภาพการณ์การใช้กญั ชาและกญั ชงในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสขุ อนญุ าตให้ใช้
ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ในการรักษาโรคภาวะคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยท่ีได้รับยา
เคมบี าบัด โรคลมชักท่ีรกั ษายากและที่ดือต่อยารักษา ภาวะกล้ามเนือหดเกร็งในผู้ปว่ ยปลอกประสาท
เส่ือมแข็ง ภาวะปวดประสาทที่รักษาวิธีอื่นไม่ได้ผล และให้ควบคุมอาการของโรคพาร์กินสัน อัลไซเมอร์
โรควิตกกังวล โรคปลอกประสาทอักเสบ และผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ส่วนการแพทย์ทางเลือกได้
คัดเลือก และรับรองตารับยาที่มีกัญชาเป็นส่วนประกอบ ให้ผู้ป่วยใช้ได้โดยอยู่ภายใต้การควบคุมดูแล
ของแพทยท์ ไ่ี ด้รบั อนุญาต
กกกกกกก6. มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของบุคลากรทางการแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์
มีความคิดเห็นว่าหากจะใช้กัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ต้องแจ้งให้ชัดเจน ว่าใช้ได้กับโรคใด
ได้ผล มีความปลอดภัยทางวิชาการ คุณภาพของสารสกัดจากกัญชาและกัญชง ต้องระบุวิธีการสกัด
หรือมีสารปนเปื้อนหรือไม่ การเข้าถึงอย่างเป็นระบบ ทังระยะสันและระยะยาว รวมถึง มีการศึกษา
เร่ืองความปลอดภัยการใช้ในคน และในมิติต่าง ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าใช้แล้วไม่เกิดการเสพติด หรือมีการ
นาไปใช้ในทางที่ผิด ซ่ึงการผลิตยานันไม่ต้องการเพียงยาที่รักษาโรคเท่านัน แต่ยังตอ้ งการยาท่ีมีความ
28 หนังสอื เรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ิต เพือ่ ใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา
29
29
ปลอดภัย มีมาตรฐาน และมีคุณภาพ แม้กัญชาและกัญชงจะมีสรรพคุณเป็นยา ที่เป็นประโยชน์ต่อ
ปผู้ปล่วอยดใภนัยบามงีมโารตครแฐตา่นถ้าแใชล้กะัญมีคชุณาอภยา่าพงไมแ่ถมูก้ ตัญ้อชงาและไกมัญ่มชีกงาจระคมวีสบรครุมพกค็จุณะเป็นอยันาตทร่ีเาปย็นทปังตร่ะอโผยู้ใชน้แล์ตะ่อ
ผสังู้ปค่วมยในบางโรค แต่ถ้าใช้กัญชาอย่างไม่ถูกต้อง และไม่มีการควบคุมก็จะเป็นอันตรายทังต่อผู้ใช้และ
สกงักคกมกกกก7. มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของผู้ป่วย ผู้ป่วยมีความคิดเห็นว่าการใช้กัญชาและ
กัญกกชกงตก้อกงกค7า.นึงมถุมึงมคอวงากมาจราใเปช้กน็ ัญแลชะาคแวลาะมกตัญ้องชกงาขรอขงอผงู้ปผ่วปู้ ย่วยผู้ปโด่วยยเมฉีพควาะาคมวคาิดมเพหึ็งนพวอ่าใกจาทรี่มใชีต้ก่อัญกาชราใแชล้ยะา
กในัญกชางรตจ้อัดงกคาารนอึงาถกึงาครวเาพมื่อจบาเรปรน็ เทแาลอะาคกวาารมตต่า้องงๆกาขรอขงอโงรผค้ปู ถ่วยึงแโมด้วย่าเฉจพะเากะิดคอวากมาพรึงขพ้าองเใคจียทง่ีมทีต่ีเอ่ปก็นารผใลชล้ยบา
ใบน้ากงาแรตจ่อัดากกาารรอขา้ากงาเครียเพงด่ือังบกรลร่าเวทขาึนออายกู่การับตป่ารงิมๆาณขกอางรโรใชค้ยถาทึงแี่มมีก้วัญ่าชจาะแเกลิดะอกัาญกชางรแขล้าะงคเควียางมทแี่เตปก็นต่าผงลขลอบง
บแต้าง่ละแบตคุ ่อคาลการข้างเคียงดังกลา่ วขึนอย่กู ับปริมาณการใช้ยาท่ีมีกญั ชาและกัญชงและความแตกต่างของ
แกตก่ลกะกบกุคกคกล8. สภาพการณ์และขันตอนการให้บริการคลินิกกัญชาในประเทศไทย ประเทศไทยเร่ิม
ใกหก้บกรกิกากรกค8ล.ินสิกภกัาญพชกาาครรณังแ์ รลกะขเมันื่อตวอันทก่ีา2ร4ใหม้บิถรุนิกายรนคลพิน.ิกศก. ัญ25ช6า2ในปที่รโระงเทพศยไาทบยาลปเจร้าะพเทรศะไยทายอเภร่ิัมย
ใภหเู บ้ ศรริกาจรังคหลวิัดนปิกรกาัญจชนี าบครุ รี ตังอ่แมรกาวเนั มท่ือี่ ว1ัน7ทสี่ งิ 2ห4าคมมิถุนพา.ศย.น25พ6.ศ2.เ2ป5ิด6ท2ี่โรงทพ่ีโยรางบพายลามบหาาลรเาจช้านพครระรยาาชอสภีมัยา
