The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaimath2514, 2022-05-20 10:33:15

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

เฉลยแบบฝึกหัด 1.1

สารเคมตี อ่ ไปน้เี ป็นแกส๊ ท่อี าจพบในอากาศ จงระบวุ า่ สารต่อไปน้ีอยใู่ นรปู อะตอมหรอื โมเลกุล และเปน็ ธาตุ
หรอื สารประกอบ โดยเขียนเครื่องหมาย ✓ ลงในชอ่ งว่าง

สูตรเคมี ฃื่อสารเคมี อะตอม โมเลกลุ ธาตุ สารประกอบ

H2 แก๊สไฮโดรเจน ✓ ✓ ✓
(hydrogen gas) ✓ ✓

Cl2 แก๊สครอรีน ✓ ✓
(chlorine gas) ✓ ✓

HCl ไฮโรเจนคลอไรด์ ✓
(hydrogen chloride) ✓ ✓

O3 โอโซน (ozone) ✓

NO ไนโตรเจนมอนอกไซด์
(nitrogen monoxide)

CO ไนโตรเจนมอนอกไซด์
(carbon monoxide)

Ne นอี อน (neon)

CH4 มีเทน (methane)

แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 2

เรือ่ ง องค์ประกอบภายในอะตอม

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์กายภาพ1 รหัสวิชา ว32101 เวลา 2 ชั่วโมง

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ อากาศ รวม 7 ชัว่ โมง

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1

บูรณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง  อาเซยี น  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น  มาตรฐานสากล  ขา้ มกลมุ่ สาระ

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสมบตั ิของสสารกบั โครงสรา้ ง

และแรงยึดเหน่ยี วระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี

2. ตัวชวี้ ัด
ว 2.1 ม.5/2 เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจำลองอะตอมของโบร์กับแบบจำลอง

อะตอม แบบกล่มุ หมอก
ว 2.1 ม.5/3 ระบจุ ำนวนโปรตอน นิวตรอน อเิ ล็กตรอนของอะตอมและไอออนท่ีเกิดจากอะตอมเดียว

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
3.1 ด้านความรู้ (K)
1) นักเรยี นระบจุ ำนวนเวเลนซ์อิเลก็ ตรอนจากแบบจำลองอะตอมของโบรข์ องธาตุทก่ี ำหนดให้ได้
2) นักเรียนระบุจำนวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม และไอออนท่เี กดิ จาก
อะตอมเดยี วได้
3.2 ด้านกระบวนการ (P)
1) นกั เรียนเขยี นเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจำลองอะตอมของโบรก์ ับ
แบบจำลองอะตอมแบบกล่มุ หมอกได้
3.3 ดา้ นคุณลกั ษณะ (A)
1) ใฝ่เรยี นรู้และเปน็ ผมู้ ีความมงุ่ ม่ันในการทำงาน

4. สาระสำคัญ
อากาศเป็นสารผสมประกอบด้วยแก๊สหลายชนิดในปริมาณที่แตกต่าง อยู่ในรูปของอะตอมและโมเลกุล

โดยสารท่อี ยู่ในรปู อะตอมจดั เปน็ ธาตเุ สมอ สว่ นสารที่อยใู่ นรูปโมเลกุลอาจเป็นธาตุหรือสารประกอบกไ็ ด้ อะตอมเป็น
หน่วยย่อยของสารเคมี ภายในอะตอมประกอบดว้ ยโปรตอน นวิ ตรอน และอิเล็กตรอน ซึ่งมีจำนวนที่แตกต่างกันใน
ธาตุแต่ละชนิด สง่ ผลให้ธาตุแต่ละชนิดมีมวลและสมบัตเิ ฉพาะท่แี ตกตา่ งกัน โดยโปรตอนและนิวตรอนรวมกันอยูใ่ น
นิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียส แบบจำลองอะตอมของโบร์เสนอว่า อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบ
นิวเคลียสเป็นวง ส่วนแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกเสนอว่า อิเล็กตรอนเคลื่อนท่ีรอบนิวเคลียสในลักษณะ

กลุ่มหมอก อะตอมของธาตุต่างชนิดกันมจี ำนวนโปรตอนไม่เทา่ กัน อะตอมเป็นกลางทางไฟฟา้ เมื่ออะตอมของธาตุ
มีการให้หรือรับอิเล็กตรอนทำให้เกิดไอออน สัญลักษณ์นิวเคลียร์แสดงชนิดและจำนวนอนุภาคในอะตอมของธาตุ
ธาตุชนิดเดียวกันที่มีเลขมวลต่างกันเป็นไอโซโทปกัน ตารางธาตุจัดเรยี งธาตุตามเลขอะตอมและสมบัติที่คล้ายคลึง
กันของธาตุ แบ่งธาตุออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ และกลุ่มธาตแุ ทรนซิชัน และยังสามารถแบ่งธาตุ
ออกเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ โดยธาตุที่เป็นองค์ประกอบของแก๊สในอากาศส่วนใหญ่เป็นธาตุอโลหะ
แก๊สหลายชนิดในอากาศนำมาใช้ประโยชน์ได้มาก แต่บางชนิดเป็นพิษโดยส่งผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์และ
สงิ่ แวดล้อม

5. สาระการเรยี นรู้
5.1 ความรู้
อะตอมเปน็ หน่วยยอ่ ยของสารเคมี ภายในอะตอมประกอบดว้ ยโปรตอน นิวตรอน และอเิ ล็กตรอน
ซึ่งมีจำนวนทแี่ ตกต่างกนั ในธาตุแตล่ ะชนดิ ทำให้ธาตุแตล่ ะชนิดมมี วลของอะตอมและสมบตั ิท่แี ตกต่างกัน
เชน่ อะตอมของออกซิเจน (O) มี 8 โปรตอน 8 นิวตรอน และ 8 อิเลก็ ตรอน ซึ่งมีสมบตั ิต่างจากอะตอม
ของฮเี ลยี ม (He) ท่มี ี 2 โปรตอน 2 นิวตรอน และ 2 อิเลก็ ตรอน ในธรรมชาตธิ าตอุ อกซเิ จน (O2) อยู่ในรปู
โมเลกลุ เปน็ แก๊สที่เกิดปฏกิ ริ ิยาเคมีได้ เชน่ ปฏิกิริยาการเผาไหม้ ส่วนธาตุฮเี ลียม (He) อยู่ในรปู อะตอม
เปน็ แกส๊ ที่ไม่เกิดปฏิกิริยาเคมี และแกส๊ ฮเี ลียมเบากว่าแกส๊ ออกซเิ จน
เนอ่ื งจากอะตอมและองคป์ ระกอบภายในอะตอมมขี นาดเล็กมากไม่สามารถมองเห็นดว้ ยตาเปล่า
จึงมกี ารใชแ้ บบจำลองอะตอมในการแสดงองค์ประกอบ และตำแหน่งขององค์ประกอบในอะตอม ซงึ่
แบบจำลองอะตอมได้รับการปรบั ปรุงเปลีย่ นแปลงให้สอดคลอ้ งกบั ผลการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ทม่ี ี
เพิ่มมากขึน้ เรอ่ื ยๆ
แบบจำลองอะตอมท่ีนิยมนำมาใช้ในการอธบิ ายสมบตั ทิ างเคมีของธาตุ คือ แบบจำลองอะตอม
ของโบร์ (Bohr’s atomic model) ประกอบดว้ ยโปรตอน (proton, p) ท่ีมีประจุบวก และนวิ ตรอน
(neutron, n) ไม่มปี ระจรุ วมกนั อยู่ในนิวเคลียส และอิเลก็ ตรอน (electron, e) มีประจุลบ เคล่อื นทรี่ อบ
นิวเคลยี สเป็นวง ซง่ึ แตล่ ะวงมีระยะห่างจากนวิ เคลียสและมีพลงั งานตา่ งกัน อเิ ลก็ ตรอนทอ่ี ยู่วงนอกสดุ
เรยี กว่า เวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอน (valence electron) ดงั ตวั อยา่ งแสดงในรูป 1.5

รูป 1.5 แผนภาพแสดงแบบจำลองอะตอมของโบรข์ องฮีเลยี มและออกซเิ จน

เน่ืองจากอิเล็กตรอนมขี นาดเลก็ และเคลอ่ื นทอ่ี ย่างรวดเร็วตลอดเวลา ทำให้ไมส่ ามารถบอก
ตำแหน่งที่แน่นอนของอเิ ลก็ ตรอนได้ จึงมกี ารเสนอแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก (electron clond
model of atom) ซงึ่ แสดงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในลกั ษณะกลุ่มหมอก โดยบรเิ วณท่ีมกี ลุ่มหมอกทึบ
เป็นบริเวณที่มโี อกาสพบอเิ ลก็ ตรอนได้มากกว่าบริเวณทม่ี กี ลุม่ หมอกจาง

อะตอมของธาตชุ นิดเดยี วกันมีจำนวนโปรตอนเทา่ กนั แตอ่ ะตอมของธาตตุ ่างชนดิ กนั มจี ำนวน
โปรตอนไมเ่ ท่ากัน ดังนน้ั จึงใช้จำนวนโปรตอนระบุชนดิ ของธาตุได้ เน่อื งจากอะตอมเป็นกลางทางไฟฟา้ จึง

มจี ำนวนอเิ ลก็ ตรอนเทา่ กับจำนวนโปรตอน สว่ นจำนวนนวิ ตรอนของธาตแุ ตล่ ะชนดิ อาจเท่าหรือไมเ่ ทา่ กบั

จำนวนโปรตอน ดงั ตาราง 1.1

ตาราง 1.1 จำนวนโปรตอน อิเล็กตรอน และนวิ ตรอนของธาตุบางชนิด

สญั ลกั ษณ์ ชื่อธาตุ โปรตอน จำนวน นวิ ตรอน
ธาตุ อเิ ล็กตรอน

H ไฮโดรเจน (hydrogen) 1 1 0

He ฮเี ลียม (helium) 2 2 2

C คารบ์ อน (Carbon) 6 6 6

N ไนโตรเจน (nitrogen) 7 7 7

O ออกซเิ จน (oxygen) 8 8 8

F ฟลอู อรนี (fluorine) 9 9 10

Ne นีออน (neon) 10 10 10

Mg แมกนีเซยี ม (magnesium) 12 12 12

Cl คลอรนี (chlorine) 17 17 18

Ar อารก์ อน (argon) 18 18 22

เมอ่ื อะตอมของธาตมุ ีการใหห้ รอื รับอเิ ล็กตรอนทำให้เกิดไอออน โดยไอออนบวกมีจำนวน

อิเลก็ ตรอนน้อยกวา่ โปรตอน และไอออนลบมจี ำนวนอิเล็กตรอนมากกว่าโปรตอน ตวั อย่างดังตาราง 1.2

ตาราง 1.2 จำนวนโปรตอน อเิ ล็กตรอน และนิวตรอนของไอออนบางชนิด

ไอออน โปรตอน จำนวน นิวตรอน
อิเลก็ ตรอน

F- 9 10 10

O2- 8 10 8

Na+ 11 10 12

Ca2+ 20 18 20

5.2 กระบวนการ
1) ความสามารถในการส่อื สาร (อ่าน ฟงั พูด เขียน)
2) ความสามารถในการคิด (สังเกต วเิ คราะห์ จัดกลุม่ สรุป)
3) ความสามารถในการแก้ปญั หา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ (ความรับผิดชอบ)
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ใช้การสืบคน้ ผา่ นคอมพิวเตอร์)

5.3 คณุ ลกั ษณะและค่านิยม
ใฝเ่ รยี นรแู้ ละเป็นผูม้ ีความมงุ่ มนั่ ในการทำงาน

6. บรู ณาการ
บรู ณาการกับกล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ เร่อื ง สตู รหาพื้นท่ีวงกลม และเสน้ รอบวง

7. กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้นั ที่ 1 ข้ันสรา้ งความสนใจ
1.1 ครูทบทวนเน้ือหาเดมิ เร่ือง องคป์ ระกอบในอากาศ
1.2 ครูต้ังคำถามตรวจสอบความร้เู ดมิ ดังน้ี
1) นอกจากแก๊สในอากาศแลว้ การระบวุ ่าสารเคมีชนิดอื่นอยู่ในรูปอะตอม หรือโมเลกลุ
และจัดเป็นธาตุหรือสารประกอบสามารถพิจาณาได้จากอะไร (แนวการตอบ สูตรเคมี)
2) หนว่ ยท่เี ลก็ ท่ีสดุ ของธาตุคอื อะไร เพราะเหตุใด (แนวการตอบ อะตอม เพราะเปน็
หน่วยท่ีเลก็ ทสี่ ุดท่แี สดงสมบัตเิ ฉพาะของธาตุ)
1.3 ครใู หน้ ักเรยี นทำกิจกรรม 1.1 เพ่ือทบทวนความรูเ้ ก่ยี วกบั ตำแหนง่ และชนิดประจุของโปรตอน
นิวตรอน และอเิ ล็กตรอน
1.4 ครตู ้ังคำถามใหน้ กั เรียนคดิ เพื่อนำไปสู่กิจกรรมแบบจำลองอะตอมของโบร์
1) อเิ ล็กตรอนเคลอ่ื นทีร่ อบนิวเคลยี สในลกั ษณะใด (แนวการตอบ อิเลก็ ตรอนเคลื่อนท่ี
รอบนิวเคลยี สเปน็ วง ซึ่งแต่ละวงมีระยะห่างจากนวิ เคลียสและมพี ลังงานตา่ งกนั )

ขนั้ ท่ี 2 ขนั้ สำรวจและค้นหา
2.1 ครูใหน้ ักเรยี นทุกคนศึกษาคน้ ควา้ องค์ประกอบภายในอะตอมตามรายละเอียดในหนังสือเรียน

หนา้ 7 - 10
2.2 นักเรียนทำใบงาน เร่ือง มาร้จู กั แบบจำลองอะตอมของโบร์กับแบบจำลองอะตอมแบบกลมุ่

หมอกกนั เถอะ
2.3 นักเรยี นทำแบบฝึกหัด เร่อื ง ระบุจำนวนโปรตอน อิเล็กตรอน และนวิ ตรอน
2.4 ครูใหค้ วามรู้เก่ียวกบั การหาจำนวนเวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนของแบบจำลองอะตอมของโบร์
2.5 นักเรยี นทำแบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 1 ขอ้ 4-5 ลงในสมดุ

ขั้นที่ 3 ขัน้ อธิบายและลงขอ้ สรปุ
3.1 ครูนำนกั เรยี นอภิปรายเพ่ือนำไปสกู่ ารสรปุ โดยใช้คำถามตอ่ ไปน้ี
1) องค์ประกอบภายในอะตอมมีอะไรบ้าง (แนวการตอบ ประกอบภายในอะตอมมี

อะไรบา้ ง (แนวการตอบ อะตอมประกอบด้วยโปรตอน นวิ ตรอน และอิเลก็ ตรอน)
2) โปรตอน อักษรย่อคืออะไร และเป็นประจบุ วกหรือลบ (แนวการตอบ อกั ษร คอื p

