The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaimath2514, 2022-05-20 10:33:15

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

10. เกณฑ์การประเมินผลงานนกั เรยี น

เกณฑ์การประเมนิ แบบ Rubrics ของการทำกจิ กรรม เรอื่ ง สตู รเอมพิริคัล

ประเดน็ การ ค่าน้ำหนกั แนวทางการให้คะแนน
ประเมนิ คะแนน

ด้านความรู้ 3 ตอบคำถามได้ถูกตอ้ งครบถ้วน

(K) 2 ตอบคำถามได้ แต่ถกู ตอ้ งครบถ้วน

1 ตอบคำถาม แตไ่ มถ่ กู ต้อง

ดา้ น 3 ทำแบบฝึกหดั 2.3 ไดถ้ กู ตอ้ งครบถ้วน จำนวน 2 ขอ้

กระบวนการ 2 ทำแบบฝึกหดั 2.3 ไดถ้ ูกตอ้ งครบถ้วน จำนวน 1 ขอ้

(P) 1 ทำแบบฝึกหดั 2.3 แต่ไมถ่ กู ตอ้ ง

ดา้ น 3 ทำภาระงานทไ่ี ด้รบั มอบหมายเสร็จภายในเวลาท่ีกำหนด และเรยี บร้อยถูกต้องครบถว้ น

คุณลักษณะ 2 ทำภาระงานท่ไี ดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาท่ีกำหนด แต่งานยังผดิ พลาดบางส่วน

(A) 1 ทำภาระงานที่ไดร้ บั มอบหมายเสร็จ แต่ล่าช้า และเกดิ ข้อผิดพลาดบางสว่ น

ระดับคะแนน 3 หมายถึง ระดบั ดีมาก
คะแนน 2 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 1 หมายถึง ระดบั พอใช้
คะแนน

การประเมินการทำกจิ กรรม เรื่อง สูตรเอมพิริคัล

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ด้านความรู้ ด้าน ดา้ น รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คุณภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถงึ ระดับดมี าก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 5-6 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรงุ
คะแนน

บนั ทกึ หลังการสอน

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เรื่อง น้ำ พ.ศ. ใ
แผนการสอนท่ี 9 เรอ่ื ง สตู รเอมพริ ิคัล .

ใ เดอื น ใ

วนั ท่ี

ผลการจดั การเรยี นรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปัญหา / อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ปัญหา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชือ่ ............................................ครผู สู้ อน ลงช่อื .............................................หัวหน้ากลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธนิ ยี ์ สรรเสริญ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10

เร่อื ง การเปล่ยี นสถานะของสารประกอบไอออนกิ

รายวชิ าวิทยาศาสตร์กายภาพ1 รหัสวชิ า ว32101 เวลา 1 ช่ัวโมง

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ นำ้ รวม 15 ช่ัวโมง

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรียนที่ 1

บรู ณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง  อาเซียน  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน  มาตรฐานสากล  ขา้ มกลมุ่ สาระ

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสมบตั ขิ องสสารกับโครงสร้าง

และแรงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี

2. ตัวชวี้ ัด
ว 2.1 ม.5/12 เขยี นสูตรเคมีของไอออนและสารประกอบไอออนกิ

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นกั เรียนเปรียบเทยี บจุดหลอมเหลวและจุดเดอื ดระหวา่ งโคเวเลนส์กบั สารประกอบไอออนกิ ได้
3.2 ด้านกระบวนการ (P)
1) นกั เรยี นสามารถจดั กระทำและสือ่ ความหมายของขอ้ มลู ทศ่ี ึกษาคน้ คว้าได้
3.3 ดา้ นคณุ ลักษณะ (A)
1) ใฝ่เรยี นรู้และเป็นผมู้ คี วามมุ่งมนั่ ในการทำงาน

4. สาระสำคญั
น้ำเป็นสารเคมีชนิดหน่ึงท่ีเป็นองค์ประกอบพ้ืนฐานในรา่ กายของส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม โมเลกุลของน้ำ

เกดิ จากอะตอมของธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม ยดึ เหน่ียวกบั ธาตุออกซิเจน 1 อะตอมดว้ ย พันธะเคมีที่เรยี กว่า พันธะ
โคเวเลนต์ น้ำจัดเป็นสารโคเวเลนต์ และยังมีสารอนื่ อีกหลายชนิดท่ีเป็นสารโคเวเลนต์ สถานะและจุดเดือดของสาร
โคเวเลนต์ข้ึนอยู่กับแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุล ซึ่งมีความสัมพันธ์กับสภาพข้ัวของสารและพันธะไฮโดรเจน
ในแหล่งน้ำธรรมชาตินอกจากมีนำ้ เป็นองค์ประกอบหลกั แลว้ ยังมสี ารอ่ืนละลายอย่ดู ้วย สารที่ละลายนำ้ ได้มีทง้ั สาร
โคเวเลนต์และสารประกอบไอออนิก สารประกอบไอออนิกเกดิ จากการยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกบั ไอออนลบ
ดว้ ยพันธะไอออนิก ในอัตราส่วนอย่างตำ่ ทีท่ ำให้ประจุรวมของสารประกอบเป็นศูนย์ การละลายของสารในนำ้ มี 2
แบบ คือการละลายแบบแตกตวั และไมแ่ ตกตวั ซง่ึ ทำให้ไดส้ ารละลายอิเลก็ โทรไลตแ์ ละนอนอเิ ล็กโทรไลต์ ตามลำดบั

5. สาระการเรยี นรู้
5.1 ความรู้

การเปลย่ี นสถานะของสารประกอบไอออนิก
สารประกอบไอออนิกที่อยู่ในสถานะของแข็ง ไอออนบวกและไอออนลบจะจัดเรียงตัวสลับ
ต่อเนื่องกันไปใน 3 มิติ โดยไอออนต่างชนิดกันจะดึงดูดกันด้วยพันธะไอออนิกซึ่งเป็นแรงทางไฟฟ้าและ
ไอออนแต่ละชนดิ ไม่สามารถเคล่อื นที่ได้ เมื่อสารประกอบไอออนิกได้รบั ความร้อน พันธะไอออนิกบางส่วน
จะถูกทำลายทำให้ไอออนบวกและไอออนลบเคลื่อนท่ีได้มากขึ้น หากอุณหภูมิเพิ่มขึ้นถึงจุดหลอมเหลวจะ
เปล่ียนสถานะเป็นของเหลว และเมื่อได้รับความร้อนต่อไปจนมีอุณหภูมิถึงจุดเดือดจะเปล่ียนสถานะเป็น
แก๊ส การเปลี่ยนสถานะของสารประกอบไอออนิกจากของแข็งเป็นของเหลวหรือแก๊สต้องทำลายพันธะ
ไอออนิกซ่ึงมีความแข็งแรงมากกกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของสารโคเวเลนต์มาก ดังนั้นจุด
หลอมเหลวและจุดเดอื ดของสารประกอบไอออนกิ สงู กว่าสารโคเวเลนต์
5.2 กระบวนการ
1) ความสามารถในการส่อื สาร (อ่าน ฟงั พูด เขยี น)
2) ความสามารถในการคิด (สังเกต วเิ คราะห์ จัดกลุ่ม สรุป)
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ (ความรับผิดชอบ)
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใช้การสืบคน้ ผ่านคอมพิวเตอร์)
5.3 คณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ ม
ใฝ่เรยี นรู้และเป็นผู้มีความมงุ่ ม่นั ในการทำงาน
6. บรู ณาการ
-

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขน้ั ท่ี 1 ข้ันสร้างความสนใจ
1.1 ครูทบทวนบทเรยี นเกีย่ วกบั สารโคเวเลนตแ์ ตล่ ะชนิดมจี ุดหลอมเหลวและจดุ เดอื ดต่างกนั
ตวั อย่างดงั ตาราง 2.2 จดุ หลอมเหลวและจุดเดอื ดของสารโคเวเลนส์บางชนิด ท่ีความดัน 1 บรรยากาศ
เม่อื ต้องการเปลย่ี นสถานะของสารเหล่านจี้ งึ ตอ้ งใช้พลงั งานความร้อนไม่เทา่ กัน แสดงว่า แรงยดึ เหน่ยี ว
ระหว่างโมเลกุลของสารโคเวเลนต์แต่ละชนิดไม่เท่ากัน

ข้นั ที่ 2 ขนั้ สำรวจและค้นหา
2.1 ครูใหน้ กั เรียนศกึ ษาเน้ือหาเกย่ี วกับการเปลี่ยนสถานะของสารประกอบไอออนิก และตาราง

2.5 จดุ หลอมเหลวและจดุ เดือดของสารประกอบไอออนิกบางชนิดท่ีความดนั 1 บรรยากาศ แลว้ สรุปองค์
ความรู้ลงในสมดุ

2.2 ครใู ห้นกั เรยี นเปรยี บเทียบข้อมลู จุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสารโคเวเลนต์ในตาราง 2.2
และจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสารประกอบไอออนิกในตาราง 2.5

ข้ันที่ 3 ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรุป

3.1 ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรุป เรอื่ ง การเปลยี่ นสถานะของสารประกอบไอออนกิ จนไดข้ อ้ สรปุ
ดังน้ี

สารประกอบไอออนิกท่ีอยใู่ นสถานะของแขง็ ไอออนบวกและไอออนลบจะจดั เรียงตวั สลับ
ตอ่ เนอื่ งกนั ไปใน 3 มติ ิ โดยไอออนตา่ งชนิดกนั จะดงึ ดูดกันด้วยพันธะไอออนิกซึ่งเป็นแรงทางไฟฟ้าและ
ไอออนแต่ละชนดิ ไม่สามารถเคลอื่ นท่ไี ด้ เมอื่ สารประกอบไอออนกิ ไดร้ ับความร้อน พันธะไอออนิกบางส่วน
จะถกู ทำลายทำใหไ้ อออนบวกและไอออนลบเคลื่อนทไ่ี ดม้ ากขน้ึ หากอุณหภมู ิเพม่ิ ขน้ึ ถงึ จุดหลอมเหลวจะ
เปล่ียนสถานะเป็นของเหลว และเมอ่ื ได้รับความร้อนต่อไปจนมีอณุ หภมู ถิ งึ จุดเดือดจะเปล่ียนสถานะเป็น
แก๊ส การเปล่ยี นสถานะของสารประกอบไอออนกิ จากของแข็งเปน็ ของเหลวหรือแกส๊ ต้องทำลายพนั ธะ
ไอออนิกซง่ึ มีความแข็งแรงมากกกวา่ แรงยดึ เหนยี่ วระหว่างโมเลกุลของสารโคเวเลนต์มาก ดงั นัน้ จุด
หลอมเหลวและจุดเดือดของสารประกอบไอออนกิ สูงกวา่ สารโคเวเลนต์

ข้นั ท่ี 4 ขน้ั ขยายความรู้
4.1 ครใู หค้ วามรู้เพม่ิ เติมเกีย่ วกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก ดังน้ี
1. มขี ้วั เพราะสารประกอบไอออนกิ ไมไ่ ด้เกดิ ข้ึนเป็นโมเลกลุ เดี่ยว แตจ่ ะเป็นของแขง็ ซึ่

ประกอบดว้ ยไอออนจำนวนมาก ซง่ึ ยึดเหนยี่ วกนั ด้วยแรงยดึ เหนี่ยวทางไฟฟ้า
2. ไมน่ ำไฟฟ้าเมือ่ อยู่ในสภาพของแข็ง แต่จะนำไฟฟ้าไดเ้ มือ่ ใสส่ ารประกอบไอออนกิ ลง

ในนำ้ ไอออนจะแยกออกจากกัน ทำให้สารละลายนำไฟฟ้าในทำนองเดยี วกนั สารประกอบท่หี ลอมเหลวจะนำ
ไฟฟา้ ไดด้ ว้ ยเน่อื งจากเมื่อหลอมเหลวไอออนจะเป็นอิสระจากกัน เกดิ การไหลเวยี นอเิ ลก็ ตรอนทำให้
อเิ ล็กตรอนเคลือ่ นท่ีจึงเกดิ การนำไฟฟา้