จภังเู บหศวรัดนจัคงหรวรัดาชปสรีามจานี แบลรุ ะี ตวอ่ันมทา่ี ว2ันกทัน่ี 1ย7ายสนงิ หพาค.ศม. พ25.ศ6.22ไ5ด6้เ2ปิเดปคิดลทินี่โิกรงกพัญยชาาบทาลางมกหาารรแาพชนทคยร์แรผานชไสทมี ยา
จในังหโรวงัดพนยคารบราาลชศสูนีมยา์ จแาลนะวนั ท1่ี42แกหัน่งยตายลนอดพจ.นศภ. 2าย56ใน2ปไีดพ้เป.ศิด.ค2ล5ิน6ิก2กไัญด้มชีกาทาราเงปกิดาครแลพินิทกกยัญ์แผชนาไททายง
ใกนาโรรแงพพทยยา์แบผานลไศทูนยยเพ์ จิ่มาเนติมวนใน1โร4งพแยหา่งบตาลอชุดมจชนภจาายนใวนนปี1พ2.ศแ.ห2่ง5ร6ว2มทไดัง้มเปีกิดาครลเปินิดิกควลิจินัยนิกากมัญันชกาัญทชาาง
ตการแับพหทมยอ์แเผดนชไาทจยาเพนิ่มวเนติม2ใ2นโแรหง่พงอยีกาบด้าวลยชนุมอชกนจจาากนนวีวนัน1ท2ี่ 2แ0หพ่ง ฤรศวมจทิกังาเยปนิดคพล.ินศิก. ว2ิจ5ัย6น2ากมรันะกทัญรชวาง
ตสาธราับรหณมสอุขเเดปชิดาคจลาินนิกวกนัญช22าทแาหงก่งอารีกแดพ้วทยยน์แอผกนจปาัจกจนุบีวันันท11ี่ 200แพหฤ่งศแจลิกะาคยลนินิกพก.ศัญ.ช2า5ท6า2งกการระแทพรทวยง์
สแผาธนาไรทณยส2ุข4เปแิหดคง่ ลเพินื่อิกเกพัญิ่มชการทเาขงา้ กถาึงรยแาพกญัทชย์าแอผยน่าปงัปจจลุบอดันภ1ัย1ข0องแผหปู้ ่ง่วยและคลินิกกัญชาทางการแพทย์
แผนไทย 24 แห่ง เพ่ือเพิ่มการเขา้ ถงึ ยากัญชาอย่างปลอดภยั ของผปู้ ่วย
ผกผกลลกกกกาากรรกเเรรกผีียย1ลนน.กรรเาูู้้ททพรีคค่่ี ื่อเราาใียดดหน้หหมีรคววูท้วังงั าี่คมารดู้ หคววาังมเข้าใจ เก่ียวกับมุมมองกฎหมายการใช้กัญชาและกัญชงใน
ปกกระกเกทกศกแกล1ะ.ต่าเงพป่ือรใะหเ้ทมีคศวมาุมมรอู้ คงวกามรใเชข้กาัญใจชเากแ่ียลวะกกับัญมชุมงขมองปกรฎะหชมาชายนกทาั่วรไใปช้กสัญภาชพากแาลระณก์ขัญ้อชมงูลในที่
ปเกรี่ยะวเขท้อศงแกลับะกตัญ่างชปารแะลเทะกศัญมชุมงมผอ่างนกสา่ือรอใชอ้กนัญไลชนา์แสลภะากพัญกชางรขณอ์กงาปรรใะชช้กาัญชชนาทแั่วลไปะกสัญภชางพในกตาร่าณงป์ขร้อะมเูทลทศ่ี
สเกภี่ยาวพขก้อางรกณับ์กกาัญรใชชา้กแัญละชกาแัญลชะงกผัญ่านชงสใ่ือนอปอรนะไเทลนศไ์ ทสภยามพุมกมาอรงณก์การาใรชใช้ก้กัญัญชาชแาลแะลกะัญกัญชงชขงอในงบตุค่าลงปากรระทเทาศง
สกาภราแพพกทายร์ณม์กุมามรอใงชก้กาัญรใชชา้กแญั ลชะกาแัญลชะงกใญันปชงรขะอเทงศผ้ปูไท่วย มแุมละมสอภงกาพารกใาชร้กณัญแ์ ชลาะแขลันะตกอัญนชกงาขรอใหงบ้ ุครกิลารกครลทนิ าิกง
กาญั รชแาพในทปย์รมะมุเทมศอไงทกยารใช้กัญชาและกัญชงของผปู้ ว่ ย และสภาพการณแ์ ละขันตอนการให้บริการคลินิก
กญักกชกากในกปกร2ะ.เทเพศไ่ือทใหย้มีทักษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคิดวิเคราะห์ เหตุใดต้องเรียนรู้กัญชา
กแลกะกกญักกชกง2. เพื่อให้มีทักษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคิดวิเคราะห์ เหตุใดต้องเรียนรู้กญั ชา
แกลกะกกัญกกชกง3. เพื่อให้ตระหนกั ถึงมุมมองทุกมิตทิ ่ีเก่ียวขอ้ งกับกัญชาและกัญชง รวมทังสภาพการณก์ าร
กใชก้กกัญกชกากแกล3.ะกเญัพ่ืชองใหใน้ตตรา่ะงหปนรักะถเทึงมศแุมลมะอปงทระกุ เมทิตศิทไที่เกย่ียวขอ้ งกับกัญชาและกัญชง รวมทังสภาพการณก์ าร
ใชก้ ญั ชาและกญั ชงในตา่ งประเทศและประเทศไทย
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพื่อใชเ้ ป็นยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ 29
อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
3300
ขขออบบขขา่่ายยขเเนนอือือบหหขาาา่ ยเนอ้ื หา
กกกกกกกกกกกกกกบบทททท่ี่ี 11 เเหหตตใุุใดดตต้ออ้ งงเเรรียียนนรรู้กู้กญััญชชาาแแลละะกกัญัญชชงง มมขขีี ออบบขข่าา่ ยยเเนนออืื หหาา 88 เเนนืออื หหาา ดดงงัั นนีี
กกกกกกกกกกกกกก เเรรื่อือ่ งงทที่่ี 11 มมมุุมมมอองงกกฎฎหหมมาายยกกาารรใใชชก้้กััญญชชาาแแลละะกกััญญชชงงใในนปปรระะเเททศศไไททยยแแลละะตตา่่างงปปรระะเเททศศ
กกกกกกกกกกกกกก เเรรอื่ื่องงทที่ี่ 22 มมมุมุ มมอองงกกาารรใใชชก้ก้ ญัญั ชชาาแแลละะกกัญัญชชงงขขอองงปปรระะชชาาชชนนททัว่ัว่ ไไปป
