The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaimath2514, 2022-05-20 10:33:15

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

5. สาระการเรียนรู้
5.1 ความรู้
สารกัมมันตรังสี (radioactive substance) มีนิวเคลียสไม่เสถียร จึงเกิดการสลายและแผ่รังสี

ซึง่ เรียกปรากฏการณ์น้ีว่า กัมมันตรังสี (radioactivity) สารกัมมันตรังสีใช้เป็นแหล่งพลังงานสำหรับโรงไฟฟ้านิง
เคลยี ร์ในหลายประเทศ เช่น ญี่ปุ่น สหรฐั อเมรกิ า จนี โดยการผลิตไฟฟ้าอาศยั ปฏิกริ ยิ านวิ เคลยี ร์ของสารกัมมันตรังสี
ในเคร่ืองปฏิกรณ์ทำให้เกิดพลังงานความร้อนที่นำไปใช้ผลิตไอน้ำเพ่ือหมุนกังหันที่ต่อกับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ดังรูป
4.11

รูป 4.11 แผนภาพอย่างงา่ ยของการผลิตไฟฟา้ ในโรงไฟฟ้านิวเคลยี ร์
ปฏกิ ิรยิ านิวเคลียรข์ องสารกมั มนั ตรังสีเปน็ การเปลย่ี นแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอมท่ีนำไปสู่
การเปลยี่ นแปลงชนดิ ของธาตุหรือไอโซโทป และปลดปลอ่ ยพลังงานออกมา แตกตา่ งจากการเกดิ ปฏิกริ ยิ า
เคมีทีเ่ ปน็ การเปลี่ยนแปลงของอิเล็กตรอนโดยนิวเคลยี สไม่มกี ารเปลี่ยนแปลงจึงไม่เกดิ การเปล่ยี นชนดิ ของ
ธาตุ ดงั นนั้ ปฏกิ ิรยิ านิวเคลียร์จงึ ไมจ่ ัดเป็นปฏิกริ ยิ าเคมี ตัวอยา่ งเช่น ปฏกิ ิริยานวิ เคลียร์ของยูเรเนยี ม-235
ซ่ึงเกดิ จากการยงิ อนภุ าคนวิ ตรอนไปทนี่ วิ เคลียสของยเู รเนยี ม ทำให้นวิ เคลียสแตกออกเปน็ คริปทอน-90
แบเรียม-144 และอนุภาคนิวตรอน รวมทงั้ มีพลังงานเกดิ ข้ึน ดังรูป 4.12

รปู 4.12 ปฏิกิรยิ านวิ เคลียร์ของยูเรเนยี ม-235 ที่ใชเ้ ปน็ แหล่งพลังงานในโรงไฟฟา้ นิวเคลยี ร์
ระยะเวลาทส่ี ารกัมมนั ตรงั สีสลายจนเหลือปรมิ าณครงึ่ หน่งึ เรียกวา่ ครึง่ ชวี ติ (half-life) เขยี น
แทนดว้ ยสญั ลักษณ์ t½ สารกัมมนั ตรงั สแี ต่ละชนดิ มีครึ่งชวี ิตไมเ่ ทา่ กัน ตัวอย่างการสลายตัวของสาร
กัมมันตรงั สี เช่น โมลิบดีมนั -99 (Mo-99) มคี รง่ึ ชีวิต 3 วนั ถ้ามีโมลิบดมี ัน-99 อยู่ 10 กรมั เมือ่ เวลาผ่านไป
3 วนั จะเหลอื โมลิบดีนัม-99 อยู่ 5 กรมั และเม่ือเวลาผา่ นไปอกี 3 วัน จะเหลือโมลบิ ดีมัน-99 อยู่ 2.5 กรัม
ดังรปู 4.13

รูป 4.13 การสลายของโมลบิ ดมี นั -99
5.2 กระบวนการ

1) ความสามารถในการส่อื สาร (อ่าน ฟงั พูด เขยี น)

2) ความสามารถในการคิด (สังเกต วเิ คราะห์ จัดกลุ่ม สรุป)
3) ความสามารถในการแก้ปญั หา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต (ความรับผิดชอบ)
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใชก้ ารสืบคน้ ผ่านคอมพวิ เตอร)์
5.3 คุณลกั ษณะและคา่ นยิ ม
ใฝ่เรยี นรแู้ ละเปน็ ผู้มีความมุง่ มัน่ ในการทำงาน
6. บูรณาการ
-

7. กิจกรรมการเรยี นรู้
ข้ันท่ี 1 ข้นั สรา้ งความสนใจ
1.1 ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยใหน้ กั เรียนพิจารณารูป 4.2 กับ 4.11 พร้อมต้ังคำถาม ดงั น้ี

รูป 4.2 รูป 4.11
คำถาม การผลิตกระแสไฟฟ้าในโรงไฟฟ้านิวเคลียรแ์ ตกตา่ งจากโรงไฟฟ้าที่ใช้ถ่านหินหรอื แกส๊
ธรรมชาติอย่างไร (แนวคำตอบวา่ แตกต่างกันท่แี หล่งกำเนิดความร้อนที่ใช้ถ่านหนิ หรอื แกส๊ ธรรมชาติ
คำถาม ภายในเครื่องปฏิกรณ์ใช้สารใดเป็นแหลง่ พลงั งาน (แนวคำตอบว่า ใชส้ ารกมั มนั ตรงั สเี ปน็
แหลง่ พลังงาน)

ขัน้ ท่ี 2 ขั้นสำรวจและคน้ หา
2.1 ครใู หน้ กั เรียนศึกษาเนอ้ื หาและทำความเขา้ ใจ เร่ือง สารกัมมนั ตรังสี ตามรายละเอยี ดใน

หนังสอื เรียน หนา้ 118
2.2 ครูใหน้ กั เรียนทำแบบฝกึ หัด 4.4 ข้อที่ 1 ในหนังสือเรียน หน้า 120 ลงในสมดุ ของตนเอง
2.3 ครูใหน้ ักเรียนทำแบบฝกึ หดั เรื่อง แผนภาพอย่างงา่ ยของการผลิตไฟฟ้าในโรงไฟฟา้ นิวเคลียร์

ข้ันที่ 3 ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรุป
3.1 ครูสมุ่ นกั เรียน 5 คน ดงั นี้
- คนที่ 1-4 เฉลยแบบฝกึ หดั 4.4 ข้อที่ 1-4 ตามลำดบั
- คนที่ 5 ออกมาอธบิ าย แผนภาพอย่างงา่ ยของการผลิตไฟฟา้ ในโรงไฟฟา้ นิวเคลียร์

หนา้ ชั้นเรยี น
3.2 ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรปุ เน้ือหา เร่ือง สารกมั มนั ตรงั สี ดังนี้

- สารกัมมันตรังสี (radioactive substance) มีนิวเคลียสไม่เสถียร จึงเกิดการสลายและ
แผร่ งั สี ซง่ึ เรียกปรากฏการณน์ วี้ ่า กมั มันตรังสี (radioactivity)

- สารกัมมันตรังสีใช้เป็นแหล่งพลังงานสำหรับโรงไฟฟ้านิงเคลียร์ในหลายประเทศ เช่น
ญีป่ ุ่น สหรัฐอเมริกา จีน

- โดยการผลิตไฟฟ้าอาศัยปฏิกิริยานิวเคลียร์ของสารกัมมันตรังสีในเครื่องปฏิกรณ์ทำให้
เกดิ พลงั งานความร้อนท่ีนำไปใชผ้ ลิตไอน้ำเพื่อหมุนกงั หันท่ีตอ่ กับเคร่ืองกำเนดิ ไฟฟา้