3. มีจหุ ลอมเหลวและจดุ เดือดสงู ความร้อนในการทำลายแรงดงึ ดูดระหว่างไอออนให้
กลายเปน็ ของเหลวตอ้ งใชพ้ ลงั งานสูง

ข้ันท่ี 5 ขน้ั ประเมนิ ผล
5.1 ครูตรวจสมุดนกั เรยี นในการสรปุ องค์ความรู้ เรื่อง การเปลี่ยนสถานะของสารประกอบไอออนกิ
5.2 ครถู ามคำถาม จำนวน 1 ขอ้ ให้นักเรียนทำสง่ ในสมดุ
1) จงเปรยี บเทยี บจุดหลอมเหลวและจดุ เดอื ดระหว่างโคเวเลนส์กับสารประกอบไอออนิก

(แนวการตอบ การเปล่ยี นสถานะของสารประกอบไอออนิกจากของแข็งเป็นของเหลวหรอื แกส๊ ต้องทำลาย
พนั ธะไอออนิกซึง่ มคี วามแขง็ แรงมากกกว่าแรงยึดเหน่ยี วระหวา่ งโมเลกลุ ของสารโคเวเลนตม์ าก ดังน้นั จุด
หลอมเหลวและจุดเดอื ดของสารประกอบไอออนิกสูงกวา่ สารโคเวเลนต์)
ประยกุ ต์และตอบแทนสงั คม

ครใู ห้นกั เรียนแต่ละคนนำความรู้ทเ่ี รียนไปค้นคว้าเพิม่ เตมิ ทห่ี ้องสมดุ หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน
ช้นั เรียน

8. ส่อื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้
8.1 หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตร์กายภาพ) ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 เล่ม 1

(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 อินเทอร์เน็ต
8.3 ห้องสมดุ

9. การวัดและประเมนิ ผล วิธีการวดั เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมิน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1) ถามคำถาม จำนวน 1) แบบประเมินการ 1) นกั เรยี นสามารถ
ดา้ นความรู้ (K) 1 ขอ้ ทำกจิ กรรม ตอบคำถามไดร้ ะดับ
1) นกั เรียนเปรียบเทยี บจุดหลอมเหลวและ 2) คำถาม จำนวน 1 ดี ผา่ นเกณฑ์
จดุ เดือดระหว่างโคเวเลนสก์ บั สารประกอบ ขอ้
ไอออนิกได้ 1) นกั เรยี นสรุปองค์
1) แบบประเมินการ ความรู้ไดร้ ะดบั ดี
ด้านกระบวนการ (P) ทำกจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์
1) นักเรยี นนักเรียนสามารถจดั กระทำและ 1) ตรวจสมุดนกั เรยี น
สื่อความหมายของข้อมลู ท่ีศกึ ษาค้นควา้ ได้ สรปุ องคค์ วามรู้ เร่ือง 1) แบบประเมนิ การ 1) นกั เรยี นทำภาระ
ทำกิจกรรม งานที่ได้รบั มอบหมาย
การเปลี่ยนสถานะของ ได้ระดบั ดี ผ่านเกณฑ์
สารประกอบไอออนกิ
ด้านคณุ ลกั ษณะ (A)
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งม่ันในการ 1) ตรวจสมดุ นักเรียน
ทำงาน สรุปองคค์ วามรู้ เรอ่ื ง
การเปล่ียนสถานะของ
สารประกอบไอออนิก

10. เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานนักเรียน

เกณฑ์การประเมนิ แบบ Rubrics ของการทำกจิ กรรม เรอื่ ง การเปล่ียนสถานะของสารประกอบไอออนกิ

ประเดน็ การ ค่านำ้ หนัก แนวทางการให้คะแนน
ประเมิน คะแนน

ดา้ นความรู้ 3 ตอบคำถามได้ถกู ตอ้ งครบถ้วน

(K) 2 ตอบคำถามได้ แต่ถูกตอ้ งครบถว้ น

1 ตอบคำถาม แตไ่ ม่ถูกต้อง

ด้าน 3 สรุปเนื้อหาท่ไี ด้จากการศึกษาคน้ คว้าไดถ้ กู ตอ้ งครบถว้ น

กระบวนการ 2 สรุปเน้อื หาที่ไดจ้ ากการศึกษาค้นคว้าไดค้ ่อนข้างถูกต้องครบถว้ น

(P) 1 สรุปเนื้อหาที่ได้จากการศกึ ษาคน้ คว้าได้ แต่ไม่ครบถว้ น

ดา้ น 3 ทำภาระงานที่ไดร้ ับมอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาท่ีกำหนด และเรียบร้อยถกู ตอ้ งครบถ้วน

คณุ ลกั ษณะ 2 ทำภาระงานทไ่ี ด้รบั มอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด แต่งานยงั ผิดพลาดบางสว่ น

(A) 1 ทำภาระงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายเสรจ็ แต่ลา่ ช้า และเกดิ ข้อผดิ พลาดบางส่วน

ระดับคะแนน 3 หมายถงึ ระดับดมี าก
คะแนน 2 หมายถึง ระดบั ดี
คะแนน 1 หมายถงึ ระดบั พอใช้
คะแนน

การประเมนิ การทำกจิ กรรม เร่ือง การเปลย่ี นสถานะของสารประกอบไอออนิก

จุดประสงค์การเรียนรู้

ท่ี ช่ือ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ด้าน ดา้ น รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คุณลักษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถงึ ระดับดมี าก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 5-6 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรงุ
คะแนน

บันทกึ หลังการสอน

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง น้ำ ใ
แผนการสอนท่ี 10 เรื่อง การเปลยี่ นสถานะของสารประกอบไอออนิก .

ใ เดอื น พ.ศ. ใ

วันท่ี

ผลการจัดการเรยี นรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปญั หา / อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ปญั หา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงช่ือ............................................ครผู ู้สอน ลงชอ่ื .............................................หัวหนา้ กลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธนิ ีย์ สรรเสริญ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 11

เรอ่ื ง การละลายแบบแตกตวั

รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ1 รหสั วชิ า ว32101 เวลา 3 ชั่วโมง

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ น้ำ รวม 15 ช่วั โมง

กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1

บูรณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง  อาเซยี น  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน  มาตรฐานสากล  ข้ามกลมุ่ สาระ

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสมบัติของสสารกับโครงสร้าง

และแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี

2. ตัวชว้ี ัด
ว 2.1 ม.5/13 ระบุว่าสารเกิดการละลายแบบแตกตัวหรือไม่แตกตวั พร้อมใชเ้ หตุผลและระบวุ า่ สารละลายที่

ได้เป็นสารละลายอเิ ล็กโทรไลต์ หรอื นอนอเิ ลก็ โทรไลต์

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ (K)
1) นกั เรยี นระบวุ า่ สารเกิดการละลายนำ้ แบบแตกตวั จากสูตรเคมี และสารละลายท่ีไดเ้ ป็น
สารละลายอิเลก็ โทรไลต์ได้
3.2 ด้านกระบวนการ (P)
1) นกั เรียนสามารถจดั กระทำและส่ือความหมายของขอ้ มลู ทศี่ กึ ษาค้นคว้าได้
3.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
1) ใฝ่เรียนรู้และเปน็ ผมู้ ีความมุ่งมั่นในการทำงาน

4. สาระสำคญั
นำ้ เป็นสารเคมีชนิดหนึง่ ท่เี ปน็ องคป์ ระกอบพื้นฐานในรา่ กายของสิ่งมชี ีวิตและสงิ่ แวดล้อม โมเลกุลของนำ้

เกดิ จากอะตอมของธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม ยึดเหนยี่ วกับธาตุออกซิเจน 1 อะตอมดว้ ย พันธะเคมีท่เี รียกวา่ พนั ธะ
โคเวเลนต์ น้ำจดั เป็นสารโคเวเลนต์ และยังมีสารอื่นอกี หลายชนดิ ทเ่ี ป็นสารโคเวเลนต์ สถานะและจุดเดือดของสาร
โคเวเลนตข์ ึน้ อย่กู บั แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ซึ่งมีความสัมพันธ์กับสภาพขั้วของสารและพันธะไฮโดรเจน
ในแหล่งนำ้ ธรรมชาตินอกจากมีน้ำเปน็ องค์ประกอบหลกั แล้ว ยงั มสี ารอ่ืนละลายอยดู่ ว้ ย สารท่ีละลายนำ้ ได้มีท้ังสาร
โคเวเลนตแ์ ละสารประกอบไอออนกิ สารประกอบไอออนิกเกดิ จากการยดึ เหน่ียวระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบ
ด้วยพันธะไอออนิก ในอตั ราสว่ นอย่างต่ำทท่ี ำให้ประจุรวมของสารประกอบเปน็ ศูนย์ การละลายของสารในน้ำมี 2
แบบ คือการละลายแบบแตกตวั และไม่แตกตวั ซ่ึงทำใหไ้ ด้สารละลายอิเล็กโทรไลตแ์ ละนอนอิเลก็ โทรไลต์ ตามลำดับ
5. สาระการเรยี นรู้

5.1 ความรู้

การละลายแบบแตกตวั

เม่ือสารละลายเกลือแกง (NaCl) ในน้ำ โมเลกุลของน้ำจะเข้าลอ้ มรอบและแยกโซเดียมไอออน

(Na+) และคลอไรด์ไอออน (Cl-) ออกจากกนั ในน้ำเกลือจงึ ประกอบด้วยสารละลายโซเดียมไอออนและ

สารละลายคลอไรดไ์ อออนเขียนแทนด้วย Na+(aq) และ Cl- (aq) ซึ่งไอออนเหล่านี้สามารถเคลื่อนที่เมอื่ ตอ่

เขา้ กับวงจรไฟฟา้ ไอออนบวกจะเคล่ือนท่เี ขา้ หาข้ัวลบ และไอออนลบจะเคล่ือนที่เข้าหาขัว้ บวก ทำให้

กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นได้ สง่ ผลให้สารละลายสามารถนำไฟฟ้า เรยี กสารละลายประเภทน้วี ่า สารละลาย

อเิ ลก็ โทรไลต์ (electrolyte solution) ดังรปู 2.10 การละลายนำ้ ในลกั ษณะนีเ้ รียกวา่ การละลายน้ำ

แบบแตกตัว NaCl(s) H2O Na+(aq) + Cl- (aq)

รปู 2.10 การละลายน้ำของเกลือแกงและการเคล่ือนท่ีของไอออนเม่อื นำไฟฟ้า

นอกจากสารประกอบไอออนิกที่สามารถเกดิ การละลายนำ้ แบบแตกตวั แล้ว สารโคเวเลนตบ์ างชนิด
เชน่ แกส๊ ไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) เม่ือละลายน้ำจะแตกตวั ใหไ้ ฮโดรเจนไอออน (H+) และคลอไรด์ไอออน
(Cl-) ได้สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ดงั สมการเคมี

HCl(g) H+(aq) + Cl- (aq)

การละลายน้ำของสารบางชนดิ อาจทำให้ได้สารละลายที่มีสมบัตเิ ป็นกรดหรอื เบส ซงึ่ สามารถ

นำไปใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวัน ตัวอยา่ งดังตาราง

ตาราง 2.6 ตัวอย่างสารละลายทม่ี ีสมบัตกิ รด-เบสทใี่ ช้ประจำประโยชน์ในชีวติ ประจำวัน

สารละลาย ประเภท การใชป้ ระโยชน์

กรดไฮโดรคลอริกหรอื กรดเกลือ สารโคเวเลนต์ น้ำยาล้างหอ้ งน้ำ

(HCl*)

กรดซัลฟิวริกหรือกรดกำมะถนั สารโคเวเลนต์ สารอิเล็กโทรไลต์ใน

(H2SO4) แบตเตอรแ่ี บบตะกั่ว

กรดแอซีติกหรอื กรดน้ำส้ม สารโคเวเลนต์ นำ้ สม้ สายชู

(CH3COOH)