กกกกกกกกกกกกกก เเรรอ่่อืื งงทที่่ี 33 สสภภาาพพกกาารรณณ์์ขขอ้้อมมลููลททีเเ่่ี กก่่ีียยววขข้้อองงกกัับบกกญัญั ชชาาแแลละะกกััญญชชงงผผ่่าานนสส่่ืืออออออนนไไลลนน์์
กกกกกกกกกกกกกก เเรรืื่ออ่ งงทที่่ี 44 สสภภาาพพกกาารรณณ์์กกาารรใใชช้กก้ ัญญั ชชาาแแลละะกกญััญชชงงใในนตต่่าางงปปรระะเเททศศ
กกกกกกกกกกกกกก เเรรือ่ื่องงทท่ีี่ 55 สสภภาาพพกกาารรณณ์์กกาารรใใชชก้้กญััญชชาาแแลละะกกญญัั ชชงงใในนปปรระะเเททศศไไททยย
กกกกกกกกกกกกกก เเรร่ือ่ืองงทที่ี่ 66 มมุมมุ มมอองงกกาารรใใชชก้ก้ ััญญชชาาแแลละะกกััญญชชงงขขอองงบบุุคคลลาากกรรททาางงกกาารรแแพพททยย์์
กกกกกกกกกกกกกก เเรรอื่ือ่ งงทท่ีี่ 77 มมมุมุ มมอองงกกาารรใใชชก้ก้ ัญัญชชาาแแลละะกกญัญั ชชงงขขอองงผผู้ปู้ปว่ว่ ยย
กกกกกกกกกกกกกก เเรรื่่ออื งงททีี่่ 88 สสภภาาพพกกาารรณณแ์์แลละะขขนนัั ตตออนนกกาารรใใหห้บ้บรริกกิ าารรคคลลินินิกกิ กกัญัญชชาาใในนปปรระะเเททศศไไททยย
สสือ่อ่ื ปปรระะกกสออ่อืบบปกกราาะรรกเเรรอยีียบนนการเรยี น
11.. ชช่่ืืออหหนนัังงสสืืออกกััญญชชาารรัักกษษาามมะะเเรร็็งง ชชื่่ืออผผูู้้แแตต่่งง สสมมยยศศ ศศุุภภกกิิจจไไพพบบููลลยย์์ โโรรงงพพิิมมพพ์์ สสาานนัักกพพิิมมพพ์์
ปปััญญญญาาชชนน IINNTTEELLLLEECCTTUUAALLSS ปปีทที พี่ีพ่ มิิมพพ์์ 22556611
22.. ชช่ืื่ออบบททคคววาามม ขข้้ออรระะววัังงกกาารรใใชช้้ผผลลิิตตภภััณณฑฑ์์กกััญญชชาา ชชื่ื่ออผผูู้้เเขขีียยนน ศศููนนยย์์พพิิษษววิิททยยาารราามมาาธธิิบบดดีี
คคณณะะแแพพททยย์์ศศาาสสตตรรโโ์์ รรงงพพยยาาบบาาลลรราามมาาธธิิบบดดีี มมหหาาววิิททยยาาลลยัยั มมหหิิดดลล สสืืบบคค้้นนจจาากก hhttttppss::////wwwwww..hhffooccuuss..oorrgg
//ssiitteess//ddeeffaauulltt //ffiilleess//ffiilleess__uuppllooaadd//kkhhmmuuuullkkaayycchhaaaassuuuunnyypphhiissrraaaammaaaa__eeddiitt..ppddff
33.. ชชื่ื่ออบบททคคววาามม คคลลิินนิิกกกกััญญชชาาททาางงกกาารรแแพพททยย์์แแผผนนไไททยย ดดีีเเดดยย์์เเปปิิดดบบรริิกกาารร 1133 แแหห่่งงททุุกกเเขขตต
สสุุขขภภาาพพ ชชืื่ออ่ ผผเู้้เู ขขยีียนน ชชววีี จจิติต สสบืบื คคนน้้ จจาากก hhttttpp::////wwwwww..bbbbcc..ggooooddddlliiffeeuuppddaattee..ccoomm//hheeaalltthhyy--bbooddyy//
44.. ชช่ื่ืออบบททคคววาามม มมอองงกกััญญชชาาใใหห้้รรออบบดด้้าานน ชช่ืื่ออผผูู้้เเขขีียยนน พพรรททิิพพยย์์ ททอองงดดีี สสืืบบคค้้นนจจาากก
hhttttppss::////wwwwww..kkoommcchhaaddlluueekk..nneett//nneewwss//bbrreeaakkiinngg--nneewwss//337700228877
55.. หห้ออ้ งงสสมมุุดดใใกกลลบ้้บ้า้านนขขอองงผผเูเู้้ รรียียนน
เเรร่ื่ือองงทท่ี่ีเร11อ่ื งมมทมุมุ ่ี มม1อองงมกกุมฎฎมหหอมมงาากยยฎกกหาามรราใใยชชกก้ก้ าญััญรชชใชาา้กแแัญลละะชกกาัญญั แลชชะงงกใในนัญปปชรรงะะใเเนททปศศรไไททะเยยทแแศลลไะะทตตยา่่าแงงลปปะรรตะะ่าเเททงปศศระเทศ
กกกกกกกกกก ททาาไไมมปปรระะชชาาชชนนตต้้อองงเเรรีียยนนรรูู้้เเกกี่ี่ยยววกกัับบกกััญญชชาาแแลละะกกััญญชชงงออยย่่าางงรรูู้้เเทท่่าาททัันน เเนนื่่ือองงจจาากกมมีีกกาารร
เเปปลลี่ี่ยยนนแแปปลลงงขขอองงกกฎฎหหมมาายยทท่่ีีเเปปิิดดกกวว้้าางงใใหห้้ใใชช้้กกััญญชชาาเเปป็็นนปปรระะโโยยชชนน์์ททาางงกกาารรแแพพททยย์์ไไดด้้ ปปรระะกกออบบกกัับบกกรระะแแสส
โโลลกกแแลละะปปรระะชชาาชชนนใในนปปรระะเเททศศไไททยย มมีีคคววาามมตต่ืื่นนตตััววใใหห้้คคววาามมสสนนใใจจกกาารรใใชช้้ปปรระะโโยยชชนน์์จจาากกกกััญญชชาาแแลละะกกััญญชชงง
ททาางงกกาารรแแพพททยย์์ เเพพื่่ืออกกาารรรรัักกษษาาโโรรคคเเปป็็นนไไปปออยย่่าางงกกวว้้าางงขขววาางงมมาากกขขึึนน แแลละะรรััฐฐบบาาลลปปััจจจจุุบบัันนกก็็ไไดด้้กกาาหหนนดด
