The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaimath2514, 2022-05-20 10:33:15

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

5. ผลการทดลอง

ตารางบันทกึ ผลการทดลอง

สาร การเปล่ียนแปลงของสารในน้ำที่สงั เกตได้ การติดกันของกระดาษ
กลูโคส
แป้งมนั สำปะหลัง ท่ีอุณหภมู ิห้อง หลงั ต้ม กระดาษไมต่ ิดกัน

ละลายนำ้ ได้สารละลาย ไมเ่ ปลีย่ นแปลง กระดาษติดกันแนน่ ดึง
ใส ไม่มีสี ออกจากกันไมไ่ ด้

ไม่ละลายได้สาร

แขวนลอย สขี าวขนุ่ น้ำแปง้ ใสขึ้น มีลักษณะหนืด

เมื่อทิง้ ไวจ้ ะตกตะกอน

6. คำถามท้ายการทดลอง มกี าร
1) สารละลายกลูโคสและนำ้ แปง้ มันสำปะหลัง มีลักษณะเหมือนกนั หรอื ไม่ อย่างไร มกี าร

ตอบ กลโู คสและแป้งมันสำปะหลังมสี มบัติแตกต่างกนั กลโู คสละลายน้ำาได้ดีกวา่
2) หลงั การตม้ สารท้งั สองชนิดมคี วามหนดื แตกต่างกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร

ตอบ แตกต่างกนั แปง้ มันสำปะหลังให้สารละลายทม่ี ีความหนืดมากกวา่

7. สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองพบว่า เมื่อนำกลูโคสมาละลายในนำ้ พบว่าได้สารละลายใสไม่มีสี แสดงวา่ กลูโคสละลายน้ำได้ดี

หลังต้มไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง ส่วนแป้งมันสำปะหลังไม่ละลายน้ำที่อุณหภูมิห้อง แต่เมื่อผ่านการต้มพบว่าน้ำแป้งมี

ลกั ษณะใสขึน้ เมือ่ นำสารท้ัง 2 ชนิดท่ีผ่านการตม้ แลว้ มาทดสอบดว้ ยการติดกระดาษพบวา่ น้ำแป้งทำใหก้ ระดาษตดิ กนั ได้

มากกว่าสารละลายกลูดคสแสดงว่าน้ำแป้งมีความหนืดมากกว่าสารละลายกลูโคส และเมื่อพิจารณาลักษณะของ

สารละลายกลูโคสและนำ้ แป้งหลังต้ม จะพบว่าน้ำแปง้ มีลกั ษณะหนดื ขน้ มากกวา่ ซึ่งสอดคลอ้ งกบั ผลการทดสอบดว้ ยการ

ตดิ กับกระดาษ v

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 15

เร่อื ง สมบตั ิทางกายภาพของมอนอเมอรแ์ ละพอลเิ มอร์

รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ1 รหัสวิชา ว32101 เวลา 1 ช่ัวโมง

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3 ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ อาหาร รวม 19 ชั่วโมง

กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1

บูรณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง  อาเซยี น  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น  มาตรฐานสากล  ข้ามกลุม่ สาระ

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เขา้ ใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พนั ธ์ระหว่างสมบตั ิของสสารกบั โครงสร้าง

และแรงยดึ เหนยี่ วระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี

2. ตวั ช้ีวัด
ว 2.1 ม.5/15 สืบค้นขอ้ มูลและเปรยี บเทียบสมบัตทิ างกายภาพระหว่างพอลเิ มอร์และมอนอเมอรข์ อง

พอลิเมอร์ชนิดนั้น

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นกั เรยี นสบื ค้นขอ้ มูลและเปรยี บเทยี บสมบัติทางกายภาพระหว่างพอลิเมอรแ์ ละมอนอเมอร์ของ
พอลิเมอร์ชนิดนน้ั ได้
3.2 ดา้ นกระบวนการ (P)
1) นกั เรยี นสามารถทำกิจกรรม 3.2 สบื คน้ ขอ้ มูลสมบัติทางกายภาพของมอนอเมอรแ์ ละพอลเิ มอร์ได้
3.3 ดา้ นคุณลกั ษณะ (A)
1) ใฝ่เรยี นรแู้ ละเปน็ ผู้มีความมุ่งม่ันในการทำงาน

4. สาระสำคัญ
อาหารเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย์ โดยไขมัน คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และวิตามนิ เป็น

สารประกอบอนิ ทรีย์ สว่ นเกลอื แร่เป็นไอออนหรอื สารประกอบไอออนิก สารประกอบอินทรีย์เป็นสารประกอบของ
ธาตุคาร์บอนซ่ึงอาจมีธาตุอ่ืนเป็นองค์ประกอบร่วมด้วย เช่น ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน ซัลเฟอร์ ไขมันมีท้ัง
ชนิดอิ่มตัวและไม่อ่ิมตัวซึ่งพิจารณาได้จากชนิดพันธะระหว่างคาร์บอนอะตอมในกรดไขมัน ซ่ึงใช้เกณฑ์เดียวกับ
สารประกอบไฮโดรเจนคาร์บอน คาร์โบไฮเดรตที่เป็นมอนอเมอร์และพอลิเมอร์มีสมบัติแตกต่างกัน โปรตีนเป็น
พอลิเมอร์ท่ีมีมอนอเมอร์เป็นกรดแอมิโนซ่ึงมีหมู่คาร์บอกซิล และหมู่อะมิโน จึงแสดงสมบัติความเป็นกรด-เบสได้
วิตามินแตล่ ะชนดิ มีสภาพข้ัวแตกตา่ งกัน ทำใหบ้ างชนิดละลายไดใ้ นนำ้ มัน บางชนดิ ละลายได้ในน้ำมัน ซ่ึงเป็นไปตาม
หลักการ like dissolves like ส่วนเกลือแร่แต่ละชนิดมีประโยชน์ที่แตกต่างกัน บรรจุภณั ฑ์สำหรับอาหารส่วนใหญ่
ทำมาจากพลาสติกซ่ึงเป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ มีท้งั ชนดิ พอลิเมอร์เทอร์มอพลาสตกิ และพอลิเมอร์เทอรม์ อเซตซ่ึงใช้

งานได้แตกต่างกนั พลาสติกย่อยสลายไดย้ ากและมีการใชใ้ นปริมาณมาก จึงกอ่ ให้เกิดปัญหาขยะ การลดการใช้ การ
ใช้ซ้ำ และการนำกลบั มาใชใ้ หม่ เป็นการช่วยปัญหาได้ทางหนึง่
5. สาระการเรยี นรู้

5.1 ความรู้
คารโ์ บไฮเดรต
ข้าว แป้ง น้ำตาลเป็นอาหารที่มคี าร์โบไฮเดรตเป็นองค์ประกอบหลักซ่ึงเป็นแหล่งพลังงานสำหรับ

สิ่งมีชีวิต เมื่อบริโภคข้าวหรือแป้ง ร่างกายจะย่อยคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ที่มีขนาดเล็กลง จนได้เป็น
กลูโคสซ่ึงเป็นหน่วยย่อยที่สดุ ของคาร์โบไฮเดรต ร่างกายสามารถดูดซมึ กลูโคสทเ่ี ป็นโมเลกุลขนาดเล็กเข้าสู่
กระแสเลือดและใช้เป็นสารตั้งต้นในการทำปฏิกิริยากับออกซิเจน เพ่ือให้พลังงานแก่ร่างกาย สำหรับผู้ท่ีมี
ระดับน้ำตาลในเลือดลดลงอย่างเร็วจากการออกกำลังกายหรือท้องเสีย การดื่มเคร่ืองด่ืมเกลือแร่ที่มี
สว่ นผสมของกลูโคสจึงเป็นวิธีหน่ึงท่ชี ่วยทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดกลบั สู่สภาวะปกติได้เร็วกว่าการบรโิ ภค
ข้าวแป้ง

รูป 3.7 ภาพจำลองการย่อยโมเลกลุ แปง้ ให้เป็นกลูโคส
ในทางเคมีจดั ใหค้ ารโ์ บไฮเดรตในข้าวและแป้งซ่ึงมีโมเลกลุ ขนาดใหญเ่ ปน็ พอลิแซ็กคาไรด์
(polysaccharide) ส่วนกลโู คสเป็นนำ้ ตาลโมเลกลุ เดีย่ วหรอื มอนอแซก็ คาไรด์ (monosaccharide)
โครงสร้างแสดงดังรปู 3.8

รูป 3.8 โครงสร้างของพอลิแซก็ คาไรด์และมอนอแซก็ คาไรด์
สารเคมีท่ีโมเลกุลมีโครงสรา้ งขนาดใหญ่ประกอบด้วยหน่วยย่อยจำนวนมากเชื่อมตอ่ กนั เช่นเดยี วกบั
พอลิแซ็กคาไรด์ เรียกวา่ พอลิเมอร์ (polymer) ส่วนสารโมเลกลุขนาดเล็กทีม่ ารวมตัวกนั เพอื่ เกิดเป็น
พอลิเมอร์ เรยี กวา่ มอนอเมอร์ (monomer) ซึ่งมอนอเมอร์ของพอลิแซ็กคาไรด์ในข้าวและแปง้ คือ กลโู คส

5.2 กระบวนการ
1) ความสามารถในการส่อื สาร (อ่าน ฟงั พดู เขยี น)
2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วเิ คราะห์ จัดกลมุ่ สรปุ )
3) ความสามารถในการแก้ปญั หา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ (ความรับผิดชอบ)
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ใชก้ ารสืบค้นผา่ นคอมพวิ เตอร์)

5.3 คุณลักษณะและคา่ นยิ ม
ใฝเ่ รียนร้แู ละเป็นผ้มู คี วามมุ่งมน่ั ในการทำงาน

6. บรู ณาการ
-

7. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นท่ี 1 ข้นั สร้างความสนใจ
1.1 ครทู บทวนบทเรยี น เรือ่ ง สูตรโครงสรา้ งของพอลแิ ซ็กคาไรด์ และมอนอแซก็ คาไรด์ และผล
การทำกิจกรรม 3.1
1.2 ครตู ั้งคำถามเพือ่ นำเขา้ สู่การทำกจิ กรรม
- พอลิเมอร์เกิดข้ึนจากมอนอเมอร์มาเชื่อมกัน นักเรียนคิดว่าพอลิเมอร์มีสมบัติเหมือน
หรอื แตกต่างกันอยา่ งไร

ข้นั ที่ 2 ขั้นสำรวจและคน้ หา
2.1 ครูจดั กลุ่มนกั เรียน โดยแบ่งออกเปน็ กล่มุ ๆ ละ 3-4 คน โดยคละเพศ คละความสามารถ
2.2 นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ศกึ ษาใบกิจกรรม 3.2 เรอื่ ง สืบคน้ ข้อมลู สมบตั ิทางกายภาพของมอนอเมอร์

และพอลเิ มอร์ (สามารถสืบคน้ ข้อมูลทางอินเทอร์เนต็ หรือห้องสมุด)

ข้นั ท่ี 3 ขั้นอธบิ ายและลงข้อสรปุ
3.1 ครสู ุ่มนักเรียน 2 คน ออกมานำเสนอผลการทำกิจกรรมของกลุ่มตัวเองหน้าชนั้ เรียน
3.2 ครนู ำนกั เรียนอภปิ รายผลการสบื ค้นข้อมูลของกิจกรรม 3.2 เร่ือง สืบค้นข้อมูลสมบตั ิทาง

กายภาพของมอนอเมอรแ์ ละพอลิเมอร์ เพอื่ นำไปสู่การสรุปโดยใช้คำถามต่อไปน้ี
1) พอลิเอทิลนี มีสถานะใด (แนวการตอบ ของแข็ง)
2) พอลิโพรพลิ ีน มีสถานะใด (แนวการตอบ ของแขง็ )
3) พอลไิ วนลิ คลอไรด์ มีสถานะใด (แนวการตอบ ของแขง็ )
4) พอลิเอทิลนี มจี ุดหลอมเหลวเทา่ ใด (แนวการตอบ 115-135 °C)
5) พอลโิ พรพลิ นี มจี ุดหลอมเหลวเทา่ ใด (แนวการตอบ 130-170 °C)
6) พอลิไวนิลคลอไรด์ มีจดุ หลอมเหลวเท่าใด (แนวการตอบ 100-260 °C)
7) เอทิลนี มสี ถานะใด (แนวการตอบ แกส๊ )
8) โพรพลิ นี มสี ถานะใด (แนวการตอบ แกส๊ )

9) พอลิไวนิลคลอไรด์ มสี ถานะใด (แนวการตอบ แก๊ส)
10) เอทิลีน มีจดุ หลอมเหลวเท่าใด (แนวการตอบ -169.15 °C)
11) โพรพลิ นี มีจดุ หลอมเหลวเทา่ ใด (แนวการตอบ -185.24 °C)
12) ไวนลิ คลอไรด์ มจี ดุ หลอมเหลวเท่าใด (แนวการตอบ -153.84 °C)
13) จากการสืบค้นข้อมลู สถานะและจดุ หลอมเหลวของพอลเิ มอร์และมอนอเมอร์
มสี ถานะเหมือนกันหรือไม่ (แนวการตอบ มสี ถานะไมเ่ หมอื นกนั )
14) จากการสืบค้นขอ้ มูลสถานะและจุดหลอมเหลวของพอลิเมอรแ์ ละมอนอเมอร์
มจี ดุ หลอมเหลวเหมือนกันหรอื ไม่ (แนวการตอบ มสี ถานะไม่เหมอื นกนั )
3.3 นักเรียนและครูร่วมกนั สรปุ ผลการสบื คน้ ข้อมูลสมบัติทางกายภาพของมอนอเมอร์และ
พอลเิ มอร์จนสรุปได้ ดังน้ี
พอลเิ มอรม์ จี ดุ หลอมเหลวสงู กว่ามอนอเมอร์ นอกจากนี้มอนอเมอรแ์ ละพอลิเมอร์ท่ีเกิด
จากมอนอเมอร์มสี ถานะต่างกนั

ขัน้ ท่ี 4 ขัน้ ขยายความรู้
4.1 ครใู หค้ วามรู้เพ่ิมเตมิ เก่ียวกบั สมบัตดิ า้ นกายภาพของพอลิเมอร์ขึน้ อยู่กบั โครงสร้าง โดยพอลเิ มอร์ท่มี ี