แอมโมเนีย (NH3) สารโคเวเลนต์ น้ำยาทำความสะอาดพ้ืนผิว
ต่างๆ เช่น กระจก

กระเบอื้ ง

โซเดยี มไฮดรอกไซดห์ รอื โซดาไฟ สารประกอบไอออนกิ ผลิตสบู่ กำจัดไขมัน

(NaOH)

แคลเซยี มโฮดรอกไซด์ สารประกอบไอออนกิ ปรบั pH ของน้ำใน

กระบวนการผลติ น้ำประปา

HCl* ในสถานะแกส๊ เรียกวา่ ไฮโดรเจนคลอไรด์ เม่ือเป็นสารละลาย เรียกว่า กรดไฮโดรคลอริก

5.2 กระบวนการ

1) ความสามารถในการสือ่ สาร (อ่าน ฟัง พดู เขยี น)

2) ความสามารถในการคิด (สังเกต วิเคราะห์ จดั กลมุ่ สรุป)

3) ความสามารถในการแก้ปัญหา (แสวงหาความรู้)

4) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ (ความรับผิดชอบ)

5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ใชก้ ารสืบคน้ ผา่ นคอมพิวเตอร)์

5.3 คณุ ลักษณะและคา่ นิยม

ใฝเ่ รียนร้แู ละเปน็ ผมู้ ีความมงุ่ มัน่ ในการทำงาน

6. บูรณาการ

-

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขั้นท่ี 1 ขนั้ สร้างความสนใจ
1.1 ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนความรู้เกี่ยวกับสารละลายว่าประกอบด้วยตัวละลายซ่ึง
กระจายตัวอย่ใู นตัวทำละลาย
1.2 ครูยกตัวอย่างการเตรียมน้ำเกลือแร่ โดยการนำผงเกลือแร่ซึ่งประกอบด้วยเกลือแกงและ
กลูโคส มาละลายในน้ำ จากน้ันเขียนสูตรเคมีของเกลือแกงและกลูโคส แล้วใช้คำถามว่า NaCl และ
C6H12O6 เม่ือละลายในน้ำจะมีการเปล่ียนแปลงอย่างไร เพ่ือให้ร่วมกันอภิปรายและสรุปให้ได้ว่า ไอออนท่ี
เปน็ องคป์ ระกอบใน NaCl และโมเลกุล C6H12O6 จะแยกออกจากกนั แล้วกระจายตัวอยใู่ นนำ้
1.3 ครูอธิบายว่า การละลายของสารในน้ำเกิดขึ้นเมื่อโมเลกุลของน้ำเข้าไปแทรกระหว่างโมเลกุล
หรือไอออนของตัวละลายได้เปน็ สารละลาย โดยการละลายของสารในน้ำมี 2 ลักษณะ คือ การละลาย แบบ
แตกตัว และการละลายแบบไมแ่ ตกตัว

ขัน้ ท่ี 2 ข้ันสำรวจและค้นหา
2.1 ครูใหน้ ักเรยี นพิจารณารปู 2.10 (ก) ซง่ึ แสดงการละลายของเกลือแกงในน้ำ แลว้ อธบิ ายวา่

เมือ่ NaCl ละลายนำ้ จะแตกตัวเปน็ Na+ และ Cl- กระจายตัวอยู่ในนำ้ โดยไอออนแต่ละชนดิ มโี มเลกลุ
ของนำ้ ล้อมรอบ ซึ่งแสดงด้วยสัญลักษณ์ Na+(aq) และ Cl-(aq) การละลายในนำ้ ลกั ษณะนีเ้ รยี กว่า
การละลายแบบแตกตัว สารละลายทไี่ ดเ้ รยี กวา่ สารละลายอิเลก็ โทรไลต์

2.2 ครูให้ความรู้วา่ สารละลายอิเลก็ โทรไลต์นำไฟฟา้ ได้ เนือ่ งจากไอออนสามารถเคลื่อนที่ได้ใน
สารละลาย ดังรูป 2.10 (ข) จากนน้ั อธิบายเพ่ิมเติมวา่ สารประกอบไอออนิกทอ่ี ยใู่ นสถานะของแขง็ ไมน่ ำ
ไฟฟ้า เนอ่ื งจากไอออนมแี รงยึดเหนยี่ วระหว่างกนั มากจึงไม่สามารถเคล่ือนทีไ่ ด้

2.3 นกั เรยี นสรปุ องค์ความรูท้ ี่ได้จากการเรยี นรูใ้ นช้ันเรียน ลงในสมุด

2.4 นกั เรียนทำแบบฝกึ หัดทา้ ยบทที่ 2 ขอ้ 10. ลงในสมดุ

ขน้ั ท่ี 3 ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรปุ
3.1 ครนู ำนกั เรยี นอภิปรายเพือ่ นำไปสู่การสรปุ โดยใชค้ ำถามตอ่ ไปนี้
1) เมือ่ NaCl ละลายน้ำ จะแตกตัวเปน็ อะไรบ้าง (แนวการ จะแตกตัวเปน็ Na+ และ Cl-

กระจายตวั อยู่ในนำ้ )
2) สารละลายอิเลก็ โทรไลตน์ ำไฟฟา้ ได้ เน่ืองจาก (แนวการตอบ เนื่องจากไอออนสามารถ

เคลอ่ื นทไ่ี ด้ในสารละลาย)
3) ไอออน Na+(aq) และ Cl- (aq) สามารถเคลื่อนท่ีเมอ่ื ตอ่ เข้ากับวงจรไฟฟา้ ไอออนบวก

จะเคล่อื นที่เข้าหาข้ัวลบ และไอออนลบจะเคลอื่ นท่ีเข้าหาข้วั บวก ทำให้กระแสไฟฟา้ ไหลผ่านได้ ส่งผลให้
สารละลายสามารถนำไฟฟ้า เรียกสารละลายประเภทนีว้ ่า (แนวการตอบ สารละลายอเิ ล็กโทรไลต์
(electrolyte solution))

4) จากคำถามข้อ 1) - 3) การละลายนำ้ ในลักษณะน้เี รยี กว่า (แนวการตอบ การละลาย
นำ้ แบบแตกตัว)

3.2 ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรปุ การศึกษาเนอ้ื หา เรอ่ื ง การละลายแบบแตกตัว

ขั้นท่ี 4 ข้ันขยายความรู้
4.1 ครูใหค้ วามรู้เพ่ิมเตมิ สารโคเวเลนต์ เช่น กรดอะมโิ นบางชนดิ อาจละลายน้ำแบบแตกตวั แตไ่ ม่

แสดงความเปน็ กรด-เบส เมื่อทดสอบดว้ ยกระดาษลติ มัส
4.2 ครยู กตัวอย่างสารละลายอิเล็กโทรไลต์ทนี่ ำมาใช้ในชีวิตประจำวนั
- แอมโมเนยี มคลอไรด์ (NH4Cl) มีสมบตั เิ ปน็ กรด ใช้ทำปยุ๋ เคมีโดยเปน็ แหล่งของธาตุ

ไนโตรเจน และสามารถใชเ้ ป็นสารละลายอเิ ล็กโทรไลตท์ ่ีช่วยในการนำไฟฟา้ ระหว่างข้ัวไฟฟ้าในถ่านไฟฉาย
- กรดซลั ฟวิ รกิ (H2SO4) ใชเ้ ป็นสารละลายอิเลก็ โทรไลตใ์ นแบตเตอร่รี ถยนต์ รวมถงึ การชบุ

โลหะด้วยไฟฟา้

ขน้ั ท่ี 5 ข้ันประเมนิ ผล
5.1 ครูตรวจสมดุ นักเรียน ในการสรปุ องค์ความรู้ เรื่อง การละลายแบบแตกตัว
5.2 ครูตรวจสมุดการทำแบบฝกึ ทา้ ยบทท่ี 2 ขอ้ 10.

ประยกุ ต์และตอบแทนสังคม
ครูใหน้ ักเรียนแต่ละคนนำความรู้ทเ่ี รียนไปค้นคว้าเพิม่ เตมิ ที่ห้องสมุด หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ชนั้ เรยี น

8. สื่อการเรียนร/ู้ แหลง่ เรยี นรู้
8.1 หนังสือเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ (วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 เลม่ 1

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560)
8.2 อนิ เทอรเ์ น็ต
8.3 ห้องสมดุ

9. การวดั และประเมนิ ผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน

ด้านความรู้ (K) 1) นักเรียนทำ
แบบฝกึ หัด ไดร้ ะดบั
1) นกั เรยี นระบวุ ่าสารเกดิ การละลายนำ้ 1) ตรวจสมดุ การทำ 1) แบบประเมนิ การ ดี ผ่านเกณฑ์

แบบแตกตวั และสารละลายท่ไี ด้เป็น แบบฝึกท้ายบทท่ี 2 ข้อ ทำกจิ กรรม 1) นักเรยี นสรุปองค์
ความรู้ไดร้ ะดบั ดี
สารละลายอิเลก็ โทรไลตไ์ ด้ 10. ผา่ นเกณฑ์

ด้านกระบวนการ (P) 1) นักเรยี นทำภาระ
งานที่ได้รบั มอบหมาย
1) นักเรยี นสามารถจัดกระทำและส่อื 1) ตรวจสมุดการสรปุ 1) แบบประเมนิ การ ได้ระดบั ดี ผ่านเกณฑ์

ความหมายของขอ้ มูลท่ีศึกษาคน้ ควา้ ได้ องคค์ วามรู้ เรอ่ื ง การ ทำกจิ กรรม

ละลายแบบแตกตัว

ดา้ นคุณลกั ษณะ (A)

1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งม่ันในการ 1) ถามคำถาม จำนวน 1) แบบประเมินการ

ทำงาน 4 ข้อ ทำกจิ กรรม

2) ตรวจสมดุ การสรุป 2) คำถาม จำนวน 4

องคค์ วามรู้ เร่ือง การ ขอ้

ละลายแบบแตกตัว

10. เกณฑก์ ารประเมินผลงานนกั เรยี น

เกณฑก์ ารประเมนิ แบบ Rubrics ของการทำกิจกรรม เรอ่ื ง การละลายแบบแตกตัว

ประเดน็ การ คา่ น้ำหนกั แนวทางการให้คะแนน
ประเมิน คะแนน

ดา้ นความรู้ 3 ทำแบบฝึกหัดไดถ้ กู ต้องครบถว้ น

(K) 2 ทำแบบฝึกหัดได้ แต่ไม่ถกู ตอ้ งครบถว้ น

1 ทำแบบฝกึ หัด แต่ไม่ถกู ตอ้ ง

ด้าน 3 สรุปเนือ้ หา เรือ่ ง การละลายแบบแตกตวั ได้ถกู ต้องครบถ้วน

กระบวนการ 2 สรุปเน้ือหา เรอ่ื ง การละลายแบบแตกตัวได้คอ่ นข้างถกู ต้องครบถ้วน

(P) 1 สรุปเนื้อหา เรื่อง การละลายแบบแตกตวั ได้ แตไ่ ม่ครบถ้วน

ดา้ น 3 ทำภาระงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จภายในเวลาท่ีกำหนด และเรียบร้อยถูกตอ้ งครบถ้วน

คุณลักษณะ 2 ทำภาระงานที่ได้รบั มอบหมายเสร็จภายในเวลาท่ีกำหนด แต่งานยังผดิ พลาดบางสว่ น

(A) 1 ทำภาระงานทไ่ี ด้รบั มอบหมายเสรจ็ แต่ลา่ ช้า และเกิดขอ้ ผิดพลาดบางสว่ น

ระดบั คะแนน 3 หมายถึง ระดบั ดมี าก
คะแนน 2 หมายถงึ ระดับดี
คะแนน 1 หมายถึง ระดบั พอใช้
คะแนน

การประเมินการทำกิจกรรม เรือ่ ง การละลายแบบแตกตัว

จุดประสงค์การเรียนรู้

ท่ี ชอ่ื - นามสกลุ ด้านความรู้ ด้าน ดา้ น รวม ระดบั
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คุณภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถงึ ระดับดมี าก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 5-6 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรงุ
คะแนน

บนั ทกึ หลังการสอน

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 เร่อื ง น้ำ ใ
แผนการสอนท่ี 11 เรือ่ ง การละลายแบบแตกตัว .