นนโโยยบบาายยใใหห้้มมีีกกาารรสส่่งงเเสสรริิมมกกาารรพพััฒฒนนาาเเททคคโโนนโโลลยยีีกกาารรใใชช้้กกััญญชชาาแแลละะกกััญญชชงงใในนททาางงกกาารรแแพพททยย์์ แแลละะ
ออุุตตสสาาหหกกรรรรมมททาางงกกาารรแแพพททยย์์ ทที่่ีไไมม่่กก่่ออใใหห้้เเกกิิดดผผลลเเสสีียยตต่่ออสสัังงคคมม โโดดยยตต้้อองงปปฏฏิิบบััตติิตตาามมทท่ี่ีกกฎฎหหมมาายยบบััญญญญััตติิไไวว้้
30 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ิต เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา
31
อย่างเครง่ ครัด ด้วยเหตุนีจึงมีความจาเป็นต้องเตรียมสงั คมให้มีความรู้เก่ยี วกับการใชก้ ญั ชาและกญั ชง
เป็นยาอย่างถูกต้อง เหมาะสม โดยเฉพาะโทษของกัญชาและกัญชง เพ่ือให้ประชาชนมีความรู้ ความ
เข้าใจเกี่ยวกับกฎหมาย สภาพการณ์ข้อมูลที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชงผ่านสื่อออนไลน์ การใช้
กัญชาและกัญชงในต่างประเทศและในประเทศไทย มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของบุคลากรทาง
การแพทย์ และของผู้ป่วย รวมทังสภาพการณ์ และขันตอนการให้บริการคลินิกกัญชาในประเทศไทย
เพ่ือให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการใช้กัญชาและกัญชงอย่างถูกต้องกว้างขวางทุกมิติ
ซึ่งจะช่วยให้เกิดความตระหนักรู้ถึงโทษ ท่ีเป็นพิษภัยของการใชผ้ ลิตภัณฑ์จากกัญชาและกัญชงในทาง
ท่ีผิด อันจะนาไปสผู่ ลเสยี หายตอ่ ตนเอง ครอบครัว สงั คม และประเทศชาติท่ียากจะเยียวยาตามมาได้
การเรียนรู้เก่ียวกับการใช้กัญชาและกัญชงในหลักสูตรนี ไม่ส่งเสริมให้มีการปลูก หรือผลิตส่ิงท่ีเป็น
ผลิตภัณฑ์จากพืชกัญชาและกัญชง แต่เป็นการเรียนรู้ท่ีเน้นให้ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพืชกัญชา
และกญั ชงทถี่ ูกต้อง โดยสามารถนาไปใชเ้ ปน็ ประโยชน์ทางการแพทย์เท่านัน ดงั มีรายละเอียดต่อไปนี
กกกกก 1. มมุ มองกฎหมายการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทย
ในอดีตประเทศไทยให้กัญชาและกัญชงเป็นสารเสพติดประเภทท่ี 5 จนกระทั่งถึงวันที่
19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ไดม้ ีการแก้ไขกฎหมายเพ่ิมเติมพระราชบัญญตั ิยาเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ 7)
พ.ศ. 2562 เพื่อเปิดโอกาสให้สามารถนากัญชาไปทาการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพ่ือประโยชน์ทาง
การแพทย์ และสามารถนาไปใช้ในการรักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์ได้ เป็นเร่ืองที่
สังคมไทยรับรู้มาตังแต่ปี พ.ศ. 2561 เพียงแต่องค์การสหประชาชาติ (UN : United Nations) มี
ข้อกาหนดเรื่ององค์กรกลาง ในการกากับดูแลการใช้กัญชาทางการแพทย์ กล่าวคือ ในกรณีท่ีมีการ
เพาะปลูกกัญชา หน่วยงานของรัฐจะต้องจัดตังองค์กรกลาง หรือหน่วยงานกัญชาแห่งชาติขึนมา
กาหนดดูแลเขตพืนที่ และที่ดินท่ีจะปลูกกัญชา รวมถึงจัดตังระบบการออกใบอนุญาต ซ่ึงขณะนี
ประเทศไทย มีสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เปน็ องค์กรกลางทรี่ ับผิดชอบอยู่ แต่ปัญหา
ที่เกิดขึนภายหลังจากท่ีกฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว คือ ประเทศไทยมีการเปิดเสรีให้ใช้กัญชาในทาง
การแพทย์เป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อกฎหมายมีผลใช้บังคับตังแต่วันถัด
จากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา คือ วนั ท่ี 19 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2562 กฎหมายได้ให้ใช้กัญชาเพื่อ
ประโยชน์ทางการแพทย์และการรักษาผู้ป่วย แต่ในความเป็นจริงคือ ไม่มีกัญชาในปริมาณเพียงพอ
สาหรบั รักษาผู้ป่วย นอกจากนียังมีการเคลื่อนไหวทางสงั คม ของกลุ่มนักการเมือง ผู้ออกกฎหมาย และ
