The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaimath2514, 2022-05-20 10:33:15

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

บันทึกหลังการสอน

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง อากาศ ใ
แผนการสอนท่ี 5 เรื่อง การใช้ประโยชนจ์ ากอากาศและมลพิษทางอากาศ .

ใ เดอื น พ.ศ. ใ

วนั ท่ี

ผลการจดั การเรยี นรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปัญหา / อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกป้ ัญหา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชอื่ ............................................ครผู สู้ อน ลงชือ่ .............................................หวั หน้ากลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธินีย์ สรรเสรญิ ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

ชอื่ ชนั้ เลขท่ี ‘

ใบงาน เรื่อง การใช้ประโยชน์จากอากาศและมลพิษทางอากาศ อ
v
1. ให้นกั เรยี นศกึ ษาเนอื้ หาทีเ่ ก่ียวกบั การใช้ประโยชนจ์ ากอากาศในหนังสือเรียน พร้อมตอบคำถามใหถ้ กู ต้อง v
1.1 แก๊สออกซิเจนสามารถนำไปใช้ประโยชน์อยา่ งไรบา้ ง อ
- บรรจใุ นถงั ช่วยหาใจสำหรับผู้ป่วย นักประดาน้ำ และนักบินอวกาศ v
- รักษา โรค เช่น ปอดบวม ฝใี นสมอง แผลหายยากจากเบาหวาน v
- ทำปฏกิ ิริยากับแกส๊ ออกซเิ จน (C2H2) เพอ่ื ใหเ้ ปลวไฟทมี่ คี วามรอ้ นสูงใช้ในการตดั และเช่ือมเหล็ก
- บรรจุในถังช่วยหาใจสำหรับผูป้ ่วย นกั ประดาน้ำ และนกั บินอวกาศ อ
- รักษา โรค เชน่ ปอดบวม ฝีในสมอง แผลหายยากจากเบาหวาน v
- ทำปฏิกริ ยิ ากับแกส๊ ออกซิเจน (C2H2) เพอ่ื ใหเ้ ปลวไฟที่มีความร้อนสงู ใช้ในการตดั และเชอ่ื มเหล็ก v
1.2 แกส๊ ไนโตรเจนสามารถนำไปใช้ประโยชนอ์ ยา่ งไรบ้าง อ
- บรรจใุ นถังช่วยหาใจสำหรบั ผ้ปู ว่ ย นักประดานำ้ และนกั บินอวกาศ v
- รกั ษา โรค เชน่ ปอดบวม ฝใี นสมอง แผลหายยากจากเบาหวาน v
- ทำปฏกิ ิริยากับแกส๊ ออกซิเจน (C2H2) เพ่อื ให้เปลวไฟทมี่ ีความร้อนสูงใชใ้ นการตดั และเชอ่ื มเหล็ก
- บรรจใุ นถงั ช่วยหาใจสำหรับผ้ปู ว่ ย นกั ประดานำ้ และนักบนิ อวกาศ v
- รักษา โรค เช่น ปอดบวม ฝีในสมอง แผลหายยากจากเบาหวาน อ
- ทำปฏกิ ริ ิยากับแกส๊ ออกซเิ จน (C2H2) เพื่อใหเ้ ปลวไฟทีม่ ีความร้อนสูงใชใ้ นการตัดและเช่อื มเหลก็ v
1.3 แกส๊ สกุลสามารถนำไปใช้ประโยชน์อยา่ งไรบ้าง v
- แก๊สฮเี ลยี มนำไปบรรจุในลกู โป่งสวรรค์ อ
- บรรจุในถงั ชว่ ยหาใจสำหรบั ผปู้ ว่ ย นกั ประดาน้ำ และนกั บนิ อวกาศ v
- รกั ษา โรค เช่น ปอดบวม ฝใี นสมอง แผลหายยากจากเบาหวาน v
- ทำปฏกิ ริ ิยากับแก๊สออกซเิ จน (C2H2) เพื่อใหเ้ ปลวไฟที่มคี วามร้อนสูงใช้ในการตัดและเชือ่ มเหลก็
- บรรจใุ นถังชว่ ยหาใจสำหรับผู้ปว่ ย นักประดานำ้ และนกั บนิ อวกาศ
- รักษา โรค เชน่ ปอดบวม ฝใี นสมอง แผลหายยากจากเบาหวาน
- ทำปฏกิ ริ ยิ ากับแก๊สออกซเิ จน (C2H2) เพอ่ื ใหเ้ ปลวไฟท่มี ีความรอ้ นสงู ใชใ้ นการตดั และเชอ่ื มเหลก็

2. ให้นกั เรียนศกึ ษาตารางสารมลพษิ แหลง่ กำเนดิ และผลกระทบในหนงั สือเรียน พร้อมเติมขอ้ ความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง

สารมลพษิ แหลง่ กำเนิด ผลกระทบ

แกส๊ คาร์บอนมอนอกไซด์ • การเผาไหมเ้ ชือ้ เพลิงใน
เครื่องยนต์

• การเผาขยะ

• ไฟป่า

แกส๊ ซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์ ระคายเคอื งตา ผิวหนัง และหาก
สูดดมเข้าไปมาก อาจทำให้ระบบ
• การเผาไหมเ้ ช้อื เพลงิ ใน การหายใจผดิ ปกติ และเป็นสาเหตุ
เครอ่ื งยนต์ ของการเกดิ ฝนกรด
ระคายเคืองตอ่ ระบบทางเดิน
• การเผาไหม้สารอนิ ทรียใ์ นเตาเผา หายใจ และเปน็ สาเหตขุ องการเกิด
ฝนกรด

• ไฟป่า

• การทำปฏิกิริยาเคมีของ
สารอินทรียร์ ะเหยงา่ ย กบั
ออกไซดข์ องไนโตรเจนในอากาศ

หากสะสมในปรมิ าณมาก ระบบ
ประสาทจะถูกทำลาย ผูป้ ่วยจะ
ออ่ นเพลีย ซมึ เศรา้ มือเทา้ ไมม่ ี
เร่ยี วแรง ตาพร่ามัว สญู เสียการได้
ยิน พิการ และรุนแรงถึงขัน้
เสยี ชวี ติ
ตะกวั่ ทำลายระบบประสาท มีผลตอ่
พฒั นาการทางสมองของทารก
เปน็ สาเหตุของโรคโลหิตจาง และ
โรคไต

ฝนุ่ ละออง

กลมุ่ ท่ี ชั้น เลขท่ี ‘

ใบกจิ กรรม 1.2 สบื คน้ ข้อมลู สมบัติ ประโยชน์ และอนั ตรายของธาตุ

คำชี้แจง เลือกธาตเุ รพรเี ซนเททฟี และธาตุแทรนซิชันทส่ี นใจมาชนิดละ 2 ธาตุ ระบชุ อ่ื สญั ลกั ษณธ์ าตุ เลขอะตอม

และสืบคน้ ข้อมูลเกีย่ วกบั สมบัตทิ างกายภาพ สมบัติทางเคมี ประโยชน์ และอันตรายของธาตุนั้น จากนนั้ นำเสนอ

หนา้ ชั้นเรียนและอภปิ รายร่วมกัน

1. ธาตเุ รพรีเซนเททีฟที่เลือก คือ อะลมู ิเนียม และ ซลิ ิคอน ท

1.1 อะลูมเิ นียม (Aluminium) b

➢ สญั ลกั ษณธ์ าตุ เท่ากบั Al อ

➢ เลขอะตอม เท่ากบั 13 อ

➢ สมบัติทางกายภาพ เป็นของแข็ง สีเทาเงิน มีความหนาแน่นต่ำ เหนียวและแข็ง ดัดโค้งงอได้ ทุบให้เป็น

แผน่ หรือดงึ เปน็ เส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนไดด้ มี าก b

แผน่ หรือดงึ เป็นเส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดมี าก b

แผ่นหรอื ดึงเปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนไดด้ ีมาก b

แผ่นหรอื ดงึ เปน็ เส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดีมาก b

➢ สมบัตทิ างเคมี เกดิ ปฏิกิรยิ ากับอากาศอย่างรวดเรว็ ไดเ้ ป็นสารประกอบออกไซด์ของอะลมู เิ นียม b

แผ่นหรือดึงเปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนได้ดมี าก b

แผ่นหรือดึงเป็นเสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดมี าก b

แผ่นหรอื ดึงเป็นเสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนได้ดมี าก b

แผ่นหรอื ดงึ เปน็ เส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นไดด้ มี าก b

➢ ประโยชน์ ใช้ทำาอุปกรณ์ไฟฟ้า เคร่ืองครัว ของใช้ในบ้าน ห่ออาหาร และห่อของใช้ ทำโลหะเจือท่ีใช้เป็น

สว่ นประกอบของเครอ่ื งบนิ เรอื รถไฟ และรถยนต์ v

แผ่นหรือดึงเป็นเส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนไดด้ มี าก b

แผน่ หรอื ดงึ เป็นเส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนไดด้ มี าก b

แผน่ หรอื ดึงเป็นเสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนไดด้ ีมาก b

➢ อนั ตราย อะลูมิเนียมสามารถสะสมอยใู่ นร่างกาย และสารประกอบของอะลูมิเนียมบางชนิด เป็นพิษต่อ

สัตว์เลย้ี งลกู ดว้ ยนม n

แผ่นหรือดงึ เป็นเสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนได้ดีมาก b

แผน่ หรอื ดึงเป็นเส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นไดด้ มี าก b

แผ่นหรอื ดงึ เป็นเสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นไดด้ มี าก b

1.2 อะลมู ิเนียม (Aluminium) b

➢ สญั ลกั ษณธ์ าตุ เทา่ กับ Al อ

➢ เลขอะตอม เท่ากับ 13 อ

➢ สมบัติทางกายภาพ เป็นของแข็ง สีเทาเงิน มีความหนาแน่นต่ำ เหนียวและแข็ง ดัดโค้งงอได้ ทุบให้เป็น

แผ่นหรอื ดงึ เป็นเสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นไดด้ ีมาก b

แผ่นหรือดงึ เป็นเส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนไดด้ ีมาก b

แผ่นหรอื ดึงเป็นเส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนได้ดีมาก b

แผน่ หรอื ดึงเปน็ เส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นไดด้ ีมาก b

➢ สมบตั ิทางเคมี เกดิ ปฏิกริ ยิ ากบั อากาศอย่างรวดเร็วได้เป็นสารประกอบออกไซด์ของอะลมู ิเนยี ม b

แผน่ หรือดึงเป็นเส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดมี าก b

แผน่ หรือดงึ เป็นเส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดมี าก b

แผน่ หรือดึงเปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนไดด้ ีมาก b

แผน่ หรือดงึ เปน็ เส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดีมาก b

➢ ประโยชน์ ใชท้ ำาอุปกรณ์ไฟฟ้า เคร่ืองครัว ของใช้ในบ้าน ห่ออาหาร และห่อของใช้ ทำโลหะเจือที่ใช้เป็น

สว่ นประกอบของเคร่ืองบนิ เรอื รถไฟ และรถยนต์ v

แผ่นหรอื ดงึ เปน็ เส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดมี าก b

แผ่นหรือดงึ เป็นเส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนไดด้ มี าก b

แผ่นหรือดงึ เปน็ เส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนไดด้ ีมาก b

➢ อันตราย อะลมู ิเนียมสามารถสะสมอย่ใู นร่างกาย และสารประกอบของอะลูมเิ นยี มบางชนิด เป็นพิษต่อ

สตั ว์เลยี้ งลูกดว้ ยนม n

แผน่ หรือดึงเป็นเส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นไดด้ มี าก b

แผน่ หรือดงึ เป็นเส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นได้ดมี าก b

แผ่นหรือดึงเป็นเสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นไดด้ มี าก b

2. ธาตแุ ทรนซซิ นั ทีเ่ ลอื ก คอื โครเนยี ม และ ทองแดง ท

2.1 อะลมู เิ นยี ม (Aluminium) b

➢ สญั ลกั ษณ์ธาตุ เท่ากบั Al อ

➢ เลขอะตอม เท่ากบั 13 อ

➢ สมบัติทางกายภาพ เป็นของแข็ง สีเทาเงิน มีความหนาแน่นต่ำ เหนียวและแข็ง ดัดโค้งงอได้ ทุบให้เป็น

แผน่ หรอื ดงึ เปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนได้ดีมาก b

แผ่นหรือดึงเปน็ เส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นไดด้ มี าก b

แผ่นหรอื ดงึ เปน็ เส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดมี าก b

แผน่ หรอื ดงึ เป็นเส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดมี าก b

➢ สมบตั ิทางเคมี เกิดปฏิกริ ิยากบั อากาศอยา่ งรวดเร็วได้เป็นสารประกอบออกไซด์ของอะลูมเิ นียม b

แผ่นหรอื ดึงเปน็ เส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนไดด้ มี าก b

แผ่นหรอื ดึงเปน็ เส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนไดด้ ีมาก b

แผ่นหรอื ดงึ เป็นเส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนไดด้ ีมาก b

แผน่ หรือดงึ เปน็ เส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นไดด้ มี าก b

➢ ประโยชน์ ใช้ทำาอปุ กรณ์ไฟฟ้า เคร่ืองครัว ของใช้ในบ้าน ห่ออาหาร และห่อของใช้ ทำโลหะเจือที่ใช้เป็น

ส่วนประกอบของเครื่องบิน เรือ รถไฟ และรถยนต์ v

แผ่นหรอื ดึงเป็นเส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนได้ดีมาก b

แผน่ หรอื ดึงเป็นเสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนไดด้ ีมาก b

แผ่นหรอื ดึงเปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนไดด้ มี าก b

➢ อันตราย อะลูมิเนียมสามารถสะสมอยใู่ นร่างกาย และสารประกอบของอะลูมเิ นียมบางชนิด เป็นพิษต่อ

สัตว์เลี้ยงลกู ดว้ ยนม n

แผ่นหรอื ดึงเป็นเสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดมี าก b

แผน่ หรือดึงเป็นเส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดีมาก b

แผ่นหรอื ดงึ เป็นเสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นไดด้ ีมาก b

2.2 อะลมู ิเนียม (Aluminium) b

➢ สัญลักษณ์ธาตุ เท่ากบั Al อ

➢ เลขอะตอม เทา่ กบั 13 อ

➢ สมบัติทางกายภาพ เป็นของแข็ง สีเทาเงิน มีความหนาแน่นต่ำ เหนียวและแข็ง ดัดโค้งงอได้ ทุบให้เป็น

