The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaimath2514, 2022-05-20 10:33:15

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

ช่อื ชั้น เลขท่ี ‘

เฉลยแบบฝึกหดั เรอื่ ง สมการเคมี

คำส่งั ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาเนื้อหาหนา้ 99 -101 ในหนังสือเรยี น และสบื ค้นผ่านอนิ เทอรเ์ น็ต แล้วเตมิ คำตอบลงใน
ชอ่ งวา่ งใหถ้ ูกต้องสมบูรณ์

1. สมการเคมขี องปฏกิ ริ ิยาการเผาไหมโ้ พรเพน

C3H8 (g) + 5O2 (g) 3CO2 (g) + 4H2O (g)
2. สมการเคมีของปฏกิ ริ ยิ าการเผาไหมแ้ กส๊ บิวเทน 4CO2 (g) + 5H2O (g)

C4H10 (g) + 6.5O2(g)

3. สมการเคมีของปฏกิ ิริยาการเผาไหม้ฟอสฟอรัส 2P2O5(s)
P4(s) + 5O2(g)

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 23

เรือ่ ง อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์กายภาพ1 รหัสวิชา ว32101 เวลา 2 ชั่วโมง

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ พลังงาน รวม 19 ช่ัวโมง

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1

บรู ณาการ

 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง  อาเซียน  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน  มาตรฐานสากล  ขา้ มกลุม่ สาระ

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบตั ิของสสารกับโครงสร้าง

และแรงยึดเหนยี่ วระหว่างอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี

2. ตัวชว้ี ัด
ว 2.1 ม.5/21 ทดลองและอธบิ ายผลของความเข้มขน้ พนื้ ที่ผิว อุณหภมู ิ และตวั เรง่ ปฏิกริ ยิ า ที่มีผลต่ออัตรา

การเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นักเรยี นอธิบายผลของตัวเรง่ ปฏิกริ ยิ าท่ีมผี ลตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมีได้
3.2 ดา้ นกระบวนการ (P)
1) นกั เรยี นทดลองผลของตวั เรง่ ปฏกิ ริ ยิ าท่มี ีผลต่ออัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมีได้
3.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
1) ใฝ่เรยี นรแู้ ละเป็นผ้มู ีความมุ่งมัน่ ในการทำงาน

4. สาระสำคญั
พลังงานท่ีนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้มาจากปฏิกิรยิ าเคมี และปฏิกิริยานิวเคลียร์ โดยปฏิกิริยา

เคมีที่ให้พลังงานอาจได้มาจากปฏิกิริยาการเผาไหม้ ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้า ซึ่งปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น เขียนแสดงได้ด้วย
สมการเคมี โดยแสดงชนิดและจำนวนของสารต้ังต้นที่ทำปฏิกิริยากัน และผลิตภัณฑ์ท่ีเกิดข้ึน รวมท้ังภาวะในการ
เกิดปฏิกิริยา การพิจารณาว่าปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วหรือช้าพิจารณาได้จากอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซึ่งขึ้นอยู่กับ
หลายปัจจยั เช่น ความเข้มขน้ อุณหภูมิ พ้ืนท่ีผวิ ของสารต้ังต้น ตัวเร่งปฏิกิรยิ า ความร้เู กี่ยวกับปัจจยั ทม่ี ีผลต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวัน และในอุตสาหกรรม ปฏิกริ ิยารีดอกซ์เปน็ ปฏิกริ ิยา
เคมีที่เกิดจากการถ่ายโอนอิเล็กตรอนของสาร โดยปฏิกิริยารีดอกซ์มีทั้งท่ีให้กระแสไฟฟ้าและไม่ให้กระแสไฟฟ้า
สำหรับปฏิกิริยานิวเคลียร์ จะใช้สารกัมมันตรังสีเป็นแหล่งของพลังงาน เน่ืองจากสารกัมมันตรังสีมีนิวเคลียสไม่
เสถยี ร เกิดการสลายและแผร่ งั สอี ย่างต่อเนื่อง สารกมั มันตรังสแี ต่ละชนิดมีค่าครงึ่ ชวี ิตแตกตา่ งกัน และรงั สีท่ีแผ่ออก

มาแตกตา่ งกันจึงนำมาใช้ประโยชน์ไดต้ ่างกนั การนำสารกัมมนั ตรังสีแต่ละชนิดมาใช้ต้องมีการจัดการอย่างเหมาะสม
และตอ้ งคำนึงถงึ ผลกระทบตอ่ ส่ิงมีชีวติ และส่ิงแวดล้อม

5. สาระการเรยี นรู้
5.1 ความรู้
สารทท่ี ำให้ปฏกิ ิรยิ าเกิดได้เรว็ ข้นึ เรียกวา่ ตวั เร่งปฏิกิรยิ า (catalyst) โดยปฏิกริ ิยาท่เี กิดข้นึ เมื่อมี
ตวั เร่งปฏิกิริยายงั คงให้ผลติ ภณั ฑ์เป็นสารชนิดเดมิ และเมื่อปฏกิ ริ ยิ าเคมสี ิน้ สุดลงจะไดต้ วั เรง่ ปฏกิ ิรยิ า
กลับคนื มาในปรมิ าณเท่าเดมิ ดังน้นั จงึ สามารถใช้ตัวเรง่ ปฏิกริ ยิ าในปรมิ าณเพยี งเล็กน้อยเพือ่ ชว่ ยให้สารตงั้
ตน้ เกิดปฏกิ ริ ิยาเคมีได้
ในการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี สารตัง้ ตน้ จะเปลีย่ นเป็นผลติ ภณั ฑ์ ทำให้สารต้ังต้นมปี รมิ าณลดลงและ
ผลติ ภัณฑ์มีปรมิ าณเพ่ิมข้นึ ถ้าปรมิ าณสารตงั้ ต้นลดลงอย่างรวดเร็ว ปรมิ าณผลติ ภณั ฑก์ ็จะเพิ่มข้ึนอยา่ ง
รวดเรว็ ดงั นัน้ การพิจารณาว่าปฏิกริ ิยาใดเกดิ ได้เร็วหรือชา้ จึงพจิ ารณาได้จากการเปลย่ี นแปลงปรมิ าณสาร
ตั้งต้นหรอื ผลติ ภณั ฑ์ตอ่ เวลา ซ่งึ สมั พนั ธ์กบั อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี (rate of reaction)
5.2 กระบวนการ
1) ความสามารถในการส่อื สาร (อ่าน ฟัง พูด เขยี น)
2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วิเคราะห์ จัดกลุ่ม สรปุ )
3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ (ความรับผดิ ชอบ)
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใชก้ ารสบื ค้นผ่านคอมพวิ เตอร)์
5.3 คณุ ลักษณะและค่านิยม
ใฝ่เรยี นรแู้ ละเป็นผู้มีความมงุ่ มนั่ ในการทำงาน

6. บูรณาการ
-

7. กจิ กรรมการเรียนรู้
ขนั้ ที่ 1 ข้ันสรา้ งความสนใจ
1.1 ครูนำเข้าสบู่ ทเรยี น โดยนำรปู 4.6 ประกอบการอธบิ าย เพือ่ นำเขา้ สู่กจิ กรรม

- การเกดิ มลพษิ จากปฏกิ ริ ยิ าการเผาไหม้เช้ือเพลงิ ซากดึกดำบรรพ์ และวิธีการลดมลพิษที่
เกดิ ข้นึ ดว้ ยเครือ่ งฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏกิ ิริยา โดยใชร้ ูป 4.6 ประกอบการอธิบาย เพื่อให้เหน็ ว่าตัวเร่ง
ปฏิกริ ยิ าเคมที ำใหป้ ฏิกิรยิ าเคมที ี่เกิดได้ช้า เกดิ ปฏิกริ ิยาไดเ้ รว็ ขึ้น

1.2 ครูนำเขา้ สบู่ ทเรียนโดยตง้ั คำถาม เพ่ือนำเข้าสู่กิจกรรม
1) สารที่ทำให้ปฏกิ ิริยาเกิดไดเ้ รว็ ข้นึ เรียกวา่
2) คำวา่ “อตั ราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี” มีความหมายว่าอยา่ งไร
3) นอกจากโลหะแพลทนิ มั และโรเดยี มทีท่ ำหน้าท่ีเปน็ ตวั เรง่ ปฏกิ ิริยาเคมีในเคร่ืองฟอกไอ

เสยี แล้ว ยังมสี ารเคมีทที่ ำหนา้ ทเี่ ป็นตวั เรง่ ในปฏิกิริยาเคมอี ่นื ๆ อีกหรอื ไม่

ขั้นที่ 2 ขั้นสำรวจและค้นหา
2.1 นกั เรียนแบง่ กลุ่มๆ ละ 5-6 คน โดยคละเพศ คละความสามารถ
2.2 นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มศึกษาใบกิจกรรม 4.1 การทดลองการเติมสารเคมีบางชนิดทม่ี ีผลต่ออตั รา

การเกิดปฏกิ ิริยาเคมี
2.3 ครูแจ้งจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ อปุ กรณ์ และขั้นตอนการทดลองอย่างละเอยี ด
2.4 นักเรยี นรับอุปกรณก์ ารทดลอง พรอ้ มตดิ ตงั้ อุปกรณ์
2.5 นักเรียนแต่ละกลมุ่ ทำการทดลอง สงั เกตและบนั ทึกผลการทดลอง

ขั้นท่ี 3 ขั้นอธิบายและลงขอ้ สรุป
3.1 ครสู มุ่ นกั เรียน 2 คน ออกมานำเสนอสรุปทไี่ ดจ้ ากการศกึ ษาหน้าช้นั เรียน
3.2 ครนู ำนักเรียนอภิปราย ใบกิจกรรม 4.1 การทดลองการเติมสารเคมบี างชนิดท่มี ีผลต่ออัตรา

การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี เพือ่ นำไปสกู่ ารสรุปโดยใชค้ ำถามตอ่ ไปน้ี
1) นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มไดผ้ ลการทำกิจกรรมเหมอื นหรือแตกต่างกนั อย่างไร (แนวการตอบ

ได้ผลเหมอื นกนั )
2) H2O2 มีลกั ษณะอยา่ งไร (แนวการตอบ มลี กั ษณะใส ไมม่ สี ี)
2) เมอื่ เติม KI อิม่ ตวั ลงไปใน H2O2 ท่ีผสมกับนำ้ ยาล้างจาน เกดิ การเปล่ยี นแปลงอยา่ งไร

(แนวการตอบ จะทำให้มฟี องแกส๊ เกิดขนึ้ อยา่ งรวดเร็ว)
3.3 นกั เรียนและครูรว่ มกันอภิปรายและสรปุ ผลการทำการทดลอง จนสรุปได้ ดังน้ี
H2O2 มลี กั ษณะใส ไม่มสี ี เมอ่ื เติมนำ้ ยาลา้ งจานลงไปและผสมให้เข้ากนั พบวา่ สารละลาย

ใสเชน่ เดิม หลังจากสังเกตการเปลี่ยนแปลงเป็นเวลา 3 นาที ขวดท่ไี ม่ได้เติม KI อิ่มตัวอาจสงั เกตเห็นฟองแกส๊
เกดิ ขนึ้ เล็กน้อยหรอื อาจไม่เห็นฟองแก๊สเลย สว่ นขวดทเ่ี ตมิ KI อิ่มตวั มีฟองแก๊สเกดิ ข้นึ จำานวนมาก โดยแก๊ส
ทเ่ี กดิ ข้ึนคือ แก๊สออกซิเจน ซง่ึ ไดจ้ ากการสลายตัวของ H2O2 จงึ สามารถเปรียบเทียบอตั ราการเกิดปฏิกิริยาได้
จากปริมาณฟองแกส๊ ที่เกิดขนึ้ ในเวลาที่เท่ากนั ดังนัน้ ขวดทเ่ี ติม KI อิ่มตัวจึงมีอตั ราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี
มากกว่า สามารถสรุปผลการทดลองได้ว่า KI เป็นตัวเรง่ ปฏกิ ิรยิ าทีท่ ำาให้การสลายตัวของ H2O2 เกดิ ได้เร็วขึ้น

ขน้ั ที่ 4 ขน้ั ขยายความรู้
4.1 ครใู ห้ความรู้เพิม่ เติมเกย่ี วกบั ตัวเรง่ ปฏิกิรยิ าเป็นปจั จยั ท่ีชว่ ยเรง่ ใหป้ ฏกิ ิริยาเคมีบางชนิดเกดิ ได้