ใ เดือน พ.ศ. ใ

วันที่

ผลการจดั การเรียนรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปญั หา / อปุ สรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกป้ ญั หา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงช่ือ............................................ครผู ู้สอน ลงช่อื .............................................หัวหนา้ กลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธินีย์ สรรเสริญ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 12

เรอ่ื ง การละลายแบบไม่แตกตวั

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์กายภาพ1 รหสั วิชา ว32101 เวลา 2 ช่ัวโมง

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ น้ำ รวม 15 ชัว่ โมง

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1

บรู ณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง  อาเซยี น  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น  มาตรฐานสากล  ข้ามกลุ่มสาระ

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ิของสสารกับโครงสรา้ ง

และแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี

2. ตวั ช้ีวัด
ว 2.1 ม.5/13 ระบุวา่ สารเกิดการละลายแบบแตกตวั หรอื ไม่แตกตัว พรอ้ มใชเ้ หตุผลและระบวุ ่าสารละลายท่ี

ไดเ้ ป็นสารละลายอเิ ล็กโทรไลต์ หรอื นอนอิเล็กโทรไลต์

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
3.1 ด้านความรู้ (K)
1) นักเรียนระบวุ ่าสารเกิดการละลายนำ้ แบบแตกตวั หรือแบบไมแ่ ตกตัวจากสูตรเคมี และ
สารละลายทไี่ ด้เป็นสารละลายอเิ ล็กโทรไลตห์ รือนอนอเิ ลก็ โทรไลต์ได้
3.2 ด้านกระบวนการ (P)
-
3.3 ดา้ นคุณลักษณะ (A)
1) ใฝ่เรียนรู้และเปน็ ผูม้ คี วามมุ่งมนั่ ในการทำงาน

4. สาระสำคญั
น้ำเป็นสารเคมีชนิดหนึ่งท่ีเป็นองค์ประกอบพื้นฐานในรา่ กายของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โมเลกุลของน้ำ

เกดิ จากอะตอมของธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม ยึดเหนี่ยวกบั ธาตุออกซิเจน 1 อะตอมด้วย พันธะเคมีที่เรยี กวา่ พันธะ
โคเวเลนต์ น้ำจัดเป็นสารโคเวเลนต์ และยงั มีสารอ่ืนอีกหลายชนิดท่ีเป็นสารโคเวเลนต์ สถานะและจุดเดือดของสาร
โคเวเลนต์ข้ึนอยู่กับแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุล ซ่ึงมีความสัมพันธ์กับสภาพข้ัวของสารและพันธะไฮโดรเจน
ในแหล่งน้ำธรรมชาตินอกจากมีน้ำเป็นองค์ประกอบหลักแล้ว ยังมสี ารอื่นละลายอยดู่ ้วย สารที่ละลายนำ้ ไดม้ ีทงั้ สาร
โคเวเลนต์และสารประกอบไอออนิก สารประกอบไอออนิกเกดิ จากการยึดเหน่ียวระหวา่ งไอออนบวกกับไอออนลบ
ด้วยพันธะไอออนิก ในอัตราส่วนอย่างต่ำทท่ี ำใหป้ ระจุรวมของสารประกอบเปน็ ศูนย์ การละลายของสารในนำ้ มี 2
แบบ คือการละลายแบบแตกตวั และไมแ่ ตกตวั ซ่ึงทำใหไ้ ดส้ ารละลายอเิ ลก็ โทรไลตแ์ ละนอนอเิ ลก็ โทรไลต์ ตามลำดบั

5. สาระการเรยี นรู้
5.1 ความรู้
การละลายแบบแตกตัว
สารโคเวเลนตท์ ี่ละลายน้ำไดส้ ว่ นใหญเ่ ปน็ สารโมเลกลุ ขนาดเลก็ เชน่ แก๊สออกซเิ จน แก๊สคลอรีน
หรือเปน็ สารทีส่ ามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนกบั นำ้ ได้ เช่น กลูโคส นำ้ ตาลทราย เอทานอล แอซีโตน สาร
เหล่านเ้ี กดิ การละลายน้ำแบบไม่แตกตวั ได้สารละลายท่ีไมน่ ำไฟฟ้า เรยี กวา่ สารละลายนอนอเิ ล็กโทรไลต์
(non-electrolyte solution) การละลายนำ้ ของแกส๊ ออกซิเจนและเอทานอลแสดงดงั รปู 2.11

รูป 2.11 การละลายนำ้ ของแกส๊ ออกซเิ จนและเอทานอล

5.2 กระบวนการ
1) ความสามารถในการสื่อสาร (อ่าน ฟัง พูด เขยี น)
2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วเิ คราะห์ จดั กลุ่ม สรุป)
3) ความสามารถในการแกป้ ญั หา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต (ความรับผดิ ชอบ)
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ใชก้ ารสืบค้นผ่านคอมพวิ เตอร์)

5.3 คณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ ม
ใฝเ่ รียนรแู้ ละเปน็ ผ้มู ีความมงุ่ มั่นในการทำงาน

6. บูรณาการ
-

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขัน้ ท่ี 1 ข้นั สร้างความสนใจ
1.1 ครูทบทวนบทเรยี น เร่อื ง การละลายแบบแตกตวั สารละลายอเิ ลก็ โทรไลต์

ขน้ั ท่ี 2 ข้ันสำรวจและค้นหา
2.1 ครใู ห้ความรู้ว่าการละลายแบบไม่แตกตัวเกิดขน้ึ กบั สารโคเวเลนต์ท่ีมโี มเลกุลขนาดเล็ก หรือ

เป็นสารโคเวเลนตท์ ี่สามารถสร้างพนั ธะไฮโดรเจนกับน้ำได้ ซ่งึ สารละลายทไี่ ดจ้ ะไม่นำไฟฟา้ เรียกวา่
สารละลายนอนอิเลก็ โทรไลต์

2.2 นักเรียนทำแบบฝึกหดั 2.4 ในหนงั สือเรียน หน้า 49 ลงในสมุด

ขน้ั ที่ 3 ขน้ั อธิบายและลงข้อสรุป

3.1 ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปเนื้อหาภายในบทเรียน เร่อื ง การละลายแบบไมแ่ ตกตัว แลว้ ให้
นกั เรยี นทำแบบฝึกหัดทา้ ยบทท่ี 2 เพ่อื ทบทวนความรู้

ข้นั ท่ี 4 ขนั้ ขยายความรู้
4.1 ครูใหค้ วามรู้เพ่ิมเติมเกี่ยวกบั ศพั ท์นา่ รู้ตามรายละเอียดในหนงั สอื เรยี น หน้า 50

ข้ันที่ 5 ข้นั ประเมินผล
5.1 ครตู รวจสมดุ การทำแบบฝกึ หดั 2.4

ประยุกตแ์ ละตอบแทนสังคม
ครูใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนนำความรู้ทีเ่ รียนไปค้นคว้าเพิม่ เติมท่หี ้องสมดุ หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ช้นั เรียน

8. สื่อการเรยี นรู/้ แหลง่ เรียนรู้
8.1 หนังสือเรียนรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ (วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ) ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 เล่ม 1

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560)
8.2 อนิ เทอรเ์ น็ต
8.3 ห้องสมดุ

9. การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีการวัด เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมิน
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1) ตรวจแบบฝึกหัด
2.4 1) แบบประเมินการ 1) นกั เรียนทำ
ด้านความรู้ (K)
1) นกั เรียนระบุว่าสารเกดิ การละลายนำ้ - ทำกิจกรรม แบบฝกึ หัด ไดร้ ะดบั
แบบแตกตัวและสารละลายท่ีไดเ้ ป็น
สารละลายอิเล็กโทรไลต์ได้ ดี ผา่ นเกณฑ์
ด้านกระบวนการ (P)
- --

ด้านคณุ ลกั ษณะ (A) 1) แบบประเมินการ 1) นกั เรียนทำภาระ
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการ 1) ตรวจแบบฝึกหดั
ทำงาน 2.4 ทำกิจกรรม งานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

ได้ระดบั ดี ผา่ นเกณฑ์

10. เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานนักเรียน

เกณฑ์การประเมินแบบ Rubrics ของการทำกจิ กรรม เรื่อง การละลายแบบไม่แตกตัว

ประเด็นการ ค่านำ้ หนัก แนวทางการให้คะแนน
ประเมนิ คะแนน

ดา้ นความรู้ 3 ทำแบบฝกึ หดั ได้ถูกตอ้ งครบถ้วน

(K) 2 ทำแบบฝึกหดั ได้ แต่ไม่ถกู ต้องครบถ้วน

1 ทำแบบฝกึ หัด แต่ไมถ่ กู ต้อง

ดา้ น 3 ทำภาระงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด และเรียบรอ้ ยถูกต้องครบถ้วน

คุณลกั ษณะ 2 ทำภาระงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด แต่งานยังผิดพลาดบางส่วน

(A) 1 ทำภาระงานทไ่ี ด้รบั มอบหมายเสร็จ แต่ล่าช้า และเกิดขอ้ ผดิ พลาดบางสว่ น

ระดบั คะแนน 3 หมายถงึ ระดบั ดีมาก
คะแนน 2 หมายถึง ระดับดี
คะแนน 1 หมายถึง ระดับพอใช้
คะแนน

การประเมนิ การทำกิจกรรม เรอ่ื ง การละลายแบบไม่แตกตัว

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

ท่ี ช่ือ - นามสกลุ ดา้ นความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คุณลักษณะ คะแนน คุณภาพ

(P) (A)

- 3 36

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชือ่ - นามสกุล ด้านความรู้ ดา้ น ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คุณลักษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

- 3 36

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คณุ ภาพ 5-6 หมายถึง ระดับดมี าก
คะแนน 4 หมายถึง ระดับดี
คะแนน 3 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 2 หมายถงึ ระดบั ปรบั ปรุง
คะแนน

บนั ทึกหลังการสอน

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรื่อง น้ำ ใ
แผนการสอนท่ี 12 เร่อื ง การละลายแบบไม่แตกตวั .