โครงสรา้ งแบบสายยาวหรอื โซโ่ ครงสรา้ งแบบสาขาหรอื แขนง และโครงสร้างแบบตาข่ายหรือร่างแห จะมีสมบตั ิท่ี
ตา่ งกนั

4.2 ครใู ห้ความรู้เพิ่มเตมิ เกย่ี วกับเซลลโู ลส ตามรายละเอียดในหนังสือเรยี น หนา้ 69

ข้นั ท่ี 5 ขั้นประเมนิ ผล
5.1 นักเรียนส่งใบกิจกรรม 3.2 เรื่อง สบื คน้ ขอ้ มลู สมบตั ิทางกายภาพของมอนอเมอร์และพอลิ

เมอร์
ประยกุ ต์และตอบแทนสังคม

ครูใหน้ กั เรียนแต่ละคนนำความรู้ที่เรียนไปค้นคว้าเพิ่มเตมิ ทหี่ ้องสมดุ หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน
ชนั้ เรยี น

8. สื่อการเรียนร้/ู แหล่งเรียนรู้
8.1 หนงั สอื เรียนรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ (วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 เลม่ 1

(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560)
8.2 อนิ เทอร์เน็ต
8.3 หอ้ งสมดุ
8.4 ใบกิจกรรม 3.2 เรือ่ ง สบื คน้ ขอ้ มลู สมบัตทิ างกายภาพของมอนอเมอรแ์ ละพอลิเมอร์

9. การวัดและประเมินผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้ วิธกี ารวดั เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมิน

ดา้ นความรู้ (K) 1) นกั เรยี นสามารถ
สรปุ ผลการสืบคน้
1) นักเรยี นสืบค้นข้อมลู และเปรียบเทยี บ 1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมนิ การ ข้อมลู ได้ระดับดี ผ่าน
เกณฑ์
สมบัติทางกายภาพระหว่างพอลิเมอรแ์ ละ 3.2 เรื่อง สืบคน้ ขอ้ มลู ทำกิจกรรม
1) นักเรยี นสามารถ
มอนอเมอรข์ องพอลิเมอร์ชนิดนัน้ ได้ สมบัตทิ างกายภาพของ 2) ใบกิจกรรม 3.2 บันทกึ ผลการสืบคน้
ข้อมลู ได้ระดับดี ผ่าน
มอนอเมอร์และ เรือ่ ง สบื คน้ ข้อมลู เกณฑ์

พอลเิ มอร์ สมบตั ิทางกายภาพ 1) นักเรยี นทำภาระ
งานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
ของมอนอเมอร์และ ได้ระดบั ดี ผา่ นเกณฑ์

พอลิเมอร์

ดา้ นกระบวนการ (P)

1) นักเรยี นสามารถทำกจิ กรรม 3.2 เรื่อง 1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมนิ การ

สบื ค้นขอ้ มลู สมบัติทางกายภาพของมอนอ 3.2 เรอ่ื ง สืบค้นขอ้ มลู ทำกิจกรรม

เมอรแ์ ละพอลเิ มอร์ได้ สมบัตทิ างกายภาพของ 2) ใบกจิ กรรม 3.2

มอนอเมอรแ์ ละ เรอ่ื ง สบื ค้นขอ้ มลู

พอลิเมอร์ สมบัติทางกายภาพ

ของมอนอเมอรแ์ ละ

พอลิเมอร์

ด้านคุณลักษณะ (A)

1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งม่ันในการ 1) ตรวจใบกจิ กรรม 1) แบบประเมนิ การ

ทำงาน 3.2 เรอ่ื ง สบื คน้ ขอ้ มูล ทำกิจกรรม

สมบัตทิ างกายภาพของ 2) ใบกจิ กรรม 3.2

มอนอเมอร์และ เรื่อง สืบคน้ ขอ้ มูล

พอลเิ มอร์ สมบัตทิ างกายภาพ

ของมอนอเมอร์และ

พอลิเมอร์

10. เกณฑก์ ารประเมินผลงานนกั เรียน

เกณฑ์การประเมนิ แบบ Rubrics ของการทำกจิ กรรม เรือ่ ง สมบตั ทิ างกายภาพของมอนอเมอร์และพอลิเมอร์

ประเดน็ การ คา่ น้ำหนกั แนวทางการให้คะแนน
ประเมนิ คะแนน

ด้านความรู้ 3 สรุปผลการสบื ค้นข้อมลู ได้ถูกตอ้ งครบถ้วน
(K) 2 สรุปผลการสืบค้นข้อมลู ได้ถูกตอ้ งบางส่วน
1 สรุปผลการสืบค้นข้อมูล แตไ่ ม่ถกู ต้อง

ดา้ น 3 บันทกึ ผลการสืบค้นขอ้ มลู ไดถ้ กู ตอ้ งครบถ้วน

กระบวนการ 2 บันทกึ ผลการสืบค้นข้อมลู ได้ถูกต้องบางส่วน

(P) 1 บันทกึ ผลการสืบค้นขอ้ มลู แต่ไม่ถกู ต้อง

ด้าน 3 ทำภาระงานทไ่ี ด้รับมอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด และเรยี บรอ้ ยถูกตอ้ งครบถว้ น

คณุ ลกั ษณะ 2 ทำภาระงานท่ไี ดร้ ับมอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด แต่งานยังผิดพลาดบางส่วน

(A) 1 ทำภาระงานท่ไี ด้รบั มอบหมายเสร็จ แต่ล่าช้า และเกดิ ขอ้ ผิดพลาดบางส่วน

ระดบั คะแนน 3 หมายถงึ ระดบั ดีมาก
คะแนน 2 หมายถึง ระดับดี
คะแนน 1 หมายถงึ ระดบั พอใช้
คะแนน

การประเมนิ การทำกจิ กรรม เรอ่ื ง สมบตั ิทางกายภาพของมอนอเมอรแ์ ละพอลเิ มอร์

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกลุ ด้านความรู้ ดา้ น ด้าน รวม ระดบั
(K) กระบวนการ คุณลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

ท่ี ชอ่ื - นามสกุล จุดประสงค์การเรยี นรู้ รวม ระดบั

ดา้ นความรู้ ดา้ น ด้าน คะแนน คณุ ภาพ

(K) กระบวนการ คุณลกั ษณะ
(P) (A)

3 3 39

29 9 หมายถงึ ระดบั ดีมาก
30 7-8 หมายถงึ ระดับดี
31 5-6 หมายถงึ ระดบั ปานกลาง
32 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรุง
33
34
35
36
37
38
39
40

ระดบั คณุ ภาพ
คะแนน
คะแนน
คะแนน
คะแนน

บันทึกหลังการสอน

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 3 เรื่อง อาหาร ใ
แผนการสอนท่ี 15 เร่ือง สมบัติทางกายภาพของมอนอเมอรแ์ ละพอลเิ มอร์ .

ใ เดอื น พ.ศ. ใ

วนั ที่

ผลการจัดการเรียนรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปัญหา / อปุ สรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ปญั หา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงช่ือ............................................ครผู ู้สอน ลงชื่อ.............................................หวั หน้ากลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธนิ ีย์ สรรเสริญ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

ใบกิจกรรม 3.2 เรื่อง สมบตั ทิ างกายภาพของมอนอเมอร์และพอลเิ มอร์

1. รายช่อื สมาชกิ ท่ี …………………………………………………….. ช้ัน …………………………………
ชือ่ ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชือ่ ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................
ช่อื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................

คำสง่ั สืบคน้ ข้อมลู เพอ่ื เปรียบเทียบสถานะและจดุ หลอมเหลวของมอนอเมอรก์ บั พอลเิ มอร์ที่เกดิ จากมอนอเมอรน์ ้ัน
จำนวน 3 คู่ แล้วนำมาอภิปรายแลกเปล่ยี นความรูร้ ่วมกัน

ผลการสบื ค้นขอ้ มูล

พอลเิ มอร์ จุดหลอมเหลว ชื่อ มอนอเมอร์ จดุ หลอมเหลว
(°C) สถานะ (°C)
ช่อื สถานะ เอทิลีน
โพรพิลีน
พอลิเอทิลนี ไวนิลคลอไรด์
พอลิโพรพิลนี
พอลไิ วนลิ คลอไรด์

สรปุ ผลการสืบค้นข้อมูล

พอลิเมอร์มจี ุดหลอมเหลวสูงกว่ามอนอเมอร์ พอลิเมอรท์ ส่ี ืบค้นมีสถานะเปน็ ของแข็ง และมอนอเมอร์มสี ถานะ

เปน็ แกส๊ ดังนนั ้พอลิเมอร์ทเ่ี กดิ จากมอนอเมอร์ มีสถานะต่างกนั ฃฃ

พอลิเมอร์มีจุดหลอมเหลวสูงกว่ามอนอเมอร์ นอกจากน้ีมอนอเมอร์และพอลิเมอร์ที่ เกิดจากมอนอเมอร์

มีสถานะตา่ งกนั v

เฉลยใบกิจกรรม 3.2 เร่ือง สมบัตทิ างกายภาพของมอนอเมอรแ์ ละพอลิเมอร์

1. รายชอ่ื สมาชิกท่ี …………………………………………………….. ชัน้ …………………………………
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................
ชอื่ ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชอื่ ……………………………………………………………………………....................................เลขท่ี...................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................

คำสง่ั สบื ค้นข้อมูลเพ่ือเปรียบเทยี บสถานะและจดุ หลอมเหลวของมอนอเมอรก์ ับพอลิเมอร์ท่ีเกดิ จากมอนอเมอรน์ ้นั
จำนวน 3 คู่ แล้วนำมาอภปิ รายแลกเปลยี่ นความรู้ร่วมกนั

ผลการสบื คน้ ข้อมูล

พอลิเมอร์ มอนอเมอร์

ช่ือ สถานะ จดุ หลอมเหลว ช่ือ สถานะ จุดหลอมเหลว
(°C) (°C)
พอลิเอทิลีน ของแข็ง เอทลิ ีน แกส๊
พอลิโพรพลิ ีน ของแข็ง 115-135 โพรพลิ ีน แกส๊ -169.15
พอลิไวนิลคลอไรด์ ของแขง็ 130-170 ไวนลิ คลอไรด์ แก๊ส -185.24
100-260 -153.84

สรุปผลการสืบค้นขอ้ มลู

พอลิเมอร์มจี ดุ หลอมเหลวสูงกวา่ มอนอเมอร์ พอลเิ มอร์ท่ีสืบค้นมีสถานะเป็นของแขง็ และมอนอเมอร์มีสถานะ

เปน็ แกส๊ ดงั นนั ้พอลิเมอร์ทเ่ี กดิ จากมอนอเมอร์ มีสถานะตา่ งกนั ฃฃ

พอลิเมอร์มีจุดหลอมเหลวสูงกว่ามอนอเมอร์ นอกจากน้ีมอนอเมอร์และพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์

มีสถานะต่างกัน v

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 16

เรอื่ ง โปรตนี

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์กายภาพ1 รหัสวิชา ว32101 เวลา 3 ชั่วโมง

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3 ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ อาหาร รวม 19 ช่ัวโมง

กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรียนที่ 1

บูรณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง  อาเซยี น  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน  มาตรฐานสากล  ข้ามกลมุ่ สาระ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกบั โครงสรา้ ง

และแรงยึดเหนยี่ วระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี

2. ตัวช้วี ัด
ว 2.1 ม.5/16 ระบสุ มบตั ิความเปน็ กรด-เบสจากโครงสรา้ งของสารประกอบอนิ ทรีย์

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นกั เรยี นระบสุ ารประกอบอินทรยี ม์ สี มบตั กิ รด-เบสจากสตู รโครงสร้างได้
3.2 ดา้ นกระบวนการ (P)
1) นกั เรียนสามารถจัดกระทำและส่ือความหมายของข้อมลู ทีศ่ ึกษาค้นควา้ ได้
3.3 ด้านคณุ ลกั ษณะ (A)
1) ใฝ่เรยี นร้แู ละเปน็ ผูม้ ีความมุ่งม่ันในการทำงาน

4. สาระสำคัญ
อาหารเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย์ โดยไขมัน คารโ์ บไฮเดรต โปรตีน และวิตามนิ เป็น

สารประกอบอนิ ทรีย์ สว่ นเกลือแร่เป็นไอออนหรอื สารประกอบไอออนกิ สารประกอบอินทรีย์เป็นสารประกอบของ
ธาตุคารบ์ อนซ่ึงอาจมีธาตุอ่ืนเป็นองค์ประกอบร่วมด้วย เช่น ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน ซัลเฟอร์ ไขมันมีท้ัง
ชนิดอ่ิมตัวและไม่อ่ิมตัวซึ่งพิจารณาได้จากชนิดพันธะระหว่างคาร์บอนอะตอมในกรดไขมัน ซึ่งใช้เกณฑ์เดียวกับ
สารประกอบไฮโดรเจนคาร์บอน คาร์โบไฮเดรตที่เป็นมอนอเมอร์และพอลิเมอร์มีสมบัติแตกต่างกัน โปรตีนเป็น
พอลิเมอร์ที่มีมอนอเมอร์เป็นกรดแอมิโนซ่ึงมีหมู่คาร์บอกซิล และหมู่อะมิโน จึงแสดงสมบัติความเป็นกรด-เบสได้
วิตามินแต่ละชนดิ มีสภาพขวั้ แตกตา่ งกนั ทำให้บางชนดิ ละลายได้ในนำ้ มัน บางชนิดละลายไดใ้ นนำ้ มนั ซ่งึ เปน็ ไปตาม
หลักการ like dissolves like ส่วนเกลอื แร่แต่ละชนิดมีประโยชน์ท่ีแตกต่างกัน บรรจุภัณฑ์สำหรับอาหารส่วนใหญ่
ทำมาจากพลาสติกซ่ึงเป็นพอลเิ มอร์สังเคราะห์ มีทั้งชนิดพอลิเมอร์เทอร์มอพลาสตกิ และพอลิเมอร์เทอรม์ อเซตซ่ึงใช้
งานได้แตกต่างกนั พลาสตกิ ยอ่ ยสลายไดย้ ากและมีการใชใ้ นปรมิ าณมาก จึงกอ่ ให้เกิดปัญหาขยะ การลดการใช้ การ
ใชซ้ ำ้ และการนำกลับมาใช้ใหม่ เป็นการชว่ ยปัญหาไดท้ างหนึง่

