236
2. ผลิตภัณฑ์สารสกัดแคนนาบินอยด์จากธรรมชาติ (Natural Purified Cannabinoid)
ได้แก่ นาบิกซีมอล (Nabiximol) ช่ือการค้า คือ ซาติเวกซ์ (Sativex®) เป็นผลิตภัณฑ์รูปแบบสเปรย์
ใช้ในช่องปากบริเวณฉีดพ่นใต้ลิ้น ปริมาณ THC : CBD อัตราส่วน 1.08 : 1 ใช้บรรเทาอาการเกร็ง
และปวดในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเส่ือมแข็ง (Multiple sclerosis) ในกรณีท่ีใช้ยาอื่นแล้วไม่ได้ผล
และบรรเทาอาการปวดในมะเรง็ ระยะรกุ รานทไ่ี ม่ตอบสนองต่อยาในกลุ่ม Opioids
ภาพที่ 81 ซาตเิ วกซ์ (Sativex)
3. ผลติ ภณั ฑ์สารสกัด CBD
ช่อื การคา้ คือ เอพิดิโอเล็กซ์ (Epidiolex®) เปน็ ยานา้ (Oral Solution) ทส่ี กดั สาร CBD
และ THC จากต้นพืชกัญชา พัฒนาโดยบริษัท GW Pharmaceuticals (UK) เป็นยาท่ีใช้ในการรักษา
ควบคมุ อาการของโรคลมชกั (Epilepsy) ลมชักชนิดรนุ แรง คอื Lennox - Gastaut Syndrome และ
Dravet Syndrome ในผู้ใหญ่ และเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 2 ปีข้ึนไป ท่ีไม่ตอบสนองต่อยารักษามาตรฐาน
EPIDIOLEX® เป็นยาท่ีสกัดมาจากพืชกัญชาโดยมีความเข้มข้น CBD 100 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร
ได้รับการอนุมัตจิ าก องคก์ ารอาหารและยาของสหรฐั อเมรกิ า เม่อื เดอื น มิถนุ ายน ค.ศ. 2018
238 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต เพื่อใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา
237
ภาพที่ 82 เอพิดโิ อเลก็ ซ์ (Epidiolex )
4. ผลติ ภัณฑส์ ้าหรับสัตว์
ในต่างประเทศ มีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเพื่อรักษาอาการเจ็บป่วยในสัตว์ ข้อบ่งใช้
จะคล้ายกับการรักษาในมนุษย์ คือ ใช้ในสัตว์ที่ได้รับผลกระทบจากการได้รับเคมีบ้าบัด เพ่ือเพ่ิม
ความอยากอาหาร ลดอาการเจ็บปวดหรืออักเสบ รักษาอาการชัก ช่วยให้สัตว์เล้ียงผ่อนคลาย
ไม่ต่ืนตกใจ มีทั้งรูปแบบเป็นน้ามันหยด ที่มีสูตร THC และ CBD ในอัตราส่วนต่าง ๆ และผลิตภัณฑ์
เสริมอาหารส้าหรับสัตว์เลี้ยง โดยใช้น้ามันจากกัญชาผสมในคุกกี้ส้าหรับสุนัข เพ่ือให้สุนัขกินได้ง่าย
รูปแบบคล้ายกับขนมปังกรอบ (Snack) แต่ในประเทศที่มีการอนุญาตให้ใช้ในสัตว์ เช่น ประเทศ
แคนาดา การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเพ่ือการรักษาในสัตว์ ห้ามใช้เพื่อเป็นขนมทานเล่นของสัตว์ แต่อนุญาต
ใช้เพ่ือวตั ถุประสงค์ในการรักษาเท่านนั้
เภสัชกรหญิง ดร.สุภาภรณ์ ปิติพร เลขาธิการมูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
ให้ข้อมูลว่า ในอดีตทางกลุ่มชาติพันธ์ุกะเหรี่ยงมีการใช้พืชกัญชาในการขุนหมู เพ่ือให้หมูกินอาหารได้
มีลกั ษณะอ้วนพี แตไ่ ม่ระบุว่ามีการใช้เพือ่ เป็นการรกั ษาโรคในสตั ว์
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวิต 239
อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
238
ภาพท่ี 83 น้ามนั กญั ชาในรูปแบบคกุ ก้สี า้ หรับสนุ ัข
ภาพท่ี 84 น้ามนั กัญชาส้าหรับรกั ษาสัตว์
กล่าวโดยสรุป ผลิตภณั ฑส์ ้าเร็จรูปจากกญั ชาเพื่อใช้ประโยชนท์ างการแพทย์ ส้าหรับคน
มีรูปแบบน้ามันหยดใต้ล้ิน แคปซูล สเปรย์ฉีดพ่นใต้ล้ิน ยาเม็ด ยาเหน็บทวาร หรือรูปแบบแผ่นแปะ
240 หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ เพอื่ ใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา
223399
ผผTTบบนนHHลลออนนิิกกตตCCผผจจภภิิววสสาาหหััณณัังงกกนนเเฑฑนนคคัังงีีใใ้้์์กกรรนนผผััญญาาตตลละะชช่่าาิิตตหหงงาาภภ์์ปปททััณณผผรรี่่ีไไลละะดดฑฑิิตตเเ้้รร์์กกททััภภบบััญญศศััณณกกยยชชาาัังงฑฑาารรมมจจ์์สสขขีผีผะะาา้ึึ้นนลลมมรรททตติิีีสสสสภภะะููตตกกเเััณณรรัับบดดแแฑฑีีแแยยตต์ร์รคคนนกกกกัั นนตต((ษษนนRR่่าาาางงeeาาออกกggบบาาััiiนนssิินนกกttตตาาออeeาารรยยrrมมเเeeจจดดสสddบบ็็์์ ััดดจจปปDDสสาา่่ววrr่่ววกกuuยยนนธธggใใรร))นนแแรรขขสสลลมมัตตัณณะะชชววปปะะ์์าารรนนตติิมมี้ี้มมิิ าาแแีีออณณลลยยสสะะูู่่ 33าาผผรรลลรรสสิิููตตปป้้าาภภแแคคัับบณณััญญบบฑฑTT์์สสคคHHาาืืออCCรรผผสสแแลลกกลลิิตตััดดะะภภCCCCััณณBBBBฑฑDDDD์์
ถถาามม
กกัญัญชชาาแแลละะกกญัญั ชชงงสสาามมาารรถถใใชช้ใ้ในนกกาารรรรกัักษษาาโโรรคคใในนสสััตตววไ์์ไดดจ้้จรรงิิงหหรรอืือไไมม่่
กกกกตตจจกคกคาัญาญั รรลลีโโีรรออิงิงมมชชมุ่มุ่รราาบบกัักใใโโเเนนแแรรพพษษคคลลตต่ิม่ิมาาะะา่า่ออกกเเกกงงหหาาาาปปััญญมมกกรรรรออาาืออืชชะะรรยยนนงงเเเเาเาเททกกจจพพกกศศบับั็บบ็ อ่ื่อืออมมกกปปชชาากีกีาาว่ว่หห่ว่วรราายยยยาาใใรรใใใใรรชชใในนนนใใชชร้ร้ สสนนกกักัก้้กกัตัตสสาาษษญญัั ววรรัตัตาาชชขข์ด์ดววใใาาุนุนว้้ว์ป์ปนนแแยยหห่ว่วคคลลเเยยมมนนชชะะูใใู่นน่แแกกหหเเชชกกลลญญัั ้้ออน่่นนันัะะ้ว้วชชใในนงงชชนนใใพพ่ว่วออนนยยีีดดกกแแลลตีีตาาลลดดปปรระะกกรรรรเเาากัักคคะะรรษษยยเเปปททมมาาววศศโโีีกกรรดดไไาาคคททจจรรใใาายยนนนนกกมมา้า้ สสกกีกกีมมัตัตาาาาาาววรรรรใใรรโ์์โชชใใดดับบัชชใ้้ใยยนน้้
ไไขโขโกกเเททรรมมดด้ออ้รรีม่ม่ี ืออ่ื่ไ่ไ่ยยมมพพคีคีดดงงกกแแเจิจิณุุณ้ผ้ผรททาาพพาาลลือ่ภภรรรรีี่่ ททแแ55าางณณยยพพพพท11าา์์สสททสส..ี่ดดกกกกาา5นนยยังงัาาาา11111111ภภมมับตับต์์รร........รราาเเ43432211าา่ออ่ใใสสพพกววใใชชรรไไนนชชะะือ่อื่าปปถถ้้ผผไใไใแแไไคคนุุนใใ้้ผผรมมชชมมนนใในนลลชชลลชชใชช้ผ้ผลลแ่่แ่แแ่้ีี้ิิตะะต้ใใ้ชื่่ืนนดััด้้ลลนนนนนนผผนนิตติภภไไผเเิติตกกะะะะลลสสจจ้า้าภภััณณลภภนนนนใใาาิินนตต้้ออหหณณัั รรฑฑัณณัา้า้ติ้า้าาาภภป้ป้ดดโโใใใใเเ์์กกภฑฑััฑฑดดณณหหหหจจแููแรรััญญีียยณัยยกึึก้ใ้ใ้ใ้ใ์กก์ลลก์์กฑฑชชชชแแนนษษชชญัญัรรญััญฑ์์้ใ้ใ้ผ้ผกกบบักักจจาาาานนชชลลัักกญญาาษษชชแ่งแง่ก กกาาิติตกกเเัับบลลาาาาญัเเชชปปรรภภเเพพผผะะแแคคณณาา็น็นแแัณณัชปู้ปู้่ือื่อกกมมเเลลลลขีขีพพรร่ว่วััญญ44าฑฑีีบบะะะะออักักยยื่่ืแออ้้ก์ก์าาชชกกคคกกงงถถษษลบบรรภภญัญังงววลลััญญงึึงาาัักกใใััดดบบะปปาาุ่มุม่ออชชหหษษชชววกคครราาาา((้้ไไไไะะะะาางงCCมุุมญักกเเดดดดปปคคโโภภใใhhาาออยย้แ้้แ้ปปลลช็น็นหหรรeeาาาาชชกกรรนื่น่ืคคกกกmกmง้ไ้ไววนน่่ะะไไลลดดาาใาาะะ์์สสโโooรรหรร่นืนื่แแ้ป้ปคคยยอ้อ้ttรรขขลลไไ้ไhhชชลลรรกัักาาสสออดะะeeนน่ื่ืเเะะนนษษ้จจ้งงคคจจrr้ป์์โโททผผaaาาไไาาววียียยยสสรppกกเเู้ปูป้าาาานนรรชชมมะ้้yyออเเงงว่่วิ่ม่ิมททคคกกเเโยยนนาาสสIIตตมมวั่วั่ยnnาาเเ่ยีย่ี์ท์ท้นน้ไไีบีบจจddเเชรรปปนนงงีีาาuuแแยย้้าานขขอ่ื่ือบบccงงพพนนออ์ทงงeeกกดัดังงททจจจจddาผผททาาาาายยงลลรรี่รี่รกกNNกก์์ใใกติติแแัักกนนมมaaเเภภาคคษษพพuuปปีหหี รััณณมมsาsาััลลจจททeeแดดีีบบฑฑกัักจจaaยยว้้วพุุ้้ฐฐบบาา์์กกยย์ใ์ใaaาาบบทัััญัญนนนนววnnนนััดดิธิธยชชddปปททแแีตตีไไาาใ์ าาัจัจดดVVนนกกา่่านงง้้งงooจจ่่ออะะววปภภmmนนนนบบุุชิิชๆๆัจาาใใ้้าาาานันัiiชชttยยจแแโโกกii้้nnดดลลใใบุาาggตตยยว้้วรรนั))้้
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่ือใช้เปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ิต 241
อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
1.5 ไม่แนะน�ำให้ใช้ในกรณีของภาวะคล่ืนไส้อาเจียนในหญิงต้ังครรภ์ หรือมีอาการ
แพ้ท้องรนุ แรง
1.6 แนะน�ำให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเป็นการรักษาเสริม หรือควบรวมกับการรักษาตาม
มาตรฐาน
2. โรคลมชักท่ีรักษายาก และโรคลมชักที่ด้ือต่อยารักษา (Intractable epilepsy) ผู้สั่งใช้
ควรเป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบประสาท และได้รับการอบรมการใช้สารสกัดจากกัญชาเพื่อ
การรกั ษาผปู้ ว่ ย ภายใตข้ ้อพจิ ารณาดงั ตอ่ ไปนี้
2.1 ใช้ในโรคลมชักที่รักษายากในเด็ก ได้แก่ ดราเวท (Dravet) และเลนนอค แกสโท
ซนิ โดรม (Lennox - Gastaut Syndrome)
2.2 โรคลมชกั ทดี่ อ้ื ตอ่ ยารกั ษา ตงั้ แต่ 2 ชนดิ ขน้ึ ไป หากคาดวา่ จะเกดิ ดรกั อนิ เตอรแ์ อคชนั่
(Drugs interaction) อาจพิจารณาใช้ผลิตภณั ฑก์ ญั ชาทม่ี ี CBD สงู
2.3 แพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคลมชักที่เข้าเกณฑ์โรคลมชักที่รักษายาก ควรส่งต่อผู้ป่วย
ไปยงั สถานบรกิ ารสขุ ภาพระดบั ตตยิ ภมู ิ เพอ่ื พบแพทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญเฉพาะทางระบบประสาทเพอ่ื ประเมนิ
และให้การรกั ษาตอ่ ไป ในกรณตี อ่ ไปน้ี
2.3.1 ลมชักทยี่ งั ควบคมุ ด้วยยาไม่ได้
2.3.2 ผปู้ ่วยเดก็ ที่มอี ายตุ ำ�่ กวา่ 2 ปี
2.3.3 ผู้ป่วยลมชักที่มีความเส่ียง หรือไม่สามารถทนต่อผลข้างเคียงของการรักษา
ลมชักได้
2.3.4 มีความผดิ ปกตทิ างจติ หรอื มโี รคจิตร่วมดว้ ย
2.3.5 มีขอ้ สงสัยในการวนิ จิ ฉัยลกั ษณะลมชัก หรอื กลมุ่ อาการลมชกั
3. ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง (Spasticity) ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง (Multiple
sclerosis) แพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา เพื่อบรรเทาอาการปวดและเกร็ง ในกรณีท่ีรักษาภาวะ
กลา้ มเนอ้ื หดเกร็งที่ดือ้ ต่อการรักษาภายใตข้ ้อพิจารณาดังต่อไปนี้
3.1 ไมแ่ นะน�ำใหใ้ ช้ผลิตภณั ฑ์กัญชาเป็นการรักษาเร่ิมต้น
3.2 แนะน�ำใหป้ รึกษากบั ผปู้ ่วยถึงประโยชน์ และความเสย่ี งของผลิตภัณฑก์ ญั ชาก่อนใช้
3.3 แนะน�ำให้ใช้ในกรณีท่ีรักษาด้วยวิธีมาตรฐานอย่างเหมาะสม (รวมถึงวิธีท่ีไม่ใช้ยา)
แล้วไม่ได้ผล
4. ภาวะปวดจากระบบประสาท (Neuropathic pain) แพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา
ในกรณีท่ีรักษาภาวะปวดจากระบบประสาทท่ีด้ือต่อการรักษาด้วยยามาตรฐาน ภายใต้ข้อพิจารณาต่อ
ไปน้ี
4.1 ไมแ่ นะน�ำให้ใช้ผลติ ภณั ฑ์กญั ชาเปน็ การรกั ษาเร่ิมตน้
242 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวิต เพื่อใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา
224411
4444....3322 แแแแนนนนะะะะนนนนาา้้ ้้าาใใใใหหหหป้้ป้้ใใรรชชึกึก้้ใใษษนนาากกกกรรบบัั ณณผผูปูป้้ีีทท่่วว่ี่ีททยยดดถถลลึงึงปปออรรงงะะใใโโชชยย้้ยยชชาานนบบ์์ แแรรลลรรเเะะททคคาาววออาามมาาเเกกสสาา่ยียี่ รรงงปปขขออววงงดดผผลลออิติตยยภภ่่าาณัณังงสสฑฑมม์กก์ เเัญญั หหชชตตาาุุผผททลล่ี่ใีใชชแแ้้ลล้้วว
ใแแในนตตปปผผ่่ ัจจัูู้ปป้ จจว่่วุบุบยยนัันยยงังัแแคคนน4ก4กงงะะมม..ลลนน44อีีอ่่าา้า้าาาววโโแแกกดดโโนนาายยดดรระะกกยยปปนนรรสสววา้า้มมรรดดใใกกหหุุปปาาใใ้้ รรชชกกแแ้ผผ้ าาพพลลรรททิติตใใยยภภชช์์ัณัณผผเเพพลลฑฑือ่อื่ ิิตตกก์์ ใใญัญัภภชชใ้ใ้ััณณชชนนาาฑฑกกเเาากกปปรรััญญ็น็นดดแูกกแู ชชลลาาาารรรรแแรรักักลลัักกษษษษะะาากกาาแเเแััญญสสลลรรชชะะมิมิ งงคคใใววหหหหบบรร้้ไไคคอืือดดุมมุคค้้ปปววออบบรราากกะะรราววาโโรรยยมมขขกกชชออัับบนนงงวว์์ททผผธิิธู้ปปู้าามีีมงงว่ว่ าากกยยตตาารรเเรรฐฐนนาาแแื่อื่อนนพพงงจจททาายยกก์์
ผ(แผอSม(ผผแอSม22ccูู้้พพาาีีลปลปหห))llเเิิตต่่ททววลลeeจจโโยยภภััrrกรกรยยีียยooคคัั์์ณณผฐผฐนน((ss33ลลาาูู้้เเจจiiฑฑชชssนน))มมาา))ี่ี่ยย์์กกททชชกกภภแแววััญญััเเกกาาาาพพชชคคงงชชทวทวาาททมมววะะาา่ีี่รรญญิิยียีบชบชกกเเัักกพพ์์สสาาดด้้าาลลษษกกาาบบื่ื่้้ออาา้้าาาามมาานนััดดรรมมยยรราาัักกรรเเาาร(ร(ททนนะะษษCCกกถถ่ีี่มมบบื้ื้ออhhาาใใีีคคแแหหบบชชภภeeุุณณลล้้ผผmmปดปดาาะะลลววเเรรภภooกกโโิิตตะะะะาารรttรรคภคภสสhhพพคค็็งงลลััาาณณeeลลสสทท่ื่ืนนr(r(ฑฑมมนนaaSSไไชชppัั์์ppกกบบแแสสัักกyyััaญaญลลสส้้ออssททะะนนาาชชIIttnnไไ่ีี่ดดเiเiุุนานาccดดddจจื้ื้ออเเiiชช้้รรีีuuttพยพยตตyyััดดัับบccนน่ืื่ออ่่ออ))เเeeกกจจบบจจยยใใddาาาารรนนนนาารรกกรรรรNNผผออเเเเััโกโกูู้้ปaปaททคคบบดดษษuu่่ววาามมรรยยssาาออยยมมีีบบแแeeาาโโกก((้้บบาาaaรรกกIInาnาบบ่่งงคคาาaaรรttเเััดดรปรปnnrrปปใใaaปปททชชลลdd็็นนccวว้้สสี่่ีรรออttVVดดัักกาาaaกก44ooแแรรbbษษปปสสmmลลกกllาารรeeกกะะลลดดiiะะttเเััดดุุ่่EEมม้้ววสiสiกกnnจจppยยรราาggไไาาiiวว็็งงททllดด))กกeeใใิิธธเเ้้แแโโนนกกppีีสตสตดดกกกกััญญss่ื่ื่่ออาายย่่yyรรงงมมชช((แแ))ณณ11แแาาพพๆๆผผ))ีีททเเขขททูู้้สสพพภภ่ี่ีรรแแ็็งงยย่ั่ังงื่่ืออัักกาาลลใใ์์สส((กกววษษชช้้ววMMาาะะาา้้าาไไคคมมรรuuมมคคดดววาารรll่่ลไลไ้้ววรรttรรัักกดดื่ื่ยยiiนนเเถถppปป้้ษษผผววไไใใll็็นนลลิิสาสาชชธธeeีี้้้้
ผอผอลื่ลื่นนิติตๆๆภภัณัณแแลลฑฑ้้วว์ก์กไไัญญั มมชช่่ไไดดาา้้ผใผในนลลกกรแรแณณลละะทีีที่รรี่ ((44กักั ))ษษภภาาภภาาาาววววะะะะปปปปววววดดดดจจจจาาาากกกกรรรระะะะบบบบบบบบปปปปรรรระะะะสสสสาาาาทททททท((่ดีี่ดNN้ื้ืออeeตตuu่่ออrrooกกppาาaaรรรรtthhัักกiiษษccาาPPดดaaว้ว้ iiยยnnยย)) าาแแมมพพาาททตตยยรรฐฐ์์สสาาาานนมมาารรถถใใชช้้
คเเครรวว่ืื่ออบบงงคคททมมุุ ี่่ี 66ออใเราาน่อืกกกกกงาาาาาทรรรรรี่คใใ6ชชว้้ผผบกลลคาิิตตมุรใอภภชาััณณ้ผกลฑฑาิตร์์กกภััญญณั ชชฑาาแแ์กญัลละะชกกาััญญแลชชะงงกททัญาางงชกกงาาทรราแแงพพกาททรยยแ์์นนพ่่าาทจจยะะ์นไไดดา่ จ้้ปปะรรไะะดโโป้ยยรชชะนนโ์์ใใยนนชกกนาา์ รร
ซซึ่ง่ึงตตอ้อ้ งงกกาารรออผผขขยยลล้้ออา่า่ิิตตมมงงภภูลลู ไไรรกกััณณกกาาฑฑ็็ตตรรศศ์์าากกมมกึกึััญญษษใใชชาานนาาววกกปปิจจิ รรรรััยยณณะะเเพพทีีทเเภภืื่่ออผ่ีีผ่ ททสสปูปู้้ นนนนว่่วับับี้ี้ยยมมไไสสีีหหดดนนลล้ร้รุนุนัักกัับบตตฐฐกก่อ่อาาาาไไนนรรปปรรททกัักาาษษงงาาววดดิิชช้วว้ าายยกกววาาิธิธรรีมีมททาา่ีี่มมตตีีคครรฐฐุุณณาาภภนนาาแแพพลล้ว้วสสนนไไมมัับบ่่สสสสาานนมมุุนนาารรมมถถีีจจคค้้าาววนนบบคคววนนมุุมออจจาา้้าากกกกาาััดดรร
วอโโปปตสอ((ขขอวตสอปปดดตััตออถถา้อา้อาารรีีจจถถยยงงาาจงจงะะคคโโบบนนชชปุปุชชมมสส..รรศศ่่ววกนันักรริิีคคีออททรร..ยยะะาาททููไไปปบบธธ22ดดรรชชสสึกึกิิผผแแธธณณ00ี้้ีงวงวกกขขหหลลบบคค11รริตติ าา์์ททอ้อ้าา33ข์รร์ขบบผผรรมมภภ่ีใใ่ีกก))มมออใใปู้ปู้ชชกกจจลูลูชชาาขขงงแแ้รร้่่ววาาะะผผยย้้ผผกกออ้้ัักกยยลลรรนนู้ปูป้หลหลาาษษ้้วววว้้33าารรฟฟว่่วิิตตลลิิาาจจผผวว77ยยภภื้้ืนนัังงแแผผััจิจิยยลลททจจณัณัฟฟรรูป้ปู้พพัยัยิิตตใใกุกุะะาาูนูนสส่วว่ฑฑภภททรรบบกกโโยยุุขขลลััดณณด์์กากายยไไวุวุจจภภััยยกกยยััญญดด์์่า่าออฑฑรราาออษษมม้้ปปงิชงิชาาแแ์์กกพพออคคีีณณรราาจจลลััญญ((กกววึึเเกกหหAAะะเเะะพพชชแแาาลลษษหcหcรรกกมม่ืื่อาาอบบืืttืออืออาาาามมาาuuเเรรบบกกลลปปกกกกาาัรัรกกaaใใเเดดใใััน็็นววบบววษษllหหหหชชคคิิิิธธไไจจผผาUาUป้้ปมม้้กกปปววีีกกััยยผผูู้้เเาารรััssบบาาไไชชู้ป้ปูาาเเะะeeะะดดมมผผชชีี่่ยยรรสสเเ่่ddววห้ห้ททูู้้ปปมมิิงงววททยยมมาาสสุุกกิน่่นิววRRชชเเคค่่ีียยกกฉฉยยััขขงงeeคคาาววััไไงงเเพพเเ์์ททssววญญมมรฉฉรกกไไeeาาาารรเเม่่มพพมมตตผผaaะมะมมมแแวีีว่่าาไไrrยยรรปปาาิิธธะะccลลดด((าาแแนนลลOOีกีกhรรh้้ะะยยพพพพาาออขขาา))bbไไิิยยสสรรรรแแดอดอดดโโss่ใใูู่รรรรจจลลภงภง้้eeปปรรหหกัักคคผผะะนนัับบrrยัยัฏฏ้ส้สษษvvแแู้ปปู้ดด์์คคิิญญาาaaลลแแาา้้หหาา่่ววธธววttออะเะเลลญญยยiiาาาานนาาooืน่นื่ภภะะไไรราากกมมิินนnดnดปปาาณณเเมมๆๆยยฮฮกกa้a้ววรรววชชีีลลิิดดllนนาาะะะะิิธธหหนนรซซรขุุขSSสสลลยยีีกกรรเเิิงงไไออttทิทิออกกยยาาอือืดดuกกuงงธธ็็บบรรมมพพมม้ทท้ิิddโโิผิผดดขขขขรรจจีีววิินนรรyyลลัังงออคค้้ออิธิธาาาา))ิิจจกกคคงงกกีีบกกบมมหหแแลใลใววววาาููลผผลนน่่พพ่่าาบบรรรราาววูู้้ปปกกววืืรรออคททคิจิจ่่ลววคลคักกัววกกกู่กู่ััยยยยยยิิุ่มมุ่ววษษธธนัันาาคคสสรรีีนนกกาารรไไววมมหหนนแแ้ีี้ปปาาววบบาาออ้้รราาตติิรรจจคคคคืืไไาาออรรไ่ไ่นนััปยปยกู่กู่ททมมวมมวญญ้ั้ันนจจเเมนัมนัโโิเเิ่่เเปปชชกกาาลลาาถถไไ็น็นตต่่นปนปิิดดๆๆกกกกงึึงิิ
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพือ่ ใช้เปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวติ 243
อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
242
242
ผู้ป่วยท่ีได้รับการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative Care) ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย (End –
Sผtู้ปa่วteยทC่ีaไดn้cรeับrก) าโรรคดพูแาลรแ์กบินบสัปนรโะรคคัอบัลปไรซะเมคออรง์ โ(รPคaวlิตliaกtกivังeวลCไปarทeั่ว) (ผGู้ปe่วnยeมraะliเzรe็งdระAยnะxสieุดtyท้าDยiso(Erdnedrs–)
โSรtคatปeลCอaกnปcรeะrส) าโรทคอพกั าเสร์กบิน(สDันemโรyคeอlัลinไaซtเiมnอgรD์ โiรseคaวsิตeกsก)ังเวปล็นไปต้นทั่ว (Generalized Anxiety Disorders)
โรคปลอกปกราะรสใชาผ้ทลอิตกั ภเสณั บฑ(ก์Dัญemชาyeเพli่ือnบatรiรnเgทDาคisวeาaมsปeวs)ดใเปนน็ผปู้ตน้ว่ ยที่ได้รบั การดูแลแบบประคับประคอง
หรอื ผปู้ ว่ ยใกนาวราใชระ้ผสลุดิตทภ้าัณยฑข์กอญังชชวี าิตเ(พE่ือnบdรoรเfทLาiคfeว)าซมง่ึปเวปดน็ ใกนาผรูป้ตว่ดั ยสทิน่ีไใดจ้รขบั อกงผารูร้ ดกั ูแษลาแมบีขบ้อปแรนะะคนับ้าปดรังะนค้ี อง
หรือผู้ปว่ ยใขนอ้ วแานระะนสา้ดุ ทท่ี า้ ย1ขอไมงช่แีวนิตะน(E้าnใหdใ้ ชoผ้fลLิตifภe)ัณซฑง่ึ ์กเปญั น็ ชกาาเปรต็นัดกสานิรรใจักขษอางเรผิ่มู้รตักน้ษา มีขอ้ แนะน้าดงั น้ี
ขข้้ออแแนนะะนนา้ ้าทท่ี ่ี 12 ไผมู้ปแ่ ่วนยะทนี่า้ไดให้รใ้ับชย้ผาลแติ กภ้ปณั วฑดก์ อญั ยช่าางเสปม็นเกหาตรุผรลักษแลาเ้วรย่มิ ังตมน้ ีอาการปวดมาก ทั้งที่