ขั้นที่ 4 ข้ันขยายความรู้
4.1 ครูให้ความรู้เพ่มิ เตมิ เกย่ี วกับแบบฝึกหัดทา้ ยบทท่ี 4 ข้อที่ 9 ตามรายละเอยี ดในหนังสอื เรียน

หน้า 128
4.2 ครูยกตัวอย่างภาพขา่ ว หรอื เหตกุ ารณ์ ที่เกิดอนั ตรายจากสารกัมมันตรังสี

ขัน้ ที่ 5 ขัน้ ประเมินผล
5.1 ครตู รวจแบบฝึกหดั เรอ่ื ง แผนภาพอย่างงา่ ยของการผลติ ไฟฟ้าในโรงไฟฟ้านวิ เคลยี ร์
5.2 ครูตรวจสมดุ ของนกั เรยี นในการทำแบบฝึกหัด 4.4 ข้อที่ 1 จำนวน 4 ขอ้ ย่อย

ประยกุ ต์และตอบแทนสังคม
ครใู ห้นกั เรียนแตล่ ะคนนำความรู้ทีเ่ รียนไปค้นควา้ เพ่มิ เติมทีห่ ้องสมดุ หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ชน้ั เรยี น

8. สอ่ื การเรยี นรู้/แหลง่ เรียนรู้
8.1 หนงั สอื เรยี นรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ (วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ) ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5 เลม่ 1

(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 แบบฝึกหัด เรือ่ ง แผนภาพอย่างงา่ ยของการผลิตไฟฟ้าในโรงไฟฟ้านวิ เคลยี ร์
8.3 อินเทอร์เน็ต
8.4 ห้องสมุด

9. การวดั และประเมนิ ผล วิธกี ารวัด เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมนิ
จุดประสงค์การเรยี นรู้
1) ตรวจสมดุ นักเรียน 1) แบบประเมนิ การ 1) นกั เรยี นทำ
ดา้ นความรู้ (K) ในการทำแบบฝึกหดั ทำกจิ กรรม แบบฝึกหดั
1) นกั เรียนอธิบายสมบตั ิของสาร 4.4 ขอ้ ที่ 1 2) แบบฝกึ หัด 4.4 ได้ระดบั ดี ผา่ นเกณฑ์
กัมมันตรังสีได้ ข้อที่ 1
1) นักเรียนสามารถ
ด้านกระบวนการ (P) 1) ตรวจแบบฝึกหดั 1) แบบประเมินการ เขียนแผนภาพอย่าง
1) นกั เรยี นเขยี นแผนภาพอย่างงา่ ยของการ เรื่อง แผนภาพอย่าง ทำกิจกรรม ง่ายได้ระดบั ดี
ผลติ ไฟฟ้าในโรงไฟฟ้านวิ เคลียร์ได้ งา่ ยของการผลติ ไฟฟ้า 2) แบบฝึกหดั เร่ือง ผา่ นเกณฑ์
ในโรงไฟฟ้านิวเคลยี ร์ แผนภาพอยา่ งงา่ ย
ของการผลติ ไฟฟา้ ใน 1) นกั เรียนทำภาระ
ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A) โรงไฟฟ้านวิ เคลียร์ งานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งม่ันในการ 1) ตรวจสมดุ นกั เรียน ได้ระดบั ดี ผา่ นเกณฑ์
ทำงาน ในการทำแบบฝึกหัด 1) แบบประเมินการ
ทำกิจกรรม
4.4 ขอ้ ท่ี 1 2) แบบฝึกหัด 4.4
2) ตรวจแบบฝึกหดั ขอ้ ท่ี 1
เร่ือง แผนภาพอย่าง 3) แบบฝกึ หัด เร่ือง
งา่ ยของการผลิตไฟฟา้ แผนภาพอย่างงา่ ย
ในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ของการผลิตไฟฟา้ ใน
โรงไฟฟา้ นวิ เคลียร์

10. เกณฑ์การประเมินผลงานนกั เรียน

เกณฑก์ ารประเมินแบบ Rubrics ของการทำกิจกรรม เรื่อง สารกมั มนั ตรังสี

ประเด็นการ ค่านำ้ หนกั แนวทางการใหค้ ะแนน
ประเมนิ คะแนน

ดา้ นความรู้ 3 ทำแบบฝึกหดั ได้ถกู ต้อง จำนวน 4 ขอ้
(K) 2 ทำแบบฝึกหัดได้ถูกต้อง จำนวน 2-3 ข้อ
1 ทำแบบฝกึ หัดไดถ้ กู ต้อง จำนวน 1 ข้อ หรอื ทำแบบฝึกหัดไมถ่ ูกตอ้ ง

3 เขียนแผนภาพอย่างง่ายของการผลิตไฟฟ้าในโรงไฟฟา้ นิวเคลยี ร์ พร้อมระบุ

ด้าน 2 ส่วนประกอบตา่ งๆ ไดถ้ กู ต้องครบถว้ น
กระบวนการ 1 เขยี นแผนภาพอยา่ งงา่ ยของการผลติ ไฟฟา้ ในโรงไฟฟ้านิวเคลยี ร์ พรอ้ มระบุ
ส่วนประกอบต่างๆ ได้ แต่ยังไม่ถกู ต้องครบถ้วน
(P) เขียนแผนภาพอยา่ งงา่ ยของการผลติ ไฟฟา้ ในโรงไฟฟา้ นวิ เคลียร์ พรอ้ มระบุ

ส่วนประกอบต่างๆ แตไ่ ม่ถกู ต้อง

ด้าน 3 ทำภาระงานทไี่ ด้รับมอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด และเรยี บร้อยถูกตอ้ งครบถว้ น

คณุ ลกั ษณะ 2 ทำภาระงานทไ่ี ด้รบั มอบหมายเสร็จภายในเวลาท่ีกำหนด แตง่ านยงั ผิดพลาดบางสว่ น

(A) 1 ทำภาระงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายเสร็จ แต่ลา่ ช้า และเกิดข้อผิดพลาดบางสว่ น

ระดบั คะแนน 3 หมายถึง ระดบั ดีมาก
คะแนน 2 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 1 หมายถึง ระดบั พอใช้
คะแนน

การประเมนิ การทำกจิ กรรม เร่ือง สารกมั มันตรังสี

จุดประสงค์การเรียนรู้

ท่ี ชอ่ื - นามสกลุ ดา้ นความรู้ ดา้ น ด้าน รวม ระดบั
(K) กระบวนการ คุณลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกลุ ดา้ นความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถึง ระดับดีมาก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 5-6 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถงึ ระดับปรับปรงุ
คะแนน

บนั ทึกหลงั การสอน

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 เรือ่ ง พลังงาน พ.ศ. ใ
แผนการสอนท่ี 27 เรือ่ ง สารกัมมันตรังสี .

ใ เดือน ใ

วันท่ี

ผลการจัดการเรยี นรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปญั หา / อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ปัญหา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชื่อ............................................ครผู สู้ อน ลงช่ือ.............................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธนิ ีย์ สรรเสริญ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

ช่ือ ชัน้ เลขที่ ‘

เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง แผนภาพอย่างง่ายของการผลติ ไฟฟา้ ในโรงไฟฟ้านวิ เคลยี ร์

คำสงั่ จงเขียนแผนภาพอยา่ งงา่ ยของการผลติ ไฟฟ้าในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใหส้ มบรู ณ์ พร้อมระบุสว่ นประกอบตา่ งๆ
ให้ถกู ตอ้ งครบถว้ น

ชอื่ ชนั้ เลขที่ ‘

เฉลยแบบฝกึ หดั เรื่อง แผนภาพอย่างง่ายของการผลิตไฟฟา้ ในโรงไฟฟา้ นิวเคลียร์

คำสัง่ จงเขียนแผนภาพอยา่ งงา่ ยของการผลิตไฟฟา้ ในโรงไฟฟา้ นิวเคลียร์ พรอ้ มระบสุ ว่ นประกอบตา่ งๆ พร้อมระบุ
สว่ นประกอบต่างๆ ให้ถกู ตอ้ งครบถ้วน

แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 28

เร่อื ง คร่งึ ชีวิต

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์กายภาพ1 รหัสวชิ า ว32101 เวลา 2 ช่ัวโมง

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ พลังงาน รวม 19 ชัว่ โมง

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1

บรู ณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง  อาเซียน  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น  มาตรฐานสากล  ขา้ มกล่มุ สาระ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสมบตั ิของสสารกับโครงสร้าง

และแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี

2. ตวั ชวี้ ัด
ว 2.1 ม.5/24 อธิบายสมบัตขิ องสารกมั มนั ตรงั สี และคำนวณครง่ึ ชีวติ และปรมิ าณของสารกมั มันตรังสี

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นักเรียนอธิบายความหมายเกยี่ วกับครึง่ ชีวติ ของสารกัมมันตรังสีได้
3.2 ดา้ นกระบวนการ (P)
1) นกั เรยี นคำนวณเกย่ี วกับคร่ึงชีวิตของสารกมั มนั ตรังสีทกี่ ำหนดให้ได้
3.3 ดา้ นคณุ ลักษณะ (A)
1) ใฝ่เรียนรแู้ ละเปน็ ผู้มคี วามมงุ่ มนั่ ในการทำงาน

4. สาระสำคญั
พลังงานท่ีนำมาใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำวันได้มาจากปฏิกิริยาเคมี และปฏิกิริยานิวเคลียร์ โดยปฏิกิริยา

เคมีท่ีให้พลังงานอาจได้มาจากปฏิกิริยาการเผาไหม้ ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้า ซึ่งปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น เขียนแสดงได้ด้วย
สมการเคมี โดยแสดงชนิดและจำนวนของสารต้ังต้นท่ีทำปฏิกิริยากัน และผลิตภัณฑ์ท่ีเกิดข้ึน รวมท้ังภาวะในการ
เกิดปฏิกิริยา การพิจารณาว่าปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วหรือช้าพิจารณาได้จากอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซ่ึงขึ้นอยู่กับ
หลายปัจจัย เช่น ความเข้มขน้ อุณหภูมิ พื้นท่ีผวิ ของสารต้ังต้น ตัวเร่งปฏิกิริยา ความรู้เก่ียวกับปัจจัยทมี่ ีผลต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิรยิ าเคมี สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำวัน และในอุตสาหกรรม ปฏิกริ ิยารีดอกซเ์ ปน็ ปฏิกิรยิ า
เคมีท่ีเกิดจากการถ่ายโอนอิเล็กตรอนของสาร โดยปฏิกิริยารีดอกซ์มีท้ังท่ีให้กระแสไฟฟ้าและไม่ให้กระแสไฟฟ้า
สำหรับปฏิกิริยานิวเคลียร์ จะใช้สารกัมมันตรังสีเป็นแหล่งของพลังงาน เนื่องจากสารกัมมันตรังสีมีนิวเคลียสไม่
เสถียร เกิดการสลายและแผ่รงั สอี ย่างต่อเน่ือง สารกมั มันตรงั สีแตล่ ะชนิดมคี ่าคร่งึ ชวี ิตแตกตา่ งกนั และรงั สีที่แผ่ออก
มาแตกต่างกันจึงนำมาใช้ประโยชน์ไดต้ ่างกัน การนำสารกัมมนั ตรังสีแต่ละชนิดมาใช้ตอ้ งมีการจัดการอย่างเหมาะสม
และตอ้ งคำนงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ สิ่งมีชีวติ และสิ่งแวดล้อม

5. สาระการเรียนรู้
5.1 ความรู้
สารกัมมันตรังสี (radioactive substance) มีนิวเคลียสไม่เสถียร จึงเกิดการสลายและแผ่รังสี

ซึง่ เรียกปรากฏการณ์น้ีว่า กัมมันตรังสี (radioactivity) สารกัมมันตรังสีใช้เป็นแหล่งพลังงานสำหรับโรงไฟฟ้านิง
เคลยี ร์ในหลายประเทศ เช่น ญี่ปุ่น สหรฐั อเมรกิ า จีน โดยการผลิตไฟฟา้ อาศยั ปฏิกริ ยิ านวิ เคลยี ร์ของสารกัมมันตรังสี
ในเคร่ืองปฏิกรณ์ทำให้เกิดพลังงานความร้อนที่นำไปใช้ผลิตไอน้ำเพื่อหมุนกังหันที่ต่อกับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ดังรูป
4.11

รูป 4.11 แผนภาพอยา่ งงา่ ยของการผลิตไฟฟ้าในโรงไฟฟา้ นิวเคลียร์
ปฏกิ ิรยิ านิวเคลียรข์ องสารกมั มันตรังสีเปน็ การเปลย่ี นแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอมท่ีนำไปสู่
การเปล่ยี นแปลงชนดิ ของธาตุหรือไอโซโทป และปลดปลอ่ ยพลังงานออกมา แตกตา่ งจากการเกดิ ปฏิกริ ยิ า
เคมีทเ่ี ปน็ การเปลี่ยนแปลงของอิเล็กตรอนโดยนิวเคลยี สไม่มีการเปลี่ยนแปลงจึงไมเ่ กดิ การเปล่ยี นชนดิ ของ
ธาตุ ดังนัน้ ปฏกิ ิรยิ านิวเคลียร์จงึ ไมจ่ ัดเป็นปฏิกริ ยิ าเคมี ตัวอย่างเชน่ ปฏกิ ิริยานวิ เคลียรข์ องยูเรเนยี ม-235
ซ่ึงเกิดจากการยงิ อนภุ าคนวิ ตรอนไปทีน่ ิวเคลียสของยเู รเนยี ม ทำให้นวิ เคลียสแตกออกเปน็ คริปทอน-90
แบเรียม-144 และอนุภาคนิวตรอน รวมทง้ั มีพลังงานเกดิ ข้ึน ดงั รูป 4.12

รูป 4.12 ปฏกิ ิรยิ านวิ เคลียร์ของยูเรเนยี ม-235 ที่ใชเ้ ปน็ แหล่งพลังงานในโรงไฟฟา้ นิวเคลยี ร์
ระยะเวลาทส่ี ารกัมมนั ตรงั สีสลายจนเหลือปรมิ าณคร่งึ หนง่ึ เรียกวา่ ครึง่ ชวี ติ (half-life) เขยี น
แทนดว้ ยสญั ลักษณ์ t½ สารกัมมนั ตรงั สแี ต่ละชนิดมีครึ่งชวี ิตไมเ่ ท่ากัน ตัวอยา่ งการสลายตัวของสาร
กัมมันตรงั สี เช่น โมลิบดีมนั -99 (Mo-99) มคี รง่ึ ชีวิต 3 วนั ถา้ มโี มลิบดีมัน-99 อยู่ 10 กรมั เมือ่ เวลาผ่านไป
3 วนั จะเหลอื โมลิบดีนัม-99 อยู่ 5 กรมั และเม่ือเวลาผา่ นไปอกี 3 วัน จะเหลือโมลิบดมี ัน-99 อยู่ 2.5 กรัม
ดังรปู 4.13

รูป 4.13 การสลายของโมลบิ ดมี นั -99
5.2 กระบวนการ

1) ความสามารถในการส่อื สาร (อ่าน ฟงั พูด เขยี น)

2) ความสามารถในการคิด (สังเกต วเิ คราะห์ จัดกลมุ่ สรปุ )
3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ (ความรับผิดชอบ)
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ใช้การสบื คน้ ผ่านคอมพวิ เตอร์)
5.3 คุณลกั ษณะและคา่ นยิ ม
ใฝ่เรยี นรแู้ ละเป็นผ้มู ีความมุง่ ม่นั ในการทำงาน
6. บูรณาการ
-