5. สาระการเรยี นรู้
5.1 ความรู้
โปรตีนเป็นสารอาหารท่ีให้พลังงานและมีบทบาทอ่ืนท่ีสำคัญในสิ่งมีชีวิต เช่น เป็นโครงสร้าง
กล้ามเนื้อ เอนไซม์ ฮอรโ์ มน ระบบภูมิคมุ้ กนั ของรา่ งกาย การขาดโปรตีนทำให้รา่ งกายอ่อนเพลียห มดแรง
และส่งผลใหเ้ กิดโรคต่าง ๆ อาหารท่ีมีโปรตนี สูงมีทั้งพชื และสัตว์ เช่น เนือ้ สตั ว์ ไข่ นม ชสี

รูป 3.10 แหลง่ อาหารทม่ี ีโปรตนี เปน็ องค์ประกอบหลัก
โปรตนี จัดเป็นพอลเิ มอรช์ นดิ หน่งึ ท่ีมีกรดแอมิโนเป็นมอนอเมอร์ โปรตนี แต่ละชนิดมลี ำดบั ของกรด
แอมิโนในสายพอลิเมอร์ท่ีแตกต่างกัน ตัวอย่างรูป 3.11 เม่ือรับประทานอาหารที่มีโปรตีนร่างกายจะย่อย
โปรตีนซ่ึงเป็นโมเลกุลขนาดใหญ่ให้มีขนาดเล็กลง จนได้เป็นกรดแอมิโนชนิดตา่ ง ๆ แล้วดูดซึมเขา้ สู่กระแส
เลือด

รปู 3.11 โมเลกลุ ของไมโอโกลบินในกลา้ มเน้ือ
ในธรรมชาติมีกรดแอมิโนจำนวนมากแต่กรดแอมิโนที่เป็นองค์ประกอบในร่างกายมนุษย์มี 20
ชนิด กรดแอมิโนท่ีร่างกายสังเคราะห์เองได้ เรียกว่า กรดแอมิโนไม่จำเป็น (non-essential amino
acid) แต่บางชนิดสังเคราะห์เองไม่ได้ ต้องได้รับจากการรับประทานอาหารเท่าน้ัน เรียกว่า กรดอะมิโน
จำเป็น (essential amino acid) โปรตีนจากเน้ือสัตว์ นม ไข่ มีกรดแอมิโนจำเป็นครบทุกชนิด ส่วน
โปรตีนจากพืชมีกรดแอมิโนจำเป็นไม่ครบหรือปริมาณน้อย เช่น ถั่วลิสงมีเมไทโอนีนน้อย ข้าวโพดมีทรป
โตเฟนนอ้ ย ขนมปังมีไลซนี น้อย ดังน้ันจึงควรบริโภคอาหารให้หลากหลายเพอ่ื ลดความเส่ยี งจากภาวะขาด
โปรตีน

กรดแอมิโนมีโครงสร้างโมเลกุลท่ีประกอบด้วยหมู่แอมิโน (-NH2) และหมู่คาร์บอกซิล (-COOH)
เช่อื มตอ่ กบั คาร์บอนท่ีมีหมู่แทนที่ (R) ซ่ึงกรดแอมโิ นแต่ละชนิดแตกตา่ งกนั ทีห่ มู่ R ตวั อย่างกรดแอมิโนบาง
ชนิดแสดง ดงั รูป 3.12

รปู 3.12 กรดแอมโิ นบางชนิด
กรดแอมิโนแสดงสมบัติเป็นได้ท้ังกรดและเบส เน่ืองจากมีหมู่คาร์บอกซิล (-COOH) ท่ีสมบัติเป็น
กรด และมีหมู่แอมิโน (-NH2) ท่ีสมบัติเป็นเบส ในทำนองเดียวกัน สารประกอบอินทรีย์ชนิดอื่นที่มีหมู่
คาร์บอกซิล (-COOH) เช่น กรดฟอร์มิก กรดแอซีติก กรดแลกติก สามารถแสดงสมบัติเป็นกรดได้
โดยสารประกอบอินทรีย์ท่ีมีหมู่แอมิโน (-NH2 , –NH-, –N-) เช่น พูเทรซีน เมลามีน แอมเฟตามีน อะดรี
นาลีน คลอเฟนิรามีน สามารถแสดงสมบัตเิ ปน็ เบสได้ ดงั รูป

รูป 3.13 สารประกอบอนิ ทรียท์ ี่มีสมบัติเปน็ กรด-เบสบางชนิด
5.2 กระบวนการ

1) ความสามารถในการสอ่ื สาร (อ่าน ฟัง พดู เขียน)
2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วิเคราะห์ จัดกล่มุ สรปุ )
3) ความสามารถในการแก้ปญั หา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ (ความรับผดิ ชอบ)
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ใชก้ ารสบื ค้นผา่ นโทรศพั ท์)

5.3 คุณลกั ษณะและค่านิยม
ใฝเ่ รียนรแู้ ละเป็นผมู้ ีความมงุ่ ม่นั ในการทำงาน

6. บรู ณาการ
-

7. กิจกรรมการเรยี นรู้
ข้ันท่ี 1 ขั้นสรา้ งความสนใจ
1.1 ครทู บทวนบทเรียน เรื่อง ไขมนั และคารโ์ บไฮเดรต
1.2 ครูใหน้ กั เรยี นยกตัวอย่างอาหารทม่ี โี ปรตนี เป็นองค์ประกอบ เชน่ เน้ือสัตว์ นม ไข่ เปน็ ต้น
1.3 ครนู ำเขา้ สู่บทเรียนโดยใหน้ ักเรยี นบอกความสำคัญของโปรตีน
1.4 ครูนำเขา้ สู่บทเรียนโดยต้ังคำถาม เพื่อนำเขา้ สู่กิจกรรม
1) กรดแอมิโนบางชนดิ รา่ งกายสังเคราะห์เองได้ เรยี กว่า
2) กรดแอมิโนบางชนิดรา่ งกายสังเคราะห์เองไม่ได้ เรียกวา่
3) กรดแอมิโนมโี ครงสร้างโมเลกลุ ทปี่ ระกอบดว้ ยอะไรบ้าง
4) โครงสร้างท่วั ไปของกรดแอมโิ นเป็นอยา่ งไร
5) กรดแอมิโนแสดงสมบตั เิ ปน็ กรดหรอื เบส

ขน้ั ที่ 2 ขนั้ สำรวจและค้นหา
2.1 ครใู ห้นกั เรียนทุกคนศึกษาคน้ ควา้ เร่ือง โปรตีน ตามรายละเอยี ดในหนงั สือเรยี น

หนา้ 70 - 73
2.2 นักเรยี นสรปุ องคค์ วามร้ทู ไ่ี ด้จากการศึกษาค้นควา้ ลงในกระดาษ A4 ในรปู แบบ

Mind mapping
2.3 นกั เรียนทำแบบฝกึ หัด 3.2 ในหนงั สือเรยี น หน้า 74 ลงในสมุด
2.4 นักเรยี นทำแบบฝึกหดั ท้ายบทท่ี 3 ขอ้ ท่ี 4-5 หน้า 92 ลงในสมุด

ข้นั ท่ี 3 ขัน้ อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ
3.1 ครนู ำนักเรียนอภิปรายเพื่อนำไปสูก่ ารสรุปโดยใช้คำถามตอ่ ไปนี้
1) แม้ว่าถว่ั หรือผกั บางชนิดมโี ปรตนี ในปริมาณสงู แตม่ กั พบว่าผู้ทบ่ี ริโภคเฉพาะ ถ่ัวและ

ผกั ยังเป็นโรคที่เกดิ จากภาวะขาดโปรตีนได้ นักเรียนคดิ ว่าเป็นเพราะเหตใุ ด (แนวการตอบ เพราะถว่ั ลิสง
มีเมไทโอนีนนอ้ ย ขา้ วโพดมีทรปโตเฟนนอ้ ย ดังนนั้ จึงควรบรโิ ภคอาหารใหห้ ลากหลายเพอ่ื ลดความเสีย่ ง
จากภาวะขาดโปรตีน)

2) กรดแอมโิ นบางชนิดรา่ งกายสังเคราะหเ์ องได้ เรียกวา่ (แนวการตอบ แอมิโนไม่จำเป็น
(non-essential amino acid))

3) กรดแอมโิ นบางชนิดร่างกายสังเคราะหเ์ องไมไ่ ด้ เรยี กวา่ (แนวการตอบ กรดอะมิโนจำเปน็
(essential amino acid))

4) กรดแอมิโนมีโครงสร้างโมเลกุลท่ีประกอบด้วยอะไรบา้ ง (แนวการตอบ กรดแอมโิ นมี
โครงสรา้ งโมเลกลุ ทปี่ ระกอบดว้ ยหมู่แอมโิ น (-NH2) และหมคู่ าร์บอกซิล (-COOH) เช่อื มตอ่ กับคารบ์ อนท่ีมี
หมแู่ ทนท่ี (R) ซงึ่ กรดแอมิโนแตล่ ะชนิดแตกตา่ งกันท่หี มู่ R)

5) กรดแอมโิ นแสดงสมบัติเปน็ กรดหรือเบส (แนวการตอบ กรดแอมิโนแสดงสมบัติเป็นได้
ท้งั กรดและเบส เนือ่ งจากมหี มคู่ าร์บอกซลิ (-COOH) ท่ีสมบตั ิเป็นกรด และมหี มแู่ อมโิ น (-NH2) ที่สมบตั ิ
เป็นเบส)

3.2 ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรุปเน้อื หา เรอ่ื ง ไขมนั ดังนี้
1) กรดแอมโิ นท่ีรา่ งกายสงั เคราะห์เองได้ เรียกวา่ กรดแอมโิ นไม่จำเป็น (non-

essential amino acid) แต่บางชนิดสังเคราะห์เองไม่ได้ ต้องไดร้ ับจากการรับประทานอาหารเท่านน้ั
เรียกว่า กรดอะมโิ นจำเป็น (essential amino acid) โปรตนี จากเน้ือสตั ว์ นม ไข่ มีกรดแอมิโนจำเป็น
ครบทกุ ชนิด ส่วนโปรตนี จากพชื มกี รดแอมิโนจำเปน็ ไมค่ รบหรอื ปรมิ าณนอ้ ย เช่น ถว่ั ลิสงมเี มไทโอนนี นอ้ ย
ขา้ วโพดมที รปโตเฟนน้อย ขนมปังมไี ลซนี นอ้ ย ดงั น้ันจงึ ควรบริโภคอาหารให้หลากหลายเพอ่ื ลดความเสย่ี ง
จากภาวะขาดโปรตนี

2) กรดแอมโิ นมโี ครงสรา้ งโมเลกุลทป่ี ระกอบดว้ ยหมู่แอมิโน (-NH2) และหมคู่ าร์บอกซิล
(-COOH) เช่ือมตอ่ กับคารบ์ อนทม่ี หี มู่แทนที่ (R) ซ่ึงกรดแอมิโนแตล่ ะชนิดแตกต่างกนั ทหี่ มู่ R

3) กรดแอมิโนแสดงสมบัติเปน็ ได้ทั้งกรดและเบส เนือ่ งจากมีหมคู่ ารบ์ อกซลิ (-COOH) ที่
สมบัตเิ ป็นกรด และมีหมู่แอมโิ น (-NH2) ที่สมบัตเิ ป็นเบส

ขัน้ ที่ 4 ขนั้ ขยายความรู้
4.1 ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสารประกอบอินทรีย์ชนิดอ่ืนที่มีหมู่คาร์บอกซิล (-COOH) และ

สารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่แอมิโน
สารประกอบอินทรียช์ นิดอน่ื ที่มหี มู่คารบ์ อกซลิ (-COOH) เช่น กรดฟอรม์ ิก กรดแอซตี กิ

กรดแลกติก สามารถแสดงสมบัติเปน็ กรดได้ โดยสารประกอบอนิ ทรยี ท์ ่มี หี มู่แอมโิ น (-NH2 , –NH-, –N-)
เช่น พเู ทรซนี เมลามีน แอมเฟตามีน อะดรนี าลนี คลอเฟนริ ามีน สามารถแสดงสมบัติเป็นเบสได้

ขนั้ ที่ 5 ข้นั ประเมินผล
5.1 ครตู รวจ Mind mapping เรื่อง โปรตนี ของนักเรยี น
5.2 ครตู รวจสมดุ ของนกั เรยี นในการทำแบบฝึกหดั 3.2
5.3 ครตู รวจสมุดของนกั เรียนในการทำแบบฝกึ หดั ทา้ ยบทท่ี 3 ข้อท่ี 4-5

ประยุกต์และตอบแทนสงั คม
ครใู ห้นกั เรียนแต่ละคนนำความรู้ที่เรียนไปค้นควา้ เพม่ิ เติมทหี่ ้องสมดุ หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ชน้ั เรยี น

8. สอื่ การเรยี นร้/ู แหลง่ เรียนรู้
8.1 หนงั สือเรยี นรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ (วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 เล่ม 1

(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 ใบกิจกรรม Mind mapping เร่ือง โปรตนี
8.3 อินเทอรเ์ น็ต หรอื หอ้ งสมุด

9. การวดั และประเมนิ ผล

จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวัด เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมนิ

ด้านความรู้ (K) 1) แบบประเมินการ 1) นักเรียนทำ
ทำกจิ กรรม แบบฝึกหัด 3.2 และ
1) นักเรยี นระบสุ ารประกอบอินทรยี ม์ ีสมบตั ิ 1) ตรวจแบบฝึกหัด 2) แบบฝึกหัด 3.2 แบบฝึกหัดทา้ ยบทท่ี
และแบบฝึกหัดทา้ ย 3 ขอ้ ท่ี 4-5 ไดร้ ะดบั
กรด-เบสจากสูตรโครงสรา้ งได้ 3.2 และแบบฝึกหัด บทท่ี 3 ข้อท่ี 4-5 ดี ผา่ นเกณฑ์