ยาแกป้ วดทขีไ่้อดแร้ นบั ะอนย้าู่ในทป่ี 2ริมาผณู้ปท่วีเ่ยหทมี่ไาดะ้รสับมยแาลแ้วก้ปวดอย่างสมเหตุผลแล้วยังมีอาการปวดมาก ทั้งที่
ยาแกป้ วดทขีไ่้อดแ้รนับะอนย้าใู่ ทนปี่ 3รมิ แาณนะทน่เี ห้าใมหา้ใะชส้ผมลแิตลภ้วัณฑ์กัญชาเป็นการรักษาเสริม หรือควบรวมกับวิธีการ
รักษาตามมขา้อตแรนฐะานน้าที่ 3 แนะน้าให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเป็นการรักษาเสริม หรือควบรวมกับวิธีการ
รักษาตามมกาลต่ารวฐโาดนยสรุป การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ น่าจะได้ประโยชน์ในการ
ควบคมุ อากกาลร่าวในโดกยรณสรที ุป่ผี ู้ปก่วายรใไดช้ร้ผับลกิตาภรัณรักฑษ์กาัญดว้ชยาวแธิ ลีมะากตัญรฐชางนทแาลง้วกาไรมแส่ พามทายร์ ถนค่าวจบะคไดุม้ปอารกะาโยรขชอนง์ใโนรกคาไดร้
คหวาบกคจมุ ะอนา้ากผารลิตในภกัณรณฑ์ทีกั่ีผญู้ปช่วายมไดาร้ใชับ้กกัาบรผรู้ปักษ่วยาดเฉว้ ยพวาธิ ะีมราาตยรฐปานฏแิญลญ้ว าไมเฮส่ ลามซิางรกถิ คขวอบงคแุมพอทากยาสรมขาอคงโมรโคลไดก้
ห(ปาี กคจ.ศะ.น2้า0ผ1ล3ิต) ภรัณะบฑุว์ก่าัญมีคชวาามมาเใปช็น้กไับปผไู้ปด้ห่วยากเฉไมพ่มาีวะิธรีกายารปรักฏษิญาญอ่ืนาเฮๆลหซิรงือกิมขีวอิธีงกแาพรรทักยษสามแาตค่ไมม่เโกลิดก
(ปปรี ะคส.ศิท.ธ2ิผ0ล13ภ)ารยะหบลุวัง่าจมาีคกวไดา้ปมเรปึก็นษไาปกไับดผ้หู้เาชกี่ยไวมช่มาีวญิธีกแาลระรไักดษ้ราับอคื่นวาๆมยหินรือยมอีวมิธจีกาากรผรู้ปัก่วษยาแหตร่ไือมญ่เกาิดติ
ปโดรยะชสอิทบธธิผรลรมภแาลย้วหแลัพงจทายก์อไาดจ้ปเรลึกือษกาวกิธีกับาผรู้เใชช่ีย้ผวลชิตาภญัณแฑล์กะัญไดช้ราับมาคชว่วายมชยีวินิตยผอู้ปม่วจยากฟผ้ืนู้ปฟ่วูสยุขภหารพือญหารตือิ
โลดดยคชวอามบทธกุรรขมท์ แรมลา้วนแขพอทงผยปู้ ์อ่วายจเลือกวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชามาช่วยชีวิตผู้ป่วย ฟื้นฟูสุขภาพ หรือ
ลดความทกุ ข์ทรมานของผปู้ ่วย
กจิ กรรมท้ายบท
กิจกรกริจมกท1ร้า.รยกมบจิ ทกทา้รยรมบทท่ี 1
1. กคิจ้าชก้ีแรรจมงท:ี่ โ1ปรดเลือกตัวอักษรหน้าข้อที่ผู้เรียนคิดว่าข้อนั้นเป็นค้าตอบท่ีถูกต้องที่สุด
เพยี งขอ้ เดยี ว คแ้าลช้วี้แเขจยี งน:คโา้ ปตรอดบเลลงือใกนตกัรวะอดักาษษรขหอนง้าผขู้เร้อียทนี่ผู้เรียนคิดว่าข้อนั้นเป็นค้าตอบที่ถูกต้องท่ีสุด
เพียงขอ้ เดยี ว ขแอ้ลว้ 1เขียผนปู้ คว่ ย้าตทอแ่ี บพลทงยใแ์นนกะระนด้าาใหษ้ใขชอ้นง้าผมูเ้ รนั ียกนัญชามาหยดเพ่ือรักษาหรอื บรรเทาอาการป่วย
ขอ้ 1 คผู้ปวรว่ หยยทดแ่ี ลพงทบยรแ์ิเวนณะนใดา้ ใถหึง้ใจชะ้นถ้าูกมตนั อ้ กงัญในชทามางากหายรดแเพพท่ือยรัก์ ษาหรือบรรเทาอาการปว่ ย
กค.วรหหยยดดลลงงบบรริเเิววณณใใตด้ลถิน้ ึงแจละะถกูกรตะ้อพงใงุ้ นแทกม้างการแพทย์
ขก.. หหยยดดลลงงบบรรเิเิ ววณณขใต้าล้งลน้ิ ้ินแแลละกะกระรพะพงุ้ แุ้งแกกม้ ม้
คข.. หหยยดดลลงงบบรรเิิเววณณโขคา้ นงลล้ินนิ้ แแลละะกกรระะพพ้งุุ้งแแกก้มม้
งค.. หหยยดดลลงงบบรรเิิเววณณโปคลนาลยน้ิล้ินแลแะลกะรกะรพะุง้พแุ้งกแ้มก้ม
ง. หยดลงบริเวณปลายลิ้น และกระพ้งุ แกม้
244 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ิต เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา
243
ข้อ 2 การหยดน้ามนั กัญชาในทางการแพทย์ควรหยดน้ามันกัญชาในช่วงเวลาใด
ก. เวลาเช้า
ข. เวลาบ่าย
ค. เวลาเย็น
ง. เวลาก่อนนอน
ขอ้ 3 ข้อใดคือสรรพคุณของผลติ ภัณฑ์ ซาติเวกซ์ (SativexR) รูปแบบสเปรยใ์ นช่องปาก
ใตล้ ้ิน ปรมิ าณ THC : CBD อัตราสว่ น 1.08 : 1 ที่ถูกต้องท่ีสดุ
ก. เพื่อรักษาโรคปลอกประสาทอักเสบ
ข. เพ่ือรักษาโรคปลอกประสาทอักเสบ บรรเทาอาการเกรง็ ท่ีเกิดข้ึนจากโรค
ค. เพ่อื รักษาโรคปลอกประสาทอักเสบ บรรเทาอาการเกรง็ ที่เกิดขึ้นจากโรค
และอาการปวดของเส้นประสาท
ง. เพ่ือรักษาโรคปลอกประสาทอักเสบ บรรเทาอาการเกรง็ ท่เี กิดขน้ึ จากโรค
และอาการปวดของเส้นประสาท โรคเครยี ด
กรณีศกึ ษา
นายรามิล ป่วยมีภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ของโรคปลอกประสาทเส่ือมแข็ง ต่อมา
นายรามิล ได้ข้อมลู จากกลุ่มเพ่ือน และศึกษาข้อมูลจากอนิ เตอรเ์ นต็ ว่านา้ มันกัญชา สามารถใช้
รักษาโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็งได้ จึงไปหาซื้อน้ามันกัญชามาเอง และใช้หยดใต้ล้ิน
รักษาโรคปลอกประสาทเสอ่ื มแขง็ ให้กับตนเอง
ข้อ 4 จากกรณีศึกษา นายรามิล ควรหรอื ไม่ควร ท่จี ะใชน้ ้ามนั กัญชาในการรกั ษาภาวะ
กลา้ มเน้ือหดเกร็ง ของโรคปลอกประสาทเสือ่ มแข็ง
ก. ควร เนอ่ื งจากได้ข้อมูลจากกลมุ่ เพ่อื น
ข. ควร เนอ่ื งจากศึกษาจากอนิ เทอรเ์ น็ตสามารถรักษาได้
ค. ไมค่ วร เน่อื งจากโรคปลอกประสาทเสื่อมแขง็ สามารถหายไดด้ ว้ ยยาอ่ืน
ง. ไมค่ วร เน่ืองจากแพทย์ยังไม่ไดว้ นิ ิจฉยั ตรวจสาเหตุของโรคทีต่ นเองเป็นอยู่
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวิต 245
อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
244
ขอ้ 5 จากกรณศี กึ ษา การศกึ ษาหาข้อมูลจากอนิ เทอร์เนต็ และการแนะนา้ จากเพ่ือน
ในการน้ากญั ชามารักษาโรคปลอกประสาทเสื่อมแขง็ ได้ผลจริงหรือไม่
ก. จริง เน่ืองจากนา้ มนั กัญชาดดู ซึมได้งา่ ย
ข. จรงิ เนอ่ื งจากนา้ มันกญั ชาสามารถรกั ษาโรคปลอกประสาทเสื่อมแขง็ ได้
ค. ไม่จริง เนือ่ งจากน้ามันกญั ชาไมส่ ามารถรกั ษาโรคปลอกประสาทเสื่อมแขง็ ได้
ง. ไมจ่ ริง เนื่องจากการใช้น้ามนั กัญชาปรมิ าณเทา่ ใดขึน้ อยู่กบั การควบคมุ ดูแล
ของแพทย์
2. กิจกรรมท่ี 2
ค้าช้ีแจง : โปรดจับคู่ข้อมูลท่ีอยู่หลังตัวอักษรที่ตรงกับตัวเลขของข้อนั้น ๆ หรือมี
ความสัมพันธต์ รงกับหวั ข้อเลขนนั้ ๆ ใหถ้ กู ตอ้ งแล้วน้าตวั อักษรของหน้าข้อมลู มาใส่หน้าตัวเลขตรงกับ
ขอ้ นั้น ๆ
.......... 1. โรคทางสมองที่เกิดจากเซลลป์ ระสาทในบางตา้ แหน่ง ก. โรคพาร์กินสนั
เกดิ การตายโดยไมท่ ราบสาเหตทุ ี่แน่ชัด ข. โรคลมชัก
.......... 2. โรคที่สามารถใชก้ ญั ชารักษาไดผ้ ลพอสมควร ค. โรคตอ้ หนิ
.......... 3. น้ามันกญั ชาทมี่ ีการผลิตอยา่ งไดม้ าตรฐานในประเทศไทย ง. องคก์ ารเภสชั กรรม
.......... 4. โรคทไ่ี มส่ ามารถรกั ษาใหห้ ายขาดได้ท้าได้เพียงควบคุมอาการ จ. องค์การอาหารและยา
.......... 5. กลุม่ โรคท่ีเก่ียวข้องกบั การเจรญิ ของเซลล์ทม่ี คี วามผิดปกติ ฉ. โรคสะเก็ดเงนิ
ช. โรคมะเร็ง
ซ. คลนิ คิ กญั ชา
3. กจิ กรรมท่ี 3
ค้าชี้แจง : โปรดท้าเคร่ืองหมายถูก () หรือเครื่องหมายผิด () ลงหน้าข้อตัวเลข
ทผี่ ู้เรียนอ่านข้อมูลแล้วคดิ ว่าค้าตอบนี้ถูก ใหท้ า้ เครื่องหมายถูก () ถา้ คดิ ว่าข้อมูลที่อา่ นเป็นค้าตอบ
ที่ผิดใหท้ า้ เคร่อื งหมายผดิ ()
.......... 1. ในปี พ.ศ. 2542 รฐั บาลประเทศสหรัฐอเมรกิ า จดสิทธบิ ัตรกญั ชา อา้ งสทิ ธิในการใช้กัญชา
รกั ษาโรคทางระบบประสาท
.......... 2. โรคมะเรง็ เม็ดเลอื ดขาวแบบรุนแรงเฉยี บพลนั (Acute Leukemia ) คือ กลุ่มโรคมะเรง็
ทางโลหติ วิทยาท่ีเกิดจากความผิดปกติของเซลล์ตน้ ก้าเนดิ เม็ดโลหิต
.......... 3. กญั ชาท่ีองคก์ ารอาหารและยา (Food and Drug Administration) ของประเทศ
สหรฐั อเมริกา อนมุ ตั ยิ าจากสารสกดั กัญชาตวั แรก (ไม่ใช่สารสังเคราะห)์ ชอื่ การค้า
ซีซาเมท (Cesamet®)
246 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ เพ่อื ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา
245
.......... 4. น้ามนั กัญชาท่มี กี ารผลติ อยา่ งไดม้ าตรฐานในประเทศไทย จากโรงพยาบาลเจ้าพระยา
อภัยภเู บศร ปจั จบุ ันมอี ยู่ 4 สูตร
.......... 5. ในปี พ.ศ. 2556 บรษิ ทั โอซกู า้ ฟามัซยู ทิแคล็ จ้ากัด มหาชน โตเกียว ประเทศญปี่ ุ่น
บรษิ ทั ยาในประเทศญีป่ ุน่ และประเทศองั กฤษ ได้จดสทิ ธบิ ตั รใชก้ ัญชารกั ษาโรคมะเรง็
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพอื่ ใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ 247
อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
246
7บทที่ ใชก้ ัญชาและกญั บชททง่ี เ7ปน็ ยาอยา่ งรคู้ ณุ ค่า
ใชแ้กลญั ะชาชแาลญะกญัฉชลงาเปด็นยาอย่างร้คู ณุ ค่าและชาญฉลาด
สาระสาคสญัาระส�ำ คัญ
1. ความเชื่อและความจริงเกย่ี วกับกญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์
1.1 ความเช่ือเก่ียวกับกัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ ได้แก่ ตาราสมุนไพรโบราณ
กัญชาและกัญชงรักษาโรคมะเร็งได้ และกัญชาและกัญชงเป็นยารักษาชีวิตได้ ซ่ึงความเช่ือบางอย่าง
ยังไม่มีผลการศึกษาวิจัยรองรับ แต่ความเชื่อบางอย่างยังอยู่ในการศึกษาวิจัย จึงไม่ควรปฏิบัติตาม
จนกว่าจะมผี ลการวจิ ัยความเชื่อทไี่ ด้ศกึ ษา ในหวั ขอ้ ดังกล่าว
1.2 ความจริงเกี่ยวกับกัญชาและกัญชงทางการแพทย์ จากการวิจัยเกี่ยวกับการใช้
กัญชาและกัญชงช่วยในการรักษาอาการ และโรคดังน้ี (1) อาการปวดเร้ือรังจากเส้นประสาท (2) อาการ
คล่นื ไส้อาเจียน และเพ่ิมความอยากอาหาร (3) โรคปลอกประสาทเสื่อม และ (4) โรคลมชัก
2. การใชผ้ ลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตให้ได้ประโยชน์ เช่น โรคมะเรง็
โรคสมองเสื่อม โรคเบาหวาน และโรคไตเร้ือรัง เป็นต้น จาเป็นต้องมีการศึกษาวิจัยถึงความปลอดภัย
และประสิทธิผลอย่างละเอียด ซึ่งปัจจุบัน (พ.ศ. 2562) ยังมีข้อมูลหลักฐานทางวิชาการไม่เพียงพอ
ผู้ป่วยจึงควรได้รับการรักษาตามวิธีมาตรฐานทางการแพทย์ในปัจจุบันหากเลือกใช้ เฉพาะผลิตภัณฑ์
กญั ชาและกัญชงในการรักษาแล้ว อาจทาใหผ้ ้ปู ว่ ยเสยี โอกาสในการรักษาได้
3. ข้อแนะนาก่อนตัดสินใจใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ มี 8 ข้อ ได้แก่
(1) ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์กับผปู้ ว่ ย เปน็ พน้ื ฐานในการยอมรับการรักษาพยาบาล รวมถึงการประเมิน
ผู้ป่วยว่าเหมาะสมท่ีจะใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงหรือไม่ (2) การประเมินผู้ป่วย ข้อมูลประวัติท่ี
เกี่ยวข้องกับอาการของผู้ป่วย (3) การแจ้งให้ทราบ และตัดสินใจร่วมกัน (4) ข้อตกลงการรักษาร่วมกัน
(5) เงอ่ื นไขท่ีเหมาะสม ในการตัดสินใจของแพทย์ในการส่ังใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง (6) การติดตาม
อย่างต่อเน่ืองและปรับแผนการรักษา (7) การให้คาปรึกษา และการส่งต่อ และ (8) การบันทึกเวชระเบียน
จะชว่ ยสนับสนนุ การตดั สินใจในการแนะนาการใช้ผลิตภัณฑ์กญั ชาและกญั ชง
4. การวางแผนการรักษาด้วยผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง แนะนาให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและ
กญั ชงในการทดลองรักษาระยะส้ัน เพ่อื ประเมินประสิทธผิ ลในการรักษาผูป้ ว่ ย แผนการรักษาควรมีความ
ชัดเจน ใน 6 ประเด็น ได้แก่ (1) วางเป้าหมายการเริ่มรกั ษา และการหยุดใช้ แพทย์ควรหารือร่วมกับ
ผู้ป่วยให้ชดั เจน (2) การบริหารจัดการโดยแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป (3) มีกระบวนการจัดการความเส่ียง
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพ่อื ใชเ้ ป็นยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ิต 249
อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
247
(4) กากบั ตดิ ตาม ทบทวนทุกสปั ดาห์ โดยแพทย์ หรอื เภสัชกรผู้เชี่ยวชาญ (5) ใหผ้ ูป้ ่วยลงนามยินยอม และ
(6) ใหค้ าแนะนาผู้ปว่ ยเม่อื ใชผ้ ลติ ภณั ฑก์ ัญชาและกญั ชงทางการแพทย์
5. การเริ่มใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงกับผู้ป่วยในทางการแพทย์ ต้องคานึงถึงข้อปฏิบัติ
2 ประการ ได้แก่ (1) การซักประวตั ิอาการป่วยในปจั จุบนั ประวตั ิการเจ็บปว่ ยในอดีต ประวัติเจ็บป่วย
ทางจติ และโรคทางจิตเวช และอาการทางจิตจากการได้รับยารักษาโรคพาร์กินสัน ยารักษาโรคสมองเส่ือม
และพฤติกรรมเส่ียงท่ีสัมพันธ์กับการติดสารเสพติด และ (2) การกาหนดขนาดยา และการบริหารยา
ไม่มีขนาดยาเริ่มต้นท่ีแน่นอนในผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงแต่ละชนิด ขนาดยาท่ีเหมาะสม
ข้ึนกบั ลกั ษณะของผู้ปว่ ยแต่ละคน โดยเร่ิมต้นขนาดต่า และปรับเพิ่มขนาดช้า ๆ จนไดข้ นาดยาที่เหมาะสม
ส่งผลต่อการรักษาสูงสดุ และเกิดผลข้างเคยี งตา่ สดุ ขนาดยาในระดับต่ามีโอกาสเกดิ ผลข้างเคยี งนอ้ ย
6. ข้อห้ามใช้ผลิตภัณฑ์ท่ีมีสาร THC และ CBD เป็นส่วนประกอบมี 4 ข้อ ได้แก่ (1) ผู้ท่ีมี
ประวัติแพ้ผลิตภัณฑ์ท่ีได้จากสารสกัดกัญชาและกัญชง (2) ผู้ที่มีอาการรุนแรง หรือมีปัจจัยเส่ียงของ
โรคหลอดเลือดหัวใจ (3) ผู้ท่ีเป็นโรคจิต หรืออาการของโรคอารมณ์แปรปรวน หรือโรควิตกกังวลมาก่อน
และ (4) สตรีมีครรภ์ สตรีทใี่ ห้นมบุตร รวมทง้ั สตรีวัยเจรญิ พันธทุ์ ีไ่ ม่ได้คุมกาเนิด หรือสตรวี างแผนท่ีจะ
ต้ังครรภ์
7. ข้อควรระวังเก่ียวกบั การใชผ้ ลิตภณั ฑ์กญั ชาและกัญชง
7.1 ข้อควรระวังทางการแพทย์ ไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงในผู้ป่วยที่มีอายุ
ต่ากว่า 25 ปี เพราะมีผลข้างเคียงต่อสมองท่ีกาลังพัฒนา และไม่ควรใช้กับผู้ป่วยโรคตับ ผู้ติดสารเสพติด
รวมถึงนิโคติน ผู้ดื่มสุราอย่างหนัก ผู้ใช้ยาในกลุ่มโอปิออยด์ (Opioids) ยากล่อมประสาท เด็กและ
ผสู้ งู อายุ เน่ืองจากยงั ไม่มขี อ้ มูลทางวิชาการมากเพยี งพอ
7.2 ขนาดของกัญชาและกัญชงที่ใช้ในทางการแพทย์ ในการรักษาโรค ยังไม่สามารถ
กาหนดขนาดการใช้ท่ีแน่นอนได้ โดยตอ้ งปรับให้เหมาะกับแต่ละบุคคล และมหี ลักสาคัญคือ เร่ิมทีละน้อย
แลว้ ค่อย ๆ เพม่ิ ขนาด ซ่งึ ผ้ปู ่วยทเี่ ป็นโรค หรอื มีอาการตา่ งกัน จะใชข้ นาดยาต่างกัน โดยหากใช้ขนาดยา
กญั ชาและกัญชงที่ไม่ถูกตอ้ งจะเกิดการดอื้ ยา
7.3 ห้ามใช้น้ามันกัญชาและกัญชงทาบุหรี่ เพราะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อระบบ
ทางเดนิ หายใจ และไมค่ วรใชก้ ับบุหร่ไี ฟฟ้า อาจทาใหป้ อดอักเสบเปน็ อันตรายตอ่ สขุ ภาพ
7.4 สารตกค้างจากการสกัดน้ามันกัญชาและกัญชง ในการเลือกผลิตภัณฑ์กัญชาและ
กัญชงต้องศึกษาว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวใช้สารสกัดชนิดใด มีความปลอดภัยมากน้อยเพียงใด การสกัด
โดยตัวทาละลายแนฟทา หรอื ปิโตรเลยี มอีเทอร์ มคี วามปลอดภัยน้อยกวา่ การสกัดด้วยเอทานอล หรอื
การต้มในน้ามันมะกอก เนือ่ งจากพบการตกค้างของตัวทาละลายท่ีมีความเส่ียงท่ีทาให้เกดิ โรคมะเร็งได้
และวิธีการสกัดใหม่ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน ได้แก่ การสกัดโดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์เหลว และเอทานอล
สกัดเย็น เนื่องจากมีความปลอดภัยสงู สามารถสกัดไดป้ ริมาณมาก และไดส้ ารแคนนาบินอยด์เข้มข้น
250 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวิต เพื่อใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา
248
7.5 ความปลอดภัยของน้ามันกัญชาและกัญชง ต้องคานึงถึงแหล่งที่มา ผลิตภัณฑ์ที่ได้
มาตรฐานการผลิตที่ดี ต้องผ่านการตรวจควบคุมคุณภาพ และส่ังจ่ายภายใต้แพทย์ เภสัชกร และ
แพทย์แผนไทยทีผ่ า่ นการอบรมการใชก้ ญั ชาและกญั ชง เพอื่ ประโยชน์ทางการแพทยม์ าแล้ว
7.6 สายพันธ์ุกัญชาและกัญชงเหมาะกับบางโรค จากการสังเกตการณ์เก็บข้อมูลจาก
งานวิจัย สารเคมีที่แตกต่างกนั ในกัญชาและกัญชงแต่ละสายพันธุ์ และผลการรักษาในผู้ป่วยแตล่ ะโรค
ในต่างประเทศ พบว่ากัญชาและกัญชงแต่ละสายพันธุ์มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับแต่ละโรคไม่เท่ากัน
แตย่ ังเป็นงานวจิ ยั ขั้นต้น ต้องมีการศึกษาในเชิงลึกต่อไป
7.7 หลักธรรมนาชวี ิตพ้นพิษภัยจากกัญชาและกัญชง การใช้พุทธธรรมเพ่ือสร้างภูมิคุ้มกัน
ทางดา้ นจติ ใจใหม้ ีความเข้มแข็ง โดยใชภ้ ูมคิ มุ้ กันทางครอบครวั ท่เี ปน็ ความรักความอบอุ่น ความเขา้ ใจ
ซ่ึงกันและกัน ภูมิคุ้มกันจากสังคมส่ิงแวดล้อม ภูมิคุ้มกันจากกัลยาณมิตร รวมถึงการเสริมสร้างการ
เรียนรู้ท่ีเกิดจากตนเองเป็นผู้กาหนด เยาวชนของชาติส่วนใหญ่ที่หลงเข้าไปเสพยา หรือเกี่ยวข้องกับ
ยาเสพติด รวมทั้งกัญชาและกัญชง อาจเน่ืองจากขาดความรักความอบอุ่น ขาดความรู้ความเข้าใจ
ต่อสังคม เขา้ ใจว่าตนเองไม่มีคุณค่า และขาดความรู้ทางธรรมะพืน้ ฐาน หากเราต้องการแก้ปญั หาเรื่อง
ยาเสพติดของเยาวชน เราจาเป็นต้องแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของเยาวชน รวมท้ังตัวเราควรได้เรียนรู้ปรบั
ทัศนคติมุมมองด้วยการใช้ปัญญา เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาของตนเอง ในด้านครอบครัว
สังคม และมิตร ให้ประสานสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เสมือนเฟืองสามตัวขับเคลื่อนกลไกให้ทางาน
ในเวลาเดียวกัน ดังน้ันการป้องกันมิให้เยาวชน รวมท้ังตัวเราได้มีโอกาสเข้าไปยุ่งเกี่ยว กับยาเสพติด
เป็นการป้องกันในลักษณะการสร้างความพร้อมในการใช้ชีวิตเตรียมความพร้อมในการเป็นผู้ใหญ่ หรือ
เป็นผู้ดูแลตนเองได้ โดยใช้ปัญญาเป็นเครื่องมือที่จะนาพาตนเองให้อยู่ในสังคมเป็นพลเมือง ท่ีมีคุณภาพ
ซ่ึงจะเปน็ ปัจจยั สาคญั ทีจ่ ะทาให้เราใช้ชวี ติ ในสังคมได้อย่างภาคภมู ิใจ เปน็ พลเมอื งที่มคี ุณภาพ มีความ
เข้มแข็งท่ีเกิดจากกระบวนการใช้ปัญญาเป็นหลักท่ียึดเหน่ียว ซ่ึงจะเป็นพื้นฐานสาคัญท่ีจะทาให้