ใ เดอื น พ.ศ. ใ

วันท่ี

ผลการจัดการเรยี นรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปัญหา / อปุ สรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ปญั หา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชอ่ื ............................................ครผู ู้สอน ลงชอ่ื .............................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธนิ ีย์ สรรเสรญิ ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 13

เรอ่ื ง ไขมันและนำ้ มนั

รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ1 รหสั วชิ า ว32101 เวลา 3 ชั่วโมง

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ อาหาร รวม 19 ชั่วโมง

กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรยี นที่ 1

บูรณาการ

 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  อาเซียน  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน  มาตรฐานสากล  ข้ามกลุ่มสาระ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พันธ์ระหว่างสมบัตขิ องสสารกับโครงสร้าง

และแรงยดึ เหนยี่ วระหวา่ งอนภุ าค หลกั และธรรมชาติของการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี

2. ตวั ช้วี ัด
ว 2.1 ม.5/14 ระบสุ ารประกอบอินทรีย์ประเภทไฮโดรคาร์บอนว่าอิ่มตวั หรือไม่อม่ิ ตวั จากสตู รโครงสรา้ ง

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
3.1 ด้านความรู้ (K)
1) นกั เรียนอธบิ ายความหมายของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนได้
2) นักเรียนระบุสารประกอบอนิ ทรีย์ประเภทไฮโดรเจนคาร์บอนว่าอ่ิมตัวหรือไม่อม่ิ ตวั จากสตู ร
โครงสร้างได้
3.2 ด้านกระบวนการ (P)
1) นกั เรยี นสามารถจดั กระทำและสือ่ ความหมายของขอ้ มลู ทศี่ ึกษาค้นคว้าได้
3.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A)
1) ใฝ่เรยี นรูแ้ ละเปน็ ผู้มคี วามมงุ่ ม่ันในการทำงาน

4. สาระสำคญั
อาหารเปน็ ปัจจัยสำคัญสำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย์ โดยไขมัน คารโ์ บไฮเดรต โปรตีน และวิตามนิ เป็น

สารประกอบอินทรีย์ ส่วนเกลอื แร่เปน็ ไอออนหรือสารประกอบไอออนกิ สารประกอบอินทรยี ์เป็นสารประกอบของ
ธาตุคารบ์ อนซึ่งอาจมีธาตุอื่นเป็นองค์ประกอบรว่ มด้วย เช่น ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน ซัลเฟอร์ ไขมันมีทั้ง
ชนิดอิ่มตัวและไม่อิ่มตัวซึ่งพิจารณาได้จากชนิดพันธะระหว่างคาร์บอนอะตอมในกรดไขมัน ซึ่งใช้เกณฑ์เดียวกับ
สารประกอบไฮโดรเจนคาร์บอน คาร์โบไฮเดรตที่เป็นมอนอเมอร์และพอลิเมอร์มีสมบัติแตกต่างกัน โปรตีนเป็น
พอลิเมอร์ท่ีมีมอนอเมอร์เป็นกรดแอมิโนซ่ึงมีหมู่คาร์บอกซิล และหมู่อะมิโน จึงแสดงสมบัติความเป็นกรด-เบสได้
วติ ามินแตล่ ะชนิดมีสภาพขวั้ แตกต่างกนั ทำให้บางชนดิ ละลายได้ในนำ้ มัน บางชนดิ ละลายได้ในนำ้ มัน ซ่งึ เป็นไปตาม
หลักการ like dissolves like ส่วนเกลอื แร่แต่ละชนิดมีประโยชน์ท่ีแตกต่างกัน บรรจุภณั ฑ์สำหรับอาหารส่วนใหญ่
ทำมาจากพลาสติกซ่ึงเป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ มีทัง้ ชนิดพอลิเมอร์เทอร์มอพลาสติกและพอลิเมอร์เทอรม์ อเซตซึ่งใช้

งานไดแ้ ตกต่างกนั พลาสติกยอ่ ยสลายไดย้ ากและมีการใชใ้ นปรมิ าณมาก จึงก่อให้เกิดปัญหาขยะ การลดการใช้ การ
ใชซ้ ำ้ และการนำกลบั มาใช้ใหม่ เปน็ การชว่ ยปัญหาไดท้ างหน่ึง
5. สาระการเรยี นรู้

5.1 ความรู้
อาหารเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชวี ิตของมนุษย์ อาหารให้พลงั งาน หรือใช้กลไกในการทำงาน

ของระบบภายในร่างกาย อาหารแต่ละชนิดมีสารองค์ประกอบท่ีสำคัญ ได้แก่ ไขมันและน้ำมัน
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน วติ ามนิ และเกลือแร่ ในสดั ส่วนท่ีแตกต่างกัน ซ่ึงสว่ นใหญ่เป็นสารประกอบอินทรีย์
(organic compound) ยกเวน้ เกลอื แร่

สารประกอบอินทรีย์เป็นสารประกอบที่มีธาตุคาร์บอน (C) เป็นองค์ประกอบ ธาตุคาร์บอนใน
สารประกอบอินทรีย์ส่วนใหญ่สร้างพันธะโคเวเลนต์กับธาตุไฮโดรเจน (H) หรือกับธาตุคาร์บอน (C) ด้วย
กันเอง นอกจากนี้สารประกอบอินทรีย์ยังมีธาตุชนิดอื่น เช่น O N S Cl เป็นองค์ประกอบร่วมกัน
สารประกอบอินทรีย์อาจได้มาจากสิ่งมีชีวิตหรือการสังเคราะห์ ส่วนสารประกอบอื่นที่ไม่ใช่สารประกอบ
อินทรีย์ เรียกว่า สารประกอบอนินทรีย์ ซ่ึงมีสารประกอบของคาร์บอนบางชนิดจัดเป็นสารประกอบ
อนินทรยี ์ เช่น คาร์บอนมอนนอกไซด์ คารบ์ อนไดออกไซด์ กรดคาร์บอนกิ

รูป 3.1 สตู รโครงสรา้ งสารประกอบอนิ ทรียบ์ างชนดิ

ไขมันและน้ำมนั
ในชีวิตประจำวันอาหารที่บริโภคส่วนใหญ่มีไขมันและน้ำมันเป็นองค์ประกอบ เช่น ไก่ทอด
ไอศกรีม ผดั ผัก ขนมเค้ก เครือ่ งดื่มผสมครีมเทยี ม ไขมันและน้ำมันแต่ละชนิดมีข้อดีและข้อเสยี แตกตา่ งกัน
การเลือกบรโิ ภคไขมนั และนำ้ มนั อยา่ งเหมาะสมจึงเปน็ ผลดีต่อสุขภาพของรา่ งกาย
ไขมนั และนำ้ มนั เป็นสารอาหารทใ่ี ห้พลงั งาน พบมากในอาหารจำพวกนำ้ มนั พชื ไขมันสัตว์ นม เนย
ไขมันและน้ำมนั จัดเปน็ สารในกล่มุ ไตรกลเี ซอไรด์ (triglycerides) ทีม่ ีโครงสร้างประกอบดว้ ยส่วนท่ีมาจาก
กลีเซอรอล (glycerol) และกรดไขมนั (fatty acid) ดงั รปู 3.3

รูป 3.3 โครงสร้างของไตรกลีเซอไรด์

เม่ือพิจารณาโครงสร้างของไตรกลีเซอไรด์ใน ไขมันและ น้ำมัน แต่ละชนิดจะ มีส่วน ที่มาจากกลีเซอรอล
เหมือนกัน แต่จะมีส่วนท่ีมาจากกรดไขมันที่แตกต่างกัน โดยส่วนท่ีเป็นกรดไขมันถ้ามีพันธะ C=C อยู่ในโครงสร้าง
เรียกว่า กรดไขมันไม่อ่ิมตัว (unsaturated fatty acid) ส่วนกรดไขมันท่ีมีเฉพาะพันธะเด่ียวอยู่ในโครงสร้าง
เรียกว่า กรดไขมันอ่ิมตัว (saturated fatty acid) โดยกรดไขมันไม่อิ่มตัวมีจุดหลอมเหลวต่ำกว่าอุณหภูมิห้อง
ส่วนกรดไขมันอมิ่ ตวั มีจุดหลอมเหลวสงู กวา่ อณุ หภูมหิ อ้ ง

หลั กก ารพิ จารณ าความอิ่ ม ตัวข องก รดไขมั น เป็ น ห ลั กก ารเดีย วกัน กั บ การ พิ จารณ าความ อิ่ม ตัวข อ ง
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน (hydrocarbon compound) ซงึ่ เป็นสารประกอบอินทรยี ์ท่ปี ระกอบดว้ ยคาร์บอน
และไฮโดรเจนเท่าน้ัน โดยสูตรโครงสร้างของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนอ่ิมตัวมีพันธะเด่ียวท้ังหมด ส่วนสูตร
โครงสร้างของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนไมอ่ มิ่ ตวั มพี นั ธะคู่หรอื พนั ธะสามอย่างน้อย 1 พันธะ ดงั รปู 3.4

รูป 3.4 ตวั อย่างโครงสร้างของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนอิม่ ตวั และไม่อ่ิมตัว

5.2 กระบวนการ
1) ความสามารถในการส่ือสาร (อ่าน ฟัง พูด เขยี น)
2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วเิ คราะห์ จดั กล่มุ สรุป)
3) ความสามารถในการแก้ปญั หา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ (ความรับผิดชอบ)
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ใช้การสืบคน้ ผา่ นคอมพิวเตอร)์

5.3 คณุ ลักษณะและค่านยิ ม
ใฝเ่ รยี นร้แู ละเป็นผู้มคี วามมุ่งมัน่ ในการทำงาน

6. บูรณาการ
-

7. กจิ กรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขัน้ สร้างความสนใจ
1.1 ครูใหน้ กั เรียนทำตรวจสอบความรู้กอ่ นเรยี นในหนงั สอื เรียน หนา้ 65
1.2 ครูทวนคำถามตรวจสอบความร้กู อ่ นเรยี นใหน้ กั เรียนตอบรว่ มกัน พรอ้ มเฉลย
1.3 ครูต้งั คำถามให้นกั เรียนคิด เพอื่ นำไปสู่กิจกรรม
1) อาหารใหพ้ ลงั งานแก่ร่างกายหรอื ไม่ อาหารทใ่ี ห้พลังงานได้แก่ (แนวการตอบ อาหาร
ให้พลังงานแกร่ า่ งกาย ไดแ้ ก่ ไขมัน คารโ์ บไฮเดรต โปรตีน)
2) นักเรียนคดิ วา่ อาหารท่ีให้พลังงานมากทส่ี ุด คืออะไร (แนวการตอบ ไขมนั )
3) เกลอื แรเ่ ปน็ สารประกอบอนิ ทรีย์หรือไม่ (แนวการตอบ ไม่)
4) สารประกอบอนิ ทรีย์เป็นสารประกอบทม่ี ธี าตุในเป็นองคป์ ระกอบ (แนวการตอบ ธาตุ
คาร์บอน (C))
5) ไขมันและน้ำมนั เป็นอาหารทใ่ี หพ้ ลงั งาน นกั เรียนคิดว่าพบในอาหารจำพวกใดบ้าง
(แนวการตอบ นำ้ มันพืช ไขมนั สัตว์ นม เนย)
1.4 ครูนำเขา้ สู่บทเรียนดว้ ยการอภิปรายเกี่ยวกับความสำคัญของอาหารต่อการดำรงชีวิตของ
มนษุ ยแ์ ละส่งิ มีชวี ิต แหล่งของสารอาหารแต่ละชนิดซึ่งได้มาจากส่ิงมชี วี ติ และเชอ่ื มโยงวา่ ไขมนั และน้ำมนั
คารโ์ บไฮเดรต โปรตีน และวติ ามินเป็นสารประกอบอนิ ทรยี ์ ยกเว้นเกลอื แร่
1.5 ครูอธิบายเกี่ยวกับชนิดของธาตุองค์ประกอบของสารประกอบอินทรีย์ และสารประกอบ
อนินทรีย์ แลว้ ใหน้ กั เรียนตอบคำถามตรวจสอบความเขา้ ใจ

ข้นั ท่ี 2 ขน้ั สำรวจและคน้ หา
2.1 ครูให้นกั เรียนศึกษาเน้อื หาเกีย่ วกับไขมนั และนำ้ มัน ตามหนงั สอื เรยี น หนา้ 60-61
2.2 นกั เรียนทำแบบฝกึ หดั 3.1 ขอ้ ท่ี 1-3 ในหนงั สือเรียน หนา้ 62 ลงในสมุด
2.3 นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ลงในสมุด
- สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน (hydrocarbon compound) คอื (แนวการตอบ

เป็นสารประกอบอินทรยี ์ทป่ี ระกอบด้วยคารบ์ อนและไฮโดรเจนเทา่ นนั้ โดยสูตรโครงสร้างของสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนอิ่มตวั มีพนั ธะเด่ียวทงั้ หมด ส่วนสตู รโครงสร้างของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนไมอ่ ่ิมตวั
มพี ันธะคหู่ รือพนั ธะสามอยา่ งน้อย 1 พันธะ)

ขัน้ ที่ 3 ขั้นอธิบายและลงขอ้ สรปุ
3.1 ครสู ุ่มนักเรยี น 3 คน (สมุ่ เลขท่)ี ออกมาเฉลยแบบฝึกหดั 3.1 หน้าชนั้ เรียน
3.2 ครูให้นักเรยี นทกุ คนช่วยกันตรวจสอบคำตอบพรอ้ มกันวา่ ถูกตอ้ งหรอื ไม่
3.3 ครูนำนกั เรยี นอภปิ รายเพือ่ นำไปสกู่ ารสรุป เร่ือง ไขมนั และน้ำมัน โดยใช้คำถามตอ่ ไปน้ี
1) ไขมนั และน้ำมันจัดเปน็ สารในกลมุ่ ใด (แนวการ กลุ่มไตรกลเี ซอไรด์ (triglycerides))
2) กรดไขมันถ้ามีพนั ธะ C=C อยูใ่ นโครงสรา้ ง เรยี กวา่ (แนวการตอบ กรดไขมันไมอ่ มิ่ ตัว