แผ่นหรือดงึ เปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดีมาก b

แผน่ หรอื ดงึ เปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นไดด้ ีมาก b

แผน่ หรือดงึ เป็นเส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นไดด้ ีมาก b

แผน่ หรือดึงเป็นเส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นไดด้ มี าก b

➢ สมบัตทิ างเคมี เกิดปฏกิ ิริยากับอากาศอยา่ งรวดเร็วไดเ้ ป็นสารประกอบออกไซด์ของอะลมู ิเนยี ม b

แผน่ หรอื ดงึ เปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนได้ดีมาก b

แผน่ หรือดงึ เปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นได้ดีมาก b

แผ่นหรอื ดึงเป็นเส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนไดด้ ีมาก b

แผน่ หรือดงึ เปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดมี าก b

➢ ประโยชน์ ใช้ทำาอปุ กรณ์ไฟฟ้า เคร่ืองครัว ของใช้ในบ้าน ห่ออาหาร และหอ่ ของใช้ ทำโลหะเจือที่ใช้เป็น

สว่ นประกอบของเคร่ืองบิน เรอื รถไฟ และรถยนต์ v

แผน่ หรือดึงเป็นเส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นไดด้ มี าก b

แผ่นหรอื ดึงเป็นเสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นไดด้ มี าก b

แผ่นหรือดงึ เปน็ เส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดมี าก b

➢ อันตราย อะลูมิเนียมสามารถสะสมอยูใ่ นร่างกาย และสารประกอบของอะลูมิเนียมบางชนดิ เป็นพิษต่อ

สตั ว์เลี้ยงลกู ดว้ ยนม n

แผน่ หรอื ดึงเปน็ เส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนไดด้ มี าก b

แผ่นหรือดึงเปน็ เส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นไดด้ ีมาก b

แผน่ หรือดึงเปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดีมาก b

ชอื่ ช้ัน เลขที่ ‘

เฉลยใบงาน เร่อื ง การใช้ประโยชนจ์ ากอากาศและมลพษิ ทางอากาศ

1. ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาเน้ือหาท่ีเก่ียวกบั การใชป้ ระโยชน์จากอากาศในหนงั สือเรยี น พร้อมตอบคำถามให้ถูกต้อง

1.1 แก๊สออกซเิ จนสามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างไรบา้ ง

- บรรจใุ นถงั ช่วยหาใจสำหรับผปู้ ่วย นกั ประดานำ้ และนกั บินอวกาศ อ

- รกั ษาโรค เช่น ปอดบวม ฝใี นสมอง แผลหายยากจากเบาหวาน v

- ทำปฏิกิรยิ ากับแกส๊ ออกซิเจน (C2H2) เพอ่ื ใหเ้ ปลวไฟท่มี คี วามร้อนสงู ใชใ้ นการตัดและเชือ่ มเหล็ก v

- เพิม่ ประสิทธภิ าพการเผาไหม้เช้อื เพลงิ ในจรวดและเคร่ืองบนิ ไอพ่น j

- ทำปฏกิ ริ ยิ ากบั แก๊สออกซเิ จน (C2H2) เพอ่ื ให้เปลวไฟท่มี คี วามร้อนสูงใชใ้ นการตดั และเชอ่ื มเหลก็ v

- เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการเผาไหม้เชือ้ เพลงิ ในจรวดและเครอ่ื งบนิ ไอพ่น j

1.2 แกส๊ ไนโตรเจนสามารถนำไปใช้ประโยชนอ์ ยา่ งไรบา้ ง

- บรรจุในถงุ ขนม เพอ่ื ปอ้ งกนั ความชน้ื และออกซเิ จน คงความกรบุ กรอบ และคุณภาพอาหาร v

- ป้องกันการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมรี ะหวา่ งอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ หรอื ชิ้นงานในอตุ สาหกรรมกับแกส๊ ออกซิเจนใน

อากาศ อ

- เปน็ สารต้ังต้นในการผลิตปยุ๋ ไนโตรเจน v

- ทำใหเ้ ป็นไนโตรเจนเหลวที่ใช้ในกระบวนการผลติ อาหารแช่แข็ง และการเก็บรักษาน้ำเชอื้ หรือตัวออ่ น b

- ทำใหเ้ ปน็ ไนโตรเจนเหลวทใ่ี ช้ในกระบวนการผลิตอาหารแช่แข็ง และการเกบ็ รักษานำ้ เชอ้ื หรอื ตวั อ่อน b

- ทำปฏกิ ริ ยิ ากบั แกส๊ ออกซเิ จน (C2H2) เพอื่ ให้เปลวไฟทม่ี คี วามร้อนสงู ใชใ้ นการตดั และเช่อื มเหล็ก v

- เพม่ิ ประสิทธภิ าพการเผาไหมเ้ ชือ้ เพลงิ ในจรวดและเครอ่ื งบนิ ไอพ่น j

1.3 แก๊สสกลุ สามารถนำไปใช้ประโยชนอ์ ยา่ งไรบา้ ง

- แกส๊ ฮเี ลยี มนำไปบรรจุในลกู โปง่ สวรรค์ v

- แก๊สนีออนและซีนอนใช้บรรจใุ นหลอดไฟที่ให้แสงสตี า่ ง ๆ f

- แกส๊ อาร์กอนใช้บรรจุในหลอดไฟแบบมไี ส้ เพ่ือปอ้ งกันไส้หลอดทำปฏิกิรยิ ากับออกซเิ จนในอากาศ แล้วเกิดการ

ลกุ ไหมl้ v

- ทำปฏิกริ ยิ ากับแก๊สออกซิเจน (C2H2) เพ่อื ใหเ้ ปลวไฟทม่ี คี วามรอ้ นสงู ใช้ในการตัดและเช่อื มเหลก็ v

- เพิ่มประสทิ ธภิ าพการเผาไหม้เชื้อเพลิงในจรวดและเครอื่ งบินไอพ่น j

2. ใหน้ ักเรียนศกึ ษาตารางสารมลพิษ แหลง่ กำเนดิ และผลกระทบในหนงั สอื เรียน พร้อมเติมข้อความลงใน
ชอ่ งวา่ งให้ถูกต้อง

สารมลพิษ แหลง่ กำเนดิ ผลกระทบ

แก๊สคารบ์ อนมอนอกไซด์ • การเผาไหมเ้ ช้อื เพลิงใน ทำใหเ้ กิดอาการมึนงง วงิ เวียน
เคร่อื งยนต์ ศรี ษะ และหากได้รับปริมาณมาก
อาจถงึ ขั้นเสยี ชีวติ
• การเผาขยะ

• ไฟปา่

แกส๊ ซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์ • การเผาไหมถ้ า่ นหนิ ระคายเคืองตา ผิวหนงั และหาก
• ภูเขาไฟระเบิด สดู ดมเข้าไปมาก อาจทำให้ระบบ
การหายใจผิดปกติ และเปน็ สาเหตุ
ของการเกดิ ฝนกรด

ออกไซดข์ องไนโตรเจน • การเผาไหมเ้ ชอ้ื เพลงิ ใน ระคายเคอื งต่อระบบทางเดนิ

เครอ่ื งยนต์ หายใจ และเป็นสาเหตุของการเกดิ

• การเผาไหม้สารอินทรียใ์ นเตาเผา ฝนกรด

• ไฟปา่

แก๊สโอโซน • การทำปฏกิ ริ ิยาเคมีของ ทำใหเ้ กิดอาการไอ จาม หายใจ
ปรอท สารอนิ ทรียร์ ะเหยง่าย กับ ผดิ ปกติ เป็นอันตรายต่อผู้ที่เปน็
ออกไซดข์ องไนโตรเจนในอากาศ โรคหอบหดื และโรคระบบทางเดิน
หายใจ
• การเผาไหม้ถา่ นหิน หากสะสมในปรมิ าณมาก ระบบ
• การเผาขยะ ประสาทจะถกู ทำลาย ผูป้ ว่ ยจะ
• โรงงานผลิตแบตเตอร่ี ออ่ นเพลีย ซมึ เศรา้ มือเทา้ ไมม่ ี
• การถลงุ โลหะ เรยี่ วแรง ตาพร่ามัว สญู เสยี การได้
ยนิ พิการ และรุนแรงถงึ ข้นั
เสียชวี ิต

ตะกวั่ • การเผาไหม้นำ้ มันที่มีส่วนผสม ทำลายระบบประสาท มีผลตอ่

ของสารตะกวั่ พฒั นาการทางสมองของทารก

• การถลุงแรโ่ ลหะ เป็นสาเหตุของโรคโลหิตจาง และ

• โรงงานผลิตแบตเตอร่ี โรคไต

ฝุ่นละออง • การเผาไหม้ถา่ นหนิ และเช้ือเพลิง ระคายเคอื งตา หากสะสมภายใน
ชีวมวล โพรงจมกู เปน็ เวลานาน อาจเกิด
การอกั เสบเรื้อรงั
• การเผาขยะ
• การก่อสรา้ ง

กลุ่มที่ ชั้น เลขที่ ‘

เฉลย ใบกิจกรรม 1.2 สบื คน้ ข้อมูลสมบัติ ประโยชน์ และอันตรายของธาตุ

คำช้แี จง เลือกธาตเุ รพรเี ซนเททีฟและธาตแุ ทรนซชิ นั ทส่ี นใจมาชนิดละ 2 ธาตุ ระบชุ อ่ื สญั ลักษณธ์ าตุ เลขอะตอม
และสบื ค้นข้อมูลเกี่ยวกับสมบัตทิ างกายภาพ สมบัตทิ างเคมี ประโยชน์ และอันตรายของธาตุนนั้ จากนน้ั นำเสนอ
หน้าชน้ั เรียนและอภปิ รายรว่ มกนั
ตวั อย่างผลการสืบคน้ ขอ้ มลู

1. ธาตุเรพรีเซนเททฟี ทเ่ี ลอื ก คือ อะลูมเิ นยี ม และ ซิลคิ อน ท

1.1 อะลูมิเนียม (Aluminium) b

➢ สญั ลักษณธ์ าตุ เทา่ กบั Al อ

➢ เลขอะตอม เทา่ กับ 13 อ

➢ สมบัตทิ างกายภาพ เปน็ ของแข็ง สเี ทาเงนิ มคี วามหนาแน่นต่ำ เหนียวและแข็ง ดดั โคง้ งอได้ ทุบให้เป็น

แผ่นหรอื ดึงเป็นเส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนไดด้ มี าก b

แผ่นหรอื ดึงเป็นเส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดมี าก b

แผ่นหรือดึงเป็นเสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนได้ดีมาก b

➢ สมบตั ิทางเคมี เกิดปฏกิ ริ ยิ ากับอากาศอย่างรวดเรว็ ได้เป็นสารประกอบออกไซด์ของอะลูมิเนยี ม b

แผน่ หรอื ดงึ เป็นเส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดมี าก b

แผน่ หรือดงึ เปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนไดด้ ีมาก b

➢ ประโยชน์ ใช้ทำอปุ กรณ์ไฟฟา้ เครอ่ื งครัว ของใช้ในบ้าน ห่ออาหาร และหอ่ ของใช้ ทำโลหะเจอื ท่ใี ช้เป็น

ส่วนประกอบของเครอ่ื งบิน เรือ รถไฟ และรถยนต์ v

แผ่นหรอื ดงึ เปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดีมาก b

แผ่นหรอื ดึงเป็นเสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นได้ดีมาก b

➢ อันตราย อะลูมเิ นียมสามารถสะสมอยู่ในร่างกาย และสารประกอบของอะลมู เิ นยี มบางชนดิ เปน็ พิษตอ่

สตั ว์เล้ยี งลูกดว้ ยนม n

แผ่นหรอื ดงึ เป็นเส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนไดด้ ีมาก b

แผ่นหรอื ดงึ เปน็ เส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนไดด้ มี าก b

แผน่ หรอื ดงึ เปน็ เส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนไดด้ มี าก b

1.2 ซลิ ิคอน (Silicon) b

➢ สญั ลักษณธ์ าตุ เทา่ กบั Si อ

➢ เลขอะตอม เท่ากับ 14 อ

➢ สมบตั ิทางกายภาพ เปน็ ของแขง็ สเี ทาเหลือบฟ้า เป็นมนั เงา b

แผ่นหรอื ดงึ เปน็ เส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นได้ดมี าก b

แผ่นหรือดึงเป็นเสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นได้ดมี าก b

➢ สมบตั ิทางเคมี เกิดปฏิกริ ิยากับออกซเิ จนได้สารประกอบออกไซด์ที่มีความเสถียร b

แผน่ หรือดงึ เป็นเส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดีมาก b

แผ่นหรอื ดึงเปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนไดด้ ีมาก b

➢ ประโยชน์ ใช้ในอุตสาหกรรมทำแก้ว เส้นใยแกว้ และเส้นใยนำแสง เป็นสารก่ึงตัวนำในวงจรไฟฟ้า ขนาด

เล็ก และใช้ทำอปุ กรณไ์ ฟฟ้า เช่น ไมโครคอมพวิ เตอร์ วิทยุ โทรทัศน์ เซลล์สรุ ยิ ะ v

แผน่ หรือดงึ เป็นเส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดมี าก b

แผ่นหรือดงึ เป็นเสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นไดด้ ีมาก b

➢ อนั ตราย การสูดดมผงซิลเิ กตซึ่งเปน็ สารประกอบออกไซด์ของซิลคิ อนที่อยู่ในแรใ่ ยหนิ จะเปน็ อนั ตราย

ตอ่ ปอด n

แผน่ หรือดึงเปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นไดด้ มี าก b

แผ่นหรอื ดึงเป็นเสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนไดด้ มี าก b

แผน่ หรือดงึ เปน็ เส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดีมาก b

2. ธาตแุ ทรนซิซนั ท่เี ลอื ก คอื โครเนยี ม และ ทองแดง ท

2.1 โครเมียม (Chromium) b

➢ สัญลักษณ์ธาตุ เทา่ กับ Cr อ

➢ เลขอะตอม เท่ากบั 24 อ

➢ สมบตั ทิ างกายภาพ เปน็ ของแขง็ สีเงนิ มคี วามแขง็ มาก b

แผน่ หรือดึงเป็นเส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นได้ดีมาก b