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ข้ันท่ี 1 ข้นั สร้างความสนใจ
1.1 ครูยกตวั อย่างภาพข่าว หรอื เหตุการณ์ ที่เกดิ อันตรายจากสารกัมมันตรังสี เชน่ Co-60
1.2 ครูทบทวนบทเรยี น โดยใช้คำถาม
- เพราะเหตใุ ด สารกมั มันตรงั สีจึงทำให้เกิดอนั ตรายต่อร่างกายไดเ้ พยี งแคส่ ัมผัสหรืออยู่
ใกล้ ๆ (ควรสรุปได้วา่ สารกัมมันตรงั สีสามารถแผ่รังสไี ด้ แลว้ อธบิ ายว่าสารกมั มันตรงั สีมีนวิ เคลียสไมเ่ สถยี ร
จึงเกิดการสลายและแผ่รังสี ซ่ึงเรยี กปรากฏการณ์นี้ว่า กมั มนั ตภาพรงั สี)
1.3 ครนู ำรูป 4.13 ให้นกั เรียนสังเกตและพิจารณา โดยใชค้ ำถามเพ่ือนำเขา้ สูบ่ ทเรียน

- จากภาพนกั เรียนสังเกตเหน็ อะไรบ้าง
- ธาตุโมลิบดนี มั -99 สามารถเขยี นสัญลักษณ์ธาตไุ ดอ้ ย่างไร
- จากมวลโมลิบดีนมั -99 เริ่มต้นท่ี 10 กรมั เม่อื เวลาผ่านไป 3 วนั มวลโมลิบดีนมั -99

เหลือเท่าใด

ข้ันท่ี 2 ขน้ั สำรวจและค้นหา
2.1 ครใู หน้ กั เรียนศึกษาเนื้อหาและทำความเขา้ ใจ เรอ่ื ง ครง่ึ ชวี ติ ตามรายละเอยี ดในหนงั สือเรียน

หนา้ 119
2.2 ครูใหน้ กั เรียนทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ขอ้ ท่ี 10-11 ในหนังสอื เรยี น หนา้ 128 ลงในสมุดของ

ตนเอง
2.3 ครูใหน้ ักเรยี นตอบคำถาม จำนวน 3 ข้อ ลงในสมดุ เพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจ

ข้ันท่ี 3 ขน้ั อธิบายและลงข้อสรุป
3.1 ครูสมุ่ นักเรยี น 2 คน ออกมาเฉลยและอธบิ ายแบบฝึกหดั ท้ายบทที่ 4 ข้อท่ี 10-11

หน้าชน้ั เรยี น
3.2 ครใู ช้คำถาม เพ่อื นำไปสู่การลงขอ้ สรุป เร่อื ง คร่งึ ชีวิต ดังน้ี
1) จงอธบิ ายความหมายของคำวา่ “ครงึ่ ชีวิต” (แนวการตอบ ระยะเวลาทส่ี ารกัมมันตรงั สี

สลายจนเหลอื ปริมาณครึ่งหนึง่ )
2) “ครึง่ ชวี ิต” คำศพั ทภ์ าษาอังกฤษ คอื (แนวการตอบ half-life)
3) “ครง่ึ ชวี ิต” เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ใด (แนวการตอบ t½)

3.3 ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรปุ เน้อื หา เรือ่ ง ครง่ึ ชีวิต ดังนี้
- ระยะเวลาทสี่ ารกมั มนั ตรังสีสลายจนเหลอื ปรมิ าณคร่ึงหน่งึ เรยี กว่า คร่งึ ชวี ิต (half-

life) เขียนแทนดว้ ยสญั ลักษณ์ t½ สารกัมมันตรังสีแต่ละชนิดมีครงึ่ ชีวติ ไม่เทา่ กัน

ขนั้ ท่ี 4 ขน้ั ขยายความรู้
4.1 ครูใหค้ วามรู้เพิม่ เตมิ เกีย่ วกับการคำนวณหาค่าครึ่งชวี ิต (แบบฝกึ หดั 4.4 ขอ้ ที่ 2) ในหนังสอื เรยี น

หน้า 120

ขัน้ ท่ี 5 ขนั้ ประเมินผล
5.1 ครูตรวจสมุดนักเรียนในการตอบคำถามตรวจสอบความเขา้ ใจ
5.2 ครูตรวจสมุดของนักเรียนในการทำแบบฝกึ หัดทา้ ยบทที่ 4 ข้อท่ี 10-11

ประยุกต์และตอบแทนสงั คม
ครใู หน้ กั เรียนแต่ละคนนำความรู้ทีเ่ รียนไปค้นคว้าเพิม่ เตมิ ทหี่ ้องสมดุ หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ชน้ั เรียน

8. ส่ือการเรยี นรู้/แหลง่ เรยี นรู้
8.1 หนังสอื เรียนรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ (วทิ ยาศาสตร์กายภาพ) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 1

(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560)

9. การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีการวดั เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1) ตรวจสมดุ นักเรียน 1) แบบประเมนิ การ 1) นักเรยี นตอบ
ดา้ นความรู้ (K) ในการตอบคำถาม ทำกจิ กรรม คำถามไดร้ ะดบั ดี
1) นักเรียนอธบิ ายสมบตั ขิ องสาร ตรวจสอบความเข้าใจ 2) คำถามตรวจสอบ ผ่านเกณฑ์
กัมมนั ตรังสี ความเข้าใจ จำนวน
3 ข้อ

ดา้ นกระบวนการ (P)

1) นักเรยี นเขยี นแผนภาพอย่างงา่ ยของการ 1) ตรวจสมุดนักเรยี น 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนทำ
ทำกิจกรรม แบบฝกึ หดั ได้ระดบั
ผลิตไฟฟ้าในโรงไฟฟ้านวิ เคลยี ร์ได้ ในการทำแบบฝกึ หัด 2) แบบฝึกหัดท้าย ดี ผา่ นเกณฑ์
บทที่ 4 ขอ้ ที่ 10-11
ทา้ ยบทที่ 4 ขอ้ ที่ 10- 1) นกั เรียนทำภาระ
1) แบบประเมนิ การ งานที่ได้รับมอบหมาย
11 ทำกจิ กรรม ได้ระดบั ดี ผ่านเกณฑ์
2) คำถามตรวจสอบ
ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A) ความเขา้ ใจ
3) แบบฝึกหัดท้าย
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการ 1) ตรวจสมุดนักเรียน บทที่ 4 ข้อท่ี 10-11

ทำงาน ในการตอบคำถาม

ตรวจสอบความเขา้ ใจ

2) ตรวจสมุดนักเรียน

ในการทำแบบฝกึ หัด

ทา้ ยบทท่ี 4 ขอ้ ที่ 10-

11

10. เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานนักเรียน

เกณฑก์ ารประเมินแบบ Rubrics ของการทำกิจกรรม เร่ือง ครึ่งชวี ิต

ประเด็นการ ค่านำ้ หนกั แนวทางการให้คะแนน
ประเมนิ คะแนน

ด้านความรู้ 3 ตอบคำถามไดถ้ กู ตอ้ งครบถว้ น จำนวน 3 ข้อ
(K) 2 ตอบคำถามไดถ้ กู ต้องครบถ้วน จำนวน 2 ขอ้
1 ตอบคำถามไดถ้ ูกต้องครบถว้ น จำนวน 1 ขอ้

ดา้ น 3 ทำแบบฝกึ หดั ได้ถกู ต้อง จำนวน 2 ขอ้

กระบวนการ 2 ทำแบบฝึกหดั ไดถ้ ูกต้อง จำนวน 1 ข้อ

(P) 1 ทำแบบฝกึ หดั ไมถ่ กู ตอ้ ง

ดา้ น 3 ทำภาระงานท่ีไดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาที่กำหนด และเรียบรอ้ ยถูกต้องครบถว้ น

คณุ ลักษณะ 2 ทำภาระงานทไี่ ด้รับมอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาที่กำหนด แตง่ านยงั ผดิ พลาดบางส่วน

(A) 1 ทำภาระงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายเสร็จ แต่ลา่ ช้า และเกิดขอ้ ผิดพลาดบางสว่ น

ระดับคะแนน 3 หมายถึง ระดับดมี าก
คะแนน 2 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 1 หมายถงึ ระดับพอใช้
คะแนน

การประเมนิ การทำกิจกรรม เรอื่ ง ครง่ึ ชวี ติ

จุดประสงค์การเรียนรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ด้าน ดา้ น รวม ระดบั
(K) กระบวนการ คณุ ลักษณะ คะแนน คุณภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถงึ ระดับดมี าก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 5-6 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรงุ
คะแนน

บนั ทกึ หลังการสอน

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 4 เรือ่ ง พลงั งาน พ.ศ. ใ
แผนการสอนท่ี 28 เร่ือง ครึ่งชวี ติ .

ใ เดือน ใ

วนั ท่ี

ผลการจดั การเรียนรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปัญหา / อปุ สรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ปญั หา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงช่อื ............................................ครผู ้สู อน ลงชอื่ .............................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธินยี ์ สรรเสรญิ ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 29

เรอื่ ง ประโยชนแ์ ละโทษของสารกมั มันตรังสี

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์กายภาพ1 รหัสวิชา ว32101 เวลา 5 ชั่วโมง

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 4 ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ พลังงาน รวม 19 ชว่ั โมง

กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1

บรู ณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง  อาเซยี น  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน  มาตรฐานสากล  ข้ามกลุม่ สาระ

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เขา้ ใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสมบัติของสสารกับโครงสรา้ ง

และแรงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนภุ าค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี

2. ตัวช้วี ัด
ว 2.1 ม.5/25 สืบค้นข้อมลู และนำเสนอตัวอยา่ งประโยชน์ของสารกัมมนั ตรังสแี ละการป้องกนั อนั ตรายท่ี

เกดิ จากกมั มันตภาพรงั สี

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นกั เรียนสบื ค้นขอ้ มูลตวั อยา่ งประโยชนข์ องสารกมั มนั ตรังสแี ละการปอ้ งกนั อนั ตรายที่เกิดจากสาร
กมั มนั ตรังสีได้
3.2 ด้านกระบวนการ (P)
1) นกั เรียนนำเสนอข้อมลู ตวั อยา่ งประโยชน์ของสารกมั มันตรงั สีและการป้องกันอนั ตรายที่เกดิ จากสาร
กัมมนั ตรังสีได้
3.3 ดา้ นคุณลักษณะ (A)
1) ใฝ่เรยี นรูแ้ ละเปน็ ผู้มคี วามมุ่งมน่ั ในการทำงาน

4. สาระสำคญั
พลังงานท่ีนำมาใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำวันได้มาจากปฏิกิริยาเคมี และปฏิกิริยานิวเคลียร์ โดยปฏิกิริยา

เคมีที่ให้พลังงานอาจได้มาจากปฏิกิริยาการเผาไหม้ ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้า ซ่ึงปฏิกิริยาที่เกิดข้ึน เขียนแสดงได้ด้วย
สมการเคมี โดยแสดงชนิดและจำนวนของสารตั้งต้นที่ทำปฏิกิริยากัน และผลิตภัณฑ์ที่เกิดข้ึน รวมท้ังภาวะในการ
เกิดปฏิกิริยา การพิจารณาว่าปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วหรือช้าพิจารณาได้จากอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซึ่งข้ึนอยู่กับ
หลายปัจจยั เช่น ความเข้มขน้ อุณหภูมิ พ้ืนท่ีผวิ ของสารต้ังต้น ตัวเร่งปฏิกิริยา ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยทมี่ ีผลต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิรยิ าเคมี สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน และในอุตสาหกรรม ปฏิกิริยารีดอกซเ์ ปน็ ปฏิกริ ิยา
เคมีที่เกิดจากการถ่ายโอนอิเล็กตรอนของสาร โดยปฏิกิริยารีดอกซ์มีท้ังท่ีให้กระแสไฟฟ้าและไม่ให้กระแสไฟฟ้า
สำหรับปฏิกิริยานิวเคลียร์ จะใช้สารกัมมันตรังสีเป็นแหล่งของพลังงาน เนื่องจากสารกัมมันตรังสีมีนิวเคลียสไม่

เสถยี ร เกดิ การสลายและแผ่รังสอี ย่างตอ่ เน่ือง สารกัมมันตรังสีแต่ละชนดิ มีค่าครงึ่ ชวี ิตแตกตา่ งกัน และรงั สีที่แผอ่ อก
มาแตกตา่ งกันจึงนำมาใช้ประโยชนไ์ ดต้ ่างกัน การนำสารกัมมันตรังสีแต่ละชนิดมาใช้ต้องมีการจัดการอยา่ งเหมาะสม
และต้องคำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อสง่ิ มชี วี ิตและสงิ่ แวดล้อม

5. สาระการเรยี นรู้
5.1 ความรู้
สารกัมมันตรังสีใช้เป็นแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้าในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แล้ว ยังแผ่รังสี เช่น
ตา่ งๆ เช่น แอลฟา บีตา แกมมา ซึ่งสามารถนำมาใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นต่าง ๆ ได้ ดงั ตัวอย่างตอ่ ไปน้ี
ด้านการแพทย์
สารกัมมันตรงั สบี างชนดิ สามารถนำมาใช้ในการวินจิ ฉัยโรคหรือรักษาโรคได้ เช่น โคบอลต-์ 60 (Co-
60) ใช้ในการรักษาโรคมะเร็ง ไอโอดนี -131 (I-131) ใชใ้ นการติดตามการทำงานและรักษาความผิดปกติของ
ตอ่ มไทรอยด์
ดา้ นการเกษตร
สารกัมมันตรงั สีที่นำมาประยุกต์ในการเกษตร เช่น Co-60 ใช้ในการฉายรังสีแกมมาไปยังเมด็ พันธ์ุ
พืชเพ่ือให้เกิดการกลายพันธ์ุและนำมาคัดเลือกเมล็ดพันธทุ์ ี่มีสมบัติตามต้องการ รวมท้ังใช้ฆ่าเช้อื แบคทีเรีย
เพื่อถนอมอาหาร
ด้านอตุ สาหกรรม
สารกัมมันตรังสีทมี่ ีการนำมาใชง้ านในดา้ นอตุ สาหกรรม เช่น โซเดียม-24 (Na-24) ใช้ตรวจหารอย
ตำหนิหรือรอยรั่วของทอ่ ขนส่งของเหลว โคบอลต์-60 (Co-60) ใชใ้ นการเปล่ยี นสีอญั มณี
ด้านธรณวี ทิ ยา
นอกจากการใช้ประโยชน์จากรังสีแลว้ ในทางธรณวี ิทยาสามารถใช้ครึ่งชีวิตของสารกัมมันตรงั สใี น
การคำนวณหาอายุวัตถุโบราณหรือซากดึกดำบรรพ์ได้อีกด้วย เช่น ใช้คาร์บอน (C-14) ในการหาอายุของ
ซากส่งิ มชี วี ติ โบราณ
สารกัมมันตรงั สีถึงแม้จะมีประโยชน์มาก แต่การนำมาใช้ประโยชน์อาจมีการแผ่รังสีท่มี ีพลังงานสูง
มาก จึงจำเป็นต้องมีการป้องกันและควบคุมการใช้อย่างเข้มงวด และผู้ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับรังสีต้องสวม
อุปกรณ์ป้องกันต่าง ๆ ไม่ให้ได้รับรังสีในปริมาณท่ีเป็นอันตราย นอกจากน้ีต้องแสดงสัญลักษณ์รังสีอย่าง
ชดั เจนบนภาชนะ เครือ่ งมือ และบรเิ วณที่เกี่ยวข้อง