ประเทศไทยมีพลเมืองทมี่ ีคุณภาพนาพาประเทศให้มคี วามสุขสงบ เจรญิ ร่งุ เรอื งสบื ไป
8. ข้อห้ามในการใช้กัญชาและกัญชงกับบุคคลต่อไปนี้ ได้แก่ ผู้ป่วยท่ีมีอาการทางระบบ
ประสาทผดิ ปกติ ผปู้ ว่ ยโรคหัวใจข้ันรุนแรงที่มีอาการความดนั โลหติ ต่าลง หรือหัวใจเตน้ เร็ว สตรีตง้ั ครรภ์
หรือให้นมบุตร บุคคลที่มีอายุต่ากว่า 25 ปี ผู้ป่วยโรคตับ โดยถ้าจาเป็นต้องใช้ต้องอยู่ในความดูแล
ของแพทยผ์ ู้เชี่ยวชาญ
9. การถอนพิษเบ้ืองต้นจากการเมากัญชาและกัญชง ท่ีมีอาการมึนศีรษะ โคลงเคลง
แนน่ หนา้ อกจากการใช้กัญชาและกญั ชงเกินขนาด มอี ยู่ 3 วิธี ได้แก่ วิธที ่ี 1 ให้ดืม่ นา้ มะนาวผสมน้าผ้งึ หรอื
น้าตาลทราย วิธีท่ี 2 ดื่มสมุนไพรรางจืด และวิธีท่ี 3 รับประทานกล้วยน้าว้าสุก วันละ 3 เวลา เวลาเช้า
กลางวัน และเย็น
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใชเ้ ป็นยา หนงั สือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ 251
อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
249
ผลการเรผยี ลนกราู้ทรีค่ เราียดนหรว้ทู งั ่คี าดหวงั
1. เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับความเช่ือและความจริงเกี่ยวกับกัญชาและกัญชง
ทางการแพทย์ การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตให้ได้ประโยชน์ ข้อแนะนา
ก่อนตดั สินใจใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ การวางแผนการรักษาดว้ ยผลิตภัณฑ์กัญชา
และกัญชง การเริ่มใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ ข้อห้ามใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสาร THC
และ CBD เป็นส่วนประกอบ ข้อควรระวังเก่ียวกับการใชผ้ ลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง ข้อห้ามในการใช้
กัญชาและกัญชง และการถอนพษิ เบ้ืองต้นจากการเมากัญชาและกัญชง
2. เพื่อใหม้ ีทักษะการแสวงหาความรู้ ทักษะการคิดวิเคราะห์ และทักษะในการให้คาแนะนา
การใชก้ ัญชาและกัญชง กับบุคคลในครอบครวั หรอื เพอื่ น หรอื ชมุ ชน
3. เพอื่ ให้ตระหนักถึงคณุ ค่าของการนากญั ชาและกัญชงไปใช้เป็นยา
ขอบข่ายขเนออื้บหขา่ายเน้ือหา
บทที่ 7 ใชก้ ญั ชาและกัญชงเป็นยาอย่างรูค้ ณุ ค่าและชาญฉลาด
เร่ืองท่ี 1 ความเชื่อและความจริงเก่ียวกับกญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์
เรื่องที่ 2 การใชผ้ ลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตให้ได้ประโยชน์
เรื่องที่ 3 ขอ้ แนะนาก่อนตัดสนิ ใจใชผ้ ลิตภัณฑก์ ัญชาและกัญชงทางการแพทย์
เรื่องท่ี 4 การวางแผนการรักษาดว้ ยผลิตภณั ฑก์ ญั ชาและกัญชง
เรื่องท่ี 5 การเร่มิ ใชผ้ ลติ ภัณฑ์กญั ชาและกญั ชงในทางการแพทย์
เร่ืองที่ 6 ขอ้ ห้ามใช้ผลติ ภัณฑท์ ่มี สี าร THC และ CBD เป็นสว่ นประกอบ
เรื่องท่ี 7 ขอ้ ควรระวังเก่ยี วกบั การใชผ้ ลติ ภณั ฑ์กญั ชาและกัญชง
เรอื่ งที่ 8 ข้อหา้ มในการใช้กัญชาและกัญชง
เรอ่ื งที่ 9 การถอนพิษเบื้องต้นจากการเมากัญชาและกัญชง
สอ่ื ประกสอ่อืบปกราะรกเรอยี บนการเรยี น
1. ช่อื หนังสือกระทอ่ มและกัญชาทางการแพทย์ ช่อื ผู้แตง่ นพ.สมยศ กิตตมิ ่ันคง ชื่อโรงพิมพ์
Go Green บรษิ ัท โกกรีน โซเซียล เวนเจอร์ จากัด ปที พี่ ิมพ์ 2562
2. ช่ือหนังสือรักษาโรคด้วยกัญชงและกัญชา ช่ือผู้แต่ง นพ.สมยศ กิตติม่ันคง ช่ือโรงพิมพ์
Go Green บรษิ ัท โกกรนี โซเซียล เวนเจอร์ จากัด ปีท่พี มิ พ์ 2562
3. บทความเร่ืองคาแนะนาการใชก้ ัญชาทางการแพทย์ (Guidance on Cannabis for
Medical Use) กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ สืบค้นจาก
https://www.chiangmaihealth.go.th/cmpho_web/document/190609156008311353.PDF
252 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ เพอ่ื ใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา
225500
44.. บบททคคววาามมเเรร่ือ่ืองงขขนนาาดดยยาาจจาากกกกัญัญชชาาทที่เี่เหหมมาาะะสสมมใในนกกาารรรรักักษษาาโโรรคค ชชอ่ือื่ ผผเูู้้เขขียียนน ผผศศ..ดดรร..นนพพ..ปปัตัตพพงงษษ์์
เเกกษษสสมมบบูรูรณณ์์ คคณณะะแแพพททยยศศาาสสตตรร์์ มมหหาาววิทิทยยาาลลัยัยขขออนนแแกก่น่น สสืบืบคค้น้นจจาากก hhttttppss::////tthhaaiiccaamm..ggoo..tthh//wwpp--
ccoonntteenntt//uuppllooaaddss//22001199//0099//ขขนนาาดดยยาาจจาากกกกัญญั ชชาาททเี่่ีเหหมมาาะะสสมมใในนกกาารรรรักักษษาาโโรรคค..ppddff
55.. บบททคคววาามมเเรร่ือ่ืองงกกัญัญชชาากกับับกกาารรรรักักษษาาโโรรคค ชชื่อ่ือหหนน่ว่วยยงงาานนคคณณะะเเภภสสัชัชศศาาสสตตรร์์ มมหหาาววิทิทยยาาลลัยัยมมหหิดิดลล
สสืบืบคค้นน้ จจาากก hhttttppss::////wwwwww..pphhaarrmmaaccyy..mmaahhiiddooll..aacc..tthh//tthh//kknnoowwlleeddggee//aarrttiiccllee//445533
66.. ววัดัดพพรระะเเชชตตุพุพนนววิมิมลลมมังังคคลลาารราามมรราาชชววรรมมหหาาววิหิหาารร หหรรือือววัดัดโโพพธธ์ิ์ิ เเลลขขทท่ีี่ 22 ถถนนนนสสนนาามมไไชชยย
แแขขววงงพพรระะบบรรมมมมหหาารราาชชววังงั เเขขตตพพรระะนนคครร กกรรงุุงเเททพพมมหหาานนคครร 1100220000 เเบบออรรโ์์โททรรศศพััพทท์์ 0022 222266 00333355
77.. หหอ้อ้ งงสสมมุดดุ ใใกกลลบ้บ้ ้า้านนผผ้เูเู้ รรยีียนน
เเรรือ่อ่ื งงทที่ี่ 11เรคื่อควงวทาามม่ี 1เเชชอ่ื่ือคแแวลลาะมะคคเชววือ่าาแมมลจจะรรคิงิงเวเกกา่ียี่ยมววจกกรบับังิ กเกกญััญ่ียชวชากาแแับลลกะะัญกกชญัญั าชชแงงลททะาากงงัญกกชาารรงแแทพพางททกยยา์์ รแพทย์
11.. คคววาามมเเชช่ือ่อื เเกกยี่ี่ยววกกับับกกญัญั ชชาาแแลละะกกัญัญชชงงททาางงกกาารรแแพพททยย์์
11..11 ตตาารราาสสมมนุนุ ไไพพรรโโบบรราาณณ
ตตาารราาสสมมุนนุ ไไพพรรโโบบรราาณณทท่ีชีช่ ่ือื่อ ““มมกัักขข์ซ์ซาานน”” ททเี่ี่เกกิดิดจจาากกกกาารรผผสสมมผผสสาานนคคววาามมรรดูู้้ด้า้านนสสมมุนุนไไพพรร
ขขอองงออาาหหรรับับ แแลละะกกรรีกีกไไวว้ด้ด้ว้วยยกกันัน กกลล่า่าววถถึงึงกกัญัญชชาาไไวว้ว้ว่า่า ““คคาาเเนนหห์บ์บออสส ((กกัญัญชชาา)) คคือือผผู้ปู้ปรระะททาานนคคววาามมปปีตีติสิสุขุข
ผผู้โู้โบบยยบบินินสสู่ฟู่ฟาากกฟฟ้า้า ผผู้ชู้ชี้ท้ีทาางงสสววรรรรคค์์ เเปป็น็นสสววรรรรคค์ข์ขอองงคคนนยยาากก แแลละะผผู้ปู้ปลลออบบปปรระะโโลลมมยยาามมททุกุกขข์ร์ระะททมม””
ใในนคคตติคิคววาามมเเชชื่อื่อขขอองงศศาาสสนนาาฮฮินินดดูู เเรรียียกกสสมมุนุนไไพพรรชชนนิดิดนนี้ว้ีว่า่า ภภังังคค์์ ((BBhhaanngg หหรรือือ BBhhaannggaa)) เเชช่ือื่อวว่า่าเเปป็น็นสสมมุนุนไไพพรร
ททพี่่พี รระะศศิววิ ะะเเจจ้า้าททรรงงปปรระะททาานนแแดดม่่มววลลมมนนษุษุ ยย์์
11..22 คคนนมมีคีคววาามมเเชช่ือื่อววา่่ากกัญญั ชชาาแแลละะกกญััญชชงงรรักักษษาาโโรรคคมมะะเเรรง็ง็ ไไดด้้
11..22..11 นนาายยแแพพททยย์ว์วีรีรววุฒุฒิิ ออ่ิมิ่มสสาารราาญญ ไไดด้ก้กลล่า่าวววว่า่าใในนปปัจัจจจุบุบันัน ((พพ..ศศ.. 22556622)) ยยังังไไมม่ม่มีี
ขข้อ้อมมูลูลยยืนืนยยันันวว่า่ากกัญัญชชาาแแลละะกกัญัญชชงงสสาามมาารรถถรรักักษษาามมะะเเรร็ง็งใในนมมนนุษุษยย์ไ์ไดด้้ จจะะมมีกีก็แ็แตต่เ่เพพียียงงกกาารรศศึกึกษษาา แแลละะววิจิจัยัยใในน
รระะดดับับขข้ันั้นททดดลลอองงตตาามมกกรระะบบววนนกกาารร ไไดด้แ้แกก่่ ((11)) ททดดสสออบบกกับับเเซซลลลล์ม์มีชีชีวีวิติตใในนหหลลออดดททดดลลอองง ((22)) ททดดสสออบบใในน
สสัตัตวว์ท์ทดดลลอองง แแลละะ ((33)) ททดดสสออบบใในนมมนนุษุษยย์์ โโดดยยลล่า่าสสุดุดออยยู่ใู่ในนขข้ัน้ันตตออนนกกาาลลังังททาากกาารรววิจิจัยัยวว่า่า กกัญัญชชาาแแลละะกกัญัญชชงง
จจะะสสาามมาารรถถรรักักษษาามมะะเเรร็ง็งใในนมมนนุษุษยย์ไ์ไดด้ห้หรรือือไไมม่่ นนออกกจจาากกนนี้นี้นาายยแแพพททยย์ว์วีรีรววุฒุฒิิ ออิ่ม่ิมสสาารราาญญ ไไดด้ร้ระะบบุถุถึงึงววิธิธีกีกาารรใใชช้้
กกัญัญชชาารรักักษษาาโโรรคคมมะะเเรร็ง็งดด้ว้วยยววิธิธีกีกาารรนนาาเเตตาารรีดีด หหรรือือทท่ีหี่หนนีบีบผผมมมมาานนาาบบกกับับกกัญัญชชาา วว่า่าใในนฐฐาานนะะทที่เี่เปป็น็นแแพพททยย์์
แแผผนนปปัจัจจจุบุบันันนนั้น้ัน กกาารรทท่ีแี่แพพททยย์จ์จะะนนาาออะะไไรรกก็ต็ตาามมไไปปใใชช้ก้กับับผผู้ปู้ป่ว่วยยเเพพ่ือื่อททาากกาารรรรักักษษาา แแพพททยย์ต์ต้อ้องงมมีคีคววาามมรรูู้้
คคววาามมเเขข้า้าใใจจววิธิธีกีกาารรรรักักษษาาโโดดยยลละะเเออียียดด ใในนกกรรณณีทีท่ีแี่แพพททยย์แ์แนนะะนนาาผผู้ปู้ป่ว่วยยใใหห้ใ้ใชช้ก้กัญัญชชาารรักักษษาาโโรรคคมมะะเเรร็ง็ง ผผู้ปู้ป่ว่วยยจจะะ
ททรราาบบไไดด้อ้อยย่า่างงไไรรวว่า่าคคววาามมรร้อ้อนนขขอองงเเตตาารรีดีดตต้อ้องงมมีอีอุณุณหหภภูมูมิเิเทท่า่าไไรร ปปรริมิมาาณณขขอองงกกัญัญชชาาตต้อ้องงออยยู่ใู่ในนรระะดดับับใใดด
ใในนกกาารรรรกัักษษาาโโรรคคคครร้ัง้งั นนข้ีข้ี ณณะะนน้ียี้ยังงั ไไมม่ม่มผีผี ลลงงาานนววิจิจัยยั ใใดด ๆๆ ออออกกมมาายยืนนื ยยันนั วว่า่ากกัญญั ชชาาสสาามมาารรถถรรกัักษษาาโโรรคคมมะะเเรรง็็งไไดด้้
11..22..22 นนาายยแแพพททยย์ส์สมมยยศศ กกิติตตติมิมั่นั่นคคงง ผผู้เู้เขขียียนนหหนนังังสสือือกกัญัญชชาา คคือือยยาารรักักษษาาโโรรคคมมะะเเรร็ง็ง
ไไดด้ใ้ใหห้ข้ข้อ้อมมูลูลวว่า่าตตนนเเอองงไไมม่ไ่ไดด้เ้เหห็น็นกกับับตตาาวว่า่ากกัญัญชชาาสสาามมาารรถถรรักักษษาาโโรรคคมมะะเเรร็ง็งไไดด้จ้จรริงิงหหรรือือไไมม่่ แแตต่ม่มีผีผู้ปู้ป่ว่วยย หหรรือือ
ญญาาตตผิผิ ้ปูปู้ ่วว่ ยย เเขขา้า้ มมาาพพดููดคคยุุยบบออกกเเลล่า่าใใหห้ฟ้ฟังงั วว่าา่ เเคคยยใใชชก้้กญัญั ชชาารรกัักษษาาโโรรคคมมะะเเรรง็ง็ แแลล้วว้ ไไดดผ้้ผลลดดีี
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพ่ือใชเ้ ป็นยา หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวิต 253
อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
251
1.3 มนษุ ยม์ คี วามเชื่อว่ากญั ชาและกญั ชงเป็นยารักษาชีวติ ได้
นายณรงค์ รัตนานุกูล อดีตเลขาธิการสานักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ได้ให้สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ว่าจากการศึกษาข้อมูลของสานักงานป้องกันและ
ปราบปรามยาเสพติดในช่วงที่ผ่านมา พบว่ากัญชามีโทษมากกว่าประโยชน์ แต่ในทางกลับกัน หากทา
การศกึ ษาวิจัยแลว้ พบวา่ สารในกัญชาสามารถรกั ษาชีวติ ได้ หรอื สามารถใช้ประโยชนใ์ นทางการแพทย์
ก็จะดงึ ประโยชนน์ ้ัน ๆ มาใช้ และในขณะเดียวกันต้องอยู่ในขอบเขตที่ควบคุมได้ ในสว่ นของประโยชน์
ทางสาธารณสุขไม่มีใครกีดกัน หรือขวางประโยชน์ของประชาชน แต่บางท่านควรอ่านเนื้อหาของ
ข้อมูล หรือข่าวให้ครบถ้วน เพราะการอ่านแค่พาดหัวข่าวอาจสร้างความเข้าใจผิด หรือหลงเชื่อใน
ข้อมูลท่ีไม่ครบถ้วนได้ การเสาะหาข้อมูลเพ่ิมเติมอย่างละเอียด และรับฟังอย่างมีวิจารณญาณ
เปน็ สิ่งสาคัญ และจาเป็นอย่างย่ิง นอกจากนี้หากจะทาการรักษาดว้ ยแพทย์ทางเลือกที่มีอยู่ สิง่ สาคัญคือ
ไม่ควรท้ิงการรักษามาตรฐาน เพราะจากประสบการณ์ท่ีพบมา หากละท้ิงการรักษามาตรฐานแล้วจะ
เกดิ ผลเสียกับผ้ปู ่วยมากกว่าผลดี หรอื อาจถงึ ข้นั เสียชีวติ
1.4 ความเช่อื กัญชากับแอลกอฮอล์
ถาม
จรงิ หรือไม่ กัญชาเสพติดยาก สว่ นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เสพติดงา่ ยกวา่
ตอบ
จรงิ เพราะแอลกอฮอล์เสพติดได้ง่ายกวา่ แต่ไมใ่ ช่แปลวา่ กัญชาไมเ่ สพติด
กัญชามีโอกาสติดโดยเฉล่ียประมาณร้อยละ 10 แต่ถ้าเป็นเยาวชนวัยทางาน
หากเริม่ ตน้ เสพกญั ชาโอกาสติดจะเพ่ิมจากร้อยละ 10 เป็นรอ้ ยละ 16
ถาม
จริงหรอื ไม่ กญั ชารกั ษาสขุ ภาพ แต่แอลกอฮอลท์ าลายสขุ ภาพ
ตอบ
ไม่จริง เพราะท้ังกญั ชาและแอลกอฮอลต์ ่างก็ทาลายสขุ ภาพ
254 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ เพ่อื ใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา
252
ถาม
จรงิ หรือไม่ กัญชารกั ษาโรคมะเร็ง แตส่ รุ าทาให้เกิดโรคมะเรง็
ตอบ
จริง เพราะแอลกอฮอล์ทาให้เกิดโรคมะเร็งตับ และจากการศึกษาวิจัยทดลอง
ในสัตว์ พบวา่ สตั ว์มคี วามเสย่ี งเกดิ โรคมะเร็งบางชนิดได้เชน่ กนั
ถาม
จริงหรือไม่ กัญชาไม่เคยทาให้มีผู้เสียชีวิต แต่แอลกอฮอล์ทาให้มีผู้เสียชีวิต
ปีละล้านคน
ตอบ
ไม่จรงิ เพราะเครื่องดื่มแอลกอฮอลท์ าให้เสียชีวิตได้ จากหลายสาเหตุ สว่ นกญั ชา
จากงานวิจัยพบว่าท่ีรัฐโอเรกอน ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี ค.ศ. 2015 - 2017
(พ.ศ. 2558 - 2560) มีผู้เสพกัญชาต้องถูกนาส่งโรงพยาบาล 250 กว่าราย
ในจานวนนี้ 8 ราย ต้องนอนหอ้ งไอซียู และมี 1 รายเสยี ชีวติ เปน็ ผ้ชู าย
อายุ 70 ปี
ถาม
จริงหรือไม่ กญั ชาคมุ้ คา่ ราคาไม่แพง แต่แอลกอฮอล์ทาใหเ้ สยี ทรัพย์
ตอบ
ไมจ่ รงิ เพราะกัญชาไม่มีความคุ้มค่า ในรัฐโคโลราโด สหรัฐอเมรกิ าได้ปลดล็อก
กัญชาทางการแพทย์ และเปิดเสรีกัญชา ทุก ๆ 1 ดอลลาร์ ที่เก็บภาษีจากการ
ค้าขายกัญชา ประชาชนต้องเสียค่าใช้จา่ ย ประมาณ 4.5 ดอลลาร์ เพือ่ ไปชว่ ยเหลือ
หรอื ช่วยแก้ไขผลกระทบทเี่ กิดขึน้ จากกญั ชาทาให้ได้ไม่คมุ้ เสยี สว่ นแอลกอฮอล์
ส่วนแอลกอฮอล์ก็มีโทษจานวนมากเชน่ กนั
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวิต 255
อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
253
ถาม
จริงหรือไม่ กัญชาไม่มีผลกระทบเมื่อเสพเกินขนาด แต่การด่ืมสุรามีผู้เสียชีวิต
เพราะดม่ื เกนิ ขนาด
ตอบ
ไม่จริง เพราะการเสพกัญชามีผลกระทบต่อสุขภาพมากเช่นกัน ดังตัวอย่าง
ประเทศฝร่ังเศสหลงั ปลดล็อกกญั ชาอัตราเด็ก และเยาวชน เสพกญั ชาแลว้ ต้อง
มารับการรักษาที่โรงพยาบาลเพิม่ ข้นึ อย่างชดั เจน
ถาม
จริงหรือไม่ กัญชากระต้นุ เศรษฐกจิ แตแ่ อลกอฮอลก์ ่อเหตุวิวาท
ตอบ
ไม่จรงิ เพราะท้งั กญั ชาและแอลกอฮอล์ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม และ
ทะเลาะวิวาทได้
ถาม
จริงหรือไม่ กัญชาช่วยป้องกันรกั ษาและเสริมสร้างเซลล์ในมนษุ ย์ได้
ตอบ
ไม่จริง เพราะไม่มีหลักฐาน และงานวิจัยท่ีบ่งบอกว่ามีผลดีต่อเซลล์มนุษย์
แต่หากเสพกญั ชาในระยะยาวจะพบโครงสร้างสมองมีการเปล่ียนแปลงไป เป็น
การทาลายสมอง
ถาม
จริงหรอื ไม่ กัญชามสี ารในการซอ่ มแซมร่างกายของมนุษย์
ตอบ ไม่จรงิ เพราะไม่มหี ลักฐานเพียงพอวา่ กัญชามีสารซ่อมแซมรา่ งกาย
มนษุ ย์ แตม่ ีสารท่ีทาให้นอนหลับสบาย คลายเครยี ด เคลิบเคล้ิม
256 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต เพอ่ื ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา
254
ถาม
จริงหรอื ไม่ กัญชาชว่ ยลดความดนั ในลูกตาของผ้ปู ว่ ยตอ้ หนิ
ตอบ
จริง เพราะต้อหินเป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมของขั้วประสาทตา ส่งผลให้เกิด
การสูญเสียการมองเห็น เน่ืองจากมีความดันในตาสูง มีการศึกษา ความสามารถ
ของสาร THC ร้อยละ 0.01-0.1 ในยาหยอดตา เพื่อช่วยลดความดันในตา
และพบว่าขนาดร้อยละ 0.05 - 0.1 ของสาร THC สามารถช่วยลดความดันใน
ตาของผูป้ ่วยต้อหินได้ แต่เปน็ การออกฤทธ์ใิ นระยะส้ัน 2 - 3 ชว่ั โมงเทา่ นั้น
อย่างไรก็ตามพบวา่ ยานี้ก่อใหเ้ กิดผลอนั ไม่พึงประสงค์ในระหว่างใช้ หากยา
ไมไ่ ด้มาตรฐานอาจทาให้ตาบอดได้
ถาม
จริงหรอื ไม่ กัญชาป้องกันและรักษาอาการสมองฝ่อ
ตอบ
ยังไม่มีคาตอบว่าจรงิ เน่ืองจาก ในปี ค.ศ. 1988 (พ.ศ. 2531) และจากผลการ
วิจัยต่อเน่ืองจนถึงปัจจุบัน พบความเป็นไปได้ในการใช้สารกลุ่ม เอซิด แคนนาบินอยด์
(Acid Cannabinoids) และ เอ็นโดแคนนาบินอยด์ (Endocannabinoids) ในการ
รักษาความผิดปกติทางสมอง เช่น โรคฮันติงตัน (Huntington Disease)
โรคพาร์กินสัน (Parkinson Disease) โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer Disease)
และโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือด (Cerebral Ischemia /Stroke) เป็นต้น
ยงั ไมม่ กี ารสรปุ ที่ชดั เจน
กล่าวโดยสรุป ความเช่ือเก่ียวกับกัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ ได้แก่ ตาราสมุนไพร
โบราณ กัญชาและกัญชงรักษาโรคมะเร็งได้ และกัญชาและกัญชงเป็นยารักษาชีวิตได้ ซ่ึงความเช่ือ
บางอย่าง ยังไม่มีผลการศึกษาวิจัยรองรับ แต่ความเชื่อบางอย่างยังอยู่ในการศึกษาวิจัย จึงไม่ควร
ปฏิบตั ิตามจนกวา่ จะมผี ลการวิจัยความเชื่อที่ไดศ้ กึ ษา ในหวั ข้อดังกล่าว
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพอื่ ใช้เปน็ ยา หนังสอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต 257
อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
255
2. ความจรงิ เก่ียวกบั กญั ชาและกัญชงทางการแพทย์ การศึกษาวิจัยเกย่ี วกบั การใช้กัญชา
และกญั ชงในการรกั ษาอาการ และโรคตา่ ง ๆ มดี ังนี้
2.1 อาการปวดเรื้อรงั จากเสน้ ประสาท
ยาจากกัญชาและกัญชงยังถือว่าเป็นยาใหม่ซ่ึงในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาการวิจัย
ทางคลินิกส่วนมากมุ่งเน้นไปท่ีการวิจัยเก่ียวกับสารแคนนาบินอยด์ท่ีให้ผลดี สาหรับการระงับอาการ
ปวดเรื้อรังจากโรคเส้นประสาท รวมถึงรูปแบบของยากระตุ้นความอยากอาหารในผู้ป่วยโรคมะเร็ง
และการรักษาภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็งจากโรคปลอกประสาทเส่ือม และเมื่อไม่นานมานี้ มีการค้นพบ
สารแคนนาบิไดออล (CBD) ว่าเป็นสารแคนนาบินอยด์เดี่ยว ซ่ึงมีแนวโน้มจะมีฤทธ์ิบาบัด รักษาโรค