ท้ายบทท่ี 3 ขอ้ ที่ 4-5 1) แบบประเมินการ 1) นกั เรียนสามารถ
ทำกิจกรรม สรุปเนอื้ หาทีไ่ ดจ้ าก
ด้านกระบวนการ (P) 1) ตรวจ Mind 2) Mind mapping การศึกษาคน้ คว้า
1) นกั เรียนสามารถจัดกระทำและสอื่ mapping เร่อื ง เรือ่ ง โปรตนี ได้ระดับดี ผ่านเกณฑ์
ความหมายของข้อมลู ท่ีศึกษาค้นควา้ ได้ โปรตนี
1) แบบประเมนิ การ 1) นกั เรียนทำภาระ
ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A) ทำกิจกรรม งานทไี่ ด้รับมอบหมาย
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งม่ันในการ 1) ตรวจ Mind 2) Mind mapping ได้ระดบั ดี ผ่านเกณฑ์
ทำงาน mapping เรอื่ ง เรอื่ ง โปรตนี
3) แบบฝึกหดั 3.2
โปรตนี และแบบฝึกหัดท้าย
2) ตรวจแบบฝกึ หดั บทท่ี 3 ขอ้ ที่ 4-5
3.2 และแบบฝึกหดั
ท้ายบทที่ 3 ข้อที่ 4-5

10. เกณฑ์การประเมินผลงานนักเรยี น
เกณฑ์การประเมินแบบ Rubrics ของการทำกจิ กรรม เร่อื ง โปรตีน

ประเดน็ การ คา่ นำ้ หนกั แนวทางการใหค้ ะแนน
ประเมนิ คะแนน

ดา้ นความรู้ 3 ทำแบบฝึกหดั 3.2 และแบบฝกึ หดั ทา้ ยบทที่ 3 ขอ้ ที่ 4-5 ได้ถูกต้องครบถ้วน
(K) จำนวน 7-9 ข้อ

2 ทำแบบฝกึ หัด 3.2 และแบบฝกึ หดั ท้ายบทท่ี 3 ข้อท่ี 4-5 ไดถ้ กู ต้องครบถ้วน
จำนวน 4-6 ข้อ

1 ทำแบบฝึกหัด 3.2 และแบบฝึกหดั ทา้ ยบทท่ี 3 ขอ้ ที่ 4-5 ไดถ้ กู ตอ้ งครบถ้วน
จำนวน 1-3 ข้อ หรือไม่ถกู ตอ้ ง

ดา้ น 3 สรปุ เนื้อหา เรือ่ ง โปรตนี ได้ถูกต้องครบถ้วน
กระบวนการ 2 สรุปเน้อื หา เรอ่ื ง โปรตีนไดค้ ่อนขา้ งถูกตอ้ งครบถ้วน

(P) 1 สรปุ เนือ้ หา เร่ือง โปรตนี ได้ แตไ่ ม่ครบถว้ น

ด้าน 3 ทำภาระงานที่ไดร้ บั มอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด และเรยี บร้อยถกู ตอ้ งครบถ้วน
คณุ ลักษณะ 2 ทำภาระงานท่ไี ด้รบั มอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด แต่งานยงั ผดิ พลาดบางสว่ น
1 ทำภาระงานทไ่ี ด้รับมอบหมายเสรจ็ แต่ล่าช้า และเกิดขอ้ ผดิ พลาดบางสว่ น
(A)

ระดับคะแนน 3 หมายถึง ระดับดีมาก
คะแนน 2 หมายถึง ระดบั ดี
คะแนน 1 หมายถึง ระดับพอใช้
คะแนน

หมายเหตุ แบบฝึกหัด 3.2 มี 7 ขอ้ ยอ่ ย และแบบฝกึ หดั ทา้ ยบทท่ี 3 มี 2 ข้อ รวมท้งั หมด 9 ขอ้

การประเมินการทำกจิ กรรม เรื่อง โปรตนี

จุดประสงค์การเรียนรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกลุ ด้านความรู้ ด้าน ดา้ น รวม ระดบั
(K) กระบวนการ คณุ ลักษณะ คะแนน คุณภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถงึ ระดับดมี าก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 5-6 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรงุ
คะแนน

บันทึกหลงั การสอน

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เรื่อง อาหาร พ.ศ. ใ
แผนการสอนท่ี 16 เร่ือง โปรตนี .

ใ เดือน ใ

วันที่

ผลการจดั การเรยี นรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปัญหา / อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกป้ ัญหา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชอื่ ............................................ครผู ู้สอน ลงช่ือ.............................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธินีย์ สรรเสรญิ ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17

เรื่อง วติ ามนิ และเกลอื แร่

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์กายภาพ1 รหัสวชิ า ว32101 เวลา 2 ชั่วโมง

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3 ช่อื หน่วยการเรียนรู้ อาหาร รวม 19 ชวั่ โมง

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1

บรู ณาการ

 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง  อาเซยี น  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น  มาตรฐานสากล  ข้ามกลุม่ สาระ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 2.1 เขา้ ใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสมบัติของสสารกับโครงสร้าง

และแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี

2. ตวั ช้ีวัด
ว 2.1 ม.5/17 อธบิ ายสมบตั ิการละลายในตวั ทำละลายชนิดตา่ งๆ ของสาร

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นักเรยี นอธบิ ายสมบัตกิ ารละลายในตวั ทำละลายชนิดตา่ งๆ ของสารได้
3.2 ดา้ นกระบวนการ (P)
1) นักเรยี นสามารถเขียนสูตรโครงสรา้ งของวิตามนิ ท่กี ำหนดให้ได้
3.3 ดา้ นคุณลักษณะ (A)
1) ใฝ่เรยี นรู้และเป็นผูม้ คี วามมงุ่ ม่นั ในการทำงาน

4. สาระสำคญั
อาหารเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย์ โดยไขมัน คารโ์ บไฮเดรต โปรตีน และวิตามนิ เป็น

สารประกอบอินทรีย์ สว่ นเกลอื แร่เปน็ ไอออนหรือสารประกอบไอออนิก สารประกอบอินทรีย์เป็นสารประกอบของ
ธาตุคารบ์ อนซึ่งอาจมีธาตุอื่นเป็นองค์ประกอบร่วมด้วย เช่น ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน ซัลเฟอร์ ไขมันมีท้ัง
ชนิดอ่ิมตัวและไม่อ่ิมตัวซ่ึงพิจารณาได้จากชนิดพันธะระหว่างคาร์บอนอะตอมในกรดไขมัน ซึ่งใช้เกณฑ์เดียวกับ
สารประกอบไฮโดรเจนคาร์บอน คาร์โบไฮเดรตที่เป็นมอนอเมอร์และพอลิเมอร์มีสมบัติแตกต่างกัน โปรตีนเป็น
พอลิเมอร์ท่ีมีมอนอเมอร์เป็นกรดแอมิโนซ่ึงมีหมู่คาร์บอกซิล และหมู่อะมิโน จึงแสดงสมบัติความเป็นกรด-เบสได้
วิตามนิ แตล่ ะชนดิ มีสภาพขว้ั แตกตา่ งกนั ทำให้บางชนดิ ละลายได้ในนำ้ มัน บางชนิดละลายไดใ้ นน้ำมนั ซง่ึ เปน็ ไปตาม
หลักการ like dissolves like ส่วนเกลือแร่แต่ละชนิดมีประโยชน์ที่แตกต่างกัน บรรจุภัณฑ์สำหรับอาหารส่วนใหญ่
ทำมาจากพลาสติกซึ่งเป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ มีทงั้ ชนิดพอลิเมอร์เทอรม์ อพลาสติกและพอลิเมอร์เทอรม์ อเซตซึ่งใช้
งานได้แตกต่างกัน พลาสตกิ ย่อยสลายไดย้ ากและมีการใชใ้ นปรมิ าณมาก จงึ ก่อให้เกิดปัญหาขยะ การลดการใช้ การ
ใชซ้ ้ำ และการนำกลบั มาใช้ใหม่ เป็นการชว่ ยปญั หาได้ทางหนง่ึ

5. สาระการเรยี นรู้
5.1 ความรู้
ร่างกายตอ้ งการวิตามินและเกลือแร่เพ่ือให้การทำงานของระบบตา่ ง ๆ เป็นไปอย่างปกติ อาหารที่
มีไขมันและคาร์โบไฮเดรตสูงมักมีวิตามินและเกลือแร่ในปริมาณที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
มนุษย์จงึ จำเป็นต้องได้รบั วิตามินและเกลือแร่เพ่ิมเตมิ จากอาหารอ่ืน เช่น ผัก ผลไม้ เน้ือสัตว์บางชนิด เช่น
เหล็ก แคลเซยี ม
วิตามนิ เป็นสารประกอบอนิ ทรีย์ มีความจำเป็นต่อกระบวนการต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น วิตามิน A
ช่วยเร่ืองการมองเห็น วิตามนิ C ช่วยป้องกนั โรคลกั ปดิ ลักเปิด วติ ามนิ D ช่วยเสรมิ สร้างความแข็งแรงของ
กระดูก วิตามิน K ช่วยในการแข็งตัวของเลือด วิตามินบางชนิดละลายในน้ำ เช่น วิตามิน C วิตามิน B1
แต่ละชนิดละลายในไขมัน ได้แก่ วิตามิน A วิตามิน D วิตามิน E และวิตามิน K ดังน้ันการไม่รับประทาน
ไขมนั เลย อาจทำใหเ้ ปน็ โรคทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การขาดวิตามนิ ดว้ ย

รปู 3.15 สตู รโครงสร้างของวติ ามิน B1 C A และ D

จากรูป 3.15 เม่ือพิจารณาโครงสร้างของวิตามิน C พบว่าเป็นโมเลกุลท่ีมีหมู่ไฮดรอกซิล (-OH)
หลายหมู่ซึ่งเกิดพันธะไฮโดรเจนกับน้ำได้ ส่วนวิตามิน B1 นอกจากมีหมู่ไฮดรอกซิลและหมู่แอมิโนท่ีเกิด
พันธะไฮโดรเจนกับนำ้ ได้แลว้ โครงสร้างยงั มปี ระจุท่ีชว่ ยทำให้ละลายในน้ำได้ดีขน้ึ โดยการแตกตวั วติ ามิน C
และ B1 จึงละลายในน้ำได้ ในทางตรงกันข้ามวิตามิน A และ D ถึงแม้จะมีหมู่ไฮดรอกซิล แต่โครงสร้างมี
ส่วนที่เป็นไฮโดรคาร์บอนอยู่มาก ทำให้เป็นสารที่มีข้ัวน้อย จึงละลายในน้ำได้ไม่ดีแต่ละลายได้ดีในไขมัน
ซ่ึงโครงสรา้ งมีสว่ นที่เปน็ ไฮโดรคาร์บอนอยมู่ าก

สมบัติการละลายของวิตามนิ ดังที่กลา่ วมาขา้ งต้น เป็นไปตามหลักการท่เี รยี กว่า “like dissolves
like” คือ สารละลายได้ในตัวทำละลายท่ีมีข้ัวใกล้เคียงกัน เน่ืองจากมีแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุล
ประเภทเดียวกัน นอกจากนี้การละลายของสารประกอบประเภทอ่ืน เช่น กลูโคสละลายในน้ำ เมนทอล
ละลายในน้ำมนั น้ำมนั ไมล่ ะลายในน้ำก็เปน็ ไปตามหลกั การเช่นกัน

หลักการ like dissolves like นำมาใช้เป็นแนวทางในการเลือกตัวทำละลายสำหรับการสกัด
สารประกอบอินทรีย์ทีไ่ ม่มีขั้วซง่ึ ละลายน้ำได้นอ้ ยจากพืช เชน่ การสกัดสาระสำคญั จากสมนุ ไพรด้วยน้ำมัน
หรอื ขีผ้ ง้ึ การสกัดกลิ่นน้ำหอมจากดอกไมบ้ างชนิดดว้ ยเอทานอลซ่งึ มขี ้ัวน้อยกว่าน้ำ

หลักการ like dissolves like ยังใช้อธิบายกลไกการซักล้างคราบไคลและไขมัน ของสบู่
ผงซักฟอกนำ้ ยาลา้ งจาน โดยโมเลกลุ ของสารเหล่าน้มี ที ้งั ส่วนมีข้วั หรือไมม่ ีขัว้ ซ่งึ สว่ นไม่มีขัว้ ทำหนา้ ท่ีห่อหุ้ม

ไขมันและสารทีม่ ีขว้ั หันเข้าหาโมเลกลุ เกิดเปน็ ไมเซลล์ (micelle) ที่กระจายตัวในนำ้ ได้ของผสมระหวา่ ง
น้ำและไขมันที่เรียกว่า อีมัลชัน (emulsion) ของผสมท่ีเป็นอีมัลชันยังพบเห็นได้ท่ัวไปในชีวิตประจำวัน
เช่น น้ำนมนำ้ สลดั ครีมทาผวิ

รูป 3.18 การเกดิ ไมเซลล์ในกระบวนการขจัดคราบน้ำมัน
5.2 กระบวนการ

1) ความสามารถในการสือ่ สาร (อ่าน ฟงั พดู เขียน)
2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วเิ คราะห์ จัดกลมุ่ สรุป)
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ (ความรับผิดชอบ)
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ใชก้ ารสืบค้นผ่านโทรศพั ท์)
5.3 คณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ ม
ใฝเ่ รียนรู้และเป็นผู้มีความมงุ่ มน่ั ในการทำงาน
6. บรู ณาการ
-
7. กจิ กรรมการเรียนรู้
ขั้นท่ี 1 ขนั้ สร้างความสนใจ
1.1 ครทู บทวนบทเรียน เรอื่ ง สมบตั คิ วามเปน็ กรด-เบสของโปรตีน
1.2 ครูนำเขา้ สบู่ ทเรียน โดยกล่าวว่า นอกจากไขมัน คารโ์ บไฮเดรต และโปรตนี ซ่ึงเปน็ สารที่ให้
พลังงานแกร่ ่างกายกายแล้ว รา่ งกายยงั ต้องการการวิตามินและเกลอื แร่ใหก้ ารทำงานของระบบต่างๆ
เป็นไปอยา่ งปกติ
1.3 ครนู ำเขา้ สู่บทเรยี นโดยตั้งคำถาม เพอ่ื นำเขา้ สู่กิจกรรม

1) นักเรียนจำได้หรือไม่วา่ วิตามินใดบางละลายในไขมัน
2) นักเรียนจำได้หรือไม่วา่ วิตามินใดบางละลายในนำ้
3) นกั เรียนทราบหรอื ไม่ว่าวติ ามินแต่ละชนิดมปี ระโยชนอ์ ย่างไร

4) โมเลกุลของวิตามนิ ที่ละลายในน้ำควรมีลักษณะอย่างไรและแตกตา่ งจากผลของวติ ามิน
ที่ละลายในไขมนั อย่างไร

5) นักเรียนเขียนสูตรโครงสร้างของวิตามินที่ละลายน้ำและวิตามินละลายในไขมันได้
หรือไม่