เหล่าเกษตรกรผู้เพาะปลูก ผู้สนับสนุน ทาให้ประชาชนทั่ว ๆ ไป ได้รับรู้ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับกฎหมาย
การใช้กัญชาและกัญชงมีทังที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง จึงมีความจาเป็นท่ีคนไทยต้องเรียนรู้กฎหมายการ
ใช้กัญชาและกัญชงที่ถูกต้อง ทังในอดีตและปัจจุบัน เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันให้สามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
ไม่ฝ่าฝืนกฎหมายก่อเกิดปัญหาสังคม (รายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายการใชก้ ัญชาและกัญชงในประเทศ
ไทยสามารถศกึ ษาได้จากหัวเรื่องท่ี 4 กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับกัญชาและกัญชง)
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพือ่ ใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวิต 31
อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
32
กกกกก 2. มมุ มองกฎหมายการใชก้ ญั ชาและกญั ชงในต่างประเทศ
ประเทศ มมุ มองทางกฎหมาย
อุรกุ วยั เป็นประเทศแรกท่ีเปิดให้ใช้กัญชาได้อย่างกว้างขวางขึน โดย
ประธานาธิบดี โฮเซ มูฮิกา (Jose Mujica) ออกกฎหมายเม่ือ
เดือนธันวาคม ค.ศ. 2013 หรือ พ.ศ. 2556 และในเดือน
สงิ หาคม ค.ศ. 2014 หรือ พ.ศ. 2557 อนุญาตให้ประชาชนปลูก
กญั ชาที่บ้านได้บา้ นละ 6 ต้น ให้รวมกลมุ่ เป็นสโมสรผู้ปลกู กญั ชา
และเปดิ ใหม้ ีร้านขายกญั ชาได้โดยรฐั บาลควบคมุ เอง
แคนาดา 28 พ ฤษ ภ าคม ค.ศ. 2019 ห รือ พ .ศ. 2562 โดยมูลนิ ธิ
สาธารณสุขแห่งชาติ ข้อมูลจากการบรรยายเรื่อง “บทเรียนการ
จัดการนโยบายจากประเทศแคนาดา” ใช้กัญชาทางการแพทย์
ตังแต่ปี ค.ศ. 2001 หรือ พ.ศ. 2544 และ มพี ระราชบัญญัตฉิ บับ
ใหม่เม่ือเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2018 หรือ พ.ศ. 2561 นอกจากใช้
ทางการแพทย์แล้ว ล่าสุดอนุญาตใหป้ ระชาชนใช้เพ่ือนนั ทนาการ
ได้ด้วย ประเทศแคนาดากลายเป็นประเทศท่ี 2 ของโลก ต่อจาก
ประเทศอุรุกวัยท่ีประชาชนสามารถเสพกัญชาได้อย่างเสรี รวม
ไปถึงการเพาะปลกู จนการซือขาย ประเทศแคนาดาเป็นประเทศ
แรก ๆ ของโลกท่ีมีการใช้กัญชาในทางการแพทย์ ซึ่งเป็น
ประโยชน์ต่อผู้ป่วย “แม้ก่อนหน้านีรัฐบาลจะบอกว่าไม่ต้องการ
เปิดเสรีกัญชา แต่ศาลพิจารณาว่าการปฏิเสธสิทธิของประชาชน
เป็นการกระทาท่ีไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ รัฐบาลต้องเปิดเสรี
น่ีคือเหตผุ ลที่เริม่ ใช้ทางการแพทย์”
เนเธอรแ์ ลนด์ เป็นประเทศแรกท่ีนาร่อง ในการผ่อนปรนการควบคุมกัญชา
ท่ีเริ่มแบ่งยาเสพติดเป็นกลุ่มอันตรายมากกว่าและน้อยกว่า และ
จัดกัญชาอยู่ในกลุ่มอันตรายน้อยกว่า ในปี ค.ศ. 1972 หรือ
พ.ศ. 2515 ซ่งึ กาหนดการครอบครองกัญชาไม่เกิน 30 กรัม เป็น
ความผิดอาญาไม่ร้ายแรง ปัจจุบันนโยบายความผิดทางอาญา
สาหรับยาเสพติดไม่ร้ายแรง เช่น การมียาเสพติดประเภทสอง
ไม่เกิน 5 กรัม จะไม่ถูกฟ้องร้องเป็นคดีอาญา การทาให้กัญชา
เปน็ สง่ิ ถกู ต้องในกฎหมายกญั ชา เริม่ ในปี ค.ศ. 2005 หรือ พ.ศ. 2548
32 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ติ เพื่อใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา
33
ประเทศ มุมมองทางกฎหมาย
สหรัฐอเมริกา มีกฎหมายใหม่เรียกว่า “Amsterdam Drugs Laws” กฎหมาย
นีอนุญาตให้ขายกัญชาในร้านกาแฟ (Coffee Shops) ได้ โดย
กาหนดให้คนท่ีมีบัตรสมาชิกสามารถเข้าร้านประเภทนีได้ แต่
ป ร ะ ช าช น ทั่ ว ไป ที่ อ า ศั ย อ ยู่ ใน พื น ท่ี จ ะ ร้ อ งเรี ย น เรื่ อ งปั ญ ห า
