The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tipapornning2541, 2022-03-07 10:44:07

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 2

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 2

Keywords: แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 2,นางสาวธิพาพร บุตรอินทร์

แผนการจดั การเรยี นรู้
วชิ าวิทยาศาสตร์

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี

นางสาวธิพาพร บุตรอนิ ทร์
รหัสประจำตัวนกั ศึกษา ๖๐๑๐๐๑๔๗๑๒๓

สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ (ชีววทิ ยา)

การฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษา ๒
รหัสวิชา ED๑๘๕๐๒ (INTERNSHIP IN SCHOOL ๒)

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี
ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔



คำนำ

แผนการจัดการเรียนรู้นี้ ได้รวบรวมแผนการจัดการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนรายวิชา
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 เล่มท่ี 2 หรอื ภาคเรียนที่ 2 เพื่อใช้เป็นแนวทางใน
การจัดการเรียนการสอนของผู้สอนและการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในแต่ละคาบหรือสัปดาห์
โดยรูปแบบที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนของแผนที่ 1-9 และ 16-18 คือ วิธีการสืบเสาะหาความรู้
(Inquiry Method : 5E) ที่ยดึ หลกั ผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ สว่ นรปู แบบทีใ่ ช้ในการจัดการเรยี นการสอนของแผน
ที่ 10-15 คือ วธิ กี ารสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 7E) ร่วมกบั เทคนคิ การเรียนรู้ KWL

แผนการจดั การเรยี นรู้นี้ ประกอบดว้ ย สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรู้
แกนกลาง คำอธบิ ายรายวิชา โครงสร้างหลักสูตร และแผนการจัดการเรียนรู้ในรายคาบ

ขอขอบคุณผู้อำนวยการสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง และคณะกรรมการพัฒนางานวิชาการของ
โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี ตลอดจนผู้ท่ีมีสว่ นร่วมในการให้กำลังใจในการจัดทำแผนการ
จัดการเรยี นรู้น้ี หวังเปน็ อย่างย่ิงว่าแผนการจัดการเรยี นรู้น้ีจะเป็นประโยชน์และผลดีต่อการจัดการเรียน
การสอน ทผ่ี สู้ อนจะนำไปใชแ้ ละปรบั ใชใ้ ห้เหมาะสมกบั ผูเ้ รยี น

นางสาวธพิ าพร บตุ รอินทร์
นักศกึ ษาปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา
สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์ (ชวี วิทยา) คณะครศุ าสตร์

มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี

สารบญั ข

เร่ือง หน้า
คำนำ ก
สารบญั ข
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 1
ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง 2
คำอธบิ ายรายวชิ า 9
โครงสรา้ งหลักสูตร 10
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 29
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 32
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 49
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 4 57
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 5 75
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 6 89
แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 7 101
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 8 115
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 9 136
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 10 153
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 11 170
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 12 186
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 13 208
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 14 224
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 239
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 16 255
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 17 267
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 18 280

1

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พันธร์ ะหว่างสมบัติของ

สสารกบั โครงสร้างและแรงยึดเหนีย่ วระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลยี่ นแปลงสถานะของ
สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวติ ประจำวนั ผลของแรงทก่ี ระทำต่อวตั ถุ ลักษณะ
การเคลอื่ นทแ่ี บบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทัง้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่
เกีย่ วขอ้ งกับเสยี ง แสง และคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้ังนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองค์ประกอบและความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง

ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัตภิ ัย กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทง้ั
ผลตอ่ สิง่ มีชีวิตและส่ิงแวดล้อม

2

ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง

สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบตั ขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสมบัติของ

สสารกับโครงสรา้ งและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลยี่ นแปลงสถานะของ

สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี

ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

9. อธิบายและเปรียบเทียบการจัดเรียงอนุภาค สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาค โดยสสารชนิด

แรงยดึ เหนย่ี วระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ เดียวกนั ท่มี สี ถานะของแขง็ ของเหลว แกส๊ จะมีการ

ของอนุภาคของสสารชนิดเดียวกันในสถานะ จัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การ

ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส โดยใชแ้ บบจำลอง เคลื่อนที่ของอนุภาคแตกต่างกัน ซึ่งมีผลต่อรูปร่าง

และปริมาตรของสสาร อนภุ าคของของแขง็

เรียงชิดกนั มีแรงยดึ เหน่ียวระหว่างอนุภาคมากท่ีสุด

อนุภาคสั่นอยู่กับที่ ทำให้มีรูปร่างแลปริมาตรคงที่

อนุภาคของของเหลวอยู่ใกล้กันมีแรงยึดเหนี่ยว

ระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็งแต่มากกว่าแก๊ส

อนุภาคเคลื่อนที่ได้แต่ไม่เป็นอิสระเท่าแก๊ส ทำให้มี

รูปร่างไม่คงที่ แต่ปริมาตรคงที่ อนุภาคของแก๊สอยู่

หา่ งกันมากมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยท่ีสุด

อนุภาคเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทุกทิศทาง ทำให้มี

รูปร่างและปริมาตรไม่คงที

10. อธิบายความสัมพันธร์ ะหว่างพลังงานความ • ความรอ้ นมผี ลตอ่ การเปลย่ี นสถานะของสสาร เม่ือ

ร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสารโดยใช้ ให้ความร้อนแก่ของแข็ง อนุภาคของของแข็งจะมี

หลกั ฐานเชงิ ประจักษแ์ ละแบบจำลอง พลังงานและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนถึงระดับหนึ่ง ซ่ึง

ของแข็งจะใช้ความร้อนในการเปลี่ยนสถานะเป็น

ของเหลว เรียกความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะ

จากของแข็งเป็นของเหลวว่า ความรอ้ นแฝงของการ

หลอมเหลว และอณุ หภูมขิ ณะเปลยี่ นสถานะจะคงท่ี

ตวั ชี้วัด 3

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
เรียกอุณหภูมินี้ว่า จุดหลอมเหลว เมื่อให้ความร้อน
แก่ของเหลว อนุภาคของของเหลวจะมีพลังงานและ
อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนถึงระดับหนึ่ง ซึ่งของเหลวจะใช้
ความร้อนในการเปลี่ยนสถานะเปน็ แก๊ส เรียกความ
รอ้ นที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส
วา่ ความรอ้ นแฝงของการกลายเป็นไอ และอุณหภูมิ
ข ณ ะ เ ป ล่ี ย น ส ถ า น ะ จ ะ ค ง ท ี ่ เ ร ี ย ก อ ุ ณ ห ภ ู มิ น้ี ว่ า
จุดเดือด เมื่อทำให้อุณหภูมิของแก๊สลดลงจนถึง
ระดับหนึ่งแกส๊ จะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียก
อุณหภูมินี้ว่า จุดควบแน่นซึ่งมีอุณหภูมิเดียวกับจุด
เดือดของของเหลวนั้น เม่ือทำให้อุณหภูมิของ
ของเหลวลดลงจนถึงระดบั หนึ่ง ของเหลวจะเปลี่ยน
สถานะเป็นของแข็ง เรียกอุณหภูมนิ ีว้ ่า จุดเยือกแขง็
ซ่งึ มอี ณุ หภูมิเดียวกบั จดุ หลอมเหลวของของแข็งนน้ั

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชวี ติ ประจำวัน ผลของแรงท่ีกระทำต่อวตั ถุ ลกั ษณะ
การเคลอ่ื นทแี่ บบต่าง ๆ ของวตั ถุ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

1. สรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธบิ ายความสมั พนั ธ์ • เมื่อวัตถุอยู่ในอากาศจะมีแรงที่อากาศกระทำต่อ

ระหวา่ งความดันอากาศกบั ความสูงจากพื้นโลก วัตถุในทุกทิศทาง แรงที่อากาศกระทำต่อวตั ถุข้นึ อยู่

กบั ขนาดพนื้ ท่ีของวตั ถุนัน้ แรงทอี่ ากาศกระทำต้งั ฉาก

กับผิววัตถุต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่เรียกว่า ความดัน

อากาศ

• ความดันอากาศมคี วามสัมพันธ์กับความสูงจากพื้น

โลก โดยบริเวณที่สูงจากพื้นโลกขึ้นไป อากาศเบา

บางลง มวลอากาศนอ้ ยลงความดนั อากาศก็จะลดลง

4

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ี
เกยี่ วข้องกบั เสียง แสง และคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมท้งั นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

1. วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูลและ • เมอื่ สสารได้รับหรอื สูญเสยี ความรอ้ นอาจทำให้สสาร

คำนวณปริมาณความรอ้ นทที่ ำให้สสารเปลี่ยน เปล่ียนอณุ หภมู ิ เปลีย่ นสถานะ หรือเปล่ียนรูปรา่ ง

อุณหภูมิและเปลี่ยนสถานะ โดยใช้สมการ • ปริมาณความรอ้ นที่ทำใหส้ สารเปลี่ยนอณุ หภูมิข้ึนกับ

Q = mcΔt และ Q = mL มวลความรอ้ นจำเพาะ และอณุ หภมู ทิ เ่ี ปล่ยี นไป

2. ใช้เทอร์มอมเิ ตอรใ์ นการวัดอุณหภูมิของสสาร • ปริมาณความร้อนท่ีทำให้สสารเปลี่ยนสถานะขึน้ กับ

มวลและความร้อนแฝงจำเพาะ โดยขณะที่สสาร

เปล่ียนสถานะ อณุ หภูมิจะไม่เปล่ยี นแปลง

3. สร้างแบบจำลองที่อธิบายการขยายตัวหรือ • ความรอ้ นทำให้สสารขยายตวั หรือหดตวั ได้ เนอื่ งจาก

หดตัวของสสารเนื่องจากได้รับหรือสูญเสีย เมื่อสสารได้รับความร้อนจะทำให้อนุภาคเคลื่อนที่เรว็

ความร้อน ขึน้ ทำใหเ้ กดิ การขยายตวั แตเ่ มือ่ สสารคายความร้อน

4. ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการ จะทำให้อนภุ าคเคลื่อนท่ีช้าลง ทำใหเ้ กดิ การหดตัว

หดและขยายตัวของสสารเน่ืองจากความร้อน • ความรู้เรื่องการหดและขยายตัวของสสารเนื่องจาก

โดยวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา และ ความร้อนนำไปใช้ประโยชน์ได้ด้านต่าง ๆ เช่น การ

เสนอแนะวิธีการนำความรู้มาแก้ปัญหาใน สรา้ งถนน การสรา้ งรางรถไฟ การทำเทอร์มอมิเตอร์

ชวี ติ ประจำวัน

5. วิเคราะห์สถานการณ์การถ่ายโอนความ • ความรอ้ นถา่ ยโอนจากสสารที่มีอุณหภูมิสูงกว่าไปยัง

ร้อน และคำนวณปริมาณความร้อนท่ีถ่ายโอน สสารที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าจนกระทั่งอุณหภูมิของสสาร

ระหว่างสสารจนเกิดสมดุลความร้อน โดยใช้ ทั้งสองเท่ากัน สภาพที่สสารทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน

สมการ Q สูญเสยี = Q ไดร้ ับ เรียกว่า สมดลุ ความร้อน

• เมื่อมีการถ่ายโอนความร้อนจากสสารที่มีอุณหภูมิ

ตา่ งกนั จนเกดิ สมดุลความร้อน ความรอ้ นที่เพิม่ ขึน้ ของ

สสารหนึง่ จะเท่ากับความรอ้ นทีล่ ดลงของอีกสารหน่ึง

5

ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

6. สร้างแบบจำลองท่ีอธิบายการถ่ายโอนความ • การถ่ายโอนความร้อนมี 3 แบบ คือ การนำความ

ร้อนโดยการนำความร้อน การพาความร้อน ร้อน การพาความร้อนและการแผ่รังสี ความร้อน

การแผ่รงั สคี วามรอ้ น การนำความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนที่อาศยั

7. ออกแบบ เลือกใช้และสร้างอุปกรณ์เพ่ือ ตัวกลาง โดยที่ตัวกลางไม่เคลื่อนท่ีการพาความร้อน

แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันโดยใช้ความรู้ เป็นการถ่ายโอนความร้อนที่อาศัยตัวกลางโดยท่ี

เกยี่ วกบั การถา่ ยโอนความรอ้ น ตัวกลางเคลื่อนที่ไปด้วย ส่วนการแผ่รังสีความร้อน

เปน็ การถา่ ยโอนความร้อนทีไ่ มต่ ้องอาศยั ตัวกลาง

• ความรู้เกี่ยวกับการถ่ายโอนความร้อนสามารถ

นำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ เช่น การ

เลือกใช้วัสดุเพื่อนำมาทำภาชนะบรรจุอาหารเพ่ือ

เก็บความร้อน หรือการออกแบบระบบระบายความ

ร้อนในอาคาร

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองคป์ ระกอบและความสัมพันธข์ องระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลง

ภายในโลกและบนผวิ โลก ธรณีพิบัตภิ ัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมอิ ากาศโลก รวมทั้ง
ผลตอ่ สิง่ มชี ีวติ และสิ่งแวดล้อม

ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

1. สร้างแบบจำลองท่ีอธิบายการแบ่งชั้น • โลกมีบรรยากาศห่อหุ้ม นักวิทยาศาสตร์ใช้สมบัติ

บรรยากาศ และเปรียบเทียบประโยชน์ของ และองค์ประกอบของบรรยากาศในแบ่งบรรยากาศ

บรรยากาศแตล่ ะชนั้ ของโลกออกเป็นชั้น ซึ่งแบ่งได้หลายรูปแบบตาม

เกณฑ์ที่แตกต่างกัน โดยทั่วไปนักวิทยาศาสตร์ใช้

เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูงแบ่ง

บรรยากาศได้เป็น 5 ชั้น ได้แก่ ชั้นโทรโพสเฟียร์

ชั้นสตราโตสเฟียร์ ชั้นมีโซสเฟียร์ ชั้นเทอร์โมสเฟียร์

และ ช้ันเอกโซสเฟยี ร์

6

ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

• บรรยากาศแต่ละชน้ั มีประโยชน์ตอ่ สงิ่ มีชีวิแตกต่าง

กัน โดยชัน้ โทรโพสเฟียร์มปี รากฏการณล์ มฟ้าอากาศ

ที่สำคัญต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ชั้นสตราโตส

เฟียรช์ ่วยดดู กลืนรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์

ไม่ให้มายังโลกมากเกินไป ชั้นมีโซสเฟียร์ช่วยชะลอ

วัตถุนอกโลกที่ผ่านเข้ามา ให้เกิดการเผาไหม้

กลายเป็นวัตถุขนาดเล็ก ลดโอกาสที่จะทำความ

เสียหายแก่สิ่งมีชีวิตบนโลก ชั้นเทอร์โมสเฟียร์

สามารถสะท้อนคลื่นวิทยุ และชั้นเอกโซสเฟียร์

เหมาะสำหรบั การโคจรของดาวเทยี มรอบโลก

ในระดบั ตำ่

2. อธิบายปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลง • ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหน่ึง

องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ จากข้อมูลที่ ของพื้นที่หนึง่ ที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขึ้นอยู่

รวบรวมได้ กบั องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศ ไดแ้ ก่ อณุ หภมู ิอากาศ

ความกดอากาศ ลม ความชื้น เมฆ และหยาดน้ำฟา้

โดยหยาดน้ำฟ้าที่พบบ่อยในประเทศไทยได้แก่ ฝน

องค์ประกอบลมฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณรังสีจากดวง

อาทิตย์และลักษณะพื้นผิวโลกส่งผลต่ออุณหภูมิ

อากาศ อุณหภูมิอากาศและปริมาณไอน้ำส่งผลต่อ

ความชน้ื ความกดอากาศส่งผลตอ่ ลม ความช้นื และ

ลมสง่ ผลตอ่ เมฆ

3. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดพายุฝนฟ้า • พายุฝนฟ้าคะนอง เกิดจากการทอี่ ากาศทม่ี ีอุณหภูมิ

คะนองและพายุหมุนเขตร้อน และผลที่มีต่อ และความชื้นสูงเคลื่อนที่ขึ้นสู่ระดับความสูงที่มี

สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนำเสนอแนว อุณหภูมิต่ำลงจนกระทั่งไอน้ำในอากาศเกิดการ

ทางการปฏบิ ัตติ นใหเ้ หมาะสมและปลอดภัย ควบแน่นเป็นละอองน้ำ และเกิดต่อเนื่องเป็นเมฆ

ขนาดใหญ่ พายุฝนฟ้าคะนองทำใหเ้ กิดฝนตกหนกั

7

ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ลมกรรโชกแรง ฟา้ แลบฟ้าผ่า ซ่งึ อาจก่อให้เกิด

อนั ตรายต่อชวี ติ และทรพั ย์สิน

• พายุหมุนเขตร้อนเกิดเหนือมหาสมุทรหรือทะเลท่ี

น้ำมีอุณหภูมิสูง ตั้งแต่ 26 - 27 องศาเซลเซียส ข้ึน

ไป ทำให้อากาศท่ีมีอุณหภมู ิ และความช้ืนสูงบริเวณ

นั้นเคลื่อนที่สูงขึ้นอย่างรวดเร็วเป็นบริเวณกว้าง

อากาศจากบริเวณอื่นเคลื่อนเข้ามาแทนที่และพัด

เวียนเข้าหา ศูนย์กลางของพายุ ยิ่งใกล้ศูนย์กลาง

อากาศจะเคลื่อนที่พัดเวียน เกือบเป็นวงกลมและมี

อัตราเร็วสูงที่สุด พายุหมุนเขตร้อนทำให้ เกิดคลื่น

พายุซัดฝั่ง ฝนตกหนัก ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายตอ่

ชีวิต และทรพั ย์สนิ จึงควรปฏิบัติตนให้ปลอดภัยโดย

ติดตามข่าวสารการ พยากรณ์อากาศ และไม่เข้าไป

อยใู่ นพื้นท่ีท่เี สีย่ งภัย

4. อธบิ ายการพยากรณอ์ ากาศ และพยากรณ์ • การพยากรณ์อากาศเป็นการคาดการณ์ลมฟ้า

อากาศอยา่ งงา่ ยจากข้อมูลท่รี วบรวมได้ อากาศที่จะเกิดขึ้นในอนาคตโดยมีการตรวจวัด

5. ตระหนักถึงคุณค่าของการพยากรณ์อากาศ องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ การสื่อสารแลกเปลี่ยน

โดยนำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนและการใช้ ขอ้ มูลองค์ประกอบลมฟา้ อากาศระหว่างพน้ื ทีก่ าร

ประโยชน์จากคำพยากรณอ์ ากาศ วเิ คราะห์ขอ้ มูลและสรา้ ง คำพยากรณอ์ ากาศ

• การพยากรณ์อากาศสามารถนำมาใชป้ ระโยชน์ด้าน

ต่าง ๆ เช่น การใช้ชีวิตประจำวัน การคมนาคม

การเกษตร การป้องกัน และเฝ้าระวังภัยพิบัติทาง

ธรรมชาติ

6. อธิบายสถานการณ์และผลกระทบการ • ภูมอิ ากาศโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเน่ือง

เปล่ยี นแปลงภูมิอากาศโลกจากขอ้ มลู ท่ีรวบรวม โดยปัจจัยทางธรรมชาติ แต่ปัจจุบนั การเปลี่ยนแปลง

ได้ ภมู อิ ากาศเกิดข้ึนอย่างรวดเร็วเนอื่ งจากกจิ กรรมของ

มนุษย์ในการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจก

8

ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

7. ตระหนักถงึ ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลง สู่บรรยากาศ แก๊สเรือนกระจกที่ถูกปลดปล่อยมาก

ภูมิอากาศโลกโดยนำเสนอแนวทางการปฏิบัติ ที่สุดได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซดซ์ ึ่งหมนุ เวียนอยู่

ตนภายใตก้ ารเปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศโลก ในวัฏจักรคารบ์ อน

• การเปลีย่ นแปลงภมู อิ ากาศโลกกอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบ

ตอ่ สงิ่ มชี ีวิตและสง่ิ แวดล้อม เช่น การหลอมเหลวของ

น้ำแข็งขั้วโลก การเพิ่มขึ้นของระดับทะเล การ

เปลี่ยนแปลงวัฏจักรน้ำ การเกิดโรคอุบัติใหม่และ

อุบัติซ้ำ และการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติที่รุนแรง

ข้ึนมนษุ ยจ์ ึงควรเรยี นรแู้ นวทางการปฏิบัติตนภายใต้

สถานการณ์ดังกล่าว ทั้งแนวทางการปฏิบัติตนให้

เหมาะสมและแนวทางการลดกจิ กรรมที่ส่งผลต่อการ

เปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก

9

คำอธบิ ายรายวชิ า

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชาพ้ืนฐาน
รหัส ว21102 วิทยาศาสตร์ 2 ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2
เวลาเรียน 60 ช่วั โมง (3 ชั่วโมง/สปั ดาห์)
จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาเกี่ยวกับ การจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค การเคลื่อนที่ของอนุภาคของ
สารชนิดเดียวกันในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส พลังงานความ ร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของ
สสาร ความร้อน การใช้เทอร์มอมเิ ตอรว์ ดั อณุ หภูมิของสสาร การหาปรมิ าณความร้อนท่ที ำให้สสารเปล่ียน
อุณหภูมแิ ละเปลีย่ นสถานะด้วยสมการ = ∆ และ = การหดตัว หรือขยายตวั ของสสาร
เน่อื งจากการเปลีย่ นอุณหภมู แิ ละการสรา้ งแบบจำลองการถา่ ยโอนความรอ้ นโดยการนำความร้อน การพา
ความร้อน และการแผ่รังสีความร้อน การสมดุลความร้อน และการหาปริมาณความร้อนที่ถ่ายโอน

ระหวา่ งสสารดว้ ยสมการ สญู เสยี = ได้รับ การถา่ ยโอนความรอ้ นกับการเลือกใชว้ ัสดุ การออกแบบ
และสร้างอุปกรณ์เพื่อเก็บความร้อนหรือระบายความร้อนในบรรยากาศ องค์ประกอบของบรรยากาศ
การแบ่งชั้นบรรยากาศ ผลของรังสีจากดวงอาทิตย์ต่อบรรยากาศ องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ ได้แก่
อณุ หภมู อิ ากาศ ความดันอากาศ ความช้ืนอากาศ ลมเมฆและฝน พายฟุ ้าคะนอง พายหุ มนุ เขตร้อน มรสุม
การพยากรณ์อากาศ และการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
การอภิปรายและสรุป เพื่อให้เกิดทักษะกระบวนการ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจสามารถสื่อสาร
สิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ นำความรู้ไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์
และตระหนักถึงคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน โดยใช้ทฤษฎีความรู้
(Theory of knowledge) ในเชิงบูรณาการ

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ว 2.1 ม.1/9 ม.1/10
ว 2.2 ม.1/1
ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
รวมทั้งหมด 17 ตัวชีว้ ัด

10

โครงสรา้ งหลักสูตร

รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว21101
ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต เวลาเรียน 60 ช่วั โมง/ภาคเรยี น

ลำดบั ที่ ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด เวลา

1 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 พลังงาน การเรยี นร/ู้ (ชว่ั โมง)
ความร้อน
บทท่ี 1 ความร้อนกบั การ ตวั ช้ีวัด
เปลยี่ นแปลงของสสาร
เรือ่ งที่ 1 แบบจำลองอนภุ าค ว 2.1 • สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาค โดยสสาร 3
ของสสารในแต่ละสถานะ (1)
ม.1/9 ชนดิ เดยี วกัน ท่ีมสี ถานะของแขง็ ของเหลว แกส๊

ม.1/10 จะมีการจัดเรียงอนภุ าค แรงยึดเหนี่ยวระหวา่ ง

อนุภาค การเคลื่อนที่ของอนุภาคแตกต่าง กัน

ซึ่งมผี ลตอ่ รปู ร่างและปรมิ าตรของสสาร อนุภาค

ของของแข็ง เรียงชิดกัน มีแรงยึดเหนี่ยว

ระหว่างอนุภาคมากที่สุด อนุภาค สั่นอยู่กับที่

ทำให้มีรูปร่างและปริมาตรคงที่ อนุภาคของ

ของเหลว อยู่ใกล้กันมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง

อนุภาคน้อยกว่าของแข็ง แต่มากกว่าแก๊ส

อนุภาคเคลื่อนที่ได้แต่ไม่เป็นอิสระเท่าแก๊ส ทำ

ใหม้ ีรปู รา่ งไม่คงที่ แตป่ ริมาตรคงที่ อนภุ าคของ

แก๊สอยู่ห่างกันมาก มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง

อนุภาคน้อยที่สุด อนุภาคเคลื่อนที่ได้อย่าง

อิสระทุกทิศทาง ทำให้มีรูปร่างและปริมาตรไม่

คงที่

11

ลำดับท่ี ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา
(ชัว่ โมง)
2 เรื่องท่ี 2 ความร้อนกบั การ การเรยี นร้/ู
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 3
(1) ตวั ชวี้ ัด
3
3 เรื่องที่ 2 ความรอ้ นกับการ ว 2.3 • เมื่อสสารไดร้ ับหรอื สญู เสียความร้อนอาจทำ
เปล่ียนแปลงอุณหภมู ิของสสาร
(2) ม.1/1 ใหส้ สารเปลย่ี น อณุ หภูมิ เปลยี่ นสถานะ หรอื

ม.1/2 เปลี่ยนรปู รา่ ง

• ปริมาณความร้อนท่ีทำให้สสารเปลย่ี น

อณุ หภูมิข้ึนกบั มวล ความร้อนจำเพาะ และ

อุณหภูมิทเ่ี ปล่ยี นไป

4 เรื่องที่ 3 ความร้อนกบั การหด ว 2.3 • ความรอ้ นทำใหส้ สารขยายตวั หรอื หดตัวได้ 3
และขยายตัวของสสาร ม.1/3 เนอื่ งจากเม่ือสสารได้ รับความรอ้ นจะทำให้ 3
ม.1/4 อนภุ าคเคล่ือนที่เรว็ ขึน้ ทำให้เกิดการ ขยายตัว
5 เรือ่ งที่ 5 ความรอ้ นกบั การ
เปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร แต่เมือ่ สสารคายความรอ้ นจะทำให้อนภุ าค
(1) เคลอ่ื นท่ีชา้ ลง ทำให้เกดิ การหดตวั
• ความรเู้ รือ่ งการหดและขยายตวั ของสสาร
เนื่องจากความรอ้ นนำ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดด้ ้าน
ตา่ ง ๆ เชน่ การสร้างถนน การสร้างรางรถไฟ
การทำเทอร์มอมิเตอร์
ว 2.3 • ความร้อนมผี ลต่อการเปลีย่ นสถานะของสสาร
ม.1/10 เมื่อให้ความร้อน แก่ของแข็ง อนุภาคของ
ของแข็งจะมีพลังงานและอณุ หภูมเิ พิม่ ขึน้ จนถึง
ระดับหนึ่ง ซึ่งของแข็งจะใช้ความร้อนในการ
เปลี่ยนสถานะ เป็นของเหลว เรียกความร้อนที่
ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจาก ของแข็งเป็น

12

ลำดับท่ี ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา

6 เรอื่ งท่ี 5 ความรอ้ นกบั การ การเรียนรู/้ (ชว่ั โมง)
เปล่ียนแปลงสถานะของสสาร
(2) ตวั ช้วี ัด

ของเหลวว่า ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว

และ อุณหภูมิขณะเปลี่ยนสถานะจะคงที่ เรียก

อุณหภูมินี้ว่า จุดหลอมเหลว เมื่อให้ความร้อน

แก่ของเหลว อนภุ าคของของเหลวจะมีพลังงาน

และอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนถึงระดับหนึ่งซ่ึง

ของเหลวจะใช้ความร้อน ในการเปลี่ยนสถานะ

เปน็ แกส๊ เรยี กความร้อนทีใ่ ช้ในการเปลี่ยน

ว 2.3 • ความรอ้ นมีผลตอ่ การเปล่ยี นสถานะของสสาร 3

ม.1/10 เมื่อให้ความร้อน แก่ของแข็ง อนุภาคของ

ของแข็งจะมพี ลงั งานและอณุ หภมู เิ พมิ่ ข้ึน จนถงึ

ระดับหนึ่ง ซึ่งของแข็งจะใช้ความร้อนในการ

เปลี่ยนสถานะ เป็นของเหลว เรียกความร้อนที่

ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจาก ของแข็งเป็น

ของเหลวว่า ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว

และ อุณหภูมิขณะเปลี่ยนสถานะจะคงที่ เรียก

อุณหภูมินี้ว่า จุดหลอมเหลว เมื่อให้ความร้อน

แก่ของเหลว อนภุ าคของของเหลวจะมพี ลังงาน

แ ล ะ อ ุ ณ ห ภ ู ม ิ เ พ ิ ่ ม ข ึ ้ น จ น ถ ึ ง ร ะ ด ั บ ห น ึ ่ ง ซึ่ ง

ของเหลวจะใช้ความร้อน ในการเปลี่ยนสถานะ

เป็นแกส๊ เรียกความรอ้ นท่ใี ช้ในการเปล่ียน

7 บทท่ี 2 การถ่ายโอนความร้อน ว 2.3 • การถ่ายโอนความร้อนมี 3 แบบ คือ การนำ 3

เรือ่ งท่ี 1 การถ่ายโอนความรอ้ น ม.1/6 ความร้อน การพาความร้อน และการแผ่รังสี

ในชวี ติ ประจำวัน (1) ม.1/7 ความร้อน การนำความร้อนเป็นการถ่ายโอน

13

ลำดบั ท่ี ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด เวลา

การเรยี นร/ู้ (ชว่ั โมง)

ตัวชว้ี ัด

ความร้อนที่อาศัยตัวกลาง โดยที่ตัวกลางไม่

เคลื่อนที่การพา ความร้อนเป็น การถ่ายโอน

ความร้อนที่อาศัยตัวกลาง โดยที่ตัวกลาง

เคลื่อนที่ไปด้วย ส่วนการแผ่รังสีความร้อนเป็น

การ ถ่ายโอนความร้อนที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลาง

8 เร่อื งที่ 1 การถ่ายโอนความร้อน • ความรเู้ ก่ียวกบั การถา่ ยโอนความร้อนสามารถ 3
ในชวี ติ ประจำวัน (2) นำไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวนั ได้ เช่น การ
เลือกใช้วัสดุเพื่อนำมาทำภาชนะบรรจุ อาหาร

เพื่อเก็บความร้อน หรือการออกแบบระบบ

ระบายความรอ้ นในอาคาร

9 เรือ่ งท่ี 2 สมดุลความรอ้ น ว 2.3 • ความร้อนถา่ ยโอนจากสสารทม่ี ีอุณหภมู สิ งู 3
ม.1/5 กว่าไปยังสสารทมี่ ี อุณหภูมติ ่ำกว่าจนกระทั่ง

อุณหภมู ขิ องสสารท้ังสองเทา่ กนั สภาพ ทสี่ สาร
ท้งั สองมอี ณุ หภูมเิ ท่ากัน เรียกวา่ สมดุลความ
รอ้ น
• เมื่อมกี ารถ่ายโอนความรอ้ นจากสสารท่มี ี
อุณหภูมติ ่างกนั จนเกดิ สมดุลความร้อน ความ
ร้อนทีเ่ พม่ิ ขน้ึ ของสสารหนึง่ จะ เทา่ กบั ความ
ร้อนที่ลดลงของอีกสารหนึ่ง

14

ลำดับที่ ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา
10 สอบกลางภาค การเรียนรู/้ (ชัว่ โมง)
11 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 6
กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ ตัวชี้วัด - 3
อากาศ - • โลกมีบรรยากาศห่อหุ้มนักวิทยาศาสตรใ์ ช้ 3
บทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว สมบัติและองค์ประกอบ ของบรรยากาศใน
เรอ่ื งท่ี 1 บรรยากาศของเรา ว 3.2 แบ่งบรรยากาศของโลกออกเป็นชั้น ซึ่งแบ่ง 3
ม.1/1 ได้ หลายรูปแบบตามเกณฑ์ที่แตกต่างกัน
12 เร่อื งที่ 2 อุณหภมู ิอากาศ โดยทั่วไปนักวิทยาศาสตร์ ใช้เกณฑ์การ
ว 3.2 เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูงแบ่ง
ม.1/2 บรรยากาศได้ เป็น 5 ชั้น ได้แก่ ชั้นโทรโพส
เฟียร์ ชั้นสตราโตสเฟียร์ ชั้นมีโซสเฟียร์ ชั้น
เทอร์โมสเฟียร์ และ ชั้นเอกโซสเฟียร์
• บรรยากาศแต่ละชั้นมีประโยชน์ต่อ
สงิ่ มีชวี ติ แตกตา่ งกนั โดย ช้ันโทรโพสเฟียร์มี
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศที่สำคัญต่อการ
ดำรง ชีวิตของสิ่งมีชีวิต ชั้นสตราโตสเฟียร์
ช่วยดูดกลืนรังสี อัลตราไวโอเลตจากดวง
อาทิตย์ ไม่ให้มายังโลกมากเกินไป ชั้นมีโซส
เฟียร์ชว่ ยชะลอวัตถนุ อกโลกทผ่ี า่ นเข้ามา ให้
เกิดการเผาไหม้ กลายเป็นวตั ถุขนาดเลก็ ลด
โอกาสทจี่ ะทำความเสียหายแก่ สง่ิ มีชีวิตบน
โลก ชั้นเทอร์โมสเฟียร์สามารถสะท้อน
คลื่นวิทยุ และ ชั้นเอกโซสเฟียร์ เหมาะ
สำหรับการโคจรของดาวเทียมรอบโลก ใน
ระดับต่ำ
• ลมฟา้ อากาศ เปน็ สภาวะของอากาศใน
เวลาหนง่ึ ของพน้ื ท่หี นึ่ง ทมี่ ีการเปลย่ี นแปลง
ตลอดเวลาขึ้นอยกู่ บั องค์ประกอบลมฟ้า
อากาศ ได้แก่ อุณหภมู ิอากาศ ความกด

15

ลำดับที่ ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา

13 เร่อื งที่ 3 ความกดอากาศและลม การเรียนร้/ู (ชัว่ โมง)

14 เร่อื งท่ี 5 ความชนื้ ตัวชว้ี ัด
15 เรอ่ื งที่ 6 เมฆและฝน
อากาศ ลม ความช้นื เมฆ และหยาดน้ำฟ้า

โดยหยาดนำ้ ฟ้าท่พี บบอ่ ยในประเทศไทย

ไดแ้ ก่ ฝน องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศ

เปลย่ี นแปลงตลอดเวลาข้นึ อย่กู บั ปจั จัยต่าง

ๆ เช่น ปรมิ าณรงั สีจากดวงอาทิตย์และ

ลกั ษณะ พน้ื ผิวโลกส่งผลตอ่ อณุ หภูมอิ ากาศ

อณุ หภูมอิ ากาศและปรมิ าณ ไอนำ้ สง่ ผลตอ่

ความชนื้ ความกดอากาศสง่ ผลต่อลม

ความชื้นและ ลมส่งผลตอ่ เมฆ

ว 2.2 • เมื่อวตั ถุอยู่ในอากาศจะมแี รงทอี่ ากาศ 3

ม.1/1 กระทำต่อวัตถุในทกุ ทิศทาง แรงที่อากาศ

ว 3.2 กระทำต่อวัตถุขึน้ อยู่กบั ขนาดพนื้ ทีข่ องวัตถุ

ม.1/2 นั้น แรงทอ่ี ากาศกระทำตงั้ ฉากกบั ผวิ วตั ถตุ อ่

หนึง่ หนว่ ยพนื้ ทีเ่ รยี กวา่ ความดันอากาศ

• ความดันอากาศมีความสมั พันธ์กับความสงู

จากพนื้ โลก โดยบริเวณ ท่ีสงู จากพื้นโลกขน้ึ

ไป อากาศเบาบางลง มวลอากาศน้อยลง

ความดันอากาศก็จะลดลง

ว 3.2 ลกั ษณะ พืน้ ผวิ โลกสง่ ผลตอ่ อุณหภมู อิ ากาศ 3

ม.1/2 อณุ หภมู อิ ากาศและปรมิ าณ ไอน้ำส่งผลตอ่ 3

ความชน้ื ความกดอากาศส่งผลตอ่ ลม

ความชืน้ และ ลมส่งผลตอ่ เมฆ

16

ลำดบั ท่ี ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด เวลา
16 เรอื่ งที่ 7 การพยากรณอ์ ากาศ
การเรยี นรู/้ (ชว่ั โมง)
17 บทท่ี 2 มนุษย์และการ
เปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศ ตัวชี้วัด
เรอ่ื งท่ี 1 พายุ
ว 3.2 • การพยากรณ์อากาศเปน็ การคาดการณ์ลม 3

ม.1/4 ฟ้าอากาศที่จะเกิดขึ้น ในอนาคตโดยมีการ

ม.1/5 ตรวจวัดองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ การ

สื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลองค์ประกอบลม

ฟ้าอากาศระหว่างพนื้ ท่ี การวิเคราะหข์ ้อมลู

และสรา้ ง คำพยากรณ์อากาศ

• การพยากรณอ์ ากาศสามารถนำมาใช้

ประโยชนด์ า้ นตา่ ง ๆ เชน่ การใช้ชีวติ

ประจำวนั การคมนาคม การเกษตร การ

ปอ้ งกัน และ เฝา้ ระวงั ภัยพบิ ตั ทิ างธรรมชาติ

ว 3.2 • พายฝุ นฟ้าคะนอง เกิดจากการที่อากาศท่ี 3

ม.1/3 มอี ณุ หภูมิและ ความชืน้ สงู เคล่ือนที่ขน้ึ สู่

ระดับความสูงทม่ี อี ณุ หภูมิต่ำลง จนกระทั่ง

ไอน้ำในอากาศเกิดการควบแน่นเปน็ ละออง

น้ำ และเกิด ต่อเนื่องเปน็ เมฆขนาดใหญ่

พายุฝนฟา้ คะนองทำใหเ้ กิดฝนตกหนกั ลม

กรรโชกแรง ฟา้ แลบฟ้าผ่า ซง่ึ อาจก่อให้เกิด

อนั ตราย ตอ่ ชีวติ และทรัพยส์ นิ

• พายหุ มนุ เขตรอ้ นเกดิ เหนือมหาสมุทรหรอื

ทะเลทนี่ ้ำมอี ุณหภมู ิสูง ต้ังแต่ 26 - 27

องศาเซลเซยี สขึ้นไป ทำให้อากาศท่มี ี

อณุ หภมู ิ และความชื้นสูงบรเิ วณนั้นเคลื่อนที่

สงู ขนึ้ อยา่ งรวดเร็วเปน็ บรเิ วณกวา้ ง อากาศ

จากบริเวณอน่ื เคลื่อนเข้ามาแทนทแ่ี ละพัด

เวียนเข้าหา ศูนย์กลางของพายุ ยงิ่ ใกล้

ศนู ย์กลาง อากาศจะเคลอื่ นทีพ่ ัดเวียน เกอื บ

เป็นวงกลมและมอี ัตราเรว็ สงู ทีส่ ุด พายุหมุน

17

ลำดบั ท่ี ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา

18 เรอื่ งที่ 2 การเปล่ยี นแปลง การเรยี นร้/ู (ช่ัวโมง)
ภมู ิอากาศโลก (1)
ตัวชี้วัด

เขตรอ้ นทำให้ เกิดคลน่ื พายซุ ัดฝ่งั ฝนตก

หนกั ซ่งึ อาจก่อให้เกดิ อันตรายต่อชีวติ และ

ทรัพย์สนิ จึงควรปฏบิ ตั ิตนให้ปลอดภยั โดย

ตดิ ตามข่าวสารการ พยากรณ์อากาศ และไม่

เขา้ ไปอย่ใู นพ้นื ท่ที ี่เสี่ยงภัย

ว 3.2 • ภูมอิ ากาศโลกเกิดการเปล่ยี นแปลงอยา่ ง 3

ม.1/6 ต่อเนื่องโดยปจั จัยทาง ธรรมชาติ แตป่ ัจจุบนั

ม.1/7 การเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศเกิดข้นึ อยา่ ง

รวดเรว็ เน่ืองจากกิจกรรมของมนุษย์ในการ

ปลดปลอ่ ยแก๊ส เรือนกระจกสู่บรรยากาศ

แก๊สเรอื นกระจกทถี่ กู ปลดปล่อย มากที่สุด

ได้แก่ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ซึ่งหมุนเวยี น

อยูใ่ นวฏั จักร คาร์บอน

• การเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศโลกกอ่ ใหเ้ กดิ

ผลกระทบตอ่ สงิ่ มชี วี ติ และสง่ิ แวดล้อม เช่น

การหลอมเหลวของนำ้ แข็งขวั้ โลก การ

เพ่มิ ขึ้นของระดบั ทะเล การเปล่ยี นแปลงวฏั

จกั รน้ำ การเกดิ โรค อบุ ตั ใิ หมแ่ ละอบุ ตั ิซ้ำ

และการเกิดภยั พิบัติทางธรรมชาติท่ีรุนแรง

ขึน้ มนุษยจ์ ึงควรเรยี นรู้แนวทางการปฏบิ ตั ิ

ตนภายใตส้ ถานการณ์ ดังกลา่ ว ทง้ั แนวทาง

การปฏิบตั ติ นใหเ้ หมาะสมและแนวทาง การ

ลดกิจกรรมท่ีสง่ ผลต่อการเปลย่ี นแปลง

ภมู อิ ากาศโลก

18

ลำดบั ที่ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา
19 เรื่องท่ี 2 การเปลี่ยนแปลง
ภมู อิ ากาศโลก (2) การเรยี นร/ู้ (ชั่วโมง)

20 สอบปลายภาค ตวั ช้วี ัด
รวมท้งั หมด
ว 3.2 • ภมู ิอากาศโลกเกิดการเปล่ยี นแปลงอยา่ ง 3

ม.1/6 ตอ่ เน่ืองโดยปัจจัยทาง ธรรมชาติ แตป่ ัจจุบัน

ม.1/7 การเปล่ียนแปลงภมู อิ ากาศเกดิ ขึ้นอย่าง

รวดเรว็ เนือ่ งจากกิจกรรมของมนุษยใ์ นการ

ปลดปลอ่ ยแก๊ส เรือนกระจกสู่บรรยากาศ

แกส๊ เรอื นกระจกทถ่ี กู ปลดปลอ่ ย มากท่ีสดุ

ได้แก่ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ซ่ึงหมนุ เวยี น

อย่ใู นวัฏจกั ร คาร์บอน

• การเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศโลกกอ่ ให้เกดิ

ผลกระทบตอ่ ส่งิ มชี ีวติ และส่งิ แวดล้อม เชน่

การหลอมเหลวของนำ้ แข็งขวั้ โลก การ

เพิม่ ขน้ึ ของระดบั ทะเล การเปลยี่ นแปลงวัฏ

จกั รน้ำ การเกิดโรค อุบัตใิ หม่และอบุ ตั ซิ ้ำ

และการเกดิ ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติท่ีรนุ แรง

ขึ้นมนุษยจ์ งึ ควรเรยี นรู้แนวทางการปฏบิ ัติ

ตนภายใตส้ ถานการณ์ ดงั กล่าว ท้ังแนวทาง

การปฏบิ ัตติ นให้เหมาะสมและแนวทาง การ

ลดกิจกรรมทสี่ ง่ ผลต่อการเปลย่ี นแปลง

ภูมิอากาศโลก

- -3

17 ตวั ช้ีวดั - 60

19

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 1

กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว21102 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 5 เรอื่ ง พลังงานความรอ้ น เวลา 27 ช่วั โมง

หน่วยการเรยี นรู้ย่อยท่ี 5.1 เรอ่ื ง แบบจำลองอนภุ าคของสสารในแต่ละสถานะ เวลา 3 ชวั่ โมง

ครูผ้สู อน นางสาวธพิ าพร บุตรอนิ ทร์ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

1. มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชี้วดั
ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ

โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร
การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี

ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ม.1 9. อธิบายและเปรียบเทียบการจัดเรียง • สสารทุกชนดิ ประกอบดว้ ยอนุภาค โดยสสารชนิด
อนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค เดียวกัน ที่มีสถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส จะมี
และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสาร การจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
ชน ิดเดียว ก ัน ใน สถาน ะ ขอ ง แ ข็ ง การเคลื่อนที่ของอนุภาคแตกต่างกัน ซึ่งมีผลต่อ
ของเหลว และแก๊ส โดยใช้แบบจำลอง รูปร่างและปริมาตรของสสาร อนุภาคของของแขง็
เรียงชิดกัน มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมาก
ที่สุด อนุภาค สั่นอยู่กับที่ ทำให้มีรูปร่างและ
ปริมาตรคงท่ี อนุภาคของของเหลว อยูใ่ กลก้ นั มีแรง
ยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็ง
แตม่ ากกว่าแก๊ส อนภุ าคเคล่ือนทไ่ี ด้แตไ่ มเ่ ป็นอิสระ
เท่าแก๊ส ทำให้ มีรูปร่างไม่คงที่ แต่ปริมาตรคงท่ี
อนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก มีแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาคน้อยที่สดุ อนุภาคเคลื่อนที่ได้อยา่ ง
อสิ ระทุกทิศทาง ทำให้มีรปู รา่ งและปรมิ าตรไม่คงท่ี

20

2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาค ซึ่งอาจเป็นอะตอม โมเลกุล หรือไอออน โดยสสารชนิด

เดียวกันที่มีสถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส จะมีการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
การเคล่อื นท่ขี องอนภุ าคแตกต่างกนั ซึ่งมผี ลต่อรปู ร่างและปริมาตรของสสาร อนุภาคของของแข็งเรียงชิด
กันมีแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนุภาคมากที่สุด อนุภาคสั่นอยู่กับท่ี ทำให้มีรูปร่างและปริมาตรคงที่ อนุภาค
ของของเหลว อยใู่ กล้กนั มแี รงยดึ เหนีย่ วระหวา่ งอนภุ าคน้อยกวา่ ของแข็งแต่มากกวา่ แก๊ส อนุภาคเคลื่อนที่
ไดแ้ ตไ่ มเ่ ป็นอิสระเทา่ แกส๊ ทำใหม้ รี ูปรา่ งไม่คงที่ แตป่ ริมาตรคงที่ อนภุ าคของแกส๊ อยู่ห่างกันมาก มแี รงยึด
เหนี่ยวระหวา่ งอนุภาคน้อยที่สุด อนุภาคเคลื่อนทีไ่ ด้อย่างอิสระทุกทิศทาง ทำให้มีรูปร่างและปริมาตรไม่
คงที่

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
หลังจากจบกิจกรรมการจดั การเรยี นรู้นักเรยี นสามารถ
1. อธบิ ายและเปรียบเทียบการจัดเรยี งอนภุ าค แรงยดึ เหนยี่ วระหว่างอนภุ าค และการเคล่อื นที่
ของอนภุ าคของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแกส๊ โดยใชแ้ บบจำลองได้ (K)
2. สร้างแบบจำลองอนภุ าคของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊สได้ (P)
3. มีความรบั ผิดชอบในงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย แสดงความคดิ เหน็ ภายในกลุม่ และยอมรับฟัง
ความคิดเหน็ ของผูอ้ ่ืน (A)

4. สาระการเรยี นรู้
สสาร (Matter) หมายถึง สิง่ ทอี่ ยูร่ อบ ๆ ตวั ของเรา มีมวลและตอ้ งการท่ีอยู่ สามารถสัมผัสได้โดย

ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ซึ่งสสารมีได้ทั้ง 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส สสารทุกชนิดจะ
ประกอบดว้ ยอนภุ าค ซ่งึ อาจจะเปน็ อะตอม โมเลกลุ หรอื ไอออนกไ็ ด้ แตม่ นษุ ยไ์ มส่ ามารถมองเห็นได้ด้วย
ตาเปล่า จึงมีการสร้างแบบจำลองอนภุ าคของสสารขึ้นมา โดยสสารชนิดเดียวกนั ที่มีสถานะเป็นของแข็ง
ของเหลว และแก๊ส จะมีการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การเคลื่อนที่ของอนุภาค
แตกตา่ งกัน ซง่ึ จะสง่ ผลตอ่ รูปร่างและปรมิ าตรของสสาร

21

การจัดเรียงตัวของอนุภาคของสาร
สารโดยท่วั ไปในธรรมชาติ มี 3 สถานะ ดงั นี้
1. ของแข็ง อนุภาคจะอยู่ชิดกัน อนุภาคไมส่ ามารถเคลื่อนทีไ่ ด้ ทำให้แรงยดึ เหนีย่ วอนุภาคสูงกว่า
ในสถานะอน่ื ของสารชนิดเดยี วกัน มีรปู ร่างและปรมิ าตรท่ีคงที่แน่นอน ไมข่ ้นึ กับภาชนะที่บรรจุ ตัวอย่าง
ของสารท่ีมสี ถานะเป็นของแขง็ เชน่ เหลก็ อะลมู ิเนียม ทองแดง เงนิ เปน็ ต้น
2. ของเหลว อนภุ าคอยูห่ ่างกันเล็กนอ้ ย ทำให้อนภุ าคสามารถเคลื่อนทไ่ี ด้ รปู ร่างไมแ่ น่นอน เปล่ยี น
ตามภาชนะที่บรรจุ แต่ปริมาตรไม่ขึ้นกับภาชนะ ตัวอย่างของสารที่มีสถานะเป็นของเหลว เช่น น้ำ
แอลกอฮอล์ โบรมีน เป็นต้น
3. แก๊ส อนุภาคจะอยู่ห่างกัน แรงยึดเหนี่ยวมคี ่านอ้ ย ทำให้เคลื่อนที่ได้มาก มีปริมาตรและรูปร่าง
ตามภาชนะที่บรรจุ ตัวอย่างของสารที่มีสถานะเป็นแก๊ส เช่น แก๊สออกซิเจน แก๊สไฮโดรเจน แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สไนโตรเจน เปน็ ตน้

แบบจำลองอนภุ าคของสารในสถานะตา่ ง ๆ

22

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี ินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน

7. กิจกรรมการเรยี นรู้
วธิ กี ารสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)
7.1 ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement)
1. ให้นักเรียนสงั เกตภาพนำหน่วยเก่ยี วกบั การหลอมแกว้ พร้อมท้ังอ่านเน้ือหานำหน่วยในหนงั สือ

เรยี นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.1 เลม่ 2 หน้า 1 และรว่ มกนั อภปิ รายโดยอาจใชค้ ำถามดงั ต่อไปนี้
• จากเรือ่ งทีอ่ ่าน กล่าวถงึ วัสดชุ นดิ ใด (แกว้ )
• การทำผลติ ภัณฑจ์ ากแกว้ ใหม้ รี ูปทรงตา่ ง ๆ เกี่ยวข้องกับพลงั งานความร้อนหรอื ไม่ อยา่ งไร

(นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น การทำผลิตภัณฑ์จากแก้วเกี่ยวข้องกับพลังงานความรอ้ น
โดยให้ความร้อนกับแก้วในเตาหลอม ความร้อนจะทำให้แก้วหลอมเหลวจากนั้นจึงขึ้นรูป แล้วนำแก้วท่ี
ผา่ นการข้ึนรูปไปอบเพื่อปรบั ลดอุณหภูมลิ งอยา่ งชา้ ๆ จนกระทงั่ ถงึ อุณหภูมิปกต)ิ

2. ให้นักเรียนสังเกตภาพ 5.1 การระเหิดของไอโอดีนและอ่านเนื้อหานำเรื่องในหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.1 เล่ม 2 หน้า 4 แล้วตอบคำถามตอ่ ไปน้ี

• สสาร คอื อะไร (สสารเป็นส่งิ ต่าง ๆ ที่อยรู่ อบตวั เรา มมี วล ต้องการทีอ่ ยู่ และสมั ผัสได้)
• สถานะของสสารมีอะไรบา้ ง (ของแขง็ ของเหลว แก๊ส)
• รปู ร่างและปริมาตรเหมอื นกนั หรือไม่ (ไม่เหมอื นกัน)
3. ให้นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ม.1 เล่ม 2 หนา้ 5 เพอื่ ประเมนิ ความร้พู ้นื ฐานของนกั เรียนเก่ยี วกบั สสารและสถานะของสสาร

23

4. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายเพือ่ ให้ได้ขอ้ สรุปวา่ สสารเปน็ สิ่งต่าง ๆ ท่อี ยู่รอบตวั เรา มีมวล
และต้องการที่อยู่ พบไดท้ ง้ั ในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส สสารในสถานะทแ่ี ตกต่างกันมีสมบัติทั้ง
ทเ่ี หมือนกันและแตกต่างกัน

7.2 ข้ันสำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครูใช้คำถามกระตุ้นความสนใจว่า สสารแต่ละชนิดประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็ก ซึ่งไม่
สามารถมองเห็นไดด้ ้วยตาเปลา่ เคยจนิ ตนาการหรือไม่วา่ อนภุ าคเล็ก ๆ เหลา่ นี้ประกอบเข้าด้วยกนั จนเป็น
สสารในสถานะตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งไร และทราบหรอื ไม่ว่า การจดั เรียงอนุภาคสง่ ผลต่อรูปรา่ งและปรมิ าตรของ
สสารในแต่ละสถานะอยา่ งไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง)
2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม เพื่อทำกิจกรรมที่ 5.1 แบบจำลองอนุภาคของสสารในแต่ละ
สถานะเป็นอยา่ งไร
3. ให้นักเรียนอา่ นวธิ ีการดำเนินกิจกรรมในหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.1 เล่ม 2
หน้า 6
4. ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคนภายในกลมุ่ ช่วยกนั สบื คน้ ข้อมลู เกี่ยวกบั การจัดเรยี งอนภุ าค แรงยดึ เหนี่ยว
ระหวา่ งอนุภาค และการเคล่อื นทีข่ องอนุภาคของสสาร จากหนงั สือเรยี น หรอื อนิ เทอรเ์ นต็
5. ครูเดินสังเกตนักเรียนทุกกลุ่ม เพื่อให้คำแนะนำในการสร้างแบบจำลองอนุภาคแก่นักเรียน
อย่างใกลช้ ดิ แบบจำลองอาจเป็นรูปวาด หรอื ช้ินงานกไ็ ด้
7.3 ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation)
1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม โดยอาจติดผลการทำกิจกรรมรอบผนัง
ห้องเรียนหรือจัดแสดงท่ีโตะ๊ และนักเรียนทกุ คนเดินศกึ ษา (gallery walk)
2. จากนัน้ ให้นักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายผลการทำกิจกรรมและเปรียบเทียบผลการทำกิจกรรมของ
กลุม่ อน่ื กับของกล่มุ ตนเอง รวมทง้ั วิเคราะหจ์ ดุ เด่นและจดุ ดอ้ ยแบบจำลองของแตล่ ะกลมุ่
3. ให้นกั เรยี นตอบคำถามท้ายกจิ กรรม จากนนั้ นำเสนอ และอภปิ รายคำตอบรว่ มกันกบั ครูเพ่ือให้
ได้ข้อสรุปว่า อนุภาคของของแข็งจะสั่นอยู่กับที่และเรียงชิดกัน โดยมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
มากกว่าของเหลวและแก๊ส อนุภาคของของเหลวอยู่ใกล้กนั โดยมีแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนภุ าคน้อยกวา่
ของแข็งแต่มากกว่าแก๊ส อนุภาคของของเหลวจึงเคลื่อนที่ได้แต่ไม่เป็นอิสระ โดยจะเคลื่อนที่รอบ ๆ
อนุภาคใกล้เคียง อนภุ าคของแก๊สอยู่ห่างกนั มาก โดยมีแรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนภุ าคนอ้ ยมาก อนุภาคจึง
เคลื่อนทไ่ี ดอ้ ย่างอิสระทกุ ทศิ ทาง

24

7.4 ข้ันขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูจะให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมติเป็นอนุภาคของสสารในแตล่ ะสถานะ โดยให้
นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ช่วยกนั คดิ และวางแผนว่าจะแสดงบทบาทสมมติน้ันอยา่ งไร
2. ครูสุม่ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มแสดงบทบาทสมมตเิ ป็นอนภุ าคของสสาร โดยครูจะเป็นคนกำหนด
วา่ กลุ่มไหนไดส้ ถานะอะไร แลว้ กลมุ่ นัน้ ก็แสดงตามที่ครบู อกทนั ที
3. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับสถานะของสสารว่า สสารยังมีอีกสถานะหนึ่ง เรียกว่า พลาสมา
ซึ่งเกิดจากการที่โมเลกุลของแก๊สได้รับพลังงานสูงมาก จนทำให้อะตอมในโมเลกุลแตกตัวออกจากกัน
พลังงานที่สูงมากนี้ยังทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกมาจากอะตอม ส่งผลให้อะตอมแก๊สที่เหลือมีประจุบวก
เรียกอิเล็กตรอนและอะตอมที่มีประจุบวกนี้ว่า พลาสมา เราสามารถพบพลาสมาได้ในหลอดฟลูออเรส-
เซนตใ์ นขณะเกดิ ฟา้ ผ่า และในอวกาศ
7.5 ขั้นประเมนิ ผล (Evaluation)
1. ครูถามนักเรยี นด้วยชุดคำถาม ดงั นี้

• การจัดเรียงตัวของสสารในแต่ละสถานะเป็นอย่างไร (ของแข็งอนุภาคจะอยู่ชิดกัน
ของเหลวอนภุ าคจะอยหู่ ่างกันเล็กนอ้ ย แกส๊ อนุภาคจะอยหู่ ่างกันมาก)

• แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนภุ าคของสสารในแต่ละสถานะเป็นอย่างไร (ของแข็งจะมีแรง
ยึดเหนยี่ วระหวา่ งอนภุ าคมากกวา่ ของเหลวและแก๊ส ของเหลวจะมีแรงยึดเหนีย่ วระหว่างอนภุ าคน้อยกว่า
ของแขง็ แต่มากกว่าแกส๊ แกส๊ จะมีแรงยดึ เหน่ียวระหว่างอนภุ าคนอ้ ยมาก)

• การเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะเป็นอย่างไร (อนุภาคของแข็งจะส่ัน
อยูก่ ับที่ อนุภาคของของเหลวเคลือ่ นท่ไี ดแ้ ต่ไมเ่ ป็นอิสระ โดยจะเคล่ือนทีร่ อบ ๆ อนภุ าคใกลเ้ คียง อนภุ าค
ของแกส๊ เคลอ่ื นท่ีไดอ้ ยา่ งอิสระทุกทศิ ทาง)

• รปู รา่ งและปริมาตรของสสารในแต่ละสถานะเปน็ อย่างไร (ของแขง็ รูปรา่ งและปริมาตร
คงที่ ของเหลวรปู ร่างไมค่ งท่แี ต่ปริมาตรคงท่ี แก๊สรูปรา่ งและปริมาตรไม่คงท่ี)

2. ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน ดังนี้ สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงานร่วมกัน
สงั เกตการตอบคำถามของนักเรียนในช้ันเรยี น สงั เกตการตอบคำถามจากกจิ กรรม

3. ครูตรวจกจิ กรรมที่ 5.1 แบบจำลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะเปน็ อย่างไร

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสอื เรยี นรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เลม่ 2 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 (สสวท.)
2. ใบกิจกรรมท่ี 5.1 แบบจำลองอนภุ าคของสสารในแต่ละสถานะเป็นอย่างไร

25

3. กระดาษ
4. สีไม้
5. กรรไกร
6. วสั ดุและอปุ กรณอ์ ่ืน ๆ เช่น ดนิ น้ำมัน โฟม ลูกปงิ ปอง
7. Google meet

9. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวัด เครอ่ื งมอื ท่ใี ชว้ ดั เกณฑ์การประเมนิ
ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ
ดา้ นความรู้ (K) - การตอบคำถามใน - คำถาม 70 ขึ้นไป
- ใบกิจกรรมที่ 5.1
1. อธิบายและเปรียบเทียบการ ช้ันเรยี น ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ
70 ข้นึ ไป
จัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยว - ตรวจใบกิจกรรมที่

ร ะ หว ่าง อนุภาค และ ก าร 5.1

เคลื่อนที่ของอนุภาคของสสาร

ในสถานะของแข็ง ของเหลว

และแกส๊ โดยใชแ้ บบจำลองได้

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกต
พฤติกรรม
1. สรา้ งแบบจำลองอนภุ าคของ - ตรวจใบกิจกรรมที่
- ใบกจิ กรรมที่ 5.1
สสารในสถานะของแข็ง 5.1

ของเหลว และแกส๊ ได้

ด้านคณุ ลักษณะ (A) - การตอบคำถามใน - คำถาม ผา่ นเกณฑร์ ะดบั ดี

1.มคี วามรับผดิ ชอบในงานที่ ชนั้ เรียน - แบบสังเกต ขนึ้ ไป

ไดร้ บั มอบหมาย แสดงความ - สงั เกตพฤตกิ รรม พฤติกรรมการทำงาน

คิดเหน็ ภายในกลมุ่ และยอมรบั กลุม่

ฟังความคดิ เหน็ ของผู้อ่ืน

26

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่

คำชีแ้ จง: ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของผูเ้ รียนในระหวา่ งการทำกจิ กรรม แล้วขดี  ลงในทช่ี ่องให้

คะแนน

กล่มุ ที่ ............................................................

ช่ือ - สกุล มีสว่ นร่วมใน ยอมฟงั ความ รับผิดชอบใน ใหค้ วาม มีขัน้ ตอนใน คะแนน
การแสดง คดิ เห็นของ งานท่ีไดร้ บั รว่ มมอื ในการ การทำงาน รวม
ความคิดเห็น มอบหมาย อย่างเปน็ 15
ผู้อ่นื ทำงาน คะแนน
ระบบ

321321321321321

ลงช่ือ.....................................................................ผู้ประเมิน
วนั ท่ี.................เดอื น.................................. พ.ศ. ....................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 3 คะแนน
พฤตกิ รรมทที่ ำเปน็ ประจำ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมทีท่ ำเป็นบางครง้ั
พฤติกรรมทท่ี ำน้อยครัง้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

12-15 ดีมาก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ต่ำกวา่ 8 ปรับปรุง

27

28

29

กจิ กรรมท่ี 5.1 แบบจำลองอนุภาคของสสารในแตล่ ะสถานะเปน็ อย่างไร

จุดประสงค์ของกิจกรรม
1. รวบรวมข้อมูลและสร้างแบบจำลองเพื่ออธิบายการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง

อนุภาคและการเคลือ่ นที่ของอนุภาคของสสารในสถานะของแขง็ ของเหลว และแก๊ส
2. วเิ คราะหแ์ ละเปรียบเทียบการจัดเรยี งอนภุ าค แรงยึดเหยย่ี วระหว่างอนภุ าค และการเคลื่อนที่

ของอนภุ าคของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแกส๊

วัสดแุ ละอปุ กรณ์ 2. ดินสอสี
1. กระดาษ 4. วัสดแุ ละอุปกรณอ์ น่ื ๆ เชน่ ดนิ นา้ มัน โฟม ลูกปงิ ปอง
3. กรรไกร

วธิ ีการดำเนนิ กิจกรรม
1. คาดคะเนและบันทกึ การจดั เรียงอนุภาค แรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งอนุภาค และการเคลื่อนที่ของ

อนุภาคของสสารในสถานะของแขง็ ของเหลว และแก๊ส และสร้างแบบจำลองอนภุ าคตามทค่ี าดคะเน
2. รวบรวมข้อมลู แบบจำลองอนุภาคของสสารแตล่ ะสถานะเกีย่ วกับการจัดเรียงอนภุ าค แรงยึด

เหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
จากสือ่ บนอนิ เตอรเ์ นต็ หรอื แหล่งเรียนร้อู น่ื ๆ

3. วิเคราะหข์ ้อมูลแบบจำลองอนุภาคที่รวบรวมได้ในขอ้ 2 และปรับแกแ้ บบจำลองอนุภาคทสี่ รา้ ง
ไวจ้ ากการคาดคะเนในข้อ 1 ให้ถูกตอ้ ง

4. นำเสนอแบบจำลองอนุภาคทปี่ รับแกแ้ ล้ว โดยอธบิ ายและเปรียบเทยี บแบบจำลองอนภุ าคของ
สสารในแต่ละสถานะ

30

ตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง แรงยดื เหนยี่ วระหวา่ ง การเคลื่อนท่ีของ
สถานะของสาร การจัดเรยี งอนุภาค อนภุ าค อนุภาคของสาร

ของแขง็

ของเหลว

แกส๊

อภปิ ราย/สรุปผลการทดลอง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

31

คำถามท้ายกิจกรรม
1. การจดั เรยี งอนุภาค แรงยดึ เหนี่ยวระหว่างอนภุ าค และการเคลื่อนท่ีของอนภุ าคของสสารในสถานะ
ของแข็ง ของเหลว และแกส๊ เป็นอยา่ งไร เหมอื นหรอื ต่างกันอย่างไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
2. แบบจำลองอนภุ าคที่สร้างขนึ้ ครง้ั แรกเหมือนหรือแตกต่างจากแบบจำลองท่ีปรับแกแ้ ล้วอยา่ งไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
3. แบบจำลองอนภุ าคท่ีสรา้ งข้นึ มอี ะไรบา้ งท่ีไม่สามารถแสดงใหเ้ หน็ ตามความเปน็ จรงิ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

สมาชกิ ในกลุ่ม
ม.1/.......

ชือ่ -สกลุ ........................................................................................................ เลขท่ี ...........
ชอ่ื -สกลุ ........................................................................................................ เลขที่ ...........
ชอ่ื -สกลุ ........................................................................................................ เลขท่ี ...........
ชือ่ -สกุล ........................................................................................................ เลขท่ี ...........
ชื่อ-สกลุ ........................................................................................................ เลขที่ ...........
ช่อื -สกุล ........................................................................................................ เลขท่ี ...........

32

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ราชภัฏอุดรธานี

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว21102 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เร่อื ง พลงั งานความรอ้ น เวลา 27 ชัว่ โมง

หน่วยการเรียนรู้ยอ่ ยท่ี 5.1 เรอ่ื ง ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอณุ หภมู ิของสสาร(1) เวลา 3 ชว่ั โมง

ครูผู้สอน นางสาวธพิ าพร บตุ รอนิ ทร์ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

1. มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ช้ีวัด
ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์

ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ติ ประจำวนั ธรรมชาตขิ องคลนื่ ปรากฏการณ์ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับเสียง
แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ รวมท้งั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ม.1 1. วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูลและ • เมื่อสสารได้รับหรือสูญเสียความร้อนอาจทำให้

คำนวณปริมาณความร้อนที่ทำให้สสาร สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ เปลี่ยนสถานะ หรือเปลี่ยน

เปล่ียนอุณหภูมิและเปล่ยี นสถานะ รปู ร่าง

โดยใช้สมการ Q = mcΔt และ Q = mL • ปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ
2. ใช้เทอร์มอมิเตอร์ในการวัดอุณหภูมิ ขึ้นกับมวลความร้อนจำเพาะ และอุณหภูมิที่

ของสสาร เปลยี่ นไป

• ปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนสถานะ

ขึ้นกับมวลและความร้อนแฝงจำเพาะ โดยขณะท่ี

สสารเปลีย่ นสถานะ อุณหภูมจิ ะไม่เปล่ียนแปลง

2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
เม่อื ให้ความรอ้ นแก่นำ้ นำ้ จะมรี ะดับพลังงานความรอ้ นหรืออุณหภูมิเพม่ิ ขึน้ อุณหภูมิของน้ำที่เพิ่มขึ้นจะ
ข้นึ อยู่กบั มวลของนำ้ และปริมาณความร้อนทไี่ ด้รับ และถา้ ให้ความร้อนแก่นำ้ และสสารชนิดอื่นในปริมาณ
ทเี่ ทา่ กัน แมว้ า่ จะมีมวลเท่ากนั อณุ หภมู ทิ ่ีเปลี่ยนไปจะไม่เท่ากนั ดงั นนั้ ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิของสสารขึ้นอยู่กับ มวล ปริมาณความร้อน และชนิดของสสาร ความร้อนทำให้สสารเปลี่ยน

33

อุณหภูมิ เมื่อสสารได้รับความรอ้ นอาจทำให้สสารมีอุณหภูมิเพ่ิมขึ้น ในทางตรงกันข้ามเมื่อสสารสูญเสยี
ความร้อนอาจทำใหส้ สารมอี ุณหภูมลิ ดลง

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
หลงั จากจบกิจกรรมการจดั การเรยี นรู้นักเรียนสามารถ
4. อธบิ ายปจั จัยท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารได้ (K)
5. ใชเ้ ทอร์มอมิเตอรใ์ นการวดั อุณหภมู ิของสสารได้ (P)
6. มคี วามรับผดิ ชอบในงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย แสดงความคิดเห็นภายในกลมุ่ และยอมรับฟัง
ความคิดเห็นของผู้อื่น (A)

4. สาระการเรยี นรู้
พลังงานความร้อน เป็นพลังงานที่สามารถเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยงั อีกที่หนึ่ง ซึ่งเกิดจากการส่นั

หรือการเคลอ่ื นไหวของอนภุ าคภายในของสสาร
อุณหภูมิ คือ ระดับความรอ้ นของสาร ซึ่งบอกใหร้ ู้ว่าสสารนัน้ รอ้ นหรือเยน็ วัดได้โดยใชเ้ ทอรม์ อ

มิเตอร์สงั เกตจากการขยายตัวของของเหลวเม่อื ได้รับความรอ้ น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอณุ หภูมิของสสาร ขึ้นอยู่กับ มวล ปริมาณความร้อน และชนิด

ของสสาร
- มวล สารชนดิ เดยี วกันท่ีมมี วลตา่ งกัน ถ้าไดค้ วามร้อนในปรมิ าณและเวลาท่ีเท่ากัน สารท่ีมีมวล

น้อยกว่าจะมอี ุณหภมู ิสงู ข้นึ มากกวา่ สารทม่ี ีมวลมากกวา่
- ปริมาณความรอ้ น สารชนิดเดียวกันท่ีมมี วลเทา่ กัน ได้รบั ความรอ้ นในปรมิ าณท่ีตา่ งกัน ในเวลา

ทเี่ ท่ากนั สารทีไ่ ดร้ ับความรอ้ นในปรมิ าณทีม่ ากกวา่ จะมีอณุ หภูมสิ ูงข้นึ กวา่ สารที่ไดร้ ับความรอ้ นในปริมาณ
ท่นี อ้ ยกว่า

- ชนิดของสาร สารต่างชนิดกัน มีมวลเท่ากัน ได้รับความร้อนในปริมาณที่เท่ากัน และเวลาท่ี
เทา่ กัน สารแต่ละชนิดจะมีอุณหภมู ิแตกต่างกัน ข้นึ อยู่กับคา่ ความร้อนจำเพาะของสารน้นั

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

34

6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. มวี ินยั
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน

7. กจิ กรรมการเรียนรู้
วิธกี ารสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)
7.1 ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. ใหน้ กั เรียนสังเกตภาพ 5.9 การใชเ้ ทอรม์ อคัปเปิลวัดอุณหภูมิของอาหาร พรอ้ มทั้งอ่านเน้ือหา

นำเรอ่ื งในหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.1 เล่ม 2 หน้า 11 แล้วตอบคำถามตอ่ ไปน้ี
• พลังงานความรอ้ นเกิดไดอ้ ยา่ งไร (เกดิ การส่ันและการเคลื่อนทข่ี องอนภุ าค)
• เราจะวัดพลงั งานความร้อนไดอ้ ย่างไร (วดั พลงั งานความร้อนไม่ไดโ้ ดยตรง แตส่ ามารถวัด

ระดับพลงั งานความร้อนได้ โดยการวัดอุณหภมู )ิ
• นักเรยี นเคยเหน็ หรอื เคยใชเ้ ทอร์มอมิเตอร์แบบไหนมาบ้าง (นกั เรียนตอบตาม

ความคิดของตนเอง)
2. ให้นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ม.1 เล่ม 2 หน้า 12 เพ่ือประเมินความรูพ้ นื้ ฐานของนักเรยี นเก่ยี วกบั การใช้เทอร์มอมิเตอร์
3. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภปิ ราย เพอ่ื ให้ได้ขอ้ สรปุ ว่า การส่นั และการเคลื่อนท่ขี องอนภุ าคทำให้

เกดิ พลงั งานความร้อนในสสาร ซง่ึ เราไม่สามารถวัดได้โดยตรง แต่เราสามารถวัดระดับพลังงานความร้อน
ของสสารได้ดว้ ยการวัดอณุ หภูมิโดยใช้เทอร์มอมเิ ตอร์

7.2 ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration)
1. ครูนำเข้าสู่กิจกรรมที่ 5.2 ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร โดยให้
นักเรียนอา่ นเนอ้ื เรอื่ งหนงั สือเรยี นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.1 เลม่ 2 หนา้ 13 และใช้คำถามกระตุ้น
ความสนใจ ดงั น้ี

• ในแต่ละช่วงเวลาของวัน เรารู้สึกถึงอุณหภูมิของสสารที่แตกต่างหรือไม่ อย่างไร
(นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง)

• ถา้ เรารู้สึกถงึ ความแตกตา่ งกนั นักเรียนคิดว่าเป็นเพราะเหตุใด มปี จั จัยใดบ้างทท่ี ำให้เกิด
ความแตกตา่ งดงั กลา่ ว (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง)

35

2. ครใู หน้ กั เรยี นแบง่ กลุ่ม 5 กลุ่ม เพ่ือทำกิจกรรมที่ 5.2 ปัจจยั ใดบ้างท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิของสสาร

3. ครูใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบค่อย ๆ ปล่อยความรับผิดชอบ (Gradual Release of
Responsibility: GRR) โดย

ตอนที่ 1 ครเู ปน็ ผสู้ าธติ การทำการทดลองหนา้ ช้ันเรยี น
ตอนที่ 2 นักเรียนทำการทดลองเป็นกลุ่มย่อยตามวิธีการทดลองในหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตร์
ตอนที่ 3 นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบและทำการทดลองด้วยตัวเองเพื่อตอบคำถามที่ครู
กำหนดให้

4. ใหน้ ักเรียนแต่ละคนภายในกล่มุ ชว่ ยกันสังเกตการสาธิตตอนท่ี 1 จากครู และช่วยกันศึกษาวิธี
ทำตอนที่ 2 และออกแบบการทำการทดลองตอนท่ี 3

5. ครูเดนิ สังเกตนักเรยี นทุกกลุ่ม เพ่อื แนะนำการทำกจิ กรรมแกน่ ักเรยี นอย่างใกล้ชิด โดยเน้นให้
นักเรยี นทุกคนได้มีส่วนรว่ มในการทำกจิ กรรม

7.3 ขัน้ อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
1. ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกันอภิปรายและตอบคำถามท้ายกิจกรรมทั้ง 3 ตอน
2. ครสู มุ่ นักเรียน 1 กล่มุ ให้นำเสนอผลการทำกิจกรรมและคำถามท้ายกจิ กรรม ตอนท่ี 1
3. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย เพื่อให้ได้ข้อสรุป ปริมาณความร้อนที่น้ำได้รับส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ำ โดยน้ำในบีกเกอร์ที่ได้รับความร้อนจากเทียนไข 2 เล่ม มีอุณหภูมิสูงขึ้น
มากกว่า น้ำในบีกเกอรท์ ่ีไดร้ ับความร้อนจากเทียนไข 1 เลม่
4. ครูสุม่ นักเรียน 2 กลุ่ม ใหน้ ำเสนอผลการทำกจิ กรรมและคำถามทา้ ยกิจกรรม ตอนท่ี 2
5. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า มวลของน้ำมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิของน้ำ โดยน้ำมวล 75 กรัม มีอุณหภูมิสูงขึ้นมากกว่าน้ำมวล 150 กรัม เมื่อได้รับความร้อน
ปรมิ าณเท่ากนั
6. ครสู มุ่ นกั เรียน 2 กลมุ่ ให้นำเสนอผลการทำกิจกรรมและคำถามท้ายกจิ กรรม ตอนที่ 3
7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า ชนิดของสสารมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิ โดยเมอื่ เวลาผา่ นไปกลีเซอรอลหรอื น้ำมนั พชื มอี ุณหภมู ิเพิ่มขึ้นมากกว่าน้ำ

36

7.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
1. ให้นกั เรียนอา่ นเนื้อหาในหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.1 เลม่ 2 หนา้ 18 เพื่อให้
นักเรยี นเรยี นรเู้ พ่มิ เตมิ เกีย่ วกบั ปัจจัยท่มี ผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงอณุ หภมู ิของสสาร
2. ครูอธิบายเพมิ่ เตมิ เร่ือง ความร้อนจำเพาะของสาร (specific heat) คอื ในการทำให้สารต่าง
ชนิดกันท่ีมีมวล 1 หน่วยเท่ากนั มีอุณหภูมเิ พ่ิมขึน้ 1 หน่วยเท่ากัน จะใช้ปริมาณความร้อนที่แตกตา่ งกัน
ปริมาณความรอ้ นนเ้ี ป็นความร้อนจำเพาะของสาร ซงึ่ เปน็ คา่ เฉพาะตัวของสาร

7.5 ขัน้ ประเมินผล (Evaluation)
1. ครถู ามนกั เรียนด้วยชดุ คำถาม ดงั น้ี

• สารชนิดเดียวกัน มีมวลเท่ากัน ถ้าให้ความร้อนต่างกัน สารจะเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
อย่างไร (สารทไ่ี ดร้ บั ความรอ้ นมากกว่า จะมอี ุณหภูมเิ พิ่มขึ้นมากกวา่ สารทไี่ ดร้ บั ความรอ้ นน้อยกวา่ )

• สารชนิดเดียวกัน มีมวลต่างกัน ถ้าให้ความร้อนเท่ากัน สารจะเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
อย่างไร (สารทีม่ มี วลน้อยกว่า จะมอี ณุ หภมู เิ พม่ิ ขึ้นมากกวา่ สารท่มี ีมวลมากกว่า)

• สารต่างชนิดกัน มีมวลเท่ากัน ถ้าให้ความร้อนเท่ากัน สารจะเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
อยา่ งไร (สารจะมีอณุ หภูมิแตกต่างกนั ขึน้ อยูก่ บั คา่ ความรอ้ นจำเพาะของสาร)

2. ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน ดังนี้ สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงานร่วมกัน
สังเกตการตอบคำถามของนักเรยี นในชน้ั เรียน สงั เกตการตอบคำถามจากกิจกรรม

3. ครตู รวจกจิ กรรมท่ี 5.2 ปจั จยั ใดบ้างที่มผี ลต่อการเปล่ยี นแปลงอุณหภูมิของสสาร

8. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
1. หนงั สอื เรยี นรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เลม่ 2 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 (สสวท.)
2. ใบกิจกรรมท่ี 5.2 ปัจจยั ใดบ้างที่มผี ลตอ่ การเปล่ียนแปลงอณุ หภูมิของสสาร
3. นำ้
4. บกี เกอร์ ขนาด 100 cm3
5. บีกเกอร์ ขนาด 250 cm3
6. เทอร์มอมเิ ตอร์
7. แทง่ แกว้ คน
8. กระบอกตวง
9. ขาต้งั พร้อมท่จี บั

37

10. ชดุ ตะเกยี งแอลกอฮอล์
11. เทยี นไข
12. เครือ่ งชงั่
13. สารอ่ืน ๆ เชน่ น้ามันพืช กลีเซอรอล
14. กระดาษกราฟ
15. นาฬิกาจบั เวลา

9. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธกี ารวดั เครอ่ื งมือทใี่ ชว้ ดั เกณฑ์การประเมนิ

ด้านความรู้ (K) - การตอบคำถามใน - คำถาม ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ
1. อธิบายปจั จยั ท่มี ผี ลต่อการ ชน้ั เรยี น - ใบกิจกรรมที่ 5.2 70 ขึ้นไป
เปลีย่ นแปลงอณุ หภมู ขิ องสสาร - ตรวจใบกิจกรรมที่
ได้ 5.2

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกต ผ่านเกณฑร์ ้อยละ
1. ใช้เทอร์มอมิเตอรใ์ นการวดั - ตรวจใบกิจกรรมท่ี พฤตกิ รรม 70 ข้นึ ไป
อุณหภูมิของสสารได้ 5.2 - ใบกิจกรรมที่ 5.2

ดา้ นคุณลกั ษณะ (A) - การตอบคำถามใน - คำถาม ผา่ นเกณฑร์ ะดบั ดี

1.มีความรบั ผดิ ชอบในงานที่ ชน้ั เรียน - แบบสงั เกต ข้ึนไป

ได้รับมอบหมาย แสดงความ - สังเกตพฤตกิ รรม พฤตกิ รรมการทำงาน

คิดเหน็ ภายในกลมุ่ และยอมรบั กลุม่

ฟงั ความคดิ เห็นของผูอ้ ่นื

38

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่

คำช้ีแจง: ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของผเู้ รยี นในระหว่างการทำกจิ กรรม แล้วขดี  ลงในทช่ี ่องให้

คะแนน

กลมุ่ ท่ี ............................................................

ชอ่ื - สกลุ มสี ่วนร่วมใน ยอมฟังความ รับผิดชอบใน ใหค้ วาม มีขัน้ ตอนใน คะแนน
รวม
การแสดง คดิ เห็นของ งานท่ีไดร้ บั รว่ มมอื ในการ การทำงาน 15
คะแนน
ความคิดเหน็ ผอู้ นื่ มอบหมาย ทำงาน อย่างเปน็

ระบบ

321321321321321

ลงช่ือ.....................................................................ผู้ประเมิน
วนั ที่.................เดอื น.................................. พ.ศ. ....................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ทำเป็นประจำ
พฤติกรรมทที่ ำเป็นบางคร้งั 2 คะแนน

พฤตกิ รรมที่ทำน้อยครง้ั 1 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

12-15 ดีมาก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรุง

39

40

41

กิจกรรมที่ 5.2 ปัจจัยใดบ้างทม่ี ีผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงอณุ หภูมิของสสาร

จุดประสงค์ของกิจกรรม

ทดลองและระบปุ จั จัยทมี่ ผี ลต่อการเปล่ียนแปลงอณุ หภมู ขิ องนำ้ และสารอืน่

วสั ดุและอุปกรณ์

1. น้ำ 2. บีกเกอร์ ขนาด 100 cm3

3. บีกเกอร์ ขนาด 250 cm3 4. เทอร์มอมิเตอร์

5. แทง่ แกว้ คน 6. กระบอกตวง

7. ขาต้งั พร้อมที่จบั 8. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์

9. เทียนไข 10. เคร่อื งชั่ง

11. สารอน่ื ๆ เชน่ นำ้ มันพชื กลเี ซอรอล 12. กระดาษกราฟ

13. นาฬกิ าจบั เวลา

วธิ กี ารดำเนนิ กจิ กรรม ตอนท่ี 1

3. ระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม บนั ทกึ ผล

42

4. วัดอณุ หภูมิเรม่ิ ตน้ ของนำ้ ในบกี เกอร์แตล่ ะใบ บนั ทึกผล จากนนั้ ทำการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน

โดยให้ความร้อนแก่น้ำในบีกเกอร์ทั้งสองพร้อมกัน โดยขณะให้ความร้อนแก่น้ำ ให้แท่งแก้วคนน้ำให้ท่ัว

บกี เกอรต์ ลอดเวลา บนั ทกึ อณุ หภมู ขิ องนำ้ ในบกี เกอร์ทั้งสอง ทกุ ๆ 30 วนิ าทเี ปน็ เวลา 3 นาที

5. นำข้อมลู ที่ได้ไปเขยี นกราฟแสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งอุณหภมู ิกบั เวลา

ตารางบันทึกผลการทดลอง

เวลา (วนิ าที) อณุ หภมู ใิ บที่ 1 (๐C) อณุ หภูมใิ บท่ี 2 (๐C)

30

60

90

120

150

180

กราฟแสดง……………………………………………………………………………………………………

43

อภปิ ราย/สรปุ ผลการทดลอง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

คำถามทา้ ยกจิ กรรม
1. การทดลองน้ตี ้องการศึกษาปจั จัยใดที่มผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงอณุ หภมู ขิ องน้ำ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
2. การเปลย่ี นแปลงอุณหภูมขิ องน้ำในบีกเกอร์ทั้งสองแตกต่างกันหรือไม่ เพราะเหตใุ ด
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
3. สมมติฐานทน่ี กั เรียนต้งั ไวเ้ หมอื นหรือแตกตา่ งจากผลการทดลองหรือไม่ อยา่ งไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

44

วิธกี ารดำเนนิ กิจกรรม ตอนท่ี 2

ตารางบันทึกผลการทดลอง

เวลา (วนิ าที) อณุ หภมู ใิ บท่มี ีนำ้ 75 (๐C) อณุ หภมู ใิ บทม่ี ีน้ำ 150 (๐C)

1

2

3

4

5

45

กราฟแสดง……………………………………………………………………………………………………
อภิปราย/สรปุ ผลการทดลอง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
คำถามท้ายกิจกรรม
1. การทดลองนตี้ อ้ งการศกึ ษาปัจจัยใดที่มีผลต่อการเปล่ยี นแปลงอณุ หภมู ิของน้ำ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

46

2. เมอ่ื ให้ความร้อนแก่นำ้ ในบีกเกอรท์ ้งั สอง ในเวลาเท่ากนั การเปลยี่ นแปลงอุณหภมู ขิ องน้ำแตกต่างกัน
หรอื ไม่ อยา่ งไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
3. สมมติฐานท่ีนกั เรียนตัง้ ไวเ้ หมือนหรือแตกต่างจากผลการทดลองหรือไม่ อย่างไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

วิธีการดำเนนิ กจิ กรรม ตอนที่ 3
1. ร่วมกนั อภปิ รายเกย่ี วกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภมู ขิ องสารตา่ งชนิดกันเมือ่ ได้รบั ความร้อน
2. ระบปุ ญั หาและสมมติฐานเกีย่ วกับการเปล่ยี นแปลงอณุ หภูมิของสารต่างชนิดกันเมอื่ ได้รบั ความร้อน
3. ออกแบบการทดลองเพอื่ ตรวจสอบสมมตฐิ าน บนั ทกึ ผล
4. ระบตุ วั แปรต้น ตัวแปรตาม และตวั แปรควบคุม บันทึกผล
5. ทาการทดลองเพ่ือตรวจสอบสมมติฐาน บนั ทึกผล
6. นำเสนอผลการทดลอง

ตารางบันทึกผลการทดลอง อณุ หภูมใิ บที่ 1 (๐C) อณุ หภมู ใิ บที่ 2 (๐C)
เวลา (วินาที)
30
60
90
120
150
180


Click to View FlipBook Version