ลมชักในเด็กได้ การทดลองทางคลินิกช่วยให้ได้รับข้อมูลเชิงลึกเก่ียวกับภาวะโรคท่ีเกี่ยวข้อง และ
ปริมาณการให้ยา ขณะที่ข้อมูลสนับสนุนใหม่ที่ตีพิมพ์ออกมาเก่ียวกับสารเคมีในพืช การเพาะปลูก
การวิเคราะห์ คุณภาพ และการบรหิ ารยา ช่วยเพม่ิ คุณค่าให้กับความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัย
ของผลิตภัณฑ์ และหลักปฏิบตั ิในการสัง่ จ่ายยา ในที่นี้จะสรุปเน้ือหาในส่วนของภาวะโรคท่กี ัญชาและ
กัญชงน่าจะมีประโยชน์ในการรักษาอาการปวดเรื้อรังอย่างรุนแรง ถือได้ว่าเป็นสาเหตุหลักที่ผู้ป่วยใช้
กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ อาการปวดมีอยู่หลายประเภท และสารแคนนาบินอยด์ไม่สามารถ
รักษาอาการปวดได้ทุกประเภท จากการศึกษาในปัจจุบันแคนนาบินอยด์จะได้ผลดีต่ออาการปวดจาก
เสน้ ประสาทเทา่ น้นั ซงึ่ เป็นอาการปวดท่ีเกิดจากการบาดเจ็บ หรอื โรคซ่งึ ส่งผลกระทบตอ่ เสน้ ประสาท
การรับรู้ เม่ือเทียบกันแล้วการศึกษาท่ีวัดผลต่ออาการปวดรุนแรง ดังตัวอย่าง อาการปวดหลังการผ่าตัด
มักพบว่าไม่มีประโยชน์ต่อการรักษา อย่างไรก็ตามกลไกเบื้องหลังความแตกต่างที่เกิดข้ึนน้ยี ังต้องการ
การศึกษาวิจัยในเชิงลึกต่อไป อาการปวดเรื้อรังจากเส้นประสาทเป็นอาการที่พบได้บ่อย และยากต่อ
การรักษา รวมไปถึงทางเลือกในการรักษาท่ีจากัด จึงทาให้ยาจากกัญชาและกัญชงจาเป็นต่อผู้ป่วย
กลุ่มน้ี จากการศึกษาในผปู้ ่วยแสดงให้เห็นว่า ผปู้ ่วยสามารถทนต่ออาการข้างเคียงจากสารแคนนาบินอยด์
ได้ดีกว่าการให้ยาประเภทโอปิออยด์ที่มีฤทธิ์แก้ปวดรุนแรง แน่นอนว่ามีผู้ศึกษาการใช้กัญชาและกัญชง
ทางการแพทย์ร่วมกับยาอื่น ๆ มากมาย ดังตัวอย่าง มอร์ฟีน ซ่ึงพบว่าสารแคนนาบินอยด์ และโอปิออยด์
ทางานร่วมกันได้ฤทธแ์ิ กป้ วดได้ดขี ้นึ
2.2 อาการคล่ืนไสอ้ าเจียนและเพิ่มความอยากอาหาร
สารแคนนาบินอยด์ให้ผลที่ดีมากต่อการรักษาอาการคลื่นไส้ และอาเจียนซึ่งเป็น
ผลมาจากการใช้เคมีบาบัด หรือรังสีบาบัดรักษาโรคมะเร็ง โรคตับอักเสบซี หรือการรักษาโรคเอดส์
ยา THC สังเคราะห์ในช่ือการค้า Marinol® มีการใช้ในหลายประเทศท่ัวโลกเพื่อเป็นยาแก้อาเจียน
สาหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งท่ีอยู่ในระหว่างการให้เคมีบาบัด มีงานศึกษาวิจัยสนับสนุนข้อมูลว่าการให้
THC โดยตรงก่อน และหลังการทาเคมีบาบัดจะส่งผลดีมากกว่าการใช้ยาแก้อาเจียนแผนปัจจุบัน
แบบเดิม (อย่างไรก็ตามการศึกษาเหล่าน้ีไม่ได้เปรียบเทียบกับการให้ยาแก้อาเจียนแผนปัจจุบันล่าสุด
258 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวติ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา
256
ซ่ึงมีประสิทธิภาพมากกว่ายาแผนปัจจุบนั แบบเดิมมาก) สารแคนนาบินอยด์จะช่วยกระตุ้นความอยาก
อาหารทมี่ ีไขมัน และนา้ ตาลสูง ตงั้ แต่ ค.ศ. 1980 (พ.ศ. 2523) มกี ารใช้ Marinol® เป็นยากระตนุ้ ความ
อยากอาหารในผปู้ ว่ ยโรคเอดส์ ทน่ี า้ หนักลดลง สาหรบั ผปู้ ว่ ยทรี่ ู้สกึ เบ่ืออาหารการรบั ประทานอาหารที่
ให้พลังงานสูงอาจส่งผลให้น้าหนักตัวเพ่ิมขึ้น และเพ่ิมการดูดซึมสารอาหารได้ดีข้ึน มีการใช้ในภาวะ
โรคผอมแหง้ (ภาวะผอมหนังหุ้มกระดูก) แม้ว่าจะมียาอ่ืน ๆ ให้เลอื กใช้เพื่อรักษาอาการคลื่นไส้อาเจียน
แต่มักจะทาให้ความอยากอาหารลดลง แต่แคนนาบินอยด์ช่วยรักษาอาการเหล่าน้ีได้ทั้งหมด ทาให้ยา
กญั ชาและยากญั ชงเปน็ อีกทางเลือกหนึ่ง เพอ่ื ช่วยในการเพิ่มคุณภาพชวี ติ แก่ผู้ป่วยได้
2.3 โรคปลอกประสาทเสือ่ ม
โรคปลอกประสาทเส่ือม (MS) เป็นโรคชนิดหน่ึงซ่ึงมีอาการปวดเร้ือรังร่วมด้วย
จากการศึกษาฤทธ์ขิ องสารแคนนาบินอยด์ในระยะยาวต่อโรคนแ้ี สดงใหเ้ หน็ ว่าผู้ปว่ ยไม่มีการต้านฤทธิ์
การรกั ษาโรค และไมต่ ้องเพิ่มปริมาณยา เพอื่ ให้ผลการรักษาเท่าเดิม เมือ่ มกี ารใชย้ ามาเป็นระยะเวลา
หน่ึง แม้ว่าหลักฐานทางการแพทย์ท่ีสนับสนุนการใช้กัญชาและกัญชงสาหรับโรค MS ยังมีข้อจากัด
แต่การรักษาโรค MS ด้วยยาแผนปัจจุบันส่วนใหญ่ก็มีอยู่อย่างจากัดเช่นกัน ผู้ป่วยโรค MS มักมี
ประสบการณ์รักษาด้วยทางเลือกอื่นร่วมดว้ ย รวมถึงการใชก้ ัญชาและกัญชงเพ่ือเพิ่มคุณภาพชีวิตของ
ตนเอง การรักษาแบบมาตรฐานมักไม่สามารถบรรเทาอาการได้ตามต้องการ และอาจถูกจากัดด้วย
อาการข้างเคียงของยา หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่มีอยู่ต่างสนับสนุนการใช้กัญชาและกัญชงทาง
การแพทย์ในการรักษาอาการปวดท่ีเกี่ยวข้องกับโรคกลุ่มอาการเกี่ยวกับทางเดินปัสสาวะ อาการสั่น
และภาวะกล้ามเน้ือหดเกร็ง นอกจากนั้นในผู้ป่วยหลายราย สารแคนนาบินอยด์ยังมีส่วนช่วยในการ
นอนหลับ โดยทาให้สามารถนอนหลบั ได้ลกึ และนานยง่ิ ขึ้น
2.4 โรคลมชกั
โรคลมชักโดยทั่วไปสามารถควบคมุ อาการได้ดว้ ยการใหย้ า อย่างไรกต็ ามมีผู้ป่วย
โรคลมชักจานวนมากที่ไม่สามารถควบคุมอาการชักได้ดี ในช่วงต้นปี ค.ศ. 1979 (พ.ศ. 2522) มีผล
การศึกษาจากห้องปฏิบัติการยนื ยันวา่ ฤทธ์ิต้านอาการชักของสารบริสทุ ธ์ิ CBD ในการศึกษาทางคลินิก
ขนาดเล็ก และในสัตว์ทดลองพบว่าสาร CBD สามารถลดความถ่ี และความรุนแรงของอาการชักได้
และสาร CBD ยังไม่ก่อให้เกิดผลต่อจิตประสาทด้วยแล้ว แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของสาร CBD
ในการพัฒนาเป็นยาใช้ในการรักษาโรคลมชักในมนุษย์ได้ อย่างไรก็ดีข้อมูลงานวิจัยยังมีไม่มากพอ
ซึ่งทาให้ไม่สามารถหาข้อสรุปท่ีแน่นอนเกี่ยวกับศักยภาพของสารแคนนาบินอยด์ในการรักษาโรคลมชักได้
นอกจากนน้ั ข้อมูลดา้ นความปลอดภัย และการทนต่อยาแคนนาบินอยด์ในผู้ป่วยเด็กยังไม่เป็นท่ีแน่ชัด
แม้ว่าสาร CBD จะมีประสิทธิภาพในการลดอาการชกั ในผูป้ ่วยโรคลมชัก แต่ก็ยังจาเป็นต้องมีการวจิ ยั
ท่ีมีการควบคุมอย่างรัดกุมมากข้ึน เพ่ือทาความเข้าใจประโยชน์ทางคลินิกของผลิตภัณฑ์ประเภทนี้
ได้อยา่ งสมบูรณ์
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพอื่ ใชเ้ ป็นยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวติ 259
อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
257
257
กล่าวโดยสรปุ ความจริงเกย่ี วกบั กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ จากการวจิ ยั เกย่ี วกับการ
ใช้กัญชาแลกะลกา่ัญวโชดงยชส่วรยปุ ในคกวารมรจักรษงิ เากอ่ียาวกาบั รกญั แลชาะแโรลคะดกัญงนช้ี ง(ท1า) งอกาากราแรพปทวยด์ เจราื้อกรกังาจราวกจิ ยัเสเก้นีย่ ปวรกะับสกาาทร
ใ(2ช)้กอัญากชาารแคลละ่นืกไัญสชอ้ างเชจ่วยี ยนในแกลาะรเพรัม่ิกคษวาาอมาอกยาารกอแาลหะาโรค(3ด)ังโนร้ี ค(1ป)ลอกากปารระปสาวทดเสรือ่้ มรังแจลาะกเ(ส4้)นโปรรคะลสมาชทกั
(2) อาการ คล่นื ไส้อาเจียน และเพ่มิ ความอยากอาหาร (3) โรคปลอกประสาทเสื่อม และ (4) โรคลมชัก
22ใเรห่ือกกปไ้ งดัาาจทรรจ้ปใใ่ีุบร2ชชันะ้ผ้ผโม กยลลีกาชติติารรนภภใว์ณัณัชิจ้ผัยฑฑลแก์ก์ ติ ลัญญั ภะชชพัณาาัฒฑแแน์กลลาญัะะยกกาชัญัญจาาชชแกลงงกททะัญกาาชงงญั ากกแชาาลงรระทแแกาพพัญงททชกยยงา์ใ์ใรเนนพแื่ออพในนทชาา้ปยคคร์ใตตนะใใโอยหหนช้้ไไาดดนค์้ป้ปทตารรงะะกโโายยรชชแนนพ์์ ทย์
เรอื่ งท่ี
เรื่องท่ี
มากข้ึน หลังปจัาจกจหุบลันามยีกปารระวเทิจศัยมแีกลาระอพนัฒุญนาาตยใหาจ้ใชา้ผกลกติัญภชัณาฑแล์กะัญกชัญาแชลงะเกพัญื่อชใงชท้ปารงะกโายรชแพน์ทยา์งไดก้มาีงราแนพวทจิ ยั ์
มแลากะขรา้ึนยหงาลนังกจารกใหชล้ผาลยิตปภรัณะเฑท์กศัมญีกชาารแอลนะุญกาัญตชใงห้ใช้ผกลับิตผภู้ปณั ่วยฑบ์กาัญงโชราคแทล่ีเะหก็นัญวช่างผทลาิตงภกัณารฑแ์พกัญทยช์ไาดแ้มลีงะากนัญวจิชัยง
อแลาจะจราะยมงปี ารนะกโายรชในช์ไ้ผดล้ ิตเชภ่นัณโฑรค์กมัญะชเารแง็ ลโะรคกสัญมชองงใเสชอ่ื้กมับผโู้ปรค่วเยบบาาหงวโราคนทโี่เรหค็นไตว่าเรผ้ือลริตังภเัณปน็ฑต์ก้นัญชาและกัญชง
อาจจะมปี ระแโตย่ทชน้ังนไ์ ดี้ก้ าเชรใ่นช้กโรัญคชมาะแเรลง็ ะโกรัญคสชมงรอักงเษสา่ือโมรคโมรคะเบร็งาหแวลาะนโรโครคอไ่ืนตเๆรือ้ ทรี่ยังังเไปม็น่ไตด้นมีประกาศให้ใช้
จากกรมกาแรตแ่ทพั้งทนย้ีก์ าแรลใะชย้กังญมชีคาวแาลมะจกาัญเปช็งนรตัก้อษงาศโึกรคษมาะวเิจรัย็งถแึงลปะรโะรสคิอท่ืนธิผๆลขทอ่ียงั กไมัญ่ไดช้มาีปแลระกาัญศชใหงใ้ นช้
หจาลกอกดรทมดกลาอรงแพเพทื่อยต์ แรวลจะสยอังมบีความจปาลเอปด็นภตัย้องแศลึกะษปารวะิจสัยิทถธึงิผปลรใะนสสิทัตธวิผ์ทลดขลอองงกกัญ่อชนากแาลระศกึ ัญษาชวงิจในัย
หในลมอนดุษทยด์เปล็นอลงาดเพับื่อตต่อไรปวจเนส่ืองบจคากวใานมปปัจลจอุบดันภขัย้อมแูลลหะลปักรฐะานสทิ าธงิผวลิชใานกสารัตทวี่ส์ทนดับลสอนงุนกว่อากนัญกาชราศแึกลษะกาัญวิจชัยง
มในีปมรนะุษโยยช์เนป์ใ็นนลกาาดรับรตัก่อษไาปโรเคนมื่อะงเจรา็งกชในนิดปตัจ่าจงุบๆันขห้อรมือูลโรหคลอัก่ืนฐาๆนทยางั งมวไี ิชมา่เพกาียรงทพ่ีสอนแับตสส่นมุนควว่ารกไัญด้รชับาแกลาระศกึกัญษชาง
มวิเีปครระาโะยหช์อนย์ใน่ากงลาระรเอักียษดาโดรคังนม้ันะเรผ็งู้ปช่วนยิดจตึงา่คงวรๆไดห้รรับือกโราครอรักืน่ ษๆาตยางั มมวีไิธมีม่เพาียตงรพฐาอนแทตาส่งกมาครวแรพไดทร้ ยบั ์ใกนาปรัจศจึกุบษันา
วหิเาคกรเาละือหก์อใชยเ้่าฉงพลาะะเอผียลดิตภดณั ังนฑ้ัน์กญั ผชู้ปา่วแยลจะึงกคญัวรชไงดใ้รนับกกาารรรักักษษาาแตลาว้ มอวาิธจีมทาาตใรหฐ้ผาปู้นว่ทยาเงสกยี าโรอแกพาทสใยน์ในกาปรัจรจักุบษนั า
ทหา่ีมกีปเรละือสกิทใชธิผ้เฉลพดา้วะยผวลธิ ิตีมภาตัณรฑฐ์กานัญไชดา้ และกัญชงในการรกั ษาแลว้ อาจทาให้ผปู้ ว่ ยเสยี โอกาสในการรกั ษา
ทีม่ ปี ระสทิ ธิผกลด่าว้ ยโดวยิธีมสารตุปรฐกานรใไชด้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตให้ได้ประโยชน์
เช่น โรคมะเกรล็ง่าโวรโคดสยมสอรงุปเสก่ือามรโใรชค้ผเลบิตาภหัณวาฑน์กัญแลชะาโแรลคะไกตัญเรช้ืองรทังาเงปก็นาตร้นแพจทายเป์ใน็ อตน้อางมคีกตาใหรศ้ไดึก้ปษราะวโิจยัยชถนึง์
เคชว่นามโปรลคอมดะภเรัย็ง แโรลคะปสมระอสงทิเสธ่ือิผมลอโยรค่างเลบะาเหอวียาดนซแึง่ ลพะ.โศร.ค2ไ5ต6เร2้ือยรงั ังมเีขปอ้ ็นมตลู ้นหลจักาฐเปาน็ ทตา้องงวมิชีกาากราศรึกไษมเ่าพวียจิ งัยพถอึง
ผควู้ปา่วมยปจลึงอคดวภรไยั ดแ้รัลบะกปาระรสักิทษธาผิตลาอมยว่าิธงีมลาะตเอรฐียาดนซทึ่งาพงก.ศา.ร2แ5พ6ท2ยย์ในงั มปีขัจอ้ จมุบูลันหหลากั กฐเาลนือทกาใงชว้ชิ เาฉกพาาระไผมล่เพิตภียงัณพฑอ์
กผู้ญัป่วชยาจแลึงคะกวรัญไชดง้รใับนการรักษาแตลาว้มวอิธาีมจาทตารใหฐา้ผนู้ปทว่ ยางเสกียาโรอแกพาทสใยน์ใกนาปรัจรจักุบษันาไหดา้ กเลือกใช้ เฉพาะผลิตภัณฑ์
กัญชาและกัญชงในการรักษาแลว้ อาจทาใหผ้ ู้ป่วยเสียโอกาสในการรักษาได้
ถาม
รบั ปรถะทาามนกัญชาเพื่อลดนา้ ตาลในผปู้ ่วยโรคเบาหวานได้จรงิ หรือไม่
รับปรตะทอาบนกัญชาเพ่ือลดน้าตาลในผูป้ ่วยโรคเบาหวานได้จริงหรือไม่
ไม่จรติง เอพบราะไม่มีผลการวิจัยที่ยืนยันมากพอ ดังน้ันผู้ป่วยโรคเบาหวานควร
รไมับ่จปรริงะทเพานรายะาไแมล่มะีผอลยกู่ภารยวใติจก้ัยาทร่ียดืนูแยลันขมองาแกพทอยด์ ังน้ันผู้ป่วยโรคเบาหวานควร
รบั ประทานยาและอยภู่ ายใต้การดแู ลของแพทย์
260 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวิต เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา
258
เร่อื งท่ี 3เร่ือขงอ้ ทแ่ี น3ะขนอ้ าแกน่อะนนต�ำ ัดกส่อินนใตจดัใชสผ้ินลใจติ ใภชณั ้ผลฑิต์กภัญัณชฑาแ์กลัญะชกาัญแชลงะทกาัญงชกงาทรแาพงกทายร์แพทย์
1. ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์กับผู้ป่วย (Physician-Patient Relationship) เป็นพ้ืนฐาน
ในการใหก้ ารยอมรับการรกั ษาพยาบาล แพทย์ควรมนั่ ใจวา่ มคี วามสมั พันธก์ ับผปู้ ว่ ยดเี พยี งพอก่อนการ
ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง ผู้ป่วยควรได้รับการตรวจร่างกายจากแพทย์ผู้เช่ียวชาญ และบันทึกใน
เวชระเบียนผู้ป่วย รวมถึงการประเมินผู้ป่วยว่ามีความเหมาะสมท่ีจะใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง
หรือไม่
2. การประเมินผู้ป่วย (Patient Evaluation) ควรบันทึกข้อมูลการตรวจทางการแพทย์ และ
รวบรวมข้อมลู ประวัติทเ่ี กีย่ วข้องกับอาการทางคลนิ ิกของผู้ป่วย
3. การแจง้ ใหท้ ราบและตดั สนิ ใจร่วมกัน (Informed and Shared Decision Making) โดย
ใหข้ ้อมูลรายละเอยี ดของการรักษาที่ได้รับอยใู่ นปัจจุบันด้านประสิทธิผล ผลข้างเคียง และคณุ ภาพชีวิต
การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงกับผู้ป่วยควรเป็นการตัดสินใจร่วมกันระหว่างแพทย์ผู้รักษา และ
ผู้ป่วย แพทย์ควรอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงความเสี่ยง และประโยชน์ของผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง
ความหลากหลาย และมาตรฐานการเตรียมผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง อาจทาให้ผลท่ีเกิดกับผู้ป่วยมี
ความแตกต่างกัน กรณีท่ีผู้ป่วยไม่สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง แพทย์ควรแจ้งให้ญาติ หรือผู้ดูแล
ทราบถึงความเส่ียง และผลท่ีคาดว่าจะได้รับจากการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง ซึ่งส่งผลต่อการ
วางแผนการรักษา และการยนิ ยอมรกั ษา
4. ข้อตกลงการรักษาร่วมกัน (Treatment Agreement) วัตถุประสงค์ และแผนการรักษา
ควรแจ้งให้ผู้ป่วยทราบตั้งแต่แรก และทบทวนอย่างสม่าเสมอ รวมถึงความเหมาะสมในการเลือกวิธี
รักษาของแต่ละบคุ คล
5. เง่ือนไขท่ีเหมาะสม (Qualifying Condition) ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานทางวิชาการ
ด้านประสิทธิผลของการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงในทางการแพทย์เพียงพอ การตัดสินใจสั่งใช้
ขึ้นอยู่กับความเช่ียวชาญ และประสบการณ์ของแพทย์ในประเด็นข้อบ่งใช้ ความเหมาะสม และความ
ปลอดภัย ของผ้ปู ่วยแตล่ ะคน
6. การติดตามอย่างต่อเนื่องและปรับแผนการรักษา (Ongoing Monitoring and
Adapting The Treatment Plan) แพทยค์ วรประเมนิ การตอบสนองของการใช้ผลติ ภณั ฑ์กัญชาและ
กัญชงกับผู้ป่วยอย่างสม่าเสมอ ทั้งสุขภาพในภาพรวม และผลลัพธ์เฉพาะด้าน รวมถึงผลข้างเคียง
ทีอ่ าจเกดิ ขนึ้
7. การให้คาปรึกษาและการส่งต่อ (Consultation and Referral) ผู้ป่วยท่ีมีประวัติการ
ใช้สารเสพติด และปัญหาโรคทางจิต จาเป็นต้องได้รับการประเมิน และให้การรักษาเป็นกรณีพิเศษ
แพทยผ์ ้รู ักษาควรขอคาปรึกษา หรอื ส่งตอ่ ผปู้ ่วยไปพบผู้เชย่ี วชาญเฉพาะด้าน
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ติ 261
อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
225599
จจะะชช่่ววยยสสนนัับบ88สส..นนุุนนกกกกาาาารรรรบบตตัันนััดดททสสึึกกิินนเเใใววจจชชใใรรนนะะกกเเาาบบรรีียยแแนนนนะะ((นนMMาาeeกกddาาiiccรรaaใใllชช้้RRผผeeลลccิิตตooภภrrddััณณss))ฑฑ์์กกกกััาาญญรรชชบบาาัันนแแททลลึึกกะะกกขขัั้้ญญออมมชชููลลงงผผเเูู้้ปปพพ่่ื่ื่ออววยยววััตตออถถยยุุปป่่าางงรรเเะะหหสสมมงงาาคคะะ์์ททสสาามมงง
กกคคววาารรรรลลแแงงพพววททนนัั ยยทท์์ ่ีี่กกแแาาลลรระะบบลล8888ัันนาา....1122ยยททมมึึกกผผปปือือใในนชชลลรระะเเื่ือ่อกกววววกกาาชชััตตาารรรริผผิกกรระะู้ปู้ปัับัับกกเเบบ่วว่ษษไไววยยีียยาา้้ใในนททนนกกคคกก่่ีีไไาาดดาาววรรรร้้รรรรททบบัับบมมบบัันนีีขขมมทททท้้ออาาววึึกกมมกกนนแแูู่่ลลออปปตตขขนนจััจ่ลล่ออกกจจะะงงาายััยคคผผรรเเรรูู้ปป้สสปป้้ัังงียย่่ี่่ววรรยยงงโโะะดดตตคคเเยย่า่ามมรรงงขขบบิินนออ้้ ๆๆถถผผมม้้ววูู้้ปปลููลนน่่ววททสสยย่ี่คีคมมววกกบบรราารูรูปปรรณณรรววาา์์ ิินนกกซซิิฏฏจจึ่ึ่งงออฉฉใในนาาััยยจจเเววมมแแชชีีผผลลรรลละะะะเเททใใบบหหาาียยี้้กกงงนนกกาาฎฎรรมมรรหหีดีดัักกมมังังษษนนาายยาาี้ี้
แแผผรรววลลลลมมะะขขถถไไ้า้ามมึงงึงงผผเเนน่่ คคลลาายีียผผตตงงลลรรววแแตติิ จจลลภภททะะััณณ88888888าาผผ........ฑฑ5566งง4433ลลหห์์กกกกออ้้ญััญาากกสสผผกกงงรรลลาาาาาาชชปปรรรรเเกกรราานนัักกฏฏใใาาแแมมหหษษาาบบิิรรลลีีผผ้้คคกกปปาาตตััะะาาาาททลลรริกกิกกแแรระะออ่ี่ีปปาาญัญัลลนนเเาารรมมรรงงะะชชจจิินนนนะะนนงงพพผผโโาาไไาาบบปปยยมมปูู้้ปผผไไใใใใชช่่ววูู้้ปปดดหหนนยยนน่่ววห้ห้ ผ้ผ้ขขออยย์์ททลล้อูอู้้้ออยยาาััืืน่น่บบตตรร่า่ากกววงงกกซซหหตตมมลล้้ออ่่ออลลถถงงนนเเาาึึงงรรนนยยกกัักกขขอืื่อ่ าาษษอองงรราางงททแแแแาาลลรรคคพพววะะววมมกกททาาถถาายยมมรรึึงง์์เเกกคคขข((าาาาPP้้าากกแแใใhhัับบจจนนyyกกตตะะssัับบดิดิiiนนccตตคคาาiiaaาาววใใnnนนมมาาผผมมกกCCลลเเาาooสสททรรnn่ีี่ยยดด่เีีเ่ ffงงกกููแแllิิiiดดลลปปccกกttคครรssัับบะะววผผooโโาายยูู้้ปปมมffชชปปว่ว่IInnนนยยลลtt์์ททออee่่ีีไไrrดดดดeeภภ้้รรssัััับบยยtt))