มีประจุบวก)
3) อเิ ล็กตรอน อกั ษรย่อคอื อะไร และเปน็ ประจุบวกหรอื ลบ (แนวการตอบ อกั ษร คือ e

มีประจุลบ)
4) นวิ ตรอน อักษรยอ่ คอื อะไร และเป็นประจุบวกหรอื ลบ (แนวการตอบ อกั ษร คือ n

ไมม่ ปี ระจุ)
5) จงอธิบายแบบจำลองอะตอมของโบร์ (แนวการตอบ แบบจำลองอะตอมของโบร์

ประกอบดว้ ยโปรตอน (proton, p) ทมี่ ีประจุบวก และนิวตรอน (neutron, n) ไม่มปี ระจรุ วมกนั อยใู่ น

นวิ เคลยี ส และอิเล็กตรอน (electron, e) มปี ระจลุ บ เคลือ่ นท่ีรอบนิวเคลียสเป็นวง ซึ่งแต่ละวงมีระยะห่างจาก
นิวเคลียสและมพี ลงั งานต่างกัน)

6) จากแบบจำลองอะตอมของโบร์ อเิ ลก็ ตรอนทอ่ี ยวู่ งนอกสุด เรียกว่าอะไร (แนวการ
ตอบ เวเลนซ์อเิ ล็กตรอน (valence electron)

7) จงอธบิ ายแบบจำลองอะตอมแบบกลุม่ หมอก (แนวการตอบ อเิ ลก็ ตรอนในลกั ษณะ
กลุ่มหมอก โดยบริเวณท่มี ีกลุ่มหมอกทึบเป็นบริเวณทีม่ ีโอกาสพบอิเลก็ ตรอนได้มากกว่าบรเิ วณทีม่ ีกลุม่
หมอกจาง)

8) ธาตุ Ne มจี ำนวนโปรตอน อเิ ล็กตรอน และนวิ ตรอนเท่าใด (แนวการตอบ p = 10,
e = 10 และ n = 10)

9) ไอออน Ca2+ มจี ำนวนโปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอนเท่าใด (แนวการตอบ p =
20, e = 18 และ n = 20)

10) ไอออน O2- มีจำนวนโปรตอน อิเลก็ ตรอน และนิวตรอนเท่าใด (แนวการตอบ p = 8,
e = 10 และ n = 8)

11) ธาตุฮีเลยี ม (He) มีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเทา่ ใด (แนวการตอบ 2)
12) ธาตอุ อกซเิ จน (O) มีจำนวนเวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนเทา่ ใด (แนวการตอบ 6)
3.2 นักเรียนและครรู ่วมกันอภิปรายและสรุปการศกึ ษาคน้ ควา้ จนสรุป เรอ่ื ง องค์ประกอบภายใน
อะตอม ดังน้ี
1) อะตอมเป็นหนว่ ยยอ่ ยของสารเคมี ภายในอะตอมประกอบด้วยโปรตอน นวิ ตรอน และ
อเิ ล็กตรอน ซึ่งมีจำนวนทแ่ี ตกต่างกันในธาตแุ ตล่ ะชนิด ทำให้ธาตแุ ต่ละชนิดมีมวลของอะตอมและสมบัตทิ ่ี
แตกตา่ งกัน เช่น อะตอมของออกซเิ จน (O) มี 8 โปรตอน 8 นิวตรอน และ 8 อเิ ลก็ ตรอน ซงึ่ มสี มบัติต่าง
จากอะตอมของฮเี ลียม (He) ทม่ี ี 2 โปรตอน 2 นิวตรอน และ 2 อเิ ลก็ ตรอน ในธรรมชาติธาตอุ อกซิเจน
(O2) อยใู่ นรปู โมเลกุล เปน็ แกส๊ ทีเ่ กดิ ปฏิกิริยาเคมีได้ เชน่ ปฏิกิรยิ าการเผาไหม้ สว่ นธาตุฮเี ลียม (He) อยู่ใน
รูปอะตอม เป็นแก๊สทีไ่ ม่เกิดปฏกิ ิริยาเคมี และแกส๊ ฮเี ลียมเบากว่าแก๊สออกซเิ จน
2) เน่อื งจากอะตอมและองค์ประกอบภายในอะตอมมขี นาดเล็กมากไม่สามารถมองเหน็
ดว้ ยตาเปล่า จึงมกี ารใช้แบบจำลองอะตอมในการแสดงองคป์ ระกอบ และตำแหนง่ ขององค์ประกอบใน
อะตอม ซึง่ แบบจำลองอะตอมได้รบั การปรบั ปรงุ เปลยี่ นแปลงให้สอดคลอ้ งกับผลการทดลองของ
นกั วิทยาศาสตร์ทมี่ ีเพิ่มมากขนึ้ เร่อื ยๆ
3) แบบจำลองอะตอมทนี่ ยิ มนำมาใช้ในการอธิบายสมบตั ิทางเคมีของธาตุ คือ
แบบจำลองอะตอมของโบร์ (Bohr’s atomic model) ประกอบด้วยโปรตอน (proton, p) ท่มี ีประจุ
บวก และนวิ ตรอน (neutron, n) ไม่มปี ระจรุ วมกนั อยใู่ นนวิ เคลียส และอเิ ล็กตรอน (electron, e) มปี ระจุ
ลบ เคล่ือนทีร่ อบนิวเคลียสเป็นวง ซ่ึงแตล่ ะวงมรี ะยะห่างจากนวิ เคลียสและมีพลงั งานต่างกนั อเิ ลก็ ตรอนที่
อยวู่ งนอกสุด เรยี กว่า เวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอน (valence electron) ดังตวั อยา่ งแสดงในรูป 1.5

4) เนอ่ื งจากอิเลก็ ตรอนมีขนาดเล็กและเคล่ือนที่อย่างรวดเรว็ ตลอดเวลา ทำให้ไมส่ ามารถ
บอกตำแหนง่ ท่แี น่นอนของอิเล็กตรอนได้ จึงมีการเสนอแบบจำลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอก (electron

clond model of atom) ซง่ึ แสดงโอกาสท่ีจะพบอิเลก็ ตรอนในลกั ษณะกลุ่มหมอก โดยบรเิ วณที่มกี ลมุ่
หมอกทึบเป็นบรเิ วณทีม่ ีโอกาสพบอเิ ล็กตรอนไดม้ ากกว่าบรเิ วณทีม่ กี ลุ่มหมอกจาง

5) อะตอมของธาตชุ นิดเดียวกนั มีจำนวนโปรตอนเทา่ กัน แต่อะตอมของธาตุต่างชนิดกันมี
จำนวนโปรตอนไม่เทา่ กัน ดังน้ันจึงใช้จำนวนโปรตอนระบชุ นิดของธาตุได้ เน่อื งจากอะตอมเปน็ กลางทาง
ไฟฟา้ จงึ มีจำนวนอิเลก็ ตรอนเท่ากับจำนวนโปรตอน สว่ นจำนวนนวิ ตรอนของธาตุแตล่ ะชนดิ อาจเท่าหรอื ไม่
เทา่ กบั จำนวนโปรตอน ดงั ตาราง 1.1

ข้นั ท่ี 4 ขน้ั ขยายความรู้
4.1 ครูใหค้ วามรู้เพ่ิมเติมเกยี่ วกบั ชวนคดิ ในหนงั สอื เรียน หน้า 10
1) อะตอมของธาตชุ นิดหนึ่งมี 13 โปรตอน นกั เรยี นสามารถระบุจำนวนอิเล็กตรอน และ

นวิ ตรอนของธาตนุ ไี้ ดห้ รือไม่ เพราะเหตุใด (สามารถบอกจำนวนอิเล็กตรอนได้ เพราะอะตอมของธาตุเปน็
กลางทางไฟฟ้า จงึ มีจำนวนโปรตอนเท่ากับอเิ ลก็ ตรอน แตไ่ มส่ ามารถบอกจำนวนนิวตรอนได้ เพราะจำนวน
นวิ ตรอนและโปรตอนไมม่ คี วามสัมพนั ธก์ นั )

4.2 ครูให้ความรูเ้ พ่มิ เติมเก่ียวกบั จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุทไ่ี ม่ใชโ่ ลหะทรานซิชนั
1) การระบจุ ำนวนเวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอน (แบบจำลองอะตอมของโบร์) เวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอน คอื

จำนวนอเิ ล็กตรอนในระดับพลงั งานนอกสุดหรือสงู สดุ ของแตล่ ะธาตจุ ะมอี เิ ลก็ ตรอนไมเ่ กนิ 8 การจดั
อเิ ลก็ ตรอน มีความสัมพนั ธก์ บั การจดั หมู่และคาบ คือ เวเลนซ์อเิ ล็กตรอน จะตรงกับเลขท่ีของหมู่ ดังนัน้
ธาตทุ ีอ่ ยหู่ ม่เู ดยี วกันจะมีเวเลนซ์อิเลก็ ตรอนเทา่ กัน

4.3 ครูใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนเลา่ สกู่ ันฟงั ถึงความร้ทู ีไ่ ด้จากการทำกจิ กรรม และปัญหาทเี่ กดิ ข้ึน
ระหวา่ งการทำกิจกรรม

4.4 ครนู ำนักเรยี นทำแบบฝึกหดั ทา้ ยบทที่ 1 ข้อ 3 บางส่วน แลว้ ใหน้ ักเรียนทำด้วยตนเอง

ขน้ั ที่ 5 ข้ันประเมินผล
5.1 ครูตรวจใบงาน เรอื่ ง มารจู้ ักแบบจำลองอะตอมของโบรก์ บั แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

กันเถอะ
5.2 ครตู รวจแบบฝกึ หดั เรอ่ื ง ระบุจำนวนโปรตอน อิเล็กตรอน และนวิ ตรอน
5.3 ครูตรวจสมุดการทำแบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 1 ข้อ 4-5 ของนกั เรยี น

ประยกุ ต์และตอบแทนสังคม
ครใู ห้นกั เรียนแต่ละคนนำความรู้ที่เรียนไปค้นคว้าเพ่ิมเตมิ ท่ีห้องสมุด หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ชั้นเรยี น

8. สือ่ การเรยี นร/ู้ แหล่งเรียนรู้
8.1 หนงั สือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตรก์ ายภาพ) ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 เลม่ 1

(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 ใบงาน เรื่อง มารู้จักแบบจำลองอะตอมของโบร์กบั แบบจำลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอกกันเถอะ
8.3 แบบฝกึ หัด เร่ือง ระบุจำนวนโปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน
8.4 อินเทอร์เน็ต/หอ้ งสมดุ

9. การวัดและประเมินผล วิธกี ารวัด เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมิน
จุดประสงค์การเรยี นรู้
1) แบบฝึกหดั ท้ายบท 1) แบบฝกึ หดั ท้าย 1) นักเรยี นสามารถ
ดา้ นความรู้ (K) ท่ี 1 ขอ้ 4 บทท่ี 1 ขอ้ 4 ทำแบบฝกึ หดั ท้าย
1) นกั เรียนระบจุ ำนวนเวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอน 2) ตรวจแบบฝกึ หัด 2) แบบฝกึ หัด เรื่อง บทที่ 1 ขอ้ 4 ได้
จากแบบจำลองอะตอมของโบรข์ องธาตทุ ่ี เรื่อง ระบจุ ำนวน ระบจุ ำนวนโปรตอน ระดบั ดี ผ่านเกณฑ์
กำหนดใหไ้ ด้ โปรตอน อเิ ลก็ ตรอน อิเล็กตรอน และ 2) นกั เรียนสามารถ
2) นกั เรยี นระบจุ ำนวนโปรตอน นิวตรอน และนวิ ตรอน นิวตรอน ทำแบบฝึกหดั
และอเิ ลก็ ตรอนของอะตอม และไอออนท่ี 3) แบบประเมนิ การ แบบฝึกหัด เรอื่ ง
เกดิ จากอะตอมเดียวได้ ทำกิจกรรม ระบุจำนวนโปรตอน
อิเล็กตรอน และ
ดา้ นกระบวนการ (P) 1) ตรวจใบงาน เร่ือง 1) แบบประเมนิ การ นิวตรอน ได้ระดบั ดี
1) นกั เรยี นเขียนเปรยี บเทยี บความเหมอื น มาร้จู กั แบบจำลอง ทำกิจกรรม ผา่ นเกณฑ์
และความแตกต่างของแบบจำลองอะตอม อะตอมของโบร์กบั 2) ใบงาน เรอ่ื ง
ของโบรก์ ับแบบจำลองอะตอมแบบกลุม่ แบบจำลองอะตอม มารจู้ ักแบบจำลอง 1) นักเรียนสามารถ
หมอกได้ แบบกลมุ่ หมอกกัน อะตอมของโบร์กบั สรปุ เนอ้ื หาทไี่ ดจ้ าก
เถอะ แบบจำลองอะตอม การศกึ ษาค้นคว้า
แบบกลุ่มหมอกกนั ไดร้ ะดับดี ผ่านเกณฑ์
ดา้ นคุณลกั ษณะ (A) เถอะ
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งม่ันในการ 1) ตรวจใบงานและ 1) นกั เรยี นทำภาระ
ทำงาน แบบฝึกหัดของ 1) แบบประเมนิ การ งานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
ทำกิจกรรม ได้ระดบั ดี ผ่านเกณฑ์
นกั เรียน

10. เกณฑก์ ารประเมินผลงานนกั เรยี น
เกณฑ์การประเมนิ แบบ Rubrics ของการทำกิจกรรม เร่ือง องคป์ ระกอบภายในอะตอม

ประเด็นการ ค่าน้ำหนัก แนวทางการให้คะแนน
ประเมิน คะแนน
ดา้ นความรู้ ทำแบบฝึกหดั ทา้ ยบทที่ 1 ขอ้ 4 ไดถ้ กู ตอ้ งครบถ้วน
(K) 3 ทำแบบฝกึ หัดท้ายบทท่ี 1 ข้อ 4 ได้ แตย่ งั ไมถ่ ูกต้องครบถว้ น
2 ทำแบบฝกึ หัดท้ายบทท่ี 1 ข้อ 4 ไมถ่ กู ต้อง
ดา้ น 1 ทำแบบฝึกหดั เร่อื ง ระบจุ ำนวนโปรตอน อิเลก็ ตรอน และนวิ ตรอน ได้ถกู ตอ้ งครบถ้วน
กระบวนการ 3 จำนวน 12-14 ขอ้
ทำแบบฝึกหัด เรื่อง ระบุจำนวนโปรตอน อิเลก็ ตรอน และนวิ ตรอน ได้ถกู ต้องครบถ้วน
(P) 2 จำนวน 6-11 ข้อ
ทำแบบฝกึ หดั เร่อื ง ระบจุ ำนวนโปรตอน อิเล็กตรอน และนวิ ตรอน ได้ถกู ต้องครบถว้ น
ดา้ น 1 จำนวน 1-5 ข้อ หรอื ไมถ่ ูกตอ้ ง
คณุ ลกั ษณะ สรุปเนอื้ หา เร่อื ง แบบจำลองอะตอมของโบรก์ ับแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
3 ได้ถูกต้องครบถ้วน
(A) สรปุ เน้อื หา เรื่อง แบบจำลองอะตอมของโบร์กบั แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
2 ได้ค่อนขา้ งถูกต้องครบถ้วน
สรปุ เนือ้ หา เรอ่ื ง แบบจำลองอะตอมของโบรก์ บั แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกได้
1 แต่ไม่ครบถ้วน
ทำภาระงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายเสร็จภายในเวลาท่ีกำหนด และเรียบรอ้ ยถกู ตอ้ งครบถว้ น
3 ทำภาระงานท่ไี ดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาที่กำหนด แตง่ านยังผดิ พลาดบางส่วน
2 ทำภาระงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายเสรจ็ แต่ลา่ ช้า และเกิดขอ้ ผดิ พลาดบางส่วน
1