เร็วขนึ้ ตามรายละเอยี ดในหนงั สือเรยี น หนา้ 108

ขั้นท่ี 5 ข้นั ประเมนิ ผล
5.1 นักเรียนสง่ ใบกจิ กรรม 4.1 การทดลองการเติมสารเคมบี างชนิดทมี่ ีผลต่ออตั ราการ

เกิดปฏิกริ ิยาเคมี

ประยุกตแ์ ละตอบแทนสังคม
ครูใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนนำความรู้ทีเ่ รียนไปค้นควา้ เพ่ิมเตมิ ท่ีห้องสมุด หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ชนั้ เรียน

8. ส่ือการเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้
8.1 หนงั สือเรยี นรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ (วทิ ยาศาสตร์กายภาพ) ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 1

(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 ใบกจิ กรรม 4.1 การทดลองการเตมิ สารเคมบี างชนิดทีม่ ีผลตอ่ อตั ราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี
8.3 อินเทอรเ์ น็ต
8.4 หอ้ งสมดุ
8.5 สารละลาย และอุปกรณ์วทิ ยาศาสตร์

9. การวดั และประเมินผล วธิ กี ารวดั เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) นกั เรยี นสามารถ
1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมนิ การ สรุปผลการทดลองได้
ดา้ นความรู้ (K) 4.1 การทดลองการ ทำกจิ กรรม ระดับดี ผ่านเกณฑ์
1) นักเรียนอธิบายผลของตัวเร่งปฏกิ ริ ิยาท่ี เติมสารเคมีบางชนิดท่ี 2) ใบกิจกรรม 4.1
มผี ลตอ่ อตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมีได้ มีผลตอ่ อัตราการ การทดลองการเตมิ 1) นักเรียนสามารถ
เกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี สารเคมีบางชนิดทีม่ ี บนั ทึกผลการทำ
ดา้ นกระบวนการ (P) ผลต่ออัตราการ กิจกรรมไดร้ ะดับดี
1) นกั เรียนทดลองผลของตัวเรง่ ปฏิกิริยาที่ เกิดปฏิกิริยาเคมี ผา่ นเกณฑ์
มผี ลตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมีได้
1) ตรวจใบกจิ กรรม 1) แบบประเมนิ การ
4.1 การทดลองการ ทำกิจกรรม
เติมสารเคมบี างชนิดท่ี 2) ใบกจิ กรรม 4.1
มผี ลต่ออัตราการ การทดลองการเตมิ
เกิดปฏิกิริยาเคมี สารเคมบี างชนิดทม่ี ี
ผลต่ออตั ราการ
เกิดปฏิกิรยิ าเคมี

ด้านคณุ ลกั ษณะ (A)

1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งม่ันในการ 1) ตรวจใบกจิ กรรม 1) แบบประเมินการ 1) นกั เรียนทำภาระ
ทำงาน 4.1 การทดลองการ ทำกิจกรรม งานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
2) ใบกิจกรรม 4.1 ได้ระดบั ดี ผ่านเกณฑ์
เตมิ สารเคมีบางชนิดที่ การทดลองการเติม
มผี ลต่ออตั ราการ สารเคมีบางชนิดทมี่ ี
เกิดปฏิกิริยาเคมี ผลต่ออตั ราการ
เกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี

10. เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานนกั เรยี น

เกณฑก์ ารประเมนิ แบบ Rubrics ของการทำกิจกรรม เรื่อง อัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี

ประเดน็ การ ค่านำ้ หนัก แนวทางการใหค้ ะแนน
ประเมนิ คะแนน

ด้านความรู้ 3 สรปุ ผลการทดลองไดถ้ กู ต้องครบถว้ น
(K) 2 สรปุ ผลการทดลองได้คอ่ นขา้ งถูกต้องครบถ้วน
1 สรปุ ผลการทดลองได้ แตไ่ มค่ รบถ้วน

ดา้ น 3 บนั ทกึ ผลกจิ กรรมไดถ้ กู ตอ้ งครบถว้ น

กระบวนการ 2 บนั ทึกผลกิจกรรมได้คอ่ นข้างถูกต้องครบถว้ น

(P) 1 บนั ทกึ ผลกิจกรรมได้ แต่ไม่ครบถ้วน

ดา้ น 3 ทำภาระงานท่ไี ดร้ ับมอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาท่ีกำหนด และเรียบร้อยถูกต้องครบถ้วน

คณุ ลักษณะ 2 ทำภาระงานที่ไดร้ บั มอบหมายเสร็จภายในเวลาท่ีกำหนด แตง่ านยงั ผดิ พลาดบางสว่ น

(A) 1 ทำภาระงานท่ไี ด้รบั มอบหมายเสรจ็ แต่ล่าช้า และเกดิ ขอ้ ผิดพลาดบางสว่ น

ระดับคะแนน 3 หมายถึง ระดบั ดมี าก
คะแนน 2 หมายถึง ระดบั ดี
คะแนน 1 หมายถึง ระดับพอใช้
คะแนน

การประเมนิ การทำกิจกรรม เรอ่ื ง อตั ราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี

จุดประสงค์การเรียนรู้

ท่ี ชอ่ื - นามสกลุ ดา้ นความรู้ ด้าน ดา้ น รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คุณลักษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ดา้ น ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถงึ ระดับดมี าก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 5-6 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรงุ
คะแนน

บนั ทกึ หลังการสอน

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 4 เรือ่ ง พลงั งาน ใ
แผนการสอนท่ี 23 เรื่อง อัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี .

ใ เดอื น พ.ศ. ใ

วันท่ี

ผลการจัดการเรยี นรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปัญหา / อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกป้ ญั หา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงช่ือ............................................ครผู สู้ อน ลงชอ่ื .............................................หัวหนา้ กลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธินยี ์ สรรเสรญิ ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

ใบกจิ กรรม 4.1 การทดลองการเติมสารเคมีบางชนิดที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี

1. รายชอ่ื สมาชิกที่ …………………………………………………….. ช้ัน …………………………………
ช่อื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชอื่ ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................

2. จดุ ประสงค์การทำกิจกรรม
ศกึ ษาผลของสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ ทม่ี ีต่ออัตราการสลายตวั ของไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์

3. วสั ดุ อปุ กรณ์ สารเคมี

** การเตรียมลว่ งหนา้
KI อมิ่ ตวั ปริมาตร 5 mL โดยชั่ง KI ปรมิ าณ 8 g แล้วเติมลงในน้ำกล่ันปริมาตร 5 mL (สารละลาย

ท่เี ตรียมสามารถใช้ไดก้ บั การทดลองของนกั เรยี นประมาณ 20 กลุ่ม)

4. วธิ ที ำกจิ กรรม
1) ใส่ H2O2 ลงในขวดรปู กรวย 2 ใบ ใบละ 20 mL
2) เติมน้ำยาล้างจาน ลงในขวดรูปกรวยท้ัง 2 ใบ ใบละ 20 mL แลว้ ผสมให้เข้ากนั สงั เกตลักษณะของสารละลายกอ่ น
และหลังเติมน้ำยาลา้ งจาน
3) เตมิ KI อม่ิ ตวั 4-5 หยด ลงในขวดรูปกรวยใบหนง่ึ แล้วสังเกตการณ์เปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั H2O2 ในขวดรปู
กรวยท้งั 2 ใบ เป็นเวลา 3 นาที และบันทึกผลการทดลอง

5. ผลการทดลอง

เมอื่ เตมิ KI อิม่ ตัว ลงไปใน H2O2 ที่ผสมกบั นำ้ ยาลา้ งจาน จะทำใหม้ ฟี องแกส๊ เกดิ ข้ึนอย่างรวดเร็ว b
b vv
6. อภิปรายผลการทดลอง

จากการทดลอง พบวา่ เม่ือเติมน้ำยาล้างจานลงไปและผสมใหเ้ ข้ากัน พบว่าสารละลาย ใสเชน่ เดมิ หลังจาก

สังเกตการเปล่ียนแปลงเปน็ เวลา 3 นาที ขวดท่ีไม่ได้เติม KI อ่มิ ตวั อาจสงั เกตเห็นฟองแก๊สเกิดขึน้ เล็กนอ้ ยหรืออาจไม่

เหน็ ฟองแก๊สเลย ส่วนขวดทเ่ี ตมิ KI อิ่มตัวมีฟองแก๊สเกิดข้ึนจำานวนมาก โดยแกส๊ ทเี่ กิดข้ึนคือ แก๊สออกซิเจน ซึง่ ได้

จากการสลายตัวของ H2O2 จึงสามารถเปรยี บเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้จากปริมาณฟองแก๊สทีเ่ กิดข้ึนในเวลาท่ี

เท่ากัน ดังน้ันขวดที่เติม KI อ่ิมตัวจึงมีอัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมีมากกว่า กังนัน้ สามารถสรุปผลการทดลองได้ว่า KI

เปน็ ตวั เรง่ ปฏิกิริยาที่ทำาใหก้ ารสลายตัวของ H2O2 เกดิ ได้เร็วขน้ึ v

7. สรุปผลการทดลอง

KI เปน็ ตัวเรง่ ปฏกิ ิริยาท่ีทำาใหก้ ารสลายตัวของ H2O2 เกิดไดเ้ รว็ ข้ึน อ
b b

เฉลยใบกิจกรรม 4.1 การทดลองการเตมิ สารเคมีบางชนิดท่มี ีผลตอ่ อัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี

1. รายช่ือสมาชิกที่ …………………………………………………….. ช้ัน …………………………………
ช่อื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชอื่ ……………………………………………………………………………....................................เลขท่.ี ..................
ช่อื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท่ี...................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................

2. จุดประสงค์การทำกิจกรรม
ศกึ ษาผลของสารละลายโพแทสเซยี มไอโอไดด์ ทม่ี ีต่ออัตราการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์

3. วสั ดุ อปุ กรณ์ สารเคมี

** การเตรียมลว่ งหนา้
KI อม่ิ ตวั ปรมิ าตร 5 mL โดยชั่ง KI ปรมิ าณ 8 g แล้วเตมิ ลงในนำ้ กลั่นปรมิ าตร 5 mL (สารละลาย

ทเี่ ตรียมสามารถใช้ไดก้ ับการทดลองของนักเรียนประมาณ 20 กลมุ่ )

4. วธิ ที ำกจิ กรรม
1) ใส่ H2O2 ลงในขวดรปู กรวย 2 ใบ ใบละ 20 mL
2) เติมน้ำยาล้างจาน ลงในขวดรูปกรวยทัง้ 2 ใบ ใบละ 20 mL แลว้ ผสมให้เข้ากัน สังเกตลักษณะของสารละลายกอ่ น
และหลังเติมน้ำยาลา้ งจาน
3) เติม KI อม่ิ ตวั 4-5 หยด ลงในขวดรปู กรวยใบหนึง่ แล้วสงั เกตการณเ์ ปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นกับ H2O2 ในขวดรูป
กรวยท้งั 2 ใบ เป็นเวลา 3 นาที และบนั ทึกผลการทดลอง

5. ผลการทดลอง

เมอื่ เตมิ KI อิม่ ตัว ลงไปใน H2O2 ท่ีผสมกับน้ำยาลา้ งจาน จะทำให้มีฟองแกส๊ เกดิ ขนึ้ อยา่ งรวดเร็ว b
b vv
6. อภิปรายผลการทดลอง

จากการทดลอง พบว่า เม่ือเตมิ น้ำยาลา้ งจานลงไปและผสมให้เข้ากนั พบว่าสารละลาย ใสเช่นเดิม หลงั จาก

สังเกตการเปล่ียนแปลงเปน็ เวลา 3 นาที ขวดท่ไี ม่ได้เติม KI อิม่ ตัวอาจสังเกตเห็นฟองแก๊สเกิดข้นึ เลก็ น้อยหรืออาจไม่

เหน็ ฟองแก๊สเลย ส่วนขวดท่ีเตมิ KI อิ่มตวั มีฟองแก๊สเกิดขึ้นจำานวนมาก โดยแก๊สทีเ่ กดิ ขึ้นคือ แก๊สออกซิเจน ซ่ึงได้

จากการสลายตัวของ H2O2 จึงสามารถเปรยี บเทียบอตั ราการเกดิ ปฏิกิรยิ าได้จากปริมาณฟองแกส๊ ท่ีเกิดขึ้นในเวลาที่

เท่ากัน ดังน้ันขวดที่เติม KI อิ่มตัวจึงมีอัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมีมากกว่า กังนน้ั สามารถสรุปผลการทดลองได้ว่า KI

เปน็ ตวั เร่งปฏิกิริยาที่ทำาใหก้ ารสลายตวั ของ H2O2 เกดิ ได้เรว็ ขึน้ v

7. สรุปผลการทดลอง

KI เปน็ ตัวเรง่ ปฏกิ ิริยาท่ีทำาใหก้ ารสลายตัวของ H2O2 เกดิ ได้เรว็ ข้ึน อ
b b

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 24

เรือ่ ง ปจั จัยท่มี ผี ลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี

รายวชิ าวิทยาศาสตร์กายภาพ1 รหัสวชิ า ว32101 เวลา 3 ช่ัวโมง

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ พลงั งาน รวม 19 ชั่วโมง

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรียนที่ 1

บรู ณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง  อาเซยี น  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น  มาตรฐานสากล  ข้ามกลุม่ สาระ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบตั ขิ องสสารกับโครงสร้าง

และแรงยดึ เหน่ยี วระหว่างอนภุ าค หลกั และธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี

2. ตวั ช้วี ัด
ว 2.1 ม.5/21 ทดลองและอธิบายผลของความเข้มข้น พื้นทผ่ี วิ อุณหภูมิ และตวั เรง่ ปฏิกิริยา ท่ีมผี ลต่ออัตรา

การเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ (K)
1) นักเรียนอธิบายผลของความเข้มขน้ พ้นื ทผ่ี ิว และอณุ หภมู ิ ที่มีผลต่ออตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมีได้
3.2 ดา้ นกระบวนการ (P)
1) นกั เรียนทดลองผลของความเข้มข้น พื้นท่ีผวิ และอณุ หภมู ิ ที่มีผลตอ่ อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมีได้
3.3 ด้านคณุ ลกั ษณะ (A)
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มคี วามมุง่ มน่ั ในการทำงาน

4. สาระสำคญั
พลงั งานที่นำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้มาจากปฏิกิริยาเคมี และปฏิกิริยานิวเคลียร์ โดยปฏิกิริยา

เคมีที่ให้พลังงานอาจได้มาจากปฏิกิริยาการเผาไหม้ ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้า ซ่ึงปฏิกิริยาท่ีเกิดข้ึน เขียนแสดงได้ด้วย
สมการเคมี โดยแสดงชนิดและจำนวนของสารตั้งต้นที่ทำปฏิกิรยิ ากัน และผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น รวมท้ังภาวะในการ
เกิดปฏิกิริยา การพิจารณาว่าปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วหรือช้าพิจารณาได้จากอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซ่ึงขึ้นอยู่กับ
หลายปัจจยั เช่น ความเข้มข้น อุณหภูมิ พ้ืนที่ผวิ ของสารต้ังตน้ ตัวเร่งปฏิกิริยา ความรู้เกี่ยวกับปัจจยั ทีม่ ีผลต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน และในอุตสาหกรรม ปฏิกริ ิยารีดอกซเ์ ปน็ ปฏิกริ ิยา
เคมีท่ีเกิดจากการถ่ายโอนอิเล็กตรอนของสาร โดยปฏิกิริยารีดอกซ์มีท้ังที่ให้กระแสไฟฟ้าและไม่ให้กระแสไฟฟ้า
สำหรับปฏิกิริยานิวเคลียร์ จะใช้สารกัมมันตรังสีเป็นแหล่งของพลังงาน เน่ืองจากสารกัมมันตรังสีมีนิวเคลียสไม่
เสถยี ร เกดิ การสลายและแผร่ ังสอี ย่างตอ่ เนื่อง สารกัมมันตรังสแี ตล่ ะชนดิ มคี ่าครึง่ ชีวิตแตกต่างกัน และรังสที ี่แผอ่ อก

มาแตกต่างกันจึงนำมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ต่างกนั การนำสารกัมมนั ตรังสแี ต่ละชนิดมาใช้ตอ้ งมีการจัดการอยา่ งเหมาะสม
และต้องคำนึงถึงผลกระทบตอ่ สง่ิ มีชวี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม

5. สาระการเรียนรู้
5.1 ความรู้
สารท่ที ำใหป้ ฏกิ ริ ิยาเกดิ ได้เร็วขึน้ เรียกว่า ตวั เร่งปฏกิ ิริยา (catalyst) โดยปฏิกิรยิ าที่เกดิ ข้นึ เม่อื มี
ตวั เรง่ ปฏิกริ ยิ ายงั คงให้ผลิตภณั ฑ์เป็นสารชนิดเดิม และเมื่อปฏิกริ ิยาเคมีสิ้นสุดลงจะไดต้ วั เร่งปฏกิ ิรยิ า
กลบั คืนมาในปรมิ าณเท่าเดิม ดงั นั้นจงึ สามารถใช้ตวั เร่งปฏิกริ ิยาในปรมิ าณเพียงเลก็ น้อยเพือ่ ชว่ ยให้สารตั้ง
ตน้ เกิดปฏิกริ ิยาเคมไี ด้
ในการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี สารตงั้ ต้นจะเปลีย่ นเปน็ ผลติ ภัณฑ์ ทำให้สารตง้ั ตน้ มปี รมิ าณลดลงและ
ผลติ ภัณฑ์มปี รมิ าณเพิ่มข้ึน ถ้าปรมิ าณสารต้งั ตน้ ลดลงอย่างรวดเรว็ ปรมิ าณผลิตภัณฑก์ จ็ ะเพิ่มขึน้ อย่าง
รวดเร็ว ดังนนั้ การพิจารณาว่าปฏกิ ริ ยิ าใดเกิดไดเ้ ร็วหรอื ชา้ จงึ พิจารณาได้จากการเปลยี่ นแปลงปรมิ าณสาร
ต้งั ต้นหรือผลิตภัณฑ์ตอ่ เวลา ซง่ึ สัมพนั ธ์กับ อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี (rate of reaction)
5.2 กระบวนการ
1) ความสามารถในการส่อื สาร (อ่าน ฟัง พูด เขยี น)
2) ความสามารถในการคิด (สังเกต วิเคราะห์ จดั กลุ่ม สรปุ )
3) ความสามารถในการแก้ปญั หา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ (ความรับผดิ ชอบ)
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ใช้การสบื ค้นผ่านคอมพวิ เตอร์)
5.3 คุณลักษณะและคา่ นยิ ม
ใฝเ่ รียนรู้และเป็นผ้มู ีความมุ่งมนั่ ในการทำงาน

6. บรู ณาการ
-

7. กิจกรรมการเรยี นรู้
ขั้นท่ี 1 ขน้ั สร้างความสนใจ
1.1 ครูนำเขา้ สู่บทเรยี น วา่ ตวั เร่งปฏิกิรยิ าทำหนา้ ทีช่ ว่ ยใหป้ ฏกิ ริ ิยาเกิดไดเ้ ร็วขึน้ ตัวเร่งปฏิกริ ิยา
ไมไ่ ดร้ ่วมเปน็ ส่วนหนงึ่ ของผลิตภณั ฑ์ เมื่อปฏิกริ ยิ าเคมสี น้ิ สุดแล้วจะได้ตัวเร่งปฏกิ ิริยากลับคนื มา
1.2 ครยู กตวั อย่างตัวเร่งปฏิกิริยาท่ีพบในชีวิตประจำวนั และอตุ สาหกรรม ตามรายละเอียดใน
หนังสือเรียน เพอื่ เชือ่ มโยงเขา้ สกู่ จิ กรรม 4.2

ขัน้ ท่ี 2 ขน้ั สำรวจและคน้ หา
2.1 นกั เรียนแบ่งกลุม่ ๆ ละ 5-6 คน โดยคละเพศ คละความสามารถ
2.2 นักเรียนแต่ละกลุม่ ศึกษาใบกิจกรรม 4.2 การทดลองปัจจยั ทีม่ ผี ลต่ออตั ราการเกดิ ปฏิกิริยา
เคม2ี .3 ครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ อุปกรณ์ และขนั้ ตอนการทดลองอย่างละเอียด
2.4 นักเรียนรบั อุปกรณก์ ารทดลอง พรอ้ มติดตั้งอุปกรณ์
2.5 นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ทำการทดลอง สังเกตและบนั ทึกผลการทดลอง

ขนั้ ที่ 3 ขั้นอธบิ ายและลงข้อสรุป
3.1 ครูสมุ่ นักเรียน 2 คน ออกมานำเสนอสรปุ ท่ไี ดจ้ ากการศกึ ษาหน้าชน้ั เรยี น
3.2 ครนู ำนักเรียนอภปิ ราย ใบกจิ กรรม 4.2 การทดลองปจั จยั ทีม่ ผี ลต่ออตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี

เพือ่ นำไปสู่การสรปุ โดยใช้คำถามตอ่ ไปน้ี
1) นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ไดผ้ ลการทำกิจกรรมเหมอื นหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร (แนวการตอบ

ไดผ้ ลเหมอื นกนั )
2) เมอื่ เปรยี บเทียบเวลาในการเกิดฟองแก๊สของสาร ในบกี เกอรใ์ บท่ี 1 และใบที่ 2 พบว่า

บีกเกอร์ใบที่ 2 ซึง่ ใช้ HCl เข้มขน้ กวา่ เกิดฟองแกส๊ ไดเ้ ร็วกวา่ แสดงว่ามผี ลทำใหอ้ ตั ราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี
เป็นอย่างไร (แนวการตอบ การเพิ่มความเขม้ ข้นของ HCl มีผลทำให้ อัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมีน้เี พ่มิ ขนึ้ )

3) เม่อื เปรียบเทยี บเวลาในการเกิดฟอง แกส๊ ของสารในบกี เกอรใ์ บท่ี 1 และใบท่ี 3 พบว่า
บกี เกอรใ์ บท่ี 3 ซึ่งมีอุณหภมู ิสงู เกดิ ฟองแก๊สไดเ้ รว็ กวา่ แสดงว่ามผี ลทำให้อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีเปน็
อย่างไร (แนวการตอบ การเพ่มิ อณุ หภมู ิในการเกิดปฏกิ ริ ิยามีผลทำใหอ้ ัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมีนเ้ี พ่มิ ขึน้ )

4) เมอื่ เปรยี บเทียบเวลาในการเกิดฟองแก๊สของ สารในบีกเกอรใ์ บท่ี 1 กับใบท่ี 4 พบวา่
บกี เกอร์ใบท่ี 1 ซ่ึงใช้ผง CaCO₃ ซงึ่ พน้ื ท่ผี วิ รวมทั้งหมดมากกวา่ เกิดฟองแกส๊ ไดเ้ รว็ กวา่ บกี เกอร์ใบท่ี 4 ซึ่ง
ใชเ้ ม็ด CaCO₃ แสดงว่ามผี ลทำใหอ้ ัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีเป็นอย่างไร (แนวการตอบ การเพ่มิ พ้ืนทีผ่ วิ
ของ CaCO₃ ให้สัมผัสกบั HCl มากข้นึ มผี ลทำให้ อัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมนี เ้ี พิ่มขึน้ )

3.3 นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรุปผลการทำการทดลอง ดังน้ี
สรปุ ผลการทดลองได้ว่า การเพ่ิมความเข้มขน้ ของ HCl การเพ่ิมอุณหภูมิในการทำ

ปฏิกิรยิ า และการเพ่มิ พื้นท่ผี วิ ของ CaCO₃ จะทำให้อตั ราการเกดิ ปฏิกิรยิ าระหว่าง CaCO₃ กับ HCl
เพม่ิ ขนึ้

ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้
4.1 ครูให้ความรู้เพม่ิ เติมเกี่ยวกับการทดลอง 4.1 และ 4.2 ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน หนา้

110

ขั้นที่ 5 ขัน้ ประเมนิ ผล
5.1 นักเรยี นส่งใบกิจกรรม 4.2 การทดลองปจั จัยทมี่ ีผลตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี

ประยกุ ตแ์ ละตอบแทนสังคม
ครูให้นกั เรียนแต่ละคนนำความรู้ทเ่ี รียนไปค้นคว้าเพ่ิมเตมิ ท่หี ้องสมุด หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ชั้นเรียน

8. สื่อการเรียนร/ู้ แหลง่ เรียนรู้
8.1 หนังสอื เรียนรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ (วทิ ยาศาสตร์กายภาพ) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 1

(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 ใบกจิ กรรม 4.2 การทดลองปัจจยั ที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี
8.3 อนิ เทอรเ์ น็ต
8.4 ห้องสมดุ
8.5 สารละลาย และอุปกรณว์ ิทยาศาสตร์

9. การวดั และประเมนิ ผล วิธีการวดั เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมินการ 1) นกั เรียนสามารถ
ด้านความรู้ (K) 4.2 การทดลองปจั จัย ทำกจิ กรรม สรปุ ผลการทดลองได้
1) นกั เรียนอธบิ ายผลของความเขม้ ข้น ทมี่ ีผลตอ่ อัตราการ 2) ใบกิจกรรม 4.2 ระดบั ดี ผ่านเกณฑ์
พื้นทผ่ี วิ และอุณหภูมิ ที่มีผลต่ออัตราการ เกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี การทดลองปัจจัยทม่ี ี
เกดิ ปฏิกิริยาเคมไี ด้ ผลตอ่ อัตราการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี

ดา้ นกระบวนการ (P) 1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมนิ การ 1) นกั เรยี นสามารถ
1) นักเรียนทดลองผลของความเขม้ ข้น 4.2 การทดลองปจั จัย ทำกิจกรรม บนั ทกึ ผลการทำ
พนื้ ที่ผวิ และอุณหภมู ิ ท่ีมีผลต่ออัตราการ ทมี่ ผี ลต่ออัตราการ 2) ใบกจิ กรรม 4.2 กจิ กรรมได้ระดับดี
เกิดปฏิกริ ิยาเคมีได้ เกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี การทดลองปจั จัยทม่ี ี ผ่านเกณฑ์
ผลต่ออตั ราการ
เกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี

ด้านคณุ ลกั ษณะ (A) 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนทำภาระ
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการ 1) ตรวจใบกจิ กรรม ทำกิจกรรม งานที่ไดร้ ับมอบหมาย
ทำงาน 4.2 การทดลองปจั จยั 2) ใบกิจกรรม 4.2 ได้ระดบั ดี ผา่ นเกณฑ์
การทดลองปจั จยั ทีม่ ี
ที่มผี ลตอ่ อัตราการ ผลต่ออัตราการ
เกิดปฏกิ ิริยาเคมี เกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี

10. เกณฑ์การประเมินผลงานนกั เรยี น

เกณฑ์การประเมินแบบ Rubrics ของการทำกิจกรรม เรื่อง ปัจจัยท่มี ีผลตอ่ อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี

ประเด็นการ ค่านำ้ หนกั แนวทางการใหค้ ะแนน
ประเมนิ คะแนน

ดา้ นความรู้ 3 สรุปผลการทดลองได้ถูกตอ้ งครบถ้วน
(K) 2 สรุปผลการทดลองได้ค่อนขา้ งถกู ต้องครบถ้วน
1 สรุปผลการทดลองได้ แต่ไมค่ รบถว้ น

ด้าน 3 บนั ทึกผลกจิ กรรมได้ถกู ตอ้ งครบถว้ น

กระบวนการ 2 บนั ทกึ ผลกิจกรรมได้คอ่ นขา้ งถกู ต้องครบถ้วน

(P) 1 บนั ทกึ ผลกิจกรรมได้ แต่ไม่ครบถ้วน

ดา้ น 3 ทำภาระงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาที่กำหนด และเรยี บร้อยถกู ตอ้ งครบถ้วน

คณุ ลักษณะ 2 ทำภาระงานที่ไดร้ ับมอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาที่กำหนด แตง่ านยงั ผิดพลาดบางส่วน

(A) 1 ทำภาระงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายเสรจ็ แต่ลา่ ช้า และเกิดขอ้ ผิดพลาดบางสว่ น

ระดบั คะแนน 3 หมายถึง ระดับดมี าก
คะแนน 2 หมายถึง ระดับดี
คะแนน 1 หมายถงึ ระดับพอใช้
คะแนน

การประเมนิ การทำกิจกรรม เร่อื ง ปจั จัยท่ีมผี ลต่ออตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชอ่ื - นามสกุล ด้านความรู้ ด้าน ดา้ น รวม ระดบั
(K) กระบวนการ คุณลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถงึ ระดับดมี าก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 5-6 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรงุ
คะแนน

บันทกึ หลงั การสอน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรอ่ื ง พลังงาน ใ
แผนการสอนท่ี 24 เรอ่ื ง ปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ อัตราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี .

ใ เดอื น พ.ศ. ใ

วันท่ี

ผลการจดั การเรยี นรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปัญหา / อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกป้ ัญหา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชอ่ื ............................................ครผู ้สู อน ลงช่อื .............................................หวั หน้ากลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธนิ ยี ์ สรรเสริญ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

ใบกจิ กรรม 4.2 การทดลองปัจจยั ทม่ี ีผลต่ออัตราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี

1. รายชือ่ สมาชกิ ท่ี …………………………………………………….. ชน้ั …………………………………
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท่ี...................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................
ช่อื ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................

2. จุดประสงค์การทำกิจกรรม
ศึกษาผลของความเขม้ ข้น อุณหภูมิ และพื้นทผี่ วิ ของสารต้ังต้นที่มีต่ออตั ราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมรี ะหวา่ ง

กรดไฮโดรคลอรกิ กบั หนิ ปูนหรือแคลเซยี มคาร์บอเนต

3. วัสดุ อปุ กรณ์ สารเคมี

4. วิธีทำกิจกรรม
1) ใส่ผง CaCO3 ลงในบกี เกอร์ใบที่ 1-3 และใส่เมด็ CaCO3 ลงในบีกเกอรใ์ บท่ี 4 บกี เกอร์ละ 0.1 g
2) เตมิ HCl 7 % w/v ลงในหลอดทดลองหลอดท่ี 2 และเติม HCl 1 % w/v ลงในหลอดทดลองหลอดที่ 1 3 และ 4
หลอดละ 5 mL
3) อนุ่ HCl 1 % w/v ในหลอดที่ 3 ให้มีอุณหภมู ิประมาณ 60 องศาเซลเซยี ส
4) เติม HCl ลงในบกี เกอรใ์ นขอ้ 1 โดยทำการทดลองทีละคู่ ดังรูป และจับเวลาทนั ที่ที่เตมิ HCl จนไม่เห็นฟองแก๊ส
เกิดขึ้น แลว้ บันทกึ ผลการทดลอง

5. ผลการทดลอง สาร เวลาการเกดิ ปฏิกิรยิ า(วนิ าที)
บีกเกอร์ใบท่ี ผง CaCO3 + HCl 1 % w/v
1
2 ผง CaCO3 + HCl 7 % w/v
ผง CaCO3 + HCl 1 % w/v
3 (สารละลายกรดอุณหภูมปิ ระมาณ 60 °C)
เมด็ CaCO3 + HCl 1 % w/v
4

6. อภปิ รายผลการทดลอง
➢ ความเข้มข้น

เม่ือเปรียบเทียบเวลาในการเกิดฟองแก๊สของสาร ในบีกเกอร์ใบที่ 1 และใบท่ี 2 พบว่า บีกเกอร์ใบท่ี 2 ซึ่งใช้ HCl
เข้มข้นกว่า เกิดฟองแก๊สได้เร็วกว่า แสดงว่า การเพ่ิมความเข้มขน้ ของ HCl มีผลทำให้ อัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมีน้ี
เพิม่ ข้ึน กงั นนั้ สามารถสรุปผลการทดลองได้ว่า KI เป็นตวั เรง่ ปฏกิ ิรยิ าทที่ ำาใหก้ ารสลายตัวของ H2O2 เกิดไดเ้ รว็ ขึ้น
เขม้ ข้นกวา่ เกิดฟองแก๊สไดเ้ ร็วกวา่ แสดงวา่ การเพิ่มความเขม้ ข้นของ HCl มีผลทำให้ อัตราการเกิดปฏิกิ ริยาเคมีนี้

➢อณุ หภมู ิ

เมื่อเปรยี บเทยี บเวลาในการเกิดฟอง แก๊สของสารในบีกเกอรใ์ บที่ 1 และใบที่ 3 พบว่า บีกเกอร์ใบท่ี 3 ซึ่งมีอุณหภูมิ

สูง เกิดฟองแก๊สได้เร็วกว่า แสดงว่า การเพิ่มอุณหภูมิในการเกิดปฏิกิริยามีผลทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

น้ีเพมิ่ ข้นึ f

กงั น้ันสามารถสรปุ ผลการทดลองไดว้ า่ KI เป็นตัวเรง่ ปฏิกิริยาท่ที ำาใหก้ ารสลายตัวของ H2O2 เกิดไ ดเ้ รว็ ข้ึน

เข้มข้นกว่า เกิดฟองแก๊สได้เร็วกว่า แสดงว่า การเพ่ิมความเข้มขน้ ของ HCl มีผลทำให้ อัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมีนี้

เพิ่มขึน้ กังน้นั สามารถสรุปผลการทดลองไดว้ ่า KI เปน็ ตวั เร่งปฏกิ ริ ยิ าท่ที ำาใหก้ ารสลายตัวของ H2O2 เกิดไดเ้ ร็วขึ้น

➢พื้นท่ผี วิ ของสารตง้ั ต้น

เมื่อเปรียบเทียบเวลาในการเกิดฟองแก๊สของ สารในบีกเกอร์ใบท่ี 1 กับใบท่ี 4 พบว่า บีกเกอร์ใบที่ 1 ซ่ึงใช้ผง

CaCO₃ ซ่ึงพ้ืนท่ีผิวรวมทั้งหมดมากกว่า เกิดฟองแก๊สไดเ้ รว็ กว่าบีกเกอร์ใบที่ 4 ซ่งึ ใช้เม็ด CaCO₃ แสดงว่าการเพ่ิม

พื้นทผี่ ิวของ CaCO₃ ให้สัมผัสกบั HCl มากขึ้นมีผลทำให้ อัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมีน้ีเพิม่ ขึ้น f

เข้มข้นกว่า เกิดฟองแก๊สได้เร็วกว่า แสดงว่า การเพิ่มความเข้มขน้ ของ HCl มีผลทำให้ อัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมีนี้

เพ่มิ ข้ึน กงั นั้นสามารถสรุปผลการทดลองได้วา่ KI เป็นตัวเรง่ ปฏกิ ิริยาทท่ี ำาให้การสลายตวั ของ H2O2 เกดิ ไดเ้ ร็วขน้ึ

7. สรุปผลการทดลอง

การเพิ่มความเขม้ ขน้ ของ HCl การเพิม่ อณุ หภูมิในการทำปฏกิ ิริยา และการเพิ่ม พื้นทผ่ี วิ ของ CaCO₃ จะทำให้

อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาระหว่าง CaCO₃ กบั HCl เพมิ่ ข้นึ อ

เขม้ ขน้ กว่า เกิดฟองแก๊สได้เร็วกว่า แสดงว่า การเพิ่มความเขม้ ข้นของ HCl มีผลทำให้ อัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมนี ี้

เพม่ิ ขน้ึ กงั นั้นสามารถสรุปผลการทดลองไดว้ ่า KI เป็นตวั เร่งปฏิกิรยิ าทีท่ ำาใหก้ ารสลายตัวของ H2O2 เกดิ ได้เร็วขนึ้

เฉลยใบกิจกรรม 4.2 การทดลองปจั จัยทม่ี ผี ลต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

1. รายช่ือสมาชกิ ท่ี …………………………………………………….. ชน้ั …………………………………
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขที.่ ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขที.่ ..................

2. จดุ ประสงค์การทำกจิ กรรม
ศึกษาผลของความเขม้ ขน้ อุณหภูมิ และพ้ืนท่ีผิวของสารตั้งต้นท่มี ตี ่ออตั ราการเกิด ปฏิกิริยาเคมรี ะหวา่ ง

กรดไฮโดรคลอรกิ กับหินปูนหรอื แคลเซียมคารบ์ อเนต
3. วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี

4. วธิ ที ำกิจกรรม
1) ใส่ผง CaCO3 ลงในบีกเกอร์ใบที่ 1-3 และใสเ่ มด็ CaCO3 ลงในบกี เกอรใ์ บท่ี 4 บกี เกอร์ละ 0.1 g
2) เตมิ HCl 7 % w/v ลงในหลอดทดลองหลอดที่ 2 และเตมิ HCl 1 % w/v ลงในหลอดทดลองหลอดท่ี 1 3 และ 4
หลอดละ 5 mL
3) อุ่น HCl 1 % w/v ในหลอดท่ี 3 ใหม้ อี ุณหภูมิประมาณ 60 องศาเซลเซียส
4) เตมิ HCl ลงในบีกเกอร์ในข้อ 1 โดยทำการทดลองทลี ะคู่ ดงั รูป และจบั เวลาทันที่ท่เี ติม HCl จนไมเ่ ห็นฟองแก๊ส
เกิดขึ้น แลว้ บนั ทึกผลการทดลอง

5. ผลการทดลอง สาร เวลาการเกดิ ปฏิกิริยา(วินาท)ี
บกี เกอรใ์ บท่ี ผง CaCO3 + HCl 1 % w/v 50
1 15
2 ผง CaCO3 + HCl 7 % w/v
ผง CaCO3 + HCl 1 % w/v 25
3 (สารละลายกรดอณุ หภมู ิประมาณ 60 °C)
เมด็ CaCO3 + HCl 1 % w/v > 300
4

6. อภิปรายผลการทดลอง

➢ความเขม้ ข้น

เมื่อเปรียบเทียบเวลาในการเกิดฟองแก๊สของสาร ในบีกเกอร์ใบท่ี 1 และใบท่ี 2 พบว่า บีกเกอร์ใบท่ี 2 ซ่ึงใช้ HCl
เข้มข้นกว่า เกิดฟองแก๊สได้เร็วกว่า แสดงว่า การเพิ่มความเข้มขน้ ของ HCl มีผลทำให้ อัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมีน้ี
เพม่ิ ข้ึน กังนั้นสามารถสรปุ ผลการทดลองได้วา่ KI เปน็ ตัวเร่งปฏิกริ ิยาที่ทำาให้การสลายตัวของ H2O2 เกิดไดเ้ ร็วขึ้น

v

➢อณุ หภมู ิ

เมื่อเปรยี บเทยี บเวลาในการเกิดฟอง แกส๊ ของสารในบีกเกอร์ใบที่ 1 และใบท่ี 3 พบว่า บกี เกอรใ์ บท่ี 3 ซ่ึงมีอุณหภูมิ

สูง เกิดฟองแก๊สได้เร็วกว่า แสดงว่า การเพิ่มอุณหภูมิในการเกิดปฏิกิริยามีผลทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

นเี้ พ่มิ ขน้ึ f

กังนน้ั สามารถสรปุ ผลการทดลองได้ว่า KI เป็นตวั เรง่ ปฏกิ ริ ยิ าท่ีทำาใหก้ ารสลายตวั ของ H2O2 เกิดไ ดเ้ รว็ ขึน้

➢พ้ืนทผ่ี ิวของสารตง้ั ต้น

เม่ือเปรียบเทียบเวลาในการเกิดฟองแก๊สของ สารในบีกเกอร์ใบท่ี 1 กับใบท่ี 4 พบว่า บีกเกอร์ใบที่ 1 ซ่ึงใช้ผง

CaCO₃ ซึ่งพ้ืนท่ีผิวรวมท้ังหมดมากกว่า เกิดฟองแก๊สได้เร็วกวา่ บีกเกอร์ใบท่ี 4 ซ่ึงใช้เม็ด CaCO₃ แสดงว่าการเพิ่ม

พื้นท่ีผวิ ของ CaCO₃ ให้สัมผัสกบั HCl มากขน้ึ มีผลทำให้ อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมนี เ้ี พิม่ ขนึ้ f

7. สรปุ ผลการทดลอง

การเพ่มิ ความเขม้ ขน้ ของ HCl การเพิ่มอณุ หภูมใิ นการทำปฏิกริ ิยา และการเพิม่ พื้นท่ผี ิวของ CaCO₃ จะทำให้

อัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าระหว่าง CaCO₃ กบั HCl เพ่มิ ขึ้น อ

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 25

เร่ือง ปจั จยั ที่มผี ลต่ออตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมใี นชวี ติ ประจำวนั

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์กายภาพ1 รหสั วชิ า ว32101 เวลา 1 ชั่วโมง

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ พลังงาน รวม 19 ชวั่ โมง

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1

บรู ณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง  อาเซยี น  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน  มาตรฐานสากล  ขา้ มกลุ่มสาระ

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสมบตั ขิ องสสารกบั โครงสรา้ ง

และแรงยึดเหนีย่ วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี

2. ตวั ช้ีวัด
ว 2.1 ม.5/22 สืบค้นข้อมูลและอธิบายปจั จยั ทม่ี ีผลตอ่ อัตราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมีทใี่ ช้ประโยชน์ใน

ชวี ิตประจำวนั หรอื ในอุตสาหกรรม

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ (K)
1) นกั เรยี นอธิบายปจั จัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมที ใ่ี ช้ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวันหรือใน
อุตสาหกรรมได้
3.2 ดา้ นกระบวนการ (P)
1) นกั เรยี นสามารถทำกิจกรรม 3.4 สืบค้นข้อมูลปัจจัยท่ีมีผลตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมีใน
ชวี ิตประจำวนั
2) นักเรียนสืบค้นข้อมูลและอธิบายปจั จยั ท่มี ผี ลต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีท่ีใช้ประโยชนใ์ น
ชวี ติ ประจำวนั หรือในอตุ สาหกรรมได้
3.3 ดา้ นคณุ ลักษณะ (A)
1) ใฝ่เรยี นรู้และเป็นผู้มีความมุ่งมน่ั ในการทำงาน

4. สาระสำคัญ
พลังงานท่ีนำมาใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำวันได้มาจากปฏิกิริยาเคมี และปฏิกิริยานิวเคลียร์ โดยปฏิกิริยา

เคมีที่ให้พลังงานอาจได้มาจากปฏิกิริยาการเผาไหม้ ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้า ซ่ึงปฏิกิริยาที่เกิดข้ึน เขียนแสดงได้ด้วย
สมการเคมี โดยแสดงชนิดและจำนวนของสารตั้งต้นที่ทำปฏิกิรยิ ากัน และผลิตภัณฑ์ท่ีเกิดขึ้น รวมทั้งภาวะในการ
เกิดปฏิกิริยา การพิจารณาว่าปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วหรือช้าพิจารณาได้จากอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซ่ึงขึ้นอยู่กับ
หลายปัจจยั เช่น ความเข้มข้น อุณหภูมิ พื้นท่ีผวิ ของสารตั้งต้น ตัวเร่งปฏิกิรยิ า ความรูเ้ ก่ียวกับปัจจยั ท่มี ีผลต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจำวัน และในอุตสาหกรรม ปฏิกริ ิยารีดอกซ์เป็นปฏิกิรยิ า

เคมีที่เกิดจากการถ่ายโอนอิเล็กตรอนของสาร โดยปฏิกิริยารีดอกซ์มีท้ังท่ีให้กระแสไฟฟ้าและไม่ให้กระแสไฟฟ้า
สำหรับปฏิกิริยานิวเคลียร์ จะใช้สารกัมมันตรังสีเป็นแหล่งของพลังงาน เนื่องจากสารกัมมันตรังสีมีนิวเคลียสไม่
เสถียร เกิดการสลายและแผร่ ังสอี ย่างตอ่ เนื่อง สารกัมมันตรังสแี ตล่ ะชนิดมคี า่ ครึง่ ชีวิตแตกต่างกัน และรงั สที ี่แผอ่ อก
มาแตกตา่ งกันจึงนำมาใช้ประโยชนไ์ ดต้ ่างกนั การนำสารกัมมนั ตรังสีแต่ละชนิดมาใช้ตอ้ งมีการจัดการอยา่ งเหมาะสม
และต้องคำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อส่งิ มีชีวติ และส่งิ แวดล้อม

5. สาระการเรยี นรู้
5.1 ความรู้
สารท่ที ำใหป้ ฏกิ ิรยิ าเกิดไดเ้ รว็ ข้นึ เรยี กวา่ ตัวเร่งปฏกิ ริ ยิ า (catalyst) โดยปฏิกิริยาทเี่ กดิ ขนึ้ เมื่อมี
ตวั เร่งปฏกิ ิริยายังคงใหผ้ ลติ ภณั ฑ์เปน็ สารชนิดเดิม และเมื่อปฏกิ ิรยิ าเคมสี น้ิ สดุ ลงจะได้ตัวเร่งปฏิกิริยา
กลบั คนื มาในปรมิ าณเท่าเดมิ ดังนนั้ จึงสามารถใช้ตัวเรง่ ปฏกิ ิริยาในปรมิ าณเพียงเล็กน้อยเพื่อชว่ ยให้สารต้งั
ต้นเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมไี ด้
ในการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี สารต้ังตน้ จะเปลยี่ นเปน็ ผลิตภณั ฑ์ ทำใหส้ ารตั้งตน้ มปี ริมาณลดลงและ
ผลติ ภัณฑ์มีปริมาณเพมิ่ ขึน้ ถา้ ปรมิ าณสารตัง้ ตน้ ลดลงอยา่ งรวดเรว็ ปริมาณผลิตภณั ฑก์ ็จะเพม่ิ ขนึ้ อย่าง
รวดเร็ว ดงั นั้นการพิจารณาวา่ ปฏิกริ ยิ าใดเกิดได้เร็วหรือช้า จึงพจิ ารณาได้จากการเปลยี่ นแปลงปริมาณสาร
ต้งั ตน้ หรือผลิตภณั ฑต์ อ่ เวลา ซ่งึ สมั พนั ธ์กับ อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี (rate of reaction)
5.2 กระบวนการ
1) ความสามารถในการส่ือสาร (อ่าน ฟงั พดู เขยี น)
2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วิเคราะห์ จดั กลมุ่ สรุป)
3) ความสามารถในการแก้ปญั หา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต (ความรับผดิ ชอบ)
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใชก้ ารสืบคน้ ผ่านคอมพิวเตอร)์
5.3 คณุ ลักษณะและค่านยิ ม
ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มคี วามมงุ่ มั่นในการทำงาน

6. บรู ณาการ
-

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขน้ั ที่ 1 ขั้นสรา้ งความสนใจ
1.1 ครูทบทวนบทเรยี น โดยถามถงึ ผลการทดลองกิจกรรม 4.1 และ 4.2

ข้ันที่ 2 ขัน้ สำรวจและค้นหา
2.1 นกั เรยี นศกึ ษาใบกิจกรรม 4.3 สบื ค้นขอ้ มลู ปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ อัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมใี น

ชวี ติ ประจำวัน

2.2 นักเรยี นทำกิจกรรม 4.3 สืบค้นขอ้ มลู ปัจจัยที่มผี ลตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมีใน
ชีวิตประจำวัน โดยให้สืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต

2.3 นักเรยี นทำแบบฝกึ หดั 4.2 ในหนงั สือเรยี น หน้า 111 ลงในสมดุ ของตนเอง

ขน้ั ท่ี 3 ข้ันอธบิ ายและลงขอ้ สรุป
3.1 ครสู ุ่มนกั เรยี น 2 คน ออกมานำเสนอผลการสบื คน้ ขอ้ มูลของตนเองหน้าชนั้ เรียน
3.2 ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปผลการสบื ค้นข้อมูล
ความเขม้ ข้น
• การล้างห้องนำ้ โดยใชน้ ำ้ ายาลา้ งหอ้ งน้ำที่มีความเขม้ ข้นของสารละลายกรดไฮโดร คลอริก

มากกวา่ จะทำให้เกิดปฏกิ ริ ยิ ากบั หินปูนได้เร็วกวา่
อุณหภูมิ
• การเก็บผลไม้หรืออาหารในตเู้ ย็นซึ่งมีอณุ หภมู ติ ่ำ เพ่อื ใหอ้ ยู่ได้นานและคงความสดใหม่
• อณุ หภมู มิ ีผลตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าของสารในร่างกายของมนุษย์ โดยถา้ รา่ งกายมี

อุณหภูมสิ งู ขึ้น 1 องศาเซลเซียส เนื้อเยอ่ื ในรา่ งกายจะต้องการออกซิเจนเพ่มิ ข้ึน ซึ่งมีผลใหอ้ ัตราการเต้นของ
ชพี จรและอัตราการหายใจเพ่มิ ข้ึน

พื้นทีผ่ ิวของสาร
• ในการรับประทานอาหาร นักโภชนาการแนะนำใหเ้ ค้ยี วอาหารให้ละเอยี ดก่อนกลืน เพราะ
การเค้ียวอาหารให้ละเอยี ดทำใหอ้ าหารมีขนาดเล็กลง เปน็ การเพ่ิมพื้นท่ีผวิ ของอาหารใหม้ ากข้ึน ทำให้กรด
และเอนไซม์ในนำ้ ย่อยในกระเพาะอาหารทำปฏิกิรยิ ากับอาหารได้เร็วขน้ึ อาหารจงึ ย่อยง่ายขนึ้
ตัวเร่งปฏกิ ริ ยิ า
• การหมักเนื้อโดยเตมิ ยางมะละกอซึ่งมีเอนไซม์ปาเปน (papain) ลงไป จะทำให้เน้ือนุ่มข้นึ
เนอ่ื งจากเอนไซม์ปาเปนจะช่วยยอ่ ยโปรตีนในเน้อื ทำใหเ้ นื้อนุ่มขน้ึ เม่ือทำใหส้ กุ

ขนั้ ที่ 4 ขน้ั ขยายความรู้
4.1 ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมเกี่ยวกับแบบฝกึ หดั ทา้ ยบทที่ 4 ข้อท่ี 5-7
4.2 ครใู ห้ความรู้เพมิ่ เติมเก่ียวกับเชือ้ เพลงิ ทางเลือก ตามรายละเอียดในหนงั สือเรยี น

ขั้นท่ี 5 ข้ันประเมินผล
5.1 ครูตรวจใบกจิ กรรม 4.3 สืบค้นขอ้ มลู ปัจจัยที่มผี ลต่ออัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมใี น

ชีวิตประจำวัน
5.2 ครตู รวจสมุดของนกั เรยี นในการทำแบบฝกึ หัด 4.2

ประยุกตแ์ ละตอบแทนสังคม
ครูใหน้ กั เรียนแต่ละคนนำความรู้ท่ีเรียนไปค้นคว้าเพิ่มเติมทห่ี ้องสมุด หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ชั้นเรยี น

8. ส่ือการเรยี นร/ู้ แหลง่ เรยี นรู้
8.1 หนงั สอื เรยี นรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตรก์ ายภาพ) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 1

(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 ใบกิจกรรม 4.3 สืบคน้ ข้อมลู ปัจจยั ทมี่ ีผลต่ออัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมีในชวี ติ ประจำวัน
8.3 อนิ เทอร์เน็ต
8.4 ห้องสมุด

9. การวัดและประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธกี ารวดั เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน

ด้านความรู้ (K) 1) นักเรียนตอบ
คำถามได้ระดบั ดี
1) นักเรยี นอธิบายปัจจัยทีม่ ีผลต่ออัตราการ 1) ตรวจสมุดนกั เรียน 1) แบบประเมินการ ผา่ นเกณฑ์

เกิดปฏิกิริยาเคมีที่ใช้ประโยชน์ใน ในการทำแบบฝกึ หดั ทำกิจกรรม 1) นักเรียนบนั ทึกผล
การสบื ค้นข้อมลู ได้
ชีวิตประจำวันหรือในอุตสาหกรรมได้ 4.2 2) แบบฝึกหดั 4.2 ระดับดี ผา่ นเกณฑ์

ดา้ นกระบวนการ (P) 1) นกั เรียนทำภาระ
งานท่ีไดร้ บั มอบหมาย
1) นกั เรยี นสามารถทำกจิ กรรม 3.4 สบื คน้ 1) ตรวจใบกจิ กรรม 1) แบบประเมนิ การ ได้ระดับดี ผา่ นเกณฑ์

ขอ้ มูลปัจจยั ทีม่ ีผลต่ออตั ราการเกิดปฏกิ ริ ยิ า 4.3 สบื ค้นข้อมูลปจั จยั ทำกิจกรรม

เคมใี นชีวติ ประจำวัน ท่มี ีผลต่ออัตราการ 2) ใบกจิ กรรม 4.3

2) นักเรียนสบื ค้นข้อมลู และอธิบายปัจจัยที่ เกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมีใน สืบค้นข้อมูลปจั จัยที่

มผี ลต่ออัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมีท่ีใช้ ชีวติ ประจำวนั มีผลต่ออัตราการ

ประโยชน์ในชีวติ ประจำวนั หรอื ใน เกิดปฏิกิริยาเคมีใน

อุตสาหกรรมได้ ชวี ิตประจำวัน

ดา้ นคณุ ลักษณะ (A)

1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการ 1) ตรวจสมดุ นกั เรียน 1) แบบประเมนิ การ

ทำงาน ในการทำแบบฝกึ หัด ทำกจิ กรรม

4.2 2) แบบฝึกหัด 4.2

2) ตรวจใบกจิ กรรม 3) ใบกิจกรรม 4.3

4.3 สืบคน้ ข้อมูลปัจจัย สืบคน้ ข้อมูลปัจจยั ท่ี

ทม่ี ีผลตอ่ อตั ราการ มผี ลตอ่ อัตราการ

เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีใน เกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมีใน

ชีวติ ประจำวนั ชีวติ ประจำวัน

10. เกณฑ์การประเมินผลงานนักเรียน

เกณฑก์ ารประเมนิ แบบ Rubrics ของการทำกจิ กรรม เรอ่ื ง ปจั จัยท่มี ีผลตอ่ อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีในชวี ิตประจำวนั

ประเดน็ การ คา่ นำ้ หนัก แนวทางการให้คะแนน
ประเมิน คะแนน

ดา้ นความรู้ 3 ตอบคำถามได้ถูกตอ้ งครบถ้วน จำนวน 2 ข้อ
(K) 2 ตอบคำถามได้ถกู ต้องครบถ้วน จำนวน 1 ข้อ
1 ตอบคำถามแต่ทำไมถ่ ูกต้อง

ดา้ น 3 บันทกึ ผลการสืบคน้ ข้อมูลไดถ้ กู ต้องครบถ้วน

กระบวนการ 2 บนั ทกึ ผลการสืบค้นข้อมลู ได้ถกู ต้องบางสว่ น

(P) 1 บนั ทึกผลการสืบคน้ ข้อมูล แตไ่ ม่ถูกต้อง

ด้าน 3 ทำภาระงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายเสร็จภายในเวลาท่ีกำหนด และเรียบร้อยถกู ตอ้ งครบถว้ น

คณุ ลกั ษณะ 2 ทำภาระงานท่ไี ด้รบั มอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาท่ีกำหนด แต่งานยงั ผิดพลาดบางส่วน

(A) 1 ทำภาระงานท่ไี ดร้ ับมอบหมายเสรจ็ แต่ลา่ ช้า และเกดิ ขอ้ ผิดพลาดบางส่วน

ระดบั คะแนน 3 หมายถงึ ระดบั ดมี าก
คะแนน 2 หมายถงึ ระดับดี
คะแนน 1 หมายถงึ ระดบั พอใช้
คะแนน

การประเมนิ การทำกิจกรรม เรอ่ื ง ปัจจยั ที่มีผลต่ออัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีในชีวิตประจำวนั

จุดประสงค์การเรียนรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ด้านความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คุณลกั ษณะ คะแนน คุณภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถงึ ระดับดมี าก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 5-6 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรงุ
คะแนน

บนั ทึกหลงั การสอน

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 4 เรื่อง พลังงาน ใ
แผนการสอนท่ี
25 เรอื่ ง ปัจจยั ทมี่ ีผลตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมใี นชวี ิตประจำวัน .

เดือน พ.ศ. ใ
วันที่

ผลการจัดการเรียนรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปัญหา / อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกป้ ัญหา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชอ่ื ............................................ครผู ้สู อน ลงชื่อ.............................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธนิ ยี ์ สรรเสริญ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

ช่ือ ชน้ั เลขท่ี ‘

ใบกิจกรรม 4.3 สืบคน้ ข้อมลู ปัจจยั ทม่ี ผี ลต่ออัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมีในชวี ติ ประจำวัน

คำส่งั สบื คน้ ข้อมูลและยกตวั อยา่ งเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ หรือกรณีศึกษาทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับผล ของความเข้มข้น
พื้นท่ีผวิ อณุ หภมู ิ หรือตวั เร่งปฏิกริ ิยา ที่มีต่ออัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี และนำเสนอเพือ่ แลกเปลย่ี นความรู้
ในหอ้ งเรียน

ผลการสบื ค้นหรือสำรวจข้อมูล

➢ ความเข้มข้น
• การล้างหอ้ งนำ้ โดยใชน้ ำ้ ายาล้างหอ้ งนำ้ ทม่ี คี วามเขม้ ขน้ ของสารละลายกรดไฮโดร คลอรกิ มากกว่าจะ

ทำใหเ้ กิดปฏกิ ิรยิ ากบั หินปนู ไดเ้ ร็วกว่า d

• การลา้ งหอ้ งน้ำโดยใชน้ ้ำายาลา้ งหอ้ งน้ำทีม่ ีความเขม้ ข้นของสารละลายกรดไฮโดร คลอรกิ มากกวา่ จะ

ทำให้เกิดปฏกิ ิรยิ ากับหนิ ปูนไดเ้ ร็วกวา่ d

• การล้างหอ้ งน้ำโดยใช้น้ำายาล้างหอ้ งนำ้ ท่ีมีความเขม้ ข้นของสารละลายกรดไฮโดร คลอรกิ มากกว่าจะ

➢ อุณหภมู ิ
• การล้างหอ้ งน้ำโดยใช้นำ้ ายาลา้ งหอ้ งน้ำท่ีมีความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดร คลอรกิ มากกว่าจะ

ทำใหเ้ กิดปฏิกิรยิ ากบั หนิ ปูนไดเ้ ร็วกวา่ d

• การล้างห้องนำ้ โดยใช้น้ำายาล้างหอ้ งน้ำทีม่ คี วามเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดร คลอริกมากกว่าจะ

ทำให้เกิดปฏิกิริยากับหินปูนไดเ้ รว็ กว่า d

• การลา้ งหอ้ งนำ้ โดยใชน้ ำ้ ายาล้างหอ้ งน้ำที่มคี วามเข้มขน้ ของสารละลายกรดไฮโดร คลอริกมากกว่าจะ

➢ พนื้ ท่ีผิวของสาร
• การล้างหอ้ งน้ำโดยใช้นำ้ ายาล้างหอ้ งนำ้ ท่มี ีความเขม้ ขน้ ของสารละลายกรดไฮโดร คลอรกิ มากกวา่ จะ

ทำให้เกิดปฏิกิริยากับหนิ ปูนได้เร็วกว่า d

• การลา้ งหอ้ งนำ้ โดยใชน้ ำ้ ายาล้างห้องนำ้ ท่ีมีความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดร คลอรกิ มากกวา่ จะ

ทำใหเ้ กิดปฏกิ ิริยากบั หนิ ปูนไดเ้ ร็วกวา่ d

• การลา้ งห้องน้ำโดยใช้น้ำายาลา้ งห้องน้ำที่มคี วามเข้มขน้ ของสารละลายกรดไฮโดร คลอริกมากกวา่ จะ

➢ ตัวเร่งปฏิกริ ยิ า

• การล้างห้องนำ้ โดยใช้น้ำายาล้างห้องน้ำทมี่ คี วามเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดร คลอรกิ มากกว่าจะ

ทำใหเ้ กิดปฏิกิรยิ ากบั หนิ ปนู ไดเ้ รว็ กว่า d

• การลา้ งห้องน้ำโดยใชน้ ้ำายาล้างหอ้ งน้ำที่มีความเขม้ ขน้ ของสารละลายกรดไฮโดร คลอรกิ มากกว่าจะ

ทำใหเ้ กิดปฏกิ ิริยากบั หนิ ปูนไดเ้ รว็ กวา่ d

• การลา้ งหอ้ งนำ้ โดยใชน้ ้ำายาลา้ งห้องนำ้ ที่มคี วามเขม้ ขน้ ของสารละลายกรดไฮโดร คลอริกมากกวา่ จะ

ชอ่ื ช้ัน เลขท่ี ‘

เฉลยใบกิจกรรม 4.3 สบื ค้นข้อมลู ปจั จยั ทมี่ ีผลตอ่ อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีในชีวติ ประจำวัน

คำสัง่ สบื ค้นขอ้ มลู และยกตวั อย่างเหตกุ ารณ์ ปรากฏการณ์ หรอื กรณีศกึ ษาทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับผล ของความเขม้ ข้น
พ้ืนท่ีผิว อณุ หภมู ิ หรือตวั เร่งปฏิกิรยิ า ท่ีมีต่ออัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี และนำเสนอเพ่อื แลกเปล่ียนความรู้
ในห้องเรยี น

ผลการสืบคน้ หรือสำรวจข้อมูล

➢ ความเข้มขน้

• การลา้ งหอ้ งน้ำโดยใชน้ ำ้ ายาลา้ งหอ้ งนำ้ ท่ีมีความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดร คลอริกมากกวา่ จะ

ทำใหเ้ กิดปฏกิ ริ ยิ ากบั หนิ ปนู ได้เรว็ กวา่ d

➢ อุณหภมู ิ
• การเกบ็ ผลไม้หรืออาหารในต้เู ยน็ ซึ่งมีอณุ หภมู ิต่ำ เพ่ือให้อย่ไู ด้นานและคงความสดใหม่
• อุณหภมู ิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาของสารในร่างกายของมนุษย์ โดยถ้ารา่ งกายมอี ณุ หภมู สิ ูงข้นึ
1 องศาเซลเซยี ส เนื้อเยอื่ ในร่างกายจะต้องการออกซิเจนเพิ่มขึ้น ซึ่งมีผลให้อัตราการเตน้ ของชพี จร
และอตั ราการหายใจเพ่มิ ขึน้

➢ พื้นท่ีผิวของสาร
• ในการรับประทานอาหาร นักโภชนาการแนะนำให้เคีย้ วอาหารให้ละเอยี ดก่อนกลืน เพราะการเคี้ยว
อาหารให้ละเอยี ดทำให้อาหารมีขนาดเล็กลง เป็นการเพ่ิมพื้นที่ผวิ ของอาหารใหม้ ากข้นึ ทำใหก้ รดและ
เอนไซมใ์ นนำ้ ย่อยในกระเพาะอาหารทำปฏิกิรยิ ากับอาหารได้เรว็ ขึน้ อาหารจึงย่อยงา่ ยข้นึ

➢ ตวั เรง่ ปฏิกริ ิยา
• การหมกั เนื้อโดยเติมยางมะละกอซึง่ มีเอนไซมป์ าเปน (papain) ลงไป จะทำให้เนอื้ นุ่มขึ้นเนอ่ื งจาก
เอนไซมป์ าเปนจะชว่ ยย่อยโปรตนี ในเนื้อทำให้เนื้อนุ่มข้ึนเมื่อทำใหส้ ุก

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 26

เรือ่ ง ปฏิกิรยิ ารีดอกซ์

รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ1 รหัสวชิ า ว32101 เวลา 2 ชั่วโมง

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 4 ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ พลงั งาน รวม 19 ช่วั โมง

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1

บูรณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง  อาเซียน  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น  มาตรฐานสากล  ขา้ มกลุม่ สาระ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมบตั ขิ องสสารกบั โครงสร้าง

และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกิดปฏิกิริยาเคมี

2. ตวั ชวี้ ัด
ว 2.1 ม.5/23 อธบิ ายความหมายของปฏิกริ ยิ ารีดอกซ์

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
3.1 ด้านความรู้ (K)
1) นักเรยี นอธิบายความหมายของปฏิกิริยารดี อกซ์ได้
2) นกั เรยี นยกตวั อย่างปฏิกิรยิ ารดี อกซท์ ่ีพบในชีวิตประจำวันได้
3.2 ดา้ นกระบวนการ (P)
1) นักเรยี นสามารถเขียนแผนภาพทิศทางการเคลื่อนที่ของอเิ ล็กตรอนทีท่ ำให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้
3.3 ดา้ นคุณลกั ษณะ (A)
1) ใฝ่เรยี นร้แู ละเปน็ ผมู้ คี วามมุ่งมน่ั ในการทำงาน

4. สาระสำคัญ
พลงั งานที่นำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้มาจากปฏิกิรยิ าเคมี และปฏิกิริยานิวเคลียร์ โดยปฏิกิริยา

เคมีท่ีให้พลังงานอาจได้มาจากปฏิกิริยาการเผาไหม้ ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้า ซึ่งปฏิกิริยาท่ีเกิดข้ึน เขียนแสดงได้ด้วย
สมการเคมี โดยแสดงชนิดและจำนวนของสารต้ังต้นท่ีทำปฏิกิริยากัน และผลิตภัณฑ์ที่เกิดข้ึน รวมทั้งภาวะในการ
เกิดปฏิกิริยา การพิจารณาว่าปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วหรือช้าพิจารณาได้จากอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซึ่งขึ้นอยู่กับ
หลายปัจจยั เช่น ความเข้มขน้ อุณหภูมิ พื้นท่ีผวิ ของสารตั้งตน้ ตัวเร่งปฏิกิริยา ความรูเ้ ก่ียวกับปัจจยั ที่มีผลต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิรยิ าเคมี สามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวัน และในอุตสาหกรรม ปฏิกิริยารีดอกซ์เป็นปฏิกริ ยิ า
เคมีที่เกิดจากการถ่ายโอนอิเล็กตรอนของสาร โดยปฏิกิริยารีดอกซ์มีทั้งท่ีให้กระแสไฟฟ้าและไม่ให้กระแสไฟฟ้า
สำหรับปฏิกิริยานิวเคลียร์ จะใช้สารกัมมันตรังสีเป็นแหล่งของพลังงาน เน่ืองจากสารกัมมันตรังสีมีนิวเคลียสไม่
เสถียร เกิดการสลายและแผร่ ังสีอยา่ งต่อเนื่อง สารกมั มันตรังสีแตล่ ะชนดิ มคี า่ คร่ึงชวี ิตแตกต่างกัน และรงั สที ่ีแผอ่ อก

มาแตกตา่ งกันจึงนำมาใช้ประโยชน์ได้ต่างกนั การนำสารกัมมันตรังสีแต่ละชนิดมาใช้ตอ้ งมีการจัดการอย่างเหมาะสม
และต้องคำนึงถงึ ผลกระทบตอ่ สิง่ มชี วี ติ และส่ิงแวดล้อม
5. สาระการเรียนรู้

5.1 ความรู้
แบตเตอรี่เป็นอุปกรณ์ท่ีให้พลังงานไฟฟ้าสำหรับ อุปกรณ์ ต่าง ๆ เช่น ไฟฉาย นาฬิกา

โทรศัพท์มือถือ แล็ปท๊อปคอมพิวเตอร์ รวมทั้งยานพาหนะ เช่น รถยนต์ แบตเตอรี่ จัดเป็นเซลล์ไฟฟ้า
ประเภทหนึ่ง เนื่องจากมีปฏิกิริยาเคมีท่ีเก่ียวข้องกับการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างสารเคมีที่อยู่ต่าง
ข้ัวไฟฟ้ากันเกิดขึ้น แบตเตอรี่ท่ีใช้กันในปัจจุบัน เช่น ถ่านไฟฉาย ถ่านแอลคาไลน์ แบตเตอรี่ตะกั่ว
แบตเตอรล่ี เิ ธียมไอออน

รปู 4.8 ตัวอย่างแบตเตอรี่ทพี่ บในชีวติ ประจำวนั
ปฏิกิริยาเคมีที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างสารเคมี เรียกว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์ (redox
reaction) ตัวอย่างปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึ้นในแบตเตอรี่ เช่น ในถ่านไฟฉายข้ัวโลหะสังกะสีซึ่งเป็นขั้วลบ
ใหอ้ ิเลก็ ตอนออกมา อเิ ล็กตรอนจะเคลื่อนที่ไปยงั ข้วั บวกซง่ึ เป็นคารบ์ อนท่ีเคลอื บดว้ ยสารประกอบออกไซด์
ของแมงกานีส ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้นซ่ึงมีทิศทางการเคล่ือนที่ตรงข้ามกับการเคลื่อนท่ีของอิเล็กตรอน
ในถ่านไฟฉายมอี เิ ล็กตรอนช่วยในการนำไฟฟา้ ระหวา่ งขัว้ และทำใหก้ ระแสไฟฟา้ ครบวงจร

รูป 4.9 ทิศทางการเคล่อื นทข่ี องอเิ ลก็ ตรอนที่ทำให้เกดิ กระแสไฟฟา้
ถ่านไฟฉายเป็นแบตเตอร่ีท่ีไม่สามารถนำมาประจุเพ่ือใช้ใหม่อีก แตกต่างจากแบตเตอร่ี
โทรศัพท์มือถือ หรอื แบตเตอร่รี ถยนต์ซึ่งเป็นแบตเตอรี่ท่ีสามารถนำมาประจุใหม่ โดยปฏิกิริยาท่ีเกิดข้ึนใน
กระบวนการประจุเปน็ ปฏกิ ิรยิ าทเ่ี กิดในทศิ ทางตรงกนั การขา้ มกับปฏกิ ิริยาการใหก้ ระแสไฟฟา้
สารเคมีท่ีเป็นองค์ประกอบในแบตเตอร่ีส่วนใหญ่เป็นสารเคมีอันตราย จึงไม่ควรทิ้งรวมกับขยะ
ทัว่ ไป แตต่ อ้ งทง้ิ ในทที่ จ่ี ดั เตรยี มไว้ให้

นอกจากในแบตเตอรี่แล้วยังมีปฏิกิริยารีดอกซ์ท่ีพบเห็นในชีวิตประจำวันมากมาย เช่น ปฏิกิริยา
การเผาไหม้ ปฏิกิริยาการเกิดสนิมของโลหะ ปฏิกิริยาในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ปฏิกิริยาเคมีใน
กระบวนการหายใจ
5.2 กระบวนการ

1) ความสามารถในการสอ่ื สาร (อ่าน ฟัง พดู เขยี น)
2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วเิ คราะห์ จดั กลมุ่ สรุป)
3) ความสามารถในการแกป้ ญั หา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต (ความรับผดิ ชอบ)
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ใช้การสืบค้นผา่ นคอมพิวเตอร)์
5.3 คณุ ลกั ษณะและค่านิยม
ใฝ่เรยี นรูแ้ ละเปน็ ผู้มีความมงุ่ ม่นั ในการทำงาน
6. บรู ณาการ
-

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขนั้ ที่ 1 ข้นั สร้างความสนใจ
1.1 ครูทบทวนบทเรียนท่ีผ่านมาเก่ียวกบั เชอ้ื เพลิงทางเลือก
1.2 ครูนำภาพมาใหน้ ักเรียนศกึ ษา พร้อมต้ังคำถามเพ่อื เข้าสูบ่ ทเรียน ดงั นี้

1) จงบอกชอ่ื อปุ กรณท์ ั้ง 4 ภาพ ให้ถูกตอ้ ง
2) จงยกตวั อยา่ งแบตเตอรท่ี ่ีนักเรยี นรจู้ กั

ขัน้ ที่ 2 ขัน้ สำรวจและคน้ หา
2.1 ครูใหน้ ักเรยี นศึกษาเนือ้ หาและทำความเขา้ ใจ เร่อื ง แบตเตอร่ี ตามรายละเอียดในหนงั สอื

เรียน หน้า 114 -116
2.2 เมอื่ นกั เรียนศกึ ษาเนื้อหาและทำความเข้าใจ เรอื่ ง แบตเตอรี่ เสร็จเรียบร้อย ให้นกั เรยี นทำ

แบบฝกึ หัด 4.3 ในหนงั สือเรยี น หนา้ 117 ลงในสมุดของตนเอง
2.3 นักเรียนทำแบบฝกึ หดั เรื่อง ทิศทางการเคลอื่ นท่ขี องอิเล็กตรอนทที่ ำให้เกดิ กระแสไฟฟา้

ข้นั ที่ 3 ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรปุ
3.1 ครูสุ่มนกั เรยี น 2 คน ดังนี้
- คนที่ 1 ออกมาเฉลยแบบฝกึ หัด 4.3 หนา้ ช้นั เรยี น
- คนท่ี 2 ออกมาเฉลยแบบฝกึ หัด เรื่อง ทิศทางการเคลอ่ื นที่ของอเิ ลก็ ตรอนท่ีทำให้เกดิ

กระแสไฟฟา้ หนา้ ชัน้ เรียน

3.2 ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรปุ เน้อื หา เรอื่ ง แบตเตอร่ี ดงั นี้
- แบตเตอร่ีเป็นอุปกรณ์ที่ให้พลงั งานไฟฟ้าสำหรบั อปุ กรณต์ า่ ง ๆ เชน่ ไฟฉาย นาฬิกา

โทรศพั ทม์ อื ถือ แล็ปทอ๊ ปคอมพวิ เตอร์
- ปฏิกิรยิ าเคมีที่มีการถ่ายโอนอเิ ล็กตรอนระหวา่ งสารเคมี เรียกว่า ปฏิกริ ยิ ารดี อกซ์

(redox reaction)
- ปฏิกริ ยิ ารีดอกซ์ทเี่ กดิ ขนึ้ ในแบตเตอร่ี เชน่ ในถ่านไฟฉายขวั้ โลหะสังกะสซี ่ึงเปน็ ข้ัวลบ

ใหอ้ เิ ลก็ ตอนออกมา อเิ ลก็ ตรอนจะเคลื่อนทไี่ ปยงั ข้วั บวกซ่งึ เปน็ คารบ์ อนท่ีเคลอื บด้วยสารประกอบออกไซด์
ของแมงกานีส ทำใหเ้ กิดกระแสไฟฟา้ ข้ึนซึ่งมีทิศทางการเคล่อื นที่ตรงข้ามกบั การเคลื่อนทขี่ องอเิ ล็กตรอน
ในถ่านไฟฉายมีอิเล็กตรอนช่วยในการนำไฟฟ้าระหวา่ งขัว้ และทำให้กระแสไฟฟ้าครบวงจร

- ถ่านไฟฉายเปน็ แบตเตอรี่ทไ่ี มส่ ามารถนำมาประจเุ พือ่ ใชใ้ หมอ่ กี แตกต่างจากแบตเตอรี่
โทรศัพท์มือถือ หรือแบตเตอรีร่ ถยนตซ์ ่งึ เปน็ แบตเตอรีท่ สี่ ามารถนำมาประจุใหม่ โดยปฏิกิริยาทเี่ กดิ ข้นึ ใน
กระบวนการประจุเป็นปฏกิ ิริยาทเี่ กดิ ในทิศทางตรงกนั การข้ามกับปฏิกริ ยิ าการใหก้ ระแสไฟฟ้า

- สารเคมีทเ่ี ปน็ องค์ประกอบในแบตเตอรี่สว่ นใหญ่เปน็ สารเคมอี นั ตราย จึงไมค่ วรทิ้งรวม
กับขยะท่วั ไป แตต่ ้องทงิ้ ในทีท่ จี่ ัดเตรยี มไว้ให้

ขน้ั ที่ 4 ขั้นขยายความรู้
4.1 ครใู หค้ วามรู้เพมิ่ เตมิ เกยี่ วกับผลิตภัณฑ์ทเี่ กดิ ข้ึนจากปฏกิ ริ ยิ าในถา่ นไฟฉาย และโครงการ

“แกล้งดิน” ตามรายละเอยี ดในหนงั สือเรียน หน้า 116-117

ขัน้ ที่ 5 ขัน้ ประเมินผล
5.1 ครูตรวจแบบฝึกหดั เร่ือง ทิศทางการเคลอ่ื นท่ีของอเิ ลก็ ตรอนที่ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า
5.2 ครูตรวจสมดุ ของนกั เรียนในการทำแบบฝกึ หัด 4.3

ประยกุ ต์และตอบแทนสงั คม
ครใู ห้นักเรียนแต่ละคนนำความรู้ท่ีเรียนไปค้นควา้ เพม่ิ เตมิ ทห่ี ้องสมดุ หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ช้ันเรยี น

8. สื่อการเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้
8.1 หนังสอื เรยี นรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ (วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ) ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5 เลม่ 1

(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 แบบฝกึ หัด เรอ่ื ง ทศิ ทางการเคลื่อนท่ขี องอเิ ล็กตรอนที่ทำให้เกดิ กระแสไฟฟา้
8.3 อินเทอร์เน็ต
8.4 ห้องสมุด

9. การวดั และประเมินผล

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วธิ ีการวัด เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมนิ

ด้านความรู้ (K) 1) แบบประเมนิ การ 1) นกั เรียนตอบ
ทำกจิ กรรม คำถามไดร้ ะดับดี
1) นกั เรียนอธิบายความหมายของปฏิกริ ิยา 1) ตรวจสมุดนักเรียน 2) แบบฝกึ หัด 4.3 ผ่านเกณฑ์

รีดอกซ์ได้ ในการทำแบบฝกึ หดั 1) แบบประเมนิ การ 1) นักเรียนสามารถ
ทำกิจกรรม เขยี นแผนภาพได้
2) นักเรยี นยกตัวอยา่ งปฏิกิรยิ ารีดอกซท์ ี่พบ 4.3 2) แบบฝึกหดั เรอื่ ง ระดับดี ผา่ นเกณฑ์
ทศิ ทางการเคลื่อนที่
ในชีวิตประจำวนั ได้ ของอิเลก็ ตรอนทท่ี ำ 1) นักเรียนทำภาระ
ให้เกิดกระแสไฟฟ้า งานท่ไี ด้รบั มอบหมาย
ด้านกระบวนการ (P) ได้ระดบั ดี ผ่านเกณฑ์
1) แบบประเมนิ การ
1) นักเรียนสามารถเขยี นแผนภาพทิศ 1) ตรวจแบบฝกึ หัด ทำกจิ กรรม
2) แบบฝึกหดั 4.3
ทางการเคล่อื นทข่ี องอเิ ลก็ ตรอนท่ที ำใหเ้ กดิ เร่ือง ทศิ ทางการ 3) แบบฝึกหัด เรอื่ ง
ทศิ ทางการเคลอื่ นที่
กระแสไฟฟา้ ได้ เคลื่อนท่ขี อง ของอเิ ลก็ ตรอนทที่ ำ
ใหเ้ กิดกระแสไฟฟา้
อเิ ลก็ ตรอนทีท่ ำให้เกิด

กระแสไฟฟา้

ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A)
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งม่ันในการ 1) ตรวจสมดุ นักเรียน
ทำงาน ในการทำแบบฝกึ หัด

4.3
2) ตรวจแบบฝึกหดั
เรอ่ื ง ทศิ ทางการ
เคล่ือนที่ของ
อเิ ลก็ ตรอนท่ีทำใหเ้ กดิ
กระแสไฟฟ้า

10. เกณฑ์การประเมินผลงานนักเรียน

เกณฑก์ ารประเมินแบบ Rubrics ของการทำกจิ กรรม เร่ือง ปฏิกิริยารดี อกซ์

ประเดน็ การ คา่ นำ้ หนัก แนวทางการให้คะแนน
ประเมนิ คะแนน

ดา้ นความรู้ 3 ตอบคำถามไดถ้ กู ต้องครบถ้วน จำนวน 5 ขอ้
(K) 2 ตอบคำถามไดถ้ ูกตอ้ งครบถว้ น จำนวน 3-4 ขอ้
1 ตอบคำถามไดถ้ กู ตอ้ งครบถ้วน จำนวน 1-2 ขอ้ หรอื ไมม่ ขี ้อถูกตอ้ ง

3 เขียนแผนภาพทศิ ทางการเคลอ่ื นที่ของอิเล็กตรอนท่ีทำให้เกดิ กระแสไฟฟา้

ดา้ น 2 พรอ้ มระบุส่วนประกอบต่างๆ ได้ถูกต้องครบถว้ น
กระบวนการ 1 เขียนแผนภาพทศิ ทางการเคล่อื นท่ีของอเิ ลก็ ตรอนทท่ี ำใหเ้ กดิ กระแสไฟฟ้า
พร้อมระบสุ ว่ นประกอบตา่ งๆ ได้ แต่ยังไม่ถูกต้องครบถ้วน
(P) เขียนแผนภาพทศิ ทางการเคลอ่ื นที่ของอเิ ล็กตรอนท่ที ำให้เกิดกระแสไฟฟา้

พรอ้ มระบุส่วนประกอบตา่ งๆ แตไ่ ม่ถูกต้อง

ดา้ น 3 ทำภาระงานทไี่ ด้รับมอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด และเรียบรอ้ ยถูกต้องครบถ้วน

คณุ ลกั ษณะ 2 ทำภาระงานที่ไดร้ ับมอบหมายเสร็จภายในเวลาท่ีกำหนด แตง่ านยงั ผิดพลาดบางส่วน

(A) 1 ทำภาระงานทีไ่ ด้รับมอบหมายเสรจ็ แต่ล่าช้า และเกิดขอ้ ผดิ พลาดบางส่วน

ระดบั คะแนน 3 หมายถงึ ระดบั ดีมาก
คะแนน 2 หมายถงึ ระดับดี
คะแนน 1 หมายถงึ ระดบั พอใช้
คะแนน

การประเมินการทำกจิ กรรม เรื่อง ปฏิกิรยิ ารดี อกซ์

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ช่อื - นามสกลุ ดา้ นความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คุณลักษณะ คะแนน คุณภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถงึ ระดับดมี าก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 5-6 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรงุ
คะแนน

บนั ทกึ หลงั การสอน

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 เรอ่ื ง พลงั งาน พ.ศ. ใ
แผนการสอนท่ี 26 เรือ่ ง ปฏิกิริยารีดอกซ์ .

ใ เดือน ใ

วันที่

ผลการจัดการเรียนรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปญั หา / อปุ สรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ปัญหา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชือ่ ............................................ครผู สู้ อน ลงชื่อ.............................................หัวหน้ากลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธนิ ยี ์ สรรเสรญิ ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

ชื่อ ชน้ั เลขที่ ‘

แบบฝกึ หัด เรื่อง ทิศทางการเคล่ือนทข่ี องอเิ ล็กตรอนท่ีทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า

คำส่งั จงเขียนแผนภาพทิศทางการเคลือ่ นทีข่ องอเิ ล็กตรอนท่ที ำให้เกดิ กระแสไฟฟา้ พรอ้ มระบสุ ว่ นประกอบตา่ งๆ
ให้ถกู ต้องครบถว้ น

ชอื่ ช้ัน เลขท่ี ‘

เฉลยแบบฝึกหดั เรื่อง ทิศทางการเคล่ือนท่ีของอิเล็กตรอนที่ทำใหเ้ กดิ กระแสไฟฟ้า

คำสัง่ จงเขียนแผนภาพทิศทางการเคลือ่ นทขี่ องอเิ ล็กตรอนท่ีทำใหเ้ กดิ กระแสไฟฟา้ พร้อมระบุสว่ นประกอบตา่ งๆ
ใหถ้ กู ตอ้ งครบถ้วน

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 27

เรื่อง สารกมั มันตรงั สี

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์กายภาพ1 รหัสวิชา ว32101 เวลา 7 ช่ัวโมง

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ พลงั งาน รวม 19 ชั่วโมง

กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1

บรู ณาการ

 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  อาเซียน  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน  มาตรฐานสากล  ขา้ มกลุม่ สาระ

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสมบตั ขิ องสสารกบั โครงสรา้ ง

และแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนภุ าค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี

2. ตัวช้วี ัด
ว 2.1 ม.5/24 อธบิ ายสมบัตขิ องสารกัมมันตรังสี และคำนวณครึง่ ชวี ิตและปรมิ าณของสารกมั มนั ตรังสี

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นกั เรยี นอธิบายสมบตั ขิ องสารกมั มนั ตรงั สีได้
3.2 ด้านกระบวนการ (P)
1) นกั เรียนเขยี นแผนภาพอย่างงา่ ยของการผลิตไฟฟ้าในโรงไฟฟา้ นิวเคลียร์ได้
3.3 ด้านคณุ ลกั ษณะ (A)
1) ใฝ่เรยี นรแู้ ละเป็นผู้มคี วามมุง่ มัน่ ในการทำงาน

4. สาระสำคญั
พลังงานท่ีนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้มาจากปฏิกิรยิ าเคมี และปฏิกิริยานิวเคลียร์ โดยปฏิกิริยา

เคมีท่ีให้พลังงานอาจได้มาจากปฏิกิริยาการเผาไหม้ ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้า ซ่ึงปฏิกิริยาที่เกิดข้ึน เขียนแสดงได้ด้วย
สมการเคมี โดยแสดงชนิดและจำนวนของสารต้ังต้นที่ทำปฏิกิริยากัน และผลิตภัณฑ์ที่เกิดข้ึน รวมทั้งภาวะในการ
เกิดปฏิกิริยา การพิจารณาว่าปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วหรือช้าพิจารณาได้จากอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซึ่งข้ึนอยู่กับ
หลายปัจจัย เช่น ความเข้มข้น อุณหภูมิ พื้นท่ีผวิ ของสารตั้งต้น ตัวเร่งปฏิกิริยา ความรูเ้ ก่ียวกับปัจจัยทมี่ ีผลต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน และในอุตสาหกรรม ปฏิกิริยารีดอกซ์เป็นปฏิกริ ยิ า
เคมีท่ีเกิดจากการถ่ายโอนอิเล็กตรอนของสาร โดยปฏิกิริยารีดอกซ์มีทั้งที่ให้กระแสไฟฟ้าและไม่ให้กระแสไฟฟ้า
สำหรับปฏิกิริยานิวเคลียร์ จะใช้สารกัมมันตรังสีเป็นแหล่งของพลังงาน เนื่องจากสารกัมมันตรังสีมีนิวเคลียสไม่
เสถียร เกิดการสลายและแผ่รังสีอย่างต่อเน่ือง สารกมั มันตรงั สแี ตล่ ะชนิดมคี ่าคร่งึ ชีวิตแตกตา่ งกัน และรังสที ่ีแผ่ออก
มาแตกตา่ งกันจึงนำมาใช้ประโยชนไ์ ดต้ ่างกนั การนำสารกัมมนั ตรังสแี ต่ละชนิดมาใช้ตอ้ งมีการจัดการอย่างเหมาะสม
และตอ้ งคำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อสง่ิ มีชวี ติ และส่งิ แวดล้อม


Click to View FlipBook Version