อาชญากรรมท่ีสูงขึน เพราะมีการคา้ ยาเสพตดิ ตามท้องถนน
ใช้รูปแบบการปกครองประเทศแบบสหพันธรัฐ (Federal State)
ประกอบด้วยมลรัฐ 50 มลรัฐ (State Government) และการ
ปกครองในระดับท้องถ่ิน (Local Government) รัฐธรรมนูญ
สหรัฐอเมริกาได้อธิบายอานาจในการออกกฎหมายว่า “อานาจ
ทงั หมดท่ีไมไ่ ด้มอบให้แก่รฐั บาลกลาง แต่จะสงวนไว้ให้แก่รัฐบาล
มลรัฐ” โดยกฎหมายอาญาได้ถูกกาหนดให้อยู่ภายใต้ขอบข่าย
อานาจรัฐบาลกลาง ยกเวน้ การกระทาท่ีเป็นอันตรายต่อประเทศ
เท่านัน ในกฎหมายรัฐบาลกลาง รัฐสภาสหรัฐอเมริกากาหนดให้
การใช้กัญชายังคงเป็นส่ิงผิดกฎหมาย กัญชาเป็นยาเสพติด และ
การจาหน่ายกัญชาเป็นอาชญากรรม โดยมีกระทรวงยุติธรรม
(The Department of Justice) เป็ น ห น่ ว ย งาน บั งคั บ ใช้
กฎหมายควบคุมยาเสพติด (The Controlled Substances
Act) ส่วนกฎหมายมลรัฐมีความแตกต่างกัน ขณะนีมี 33 มลรัฐ
ที่อนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ได้ และมี 10 มลรัฐ
ท่ีอนุญาตให้ใช้กัญชาในทางนันทนาการ แต่กัญชายังคงเป็น
ยาเสพติดท่ีผิดกฎหมาย จึงไม่ได้รับการรับรองให้ใช้เป็นยารักษา
โรคได้ แม้ว่ามลรัฐต่าง ๆ จะได้แก้กฎหมายให้ใช้กัญชาทาง
การแพทย์ ดังนัน ผู้ท่ีครอบครองและแจกจ่ายกัญชาจะต้อง
ได้รับโทษ มผี ลทาให้การใช้กัญชาทางการแพทยด์ าเนนิ การในตลาดมืด
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ติ 33
อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
34
ประเทศ มมุ มองทางกฎหมาย
อังกฤษ มีกฎหมายควบคุมยาเสพติดมากกว่า 25 ฉบับ ตามกฎหมายว่า
ด้วยการใช้ยาในทางท่ีผิด ซึ่งควบคุมการใช้ยาตามบัญชีรายช่ือ
ออสเตรเลยี โดยมีการจาแนก นาเข้า ผลิต จัดส่ง ครอบครองยาไว้เพ่ือการ
จัดส่งและครอบครอง นโยบายยาเสพติดที่ชัดเจนเกี่ยวกับกัญชา
เร่ิมตังแต่ ค.ศ. 1971 หรือ พ.ศ. 2514 จากการตราพระราชบัญญัติ
วา่ ด้วยการใช้ยาในทางที่ผิด เพื่อให้สามารถปฏิบัติตามพันธกรณี
ของสนธิสัญญาระหว่างประเทศ หลายสนธิสัญญาที่ได้ให้
สัตยาบันไว้ เพ่ือเป็นส่วนหนึ่งของความพยายามของรัฐบาลท่ีจะ
พัฒนายุทธศาสตร์ยาเสพติดระดับชาติท่ีสามารถแก้ไขปัญหา
การเสพยาและการติดยาเสพติดท่แี พร่ระบาดมาอย่างยาวนานใน
สังคม ได้พัฒนาแผนยุทธศาสตร์ยาเสพติด ในปี ค.ศ. 2008 –
2018 หรือ พ.ศ. 2551 – 2561 เพื่อแก้ไขและปรับปรุง แผน
ยทุ ธศาสตร์ 10 ปี
กรุงแคนเบอร์ราเป็นเมืองแห่งแรกที่มีการรับรองการปลูกและใช้
กญั ชาเพื่อนันทนาการ สอ่ื ท้องถิ่นออสเตรเลียรายงานว่า สภาเขต
(Australian Capital Tarritory, ACT) ได้ผ่านกฎหมายอนุญาต
ให้มีการปลูกกัญชาในบ้าน รวมถึงครอบครองกัญชาได้ไม่เกิน
50 กรัม เพ่ือใช้นันทนาการ นับว่าเป็นรัฐแรกของออสเตรเลียท่ี
ผ่านกฎหมายการใช้กัญชาในลักษณะดังกล่าว ในส่วนของรัฐอื่น
ๆ การใช้กัญชาเพื่อนันทนาการยังคงผิดกฎหมาย ออสเตรเลียได้
ผ่านกฎหมายให้สามารถใช้กัญชาทางการแพทย์ได้ท่ัวประเทศตังแต่
ปี ค.ศ. 1973 หรือ พ.ศ. 2516 สภาเขต (ACT) ไดล้ งมติร่างกฎหมาย
อนุ ญ าตให้ป ระชาชนท่ี อายุตังแต่ 18 ปีขึนไป สามารถ
ครอบครองกัญชาแห้งได้ไม่เกนิ คนละ 50 กรัม หรือสามารถปลูก
เพื่อใช้บริโภคในครัวเรือนได้ไม่เกินคนละ 2 ต้น สูงสุดไม่เกิน
4 ต้นต่อหนง่ึ ครอบครัว
34 หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ิต เพอ่ื ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา
35
ประเทศ มุมมองทางกฎหมาย
อิสราเอล ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี ป ร ะ เท ศ อิ ส ร า เอ ล ร่ า งแ ก้ ไข ก ฎ ห ม า ย ล ด โท ษ
ให้ ผู้เสพกัญชา โดยจะไม่จับกุมดาเนินคดีในทันที แต่ให้เสียค่าปรับในการ
กระทาผิดครังแรกและครังที่สอง การลดโทษดังกล่าวมีขึนสาหรับผู้เสพ