ระดบั คะแนน 3 หมายถึง ระดับดีมาก
คะแนน 2 หมายถงึ ระดับดี
คะแนน 1 หมายถงึ ระดบั พอใช้
คะแนน

หมายเหตุ หาค่าเฉลีย่ ของคะแนนดา้ นความรู้ (K) คะแนนเตม็ เท่ากบั 3

การประเมนิ การทำกจิ กรรม เรอื่ ง องค์ประกอบภายในอะตอม

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกลุ ด้านความรู้ ดา้ น ดา้ น รวม ระดบั
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

ท่ี ชอ่ื - นามสกุล จุดประสงค์การเรยี นรู้ รวม ระดบั

ดา้ นความรู้ ดา้ น ด้าน คะแนน คณุ ภาพ

(K) กระบวนการ คุณลกั ษณะ
(P) (A)

3 3 39

29 9 หมายถงึ ระดับดีมาก
30 7-8 หมายถงึ ระดับดี
31 5-6 หมายถึง ระดบั ปานกลาง
32 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรุง
33
34
35
36
37
38
39
40

ระดับคณุ ภาพ
คะแนน
คะแนน
คะแนน
คะแนน

บันทกึ หลงั การสอน

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอื่ ง อากาศ ใ
แผนการสอนท่ี 2 เร่ือง องคป์ ระกอบภายในอะตอม .

ใ เดอื น พ.ศ. ใ

วันที่

ผลการจดั การเรียนรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปญั หา / อปุ สรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกป้ ัญหา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชื่อ............................................ครผู สู้ อน ลงชอื่ .............................................หัวหนา้ กลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธินีย์ สรรเสริญ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

ชอื่ ชน้ั เลขท่ี ‘

ใบงาน เร่อื ง มารจู้ ักแบบจำลองอะตอมของโบรก์ ับแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกกันเถอะ

1. สรปุ สิ่งทไ่ี ดจ้ ากการศึกษาคน้ คว้า
แบบจำลองอะตอมทีน่ ิยมนำมาใช้ในการอธิบายสมบัตทิ างเคมีของธาตุ คือ แบบจำลองอะตอมของโบร์ (Bohr’s

atomic model) ประกอบด้วยโปรตอน (proton, p) ทมี่ ีประจบุ วก และนิวตรอน (neutron, n) ไม่มีประจรุ วมกนั อยใู่ น
นวิ เคลียส และอิเลก็ ตรอน (electron, e) มีประจลุ บ เคล่อื นทีร่ อบนวิ เคลียสเป็นวง ซึง่ แต่ละวงมีระยะหา่ งจากนวิ เคลยี สและ
มีพลงั งานต่างกนั อิเลก็ ตรอนท่อี ยูว่ งนอกสุด เรียกว่า เวเลนซ์อิเลก็ ตรอน (valence electron) ดังตัวอยา่ งแสดงในรูป 1.5 v

แบบจำลองอะตอมที่นิยมนำมาใช้ในการอธบิ ายสมบัติทางเคมีของธาตุ คือ แบบจำลองอะตอมของโบร์ (Bohr’s
atomic model) ประกอบด้วยโปรตอน (proton, p) ทม่ี ีประจุบวก และนิวตรอน (neutron, n) ไมม่ ปี ระจรุ วมกนั อยใู่ น

แบบจำลองอะตอมทน่ี ยิ มนำมาใช้ในการอธิบายสมบัตทิ างเคมีของธาตุ คอื แบบจำลองอะตอมของโบร์ (Bohr’s
atomic model) ประกอบดว้ ยโปรตอน (proton, p) ที่มปี ระจุบวก และนิวตรอน (neutron, n) ไม่มีประจุรวมกนั อยใู่ น

รูป 1.5 แผนภาพแสดงแบบจำลองอะตอมของโบร์ของฮีเลยี มและออกซิเจน

เน่ืองจากอิเล็กตรอนมีขนาดเล็กและเคล่ือนที่อย่างรวดเร็วตลอดเวลา ทำให้ไม่สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนของ

อิเล็กตรอนได้ จึงมีการเสนอแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก (electron clond model of atom) ซึ่งแสดงโอกาสท่ีจะ

พบอเิ ล็กตรอนในลักษณะกลุ่มหมอก โดยบริเวณที่มกี ลุ่มหมอกทึบเป็นบรเิ วณที่มีโอกาสพบอเิ ล็กตรอนได้มากกวา่ บริเวณที่มี

ก ลุ่ ม ห ม อ ก จ าง

แบบจำลองอะตอมท่ีนยิ มนำมาใช้ในการอธิบายสมบัติทางเคมีของธาตุ คือ แบบจำลองอะตอมของโบร์ (Bohr’s atomic

แบบจำลองอะตอมที่นยิ มนำมาใช้ในการอธบิ ายสมบัตทิ างเคมีของธาตุ คือ แบบจำลองอะตอมของโบร์ (Bohr’s

atomic model) ประกอบด้วยโปรตอน (proton, p) ทมี่ ีประจุบวก และนวิ ตรอน (neutron, n) ไม่มีประจรุ วมกนั อย่ใู น

แบบจำลองอะตอมทีน่ ิยมนำมาใช้ในการอธบิ ายสมบัตทิ างเคมีของธาตุ คอื แบบจำลองอะตอมของโบร์ (Bohr’s

atomic model) ประกอบด้วยโปรตอน (proton, p) ที่มีประจุบวก และนวิ ตรอน (neutron, n) ไมม่ ปี ระจรุ วมกันอย่ใู น

model) ประกอบดว้ ยโปรตอน (proton, p) ที่มปี ระจุบวก และนิวตรอน (neutr on, n) ไม่มปี ระจรุ วมกนั อยู่ใน

2. คำถาม : แบบจำลองอะตอมของโบร์กับแบบจำลองอะตอมแบบกล่มุ หมอกความเหมอื นและความแตกตา่ ง อย่างไร

ตอบ แบบจำลองอะตอมทงั้ สองมีความเหมอื นกนั คือ อะตอมประกอบดว้ ยโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ล็กตรอน โดยตำแหนง่

ของโปรตอนและนวิ ตรอนเหมือนกนั คอื อยู่ในนิวเคลยี ส ส่วนตำแหนง่ ของอเิ ลก็ ตรอนในแบบจำลองอะตอมทงั้ สองแตกต่างกัน

คือ แบบจำลองอะตอมของโบรแ์ สดงการเคลือ่ นท่ีของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลยี สเป็นวง แตแ่ บบจำลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอก

แสดงโอกาสที่จะพบอเิ ลก็ ตรอนรอบนวิ เคลียสในลักษณะกลุ่มหมอก v

คอื แบบจำลองอะตอมของโบร์แสดงการเคลอ่ื นท่ีของอิเล็กตรอนรอบนวิ เคลยี สเป็นวง แตแ่ บบจำลองอะตอมแบบกล่มุ หมอก

แสดงโอกาสที่จะพบอเิ ล็กตรอนรอบนวิ เคลยี สในลักษณะกลมุ่ หมอก v

แบบฝึกหดั เรอื่ ง ระบุจำนวนโปรตอน อิเล็กตรอน และนวิ ตรอน

คำช้ีแจง ให้นักเรียนระบุจำนวนโปรตอน อเิ ลก็ ตรอน และนวิ ตรอนของธาตบุ างชนดิ ลงในชอ่ งวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง

ขอ้ ท่ี สญั ลักษณ์ ชอื่ ธาตุ โปรตอน จำนวน นิวตรอน
ธาตุ 1 อิเล็กตรอน 0
ไฮโดรเจน (hydrogen) 2
1H ฮีเลยี ม (helium) 2 6
คาร์บอน (Carbon) 8 6 7
2 He 9 7 8
ไนโตรเจน (nitrogen) 10 10
3C ออกซเิ จน (oxygen) 12 10
ฟลูออรีน (fluorine) 12 18
4N 18 17
นีออน (neon) 18
5O แมกนีเซียม (magnesium)

6F คลอรนี (chlorine)
อารก์ อน (argon)
7 Ne

8 Mg

9 Cl

10 Ar

คำชี้แจง ให้นักเรยี นระบุจำนวนโปรตอน อเิ ล็กตรอน และนวิ ตรอนของไอออนบางชนิด ลงในชอ่ งวา่ งให้ถกู ตอ้ ง

ข้อท่ี ไอออน โปรตอน จำนวน นวิ ตรอน
อเิ ลก็ ตรอน 10
1 F- 8 8
2 O2- 11 10
3 Na+ 20
4 Ca2+ 10

ช่อื ชน้ั เลขท่ี ‘

เฉลยใบงาน เร่อื ง มารู้จักแบบจำลองอะตอมของโบรก์ บั แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกกัน
เถอะ

1. สรปุ สง่ิ ทไี่ ดจ้ ากการศกึ ษาค้นคว้า
แบบจำลองอะตอมที่นิยมนำมาใช้ในการอธิบายสมบัติทางเคมีของธาตุ คือ แบบจำลองอะตอมของโบร์ (Bohr’s

atomic model) ประกอบด้วยโปรตอน (proton, p) ที่มีประจุบวก และนิวตรอน (neutron, n) ไม่มีประจุรวมกันอยู่ใน
นวิ เคลยี ส และอิเล็กตรอน (electron, e) มีประจุลบ เคลอื่ นที่รอบนิวเคลยี สเป็นวง ซงึ่ แต่ละวงมีระยะห่างจากนิวเคลียสและ
มพี ลงั งานต่างกนั อเิ ลก็ ตรอนท่ีอยู่วงนอกสุด เรยี กวา่ เวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอน (valence electron) ดงั ตวั อยา่ งแสดงในรูป 1.5 v

รูป 1.5 แผนภาพแสดงแบบจำลองอะตอมของโบร์ของฮเี ลียมและออกซิเจน

เน่ืองจากอิเล็กตรอนมีขนาดเล็กและเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วตลอดเวลา ทำให้ไม่สามารถบอกตำแหน่งท่ีแน่นอนของ

อิเล็กตรอนได้ จึงมีการเสนอแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก (electron clond model of atom) ซ่ึงแสดงโอกาสที่จะ

พบอิเลก็ ตรอนในลกั ษณะกลุ่มหมอก โดยบริเวณท่ีมกี ลุม่ หมอกทึบเปน็ บริเวณที่มีโอกาสพบอเิ ล็กตรอนได้มากกวา่ บริเวณที่มี

กล่มุ หมอกจาง v

2. คำถาม : แบบจำลองอะตอมของโบร์กับแบบจำลองอะตอมแบบกล่มุ หมอกความเหมือนและความแตกตา่ ง อยา่ งไร

ตอบ แบบจำลองอะตอมทัง้ สองมคี วามเหมือนกัน คือ อะตอมประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดยตำแหนง่

ของโปรตอนและนวิ ตรอนเหมือนกนั คืออยู่ในนิวเคลยี ส สว่ นตำแหนง่ ของอเิ ลก็ ตรอนในแบบจำลองอะตอมทัง้ สองแตกตา่ งกัน

คือ แบบจำลองอะตอมของโบร์แสดงการเคล่อื นที่ของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลยี สเปน็ วง แตแ่ บบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

แสดงโอกาสท่ีจะพบอิเล็กตรอนรอบนวิ เคลยี สในลักษณะกลมุ่ หมอก v

คือ แบบจำลองอะตอมของโบร์แสดงการเคลื่อนท่ีของอเิ ลก็ ตรอนรอบนิวเคลียสเปน็ วง แตแ่ บบจำลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอก

แสดงโอกาสท่ีจะพบอิเล็กตรอนรอบนวิ เคลียสในลักษณะกลมุ่ หมอก v

เฉลยแบบฝกึ หัด เรือ่ ง ระบุจำนวนโปรตอน อิเล็กตรอน และนวิ ตรอน

คำชีแ้ จง ให้นักเรียนระบุจำนวนโปรตอน อเิ ลก็ ตรอน และนิวตรอนของธาตบุ างชนดิ ลงในชอ่ งว่างใหถ้ ูกตอ้ ง

ข้อท่ี สัญลักษณธ์ าตุ ชื่อธาตุ โปรตอน จำนวน นวิ ตรอน
1 อิเลก็ ตรอน 0
1H ไฮโดรเจน (hydrogen) 2 2
2 He ฮีเลียม (helium) 6 1 6
3C คารบ์ อน (Carbon) 7 2 7
4N 8 6 8
5O ไนโตรเจน (nitrogen) 9 7 10
6F ออกซิเจน (oxygen) 10 8 10
7 Ne ฟลอู อรีน (fluorine) 12 9 12
8 Mg 17 10 18
9 Cl นอี อน (neon) 18 12 22
10 Ar แมกนเี ซยี ม (magnesium) 17
18
คลอรีน (chlorine)
อาร์กอน (argon)

คำชี้แจง ให้นกั เรียนระบุจำนวนโปรตอน อิเล็กตรอน และนวิ ตรอนของไอออนบางชนิด ลงในช่องว่างใหถ้ ูกตอ้ ง

ขอ้ ที่ ไอออน โปรตอน จำนวน นวิ ตรอน
อเิ ล็กตรอน

1 F- 9 10 10

2 O2- 8 10 8

3 Na+ 11 10 12

4 Ca2+ 20 18 20

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 3

เร่อื ง สญั ลกั ษณน์ ิวเคลียร์ของธาตุ

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์กายภาพ1 รหัสวิชา ว32101 เวลา 1 ช่ัวโมง

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ อากาศ รวม 7 ช่ัวโมง

กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นที่ 1

บรู ณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง  อาเซียน  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน  มาตรฐานสากล  ข้ามกลุม่ สาระ

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสรา้ ง

และแรงยึดเหน่ยี วระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี

2. ตัวช้วี ัด
ว 2.1 ม.5/4 เขียนสัญลกั ษณน์ ิวเคลียร์ของธาตุและระบกุ ารเป็นไอโซโทป