((รแมกแขมรกกขก88ววพพ้้ออััาญาญีี ))88มมรรมมททกกชชรรถถููลลขขยยาางงัักกงึึงปป้ออ้รรผ์ผ์ กกษษ((บบรรสูู้้ส66าาไไาาันนัะะงั่ัง่))ดดรรรรใใววททปป้้แแกก่่ววชชััตตกกึกกึรรกกมมาาผผ้้ ิิททะะลลเเรร่่กกลลวว((เเ่ี่ีเเตต่่าา11ัันนชชมมติิตกกววิิดด))รรภภ่ีี่ินินยยโโ((ตตะะคควว55ผผณัณัดดเเาาววขขบบ))ป้้ปููยยมมฑฑาา้้ออเเีียยว่่วสสมมอองงก์ก์งงนนยยรร่่ืืออสสยยกกญัญั ววุุปปนนัมมั่่าาัับบจจ่่าาชชงงพพไไะะเเออาาขขตตขขหหชชันนัาาแแทท่่้้ออออมมว่่วกกธธลลเเ่่ีีเเแแยยาา์์าานนหหะะรรสสะะนนรรกก่ื่ืออมมะะสสนนขขะะญัญังงหหาามมัับบออนนแแะะชชววททงงสสาาลลสสา่่างงผผนนจจ่่ีี กกะะงงมมูู้้ปปะะนนุุตตแแ่่ปปออใใ่่ววใใ้้ออกกพพนนรรชชนนยยาางงััททบบ้ผผ้ตตกกรรไไยย((แแมมลลััตตดดาา33์ก์กผผิติตมม่่ดัดัรรสส))บัับนนภภผีผีตตสสิินนกกผผลลััดดกกััณณนนิิ าาใใ้ปูู้ปปปสสาาใใจจรรฑฑจจรร่่ววิินนรรแแใใใใกก์์รรยยะะชชจจใในนัักกััญญจจโโ้้ผผ้้งงกกยยเเษษขขใใปปชชลลาาชชหหออาาาารริิ็็นนตตนน้้ททงงแแแแพพภภ((ท์ท์แแรรนนลล77นนื้ื้ััณณพพาาับบั))ะะะะฐฐบบททซซกกนนกกฑฑาา้ออ้ััญญาายยาานนแแ์์กกรรกกนน์์ใใชชลลใใััญญใในนาาททนนหหงงะะรรกกชชหหั้งง้ักก้้ตตคคใใาาททชชาาาารรััดดาารรรร้ผผ้แแาาอืือปปสสสสยยงงลลไไลลรริินน่ั่ังงตตมมออติติึึกกะะใใใใรร่่มมภภชชษษจจกก((งงรร22้้ผผััณณรรััาาญญบับั))แแ่่ววลลฑฑแแชชกกลลมมกกิิตตลล์์กกงงาาะะกกาาภภะะรรญญััททรรททัันนััณณกกรรปปาาาาชชักักาาฑฑ((งงรรงงาา44รรษษออะะกกแแ์์กกสส))าา้อ้อเเลลาาััญญ่่มมงงขขพพมมะะรรตตนิิน้้ชชออยยกกแแ่่ออผผตตาาาาญััญพพแแูู้้ปปกกบบแแชชททลลลล่่ววลลาางงะะยยยยลลงงะะ์์
ใใใใเเรรนนนนอ่่ือืปปกกงงาารรรรททะะรรเเ่ีี่ดดกััก44เน็น็ษษรททาา่อื 11กกแแผผเ่เี่ี งกกนน..ู้ปปู้าาท่ียยี่ะะรรวว่่ ววววนนี่ยยววาา4ขขาาาางง้้แแออใใเเงงหหปปผผงงกแแ้้ใใกก้้นนาาชชาผผัับบหหกกผ้ผ้รนนมมออาาลลวาารราากกิิตตายยรรกกภภาากกัังกกาารรััณณแษษรราารรรรขขผฑฑาาัักกรรออคคน์์กกัักกษษงงววััญญษษกผผรราาาาปูปู้้ชชมมาดดาา่่ววรคีคีกก้วว้แแยยรววาาลลยยททรราากั ะะเเมมผผ่รร่ีีษรรกกชชัับบลลิ่ิ่มมาััญญดดัักกิติตดแแชชเเาาจจภภลลว้งงรรนนใใะะรรณััณยนนกกักักผใใกกฑฑาาษษนนาาลรราาปป์์กกรรหหติดดททรรัญัญยยวว้้ภะะดดุุดดยยเเชชลลณั ใใดดผผชชออาา็็นนลลฑงง้้แแแแตตรริิตตก์ลลพพัักกอ่อ่ภภัญษษะะไไททณััณปปกกาายยชฑฑนนรรญญัั์์คคะะา์์กก้ีี้ววยยแชชัญญัรระะหหลงงชชสสาาะาาั้ั้นนรรกแแืออื เเลลัญพพรระะว่ว่ ืออ่ื่ชกกมมปปัญัญงกกรรัับบชชะะเเผผงงมมู้ปู้ปเเิินนชชว่ว่ ปป่น่นยยรรใใะะหหหหสส้ชช้ยยิิททัดดัุดดุ ธธเเเเจจมมิิผผนนือ่ือ่ลล
เเเเออฉฉออาาพพกกกกสสาาาาะะาารรรรรรคคาาจจลลยยาา่นื่ืนกกดดไไแแ22สสัังงพพ..ตต้้ หหททัววั ยยรรกกออืืออ์์ผผาายยออรรูู้้เเ่า่าชชาาบบงง่่ีียยเเรรจจกกววิิหหยียีชชาานนาารราารรรรญญลลักักจจดดเเััฉฉษษดดลลพพกกาางงแแาาาาเเะะบบรรปปททโโบบน็น็ ดดาาปปตตงงยยรรน้น้รรแแะะัับบพพออคครราาททบบััออกกงงปปยยาากก์์เเรรรราาววะะปปรรชชคคใใววปปชชออดด้้ผผฏฏงงดดลลิิบบขขีี ิิตตััตต้้ึึนนภภิิททใใัันนณณ่ั่ัววกกฑฑไไรรปป์์กกณณััญญ((ทีที GGชช่ี่ีคคeeาาน้้นแแnnพพลลeeบบะะrraaกกสสllััญญาาPPเเชชหหrraaงงตตccุุ รรttแแiiัักกttลลiiษษooะะาาสสnnออาาeeาามมrrกกาา;;าารรรรGGถถขขPPรรออกััก))งงษษผผคคาาูู้้ปปววไไรร่่ววดดมมยย้้ ีี
262 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ เพือ่ ใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา
226600
คกคลหคคลหกหหผผปปใใโโดดนนงงลลัญญัววววาารร้ออ้ ยยนนกกรระะาารรติติงงชชกกปปืืออาาโโมมมมาาภภาายยรราามมรรฏฏีีเเคคแแณณััชชรรสสรร่่ววยยบบิิววลลจจัักกนนมมี่ี่ยยฑฑินินาาะะัตตัาา่่ษษ์์กกงง์ก์กมมยยกกกิกิยยาาัับบญัญัออชชััญญาา((ยยกก5566443344ผผรรมมััผผดดาา........ลลชชชช))ูู้้ปปลลเเเเ่า่าาากกงงปปแแจจกก่่ววใใใใกกมมววขขแแใใาาลลหหนนหห็น็นนนยยาาโโ้้ีีาาาากกลลรรดดะะกก้ผผ้ใใ้้รรกกคคกกงงรรททะะใใหหยยเเาาััู้ปปู้บบาาะะัับบาานนกก((คคบบสสยย้้ชช66รรบบแแ่ว่วตตตตญััญีียยททรรททสสัั))ดด66ยยนนววิิดดิิดดงงุปปุชชววปปััเเดดใใลลนนททะะตตจจตตหหปปนนงงลลดดงงกกกกนนนนี่่ีาาออาาททค้้คโโรรนนออาาาาาามมมมาาดดาาาาะะาาหหงง((าารรรรจจผผ22งงยยแแรรเเมมจจโโวว์ห์หททเเดดกก))ูู้้ดดัักกปปผผนนาาััดดกกยยาาบบาา็็นนกกยยษษงงเเูู้้่่ะะววกกิิดดิินนกกชชรรแแาาททกกนนาายยาาขขมมแแยยไไยี่่ียผผรราารรววรรววดดาาึ้ึ้นนพพีขีขออบบววนนรระะคคนนผผ่่าา้้แแ้้ออชชมมททททรรยยกกววแแู้้ปูปไไททกกสสาาิิหหะะบบาายยมมาาลล่ว่วโโุุ่่กกญญงงรรสสาามม์์ททดด่่((คคะะยยสสรรสสรร11ั้ั้นนเเยยววเเววเเสสัักกกกยััยจจััปป))ปปมมนนไไรร่่ีียยษษววััาาดดเเดดดดวว้้าาอื่ื่อพพททขขรร่าา่งงกกาาหหาา้้รราาใใััผผอื่อ่ืตตุุบบกกดดาาชชงงบบััหหเเมมปปูู้ป้ปรรสสชชรรว้้วขขเเผ้ผ้ททาา์์ปปววโโรรััยย่่ปปนน่ว่ว่่ีียยลลโโยยดดรรจจะะ้้าายยผผดดดดาาติติขขาายยกกเเออหหลลออยยาานนมมบบภภออแแาา่่ืืนนมมิิตตหหาาแแิินนพพงงพพณณััขขรรจจภภาา์์พพกกบบปปๆๆ้้ออททาา22เเยยฑฑััณณาาพพททรรมมหหรรยยกกรรตตกก์์สสิิหหะะิมมิ่่ยยฑฑููลล์์นนเเรราาััััญญาาปปววสสาา์์ขขเเ์กก์ัักกรระะมมชชกกหหรริิททดดชชนนเเััญญษษคคยยปป่ีี่ยยรราารรธธาาาาแแาาาาชชววิ่ิ่หหมมววืืฏฏออิิผผแแดดลลาากกาารร์์ลลเเลลรริิบบแแยยะะแแภภมมแแััับบักกววใใะะลลาาััตตททลลนนลลจจสสมมษษผผกกดดะะิิททะะะะาากกาาััชชททลลััญญคคาาว้ว้ ั่่ัววททเเกกงงาากกิิตตยย้ั้ัปปงงววไไชชาารรแแััญญุุกกกกรรปปาาตตภภน็น็รรนนงงลลเเมมผผาาชชนนดดััณณััททกกโโกกะะ((รรถถูู้้เเงงดด33เเืืษษออาาชชััหหกกบบฑฑออีี่่ขขยย))งงนนแแาาี่่ียยาายยงงออเเ์์กกกกเเมมผผนนคครรววฉฉุุดดงงรรััญญาาีีกกูู้้ปปะะหหชชรรกกพพววเเรรรรนนชชมมวว่่่่ืืออาาาายยมมแแาาะะยยาาาาื่่ืออรรญญุุงงดดะะถถพพบบใใจจแแกกจจดดึึใใงงหหแแททวว่่าาลลชชััาา((กกกก้้ผผาา้ใ้ในน55ยยยยรระะ้้ชชาารรนนนนแแ))กก์์ยยรรกกรร้้กกผผกกกกััพพกกาาาาตตใใััญญลลลลาาาารรหหษษรรททเเิิตตรรรรชชเเจจปป้้ววผผาามมยยรรรรภภััดดงงจจไไูู้้ปป็็นนัักกัั่ืื่์์กกคคออททมมัักกณณทท่่ตตววษษษษววใใ่ี่ีาาใใ่่ไไาาฑฑยย้้ชชนนชชดดรรรราาาางง้้์์้้้้
((เเบบ(อเเอ(CCSหหSรรยยรรcchhื่ออ่ืตตรรา่า่ hhooผผุุงงเเงงiททiลลllลลททzziiาาnnooะะททีี่่ ออเเeepp55ห่หี่ีออาาsshhเยยียยีกกรttrreeุุดดดดกกเ1เ1าา่ือeeมมrr))รร..กกnnาางaa่ืื่ออ่อ่อiiทรรssaaพพ111111กก11นนeeเเ))่ี........ิิจจาารร44เเ3322115IรรIแแรราามิ่ม่ิnnซซรริิ่่มมลลใใhhณณปปปป11ปป11ออกกัักกกะะชชii....าาbbปปรรรราาอรรอาา2222าผผ้้กกะะะะรรiiแแรร....าาะะรtt2211ลลววววสสาาะละลooกกเววัตัตตััตรร่งั่งัรววตติิ้วว้rrาาััตตใใสส))กิกิเิิเกกโโััตตม่ิววรรภภชชจจรริิาาาา่าา่เเาาิิททใ็บ็บ้้คคณัณัคคจจจจรรรรชดดาาหหปปเเาา็็รรััญญบบังังจจ้ผงงฑฑเเััลลกก่วว่นนปปจจ็บบ็ปปปปลยยออษษ์ก์ก้ีี้ิิตตนน็็ปปััจจ่่ใใิตววดดาาญญััจจนนตตว่่วจจเเยยททภาาลล้้ออยยปปุุบบชช่่ีีททไไกกัณืออืใใงงััจจัันนดดนนาาใใกกดดาาจจชช้้ททรรฑแแออาาหหงงบบุุัั้ผ้ผบบีี่่จจดดรรลลก์จจัวัวันนัลลมมะะไไตตีีะะใใิิญัตตตติิดดใใจจาาโโกกชชภภ้้รรกกดดชญญััโโ้้ััผผบบแแณัณั่่ยยออรราลลยยเเลลคคนนชชฑฑแฉฉิิตตาาตตแแะะ์์กกงงพพลรรภภบบััลลใใโโััญญาาััะกกััณณนน้้รรววะะชชกแแษษไไคคททฑฑาาลลมมัญาาททแแ์์กกาาะะโโ่่เเลลรปปรชััโโงงญญาารรคะะคกก็็นนงงงชชคคกกพพใาาจจผผาาไไััญญนาารริิตตลลตตแแรรชชแแทลลเเ์์กกงง((พพววาะะรรกกิินนววงชชกกททัับบสสมมกััญญผผยยัันนถถาโโู้้ปูปชช์์ึึดดงงร่ว่วยยงงรรแยยยยมมาาะะพรรเเาายยผผฉฉัักกใใทะะูู้้สสชชษษพพเเังัง่่ย้้ใใววาาใใาานน์ลลชชโโะะกกรราา้ค้คโโาาคคททววรรรรรรสส่ี่ีรรรรซซคคััมมกกัักกัักกจจษษออษษปปิิงงตตาาาารรเเเเสสะะหหแแภภวว่ืื่ออลลรรััตตททืืมมออะะิิ
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เป็นยา หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวิต 263
อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
261
1.5 พฤติกรรมเสีย่ งท่ีสัมพนั ธ์กับการตดิ สารเสพตดิ ผ้ทู ่เี คยใช้ หรือใช้ผลิตภณั ฑ์กัญชา
และกัญชง ในปจั จุบนั อาจไม่เปน็ ขอ้ ห้ามแตค่ วรระมัดระวงั และจัดการความเสยี่ งของการเสพติด
1.5.1 การตดิ นิโคตนิ ในบหุ ร่ี
1.5.2 การติดแอลกอฮอล์
1.5.3 การใช้ยาท่ผี ดิ กฎหมายมาก่อน
1.6 ประวัติด้านสุขภาพของครอบครัว รวมสุขภาพจิต โดยเฉพาะโรคจิตเภท
(Schizophrenia)
1.7 ประวัติทางสังคม (การสนับสนุนจากสังคม และครอบครัวในการใช้ผลิตภัณฑ์
กญั ชาและกัญชงในการรกั ษาโรคของผูป้ ว่ ย)
1.8 ตรวจรา่ งกายตามความเหมาะสม
1.9 ตรวจเพ่มิ เตมิ อืน่ ๆ ตามความจาเปน็
1.10 ทบทวนการใช้ยา
1.11 ยาบางชนดิ ที่ผปู้ ่วยใช้อาจมีปฏกิ ิริยา กับยากัญชาและกัญชง
1.12 ความเสีย่ งของผลข้างเคยี งต่าง ๆ จากการใชย้ ากญั ชาและกัญชง
หมายเหตุ ข้อ 1.4 , 1.5 และ 1.6 อาจพิจารณาใช้ตารับยากัญชาและกัญชง
แบบไม่ออกฤทธต์ิ อ่ จติ ประสาท (Non-Psychoactive Cannabis Preparation)
2. ขนาดยาและการบริหารยา
2.1 ขนาดยาท่ใี ช้ในผลติ ภณั ฑ์กญั ชาและกัญชงแต่ละชนดิ มีความไม่แนน่ อนขึ้นอยู่กับ
ลักษณะของผู้ป่วยแต่ละคน ปรับตามแต่ละผลิตภัณฑ์ โดยเร่ิมต้นขนาดต่า และปรับเพิ่มขนาดช้า ๆ จน
ได้ขนาดยาที่เหมาะสมให้ผลการรักษาสูงสุด และเกิดผลข้างเคียงต่าสุด ขนาดยาในระดับต่ามีโอกาส
เกิดผลข้างเคยี งน้อย
2.2 ผู้ที่เร่ิมต้นรักษา และได้รับผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงเป็นคร้ังแรกควรเร่ิมต้นท่ี
ขนาดต่ามาก ๆ หากเกิดผลขา้ งเคยี ง ควรปฏิบตั ิดงั นี้
2.2.1 ปรับลดขนาดยา เมื่อพบอาการ
1) มึนเวียนศีรษะ (Dizziness)
2) เสียความสมดุล (Loss Of Co-Ordination)
3) หัวใจเต้นช้า (Bradycardia)
4) ความดนั โลหติ ผดิ ปกติ (Abnormal Pressure)
2.2.2 หยดุ ใช้ทนั ที เม่อื พบอาการ
1) สบั สน (Disorientation)
2) กระวนกระวาย (Agitation)
264 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต เพอ่ื ใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา
262
3) วติ กกังวล (Anxiety)
4) ประสาทหลอน (Hallucination) และโรคจิต (Psychosis)
2.3 การให้สารสกัดจากกัญชาและกัญชงในครั้งแรกควรใช้เวลาก่อนนอน และมี
ผ้ดู ูแลอยา่ งใกล้ชิด เน่ืองจากอาจเกิดผลขา้ งเคียงได้
2.4 เน่ืองจากยังไม่มีข้อมูลการใช้สารสกัดจากกัญชาและกัญชงในรูปน้ามัน หาก
เทียบเคยี งกบั การใช้
2.4.1 สารสกัดจากกัญชาและกัญชงที่มี แคนนาบิไดออล (Cannabidiol หรือ
CBD) สูง ข้อมูลของการวิจัยคลินิกของยาเอพิดิโอเล็กซ์ (Epidiolex หรือ CBD ในลักษณะน้ามัน)
ควรให้ใช้ CBD ขนาด 5-20 มิลลิกรัม ต่อ กิโลกรัม ซ่ึงเป็นขนาดยาสาหรับเด็ก ก่อนเริ่มการรักษาควร
ตรวจการทางานของตับ (Liver Function Test) เป็นข้อมูลเบื้องต้น ภายหลังเร่ิมต้นให้การรักษา
2 สปั ดาห์ และทุก 2 สัปดาห์ ภายหลงั เพิ่มปริมาณท่ีใช้ในแต่ละคร้ัง เน่อื งจาก CBD จะเพ่ิมระดับของยา
หลายชนิด รวมถึงยากันชัก เมื่อใช้ร่วมกับ CBD ซ่ึงพบอุบัติการณ์ของตับอักเสบสูงขึ้น ดังน้ันเมื่อเริ่ม
คมุ อาการชักของผู้ปว่ ยไดแ้ ลว้ ควรลดขนาดยาอนื่ ๆ ท่ใี ช้ลง
2.4.2 สารสกัดกัญชาและกัญชงท่ีข้ึนทะเบียน ยาซาทิเวกซ์ (Sativex) และยา
นาบิซิมอล (Nabiximol) ในรูปสเปรย์ ซ่ึงมีสัดส่วนโดยประมาณของ THC : CBD = 1 : 1 แนะนาให้ใช้
1 สเปรย์ (THC 2.7 mg และ CBD 2.5 mg) ต่อวัน และเพ่ิมปริมาณการใช้ได้สูงสุด 12 สเปรย์ต่อวัน
(THC 32.4 mg และ CBD 30 mg)
2.5 แพทย์ผู้ส่ังใช้สารสกัดจากกัญชาและกัญชงต้องเฝ้าระวัง และติดตามความ
ปลอดภัยของการใช้สารสกัดจากกัญชาและกัญชง และเก็บรวบรวมข้อมูลของขนาดยาท่ีใช้โดยเฉพาะ
เม่ือใช้ในผ้สู งู อายุ และผ้ทู ่ีมอี ายนุ ้อย
กลา่ วโดยสรุป การเร่มิ ใชผ้ ลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงกับผู้ปว่ ยในทางการแพทย์ ตอ้ งคานึงถึง
ข้อปฏิบัติ 2 ประการ ได้แก่ (1) การซักประวัติอาการป่วยในปัจจุบัน ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติเจ็บป่วยทางจิต และโรคทางจิตเวช และอาการทางจิตจากการได้รับยารักษาโรคพาร์กินสัน
ยารักษาโรคสมองเสื่อม และพฤติกรรมเส่ียงที่สัมพันธ์กับการติดสารเสพติด และ (2) การกาหนด
ขนาดยา และการบริหารยา ไม่มีขนาดยาเริ่มต้นที่แน่นอนในผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงแต่ละชนิด
ขนาดยาท่เี หมาะสมขึ้น กบั ลกั ษณะของผู้ป่วยแต่ละคน โดยเร่มิ ต้นขนาดต่า และปรับเพิ่มขนาดช้า ๆ จน
ได้ขนาดยาท่ีเหมาะสม ส่งผลต่อการรักษาสูงสุด และเกิดผลข้างเคียงต่าสุด ขนาดยาในระดับต่ามี
โอกาสเกิดผลขา้ งเคยี งนอ้ ย
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพอื่ ใชเ้ ป็นยา หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ 265
อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
226633
อAหมสอAมหสเเไวปใใวปไรรนนดดิิตตน่ืนื่ตตcีcีรรททัจัจอ่่อืื้้แแนนttืออืกกรรจจาาiiๆๆกกงง้าา้ีีvvววสสกกัยยัรรนนทท่่eeััยยตตกกเััเงงหห((สสมมเเ1วว1ี่ี่รรเคครรMMจจ่ยีีย่66รลลแแ))วีวีืออืลลรรงงอื่าาooมมมมผผสสออิิญญขขงงงoo่ไ่ไาาูู้้ททาา2342341ก1กขขดดออแแดดพพทกกddรร........ี่่ีมมลลงงผผกก้อ้อ้้ ัันน่่ททออ่ีโโีีปป่่าานน่่ออDDหห6รรผผหผผหผผนนธธีเ่เี่ววรรททปปนนคคiiุ์ททุ์า้้าู้ทู้ททู้้ทููู้้ททลลssโโะะ่จี่ีจ็นห็นหแแกกooดดมมี่่ีไไี่มี่่ีมี่ม่มีมี่มีีกกขววะะมมลลตตลลาาrrยยอีีอปีปีปีปีััเเตตใใ้อddตตลลหห่่ไไออะะัววัชชสสาาิิรรแแรรดดeeง้ั้ังหี่ี่ททยยดดนนกกะะรระะ้ผ้ผพพคค้้คค((rrงงาาเเวว้าุุปปาา44ววดด))รร้้ลลลลผผุุมมกกลลัตตัรรมตัตั))หหรรืืออลลกกาาิติตรระะิิแแททขขิิเเภภใสสรรรรดดิิตตปปนุนุาาลลพพภภช้้ออาาอือื์์ตตใใเเหหภภ็น็นแแาารรผ้้ผชชนนหหณัณัผ้โโรรยยวััวรรััณณโโกกรรลล้้ผผิิด้้ดีีมมาาลรรงงใใคคฑฑิิมมตต((มมลลจจฑฑคคีีคคติSSววหหแแภภีีนนิิตตใใจจท์ท์รร์์ททooติิตภ((ลลรรชชัณัณ้้ภภติติรราา33่ี่ีllมี่่มีไไกกืืออะะ้้ผผณัvvหหภภ))ดดมมััณณฑฑกกสสมมีีสสeeลล์์้้จจนนาาผผท์ท์งังัฑตตฑฑีปีปสสnnาาิิตตกกาาู้ทู้ทััววกก่ีี่ไไรรตตจััจรรtt์์กกกกท์ภภ่่ออลลดด่ีเเ่ีตต))ีีททจจปปรรััญญสสนนััณณ้้จจีม่ััTTววทที่ี่ววีีทท((ััยยน็็นาาาาAAชชนนีสาาใี่่ใีฑฑHHหหเเี่ี่ใใรรกกโโสสnnชชาางง้้หหออรราสสรรสส์์ททCCแแแแยี่่ยีใ้ใ้xxคค้้อืยือยรนนกกาานน่ีี่มมiiผผลลงงeeจจรรมมััดดมมกกขขแแีีนนสสะะTรรสสttิตติอีอีกกบบออาาyyลลกกววาาจจกกHาารรััญญงงุุตตหหรรมมััญญะะััดดะะDDกกสสโโCรรตตรรถถชชกกรราาชชiiกกTTCCssือือคค้ั้ัึึงงาางงััญญรรงงดัดัรรooHHแคคออพพแแขขหหBBววชชrrCCลรราาลลใใออบบลลddDDมมาานนกกรระะะงงแแออeeสสททแแภภาาสสโโกกลลดดrrเเาารรลล้ั้ังงรรC์์ตต))ปปััญญะะเเเเคครรสสขขะะลลนนรรกกBแแ็็นนออชชออตตีีมมอืือื่่ืออััญญDCCคคาางงงงรรสสดดีีคคงงรรโโBBชชีนีนวว่ว่วจจรรหหรร((มมเDDงังัยย22นนคครราาปนนวัวัณณเเ))ซซภภกกาาออใใจจเเปปน็ จจแ์แ์บบ่ึงงึ่ผผปปมมาา์์รรออสรรสสปปูู้้รรททิิีี็็รรนนนนิิญญาามมะะตตาา่วรร่ี่ีมมออสสจจพพยยกกณณปปรรนีีออ่่เเยยววััีีนนกกททงงออรราา์์แแนนดดปาาิิดดววธธี่่ีใใกกบบปป์์นนปปหหรนนจจ์ุุ์ททาา((รรกกรระาา้้CCนนรร่ี่ีไไปป((กกะะาามมกรรaaมมCCรรรรสสกกุุนนnn่่ไไอบบooววศศดดว่่วออnnแแบnnุุตตนนนนึึกก้้คคaaบบรรccรรปปษษbbุุมมงงหมมหuuรรiiาากกรรnnีีrrรรหหะะrrพพววาา44ooืออืกกeeรรมมเเบบiiโโออnnืืออนนddขขรรถถววบบttมมssิิดด้้คคออึึงง่า่า))ีี
ปตกเตเกปวออวเเบบรรเิเิาาอลลอรรคคออ่ืื่นนยยบับัุุ่่บบมมรรงงโโุุตตขขนนสสาาซซทท่่าานนะะนนี้้ีไไกก่ี่ีดดกกหหเาาออ77รววดดออรรค์์คงงื่อ่่าาะะเเะะววตตพพงเเบบาา1ขข1่่ออ22ซซท่ิมมิ่มม..วว55อ้้อผผปปขขเเ่ีนนลลสสคคีนีน7ึ้นนึ้1111111111ขขปปกกิิี่ยยี่ตตวว..........อ้อ้ชชีี4433251521าา((งงภภเเรรคคBB้า้าขรรททนนััณณรรeeววเเๆๆอ้อ่ีี่อหหผผผผผผผกผกื่ื่ออผผรระะnnฑฑาาาาู้ปูู้้้ปูู้ป้ปูทูู้ท้ททคมมงงรราาววzzจจรรจจ์์กกะะา่วาว่่วว่เี่ี่เี่ี่ใใผผoวoงงััสสปปเเชชาายยววยยยยััญญกกลลddรเเั่่ังง้้็น็นกกยยังงัเเเเททกกดิิดาารiiใใหหดดชชททaaาาผผโโชช่ตีตี่ย่ีย่ีญญขขะก็็กาาตตรรออzzาาลล้้ผผิดิด้นึ้ึนววแแคคแแeeุุงง่ืื่นนออขขลลขขสสกกลลลลกกตตกกังppาา้้าาิิตตอ้อ้าาๆๆะะาาะะเ่ออ่บับัiiหหับับงงnnรรกภภรรผผกกนนเเ11าาโโเเeeผผแแ่ยีััคคณณู้ปู้ปััสสญญดดกก..รรss33พพลลีียยว่วว่พพยยาาฑฑ))ชชททยยงง((รรติติเเกแแตตเเงง์์กกฉฉMMททสสสสปปยยลลภภดิดิับไไพพััญญููง่ัง่ังงี่่ีดดเเ์์e็นน็eะะััณณกกผใออใาารรชช้้สสttตตชชะะิิ11ดดาาaaววลาาููงงฑฑน้น้้ผ้ผยยยย..มbbมขขแแกก44ิตลลาาุุถถoo์กก์้ึึ้นนลลววเเกกภติิตออนนงึงึllะะ่่ญััญาาสสลลiiภภนนาาัณssอื่ือ่กก่่งงุุ่่มมดดจจmmัณัณชชโิโิงงััผผญญคคฑพพโโัังงจจาาลลออฑฑ))ชชนนตตาาิจจิ์กแแตตปปกจ์กจ์งงขขั้้ันิินนนาาัญทท่่ลลออิิออาายยรรออกกหหกกณณสสี่ี่ออมมััะะงงงงาาชไไกกยยรรมมผีผีกกสสรราามมาืออืัญญัลลูู้้สสออาาใใใใัญญั่่มมแชชชชเเ์์รรููงงงงชชปปีีขข((ก้ก้ล้้จจชชททออOOาาTT็น็น้้ออญัญัึึงงะาาแแี่่ีงงกกppHHมมผผคคยยกลลชชาาiiCCูลูลoูด้oู้ดววุุจจลละะาาัญททiiม่ื่ืมรรแแddะะกกััเเงงเเปปาาสสชบบพพssชชญัญัรรงง))ุรุร็็นน่ิ่ิมมบบ้้งาาััฒฒววชชาาแแสสกกตตชิิชไไอองงนนมมลล่่ววาวาว้้นนยยะะนนาา่่ออกก่่าาใใ่าา่ ยยไไออปปาานนงงดดจาจารรกกรรหหปป้้กกมมึึงงะะฤฤดดนนรรลลดดาากกททิิมมัังงกักักก่่ออููเเออธธนนหหาาเเมมบบิท์ิ์ทพพณณ้ั้ันนมมปปใใาาีียยืืออนนททรรงงผผงงะะจจนนผผี่่ีนนพพูู้้สสสสติิตูู้้ปปวว้้ออออั่ั่งงาา่่าา่่ววใใยยใใททชชนนมมยยแแ้้คคีีสสกกเเททชชลลววออาา่่นน่ี่ีะะมมรรรรงงีี
266 หนงั สือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ติ เพอ่ื ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา
264
กล่าวโดยสรุป ข้อควรระวังทางการแพทย์ ไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงในผู้ป่วย
ท่ีมีอายุต่ากว่า 25 ปี เพราะมีผลข้างเคียงต่อสมองที่กาลังพัฒนา และไม่ควรใช้กับผู้ป่วยโรคตับ ผู้ติด