กัญชารายบุคคลเทา่ นัน โดยผู้ที่ยอมรับสารภาพในการกระทาผิดครังแรกจะ
ถูกปรับเป็นเงิน 1,000 เชเคล (ประมาณ 9,400 บาท) แต่จะถูกปรับเพิ่ม
เป็นสองเท่าหากพบว่ากระทาผิดซาสอง อย่างไรก็ตามผู้ที่ยังกระทาผิดเป็น
ครังท่ีสามจะถูกภาคทัณฑ์ และจะถกู ดาเนินคดีอาญาในครังที่ส่ี ทังนี การซือ
ขายและผลิตกัญชายังคงเป็นความผิดอาญาตามกฎหมายของอิสราเอล แต่
การพิ จ ารณ าล ด โทษครังนี มีขึน ตามคาแน ะน าของคณ ะกรรมกา รศึกษ า
ปัญหายาเสพติด และตามแนวทางของประเทศพัฒนาแล้วในยุโรปและ
สหรัฐอเมริกาท่ีไม่ถือว่าการเสพกัญชาในหลายกรณีเป็นความผิดอาญา แต่
เน้นใช้ในการศึกษา และช่วยเหลือบาบัดแก้ไขปัญหาการเสพติดแทน
นายกรัฐมนตรีเบนจามิน เนทันยาฮู ของอิสราเอลเผยว่า การลดโทษ
ดังกลา่ ว มีขนึ อย่างค่อยเปน็ ค่อยไป โดยในทางหน่ึงอิสราเอลได้เปดิ กวา้ งรับ
แนวทางแห่งอนาคตมาใช้ แต่ในอีกทางหนึ่งก็ยังคงตระหนักถึงอันตรายของ
ยาเสพติด รัฐบาลจึงพยายามสร้างสมดุลระหว่างแนวทางทังสอง โดยร่าง
แก้ไขกฎหมายนียังต้องผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภาอีกขันหนึ่ง จึงจะเร่ิม
ประกาศใช้ได้ สถิติของสานักงานป้องกันยาเสพติดและปราบปราม
อาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Office on Drugs and
Crimes, UNODC) ระบุว่ามีผู้ใช้กัญชาในอิสราเอลเกือบร้อยละ 9 ของ
ประชากรทังหมด แต่เชื่อกันว่าตัวเลขจริงสูงกว่านันมาก ประเทศอิสราเอล
ยงั เป็นประเทศผวู้ จิ ัยเพื่อใชก้ ัญชาทางการแพทยช์ นั นาของโลกอีกดว้ ย
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพอื่ ใช้เปน็ ยา หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ติ 35
อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
36
ประเทศ มมุ มองทางกฎหมาย
มาเลเซยี สานักข่าว Talking Drugs และ Highland รายงานตรงกันว่า
เม่ือวันท่ี 30 สิงหาคม ค.ศ. 2018 หรือ พ.ศ. 2561 ศาลสูงของ
มาเลเซียตัดสินประหารชีวิต นายมูฮัมหมัด ลุคแมน โดยการ
แขวนคอ มีความผิดฐานครอบครอง ผลิต และแจกจ่ายนามัน
กัญชาจานวน 3 ลิตร และกัญชาอัดแท่งปริมาน 279 กรัม ซ่ึง
เป็นของกลางท่ีเจ้าหน้าท่ียึดได้จากบ้านพัก เม่ือวันท่ี 5 ธันวาคม
ค.ศ. 2015 หรือ พ.ศ. 2557 โดย นายลุคแมน ใช้นามันกัญชา
เพ่ือรักษาลูก และแจกจ่ายให้กับคนไข้คนอ่ืน ๆ โดยไม่คิด
ค่าตอบแทน อยา่ งไรกต็ ามการกระทานี ถอื ว่าผดิ กฎหมายยาเสพ
ตดิ อันตราย ปี ค.ศ. 1952 หรือ พ.ศ. 2495 ของมาเลเซีย ท่ีระบุ
วา่ “ผู้ใดทแี่ จกจ่ายยาเสพติดผิดกฎหมาย ถือวา่ มีความผิด และมี
โทษถึงประหารชีวติ ”
กกกกก กล่าวโดยสรุป กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทยและ
ต่างประเทศ เพื่อเปิดโอกาสให้สามารถนากัญชา ไปทาการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพ่ือประโยชน์ทาง
การแพทย์ และสามารถนาไปใช้ในการรักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์ได้
ในต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศอุรุกวัย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย
อิสราเอล และมาเลเซีย แต่ในบางประเทศ เช่น ประเทศแคนาดา หรือในบางรัฐของประเทศ
สหรฐั อเมรกิ า และประเทศทางยโุ รป เป็นต้น มีการอนญุ าตใหใ้ ชก้ ัญชาเพ่อื การนันทนาการได้อีกดว้ ย
ถาม
ผู้ปว่ ยสามารถหาซอื ยากญั ชารกั ษาตนเองได้ไมผ่ ิดกฎหมาย จริงหรอื ไม่
ตอบ
ไม่จริง เพราะกฎหมายยังไม่อนุญาตให้ผู้ป่วยหาซือกัญชาที่ขายตาม
ท้องตลาด หรือออนไลน์ได้ เน่ืองจากคุณภาพอาจจะยังไม่ผ่านมาตรฐาน และอาจเป็น
อันตรายแก่ผู้ป่วยได้ แต่ผู้ป่วยสามารถเข้ารับการรักษาจากคลินิกกัญชาทางการแพทย์