(unsaturated fatty acid))
3) กรดไขมนั ท่มี ีเฉพาะพันธะเดีย่ วอย่ใู นโครงสร้าง เรยี กว่า (แนวการตอบ กรดไขมนั

อิ่มตวั (saturated fatty acid))

4) กรดไขมันไม่อ่มิ ตัวมีจุดหลอมเหลวอย่างไรอณุ หภมู หิ อ้ ง (แนวการตอบ ตำ่ กวา่
อุณหภมู ิหอ้ ง)

5) กรดไขมันอ่มิ ตัวมจี ดุ หลอมเหลวอยา่ งไรอุณหภมู ิห้อง (แนวการตอบ สูงกวา่
อณุ หภมู หิ อ้ ง)

6) สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน (hydrocarbon compound) คอื (แนวการตอบ
เปน็ สารประกอบอินทรียท์ ป่ี ระกอบด้วยคาร์บอนและไฮโดรเจนเทา่ น้ัน โดยสูตรโครงสรา้ งของสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนอมิ่ ตวั มพี ันธะเด่ยี วทง้ั หมด สว่ นสตู รโครงสรา้ งของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนไมอ่ ่มิ ตัว
มพี ันธะคหู่ รอื พนั ธะสามอยา่ งนอ้ ย 1 พันธะ)

3.2 ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรปุ บทเรยี น เร่อื ง ไขมนั และนำ้ มนั

ขั้นท่ี 4 ขนั้ ขยายความรู้
4.1 ครใู หค้ วามรู้เพม่ิ เตมิ เก่ยี วกบั กรดไขมนั ประเภทโอเมกา-3 และโอเมกา-6 ตามรายละเอยี ดใน

หนงั สือเรยี นหน้า 61
4.2 ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกยี่ วกับร้อยละของกรดไขมนั อิม่ ตัวและไมอ่ ่ิมตัวบางชนิด ตามรายละเอยี ด

ในหนังสือเรยี นหน้า 63-64

ข้ันที่ 5 ขัน้ ประเมินผล
5.1 ครตู รวจสมดุ ของนักเรียน ในการทำแบบฝกึ หดั 3.1
5.2 ครูตรวจสมดุ ของนกั เรยี นในการตอบคำถามเกี่ยวกับสารประกอบไฮโดรเจนคารบ์ อน
5.3 นกั เรยี นทำแบบฝึกหดั ท้ายท่ี 3 ขอ้ ท่ี 1 หนา้ 91

ประยุกต์และตอบแทนสังคม
ครูให้นกั เรียนแตล่ ะคนนำความรู้ท่เี รียนไปค้นคว้าเพ่มิ เตมิ ทห่ี ้องสมดุ หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ช้นั เรยี น

8. ส่อื การเรียนร/ู้ แหลง่ เรียนรู้
8.1 หนงั สือเรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ (วทิ ยาศาสตร์กายภาพ) ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 เลม่ 1

(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 อินเทอร์เน็ต
8.3 หอ้ งสมุด

9. การวัดและประเมนิ ผล วิธกี ารวดั เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1) ถามคำถามจำนวน 1) แบบประเมนิ การ 1) นกั เรยี นตอบ
ดา้ นความรู้ (K) 1 ขอ้ ทำกจิ กรรม คำถาม ไดร้ ะดบั ดี
1) นกั เรียนอธิบายความหมายของ 2) ตรวจแบบฝึกหัด 2) คำถามจำนวน 1 ผา่ นเกณฑ์2)
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนได้ ทา้ ยท่ี 3 ข้อที่ 1 ขอ้ นกั เรียนสามารถทำ
2) นักเรยี นระบสุ ารประกอบอนิ ทรีย์ 3) แบบฝึกหัดท้ายที่ แบบฝึกหัดท้ายบทท่ี
ประเภทไฮโดรเจนคารบ์ อนวา่ อิม่ ตวั หรือไม่ 3 ข้อท่ี 1 3 ขอ้ ท่ี 1 ได้ระดับดี
อิม่ ตวั จากสตู รโครงสร้างได้ ผา่ นเกณฑ์
1) แบบประเมนิ การ
ด้านกระบวนการ (P) 1) ตรวจแบบฝึกหดั ทำกิจกรรม 1) นักเรยี นสามารถ
1) นกั เรียนสามารถจัดกระทำและสอ่ื 3.1 ข้อที่ 1-3 ทำแบบฝกึ หัด 3.1
ความหมายของขอ้ มลู ที่ศกึ ษาคน้ คว้าได้ 1) แบบประเมินการ ไดร้ ะดับดี ผา่ นเกณฑ์
ทำกิจกรรม
ด้านคณุ ลกั ษณะ (A) 1) นกั เรียนทำภาระ
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการ 1) ถามคำถามจำนวน งานทไี่ ด้รับมอบหมาย
ทำงาน 1 ขอ้ ได้ระดบั ดี ผา่ นเกณฑ์

2) ตรวจแบบฝกึ หัด
ท้ายที่ 3 ข้อท่ี 1
3) ตรวจแบบฝกึ หดั
3.1 ขอ้ ท่ี 1-3

10. เกณฑ์การประเมินผลงานนักเรียน

เกณฑ์การประเมนิ แบบ Rubrics ของการทำกจิ กรรม เร่ือง ไขมนั และน้ำมัน

ประเดน็ การ ค่าน้ำหนัก แนวทางการใหค้ ะแนน
ประเมนิ คะแนน

ด้านความรู้ 3 ตอบคำถามไดถ้ กู ต้องครบถว้ น

(K) 2 ตอบคำถามได้ แต่ถูกต้องครบถว้ น

1 ตอบคำถาม แต่ไม่ถูกตอ้ ง

3 ทำแบบฝึกหดั ทา้ ยบทที่ 3 ขอ้ ที่ 1 ถูกต้องครบถว้ น

2 ทำแบบฝกึ หดั ทา้ ยบทที่ 3 ข้อท่ี 1 ถกู ตอ้ งบางส่วน

1 ทำแบบฝกึ หดั ทา้ ยบทที่ 3 ข้อท่ี 1 แต่ไมถ่ กู ต้อง

ดา้ น 3 ทำแบบฝกึ หดั 3.1 ได้ถกู ตอ้ งครบถ้วน จำนวน 3 ขอ้

กระบวนการ 2 ทำแบบฝึกหดั 3.1 ได้ถกู ต้องครบถ้วน จำนวน 1-2 ขอ้

(P) 1 ทำแบบฝกึ หดั 3.1 แตไ่ มถ่ ูกต้อง

ด้าน 3 ทำภาระงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด และเรยี บร้อยถูกต้องครบถว้ น

คณุ ลักษณะ 2 ทำภาระงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาที่กำหนด แตง่ านยงั ผดิ พลาดบางส่วน

(A) 1 ทำภาระงานทไี่ ด้รับมอบหมายเสร็จ แต่ลา่ ช้า และเกิดข้อผิดพลาดบางส่วน

ระดับคะแนน 3 หมายถึง ระดบั ดมี าก
คะแนน 2 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 1 หมายถึง ระดับพอใช้
คะแนน

หมายเหตุ หาค่าเฉลย่ี ของคะแนนด้านความรู้ (K) คะแนนเตม็ เทา่ กบั 3

การประเมนิ การทำกจิ กรรม เร่ือง ไขมันและนำ้ มนั

จุดประสงค์การเรียนรู้

ท่ี ชอื่ - นามสกลุ ดา้ นความรู้ ด้าน ดา้ น รวม ระดบั
(K) กระบวนการ คุณลักษณะ คะแนน คุณภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกลุ ดา้ นความรู้ ด้าน ดา้ น รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลักษณะ คะแนน คุณภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถึง ระดับดมี าก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดับดี
คะแนน 5-6 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถงึ ระดับปรับปรุง
คะแนน

บนั ทึกหลังการสอน

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 เร่ือง อาหาร พ.ศ. ใ
แผนการสอนท่ี 13 เรอ่ื ง ไขมันและน้ำมนั .

ใ เดอื น ใ

วันท่ี

ผลการจัดการเรยี นรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปญั หา / อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกป้ ญั หา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชือ่ ............................................ครผู สู้ อน ลงชอื่ .............................................หัวหน้ากลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธินีย์ สรรเสริญ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 14

เร่อื ง คาร์โบไฮเดรต

รายวชิ าวิทยาศาสตร์กายภาพ1 รหัสวชิ า ว32101 เวลา 2 ช่ัวโมง

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 3 ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ อาหาร รวม 19 ช่วั โมง

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1

บูรณาการ

 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง  อาเซยี น  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน  มาตรฐานสากล  ขา้ มกล่มุ สาระ

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบัติของสสารกบั โครงสร้าง

และแรงยดึ เหนยี่ วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

2. ตวั ชว้ี ัด
ว 2.1 ม.5/15 สบื คน้ ขอ้ มูลและเปรยี บเทยี บสมบัติทางกายภาพระหว่างพอลเิ มอรแ์ ละมอนอเมอร์ของ

พอลิเมอร์ชนดิ นัน้

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นกั เรยี นสืบค้นข้อมูลและเปรยี บเทียบสมบัตทิ างกายภาพระหว่างพอลเิ มอร์และมอนอเมอรข์ อง
พอลิเมอร์ชนิดน้ันได้
3.2 ด้านกระบวนการ (P)
1) นกั เรียนสามารถทำกจิ กรรม 3.1 การทดลองเปรียบเทยี บสมบัติบางประการของกลโู คสและแป้งมัน
สำปะหลังได้
3.3 ดา้ นคุณลักษณะ (A)
1) ใฝ่เรยี นรแู้ ละเป็นผมู้ คี วามมงุ่ มน่ั ในการทำงาน

4. สาระสำคัญ
อาหารเปน็ ปัจจัยสำคัญสำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย์ โดยไขมัน คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และวิตามินเป็น

สารประกอบอินทรีย์ สว่ นเกลือแร่เปน็ ไอออนหรือสารประกอบไอออนิก สารประกอบอินทรีย์เป็นสารประกอบของ
ธาตุคาร์บอนซึ่งอาจมีธาตุอื่นเป็นองค์ประกอบร่วมด้วย เช่น ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน ซัลเฟอร์ ไขมันมีทั้ง
ชนิดอ่ิมตัวและไม่อ่ิมตัวซึ่งพิจารณาได้จากชนิดพันธะระหว่างคาร์บอนอะตอมในกรดไขมัน ซ่ึงใช้เกณฑ์เดียวกับ
สารประกอบไฮโดรเจนคาร์บอน คาร์โบไฮเดรตที่เป็นมอนอเมอร์และพอลิเมอร์มีสมบัติแตกต่างกัน โปรตีนเป็น
พอลิเมอร์ที่มีมอนอเมอร์เป็นกรดแอมิโนซ่ึงมีหมู่คาร์บอกซิล และหมู่อะมิโน จึงแสดงสมบัติความเป็นกรด-เบสได้
วติ ามนิ แตล่ ะชนดิ มีสภาพข้ัวแตกต่างกัน ทำใหบ้ างชนดิ ละลายได้ในน้ำมัน บางชนดิ ละลายไดใ้ นน้ำมนั ซ่งึ เป็นไปตาม
หลักการ like dissolves like ส่วนเกลือแร่แต่ละชนิดมีประโยชน์ท่ีแตกต่างกัน บรรจุภณั ฑ์สำหรับอาหารส่วนใหญ่