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นกั เรียนเขียนสัญลกั ษณน์ วิ เคลียร์ของธาตุทกี่ ำหนดให้ และระบวุ า่ ธาตุใดเปน็ ไอโซโทปกนั
3.2 ดา้ นกระบวนการ (P)
1) นกั เรียนมีทักษะการคำนวณ
3.3 ดา้ นคุณลักษณะ (A)
1) ใฝ่เรยี นรู้และเปน็ ผู้มคี วามมุ่งมัน่ ในการทำงาน

4. สาระสำคัญ
อากาศเป็นสารผสมประกอบด้วยแก๊สหลายชนิดในปริมาณที่แตกต่าง อยู่ในรูปของอะตอมและโมเลกุล

โดยสารที่อยู่ในรปู อะตอมจัดเป็นธาตเุ สมอ ส่วนสารท่ีอยูใ่ นรูปโมเลกลุ อาจเปน็ ธาตหุ รอื สารประกอบกไ็ ด้ อะตอมเป็น
หน่วยย่อยของสารเคมี ภายในอะตอมประกอบด้วยโปรตอน นวิ ตรอน และอิเล็กตรอน ซงึ่ มจี ำนวนท่ีแตกต่างกันใน
ธาตุแต่ละชนิด ส่งผลให้ธาตุแต่ละชนิดมีมวลและสมบัติเฉพาะที่แตกตา่ งกัน โดยโปรตอนและนิวตรอนรวมกันอยใู่ น
นิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียส แบบจำลองอะตอมของโบร์เสนอว่า อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบ
นิวเคลียสเป็นวง ส่วนแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกเสนอว่า อิเล็กตรอนเคลื่อนท่ีรอบนิวเคลียสในลักษณะ
กลุ่มหมอก อะตอมของธาตุต่างชนิดกันมจี ำนวนโปรตอนไม่เท่ากัน อะตอมเป็นกลางทางไฟฟา้ เม่ืออะตอมของธาตุ
มีการให้หรือรับอิเล็กตรอนทำให้เกิดไอออน สัญลักษณ์นิวเคลียร์แสดงชนิดและจำนวนอนุภาคในอะตอมของธาตุ
ธาตุชนิดเดียวกันท่ีมีเลขมวลต่างกันเป็นไอโซโทปกัน ตารางธาตุจัดเรียงธาตุตามเลขอะตอมและสมบัติท่ีคล้ายคลึง
กันของธาตุ แบ่งธาตุออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ และกลุ่มธาตุแทรนซิชัน และยังสามารถแบ่งธาตุ

ออกเป็นโลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ โดยธาตุท่ีเป็นองค์ประกอบของแก๊สในอากาศส่วนใหญ่เป็นธาตุอโลหะ
แก๊สหลายชนิดในอากาศนำมาใช้ประโยชน์ได้มาก แต่บางชนิดเป็นพิษโดยส่งผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์และ
สง่ิ แวดล้อม

5. สาระการเรียนรู้

5.1 ความรู้

เนอ่ื งจากอะตอมของธาตแุ ต่ละชนิดมจี ำนวนโปรตอนไมเ่ ท่ากัน ดงั นนั้ การแสดงชนดิ ของธาตดุ ้วย

สัญลักษณ์ ทำให้ทราบจำนวนโปรตอนและจำนวนอิเลก็ ตรอน ซงึ่ มีจำนวนเท่ากนั แตจ่ ะยังไม่ทราบจำนวน

นวิ ตรอน ถ้าตอ้ งการทราบจำนวนนวิ ตรอนในอะตอม ตอ้ งพจิ ารณาจากสญั ลกั ษณ์นวิ เคลยี ร์ (nuclear

symbol) ซ่ึงนอกจากประกอบดว้ ย สัญลกั ษณธ์ าตุ (element symbol) แล้วยงั มีเลขอะตอม (atomic

number) ทีแ่ สดงจำนวนโปรตอนเขียนไวท้ ่มี มุ ลา่ งซ้ายของสญั ลกั ษณธ์ าตุ และเลขมวล (mass number)

ท่แี สดงผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอนในนวิ เคลยี สเขียนไว้ท่มี ุมบนซา้ ยของสญั ลกั ษณ์ธาตุ เชน่

ธาตฮุ เี ลยี ม (He) มี 2 โปรตอน และ 2 นิวตรอน จึงมีเลขอะตอมเท่ากับ 2 และเลขมวลเท่ากบั 4 และมี

สัญลกั ษณน์ ิวเคลยี ร์เป็น 4 He จากข้อมูลจำนวนโปรตอนและนวิ ตรอนในตาราง 1.1 สามารถเขยี น
2

สญั ลักษณ์นิวเคลยี รข์ องธาตไุ นโตรเจน (N) และอาร์กอน (Ar) ดงั รูป 1.7

รปู 1.7 สญั ลกั ษณน์ ิวเคลยี ร์ของธาตฮุ เี ลยี ม ไนโตรเจน และอารก์ อน

เนอ่ื งจากอะตอมของธาตมุ จี ำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอนเทา่ กนั ดงั น้ันจำนวนอเิ ลก็ ตรอนของ

อะตอมจึงเทา่ กบั เลขอะตอมในสญั ลกั ษณน์ ิวเคลียรด์ ้วย นอกจากนีย้ งั พบวา่ มีธาตุชนดิ เดียวกันที่มีเลขมวล

ตา่ งกนั ซึง่ เรยี กว่า ไอโซโทป (isotope) เช่น ธาตไุ ฮโดรเจน มเี ลขอะตอมเทา่ กับ 1 มี 3 ไอโซโทป ทม่ี เี ลข

มวลเทา่ กนั 1 2 และ 3 ซง่ึ มสี ญั ลักษณน์ ิวเคลยี รเ์ ปน็ 11H 2 H และ 3 H ตามลำดับ หรอื อาจเขยี นรูปย่อของ
1 1

ไอโซโทปโดยแสดงเฉพาะสญั ลักษณ์ของธาตุกบั เลขมวล เช่น 3 H เขียนไดเ้ ปน็ 3H หรอื H −3
1

ไอโซโทปของธาตุบางชนิดไม่เสถียร สามารถแผ่รังสไี ด้ เรยี กวา่ ไอโซโทปกัมมันตรังสี (radioactive

isotope) ไอโซโทปกมั มันตรงั สบี างชนดิ นำมาใช้ประโยชนไ์ ด้ เชน่ ยูเรเนยี ม-235 (U-235) ใชเ้ ปน็ แหล่ง

พลังงานในโรงไฟฟ้านวิ เคลียร์ คารบ์ อน-14 (C-14) ใชห้ าอายขุ องซากส่ิงมชี ีวติ โบราณ ไอโอดนี -131 (I-131)

ใชต้ ิดตามและรกั ษาความผดิ ปกติของตอ่ มไทรอยด์

5.2 กระบวนการ

1) ความสามารถในการสือ่ สาร (อ่าน ฟงั พดู เขียน)

2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วเิ คราะห์ จดั กล่มุ สรปุ )

3) ความสามารถในการแก้ปญั หา (แสวงหาความรู้)

4) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต (ความรับผิดชอบ)

5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใชก้ ารสืบคน้ ผา่ นคอมพวิ เตอร์)

5.3 คุณลักษณะและคา่ นิยม

ใฝ่เรียนรูแ้ ละเปน็ ผู้มคี วามม่งุ ม่นั ในการทำงาน

6. บูรณาการ
-

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขั้นที่ 1 ข้นั สรา้ งความสนใจ
1.1 ครูทบทวนบทเรยี นท่ีผา่ นมา เรือ่ ง องค์ประกอบภายในอะตอม และจำนวนเวเลนซ์
อเิ ลก็ ตรอน
1.2 ครนู ำเข้าสบู่ ทเรยี นโดยต้งั คำถาม เพ่อื นำเขา้ สู่กิจกรรม
1) ถา้ อะตอมของธาตชุ นดิ หนึ่งมี 15 โปรตอน นกั เรียนจะสามารถระบุจำนวนอิเล็กตรอน
และจำนวนนวิ ตรอนของธาตนุ ั้นไดห้ รอื ไม่ อยา่ งไร
2) เราสามารถเขียนสญั ลักษณ์นิวเคลยี ร์ของธาตุฮีเลียมไดว้ า่ อย่างไร

ข้นั ท่ี 2 ข้ันสำรวจและคน้ หา

2.1 ครูนำนักเรียนศกึ ษา เรอ่ื ง สญั ลกั ษณธ์ าตุ ตามรายละเอยี ดในหนังสอื เรยี น หน้า 11 และ

เพมิ่ เติมเนื้อหาสญั ลกั ษณน์ วิ เคลียร์ A X
Z

2.2 นักเรยี นทำใบงาน เร่ือง สัญลกั ษณน์ วิ เคลียร์ของธาตุ ท่ีครแู จกให้

ขน้ั ท่ี 3 ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ

3.1 ครูทำการส่มุ นักเรียน จำนวน 3 คน (สุม่ เลขท่ี) ใหบ้ อกสัญลักษณธ์ าตุของตนเอง (พร้อมบอก

เลขมวล เลขอะตอม จำนวนโปรตอน จำนวนนิวตรอน และจำนวนนวิ ตรอน)

3.2 ครนู ำนักเรียนอภปิ รายเพือ่ นำไปสู่การสรปุ โดยใชค้ ำถามต่อไปนี้

1) จาก A X สัญลกั ษณ์ X หมายถงึ (แนวการตอบ สัญลักษณข์ องธาตุ)
Z

2) จาก A X สญั ลกั ษณ์ A หมายถงึ (แนวการตอบ เลขมวล)
Z

3) จาก A X สัญลักษณ์ Z หมายถึง (แนวการตอบ เลขอะตอม)
Z

4) จาก A X จำนวนโปรตอนและอเิ ล็กตรอนมคี า่ เทา่ กับสัญลกั ษณใ์ ด (แนวการตอบ Z หรือ
Z

เลขอะตอม)

5) จาก A X ผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอนในนวิ เคลียส คอื สัญลักษณ์ใด
Z

(แนวการตอบ A หรือ เลขมวล)

6) นักเรยี นสามารถคำนวณหาจำนวนนิวตรอนไดอ้ ย่างไร (แนวการตอบ นำเลขมวล –

เลขอะตอม หรอื A-Z)

7) ธาตชุ นดิ เดยี วกนั ท่มี เี ลขอะตอมเหมอื นกนั แต่เลขมวลต่างกนั เรียกว่า (แนวการตอบ

ไอโซโทป)

3.3 นักเรียนและครรู ว่ มกนั อภปิ ราย จนสรปุ เรื่อง สญั ลักษณ์ของธาตุและไอโซโทป ดังน้ี

1) สญั ลกั ษณ์นิวเคลยี ร์ (nuclear symbol) ประกอบดว้ ย สญั ลักษณ์ธาตุ (element

symbol) เลขอะตอม (atomic number) ท่ีแสดงจำนวนโปรตอนเขียนไวท้ ีม่ ุมลา่ งซ้ายของสัญลักษณธ์ าตุ

และเลขมวล (mass number) ทแ่ี สดงผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียสเขียนไวท้ ่มี ุม

บนซ้ายของสัญลกั ษณ์ธาตุ เชน่ ธาตุฮีเลียม (He) มี 2 โปรตอน และ 2 นิวตรอน จึงมีเลขอะตอมเท่ากับ 2

และเลขมวลเทา่ กับ 4

2) อะตอมของธาตุมีจำนวนโปรตอนและอเิ ลก็ ตรอนเท่ากัน ดงั นั้นจำนวนอเิ ลก็ ตรอนของ

อะตอมจึงเท่ากับเลขอะตอมในสัญลกั ษณ์นวิ เคลียรด์ ้วย นอกจากน้ียงั พบว่ามธี าตชุ นิดเดียวกันทม่ี เี ลขมวล

ต่างกันซ่ึงเรยี กว่า ไอโซโทป (isotope) เช่น ธาตไุ ฮโดรเจน มเี ลขอะตอมเท่ากับ 1 มี 3 ไอโซโทป ทม่ี เี ลข

มวลเท่ากนั 1 2 และ 3 ซึ่งมีสญั ลักษณ์นิวเคลียรเ์ ป็น 11H 2 H และ 13 H ตามลำดับ หรอื อาจเขียนรปู ยอ่ ของ
1

ไอโซโทปโดยแสดงเฉพาะสัญลกั ษณ์ของธาตกุ ับเลขมวล เช่น 3 H เขยี นได้เป็น 3H หรอื H −3
1

ขนั้ ที่ 4 ข้ันขยายความรู้
4.1 ครใู หค้ วามรู้เพิม่ เตมิ
ไอโซโทปของธาตบุ างชนิดไม่เสถียร สามารถแผ่รงั สีได้ เรยี กวา่ ไอโซโทปกัมมันตรังสี

(radioactive isotope) ไอโซโทปกมั มนั ตรงั สีบางชนิดนำมาใชป้ ระโยชน์ได้ เชน่ ยูเรเนยี ม-235 (U-235)
ใชเ้ ป็นแหล่งพลังงานในโรงไฟฟ้านวิ เคลยี ร์ คารบ์ อน-14 (C-14) ใชห้ าอายขุ องซากสิง่ มชี วี ิตโบราณ ไอโอดนี -
131 (I-131) ใช้ติดตามและรกั ษาความผดิ ปกติของตอ่ มไทรอยด์

4.2 ครูให้นักเรียนแต่ละคนเล่าสู่กันฟังถึงความรู้ท่ีได้จากการทำกิจกรรม และปัญหาท่ีเกิดขึ้น
ระหว่างการทำกจิ กรรม

4.3 ครนู ำนักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 1 ข้อ 6-7 บางสว่ น แลว้ ใหน้ ักเรยี นทำดว้ ยตนเอง

ขนั้ ท่ี 5 ขน้ั ประเมนิ ผล
5.1 ครูตรวจใบงาน เร่ือง สญั ลกั ษณน์ ิวเคลียรข์ องธาตุ
5.2 ครูตรวจแบบฝึกหดั เร่ือง สญั ลักษณ์นวิ เคลียร์ของธาตุ

ประยกุ ตแ์ ละตอบแทนสงั คม
ครใู หน้ กั เรียนแตล่ ะคนนำความรู้ที่เรียนไปค้นคว้าเพิ่มเตมิ ท่หี ้องสมุด หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ชนั้ เรียน

8. สอ่ื การเรยี นรู/้ แหลง่ เรียนรู้
8.1 หนังสอื เรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ (วทิ ยาศาสตร์กายภาพ) ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 เลม่ 1

(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 ใบงาน เรอ่ื ง สัญลักษณ์นิวเคลยี ร์ของธาตุ
8.3 แบบฝึกหัด เรอ่ื ง สญั ลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
8.4 อนิ เทอร์เน็ต
8.5 ห้องสมดุ

9. การวัดและประเมินผล

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วธิ ีการวัด เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมิน
ดา้ นความรู้ (K)
1) นักเรยี นเขียนสญั ลักษณน์ ิวเคลียรข์ อง 1) ตรวจใบงาน เรือ่ ง 1) แบบประเมินการ 1) นักเรยี นสามารถ
ธาตุทีก่ ำหนดให้ และระบุวา่ ธาตใุ ดเป็น สญั ลักษณ์นิวเคลียร์ ทำกิจกรรม ตอบคำถามในใบงาน
ไอโซโทปกัน ของธาตุ 2) ใบงาน เรอ่ื ง ไดร้ ะดับดี ผา่ นเกณฑ์
สญั ลกั ษณ์นิวเคลียร์
ด้านกระบวนการ (P) 1) ตรวจแบบฝึกหัด ของธาตุ 1) นักเรยี นสามารถ
1) นกั เรียนมีทกั ษะการคำนวณ เรื่อง สัญลกั ษณ์ หาคำตอบในการ
นวิ เคลียรข์ องธาตุ 1) แบบประเมินการ คำนวณได้ระดับดี
ทำกจิ กรรม ผ่านเกณฑ์
ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) 2) แบบฝึกหัด เร่ือง
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการ 1) ตรวจใบงาน เร่ือง สญั ลกั ษณน์ ิวเคลียร์ 1) นักเรียนทำภาระ
ทำงาน สัญลักษณน์ ิวเคลียร์ ของธาตุ งานท่ีไดร้ ับมอบหมาย
ได้ระดับดี ผ่านเกณฑ์
ของธาตุ 1) แบบประเมนิ การ
2) ตรวจแบบฝึกหดั ทำกจิ กรรม
เรอื่ ง สญั ลกั ษณ์ 2) ใบงาน เรอื่ ง
นิวเคลยี รข์ องธาตุ สัญลักษณ์นิวเคลยี ร์
ของธาตุ
3) แบบฝกึ หัด เร่ือง
สญั ลักษณ์นิวเคลยี ร์
ของธาตุ

10. เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานนักเรยี น

เกณฑ์การประเมนิ แบบ Rubrics ของการทำกิจกรรม เรอื่ ง สญั ลกั ษณน์ วิ เคลยี ร์ของธาตุ

ประเด็นการ ค่านำ้ หนัก แนวทางการให้คะแนน
ประเมิน คะแนน

ด้านความรู้ 3 ตอบคำถามถูกตอ้ งครบถว้ น จำนวน 11-15 ข้อ
(K) 2 ตอบคำถามถูกตอ้ งครบถ้วน จำนวน 5-10 ข้อ
1 ตอบคำถามถกู ตอ้ งครบถ้วน จำนวน 1-4 ขอ้ หรอื ไมถ่ กู ตอ้ ง
ดา้ น 3 ทำแบบฝกึ หดั ถกู ต้องครบถว้ นทุกข้อ

กระบวนการ 2 ทำแบบฝึกหัดถกู ต้องครบถว้ น จำนวน 3-4 ข้อ
(P) 1 ทำแบบฝึกหดั ถกู ตอ้ งครบถ้วน จำนวน 1-2 ขอ้ หรอื ไมถ่ กู ตอ้ ง

ด้าน 3 ทำภาระงานที่ไดร้ ับมอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด และเรียบร้อยถูกต้องครบถ้วน
คุณลักษณะ 2 ทำภาระงานที่ได้รับมอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาที่กำหนด แต่งานยงั ผดิ พลาดบางสว่ น
1 ทำภาระงานที่ไดร้ ับมอบหมายเสร็จ แต่ล่าช้า และเกิดข้อผิดพลาดบางสว่ น
(A)

ระดับคะแนน 3 หมายถงึ ระดับดีมาก
คะแนน 2 หมายถึง ระดบั ดี
คะแนน 1 หมายถงึ ระดับพอใช้
คะแนน

การประเมินการทำกิจกรรม เรอื่ ง สัญลักษณน์ วิ เคลียร์ของธาตุ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกลุ ด้านความรู้ ดา้ น ดา้ น รวม ระดบั
(K) กระบวนการ คุณลกั ษณะ คะแนน คุณภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

ท่ี ชอ่ื - นามสกุล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ รวม ระดบั

ด้านความรู้ ดา้ น ด้าน คะแนน คณุ ภาพ

(K) กระบวนการ คุณลกั ษณะ
(P) (A)

3 3 39

29 9 หมายถงึ ระดับดีมาก
30 7-8 หมายถึง ระดับดี
31 5-6 หมายถึง ระดบั ปานกลาง
32 3-4 หมายถงึ ระดับปรับปรุง
33
34
35
36
37
38
39
40

ระดับคณุ ภาพ
คะแนน
คะแนน
คะแนน
คะแนน

บนั ทึกหลงั การสอน

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เร่อื ง อากาศ ใ
แผนการสอนท่ี 3 เร่ือง สัญลกั ษณน์ วิ เคลยี รข์ องธาตุ .

ใ เดอื น พ.ศ. ใ

วันที่

ผลการจดั การเรยี นรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปัญหา / อปุ สรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ปัญหา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงช่ือ............................................ครผู ้สู อน ลงชื่อ.............................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธนิ ีย์ สรรเสริญ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

ชือ่ ชั้น เลขที่ ‘

ใบงาน เรอื่ ง สัญลกั ษณ์นิวเคลยี ร์ของธาตุ

1. จงเตมิ คำตอบลงในช่องวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง XA
1.1
Z

1.2 จากสัญลักษณน์ ิวเคลยี ร์ข้างบน จำนวนโปรตอน และอเิ ลก็ ตรอน คือสญั ลกั ษณ์ใด Z v
v
1.3 จากสญั ลักษณน์ ิวเคลียร์ขา้ งบน ผลรวมของจำนวนโปรตอนและนวิ ตรอนในนิวเคลยี ส คอื สัญลักษณ์ใด A v
v
1.4 นักเรียนสามารถคำนวณหาจำนวนนิวตรอนได้อย่างไร เลขมวล – เลขอะตอม (A-Z) ท

1.5 จากสญั ลักษณ์ธาตไุ นโตรเจน 14 N เลขมวล เท่ากับ 14 เลขอะตอม เท่ากับ 7
7

จำนวนโปรตอน เท่ากับ 7 จำนวนอิเล็กตรอน เทา่ กับ 7 จำนวนนวิ ตรอน เทา่ กับ 7

2. ใหน้ ักเรียนศึกษาตารางธาตุ พรอ้ มเลอื กสญั ลกั ษณธ์ าตุคนละ 1 ธาตุ พร้อมระบุชือ่ ภาษาไทยของธาตุ เลขมวล
เลขอะตอม จำนวนโปรตอน จำนวนอเิ ล็กตรอน และจำนวนนิวตรอน

40 v 2.1 ชอ่ื ภาษาไทย ธาตุอารก์ อน 40 แ
2.2 ช่อื ภาษาอังกฤษ Argon 18 แ
18 v Arv 2.3 เลขมวล มีคา่ เทา่ กบั 18 แ
2.4 เลขอะตอม มีคา่ เท่ากับ 18 แ
2.5 จำนวนโปรตอน มีค่าเท่ากับ 22 แ
2.6 จำนวนอิเล็กตรอน มีคา่ เท่ากับ แ
2.7 จำนวนนวิ ตรอน มคี า่ เท่ากับ แ

3. จงตอบคำถามต่อไปนใ้ี หถ้ ูกตอ้ ง

3.1 ธาตุชนดิ เดยี วกนั ทีม่ ีเลขอะตอมเหมือนกนั แตเ่ ลขมวลต่างกนั เรียกว่า ไอโซโทป (isotope) v

3.2 ธาตุไฮโดรเจนมีเลขอะตอมเท่ากับ 1 มี 3 ไอโซโทป ที่มเี ลขมวลเท่ากบั 1 2 และ 3 ซง่ึ เขยี นสญั ลกั ษณ์นวิ เคลยี ร์

ไดอ้ ยา่ งไร ไอโซโทป (isotope) v

3.3 ธาตุคาร์บอนมเี ลขอะตอมเท่ากบั 6 มี 3 ไอโซโทป ทม่ี เี ลขมวลเท่ากบั 12 13 และ 14 ซ่ึงเขยี นสัญลักษณ์นวิ เคลยี ร์

ได้อยา่ งไร ไอโซโทป (I sotope) v

แบบฝกึ หัด เร่ือง สญั ลักษณน์ ิวเคลยี ร์ของธาตุ

คำชแี้ จง จงเตมิ ข้อมลู เก่ยี วกบั อะตอมของธาตใุ นตารางให้สมบูรณ์

สัญลักษณ์ สญั ลกั ษณ์ เลขมวล เลข จำนวน จำนวน จำนวน
นิวเคลียร์ ธาตุ อะตอม โปรตอน อิเลก็ ตรอน นิวตรอน
16
11H 35 8 66
17 17
O

C

Cl

20 Ne
10

ช่อื ช้นั เลขที่ ‘

เฉลยใบงาน เรือ่ ง สญั ลกั ษณ์นิวเคลยี ร์ของธาตุ

1. จงเตมิ คำตอบลงในชอ่ งว่างให้ถกู ต้อง XA สญั ลักษณ์ธาตุ
1.1
Z
เลขมวล

เลขอะตอม

1.2 จากสัญลกั ษณน์ ิวเคลียร์ข้างบน จำนวนโปรตอน และอิเลก็ ตรอน คือสญั ลักษณ์ใด Z v
v
1.3 จากสัญลกั ษณน์ ิวเคลยี รข์ ้างบน ผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียส คือสญั ลกั ษณ์ใด A v
v
1.4 นกั เรียนสามารถคำนวณหาจำนวนนิวตรอนได้อยา่ งไร เลขมวล – เลขอะตอม (A-Z) ท

1.5 จากสัญลกั ษณ์ธาตุไนโตรเจน 14 N เลขมวล เท่ากับ 14 เลขอะตอม เท่ากับ 7
7

จำนวนโปรตอน เท่ากับ 7 จำนวนอเิ ล็กตรอน เทา่ กับ 7 จำนวนนวิ ตรอน เทา่ กับ 7

2. ใหน้ กั เรียนศกึ ษาตารางธาตุ พร้อมเลอื กสัญลกั ษณธ์ าตุคนละ 1 ธาตุ พร้อมระบุช่อื ภาษาไทยของธาตุ เลขมวล
เลขอะตอม จำนวนโปรตอน จำนวนอเิ ลก็ ตรอน และจำนวนนิวตรอน

40 v 2.1 ชื่อภาษาไทย ธาตอุ ารก์ อน 40 แ
2.2 ชือ่ ภาษาองั กฤษ Argon 18 แ
18 v Arv 2.3 เลขมวล มคี ่าเทา่ กบั 18 แ
2.4 เลขอะตอม มคี า่ เทา่ กับ 18 แ
2.5 จำนวนโปรตอน มคี า่ เทา่ กบั 22 แ
2.6 จำนวนอเิ ล็กตรอน มีค่าเท่ากบั แ
2.7 จำนวนนิวตรอน มคี า่ เท่ากับ แ

3. จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้ใหถ้ ูกต้อง

3.1 ธาตุชนิดเดียวกนั ท่มี เี ลขอะตอมเหมอื นกัน แต่เลขมวลตา่ งกนั เรยี กว่า ไอโซโทป (isotope) v

3.2 ธาตไุ ฮโดรเจนมีเลขอะตอมเท่ากับ 1 มี 3 ไอโซโทป ท่ีมเี ลขมวลเท่ากับ 1 2 และ 3 ซ่ึงเขียนสญั ลกั ษณน์ ิวเคลยี ร์

ได้อย่างไร และ11H 2 H 3 H v
1 1

3.3 ธาตุคาร์บอนมเี ลขอะตอมเท่ากับ 6 มี 3 ไอโซโทป ท่มี ีเลขมวลเท่ากับ 12 13 และ 14 ซ่ึงเขียนสัญลกั ษณน์ ิวเคลยี ร์

ได้อยา่ งไร และ162C 163C 164C v

เฉลยแบบฝกึ หัด เร่อื ง สัญลกั ษณน์ ิวเคลียร์ของธาตุ

คำช้แี จง จงเติมข้อมลู เกีย่ วกับอะตอมของธาตุในตารางใหส้ มบรู ณ์

สญั ลกั ษณ์ สัญลักษณ์ เลขมวล เลข จำนวน จำนวน จำนวน
นวิ เคลยี ร์ ธาตุ อะตอม โปรตอน อิเล็กตรอน นวิ ตรอน
1
H11H 16 1 110
12
O186O 35 8 888
20
C12 C 6 666
17 17 17 18
6
10 10 10 10
Cl1375Cl

20 Ne Ne
10

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 4

เร่ือง ตารางธาตุ

รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ1 รหัสวชิ า ว32101 เวลา 2 ช่ัวโมง

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ อากาศ รวม 7 ช่ัวโมง

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรยี นที่ 1

บรู ณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง  อาเซียน  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน  มาตรฐานสากล  ขา้ มกลมุ่ สาระ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 2.1 เขา้ ใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธร์ ะหว่างสมบตั ิของสสารกับโครงสร้าง

และแรงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี

2. ตวั ชวี้ ัด
ว 2.1 ม.5/5 ระบุหมู่และคาบของธาตุ และระบวุ า่ ธาตเุ ป็นโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ กลุ่มธาตเุ รพรเี ซนเททีฟ

หรือกลุม่ ธาตแุ ทรนซชิ ันจากตารางธาตุ
ว 2.1 ม.5/6 เปรียบเทียบสมบตั กิ ารนำไฟฟ้า การให้และรบั อิเลก็ ตรอนระหวา่ งธาตุในกลุม่ โลหะกับอโลหะ

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ (K)
1) นกั เรียนระบุหมแู่ ละคาบของธาตใุ นตารางธาตไุ ด้
2) นกั เรยี นเปรยี บเทียบการนำไฟฟ้าและการใหห้ รอื รบั อเิ ลก็ ตรอนของธาตุโลหะและอโลหะได้
3.2 ด้านกระบวนการ (P)
1) นักเรียนระบวุ ่าธาตุท่กี ำหนดใหเ้ ป็นโลหะ อโลหะ หรอื ก่ึงโลหะ หรือเปน็ ธาตเุ รพรีเซนเททฟี หรือ
ธาตแุ ทรนซซิ นั จากตารางธาตุได้
3.3 ด้านคณุ ลักษณะ (A)
1) ใฝ่เรยี นรู้

4. สาระสำคญั
อากาศเป็นสารผสมประกอบด้วยแก๊สหลายชนิดในปริมาณที่แตกต่าง อยู่ในรูปของอะตอมและโมเลกุล

โดยสารที่อยู่ในรปู อะตอมจัดเป็นธาตเุ สมอ สว่ นสารท่ีอยูใ่ นรปู โมเลกุลอาจเป็นธาตุหรอื สารประกอบกไ็ ด้ อะตอมเป็น
หน่วยย่อยของสารเคมี ภายในอะตอมประกอบดว้ ยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ซึ่งมจี ำนวนที่แตกต่างกันใน
ธาตุแต่ละชนิด ส่งผลให้ธาตุแต่ละชนิดมีมวลและสมบัติเฉพาะท่ีแตกต่างกนั โดยโปรตอนและนิวตรอนรวมกันอยใู่ น
นิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอนเคล่ือนที่รอบนิวเคลียส แบบจำลองอะตอมของโบร์เสนอว่า อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบ
นิวเคลียสเป็นวง ส่วนแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกเสนอว่า อิเล็กตรอนเคลื่อนท่ีรอบนิวเคลียสในลักษณะ
กลุ่มหมอก อะตอมของธาตุต่างชนิดกันมจี ำนวนโปรตอนไม่เทา่ กัน อะตอมเป็นกลางทางไฟฟ้าเม่ืออะตอมของธาตุ

มีการให้หรือรับอิเล็กตรอนทำให้เกิดไอออน สัญลักษณ์นิวเคลียร์แสดงชนิดและจำนวนอนุภาคในอะตอมของธาตุ
ธาตุชนิดเดียวกันที่มีเลขมวลต่างกันเป็นไอโซโทปกัน ตารางธาตุจัดเรยี งธาตุตามเลขอะตอมและสมบัติท่ีคล้ายคลึง
กันของธาตุ แบ่งธาตุออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ และกลุ่มธาตแุ ทรนซิชัน และยังสามารถแบ่งธาตุ
ออกเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ โดยธาตุท่ีเป็นองค์ประกอบของแก๊สในอากาศส่วนใหญ่เป็นธาตุอโลหะ
แก๊สหลายชนิดในอากาศนำมาใช้ประโยชน์ได้มาก แต่บางชนิดเป็นพิษโดยส่งผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์และ
ส่ิงแวดล้อม

5. สาระการเรยี นรู้
5.1 ความรู้
ธาตุเป็นองค์ประกอบของแก๊สในอากาศมีทั้งที่อยู่ในรูปอะตอมและโมเลกุล เช่น อาร์กอน (Ar)
ฮีเลียม (He) แก๊สออกซิเจน (O2) แก๊สไนโตรเจน (N2) ปัจจุบันมีธาตุที่ค้นพบแล้วไม่น้อยกว่า 118 ธาตุ
นักวิทยาศาสตร์ได้จัดหมวดหมู่ของธาตุในรูปของตารางท่ีเรียกว่า ตารางธาตุ (periodic table of
elements) โดยจดั เรยี งธาตุตามเลขอะตอม และใหธ้ าตทุ ่มี คี ลา้ ยคลงึ กันอยใู่ นหมู่ทีใ่ กลเ้ คียงกนั
ตารางธาตุมีแถวตามแนวตั้ง เรียกว่า หมู่ (group) และมีแถวตามแนวนอน เรียกว่า คาบ
(period) การระบุในตารางธาตุท่ีนิยมใช้กันในปัจจุบันมี 2 ระบบ คือ ระบบ International Union of
Pure and Applied Chemistry (IUPAC) ซึ่งแบ่งออกเปน็ 18 หมู่ โดยใช้สัญลักษณ์เลขอารบิก 1-18 แทน
หมู่ธาตุ และระบบ Chemical Abstracts Service (CAS) ซึ่งแบ่งธาตุออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม A และ
กลุ่ม B โดยกลุ่ม A เรียกว่า ธาตุเรพรีเซนเททีฟ (representative elements) หรือ ธาตุหมู่หลัก
(main-group elements) มี 8 หมู่ อยู่ทางด้านซ้ายและขวาของตารางธาตุ และใช้สญั ลกั ษณ์เป็นเลขโรมัน
IA-VIIIA และกลุ่ม B เรยี กว่า ธาตุแทรนซิชัน (transition elements) มี 8 หมู่ อยู่ตรงกลางของตารางธาตุ
และใช้สัญลักษณ์เป็นเลขโรมัน IB-VIIIB การระบุหม่ขู องธาตใุ นหนังสอื เรยี นเลม่ น้ใี ชร้ ะบบ CAS
ธาตุในหมู่ VIIIA ส่วนใหญ่มีสถานะเป็นแก๊ส อยู่ในรูปของอะตอม ไม่ว่องไวต่อปฏิกิริยาเคมี
จึงเรียกธาตุในหมู่น้ีว่า แก๊สมีสกุล (noble gas) อะตอมของธาตุหมู่ VIIIA เช่น นีออน (Ne) อาร์กอน (Ar)
มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 ยกเว้นฮีเลียม (He) มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 ส่วนธาตุในหมู่ VIIA เช่น
ฟลูออรีน (F) คลอรีน (Cl) มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7 ธาตุในหมู่น้ีอยู่ในรูปโมเลกุล ว่องไวต่อปฏิกิริยา
เคมี และเมือ่ เกดิ ปฏกิ ริ ิยามแี นวโนม้ รบั อิเล็กตรอน ทำนองเดยี วกนั จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนในอะตอมของ
ธาตหุ มู่ IA-VIA จะเทา่ กบั เลขหมู่ และธาตุในหมู่เดยี วกันมสี มบัติทางเคมีส่วนใหญค่ ล้ายกนั
นอกจากนี้การจัดธาตุในตารางธาตุแบง่ ออกเปน็ โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ โดยกลุ่มธาตเุ รพรเี ซน
เททีฟมีทั้งเป็นโลหะ ก่ึงโลหะ และอโลหะ ส่วนธาตุกลุ่มแทรนซิชันเป็นโลหะท้ังหมด ธาตุท่ีเป็นโลหะ เช่น
อะลูมิเนียม (Al) เหล็ก (Fe) ตะกั่ว (Pb) ทองแดง (Cu) ทองคำ (Au) ส่วนใหญ่มีสถานะเป็นของแข็งท่ี
อณุ หภมู ิห้อง มีจดุ หลอมเหลวและจุดเดือดสูง นำความร้อน นำไฟฟ้าได้ดี และมีแนวโน้มให้อิเล็กตรอนเมื่อ
เกิดปฏิกิริยาเคมี ธาตุที่เป็นอโลหะ เช่น ไนโตรเจน (N) ออกซเิ จน (O) โบรมนี (Br) ไอโอดีน (I) ธาตุในกลุ่ม
นี้พบได้ทัง้ สามสถานะท่อี ุณหภมู ิหอ้ ง ส่วนใหญ่ไมน่ ำไฟฟ้า จุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ำ และมแี นวโนม้ รับ
อเิ ล็กตรอนเม่ือเกิดปฏิกิริยาเคมี ส่วนธาตุท่ีเป็นก่ึงโลหะ เช่น ซิลิคอน (Si) เจอร์เมเนียม (Ge) สารหนู (As)
มีสถานะเปน็ ของแขง็ นำไฟฟ้าไดด้ ีกว่าอโลหะ แต่ไม่ดเี ทา่ กบั โลหะ
5.2 กระบวนการ

1) ความสามารถในการสื่อสาร (อ่าน ฟัง พูด เขียน)
2) ความสามารถในการคิด (สังเกต วิเคราะห์ จัดกลุม่ สรุป)
3) ความสามารถในการแก้ปญั หา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต (ความรับผดิ ชอบ)
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใช้การสืบคน้ ผ่านคอมพวิ เตอร)์
5.3 คุณลักษณะและค่านิยม
ใฝ่เรียนรู้

6. บูรณาการ
บรู ณาการกบั กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ เรอื่ ง ตวั เลขโรมัน

7. กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้ันท่ี 1 ขน้ั สรา้ งความสนใจ
1.1 ครูทบทวนบทเรยี นท่ีผา่ นมา เร่อื ง สัญลกั ษณ์นิวเคลียรข์ องธาตุ
1.2 ครูนำเขา้ สู่บทเรียนโดยเกร่ินนำวา่ ปัจจบุ ันมกี ารคน้ พบธาตุจำนวนมากจึงมกี ารจัดหมวดหมู่
ของธาตใุ นรปู ตาราง เรยี กว่า ตารางธาตุ

ขั้นที่ 2 ขนั้ สำรวจและคน้ หา
2.1 ให้นักเรียนพจิ ารณาตารางธาตใุ นรูป 1.8 แลว้ ให้อภปิ รายเกีย่ วกับลักษณะและขอ้ มูลที่ปรากฏ

ในตารางธาตุ และศึกษาเนือ้ หาตามรายละเอยี ดในหนงั สอื เรยี น หน้า 13-15 (ครูให้ความรูร้ ะหว่างนักเรยี น
ศกึ ษาคน้ ควา้ )

2.2 ใหน้ ักเรียนแบง่ กลุม่ 3-5 คน โดยคละกลุ่มเกง่ ปานกลาง อ่อน
2.3 ให้นกั เรยี นทำกิจกรรมกล่มุ เพือ่ ฝกึ การระบหุ มู่และคาบของธาตุ การระบวุ ่าธาตุเป็นธาตเุ รพรี
เซนเททีฟและธาตแุ ทรนซชิ ัน รวมทง้ั การระบวุ ่าธาตเุ ป็นโลหะ อโลหะ หรือกึ่งโลหะ ใหพ้ ิจารณาจากตาราง
ธาตุ โดยครูทำการสมุ่ หยิบบตั รคำธาตุ จำนวน 10 บัตรคำ แลว้ ใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มแขง่ ขนั กนั ตอบว่าธาตุ
นอี้ ยใู่ นหมู่คาบใด
2.4 นกั เรยี นทำแบบฝึกหดั 1.3 ในหนงั สอื เรยี น หนา้ 15 -16 ลงในสมุด
2.5 นกั เรยี นทำแบบฝึกหดั ท้ายบทที่ 1 ข้อ 9 ในหนังสอื เรยี น หนา้ 24-25 ลงในสมดุ

ขน้ั ท่ี 3 ขนั้ อธิบายและลงขอ้ สรปุ
3.1 ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายเกย่ี วกับตารางธาตุ โดยใช้คำถามเพอื่ นำไปส่กู ารสรุป ดงั นี้
1) จำนวนแถวตามแนวตัง้ และแนวนอนเป็นเทา่ ใด การจดั เรยี งธาตุมีความสัมพันธก์ ับเลข

อะตอมอย่างไร (แนวการตอบ ตารางธาตุมี 18 แถวตามแนวตง้ั และ 7 แถวตามแนวนอน และการจัดเรียง
ธาตเุ ป็นไปตามลำดับตามเลขอะตอมจากนอ้ ยไปมาก)

2) กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททฟี และกล่มุ ธาตแุ ทรนซชิ ันมอี ยา่ งละกห่ี มู่ อยบู่ รเิ วณใดของตาราง
ธาตุ (แนวการตอบ กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททฟี มี 8 หมู่ (IA – VIIIA) อยทู่ างดา้ นซ้ายและขวาในตารางธาตุ และ
กล่มุ ธาตุแทรนซิชนั เป็นธาตกุ ลุ่ม B มี 8 หมู่ (IB – VIIIB) อยู่ตรงกลางในตารางธาตุ)

3.2 นักเรยี นและครรู ่วมกนั อภิปรายจนสรุป เรอื่ ง ตารางธาตุ ดังน้ี
1) ตารางธาตปุ ระกอบด้วยแถวตามแนวตงั้ และแถวตามแนวนอน โดย แตล่ ะช่องแสดง

สญั ลักษณธ์ าตุ ชือ่ ธาตุ และเลขอะตอม
2) การจัดธาตุในตารางธาตุออกเปน็ กลมุ่ โลหะ ก่ึงโลหะ และอโลหะ โดยพิจารณาจาก

ตารางธาตุในรูป 1.8 ซึ่งใชส้ ีชว่ ยในการแบ่งกลมุ่ ธาตุ จากนั้นร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบ สมบตั ิของธาตุ
โลหะและอโลหะวา่ โลหะมีสมบัตนิ ำไฟฟา้ และมแี นวโนม้ ใหอ้ เิ ล็กตรอนเมอื่ เกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี อโลหะส่วน
ใหญไ่ มน่ ำไฟฟ้า และมีแนวโนม้ รบั อเิ ล็กตรอนเมอ่ื เกิดปฏิกริ ิยาเคมี

ข้นั ที่ 4 ขั้นขยายความรู้
4.1 ครใู ห้ความรู้เพม่ิ เตมิ
1) แถวตามแนวต้งั เรยี กวา่ หมู่ และแถวตามแนวนอนเรยี กวา่ คาบ โดยใชต้ ัวเลขกำกับหมู่

เป็นเลขโรมันตามดว้ ยตวั อักษร A หรือ B ทง้ั นีธ้ าตทุ ีอ่ ยู่ 2 แถวลา่ งของตารางธาตุ บริเวณใต้คาบ 7 เปน็ ธาตทุ ่ี
แทรกอยู่ระหว่างหมู่ IIA และ IVB ในคาบท่ี 6 และคาบท่ี 7 เรยี กว่า ธาตกุ ลุ่มแลนทานอยด์และกล่มุ แอก
ทินอยด์ ตามลำดับ

2) การเรียกชอื่ กลุม่ ธาตอุ ้างอิงตาม IUPAC 2017 โดยเรียกธาตกุ ลมุ่ แลนทาไนดว์ า่ เปน็ ธาตุ
กลมุ่ แลนทานอยด์ และธาตกุ ลุ่มแอกทิไนด์วา่ เป็นธาตกุ ล่มุ แอกทินอยด์ ตามลำดบั

3) จำนวนเวเลนซอ์ ิเล็กตรอนรอนของธาตเุ รพรีเซนเททีฟเท่ากับเลขหมู่ เช่น คลอรนี (Cl)
เปน็ ธาตุหมู่ VIIA มจี ำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเทา่ กบั 7

4.2 ครูให้นักเรียนแต่ละคนเล่าสู่กันฟังถึงความรู้ท่ีได้จากการทำกิจกรรม และปัญหาท่ีเกิดข้ึน
ระหวา่ งการทำกิจกรรม

ขัน้ ที่ 5 ขั้นประเมนิ ผล
5.1 ครูประเมนิ จากการทำกิจกรรมกลุ่ม เรอ่ื ง บตั รคำธาตุ
5.2 ครตู รวจสมุดการทำแบบฝกึ หัดของนกั เรยี น

ประยุกต์และตอบแทนสังคม
ครใู ห้นกั เรียนแตล่ ะคนนำความรู้ทีเ่ รียนไปค้นคว้าเพม่ิ เติมทหี่ ้องสมุด หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ชัน้ เรยี น

8. สอ่ื การเรียนร/ู้ แหล่งเรยี นรู้
8.1 หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตร์กายภาพ) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 1

(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 อนิ เทอร์เน็ต
8.3 หอ้ งสมุด
8.4 ตารางธาตุ
8.5 บตั รคำธาตุ

9. การวัดและประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวัด เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมิน
ดา้ นความรู้ (K)
1) นกั เรียนระบุหมูแ่ ละคาบของธาตใุ น 1) ตรวจแบบฝกึ หดั 1) แบบฝึกหัดท้าย 1) นกั เรยี นสามารถ
ตารางธาตไุ ด้ ท้ายบทท่ี 1 ขอ้ 9 บทท่ี 1 ข้อ 9 ทำแบบฝกึ หดั ท้าย
2) นกั เรยี นเปรยี บเทยี บการนำไฟฟ้าและ 2) ตรวจแบบฝึกหัด 2) แบบฝึกหัด 1.3 บทท่ี 1 ข้อ 9
การใหห้ รือรบั อเิ ลก็ ตรอนของธาตุโลหะและ 1.3 ขอ้ 3-4 ข้อ 3-4 ไดร้ ะดับดี ผา่ นเกณฑ์
อโลหะได้ 3) แบบประเมนิ การ 2) นกั เรยี นสามารถ
ทำกิจกรรม ทำแบบฝกึ หดั 1.3
ข้อ 3-4 ไดร้ ะดบั ดี
ผา่ นเกณฑ์

ด้านกระบวนการ (P)

1) นักเรียนระบวุ า่ ธาตุทก่ี ำหนดให้เป็นโลหะ 1) ถามคำถาม เรอ่ื ง 1) แบบประเมินการ 1) นกั เรียนสามารถ

อโลหะ หรอื กงึ่ โลหะ หรอื เปน็ ธาตุเรพรีเซน บตั รคำธาตุ ทำกิจกรรม ตอบคำถามได้ระดับ

เททีฟ หรือธาตุแทรนซิซนั จากตารางธาตไุ ด้ 2) บัตรคำธาตุ ดี ผา่ นเกณฑ์

(ทักษะการจำแนกประเภท)

ดา้ นคณุ ลักษณะ (A)

1) ใฝ่เรียนรู้ 1) ตรวจแบบฝกึ หัด 1) แบบประเมนิ การ 1) นกั เรยี นทำภาระ
ทำกจิ กรรม งานท่ีได้รบั มอบหมาย
ท้ายบทที่ 1 ขอ้ 9 2) ใบงาน เร่อื ง ได้ระดับดี ผา่ นเกณฑ์
สัญลกั ษณ์นิวเคลยี ร์
2) ตรวจแบบฝึกหัด ของธาตุ
3) แบบฝึกหัด เรื่อง
1.3 ขอ้ 3-4 สญั ลักษณ์นิวเคลยี ร์
ของธาตุ
3) ถามคำถาม เรื่อง

บัตรคำธาตุ

10. เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานนกั เรียน
เกณฑ์การประเมินแบบ Rubrics ของการทำกจิ กรรม เรือ่ ง ตารางธาตุ

ประเดน็ การ คา่ น้ำหนัก แนวทางการใหค้ ะแนน
ประเมิน คะแนน
ดา้ นความรู้ ทำแบบฝกึ หดั ท้ายบทท่ี 1 ขอ้ 9 ไดถ้ กู ต้องครบถ้วนทกุ ขอ้ ยอ่ ย
(K) 3 ทำแบบฝึกหัดทา้ ยบทที่ 1 ข้อ 9 ไดถ้ ูกต้องครบถว้ น (ขอ้ ยอ่ ย จำนวน 2 ข้อ)
2 ทำแบบฝกึ หัดท้ายบทท่ี 1 ข้อ 9 ได้ถูกต้องครบถ้วน (ขอ้ ย่อย จำนวน 1 ข้อ หรือทำไม่
ด้าน 1 ถูกต้อง)
กระบวนการ ทำแบบฝึกหดั 1.3 ขอ้ 3-4 ได้ถูกตอ้ งครบถว้ น
3 ทำแบบฝกึ หัด 1.3 ขอ้ 3 หรอื 4 ได้ถูกต้องครบถ้วน (ถูกเพยี งข้อเดยี ว)
(P) 2 ทำแบบฝกึ หัด 1.3 ขอ้ 3-4 แต่ไม่ถูกต้อง
ด้าน 1 นักเรียนแต่ละกลุ่มได้คะแนน 9-10 คะแนน
คณุ ลกั ษณะ 3 นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มไดค้ ะแนน 5-8 คะแนน
(A) 2 นกั เรยี นแต่ละกลุ่มไดค้ ะแนน 0-4 คะแนน
1 ทำภาระงานท่ไี ด้รับมอบหมายเสร็จภายในเวลาท่ีกำหนด และเรียบรอ้ ยถูกตอ้ งครบถ้วน
3 ทำภาระงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายเสร็จภายในเวลาท่ีกำหนด แต่งานยงั ผดิ พลาดบางสว่ น
2 ทำภาระงานที่ได้รบั มอบหมายเสรจ็ แต่ล่าช้า และเกดิ ข้อผดิ พลาดบางส่วน
1

ระดับคะแนน 3 หมายถึง ระดบั ดมี าก
คะแนน 2 หมายถงึ ระดับดี
คะแนน 1 หมายถึง ระดับพอใช้
คะแนน

หมายเหตุ หาค่าเฉล่ยี ของคะแนนด้านความรู้ (K) คะแนนเต็ม เท่ากบั 3

การประเมินการทำกจิ กรรม เรื่อง ตารางธาตุ

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ด้านความรู้ ด้าน ดา้ น รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คุณภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ดา้ น ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถงึ ระดับดีมาก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 5-6 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรงุ
คะแนน

บันทกึ หลังการสอน

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 เรอื่ ง อากาศ พ.ศ. ใ
แผนการสอนท่ี 4 เรอ่ื ง ตารางธาตุ .

ใ เดอื น ใ

วนั ที่

ผลการจัดการเรียนรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปญั หา / อปุ สรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกป้ ญั หา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชอื่ ............................................ครผู ู้สอน ลงชอ่ื .............................................หัวหน้ากลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธนิ ยี ์ สรรเสรญิ ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

ตัวอย่างบัตรคำธาตุ

1.008 4.0026 6.94 9.0122 10.81

H He Li Be B

1 ไฮโรเจน 2 ฮีเลยี ม 3 ลเิ ทียม 4 เบรลิ เลยี ม 5 โบรอน

12.011 14.007 15.999 18.998 20.180

C N O F Ne

6 คารบ์ อน 7 ไนโตรเจน 8 อ อกซิเจน 9 ฟลูออรีน 10 นีออน

22.990 24.305 26.982 28.085 30.974
Na Mg Al Si P
11 โซเดยี ม 12 แมกนีเซียม 13 อะลมู เิ นียม 14 ซิลิคอน 15 ฟอสฟอรสั

32.06 35.45 39.948 39.098 40.078

S Cl Ar K Ca

16 กำมะถนั 17 คลอรีน 18 อารก์ อน 19 โพแทสเซียม 20 แคลเซียม

44.956 47.867 50.942 51.996 54.938

Sc Ti V Cr Mn
21 สแกนเดยี ม 22 ไทเทเนียม 23 วาเนเดยี ม 24 โครเมียม 25 แมงกานีส

55.845 58.933 58.693 63.546 65.38

Fe Co Ni Cu Zn
26 ไอร์ออน(เหล็ก) 27 โคบอลต์ 29 คอปเปอร์ (ทองแดง) 30 ซิงค์ (สังกะสี)
28 นิกเกิล

69.723 72.630 74.922 78.971 79.904

Ga Ge As Se Br

31 แกลเลียม 32 เจอรเ์ มเนียม 33 สารหนู 34 ซีลิเนยี ม 35 โบรมีน

83.798 85.468 87.62 88.906 91.224

Kr Rb Sr Y Zr

36 ครปิ ทอน 37 รบู ิเดยี ม 38 สตรอนเซียม 39 อิตเทรยี ม 40 เซอรโ์ คเนียม

92.906 95.95 98 101.07 102.91
Nb Mo Tc Ru Rh
41 ไนโอเบียม 42 โมลิบดีนัม 43 เทคนีเซียม 44 รทู เี นียม 45 โรเดยี ม

106.42 107.87 112.41 114.82 118.71

Pd Ag Cd In Sn

46 แพลเลเดียม 47 เงิน 48 แคดเมียม 49 อินเดยี ม 50 ทิน (ดีบกุ )

121.76 127.60 126.90 131.29 132.91

Sb Te I Xe Cs

51 พลวง 52 เทลลูเรียม 53 ไอโอดีน 54 ซีนอน 55 ซีเซียม

137.33 174.97 178.49 180.95 183.84
Ba Lu Hf Ta W
56 แบเรียม 71 ลทู เิ ทียม 72 แฮฟเนียม 73 แทนทาลมั 74 ทงั สเตน

186.21 190.23 192.22 195.08 196.97
Re Os Ir Pt Au
75 รีเนียม 76 ออสเมียม 77 อิริเดยี ม 78 แพลทินัม 79 ทองคำ

200.59 204.38 207.20 208.98 209

Hg Tl Pb Bi Po
81 แทลเลยี ม 82 เลท(ตะกั่ว)
80 ปรอท 83 บิสมัท 84 พอโลเนียม

210 222 223 226 230.03

At Rn Fr Ra U

85 แอสทาทิน 86 เรดอน 87 แฟรนเซียม 88 แทลเลียม 92 ยเู รเนียม

232.04

Th

90 ทอเรียม

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5

เรือ่ ง การใช้ประโยชนจ์ ากอากาศและมลพษิ ทางอากาศ

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์กายภาพ1 รหสั วชิ า ว32101 เวลา 1 ช่ัวโมง

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ อากาศ รวม 7 ชวั่ โมง

กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1

บูรณาการ

 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง  อาเซียน  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน  มาตรฐานสากล  ข้ามกล่มุ สาระ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมบตั ขิ องสสารกบั โครงสร้าง

และแรงยึดเหนีย่ วระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี

2. ตัวชวี้ ัด
ว 2.1 ม.5/7 สบื คน้ ขอ้ มลู และนำเสนอตัวอยา่ งประโยชน์และอันตรายท่ีเกิดจากธาตุเรพรีเซนเททฟี และ

ธาตุแทรนซิชัน

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ (K)
1) นกั เรียนบอกประโยชน์ของแก๊สในอากาศได้
2) ยกตวั อย่างสารมลพิษในอากาศ รวมถงึ แหล่งกำเนิดและผลกระทบตอ่ สิง่ มชี วี ิตและส่งิ แวดล้อมได้
3.2 ดา้ นกระบวนการ (P)
1) นกั เรยี นสบื คน้ ข้อมลู และนำเสนอประโยชน์และอันตรายของธาตเุ รพรเี ซนเททฟี และธาตุแทรนซิชัน
ได้
3.3 ด้านคุณลกั ษณะ (A)
1) ใฝ่เรียนรแู้ ละเป็นผมู้ ีความมุ่งม่ันในการทำงาน

4. สาระสำคัญ
อากาศเป็นสารผสมประกอบด้วยแก๊สหลายชนิดในปริมาณที่แตกต่าง อยู่ในรูปของอะตอมและโมเลกุล

โดยสารทีอ่ ยู่ในรูปอะตอมจัดเป็นธาตุเสมอ ส่วนสารท่ีอยู่ในรปู โมเลกลุ อาจเป็นธาตหุ รอื สารประกอบกไ็ ด้ อะตอมเป็น
หน่วยย่อยของสารเคมี ภายในอะตอมประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ซึง่ มีจำนวนที่แตกต่างกันใน
ธาตุแต่ละชนิด สง่ ผลให้ธาตุแต่ละชนิดมีมวลและสมบัติเฉพาะท่แี ตกตา่ งกนั โดยโปรตอนและนิวตรอนรวมกันอยูใ่ น
นิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียส แบบจำลองอะตอมของโบร์เสนอว่า อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบ
นิวเคลียสเป็นวง ส่วนแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกเสนอว่า อิเล็กตรอนเคล่ือนที่รอบนิวเคลียสในลักษณะ
กลุ่มหมอก อะตอมของธาตุต่างชนิดกันมจี ำนวนโปรตอนไม่เท่ากัน อะตอมเป็นกลางทางไฟฟ้าเม่ืออะตอมของธาตุ
มีการให้หรือรับอิเล็กตรอนทำให้เกิดไอออน สัญลักษณ์นิวเคลียร์แสดงชนิดและจำนวนอนุภาคในอะตอมของธาตุ

ธาตุชนิดเดียวกันท่ีมีเลขมวลต่างกันเป็นไอโซโทปกัน ตารางธาตุจัดเรยี งธาตุตามเลขอะตอมและสมบัติท่ีคล้ายคลึง
กนั ของธาตุ แบ่งธาตุออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มธาตเุ รพรีเซนเททีฟ และกลุ่มธาตุแทรนซิชัน และยังสามารถแบ่งธาตุ
ออกเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ โดยธาตุที่เป็นองค์ประกอบของแก๊สในอากาศส่วนใหญ่เป็นธาตุอโลหะ
แก๊สหลายชนิดในอากาศนำมาใช้ประโยชน์ได้มาก แต่บางชนิดเป็นพิษโดยส่งผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์และ
สิ่งแวดล้อม

5. สาระการเรียนรู้
5.1 ความรู้
1) แก๊สออกซิเจน
- บรรจใุ นถงั ช่วยหาใจสำหรับผปู้ ่วย นกั ประดานำ้ และนักบินอวกาศ
- รกั ษาโรค เช่น ปอดบวม ฝใี นสมอง แผลหายยากจากเบาหวาน
- ทำปฏกิ ิรยิ ากับแก๊สออกซเิ จน (C2H2) เพอื่ ให้เปลวไฟท่ีมีความร้อนสูงใชใ้ นการตัดและ
เช่ือมเหลก็
- เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการเผาไหม้เช้ือเพลิงในจรวดและเครอ่ื งบินไอพ่น
2) แกส๊ ไนโตรเจน
- บรรจุในถงุ ขนม เพื่อปอ้ งกันความชน้ื และออกซิเจน คงความกรบุ กรอบ และคุณภาพ
อาหาร
- ปอ้ งกันการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีระหว่างอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ หรอื ชิน้ งานในอุตสาหกรรม
กับแก๊สออกซเิ จนในอากาศ
- เป็นสารตั้งต้นในการผลติ ปุ๋ยไนโตรเจน
- ทำใหเ้ ป็นไนโตรเจนเหลวที่ใช้ในกระบวนการผลิตอาหารแชแ่ ขง็ และการเก็บรกั ษา
น้ำเชอ้ื หรอื ตัวอ่อน
3) แก๊สมสี กลุ
- แก๊สฮเี ลยี มนำไปบรรจุในลูกโปง่ สวรรค์
- แกส๊ นีออนและซีนอนใชบ้ รรจใุ นหลอดไฟท่ใี หแ้ สงสตี า่ ง ๆ
- แกส๊ อารก์ อนใช้บรรจุในหลอดไฟแบบมไี ส้ เพือ่ ป้องกนั ไสห้ ลอดทำปฏิกิริยากับออกซิเจน
ในอากาศ แล้วเกิดการลุกไหม้
4) นอกจากมกี ารใช้ประโยชน์ของธาตุท่ีอยใู่ นอากาศแลว้ ธาตอุ นื่ ๆ ในตารางธาตุยังสามารถ
นำมาใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจำวนั และในอุตสาหกรรมได้อีกมากมาย เช่น เหล็ก (Fe) เปน็ โลหะทมี่ ีความ
แข็งแรง จดุ หลอมเหลวและจุดเดอื ดสงู มคี วามเป็นพษิ ต่ำ นยิ มนำมาใชท้ ำเปน็ โครงสร้างพน้ื ฐานอาคารและ
ยานพาหนะ สงั กะสี (Zn) นิยมนำมาเคลือบเหล็กเพื่อปอ้ งกันการเกดิ สนิม ไอโอดนี (I) ใช้ผสมในน้ำยาฆ่า
เชื้อสำหรับใส่แผล

5) มลพษิ ทางอากาศ

อากาศที่มีปรมิ าณของฝุ่นละออง แก๊สพิษ ควัน เขมา่ มากเกนิ ไปจนสง่ ผลกระทบที่เป็น

อนั ตราต่อสขุ ภาพจะทำให้เกิดมลพิษทางอากาศ ซ่ึงอาจเกิดข้ึนธรรมชาติ เชน่ ภูเขาไฟระเบดิ ไฟป่า หรอื

เกดิ จาการกระทำของมนุษย์ เช่น การเผาไหม้เชอ้ื เพลงิ ในรถยนต์ การปลอ่ ยแก๊สจากโรงงานอุตสาหกรรม

การเผาขยะ การก่อสร้าง ดงั ตัวอย่างในตาราง 1.3

ตาราง 1.3 ตวั อย่างสารมลพิษ แหล่งกำเนดิ และผลกระทบ

สารมลพิษ แหล่งกำเนิด ผลกระทบ
แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ • การเผาไหม้เชอ้ื เพลิงใน ทำใหเ้ กิดอาการมึนงง วิงเวียน
แกส๊ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ศีรษะ และหากได้รบั ปรมิ าณมาก
ออกไซดข์ องไนโตรเจน เครื่องยนต์ อาจถึงขน้ั เสียชวี ิต
• การเผาขยะ
แกส๊ โอโซน • ไฟปา่ ระคายเคืองตา ผิวหนัง และหาก
ปรอท • การเผาไหม้ถา่ นหนิ สดู ดมเขา้ ไปมาก อาจทำใหร้ ะบบ
• ภูเขาไฟระเบดิ การหายใจผิดปกติ และเป็นสาเหตุ
ตะกัว่ ของการเกิดฝนกรด
• การเผาไหม้เชื้อเพลิงใน ระคายเคอื งตอ่ ระบบทางเดิน
เครือ่ งยนต์ หายใจ และเปน็ สาเหตุของการเกิด
ฝนกรด
• การเผาไหมส้ ารอนิ ทรีย์ในเตาเผา
• ไฟปา่ ทำให้เกิดอาการไอ จาม หายใจ
• การทำปฏิกิริยาเคมีของ ผิดปกติ เปน็ อนั ตรายต่อผู้ท่เี ปน็
โรคหอบหดื และโรคระบบทางเดนิ
สารอนิ ทรยี ร์ ะเหยงา่ ย กบั หายใจ
ออกไซด์ของไนโตรเจนในอากาศ หากสะสมในปริมาณมาก ระบบ
ประสาทจะถกู ทำลาย ผปู้ ่วยจะ
• การเผาไหม้ถ่านหนิ ออ่ นเพลยี ซึมเศร้า มอื เท้าไม่มี
• การเผาขยะ เร่ยี วแรง ตาพรา่ มัว สญู เสยี การได้
• โรงงานผลิตแบตเตอร่ี ยนิ พกิ าร และรนุ แรงถึงขน้ั
• การถลุงโลหะ เสยี ชีวิต
ทำลายระบบประสาท มีผลต่อ
• การเผาไหม้นำ้ มนั ทีม่ สี ่วนผสม พัฒนาการทางสมองของทารก
ของสารตะกว่ั เป็นสาเหตุของโรคโลหติ จาง และ
โรคไต
• การถลุงแร่โลหะ
• โรงงานผลติ แบตเตอร่ี

ฝุน่ ละออง • การเผาไหม้ถ่านหนิ และเชอื้ เพลิง ระคายเคืองตา หากสะสมภายใน
ชีวมวล โพรงจมูกเป็นเวลานาน อาจเกิด
การอักเสบเรอื้ รงั
• การเผาขยะ
• การก่อสรา้ ง

5.2 กระบวนการ

1) ความสามารถในการสื่อสาร (อ่าน ฟงั พูด เขียน)
2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วเิ คราะห์ จัดกลุ่ม สรปุ )
3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ (ความรับผิดชอบ)
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ใช้การสืบค้นผ่านคอมพิวเตอร)์
5.3 คุณลักษณะและค่านิยม
ใฝเ่ รยี นรแู้ ละเป็นผู้มีความม่งุ ม่นั ในการทำงาน

6. บูรณาการ
-

7. กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้ันท่ี 1 ขนั้ สรา้ งความสนใจ
1.1 ครทู บทวนบทเรียนท่ผี ่านมา เรอื่ ง ตารางธาตุ
1.2 ครูนำเข้าสู่บทเรยี นโดยต้ังคำถาม เพ่ือนำเข้าสู่กิจกรรม
1) นักเรียนคิดว่าธาตเุ รพรีเซนเททฟี และธาตแุ ทรนซิซนั มปี ระโยชนแ์ ละอนั ตรายหรือไม่
2) นกั เรยี นจงยกตัวอยา่ งสารพษิ ในอากาศ หรือแกส๊ พษิ

ข้นั ท่ี 2 ขั้นสำรวจและค้นหา
2.1 ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยเกรน่ิ นำวา่ ธาตุหลายชนิดในตารางธาตุมีสถานะเปน็ แก๊สและเปน็ องค์

ประกอบสำคญั ของอากาศ เช่น แก๊สออกซเิ จน แก๊สไนโตรเจน แก๊สมสี กลุ ซ่ึงมีการนำมาใช้ประโยชน์
หลากหลาย

2.2 ครใู หน้ กั เรียนทุกคนศกึ ษาค้นคว้าข้อมลู ในหนังสือเรยี น หน้า 16 – 20 แล้วนักเรียนทำใบงาน
เรือ่ ง การใช้ประโยชนข์ องแกส๊ ในอากาศและมลพิษทางอากาศ

2.3 แบ่งกล่มุ นักเรยี นออกเป็น 5-6 กลมุ่ นักเรียนแตล่ ะกล่มุ ทำกิจกรรม 1.2 สืบค้นขอ้ มูลสมบตั ิ
ประโยชน์ และอันตรายของธาตุ

ข้นั ที่ 3 ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ
3.1 ครนู ำนกั เรียนอภปิ ราย โดยการตั้งคำถาม เพือ่ สรปุ บทเรยี น ดงั น้ี
1) แกส๊ ใดบ้างท่นี ำมาใชป้ ระโยชนท์ างอากาศ (แนวการตอบ แก๊สไนโตรเจน (N2) แกส๊

ออกซิเจน (O2) และแกส๊ มีสกลุ )
2) แกส๊ ใดบรรจุในถงั ช่วยหายใจสำหรบั ผ้ปู ่วย (แนวการตอบ แก๊สออกซเิ จน (O2))
3) แก๊สใดทำปฏกิ ริ ยิ ากับแก๊สอะเซทลิ นี เพอื่ ใหเ้ ปลวไฟทมี่ คี วามรอ้ นสงู (แนวการตอบ แกส๊

ออกซเิ จน (O2))
4) แก๊สใดบรรจใุ นถงุ ขนม เพ่ือป้องกันความชื้นและออกซเิ จน คงความกรบุ กรอบ

(แนวการตอบ แกส๊ ไนโตรเจน (N2))
5) แก๊สใดท่ีนำไปบรรจใุ นลกู โป่งสวรรค์ (แนวการตอบ แก๊สฮเี ลียม (He))

6) จงบอกผลกระทบของแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ (แนวการตอบ ทำใหเ้ กดิ อาการมนึ งง
วิงเวียนศีรษะ และหากไดร้ บั ปริมาณมาก อาจถงึ ข้ันเสียชวี ิต)

7) จงบอกแหลง่ กำเนดิ ของปรอท (แนวการตอบการเผาไหมถ้ ่านหิน การเผาขยะ
โรงงานผลติ แบตเตอร่ี และการถลงุ โลหะ)
ขั้นท่ี 4 ข้นั ขยายความรู้

4.1 ครูสรุปเนือ้ หาในบทเรียนท้ังหมดในหนังสือ หนา้ 20
ขนั้ ที่ 5 ขั้นประเมนิ ผล

5.1 ครูตรวจใบงาน เรือ่ ง การใช้ประโยชน์ของแก๊สในอากาศและมลพิษทางอากาศ
5.2 ครูตรวจใบกิจกรรม 1.2 สืบค้นขอ้ มูลสมบัติ ประโยชน์ และอันตรายของธาตุ
ประยุกต์และตอบแทนสังคม
ครใู ห้นักเรียนแต่ละคนนำความรู้ทเ่ี รียนไปค้นควา้ เพ่มิ เติมทีห่ ้องสมดุ หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน
ชนั้ เรยี น
8. สอื่ การเรียนรู/้ แหล่งเรียนรู้
8.1 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตรก์ ายภาพ) ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 เล่ม 1
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 ใบงาน เรอ่ื ง การใช้ประโยชนข์ องแก๊สในอากาศและมลพษิ ทางอากาศ
8.3 ใบกจิ กรรม 1.2 สืบคน้ ข้อมูลสมบัติ ประโยชน์ และอันตรายของธาตุ
8.4 อินเทอรเ์ น็ต หรือ หอ้ งสมุด

9. การวัดและประเมินผล

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ ีการวดั เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมิน

ด้านความรู้ (K)

1) นกั เรียนบอกประโยชนข์ องแกส๊ ในอากาศ 1) ตรวจใบงาน เรื่อง 1) แบบประเมินการ 1) นกั เรยี นสามารถ

ได้ การใช้ประโยชน์ของ ทำกจิ กรรม ตอบคำถามในใบงาน

2) ยกตัวอยา่ งสารมลพษิ ในอากาศ รวมถงึ แก๊สในอากาศและ 2) ใบงาน เรื่อง การ ไดร้ ะดับดี ผ่านเกณฑ์

แหล่งกำเนดิ และผลกระทบต่อสง่ิ มีชวี ิตและ มลพิษทางอากาศ ใชป้ ระโยชนข์ องแกส๊

สง่ิ แวดล้อม ในอากาศและมลพษิ

ทางอากาศ

ด้านกระบวนการ (P)

1) นกั เรยี นสบื ค้นข้อมูลและนำเสนอ 1) ตรวจใบกจิ กรรม 1) แบบประเมินการ 1) นกั เรยี นสามารถ

ประโยชน์และอันตรายของธาตเุ รพรเี ซนเท 1.2 สืบค้นขอ้ มูลสมบัติ ทำกจิ กรรม สรปุ เนอ้ื หาท่ีได้จาก

ทีฟและธาตุแทรนซิชันได้ ประโยชน์ และ 2) ใบกิจกรรม 1.2 การศึกษาคน้ ควา้

อันตรายของธาตุ สืบคน้ ขอ้ มลู สมบตั ิ ได้ระดบั ดี ผา่ นเกณฑ์

ประโยชน์ และ

อันตรายของธาตุ

ดา้ นคุณลักษณะ (A)

1) ใฝ่เรยี นรู้และเปน็ ผู้มคี วามมุ่งมนั่ ในการ 1) ตรวจใบงาน เรอ่ื ง 1) แบบประเมนิ การ 1) นกั เรยี นทำภาระ

ทำงาน การใช้ประโยชน์ของ ทำกจิ กรรม งานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย

แก๊สในอากาศและ ได้ระดับดี ผา่ นเกณฑ์

มลพษิ ทางอากาศ

2) ตรวจใบกจิ กรรม

1.2 สบื ค้นข้อมูลสมบัติ

ประโยชน์ และ

อันตรายของธาตุ

10. เกณฑ์การประเมินผลงานนักเรยี น

เกณฑก์ ารประเมินแบบ Rubrics ของการทำกิจกรรม เร่ือง การใชป้ ระโยชน์จากอากาศและมลพิษทางอากาศ

ประเด็นการ ค่าน้ำหนัก แนวทางการให้คะแนน
ประเมนิ คะแนน

ด้านความรู้ 3 ตอบคำถามถกู ต้องครบถว้ น จำนวน 7-10 ข้อ
(K) 2 ตอบคำถามถูกต้องครบถว้ น จำนวน 4-6 ข้อ
1 ตอบคำถามถกู ตอ้ งครบถว้ น จำนวน 1-3 ขอ้ หรือไม่ถกู ต้อง
ดา้ น 3 สบื ค้นขอ้ มลู สมบตั ิ ประโยชน์ และอนั ตรายของธาตุได้ถูกตอ้ งครบถว้ น

กระบวนการ 2 สืบคน้ ข้อมูลสมบัติ ประโยชน์ และอนั ตรายของธาตุได้ค่อนขา้ งถูกตอ้ งครบถ้วน
(P) 1 สืบคน้ ขอ้ มลู สมบตั ิ ประโยชน์ และอนั ตรายของธาตุ แต่ไม่ครบถว้ น

ด้าน 3 ทำภาระงานท่ีได้รบั มอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด และเรยี บรอ้ ยถูกตอ้ งครบถ้วน
คณุ ลักษณะ 2 ทำภาระงานทไ่ี ด้รับมอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาท่ีกำหนด แต่งานยงั ผดิ พลาดบางส่วน
1 ทำภาระงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายเสร็จ แต่ลา่ ช้า และเกิดขอ้ ผดิ พลาดบางสว่ น
(A)

ระดบั คะแนน 3 หมายถงึ ระดบั ดีมาก
คะแนน 2 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 1 หมายถงึ ระดับพอใช้
คะแนน

การประเมินการทำกิจกรรม เรอื่ ง การใช้ประโยชน์จากอากาศและมลพิษทางอากาศ

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกลุ ด้านความรู้ ดา้ น ดา้ น รวม ระดบั
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

ท่ี ชอ่ื - นามสกุล จุดประสงค์การเรยี นรู้ รวม ระดบั

ดา้ นความรู้ ดา้ น ด้าน คะแนน คณุ ภาพ

(K) กระบวนการ คุณลกั ษณะ
(P) (A)

3 3 39

29 9 หมายถงึ ระดับดีมาก
30 7-8 หมายถึง ระดับดี
31 5-6 หมายถึง ระดบั ปานกลาง
32 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรุง
33
34
35
36
37
38
39
40

ระดับคณุ ภาพ
คะแนน
คะแนน
คะแนน
คะแนน


Click to View FlipBook Version