6) นักเรียนรู้จักหลกั การ like dissolves like หรือไม่

ข้ันท่ี 2 ขัน้ สำรวจและคน้ หา
2.1 ครูใหน้ ักเรียนทกุ คนศกึ ษาค้นควา้ เรอ่ื ง วติ ามินละเกลือ, สตู รโครงสรา้ งของวติ ามนิ ในหนงั สือ

เรยี น หน้า 75 - 79
2.2 นกั เรยี นทำใบงาน เรือ่ ง สูตรโครงสร้างของวติ ามิน
2.3 นักเรียนทำแบบฝึกหัด 3.3 และ 3.4 ในหนังสือเรยี น หนา้ 77-79 ลงในสมดุ

ขั้นที่ 3 ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ
3.1 ครูนำนักเรียนอภปิ รายเพอื่ นำไปสู่การสรปุ โดยใช้คำถามตอ่ ไปน้ี
1) วิตามนิ ใดบางละลายในไขมัน (แนวการตอบ วิตามนิ A D E และ K)
2) วิตามินใดบางละลายในน้ำ (แนวการตอบ วิตามนิ C และ B1)
3) โมเลกลุ ของวิตามินทีล่ ะลายในนำ้ ควรมีลกั ษณะอยา่ งไรและแตกตา่ งจากผลของวิตามินท่ี

ละลายในไขมันอยา่ งไร (แนวการตอบ โมเลกุลของวติ ามินท่ีละลายในในนำ้ แตกตา่ งจากโมเลกลุ ของวิตามนิ ที่
ละลายในไขมัน คอื มปี ระจุหรือมหี มทู่ ี่สามารถเกิดพนั ธะไฮโดรเจนกบั น้ำไดห้ ลายหมู)

4) จงอธิบายความหมายของหลกั การ like dissolves like (แนวการตอบ สารละลายได้
ในตัวทำละลายทม่ี ีขั้วใกลเ้ คยี งกัน เนอ่ื งจากมีแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งโมเลกลุ ประเภทเดยี วกัน)

3.2 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนอ้ื หา เร่ือง วติ ามินและเกลือแร่ ดงั นี้
1) โครงสรา้ งของวิตามนิ ที่ละลายน้ำได้ เชน่ วติ ามิน B1 และ C มปี ระจุ หรอื มหี มทู่ เ่ี กิด

พนั ธะไฮโดรเจนกับนำ้ ได้หลายหมู่ เช่น หมไู่ ฮดรอกซิล (–OH) หมแู่ อมโิ น (–NH2) ในทางตรงกนั ข้ามวติ ามิน
ทล่ี ะลายในไขมัน เชน่ วิตามิน A และ D มโี ครงสร้างส่วนใหญ่เป็นไฮโดรคารบ์ อน

2) หลักการ like dissolves like คอื สารละลายไดใ้ นตวั ทำละลายท่ีมีขว้ั ใกลเ้ คยี งกนั
เนือ่ งจากมีแรงยดึ เหน่ียวระหว่างโมเลกุลประเภทเดียวกัน นอกจากนี้การละลายของสารประกอบประเภท
อื่น เชน่ กลโู คสละลายในนำ้ เมนทอลละลายในน้ำมนั นำ้ มันไม่ละลายในนำ้

ขั้นท่ี 4 ขัน้ ขยายความรู้
4.1 ครใู หค้ วามรู้เพิม่ เตมิ เกยี่ วกับเหตกุ ารณ์ สถานการณ์ ท่ีมีความสัมพนั ธ์กับหลักการ

like dissolves like หรอื การนำหลกั การดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวันหรืออตุ สาหกรรม เชน่
การล้างสี ทาเล็บดว้ ยน้ำ ยาลา้ งเล็บท่ีมตี ัวทำละลายอินทรยี ์เป็นองคป์ ระกอบ การเชด็ ล้างเคร่ืองสำอางดว้ ย
ครีม ที่มีน้ำมันเปน็ องคป์ ระกอบ การสกัดสารสำคัญจากสมุนไพรด้วยนำ้ มันหรอื ข้ีผ้ึง การสกดั กลนิ่ นำ้ หอม
จากดอกไมบ้ างชนิดดว้ ยเอทานอล

4.2 ครูใหค้ วามรู้เพ่มิ เติมเก่ียวกบั หลกั การ like dissolves like ยังใชอ้ ธิบายกลไกการซกั ล้างคราบ
ไคลและไขมันของสบู่ ผงซกั ฟอกนำ้ ยาล้างจาน โดยโมเลกลุ ของสารเหลา่ นี้มีทง้ั ส่วนมีข้วั หรือไม่มขี วั้ ซ่ึงส่วน

ไมม่ ขี ้วั ทำหน้าท่ีห่อหมุ้ ไขมนั และสารทมี่ ีขัว้ หันเขา้ หาโมเลกลุ เกิดเป็นไมเซลล์ (micelle) ที่กระจายตวั ใน
น้ำ ได้ของผสมระหว่างนำ้ และไขมนั ท่ีเรยี กวา่ อมี ลั ชัน (emulsion) ของผสมทเี่ ป็นอีมัลชนั ยังพบเหน็ ได้
ท่ัวไปในชวี ิตประจำวัน เช่น นำ้ นมนำ้ สลัด ครมี ทาผิว

ขนั้ ท่ี 5 ขน้ั ประเมินผล
5.1 ครูตรวจใบงาน เร่ือง สตู รโครงสรา้ งของวิตามิน
5.2 ครตู รวจสมดุ ของนกั เรยี นในการทำแบบฝึกหดั 3.3 และ 3.4

ประยุกตแ์ ละตอบแทนสังคม
ครใู ห้นกั เรียนแต่ละคนนำความรู้ท่ีเรียนไปค้นควา้ เพมิ่ เตมิ ทห่ี ้องสมดุ หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ชนั้ เรยี น

8. สื่อการเรยี นร้/ู แหล่งเรียนรู้
8.1 หนังสือเรยี นรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ (วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ) ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 เลม่ 1

(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560)
8.2 ใบงาน เรื่อง สูตรโครงสร้างของวติ ามนิ
8.3 อนิ เทอร์เน็ต
8.4 หอ้ งสมดุ

9. การวดั และประเมินผล

จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ ีการวดั เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมนิ

ดา้ นความรู้ (K)

1) นกั เรียนอธบิ ายสมบตั กิ ารละลายในตวั ทำ 1) ตรวจแบบฝกึ หดั 1) แบบประเมนิ การ 1) นกั เรยี นทำ
ทำกิจกรรม แบบฝกึ หัด 3.3 และ
ละลายชนดิ ต่างๆ ของสารได้ 3.3 และ 3.4 2) แบบฝกึ หัด 3.3 3.4 ไดร้ ะดับดี ผ่าน
และ 3.4 เกณฑ์

ด้านกระบวนการ (P) 1) ตรวจใบงาน เร่ือง 1) แบบประเมินการ 1) นกั เรยี นสามารถ
1) นกั เรยี นสามารถเขยี นสตู รโครงสร้างของ สูตรโครงสรา้ งของ
วิตามินท่กี ำหนดใหไ้ ด้ วิตามิน ทำกิจกรรม เขียนสตู รโครงสร้าง

2) ใบงาน เร่อื ง สตู ร ของวติ ามนิ ท่ี

โครงสรา้ งของวติ ามิน กำหนดให้

ไดร้ ะดับดี ผ่านเกณฑ์

ด้านคุณลักษณะ (A) 1) แบบประเมนิ การ 1) นักเรยี นทำภาระ
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการ 1) ตรวจ Mind
ทำงาน mapping เร่ือง ไขมัน ทำกิจกรรม งานท่ีไดร้ ับมอบหมาย

2) ตรวจแบบฝึกหัด 2) แบบฝึกหัด 3.3 ได้ระดบั ดี ผ่านเกณฑ์
3.3 และ 3.4
3) ตรวจใบงาน เร่อื ง และ 3.4
สูตรโครงสร้างของ
วติ ามิน 3) ใบงาน เร่อื ง สตู ร

โครงสร้างของวิตามิน

10. เกณฑ์การประเมนิ ผลงานนักเรยี น
เกณฑก์ ารประเมินแบบ Rubrics ของการทำกิจกรรม เรอ่ื ง วติ ามนิ และเกลือแร่

ประเด็นการ ค่าน้ำหนกั แนวทางการให้คะแนน
ประเมิน คะแนน

ด้านความรู้ 3 ทำแบบฝกึ หดั 3.3 และ 3.4 ได้ถกู ตอ้ งครบถว้ น จำนวน 2 ข้อ
(K) 2 ทำแบบฝกึ หดั 3.3 และ 3.4 ไดถ้ กู ต้องครบถว้ น จำนวน 1 ขอ้

1 ทำแบบฝกึ หดั 3.3 และ 3.4 แต่ไม่ถกู ต้อง
ดา้ น 3 สามารถเขียนสูตรโครงสรา้ งของวติ ามนิ ทก่ี ำหนดให้ได้ถูกต้องครบถว้ น จำนวน 5-6 ข้อ
กระบวนการ 2 สามารถเขยี นสตู รโครงสรา้ งของวิตามนิ ท่กี ำหนดให้ได้ถูกต้องครบถ้วน จำนวน 3-4 ขอ้
(P) 1 สามารถเขียนสูตรโครงสรา้ งของวติ ามินที่กำหนดให้ไดถ้ ูกตอ้ งครบถ้วน จำนวน 1-2 ข้อ

หรือไมถ่ กู ตอ้ ง
ดา้ น 3 ทำภาระงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาท่ีกำหนด และเรยี บร้อยถูกต้องครบถ้วน
คณุ ลักษณะ 2 ทำภาระงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาท่ีกำหนด แต่งานยงั ผดิ พลาดบางสว่ น
(A) 1 ทำภาระงานที่ไดร้ บั มอบหมายเสร็จ แต่ลา่ ช้า และเกดิ ขอ้ ผดิ พลาดบางสว่ น

ระดับคะแนน 3 หมายถงึ ระดับดีมาก
คะแนน 2 หมายถงึ ระดับดี
คะแนน 1 หมายถึง ระดบั พอใช้
คะแนน

การประเมินการทำกิจกรรม เรื่อง วติ ามินและเกลือแร่

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

ท่ี ชอ่ื - นามสกุล ด้านความรู้ ดา้ น ด้าน รวม ระดบั
(K) กระบวนการ คุณลักษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถงึ ระดับดีมาก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 5-6 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรงุ
คะแนน

บันทกึ หลงั การสอน

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เร่ือง อาหาร พ.ศ. ใ
แผนการสอนท่ี 17 เรอ่ื ง วิตามินและเกลือแร่ .

ใ เดอื น ใ

วนั ท่ี

ผลการจัดการเรียนรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปญั หา / อปุ สรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ปญั หา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงช่อื ............................................ครผู ูส้ อน ลงชื่อ.............................................หวั หน้ากลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธินยี ์ สรรเสรญิ ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

ชื่อ ช้ัน เลขที่ ‘

ใบงาน เร่ือง สูตรโครงสรา้ งของวติ ามนิ

คำส่ัง ให้นกั เรียนศกึ ษาเนือ้ หาเก่ียวกับสูตรโครงสรา้ งวิตามนิ ในหนังสือเรยี น แลว้ เขียนสูตรโครงสรา้ งของวติ ามนิ ที่
กำหนดให้ให้ถกู ตอ้ ง

วิตามนิ B1 (thiamine) วติ ามนิ C (ascorbic acid)

วติ ามิน A วิตามิน D

วติ ามนิ K
วิตามนิ E

ชือ่ ชนั้ เลขที่ ‘

เฉลยใบงาน เรือ่ ง สตู รโครงสร้างของวิตามิน

คำส่ัง ให้นกั เรยี นศึกษาเนอ้ื หาเกี่ยวกบั สตู รโครงสร้างวติ ามนิ ในหนงั สือเรยี น แล้วเขยี นสูตรโครงสร้างของวิตามนิ ท่ี
กำหนดให้ให้ถกู ตอ้ ง

วิตามิน B1 (thiamine) วติ ามนิ C (ascorbic acid)

วติ ามิน A วติ ามนิ D

วติ ามนิ K
วติ ามนิ E

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 18

เรอื่ ง ข้อมูลโภชนาการบนฉลากอาหาร

รายวชิ าวิทยาศาสตร์กายภาพ1 รหสั วชิ า ว32101 เวลา 2 ชั่วโมง

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ อาหาร รวม 19 ชั่วโมง

กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1

บรู ณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง  อาเซียน  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น  มาตรฐานสากล  ขา้ มกลุ่มสาระ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พันธร์ ะหว่างสมบัตขิ องสสารกบั โครงสร้าง

และแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี

2. ตวั ช้ีวัด
ว 2.1 ม.5/17 อธบิ ายสมบัติการละลายในตวั ทำละลายชนิดตา่ งๆ ของสาร

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ (K)
1) นักเรยี นอธบิ ายเกี่ยวกับข้อมูลโภชนาการบนฉลากอาหารได้
3.2 ด้านกระบวนการ (P)
-
3.3 ดา้ นคุณลักษณะ (A)
1) ใฝ่เรียนรแู้ ละเป็นผู้มคี วามมงุ่ มนั่ ในการทำงาน

4. สาระสำคญั
อาหารเปน็ ปัจจัยสำคัญสำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย์ โดยไขมัน คารโ์ บไฮเดรต โปรตีน และวิตามนิ เป็น

สารประกอบอนิ ทรีย์ สว่ นเกลือแร่เป็นไอออนหรอื สารประกอบไอออนกิ สารประกอบอินทรีย์เป็นสารประกอบของ
ธาตุคารบ์ อนซ่ึงอาจมีธาตุอ่ืนเป็นองค์ประกอบร่วมด้วย เช่น ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน ซัลเฟอร์ ไขมันมีทั้ง
ชนิดอ่ิมตัวและไม่อ่ิมตัวซึ่งพิจารณาได้จากชนิดพันธะระหว่างคาร์บอนอะตอมในกรดไขมัน ซ่ึงใช้เกณฑ์เดียวกับ
สารประกอบไฮโดรเจนคาร์บอน คาร์โบไฮเดรตท่ีเป็นมอนอเมอร์และพอลิเมอร์มีสมบัติแตกต่างกัน โปรตีนเป็น
พอลิเมอร์ท่ีมีมอนอเมอร์เป็นกรดแอมิโนซ่ึงมีหมู่คาร์บอกซิล และหมู่อะมิโน จึงแสดงสมบัติความเป็นกรด-เบสได้
วิตามนิ แตล่ ะชนิดมีสภาพขั้วแตกตา่ งกัน ทำให้บางชนิดละลายไดใ้ นน้ำมัน บางชนดิ ละลายได้ในนำ้ มัน ซ่ึงเปน็ ไปตาม
หลักการ like dissolves like ส่วนเกลือแร่แต่ละชนิดมีประโยชน์ที่แตกต่างกัน บรรจุภัณฑ์สำหรับอาหารส่วนใหญ่
ทำมาจากพลาสติกซ่ึงเป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ มีทัง้ ชนิดพอลิเมอร์เทอร์มอพลาสติกและพอลิเมอร์เทอรม์ อเซตซึ่งใช้
งานไดแ้ ตกต่างกัน พลาสตกิ ย่อยสลายได้ยากและมีการใช้ในปรมิ าณมาก จงึ ก่อใหเ้ กิดปัญหาขยะ การลดการใช้ การ
ใชซ้ ำ้ และการนำกลบั มาใชใ้ หม่ เป็นการช่วยปญั หาไดท้ างหนง่ึ

5. สาระการเรียนรู้
5.1 ความรู้
เกลือแร่เป็นไอออนหรือสารประกอบไอออนิกท่ีจำเป็นต่อการทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย
เช่น แคลเซียมเป็นเกลือแร่ที่เป็นองค์ประกอบในกระดูกใช้ในกระบวนการทำงานของกล้ามเน้ือ ระบบ
ประสาท และช่วยให้เลือดแข็งตัว โซเดียมและโพแทสเซียมเป็นเกลือแร่ท่ีสำคัญในการทำงานของเซลล์
ประสาท และรักษาสมดุลของเหลวในร่างกาย เหล็กเป็นเกลือแร่ที่เป็นองค์ประกอบในฮีโมโกลบินในเม็ด
เลือดแดงที่มีความสำคัญต่อการลำเลียงออกซิเจนในร่างกาย ไอโอดีนเป็นเกลือแร่ท่ีมีความสำคัญมากแต่
ต้องการในปริมาณน้อย เพ่ือการผลิตฮอร์โมนไทรอกซิน ซ่ึงทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของระบบเมตา
บอลิซึมในรา่ งกาย อยา่ งไรก็ตามการได้รับเกลือแร่ไม่เพียงพอหรือมากเกินไปจะส่งผลต่อระบบการทำงาน
ของร่างกาย เช่น การขาดแคลเซยี มทำให้เป็นโรคกระดกู พรุน การขาดเหล็กทำให้เปน็ โลหติ จาง การบรโิ ภค
โซเดยี มเกินความตอ้ งการอาจทำให้เกิดโรคไต ความดันโลหติ สงู โรคหัวใจ และผูบ้ ริโภคควรใสใ่ จกับปรมิ าณ
โซเดยี มและสารอาหารอ่ืนทร่ี ะบไุ วใ้ นขอ้ มูลโฆษณาบนฉลากอาหาร ดังรูป 3.19

รปู 3.19 ตัวอย่างขอ้ มูลโภชนาการบนฉลากอาหาร
5.2 กระบวนการ

1) ความสามารถในการส่ือสาร (อ่าน ฟัง พูด เขยี น)
2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วเิ คราะห์ จัดกลุ่ม สรุป)
3) ความสามารถในการแกป้ ญั หา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต (ความรับผิดชอบ)
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ใช้การสบื ค้นผา่ นโทรศัพท์)

5.3 คุณลักษณะและคา่ นิยม

ใฝ่เรยี นรู้และเปน็ ผูม้ ีความม่งุ มั่นในการทำงาน

6. บูรณาการ
บรู ณาการกับกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรือ่ ง รอ้ ยละ และอตั ราส่วน

7. กิจกรรมการเรียนรู้
ขัน้ ท่ี 1 ข้ันสร้างความสนใจ
1.1 ครูทบทวนบทเรียน เรื่อง วิตามินที่สามารถละลายในไขมนั และน้ำ รวมถงึ ประโยชน์ของ
วติ ามนิ
1.2 ครนู ำเขา้ สูบ่ ทเรยี นโดยตัง้ คำถาม เพือ่ นำเขา้ สู่กจิ กรรม
1) นักเรียนเคยเห็นฉลากบนถงุ ขนมหรือบนกลอ่ งนมหรือไม่
2) นักเรียนเคยอ่านขอ้ มลู ท่ีระบบุ นถงุ ขนมหรอื บนกล่องนมหรอื ไม่
3) นักเรียนรูห้ รือไม่ว่าขอ้ มลู โภชนาการบนฉลากระบเุ กี่ยวกบั อะไรบา้ ง

ข้นั ที่ 2 ข้ันสำรวจและคน้ หา
2.1 ครูนำนกั เรียนศึกษา รปู 3.19 ตัวอยา่ งข้อมลู โภชนาการบนฉลากอาหาร
2.2 ครูถามคำถามเกย่ี วกบั รูป 3.19 ให้นักเรยี นตอบ ดังน้ี
- อาหารชนดิ น้ีมีเกลอื แร่อะไรบา้ ง (แนวคำตอบว่า อาหารชนิดน้ีมโี ซเดียม แคลเซยี ม

ฟอสฟอรสั เปน็ องคป์ ระกอบ)
- อาหารชนดิ นีม้ ีวิตามนิ อะไรบ้าง (แนวคำตอบวา่ วิตามนิ B1, B2, B12)

2.3 ครใู หน้ ักเรยี นทำใบงาน เรอ่ื ง ขอ้ มลู โภชนาการบนฉลากอาหาร โดยสืบค้นข้อมลู ทาง
อินเทอร์เนต็

ขน้ั ท่ี 3 ขัน้ อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ
3.1 ครนู ำนักเรยี นอภปิ รายเพือ่ นำไปสูก่ ารสรปุ โดยใช้คำถามต่อไปน้ี
1) คำศัพทภ์ าษาองั กฤษ คำว่า “ขอ้ มูลโภชนาการ” คือ (แนวการตอบ Nutrition

Information)
2) จงอธบิ ายความหมายคำวา่ ฉลากบนโภชนาการ (แนวการตอบ ฉลากอาหารท่ีมกี าร

แสดงข้อมูลโภชนาการ ซ่ึงระบุชนิดและปริมาณสารอาหารของอาหารชนดิ นั้นๆ อยใู่ นกรอบ ทเี่ รยี กว่า
“กรอบขอ้ มูลโภชนาการ”)

3) จงบอกประโยชน์ของฉลากบนโภชนาการ (แนวการตอบ 1. เลอื กซอื้ อาหารและเลอื ก
บรโิ ภคให้เหมาะสมกับความต้องการหรอื ภาวะทาง โภชนาการของตนได้ เชน่ เลือกอาหารท่รี ะบวุ ่ามี
โคเลสเตอรอลต่ำ หรือ มโี ซเดยี มตำ่ 2. เปรียบเทียบเลอื กซ้ือผลิตภัณฑ์อาหารชนดิ เดยี วกนั โดยเลือกทม่ี ีคณุ คา่
ทางโภชนาการดีกวา่ ได้ 3. ในอนาคตเมอื่ ผู้บรโิ ภคสนใจตอ้ งการข้อมลู โภชนาการของอาหาร ผู้ผลิตกจ็ ะ
แข่งขนั กันผลติ อาหารทม่ี ีคุณค่าทางโภชนาการสูงกวา่ แทนการแข่งขันกันในเรอ่ื ง หีบหอ่ สี หรือสง่ิ จงู ใจ
ภายนอกอ่ืนๆ)

4) จงอธบิ ายความหมายของคำวา่ “หนง่ึ หน่วยบริโภค” (แนวการตอบ ข้อมูลบอกถงึ
ปรมิ าณอาหารแต่ละชนดิ ท่ีควรรับประทานใน 1 ครง้ั )

5) จงอธิบายความหมายของคำว่า “จำนวนหน่วยบรโิ ภคต่อภาชนะบรรจุ” (แนวการตอบ
เป็นขอ้ มลู ที่ชว่ ยให้ผู้บรโิ ภคประมาณไดว้ า่ จะแบ่งอาหารในภาชนะบรรจุนน้ั สำหรบั การบริโภคได้กีค่ ร้ัง
หรอื จดั แบง่ ได้สำหรับกีค่ น

6) จงอธบิ ายความหมายของคำวา่ “คุณค่าทางโภชนาการต่อ 1 หนว่ ยบรโิ ภค” (แนวการ
ไดป้ รากฏเปน็ ข้อมลู บนฉลากทบ่ี อกให้ผ้บู ริโภคทราบวา่ เมอื่ รบั ประทานอาหารเข้าไปใน 1 หน่วยบริโภค
จะไดร้ ับสารอาหารมากน้อยแคไ่ หน)

7) จงอธบิ ายความหมายของคำว่า “รอ้ ยละของปริมาณทแ่ี นะนำตอ่ วัน” (แนวการ
เปน็ ขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ ากการคำนวณเปรยี บเทยี บปริมาณสารอาหาร 1 หนว่ ยบรโิ ภค กบั ปริมาณท่ีรา่ งกาย
ต้องการในแตล่ ะวัน ข้อมลู นบ้ี อกใหผ้ ้บู รโิ ภคทราบว่า เมือ่ กนิ อาหารใน 1 หน่วยบรโิ ภค จะไดส้ ารอาหาร
เป็นสดั สว่ นเท่าใด ของปริมาณท่คี วรได้รบั ใน 1 วัน)

3.2 ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรปุ เน้อื หา เร่อื ง ขอ้ มูลโภชนาการบนฉลากอาหาร

ข้ันท่ี 4 ขั้นขยายความรู้
4.1 ครใู หค้ วามรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับขอ้ มลู โภชนาการบนฉลากอาหารหลากหลายรปู แบบ

ขน้ั ที่ 5 ขั้นประเมนิ ผล
5.1 ครตู รวจใบงาน เร่ือง ข้อมลู โภชนาการบนฉลากอาหาร

ประยุกตแ์ ละตอบแทนสังคม
ครใู หน้ กั เรียนแตล่ ะคนนำความรู้ที่เรียนไปค้นคว้าเพมิ่ เติมที่ห้องสมดุ หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ชั้นเรียน

8. สอ่ื การเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้
8.1 หนงั สอื เรียนรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ (วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 1

(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 ใบงาน เรือ่ ง ขอ้ มลู โภชนาการบนฉลากอาหาร
8.3 อินเทอรเ์ น็ต
- เว็บไซต์ https://www.scimath.org/article-biology/item/507-nutrition
- เว็บไซต์ https://www.honestdocs.co/what-is-nutrition-facts-label

9. การวัดและประเมินผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ กี ารวัด เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมิน

ด้านความรู้ (K)

1) นกั เรียนอธบิ ายเกยี่ วกบั ขอ้ มูลโภชนาการ 1) ตรวจใบงาน เรอ่ื ง 1) แบบประเมินการ 1) นกั เรยี นตอบ
ทำกิจกรรม คำถามไดร้ ะดบั ดี
บนฉลากอาหารได้ ข้อมลู โภชนาการบน 2) ใบงาน เรอื่ ง ผา่ นเกณฑ์
ข้อมลู โภชนาการบน
ฉลากอาหาร ฉลากอาหาร

ด้านกระบวนการ (P) - --
-

ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A) 1) แบบประเมนิ การ 1) นกั เรยี นทำภาระ
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการ 1) ตรวจใบงาน เร่ือง ทำกิจกรรม งานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย
ทำงาน ข้อมูลโภชนาการบน 2) ใบงาน เรื่อง ได้ระดับดี ผ่านเกณฑ์
ข้อมูลโภชนาการบน
ฉลากอาหาร ฉลากอาหาร

10. เกณฑก์ ารประเมินผลงานนกั เรยี น
เกณฑก์ ารประเมนิ แบบ Rubrics ของการทำกิจกรรม เร่ือง ข้อมูลโภชนาการบนฉลากอาหาร

ประเดน็ การ คา่ นำ้ หนัก แนวทางการใหค้ ะแนน
ประเมนิ คะแนน

ดา้ นความรู้ 3 ตอบคำถามไดถ้ กู ต้องครบถ้วน จำนวน 5-7 ข้อ
(K) 2 ตอบคำถามไดถ้ กู ต้องครบถ้วน จำนวน 3-4 ข้อ

ดา้ น 1 ตอบคำถามไดถ้ ูกต้องครบถว้ น จำนวน 1-2 ขอ้ หรอื ไม่มีขอ้ ใดถกู ตอ้ ง
คุณลกั ษณะ 3 ทำภาระงานที่ไดร้ ับมอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด และเรยี บรอ้ ยถกู ต้องครบถ้วน
2 ทำภาระงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด แต่งานยังผิดพลาดบางสว่ น
(A) 1 ทำภาระงานท่ีไดร้ บั มอบหมายเสรจ็ แต่ล่าช้า และเกิดขอ้ ผิดพลาดบางส่วน

ระดับคะแนน 3 หมายถึง ระดับดีมาก
คะแนน 2 หมายถึง ระดบั ดี
คะแนน 1 หมายถึง ระดบั พอใช้
คะแนน

การประเมนิ การทำกิจกรรม เรอื่ ง ขอ้ มูลโภชนาการบนฉลากอาหาร

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ด้าน ดา้ น รวม ระดบั
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 - 36

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชือ่ - นามสกุล ด้านความรู้ ดา้ น ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คุณลักษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 - 36

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 5-6 หมายถึง ระดับดมี าก
คะแนน 4 หมายถึง ระดับดี
คะแนน 3 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 2 หมายถงึ ระดบั ปรบั ปรุง
คะแนน

บนั ทกึ หลงั การสอน

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 เรอ่ื ง อาหาร ใ
แผนการสอนท่ี 18 เรอื่ ง ข้อมูลโภชนาการบนฉลากอาหาร .

ใ เดอื น พ.ศ. ใ

วันที่

ผลการจดั การเรยี นรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปญั หา / อปุ สรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ปัญหา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงช่ือ............................................ครผู ูส้ อน ลงชอ่ื .............................................หวั หน้ากลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธนิ ีย์ สรรเสรญิ ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

ชื่อ ชน้ั เลขท่ี ‘

ใบงาน เรือ่ ง ข้อมลู โภชนาการบนฉลากอาหาร

คำสงั่ จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้ให้ถกู ต้อง f
1) คำศัพทภ์ าษาองั กฤษ คำวา่ “ข้อมูลโภชนาการ” คือ
ตอบ Nutrition Information

2) จงอธบิ ายความหมายคำว่าฉลากบนโภชนาการ

ตอบ ฉลากอาหารที่มีการแสดงข้อมลู โภชนาการ ซ่ึงระบชุ นดิ และปรมิ าณสารอาหารของอาหารชนิดน้ันๆ

อยู่ในกรอบ ทเ่ี รยี กวา่ “กรอบขอ้ มลู โภชนาการ”)n f

อย่ใู นกรอบ ที่เรียกว่า “กรอบขอ้ มูลโภชนาการ”)n f

3) จงบอกประโยชนข์ องฉลากบนโภชนาการ

ตอบ 1. เลือกซ้อื อาหารและเลอื กบรโิ ภคให้เหมาะสมกบั ความต้องการหรือภาวะทาง โภชนาการของตน

ได้ เช่น เลือกอาหารท่ีระบุว่ามีโคเลสเตอรอลต่ำ หรือ มีโซเดียมต่ำ 2. เปรียบเทียบเลือกซื้อผลิตภัณฑ์

อาหารชนิดเดียวกนั โดยเลือกท่ีมีคุณคา่ ทางโภชนาการดีกว่าได้ 3. ในอนาคตเมอ่ื ผู้บริโภคสนใจต้องการ

ขอ้ มูลโภชนาการของอาหาร ผู้ผลติ ก็จะ แข่งขนั กันผลิตอาหารที่มคี ณุ ค่าทางโภชนาการสูงกว่า แทนการ

แข่งขันกนั ในเร่ือง หีบห่อ สี หรอื สิง่ จู งใจภายนอกอ่ืนๆ

อยู่ในกรอบ ทเ่ี รียกว่า “กรอบขอ้ มูลโภชนาการ”)n f

อยู่ในกรอบ ทีเ่ รยี กวา่ “กรอบข้อมูลโภชนาการ”)n f

4) จงอธบิ ายความหมายของคำว่า “หนึ่งหน่วยบรโิ ภค” f
ตอบ ข้อมูลบอกถงึ ปริมาณอาหารแตล่ ะชนิดทคี่ วรรับประทานใน 1 ครั้ง f
อยใู่ นกรอบ ทเ่ี รียกว่า “กรอบขอ้ มูลโภชนาการ”)n

5) จงอธิบายความหมายของคำวา่ “จำนวนหนว่ ยบริโภคต่อภาชนะบรรจุ”

ตอบ เปน็ ขอ้ มูลทช่ี ว่ ยใหผ้ ู้บรโิ ภคประมาณไดว้ ่า จะแบง่ อาหารในภาชนะบรรจนุ น้ั สำหรับการบริโภคไดก้ ่ี

คร้งั หรอื จัดแบง่ ไดส้ ำหรับก่คี น f

6) จงอธิบายความหมายของคำวา่ “คุณค่าทางโภชนาการต่อ 1 หน่วยบรโิ ภค”

ตอบ ได้ปรากฏเปน็ ข้อมลู บนฉลากท่บี อกให้ผู้บรโิ ภคทราบวา่ เมือ่ รบั ประทานอาหารเข้าไปใน 1 หน่วย

บรโิ ภค จะไดร้ ับสารอาหารมากน้อยแค่ไหน f

7) จงอธบิ ายความหมายของคำว่า “รอ้ ยละของปรมิ าณท่ีแนะนำตอ่ วนั ”

ตอบ เปน็ ขอ้ มูลที่ได้จากการคำนวณเปรียบเทียบปริมาณสารอาหาร 1 หน่วยบรโิ ภค กับปริมาณทรี่ ่างกาย

ตอ้ งการในแตล่ ะวัน ขอ้ มลู น้บี อกใหผ้ ู้บริโภคทราบวา่ เม่อื กินอาหารใน 1 หน่วยบรโิ ภค จะได้สารอาหาร

เปน็ สัดส่วนเท่าใด ของปริมาณทคี่ วรได้รบั ใน 1 วัน f

อยใู่ นกรอบ ที่เรียกวา่ “กรอบขอ้ มลู โภชนาการ”)n f

ชื่อ ชัน้ เลขที่ ‘

เฉลยใบงาน เร่อื ง ข้อมูลโภชนาการบนฉลากอาหาร

คำสง่ั จงตอบคำถามต่อไปนีใ้ ห้ถูกตอ้ ง f
1) คำศัพทภ์ าษาอังกฤษ คำว่า “ขอ้ มูลโภชนาการ” คือ
ตอบ Nutrition Information

2) จงอธบิ ายความหมายคำว่าฉลากบนโภชนาการ

ตอบ ฉลากอาหารที่มกี ารแสดงขอ้ มลู โภชนาการ ซง่ึ ระบชุ นดิ และปรมิ าณสารอาหารของอาหารชนิดนน้ั ๆ

อยู่ในกรอบ ทเ่ี รียกว่า “กรอบข้อมลู โภชนาการ”)n f

อยู่ในกรอบ ท่ีเรยี กวา่ “กรอบข้อมูลโภชนาการ”)n f

3) จงบอกประโยชน์ของฉลากบนโภชนาการ

ตอบ 1. เลือกซอ้ื อาหารและเลอื กบรโิ ภคให้เหมาะสมกบั ความตอ้ งการหรือภาวะทาง โภชนาการของตนได้

เชน่ เลอื กอาหารท่ีระบุว่ามโี คเลสเตอรอลต่ำ หรือ มีโซเดียมตำ่ 2. เปรยี บเทยี บเลือกซื้อผลติ ภัณฑ์อาหาร

ชนิดเดยี วกนั โดยเลอื กทมี่ คี ุณคา่ ทางโภชนาการดีกว่าได้ 3. ในอนาคตเมอ่ื ผู้บรโิ ภคสนใจตอ้ งการขอ้ มูล

โภชนาการของอาหาร ผู้ผลิตก็จะ แข่งขนั กนั ผลิตอาหารท่มี ีคุณคา่ ทางโภชนาการสงู กวา่ แทนการแข่งขัน

กันในเรื่อง หีบหอ่ สี หรอื สิ่งจูงใจภายนอกอืน่ ๆ f

อยู่ในกรอบ ทีเ่ รียกวา่ “กรอบข้อมูลโภชนาการ”)n f

อยูใ่ นกรอบ ที่เรียกวา่ “กรอบขอ้ มลู โภชนาการ”)n f

4) จงอธิบายความหมายของคำวา่ “หนึง่ หนว่ ยบรโิ ภค” f
ตอบ ขอ้ มูลบอกถงึ ปริมาณอาหารแต่ละชนิดที่ควรรับประทานใน 1 ครั้ง f
อยู่ในกรอบ ที่เรียกวา่ “กรอบข้อมลู โภชนาการ”)n

5) จงอธบิ ายความหมายของคำว่า “จำนวนหน่วยบริโภคต่อภาชนะบรรจุ”

ตอบ เป็นข้อมูลที่ช่วยให้ผู้บริโภคประมาณได้ว่า จะแบ่งอาหารในภาชนะบรรจุน้ันสำหรบั การบริโภคได้กี่

ครั้ง หรือจดั แบ่งได้สำหรับกี่คน f

6) จงอธบิ ายความหมายของคำวา่ “คุณค่าทางโภชนาการต่อ 1 หนว่ ยบริโภค”

ตอบ ได้ปรากฏเป็นขอ้ มลู บนฉลากทบ่ี อกให้ผูบ้ รโิ ภคทราบวา่ เมือ่ รับประทานอาหารเข้าไปใน 1 หนว่ ย

บรโิ ภค จะไดร้ บั สารอาหารมากน้อยแคไ่ หน f

7) จงอธบิ ายความหมายของคำว่า “ร้อยละของปรมิ าณทแี่ นะนำต่อวัน”

ตอบ เปน็ ข้อมูลท่ไี ดจ้ ากการคำนวณเปรยี บเทียบปริมาณสารอาหาร 1 หน่วยบรโิ ภค กับปรมิ าณที่รา่ งกาย

ตอ้ งการในแต่ละวัน ข้อมลู นบ้ี อกให้ผู้บรโิ ภคทราบวา่ เม่อื กนิ อาหารใน 1 หน่วยบรโิ ภค จะไดส้ ารอาหาร

เป็นสดั ส่วนเท่าใด ของปรมิ าณทค่ี วรไดร้ ับใน 1 วัน f

อยใู่ นกรอบ ทเ่ี รยี กวา่ “กรอบขอ้ มูลโภชนาการ”)n f

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 19

เร่อื ง พอลิเมอรส์ ังเคราะห์

รายวชิ าวิทยาศาสตร์กายภาพ1 รหัสวชิ า ว32101 เวลา 2 ชั่วโมง

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ อาหาร รวม 19 ชว่ั โมง

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1

บรู ณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง  อาเซยี น  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น  มาตรฐานสากล  ข้ามกล่มุ สาระ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธร์ ะหว่างสมบตั ขิ องสสารกบั โครงสร้าง

และแรงยดึ เหนีย่ วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี

2. ตัวชีว้ ัด
ว 2.1 ม.5/18 วเิ คราะหแ์ ละอธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่างโครงสร้างกับสมบัตเิ ทอรม์ อพลาสติกและเทอรม์ อ

เซตของพอลิเมอร์ และการนำพอลิเมอรไ์ ปใชป้ ระโยชน์

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นกั เรียนวิเคราะหแ์ ละอธบิ ายความสัมพันธร์ ะหว่างโครงสร้างกับสมบัตเิ ทอรม์ อพลาสติกและเทอร์
มอเซตของพอลเิ มอร์ และการนำพอลเิ มอร์ไปใช้ประโยชน์ได้
3.2 ดา้ นกระบวนการ (P)
1) นกั เรียนสามารถจัดกระทำและสอื่ ความหมายของข้อมูลท่ศี ึกษาคน้ คว้าได้
3.3 ดา้ นคณุ ลักษณะ (A)
1) ใฝ่เรยี นรแู้ ละเป็นผู้มีความมงุ่ มัน่ ในการทำงาน

4. สาระสำคัญ
อาหารเปน็ ปัจจัยสำคัญสำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย์ โดยไขมัน คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และวิตามินเป็น

สารประกอบอินทรีย์ ส่วนเกลือแร่เป็นไอออนหรือสารประกอบไอออนิก สารประกอบอินทรยี ์เป็นสารประกอบของ
ธาตุคาร์บอนซึ่งอาจมีธาตุอื่นเป็นองค์ประกอบรว่ มด้วย เช่น ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน ซัลเฟอร์ ไขมันมีท้ัง
ชนิดอ่ิมตัวและไม่อ่ิมตัวซึ่งพิจารณาได้จากชนิดพันธะระหว่างคาร์บอนอะตอมในกรดไขมัน ซึ่งใช้เกณฑ์เดียวกับ
สารประกอบไฮโดรเจนคาร์บอน คาร์โบไฮเดรตท่ีเป็นมอนอเมอร์และพอลิเมอร์มีสมบัติแตกต่างกัน โปรตีนเป็น
พอลิเมอร์ท่ีมีมอนอเมอร์เป็นกรดแอมิโนซ่ึงมีหมู่คาร์บอกซิล และหมู่อะมิโน จึงแสดงสมบัติความเป็นกรด-เบสได้
วิตามินแตล่ ะชนดิ มีสภาพขั้วแตกตา่ งกัน ทำใหบ้ างชนิดละลายไดใ้ นน้ำมัน บางชนดิ ละลายไดใ้ นน้ำมนั ซึง่ เป็นไปตาม
หลักการ like dissolves like ส่วนเกลอื แร่แต่ละชนิดมีประโยชน์ที่แตกต่างกัน บรรจุภณั ฑ์สำหรับอาหารส่วนใหญ่
ทำมาจากพลาสติกซ่ึงเป็นพอลิเมอรส์ ังเคราะห์ มีทง้ั ชนดิ พอลิเมอร์เทอร์มอพลาสติกและพอลิเมอร์เทอร์มอเซตซ่ึงใช้

งานไดแ้ ตกตา่ งกัน พลาสติกย่อยสลายได้ยากและมีการใช้ในปริมาณมาก จึงกอ่ ใหเ้ กิดปัญหาขยะ การลดการใช้ การ
ใช้ซ้ำ และการนำกลบั มาใช้ใหม่ เป็นการช่วยปัญหาได้ทางหนงึ่
5. สาระการเรยี นรู้

5.1 ความรู้
พอลเิ มอรส์ ังเคราะห์
พอลิเมอร์สังเคราะห์ท่ีนำมาใช้ทำบรรจุภัณฑ์พลาสติกประเภทต่าง ๆ มีสมบัติแตกต่างกัน ดังนั้น

การเลือกพลาสติกแต่ละประเภทมาใช้งานจึงต้องใช้ให้เหมาะสมโดยคำนึงถึงความปลอดภัยและไม่ควร
เปล่ียนลักษณะการใช้งาน เช่น ถุงพลาสติกสำหรับบรรจุของเย็นไม่ควรนำมาใช้กับของร้อน พอลิเมอร์
สังเคราะห์ผลิตขึ้นมาจากมอนอเมอร์ต่าง ๆ เช่น เอทิลีน โพรพิลีน สไตรีน ซ่ึงทำปฏิกิริยาเคมีให้เกิดการ
เช่ือมต่อกนั ไดเ้ ปน็ พอลิเมอรท์ ม่ี ีสมบัตแิ ตกตา่ งกนั ดงั ตวั อย่างต่อไปนี้

พอลิเอทิลนี (polyethylene, PE) สังเคราะห์จากเอทิลีน พอลเิ อทิลีนมจี ุดหลอมเหลวประมาณ
115 - 135 องศาเซลเซียส ซ่ึงต่ำกว่าพอลิเมอร์สังเคราะห์ชนิดอื่น ภาชนะที่ผลิตจากพอลิเอทิลีนจึงไม่
เหมาะสำหรับบรรจอุ าหารร้อน พอลเิ อทิลนี ท่ีนิยมใช้มี 2 ชนิด ไดแ้ ก่ พอลเิ อทลิ ีนความหนาแนน่ ตำ่ (low-
density polyethylene, LDPE) ใช้ผลิตเป็นถุงพลาสติกใส่ของเย็น กล่องพลาสติก และพอลิเอทิลีน
ความหนาแน่นสูง (high-density polyethylene, HDPE) ใช้ผลิตเป็นถุงพลาสติกหูห้ิว ขวดพลาสติก
ขุ่น ฝาขวด เนอ่ื งจากมขี องแข็ง เหนยี ว และทนความร้อนไดด้ ีมากกว่า LDPE พลาสตกิ ทท่ี ำจากพอลเิ อทิลีน
มนี ำ้ หนกั เบา โค้งงอได้ ราคาถกู จึงเปน็ พลาสตกิ ที่มีการนำมาใช้งานมาก

รปู 3.21 พลาสตกิ ท่ที ำจากพอลิเอทิลนี และสูตรโครงสรา้ งของพอลิเอทิลีนและเอทิลีน
พอลิโพรพิลีน (polypropylene,PP) สังเคราะห์ได้จากโพรพิลนี พอลิโพรพิลนี มีสมบตั ิคลา้ ยกับ

HDPE แต่มีจุดหลอมเหลวสูงกว่า จึงทนความร้อนได้ดีกว่า HDPE ภาชนะท่ีผลิตจากพอลิโพรพิลีนจึง
สามารถใช้บรรจุอาหารรอ้ นได้ และนิยมนำมาผลิตเป็นภาชนะท่ีใช้กบั ไมโครเวฟ

รปู 3.22 พลาสติกทท่ี ำจากพอลิโพรพิลนี และสตู รโครงสรา้ งของพอลโิ พรพลิ ีนและโพรพิลัน

พอลิสไตรีน (polystyrene, PS) สังเคราะห์ได้จากสไตรีน พอลิสไตรีนมีน้ำหนักเบา แข็ง และ
เปราะ นิยมนำมาผลติ เป็นกล่องโฟมบรรจุอาหาร ช้อนส้อมพลาสตกิ กล่องพลาสตกิ ใส

รปู 3.23 พลาสติกท่ที ำจากพอลิสไตรีนและสตู รโครงสร้างของพอลิสไตรีนและสไตรนี
พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (poly(ethylene terephthalate), PET หรอื PETE) สงั เคราะหไ์ ด้
จากเอทิลนี ไกลคอลและไดเมทิลเทเรฟทาเลต พอลเิ อทิลีนเทเรฟทาเลตมีความแขง็ และเหนียว นยิ มนำมา
ผลิตเปน็ ขวดน้ำ ถุงขนมขบเคย้ี ว ภาชนะสำหรบั ไมโครเวฟ

รปู 3.24 พลาสติกทีท่ ำ PET โครงสร้างและมอนอเมอร์ท่ใี ช้สังเคราะห์
พอลิเมลามีนฟอร์มาลดไี ฮด์ (poly(melamine formaldehyde)) สังเคราะหไ์ ดจ้ ากเมลามนี
และฟาร์มาลดีไฮด์ พอลิเมลามีนฟอรม์ าลดีไฮดม์ ีความแข็ง ทนความรอ้ น จึงใช้ผลติ เป็นจาน ชาม และ
ภาชนะที่ไม่แตกหักง่าน

รูป 3.25 พลาสติกทท่ี ำจากเมลามนี ฟอรม์ าลดไี ฮด์ และสูตรโครงสร้างของมอนอเมอร์
ทใ่ี ช้สงั เคราะห์

5.2 กระบวนการ
1) ความสามารถในการสอ่ื สาร (อ่าน ฟัง พดู เขียน)
2) ความสามารถในการคิด (สังเกต วิเคราะห์ จัดกลุ่ม สรุป)
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ (ความรับผดิ ชอบ)
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ใช้การสืบค้นผ่านโทรศพั ท์)

5.3 คุณลักษณะและค่านยิ ม
ใฝ่เรยี นร้แู ละเป็นผู้มคี วามมุ่งมน่ั ในการทำงาน

6. บรู ณาการ
บูรณาการ PLC นักเรยี นแต่ละกลุ่มแลกเปลย่ี นเรียนรู้เลา่ สู่กันฟังถงึ ความรู้ท่ีไดจ้ ากการทำกิจกรรม และปัญหา

ทเ่ี กดิ ขน้ึ ระหวา่ งการทำกจิ กรรม

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขัน้ ที่ 1 ขัน้ สรา้ งความสนใจ
1.1 ครทู บทวนบทเรยี น เร่อื ง ข้อมลู โภชนาการบนฉลากอาหาร
1.2 ครนู ำเขา้ สู่บทเรียนโดยตัง้ คำถาม เพือ่ นำเข้าสู่กิจกรรม
1) ใบตอง ใบบัว มอี งค์ประกอบทางเคมีคอื สารใด จัดเปน็ พอลิเมอร์หรอื ไม่ (แนวการตอบ
ใบตอง ใบบวั มอี งคป์ ระกอบทางเคมเี ป็นเซลลโู ลส ซง่ึ จดั เปน็ พอลิเมอร์ธรรมชาติ)
2) นักเรียนคดิ ว่าพลาสตกิ เปน็ พอลเิ มอร์หรอื ไม่
3) นักเรียนคดิ วา่ กลอ่ งโฟมบรรจอุ าหารเปน็ พอลิเมอร์หรือไม่
4) นกั เรียนรู้จกั คำวา่ พอลเิ มอร์สังเคราะห์หรือไม่

ข้ันที่ 2 ขั้นสำรวจและคน้ หา (จดั การเรยี นการสอนแบบรว่ มมือ โดยใชเ้ ทคนคิ Jigsaw)
2.1 จัดกลุ่มนักเรียน กลุ่มละประมาณ 5 คน โดยใหส้ มาชิกแตล่ ะกลมุ่ มีความรู้ความสามารถท่ีคละ

กนั กลุ่มน้จี ะเป็นกลุ่มประจำ
2.2 ครูจัดแบ่งเนอื้ หาที่จะเรยี นเป็นเนอ้ื หายอ่ ย ๆ เทา่ กบั จำนวนสมาชกิ ในกลุม่ ของนักเรยี นอาจ

จัดทำเปน็ บทเรียนหน้าเดยี วก็ได้
2.3 ให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มจับฉลากหมายเลขของเนื้อหา คนละ 1 ฉลาก เพ่ือรับผิดชอบใน

การศึกษาหัวข้อย่อยของเนอื้ หา คนละ 1 หัวขอ้
2.4 ให้นักเรียนแต่ละคนศึกษาและทำความเข้าใจเนื้อหาตามหมายเลขที่ตัวเองได้ ซงึ่ ครูติดเนื้อหา

บนโต๊ะ
2.5 นักเรียนแต่ละคนที่ศึกษาและทำความเข้าใจเน้ือหา (ใช้เวลา 15 นาที) ให้กลับไปยังกลุ่ม

ตนเองแล้วอธิบายความรูท้ ี่ได้จากการศกึ ษาและทำความเขา้ ใจในเนอ้ื หาท่ไี ดร้ ับมอบหมายให้เพ่ือนฟัง
2.6 นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั สรปุ ความรทู้ ไี่ ดใ้ นการศกึ ษาลงในกระดาษปร๊ฟู (น้ำตาล)

2.7 นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มทำใบงาน เรอ่ื ง พอลเิ มอร์สงั เคราะห์

ขน้ั ที่ 3 ข้นั อธบิ ายและลงขอ้ สรุป
3.1 ครูใหน้ กั เรียนแต่กลุ่มออกมานำเสนอผลการสืบค้นของกลุ่มตนเองหนา้ ช้ันเรียน

(https://random.thaiware.com/) หรือ โปรแกรม Super Soomm And Goomm
3.2 ครูนำนักเรียนอภิปรายเพอ่ื นำไปส่กู ารสรปุ โดยใชค้ ำถามตอ่ ไปน้ี
1) พอลิเมอรส์ ังเคราะห์นำมาใชเ้ กี่ยวกับอะไร (แนวการตอบ นำมาใช้ทำบรรจภุ ัณฑ์

พลาสติกประเภทตา่ งๆ)
2) พอลิเมอร์สังเคราะห์ผลติ ขนึ้ จากอะไร (แนวการตอบ ผลิตข้นึ จากมอนอเมอร์ต่างๆ เชน่

เอทลิ ีน โพรพลิ ีน สไตรนี )
3) พอลเิ มอร์สงั เคราะห์ มอี ะไรบา้ ง (แนวการตอบ พอลเิ อทิลีน พอลิโพรพิลนี พอลสิ ไตรีน

พอลเิ อทิลีนเทเรฟทาเลต และพอลเิ มลามีนฟอร์มาลดีไฮด์)
4) พอลิเอทิลีน อกั ษรย่อคอื (แนวการตอบ PE)
5) พอลโิ พรพิลนี อกั ษรยอ่ คือ (แนวการตอบ PP)
6) พอลิสไตรนี อักษรยอ่ คอื (แนวการตอบ PS)
7) พอลิเอทิลนี เทเรฟทาเลต อักษรย่อคือ (แนวการตอบ PET หรือ PETE)
8) พอลเิ มอรใ์ ดมีความแขง็ ทนความรอ้ น นำมาผลิตเปน็ จาน ชาม และภาชนะที่ไม่

แตกหกั ง่าย (แนวการตอบ พอลิเมลามีนฟอรม์ าลดีไฮด์)
3.3 ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายและสรุปการศึกษาค้นคว้าจนได้ขอ้ สรุป เรอื่ ง พอลเิ มอร์

สงั เคราะห์

ข้ันที่ 4 ขน้ั ขยายความรู้
4.1 ครูยกตวั อยา่ งพอลิเมอรท์ ่ีนำมาทำเป็นผลิตภัณฑ์อืน่ ๆ นอกเหนือจากบรรจุภัณฑ์ สำหรบั

อาหาร เช่น พอลวิ ินลิ คลอไรด์ (PVC) ใช้ทำท่อนำ้ กระเบอ้ื งยาง ปลอกฉนวน สายไฟ หนงั เทียม ปา้ ยไวนิล

ข้นั ที่ 5 ข้ันประเมินผล
5.1 ครูประเมินจากการสบื ค้นข้อมูลในกระดาษปรูฟ๊ (น้ำตาล) ของแตล่ ะกลุ่ม
5.2 ครูตรวจใบงาน เรอ่ื ง พอลิเมอร์สงั เคราะห์

ประยกุ ตแ์ ละตอบแทนสงั คม
ครใู หน้ ักเรียนแต่ละคนนำความรูท้ ีเ่ รยี นไปค้นคว้าเพ่ิมเตมิ ท่ีหอ้ งสมุด หรือเวบ็ ไซต์ แล้วนำเสนอใน

ชน้ั เรียน

8. ส่อื การเรยี นร้/ู แหล่งเรียนรู้
8.1 หนังสือเรียนรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ (วิทยาศาสตรก์ ายภาพ) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 เลม่ 1

(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 ใบงาน เร่ือง พอลเิ มอร์สงั เคราะห์
8.3 ชุดข้อมูล เร่ือง พอลิเมอร์สงั เคราะห์

8.4 อนิ เทอร์เน็ต

9. การวัดและประเมินผล

จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ ีการวดั เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน

ดา้ นความรู้ (K)

1) นกั เรยี นวิเคราะหแ์ ละอธบิ าย 1) ตรวจใบงาน เร่ือง 1) แบบประเมนิ การ 1) นกั เรียนตอบ

ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งโครงสรา้ งกบั สมบตั ิ พอลเิ มอร์สงั เคราะห์ ทำกิจกรรม คำถามไดร้ ะดบั ดี

เทอร์มอพลาสตกิ และเทอรม์ อเซตของพอลิ 2) ใบงาน เรอื่ ง ผา่ นเกณฑ์

เมอร์ และการนำพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชนไ์ ด้ พอลิเมอรส์ ังเคราะห์

ด้านกระบวนการ (P)

1) นักเรียนสามารถจดั กระทำและส่อื 1) ตรวจกระดาษปรู๊ฟ 1) แบบประเมนิ การ 1) นกั เรยี นสามารถ

ความหมายของขอ้ มลู ที่ศึกษาค้นคว้าได้ (นำ้ ตาล)ของแต่ละกลมุ่ ทำกจิ กรรม สรปุ เนอ้ื หาท่ีศึกษา

ท่ไี ดจ้ ากการศึกษา และทำความเข้าใจได้

ค้นควา้ ระดับดี ผา่ นเกณฑ์

ด้านคณุ ลักษณะ (A)

1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งม่ันในการ 1) ตรวจใบงาน เร่ือง 1) แบบประเมนิ การ 1) นักเรยี นทำภาระ

ทำงาน พอลิเมอร์สงั เคราะห์ ทำกจิ กรรม งานท่ีไดร้ ับมอบหมาย

2) ใบงาน เรอื่ ง พอลิ ได้ระดบั ดี ผา่ นเกณฑ์

เมอร์สังเคราะห์

10. เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานนกั เรียน
เกณฑ์การประเมินแบบ Rubrics ของการทำกิจกรรม เรื่อง พอลเิ มอร์สังเคราะห์

ประเด็นการ ค่านำ้ หนัก แนวทางการใหค้ ะแนน
ประเมิน คะแนน

ดา้ นความรู้ 3 ตอบคำถามไดถ้ กู ต้องครบถว้ น จำนวน 4-5 ข้อ
(K) 2 ตอบคำถามไดถ้ กู ต้องครบถว้ น จำนวน 2-3 ขอ้

1 ตอบคำถามไดถ้ ูกตอ้ งครบถ้วน จำนวน 1 ขอ้ หรือทำไมถ่ ูกต้อง

ด้าน 3 สรุปเน้ือหาที่ศึกษาและทำความเข้าใจได้ถกู ตอ้ งครบถว้ น
กระบวนการ 2 สรุปเนอ้ื หาท่ีศกึ ษาและทำความเข้าใจได้ค่อนขา้ งถกู ตอ้ งครบถว้ น

(P) 1 สรปุ เน้ือหาท่ีศึกษาและทำความเขา้ ใจได้ แต่ไม่ครบถ้วน

ดา้ น 3 ทำภาระงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาท่ีกำหนด และเรียบร้อยถูกตอ้ งครบถว้ น
คณุ ลกั ษณะ 2 ทำภาระงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาท่ีกำหนด แต่งานยงั ผิดพลาดบางสว่ น
1 ทำภาระงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายเสร็จ แต่ล่าช้า และเกดิ ขอ้ ผดิ พลาดบางส่วน
(A)

ระดับคะแนน 3 หมายถงึ ระดับดีมาก
คะแนน 2 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน


Click to View FlipBook Version