รูป 4.17 อุปกรณ์ป้องกันและสญั ลักษณ์รังสี

กากกัมมันตรังสีที่ได้จากการใช้สารกัมมันตรังสีในโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ โรงพยาบาล หรือ
หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ต้องมีกระบวนการจัดการอย่างถูกวิธี โดยเก็บกากกัมมันตรังสีไว้ในภาชนะท่ี
เหมาะสม และอยู่ในสถานที่ทม่ี ีการควบคุมและห่างไกลจากชมุ ชน โดยฝงั ไว้ใตด้ นิ หรือใตท้ ะเลลึก

รูป 4.18 ตัวอย่างการฝงั กมั มนั ตรงั สไี ว้ใต้ดิน

5.2 กระบวนการ
1) ความสามารถในการสอ่ื สาร (อ่าน ฟงั พดู เขียน)
2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วิเคราะห์ จดั กลุ่ม สรุป)
3) ความสามารถในการแก้ปญั หา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ (ความรับผดิ ชอบ)
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใช้การสบื ค้นผา่ นคอมพวิ เตอร์ มีทักษะ

กระบวนการทางเทคโนโลยี )
5.3 คุณลักษณะและค่านยิ ม

ใฝเ่ รียนรู้และเป็นผมู้ คี วามมงุ่ มัน่ ในการทำงาน
6. บรู ณาการ

6.1 บูรณาการ PLC นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เลา่ สกู่ ันฟงั ถึงความร้ทู ไี่ ด้จากการทำกจิ กรรม และ
ปญั หาทเ่ี กดิ ขึ้นระหวา่ งการทำกิจกรรม

6.2 บรู ณาการเกีย่ วกับการใชเ้ ทคโนโลยี ในการจัดทำสอื่ ในรปู แบบ Power point

7. กิจกรรมการเรียนรู้
ข้ันที่ 1 ข้นั สรา้ งความสนใจ
1.1 ครูให้นกั เรียนสังเกตภาพเกี่ยวกบั สัญลกั ษณ์รังสี แล้วตัง้ คำถามให้นกั เรียนตอบ ดงั น้ี

คำถาม
- นักเรียนเคยเห็นสญั ลกั ษณ์นท้ี ไ่ี หนบา้ ง
- นักเรียนคดิ วา่ สัญลกั ษณแ์ บบน้ีหมายถงึ อะไร
1.2 ครูใช้คำถาม เพ่อื นำเข้าสูบทเรียน ดงั นี้
- นักเรียนทราบถึงประโยชนข์ องสารกัมมนั ตรังสหี รือไม่
- นกั เรียนทราบถึงโทษของสารกัมมนั ตรงั สีหรอื ไม่

ข้ันที่ 2 ข้นั สำรวจและค้นหา
2.1 ครแู บง่ กลมุ่ นกั เรียน จำนวน 5 กลุ่ม โดยคละความสามารถและเพศ
2.2 ครชู ้แี จง้ กิจกรรมใหน้ ักเรียนทราบ ดงั น้ี
- ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกล่มุ แบง่ หน้าทรี่ บั ผิดชอบ
- ให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ สืบคน้ ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ประโยชน์และโทษของสารกัมมันตรังสใี น

อนิ เทอร์เนต็ ห้องสมุด โดยออกแบบการนำเสนอเนื้อหา ในรูปแบบ Power point ไมเ่ กนิ 10 สไสด์
ซงึ่ ประกอบด้วย ชอ่ื เรือ่ ง ช่ือผจู้ ัดทำ ชอ่ื ครผู ูส้ อน ประโยชนแ์ ละโทษของสารกัมมันตรังสี พร้อมรูป
ภาพประกอบ ใชเ้ วลาในการสืบคน้ และออกแบบการนำเสนอเนอ้ื หา ในรูปแบบ Power point จำนวน 3
ชว่ั โมง

- ครแู จง้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

ข้นั ท่ี 3 ขัน้ อธิบายและลงข้อสรุป
3.1 นักเรียนแต่ละกลุม่ นำเสนอผลการสืบค้นของกลมุ่ ตนเอง (โดยทำการสุ่ม) ใชเ้ วลาในนำเสนอ

เนอ้ื หา กลุ่มละ 10 นาที
3.2 ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ เนือ้ หา เรือ่ ง ประโยชนแ์ ละโทษของสารกัมมันตรังสี ดงั นี้
1) ประโยชนข์ องสารกัมมันตรังสี
1. ด้านธรณีวิทยา มกี ารใช้ C-14 คำนวณหาอายขุ องวตั ถุโบราณ หรอื อายขุ องซากดกึ ดำ

บรรพ์
2. ดา้ นการแพทย์ ใชร้ กั ษาโรคมะเร็ง ในการรกั ษาโรคมะเร็งบางชนิด กระทำไดโ้ ดยการ

ฉายรงั สแี กมมาที่ได้จากโคบอลต์-60 เข้าไปทำลายเซลล์มะเรง็ ผูป้ ่วยทเ่ี ป็นมะเร็งในระยะแรกสามารถรักษา
ใหห้ ายขาดได้ แลว้ ยงั ใชโ้ ซเดยี ม-24 ทอ่ี ย่ใู นรูปของ NaCl ฉดี เข้าไปในเสน้ เลอื ด เพอื่ ตรวจการไหลเวียนของ
โลหติ โดย โซเดยี ม-24 จะสลายให้รังสีบตี าซงึ่ สามารถตรวจวดั ได้ และสามารถบอกได้วา่ มีการตีบตนั ของ
เสน้ เลอื ดหรือไม่

3. ดา้ นเกษตรกรรม มกี ารใช้ธาตุกัมมนั ตรังสตี ิดตามระยะเวลาการหมนุ เวียนแรธ่ าตใุ นพืช
โดยเรม่ิ ต้นจากการดูดซมึ ทร่ี ากจนกระทั่งถึงการคายออกทใ่ี บ หรือใชศ้ ึกษาความต้องการแรธ่ าตุของพืช

4. ด้านอุตสาหกรรม ในอตุ สาหกรรมการผลติ แผ่นโลหะ จะใชป้ ระโยชนจ์ าก
กัมมนั ตภาพรงั สีในการควบคมุ การรีดแผน่ โลหะ เพอื่ ใหไ้ ดค้ วามหนาสมำ่ เสมอตลอดแผ่น โดยใช้รงั สีบีตายงิ
ผ่านแนวตั้งฉากกบั แผน่ โลหะที่รดี แลว้ แล้ววัดปริมาณรังสีทท่ี ะลุผา่ นแผ่นโลหะออกมาด้วยเคร่ืองวดั รงั สี ถา้
ความหนาของแผ่นโลหะทีร่ ดี แลว้ ผดิ ไปจากความหนาทต่ี งั้ ไว้ เคร่อื งวดั รงั สีจะสง่ สัญญาณไปควบคุมความ
หนา โดยสั่งให้มอเตอรก์ ดหรือผ่อนลูกกลิ้ง เพอ่ื ให้ได้ความหนาตามต้องการ

2) โทษของสารกมั มันตรังสี
เนื่องจากรงั สีสามารถทำให้ตวั กลางท่ีมนั เคล่ือนที่ผ่าน เกดิ การแตกตัวเป็นไอออนได้ รงั สี

จงึ มอี ันตรายตอ่ มนุษย์ ผลของรังสีต่อมนุษยส์ ามารถแยกได้เปน็ 2 ประเภทคอื ผลทางพนั ธกุ รรมและความ
ป่วยไขจ้ ากรังสี ผลทางพนั ธุกรรมจากรงั สี จะมีผลทำใหก้ ารสร้างเซลลใ์ หมใ่ นร่างกายมนษุ ย์เกดิ การกลาย
พันธุ์ โดยเฉพาะเซลลส์ บื พันธ์ุ ส่วนผลที่ทำใหเ้ กิดความป่วยไขจ้ ากรงั สี เนื่องจากเมื่ออวยั วะส่วนใดส่วนหนงึ่
ของร่างกายได้รับรังสี โมเลกลุ ของธาตุต่างๆ ท่ีประกอบเปน็ เซลลจ์ ะแตกตวั ทำให้เกิดอากาปว่ ยไข้ได้

หลกั ในการปอ้ งกนั อันตรายจากรงั สี มีดงั นี้
- ใช้เวลาเขา้ ใกลบ้ ริเวณทีม่ กี มั มันตภาพรังสใี หน้ ้อยทส่ี ุด
- พยายามอยู่ให้ห่างจากกมั มันตภาพรงั สใี หม้ ากทสี่ ุดเท่าที่จะทำได้
- ใชต้ ะกั่ว คอนกรีต นำ้ หรือพาราฟิน เปน็ เคร่อื งกำบังบริเวณทีม่ กี ารแผร่ งั สี

ขัน้ ที่ 4 ขน้ั ขยายความรู้
4.1 ครูใหค้ วามรู้เพม่ิ เตมิ ดังนี้
1) กมั มันตรังสที ่ธี าตกุ มั มนั ตรังสแี ผอ่ อกมามอี ยู่ 3 ชนิด ซ่งึ เกดิ จากสาเหตุท่แี ตกต่างกนั

ออกไป ดังนี้

1.รังสีแอลฟา ( ) สัญลักษณ์ หรอื เป็นนิวเคลียสของธาตุ

ฮเี ลียมซ่ึงมปี ระจุ +2 เน่ืองจากมีประจไุ ฟฟ้าบวกจึงเบนเขา้ หาขั้วลบ เป็นรงั สีท่ีมีพลังงานสูงสุด แต่มอี ำนาจ

ทะลุทะลวงต่ำที่สุด โดยสามารถเดินทางผ่านอากาศได้เพียง 3 – 5 ซม. หรือ กระดาษเพียง 1 – 2 แผ่นก็

สามารถกน้ั ได้

2) รังสีเบตา ( ) สัญลักษณ์ หรือ เป็นลำของอนุภาคที่มี

สมบัติเหมือนกับอิเล็กตรอน (รวมถึงโพรสิตรอน หรือ แต่ส่วนใหญ่ที่พบบนโลกจะมีสมบัติเหมือน
อิเล็กตรอน) มีประจุ -1 เนื่องจากมีประจุไฟฟ้าลบจึงเบนเข้าหาข้ัวบวก อำนาจทะลุทะลวงมากกว่ารังสี
แอลฟา ในขณะทมี่ พี ลงั งานต่ำกวา่ รังสเี บตามีความเร็วใกล้เคยี งแสง สามารถทะลุผา่ นโลหะแผน่ บาง ๆ ได้

3) รังสีแกมมา ( ) สัญลักษณ์ หรือ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่

ความยาวคล่ืนสั้นมาก ไม่มีมวล ไม่มีประจุ จึงไม่เบ่ียงเบนในสนามไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูงสุด แต่มี

พลังงานต่ำท่ีสุด สามารถทะลุผ่าน แผ่นไม้ โลหะ หรอื แมแ้ ต่เนื้อเยอื่ ได้ แต่จะถูกกัน้ ไว้ได้ด้วยคอนกรตี หนา

หรือแผ่นตะกัว่ หนา

ข้นั ที่ 5 ขัน้ ประเมนิ ผล
5.1 ประเมินจากการออกแบบการนำเสนอเนอื้ หา ในรูปแบบ Power point และการนำเสนอผล

การสบื คน้

ประยุกตแ์ ละตอบแทนสังคม
ครใู หน้ ักเรียนแต่ละคนนำความรู้ท่ีเรียนไปค้นคว้าเพิม่ เตมิ ทห่ี ้องสมดุ หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ชั้นเรียน

8. สอื่ การเรียนรู/้ แหลง่ เรยี นรู้
8.1 หนงั สือเรยี นรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตรก์ ายภาพ) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 เลม่ 1

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560)
8.2 คอมพวิ เตอร์
8.3 อินเทอรเ์ นต็
8.4 เว็บไซต์
http://radioactive601.blogspot.com/2010/12/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%
E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%82%E0%B8%AD%E
0%B8%87%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0
%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%AA.html

9. การวัดและประเมินผล

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวดั เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
1) แบบประเมนิ การ 1) ระดบั ดีผา่ นเกณฑ์
ด้านความรู้ (K) นำเสนอผลงาน
1) ระดบั ดีผ่านเกณฑ์
1) นักเรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู ตัวอยา่ งประโยชน์ 1) สงั เกตจากการ 1) แบบประเมนิ การ
นำเสนอผลงาน 1) นักเรยี นทำภาระ
ของสารกมั มนั ตรังสแี ละการป้องกัน นำเสนอผลการสบื คน้ งานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย
1) แบบประเมนิ การ ได้ระดบั ดี ผา่ นเกณฑ์
อนั ตรายท่ีเกดิ จากสารกัมมันตรังสไี ด้ นำเสนอผลงาน

ดา้ นกระบวนการ (P)

1) นักเรยี นนำเสนอขอ้ มูลตัวอยา่ ง 1) สงั เกตจากการ

ประโยชน์ของสารกัมมันตรงั สแี ละการ นำเสนอผลการสบื คน้

ป้องกนั อันตรายทเ่ี กิดจากสาร

ด้านคุณลักษณะ (A)

1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งม่ันในการ 1) สงั เกตจากการ

ทำงาน นำเสนอผลการสบื ค้น

‘’’’’’’’’

10. เกณฑ์การประเมนิ ผลงานนกั เรียน

เกณฑ์การประเมินแบบ Rubrics ของการทำกจิ กรรม เรอ่ื ง ประโยชน์และโทษของสารกมั มันตรงั สี

เกณฑ์ คณุ ภาพ

ยอดเยย่ี ม(4) ดี(3) พอใช(้ 2) ควรปรบั ปรงุ (1)

1. เนือ้ หา (40)

1.1 อธิบายเนอื้ หาได้ เน้ือหาถูกตอ้ ง เน้ือหาผิด 1 จดุ (8) เนื้อหาผดิ 2 จุด (6) เนื้อหาผิดตัง้ แต่ 3

ถูกตอ้ ง (10) สมบูรณ(์ 10) จุดข้ึนไป (4)

1.2 ความสมบูรณข์ อง เนื้อหาสมบรู ณ์ เนอ้ื หาไมส่ มบรู ณ์ เน้ือหาไมส่ มบูรณ์ เนื้อหาไมส่ มบูรณ์

เน้ือหา (15) ครบถว้ นในทกุ ด้าน ขาดหายไป 1 ด้าน ขาดหายไป 2 ดา้ น ขาดหายไป ตัง้ แต่ 3

(15) (13) (10) ด้านขน้ึ ไป (8)

1.3 ใช้กระบวนการ ใชก้ ระบวนการ ใชก้ ระบวนการ ใชก้ ระบวนการ ใช้กระบวนการ

วเิ คราะหแ์ ก้ปญั หาท่ี วิเคราะหแ์ ก้ปญั หา วเิ คราะหแ์ ก้ปญั หา วิเคราะห์แกป้ ญั หา วิเคราะห์แกป้ ญั หา

เหมาะสม (10) ท่ีเหมาะสมทุก ทีเ่ หมาะสมเกอื บทุก ทีเ่ หมาะสมครงึ่ หนงึ่ ที่เหมาะสมในบาง

กระบวนการทำงาน กระบวนการทำงาน ของกระบวนการ กระบวนการทำงาน

(10) (8) ทำงาน (6) (10)

1.4 ใช้แหล่งข้อมลู ที่ ใชแ้ หลง่ ข้อมูลที่ ใช้แหลง่ ข้อมูลที่ ใชแ้ หลง่ ขอ้ มลู ที่ ใชแ้ หล่งขอ้ มูลท่ี

หลากหลายและ หลากหลายและ หลากหลายและ หลากหลายและ หลากหลายและ

น่าเชอ่ื ถอื (5) นา่ เชอ่ื ถอื มากกวา่ น่าเชื่อถอื จำนวน 3 น่าเช่ือถือ จำนวน 2 นา่ เชื่อถอื เพียง

4 แหล่ง (5) แหล่ง (4) แหลง่ (3) แหลง่ เดียวแหลง่

(2)

2. การสร้างช้ินงาน (15)

2.1 จำนวนสไลด์ (5) จำนวนสไลด์ 10 จำนวนสไลด์ 7-9 จำนวนสไลด์ 3-6 จำนวนสไลด์ 1-2

สไลด์ (5) สไลด์ (4) สไลด์ (3) สไลด์ (2)

2.2 การเปล่ียนแปลง มกี ารเปลยี่ นแปลง มกี ารเปล่ียนแปลง มีการเปลีย่ นแปลง มีการเปลีย่ นแปลง

แบบการนำเสนอ (5) แบบการนำเสนอที่ แบบการนำเสนอท่ี แบบการนำเสนอที่ แบบการนำเสนอ

เหมาะสมมาก (5) เหมาะสม (4) เหมาะสมนอ้ ย (3) (2)

2.3 ใชก้ ารแสดง ใชก้ ารแสดง ใชก้ ารแสดง ใชก้ ารแสดง ใช้การแสดง

ภาพเคลอ่ื นไหว (5) ภาพเคลอื่ นไหว ภาพเคลือ่ นไหว ภาพเคล่ือนไหว ภาพเคลือ่ นไหว (2)

เหมาะสมมาก (5) เหมาะสม (4) เหมาะสมนอ้ ย (3)

3. องคป์ ระกอบของชน้ิ งาน (30)

3.1 ตัวสะกดและ ใชต้ ัวตวั สะกดและ ใชต้ วั ตัวสะกดและ ใช้ตัวตวั สะกดและ ใช้ตัวตัวสะกดและ

ไวยากรณ์ (5) ไวยากรณ์ถูกตอ้ ง ไวยากรณ์ผดิ พลาด ไวยากรณผ์ ิดพลาด ไวยากรณผ์ ดิ พลาด

ทกุ จดุ (5) 1 จดุ (4) 2 จดุ (3) ตง้ั แต่ 3 จดุ ข้ึนไป

(2)

เกณฑ์ คณุ ภาพ

ยอดเยี่ยม(4) ดี(3) พอใช(้ 2) ควรปรบั ปรุง(1)

3.2 การนำเสนอมคี วาม การนำเสนอมคี วาม การนำเสนอมคี วาม การนำเสนอมีความ การนำเสนอมคี วาม

ต่อเนอ่ื ง (5) ต่อเนื่องเหมาะสม ต่อเน่อื งเหมาะสม ต่อเน่อื งเหมาะสม ต่อเน่ืองเหมาะสม

ในระดับมากท่ีสุด ในระดบั มาก (4) ในระดบั ปานกลาง ในระดับนอ้ ย (2)

(5) (3)

3.3 การนำเสนอ การนำเสนอ การนำเสนอ การนำเสนอ การนำเสนอ

นา่ สนใจ (10) นา่ สนใจ ในระดับ น่าสนใจ ในระดบั นา่ สนใจ ในระดบั นา่ สนใจ ในระดับ

มากท่ีสุด (10) มาก (8) ปานกลาง (6) น้อย (4)

3.4 มีการจดั วางรปู แบบ มกี ารจัดวางรปู แบบ มีการจัดวางรปู แบบ มกี ารจัดวางรปู แบบ มกี ารจดั วางรูปแบบ

ที่เหมาะสม (10) ที่เหมาะสม ใน ทเี่ หมาะสม ใน ทเ่ี หมาะสม ใน ทเี่ หมาะสม ใน

ระดบั มากท่ีสุด (10) ระดับมาก (8) ระดับปานกลาง (6) ระดับน้อย (4)

4. คุณลกั ษณะของสมาชิกในกลุม่ (15)

4.1 ความร่วมมอื ในกลุ่ม แสดงออกถงึ ความ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ

(5) สามคั คีกันในกลุม่ สามคั คกี ันในกลมุ่ สามัคคีกนั ในกลุม่ สามัคคกี นั ในกล่มุ

เป็นอย่างมาก (5) (4) ในบางครงั้ (3) นอ้ ย (2)

4.2 ความตรงตอ่ เวลาใน ส่งงานภายในเวลา ส่งงานลา่ ชา้ 1 วนั ส่งงานลา่ ชา้ 2 วนั สง่ งานลา่ ชา้ ต้ังแต่

การส่งงาน (10) ที่กำหนด (10) (8) (6) 3 วนั ขนึ้ ไป (4)

แบบประเมนิ งานนำเสนอ

วิชา..............................................กลมุ่ ท่.ี ............................วันที่................................................

ผ้ปู ระเมิน  ครูผู้สอน  นักเรียน อ่ืนๆ ....................................................

รายการประเมนิ คะแนนเตม็ คะแนนประเมนิ
1. เน้ือหา
1.1 อธบิ ายเนื้อหาได้ถูกต้อง 10
1.2 ความสมบรู ณ์ของเนือ้ หา 15
1.3 ใชก้ ระบวนการวิเคราะห์แกป้ ญั หาท่ีเหมาะสม 10
1.4 ใช้แหลง่ ขอ้ มูลท่ีหลากหลายและน่าเช่อื ถอื 5
40
รวม
2. การสรา้ งช้นิ งาน 5
2.1 จำนวนสไลด์ 5
2.2 การเปลี่ยนแปลงแบบการนำเสนอ 5
2.3 ใชก้ ารแสดงภาพเคลอื่ นไหว 15

รวม 5
3. องคป์ ระกอบของชิ้นงาน 5
3.1 ตัวสะกดและไวยากรณ์ 10
3.2 การนำเสนอมีความตอ่ เนื่อง 10
3.3 การนำเสนอน่าสนใจ 30
3.4 มีการจัดวางรปู แบบที่เหมาะสม
5
รวม 10
4. คุณลกั ษณะของสมาชิกในกลมุ่ 15
4.1 ความร่วมมือในกลุ่ม 100
4.2 ความตรงตอ่ เวลาในการส่งงาน

รวม
คะแนนรวมท้งั หมด

บนั ทกึ หลงั การสอน

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 เรือ่ ง พลงั งาน ใ
แผนการสอนท่ี 29 เรื่อง ประโยชน์และโทษของสารกัมมนั ตรังสี .

ใ เดือน พ.ศ. ใ

วนั ท่ี

ผลการจดั การเรียนรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปัญหา / อปุ สรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ปญั หา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชื่อ............................................ครผู ้สู อน ลงช่ือ.............................................หัวหนา้ กลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธนิ ีย์ สรรเสรญิ ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)


Click to View FlipBook Version