แผน่ หรอื ดึงเป็นเสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดมี าก b

➢ สมบัติทางเคมี เกิดปฏกิ ริ ิยากับออกซเิ จนอยา่ งรวดเร็วไดส้ ารประกอบออกไซด์ทต่ี ้านทานการ กัดกร่อน

และคงความเปน็ มนั เงาไดน้ านในอากาศ b

แผน่ หรอื ดึงเป็นเสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนไดด้ มี าก b

แผน่ หรอื ดึงเป็นเสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นได้ดมี าก b

➢ ประโยชน์ ใช้เคลอื บผิวเหลก็ หรือโลหะอ่ืน ๆ โดยการชุบดว้ ยไฟฟ้า เพื่อปอ้ งกันการกัดกร่อนและ ให้มีผวิ

เปน็ เงางาม เป็นสว่ นผสมในเหลก็ กล้าไร้สนมิ รวมทั้งเปน็ ส่วนประกอบในเหลก็ กล้า ผสมทใ่ี ช้ทำาตู้นิรภัย

เครอื่ งยนต์ เกราะกันกระสุน v

แผน่ หรือดงึ เปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นได้ดมี าก b

แผน่ หรอื ดงึ เป็นเส้นได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดีมาก b

➢ อันตราย มนุษย์ตอ้ งการโครเมียมในปริมาณเพยี งเลก็ น้อย ถา้ ไดร้ บั ในปรมิ าณที่มากเกินไปจะ เป็นพิษตอ่

ร่างกาย n

แผน่ หรอื ดงึ เปน็ เส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดีมาก b

แผน่ หรอื ดึงเป็นเส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดมี าก b

แผ่นหรอื ดงึ เปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดีมาก b

2.2 ทองแดง (Copper) b

➢ สัญลักษณ์ธาตุ เท่ากับ Cu อ

➢ เลขอะตอม เท่ากบั 29 อ

➢ สมบตั ิทางกายภาพ เป็นของแข็ง สสี ้มแดงเปน็ มันเงา มคี วามหนาแนน่ จดุ หลอมเหลวและจุดเดือดสงู

นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นไดด้ ีรองจากเงนิ b

แผน่ หรอื ดึงเปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นได้ดีมาก b

แผ่นหรอื ดงึ เปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนไดด้ มี าก b

➢ สมบตั ทิ างเคมี เกิดปฏิกิรยิ ากับความชื้นและออกซิเจนในอากาศได้อย่างชา้ ๆ ได้สารประกอบออกไซด์

สีเขยี ว เรียกว่า สนมิ ทองแดง ที่มสี มบัตติ ้านการกัดกรอ่ นได้ b

แผน่ หรือดงึ เป็นเส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนไดด้ มี าก b

แผ่นหรือดงึ เป็นเส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดมี าก b

➢ ประโยชน์ เปน็ ลวดนำไฟฟา้ ในสายไฟฟา้ อปุ กรณ์ไฟฟา้ โลหะผสมระหวา่ งทองแดงกับสงั กะสี เรยี กว่า

ทองเหลอื ง ใช้ทำกลอนประตู กุญแจ ใบพัดเรือ ปลอกกระสนุ ปืน กระดมุ โลหะผสม ของทองแดงกับดบี กุ

เรยี กว่า ทองบรอนซ์ ใชท้ ำลานนาฬิกา ระฆัง ปืนใหญ่ ทองแดงเปน็ ธาตุ ที่จำเปน็ ตอ่ รา่ งกายในการช่วย

เอนไซมถ์ า่ ยโอนพลงั งานในเซลล์ v

แผน่ หรอื ดงึ เป็นเสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดมี าก b

แผน่ หรอื ดึงเปน็ เส้นได้ นำไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดมี าก b

➢ อันตราย มนุษย์ต้องการธาตทุ องแดงเพยี งปริมาณเล็กน้อย การไดร้ บั ทองแดงมากเกนิ ไปอาจ ทำาให้

เกิดโรคทางพันธกุ รรมได้

n

แผ่นหรอื ดึงเป็นเสน้ ได้ นำไฟฟา้ และนำความร้อนได้ดมี าก b

แผน่ หรือดึงเปน็ เสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความร้อนไดด้ ีมาก b

แผ่นหรอื ดึงเป็นเสน้ ได้ นำไฟฟ้าและนำความรอ้ นได้ดีมาก b

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 6

เรือ่ ง พันธะโคเวเลนต์

รายวชิ าวิทยาศาสตร์กายภาพ1 รหสั วิชา ว32101 เวลา 2 ช่ัวโมง

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ นำ้ รวม 15 ชว่ั โมง

กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1

บรู ณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง  อาเซียน  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น  มาตรฐานสากล  ข้ามกล่มุ สาระ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พันธร์ ะหว่างสมบตั ิของสสารกับโครงสร้าง

และแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี

2. ตวั ชว้ี ัด
ว 2.1 ม.5/8 ระบวุ า่ พันธะโคเวเลนตเ์ ป็นพนั ธะเด่ียว พนั ธะคู่ หรอื พันธะสาม และระบุจำนวนคอู่ เิ ล็กตรอน

ระหวา่ งอะตอมคู่ร่วมพนั ธะ จากสูตรโครงสรา้ ง

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นกั เรียนระบจุ ำนวนอะตอมของธาตุองคป์ ระกอบในโมเลกุลของสารโคเวเลนต์จากสูตรโมเลกุลหรอื
สตู รโครงสร้างได้
2) นกั เรียนระบวุ ่าพันธะโคเวเลนต์เปน็ พนั ธะเดย่ี ว พนั ธะคู่ หรือพนั ธะสาม และระบจุ ำนวนคู่
อเิ ลก็ ตรอนระหวา่ งอะตอมคูร่ ว่ มพนั ธะจากสูตรโครงสร้างได้
3.2 ดา้ นกระบวนการ (P)
1) นกั เรยี นสามารถจัดกระทำและสือ่ ความหมายของขอ้ มูลทีศ่ กึ ษาค้นควา้ ได้
3.3 ดา้ นคณุ ลักษณะ (A)
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผมู้ ีความม่งุ มัน่ ในการทำงาน

4. สาระสำคัญ
น้ำเป็นสารเคมีชนิดหน่ึงท่ีเป็นองค์ประกอบพ้ืนฐานในร่ากายของส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โมเลกุลของน้ำ

เกิดจากอะตอมของธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม ยึดเหนี่ยวกบั ธาตุออกซิเจน 1 อะตอมดว้ ย พันธะเคมีที่เรยี กว่า พันธะ
โคเวเลนต์ น้ำจัดเป็นสารโคเวเลนต์ และยงั มีสารอ่นื อีกหลายชนิดท่ีเป็นสารโคเวเลนต์ สถานะและจุดเดือดของสาร
โคเวเลนต์ขึ้นอยู่กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ซึ่งมีความสัมพันธ์กับสภาพขั้วของสารและพันธะไฮโดรเจน
ในแหล่งน้ำธรรมชาตินอกจากมีนำ้ เป็นองค์ประกอบหลกั แลว้ ยงั มสี ารอื่นละลายอยู่ด้วย สารที่ละลายน้ำไดม้ ีท้ังสาร
โคเวเลนต์และสารประกอบไอออนิก สารประกอบไอออนิกเกดิ จากการยึดเหน่ียวระหวา่ งไอออนบวกกบั ไอออนลบ

ด้วยพันธะไอออนิก ในอัตราส่วนอย่างต่ำท่ีทำให้ประจุรวมของสารประกอบเป็นศูนย์ การละลายของสารในนำ้ มี 2
แบบ คือการละลายแบบแตกตัวและไมแ่ ตกตวั ซงึ่ ทำใหไ้ ดส้ ารละลายอิเลก็ โทรไลตแ์ ละนอนอเิ ลก็ โทรไลต์ ตามลำดบั

5. สาระการเรยี นรู้
5.1 ความรู้
น้ำเป็นสารประกอบที่มีสูตรโมเลกุลเป็น H2O ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม และ
ออกซิเจน 1 อะตอมยึดเหนี่ยวกันด้วย พันธะเคมี (chemical bond) โดยพันธะเคมีระหว่างอะตอม
ไฮโดรเจนกบั อะตอมออกซิเจนเป็นพันธะโคเวเลนต์ และนำ้ จัดเปน็ สารโคเวเลนต์

รปู 2.1 โมเลกุลน้ำ

สารโคเวเลนตอ์ าจเปน็ ธาตหุ รอื สารประกอบ สว่ นใหญ่เกิดจากการรวมตวั กันของธาตุอโลหะ
โดยอะตอมจะยดึ เหนย่ี วกนั ด้วยพนั ธะทเี่ รียกวา่ พนั ธะโควาเลนต์ (covalent bond) ซง่ึ เปน็ พันธะท่เี กดิ
จากการใช้เวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนรว่ มกนั และคอู่ ะตอมทใ่ี ชเ้ วเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนรว่ มกนั เรยี กวา่ อะตอมครู่ ่วม
พันธะ จำนวนและชนิดของธาตอุ งคป์ ระกอบภายในโมเลกลุ ของสารโคเวเลนตแ์ สดงไว้ดว้ ยสูตรโครงสรา้ ง
(molecular formula) นอกจากน้ำแลว้ ในธรรมชาตยิ ังมสี ารโคเวเลนตช์ นดิ อ่นื ตัวอยา่ งดงั ตาราง 2.1

ตาราง 2.1 ตวั อยา่ งสารโคเวเลนซ์ที่พบในธรรมชาติ

สาร สูตรโคเวเลนต์

แกส๊ ออกซิเจน* O2

แก๊สไนโตรเจน* N2

แอมโมเนีย NH3
คาร์บอนไดออกไซด์ CO2

คาร์บอนมอนอกไซด์ CO

อะเซทิลีน C2 H2

ยเู รยี CH4 N2O
กรดแอซีตกิ หรอื กรดน้ำส้ม C2 H4O2

กลูโคส C6H12O6
วิตามินซหี รอื กรดแอสคอรบ์ ิก C6 H8O6

* O2 และ N2 จะเรียกว่าแก๊สออกซเิ จน และแก๊สไนโตรเจน เพอื่ ไม่ให้เกิดความสับสนกับการ
เรยี กชือ่ ธาตหุ รืออะตอมออกซิเจน (O) และไนโตรเจน (N)

สูตรโมเลกุลบอกชนดิ และจำนวนอะตอมของธาตุทเี่ ปน็ องคป์ ระกอบใน 1 โมเลกุล แต่สูตรโมเลกุล
ไม่ไดแ้ สดงว่าอะตอมคใู่ ดยึดเหนีย่ วกัน ซ่งึ การยดึ เหนีย่ วกันของคู่อะตอมมีความสำคญั ตอ่ สมบัติทาง
กายภาพและเคมขี องสาร

สารโคเวเลนต์
การแสดงการยึดเหนี่ยวกนั ของอะตอมภายในโมเลกลุ สารโคเวเลนต์ ทำได้โดยสูตรโครงสรา้ ง
(structural formule) ซ่ึงแสดงคู่อเิ ลก็ ตรอนท่ใี ชร้ ว่ มกนั ในการเกดิ พนั ธะโควาเลนตด์ ้วยเสน้ พนั ธะ
โดยพันธะท่เี กิดจากการใชเ้ วเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่ เรียกว่า พันธะเดยี่ ว ซง่ึ เขียนแทนดว้ ยเส้น 1 เสน้
และพนั ธะทเี่ กดิ จากการใชเ้ วเลนซ์อิเล็กตรอนรว่ มกัน 2 และ 3 คู่ เรยี กว่า พันธะคู่ และพนั ธะสาม ซงึ่ เขียน
แทนดว้ ยเสน้ 2 และ 3 เสน้ ตามลำดับ ดงั รูป 2.2

รปู 2.2 สตู รโครงสรา้ งของน้ำ แกส๊ ออกซเิ จน และแก๊สไนโตรเจน
โมเลกลุ ของสารโคเวเลนต์อาจประกอบดว้ ยหลายพันธะและอาจมีพนั ธะโคเวเลนต์ทเ่ี ป็นพันธะ
เดยี่ ว พันธะคู่ หรอื พันธะสามมากว่า 1 ชนดิ ดงั รูป 2.3

รูป 2.3 สูตรโครงสร้างของสารโคเวเลนตบ์ างชนดิ
5.2 กระบวนการ

1) ความสามารถในการสื่อสาร (อ่าน ฟงั พูด เขยี น)
2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วเิ คราะห์ จดั กลุม่ สรุป)

3) ความสามารถในการแก้ปญั หา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ (ความรับผดิ ชอบ)
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใช้การสบื ค้นผา่ นคอมพวิ เตอร)์
5.3 คุณลกั ษณะและคา่ นิยม
ใฝ่เรียนรแู้ ละเป็นผู้มคี วามมุ่งม่นั ในการทำงาน

6. บูรณาการ
-

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขน้ั ท่ี 1 ข้ันสร้างความสนใจ
1.1 ครใู หน้ กั เรียนทำตรวจสอบความรกู้ อ่ นเรียนในหนงั สอื เรียน หน้า 28
1.2 ครูทวนคำถามตรวจสอบความรกู้ อ่ นเรยี นใหน้ ักเรียนตอบร่วมกัน พรอ้ มเฉลย
1.3 ครนู ำเขา้ สู่บทเรียน โดยตง้ั คำถามเกยี่ วกับประโยชน์ ความสำคัญของน้ำในชีวิตประจำวัน
สถานะ และสูตรเคมี

ขั้นที่ 2 ขนั้ สำรวจและค้นหา
2.1 ครูใหน้ ักเรยี นพิจารณารปู 2.1 แล้วระบุชนดิ และจำนวนอะตอมของธาตอุ งค์ประกอบ จากนั้น

ให้ศกึ ษาหาความรู้วา่ น้ำเป็นสารโคเวเลนต์ โดยอะตอมไฮโดรเจนยดึ เหนี่ยวกับอะตอมของออกซเิ จนดว้ ย
พันธะ เคมที ่ีเรยี กว่า พันธะโคเวเลนต์

2.2 ครูใหน้ กั เรียนพิจารณาตาราง 2.1 แล้วต้งั คำถามว่า สารโคเวเลนต์มีธาตอุ งค์ประกอบเปน็ ธาตุ
โลหะหรืออโลหะ

2.3 ครใู ห้นักเรยี นศึกษาเน้ือหาเกย่ี วกบั สารโคเวเลนต์ ตามหนงั สอื เรียน หนา้ 31-32
2.4 นักเรียนสรุปองค์ความรู้ เรือ่ ง สารโคเวเลนส์ ในรปู แบบ Mind mapping
2.5 นักเรียนทำแบบฝึกหัด 2.1 ขอ้ ท่ี 1-5 ในหนังสือเรียน หน้า 34-35 ลงในสมดุ

ขัน้ ท่ี 3 ข้ันอธิบายและลงข้อสรปุ
3.1 ครนู ำนักเรียนอภปิ รายเพอ่ื นำไปส่กู ารสรปุ โดยใช้คำถามตอ่ ไปนี้
1) น้ำเป็นสารโคเวเลนต์ หรอื ไม่ (แนวการ นำ้ เปน็ สารโคเวเลนต์)
2) สตู รโมเลกุลของนำ้ คือ (แนวการตอบ H2O)
3) นำ้ ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจนกอ่ี ะตอม และออกซเิ จนกีอ่ ะตอม (แนวการตอบ นำ้

ประกอบดว้ ยธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม และออกซเิ จน 1 อะตอม)
4) โมเลกุลของนำ้ ประกอบดว้ ยอะตอมไฮโดรเจนยึดเหนี่ยวกบั อะตอมของออกซเิ จนด้วย

พนั ธะเคมี ท่ีเรียกวา่ (แนวการตอบ พนั ธะโคเวเลนต์)
5) การแสดงการยึดเหนยี่ วกันของอะตอมภายในโมเลกลุ สารโคเวเลนต์ ทำได้อยา่ งไร

(แนวการตอบ ทำได้โดยใช้สูตรโครงสร้าง (structural formule))

6) พันธะที่เกดิ จากการใชเ้ วเลนซ์อิเลก็ ตรอนร่วมกนั 1 คู่ เรยี กว่า (แนวการตอบ พันธะ
เดีย่ ว)

7) พันธะทเี่ กดิ จากการใชเ้ วเลนซอ์ ิเล็กตรอนรว่ มกัน 2 และ 3 คู่ เรยี กว่า ตามลำดับ
(แนวการตอบ พันธะคู่ และพนั ธะสาม)

3.2 ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ การศึกษาค้นควา้ เร่ือง สารโคเวเลนต์ ดงั น้ี
สารโคเวเลนต์
การแสดงการยดึ เหนยี่ วกันของอะตอมภายในโมเลกุลสารโคเวเลนต์ ทำไดโ้ ดยสูตร

โครงสรา้ ง (structural formule) ซึ่งแสดงคู่อิเลก็ ตรอนทีใ่ ชร้ ่วมกนั ในการเกดิ พันธะโควาเลนต์ด้วยเสน้
พันธะ โดยพนั ธะที่เกดิ จากการใชเ้ วเลนซอ์ ิเลก็ ตรอนรว่ มกนั 1 คู่ เรียกวา่ พันธะเดีย่ ว ซงึ่ เขยี นแทนด้วยเส้น
1 เส้น และพันธะท่เี กดิ จากการใชเ้ วเลนซอ์ ิเล็กตรอนรว่ มกนั 2 และ 3 คู่ เรียกวา่ พนั ธะคู่ และพนั ธะสาม
ซงึ่ เขยี นแทนด้วยเส้น 2 และ 3 เส้น ตามลำดับ ดังรปู 2.2

โมเลกุลของสารโคเวเลนตอ์ าจประกอบด้วยหลายพนั ธะและอาจมพี นั ธะโคเวเลนตท์ ีเ่ ป็นพันธะ
เดีย่ ว พันธะคู่ หรือพันธะสามมากวา่ 1 ชนดิ ดังรูป 2.3

ข้ันท่ี 4 ข้นั ขยายความรู้
4.1 ครใู หค้ วามรู้เพมิ่ เติมสารเคมีบางชนิด เชน่ สารประกอบอินทรีย์ ตามรายละเอียดในหนงั สือเรยี น

หน้า 33

ขน้ั ท่ี 5 ข้นั ประเมินผล
5.1 ครูตรวจ Mind mapping เร่ือง สารโคเวเลนส์ ของนักเรยี น
5.2 ครูตรวจสมดุ การทำแบบฝึกหัด 2.1 ของนักเรยี น

ประยุกตแ์ ละตอบแทนสงั คม
ครูใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนนำความรู้ทเี่ รียนไปค้นควา้ เพม่ิ เติมท่หี ้องสมุด หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ช้นั เรียน

8. สื่อการเรยี นรู้/แหลง่ เรียนรู้
8.1 หนังสือเรียนรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ (วิทยาศาสตรก์ ายภาพ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1

(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560)
8.2 อนิ เทอรเ์ น็ต
8.3 หอ้ งสมุด

9. การวัดและประเมินผล วิธีการวัด เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมนิ
จุดประสงค์การเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K) 1) ตรวจแบบฝึกหัด 1) แบบประเมนิ การ 1) นักเรียนสามารถ
1) นกั เรยี นระบจุ ำนวนอะตอมของธาตุ 2.1 ขอ้ ท่ี 1-5
องค์ประกอบในโมเลกุลของสารโคเวเลนต์ ทำกิจกรรม ทำแบบฝึกหดั 2.1
จากสตู รโมเลกลุ หรือสูตรโครงสร้างได้ 1) ตรวจ Mind
2) นกั เรยี นระบุว่าพันธะโคเวเลนต์เป็น mapping เรอ่ื ง สาร ได้ระดับดี ผ่านเกณฑ์
พันธะเด่ียว พันธะคู่ หรอื พันธะสาม และ โคเวเลนส์
ระบจุ ำนวนค่อู ิเล็กตรอนระหวา่ งอะตอมคู่ 1) แบบประเมนิ การ 1) นักเรยี นสามารถ
รว่ มพันธะจากสตู รโครงสรา้ งได้ ทำกจิ กรรม สรุปองคค์ วามรู้ เรื่อง
ดา้ นกระบวนการ (P) สารโคเวเลนส์
1) นักเรียนสามารถจดั กระทำและส่ือ ไดร้ ะดับดี ผ่านเกณฑ์
ความหมายของขอ้ มลู ท่ีศึกษาคน้ คว้าได้

ดา้ นคุณลกั ษณะ (A) 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนทำภาระ
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการ 1) ตรวจแบบฝึกหัด
ทำงาน 2.1 ขอ้ ที่ 1-5 ทำกจิ กรรม งานท่ไี ด้รับมอบหมาย

2) ตรวจ Mind ได้ระดบั ดี ผา่ นเกณฑ์
mapping เรอ่ื ง สาร
โคเวเลนส์

10. เกณฑ์การประเมนิ ผลงานนักเรยี น

เกณฑ์การประเมินแบบ Rubrics ของการทำกจิ กรรม เรอ่ื ง พนั ธะโคเวเลนต์

ประเดน็ การ คา่ น้ำหนกั แนวทางการให้คะแนน
ประเมนิ คะแนน

ดา้ นความรู้ 3 ทำแบบฝกึ หดั 2.1 ได้ถูกต้องครบถว้ น จำนวน 4-5 ข้อ

(K) 2 ทำแบบฝึกหดั 2.1 ไดถ้ กู ตอ้ งครบถ้วน จำนวน 2-3 ข้อ

1 ทำแบบฝกึ หดั 2.1 ไดถ้ ูกต้องครบถ้วน จำนวน 1 ขอ้ หรือไมถ่ ูกตอ้ ง

ด้าน 3 สรุปเน้อื หา เรื่อง สารโคเวเลนส์ไดถ้ กู ต้องครบถ้วน

กระบวนการ 2 สรุปเนอื้ หา เรอ่ื ง สารโคเวเลนส์ไดค้ อ่ นขา้ งถูกตอ้ งครบถ้วน

(P) 1 สรปุ เนอ้ื หา เรือ่ ง สารโคเวเลนส์ได้ แตไ่ ม่ครบถว้ น

ดา้ น 3 ทำภาระงานทไี่ ด้รบั มอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด และเรยี บร้อยถกู ตอ้ งครบถ้วน

คณุ ลกั ษณะ 2 ทำภาระงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาที่กำหนด แตง่ านยังผดิ พลาดบางส่วน

(A) 1 ทำภาระงานที่ได้รบั มอบหมายเสร็จ แต่ลา่ ช้า และเกิดขอ้ ผดิ พลาดบางสว่ น

ระดบั คะแนน 3 หมายถงึ ระดับดีมาก
คะแนน 2 หมายถึง ระดบั ดี
คะแนน 1 หมายถึง ระดับพอใช้
คะแนน

การประเมนิ การทำกจิ กรรม เร่อื ง พนั ธะโคเวเลนต์

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกลุ ด้านความรู้ ดา้ น ดา้ น รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

ท่ี ชอ่ื - นามสกุล จุดประสงค์การเรยี นรู้ รวม ระดับ

ดา้ นความรู้ ดา้ น ด้าน คะแนน คณุ ภาพ

(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ
(P) (A)

3 3 39

29 9 หมายถึง ระดบั ดมี าก
30 7-8 หมายถงึ ระดบั ดี
31 5-6 หมายถึง ระดบั ปานกลาง
32 3-4 หมายถงึ ระดบั ปรับปรุง
33
34
35
36
37
38
39
40

ระดบั คุณภาพ
คะแนน
คะแนน
คะแนน
คะแนน

บันทกึ หลังการสอน

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 เรือ่ ง นำ้ พ.ศ. ใ
แผนการสอนท่ี 6 เรื่อง พนั ธะโคเวเลนต์ .

ใ เดือน ใ

วันที่

ผลการจัดการเรียนรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปญั หา / อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ปญั หา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชอ่ื ............................................ครผู ู้สอน ลงชอ่ื .............................................หวั หน้ากลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธนิ ีย์ สรรเสริญ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7

เร่อื ง การเปลย่ี นสถานะของนำ้ และความมขี ัว้

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์กายภาพ1 รหสั วชิ า ว32101 เวลา 3 ชั่วโมง

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ นำ้ รวม 15 ชั่วโมง

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นที่ 1

บรู ณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง  อาเซยี น  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น  มาตรฐานสากล  ข้ามกลุ่มสาระ

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมบตั ขิ องสสารกับโครงสร้าง

และแรงยึดเหนีย่ วระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี

2. ตวั ชีว้ ัด
ว 2.1 ม.5/9 ระบสุ ภาพขัว้ ของสารที่โมเลกุลประกอบด้วย 2 อะตอม
ว 2.1 ม.5/10 ระบสุ ารที่เกดิ พนั ธะไฮโดรเจนได้จากสตู รโครงสรา้ ง
ว 2.1 ม.5/11 อธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่างจดุ เดือดของสารโควาเลนต์กบั แรงดงึ ดดู ระหว่างโมเลกุลตาม

สภาพขว้ั หรือการเกิดพนั ธะไฮโดรเจน

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นักเรียนระบุสภาพขัว้ ของสารทโี่ มเลกุลประกอบดว้ ย 2 อะตอมได้
2) นกั เรยี นระบสุ ารทเี่ กดิ พนั ธะไฮโดรเจนไดจ้ ากสูตรโครงสร้างได้
3) นกั เรยี นอธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างจุดเดอื ดของสารโคเวเลนตก์ ับแรงยดึ เหน่ยี วระหว่างโมเลกุล
ตามสภาพขว้ั หรือการเกิดพันธะไฮโดรเจนได้
3.2 ด้านกระบวนการ (P)
1) นักเรยี นสามารถจัดกระทำและส่ือความหมายของขอ้ มูลท่ีศึกษาคน้ คว้าได้
3.3 ดา้ นคุณลักษณะ (A)
1) ใฝ่เรยี นรู้และเปน็ ผ้มู คี วามมุง่ ม่ันในการทำงาน

4. สาระสำคัญ
น้ำเป็นสารเคมีชนิดหนึ่งที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานในร่ากายของส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม โมเลกุลของน้ำ

เกิดจากอะตอมของธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม ยึดเหน่ียวกับธาตุออกซิเจน 1 อะตอมด้วย พันธะเคมีที่เรียกว่า พันธะ
โคเวเลนต์ น้ำจัดเป็นสารโคเวเลนต์ และยงั มีสารอืน่ อีกหลายชนิดท่ีเป็นสารโคเวเลนต์ สถานะและจุดเดือดของสาร
โคเวเลนต์ขึ้นอยู่กับแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุล ซ่ึงมีความสัมพันธ์กับสภาพขั้วของสารและพันธะไฮโดรเจน
ในแหล่งน้ำธรรมชาตินอกจากมีน้ำเป็นองคป์ ระกอบหลกั แลว้ ยงั มีสารอื่นละลายอยู่ด้วย สารท่ีละลายน้ำได้มีทง้ั สาร

โคเวเลนตแ์ ละสารประกอบไอออนิก สารประกอบไอออนิกเกดิ จากการยึดเหน่ียวระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบ
ดว้ ยพันธะไอออนิก ในอัตราส่วนอย่างตำ่ ทที่ ำใหป้ ระจุรวมของสารประกอบเปน็ ศูนย์ การละลายของสารในน้ำมี 2
แบบ คอื การละลายแบบแตกตวั และไม่แตกตวั ซ่งึ ทำใหไ้ ดส้ ารละลายอิเลก็ โทรไลตแ์ ละนอนอิเลก็ โทรไลต์ ตามลำดบั

5. สาระการเรียนรู้
5.1 ความรู้
ที่อณุ หภมู ิห้องและความดนั 1 บรรยากาศ นำ้ มสี ถานะเป็นของเหลว มจี ดุ เยือกแข็งหรอื จดุ
หลอมเหลวที่ 0 องศาเซลเซยี ส และจุดเดือดที่ 100 องศาเซลเซยี ส เม่อื น้ำได้รบั พลังงานจากสิ่งแวดล้อม
หรือจากการให้ความรอ้ นโดยตรง โมเลกุลของน้ำในสถานะของเหลวซ่ึงอยู่ชิดกนั จะเคล่ือนทห่ี า่ งกนั มากขึน้
และอาจเปลีย่ นสถานะเป็นแกส๊ โดยความร้อนทใ่ี ช้ในการเปล่ียนสถานะของนำ้ ใหเ้ ป็นไอน้ำต้องมคี ่ามาก
พอที่จะทำลายแรงยึดเหนีย่ วระหวา่ งโมเลกลุ ของน้ำ แสดงดังรูป 2.4

รูป 2.4 ภาพจำลองการจัดเรียงโมเลกุลของน้ำในสถานะของเหลวและแก๊ส

สารโคเวเลนต์แต่ละชนดิ มีจุดหลอมเหลวและจดุ เดอื ดต่างกนั ตัวอยา่ งดงั ตาราง 2.2 เม่ือตอ้ งการ

เปลย่ี นสถานะของสารเหลา่ นจ้ี ึงต้องใชพ้ ลังงานความร้อนไม่เท่ากนั แสดงวา่ แรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งโมเลกุล

ของสารโคเวเลนตแ์ ต่ละชนดิ ไมเ่ ทา่ กัน

ตาราง 2.2 จุดหลอมเหลวและจุดเดอื ดของสารโคเวเลนส์บางชนดิ ที่ความดัน 1 บรรยากาศ

สารโคเวเลนต์ จุดหลอมเหลว (°C) จุดเดือด (°C)

แกส๊ ไฮโดรเจน (H2) -259 -252
แก๊สไนโตรเจน (N2) -210 -196

แก๊สออกซิเจน (O2) -219 -183
ไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) -164 -152

ไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) -114 -85

ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ (H2S) -86 -60

แอมโมเนีย (NH3) -78 -33

นำ้ (H2O) 0 100

สารโคเวเลนต์ทม่ี ีจุดเดอื ดแตกตา่ งกนั เกิดจากความแตกตา่ งของแรงยึดเหน่ยี วระหวา่ งโมเลกลุ ซ่งึ เป็นผลมา
จากสภาพขว้ั ของโมเลกุลที่เกิดจากพันธะโคเวเลนตร์ ะหว่างอะตอมของธาตชุ นดิ เดียวกันหรอื อะตอมของธาตตุ า่ ง
ชนิดกัน เชน่ โมเลกุลของน้ำมพี ันธะโคเวเลนตท์ ีเ่ ชื่อมตอ่ ระหวา่ งอะตอมตา่ งชนิดกนั และนำ้ จัดเปน็ สารมีขั้ว ทำให้มี
แรงยึดเหนย่ี วระหว่างโมเลกุลมากจึงมีจุดเดือดสงู เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั โมเลกุลของแกส๊ ออกซเิ จนซึง่ มีพนั ธะโคเว

เลนต์ทเี่ ช่ือมต่อระหวา่ งอะตอมของธาตเุ พียงชนิดเดยี ว และออกซิเจนจะเป็นสารไม่มขี วั้ ทำใหม้ ีแรงยดึ เหนี่ยว
ระหวา่ งโมเลกลุ นอ้ ยกว่าน้ำ แก๊สออกซเิ จนจงึ มีจดุ เดือดต่ำกว่าน้ำ

สารโคเวเลนตท์ โี่ มเลกลุ ประกอบด้วย 2 อะตอม หากเป็นธาตชุ นดิ เดียวกันจัดเป็นสารไม่มีขว้ั (non-polar
substance) เชน่ แก๊สไฮโดรเจน (H2) แก๊สไนโตรเจน (N2) หากเป็นธาตตุ ่างชนดิ กนั จัดเป็นสารมีข้ัว (polar
substance) เชน่ ไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) ไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) สว่ นสารโคเวเลนตท์ ่ีประกอบดว้ ยอะตอม
มากกว่า 2 อะตอมอาจเป็นสารมขี ้ัวหรือไม่มขี วั้ ก็ได้ ท้ังนขี้ ้ึนอยูก่ ับรูปร่างโมเลกลุ ของสารแต่ละชนดิ เช่น น้ำ (H2O)
ไข่เนา่ หรือแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) แอมโมเนีย (NH3) เป็นสารมขี ้ัว สว่ นคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) มีเทน CH4)
เปน็ สารไมม่ ขี ว้ั

นอกจากสภาพขวั้ ของโมเลกลุ ท่สี ่งผลแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งโมเลกุลแล้ว มวลและรปู รา่ งของโมเลกุลยังส่งผล
ตอ่ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกลุ อีกดว้ ย ถ้าสารมีมวลและรปู รา่ งของโมเลกลุ ใกลเ้ คียงกันจดุ เดือดจะข้นึ อยู่กบั สภาพ
ข้ัวของโมเลกุล

ทอี่ ณุ หภูมหิ อ้ ง นำ้ (H2O) มีสถานะเป็นของเหลว สว่ นไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) เป็นแกส๊ แสดงว่าน้ำมีจุด
เดอื ดสงู กว่าไฮโดรเจนซัลไฟด์ ท้ังทส่ี ารทง้ั สองชนิดเปน็ สารมขี ้วั และมีองคป์ ระกอบแตกต่างกนั เพียงอะตอมเดยี ว
ปรากฏการณน์ ีเ้ ป็นผลมาจาก พนั ธะไฮโดรเจน (hydrogen bond)

รูป 2.5 พนั ธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของนำ้
พันธะไฮโดรเจนเปน็ แรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งโมเลกุลของสารมีขว้ั ท่ีภายในโมเลกุลมีพันธะ O-H N-H หรือ F-H
ทำให้สารมีจุดหลอมเหลวและจดุ เดือดสงู กวา่ สารมีขั้วทัว่ ไปทม่ี ีขนาดโมเลกุลใกล้เคยี งกัน นอกจากน้ีพนั ธะไฮโดรเจน
ในผลกึ นำ้ แขง็ ยังทำให้โมเลกุลของนำ้ จดั เรยี งตัวกนั อยา่ งเป็นระเบยี บโดยมชี ่องวา่ งระหว่างโมเลกุลมากกวา่ ชอ่ งวา่ ง
ระหว่างโมเลกลุ ของน้ำท่ีอยใู่ นสถานะเปน็ ของเหลว ทำใหน้ ้ำแขง็ มคี วามหนาแนน่ นอ้ ยกวา่ น้ำ นำ้ แขง็ จงึ ลอยน้ำ ดัง
รูป 2.6

รูป 2.6 ภาพจำลองการจัดเรยี งโมเลกลุ ของนำ้ ในสถานะของแขง็ และของเหลว

5.2 กระบวนการ
1) ความสามารถในการสอื่ สาร (อ่าน ฟงั พดู เขียน)
2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วเิ คราะห์ จัดกลุ่ม สรุป)
3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต (ความรับผิดชอบ)
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใช้การสืบค้นผา่ นคอมพิวเตอร)์

5.3 คุณลกั ษณะและคา่ นยิ ม
ใฝเ่ รียนรู้และเป็นผมู้ คี วามม่งุ มั่นในการทำงาน

6. บูรณาการ
-

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ข้ันที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ
1.1 ครูทบทวนบทเรยี น เรอ่ื ง สารโคเวเลนต์
1.2 ครนู ำเข้าสบู่ ทเรยี น โดยตง้ั คำถาม ดงั น้ี
1) น้ำ และไอน้ำ เหมอื นและแตกตา่ งกันอยา่ งไร (แนวการตอบ มีสตู รเคมีเหมือนกัน แตม่ ี
สถานะตา่ งกนั )

ขั้นที่ 2 ขนั้ สำรวจและคน้ หา
2.1 ครนู ำนักเรียนศกึ ษาเนอ้ื หาในหนังสือเรียน หน้า 35-39
2.2 ครูใหน้ กั เรียนทำกจิ กรรมกลมุ่ เพอื่ นำเสนอแบบจำลองการจดั เรยี งโมเลกุลของน้ำในสถานะ

ของเหลวและแก๊ส เช่น วาดภาพ แสดงบทบาทสมมติ จากน้ันร่วมกนั อภิปรายเพือ่ ให้ไดข้ ้อสรปุ ว่า น้ำจะ
จัดเรยี งโมเลกุลชิดกันมากกวา่ ไอนำ้

2.3 นักเรยี นสรุปองค์ความรทู้ ่ไี ด้จากการเรียนร้ใู นชน้ั เรยี น ในรูปแบบ Mind mapping
2.4 นักเรยี นทำแบบฝึกหัด 2.2 ขอ้ ท่ี 1-3 ในหนงั สอื เรยี น หนา้ 39 ลงในสมุด

ข้ันท่ี 3 ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ
3.1 ครูนำนกั เรยี นอภิปรายเพ่ือนำไปส่กู ารสรุป โดยใชค้ ำถามต่อไปนี้
1) สารโคเวเลนต์ท่โี มเลกุลประกอบด้วย 2 อะตอม หากเปน็ ธาตชุ นดิ เดียวกันจดั เปน็ สาร

มขี ั้วหรอื ไมม่ ขี ว้ั (แนวการ เปน็ สารไมม่ ีขวั้ )
2) หากเป็นธาตุต่างชนดิ กนั จดั เป็นสารมขี ้วั หรอื ไมม่ ีข้วั (แนวการตอบ เป็นสารมขี ้ัว)
3) นำ้ (H2O) ไขเ่ นา่ หรือแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) แอมโมเนีย (NH3) เปน็ สารมขี ้ัว

หรือไม่มีขัว้ (แนวการตอบ เป็นสารมีขวั้ )
4) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มเี ทน CH4) เป็นสารมีขวั้ หรอื ไม่มขี ว้ั (แนวการตอบ

เป็นสารไม่มขี วั้ )

5) ทีอ่ ณุ หภมู ิหอ้ ง น้ำ (H2O) มีสถานะเปน็ ของเหลว ส่วนไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) เป็น
แกส๊ แสดงวา่ นำ้ มีจุดเดอื ดของนำ้ เปน็ อยา่ งไรเม่ือเทียบกบั ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (แนวการตอบ นำ้ มีจุดเดือดสงู
กวา่ ไฮโดรเจนซลั ไฟด์)

6) นำ้ (H2O) และไฮโดรเจนซลั ไฟด์ (H2S) สารท้ังสองชนิดเปน็ สารมีข้ัวและมี
องคป์ ระกอบแตกตา่ งกนั เพยี งอะตอมเดียว ปรากฏการณน์ ้เี ป็นผลมาจาก (แนวการตอบ พนั ธะไฮโดรเจน
(hydrogen bond))

3.2 ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรุปการศึกษาเน้อื หา เร่ือง การเปลยี่ นสถานะของน้ำและความมีขวั้
ดงั น้ี

1) สารโคเวเลนตท์ โ่ี มเลกลุ ประกอบดว้ ย 2 อะตอม หากเป็นธาตุชนิดเดียวกนั จดั เป็นสาร
ไม่มขี ้ัว (non-polar substance) เชน่ แกส๊ ไฮโดรเจน (H2) แก๊สไนโตรเจน (N2) หากเป็นธาตุต่างชนิดกัน
จัดเป็นสารมีขั้ว (polar substance) เช่น ไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) ไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) ส่วนสาร
โคเวเลนต์ท่ีประกอบด้วยอะตอมมากกวา่ 2 อะตอมอาจเป็นสารมีขวั้ หรอื ไม่มีขวั้ ก็ได้ ท้งั นขี้ น้ึ อยู่กับรูปรา่ ง
โมเลกลุ ของสารแตล่ ะชนิด เช่น น้ำ (H2O) ไข่เน่าหรอื แก๊สไฮโดรเจนซลั ไฟด์ (H2S) แอมโมเนยี (NH3) เป็น
สารมีขัว้ ส่วนคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีเทน CH4)เปน็ สารไม่มีขัว้

2) นอกจากสภาพขว้ั ของโมเลกุลที่สง่ ผลแรงยดึ เหนีย่ วระหวา่ งโมเลกุลแล้ว มวลและ
รปู ร่างของโมเลกุลยังส่งผลต่อแรงยึดเหนีย่ วระหวา่ งโมเลกุลอกี ด้วย ถ้าสารมีมวลและรปู ร่างของโมเลกลุ
ใกล้เคียงกนั จดุ เดือดจะขึน้ อยกู่ บั สภาพข้ัวของโมเลกุล

3) ทอ่ี ุณหภมู ิห้อง น้ำ (H2O) มีสถานะเปน็ ของเหลว ส่วนไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) เปน็
แกส๊ แสดงว่านำ้ มีจดุ เดือดสงู กวา่ ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ ท้งั ท่สี ารท้ังสองชนิดเปน็ สารมีขัว้ และมอี งค์ประกอบ
แตกต่างกันเพียงอะตอมเดียวปรากฏการณน์ ้ีเป็นผลมาจาก พนั ธะไฮโดรเจน (hydrogen bond)

4) น้ำในสถานะของเหลวโมเลกุลจะอยู่ชิดกนั มากกว่าในสถานะแก๊ส แสดงวา่ ในสถานะ
ของเหลว โมเลกุลมแี รงยดึ เหน่ียวระหว่างโมเลกลุ มากกวา่ ในสถานะแกส๊ ดังนน้ั ความรอ้ นทใ่ี ชใ้ นเปล่ยี น
สถานะของนำ้ ให้เปน็ ไอนำ้ จงึ เปน็ พลังงานท่ใี ชใ้ นการทำลายแรงยึดเหนย่ี วระหว่างโมเลกลุ ของน้ำ ซึ่งความ
ร้อนทโ่ี มเลกุลไดร้ บั อาจไดจ้ ากการให้ความร้อนโดยตรงหรอื จากสงิ่ แวดล้อม

ขนั้ ที่ 4 ขนั้ ขยายความรู้
4.1 ครูให้ความรู้เพ่มิ เตมิ สารเคมบี างชนดิ เชน่ สารประกอบอนิ ทรยี ์ ตามรายละเอียดในหนงั สอื เรียน

หน้า 33

ขัน้ ที่ 5 ข้นั ประเมนิ ผล
5.1 ครูตรวจ Mind mapping เร่ือง การเปลี่ยนสถานะของนำ้ และความมีขวั้
5.2 ครูตรวจสมุดการทำแบบฝึกหดั 2.2 ขอ้ ท่ี 1-5

ประยุกต์และตอบแทนสงั คม
ครใู ห้นักเรียนแต่ละคนนำความรู้ทีเ่ รียนไปค้นควา้ เพ่ิมเตมิ ที่ห้องสมดุ หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ช้นั เรียน

8. สอ่ื การเรียนร/ู้ แหล่งเรียนรู้
8.1 หนงั สอื เรียนรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตรก์ ายภาพ) ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 เล่ม 1

(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560)
8.2 อนิ เทอรเ์ น็ต
8.3 หอ้ งสมดุ

9. การวดั และประเมินผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ กี ารวัด เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมิน
1) แบบประเมินการ 1) นักเรยี นสามารถ
ดา้ นความรู้ (K) ทำกิจกรรม ทำแบบฝกึ หดั 2.2
ได้ระดับดี ผ่านเกณฑ์
1) นกั เรยี นระบสุ ภาพขัว้ ของสารท่โี มเลกุล 1) ตรวจแบบฝกึ หดั 1) แบบประเมินการ
ทำกิจกรรม 1) นักเรยี นสรุปองค์
ประกอบดว้ ย 2 อะตอมได้ 2.2 ข้อที่ 1-3 ความรู้ไดร้ ะดับดี
1) แบบประเมินการ ผ่านเกณฑ์
2) นักเรียนระบุสารทเ่ี กดิ พนั ธะไฮโดรเจนได้ ทำกิจกรรม
1) นกั เรียนทำภาระ
จากสตู รโครงสร้างได้ งานท่ีได้รบั มอบหมาย
ได้ระดับดี ผา่ นเกณฑ์
3) นกั เรยี นอธิบายความสมั พันธร์ ะหว่างจดุ

เดอื ดของสารโคเวเลนตก์ ับแรงยึดเหน่ียว

ระหว่างโมเลกุลตามสภาพขัว้ หรือการเกิด

พันธะไฮโดรเจนได้

ดา้ นกระบวนการ (P)

1) นกั เรยี นสามารถจดั กระทำและส่ือ 1) ตรวจ Mind

ความหมายของขอ้ มูลท่ศี ึกษาค้นคว้าได้ mapping เร่อื ง การ

เปลย่ี นสถานะของนำ้

และความมีขวั้

ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A)

1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งม่ันในการ 1) ตรวจแบบฝกึ หดั

ทำงาน 2.2 ข้อที่ 1-5

2) ตรวจ Mind

mapping เรอื่ ง การ

เปลีย่ นสถานะของนำ้

และความมขี วั้

10. เกณฑ์การประเมนิ ผลงานนักเรยี น

เกณฑ์การประเมนิ แบบ Rubrics ของการทำกจิ กรรม เร่ือง การเปลยี่ นสถานะของนำ้ และความมขี ว้ั

ประเดน็ การ คา่ นำ้ หนกั แนวทางการใหค้ ะแนน
ประเมนิ คะแนน

ด้านความรู้ 3 ทำแบบฝึกหดั 2.2 ไดถ้ ูกตอ้ งครบถ้วน จำนวน 3 ข้อ

(K) 2 ทำแบบฝึกหัด 2.2 ไดถ้ กู ตอ้ งครบถว้ น จำนวน 2 ขอ้

1 ทำแบบฝึกหัด 2.2 ไดถ้ ูกตอ้ งครบถ้วน จำนวน 1 ข้อ หรือไม่ถูกตอ้ ง

ดา้ น 3 สรุปเน้ือหา เรอ่ื ง การเปลี่ยนสถานะของน้ำและความมขี ว้ั ได้ถกู ตอ้ งครบถ้วน

กระบวนการ 2 สรปุ เนื้อหา เรื่อง การเปล่ยี นสถานะของนำ้ และความมขี ั้วไดค้ อ่ นข้างถูกต้องครบถว้ น

(P) 1 สรุปเน้ือหา เรือ่ ง การเปลี่ยนสถานะของนำ้ และความมขี ้วั ได้ แตไ่ มค่ รบถ้วน

ดา้ น 3 ทำภาระงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จภายในเวลาท่ีกำหนด และเรียบร้อยถกู ตอ้ งครบถ้วน

คุณลักษณะ 2 ทำภาระงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด แต่งานยงั ผิดพลาดบางสว่ น

(A) 1 ทำภาระงานท่ไี ดร้ ับมอบหมายเสร็จ แต่ลา่ ช้า และเกิดขอ้ ผดิ พลาดบางส่วน

ระดับคะแนน 3 หมายถึง ระดับดมี าก
คะแนน 2 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 1 หมายถงึ ระดับพอใช้
คะแนน

การประเมนิ การทำกิจกรรม เรอ่ื ง การเปลยี่ นสถานะของนำ้ และความมขี ัว้

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ช่อื - นามสกลุ ด้านความรู้ ดา้ น ดา้ น รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ด้านความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถงึ ระดบั ดมี าก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดับดี
คะแนน 5-6 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรงุ
คะแนน

บนั ทกึ หลงั การสอน

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 เรื่อง น้ำ ใ
แผนการสอนท่ี 7 เร่อื ง การเปลย่ี นสถานะของนำ้ และความมีข้ัว .

ใ เดือน พ.ศ. ใ

วนั ที่

ผลการจัดการเรียนรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปัญหา / อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ปัญหา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชอื่ ............................................ครผู ้สู อน ลงช่ือ.............................................หัวหน้ากลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธนิ ีย์ สรรเสริญ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 8

เรือ่ ง สารประกอบไอออนิก

รายวชิ าวิทยาศาสตร์กายภาพ1 รหสั วิชา ว32101 เวลา 2 ชั่วโมง

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ นำ้ รวม 15 ช่ัวโมง

กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1

บูรณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง  อาเซยี น  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น  มาตรฐานสากล  ข้ามกลุ่มสาระ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสมบตั ขิ องสสารกบั โครงสร้าง

และแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกิดปฏิกิริยาเคมี

2. ตัวชีว้ ัด
ว 2.1 ม.5/12 เขยี นสตู รเคมขี องไอออนและสารประกอบไอออนกิ

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นักเรียนอธบิ ายการเกดิ พนั ธะไอออนกิ ได้
3.2 ดา้ นกระบวนการ (P)
1) นักเรยี นเขยี นสูตรเคมีของไอออนท่พี บในชีวติ ประจำวนั ได้
3.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A)
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผมู้ ีความมุง่ มั่นในการทำงาน

4. สาระสำคัญ
น้ำเป็นสารเคมีชนิดหนึ่งที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานในร่ากายของส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โมเลกุลของน้ำ

เกิดจากอะตอมของธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม ยึดเหนี่ยวกับธาตุออกซิเจน 1 อะตอมด้วย พันธะเคมีที่เรียกวา่ พันธะ
โคเวเลนต์ น้ำจัดเป็นสารโคเวเลนต์ และยังมีสารอืน่ อีกหลายชนิดที่เป็นสารโคเวเลนต์ สถานะและจุดเดือดของสาร
โคเวเลนต์ข้ึนอยู่กับแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุล ซ่ึงมีความสัมพันธ์กับสภาพขั้วของสารและพันธะไฮโดรเจน
ในแหล่งน้ำธรรมชาตินอกจากมีนำ้ เป็นองคป์ ระกอบหลกั แลว้ ยังมีสารอื่นละลายอยูด่ ้วย สารที่ละลายนำ้ ไดม้ ีท้งั สาร
โคเวเลนตแ์ ละสารประกอบไอออนิก สารประกอบไอออนิกเกดิ จากการยึดเหน่ียวระหว่างไอออนบวกกบั ไอออนลบ
ด้วยพันธะไอออนิก ในอัตราส่วนอย่างต่ำทีท่ ำให้ประจุรวมของสารประกอบเป็นศูนย์ การละลายของสารในน้ำมี 2
แบบ คอื การละลายแบบแตกตวั และไมแ่ ตกตวั ซ่ึงทำให้ได้สารละลายอเิ ลก็ โทรไลต์และนอนอเิ ลก็ โทรไลต์ ตามลำดับ

5. สาระการเรยี นรู้
5.1 ความรู้

สารในแหล่งนำ้ ธรรมชาติ
นำ้ ในแหลง่ น้ำธรรมชาตเิ ปน็ นำ้ ท่ีไม่บริสทุ ธิ์ มีสารอื่นเจอื ปนซึ่งอาจเปน็ สารโคเวเลนต์ เช่น แก๊ส

ออกซิเจน (O2) แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) และสารทีอ่ ยใู่ นรปู ของไอออน เชน่ โซเดยี มไอออน (Na+)
คลอไรด์ไอออน (Cl-) ไอออนทั้งสองชนิดนี้มีปรมิ าณมากในน้ำทะเล และเมอ่ื ระเหยนำ้ ออกจะไดเ้ กลอื แกง
หรอื โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ซึ่งเป็น สารประกอบไอออนิก (ionic compound)

รปู 2.8 การจดั เรียงไอออนของเกลือแกงในสถานะของแขง็ และในรปู ของสารละลาย
สารประกอบไอออนกิ ประกอบด้วยไอออนบวกที่ยดึ เหน่ยี วกบั ไอออนลบด้วยพนั ธะเคมีทีเ่ รยี กว่า
พันธะไอออนิก (ionic bond) ด้วยไอออนบวกและไอออนลบจดั เรียงตวั สลับต่อเนือ่ งกันไปใน 3 มติ ิ
เกิดเป็นผลึกของแข็ง ดงั รปู 2.9 ในอตั ราสว่ นของไอออนท่ที ำให้สารประกอบไอออนิกเปน็ กลางทางไฟฟา้

รูป 2.9 การจัดเรยี งไอออนบวกและไอออนลบของเกลอื แกงใน 3 มิติ
เนอื่ งจากสารประกอบไอออนิกเกิดจากการจัดเรียงตวั ของไอออนที่เปน็ องค์ประกอบต่อเน่ืองกนั ไป
ในสามมิติ โดยไมส่ ามารถหาขอบเขตไดแ้ น่นอนจึงไม่จัดเปน็ โมเลกลุ และไมส่ ามารถเขียนสตู รโมเลกุลได้
ดงั นน้ั สตู รเคมีของสารประกอบไอออนกิ จึงเขยี นแสดงอัตราส่วนอย่างต่ำของไอออน ซึ่งเรยี กว่า
สูตรเอมพิริคลั (empirical formule)
การเขียนสูตรเอมพริ ิคัลทำไดโ้ ดยเขียนสัญลกั ษณธ์ าตุท่ีเปน็ ไอออนบวกไว้ข้างหนา้ และตามดว้ ย
สัญลกั ษณ์ธาตุทีเ่ ป็นไอออนลบ และเขียนตวั เลขห้อยท้ายสญั ลักษณ์ธาตุแต่ละชนิดเพอื่ แสดงอัตราส่วนอยา่ ง
ตำ่ ของจำนวนไอออนในการรวมตัว โดยไมต่ อ้ งเขยี นแสดงเลข 1 เชน่ โซเดยี มคลอไรด์ (NaCl) เปน็ สตู รเคมี
ของเกลอื แกงแสดงว่า Na+ รวมตัวกับ (Cl-) ดว้ ยอัตราสว่ นอยา่ งต่ำ 1:1
สารประกอบไอออนกิ เม่อื ละลายนำ้ จะอยู่ในรปู ของไอออน ซงึ่ ไอออนท่ลี ะลายอยู่ในนำ้ อาจเป็น
ไอออนทีเ่ กิดจากอะตอมของธาตุชนิดเดียวหรือเกิดจากกลุ่มอะตอม เชน่ สารประกอบแมกนเี ซยี มซลั เฟต
(MgSO4) เมื่อละลายน้ำจะอยู่ในรูปของแมกนีเซยี มไอออน (Mg2+) กับซัลเฟตไอออน (SO42-) ตวั อยา่ ง
ไอออนท่ีพบในชีวิตประจำวนั แสดงดังตาราง 2.3

ตาราง 2.3 ตวั อยา่ งไอออนทพ่ี บในชีวติ ประจำวนั

ไอออนบวก ช่ือ ไอออนลบ ช่ือ
Li+ ลเิ ทียมไอออน Cl- คลอไรด์ไอออน
Na+ โซเดียมไอออน O2- ออกไซด์ไอออน
K+ โพแทสเซียมไอออน OH- ไฮดรอกไซดไ์ อออน
Mg2+ แมกนเี ซียมไอออน NO3- ไนเทรตไอออน
Ca2+ แคลเซียมไอออน CO32- คาร์บอเนตไอออน
Al3+ อะลูมิเนยี มไอออน SO42- ซลั เฟสไอออน
NH4+ แอมโมเนียมไอออน PO43- ฟอสเฟตไอออน

เนอ่ื งจากสารประกอบไอออนกิ เปน็ กลางทางไฟฟา้ ดังนั้นสตู รเอมพิริคลั ตอ้ งประกอบดว้ ยจำนวน

ไอออนบวกและไอออนลบท่รี วมตวั กันด้วยอัตราสว่ นอย่างตำ่ ที่ทำให้ผลรวมของประจเุ ปน็ ศูนย์ ดังตัวอยา่ ง

ในตาราง 2.4

ตาราง 2.4 ตวั อยา่ งการรวมตวั ของไอออนในสารประกอบไอออนกิ

ไอออน ไอออน อตั ราส่วนการรวมตวั ผลรวมประจุ สูตรเอมพริ ิคัล
บวก ลบ (ไอออนบวก:ไอออนลบ)

1:1 (+2) + (-1) = +1 
ไมเ่ ปน็ กลางทางไฟฟา้
Mg2+ Cl-
(+2) + 2(-1) = 0
1:2 เป็นกลางทางไฟฟ้า MgCl2

1:1 (+1) + (-2) = -1 
ไม่เป็นกลางทางไฟฟา้
Na+ SO42-
2(+1) + (-2) = 0
2:1 เป็นกลางทางไฟฟ้า Na2SO2

1:1 (+3) + (-1) = +2 
ไม่เป็นกลางทางไฟฟ้า

Al3+ NO3- 1:2 (+3) + 2(-1) = +1 
ไม่เปน็ กลางทางไฟฟา้

1:3 (+3) + 3(-1) = 0 Al(NO3)3
เป็นกลางทางไฟฟา้

นอกจากนีก้ ารเขยี นสูตรเอมพริ ิคัลของสารประกอบไอออนิกยังอาจทำได้โดยการไขว้ตวั เลขประจุ
ของไอออน แลว้ ทำตัวเลขใหเ้ ป็นอัตราสว่ นอย่างต่ำ ดงั ตัวอย่าง

5.2 กระบวนการ
1) ความสามารถในการส่อื สาร (อ่าน ฟัง พดู เขียน)
2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วิเคราะห์ จดั กลุ่ม สรุป)
3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต (ความรับผิดชอบ)
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ใช้การสบื คน้ ผา่ นคอมพิวเตอร์)

5.3 คุณลกั ษณะและคา่ นิยม
ใฝ่เรียนรแู้ ละเปน็ ผมู้ ีความมุ่งมน่ั ในการทำงาน

6. บูรณาการ
-

7. กิจกรรมการเรยี นรู้
ขนั้ ที่ 1 ข้ันสร้างความสนใจ
1.1 ครูทบทวนบทเรยี น เรอ่ื ง การเปลีย่ นสถานะของน้ำและความมขี ้วั
1.2 โดยใหน้ ักเรียนอภิปรายเปรียบเทยี บความเหมือนและความแตกต่างของนำ้ กลนั่ กับน้ำในแหล่ง
น้ำธรรมชาติ เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า น้ำกลั่นเป็นสารบริสุทธ์ิ ส่วนนำ้ ในแหล่งน้ำธรรมชาติเป็นสารผสมท่ีมีสาร
อืน่ ละลายอยู่
1.3 ครูให้นกั เรียนยกตัวอยา่ งสารทลี่ ะลายอยู่ในแหลง่ น้ำธรรมชาติ เพื่อใหไ้ ด้ตัวอย่างของสาร
โคเวเลนต์ เช่น O2 CO2 และสารประกอบไอออนกิ เช่น NaCl แลว้ ใช้คำถามวา่ สารท่ียกตวั อยา่ งมีสาร
ใดบ้างเปน็ สารโคเวเลนต์ ทราบเอย่างไร เพอื่ ชี้ให้เหน็ วา่ สารที่ละลายอย่ใู นน้ำบางชนิด เชน่ NaCl ไม่ใชส่ าร
โคเวเลนต์ เนอ่ื งจาก Na ไมใ่ ช่ธาตุอโลหะ

ขนั้ ท่ี 2 ขนั้ สำรวจและค้นหา
2.1 ครูใหค้ วามรู้ว่า NaCl ไมใ่ ชส่ ารโคเวเลนต์แต่เป็นสารประกอบไอออนิกท่ีประกอบด้วยไอออน

ของโซเดียม หรอื โซเดยี มไอออน (Na+) และไอออนของคลอรีน หรือคลอไรดไ์ อออน (Cl-)
2.2 ครูให้ความร้วู า่ ไอออนบวกและไอออนลบในสารประกอบไอออนิกยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเคมี

ท่เี รียกว่า พนั ธะไอออนกิ

2.3 ครูทบทวนความรู้เรอ่ื งไอออนบวก ไอออนลบ และให้ความรู้เกี่ยวกบั การดึงดดู กนั ระหวา่ ง
ไอออนทม่ี ีประจตุ ่างกนั และการผลกั กันระหว่างไอออนทีม่ ปี ระจุเหมอื นกนั แล้วใชค้ ำถามว่า หากของแข็ง

เกิดจากการรวมตวั ของไอออนให้ชดิ ตดิ กันมากทสี่ ุด สารประกอบไอออนกิ จะมีการจดั เรียงไอออน อย่างไร
เพือ่ นำเข้าสู่กิจกรรม

2.3 ครใู หน้ ักเรียนทำกิจกรรมเพือ่ ศกึ ษาการจดั เรียงตวั ของไอออนในสารประกอบไอออนกิ โดยมี
เงื่อนไขดงั น้ี

1) ครูแบ่งนักเรียนทั้งห้องออกเป็นกลุ่ม 2 กลุ่ม เพ่ือใหเ้ ป็นตัวแทนของไอออนบวกและ
ไอออนลบ เชน่ แบ่งกลุ่มนักเรยี นชายและนกั เรียนหญิง ทำปา้ ยสัญลกั ษณท์ ่ีมองเหน็ ได้ชดั ของทั้งสองกลุ่ม

2) ให้นกั เรียนทั้งหมดยืนเป็นรูปส่ีเหลี่ยม (นักเรียนควรยืนซ้อนกนั อยา่ งน้อย 3 แถว โดย
นกั เรียนทอ่ี ยูต่ า่ งกลมุ่ กันให้ยนื ชดิ กนั แต่นกั เรียนที่อยใู่ นกลมุ่ เดียวกนั ห้ามยืนชิดกัน

3) ให้นกั เรยี นทยี่ ืนอย่หู ัวแถวด้านใดด้านหน่งึ ออกมาวาดรปู จำลองการจดั เรียงไอออนบน
กระดาน

2.4 ครนู ำนกั เรียนศกึ ษาเน้อื หาเกย่ี วกับสารประกอบไอออนกิ เกิดจากการจัดเรยี งตวั ของไอออน
ตามรายละเอียดในหนงั สือเรียน 40-41

2.5 นักเรยี นทำใบงาน เร่ือง ไอออนท่ีพบในชีวิตประจำวัน

ขนั้ ที่ 3 ขั้นอธิบายและลงขอ้ สรุป
3.1 จากการทำกิจกรรมการจัดเรียงของไอออนในสารประกอบไอออนิก ครูและนักเรียนร่วมกัน

อภปิ รายรูปจำลองการจัดเรยี งไอออนจากกจิ กรรม เพือ่ ให้ไดข้ ้อสรุปวา่
สา รป ระ ก อ บ ไอ อ อ นิ ก เกิ ด จ าก ก า รจั ด เรี ย งตั ว ข อ งไอ อ อ น บ ว ก แ ละไอ อ อ น ลบ สลั บ

ตอ่ เน่ืองกนั ไป โดยในกจิ กรรมนเี้ ป็นการจัดเรียงใน 2 มิติ
3.2 จากน้ันให้พจิ ารณารูป 2.9 ซ่ึงแสดงการจัดเรียงไอออนใน 3 มิติ แล้วใหน้ ักเรยี นชต้ี ำแหนง่ ของ

พันธะไอออนกิ ซ่งึ ควรชี้ได้ทุกตำแหน่งที่อยรู่ ะหวา่ งไอออนบวกและไอออนลบ
3.3 ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรุปสารประกอบไอออนกิ และไอออนท่ีพบในชีวติ ประจำวนั

ขัน้ ท่ี 4 ข้นั ขยายความรู้
4.1 ครใู หค้ วามรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับศัพทน์ ่ารู้ ตามรายละเอียดในหนังสอื เรียน หนา้ 41

ขนั้ ที่ 5 ขั้นประเมินผล
5.1 ครูถามคำถามเก่ียวกับการเกดิ พันธะไอออนกิ จำนวน 3 ข้อ ให้นักเรยี นทำส่งในสมุด
1) จงอธิบายความหมายการเกดิ พนั ธะไอออนกิ (แนวการตอบ สารประกอบไอออนกิ

ประกอบดว้ ยไอออนบวกท่ียึดเหน่ยี วกับไอออนลบด้วยพันธะเคมี)
2) ภาษาองั กฤษคำว่าพันธะไอออนิก (แนวการตอบ ionic bond)
3) พันธะไอออนิก ไอออนบวกและไอออนลบจดั เรียงตัวอยา่ งไร (แนวการตอบ ไอออน

บวกและไอออนลบจัดเรียงตวั สลับต่อเน่อื งกนั ไปใน 3 มติ )ิ
5.2 ครูตรวจใบงาน เรือ่ ง ไอออนที่พบในชีวติ ประจำวัน

ประยุกต์และตอบแทนสังคม

ครใู ห้นักเรียนแตล่ ะคนนำความรู้ท่ีเรียนไปค้นควา้ เพ่ิมเตมิ ที่ห้องสมุด หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน
ช้นั เรียน

8. สือ่ การเรียนรู/้ แหลง่ เรียนรู้
8.1 หนงั สือเรยี นรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ (วทิ ยาศาสตร์กายภาพ) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 เล่ม 1

(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 ใบงาน เร่อื ง สูตรเคมีของไอออนที่พบในชีวติ ประจำวัน
8.3 อนิ เทอร์เน็ต
8.4 ห้องสมดุ

9. การวดั และประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธกี ารวัด เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมนิ

ดา้ นความรู้ (K)

1) นักเรยี นอธิบายการเกิดพันธะไอออนกิ ได้ 1) ถามคำถามเกี่ยวกบั 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนสามารถ

การเกดิ พนั ธะไอออนกิ ทำกิจกรรม ตอบคำถามไดร้ ะดับ

จำนวน 3 ขอ้ 2) คำถามเกยี่ วกบั ดี ผา่ นเกณฑ์

การเกิดพนั ธะไอออนกิ

จำนวน 3 ขอ้

ดา้ นกระบวนการ (P)

1) นักเรยี นเขยี นสูตรเคมขี องไอออนท่พี บ 1) ตรวจใบงาน เรื่อง 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนทำใบงาน

ในชีวิตประจำวันได้ ไอออนท่ีพบใน ทำกิจกรรม ถูกตอ้ ง ไดร้ ะดบั ดี

ชวี ติ ประจำวนั 2) ใบงาน เรื่อง ผ่านเกณฑ์

ไอออนทีพ่ บใน

ชีวิตประจำวัน

ด้านคณุ ลกั ษณะ (A)

1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการ 1) ถามคำถามเก่ียวกบั 1) แบบประเมินการ 1) นักเรยี นทำภาระ

ทำงาน การเกดิ พนั ธะไอออนกิ ทำกิจกรรม งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

จำนวน 3 ขอ้ 2) คำถามเก่ยี วกบั ได้ระดบั ดี ผา่ นเกณฑ์

2) ตรวจใบงาน เรอ่ื ง การเกิดพนั ธะไอออ

ไอออนท่ีพบใน นกิ จำนวน 3 ขอ้

ชวี ติ ประจำวนั 3) ใบงาน เรื่อง

ไอออนทพ่ี บใน

ชวี ติ ประจำวัน

10. เกณฑ์การประเมนิ ผลงานนักเรยี น

เกณฑ์การประเมินแบบ Rubrics ของการทำกิจกรรม เรื่อง สารประกอบไอออนิก

ประเด็นการ ค่าน้ำหนัก แนวทางการให้คะแนน
ประเมนิ คะแนน

ดา้ นความรู้ 3 สามารถตอบคำถามได้ถกู ต้องครบถว้ น จำนวน 3 ขอ้

(K) 2 สามารถตอบคำถามได้ถกู ต้องครบถ้วน จำนวน 2 ขอ้

1 สามารถตอบคำถามไดถ้ ูกตอ้ งครบถว้ น จำนวน 1 ข้อ หรือไมถ่ กู ต้อง

ด้าน 3 ทำใบงาน เรอื่ ง ไอออนทีพ่ บในชวี ิตประจำวนั ได้ถกู ต้องครบถว้ น

กระบวนการ จำนวน 6-7 ขอ้

(P) 2 ทำใบงาน เร่ือง ไอออนท่พี บในชวี ิตประจำวันได้ถกู ตอ้ งครบถ้วน

จำนวน 4-5 ข้อ

1 ทำใบงาน เรื่อง ไอออนทีพ่ บในชีวิตประจำวนั ไดถ้ กู ตอ้ งครบถว้ น

จำนวน 1-3 ขอ้ หรือทำไมถ่ ูกตอ้ ง

ดา้ น 3 ทำภาระงานที่ไดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาที่กำหนด และเรียบร้อยถูกตอ้ งครบถว้ น

คุณลักษณะ 2 ทำภาระงานท่ไี ด้รบั มอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาที่กำหนด แตง่ านยังผิดพลาดบางส่วน

(A) 1 ทำภาระงานทไ่ี ด้รับมอบหมายเสร็จ แต่ลา่ ช้า และเกิดข้อผิดพลาดบางส่วน

ระดับคะแนน 3 หมายถงึ ระดับดมี าก
คะแนน 2 หมายถึง ระดบั ดี
คะแนน 1 หมายถึง ระดับพอใช้
คะแนน

การประเมนิ การทำกจิ กรรม เรื่อง สารประกอบไอออนกิ

จุดประสงค์การเรียนรู้

ท่ี ชอื่ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดบั
(K) กระบวนการ คุณลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชอื่ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถงึ ระดับดมี าก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 5-6 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรงุ
คะแนน

บนั ทึกหลังการสอน

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 เรือ่ ง นำ้ ใ
แผนการสอนท่ี 8 เร่ือง สารประกอบไอออนกิ .

ใ เดือน พ.ศ. ใ

วนั ที่

ผลการจัดการเรยี นรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปัญหา / อปุ สรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกป้ ญั หา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชื่อ............................................ครผู ู้สอน ลงชอื่ .............................................หัวหนา้ กลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธนิ ยี ์ สรรเสรญิ ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

ใบงาน เรอื่ ง ไอออนท่ีพบในชวี ติ ประจำวัน

ให้นักเรยี นศกึ ษาเน้อื หาเกย่ี วกับไอออนทีพ่ บในชีวติ ประจำวันในหนงั สอื แลว้ เติมคำตอบลงในช่องวา่ งให้

ถกู ต้อง

ข้อที่ ไอออนบวก ชื่อ ไอออนลบ ชอ่ื

1 Li+ คลอไรดไ์ อออน

2 โซเดียมไอออน ออกไซดไ์ อออน

3 โพแทสเซียมไอออน OH-

4 Mg2+ NO3-

5 แคลเซยี มไอออน คาร์บอเนตไอออน

6 อะลมู เิ นยี มไอออน ซลั เฟสไอออน

7 NH4+ PO43-

เฉลยใบงาน เร่ือง ไอออนท่ีพบในชีวิตประจำวัน

ให้นักเรียนศึกษาเนอ้ื หาเกี่ยวกบั ไอออนท่พี บในชีวติ ประจำวนั ในหนงั สือ แล้วเติมคำตอบลงในช่องวา่ งให้

ถกู ตอ้ ง

ขอ้ ที่ ไอออนบวก ชื่อ ไอออนลบ ชื่อ

1 Li+ ลเิ ทียมไอออน Cl- คลอไรด์ไอออน

2 Na+ โซเดียมไอออน O2- ออกไซดไ์ อออน

3 K+ โพแทสเซยี มไอออน OH- ไฮดรอกไซดไ์ อออน

4 Mg2+ แมกนีเซียมไอออน NO3- ไนเทรตไอออน

5 Ca2+ แคลเซียมไอออน CO32- คาร์บอเนตไอออน

6 Al3+ อะลูมเิ นียมไอออน SO42- ซลั เฟสไอออน

7 NH4+ แอมโมเนียมไอออน PO43- ฟอสเฟตไอออน

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 9

เร่อื ง สูตรเอมพิริคลั

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์กายภาพ1 รหสั วิชา ว32101 เวลา 2 ช่ัวโมง

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ นำ้ รวม 15 ชว่ั โมง

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 1

บูรณาการ

 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง  อาเซียน  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น  มาตรฐานสากล  ข้ามกลุม่ สาระ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสมบัติของสสารกบั โครงสรา้ ง

และแรงยดึ เหนีย่ วระหว่างอนภุ าค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี

2. ตัวชีว้ ัด
ว 2.1 ม.5/12 เขยี นสตู รเคมีของไอออนและสารประกอบไอออนิก

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นกั เรยี นอธบิ ายความหมายของสตู รเอมพิรคิ ัลได้
3.2 ด้านกระบวนการ (P)
1) นกั เรียนเขียนสูตรเอมพิรคิ ัลของสารประกอบไอออนกิ จากไอออนท่ีกำหนดใหไ้ ด้
3.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A)
1) ใฝ่เรียนรแู้ ละเป็นผ้มู ีความมุ่งม่นั ในการทำงาน

4. สาระสำคญั
น้ำเป็นสารเคมีชนิดหน่ึงที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานในร่ากายของส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม โมเลกุลของน้ำ

เกิดจากอะตอมของธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม ยึดเหนี่ยวกบั ธาตุออกซิเจน 1 อะตอมดว้ ย พันธะเคมีที่เรียกว่า พันธะ
โคเวเลนต์ น้ำจัดเป็นสารโคเวเลนต์ และยงั มีสารอ่ืนอีกหลายชนิดท่ีเป็นสารโคเวเลนต์ สถานะและจุดเดือดของสาร
โคเวเลนต์ข้ึนอยู่กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ซ่ึงมีความสัมพันธ์กับสภาพข้ัวของสารและพันธะไฮโดรเจน
ในแหล่งน้ำธรรมชาตินอกจากมีนำ้ เป็นองคป์ ระกอบหลกั แลว้ ยงั มสี ารอื่นละลายอยดู่ ้วย สารท่ีละลายน้ำไดม้ ีท้ังสาร
โคเวเลนต์และสารประกอบไอออนิก สารประกอบไอออนิกเกิดจากการยึดเหนี่ยวระหวา่ งไอออนบวกกับไอออนลบ
ด้วยพันธะไอออนิก ในอัตราส่วนอย่างตำ่ ทที่ ำให้ประจุรวมของสารประกอบเปน็ ศูนย์ การละลายของสารในน้ำมี 2
แบบ คอื การละลายแบบแตกตัวและไมแ่ ตกตวั ซง่ึ ทำใหไ้ ดส้ ารละลายอเิ ลก็ โทรไลต์และนอนอิเลก็ โทรไลต์ ตามลำดับ

5. สาระการเรียนรู้

5.1 ความรู้
สารในแหล่งน้ำธรรมชาติ

น้ำในแหล่งน้ำธรรมชาตเิ ปน็ นำ้ ที่ไม่บรสิ ุทธิ์ มีสารอ่ืนเจือปนซึง่ อาจเป็นสารโคเวเลนต์ เชน่ แก๊ส
ออกซิเจน แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ และสารท่อี ยู่ในรูปของไอออน เช่น โซเดียมไอออน (Na+) คลอไรด์
ไอออน (Cl-) ไอออนทง้ั สองชนิดนี้มีปรมิ าณมากในน้ำทะเล และเม่อื ระเหยนำ้ ออกจะได้เกลือแกงหรอื
โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ซ่งึ เปน็ สารประกอบไอออนิก (ionic compound)

รูป 2.8 การจัดเรียงไอออนของเกลอื แกงในสถานะของแข็งและในรูปของสารละลาย
สารประกอบไอออนิกประกอบดว้ ยไอออนบวกท่ยี ดึ เหนีย่ วกบั ไอออนลบด้วยพันธะเคมีทเ่ี รยี กวา่
พันธะไอออนกิ (ionic bond) ดว้ ยไอออนบวกและไอออนลบจดั เรียงตัวสลับต่อเนอ่ื งกนั ไปใน 3 มติ ิ
เกิดเป็นผลกึ ของแข็ง ดังรปู 2.9 ในอัตราสว่ นของไอออนทท่ี ำให้สารประกอบไอออนิกเปน็ กลางทางไฟฟ้า

รูป 2.9 การจัดเรยี งไอออนบวกและไอออนลบของเกลอื แกงใน 3 มติ ิ
เน่อื งจากสารประกอบไอออนิกเกิดจากการจัดเรยี งตัวของไอออนท่เี ป็นองค์ประกอบตอ่ เนอื่ งกนั ไป
ในสามมิติ โดยไม่สามารถหาขอบเขตได้แนน่ อนจึงไมจ่ ดั เปน็ โมเลกุล และไม่สามารถเขียนสูตรโมเลกลุ ได้
ดงั น้นั สูตรเคมขี องสารประกอบไอออนกิ จึงเขยี นแสดงอัตราส่วนอยา่ งตำ่ ของไอออน ซึง่ เรยี กวา่ สตู รเอมพิ
ริคลั (empirical formule)
การเขียนสตู รเอมพิริคลั ทำได้โดยเขียนสญั ลักษณ์ธาตทุ ีเ่ ป็นไอออนบวกไว้ข้างหนา้ และตามดว้ ย
สญั ลกั ษณ์ธาตุทเ่ี ป็นไอออนลบ และเขียนตวั เลขห้อยทา้ ยสัญลักษณธ์ าตแุ ต่ละชนิดเพ่อื แสดงอตั ราส่วนอย่าง
ตำ่ ของจำนวนไอออนในการรวมตัว โดยไมต่ ้องเขยี นแสดงเลข 1 เช่น โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) เปน็ สตู รเคมี
ของเกลอื แกงแสดงว่า Na+ รวมตัวกบั (Cl-) ด้วยอัตราสว่ นอย่างต่ำ 1:1
สารประกอบไอออนิกเมอื่ ละลายน้ำจะอยใู่ นรปู ของไอออน ซงึ่ ไอออนทล่ี ะลายอยู่ในน้ำอาจเปน็
ไอออนที่เกดิ จากอะตอมของธาตชุ นิดเดยี วหรือเกิดจากกลมุ่ อะตอม เชน่ สารประกอบแมกนเี ซยี มซลั เฟต
(MgSO4) เมือ่ ละลายน้ำจะอยใู่ นรปู ของแมกนเี ซียมไอออน (Mg2+) กบั ซลั เฟตไอออน (SO42-) ตวั อยา่ ง
ไอออนท่ีพบในชวี ติ ประจำวัน แสดงดังตาราง 2.3

ตาราง 2.3 ตวั อย่างไอออนที่พบในชีวิตประจำวนั

ไอออนบวก ช่ือ ไอออนลบ ชอ่ื
Li+
Na+ ลเิ ทียมไอออน Cl- คลอไรดไ์ อออน
K+
Mg2+ โซเดยี มไอออน O2- ออกไซดไ์ อออน
Ca2+
Al3+ โพแทสเซียมไอออน OH- ไฮดรอกไซด์ไอออน
NH4+
แมกนีเซียมไอออน NO3- ไนเทรตไอออน

แคลเซียมไอออน CO32- คารบ์ อเนตไอออน

อะลมู เิ นยี มไอออน SO42- ซัลเฟสไอออน

แอมโมเนยี มไอออน PO43- ฟอสเฟตไอออน

เน่ืองจากสารประกอบไอออนกิ เป็นกลางทางไฟฟา้ ดังนนั้ สูตรเอมพริ คิ ลั ต้องประกอบด้วยจำนวน

ไอออนบวกและไอออนลบท่ีรวมตัวกนั ดว้ ยอตั ราส่วนอย่างต่ำท่ีทำให้ผลรวมของประจเุ ป็นศูนย์ ดงั ตัวอย่าง

ในตาราง 2.4

ตาราง 2.4 ตวั อยา่ งการรวมตวั ของไอออนในสารประกอบไอออนกิ

ไอออน ไอออน อัตราส่วนการรวมตวั ผลรวมประจุ สูตรเอมพริ ิคัล
บวก ลบ (ไอออนบวก:ไอออนลบ)

1:1 (+2) + (-1) = +1 
ไมเ่ ป็นกลางทางไฟฟ้า
Mg2+ Cl-
(+2) + 2(-1) = 0
1:2 เป็นกลางทางไฟฟ้า MgCl2

1:1 (+1) + (-2) = -1 
ไมเ่ ปน็ กลางทางไฟฟ้า
Na+ SO42-
2(+1) + (-2) = 0
2:1 เปน็ กลางทางไฟฟ้า Na2SO2

1:1 (+3) + (-1) = +2 
ไม่เปน็ กลางทางไฟฟ้า

Al3+ NO3- 1:2 (+3) + 2(-1) = +1 
ไม่เปน็ กลางทางไฟฟ้า

1:3 (+3) + 3(-1) = 0 Al(NO3)3
เปน็ กลางทางไฟฟา้

นอกจากนี้การเขียนสตู รเอมพิรคิ ัลของสารประกอบไอออนกิ ยังอาจทำได้โดยการไขวต้ วั เลขประจุ
ของไอออน แลว้ ทำตัวเลขให้เปน็ อัตราสว่ นอย่างตำ่ ดงั ตวั อยา่ ง

5.2 กระบวนการ
1) ความสามารถในการสื่อสาร (อ่าน ฟัง พดู เขียน)
2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วิเคราะห์ จดั กลมุ่ สรุป)
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต (ความรับผดิ ชอบ)
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ใช้การสืบค้นผ่านคอมพวิ เตอร์)

5.3 คณุ ลกั ษณะและค่านยิ ม
ใฝเ่ รียนรแู้ ละเปน็ ผ้มู คี วามมงุ่ มัน่ ในการทำงาน

6. บรู ณาการ
บรู ณาการกบั กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ เรอื่ ง การบวก การลบ จำนวนเต็มบวก และจำนวนเตม็ ลบ

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขนั้ ท่ี 1 ขนั้ สร้างความสนใจ
1.1 ครูทบทวนบทเรยี น เรื่อง ไอออนทีพ่ บในชีวิตประจำวนั

ข้ันท่ี 2 ขน้ั สำรวจและคน้ หา
2.1 ครูนำนักเรียนศกึ ษา ตาราง 2.4 ตวั อยา่ งการรวมกนั ของไอออนในสารประกอบไอออนกิ
2.2 ครูนำนักเรยี นศึกษาเนอื้ หาเกย่ี วกบั การเขียนสตู รเอมพริ ิคัล ตามรายละเอียดในหนงั สอื เรยี น

หน้า 42-43
2.5 นักเรียนทำแบบฝึกหดั 2.3 ข้อที่ 1-2 ในหนงั สอื เรยี น หนา้ 44 ลงในสมุด

ข้ันท่ี 3 ขั้นอธิบายและลงขอ้ สรปุ
3.1 ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรุปการเขยี นสตู รเอมพิริคัล

ขัน้ ที่ 4 ขั้นขยายความรู้
4.1 ครูให้ความรู้เพิ่มเตมิ เกี่ยวกบั การนำสารโคเวเลนต์และสารประกอบไอออนกิ ไปใชป้ ระโยชน์ใน

ชวี ติ ประจำวนั รวมถงึ อนั ตรายทอี่ าจเกดิ ขึน้ จากกการใช้สารโคเวเลนต์และสารประกอบไอออนิกบางชนิด

ข้ันท่ี 5 ขัน้ ประเมินผล
5.1 ครูตรวจสมดุ การทำแบบฝึกหัด 2.3 ขอ้ ที่ 1-2
5.2 ครูถามคำถาม จำนวน 1 ขอ้ ใหน้ ักเรียนทำส่งในสมดุ

1) จงอธิบายความหมายของสตู รเอมพริ ิคัล (แนวการตอบ สูตรเอมพริ คิ ัล คือ เป็นสูตร
เคมีทีแ่ สดงชนิดและอตั ราสว่ นอย่างต่ำของธาตุท่มี ีองคป์ ะกอบ ซ่งึ นยิ มใชเ้ พื่อแสดงสตู รเคมีของ
สารประกอบไอออนกิ )

ประยุกตแ์ ละตอบแทนสงั คม
ครูใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนนำความรู้ที่เรียนไปค้นคว้าเพม่ิ เติมทห่ี ้องสมดุ หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ช้นั เรียน

8. สอ่ื การเรยี นรู้/แหลง่ เรยี นรู้
8.1 หนังสอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตร์กายภาพ) ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1

(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 อนิ เทอรเ์ น็ต
8.3 หอ้ งสมดุ

9. การวัดและประเมินผล วธิ กี ารวดั เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมิน
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1) ถามคำถาม จำนวน 1) แบบประเมินการ 1) นกั เรยี นสามารถ
ดา้ นความรู้ (K) 1 ขอ้ ทำกจิ กรรม ตอบคำถามไดร้ ะดับ
1) นกั เรยี นอธิบายความหมายของสตู ร 2) คำถาม จำนวน 1 ดี ผา่ นเกณฑ์
เอมพิริคัลได้ ข้อ
1) นักเรียนสามารถ
ดา้ นกระบวนการ (P) 1) แบบประเมินการ ทำแบบฝกึ หดั 2.3
ทำกจิ กรรม ได้ระดับดี ผา่ นเกณฑ์
1) นกั เรยี นเขยี นสตู รเอมพิรคิ ลั ของ 1) ตรวจแบบฝึกหัด
1) แบบประเมนิ การ 1) นักเรยี นทำภาระ
สารประกอบไอออนกิ จากไอออนท่ี 2.3 ขอ้ ท่ี 1-2 ทำกจิ กรรม งานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
ได้ระดับดี ผา่ นเกณฑ์
กำหนดใหไ้ ด้

ดา้ นคุณลกั ษณะ (A)

1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการ 1) ตรวจแบบฝึกหัด

ทำงาน 2.3 ขอ้ ท่ี 1-2


Click to View FlipBook Version