ทำมาจากพลาสติกซ่ึงเป็นพอลเิ มอร์สังเคราะห์ มีทงั้ ชนดิ พอลิเมอร์เทอร์มอพลาสตกิ และพอลิเมอร์เทอรม์ อเซตซ่ึงใช้
งานได้แตกต่างกนั พลาสติกย่อยสลายได้ยากและมีการใช้ในปรมิ าณมาก จึงก่อใหเ้ กิดปัญหาขยะ การลดการใช้ การ
ใชซ้ ำ้ และการนำกลบั มาใช้ใหม่ เปน็ การชว่ ยปัญหาไดท้ างหนึง่
5. สาระการเรยี นรู้

5.1 ความรู้
คารโ์ บไฮเดรต
ข้าว แป้ง น้ำตาลเป็นอาหารท่ีมีคาร์โบไฮเดรตเป็นองค์ประกอบหลักซึ่งเป็นแหล่งพลังงานสำหรับ

สิ่งมีชีวิต เมื่อบริโภคข้าวหรือแป้ง ร่างกายจะย่อยคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ที่มีขนาดเล็กลง จนได้เป็น
กลูโคสซ่ึงเป็นหน่วยย่อยท่ีสดุ ของคาร์โบไฮเดรต ร่างกายสามารถดูดซมึ กลูโคสที่เปน็ โมเลกุลขนาดเล็กเขา้ สู่
กระแสเลือดและใช้เป็นสารต้ังต้นในการทำปฏิกิริยากับออกซิเจน เพื่อให้พลังงานแก่ร่างกาย สำหรับผู้ท่ีมี
ระดับน้ำตาลในเลือดลดลงอย่างเร็วจากการออกกำลังกายหรือท้องเสีย การดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่ที่มี
สว่ นผสมของกลูโคสจึงเป็นวิธีหน่ึงที่ช่วยทำให้ระดบั น้ำตาลในเลือดกลับสู่สภาวะปกติได้เร็วกว่าการบริโภค
ข้าวแป้ง

รูป 3.7 ภาพจำลองการยอ่ ยโมเลกลุ แปง้ ให้เป็นกลูโคส
ในทางเคมีจัดให้คารโ์ บไฮเดรตในข้าวและแปง้ ซึ่งมีโมเลกุลขนาดใหญเ่ ป็นพอลแิ ซ็กคาไรด์
(polysaccharide) สว่ นกลูโคสเป็นน้ำตาลโมเลกุลเด่ียวหรือมอนอแซ็กคาไรด์ (monosaccharide)
โครงสรา้ งแสดงดงั รูป 3.8

รปู 3.8 โครงสรา้ งของพอลแิ ซ็กคาไรด์และมอนอแซ็กคาไรด์
สารเคมีที่โมเลกุลมีโครงสรา้ งขนาดใหญ่ประกอบด้วยหน่วยย่อยจำนวนมากเช่ือมตอ่ กนั เช่นเดียวกับ
พอลิแซก็ คาไรด์ เรยี กวา่ พอลิเมอร์ (polymer) สว่ นสารโมเลกลุขนาดเลก็ ทีม่ ารวมตัวกันเพอ่ื เกิดเปน็
พอลิเมอร์ เรยี กวา่ มอนอเมอร์ (monomer) ซ่ึงมอนอเมอร์ของพอลแิ ซ็กคาไรด์ในขา้ วและแปง้ คือ กลูโคส

5.2 กระบวนการ
1) ความสามารถในการสือ่ สาร (อ่าน ฟงั พดู เขยี น)

2) ความสามารถในการคิด (สังเกต วิเคราะห์ จัดกลุ่ม สรุป)
3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต (ความรับผดิ ชอบ)
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ใช้การสบื ค้นผา่ นคอมพิวเตอร์)
5.3 คุณลักษณะและค่านยิ ม
ใฝเ่ รียนรูแ้ ละเปน็ ผูม้ คี วามมุ่งมัน่ ในการทำงาน

6. บูรณาการ
บรู ณาการเกีย่ วกับเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เงอื่ นไขความรู้: ประกอบด้วย ความรอบรเู้ กี่ยวกบั วิชาการต่าง ๆ ท่ีเกีย่ วข้องอย่างรอบด้าน ความ
รอบคอบที่จะนำความรู้เหลา่ น้นั มาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวัง
ในข้ันปฏิบตั ิ

7. กจิ กรรมการเรียนรู้
ขัน้ ท่ี 1 ข้นั สร้างความสนใจ
1.1 ครูนำเข้าสูบ่ ทเรียนโดยให้นกั เรยี นบอกความสำคญั ของคาร์โบไฮเดรต
1.2 ครูให้นกั เรียนยกตวั อย่างอาหารทีม่ ีคารโ์ บไฮเดรตเปน็ องค์ประกอบ ขนมปัง แปง้ นำ้ ตาล เปน็ ต้น
1.3 ใหน้ ักเรียนพิจารณารูป 3.7 แล้วอภิปรายเก่ียวกบั การยอ่ ยคารโ์ บไฮเดรตในแปง้ ใหเ้ ปน็ กลูโคส
เพอ่ื ใหไ้ ด้ข้อสรุปวา่ คาร์โบไฮเดรตในแป้งเปน็ โมเลกุลขนาดใหญ่ รา่ งกายไม่สามารถดูดซึมได้ จึงตอ้ งย่อยให้
เปน็ กลโู คสท่ีเป็นโมเลกุลขนาดเล็กที่สดุ จนร่างกายสามารถดูดซึมได้

ขน้ั ท่ี 2 ข้ันสำรวจและคน้ หา
2.1 ครใู หค้ วามรูเ้ กยี่ วกับพอลิแซก็ คาไรด์และมอนอแซ็กคาไรด์ จากนนั้ ใช้สูตรโครงสรา้ งจากรปู

3.8 เชือ่ มโยงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมอนอเมอรก์ ับพอลเิ มอร์
2.2 ครูจดั กลมุ่ นักเรยี น โดยแบง่ ออกเปน็ กลมุ่ ๆ ละ 5-6 คน โดยคละเพศ คละความสามารถ
2.3 นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มศกึ ษาใบกิจกรรม 3.1 เรื่อง การทดลองเปรียบเทยี บสมบัติบางประการของ

กลูโคสและแปง้ มนั สำปะหลงั
2.4 ครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ อปุ กรณ์ และข้ันตอนการทดลองอยา่ งละเอยี ด
2.5 นักเรยี นรับอปุ กรณก์ ารทดลอง พรอ้ มตดิ ต้งั อปุ กรณ์
2.6 นกั เรียนแต่ละกลุ่มทำการทดลอง สงั เกตและบันทึกผลการทดลอง

ขั้นท่ี 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรปุ
3.1 ครสู ่มุ นักเรียน 2 คน ออกมานำเสนอผลการทดลองท่ีไดจ้ ากการทำกจิ กรรมหนา้ ชนั้ เรียน
3.2 ครนู ำนกั เรียนอภิปรายผลการทดลองของกิจกรรม 3.1 เรื่อง การทดลองเปรยี บเทยี บสมบตั ิ

บางประการของกลูโคสและแป้งมันสำปะหลงั เพ่ือนำไปสกู่ ารสรุปโดยใช้คำถามต่อไปนี้
1) สารกลโู คสทอ่ี ุณหภมู หิ ้องมกี ารเปลีย่ นแปลงของสารในนำ้ อย่างไร (แนวการตอบ

ละลายน้ำ ได้สารละลายใส ไมม่ สี ี)

2) สารกลูโคสหลงั ต้มมีการเปล่ยี นแปลงของสารในน้ำอย่างไร (แนวการตอบ ไม่มกี าร
เปล่ียนแปลง)

3) สารกลโู คสการติดกนั ของกระดาษเป็นอย่างไร (แนวการตอบ กระดาษไม่ตดิ กนั )
4) แปง้ มนั สำปะหลงั ทอ่ี ุณหภูมิห้องมกี ารเปลี่ยนแปลงของสารในนำ้ อย่างไร (แนวการ
ตอบ ไม่ละลายไดส้ ารแขวนลอย สีขาวขนุ่ เมอ่ื ท้ิงไว้จะตกตะกอน)
5) แป้งมันสำปะหลงั หลงั ตม้ มกี ารเปลีย่ นแปลงของสารในนำ้ อยา่ งไร (แนวการตอบ นำ้
แปง้ ใสขนึ้ มีลกั ษณะหนืด)
6) แปง้ มนั สำปะหลังการตดิ กันของกระดาษเป็นอยา่ งไร (แนวการตอบ กระดาษติดกัน
แนน่ ดึงออกจากกันไมไ่ ด้)
3.3 นักเรียนและครูร่วมกันอภปิ รายผลการทดลองและสรปุ ผลการทำการทดลอง จนสรุป
ได้ ดงั นี้
เมื่อนำกลโู คสมาละลายในน้ำพบว่าได้สารละลายใสไม่มีสี แสดงวา่ กลโู คสละลายน้ำไดด้ ี
หลงั ตม้ ไมเ่ กิดการเปลยี่ นแปลง ส่วนแป้งมนั สำปะหลังไมล่ ะลายนำ้ ทอ่ี ณุ หภมู ิหอ้ ง แตเ่ ม่อื ผ่านการต้มพบวา่
น้ำแปง้ มีลักษณะใสข้นึ เม่ือนำสารทั้ง 2 ชนิดที่ผ่านการต้มแล้ว มาทดสอบด้วยการติดกระดาษพบว่านำ้ แป้ง
ทำให้กระดาษติดกันได้มากกว่าสารละลายกลดู คสแสดงวา่ น้ำแปง้ มคี วามหนืดมากกวา่ สารละลายกลูโคส
และเมอื่ พิจารณาลักษณะของสารละลายกลูโคสและน้ำแป้งหลังต้ม จะพบวา่ น้ำแป้งมลี กั ษณะหนืดขน้
มากกว่า ซ่งึ สอดคลอ้ งกับผลการทดสอบดว้ ยการติดกับกระดาษ ดงั นน้ั จึงสรปุ ได้ว่า กลโู คสและแป้งมัน
สำปะหลังมีสมบัติแตกต่างกัน โดยกลโู คสละลายน้ำาได้ดีกว่า ส่วนแป้งมนั สำปะหลงั ให้สารละลายที่มคี วาม
หนดื มากกวา่

ขั้นที่ 4 ขนั้ ขยายความรู้
4.1 ครใู หค้ วามรู้เพมิ่ เติมเก่ียวกบั น้ำตาลทราย ตามรายละเอยี ดในหนงั สือเรยี นหน้า 66

ขั้นที่ 5 ข้นั ประเมินผล
5.1 นกั เรียนส่งใบกจิ กรรม 3.1 เรือ่ ง การทดลองเปรยี บเทียบสมบัตบิ างประการของกลโู คสและ

แป้งมนั สำปะหลัง

ประยุกตแ์ ละตอบแทนสงั คม
ครูให้นักเรียนแตล่ ะคนนำความรู้ทเี่ รียนไปค้นควา้ เพิ่มเตมิ ทีห่ ้องสมุด หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ชัน้ เรยี น

8. สอ่ื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้
8.1 หนงั สือเรียนรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ (วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ) ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 เลม่ 1

(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 อนิ เทอร์เน็ต
8.3 หอ้ งสมดุ
8.4 ใบกิจกรรม 3.1 เรอื่ ง การทดลองเปรยี บเทยี บสมบตั บิ างประการของกลูโคสและแปง้ มันสำปะหลงั

9. การวัดและประเมินผล วิธกี ารวัด เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) นักเรียนสามารถ
1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมนิ การ สรปุ ผลการทดลองได้
ดา้ นความรู้ (K) 3.1 เรือ่ ง การทดลอง ทำกจิ กรรม ระดับดี ผ่านเกณฑ์
1) นักเรยี นสืบคน้ ขอ้ มูลและเปรียบเทยี บ เปรียบเทยี บสมบัติบาง 2) ใบกิจกรรม 3.1
สมบตั ิทางกายภาพระหวา่ งพอลิเมอร์และ ประการของกลโู คส เรอ่ื ง การทดลอง 1) นักเรยี นสามารถ
มอนอเมอรข์ องพอลเิ มอร์ชนดิ น้ันได้ และแปง้ มันสำปะหลงั เปรียบเทียบสมบตั ิ บันทึกผลการทำ
กจิ กรรมไดร้ ะดับดี
ดา้ นกระบวนการ (P) บางประการของ ผ่านเกณฑ์
1) นกั เรียนสามารถทำกิจกรรม 3.1 การ กลโู คสและแป้งมนั
ทดลองเปรยี บเทยี บสมบตั ิบางประการของ สำปะหลัง
กลโู คสและแป้งมันสำปะหลงั ได้
1) ตรวจใบกิจกรรม 1) แบบประเมนิ การ
3.1 เรอื่ ง การทดลอง ทำกิจกรรม
เปรยี บเทียบสมบตั ิบาง 2) ใบกิจกรรม 3.1
ประการของกลูโคส เรือ่ ง การทดลอง
และแป้งมันสำปะหลงั เปรียบเทยี บสมบัติ

บางประการของ
กลูโคสและแปง้ มนั
สำปะหลงั

ดา้ นคุณลกั ษณะ (A) 1) นักเรียนทำภาระ
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งม่ันในการ 1) ตรวจใบกจิ กรรม 1) แบบประเมินการ งานท่ีได้รับมอบหมาย
ทำงาน 3.1 เรอื่ ง การทดลอง ทำกจิ กรรม ได้ระดบั ดี ผ่านเกณฑ์

เปรยี บเทียบสมบัติบาง 2) ใบกิจกรรม 3.1
ประการของกลูโคส เรื่อง การทดลอง
และแป้งมันสำปะหลงั เปรียบเทียบสมบตั ิ

บางประการของ
กลโู คสและแปง้ มัน
สำปะหลงั

10. เกณฑ์การประเมนิ ผลงานนักเรียน

เกณฑ์การประเมินแบบ Rubrics ของการทำกจิ กรรม เรอื่ ง คารโ์ บไฮเดรต

ประเดน็ การ คา่ น้ำหนัก แนวทางการให้คะแนน
ประเมิน คะแนน

ด้านความรู้ 3 สรุปผลการทดลองไดถ้ ูกตอ้ งครบถว้ น
(K) 2 สรปุ ผลการทดลองคอ่ นขา้ งถกู ต้องครบถ้วน
1 สรปุ ผลการทดลองไดค้ อ่ นขา้ งถกู ต้อง

ด้าน 3 บนั ทกึ ผลกจิ กรรมไดถ้ กู ตอ้ งครบถ้วน

กระบวนการ 2 บันทกึ ผลกจิ กรรมคอ่ นขา้ งถูกต้อง

(P) 1 บนั ทึกผลกิจกรรมไดค้ ่อนขา้ งถกู ตอ้ ง

ด้าน 3 ทำภาระงานที่ได้รับมอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาท่ีกำหนด และเรยี บร้อยถูกต้องครบถว้ น

คณุ ลกั ษณะ 2 ทำภาระงานที่ได้รบั มอบหมายเสร็จภายในเวลาที่กำหนด แตง่ านยังผิดพลาดบางส่วน

(A) 1 ทำภาระงานทไ่ี ด้รับมอบหมายเสรจ็ แต่ล่าช้า และเกดิ ข้อผิดพลาดบางส่วน

ระดับคะแนน 3 หมายถงึ ระดบั ดีมาก
คะแนน 2 หมายถึง ระดบั ดี
คะแนน 1 หมายถึง ระดับพอใช้
คะแนน

การประเมินการทำกิจกรรม เรอื่ ง คารโ์ บไฮเดรต

จุดประสงค์การเรียนรู้

ท่ี ชือ่ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ดา้ น ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลักษณะ คะแนน คุณภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชอ่ื - นามสกลุ ดา้ นความรู้ ด้าน ดา้ น รวม ระดบั
(K) กระบวนการ คุณลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถึง ระดบั ดมี าก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดับดี
คะแนน 5-6 หมายถงึ ระดบั ปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถงึ ระดบั ปรบั ปรงุ
คะแนน

บนั ทึกหลังการสอน

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เร่อื ง อาหาร พ.ศ. ใ
แผนการสอนท่ี 14 เรอ่ื ง คาร์โบไฮเดรต .

ใ เดอื น ใ

วันท่ี

ผลการจัดการเรียนรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปญั หา / อปุ สรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ปัญหา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชือ่ ............................................ครผู ู้สอน ลงชอื่ .............................................หวั หน้ากลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธนิ ยี ์ สรรเสรญิ ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

ใบกจิ กรรม 3.1 เรือ่ ง การทดลองเปรยี บเทียบสมบัติบางประการของกลโู คสและแปง้ มนั สำปะหลงั

1. รายชือ่ สมาชกิ ท่ี …………………………………………………….. ชน้ั …………………………………
ช่ือ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ช่อื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................

ชอื่ ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ช่อื ……………………………………………………………………………....................................เลขท่.ี ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................

ชอื่ ……………………………………………………………………………....................................เลขท่ี...................

2. จดุ ประสงค์การทำกจิ กรรม
เพื่อศึกษาสมบัติการละลายและการติดกระดาษของสารละลายกลโู คสและน้ำแปง้ มันสำปะหลงั

3. วัสด-ุ อุปกรณ์ 5 g 5) แท่งแก้วคน 1 แทง่
1) แป้งมันสำปะหลงั
2) กลโู คส 5 g 6) เครื่องชัง่ 1 เคร่ือง
3) น้ำกล่นั
4) บกี เกอร์ ขนาด 50 mL 25 ml 7) เตาแผ่นความร้อน 1 เครือ่ ง

2 ใบ 8) กระดาษขนาด 5 cm x 7 cm 4 แผน่

4. วธิ ที ำการทดลอง
1) ใส่แป้งมันสำปะหลงั 5 g ลงในบีกเกอร์ ใบที่ 1 แลว้ เติมนำ้ ลงในบกี เกอร์ 12.5 ml คนใหเ้ ข้ากันท่ีอุณหภมู หิ อ้ ง สงั เกต
และบันทึกผล จากนน้ั ทำการทดลองเช่นเดยี วกนั แตเ่ ปล่ียนจากแปง้ มนั สำปะหลงั เป็นกลูโคสในบีกเกอร์ ใบท่ี 2
2) นำบกี เกอร์ ใบท่ี 1 และ 2 มาตม้ เป็นเวลา 1 นาที โดยระหวา่ งท่ีตม้ ต้องใช้แท่งแกว้ คนตลอดเวลา จากนนั้ ต้ังพักไว้
ประมาณ 5 นาที
3) ทาสารในบีกเกอร์ ใบที่ 1 และ 2 ลงบนกระดาษแต่ละแผน่ ใหท้ ว่ั จากน้นั ตดิ ประกอบกระดาษแตล่ ะแผ่นด้วยกระดาษ
อกี แผ่นท่ีมีขนาดเทา่ กัน ต้ังไว้ให้แหง้ ประมาณ 10 นาที จากน้นั ดึงกระดาษท้งั สองออกจากกนั สังเกตและบันทึกผล
การทดลอง

5. ผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง
สาร
กลโู คส การเปล่ยี นแปลงของสารในนำ้ ท่ีสังเกตได้ การติดกันของกระดาษ

ที่อณุ หภมู ิหอ้ ง หลงั ตม้

แปง้ มันสำปะหลงั

6. คำถามทา้ ยการทดลอง มีการ
1) สารละลายกลูโคสและนำ้ แป้งมันสำปะหลัง มีลักษณะเหมอื นกันหรือไม่ อยา่ งไร มีการ

ตอบ กลูโคสและแปง้ มนั สำปะหลงั มีสมบตั ิแตกต่างกัน กลูโคสละลายนำ้ าได้ดีกว่า
2) หลังการตม้ สารท้ังสองชนดิ มคี วามหนดื แตกต่างกนั หรือไม่ อยา่ งไร

ตอบ แตกต่างกัน แปง้ มันสำปะหลังใหส้ ารละลายทมี่ ีความหนดื มากกวา่ ฃ

7. สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองพบวา่ เมื่อนำกลูโคสมาละลายในน้ำพบวา่ ได้สารละลายใสไม่มีสี แสดงว่ากลูโคสละลายน้ำได้ดี

หลังต้มไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง ส่วนแป้งมันสำปะหลังไม่ละลายน้ำท่ีอุณหภูมิห้อง แต่เม่ือผ่านการต้มพบว่าน้ำแป้งมี

ลักษณะใสข้ึน เมือ่ นำสารทั้ง 2 ชนิดทผี่ ่านการตม้ แลว้ มาทดสอบดว้ ยการตดิ กระดาษพบว่าน้ำแปง้ ทำใหก้ ระดาษตดิ กันได้

มากกว่าสารละลายกลูดคสแสดงว่าน้ำแป้งมีความหนืดมากกว่าสารละลายกลูโคส และเม่ือพิจารณาลักษณะของ

สารละลายกลูโคสและนำ้ แป้งหลงั ต้ม จะพบวา่ น้ำแป้งมีลกั ษณะหนืดขน้ มากกว่า ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั ผลการทดสอบด้วยการ

ตดิ กับกระดาษ v

มากกว่าสารละลายกลูดคสแสดงว่าน้ำแป้งมีความหนืดมากกว่าสารละลายกลูโคส และเมื่อพิจารณาลักษณะของ

สารละลายกลูโคสและน้ำแป้งหลงั ต้ม จะพบว่าน้ำแปง้ มีลกั ษณะหนดื ขน้ มากกว่า ซึง่ สอดคลอ้ งกบั ผลการทดสอบดว้ ยการ

ตดิ กบั กระดาษ v

เฉลยใบกิจกรรม 3.1 เร่ือง การทดลองเปรยี บเทยี บสมบัตบิ างประการของกลโู คสและแป้งมันสำปะหลงั

1. รายชือ่ สมาชกิ ท่ี …………………………………………………….. ชน้ั …………………………………
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท่.ี ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท่.ี ..................

ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขที.่ ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................

ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................

2. จดุ ประสงค์การทำกจิ กรรม
เพ่ือศกึ ษาสมบัติการละลายและการติดกระดาษของสารละลายกลูโคสและน้ำแปง้ มันสำปะหลงั

3. วสั ด-ุ อุปกรณ์ 5 g 5) แท่งแก้วคน 1 แท่ง
1) แป้งมันสำปะหลัง
2) กลโู คส 5 g 6) เครื่องชง่ั 1 เครื่อง
3) น้ำกลั่น
4) บีกเกอร์ ขนาด 50 mL 25 ml 7) เตาแผน่ ความรอ้ น 1 เคร่ือง

2 ใบ 8) กระดาษขนาด 5 cm x 7 cm 4 แผ่น

4. วธิ ที ำการทดลอง
1) ใสแ่ ปง้ มนั สำปะหลงั 5 g ลงในบกี เกอร์ ใบท่ี 1 แลว้ เตมิ นำ้ ลงในบีกเกอร์ 12.5 ml คนใหเ้ ข้ากนั ท่ีอณุ หภูมิห้อง สังเกต
และบันทกึ ผล จากนน้ั ทำการทดลองเชน่ เดียวกันแต่เปลี่ยนจากแปง้ มนั สำปะหลังเปน็ กลโู คสในบีกเกอร์ ใบท่ี 2
2) นำบกี เกอร์ ใบท่ี 1 และ 2 มาตม้ เปน็ เวลา 1 นาที โดยระหวา่ งทตี่ ม้ ตอ้ งใชแ้ ทง่ แกว้ คนตลอดเวลา จากนน้ั ตงั้ พกั ไว้
ประมาณ 5 นาที
3) ทาสารในบกี เกอร์ ใบที่ 1 และ 2 ลงบนกระดาษแตล่ ะแผ่นให้ทั่ว จากนน้ั ติดประกอบกระดาษแตล่ ะแผ่นดว้ ยกระดาษ
อีกแผน่ ท่มี ีขนาดเทา่ กัน ต้ังไว้ให้แห้งประมาณ 10 นาที จากนั้นดงึ กระดาษทั้งสองออกจากกัน สงั เกตและบนั ทึกผล
การทดลอง


Click to View FlipBook Version