ของโรงพยาบาลทไ่ี ดร้ บั อนญุ าตได้
36 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวติ เพื่อใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา
37
เร่ืองที่ 2เร่อื มงุมทมี่ อ2งกมาุมรมใชอก้งกัญาชราใชแก้ลัญะกชญั าแชลงขะกอัญงปชรงะขชอางชปนรทะั่วชไาปชนท่ัวไป
1. มติ กิ ารระบาดของกญั ชาและกัญชง
1.1 มิติการระบาดของกัญชาและกัญชงในประเทศไทย
ก เม่ือวันท่ี 6 มิถุนายน พ.ศ. 2562 นายมโนรมภ์ สินธพอาชากุล หัวหน้ากลุ่มงาน
แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ เปิดเผยว่า ในช่วงนี
มีการแพร่กระจายของการนานามันกัญชา มาใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ ตามความเชื่อของประชาชน
ซ่ึงขณะนียังไม่เคยมีการอนุญาตให้นากัญชาหรือนามันกัญชามาใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ จากการ
แพร่กระจายของการนานามันกัญชามาใช้ในปัจจุบัน ส่วนมากเป็นการแอบซือมาใช้โดยไม่ทราบ
แหล่งที่มา และไม่ทราบว่าใช้กัญชาในการผลิตมากน้อยเพียงใด ไม่มีการควบคุมคุณภาพและความ
ปลอดภัย หลังจากท่ีประชาชนนาไปใช้ ทาให้ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้นามันกัญชา จนเกิดอาการ
ความดันต่า หน้ามืด อาการใจสั่น อาการคลุ้มคล่ัง จนต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลเกือบ
ทัว่ ประเทศ จากสถิติพบแทบทุกวัน แพทย์ต้องทาการรกั ษาอาการแบบประคับประคอง จนอาการดีขึน
ซ่ึงต้องใช้เวลานานหลายวัน ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุข ยังไม่สามารถควบคุมผู้ใช้นามันกัญชาได้
เน่ืองจากผูป้ ว่ ยสว่ นใหญ่หามาใช้เอง โดยไมม่ กี ารปรกึ ษาแพทย์
1.2 มิติการระบาดของกัญชาและกัญชงในตา่ งประเทศ
ก เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ข้อมูลจากบีบีซี นิวส์ รายงานว่า รัฐบาลหลาย
ประเทศกาลังวางแผนจะทาให้การใช้กัญชาทางการแพทย์และนันทนาการถูกกฎหมาย มีการลง
ประชามติว่าควรจะดาเนินการนโยบายการใช้กญั ชาในทิศทางใด ซ่ึงมีการเปล่ียนแปลงตา่ ง ๆ ทก่ี าลัง
เกิดขึนหลายประเทศ เช่น (1) ประเทศอังกฤษ มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ได้
(2) ประเทศเกาหลีใต้ มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้แต่มีการควบคุมอย่างเคร่งครัด
(3) ประเทศแอฟริกาใต้ ผ่านกฎหมายสามารถให้ใช้กัญชาในพืนที่ส่วนตัวได้ และ (4) ประเทศ
เลบานอน กาลังพิจารณาว่าจะทาให้การผลิตกัญชาเพอ่ื การแพทย์ถูกกฎหมาย เพ่ือช่วยเศรษฐกิจของ
ประเทศ เป็นต้น และหลายประเทศท่ัวโลกมุ่งหน้าสู่การทาให้กัญชาเป็นส่ิงถูกกฎหมาย ในรูปแบบใด
รูปแบบหน่ึง พยายามจะก้าวตามให้ทัน ซ่ึงจะเห็นได้หลายแห่งในภูมิภาคลาตินอเมรกิ า รัฐบาลอยาก
ให้ชาวไร่ สามารถเข้าถึงการปลูกกัญชา เพื่อการแพทย์มากขึน เพราะได้ผลกาไรดี และเป็นตลาดที่
กาลังเจริญเตบิ โต
ก กลา่ วโดยสรุป ในประเทศไทยมีการแพร่กระจายของการนานามันกัญชา มาใช้ใน
การรักษาโรคต่าง ๆ ตามความเชื่อของประชาชน ซึ่งการใช้นามันกัญชาในปัจจุบันโดยส่วนมากเป็น
การแอบซือมาใช้โดยไมท่ ราบแหล่งท่ีมา และไมท่ ราบว่าใช้กัญชาในการผลิตมากนอ้ ยเพียงใด ไมม่ ีการ
ควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย หลังจากที่ประชาชนนาไปใช้ ทาให้ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้
นามันกัญชา และในต่างประเทศท่ัวโลก มุ่งหน้าสู่การทาให้กัญชาเป็นส่ิง ถูกกฎหมาย ในรูปแบบใด
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยา หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ 37
อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย