The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tipapornning2541, 2022-03-07 10:44:07

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 2

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 2

Keywords: แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 2,นางสาวธิพาพร บุตรอินทร์

47

กราฟแสดง……………………………………………………………………………………………………
อภิปราย/สรปุ ผลการทดลอง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
คำถามท้ายกิจกรรม
1. การทดลองน้ตี อ้ งการศึกษาปัจจัยใดท่มี ีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอณุ หภมู ิของน้ำ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

48

2. เม่อื ควบคุมตัวแปรในการทดลองน้ี สารต่างชนิดกันมกี ารเปลยี่ นแปลงอุณหภูมเิ หมอื นหรอื แตกต่างกนั
หรอื ไม่
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
3. สมมติฐานท่ีนักเรยี นต้งั ไวเ้ หมือนหรอื แตกตา่ งจากผลการทดลองหรอื ไม่ อยา่ งไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

สมาชกิ ในกลมุ่
ม.1/.......

ชอ่ื -สกลุ ........................................................................................................ เลขท่ี ...........
ชอ่ื -สกลุ ........................................................................................................ เลขที่ ...........
ชอ่ื -สกุล ........................................................................................................ เลขท่ี ...........
ชอ่ื -สกุล ........................................................................................................ เลขที่ ...........
ชือ่ -สกุล ........................................................................................................ เลขท่ี ...........
ชื่อ-สกลุ ........................................................................................................ เลขที่ ...........

49

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี

รายวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหสั วิชา ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอ่ื ง พลงั งานความร้อน เวลา 27 ชวั่ โมง

หน่วยการเรียนรูย้ ่อยที่ 5.1 เรอ่ื ง ความรอ้ นกบั การเปลี่ยนแปลงอณุ หภูมขิ องสสาร(2) เวลา 3 ชัว่ โมง

ครูผ้สู อน นางสาวธพิ าพร บุตรอนิ ทร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

1. มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวช้ีวัด
ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์

ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลงั งานในชวี ติ ประจำวนั ธรรมชาตขิ องคลน่ื ปรากฏการณท์ ี่เก่ียวข้องกับเสียง
แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ รวมทงั้ นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ม.1 1. วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูลและ • เมื่อสสารได้รับหรือสูญเสียความร้อนอาจทำให้

คำนวณปริมาณความร้อนที่ทำให้สสาร สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ เปลี่ยนสถานะ หรือเปลี่ยน

เปล่ียนอณุ หภมู แิ ละเปลีย่ นสถานะ รปู รา่ ง

โดยใชส้ มการ Q = mcΔt และ Q = mL • ปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ
2. ใช้เทอร์มอมิเตอร์ในการวัดอุณหภูมิ ขึ้นกับมวลความร้อนจำเพาะ และอุณหภูมิท่ี

ของสสาร เปล่ยี นไป

• ปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนสถานะ

ขึ้นกับมวลและความร้อนแฝงจำเพาะ โดยขณะที่

สสารเปล่ียนสถานะ อุณหภมู ิจะไม่เปลยี่ นแปลง

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
เมื่อให้ความร้อนแก่น้ำ น้ำจะมีระดับพลังงานความร้อนหรืออุณหภูมิเพิ่มขึ้น อุณหภูมิของน้ำท่ี

เพ่มิ ขึน้ จะขึน้ อย่กู บั มวลของน้ำและปริมาณความรอ้ นที่ไดร้ ับ และถา้ ให้ความร้อนแกน่ ้ำและสสารชนิดอ่ืน
ในปริมาณที่เท่ากัน แม้ว่าจะมีมวลเท่ากัน อุณหภูมิที่เปลี่ยนไปจะไม่เท่ากัน ดังนั้นปัจจัยที่มีผลต่อการ

50

เปล่ียนแปลงอุณหภมู ิของสสารขึ้นอยูก่ ับ มวล ปรมิ าณความรอ้ น และชนดิ ของสสาร ความรอ้ นทำให้สสาร
เปลี่ยนอุณหภูมิ เมื่อสสารได้รับความร้อนอาจทำให้สสารมีอุณหภูมิเพิม่ ขึ้น ในทางตรงกันข้ามเมื่อสสาร
สญู เสียความรอ้ นอาจทำใหส้ สารมีอุณหภูมิลดลง

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
หลังจากจบกิจกรรมการจัดการเรยี นรนู้ ักเรยี นสามารถ
7. อธิบายการเปล่ยี นอุณหภูมิของสสารเนือ่ งจากได้รบั หรอื สญู เสยี ความร้อนได้ (K)
8. คำนวณปริมาณความรอ้ นทท่ี ำให้สสารเปลีย่ นอุณหภมู ิได้ (P)
9. มคี วามรบั ผิดชอบในงานที่ไดร้ ับมอบหมาย แสดงความคดิ เหน็ ภายในกลุม่ และยอมรับฟัง
ความคิดเหน็ ของผอู้ ืน่ (A)

4. สาระการเรยี นรู้
ความร้อนจำเพาะ (Specific Heat) หมายถึง ปริมาณความร้อนที่ทำให้สารมวล 1 หน่วย

มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส ซึ่งความความจำเพาะเป็นค่าเฉพาะตัวของสาร เช่น น่ำ มีค่าความ
รอ้ นจำเพาะ 1 แคลอรี/กรัม องศาเซลเซียส

การหาปริมาณความร้อนทท่ี ำให้สสารเปล่ียนแปลงอณุ หภูมิ สามารถคำนวณได้จาก ความสัมพันธ์
ระหว่างปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนแปลงอณุ หภูมิ กับ มวล ความร้อนจำเพาะ และอุณหภมู ทิ ่ี
เปล่ยี นไป ดงั สมการตอ่ ไปน้ี

Q = mcΔt
เมอ่ื Q คือ ปรมิ าณความร้อนทีส่ สารไดร้ บั หรอื สูญเสีย มีหนว่ ยเปน็ แคลอรี (cal)

m คอื มวลของสาร มีหน่วยเปน็ กรมั (g)
c คอื ความรอ้ นจำเพาะของสาร มหี นว่ ยเป็น แคอลรี/กรมั องศาเซลเซยี ส (cal/g °C)

Δt คือ อุณหภูมิของสสารที่เปลี่ยนแปลงไป หรือ ผลต่างระหว่าง อุณหภูมิสูงสุด –
อุณหภมู ติ ำ่ สดุ ในชว่ งทใี่ หพ้ ลังงานความร้อน มหี นว่ ยเปน็ °C

51

5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี ินัย
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มุ่งม่นั ในการทำงาน

7. กิจกรรมการเรยี นรู้
วิธีการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)
7.2 ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. ครูถามนักเรียนเพื่อทบทวนความรูเ้ ดิมเกี่ยวกบั ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของ

สาร ดังนี้
• ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสารมีอะไรบ้าง (มวลของสาร ปริมาณ

ความร้อน ชนิดของสาร)
• เม่อื สารทมี่ ีมวลเท่ากนั ได้รบั ความรอ้ นในปรมิ าณเท่ากัน สารเหลา่ นจี้ ะมีอณุ หภูมิเพ่ิมขึ้น

เท่ากันหรือไม่ อย่างไร (เมื่อสารเหล่านี้มีมวลเท่ากัน ได้รับความร้อนในปริมาณเท่ากัน สารเหล่านี้จะมี
อุณหภูมเิ พม่ิ ขึ้นแตกต่างกนั ทราบได้จากคา่ ความรอ้ นจำเพาะของสาร สารทมี่ ีค่าความร้อนจำเพาะน้อย
อณุ หภูมจิ ะสงู กว่าสารทม่ี คี า่ ความรอ้ นจำเพาะมาก)

• แก้วน้ำสองใบบรรจุน้ำร้อนอุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส เท่ากัน ใบแรกบรรจุน้ำมวล 100
กรมั และใบท่ีสองบรรจุน้ำมวล 200 กรัม ตงั้ ไวท้ ีอ่ ณุ หภมู ิห้องเปน็ เวลา 20 นาที การเปล่ียนแปลงอณุ หภูมิ
ของน้ำในแกว้ ทง้ั 2 ใบจะเหมอื นหรือแตกตา่ งกนั อยา่ งไร (แตกตา่ งกัน ขน้ึ อยู่มวลของน้ำ โดยน้ำมวล 100
กรมั จะมอี ณุ หภมู ลิ ดลงมากกวา่ )

2. ครูถามคำถามเพ่ือกระตนุ้ ความสนใจของนักเรียน ดังน้ี

52

• ถา้ เราตอ้ งการต้มนำ้ 100 กรัม จากน้ำทม่ี ีอณุ หภูมิ 20 องศาเซลเซยี ส ใหเ้ ปลย่ี นไปเปน็ 80
องศาเซลเซียส เราต้องให้ความร้อนแก่น้ำในปริมาณเท่าไร และจะทราบได้อย่างไร (นักเรียนตอนตาม
ความเขา้ ใจของตนเอง)

7.2 ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration)
1. ครูแนะนำการคำนวณปริมาณความร้อนทท่ี ำใหอ้ ณุ หภูมขิ องสสารเปลย่ี นแปลงและปริมาณอ่ืน
ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.1 เล่ม 2 หนา้ 21 - 24
2. ครูให้นักเรียนสืบค้นการคำนวณปริมาณความร้อนจากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพิ่มเติมได้อีกด้วย
3. ครูให้นักเรียนคำนวณหาปริมาณความร้อน ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.1
เลม่ 2 หน้า 25 ในคำถามชวนคิด 4 ขอ้ ทำใส่สมุด
4. ครูเดินสังเกตนักเรียน เพื่อแนะนำการคำนวณ และเช็ควิธีทำการคำนวณและคำตอบของ
นักเรยี น

7.3 ขัน้ อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
1. ครูสุ่มนักเรียนครั้งละ 2 คน ให้ออกมาเขียนวิธีทำการคำนวณหาค่าปริมาณความร้อนที่สาร
ได้รบั หรอื สญู เสียความรอ้ น เขียนบนกระดานหน้าชนั้ เรียน
2. ให้นักเรียนที่เหลือในห้องตรวจวิธีทำและคำตอบของตัวเอง ว่าทำถูกหรือทำผิด ถ้าทำผิดให้
แกไ้ ขให้ถกู ต้อง

7.4 ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูอธิบายเพิ่มเติมในเกร็ดน่ารู้ เรื่อง เทอร์มอมิเตอร์ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ม.1 เล่ม 2 หนา้ 25-27
2. ครใู ห้นกั เรยี นคำนวณเปลย่ี นหน่วยอณุ หภูมิ โดยทำใส่สมดุ 2 ข้อ ดงั นี้

• นักปนื เขาคนหน่ึงวดั อุณหภูมิบนยอดเขาได้ 10 องศาเซลเซยี ส อยากทราบว่าอุณหภูมิ
ท่ีเขาวดั ไดจ้ ะเท่ากับก่อี งศาฟาเรนไฮต์

• อากาศในห้องหนงึ่ วัดอุณหภูมิดว้ ยเทอรม์ อมิเตอร์ อา่ นค่าไดเ้ ท่ากับ 212 องศาฟาเรน
ไฮต์ ถ้าต้องการทราบเป็นองศาเซลเซียส และเคลวิน จะมคี ่าเปน็ เท่าไร

53

7.5 ข้นั ประเมินผล (Evaluation)

1. ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน ดังนี้ สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงานร่วมกัน
สงั เกตการตอบคำถามของนักเรยี นในชนั้ เรยี น สงั เกตการตอบคำถามจากกจิ กรรม

2. ครตู รวจสมุดการคำนวณหาปรมิ าณความรอ้ น
3. ครตู รวจสมดุ การเปลยี่ นหน่วยอณุ หภูมิ

8. สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้
1. หนงั สอื เรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เลม่ 2 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 (สสวท.)

2. แหล่งการสืบค้นขอ้ มูลอ่ืน ๆ เช่น อนิ เทอร์เนต็
3. สมดุ

9. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธกี ารวัด เครอ่ื งมือทใ่ี ชว้ ัด เกณฑก์ ารประเมนิ

ด้านความรู้ (K) - การตอบคำถามใน - คำถาม ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ
1. อธิบายปจั จยั ทม่ี ีผลต่อการ ชนั้ เรยี น 70 ข้ึนไป
เปล่ยี นแปลงอุณหภูมิของสสาร
ได้

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกต ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ
1. คำนวณปรมิ าณความรอ้ นที่ - ตรวจสมุด
ทำให้สสารเปล่ียนอณุ หภมู ิได้ พฤติกรรม 70 ขึน้ ไป

- สมุด

ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A) - การตอบคำถามใน - คำถาม ผา่ นเกณฑ์ระดับดี

1.มคี วามรับผิดชอบในงานที่ ชน้ั เรียน - แบบสงั เกต ขึ้นไป

ได้รับมอบหมาย แสดงความ - สงั เกตพฤติกรรม พฤตกิ รรมการทำงาน
คดิ เหน็ ภายในกลุม่ และยอมรบั
กลุม่
ฟังความคดิ เหน็ ของผู้อืน่

54

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่

คำชีแ้ จง: ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของผูเ้ รียนในระหวา่ งการทำกจิ กรรม แล้วขดี  ลงในทช่ี ่องให้

คะแนน

กล่มุ ที่ ............................................................

ช่ือ - สกุล มีสว่ นร่วมใน ยอมฟงั ความ รับผิดชอบใน ใหค้ วาม มีขัน้ ตอนใน คะแนน
การแสดง คดิ เห็นของ งานท่ีไดร้ บั รว่ มมอื ในการ การทำงาน รวม
ความคิดเห็น มอบหมาย อย่างเปน็ 15
ผู้อ่นื ทำงาน คะแนน
ระบบ

321321321321321

ลงช่ือ.....................................................................ผู้ประเมิน
วนั ท่ี.................เดอื น.................................. พ.ศ. ....................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 3 คะแนน
พฤตกิ รรมทที่ ำเปน็ ประจำ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมทีท่ ำเป็นบางครง้ั
พฤติกรรมทท่ี ำน้อยครัง้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

12-15 ดีมาก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ต่ำกวา่ 8 ปรับปรุง

55

56

57

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 4

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว21102 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 5 เรอื่ ง พลงั งานความร้อน เวลา 27 ชั่วโมง

หนว่ ยการเรียนรูย้ อ่ ยที่ 5.1 เรื่อง ความรอ้ นกับการขยายตวั และหดตัวของสสาร เวลา 3 ช่วั โมง

ครูผสู้ อน นางสาวธพิ าพร บตุ รอนิ ทร์ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

1. มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ช้ีวดั
ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์

ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณท์ เ่ี กยี่ วข้องกับเสียง
แสง และคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมท้ังนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

ม.1 3. สร้างแบบจำลองที่อธิบายการ • ความร้อนทำให้สสารขยายตัวหรือหดตัวได้

ขยายตัวหรือหดตัวของสสารเนื่องจาก เน่อื งจากเม่อื สสารไดร้ ับความร้อนจะทำให้อนุภาค

ไดร้ ับหรอื สญู เสยี ความรอ้ น เคลอื่ นที่เรว็ ขึน้ ทำให้เกดิ การขยายตวั แต่เมื่อสสาร

4. ตระหนักถงึ ประโยชน์ของความรู้ของ คายความร้อนจะทำใหอ้ นุภาคเคลื่อนที่ช้าลง ทำให้

การหดและขยายตัวของสสารเนอ่ื งจาก เกดิ การหดตวั

ความร้อนโดยวิเคราะห์สถานการณ์ • ความรู้เรื่องการหดและขยายตัวของสสาร

ปญั หา และเสนอแนะวธิ ีการนำความรู้ เนอ่ื งจากความรอ้ นนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ดา้ นต่าง ๆ

มาแกป้ ญั หาในชวี ิตประจำวนั เช่น การสรา้ งถนน การสร้างรางรถไฟ การทำเทอร์

มอมิเตอร์

2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
สสารทั้งสามสถานะ ได้แก่ ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส เม่ือได้รบั ความร้อนหรอื อุณหภูมิเพ่ิมข้ึน

จะมีปริมาตรเพิ่มขึ้น เนื่องจากอนุภาคของสารเกิดการขยายตัวเมื่อได้รับความร้อน ในทางตรงกันข้าม

58

ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส เมื่ออุณหภูมลิ ดลงจะมีปริมาตรลดลง เพราะเกิดการหดตัว เมอ่ื สญู เสียความ
ร้อน โดยไมม่ กี ารเปลี่ยนสถานะ

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
หลังจากจบกิจกรรมการจดั การเรียนรนู้ ักเรียนสามารถ
10. อธบิ ายผลของความรอ้ นที่ทำให้สสารขยายตวั หรอื หดตัวได้ (K)
11. ทดลองเพอื่ การขยายตวั หรอื หดตวั ของสสารเนื่องจากได้รบั หรอื สูญเสียความรอ้ นได้ (P)
12. มคี วามรบั ผิดชอบในงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย แสดงความคดิ เห็นภายในกลุม่ และยอมรบั ฟัง
ความคดิ เหน็ ของผ้อู ื่น (A)

4. สาระการเรียนรู้
สสารโดยทัว่ ไปมีทง้ั สถานะท่ีเปน็ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส เมอ่ื สสารแต่ละสถานะได้รับความ

ร้อนจะเกิดการขยายตัว และเมื่อสสารสูญเสยี ความร้อนจะเกิดการหดตวั แต่การขยายตัวและหดตัวของ
สสารในทน่ี ไี้ ม่ได้หมายความวา่ อนุภาคของสสารมีขนาดใหญ่ข้ึนหรอื เล็กลง

เมื่อสสารได้รับความร้อนจะขยายตัว โดยความร้อนทำให้อนุภาคเคลื่อนที่เร็วขึ้นและระยะห่าง
ระหว่างอนุภาคมากขึ้น สสารจึงขยายตัว เช่น การขยายตัวของแอลกอฮอล์ในหลอดเทอร์มอมิเตอร์เม่อื
ได้รับความร้อน หรืออากาศในบอลลูนหรือโคมลอยได้รับความร้อน อนุภาคของอากาศเกิดการขยายตัว
จงึ ทำให้บอลลูนหรอื โคมลอยมีขยายใหญข่ น้ึ

59

เม่ือสสารสญู เสียความร้อนจะหดตัว โดยความร้อนที่สูญเสียไปทำใหอ้ นุภาคเคลื่อนที่ช้าลงและมี
ระยะห่างระหว่างอนภุ าคลดลง เชน่ การเดนิ สายไฟจะต้องไมข่ ึงสายให้ตึงหรอื หย่อนจนเกินไป เนื่องจาก
ในฤดหู นาวสายไฟจะสูญเสียความร้อนอนุภาคของสสารในสายไฟจะเกิดหดตวั หากขึงสายไฟตงึ เกินไปใน
ตอนแรกสายไฟอาจจะขาดได้

เราสามารถนำความรู้ในเรื่องการขยายตัวและหดตัวของสสารนีไ้ ปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
ได้หลายประการ เชน่ การขยายตวั ของแอลกอฮอลใ์ นหลอดเทอรม์ อมิเตอร์ ดังที่ได้กล่าวไปแลว้ ในตอนต้น
หรือการขยายตัวของพื้นถนนคอนกรีตในช่วงฤดูร้อน ซึ่งหากไม่มีการเว้นที่ไว้สำหรับการขยายตัวของ
คอนกรีต ก็อาจจะทำให้เกิดการแตกร้าวของผิวถนนได้ หรือการนำความรู้นี้ไปใช้กับเทอร์โมสตัท
(ตัวควบคุมการทำงานเกี่ยวกับอุณหภูมิของเตารีด) ในเตารีด ซึ่งมีลักษณะเป็นแผ่นโลหะ 2 ชนิดที่จะ
ขยายตัวและสมั ผสั กันเม่ือได้รับความร้อน ทำใหเ้ กดิ การตดั ไฟในวงจรเตารีดไฟฟา้

5. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

60

6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี นิ ยั
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน

7. กจิ กรรมการเรียนรู้
วิธกี ารสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)
7.1 ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement)
1. ใหน้ ักเรยี นสังเกตดูภาพ 5.12 การยกตวั ของถนน พร้อมทง้ั อา่ นเนือ้ หานำเร่ืองในหนังสือเรียน

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.1 เล่ม 2 หน้า 28 แลว้ ตอบคำถามตอ่ ไปนี้
• ทราบหรือไม่ว่าความร้อนส่งผลต่อการยกตัวของถนนได้อย่างไร (นักเรียนตอบตาม

ความคิดของตนเอง)
• สสารอื่น ๆ ในชีวิตประจำวนั ของเราเมื่อไดร้ ับความร้อนจะเกดิ การเปลี่ยนแปลงเหมือน

ถนนคอนกรีตนหี้ รือไม่ (นกั เรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง)
• การเปลย่ี นแปลงเหล่าน้จี ะมผี ลอย่างไร (นักเรยี นตอบตามความคิดของตนเอง)

2. ให้นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ม.1 เล่ม 2 หน้า 28-29 เพื่อประเมินความรู้พื้นฐานของนักเรียนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสสารเมือ่
ได้รบั หรอื สญู เสยี ความรอ้ น

3. ครูชี้แจงนกั เรียนวา่ นักเรียนจะสามารถอธิบายได้ว่าความรอ้ นสามารถทำใหถ้ นนยกตัวขึ้นได้
อย่างไร หลังจากทนี่ ักเรียนไดท้ ำกจิ กรรมที่ 5.3 ความร้อนสง่ ผลตอ่ สสารแตล่ ะสถานะอย่างไร

7.2 ขัน้ สำรวจและคน้ หา (Exploration)
1. ครใู ห้นกั เรียนแบง่ กลมุ่ 3 กลมุ่ เพือ่ ทำกจิ กรรมท่ี 5.3 ความรอ้ นสง่ ผลต่อสสารแต่ละสถานะ
อยา่ งไร
2. ครูมอบหมายให้แต่ละกลุ่มศึกษาผลของความร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของสสารท่ี
แตกต่างกัน ดงั นี้

• กลุ่มที่ 1 ทำกิจกรรมตอนที่ 1 ศึกษาผลของความร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของ
อากาศ

61

• กล่มุ ที่ 2 ทำกิจกรรมตอนท่ี 2 ศึกษาผลของความรอ้ นต่อการเปล่ยี นแปลงขนาดของน้ำ
• กลุ่มที่ 3 ทำกิจกรรมตอนที่ 3 ศึกษาผลของความร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของ
เหล็ก
3. ให้นกั เรยี นอา่ นวสั ดุ อุปกรณ์ วธิ ดี ำเนนิ กจิ กรรม จากนน้ั ครอู ภิปรายวิธกี ารทำกิจกรรม พร้อม
อาจแสดงหรือแนะนำอปุ กรณ์ให้นกั เรยี นทราบ จากน้นั ครใู ชค้ ำถามถามนักเรยี นเพ่อื ตรวจสอบความเข้าใจ
จากการอ่านดงั นี้
• การทำกิจกรรมต้องใช้วัสดุและอุปกรณ์อะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามรายการวัสดุและ
อปุ กรณ์ ครูควรแนะนำวธิ แี ละข้อควรระวงั ในการใช้ชุดตะเกยี งแอลกอฮอล์)
• นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมลู อะไรบา้ ง และมีวิธีบันทกึ ผลอยา่ งไร
(ตอนที่ 1 ให้นักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลงของลูกโป่ง พร้อมทั้งบันทึกผลซึ่งอาจอย่ใู น
รปู แบบการเขียนบรรยายวาดภาพหรอื บันทึกคลปิ วดิ ีทศั น์สน้ั ๆ
ตอนท่ี 2 ให้นักเรียนสงั เกตและวัดระดับของน้ำสีในหลอดนำแก๊ส พร้อมทัง้ บันทกึ ผลเปน็
ตวั เลข และอาจใหน้ ักเรยี นเขยี นบรรยาย วาดภาพหรอื บันทึกคลิปวิดที ัศน์สัน้ ๆ
ตอนท่ี 3 ให้นกั เรียนสังเกตการณ์เคลื่อนที่ของลูกกลมเหล็กผ่านวงแหวนเหล็ก พร้อมทั้ง
บันทึกผลซึ่งอาจอยใู่ นรูปแบบการเขยี นบรรยาย วาดภาพหรอื บนั ทกึ คลปิ วดิ ที ศั น์สนั้ ๆ)
4. ครูแจกอปุ กรณ์ใหน้ ักเรียนทำกจิ กรรมร่วมกนั นักเรยี นทำกจิ กรรมตามข้ันตอนพรอ้ มกับบันทึก
ผลการสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้นึ กับสารท่แี ต่ละกล่มุ ได้รบั
5. ครูเดินสังเกตนกั เรยี นทุกกลุ่ม เพื่อแนะนำการทำกิจกรรมแก่นักเรยี นอย่างใกล้ชิด โดยเน้นให้
นกั เรยี นทุกคนได้มสี ว่ นรว่ มในการทำกจิ กรรม

7.3 ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation)
1. ให้นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ร่วมกันอภปิ รายและตอบคำถามท้ายกิจกรรม
2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรมของตอนที่กลุ่มตนเองได้รับและ
เปรยี บเทียบผลการทำกิจกรรมกับกลุ่มอน่ื ๆ พรอ้ มทั้งบันทกึ ผลการทำกจิ กรรมตอนทีเ่ หลอื จากเพื่อนกลุ่ม
อ่นื ดว้ ย
3. ครูและนักเรยี นร่วมกันอภิปราย เพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรุป เมื่ออากาศ นำ้ และลูกกลมเหลก็ ไดร้ บั ความรอ้ นจะมี
ปริมาตรเพิ่มขึ้นและขยายตัว ในทางตรงกันข้ามเมื่ออากาศ น้ำ และลูกกลมเหล็กสูญเสียความร้อนจะมี
ปริมาตรลดลงและหดตวั ซงึ่ การเปลย่ี นแปลงท่ีเกิดขึ้นเป็นการเปลี่ยนแปลงในระดับอนุภาคของสสาร

62

7.4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.1 เล่ม 2 หน้า 38-42
เพอื่ ใหน้ ักเรียนเรยี นรเู้ พิม่ เติมเก่ยี วกบั การขยายตวั หรือหดตัวของสสารเมื่อไดร้ บั หรือสญู เสยี ความรอ้ น
2. ครอู ธบิ ายเพิ่มเติมเรื่องการหดและขยายตัวของสสารเนื่องจากความรอ้ นนำไปใช้ประโยชน์ได้
ด้านต่าง ๆ เช่น การสร้างถนน การสร้างรางรถไฟ การทำเทอร์มอมิเตอร์ การเคลื่อนที่ของบอลลูนหรอื
โคมลอย

7.5 ข้ันประเมนิ ผล (Evaluation)
1. ครถู ามนักเรียนด้วยชุดคำถาม ดังนี้

• มีเหตุการณใ์ ดบา้ งทเ่ี กดิ จากการขยายตวั หรือหดตวั ของสสารอนั เนอ่ื งมาจากความร้อน
(เชน่ การเคลอ่ื นท่ขี องบอลลนู และโคมลอย การยกตัวของถนน การเคลือ่ นทีข่ องปรอทในเทอร์มอมิเตอร์)

• เราสามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากการขยายตัวหรอื หดตวั ของสสารอนั เน่อื งมาจากความร้อน
ไดอ้ ย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง)

• การขยายตัวหรือหดตัวของสสารอันเนื่องมาจากความร้อนมีโทษหรือสร้างความ
เสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้อย่างไร และจะมีทางป้องกันหรือแก้ปัญหาเหล่านี้ได้อย่างไร (นักเรียน
ตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง)

2. ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน ดังนี้ สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงานร่วมกัน
สงั เกตการตอบคำถามของนกั เรียนในชั้นเรยี น สงั เกตการตอบคำถามจากกิจกรรม

3. ครตู รวจกิจกรรมท่ี 5.3 ความรอ้ นส่งผลตอ่ สสารแต่ละสถานะอยา่ งไร

8. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้
1. หนังสือเรยี นรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 (สสวท.)
2. ใบกิจกรรมท่ี 5.3 ความร้อนสง่ ผลต่อสสารแตล่ ะสถานะอยา่ งไร
3. ขวดแก้วหรือขวดพลาสติก
4. บีกเกอร์ ขนาด 250 cm3
5. ลกู โป่ง
6. ขันพลาสตกิ

63

7. ขวดรปู กรวย ขนาด 125 cm3
8. น้ำสี
9. หลอดแก้วนำแก๊ส
10. จกุ ยางเจาะรู
11. น้ำรอ้ น อณุ หภูมิประมาณ 80 ๐C
12. นำ้ แข็ง
13. ชดุ ตะเกยี งแอลกอฮอล์
14. วงแหวนและลูกกลมโลหะ

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธกี ารวัด เครอ่ื งมือทใี่ ชว้ ดั เกณฑ์การประเมนิ

ด้านความรู้ (K) - การตอบคำถามใน - คำถาม ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ

1. อธบิ ายผลของความร้อนทที่ ำ ช้นั เรยี น - ใบกิจกรรมที่ 5.3 70 ขึ้นไป

ใหส้ สารขยายตวั หรอื หดตัวได้ - ตรวจใบกิจกรรมท่ี

5.3

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกต ผ่านเกณฑร์ ้อยละ
พฤตกิ รรม 70 ข้นึ ไป
1. ทดลองเพอ่ื การขยายตัวหรอื - ตรวจใบกิจกรรมที่ - ใบกิจกรรมที่ 5.3

หดตวั ของสสารเนื่องจากได้รับ 5.3

หรอื สญู เสยี ความร้อนได้

ด้านคุณลักษณะ (A) - การตอบคำถามใน - คำถาม ผา่ นเกณฑร์ ะดบั ดี

1.มคี วามรับผดิ ชอบในงานที่ ช้ันเรียน - แบบสงั เกต ข้ึนไป

ได้รับมอบหมาย แสดงความ - สังเกตพฤตกิ รรม พฤตกิ รรมการทำงาน
คดิ เห็นภายในกลมุ่ และยอมรับ
กลุม่
ฟงั ความคดิ เหน็ ของผูอ้ ืน่

64

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่

คำช้ีแจง: ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของผเู้ รยี นในระหว่างการทำกจิ กรรม แล้วขดี  ลงในทช่ี ่องให้

คะแนน

กลมุ่ ท่ี ............................................................

ชอ่ื - สกลุ มสี ่วนร่วมใน ยอมฟังความ รับผิดชอบใน ใหค้ วาม มีขัน้ ตอนใน คะแนน
การแสดง คดิ เห็นของ งานท่ีไดร้ บั รว่ มมอื ในการ การทำงาน รวม
ความคิดเหน็ มอบหมาย อย่างเปน็ 15
ผอู้ นื่ ทำงาน คะแนน
ระบบ

321321321321321

ลงช่ือ.....................................................................ผู้ประเมิน
วนั ที่.................เดอื น.................................. พ.ศ. ....................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน 3 คะแนน
พฤติกรรมทท่ี ำเปน็ ประจำ 2 คะแนน
พฤติกรรมทที่ ำเป็นบางคร้งั
1 คะแนน
พฤตกิ รรมที่ทำน้อยครง้ั

เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

12-15 ดีมาก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรุง

65

66

67

กจิ กรรมที่ 5.3 ความร้อนส่งผลตอ่ สสารแตล่ ะสถานะอย่างไร

จุดประสงค์ของกจิ กรรม
สำรวจและอธิบายผลของความรอ้ นต่อการเปล่ยี นแปลงขนาดของอากาศ นำ้ และ เหลก็

วัสดแุ ละอุปกรณ์ 2. บกี เกอร์ ขนาด 250 cm3
1. ขวดแกว้ หรือขวดพลาสติก 4. ขันพลาสตกิ
3. ลกู โป่ง 6. น้ำสี
5. ขวดรูปกรวย ขนาด 125 cm3 8. จุกยางเจาะรู
7. หลอดแก้วนำแก๊ส 10. น้ำแข็ง
9. นำ้ ร้อน อณุ หภูมิประมาณ 80 ๐C 12. วงแหวนและลกู กลมโลหะ
11. ชดุ ตะเกยี งแอลกอฮอล์

วิธีการดำเนนิ กิจกรรม ตอนที่ 1

68

ตารางบันทึกผลการทดลอง

ขันพลาสตกิ การเปล่ยี นแปลงท่ีเกดิ ขึ้น วาดภาพการจัดเรียงอนภุ าค

อณุ หภมู ปิ กติ

69

ขนั พลาสติก การเปล่ยี นแปลงท่ีเกิดข้ึน วาดภาพการจดั เรียงอนุภาค

แช่ในนำ้ ร้อน

แช่ในนำ้ เยน็

อภปิ ราย/สรุปผลการทดลอง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
คำถามท้ายกจิ กรรม
1. เม่อื นำขวดแก้วหรือขวดพลาสตกิ ท่ีครอบดว้ ยลูกโปง่ ไปวางในภาชนะท่มี ีน้ำรอ้ นหรือน้ำแข็ง ลูกโป่งมี
การเปลีย่ นแปลงอยา่ งไร เพราะเหตุใด
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

70

2. แบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของอากาศเมือ่ นำขวดแก้วหรือขวดพลาสตกิ ทคี่ รอบดว้ ย ลกู โป่งไปวาง
ในภาชนะทม่ี ีนำ้ ร้อนหรือนำ้ แขง็ เป็นอย่างไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

วิธกี ารดำเนนิ กิจกรรม ตอนท่ี 2

71

ตารางบนั ทึกผลการทดลอง ความสูงของนำ้ สี (cm) วาดภาพการจดั เรียงอนุภาค
ชุดการทดลอง น้ำสี

อุณหภมู ปิ กติ
ชุดที่ 1

ต้มในนำ้ รอ้ น

อุณหภมู ปิ กติ
ชุดท่ี 2

แชใ่ นน้ำเย็น

อภิปราย/สรปุ ผลการทดลอง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

72

คำถามท้ายกิจกรรม
1. เมื่อใหค้ วามรอ้ นกบั น้ำสีในขวดรปู กรวยหรือนำขวดรปู กรวยท่ีมนี ้ำสีไปวางไว้ในภาชนะบรรจนุ ำ้ แข็ง
ระดบั ของนำ้ สใี นหลอดแก้วนำแกส๊ มีการเปล่ยี นแปลงอยา่ งไร เพราะเหตใุ ด
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
2. แบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของน้ำสีเมือ่ ให้ความรอ้ นและเม่ือนำไปแชใ่ นน้ำแข็งเปน็ อย่างไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

วธิ ีการดำเนินกจิ กรรม ตอนที่ 3

73

ตารางบนั ทึกผลการทดลอง การเปลี่ยนแปลง
ลูกกลมเหล็ก
สูญเสียความรอ้ น
นำลูกกลมเหล็กลอดผ่านวงแหวน
เหล็ก
นำลูกกลมเหล็กที่ได้รับความร้อน
แลว้ ลอดผ่านวงแหวนเหลก็
นำลูกกลมเหล็กที่แช่น้ำแข็งแล้วลอด
ผ่านวงแหวนเหลก็

ภาพแสดงการจดั เรยี งอนุภาค
ไดร้ บั ความรอ้ น

อภิปราย/สรปุ ผลการทดลอง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

คำถามท้ายกิจกรรม
1. เม่ือให้ความรอ้ นแกล่ กู กลมเหล็กหรอื นำลกู กรมเหล็กไปแชใ่ นน้าแขง็ ลูกกลมเหล็กมีการเปล่ยี นแปลง
อย่างไร เพราะเหตใุ ด
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

74

2. แบบจำลองการจดั เรียงอนุภาคของลูกกลมเหล็กเม่ือให้ความร้อนและเมื่อนาไปแชใ่ นน้ำแข็งเป็นอยา่ งไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

สมาชิกในกล่มุ
ม.1/.......

ชื่อ-สกุล ........................................................................................................ เลขที่ ...........
ชอื่ -สกลุ ........................................................................................................ เลขที่ ...........
ชื่อ-สกุล ........................................................................................................ เลขท่ี ...........
ชือ่ -สกุล ........................................................................................................ เลขท่ี ...........
ช่ือ-สกุล ........................................................................................................ เลขท่ี ...........
ชื่อ-สกลุ ........................................................................................................ เลขที่ ...........

75

แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 5

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี

รายวชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว21102 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 เร่ือง พลงั งานความรอ้ น เวลา 27 ช่ัวโมง

หนว่ ยการเรยี นรยู้ อ่ ยท่ี 5.1 เรอ่ื ง ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร(1) เวลา 3 ชว่ั โมง

ครูผสู้ อน นางสาวธพิ าพร บตุ รอนิ ทร์ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

1. มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ช้ีวดั
ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์

ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลังงานในชวี ิตประจำวัน ธรรมชาตขิ องคลื่น ปรากฏการณ์ที่เก่ยี วขอ้ งกับเสียง
แสง และคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ รวมท้ังนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ม.1 1. วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูลและ • เมื่อสสารได้รับหรือสูญเสียความร้อนอาจทำให้

คำนวณปริมาณความร้อนที่ทำให้สสาร สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ เปลี่ยนสถานะ หรือเปลี่ยน

เปล่ียนอุณหภูมิและเปลย่ี นสถานะโดยใช้ รปู รา่ ง

สมการ Q = mcΔt และ Q = mL • ปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ
2. ใช้เทอร์มอมิเตอร์ในการวัดอุณหภูมิ ขึ้นกับมวลความร้อนจำเพาะ และอุณหภูมิท่ี

ของสสาร เปล่ยี นไป

• ปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนสถานะ

ขึ้นกับมวลและความร้อนแฝงจำเพาะ โดยขณะที่

สสารเปล่ียนสถานะ อณุ หภมู จิ ะไม่เปลย่ี นแปลง

2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
ความร้อนอาจทำใหส้ สารเปล่ียนสถานะ เม่ือสสารได้รับความรอ้ น อนุภาคจะเคล่อื นทเ่ี ร็วขึ้นและ

เคลอ่ื นทอี่ อกห่างกันมากขน้ึ แรงยึดเหนีย่ วระหว่างอนุภาคจะลดลง จนสสารเปลีย่ นสถานะ ในทางกลบั กัน
เมื่อสสารสญู เสยี ความรอ้ น อนภุ าคจะเคลื่อนท่ีช้าลงและเข้าใกล้กันมากขึน้ แรงยึดเหนยี่ วระหว่างอนุภาค

76

จะเพิ่มขึ้น จนสสารเปลี่ยนสถานะ ขณะที่สสารเปลี่ยนสถานะ ความร้อนทั้งหมดจะถูกใช้ในการเปลี่ยน
สถานะโดยไม่มกี ารเปล่ียนแปลงอณุ หภมู ิ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
หลังจากจบกิจกรรมการจดั การเรยี นรนู้ ักเรยี นสามารถ
1. อธิบายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความรอ้ นกบั การเปลยี่ นสถานะของสสาร โดยใชแ้ บบจำลอง
(K)
2. ใช้เทอร์มอมเิ ตอร์ในการวัดอุณหภูมขิ องสสารได้ (P)
3. มคี วามรบั ผดิ ชอบในงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย แสดงความคิดเห็นภายในกลมุ่ และยอมรับฟงั
ความคดิ เห็นของผู้อน่ื (A)

4. สาระการเรียนรู้
การเปลี่ยนสถานะของสสาร
การหลอมเหลว (Melting) คือ การที่สสารได้รับพลังงาน ซึ่งหากทำอย่างง่าย ๆ คือ การให้

พลงั งานความร้อนกับสสารในสถานะของแขง็ และเปล่ียนไปเป็นของเหลว โดยอุณหภูมทิ ี่สสารเร่ิมเปล่ียน
สถานะจะเรียกว่า จุดหลอมเหลว (Melting point) ซึ่งเป็นอุณหภูมิเดียวกันกับการแข็งตัวเรียกว่า
จดุ เยอื กแข็ง (Freezing point) ซึง่ เป็นการเปลีย่ นสถานะจากของเหลวไปเป็นของแขง็ ยกตัวอย่างเช่น น้ำ
มีจุดเยือกแข็งที่ 0 องศาเซลเซียส เช่นกันกับจุดหลอมเหลวที่ 0 องศาเซลเซียส ดังนั้น ณ อุณหภูมินี้เรา
สามารถพบกบั นำ้ ได้ท้ัง 2 สถานะ สสารอื่น ๆ ก็เชน่ กนั

ส่วนการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวไปเป็นก๊าซ และจากก๊าซมาเป็นของเหลวเรียกว่า
การกลายเป็นไอและการควบแน่น ตามลำดับ โดยอุณหภูมิที่ทำให้ของเหลวกลายเป็นก๊าซเรียกว่า
จุดเดือด (Boiling point) เช่น จุดเดือดของน้ำอยู่ที่ 100 องศาเซลเซียส ซึ่งเราต้องให้พลังงานแก่น้ำใน
สถานะของเหลวจนมีอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส โมเลกุลของน้ำจึงจะกระจายตวั ห่างกนั จนกลายเป็นไอ
น้ำลอยไปในอากาศได้ในท่ีสุด ขณะที่สสารบางชนิดไม่เปลี่ยนสถานะตามลำดับอย่างที่เราเข้าใจกัน โดย
อาจจะเปลี่ยนจากของแข็งไปเป็นก๊าซเลย ซึ่งกระบวนการนี้เรียกว่า การระเหิด (Sublimation)
ตัวอย่างเช่น นำ้ แข็งแห้ง ลกู เหม็น

77

การเรยี นรู้และเข้าใจจุดเปลี่ยนของอุณหภมู ิที่ทำให้สถานะของสสารเปล่ียนไป ทำให้เราสามารถ
ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย หากไม่นับเรื่องง่าย ๆ อย่างการทำน้ำแข็ง การทำไอศกรีม ซึ่งเป็นการ
เปลี่ยนแปลงสถานะของของเหลวให้กลายเป็นของแขง็ กย็ งั มกี ารใชง้ านในรปู แบบอ่นื เชน่ การหล่อโลหะ
เป็นการทำของแข็งให้กลายเป็นรูปร่างต่าง ๆ ตามที่ต้องการโดยการให้พลังงานเข้าไปจนโลหะกลายเป็น
ของเหลว ก่อนจะนำไปใส่ภาชนะบรรจุทีม่ รี ปู ร่างตามตอ้ งการ เมอ่ื อุณหภมู ิเยน็ ลงโลหะก็จะเปล่ียนสถานะ
กลับเป็นของแข็งและมรี ปู ร่างตามภาชนะบรรจุ การเปลย่ี นสถานะของนำ้ กลายเปน็ ไอนำ้ ภายใตส้ ภาวะท่ี
กำหนดทำให้เราได้พลังงานและแรงดันมากพอที่จะนำไปใช้ขับเคลื่อนกลไก และทำให้เกิดสิ่งประดิษฐ์ที่
เป็นประโยชนต์ ่อมนษุ ยชาติอีกมากมาย เชน่ รถจกั รไอน้ำ หรือโรงงานผลติ ไฟฟ้า

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการสอื่ สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มวี นิ ยั
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มุง่ ม่ันในการทำงาน

7. กิจกรรมการเรยี นรู้
วธิ กี ารสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)
7.1 ข้นั สร้างความสนใจ (Engagement)
1. ให้นักเรียนสังเกตดูภาพ 5.26 ธารน้ำแข็งโคลัมเบีย ในรัฐอะแลสกา ประเทศสหรัฐอเมริกา

พร้อมทั้งอ่านเนื้อหานำเรื่องในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.1 เล่ม 2 หน้า 43 แล้วตอบ
คำถามตอ่ ไปนี้

78

• จากภาพ พบการเปล่ียนแปลงของสสารชนิดใด สสารชนิดดังกล่าวเกดิ การเปลี่ยนแปลง
อย่างไร (จากภาพ พบการเปลี่ยนแปลงของน้ำแข็งโดยน้ำแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นน้ำ หรือน้ำแข็ง
หลอมเหลวเปน็ นำ้ )

• ปรากฏการณ์ดังกล่าวนี้เกี่ยวข้องกับพลังงานความร้อนและการเปลี่ยนแปลงสถานะ
อย่างไร (นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง)

2. ให้นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ม.1 เล่ม 2 หนา้ 28-29 เพ่อื ประเมนิ ความรู้พ้ืนฐานของนกั เรยี นเกย่ี วกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร

3. ครูใช้คำถามเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมที่ 5.4 ความร้อนทำให้สสารเปลี่ยนสถานะได้อยา่ งไร
โดยอาจใชค้ ำถามวา่

• ความรอ้ นมผี ลตอ่ การเปลย่ี นสถานะของสสารอย่างไร ขณะท่ีสสารเปล่ียนสถานะ สสารมี
การเปลย่ี นแปลงอุณหภมู หิ รือไม่ อย่างไร (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง)

7.2 ขัน้ สำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครูให้นกั เรยี นแบ่งกลุม่ 5 กลมุ่ เพอ่ื ทำกจิ กรรมท่ี 5.4 ความรอ้ นทำให้สสารเปลย่ี นสถานะได้
อย่างไร
2. ให้นักเรียนอ่านวิธีการดำเนินกิจกรรมในหนังสือเรียน จากนั้นครูใช้คำถามถามนักเรียนเพ่ือ
ตรวจสอบความเข้าใจจากการอา่ นดังนี้

• กจิ กรรมนี้เก่ยี วกบั เร่อื งอะไร (การเปลยี่ นสถานะของน้ำเนอื่ งจากความรอ้ น)
• กิจกรรมนีม้ จี ุดประสงค์อย่างไร (นกั เรียนตอบตามความคิดของตนเอง)
• วิธีดำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (ใส่น้ำแข็งก้อนเล็กปริมาณ 2 ใน 3 ของ
บีกเกอร์ ให้ความร้อน แล้วใช้แท่งแก้วคนตลอดเวลา สังเกตและบันทึกสิ่งที่พบในบีกเกอร์และอุณหภูมิ
ของน้ำแข็งในบีกเกอร์ ทุก ๆ 1 นาที จนสิ่งที่อยู่ในบีกเกอร์เดือด และได้รับความร้อนต่อไปอีก 3 นาที
เขียนกราฟแสดงความสมั พันธร์ ะหวา่ งอุณหภูมกิ ับเวลาตง้ั แต่เริ่มตน้ จนส้ินสุดการทำกิจกรรม)
• ข้อควรระวังในการทำกิจกรรมมีอะไรบ้าง (นักเรียนควรระวังการใช้ชุดตะเกียง
แอลกอฮอล์และเทอรม์ อมิเตอร์)
• นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (นักเรียนควรสังเกตและบันทึกสิง่ ที่พบ
ในบีกเกอร์และอุณหภูมิของน้ำแข็งในบีกเกอร์ ทกุ ๆ 1 นาที จนสิ่งทอี่ ยใู่ นบกี เกอร์เดือด และได้รับความ
ร้อนต่อไปอกี 3 นาที)

79

3. ครูแจกอปุ กรณ์ใหน้ กั เรยี นทำกจิ กรรมรว่ มกนั นักเรยี นทำกิจกรรมตามข้นั ตอนพร้อมกับบันทึก
ผลการสงั เกต

5. ครเู ดินสังเกตนกั เรียนทุกกลมุ่ เพอ่ื แนะนำการทำกจิ กรรมแกน่ ักเรียนอย่างใกล้ชิด โดยเน้นให้
นกั เรียนทกุ คนไดม้ สี ่วนร่วมในการทำกิจกรรม

6. ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มนำขอ้ มูลท่ีไดไ้ ปเขียนกราฟแสดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งอุณหภูมิกับเวลา
ตงั้ แต่เรม่ิ วัดอณุ หภูมขิ องนำ้ แข็งจนสน้ิ สุดการทำกจิ กรรม

7.3 ข้นั อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม และกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
อณุ หภมู กิ ับเวลา
2. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั อภปิ รายผลการทำกิจกรรมและเปรียบเทียบผลการทำกจิ กรรมของกลุ่มอื่น
กับของกล่มุ ตนเอง
3. ให้นักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนั้นนำเสนอ และอภิปรายคำตอบร่วมกันเพื่อให้ได้
ข้อสรุปว่า เมื่อให้ความร้อนแก่น้ำจนน้ำเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเปน็ ของเหลว และของเหลวเป็นแก๊ส
อณุ หภมู ิของน้ำขณะเปล่ยี นสถานะจะคงท่ี

7.4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.1 เล่ม 2 หน้า 46-47
เพือ่ ใหน้ ักเรยี นสามารถอธบิ ายปจั จัยที่มีผลต่อการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร ไดแ้ ก่ ปรมิ าณความร้อน
ทสี่ สารไดร้ ับหรอื สูญเสยี มวล และความร้อนแฝงจำเพาะของสาร
2. ครูใหน้ กั เรยี นสืบคน้ จากแหลง่ เรยี นรูอ้ ื่น ๆ เพิม่ เตมิ อีกดว้ ย
3. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั อภปิ รายวา่ ขอ้ มูลจากหนงั สือเรยี นและแหลง่ เรยี นรู้อ่นื ๆ สนบั สนุนหรือ
คดั คา้ นขอ้ สรปุ ทีน่ ักเรยี นแต่ละกล่มุ ได้จากการทำกิจกรรม 5.4 หรอื ไม่ อยา่ งไร
4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนปรับปรุงข้อสรุปจากการทำกิจกรรม 5.4 โดยใช้ข้อมูลจากหนังสือ
เรียนและแหลง่ เรียนรูอ้ ืน่ ๆ

80

7.5 ข้ันประเมนิ ผล (Evaluation)
1. ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน ดังนี้ สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงานร่วมกัน
สังเกตการตอบคำถามของนกั เรยี นในช้นั เรยี น สังเกตการตอบคำถามจากกิจกรรม
2. ครูตรวจกิจกรรมท่ี 5.4 ความร้อนทำให้สสารเปลย่ี นสถานะไดอ้ ย่างไร

8. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้
1. หนังสือเรียนรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เลม่ 2 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 (สสวท.)
2. ใบกิจกรรมท่ี 5.4 ความรอ้ นทำให้สสารเปลีย่ นสถานะไดอ้ ยา่ งไร
3. น้ำแขง็
4. แท่งแก้วคน
5. เทอร์มอมิเตอร์
6. บกี เกอร์ ขนาด 250 cm3
7. ชดุ ตะเกยี งแอลกอฮอล์
8. ขาตงั้ พรอ้ มท่ีจบั
9. กระดาษกราฟ
10. นาฬกิ าจบั เวลา

81

9. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวัด เครอ่ื งมอื ท่ีใชว้ ัด เกณฑ์การประเมนิ
ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ
ดา้ นความรู้ (K) - การตอบคำถามใน - คำถาม 70 ขึ้นไป
- ใบกจิ กรรมที่ 5.4
1. อธิบายความสัมพันธร์ ะหว่าง ช้นั เรียน ผ่านเกณฑร์ ้อยละ
- แบบสงั เกต 70 ข้นึ ไป
ความรอ้ นกบั การเปลย่ี นสถานะ - ตรวจใบกิจกรรมที่ พฤตกิ รรม
ของสสาร โดยใชแ้ บบจำลอง 5.4 - ใบกจิ กรรมท่ี 5.4

ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) - สงั เกตพฤตกิ รรม

1. ใชเ้ ทอร์มอมิเตอรใ์ นการวดั - ตรวจใบกิจกรรมที่

อุณหภูมิของสสารได้ 5.4

ดา้ นคุณลกั ษณะ (A) - การตอบคำถามใน - คำถาม ผ่านเกณฑร์ ะดบั ดี

1.มีความรับผิดชอบในงานท่ี ช้ันเรียน - แบบสังเกต ขน้ึ ไป

ได้รบั มอบหมาย แสดงความ - สงั เกตพฤตกิ รรม พฤตกิ รรมการทำงาน
คิดเห็นภายในกลมุ่ และยอมรับ
กลมุ่
ฟังความคิดเหน็ ของผอู้ นื่

82

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่

คำช้ีแจง: ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของผเู้ รยี นในระหว่างการทำกจิ กรรม แล้วขดี  ลงในทช่ี ่องให้

คะแนน

กลมุ่ ท่ี ............................................................

ชอ่ื - สกลุ มสี ่วนร่วมใน ยอมฟังความ รับผิดชอบใน ใหค้ วาม มีขัน้ ตอนใน คะแนน
การแสดง คดิ เห็นของ งานท่ีไดร้ บั รว่ มมอื ในการ การทำงาน รวม
ความคิดเหน็ มอบหมาย อย่างเปน็ 15
ผอู้ นื่ ทำงาน คะแนน
ระบบ

321321321321321

ลงช่ือ.....................................................................ผู้ประเมิน
วนั ที่.................เดอื น.................................. พ.ศ. ....................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ทำเป็นประจำ 2 คะแนน
พฤติกรรมทที่ ำเป็นบางคร้งั
1 คะแนน
พฤตกิ รรมที่ทำน้อยครง้ั

เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

12-15 ดีมาก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรุง

83

84

85

กิจกรรมที่ 5.4 ความรอ้ นทำใหส้ สารเปล่ียนสถานะไดอ้ ย่างไร

จดุ ประสงค์ของกิจกรรม

สังเกตและอธบิ ายการเปล่ยี นสถานะของน้ำเน่ืองจากความรอ้ น

วสั ดุและอปุ กรณ์

1. น้ำแขง็ 2. แทง่ แกว้ คน

3. เทอร์มอมิเตอร์ 4. บีกเกอร์ ขนาด 250 cm3

5. ชดุ ตะเกียงแอลกอฮอล์ 6. ขาต้งั พร้อมที่จบั

7. กระดาษกราฟ 8. นาฬิกาจับเวลา

วธิ กี ารดำเนนิ กิจกรรม

1. ใส่น้ำแข็งก้อนเล็ก ๆ ปริมาณ 2 ใน 3 ของบีกเกอร์ แล้วจัดอุปกรณ์ดังภาพ วัดอุณหภูมิเม่ือ

ระดับของเหลวในเทอร์มอมิเตอรค์ งที่ สังเกตสถานะของน้ำแข็งในบีกเกอร์ บนั ทกึ ผล

2. ให้ความร้อนแก่น้ำแข็งในบีกเกอร์ด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์ ใช้แท่งแก้วคนคนน้ำแข็งให้ท่ัว

บกี เกอร์ตลอดเวลา วัดอุณหภูมิ สังเกตสถานะของสิ่งทีอ่ ยูใ่ นบีกเกอร์ทกุ ๆ 1 นาที จนเดือด บันทกึ ผล

3. ให้ความร้อนต่อไปอีก 3 นาที วัดอุณหภูมิ สังเกตสถานะของสิง่ ที่อยูใ่ นบีกเกอร์ทุก ๆ 1 นาที

บนั ทึกผล

4. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับเวลา ตั้งแต่เริ่มวัดอุณหภูมิของน้ำแข็งจน

สิ้นสดุ การทำกจิ กรรม

86

ตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง อณุ หภมู ิ (๐C)

เวลา (นาท)ี
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25

87

เวลา (นาท)ี อุณหภมู ิ (๐C)
26
27
29
30

กราฟแสดง...................................................................................................................................

อภปิ ราย/สรปุ ผลการทดลอง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

88

คำถามท้ายกิจกรรม
1. ปริมาณความรอ้ นทนี่ ้ำแข็งไดร้ ับ มคี วามสัมพนั ธ์กับเวลาหรอื ไม่ อย่างไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
2. ชว่ งเวลาทนี่ ้ำแขง็ หลอมเหลวเปน็ นำ้ น้ำแข็งได้รบั ความร้อนหรือไม่ ร้ไู ดอ้ ย่างไร และในชว่ งนน้ั สิง่ ทอี่ ยู่
ในบกี เกอรจ์ ะมีสถานะใดบ้าง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
3. ช่วงเวลาทน่ี ำ้ เดอื ดเป็นไอนำ้ น้ำได้รับความรอ้ นหรอื ไม่ รู้ได้อย่างไร และในชว่ งนน้ั ส่ิงท่ีอยใู่ นบกี เกอรจ์ ะ
มสี ถานะใดบ้าง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
4. จากกราฟสามารถสรปุ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งอณุ หภมู ิกบั เวลาของนำ้ ขณะทีห่ ลอมเหลวและเดอื ดได้
อยา่ งไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

สมาชกิ ในกล่มุ
ม.1/.......

ชอ่ื -สกลุ ........................................................................................................ เลขที่ ...........
ชื่อ-สกุล ........................................................................................................ เลขที่ ...........
ชือ่ -สกุล ........................................................................................................ เลขที่ ...........
ชือ่ -สกลุ ........................................................................................................ เลขที่ ...........
ชอ่ื -สกลุ ........................................................................................................ เลขท่ี ...........

89

แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 6

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี

รายวชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว21102 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 เร่ือง พลังงานความรอ้ น เวลา 27 ช่ัวโมง

หนว่ ยการเรยี นรยู้ อ่ ยท่ี 5.1 เรอ่ื ง ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร(2) เวลา 3 ชว่ั โมง

ครูผสู้ อน นางสาวธพิ าพร บตุ รอนิ ทร์ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

1. มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ช้ีวดั
ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์

ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลังงานในชวี ิตประจำวนั ธรรมชาตขิ องคลื่น ปรากฏการณ์ที่เก่ยี วขอ้ งกับเสียง
แสง และคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ รวมท้ังนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ม.1 1. วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูลและ • เมื่อสสารได้รับหรือสูญเสียความร้อนอาจทำให้

คำนวณปริมาณความร้อนที่ทำให้สสาร สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ เปลี่ยนสถานะ หรือเปลี่ยน

เปล่ียนอุณหภูมิและเปลย่ี นสถานะโดยใช้ รปู รา่ ง

สมการ Q = mcΔt และ Q = mL • ปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ
2. ใช้เทอร์มอมิเตอร์ในการวัดอุณหภูมิ ขึ้นกับมวลความร้อนจำเพาะ และอุณหภูมิท่ี

ของสสาร เปล่ยี นไป

• ปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนสถานะ

ขึ้นกับมวลและความร้อนแฝงจำเพาะ โดยขณะที่

สสารเปล่ียนสถานะ อณุ หภมู จิ ะไม่เปลย่ี นแปลง

2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
ความร้อนอาจทำใหส้ สารเปล่ียนสถานะ เม่อื สสารได้รับความรอ้ น อนภุ าคจะเคล่อื นทเ่ี ร็วขึ้นและ

เคลอ่ื นทอี่ อกห่างกันมากขน้ึ แรงยึดเหนีย่ วระหว่างอนุภาคจะลดลง จนสสารเปลีย่ นสถานะ ในทางกลบั กัน
เมื่อสสารสญู เสยี ความรอ้ น อนภุ าคจะเคลื่อนท่ีช้าลงและเข้าใกล้กันมากขึน้ แรงยึดเหนยี่ วระหว่างอนุภาค

90

จะเพิ่มขึ้น จนสสารเปลี่ยนสถานะ ขณะที่สสารเปลี่ยนสถานะ ความร้อนทั้งหมดจะถูกใช้ในการเปลี่ยน
สถานะโดยไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงอุณหภูมิ

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
หลงั จากจบกิจกรรมการจัดการเรยี นร้นู ักเรียนสามารถ
1. ยกตัวอย่างสถานการณ์ในชวี ติ ประจำวนั ท่ีความร้อนทำใหส้ สารเปลย่ี นสถานะได้ (K)
2. คำนวณปรมิ าณความร้อนทีท่ ำใหส้ สารเปล่ียนสถานะได้ (P)
3. มคี วามรบั ผิดชอบในงานที่ได้รบั มอบหมาย แสดงความคดิ เห็นภายในกลมุ่ และยอมรับฟงั
ความคิดเห็นของผูอ้ ืน่ (A)

4. สาระการเรียนรู้
การคำนวณค่าปริมาณความรอ้ น
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว หมายถึง ปริมาณพลังงานความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลง

สถานะของของแข็งเป็นของเหลว โดยอณุ หภูมิไม่เปล่ยี นแปลง
ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลว หมายถึง ปริมาณพลงั งานความร้อนท่ีทำให้สารท่ีเป็น

ของแข็งมีมวล 1 กรัม เปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว 1 กรัม โดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง มีหน่วยเป็น
แคลอรตี อ่ กรมั เช่น ความรอ้ นแฝงจำเพาะของนำ้ แข็ง มีคา่ ประมาณ 80 แคลอรตี อ่ กรมั

ความรอ้ นแฝงของการกลายเปน็ ไอ หมายถึง ปรมิ าณพลงั งานความรอ้ นที่ใชใ้ นการเปล่ยี นสถานะ
ของของเหลวกลายเป็นไอ โดยอุณหภูมิไม่เปล่ียนแปลง

ความร้อนแฝงจำเพาะของการกลายเป็นไอ หมายถึง ปริมาณพลังงานความร้อนที่ทำให้สารที่
เปน็ ของเหลวมวล 1 กรมั เปล่ียนสถานะเป็นแก๊สโดยอุณหภมู ิไม่เปล่ยี นแปลง เช่น ความร้อนแฝงจำเพาะ
ของการกลายเป็นไอของน้ำเดอื ด มีค่าประมาณ 540 แคลอรีต่อกรมั

ความจุความร้อนจำเพาะ หมายถึง ปริมาณความร้อนที่ทำให้สารมวล 1 กรัม มีอุณหภูมิ
เปล่ยี นไป 1 °C

ความจุความรอ้ นจำเพาะของนำ้ มคี า่ เท่ากบั 1 แคลอรี / กรมั องศาเซลเซียส (cal/g °C)

91

สูตรคำนวณคา่ ปริมาณความรอ้ น
Q = mL

Q = ปรมิ าณความร้อน หน่วย แคลอรี
m = มวลของสาร หน่วย กรัม
L = ความร้อนแฝงจำเพาะ หนว่ ย แคลอรี / กรัม

หนว่ ย แคลอรี Q = msΔt
Q = ปรมิ าณความรอ้ นท่ีใช้ในการลดหรือเพิม่ อณุ หภูมิของสารนั้น ๆ

m = มวลของสาร หน่วย กรัม
s = ความจคุ วามร้อนจำเพาะของสาร หนว่ ย แคลอรี / กรัม องศาเซลเซยี ส
Δt = อุณหภมู ทิ เี่ ปลี่ยนแปลงไปอาจเพ่มิ ข้ึนหรือลดลง

ข้ันตอนการเปลยี่ นสถานะของนำ้ แข็งจนกระทง่ั กลายเป็นไอน้ำ

92

5. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น
1. ความสามารถในการสอื่ สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. มวี ินัย
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มุง่ มั่นในการทำงาน

7. กจิ กรรมการเรียนรู้
วิธกี ารสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)
7.1 ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. ครูทบทวนความรเู้ กยี่ วกับเรอื่ ง ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร โดยใช้คำถามดังน้ี
• ของแข็งเม่อื ได้รบั พลงั งานความร้อนแล้วเปลย่ี นสถานะไปเปน็ ของเหลว การเปล่ยี นแปลง

น้ีเรียกว่า (การหลอมเหลว)
• ของเหลวเมือ่ ได้รับพลังงานความร้อนแล้วเปล่ียนสถานะไปเป็นแก๊ส การเปลี่ยนแปลงนี้

เรียกวา่ (การกลายเปน็ ไอ)
• ขณะที่สสารมีการเปลี่ยนสถานะนัน้ อุณหภูมิของสสารเป็นอย่างไร (อุณหภูมิของสสาร

ขณะเปล่ียนสถานะจะคงท่)ี
• พลังงานความร้อนทำให้สสารเปลี่ยนสถานะอย่างไร (สสารได้รับพลังงานความร้อน

สสารจะเปลย่ี นสถานะจากของแขง็ เปน็ ของเหลว หรอื จากของเหลวไปเปน็ แก๊ส หรือจากของแขง็ ไปเป็น
แกส๊ และหากสสารสูญเสียพลังงานความร้อน สสารจะเปลี่ยนสถานะจากแก๊สเปน็ ของเหลว หรือเปล่ียน
สถานะจากของเหลวเปน็ ของแขง็ )

2. ครถู ามคำถามเพือ่ กระตนุ้ ความสนใจของนักเรียน ดังนี้
• ถ้าเราต้องการให้น้ำแขง็ 100 กรัม เปลี่ยนสถานะเป็นน้ำ เราต้องใหค้ วามร้อนแก่นำ้ แขง็

ในปรมิ าณเท่าไร และจะทราบไดอ้ ย่างไร (นักเรยี นตอนตามความเขา้ ใจของตนเอง)

93

7.2 ข้ันสำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครอู ธิบายถงึ ปรมิ าณความร้อนกับการเปล่ียนสถานะของสสารให้นักเรียนไดท้ ราบ ซ่ึงเป็นการ
อธิบายต่อเนื่องจากเนื้อหาของคาบเรียนที่แล้ว โดยปริมาณความร้อนที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนสถานะของ
สสาร ได้แก่ ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว (latent heat of fusion) และ ความร้อนแฝงของการ
กลายเป็นไอ (latent heat of vaporization)
2. ครูแนะนำการคำนวณปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนสถานะและปริมาณอื่น ๆ ท่ี
เก่ียวข้องในหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.1 เล่ม 2 หน้า 52 -56
3. ครูให้นักเรียนสืบค้นการคำนวณปริมาณความร้อนจากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพิ่มเติมได้อีกด้วย
4. ครูให้นักเรียนคำนวณหาปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนสถานะ ในหนังสือเรียน
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.1 เลม่ 2 หน้า 56 ในคำถามชวนคดิ 3 ขอ้ ทำใส่สมุด
5. ครูเดินสังเกตนักเรียน เพื่อแนะนำการคำนวณ และเช็ควิธีทำการคำนวณและคำตอบของ
นกั เรยี น

7.3 ข้ันอธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
1. ครูสุ่มนักเรียนครั้งละ 2 คน ให้ออกมาเขยี นวธิ ีทำการคำนวณหาค่าปริมาณความร้อนท่ีทำให้
สสารเปล่ยี นสถานะ เขยี นบนกระดานหน้าชั้นเรียน
2. ให้นักเรียนที่เหลือในห้องตรวจวิธีทำและคำตอบของตัวเอง ว่าทำถูกหรือทำผิด ถ้าทำผิดให้
แก้ไขใหถ้ กู ต้อง

7.4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูสรปุ หวั ขอ้ เรอื่ งในบทที่ 1 ความรอ้ นกับการเปลยี่ นแปลงของสสาร ให้นักเรยี น
2. ครูเชื่อมโยงความรู้เรื่องความร้อนจำเพาะของสารไปสู่ผลของค่าความร้อนจำเพาะของน้ำทีม่ ี
ผลตอ่ สิง่ มชี วี ิตและสิง่ แวดล้อมโดยใหน้ กั เรยี นทำกิจกรรมท้ายบท และตอบคำถามทา้ ยกจิ กรรม
3. ครูใหน้ ักเรยี นแบง่ กลุ่มออกเปน็ 6 กลุ่ม เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั ทำกิจกรรมทา้ ยบทบทท่ี 1
4. ครสู ุม่ ให้นกั เรียนแต่ละกล่มุ นำเสนอคำตอบของคำถามท้ายบทที่กล่มุ ของตวั เองชว่ ยกันตอบ

7.5 ขั้นประเมินผล (Evaluation)
1. ครูให้นักเรียนยกตวั อย่างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ความร้อนทำให้สสารเปลี่ยนสถานะ
(นกั เรียนตอบตามความเข้าใจและเหตกุ ารณท์ ่ีนกั เรยี นเคยพบเห็น)

94

2. ให้นักเรียนตอบคำถามสำคัญของบท เพื่อประเมินความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของ
สสารเนื่องจากความรอ้ นและรว่ มกนั อภปิ รายคำตอบ ดังนี้

• สสารชนิดเดียวกันในสถานะตา่ ง ๆ มีการจดั เรยี งอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนภุ าค
และการเคลอ่ื นท่ีของอนุภาคเปน็ อย่างไร (อนุภาคของของแขง็ จะเรียงชิดกัน โดยมีแรงยดึ เหน่ียวระหว่าง
อนภุ าคของของแขง็ มากกว่าของเหลวและแก๊ส และส่นั อยกู่ บั ท่ี อนุภาคของของเหลวอยู่ใกล้กัน โดยแรง
ยึดเหน่ยี วระหว่างอนภุ าคของของเหลวนอ้ ยกวา่ ของแขง็ แตม่ ากกว่าแก๊ส อนภุ าคของของเหลวจึงเคล่ือนที่
ได้รอบ ๆ อนุภาคใกล้เคียง อนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก โดยแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก
อนภุ าคจงึ เคลื่อนทไ่ี ด้อย่างอิสระทกุ ทิศทาง)

• ความร้อนทำให้สสารเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ขนาด และสถานะของสสารได้อย่างไร
(เมือ่ สสารไดร้ ับความร้อน อนภุ าคของสสารจะมพี ลงั งานและระยะหา่ งระหวา่ งอนภุ าคเพิ่มขน้ึ ทำให้สสาร
มอี ณุ หภมู ิสูงขน้ึ เกดิ การขยายตัว หรือเปลย่ี นสถานะ เชน่ ของแขง็ เปลย่ี นสถานะเป็นของเหลวของเหลว
เปลยี่ นสถานะเป็นแก๊ส ของแขง็ เปลย่ี นสถานะเปน็ แก๊ส เม่ือสสารสญู เสียความรอ้ นอนุภาคของสสารจะมี
พลังงานและระยะห่างระหวา่ งอนภุ าคลดลง ทำใหส้ สารมอี ุณหภูมิต่ำลงเกิดการหดตวั หรือเปล่ียนสถานะ
เช่น ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง แก๊สเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว แก๊สเปลี่ยนสถานะเป็น
ของแขง็ )

• ความร้อนทำให้การจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่
ของอนภุ าคของสสารเปลย่ี นแปลงอย่างไร (เมอื่ สสารไดร้ ับความร้อน อนภุ าคของสสารมีพลังงานเพิ่มข้ึน
และสั่นมากขึ้นหรือเคลื่อนที่เร็วขึ้นทำให้อนุภาคอยู่ห่างกันมากขึ้น แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคลดลง
เมอ่ื สสารสูญเสยี ความร้อนจะส่งผลในทางตรงกันขา้ ม)

3. ครูประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน ดังนี้ สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะทำงานร่วมกัน
สังเกตการตอบคำถามของนกั เรียนในชน้ั เรยี น สังเกตการตอบคำถามจากกิจกรรม

4. ครตู รวจสมดุ การคำนวณหาปรมิ าณความรอ้ นทำให้สสารเปล่ียนสถานะ
5. ครูตรวจกิจกรรมทา้ ยบทบทที่ 1

95

8. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้
1. หนังสอื เรยี นรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เลม่ 2 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 (สสวท.)
2. แหล่งการสืบคน้ ขอ้ มลู อืน่ ๆ เช่น อินเทอรเ์ น็ต
3. สมดุ
4. ใบกจิ กรรมท้ายบทบทท่ี 1

9. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วธิ กี ารวัด เครือ่ งมือที่ใชว้ ัด เกณฑก์ ารประเมนิ
ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ
ด้านความรู้ (K) - การตอบคำถามใน - คำถาม 70 ขึ้นไป

1. ยกตวั อย่างสถานการณใ์ น ชนั้ เรยี น - แบบสังเกต ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ
พฤตกิ รรม 70 ข้นึ ไป
ชีวติ ประจำวนั ท่คี วามรอ้ นทำให้ - สมุด

สสารเปลี่ยนสถานะได้

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) - สงั เกตพฤตกิ รรม
1. คำนวณปริมาณความร้อนที่ - ตรวจสมุด
ทำให้สสารเปลยี่ นสถานะได้

ด้านคณุ ลกั ษณะ (A) - การตอบคำถามใน - คำถาม ผา่ นเกณฑ์ระดบั ดี

1.มีความรบั ผดิ ชอบในงานท่ี ชั้นเรียน - แบบสงั เกต ข้นึ ไป

ไดร้ บั มอบหมาย แสดงความ - สงั เกตพฤตกิ รรม พฤติกรรมการทำงาน
คดิ เห็นภายในกลมุ่ และยอมรับ
กลุ่ม
ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ ่ืน

96

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่

คำชีแ้ จง: ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของผูเ้ รียนในระหวา่ งการทำกจิ กรรม แล้วขดี  ลงในทช่ี ่องให้

คะแนน

กล่มุ ที่ ............................................................

ช่ือ - สกลุ มีสว่ นร่วมใน ยอมฟงั ความ รับผิดชอบใน ใหค้ วาม มีขัน้ ตอนใน คะแนน
การแสดง คดิ เห็นของ งานท่ีไดร้ บั รว่ มมอื ในการ การทำงาน รวม
ความคิดเห็น มอบหมาย อย่างเปน็ 15
ผู้อ่นื ทำงาน คะแนน
ระบบ

321321321321321

ลงช่ือ.....................................................................ผู้ประเมิน
วนั ท่ี.................เดอื น.................................. พ.ศ. ....................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ทำเปน็ ประจำ 2 คะแนน
พฤติกรรมทีท่ ำเป็นบางครง้ั
พฤติกรรมทท่ี ำน้อยครัง้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

12-15 ดีมาก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ต่ำกวา่ 8 ปรับปรุง


Click to View FlipBook Version