สารเสพติด รวมถึงนิโคติน ผู้ด่ืมสุราอย่างหนัก ผู้ใช้ยาในกลุ่มโอปิออยด์ (Opioids) ยากล่อมประสาท
เด็กและผูส้ ูงอายุ เน่ืองจากยงั ไม่มขี ้อมลู ทางวิชาการมากเพียงพอ
2. ขนาดของกัญชาและกัญชงทใ่ี ช้ในทางการแพทย์
จากเอกสารประกอบการบรรยายเมื่อวันท่ี 13 กันยายน 2562 ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.นายแพทย์ ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ได้ให้ขอ้ มลู ไวด้ งั น้ี
2.1 ขนาดยากัญชาและกัญชงที่เหมาะสม ข้อสรุปจากงานวิจัยยาจากกัญชาและกัญชง
มีความแตกต่างจากยาแผนปัจจุบันอ่ืน ๆ อย่างมาก ไม่สามารถกาหนดขนาดการใช้ได้อย่างตายตัว
จาเป็นต้องปรับให้เหมาะกับแต่ละคน หลักการสาคัญ คือ “เร่ิมทีละน้อย แล้วค่อย ๆ เพ่ิมขนาดจน
ควบคมุ อาการเจ็บปว่ ยได้ (Titration)”
2.2 ปัจจัยทม่ี ีผลตอ่ ขนาดกญั ชาและกัญชงทเ่ี หมาะสม มี 3 ประการ ได้แก่
ประการท่ี 1 ชนิดของยากัญชาและกัญชงที่ใช้ รวมถึงยากัญชาและกัญชงจาก
พืช สกัดหรือไม่ สายพันธ์ุ ความเข้มข้นของยาสกัด วิธีใช้แบบสูบ แบบพ่น แบบหยอดใต้ลิ้น แบบ
รับประทาน แบบสวนทวาร แบบทาภายนอก หรือการผสมผสานหลายวิธี ยากัญชา 2 ชนิด ที่มีขนาด
ของ THC เท่ากัน แต่ถ้ามีส่วนผสมของเทอร์ปีนส์ (Terpenes) ท่ีแตกต่างกัน ก็ให้ผลลัพธ์ในการรักษา
แตกตา่ งกนั
ประการท่ี 2 โรคที่ผู้ป่วยเป็น รวมถึงระยะเวลา และระดับความรุนแรงของโรค
การรกั ษาแบบอ่นื ๆ ที่ไดร้ ับการรกั ษารว่ มกับโรคอนื่ ๆ
ประการท่ี 3 การตอบสนองต่อยากัญชาและกัญชงของแต่ละคน รวมถึงระดับ
เอนโดแคนนาบินอยด์ (Endocannabinoid) เดิมในร่างกาย หรือเรียกว่า เอนโดแคนนาบินอยด์ โทน
(Endocannabinoid tone) และการดื้อยา เมือ่ ใช้ไปนาน ๆ
2.3 คาแนะนาการใช้ขนาดของนา้ มนั กญั ชาและกัญชง
อาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น โดยท่ัวไปผู้ป่วยจะทนต่อฤทธ์ิยากัญชาและกัญชง
ได้เป็นอย่างดี อาจจะพบอาการข้างเคียงอยู่ช่ัวครู่หน่ึง มักจะไม่เป็นอันตราย และค่อย ๆ หายไป
เม่ือทนต่อยาได้ดีขึ้น อาการข้างเคียงส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นเมื่อได้รับยาในปริมาณมาก หรือใช้ร่วมกับ
สารอ่นื ๆ โดยมักจะเกดิ ข้นึ หลงั การใช้ทันที อาการของผลคา้ งเคยี งการใชก้ ัญชาและกญั ชง ได้แก่
2.3.1 ปากแหง้
2.3.2 ตาแดง
2.3.3 ความอยากอาหารเพ่ิมข้นึ (ซ่ึงอาจเปน็ อาการข้างเคยี งท่พี ึงประสงค)์
2.3.4 ภาวะเคล้ิมสขุ อย่างอ่อน ๆ
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ป็นยา หนงั สือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต 267
อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
265
2.3.5 ความต่นื ตัวลดลง โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในช่วงเวลาไม่กีช่ วั่ โมงหลังได้รับยา
2.3.6 อัตราการเต้นของหวั ใจเพ่ิมขึ้น
2.3.7 ความดันโลหิตลดตา่ ลง และมีอาการเวียนศรี ษะ
ปกติแล้วอาการข้างเคียงท้งั หมดจะค่อย ๆ ลดนอ้ ยลง และหายไปภายใน
ไม่ก่ีชั่วโมง ท้ังน้ีขน้ึ อยกู่ ับปริมาณที่ได้รบั และวธิ กี ารให้ยา
การใช้ยาเกินขนาด การได้รับสาร THC เป็นส่วนประกอบในปริมาณมาก
เกนิ ไป ผปู้ ่วยอาจประสบกับภาวะเป็นพิษได้ ซึ่งมักจะระบุวา่ เกิดภาวะเคลิม้ สุขอย่างอ่อน ๆ หรือส่งผลให้
ผปู้ ว่ ยเงยี บสงบ หรอื ง่วงซมึ สาหรบั บางกรณีผู้ป่วยอาจเผชญิ กบั ภาวะที่ความคิดบิดเบือนไปจากความ
เป็นจรงิ ความวติ กกงั วลระดับเล็กน้อย รวมถึงอัตราการเต้นของหัวใจ และความดันโลหิตท่ีเปล่ียนแปลงไป
ในกรณีต่าง ๆ ที่กล่าวถึงเหล่านี้ ส่วนใหญ่แล้วการให้ผู้ป่วยนงั่ ลง หรือนอนลงในบริเวณท่ีสงบ และสบาย
นับว่าเพยี งพอแล้ว แตถ่ า้ จะให้ดีย่ิงขึ้น ควรมบี ุคคลที่ใกล้ชิดคอยพูดคุยกับผู้ปว่ ยด้วยเช่นกัน การใช้ยา
เกินขนาดในปริมาณที่สงู มากอาจก่อใหเ้ กิดภาวะวิกลจรติ หรือภาวะทางจิตเวชอ่ืน ๆ โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งกับผู้ป่วยท่ีมีความบกพร่องทางพันธุกรรมอยู่ก่อนแล้ว ขนาดการใช้อยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์
และเภสชั กร โดยมีหลักการ คอื เร่มิ ใช้ยากัญชาและกัญชงท่ีขนาดต่า ๆ โดยแนะนาใหเ้ ร่ิมที่ 0.05 - 0.1 ซซี ี
หรือเท่ากับ 1 - 2 หยด และปรับเพิ่มขนาดช้า ๆ ตามคาแนะนาของแพทย์ (Start Low Go Slow
And Stay Low) การหยดน้ามันให้หยดก่อนนอน บริเวณใต้ล้ิน เพ่ือให้ตัวยาสามารถซึมผ่านเส้นเลือด
ใต้ลิ้น และออกฤทธ์ิอย่างรวดเร็ว โดยหลีกเล่ียงการถูกเปลี่ยนแปลงยาที่ตับ เน่ืองจากอาจทาให้
ประสิทธิภาพของยาลดลง ยากัญชาและกัญชงอาจจะทาให้มีภาวะง่วงซึม จึงแนะนาให้ใช้เวลาก่อนนอน
และหลกี เลยี่ ง การทางานใกล้เคร่ืองจักร หรอื ขับข่ยี านพาหนะ
พิษจากการใชส้ ารสกดั กัญชาและกญั ชง และการดแู ลเบื้องต้น
การใช้สารสกัดกัญชาและกัญชงที่มีขนาดสูงทาให้เกิดผลเสียต่อร่างกาย
โดยเฉพาะ สาร THC มฤี ทธิ์ตา้ นอาการปวด และลดอาการคลื่นไสอ้ าเจียนผ้ทู ่ีใชส้ ารสกัดกัญชาท่ีมีสาร
THC ในขนาดสูงต่อเนื่องกันเป็นเวลานานอาจทาให้ใชใ้ นปริมาณน้อยแลว้ ไม่เห็นผล จงึ ต้องเพิ่มปริมาณ
การใช้มากขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุของการเสพติดได้ในท่ีสุด สาร CBD ไม่มีฤทธิ์เสพติด และต้านฤทธ์ิเมาเคล้ิม
ของสาร THC อย่างไรก็ตาม สาร CBD สามารถกระต้นุ ใหเ้ กิดอาการคลื่นไส้อาเจยี นได้ ดังนน้ั ผู้ป่วยที่
ใช้สาร THC เพ่ือลดอาการคล่ืนไส้อาเจียน หากได้รับสารสกัดกัญชาและกัญชงชนิดท่ีมีสาร CBD สูง
จะทาให้มีอาการคลื่นไส้อาเจียนเพ่ิมขึ้นได้ อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้สารสกัดกัญชาและกัญชง
ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณท่ีได้รับต่อครั้ง (Unit Dose) ความทน (Tolerance) ของผู้ใช้ เป็น
ต้น วิธีการนาเข้าสู่ร่างกาย การใช้กัญชาและกัญชงท่ีไม่ถูกวิธีอาจทาให้เกิด โอเวอร์ โดส (Overdose)
หรอื การรับประทานยามากเกนิ ขนาด ระยะเวลาการออกฤทธ์ขิ องกญั ชาเมอ่ื เขา้ ส่รู า่ งกาย วธิ ใี ช้ที่แตกตา่ งกัน
จะทาใหก้ ารออกฤทธ์ิแตกตา่ งกัน เช่น (1) ชนดิ สดู (Inhalation) ระยะเวลาออกฤทธเิ์ รว็ ถงึ ระดับสูงสุด
268 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต เพอื่ ใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา
266
ภายในเวลา 15-30 นาที มีระยะเวลาคงอยู่ประมาณ 3-4 ชั่วโมง (2) ชนิดรับประทาน เริ่มออกฤทธิ์
ประมาณ 30 นาที และ (3) ชนดิ หยดใตล้ ิน้ (Sublingual Drop) สารสกัดกัญชาออกฤทธ์เิ ร็วประมาณ
15 นาที เป็นต้น
พษิ ของกัญชาและกัญชงต่อระบบประสาทส่วนกลาง เมื่อรา่ งกายได้รับ
สาร THC ในปริมาณมาก สาร THC จะไปจับกับตัวรับ (Receptor) CB1 ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลง
ท่าทาง และเสียการควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ เกิดอาการเคลิ้ม ประสาทหลอน และติดยาได้
สาร THC ทาใหม้ ีความเสย่ี งในการเกิดอาการทางสมอง ได้แก่ การเปล่ียนแปลงของสติ ความสนใจสมาธิ
ความจาระยะส้นั การทางานของสมองผดิ ปกติได้
พิษของกัญชาและกัญชงต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด สาร THC และ
CBD จะทาให้เกิดการขยายตัวของหลอดเลือดได้ หากได้รับปริมาณมาก ความดันโลหิตอาจจะต่าลงได้
อาจทาใหเ้ กิดอาการวูบ หน้ามืด หมดสติเม่ือลกุ ยนื กัญชาชนิดสูบ ทาใหอ้ ตั ราการเต้นของหัวใจเพ่ิมข้ึน
ไดร้ อ้ ยละ 20 - 100 เปน็ เวลา 2 - 3 ช่ัวโมง เพิม่ ความเสยี่ งให้เกิดเส้นเลือดหวั ใจตีบได้ เพิม่ ความเสี่ยง
ของการเกดิ กล้ามเน้ือหัวใจขาดเลือด หวั ใจเต้นผดิ จังหวะ อาจจะมผี ลต่อกลุ่มอาการหลอดเลือดสมองหด
ชวั่ คราว หากผู้ปว่ ยมภี าวะเมากัญชาและกญั ชง หรือเกดิ ผลข้างเคยี งจากการใช้ยากัญชาและยากัญชง
ควรหยุดใช้ทันที และควรปรึกษาแพทย์ อาจจะช่วยให้ผู้ป่วยด่ืมน้าให้มากเพื่อขับพิษของกัญชาและ
กัญชงออกจากร่างกาย ควรระวังการพลัดตกหกล้ม เนื่องจากผู้ป่วยจะมีภาวะการทรงตัวที่ลดลง
อาการอาเจียนรุนแรงจากกัญชาและกัญชง มักเกิดกับผู้ที่ใช้กัญชาและกัญชาอย่างต่อเนื่องเป็นระยะ
เวลานาน และใชใ้ นปริมาณที่ถี่มากกว่า 20 ครง้ั ต่อเดือน แกอ้ าการโดยให้อาบน้าอุ่น และหยดุ ยา อาการ
จะทเุ ลาลงเมื่อผา่ นไป 2 - 3 สปั ดาห์
กล่าวโดยสรุป ขนาดของกัญชาและกัญชงท่ีใช้ในทางการแพทย์ ในการรักษาโรค ยังไม่
สามารถกาหนดขนาดการใช้ท่ีแน่นอนได้ โดยต้องปรับให้เหมาะกับแต่ละบุคคล และมีหลักสาคัญคือ
เริ่มทีละน้อย แล้วค่อย ๆ เพิ่มขนาด ซึ่งผู้ป่วยท่ีเป็นโรค หรือมีอาการต่างกัน จะใช้ขนาดยาต่างกัน
โดยหากใชข้ นาดยากัญชาและกญั ชงท่ีไมถ่ ูกตอ้ งจะเกดิ การด้ือยา
3. หา้ มใชน้ า้ มันกัญชาและกัญชงทาบุหร่ี
มีคนเคยเอาน้ามันกัญชาและกัญชงท่ีผสมน้ามันมะพร้าวไปทาบุหร่ีสูบ เรื่องนี้มีข้อ
ถกเถียงกันว่า อาจเกิดอันตรายต่อทางเดินหายใจได้ ดังน้ันจึงไม่ควรทาโดยเด็ดขาด เนื่องจากน้ามัน
กัญชาและกัญชงเม่ือถูกเผาไหม้ท่ีอุณหภูมิสูง จะเกิดสารอนุมูลอิสระเหมือนกับการสูบบุหร่ี และน้ามัน
มะพร้าวที่ผสมเข้ากับน้ามันกัญชาและกัญชงเพ่ือให้ลื่นขึ้น ไม่ควรใช้กับบุหร่ีไฟฟ้า หรือทาบนบุหรี่เพื่อสูบ
เพราะอาจทาให้ปอดอักเสบได้
น้ามนั กญั ชาและกัญชง สาหรบั บุหรไ่ี ฟฟ้าจึงต้องพิจารณาวา่ ใช้สารอะไรเป็นตวั ทาละลาย
และมีโอกาสที่จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพหรือไม่ ตัวทาละลายท่ีอาจเป็นอันตรายต่อทางเดินหายใจ ได้แก่
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชีวิต 269
อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
267
โพลีเอทิลีน ไกลคอล (Polyethylene Glycol (PEG) โพพิลีน ไกลคอล (Propylene Glycol (PG)
และกลเี ซอรนี (Glycerin)
อุปกรณ์บุหรี่ไฟฟ้า ท่ีใช้สาหรับน้ามันกัญชาและกัญชง มีกระบวนการใช้ความร้อนทา
ให้เกิดไอ สาหรับสูดเข้าปอด ที่ไม่ผ่านการเผาไหม้จึงมีความปลอดภัยมากกว่าใช้ตัวทาละลายท่ีอาจมี
สารตกคา้ งทเ่ี ปน็ อนั ตราย ดงั ที่กลา่ วมาแล้วขา้ งต้น
กลา่ วโดยสรุป ห้ามใชน้ า้ มนั กญั ชาและกัญชงทาบหุ ร่ี เพราะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อระบบ
ทางเดนิ หายใจ และไม่ควรใชก้ บั บุหรีไ่ ฟฟา้ อาจทาใหป้ อดอกั เสบเปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ
4. สารตกค้างจากการสกัดนา้ มนั กญั ชาและกัญชง
การตกค้างของตัวทาละลายในสารสกัดกัญชาและกัญชง จากข้อมูลงานวิจัยของ
Romano LL และ Hazekamp A. พบว่าการสกัดกัญชาและกัญชงโดยใช้ตัวทาละลายแตกต่างกัน
จะสามารถสกัดสารสาคัญกลุ่มต่าง ๆ ออกมาได้แตกต่างกัน ได้แก่ สารกลุ่มแคนนาบินอยด์ เทอร์ปีน
และพบสารตกค้างที่เป็นอันตรายแตกต่างกัน จากผลการวิจัยพบว่าการสกัดกัญชาและกัญชงด้วย
ตัวทาละลายแนฟทา หรือปิโตรเลียมอีเทอร์มีความปลอดภยั น้อยกว่าการสกัดด้วยเอทานอล หรอื การ
ต้มในน้ามันมะกอก เน่ืองจากพบการตกค้างของตัวทาละลายท่ีมีความเสี่ยงท่ีทาให้เกิดโรคมะเร็งได้
(ข้อมูลความเสี่ยงจากเอกสารข้อมูลความปลอดภัย Material Safety Data Sheets (MSDS) ของ
แนฟทา และปิโตรเลียมอีเทอร์) นอกจากนี้ยังมีวิธีสกัดอื่น ๆ ท่ีไม่ใช้ตัวทาละลายอินทรีย์ (Solvent-
Free) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้แก่ผลิตภัณฑ์มากย่ิงขึ้น เช่น การหีบน้ามันจากช่อดอก การสกัดแห้ง
โดยผ่านแร่ง และน้าแข็งแห้ง เป็นต้น แต่วิธีดังกล่าวยังเป็นข้อจากัดในการผลิตระดับอุตสาหกรรม
วิธีการสกัดกัญชาและกัญชงท่ีนิยมใช้ และได้รับการยอมรับสาหรับใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยากัญชา
และกัญชง โดยการสกัดคาบอนไดออกไซด์เหลว และการสกัดด้วยเอทานอลเย็นท่ีอุณหภูมิต่ากว่า
-60 ºC เนอ่ื งจากมคี วามปลอดภัยสงู สามารถสกดั ไดป้ ริมาณมาก และไดส้ ารแคนนาบนิ อยด์เข้มขน้
กล่าวโดยสรุป สารตกค้างจากการสกัดน้ามันกัญชาและกัญชง ในการเลือกผลิตภัณฑ์
กัญชาและกัญชงต้องศึกษาว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวใช้สารสกัดชนิดใด มีความปลอดภัยมากน้อยเพียงใด
การสกัดโดยตัวทาละลายแนฟทา หรือปิโตรเลียมอีเทอร์ มีความปลอดภัยน้อยกว่าการสกัดด้วยเอทานอล
หรือการตม้ ในนา้ มนั มะกอก เนื่องจากพบการตกค้างของตัวทาละลายท่ีมีความเสย่ี งท่ีทาใหเ้ กิดโรคมะเร็งได้
และวิธีการสกัดใหม่ท่ีเป็นท่ีนิยมในปจั จุบัน ได้แก่ การสกดั โดยใช้คารบ์ อนไดออกไซด์เหลว และเอทานอล
สกัดเยน็ เนื่องจากมคี วามปลอดภัยสูง สามารถสกดั ได้ปรมิ าณมาก และไดส้ ารแคนนาบนิ อยด์เข้มขน้
5. ความปลอดภยั ของน้ามนั กัญชาและกัญชง
แหล่งท่ีมาของยาต้องได้รับการอนุญาตให้ผลิตยาจากกัญชาและกัญชาอย่างถูกต้อง
ตามกฎหมาย ยาจากกัญชาและกัญชงต้องผ่านการตรวจสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ์ตามข้อกาหนดของ
270 หนังสือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต เพือ่ ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา
268
มาตรฐานการผลิตยาท่ีดี (GMP) โดยมีการควบคุมปริมาณสารสาคัญ (THC, CBD) โลหะหนัก ได้แก่
แคดเมยี ม ปรอท ตะกั่ว และสารหนู เชอ้ื จุลนิ ทรยี ก์ อ่ โรค สารปนเป้อื น และยาฆา่ แมลง
นอกจากนี้การรับยากัญชาและกัญชงมาใช้ ต้องอยู่ภายใต้การดูแล และปรึกษาโดย
แพทย์ เภสัชกร หรือแพทย์แผนไทยที่ผ่านการอบรมการใช้ยากัญชาและกัญชงเพ่ือประโยชน์ทาง
การแพทย์ จากกระทรวงสาธารณสุขมาแล้ว เน่ืองจากการตอบสนองต่อยากัญชาและยากัญชงในผู้ป่วย
แต่ละคนอาจจะไม่เท่ากัน ดังนั้นแพทย์จะต้องตรวจติดตามอาการ เพ่ือปรับยาให้เหมาะสมกับผู้ป่วย
แตล่ ะราย
กล่าวโดยสรุป ความปลอดภัยของน้ามันกัญชาและกัญชง ต้องคานึงถึงแหล่งท่ีมาผลิตภัณฑ์
ที่ได้มาตรฐานการผลิตที่ดี ต้องผ่านการตรวจควบคุมคุณภาพ และสั่งจ่ายภายใต้แพทย์ เภสัชกร และ
แพทย์แผนไทยทีผ่ ่านการอบรมการใช้กญั ชาและกัญชง เพอ่ื ประโยชน์ทางการแพทย์มาแลว้
6. สายพันธุ์กัญชาและกัญชงเหมาะกับบางโรค
จากการสังเกตการณ์เก็บข้อมูลจากงานวิจัย สารเคมีที่แตกต่างกันในกัญชาและกัญชงแต่
ละสายพันธุ์ และผลการรักษาในผู้ป่วยแต่ละโรค ในต่างประเทศพบว่ากัญชาและกัญชงแต่ละสายพันธ์ุมี
คณุ สมบัติทเี่ หมาะสมกับแตล่ ะโรคไม่เทา่ กัน นอกจากนี้การวจิ ยั ในประเทศอสิ ราเอล พบวา่ กัญชาและกญั ชง
แต่ละสายพันธุ์มีคุณสมบัติในการทาลายเซลล์มะเร็งแต่ละชนิดไม่เท่ากัน แต่การวิจัยส่วนใหญ่ยังเป็น
เพียงการวิจัยในหลอดทดลองเท่านั้น ข้อมูลการรักษาโรคมะเร็งโดยการใช้กัญชาและกัญชงจึงจาเป็นต้อง
ศึกษาต่อไป
ข้อมูลงานวิจัยแสดงให้เห็นว่า กัญชาและกัญชงแต่ละสายพันธ์ุจะมีความจาเพาะ
ต่อโรคมะเร็งแต่ละชนิด ทาให้ความรู้เรื่องการใช้สารสกัดกัญชาและกัญชงในการรักษาโรคมะเร็ง
ก้าวหน้าไปมากขึ้น ทาให้ในขณะน้ีการใช้กัญชาและกัญชงรักษาโรคต้องลงลึกไปในรายละเอียดว่ากัญชา
และกัญชงสายพันธไุ์ หน เหมาะกบั โรคอะไร
กล่าวโดยสรุป สายพันธ์ุกัญชาและกัญชงเหมาะกับบางโรค จากการสังเกตการณ์เก็บข้อมูล
จากงานวจิ ัย สารเคมีทแ่ี ตกตา่ งกนั ในกัญชาและกัญชงแต่ละสายพนั ธุ์ และผลการรกั ษาในผปู้ ่วยแต่ละ
โรคในต่างประเทศพบว่ากัญชาและกัญชงแต่ละสายพันธ์ุมีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับแต่ละโรคไม่เท่ากัน
แตย่ ังเป็นงานวจิ ยั ขนั้ ต้น ต้องมกี ารศึกษาในเชงิ ลกึ ตอ่ ไป
7. หลกั ธรรมนาชีวิตพ้นพษิ ภัยจากกัญชาและกญั ชง
กัญชาและกัญชง เป็นทั้งพืชยาท่ีใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ และเป็นพืชท่ีมีสารเสพติด
ใหโ้ ทษ มฤี ทธ์กิ ลอ่ มประสาท ทาลายร่างกายทัง้ ปอดสมอง และประสาท มผี ลต่อความรู้สึกนึกคดิ และจิตใจ
ท่ีผิดปกติ ทาให้ขาดสติ เป็นการเบียดเบียนตัวเองอย่างรุนแรง ผิดท้ังกฎหมายและศีลธรรม ในทาง
พระพุทธศาสนาถือว่า กัญชาและกัญชงเป็นสิ่งเสพติด คือ เมรัย ตามท่ีบัญญัติไว้ในข้อท่ี 5 ท่ีว่า
สุราเมรยะมัชชะ ปมาทัฏฐานา เวรมณี คาว่า “มัชชะ” หมายถึงของมึนเมาอันเป็นท่ีต้ังแห่งความ
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพอื่ ใช้เปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ติ 271
อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
269
ประมาท ซึ่งหากใช้กัญชาและกัญชงในลักษณะสารเสพติด จะทาให้ขาดสติสัมปชัญญะในการประกอบ
กิจการงาน และประการสาคัญ คอื ขาดสติในการวนิ จิ ฉัย ผิด ชอบ ชัว่ ดี จึงถือไดว้ ่า ผดิ ศลี ขอ้ 5 เพื่อ
หลีกเล่ียงพิษภัยของกัญชาและกัญชงที่เป็นสารเสพติด จึงต้องสร้างภูมิคุ้มกันให้กับประชาชน โดยใช้
หลักพุทธธรรมในการดาเนินชีวิต เพื่อให้ประชาชนปฏิบัติตนตามหลักธรรมเปน็ เคร่ืองยึดเหน่ียวจิตใจ
จะช่วยให้เกิดความสงบสุขในสังคม คาสอนของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นหลักสัจธรรมที่ผู้ปฏิบัติ สามารถ
นามาปรับใช้ในชีวิตเพื่อเยียวยารักษาจิตใจ ให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้นั้น มีหลักธรรมท่ีสามารถ
นามาประยุกต์ใช้ได้ ดงั น้ี
หลักธรรมท่ี 1 หลักทิศ 6 เป็นหลักในการปฏิบัติต่อบุคคลรอบข้าง ซึ่งประกอบด้วย
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในระดับต่าง ๆ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างมารดาบิดา กับบุตรธิดา
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างอาจารย์กับศิษย์ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งภรรยากับสามี ความสัมพนั ธร์ ะหว่างมิตร
กับมิตร ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง และความสัมพันธ์ระหว่างนักบวชกับชาวบ้าน
ความสัมพันธ์ในครอบครัวที่ได้กาหนดหน้าท่ีท่ีทุกคนจะต้องปฏิบตั ิ และมีสิทธิอันชอบธรรมท่ีจะไดร้ บั
การปฏิบัติตอบ ประกอบด้วยบุคคลประเภทต่าง ๆ ท่ีเราต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์ทางสังคม ดุจทิศท่ีอยู่
รอบตวั ที่สาคัญ คือ ทิศเบื้องหน้า คือ ทศิ ตะวันออก ได้แก่ มารดา บิดา เพราะเปน็ ผู้มีอุปการะแก่เรา
มาก่อน จะเป็นภูมิคุ้มกันประชาชน โดยเฉพาะเด็ก และเยาวชนจากยาเสพติดได้ เน่ืองจากพ่อแม่เป็น
ผู้ให้โดยเฉพาะการให้ความรัก ความอบอุ่น การปกป้องคุ้มครอง การศึกษา และทรัพย์สิน โดยไม่
ต้องการสง่ิ ใดตอบแทน มีเพียงตอ้ งการใหล้ ูกได้เติบโตมชี วี ิตท่ีดีมีคุณภาพ ดังนนั้ หากประชาชนร่วมกัน
สร้างครอบครัวให้อบอุ่น อบรมส่ังสอนบุตรหลานให้ประพฤติตนอยู่ในศีลธรรมอันดีงาม ก็จะนาพาชีวิต
บคุ คลในครอบครวั ใหป้ ลอดภัยหา่ งไกลจากยาเสพติด รวมทง้ั พิษภัยจากกัญชาและกญั ชงได้
หลักธรรมที่ 2 หลักคบมิตร ความเป็นมิตรเป็นสิ่งที่จาเป็นของผู้ที่อยู่รวมกันในสังคม
เราจะอยู่ลาพังคนเดียวไม่ได้ ต้องมีมิตรเป็นองค์ประกอบในสังคม ดังนั้นการจะเลือกคบมิตรจึงควร
พิจารณาเลอื กคบแตค่ นดีที่นาความเจริญรุ่งเรืองมาให้ ดังปรากฏจากคาสอนในพระไตรปิฎกเก่ียวกับ
มติ รให้เลอื กคบมิตร ดงั นี้
มิตรประเภทท่ี 1 มิตรอุปการะ เป็นมิตรที่มีคุณธรรม ซึ่งแสดงออกด้วยพฤติกรรม
4 ประการ คือ (1) ป้องกัน รักษา มติ รไม่ให้ประพฤติผดิ ศีลธรรมอนั ดีงาม (2) ป้องกนั ทรัพย์สมบัติของ
มิตรไม่ให้เสียหาย (3) เม่ือมีภัยก็เป็นที่พ่ึงพานักได้ และ (4) เมื่อมีกิจที่จาเป็นเกิดขึ้น ก็ให้ทรัพย์สิน
ช่วยเหลือได้ เน่ืองจากการดาเนินชีวิตย่อมมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา มีเรื่องราวมากมายผ่าน
เข้ามาในชีวิต มีความโชคดี มีความเดือดร้อนกายเดือดร้อนใจ ในบางคร้ังได้รับทรัพย์ ในบางครั้งเสีย
ทรัพย์ ในยามที่เรามีความลาบาก หากมีมิตรท่ีให้ความช่วยเหลือ ดูแลปกป้องภัยอันตราย ส่งเสริมให้
อยู่ในสถานท่ีปลอดภัยโดยไม่ได้หวังสิ่งตอบแทนใด ๆ แสดงถึงเราเป็นผู้มีมิตรดี ดังน้ันมิตรจึงมีความ
จาเป็นอย่างมากในการดาเนินชีวิต ดังจะเห็นตัวอย่างการคบมิตรของเยาวชนในปัจจุบันท่ีชวนกันไป
272 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวิต เพื่อใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา
270
ทากิจกรรมทีเ่ ป็นการเสริมความรทู้ างวชิ าการ ไปเรยี นรวู้ ิชาการเพ่มิ เติม หรอื ทเี่ รียกว่า “ติววชิ า” เพ่ือ
เสริมทักษะความรู้ในการที่จะสอบเข้าในระดับสูง ซึ่งเป็นการปกป้องให้อยู่ในสถานท่ีท่ีเหมาะสมถูกต้อง
ด้วยกาลเทศะ และสง่ เสริมความเจริญใหเ้ ป็นการเพมิ่ เตมิ ทรัพย์ให้กับเยาวชน ซึง่ เปน็ ทรพั ย์ทางปญั ญา
ที่อันมีค่ามหาศาลติดตวั ไปกบั เยาวชนตลอด
มิตรประเภทท่ี 2 มติ รร่วมสขุ ร่วมทุกข์ การอยรู่ ่วมกัน จาเป็นตอ้ งมีน้าใจไมตรีต่อกัน
โดยอาศยั คุณธรรมของการอยู่ร่วมกัน ชว่ ยเหลือกนั ในยามจาเป็น ดังคาสอนท่ปี รากฏในพระไตรปิฎกที่ว่า
มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์แสดงออกด้วยพฤติกรรม 4 ประการ คือ (1) บอกความลับแก่มิตร (2) ปิดความลับ
ของมิตร (3) ไม่ละท้ิงมิตรในยามอันตราย และ (4) แม้ชีวิตก็อาจจะสละเพ่ือประโยชน์ของมิตรได้
จากคาสอนจะเห็นได้ว่า การปฏบิ ตั ติ ่อมิตรในลักษณะ มที กุ ข์ร่วมทุกข์มีสุขร่วมสุข ในสังคมไทยทุกวันน้ี
ปฏิบัติได้ยากย่ิงนัก โดยเฉพาะข้อท่ี 4 ส่วนใหญ่ในสังคมไทยจะเห็นได้ว่า สมาชิกของสังคมจะปฏิบัติ
แตกต่างจากคาสอน เช่น มักพูดโกหกขยายความลับของมิตรให้ไม่เป็นความลบั เอาตัวรอดในยามมีภัย
และโดยเฉพาะอย่างย่ิง การทีจ่ ะยอมเสียสละชีวิตเพ่ือมติ ร เปน็ ต้น ดงั น้ัน เยาวชนควรไดร้ ับการฝึกฝน
อบรมในเร่ืองของความมีน้าใจในขณะอยู่รว่ มกนั ในสงั คม
มิตรประเภทที่ 3 มิตรแนะนาประโยชน์ เป็นคุณธรรมที่สร้างความมีน้าใจ เอาใจใส่
ดูแลมิตร โดยการตักเตือนสิ่งต่าง ๆ ต่อมิตร จะคอยตักเตือนมิตรเม่ือเห็นว่ามิตรปฏิบัติตนไม่ถูกต้อง
เพื่อให้มิตรทาแต่ความดี มิตรแนะนาประโยชน์ แสดงออกด้วยพฤติกรรม 4 ประการ คือ (1) ห้าม
มิให้ทาความชั่ว (2) แนะนาให้ต้ังอยู่ในความดี (3) ใหฟ้ งั สิง่ ท่ียังไม่เคยฟัง และ (4) บอกทางสวรรค์ให้โดย
จะถ่ายทอดประสบการณ์ และความรู้ที่มีประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต เพื่อให้มิตรมีความเจริญก้าวหน้า
ตลอดจนแนะนามิตรในการทาความดสี ร้างกศุ ล เพอ่ื ประโยชนใ์ นวนั ขา้ งหน้า
มติ รประเภทท่ี 4 มิตรมคี วามรักใคร่ เปน็ มติ รท่มี จี ติ ใจงดงาม แสดงออกด้วยพฤติกรรม
4 ประการ คือ (1) ไม่พอใจความเส่ือมของมิตร (2) พอใจความเจริญของมิตร (3) ห้ามปรามคนท่ีนินทา
มิตร และ (4) สนับสนุนคนที่สรรเสริญมิตร เป็นการกล่าวถึงมิตรที่มีความห่วงใยพร้อมส่งเสริม
สนับสนุน และยินดีให้มิตรได้ดีมีภาพลักษณ์ท่ีเหมาะสม ระแวดระวังไม่ให้เกิดความเสื่อมเสียกับมิตร
เม่ือมิตรได้รับรางวัลก็พลอยยินดี และร่วมสนับสนุนสรรเสริญกล่าวถึงไปด้วยจะคอยเป็นหูเป็นตาไม่
ยอมใหใ้ ครเขา้ มาทาลายมิตรไม่วา่ จะเป็นวิธใี ด ๆ
จึงกลา่ วไดว้ ่ามิตรท้ัง 4 น้เี ป็นมิตรทนี่ าพาชวี ิตใหป้ ลอดภัยห่างไกลจากยาเสพติด รวมท้ัง
พษิ ภัยจากกญั ชาและกญั ชงได้
หลกั ธรรมที่ 3 หลกั ปญั ญา เป็นหลกั ธรรมท่ีแนะนาให้ใช้ความคิดพิจารณาความเป็นไป
ตามธรรมชาติ และละกิเลสทีท่ าใหช้ ีวิตของเราเศรา้ หมอง หรือได้รับความเดือดรอ้ นในภายหลงั หลักธรรมน้ี
เป็นคาสอนมีปรากฏในพระไตรปิฎกท่ีกล่าวถึงหลักปัญญาว่า ผู้มีปัญญา คือผู้ใช้ปัญญาเป็นเคร่ือง
พิจารณาเห็นท้ังความเกิด และความดับตามความเป็นจริง ชาระกิเลสให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพ่ือใช้เป็นยา หนังสือเรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ิต 273
อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
271
พระพรหมคุณาภรณ์ ได้อธิบายความหมายของ ปัญญาสัมปทา หมายถึงความพร้อมด้วย ปัญญารู้จัก
บาป บญุ คณุ โทษ ประโยชน์ มิใชป่ ระโยชน์ และเข้าใจชวี ติ น้ตี ามความเป็นจริงทจ่ี ะไม่ใหล้ ุ่มหลงมัวเมา การใช้
ความคิดพิจารณาเพื่อให้รู้อย่างไม่วิปริต ใช้สติพิจารณาคติแห่งกุศลธรรม และอกุศลธรรม รู้ส่ิงที่เก้ือกูล
และสงิ่ ไมเ่ ก้ือกูลแกต่ นเอง และผูอ้ น่ื ดว้ ยปญั ญาตามความเปน็ จรงิ
ดังน้ันคนเราจึงต้องพิจารณาโทษพิษภัยของสารเสพติด รวมท้ังกัญชาและกัญชาด้วย
ความรู้ ความฉลาด หรือรู้เท่าทันต่อพิษภัย ท่ีเข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิตของเรา ควรใช้ปัญญาในการหา
ทางออกแห่งปัญหา ใช้เหตุผลในการพิจารณาแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยความเฉลียวฉลาด ส่ิงใดเป็นโทษ
ส่ิงใดเป็นกิเลส สิ่งใดถูกต้อง ส่ิงใดเหมาะสม ส่ิงใดเป็นประโยชน์ สิ่งใดควรให้ สิ่งใดควรเก็บ ส่ิงใดควร
รับ เลือกนามาเป็นแนวทางให้ชีวิตของเรามีคุณภาพ จะทาให้เราเข้าใจตนเอง เข้าใจสังคม เข้าใจ
ในการเลือกคบมิตร และนาไปสู่การนับถือตนเอง เห็นคุณค่าตนเอง เป็นที่ยอมรับของครอบครัว
ชุมชน และสังคม ซ่ึงเป็นสิ่งที่สาคัญท่ีจะพัฒนาตัวเราให้เจริญก้าวหน้าเป็นพลเมืองท่ีมีคุณภาพ
นาพาชวี ิตให้ปลอดภัยห่างไกลจากยาเสพตดิ รวมท้ังพิษภยั จากกัญชาได้
กล่าวโดยสรุป หลักธรรมนาชีวิต พ้นพิษภัยจากกัญชาและกัญชง การใช้พุทธธรรมเพื่อ
สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจให้มีความเข้มแข็ง โดยใช้ภูมิคุ้มกันทางครอบครัวท่ีเป็นความรักความ
อบอุ่น ความเข้าใจซึ่งกันและกัน ภูมิคุ้มกันจากสังคมส่ิงแวดล้อม ภูมิคุ้มกันจากกัลยาณมิตร รวมถึง
การเสริมสร้างการเรียนรู้ท่ีเกิดจากตนเองเป็นผู้กาหนด เยาวชนของชาติส่วนใหญ่ที่หลงเข้าไปเสพยา
หรือเกี่ยวข้องกับยาเสพติด รวมท้ังกัญชาและกัญชง อาจเน่ืองจากขาดความรักความอบอุ่น ขาดความรู้
ความเข้าใจต่อสังคม เข้าใจว่าตนเองไม่มีคุณค่า และขาดความรู้ทางธรรมะพื้นฐาน หากเราต้องการ
แก้ปัญหาเรื่องยาเสพติดของเยาวชน เราจาเป็นต้องแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของเยาวชนรวมทั้งตัวเราควร
ได้เรียนรู้ปรับทัศนคติมุมมองด้วยการใช้ปัญญา เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาของตนเอง
ในด้านครอบครัว สังคม และมิตร ให้ประสานสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เสมือนเฟืองสามตัว
ขับเคลอ่ื นกลไกให้ทางานในเวลาเดยี วกัน ดังนน้ั การป้องกันมใิ ห้เยาวชน รวมท้ังตัวเราได้มโี อกาสเข้าไป
ย่งุ เกย่ี วกบั ยาเสพติด เป็นการปอ้ งกันในลักษณะการสร้างความพร้อมในการใช้ชวี ิตเตรียมความพร้อมใน
การเป็นผู้ใหญ่ หรือเป็นผู้ดูแลตนเองได้ โดยใช้ปัญญาเป็นเครื่องมือที่จะนาพาตนเองให้อยู่ในสังคมเป็น
พลเมืองที่มีคุณภาพ ซ่ึงจะเป็นปัจจัยสาคัญที่จะทาให้เราใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างภาคภูมิใจ
เป็นพลเมืองท่ีมีคุณภาพ มีความเข้มแข็งท่ีเกิดจากกระบวนการใช้ปัญญาเป็นหลักที่ยึดเหนี่ยว ซ่ึงจะ
เป็นพื้นฐานสาคัญท่ีจะทาให้ประเทศไทยมีพลเมืองท่ีมีคุณภาพนาพาประเทศให้มีความสุขสงบ
เจริญรุง่ เรืองสบื ไป
274 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ติ เพ่อื ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา
227722
เเเเคสทยสคทยคคพพรราาตตววววาา่อือื่ิ่มมิ่เเาางงรราาปปรรงงมมคคตีตีมมน็น็ะะททววเเงั้้งัดดสสบบหหาาคค่ี่ีแููแี่ย่ียมมบบ88ลลรรลลงงเเรรเักกัปปสสตตรขขภภ))รร่ยี่ยีอื่่ออ่11ขข3232445ก5กออ์์ะะงง..หห........กกลลงงงออ้้ สสหหแแาา่่ทาารรหหาาหหสหสหใใหหัววัรรววอืือพพี่ททนนเเใใา้า้ตตโโ้า้า้้้้าาาาใใ8กกททจจดดผผหหเเมมมมรมมรมมดดดิดิขขยยยยิิีดีดตต้นน้ใใใใใใใใ็็จจกกาาชชชชสสผ์์ผขชชปปั้งั้งนนมมดดติิตออคค้้สส้้รรใใู้้้เเู้ใใอ้กกบบกกชชนนเเนนเเุุปปรราาาาลลตตภภหุตุตรราายี่่ยีรรผผยยผผืออืิิททภภรรขขรร้าววูู้้เเุุตตูู้้ปปผผTTดดปป้้์์ออใใมชช่่าาบบูู้้ปป่่ววHHหหแแ็็ชชนนหหาากกใยยุคคุ่่ลลววรรCCโโ้้กกญญน้้าาววโโยยืืออคคะะรรมมรร่่าาญัญัใใกโโคคใใลลลลนนคคใหใหรรดดตตททานน22ชชคคหหผผ้นน้ พพบับัรม่ี่ีม55กกหหปู้้ปูาาััววมมใแแัฒฒัออีีาาััววใใแแ่วว่ชบบปปรรขขาาจจใใยยนนลลตุุตก้ีีใใยยจจ็็งงขขททชชาาใใรระะุตุตขขัญั้ั้นนหห((กก้้ี่มม่ีกกหหกก่าา่้ั้ันน((รร้้าาพพััออีีออญญชกกาาญัญัรรุุนนรราาิิาาจจววกกาุุนนชชททแแจจกกา่า่าาชชจจแาาแแาาททรราารราาแแงงงงลรร22งงรราาณณเเสสลลงง55ททททะใใปปททมมหหะะาาี่่ีกมมาา็็นนปป่ี่ีกกอตอตมม้เเ้งงีีออญัดดใใีีัังงญญรรีีาาออหหผผาาก็ก็ไไะะมมาาชชชดดู้ปปู้้้กกลลใใบบกกคคนนงง้้งดดาา่วว่ บบาาววกกคครรยยยยรรปปาาัับบคครรโโาาคคมมรรรรรรววลลบบววคคภภะะเเาางงุุคคาาหหตตสสน์น์มมมมคคเเมมบัับาาา้า้ดดนนดดลลททาาหหัันนื่่ืออัันนโโตตะะผผนนดดงงตต่่โโออสสิดิดััจจกกลลยยกกไไมมปปาานนหหถถปปกกกกกกหหอ้อ้้าา้ิินนตตัักกบบตตยยจจรรตตี้้ี ััญญิิโโืืาาออไไ่่าาแแรรดดเเหหชชลลลลปปคค้้แแาางงััววะะน็น็ขขกกใใใใมมหหชชออ่่ตตจจีีพพผผ้้ตตงงรรเเอ้้อตตูู้้ปปัฒัฒผผืืออัับบงง้้นนูู้้่่ปปววหหใใใในนชชนนยยเเ่่ััววววาารร้ตต้ททกกใใยยกก็็ววจจอ้้อี่่ีาามมาาเเรรยยรรงงีีออเเตตชชกกพพออาาาา้้นน้าา้าายยเเรรกกเเพพ))จจู่ใู่ใาารราาดัดันนิ่ิ่มมะะ็็ววรร
โโมโมใมมโใวโกโเเกวรรสสดดพพคคนัันัญัญะีอะอี ่ออ่ืื่น่นยยลลสสนนลลาาชชใใา้้างงงงตตกกะะาาหหาาผผเเทท์์าาขขววแแคค้้33เเ้งึึง้รรผผ้้ออีี่่ลลลลลลดด99สสหหคคเเืืออะะงงววเขีขีมมววรรรกกกกลลึ้นึน้ นนาาอืือแแือ่ัญัญก3232กเเ11กกใใาามมภภชชนน้้าานน......ลลงาาชชผผผผ้้เเสสววา้า้่่นนท่่าารรววงงิิ่่ง้ึึ้งาาธตธตรชรชดดััชชววลลเเถถหหี่นนบับัีีใใกกงงาา่ื่ืมมกกโโ9าาหหดดออนนสสลลโโดดนนิิปปรรนนเเรรซซวว้้นนชชมมาาใใยยหหขขรร้้าาืออืนนิิธธเเออา้้ากนุนุะะพพนนสสซซญญมมนนีีหหปปกกททไไาีีาารรยยกกะะิษิษา้้าิิพพงงนนรรจจรดดุาาุปปลลลลตตนนิมิมรรึ่ึ่งงเเาานนถททดดาาเเาาบบาารราากกฟฟกกกกงงอเี่่ีเรรลลสสววาาณณปปืื้้ออววกกลลซซาา..ททนงงาาผผสสันัน็นน็นนาารรงงว้ว้บบจจหหรรสสพุุภภรรถถตตยยภภอ้อ้ืดืดุุ๊๊กกาารรแแมมใใาาออนนิษยยยยมููมดดน้น้ัับบลลชชนนภภโโนน้า้าืม่ื่มปิปิเะออะจจ้้ดดกกแแ้้ววาารรววบพพญััญเเาายยััาาญญลลิธธิผผณณ้าา้ววยยกกิิื้อษษรรีทีทกกสสะะญญนันัึ้้ึงง็น็นชช์์าาะะงดดุกกุเเ่ี่ีกกลลปปาาาารรหหบบ22บบต่ืมม่ืะะชชาาิิตตเเแแ66ื้้ืรรออุุววมมน้จจดดาารริิพพลลืื33ออิิธธงงนนาาววผผ่ืมื่มเเจะะรรีีแแตตนนมมบบลลกกเเสสาศศกกกกวว้้นน้้าา้า้าาาววเเมมกััีีลลรรญญเเ้้ออลลตตนนจจ่า่ากกววนุนุษษกาาาาขขออาาาาชชลลัญญัไไกกดดะะลลาาาาากกเเพพาางงววาาโโกกังังธธรททเเชชกกเเรรคคลลนนรรชชิิกกกกาาเรราารราาลลมมมาา้า้ารรี้้ีิิาานนาารราาแแเเงงจจึึนนรรายยชชงงเเข2ข2เเะะลลมมมมศศจจกคค้า้าแแนนหหผผููลละะืืดดาาีีรรลลัญดดาากกาาลลษกษกกกนนงงงงดดยยลลแแชััญญะะิิัญัญธธไไกกเเาาจจลลปปิิโโามมมมชชลลงงโโะะะะรรชชแเเาาคคววีีออาาาาเเงงววรรงงปปันันงงลลลพพยยแแธิธิ่ื่ืออวว็็งงนนูู่่ีทีทะลลยยยยแแันันเเ33กออี่่ีะะาาคคลล33ๆๆีีกกบบกก22ญัลลววะะรรััญญิิาางงธธรรเเผถถผยยชะะลลบับัีี ชชแแ้้ลลาา็นน็ไไยยงเเปปดดเเนนงงจจะะปปแแรร้้แแ้้าา่่นนหหะะลลทท็็นนพพกกหหนนททะะี่ี่มมโโ่่รรนน่ึ่ึเเงงรราาววีีออยยะะนน้้คคาาิิธธาา็นน็ยยแแออกกเเีีททกกาาบบลลกกลล22ี่ี่าาออะะาา11ว้้วรรจจภภผผหหจจยยมมาาััยยใใลละะววนนึึกกนนหหภภคคาาา้้ากก้้ดดศศนนูู่่เเออววาาบบ่ืื่ีีมมรร้้าาคคยยรรษษศศสสนนววใใุุชชๆๆกกรระะ้้าารร้้
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพอ่ื ใช้เป็นยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ 275
อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
273
ถาม
จรงิ หรือไม่ การด่ืมน้ามะนาวผสมน้าผึ้งชว่ ยแก้อาการเมาค้างจากพิษของกัญชาได้
ตอบ
จริง เพราะจากประสบการณ์ของชาวบ้านท่ีเล่าสืบต่อกันมายืนยันว่าช่วยแก้
อาการเมาค้างจากกัญชาให้ดีข้ึนจริง การดื่มน้ามะนาวผสมน้าผึ้ง หรือชารางจืด
ถือว่าเป็นสมุนไพรท่ีค่อนข้างปลอดภัย จึงสามารถนามาใช้ช่วยในการบรรเทา
อาการเมาค้างจากกัญชาได้
เภสัชกรหญิง ดร.สุภาภรณ์ ปิติพร เภสัชกรเชี่ยวชาญ (ด้านเภสัชกรรมการผลิต)
รองผู้อานวยการด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
ได้ให้ข้อมูลเม่ือวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ที่ เซเรนิตี้ โฮเทล แอนด์ สปา อาเภอกบินทร์บุรี
จังหวัดปราจีนบุรี ว่า “การระบาดของกัญชาและยาเสพติด เกิดจากสภาวะจิตใจ และ
ความเครียด ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนไม่เข้าใจสภาวะจิตของตัวเอง ก็จะไปพ่ึงพิงสิ่ง
ตา่ ง ๆ ทีอ่ ย่ภู ายนอก เช่น ตดิ เหล้า ตดิ บหุ รี่ ตดิ ยา ทาใหไ้ ม่สามารถควบคุมจิตได้ เพราะกัญชา
เล่นกับจิตของคนท่ีไม่ฝึกสมาธิ และวางความทุกข์ไม่ได้ ซึ่งเป็นสภาวะเรื่องใหญ่มาก
คนต่างชาติจะเช่ือว่าเมื่อมีปัญหาชีวิต การใช้กัญชาดีกว่าการฆ่าตัวตาย ซ่ึงแท้ที่จริงแล้วการมี
ธรรมะทาใหเ้ กิดการฝึกสมาธิ ทาให้จิตใจเกิดความสุขได้ ฉะน้ันเราไม่ต้องใชก้ ัญชาก็ได้ หากเรา
สามารถฝกึ จติ และสมาธไิ ด้เอง โดยไมต่ อ้ งพงึ่ ยา”
276 หนงั สือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวติ เพ่อื ใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา
274
กิจกรรกมิจทก้ารยรบมททา้ ยบท
1. กิจกรรมท่ี 1
คาชี้แจง : โปรดเลือกตัวอักษรหน้าข้อท่ีผู้เรียนคิดว่าข้อนั้นเป็นคาตอบท่ีถูกต้องที่สุด
เพียงขอ้ เดียว แลว้ เขยี นคาตอบลงในกระดาษของผูเ้ รยี น
ขอ้ 1 “ตารวจจับกุมนายสายฟ้า พร้อมของกลางเป็นเฮโรอีน 4 แท่ง น้าหนัก
10 กโิ ลกรมั รถยนต์ 1 คนั เงนิ สดอกี 50,000 บาท นายสายฟา้ สารภาพกบั เจ้าหนา้ ทต่ี ารวจว่า ตนเอง
ทาหนา้ ท่ขี นยามาส่งเท่านัน้ ไม่ใชผ่ ูค้ ้ายาเสพตดิ ” จากขอ้ ความดังกลา่ วนายสายฟา้ ขาดคุณธรรมข้อใด
มากทสี่ ดุ
ก. ฉนั ทะ
ข. วิริยะ
ค. จิตตะ
ง. วมิ ังสา
ขอ้ 2 นายเอ มีอาการป่วยกินข้าวไม่ได้ นอนไม่หลับ มีเพื่อนแนะนาว่าผลิตภัณฑ์
กัญชาและกัญชงสามารถรักษาได้ นายเอจึงตัดสินใจไปซ้ือผลิตภัณฑ์กัญชามาใช้เอง กรณีดังกล่าวจะ
เป็นผลดี หรอื ผลเสียอยา่ งไรต่อร่างกายนายเอ
ก. เปน็ ผลดี เพราะใชผ้ ลติ ภณั ฑก์ ญั ชาตามคาแนะนาของเพือ่ น
ข. เปน็ ผลเสีย เพราะใชผ้ ลิตภณั ฑก์ ัญชาที่ไม่ได้มาตรฐาน
ค. เปน็ ผลดี เพราะมผี ู้ใชผ้ ลิตภณั ฑ์กญั ชาใช้แลว้ ได้ผลดสี ามารถรกั ษาโรคที่
เป็นอย่ไู ด้
ง. เป็นผลเสีย เพราะผู้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาไม่ได้ไปปรึกษาแพทย์ และเภสัชกร
ผ้เู ชย่ี วชาญ
ขอ้ 3 “นายแพทย์นรินทร์ให้คาปรึกษา กับผู้ป่วยท่ีใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงใน
การรักษาโรคด้วยจิตใจจดจ่อ ระมัดระวัง” จากข้อความดังกล่าวนายแพทย์นรินทร์นาหลักธรรมข้อใด
มาใชป้ ฏิบตั งิ านในหนา้ ท่ีมากท่สี ุด
ก. ฉันทะ
ข. วริ ยิ ะ
ค. จิตตะ
ง. วมิ ังสา
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพือ่ ใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวิต 277
อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
275
ขอ้ 4 ผปู้ ่วยในขอ้ ใดที่แพทย์สามารถส่ังใช้ผลติ ภัณฑ์กัญชาและกัญชงในการรกั ษาได้
ก. นายแดง ปว่ ยเปน็ โรคอว้ น
ข. นายนพ ปว่ ยเปน็ โรคคางทูม
ค. นางสาวจิม ป่วยเป็นโรคพาร์กินสัน
ง. นางสาวนวล ป่วยเปน็ โรคปากเทา้ เปื่อย
ข้อ 5 จากรายงานการวิจัยพบว่า ในอนาคตมนุษย์สามารถนากัญชาและกัญชงไปใช้
รกั ษาโรคในข้อใดได้บ้าง
ก. โรคมะเรง็
ข. โรคเทา้ ช้าง
ค. โรคคอพอก
ง. โรคเหงอื กอักเสบ
2. กจิ กรรมที่ 2
คาชี้แจง : โปรดจับคู่ข้อมูลท่ีอยู่หลังตัวอักษรที่ตรงกับตัวเลขของข้อมูลน้ัน ๆ หรือมี
ความสัมพันธ์ตรงกับหัวข้อเลขน้ัน ๆ ให้ถูกต้อง แล้วนาตัวอักษรของหน้าข้อมูลมาใส่หน้าตัวเลขตรง
กับขอ้ นนั้
.......... 1. จากรายงานการวิจยั พบว่าในอนาคตจะสามารถ ก. ประเมนิ ผู้ป่วย
ใช้ผลิตภณั ฑก์ ญั ชาและกญั ชงกับโรคใด ข. โรคอ้วน
.......... 2. ขอ้ แนะนาก่อนตดั สนิ ใจใชผ้ ลติ ภัณฑ์กญั ชา ค. ส่ังจ่ายภายใต้แพทย์
และกัญชงทางการแพทย์ ง. โรคสมองเสอ่ื ม
.......... 3. การเริม่ ใชผ้ ลิตภัณฑ์กญั ชาและกัญชง จ. โรคถุงลมโป่งพอง
ในทางการแพทย์ ฉ. ปรกึ ษาผูท้ ่ีเคยใชก้ ญั ชา
.......... 4. ข้อหา้ มใชผ้ ลติ ภัณฑ์ท่มี ีสาร THC และ CBD ช. ปรกึ ษาแพทย์
เป็นสว่ นประกอบ ซ. ผู้ที่มีประวัติแพผ้ ลิตภณั ฑ์
.......... 5. ความปลอดภัยของน้ามันกัญชาและกญั ชง ท่ไี ดจ้ ากการสกัดกัญชา
3. กจิ กรรมท่ี 3
คาชี้แจง : โปรดทาเครื่องหมายถูก () หรือเครื่องหมายผิด () ลงหน้าข้อตัวเลขที่
ผู้เรียนอ่านข้อมูล แล้วคิดว่าคาตอบน้ีถูกให้ทาเคร่ืองหมายถูก () ถ้าคิดว่าข้อมูลท่ีอ่านเป็นคาตอบที่
ผิดใหท้ าเคร่ืองหมายผดิ ()
.......... 1. กัญชาและกญั ชงช่วยปอ้ งกันรักษาเสริมสรา้ งเซลล์
.......... 2. การรกั ษาดว้ ยผลิตภัณฑก์ ญั ชาและกญั ชงเปน็ คร้ังแรกควรเริ่มต้นทข่ี นาดต่ามาก ๆ
.......... 3. อัตราการเตน้ ของหัวใจตา่ ลง คอื อาการของผลข้างเคียงจากการใช้กัญชาและกัญชง
278 หนังสอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชีวิต เพือ่ ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา
276
.......... 4. การใช้กัญชาและกญั ชงในลักษณะสารเสพตดิ จะทาให้ขาดสตสิ ัมปชัญญะ
.......... 5. หา้ มใชส้ าร THC ในคนไข้ที่มีอาการทางระบบประสาทผดิ ปกติ
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพอ่ื ใช้เป็นยา หนังสือเรียนสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ 279
อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
279
/
/
/
/
/
/
/
บรรณานกุ รม
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
280
บบรรรรณณาานนกุ กุ รรมม
กรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา. )ม.ป.ป.). กฎหมายทรัพย์สนิ ทางปัญญาไทย. สบื ค้นจาก
กกกกกกกttps://www.ipthailand.go.th/th/dip-law-2/category/acts.html
กกกกกกก)สืบคน้ เมื่อ 7 ตุลาคม 2562)
กองบรรณาธกิ าร HONESTDOCS. )2562). บทความเร่ืองกัญชารวมเรื่องน่ารู้ และสรรพคุณทาง
กกกกกกกการแพทย์รแู้ ลว้ ต้องอึง้ . สืบค้นจาก https://www.honestdocs.co/interesting-
กกกกกกกcannabis-medicinal-properties. )สืบคน้ เมอื่ 11 ตลุ าคม 2562)
ขา่ วประชาสมั พนั ธเ์ ขต 1. )2562). ข่าวหมอพืน้ บา้ นกบั ราชกจิ จานุเบกษา ทีร่ ับรองหมอพืน้ บา้ น.
กกกกกกกสืบค้นจาก https://www.facebook.com/PRD1KK/?_tn_=kC-R&eid
กกกกกกก)สบื ค้นเม่ือ 31 ตุลาคม 2562)
คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด, สานักงาน. )ป.ม.ท.). กฎหมายเกี่ยวกับกญั ชา.
กกกกกกกสบื คน้ จาก https://www.tci-thaijo.org/. )สบื คน้ เม่อื 7 ตลุ าคม 2562)
คณะกรรมการอาหารและยา, สานักงาน. กองควบคุมวตั ถุเสพตดิ . )2562). กฎหมายสาคัญ/กฎหมาย
กกกกกกกออกใหม่ พระราชบัญญตั ิวัตถุท่ีออกฤทธต์ิ ่อจติ และประสาท พ.ศ. 2559. สบื ค้นจาก
กกกกกกกhttp://www.fda.moph.go.th/sites/Narcotics/SitePages/AllNewlaw.aspx# และ
กกกกกกกhttp://www.fda.moph.go.th/sites/Narcotics/SitePages/Psychotropic.aspx
กกกกกกก)สืบค้นเมื่อ 7 ตลุ าคม 2562)
จงกล บญุ พิทักษ์. )2562). พุทธธรรม : ภมู ิคุ้มกันเยาวชนจากยาเสพตดิ . สืบคน้ จาก
กกกกกกกhttps://lanmakhamvan.wordpress.com/2016/02/25/พทุ ธธรรม-ภมู ิคุ้มกันเย-2/
กกกกกกก)สืบคน้ เมื่อ 10 ตุลาคม 2562)
จอหน์ ดอลลินส์. )2562). กญั ชา : ทาไมหลายประเทศในโลกถึงเปดิ รบั กญั ชากนั มากขนึ้ .
กกกกกกกสบื ค้นจาก http://www.bbc.com/thai/international )สบื คน้ เมื่อ 7 ตุลาคม 2562.)
จุฬาพัฒน์ ชา่ งเกตุ. )ม.ป.ป.). กฎหมายเกยี่ วกบั กัญชา. เข้าถงึ ได้จาก https://www.
กกกกกกกparliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link.php?nid=2247
กกกกกกก)สืบค้นเม่ือ 11 ตลุ าคม 2562)
จุฬาลงกรณ์, มหาวิทยาลยั . )ม.ป.ป.). สรปุ เวทีจุฬา ฯ เสวนา คร้ังที่ 19 “กญั ชา เพ่ือเยียวยา
กกกกกกกสุขภาพ?” สืบค้นจาก http://www.chula.ac.th/news/19179/
กกกกกกก)สบื ค้นเมื่อ 27 สงิ หาคม 2562)
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่อื ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวิต 283
อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
281
ชีวจิต. )ม.ป.ป.). คลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย ดีเดย์เปดิ บรกิ าร 13 แห่งทกุ เขตสขุ ภาพ.
กกกกกกกสบื คน้ จาก http://www.bbc.gooddlifeupdate.com/healthy-body/
กกกกกกก)สบื คน้ เมื่อ 27 สงิ หาคม 2562)
ถนดั ม่วงมณี. และประยนต์ ทรพั ยเ์ จริญ. )ม.ป.ป.). กัญชาสุดยอดยาวเิ ศษศาสตร์แหง่ การรักษา
กกกกกกกโรคยคุ ใหม่. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์บรษิ ัทเอกพิมพ์ไท จากดั .
ทมี งานวิชาการบริษัท ไซเบอรบ์ คุ ส์ แอนด์ ปรนิ้ ท์ จากดั . )ม.ป.ป.). หนงั สอื กัญชาสุดยอดยาวเิ ศษ
กกกกกกกศาสตรแ์ หล่งการรกั ษาโรคยุคใหม.่ สานกั พมิ พ์ บรษิ ัทเอกพิมพ์ไท จากดั .
ไทยรัฐ. )2562.). สารผสมเอง นา้ มนั กญั ชา “หยอดแลว้ ตาย” โดนแจง้ จบั พบเงินสดกว่า
กกกกกกก3 ลา้ น. สืบค้นจาก http://www.thairath.co.th/news )สืบคน้ เม่ือ 25 กนั ยายน 2562)
ไทยรัฐออนไลน์. )ม.ป.ป.) ไขขอ้ คาใจ กัญชารักษามะเร็ง‘มโนม่ัว’หรือ‘ยาสวรรค์.
กกกกกกกสืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/content/616855
กกกกกกก)สืบคน้ เมื่อ 25 กันยายน 2562)
ไทยรัฐออนไลน์. )ม.ป.ป.). ประวัติศาสตร์ฉบบั ยอ่ ของ “กญั ชา” สบื ค้นจาก
กกกกกกกhttps://www.thairath.co.th/news/society/1570476 )สืบค้นเมอื่ 25 กันยายน 2562)
ไทยรฐั ออนไลน์. )ม.ป.ป.). ความแตกระหว่าง "กัญชง" และ "กัญชา" สืบค้นจาก กกกกกกกกกก
กกกกกกกhttps://www.thairath.co.th/content/849370 )สบื ค้นเม่ือ 25 กันยายน 2562)
ไทยรัฐออนไลน์. )2562). สาวผสมเอง น้ามนั กัญชา "หยอดแล้วตาย" โดนแจง้ จบั
กกกกกกกพบเงินสดกว่า 3 ลา้ น. สืบคน้ จากhttps://www.thairath.co.th/
กกกกกกกnews/local/north/1665323 )สบื คน้ เม่ือ 31 ตลุ าคม 2562)
ธิติ มแี ตม้ ฐติ ิพล ปัญญาลิมปนันท์. )ม.ป.ป.). พชื รา้ ยหรอื สมนุ ไพรทางเลือก.
กกกกกกกสบื คน้ จาก http://www.bbc.com/thai/thailand-42748753
กกกกกกก)สบื คน้ เม่ือ 27 สงิ หาคม 2562)
ธิติ มแี ตม้ กานต์ธีรา ภูริวกิ รยั . )2562.). เม่อื กญั ชาแคนนาดาไฟเขียว : เบอ้ื งหลังและ
กกกกกกกคาแนะนาจาก ดร.เจอร์เกน ไรหม์ นักวทิ ยาศาสตรอ์ าวโุ ส.
กกกกกกกสบื คน้ จาก https://www.the101.world/cannabis-canada-experience/
กกกกกกก)สบื คน้ เมื่อ 11 ตุลาคม 2562)
ธรี ะ วรธนารตั น์. )ม.ป.ป.). บทความเร่ืองกัญชา นโยบายที่ควรทบทวน.
กกกกกกกสบื ค้นจาก http://www.tcijthai.com/news/ )สืบคน้ เมอ่ื 27 สิงหาคม 2562)
284 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา
282
ธรี ะวฒั น์ เหมะจฑุ า. )2562). โรคใช้กญั ชารกั ษาได้ท้งั พาร์กินสนั อลั ไซเมอร์ ปวดจากระบบกกกก
กกกกกกกประสาทผิดปกติ. สบื คน้ จาก https://www.thaipost.net/tag/กญั ชารักษาโรค
กกกกกกก)สบื ค้นเม่ือ 10 ตุลาคม 2562)
นิพนธ์ พวงวริทร์. )2562). โรคพารก์ นิ สันกับผสู้ ูงอาย.ุ สืบค้นจาก https://www.si.mahidol.ac.th/
กกกกกกกsidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=112 )สบื ค้นเมื่อ 7 ตุลาคม 2562)
บา้ นและสวน. )2562). กญั ชา vs กัญชง ประวัตคิ วามเป็นมาและความต่างในความเหมือน.
กกกกกกกสบื คน้ จาก https://www.baanlaesuan.com/145563/plant-scoop/marijuana
กกกกกกก)สบื ค้นเม่ือ 7 ตุลาคม 2562)
ประชาสัมพันธ์,กรม. )2562). สานักข่าว NATIONAL NEWS BUREAU OF THANILAND. )ม.ป.ป.).
กกกกกกกย้าการโพสต์ซ้ือ – ขาย“กัญชา” หรอื ยาเสพตดิ ทุกชนดิ ผา่ นส่อื สงั คม ออนไลน์ เปน็ การ
กกกกกกกกระทาทผ่ี ดิ กฎหมาย. สบื ค้นจาก http://www.thainws.prd.go.th/th/news/detail/
กกกกกกก)สืบค้นเม่ือ 27 สงิ หาคม 2562)
ประชาไท. )2561). ศาลมาเลเซียตัดสนิ ประหารชวี ิตชายผู้แจกจ่ายกญั ชาทางการแพทย์ฟรี.
กกกกกกกสบื คน้ จาก https://prachatai.com/journal/2018/09/78582
กกกกกกก)สืบค้นเมื่อ 31 ตุลาคม 2562)
ปตั พงษ์ เกษสมบูรณ์. คณะแพทยศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ . )2562). ขนาดยาจาก
กกกกกกกกัญชาทเ่ี หมาะสมในการรักษาโรค. กรุงเทพฯ : กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก
ปานเทพ พัวพงษ์พันธ.์ )ม.ป.ป.). สรุ ิยนั กัญชาอมั ฤตย์โอสถแห่งความหวัง. กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พ์
กกกกกกกบา้ นพระอาทิตย์
ผกาทิพย์ ร่นื ระเริงศักดิ์. )2562). กญั ชากบั การรักษาโรค. สบื ค้นจาก https://www.pharmacy.
กกกกกกกmahidol.ac.th/ )สบื ค้นเม่ือ 7 ตลุ าคม 2562)
ผจู้ ัดการออนไลน.์ )ม.ป.ป.). เคาะใช้ น้ามนั กัญชา สตู ร CBD สงู ของ อภ.กลมุ่ ลมชักในเดก็ .
กกกกกกกสืบคน้ จาก https://maronline.com/gol/8503/start=0 )สบื คน้ เมอื่ 11ตุลาคม2562)
พงศ์ นพเกต.ุ )ม.ป.ป.). กัญชา ประโยชน์ หรือ โทษ.
กกกกกกกสืบคน้ จาก http://www.nidapoll.nida.ac.th )สืบคน้ เมอ่ื 27 สิงหาคม 2562)
พรทิพย์ ทองดี. )ม.ป.ป.). มองกญั ชาให้รอบด้าน. สบื คน้ จาก http://www.kornchadluek.
กกกกกกกnet/news/breaking-news/370287 )สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2562)
พินจิ จนั ทร.์ )พ.ศ.2562). กัญชงหรือเฮมพ์ ปลกู ก่อนรวยกอ่ น. สานกั พิมพ์ปญั ญาชน
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต 285
อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
283
พีรพจน์ ปิน่ ทองดี. )ม.ป.ป.). กญั ชา : กฎหมายยาเสพตดิ อันเป็นอุปสรรคตอ่ การพัฒนากญั ชา
กกกกกกกการแพทย์. สบื ค้นจาก https://www.tci-thaijo.org/ )สืบคน้ เมือ่ 7 ตลุ าคม 2562)
แพทย์สภา. )2561). กัญชาทางการแพทย์. สืบคน้ จากhttps://www.tmc.ot.th/cannabis.php
กกกกกกก)สืบค้นเม่ือ 7 ตุลาคม 2562)
โพสต์ทูเดย์ รอบโลก. )2562.). เมอื งหลวงออสซี่ รับรองกฎหมายใช้กัญชาเพอ่ื สันทนาการ.
กกกกกกกสบื คน้ จาก http://www.posttoday.com/world/601830 )สบื คน้ เม่อื 11ตลุ าคม2562)
โพสตท์ เู ดย์ สังคมทั่วไป. )ม.ป.ป.). หนุนนากญั ชา–กระท่อมมาใช้ทางการแพทย์.
กกกกกกกสบื คน้ จาก http://www.posttoday.com/social/general/)สบื คน้ เมอื่ 27สิงหาคม2562)
ภาสนิ เหมะจฑุ า. )2562). กญั ชง กัญชา กบั ฤทธก์ิ นั ชกั โรคลมบา้ หม.ู สืบคน้ จาก
กกกกกกกhttps://www.thairath.co.th/news/society/1570550 )สบื คน้ เมื่อ 7 ตลุ าคม 2562)
รุจริ ะ บนุ นาค. )2561). สิทธิบตั รกบั กญั ชา. สืบค้นจาก https://martbunnag.com/artide/607/
กกกกกกก)สบื ค้นเม่ือ 7 ตุลาคม 2562)
วสันต์ ศรีแกว้ นิตย์. )2562). ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเสพกญั ชาของผู้เข้ารับการตรวจพิสจู น์ :
กกกกกกกกรณีศกึ ษา สถานควบคมุ ตัวและสถานท่เี พ่ือการตรวจพิสูจน์ เรอื นจากลาง
กกกกกกกคลองเปรม. สบื ค้นจาก https://www.rsu.ac.th/cja/IS/18-
กกกกกกกWASAN_%20SRIKAEWNIT-2560.pdf (สืบคน้ เม่ือ 27 กันยายน 2562)
วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. )2562). ศลิ าจารกึ ตารายาวดั ราชโอรสาราม
กกกกกกกราชวรวิหารทีส่ ญู หาย. สืบค้นจาก http://digi.library. tu.ac.th/index/0122/7
กกกกกกก-1-Jan-Apr-2552/08PAGE39-PAGE53.pdf )สืบคน้ เมื่อ 9 ตุลาคม 2562)
วารสารสันตศิ กึ ษาปรทิ รรศน.์ )2562.). กัญชา : กฎหมายยาเสพตดิ อนั เป็นอปุ สรรคตอ่ การ
กกกกกกกพัฒนากญั ชาการแพทย์. สืบค้นจาก https://www.tci-thaijo.org›index.php›journal-
กกกกกกกpeace›article›download )สืบค้นเม่ือ 11 ตลุ าคม 2562)
วชิ ยั โชควิวัฒน.์ (2562). วารสารทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก บทความ
กกกกกกกกัญชาเป็นยาวิเศษจริงหรอื . )2562). กญั ชา กัญชา เป็นยาวเิ ศษ จริงหรือ. นนทบุรี :
กกกกกกกสถาบันพฒั นาการคมุ้ ครองการวจิ ัยในมนษุ ย์ สถาบนั วจิ ัยระบบสาธารณสุข
เวสารสั เวสสโกวิท. )2562). แนวทางการใชส้ ารสกดั กญั ชาเมดคิ ลั เกรดกบั โรคผวิ หนงั . สืบค้นจาก
กกกกกกกhttps://www.gpo.or.th/LinkClick.aspx?fileticket=PX_EM8lbhJM%3D&tabid=
กกกกกกก414&mid=1297 )สืบค้นเมื่อ 10 ตลุ าคม 2562)
286 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ เพื่อใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา
284
ศนู ยพ์ ษิ วทิ ยารามาธิบดี คณะแพทย์ศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล. )2562).
กกกกกกกขอ้ ระวังการใช้ผลิตภัณฑก์ ัญชา. )สบื คน้ เม่ือ 28 สิงหาคม 2562)
สถาบันสารวจและติดตามการปลูกพชื เสพตดิ . )ม.ป.ป.). ชุดองค์ความรู้พชื เสพติดกัญชง (HEMP)
กกกกกกกโรงพมิ พส์ ถาบันสารวจและตดิ ตามการปลูกพืชเสพตดิ สานักงานคณะกรรมการป้องกันและ
กกกกกกกปราบปรามยาเสพตดิ )ป.ป.ส.) กระทรวงยตุ ธิ รรม
สมนกึ ศิริพานทอง. )2562). สถานการณก์ ารใช้ยาผลิตจากพชื กญั ชา. สืบคน้ จาก
กกกกกกกhttps://www.gpo.or.th/Default.aspx?tabid=338&language=th-TH
กกกกกกก)สบื คน้ เม่อื 7 ตุลาคม 2562)
สมยศ กติ ติมัน่ คง. )2562). รกั ษาโรคดว้ ยกัญชงและกัญชา. )2562). กระทอ่ มและกัญชาทาง
กกกกกกกการแพทย.์ กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์บริษัท โกกรนี โซเชียล เวนเจอร์ จากดั .
สมยศ ศภุ กจิ ไพบลู ย์ พรรคเขียว จรรโลงโลก. (2562). กญั ชายาวเิ ศษ กัญชารักษามะเร็ง.
กกกกกกกกรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พป์ ญั ญาชน.
สยามรัฐออนไลน์ 1. )2562). การระดมความคดิ เตรยี มปลูกกญั ชา.
กกกกกกกสืบค้นจาก today.line.me.th/article )สืบค้นเม่อื 31 ตลุ าคม 2562)
สมศักดิ์ อรรฆศิลป์. )2562). Health Policy for Cannabis on Medical Use. อธิบดกี รม
กกกกกกกการแพทยป์ ระธานคณะทางานเพ่ือพิจารณาการนากัญชามาใช้ทางการแพทย์ : กระทรวง
กกกกกกกสาธารณสุข.
สาธารณสุข, กระทรวง กรมการแพทย์. )2562). คาแนะนาการใช้กัญชาทางการแพทย์.
กกกกกกกสืบค้นจาก http://www.dms.moph.go.th/dms2559/download/Final_Guidance.pdf
กกกกกกก)สืบคน้ เมื่อ 7 ตลุ าคม 2562)
สาธารณสุข, กระทรวง. )2562). ประกาศกาหนดตารับยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 5 ทีม่ ีกญั ชา
กกกกกกกปรุงผสมอยู่ ที่ใหเ้ สพเพื่อรักษาโรคหรือการศกึ ษาวิจัยได้. กรุงเทพฯ : กรมการแพทย์
สานักข่าว Hfocus. เจาะลกึ ระบบสุขภาพ ปลดล็อกใช้ประโยชนจ์ ากสาระสาคัญใน
กกกกกกก“กัญชา – กัญชง” ได้ ยกเวน้ ไม่เปน็ ยาเสพตดิ . )2561). สบื ค้นจาก
กกกกกกกhttps://www.hfocus.org )สบื คน้ เมื่อ 7 ตลุ าคม 2562)กกกกกกก
สานักข่าวไทย อสม. )2562). ขอ้ มลู เปรยี บเทียบแอลกอฮอลก์ บั กัญชา. สบื ค้นจาก
กกกกกกกhttps://tna.mcot.net/view )สืบคน้ เมื่อ 7 ตุลาคม 2562)
สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.
กกกกกกก)2562). หนังสอื เรยี นทักษะการดาเนินชีวิต รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช31002)
กกกกกกกระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ฉบับปรับปรงุ 2560. ลิขสทิ ธ์ิเปน็ ของสานกั งาน กศน.
กกกกกกกสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารเอกสารวชิ าการลาดับที่ 14/2555.
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ป็นยา หนงั สือเรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ิต 287
อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย