The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิจัยแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร

วิจัยแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร

134

ตารางที่ 4.15 คา่ เฉลี่ย ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดับความพงึ พอใจตอ่ แนวทางของผู้รับผิดชอบ
โครงการระดบั สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา ครูวทิ ยากร และวิทยากรภาคีเครือขา่ ย ในดา้ นเนือ้ หา

รายการ (n = 135)
x̄ S.D ระดับ
1. เนอื้ หา กิจกรรม และระยะเวลา มีความเหมาะสม 4.71 0.45 มากท่ีสุด
2. เอกสารประกอบมีเนื้อหาที่ครอบคลมุ และ
4.67 0.47 มากที่สดุ
มีความเหมาะสม
3. เนื้อหาและกจิ กรรมสอดคลอ้ งกบั ความต้องการและ 4.70 0.46 มากที่สุด
4.63 0.48 มากที่สดุ
บรบิ ทในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ 4.56 0.54 มากทส่ี ุด
ส่ิงแวดลอ้ ม 4.65 0.21 มากที่สุด
4. สือ่ และอปุ กรณ์ท่ใี ช้เหมาะสมกบั เน้อื หาและกจิ กรรม
5. วทิ ยากรมีความรอบร้แู ละสามารถ่ายทอดไดด้ ี

รวม

จากตารางที่ 4.15 พบว่า ในภาพรวมความพึงพอใจต่อแนวทางของผู้รับผิดชอบ
โครงการระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ครูวิทยากร และวิทยากรภาคีเครือข่าย ในด้านเนื้อหา
อยู่ในระดับมากทส่ี ุด (x̄ = 4.65, S.D. = 0.21) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ เนือ้ หา กิจกรรม และ
ระยะเวลา มคี วามเหมาะสม มีผลการประเมินมากท่ีสดุ (x̄ = 4.71, S.D. = 0.45) รองลงมาคอื เน้อื หา
และกจิ กรรมสอดคลอ้ งกับความต้องการและบริบทในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
(x̄ = 4.70, S.D. = 0.46) และเอกสารประกอบมีเนือ้ หาท่ีครอบคลุมและมคี วามเหมาะสม (x̄ = 4.67,
S.D. = 0.47) ตามลำดบั

135

ตารางท่ี 4.16 ค่าเฉล่ีย สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจต่อแนวทางของผู้รับผิดชอบ
โครงการระดับสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา ครูวิทยากร และวทิ ยากรภาคเี ครอื ขา่ ย ในด้านกระบวนการ

รายการ (n = 135)
x̄ S.D ระดบั
1. ภาคีเครือขา่ ยและผ้เู กย่ี วข้องมีสว่ นร่วมในทกุ ข้นั ตอน 4.61 0.49 มากที่สุด
2. กระบวนการเรียนรเู้ ป็นแบบ Active Learning 4.73 0.44 มากทส่ี ดุ
3. การจดั การความรเู้ ป็นระบบ ถ่ายทอดและฝึกปฏิบัตไิ ดง้ า่ ย 4.86 0.35 มากทีส่ ุด
4. การดำเนินงานเปน็ ไปตามข้ันตอนการเสริมสร้าง 4.75 0.45

คุณลกั ษณะ มากที่สุด
5. การกำกบั ติดตามเป็นระบบ ครบถ้วน 4.59 0.51 มากที่สดุ
4.71 0.19 มากทส่ี ุด
รวม

จากตารางที่ 4.16 พบว่า ในภาพรวมความพึงพอใจต่อแนวทาง ของผู้รับผิดชอบ
โครงการระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ครูวิทยากร และวิทยากรภาคีเครือข่าย ในด้านกระบวนการ
อยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.71, S.D. = 0.19) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การจัดการความรู้
เป็นระบบ ถา่ ยทอดและฝึกปฏิบัติไดง้ ่าย มีผลการประเมินมากที่สดุ (x̄ = 4.86, S.D. = 0.35) รองลงมาคือ
การดำเนนิ งานเป็นไปตามข้นั ตอนการเสริมสร้างคุณลกั ษณะ (x̄ = 4.75, S.D. = 0.45) และกระบวนการ
เรียนรเู้ ปน็ แบบ Active Learning (x̄ = 4.73, S.D. = 0.44) ตามลำดับ

136

ตารางท่ี 4.17 คา่ เฉล่ีย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดบั ความพงึ พอใจต่อแนวทางของผู้รับผิดชอบ
โครงการระดบั สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา ครวู ิทยากร และวิทยากรภาคเี ครือขา่ ย ในดา้ นผลลพั ธ์

รายการ (n = 135)
x̄ S.D ระดับ
1. นกั เรียนเกดิ คณุ ลักษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพร 4.59 0.49 มากที่สุด
2. ครสู ามารถจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละประยกุ ต์ใชใ้ น
4.54 0.50 มากทสี่ ุด
โรงเรียน
3. เครือขา่ ยการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ 4.83 0.38 มากทส่ี ดุ

สิ่งแวดลอ้ มมีความเขม้ แขง็ และเปน็ ระบบ 4.63 0.48 มากทส่ี ุด
4. โรงเรยี นต่อยอดดา้ นการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
4.61 0.49 มากที่สุด
และสิง่ แวดลอ้ ม สคู่ วามยัง่ ยืน อย่างเปน็ รูปธรรม 4.64 0.24 มากทส่ี ดุ
5. แนวทางพฒั นานกั เรียนดา้ นการอนุรกั ษ์

ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มมีความชดั เจน
และปฏิบัติไดจ้ ริง

รวม

จากตารางที่ 4.17 พบว่า ในภาพรวมความพึงพอใจต่อแนวทางของผู้รับผิดชอบ
โครงการระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ครูวิทยากร และวิทยากรภาคีเครือข่าย ในด้านผลลัพธ์
อยูใ่ นระดบั มากที่สุด (x̄ = 4.64, S.D. = 0.24) เมื่อพจิ ารณาเป็นรายข้อ พบวา่ เครือข่ายการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความเข้มแข็งและเป็นระบบ มีผลการประเมินมากที่สุด
(x̄ = 4.83, S.D. = 0.38) รองลงมาคือ โรงเรียนต่อยอดด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม สู่ความยั่งยืน อย่างเป็นรูปธรรม (x̄ = 4.63, S.D. = 0.48) และแนวทางพัฒนานักเรียน
ด้านการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมมีความชัดเจน และปฏบิ ตั ิได้จริง (x̄ = 4.61, S.D. = 0.49)
ตามลำดบั

ข้อคดิ เหน็ และเสนอแนะเพม่ิ เติม
1) ควรเพิ่มความชัดเจนในการสื่อสารสร้างความเข้าใจระหว่างภาคีเครือข่ายในพื้นที่
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา และโรงเรยี น รวมถึงหน่วยงานสว่ นกลางมายังระดบั พื้นที่
2) อยากให้มีปรับช่วงเวลาจัดค่ายให้เร็วขึ้นมาเป็นช่วงหน้าหนาว เนื่องจากเดิมที่จัด
ช่วงหนา้ ฝนเพราะธรรมชาตอิ ุดมสมบรู ณ์ แตอ่ าจทำให้การเดินทางและการกจิ กรรมมีความลำบาก

137

3) อยากให้มีการขยายผลโครงการ กิจกรรมค่าย และแนวทางเสริมสร้างคุณลักษณะ
เยาวชนรกั ษพ์ งไพร ไปยงั โรงเรยี นและพืน้ ทอ่ี น่ื ๆ เพราะมีประโยชน์

4) ครูและนักเรียนควรมีโอกาสหรือเวทีในการแสดงศักยภาพหรือผลที่เกิดจากการ
เรยี นรใู้ นดา้ นการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมมากขึน้

2. ผลการวิเคราะห์จากแบบประเมินความพึงพอใจต่อกิจกรรมค่ายของนักเรียน
ดังตารางท่ี 4.18 ถงึ 4.19

ตารางที่ 4.18 ข้อมลู สถานภาพทว่ั ไปของนกั เรียนผู้ตอบแบบประเมนิ

สถานภาพ จำนวน (คน) ร้อยละ
เพศ
142 39.44
- ชาย 218 60.56
- หญงิ 360 100.00

รวม 177 49.17
ระดบั ชัน้ ทศี่ กึ ษา 183 50.83
360 100.00
- ประถมศึกษาปีท่ี 4
- ประถมศึกษาปีท่ี 5

รวม

จากตารางที่ 4.18 พบว่า นักเรียนผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจต่อกิจกรรมค่าย
มากทีส่ ุด เป็นเพศหญิง จำนวน 218 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 60.56 เป็นเพศชาย จำนวน 142 คน คิดเป็น
ร้อยละ 39.44 ศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 183 คน คิดเป็นร้อยละ 50.83 และ
ระดับประถมศกึ ษาปที ี่ 4 จำนวน 177 คน คิดเป็นร้อยละ 49.17

138

ตารางท่ี 4.19 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั ความพึงพอใจต่อกิจกรรมค่ายของนักเรยี น

รายการ (n = 360)
x̄ S.D ระดบั
1. กจิ กรรมสนุก มปี ระโยชน์ ได้ประสบการณ์และ
เรียนรู้ 4.54 0.50 มากทส่ี ุด
4.35 0.48 มาก
2. กำหนดการและระยะเวลาทำกจิ กรรมเหมาะสม 4.32 0.47 มาก
3. สถานที่จดั กจิ กรรมปลอดภยั สะอาด เพยี งพอ 4.57 0.50 มากทส่ี ุด
4. อาหารสะอาด รสชาติดี มีเพยี งพอ 4.36 0.48 มาก
5. อปุ กรณแ์ ละสอื่ ในการจัดกจิ กรรมมคี วามเหมาะสม 4.64 0.48 มากที่สดุ
6. วทิ ยากรเกง่ สอนสนกุ เขา้ ใจงา่ ย น่าตดิ ตาม 4.58 0.49 มากที่สดุ
7. ส่ิงท่ีได้เรียนร้สู ามารถนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ 4.48 0.50 มาก
8. นกั เรียนไดร้ บั การดูแลทด่ี ี เสมอภาคและเท่าเทยี มกัน
9. นกั เรียนปลอดภยั ท้ังทางร่างกาย จติ ใจ 4.74 0.44 มากทส่ี ุด
4.69 0.46 มากที่สุด
และการแสดงออก 4.52 0.20 มากทสี่ ดุ
10. นกั เรยี นมคี วามสขุ ประทบั ใจ อยากเขา้ ค่ายอีก

รวม

จากตารางที่ 4.19 พบว่า ในภาพรวมต่อกิจกรรมค่ายของนกั เรียน อยูใ่ นระดบั มากท่ีสุด
(x̄ = 4.52, S.D. = 0.20) เมือ่ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า นักเรียนปลอดภัยทั้งทางร่างกาย จิตใจ และ
การแสดงออก มีผลการประเมินมากที่สุด (x̄ = 4.47, S.D. = 0.44) รองลงมาคือ นักเรียนมีความสุข
ประทับใจ อยากเข้าค่ายอีก (x̄ = 4.69, S.D. = 0.46) และวิทยากรเก่ง สอนสนุก เข้าใจง่าย
นา่ ตดิ ตาม (x̄ = 4.64, S.D. = 0.48) ตามลำดับ

ข้อคิดเห็นและเสนอแนะเพ่ิมเติม
สนุก ได้ทำกิจกรรมและเล่นเกมธรรมชาติ อยากมาเข้าค่ายบ่อย ๆ ได้รู้จักเพื่อน
ต่างโรงเรียนเยอะมาก ชอบครู ครูป่าไม้ และพ่ี ๆ วิทยากร อยากให้มีกิจกรรมแบบนี้ที่โรงเรียนบ้าง
อยากให้ชว่ งเวลาของแต่ละฐานนานกวา่ นี้อีกหนอ่ ย กิจกรรมน่าสนใจเยอะ เลน่ ไม่ทนั

139

3. ผลการวิเคราะห์จากแบบประเมินความสามารถจัดกิจกรรมตามแนวทางของครู
วิทยากร แบ่งเป็น 3 ด้าน คือ ความรู้ความเข้าใจ ทักษะการจัดกิจกรรม และการนำไปประยุกต์ใช้
ในโรงเรียน ดังตารางท่ี 4.20 ถึง 4.24

ตารางที่ 4.20 ขอ้ มลู สถานภาพทั่วไปของครวู ทิ ยากรผ้ตู อบแบบประเมิน

สถานภาพ จำนวน (คน) รอ้ ยละ
เพศ
22 27.50
- ชาย 58 72.50
- หญงิ 80 100.00

รวม 18 22.50
อายุ 38 47.50
13 16.25
- น้อยกว่า 30 ปี 11 13.75
- 31 – 40 ปี 80 100.00
- 41 – 50 ปี
- 50 ปี ข้นึ ไป 5 6.25
7 8.75
รวม 21 26.25
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 18 22.50
11 13.75
- ภาษาไทย 5 6.25
- คณติ ศาสตร์ 10 12.50
- วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3 3.75
- สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 100.00
- สุขศกึ ษาและพลศึกษา
- ศลิ ปะ
- การงานอาชพี
- ภาษาต่างประเทศ

รวม

จากตารางที่ 4.20 พบว่า ครูวิทยากรผู้ตอบแบบประเมินความสามารถจัดกิจกรรม
ตามแนวทาง เป็นเพศหญิง จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 72.50 เป็นเพศชาย จำนวน 22 คน

140

คดิ เปน็ ร้อยละ 27.50 อายุระหว่าง 31 - 40 ปี มจี ำนวนมากท่สี ุด จำนวน 38 คน คดิ เป็นร้อยละ 47.50
อยใู่ นกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มากทส่ี ดุ จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 26.25

ตารางที่ 4.21 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความสามารถจัดกิจกรรมตามแนวทาง
ของครวู ิทยากร ในภาพรวม

รายการ (n = 80)
x̄ S.D ระดับ
1. ดา้ นความรูค้ วามเข้าใจ 4.55 0.27 มากท่ีสุด
2. ด้านทักษะการจัดกิจกรรม 4.65 0.23 มากทีส่ ุด
3. ด้านการนำไปประยกุ ต์ใช้ในโรงเรียน 4.55 0.34 มากท่สี ุด
4.58 0.19 มากทส่ี ดุ
รวม

จากตารางที่ 4.21 พบว่า ในภาพรวมระดับความสามารถจัดกิจกรรมตามแนวทางของ
ครูวิทยากร อยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.58, S.D. = 0.19) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า
ด้านทักษะการจัดกิจกรรม มีผลการประเมินมากที่สุด (x̄ = 4.65, S.D. = 0.23) รองลงมามีระดับ
ผลการประเมินเท่ากันคือ ด้านความรู้ความเข้าใจ (x̄ = 4.55, S.D. = 0.27) และด้านการนำไป
ประยุกต์ใช้ในโรงเรยี น (x̄ = 4.55, S.D. = 0.34)

ตารางที่ 4.22 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความสามารถจัดกิจกรรมตามแนวทาง
ของครวู ทิ ยากร ในด้านความรคู้ วามเข้าใจ

รายการ (n = 80)
x̄ S.D ระดบั
1. หลกั การเสรมิ สรา้ งคณุ ลักษณะเยาวชนรักษพ์ งไพร 4.44 0.50 มาก
2. ขัน้ ตอนการเสรมิ สร้างคณุ ลักษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพร 4.58 0.50 มากทสี่ ุด
3. บทบาทการเปน็ ครูวทิ ยากรตามแนวทาง 4.54 0.50 มากท่ีสุด
4. องคป์ ระกอบคณุ ลกั ษณะเยาวชนรักษพ์ งไพรและแนวทาง 4.55 0.50 มากทส่ี ุด
5. หลกั การจัดกิจกรรมทเี่ ชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรยี นรู้ 4.65 0.48 มากที่สุด
4.55 0.27 มากทส่ี ุด
รวม

141

จากตารางที่ 4.22 พบว่า ในภาพรวมระดับความสามารถจัดกิจกรรมตามแนวทาง
ของครูวิทยากร ในด้านความรู้ความเข้าใจ อยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.55, S.D. = 0.27) เมื่อพิจารณา
เปน็ รายขอ้ พบวา่ หลักการจัดกิจกรรมท่ีเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้ มผี ลการประเมินมากท่ีสุด
(x̄ = 4.65, S.D. = 0.48) รองลงมาคือ ขั้นตอนการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
(x̄ = 4.58, S.D. = 0.50) และองค์ประกอบคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรและแนวทาง (x̄ = 4.65,
S.D. = 0.50) ตามลำดบั

ตารางที่ 4.23 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความสามารถจัดกิจกรรมตามแนวทาง
ของครวู ิทยากร ในดา้ นทักษะการจัดกจิ กรรม

รายการ (n = 80)
x̄ S.D ระดบั
1. ความชำนาญในการดำเนนิ กิจกรรมตามแนวทาง 4.66 0.48 มากทส่ี ุด
2. ความชำนาญในการนำเข้าสกู่ จิ กรรม การอธบิ าย การใช้
4.75 0.44 มากท่ีสุด
คำถาม การเสรมิ แรง การกระต้นุ และการสรุปบทเรียน 4.69 0.47 มากท่สี ดุ
3. กระบวนการปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างครวู ิทยากรและนกั เรยี น 4.50 0.50 มาก
4. เทคนิควธิ กี ารสร้างการเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย 4.65 0.48 มากที่สุด
5. การสร้างบรรยากาศท่เี อื้อต่อการเรยี นรู้ดว้ ยวิธีการตา่ งๆ 4.65 0.23 มากท่สี ุด

รวม

จากตารางที่ 4.23 พบว่า ในภาพรวมระดับความสามารถจัดกิจกรรมตามแนวทาง
ของครูวิทยากร ในด้านทักษะในการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.65, S.D. = 0.23)
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ความชำนาญในการนำเข้าสู่กิจกรรม การอธิบาย การใช้คำถาม
การเสริมแรง การกระตุ้นและการสรุปบทเรยี น มีผลการประเมินมากที่สุด (x̄ = 4.75, S.D. = 0.44)
รองลงมาคือ กระบวนการปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างครวู ิทยากรและนักเรยี น (x̄ = 4.69, S.D. = 0.47) และ
ความชำนาญในการดำเนนิ กจิ กรรมตามแนวทาง (x̄ = 4.66, S.D. = 0.48) ตามลำดับ

142

ตารางที่ 4.24 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความสามารถจัดกิจกรรมตามแนวทาง
ของครวู ิทยากร ในด้านการนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นโรงเรียน

รายการ (n = 80)
x̄ S.D ระดับ
1. การส่งเสรมิ นักเรียนให้สามารถต่อยอดขยายผลกิจกรรม 4.64 0.48 มากท่ีสุด
2. การประยกุ ตก์ ิจกรรมเขา้ กับบริบทและสภาพแวดล้อม 4.58 0.50 มากท่ีสุด
3. การบริหารจดั การองคค์ วามรแู้ ละภาคเี ครือขา่ ยในพน้ื ที่ 4.50 0.50 มาก
4. การสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรียนทำงานร่วมกันเป็นกลมุ่ และ 4.43 0.50 มาก

รายบุคคล 4.61 0.49 มากทส่ี ุด
5. การบูรณาการเข้ากับสาระการเรียนรู้ 4.55 0.34 มากทสี่ ดุ

รวม

จากตารางที่ 4.24 พบว่า ในภาพรวมระดับความสามารถจัดกิจกรรมตามแนวทาง
ของครวู ทิ ยากร ในด้านการนำไปประยุตใ์ ช้ในโรงเรยี น อยู่ในระดับมากทส่ี ุด (x̄ = 4.55, S.D. = 0.34)
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การส่งเสริมนักเรียนให้สามารถต่อยอดขยายผลกิจกรรม มีผลการประเมิน
มากที่สุด (x̄ = 4.64, S.D. = 0.48) รองลงมาคือ การบูรณาการเข้ากับสาระการเรียนรู้ (x̄ = 4.61,
S.D. = 0.49) และการประยุกต์กิจกรรมเข้ากับบริบทและสภาพแวดล้อม (x̄ = 4.58, S.D. = 0.50)
ตามลำดับ

ขอ้ คิดเหน็ และเสนอแนะเพิ่มเติม
ต้องเข้าใจถึงสื่ออุปกรณ์ที่จะใช้ในแต่ละฐาน ต้องใช้เป็นให้เชื่อมโยงกับการสรุป
องคค์ วามรู้ รวมถงึ ต้องเข้าใจเทคนิควิธีการประเมนิ ของกิจกรรมซ่ึงท่ีสอดคล้องกบั Active Learning
ส่วนการนำไปปรับใช้ที่โรงเรียนต้องพัฒนาความรู้และทักษะเพิ่มเติมให้เข้าใจหลักการและ
กระบวนการจัดการเรียนที่แม่นยำ เข้าใจเนื้อหาสาระและมาตรฐานการเรียนรู้อย่างถูกต้อง และ
ที่สำคัญคือ ต้องมกี ารสนบั สนนุ ครูให้สามารถสร้างความร่วมมอื กับภาคเี ครือข่ายในพื้นที่ได้

143

4. ผลการวิเคราะห์จากแบบประเมินคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร โดยครูวิทยากร
และวทิ ยากรภาคีเครือขา่ ยเปน็ ผปู้ ระเมนิ นักเรียนทเี่ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ดังตารางท่ี 4.25 ถงึ 4.26

ตารางที่ 4.25 ขอ้ มลู จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินคณุ ลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร

ผ้ตู อบแบบประเมิน จำนวน (คน) รอ้ ยละ
ครวู ทิ ยากร 30 50.00
วทิ ยากรประจำศูนย์การเรียนรู้ 10 16.67
วทิ ยากรภาคีเครือข่ายในพ้นื ท่ี 20 33.33
60 100.00
รวม

จากตารางท่ี 4.25 พบวา่ ผตู้ อบแบบประเมินคณุ ลกั ษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพร มากที่สุด
เปน็ ครูวทิ ยากร จำนวน 30 คน คดิ เป็นร้อยละ 50.00 รองลงมาได้แก่ วิทยากรภาคเี ครือข่ายในพื้นท่ี
จำนวน 20 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 33.33 และวิทยากรประจำศนู ย์การเรียนรู้ จำนวน 10 คน คดิ เปน็ ร้อยละ
16.67 ตามลำดับ

ตารางที่ 4.26 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร ในด้าน
ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ

รายการ (n = 60)
x̄ S.D ระดบั
ดา้ นความรู้ (ร้รู ักษา) 4.71 0.27 มากที่สดุ
1. นกั เรียนมีความใฝร่ ูด้ ้านการอนุรกั ษ์ ปอ้ งกนั และแก้ปญั หา
4.77 0.43 มากทส่ี ุด
การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมในชมุ ชน
2. นกั เรยี นมกี ารสอ่ื สารความรดู้ ้านการดำเนินชีวิตท่เี ป็นมิตร 4.72 0.45 มากที่สุด

ตอ่ สิง่ แวดล้อม 4.63 0.49 มากท่สี ุด
3. นกั เรียนน้อมนำความร้จู ากสถาบนั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 4.67 0.28 มากทีส่ ดุ
4.73 0.45 มากที่สุด
สกู่ ารอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 4.67 0.48 มากท่สี ุด
ด้านทกั ษะ (พฒั นาตอ่ ยอด)
1. นักเรยี นดำเนินชวี ิตอยู่อย่างพอเพยี ง
2. นกั เรยี นนำทักษะในศตวรรษที่ 21 ไปใช้เพือ่ การดำรงชีวติ

144

ตารางที่ 4.26 (ตอ่ )

รายการ (n = 60)
x̄ S.D ระดับ
3. นักเรยี นใช้ชีวิตท่เี ปน็ มิตรตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม 4.60 0.53 มากทีส่ ดุ
ดา้ นเจตคติ (สบื ทอดวถิ ี) 4.56 0.36 มากทีส่ ดุ
1. นกั เรียนมวี นิ ัย เคารพกติกาของสังคมในการดแู ล
4.53 0.50 มากทส่ี ดุ
รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
2. นกั เรยี นตระหนักถงึ ปัญหาส่งิ แวดล้อม มจี ิตสาธารณะ 4.55 0.50 มากทสี่ ุด

และมสี ่วนรว่ มดำเนนิ ชวี ิตทเ่ี ป็นมิตรตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม 4.58 0.53 มากที่สุด
3. นักเรียนเป็นผู้นำในการสานต่อการอนรุ ักษ์และพัฒนา 4.64 0.16 มากที่สุด

ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มของบา้ นเกิด
รวม

จากตารางที่ 4.26 พบว่า ในภาพรวมระดบั คณุ ลกั ษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพร อยู่ในระดับ
มากที่สุด (x̄ = 4.64, S.D. = 0.16) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความรู้ (รู้รักษา) มีผล
การประเมนิ มากที่สุด (x̄ = 4.71, S.D. = 0.27) รองลงมาคือ ด้านทักษะ (พัฒนาต่อยอด) (x̄ = 4.67,
S.D. = 0.28) และด้านเจตคติ (สืบทอดวถิ )ี (x̄ = 4.56, S.D. = 0.36) โดยมีรายละเอยี ดผลการประเมิน
ในแต่ละด้าน ดงั น้ี

ด้านความรู้ (รู้รักษา) ในภาพรวมระดับอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.71, S.D. = 0.27)
เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ นักเรียนมคี วามใฝ่รู้ด้านการอนุรักษ์ ป้องกันและแก้ปัญหาการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน มีผลการประเมินมากที่สุด (x̄ = 4.77, S.D. = 0.43)
รองลงมาคือ นักเรียนมีการสื่อสารความรู้ด้านการดำเนินชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (x̄ = 4.72,
S.D. = 0.45) และนักเรียนนอ้ มนำความร้จู ากสถาบนั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ สกู่ ารอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสง่ิ แวดล้อม (x̄ = 4.63, S.D. = 0.49) ตามลำดบั

ด้านทักษะ (พฒั นาต่อยอด) ในภาพรวมระดับอยูใ่ นระดบั มากที่สุด (x̄ = 4.67, S.D. = 0.28)
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า นักเรียนดำเนินชีวิตอยู่อย่างพอเพียง มีผลการประเมินมากที่สุด
(x̄ = 4.73, S.D. = 0.45) รองลงมาคือ นักเรียนนำทักษะในศตวรรษที่ 21 ไปใช้เพื่อการดำรงชีวิต
(x̄ = 4.67, S.D. = 0.48) และนกั เรียนใช้ชวี ติ ท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (x̄ = 4.60, S.D. = 0.53) ตามลำดับ

ด้านเจตคติ (สืบทอดวิถี) ในภาพรวมระดับอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.56, S.D. = 0.36)
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า นักเรียนเป็นผู้นำในการสานต่อการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากร

145

ธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มของบา้ นเกดิ มีผลการประเมนิ มากทส่ี ดุ (x̄ = 4.58, S.D. = 0.53) รองลงมา
คือ นักเรียนตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะ และมีส่วนร่วมดำเนินชีวิตที่เป็นมิตร
ต่อส่งิ แวดล้อม (x̄ = 4.55, S.D. = 0.50) และนกั เรยี นมวี ินยั เคารพกติกาของสงั คมในการดูแลรักษา
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม (x̄ = 4.53, S.D. = 0.50) ตามลำดบั

ข้อคดิ เห็นและเสนอแนะเพมิ่ เติม
นักเรียนสามารถสะท้อนความเป็นเยาวชนรักษ์พงไพรได้ดี มีความเป็นธรรมชาติและ
เกิดจากภายในตนเอง แต่ในส่วนเรื่องของวินัยและการเคารพกติกาของการอยู่ร่วมกันในสังคม
และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ควรเน้นกิจกรรมที่เพิ่มความเป็นตัวตน
และความตระหนักจากใจจริง ให้นักเรียนแสดงออกและปฏิบัติด้วยใจและความสำนึกรับผิดชอบ
มากกว่าการปฏิบัติด้วยกรอบของกฎระเบียบ รวมถึงให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดกติกา
อยรู่ ว่ มกนั มากข้นึ

5. ผลการวิเคราะห์จากแบบประเมินคุณภาพของแนวทางเชิงประจักษ์ ซึ่งเป็นข้อมูล
เชิงคุณภาพที่สอดคล้องกับสภาพจริงตามบริบท จากการลงพื้นท่ีเยี่ยมค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร
เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษาสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ในเครือข่ายเชิงพืน้ ที่ฯ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จำนวน 6 คา่ ย ที่จัดข้ึนใน 2 ศูนยก์ ารเรียนรู้ ไดแ้ ก่ 1) ศนู ยศ์ ึกษาธรรมชาติ
และสัตว์ป่า (ศธส.) ห้วยกุ่ม จังหวัดชัยภูมิ จำนวน 4 ค่าย ได้แก่ ค่ายรุ่นที่ 1 วันที่ 25 - 27 มีนาคม
พ.ศ. 2562 ค่ายรุน่ ท่ี 2 วันท่ี 29 - 31 มีนาคม พ.ศ. 2562 ค่ายรุ่นที่ 3 วันท่ี 3 - 5 เมษายน พ.ศ. 2562
และค่ายรุ่นที่ 4 วันที่ 7 - 9 เมษายน พ.ศ. 2562 และ 2) ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่า (ศธส.)
ลำปาว จังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 2 ค่าย ได้แก่ คา่ ยรนุ่ ที่ 1 วันที่ 27 - 29 มนี าคม พ.ศ. 2562 และคา่ ย
รนุ่ ที่ 2 วันที่ 2 - 4 เมษายน พ.ศ. 2562 มผี ลการศึกษาแบง่ เปน็ 4 ด้าน ดงั น้ี

ดา้ นการบรหิ ารจดั การและการเตรยี มความพร้อม
การดำเนินงานตามแนวทางส่งผลให้มีความเหมาะสมในการบริหารจัดการและการเตรียม
ความพร้อม เนื่องจากผู้เกย่ี วข้องสามารถมองเห็นภาพการดำเนนิ งานได้ตลอดตง้ั แต่ตน้ น้ำถึงปลายน้ำ
ทราบถึงเป้าหมายและทิศทางปฏิบัติชัดเจน สามารถมุ่งเป้าหมายผลสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มากข้ึน รวมถึงมีแผนงานท่ีชัดเจนและภารกิจการพัฒนาสอดคล้องเหมาะสม เกิดการหลอมรวม
เครือข่ายเชิงพื้นที่ฯ ที่มีความสัมพันธ์อันดีและเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น ซึ่งแนวทางดังกล่าวยังช่วยสร้าง
ความเข้าใจและความชดั เจนในบทบาทของภาคีเครอื ขา่ ยและผู้เก่ียวขอ้ ง รวมถึงการส่วนรว่ มในแต่ละ
ขั้นตอน ตั้งแต่การสานสัมพันธ์เครือข่าย การจัดการเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญเชิงพื้นท่ี การจัดค่ายบูรณาการ
สหวิชาการ และการขยายผลสู่ความยั่งยนื นอกจากนี้ การบริหารจัดการและการเตรียมความพร้อม
ที่ดี ยังส่งผลให้กำหนดการและระยะเวลาดำเนินงานมีความเหมาะสม การติดต่อประสานงาน

146
ทุกขั้นตอนมีความสะดวก รวดเร็ว และชัดเจน รวมถึงการเตรียมสถานที่ดำเนินงานและจัดกิจกรรม
มีความพร้อมและปลอดภยั แหล่งเรียนรูท้ างธรรมชาติในพื้นท่ีมีคุณภาพและความสมบูรณ์ พร้อมทงั้
วัสดุ อุปกรณ์ สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศในการดำเนินงานและจัดกิจกรรมท่ีครบถ้วนเหมาะสม
เอ้อื ต่อการเสรมิ สร้างคณุ ลักษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพร ไดอ้ ยา่ งเต็มตามศกั ยภาพของนักเรียน

ภาพท่ี 4.14 การลงพื้นที่ประเมนิ คุณภาพของแนวทางเชงิ ประจกั ษ์ ด้านการบริหารจดั การและการ
เตรียมความพร้อม

ด้านเน้อื หา
การดำเนินงานตามแนวทางส่งผลให้มีความเหมาะสมของเนื้อหาในเชิงบูรณาการที่มากยิ่งขึ้น
ลดการเรียนรู้เป็นรายวิชาที่ทำให้ใช้เวลาการเรียนรู้ที่เยอะ กิจกรรมการเรียนรู้แน่นจนไม่สามารถ
เรียนรู้ได้อย่างครบถ้วน สร้างความเหนื่อยล้าให้กับนักเรียนหรือเกิดการต่อต้านไม่อยากที่จะเรียนรู้
ซึ่งเมื่อมีการบูรณาการเนื้อหาส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างลื่นไหล มีความสอดคล้องเหมาะสม
ระหว่างเนื้อหา กิจกรรม และระยะเวลา นักเรียนจะได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมบูรณาการที่หลากหลาย
ทั้งเนื้อหาและวิทยากร สร้างความสนใจ ความสนุก และความสุขในการเรียนรู้ได้มากยิ่งขึ้น รวมถึง
เอกสารประกอบมีเนื้อหาที่ครอบคลุมและมีคุณภาพ สอดคล้องเหมาะสมกับการออกแบบกิจกรรม

147
พร้อมทั้งมีสอดคล้องกบั ความต้องการและบริบทในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ทำให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ใหเ้ ข้าใจได้ง่ายขึ้น เนื่องจากเป็นเรื่องราวใกล้ตัวที่สามารถนำไปปรับใช้
ได้ง่าย นอกจากนี้ สื่อและอุปกรณ์ที่ใช้ยังมีความเหมาะสมกับเนื้อหาและกิจกรรม รวมถึงวิทยากร
จากภาคีเครือข่ายและครูวิทยากรที่ได้มีการเตรียมความพร้อมไว้แล้ว จะมีความรอบรู้และสามารถ
ถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ ทักษะ และเจตคติ ได้เป็นอยา่ งดี

ภาพท่ี 4.15 การลงพ้นื ท่ีประเมนิ คณุ ภาพของแนวทางเชงิ ประจกั ษ์ด้านเน้อื หา
ดา้ นกระบวนการ
การดำเนินงานตามแนวทางส่งผลให้ภาคีเครือข่ายและผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในกระบวนการ
ทกุ ๆ ขั้นตอน โดยเฉพาะการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ใหน้ ักเรียนเกดิ ประสบการณ์ตรงจากแหล่งเรียนรู้
ทางธรรมชาติจริง บนฐานการมีวิสัยทัศน์ ภาพความสำเร็จ ความรู้ความสามารถ และทัศนคติที่ดี
ร่วมกันของภาคีเครือข่าย ด้วยกระบวนการเรียนรู้เป็นแบบ Active Learning ซึ่งเป็นกิจกรรม
การศึกษา สืบค้น เกี่ยวกับการอนุรักษ์แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการประยุกต์
สำหรับใช้ในชีวิตประจำวัน รวมถึงมีการจัดการความรู้เป็นระบบ ทั้งฐานข้อมูลเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ
ในระดับพื้นที่ที่สามารถติดต่อประสานงานได้ง่าย และระบบข้อมูลสารสนเทศโครงการที่สนับสนุน

148
การบริหารจัดการงานทะเบียน เอกสารประกอบการเรียนรู้ องค์ความรู้ทีเ่ กี่ยวข้อง และการมีระบบ
กำกับติดตาม ทำใหก้ ระบวนการตามแนวทางดังกลา่ ว สามารถถ่ายทอดและฝกึ ปฏิบัตไิ ด้ง่าย เป็นไปตาม
ขั้นตอนการเสริมสร้างคุณลักษณะ ส่งเสริมการแสดงออกถึงความสามารถในการจัดกิจกรรม
ตามแนวทางของครูวิทยากร รวมถึงส่งผลตอ่ ผลสำเร็จในภาพรวมของการดำเนินงานและการเสริมสรา้ ง
คณุ ลักษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพรมากย่ิงขึ้น

ภาพท่ี 4.16 การลงพ้ืนท่ีประเมนิ คุณภาพของแนวทางเชิงประจักษด์ า้ นกระบวนการ
ดา้ นผลลพั ธ์
การดำเนินงานตามแนวทางส่งผลให้นักเรียนเกิดคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร ได้แก่
รู้รักษา คือ คุณลักษณะด้านความรู้ พัฒนาต่อยอด คือ คุณลักษณะด้านทักษะ และสืบทอดวิถี คือ
คุณลักษณะด้านเจตคติ ซึ่งช่วยเสริมสร้างให้นักเรียนเป็นผู้นำในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
ส่ิงแวดล้อมในทอ้ งถน่ิ รว่ มกบั เครอื ข่าย โรงเรียน ชมุ ชน และครอบครวั ไดอ้ ย่างเข้มแข็ง รวมถึงส่งเสริม
ให้ คร ูสามาร ถจัดกิจกร รมการเร ียนรู้ ด้านก าร อน ุร ัก ษ์ทรัพยากร ธรร มชาติและ สิ่งแวดล้อม และ
ประยุกต์ใช้ในโรงเรียนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามหลักวิชาการ มีเครือข่ายร่วมคิด ร่วมทำ และ
ร่วมพัฒนาที่เข้มแข็งและเป็นระบบ นอกจากนี้ แนวทางดังกล่าวยังช่วยส่งเสริมให้โรงเรียนสามารถ

149
ดำเนินการต่อยอดด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อยา่ งเป็นรปู ธรรม มีกรอบ
แนวคิด หลักการ ข้นั ตอน และวธิ กี ารทีช่ ดั เจนมากย่งิ ขนึ้ กล่าวได้วา่ ระบบการศกึ ษาและประเทศไทย
มีแนวทางพัฒนานักเรียนด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่มีความชัดเจน
มากยิ่งขึ้น และสามารถนำไปปฏบิ ัติได้จริงทุกระดับ มีแนวโน้มสู่การพัฒนาที่ย่ังยืนได้ในเชิงประจกั ษ์
ซึ่งส่งผลให้ตอบสนองต่อทิศทางการพัฒนาเยาวชนของชาติ ทั้งในด้านของการมีทัศนคติถูกต้อง
ตอ่ บ้านเมอื ง การเป็นพลเมอื งดี และการสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวติ ท่เี ป็นมติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม

ภาพที่ 4.17 การลงพื้นที่ประเมินคณุ ภาพของแนวทางเชงิ ประจกั ษด์ า้ นผลลัพธ์

150

6. ผลการวิเคราะห์จากแบบประเมินการขยายผลสู่ความยั่งยืน โดยครูวิทยากร และ
วทิ ยากรภาคีเครือข่ายเปน็ ผู้ประเมินนักเรียน ดว้ ยวธิ ีการสังเกตการนำความรไู้ ปต่อยอดกิจกรรมท่ีโรงเรียน
ของนกั เรยี น ซง่ึ สะท้อนความเปน็ เยาวชนรักษพ์ งไพร ดงั ตารางท่ี 4.27 ถึง 4.28

ตารางท่ี 4.27 ขอ้ มลู จำนวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบประเมินการขยายผลสู่ความยงั่ ยนื

ผตู้ อบแบบประเมิน จำนวน (คน) รอ้ ยละ
ครูวทิ ยากร 30 50.00
วทิ ยากรประจำศนู ย์การเรยี นรู้ 10 16.67
วทิ ยากรภาคเี ครือขา่ ยในพื้นที่ 20 33.33
60 100.00
รวม

จากตารางที่ 4.27 พบว่า ผู้ตอบแบบประเมินการขยายผลสู่ความยั่งยืนมากที่สุด
เป็นครูวิทยากร จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 รองลงมาได้แก่ วิทยากรภาคีเครือขา่ ยในพืน้ ที่
จำนวน 20 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 33.33 และวทิ ยากรประจำศนู ยก์ ารเรียนรู้ จำนวน 10 คน คดิ เป็นร้อยละ
16.67 ตามลำดบั

ตารางที่ 4.28 คา่ เฉลย่ี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การขยายผลส่คู วามย่ังยืน

รายการ (n = 60)
x̄ S.D ระดบั
1. นกั เรยี นดำเนนิ กิจกรรมตอ่ ยอดท่ีเรยี นรู้จากกิจกรรมคา่ ย 4.73 0.45 มากทส่ี ุด
อย่างสอดคล้องกบั แนวทางและถกู หลกั การ 4.50 0.50 มาก
4.47 0.50 มาก
2. นักเรยี นใช้กระบวนการกลมุ่ คดิ วเิ คราะห์ ทดลอง 4.48 0.62 มาก
และศึกษาบรบิ ท ในการต่อยอดกจิ กรรม 4.57 0.50 มากท่ีสุด

3. กิจกรรมการต่อยอดมคี วามสอดคล้องกับอัตลกั ษณ์
และบรบิ ทของโรงเรียนและพืน้ ที่

4. กจิ กรรมการตอ่ ยอดมีเป้าประสงค์ในการพฒั นา
หรือแกป้ ญั หาของโรงเรียนหรอื ชุมชน

5. กจิ กรรมการต่อยอดได้รับการส่งเสริมสนับสนุน
จากภาคีเครอื ขา่ ยในพ้นื ท่ีและชุมชน

151

ตารางที่ 4.28 (ต่อ)

รายการ (n = 60)
x̄ S.D ระดับ
6. กิจกรรมการต่อยอดมแี ผนการดำเนินงานที่ต่อเน่อื ง 4.63 0.52 มากทีส่ ุด
7. นกั เรียนสามารถนำความร้ทู ีไ่ ดร้ บั มาปรบั ใชใ้ น
4.55 0.57 มากที่สดุ
ชีวติ ประจำวัน และเป็นสว่ นหนึ่งของวิถีการดำรงชวี ติ
8. นกั เรียนแสดงออกถึงคณุ ลกั ษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพร 4.67 0.48 มากท่สี ดุ
4.58 0.29 มากทส่ี ุด
อย่างตอ่ เนื่องในการดำเนินกจิ กรรมตอ่ ยอด
รวม

จากตารางที่ 4.28 พบว่า ในภาพรวมระดับการขยายผลสู่ความยั่งยืน อยู่ในระดับ
มากที่สุด (x̄ = 4.58, S.D. = 0.29) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า นักเรียนดำเนินกิจกรรมต่อยอด
ที่เรียนรู้จากกิจกรรมค่ายอย่างสอดคล้องกับแนวทางและถูกหลักการ มีผลการประเมินมากที่สุด
(x̄ = 4.73, S.D. = 0.45) รองลงมาคือ นักเรียนแสดงออกถึงคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
อย่างต่อเนื่องในการดำเนินกิจกรรมต่อยอด (x̄ = 4.67, S.D. = 0.48) และกิจกรรมการต่อยอด
มแี ผนการดำเนนิ งานที่ตอ่ เนอื่ ง (x̄ = 4.63, S.D. = 0.52) ตามลำดับ

ขอ้ คิดเหน็ และเสนอแนะเพ่มิ เตมิ
ควรเพิ่มเติมองค์ความรู้อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการต่อยอดขยายผลในแต่ละพื้นท่ี
ให้เหมาะสมและเอื้อต่อการนำองค์ความรู้นัน้ ไปประยุกต์ใช้ให้เข้ากับบริบท รวมถึงให้ทนั ต่อยคุ สมัย
ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง เช่น ภูมิปัญญาของชุมชน สัตว์และพืชในท้องถิ่น อัตลักษณ์และ
วัฒนธรรมที่เป็นร้ากเหง้าของชุมชน เป็นต้น นอกจากนี้ ควรให้มีเวทีแสดงผลงานและการยกย่อง
สร้างขวัญกำลังใจให้แก่นักเรียนและครูอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเสริมแรงและเป็นพลังให้คนในพื้นท่ี
สามารถต่อยอดขยายผลไดอ้ ยา่ งต่อเนอื่ งและยั่งยืน
ผลการดำเนินการในขั้นตอนทดลองใช้ภาคสนาม ผู้วิจัยได้สรุปผลการทดลองใช้
แนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ มของโรงเรยี นระดบั ประถมศกึ ษา สังกดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน และ
ปรับปรุงแนวทางให้มีความสมบูรณ์ ในการประชุมถอดบทเรียนเครือข่ายเชิงพื้นที่เพื่อการพัฒนา
โครงการค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี” สู่ความยั่งยืน (Rakpongprai Network: RN) ระหว่างวันที่ 6 - 9 พฤษภาคม
พ.ศ. 2562 ณ ศูนย์ฝึกอบรมที่ 3 ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ทำให้ได้แนวทางการเสรมิ สร้างคณุ ลักษณะ

152

เยาวชนรกั ษ์พงไพรเพื่อการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมของโรงเรยี นระดับประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเอกสารประกอบแนวทางที่มีความสมบูรณ์
ถูกต้อง เหมาะสม และเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้เสริมสร้างคุณลักษณะของนักเรียนสู่การเป็น
เยาวชนรักษพ์ งไพรในข้นั ตอนตอ่ ไปได้อยา่ งมีคณุ ภาพ

ตอนที่ 4 ผลการนำแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ไปใช้

ผลการดำเนินงานในขั้นตอนนี้ คือ ผลการนำแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชน
รักษ์พงไพรเพ่ือการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มของโรงเรียนระดับประถมศกึ ษา สงั กัด
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายโครงการ ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2562 ระหว่างเดือนพฤษภาคม - กันยายน พ.ศ. 2562 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้
แนวทางเกย่ี วกับความพงึ พอใจต่อแนวทาง ความพงึ พอใจต่อกิจกรรมค่ายของนักเรียน ความสามารถ
ในการจัดกิจกรรมของครูวิทยากรจากการใช้แนวทาง คุณลักษณะของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม
ตามแนวทาง คุณภาพของแนวทางเชิงประจักษ์ และการขยายผลสู่ความยั่งยืน โดยผลการวิเคราะห์
ข้อมูลจากแบบประเมินผลแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน รายละเอียดดงั นี้

1. ผลการวิเคราะห์จากแบบประเมนิ ความพึงพอใจต่อแนวทางของผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ
ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ครูวิทยากร และวิทยากรภาคีเครือข่าย (วิทยากรประจำศูนย์
การเรยี นรแู้ ละวทิ ยากรภาคเี ครือข่ายในพ้นื ท่)ี ดังตารางที่ 4.29 ถึง 4.30

ตารางท่ี 4.29 ขอ้ มูลจำนวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจตอ่ แนวทาง

ผตู้ อบแบบประเมนิ จำนวน (คน) ร้อยละ
ผรู้ บั ผิดชอบโครงการระดับสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา 28 3.17
ครูวทิ ยากร 540 61.15
วทิ ยากรประจำศนู ย์การเรยี นรู้ 135 15.29
วิทยากรภาคีเครือขา่ ยในพืน้ ท่ี 180 20.39
883 100.00
รวม

153

จากตารางที่ 4.29 พบว่า ผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจต่อแนวทางมากที่สุด
เปน็ ครูวทิ ยากร จำนวน 540 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 61.15 รองลงมาไดแ้ ก่ วิทยากรภาคีเครอื ข่ายในพ้ืนท่ี
จำนวน 180 คน คิดเป็นร้อยละ 20.39 วิทยากรประจำศูนย์การเรียนรู้ จำนวน 135 คน คิดเป็น
ร้อยละ 15.29 และผู้รับผิดชอบโครงการระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จำนวน 28 คน คิดเป็น
ร้อยละ 3.17 ตามลำดับ

ตารางท่ี 4.30 ค่าเฉลีย่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดับความพงึ พอใจต่อแนวทางของผู้รับผิดชอบ
โครงการระดบั สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา ครูวทิ ยากร และวทิ ยากรภาคีเครือข่าย ในภาพรวม

รายการ (n = 883)
x̄ S.D ระดับ
1. ดา้ นการบริหารจัดการและการเตรียมความพรอ้ ม 4.82 0.18 มากทสี่ ดุ
2. ด้านเนอื้ หา 4.81 0.24 มากท่สี ุด
3. ด้านกระบวนการ 4.73 0.20 มากทีส่ ุด
4. ดา้ นผลลัพธ์ 4.78 0.19 มากทส่ี ดุ
4.79 0.15 มากที่สุด
รวม

จากตารางที่ 4.30 พบว่า ในภาพรวมความพึงพอใจต่อแนวทาง ของผู้รับผิดชอบ
โครงการระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ครูวิทยากร และวิทยากรภาคีเครือข่าย อยู่ในระดับ
มากที่สุด (x̄ = 4.79, S.D. = 0.15) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการบริหารจัดการและ
การเตรียมความพร้อม มีผลการประเมินมากท่ีสดุ (x̄ = 4.82, S.D. = 0.18) รองลงมาคือ ดา้ นเน้ือหา
(x̄ = 4.81, S.D. = 0.24) ด้านผลลัพธ์ (x̄ = 4.78, S.D. = 0.19) และด้านกระบวนการ (x̄ = 4.73,
S.D. = 0.20) ตามลำดบั

154

2. ผลการวิเคราะห์จากแบบประเมินความพึงพอใจต่อกิจกรรมค่ายของนักเรียน
ดังตารางท่ี 4.31 ถงึ 4.32

ตารางท่ี 4.31 ขอ้ มูลสถานภาพทวั่ ไปของนักเรยี นผตู้ อบแบบประเมนิ

สถานภาพ จำนวน (คน) รอ้ ยละ
เพศ
2,156 35.83
- ชาย 3,862 64.17
- หญิง 6,018 100.00

รวม 2,858 47.49
ระดบั ชน้ั ทีศ่ กึ ษา 3,160 52.51
6,018 100.00
- ประถมศกึ ษาปที ี่ 4
- ประถมศกึ ษาปที ี่ 5

รวม

จากตารางที่ 4.31 พบว่า นักเรียนผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจต่อกิจกรรมค่าย
มากที่สุด เป็นเพศหญิง จำนวน 3,862 คน คิดเป็นร้อยละ 64.17 เป็นเพศชาย จำนวน 2,156 คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 35.83 ศึกษาอยู่ในระดับประถมศกึ ษาปีที่ 5 จำนวน 3,160 คน คิดเปน็ ร้อยละ 52.51
และระดบั ประถมศึกษาปที ี่ 4 จำนวน 2,858 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 47.49

ตารางท่ี 4.32 ค่าเฉลยี่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดับความพงึ พอใจตอ่ กจิ กรรมคา่ ยของนกั เรียน

รายการ (n = 6,018)
x̄ S.D ระดับ
1. กจิ กรรมสนกุ มีประโยชน์ ได้ประสบการณแ์ ละเรยี นรู้ 4.43 0.50 มาก
2. กำหนดการและระยะเวลาทำกิจกรรมเหมาะสม 4.45 0.50 มาก
3. สถานที่จดั กิจกรรมปลอดภัย สะอาด เพียงพอ 4.50 0.50 มาก
4. อาหารสะอาด รสชาตดิ ี มีเพียงพอ 4.61 0.49 มากทส่ี ดุ
5. อปุ กรณแ์ ละสือ่ ในการจัดกจิ กรรมมีความเหมาะสม 4.57 0.50 มากที่สุด
6. วทิ ยากรเก่ง สอนสนุก เข้าใจง่าย นา่ ตดิ ตาม 4.45 0.50 มาก
7. สงิ่ ทีไ่ ดเ้ รียนรูส้ ามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4.55 0.51 มากที่สุด

155

ตารางที่ 4.32 (ต่อ)

รายการ (n = 6,018)
x̄ S.D ระดับ
8. นกั เรยี นได้รับการดูแลท่ีดี เสมอภาคและเท่าเทียมกัน 4.56 0.50 มากที่สดุ
9. นกั เรียนปลอดภัยท้งั ทางรา่ งกาย จติ ใจ และการ 4.63 0.49
แสดงออก
10. นักเรียนมีความสุข ประทับใจ อยากเข้าค่ายอกี มากทส่ี ุด
4.42 0.82 มาก
รวม 4.52 0.25 มากทีส่ ดุ

จากตารางที่ 4.32 พบวา่ ในภาพรวมตอ่ กจิ กรรมค่ายของนกั เรยี น อยใู่ นระดบั มากท่ีสุด
(x̄ = 4.52, S.D. = 0.20) เม่อื พจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบว่า นกั เรยี นปลอดภัยทงั้ ทางรา่ งกาย จิตใจ และ
การแสดงออก มีผลการประเมินมากที่สุด (x̄ = 4.63, S.D. = 0.49) รองลงมาคือ อาหารสะอาด
รสชาติดี มีเพียงพอ (x̄ = 4.61, S.D. = 0.49) และอุปกรณ์และส่ือในการจดั กิจกรรมมคี วามเหมาะสม
(x̄ = 4.57, S.D. = 0.50) ตามลำดับ

156

3. ผลการวิเคราะห์จากแบบประเมินความสามารถจัดกิจกรรมตามแนวทางของ
ครูวทิ ยากร แบง่ เปน็ 3 ด้าน คือ ความรู้ความเข้าใจ ทกั ษะการจดั กิจกรรม และการนำไปประยุกต์ใช้
ในโรงเรยี น ดงั ตารางที่ 4.33 ถึง 4.34

ตารางที่ 4.33 ข้อมลู สถานภาพทว่ั ไปของครูวทิ ยากรผู้ตอบแบบประเมนิ

สถานภาพ จำนวน (คน) รอ้ ยละ
เพศ
192 35.56
- ชาย 348 64.44
- หญิง 540 100.00

รวม 85 15.74
อายุ 244 45.19
172 31.85
- นอ้ ยกว่า 30 ปี 39 7.22
- 31 – 40 ปี 540 100.00
- 41 – 50 ปี
- 50 ปี ขึ้นไป 14 2.59
11 2.04
รวม 173 32.04
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ 147 27.22
30 5.56
- ภาษาไทย 18 3.33
- คณติ ศาสตร์ 121 22.41
- วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 26 4.81
- สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 540 100.00
- สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
- ศลิ ปะ
- การงานอาชีพ
- ภาษาต่างประเทศ

รวม

จากตารางที่ 4.33 พบว่า ครูวิทยากรผู้ตอบแบบประเมินความสามารถจัดกิจกรรม
ตามแนวทาง เป็นเพศหญิง จำนวน 348 คน คิดเป็นร้อยละ 64.44 เป็นเพศชาย จำนวน 192 คน
คิดเป็นร้อยละ 35.56 อายุระหว่าง 31 – 40 ปี มีจำนวนมากที่สุด จำนวน 244 คน คิดเป็นร้อยละ

157

45.19 อยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มากที่สุดจำนวน 173 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 32.04

ตารางที่ 4.34 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความสามารถจัดกิจกรรมตามแนวทาง
ของครูวทิ ยากร ในภาพรวม

รายการ (n = 540)
x̄ S.D ระดับ
1. ดา้ นความรู้ความเข้าใจ 4.50 0.25 มาก
2. ด้านทักษะการจดั กิจกรรม 4.51 0.29 มากที่สดุ
3. ดา้ นการนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นโรงเรียน 4.62 0.27 มากที่สดุ
4.54 0.18 มากที่สดุ
รวม

จากตารางที่ 4.34 พบว่า ในภาพรวมระดับความสามารถจัดกิจกรรมตามแนวทางของ
ครวู ทิ ยากร อยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ (x̄ = 4.54, S.D. = 0.18) เมอื่ พจิ ารณาเป็นรายด้าน พบวา่ ดา้ นการ
นำไปประยุกต์ใช้ในโรงเรียน มีผลการประเมินมากที่สุด (x̄ = 4.62, S.D. = 0.27) รองลงมาคือ
ด้านทกั ษะการจัดกิจกรรม (x̄ = 4.51, S.D. = 0.29) และดา้ นความรูค้ วามเขา้ ใจ (x̄ = 4.50, S.D. = 0.25)

4. ผลการวิเคราะห์จากแบบประเมินคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร โดยครูวิทยากร
และวทิ ยากรภาคเี ครอื ข่ายเป็นผูป้ ระเมินนักเรยี นทเี่ ข้ารว่ มกจิ กรรม ดงั ตารางที่ 4.35 ถึง 4.36

ตารางที่ 4.35 ข้อมูลจำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบประเมนิ คณุ ลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร

ผตู้ อบแบบประเมิน จำนวน (คน) รอ้ ยละ
ครวู ิทยากร 540 63.16
วทิ ยากรประจำศูนย์การเรียนรู้ 135 15.79
วทิ ยากรภาคเี ครือขา่ ยในพน้ื ท่ี 180 21.05
855 100.00
รวม

จากตารางที่ 4.35 พบว่า ผู้ตอบแบบประเมนิ คุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรมากที่สดุ
เปน็ ครูวิทยากร จำนวน 540 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 63.16 รองลงมาได้แก่ วิทยากรภาคเี ครอื ขา่ ยในพื้นท่ี

158

จำนวน 180 คน คิดเป็นร้อยละ 21.05 และวิทยากรประจำศูนย์การเรียนรู้ จำนวน 135 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 15.79 ตามลำดับ

ตารางที่ 4.36 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร ในด้าน
ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ

รายการ (n = 855)
x̄ S.D ระดบั
ด้านความรู้ (รู้รักษา) 4.51 0.43 มากทส่ี ุด
1. นกั เรียนมคี วามใฝ่รดู้ ้านการอนุรักษ์ ปอ้ งกนั และแกป้ ญั หา
4.59 0.55 มากท่ีสุด
การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มในชุมชน
2. นักเรยี นมกี ารส่อื สารความรู้ด้านการดำเนินชีวิตที่เปน็ มติ ร 4.54 0.55 มากที่สดุ

ต่อสิง่ แวดล้อม 4.40 0.58 มาก
3. นักเรยี นน้อมนำความรจู้ ากสถาบนั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 4.53 0.42 มากท่สี ุด
4.49 0.61 มาก
สูก่ ารอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม 4.59 0.49 มากทส่ี ดุ
ดา้ นทกั ษะ (พัฒนาตอ่ ยอด) 4.52 0.54 มากทีส่ ดุ
1. นกั เรยี นดำเนนิ ชวี ติ อยู่อยา่ งพอเพียง 4.60 0.40 มากที่สดุ
2. นักเรียนนำทักษะในศตวรรษท่ี 21 ไปใช้เพอ่ื การดำรงชีวติ
3. นักเรียนใช้ชวี ิตทเี่ ป็นมติ รตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม 4.66 0.48 มากที่สดุ
ดา้ นเจตคติ (สืบทอดวถิ )ี
1. นักเรยี นมีวินัย เคารพกติกาของสงั คมในการดแู ล 4.58 0.50 มากท่ีสุด

รักษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม 4.56 0.55 มากที่สุด
2. นักเรียนตระหนกั ถงึ ปัญหาส่งิ แวดลอ้ ม มจี ิตสาธารณะ 4.55 0.32 มากท่สี ุด

และมสี ่วนร่วมดำเนนิ ชวี ติ ทเ่ี ปน็ มิตรตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม
3. นักเรยี นเปน็ ผ้นู ำในการสานต่อการอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนา

ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของบ้านเกดิ
รวม

จากตารางท่ี 4.36 พบว่า ในภาพรวมระดบั คณุ ลักษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพร อย่ใู นระดับ
มากที่สุด (x̄ = 4.55, S.D. = 0.32) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านเจตคติ (สืบทอดวิถี) มีผล
การประเมนิ มากที่สุด (x̄ = 4.60, S.D. = 0.40) รองลงมาคือ ด้านทักษะ (พัฒนาต่อยอด) (x̄ = 4.53,

159

S.D. = 0.42) และด้านความรู้ (รู้รักษา) (x̄ = 4.51, S.D. = 0.43) โดยมีรายละเอียดผลการประเมิน
ในแต่ละดา้ น ดังนี้

ด้านความรู้ (รู้รักษา) ในภาพรวมระดับอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.51, S.D. = 0.43)
เมอื่ พจิ ารณาเป็นรายข้อ พบวา่ นักเรยี นมคี วามใฝ่รู้ด้านการอนรุ ักษ์ ป้องกันและแก้ปัญหาการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน มีผลการประเมินมากที่สุด (x̄ = 4.59, S.D. = 0.55)
รองลงมาคอื นักเรียนมีการสือ่ สารความรู้ดา้ นการดำเนินชีวติ ท่เี ป็นมติ รตอ่ สิง่ แวดล้อม (x̄ = 4.54, S.D. = 0.55)
และนักเรียนน้อมนำความรู้จากสถาบันชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สู่การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดล้อม (x̄ = 4.40, S.D. = 0.58) ตามลำดับ

ดา้ นทกั ษะ (พัฒนาต่อยอด) ในภาพรวมระดับอย่ใู นระดบั มากที่สุด (x̄ = 4.53, S.D. = 0.42)
เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ นกั เรียนนำทักษะในศตวรรษที่ 21 ไปใชเ้ พอื่ การดำรงชวี ิต (x̄ = 4.59,
S.D. = 0.49) รองลงมาคือ นักเรียนใช้ชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (x̄ = 4.52, S.D. = 0.54) และ
นกั เรียนดำเนนิ ชีวติ อยอู่ ย่างพอเพยี ง มผี ลการประเมนิ มากทสี่ ดุ (x̄ = 4.49, S.D. = 0.61) ตามลำดบั

ด้านเจตคติ (สืบทอดวิถี) ในภาพรวมระดับอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.60, S.D. = 0.40)
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า นักเรียนมีวินัย เคารพกติกาของสังคมในการดูแลรักษาทรัพยากร
ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม มผี ลการประเมนิ มากทีส่ ดุ (x̄ = 4.66, S.D. = 0.48) รองลงมาคอื นักเรยี น
ตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะ และมีส่วนร่วมดำเนินชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
(x̄ = 4.58, S.D. = 0.50) และนักเรียนเป็นผู้นำในการสานต่อการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากร
ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มของบ้านเกิด (x̄ = 4.56, S.D. = 0.55) ตามลำดบั

5. ผลการวิเคราะห์จากแบบประเมินคุณภาพของแนวทางเชิงประจักษ์ ซึ่งเป็นข้อมูล
เชิงคุณภาพที่สอดคล้องกับสภาพจริงตามบริบท จากการลงพื้นที่เยี่ยมค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร
เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ระหว่างเดอื นพฤษภาคม – มิถนุ ายน พ.ศ. 2562 มีผลการศึกษาแบง่ เป็น 4 ดา้ น ดังนี้

ดา้ นการบรหิ ารจดั การและการเตรยี มความพรอ้ ม
ผู้เกี่ยวข้องทั้งระดับส่วนกลางและระดับพื้นที่สามารดำเนินการตามแนวทางและกิจกรรม
ได้อย่างชัดเจนภายใต้เป้าหมาย ทิศทาง แผนงาน บทบาทและภารกิจ โดยไม่ต้องเสียเวลาในการ
ซักซ้อมความเข้าใจ เมื่อผู้เกี่ยวข้องมาถึงหน้างานก็สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง ตามกำหนดการ
และระยะเวลาที่เหมาะสม ซึ่งอาศัยการประสานและติดต่อที่ใกล้ชิด สะดวกรวดเร็ว มีการประสาน
การดำเนนิ งานไวอ้ ยา่ งเปน็ ระบบล่วงหน้า รวมถึงการประสานเพอื่ แกไ้ ขปัญหาระหว่างการดำเนินงาน
กส็ ามารถตดิ ต่อไปสะดวก เช่น เม่ือเกิดสถานการณ์ฝนตกไม่สามารถจัดกิจกรรมได้ ก็สามารถประสานใช้
สถานท่ใี นร่มหรือปรับเปล่ียนกิจกรรมไดอ้ ย่างทนั ทว่ งที เป็นต้น พรอ้ มทัง้ ทำให้ทราบว่าในแต่ละเรื่อง

160

จะต้องประสานงานทีไ่ หนหรือเกี่ยวข้องกับใคร และผู้เกี่ยวขอ้ งน้ันกส็ ามารถตอบสนองได้อยา่ งทันที
เช่นเดียวกันกับการติดตามและรายงานผลทั้งในระดับพื้นที่ รวมถึงการรายงานผลมายังระดับ
ส่วนกลางผ่านระบบสารสนเทศ ก็มีความรวดเร็ว สามารถจัดการข้อมูลได้อย่างถูกต้องครบถ้วน
มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ สถานที่ดำเนินงาน วัสดุ อุปกรณ์ และสื่อ ได้ถูกจัดเตรียมให้มีความพร้อม เช่น
ศนู ย์ศกึ ษาธรรมชาติและสัตว์ป่า (ศธส.) เขาท่าเพชร จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี ซ่ึงมีแหลง่ เรียนรู้ทางธรรมชาติ
ที่มีคุณภาพ เนื่องจากอยู่ในเขตห้ามล่าสัตว์ป่า เป็นที่ตั้งของพระธาตุศรีสุราษฎร์ มีต้นไม้ทรงปลูก
และพระราชประวัติพระราชกรณียกจิ ที่ทรงคุณค่ามากมาย เป็นต้น ถือว่ามีอัตลักษณ์ที่โดดเด่นและ
มีคุณค่าต่อบริบทพื้นที่ มีความสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ และระบบนิเวศ สามารถบูรณาการ
เนื้อหา 3 รักษ์ (รักษ์ชาติ รักษ์ศาสน์ รักษ์กษัตริย์) กล่าวได้ว่าแนวทางดังกล่าวส่งผลให้สามารถทำ
Check list เพื่อเตรียมความพร้อมได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับกิจกรรมและบริหารจัดการให้มี
ประสทิ ธภิ าพในทุกขนั้ ตอน

ภาพที่ 4.18 การลงพื้นท่ีประเมินคุณภาพของแนวทางเชิงประจักษ์ ดา้ นการบริหารจดั การ
และการเตรยี มความพรอ้ ม

161

ดา้ นเน้ือหา
นักเรียนได้เรียนรู้เนื้อหาและกิจกรรมที่เหมาะสม ซึ่งกรอบเนื้อหา 3 รักษ์ (รักษ์ชาติ
รกั ษ์ศาสน์ รกั ษ์กษัตริย์) มคี วามสอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายการพฒั นา รวมถึงความต้องการและอัตลักษณ์
บริบทของพื้นที่ ได้ตระหนักรู้และเห็นความสำคัญต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใกล้ ๆ ตัว
ซึ่งสามารถนำไปปรับใช้ได้ เอกสารคู่มือและใบงานที่นักเรียนและวิทยากรใช้ ก็สามารถใช้ได้อย่าง
สะดวก เข้าใจง่ายทั้งการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ของนักเรียน มีความครอบคลุมตรงประเด็น
มีประโยชน์ต่อการเรียนรู้ พร้อมทั้งสื่อและอุปกรณ์ที่ใช้เหมาะสมกับเนื้อหาและกจิ กรรม โดยเฉพาะ
การประยุกตใ์ ช้สื่อวัสดุธรรมชาติตามบรบิ ทพ้ืนที่ เช่น การใช้เมล็ดมะคา่ โมง แทนการใช้เม็ดพลาสติก
ในการประเมินผลการเรยี นรรู้ ายกิจกรรม ณ ศูนย์ศกึ ษาธรรมชาตแิ ละสัตว์ป่า (ศธส.) ราชบุรี หรือการ
ใช้ผลของต้นต๋าวมาเรียนรู้เร่ืองการแปรรูป ซึ่งเป็นพืชพื้นถิ่นของจังหวัดน่าน ณ ศูนย์เรียนรู้เพื่อการ
อนุรกั ษท์ รัพยากรป่าไม้ตามแนวพระราชดำริ (ศรร.) นา่ น และการใช้ไหลบัวเรียนรู้เรื่องการประกอบ
อาหารอย่างสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นพืชที่พบได้มากในบึงบอระเพ็ด ณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่า
(ศธส.) บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ เป็นต้น ทั้งนี้ ครูวิทยากรและวิทยากรจากภาคีเครือข่าย
มคี วามชำนาญและมีความพร้อมเปน็ อย่างมาก สามารถประยกุ ตอ์ งค์ความรู้ กิจกรรมและสอื่ รวมถึง
สอ่ื สารถ่ายทอดให้แก่นกั เรยี นได้เป็นอยา่ งดี

ภาพท่ี 4.19 การลงพนื้ ท่ีประเมนิ คณุ ภาพของแนวทางเชิงประจักษ์ ด้านเน้อื หา

162

ด้านกระบวนการ
ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายสามารถร่วมดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่องในทุกขั้นตอนและทุกกิจกรรม
การเรียนรู้ ไม่เกิดการขาดช่วงในการจัดกิจกรรมและการจัดกิจกรรมเป็นชั้น ๆ ไม่ต่อเนื่อง หรือ
ไม่เข้าใจบทบาทภารกิจงาน สามารถทดแทนหมุนเวียนการปฏิบัติงานรว่ มกันไดอ้ ย่างลื่นไหล ซึ่งเกิด
จากการทีแ่ นวทางดังกลา่ วไดเ้ ปดิ โอกาสใหภ้ าคีเครือข่ายและผูเ้ กย่ี วข้องมีส่วนร่วมในทกุ ขน้ั ตอน ส่งผลให้
บุคลากรทุกฝ่ายมีความรู้สึกเป็นเจ้าของงานในทุก ๆ มิติ และอยากที่จะเข้ามามีส่วนร่วมมากยิ่งขน้ึ
รวมถึงสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นแบบ Active Learning ได้เป็นอย่างดี มีการบูรณาการ
สหวิชาการและองค์ความรู้ของแต่ละภาคีเครือข่าย ซึ่งมีองค์ความรู้เป็นจำนวนมาก ให้นักเรียน
สามารถเรียนรู้สาระสำคัญในเวลาจำกัดได้อย่างครบถ้วน ผ่านกิจกรรม เกม และการทำงานกลุ่ม
ลดการเรียนรู้แบบท่องจำ ลดความเครียด เพิ่มความสนุก สามารถทำให้นักเรียนเข้าใจเรื่องยาก ๆ
ได้ง่ายขึ้น เข่น การบูรณาการองค์ความรู้ของ 5 กรม ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทั้งเรื่องของ
หญ้าแฝก หม่อนไหม บัญชสี หกรณ์ ปยุ๋ พระราชทาน พชื ในท้องถน่ิ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
สู่กิจกรรม “ดินดี พืชดี วิถีพอเพียง” เป็นต้น นอกจากนี้ มีการจัดการความรู้และข้อมูลสารสนเทศ
อย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะขอ้ มลู นกั เรยี น ขอ้ มูลโรงเรียน ข้อมูลเครอื ขา่ ยเชิงพ้ืนทฯี่ ขอ้ มูลองค์ความรู้
และข้อมูลแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ ข้อมูลการกำกับติดตาม รวมถึงข้อมูลเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ
ในระดับพ้ืนที่ที่ครบถ้วน ผเู้ กย่ี วขอ้ งสามารถใช้ข้อมูลและติดต่อประสานงานได้สะดวก ทำให้กระบวนการ
ตามแนวทางดังกล่าว สามารถถ่ายทอดและฝึกปฏิบัติได้ง่าย เป็นไปตามหลักการพัฒนาและขั้นตอน
การเสรมิ สรา้ งคุณลกั ษณะ และมปี ระสิทธภิ าพมากย่ิงขึ้น

ภาพที่ 4.20 การลงพ้นื ท่ีประเมินคณุ ภาพของแนวทางเชิงประจกั ษ์ ดา้ นกระบวนการ

163

ดา้ นผลลพั ธ์
นักเรียนแสดงออกอยา่ งชัดเจนถงึ ความเคารพรักและหวงแหนในสถาบนั ชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย์ รวมถงึ มีความตระหนัก ความรู้ความเข้าใจถึงปญั หาสงิ่ แวดล้อม มจี ติ อาสา สามารถ
ใชช้ ีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และใชช้ ีวติ ท่ีเปน็ มิตรตอ่ สง่ิ แวดล้อม มีทักษะท่ีจำเป็น
ในศตวรรษที่ 21 และสามารถนำทักษะไปใช้เพื่อการดำรงชีวิตตามวิถีบริบทของท้องถิ่นได้อย่าง
สอดคล้องเหมาะสม รวมถึงเป็นผู้นำในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของบ้านเกดิ
สามารถต่อยอดขยายผลกิจกรรมในโรงเรียนและชุมชนได้อย่างเป็นรูปธรรม สอดคล้องกับ
ความต้องการและบริบททอ้ งถ่ิน พร้อมทัง้ ครูมีความรู้ความเขา้ ใจและสามารถบูรณาการองค์ความรู้
ของภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อการพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร เข้าใจ
ประโยชน์ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม และสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ
โดยเฉพาะภายใต้กรอบเนอื้ หา 3 รักษ์ เช่น การดำเนนิ ชวี ติ ภายใตร้ ะเบียบ กฎกตกิ าของสังคม มีความ
สามัคคี รักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และภูมิปัญญาท้องถิ่น การมีสติ
ความเมตตา การให้อภัย รวมถึงความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ปกป้องและเชิดชูสถาบัน
พระมหากษัตริย์ และการน้อมนำไปเป็นแนวปฏิบัติในชีวิตประจำวัน ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 พร้อมทั้งนำไป
ตอ่ ยอดกับสาระวชิ าในโรงเรียนได้ เชน่ การให้นกั เรยี นเรียนรเู้ รอื่ งการจัดการขยะจากกจิ กรรมในค่าย
ณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่า (ศธส.) นครนายก แล้วนำมาประดิษฐ์เป็นรถและเรือของเล่น
โดยใชห้ ลกั การ STEM จากนั้นนำมาจดั กจิ กรรมแข่งขันกัน ซ่ึงเปน็ การต่อยอดของสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษานครนายก ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา (ช่วงชั้นที่ 2) เป็นต้น นอกจากนี้ภาคีเครือข่ายสามารถบูรณาการ
ความร่วมมอื ด้านการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ในระดับพื้นท่ไี ด้เข้มแข็งมากย่ิงข้ึน
ถือเป็นฐานสำคัญที่เอื้อให้โรงเรียนต่อยอดขยายผลได้อย่างเป็นรูปธรรม มีแนวทางพัฒนานักเรียน
ด้านการอนุรักษ์ที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ สามารถนำไปปฏิบัติให้เกิดผลสำเร็จได้จริงและมีความ
ยัง่ ยนื

164

ภาพที่ 4.21 การลงพื้นท่ีประเมนิ คุณภาพของแนวทางเชิงประจักษด์ ้านผลลพั ธ์

6. ผลการวเิ คราะหจ์ ากแบบประเมนิ การขยายผลสคู่ วามยัง่ ยืน โดยครูวทิ ยากรและวทิ ยากร
ภาคีเครือข่ายเป็นผู้ประเมินนักเรียน ด้วยวิธีการสังเกตการนำความรู้ไปต่อยอดกิจกรรมที่โรงเรียน
ของนกั เรยี น ซึง่ สะทอ้ นความเป็นเยาวชนรักษพ์ งไพร ดงั ตารางที่ 4.37 ถึง 4.38

ตารางท่ี 4.37 ข้อมลู จำนวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบประเมนิ การขยายผลสู่ความย่ังยนื

ผูต้ อบแบบประเมนิ จำนวน (คน) ร้อยละ
ครูวทิ ยากร 540 63.16
วิทยากรประจำศูนยก์ ารเรยี นรู้ 135 15.79
วิทยากรภาคเี ครอื ข่ายในพืน้ ที่ 180 21.05
855 100.00
รวม

จากตารางที่ 4.37 พบว่า ผตู้ อบแบบประเมนิ คุณลกั ษณะเยาวชนรักษ์พงไพร มากท่ีสุด
เป็นครูวทิ ยากร จำนวน 540 คน คิดเปน็ ร้อยละ 63.16 รองลงมาได้แก่ วิทยากรภาคเี ครือขา่ ยในพื้นท่ี

165

จำนวน 180 คน คิดเป็นร้อยละ 21.05 และวิทยากรประจำศูนย์การเรียนรู้ จำนวน 135 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 15.79 ตามลำดบั

ตารางท่ี 4.38 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การขยายผลส่คู วามย่งั ยืน

รายการ (n = 855)
x̄ S.D ระดบั

1. นกั เรียนดำเนนิ กจิ กรรมตอ่ ยอดทีเ่ รียนร้จู ากกิจกรรมค่าย

อย่างสอดคล้องกบั แนวทางและถกู หลกั การ 4.62 0.53 มากท่สี ดุ

2. นกั เรียนใช้กระบวนการกลุม่ คดิ วเิ คราะห์ ทดลอง

และศกึ ษาบรบิ ท ในการตอ่ ยอดกจิ กรรม 4.48 0.59 มาก

3. กิจกรรมการตอ่ ยอดมีความสอดคล้องกบั อตั ลกั ษณ์

และบรบิ ทของโรงเรยี นและพื้นที่ 4.57 0.50 มากท่สี ดุ

4. กิจกรรมการตอ่ ยอดมีเป้าประสงค์ในการพัฒนา

หรอื แกป้ ญั หาของโรงเรียนหรือชุมชน 4.40 0.64 มาก

5. กจิ กรรมการต่อยอดได้รับการส่งเสรมิ สนับสนุน

จากภาคีเครอื ขา่ ยในพ้นื ที่และชมุ ชน 4.68 0.56 มากทส่ี ุด

6. กจิ กรรมการต่อยอดมีแผนการดำเนินงานท่ีตอ่ เนอื่ ง 4.30 0.57 มาก

7. นักเรยี นสามารถนำความรทู้ ไ่ี ดร้ ับมาปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวัน

และเปน็ ส่วนหน่งึ ของวิถีการดำรงชีวิต 4.53 0.59 มากที่สดุ

8. นักเรยี นแสดงออกถงึ คณุ ลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร

อยา่ งตอ่ เน่อื งในการดำเนนิ กิจกรรมต่อยอด 4.60 0.52 มากทีส่ ุด

รวม 4.52 0.24 มากทสี่ ดุ

จากตารางที่ 4.38 พบว่า ในภาพรวมระดับการขยายผลสูค่ วามยั่งยืน อยู่ในระดับมาก
ที่สดุ (x̄ = 4.52, S.D. = 0.24) เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายข้อ พบว่า กิจกรรมการต่อยอดไดร้ ับการส่งเสริม
สนับสนุนจากภาคีเครือข่ายในพื้นที่และชุมชน มีผลการประเมินมากที่สุด (x̄ = 4.68, S.D. = 0.56)
รองลงมาคือ นักเรียนดำเนินกิจกรรมต่อยอดที่เรียนรู้จากกิจกรรมค่าย อย่างสอดคล้องกับแนวทาง
และถูกหลักการ (x̄ = 4.62, S.D. = 0.53) และนักเรียนแสดงออกถงึ คุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
อย่างตอ่ เนื่องในการดำเนนิ กิจกรรมต่อยอด (x̄ = 4.60, S.D. = 0.52) ตามลำดับ

166

ข้อคดิ เห็นและเสนอแนะเพมิ่ เตมิ จากการนำแนวทางไปใช้
1) กิจกรรมและแนวทางมีประโยชน์เพียงพอต่อการขยายกลุ่มเป้าหมาย และพัฒนา
ปรับปรงุ แนวทางให้เหมาะสำหรับนักเรียนทกุ กลมุ่ ทุกช่วงวยั และช่วงช้นั ให้ได้มโี อกาสในการเข้าร่วม
โครงการ และได้รับการเสริมสร้างด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็น
รปู ธรรม เนื่องจากถือเปน็ พน้ื ฐานการเรยี นรู้ทส่ี ำคัญของการดำรงอยู่ในโลกศตวรรษท่ี 21
2) ควรเพิ่มจำนวนแหล่งเรียนรู้และแหล่งศึกษาธรรมชาติที่มีคุณภาพ มีความ
หลากหลาย และเหมาะสมครบถ้วนต่อการเรียนรู้ของนกั เรียนที่ครอบคลุมเนื้อหา 3 รักษ์ (รักษ์ชาติ
รักษ์ศาสน์ รักษ์กษัตริย์) ในพื้นที่ต่าง ๆ ทั้งพื้นที่ใกล้เคียงศูนยก์ ารเรียนรู้ตามโครงการ และในพื้นท่ี
ใกล้เคียงโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย เพื่อสร้างโอกาสในการเรียนรู้ที่มีคุณภาพหลากหลาย และสะดวก
ต่อการเข้าถงึ ได้มากยิง่ ขน้ึ
3) การเพม่ิ ความร่วมมือจากภาคีเครอื ข่ายทเ่ี ชี่ยวชาญ ในเรอ่ื งทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั การอนรุ ักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ครบถ้วนสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น จะช่วยให้กระบวนการเรียนรู้
ของนักเรียนมีคุณภาพสูงขึ้น เกิดเครือข่ายร่วมพัฒนาที่เข้มแข็ง สามารถขับเคลื่อนการพัฒนา
ในวงกว้าง และมคี วามยง่ั ยืนในการดำเนนิ งานมากยิง่ ข้นึ ได้
4) กระบวนการขยายผลในระดับโรงเรียน สามารถส่งเสริมให้เยาวชนรักษ์พงไพร
เป็นแกนนำในการต่อยอดขยายผลกิจกรรมและองค์ความรู้ไปยังนักเรียนของโรงเรียนอื่น ๆ ในพื้นที่
ใกล้เคียง หรือโรงเรียนในเครือข่ายได้ โดยต้องประยุกต์ใช้แนวทางให้เหมาะสมกับบริบท และให้
ครวู ทิ ยากรเปน็ พเี่ ลยี้ งนักเรียนในการตอ่ ยอดขยายผลดังกลา่ ว
5) ต้องพัฒนากระบวนการสนับสนุนครูให้สามารถสร้างความร่วมมือกับภาคเี ครือข่าย
ในพื้นที่ได้อย่างกว้างขวาง เป็นระบบ มีความใกล้ชิด และเข้มแข็งเพิ่มมากขึ้น เพื่อร่วมกันพัฒนา
คุณภาพนักเรยี น รวมถึงจะชว่ ยพัฒนาความรู้ความเขา้ ใจและทักษะในการจัดการเรยี นการสอนหรือ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้อย่างถูกหลักวิชาการ
แม่นยำ และสอดคลอ้ งเหมาะสมกบั บรบิ ทพน้ื ท่ีได้อยา่ งแทจ้ รงิ มากย่ิงขึน้
6) ผลักดันให้เรื่องเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร เป็นนโยบายและ
ยุทธศาสตร์ในระดับประเทศที่ชัดเจน เป็นเอกภาพ และถ่ายทอดสู่การปฏิบัติในทุกระดับ รวมถึง
บรู ณาการใหอ้ ยู่ในทกุ มิตขิ องการจดั การเรียนการสอนและการดำรงชวี ิต
นอกจากนี้ ผู้วิจัยได้ติดตามผลสำเร็จของการพัฒนาทั้ง 4 ขั้นตอน ตามแนวทางการ
เสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ของโรงเรยี นระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั ฐาน ซึ่งเกิดขึ้นอย่างเป็น
รูปธรรม โดยสามารถคัดเลือกผู้แทนเยาวชนรักษ์พงไพรจากทั่วประเทศ มาแสดงศักยภาพและ
ผลสำเร็จเชิงประจักษ์ในเวทีระดับประเทศ ด้วยการนำผลสำเร็จของนักเรียนที่เกิดจากการต่อยอด

167

ขยายผลในโรงเรียนและชมุ ชน มาจัดนิทรรศการภายในงาน “สีสรรพรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินนี าถ”
ณ สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ กรุงเทพมหานคร พร้อมทั้งเฝ้าทูลละอองพระบาท สมเด็จพระ
กนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และถวายรายงานผล
การดำเนนิ งานโครงการ ซ่ึงเยาวชนรักษพ์ งไพรสามารถนำเสนอไดอ้ ย่างชัดเจน ไมต่ อ้ งท่องจำ มีไหวพริบ
ปฏิภาณและการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้เป็นอย่างดี มีเหตุมีผล นำเสนอได้อย่างเป็นธรรมชาติ
เพราะเกดิ จากการเรียนรูด้ ้วยตนเองและมือปฏิบตั ิจริง ทั้งยังพบอีกว่า เยาวชนรักษ์พงไพรมีภาวะผู้นำ
และผตู้ ามทดี่ ี กลา้ พดู กล้าแสดงออก มนี ำ้ ใจเอ้อื เฟือ้ เผอื่ แผ่ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมาย มีทักษะในการคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา มีสุขภาพกาย ใจ สมบูรณ์ แข็งแรง
สามารถเข้ากับสังคมและเพื่อนที่มีความแตกต่างได้ดี ถือได้ว่ามีคุณลักษณะความเป็นผู้นำในการ
ต่อยอดขยายผลในพืน้ ที่และทอ้ งถ่ินสคู่ วามย่งั ยืนได้เป็นอย่างดี

ภาพท่ี 4.22 เยาวชนรกั ษพ์ งไพรเฝ้าทูลละอองพระบาท สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี พรอ้ มทัง้ ถวายรายงาน
ผลการดำเนินงานโครงการ

จากผลการดำเนินการในขั้นตอนการนำแนวทางไปใช้ ผู้วิจัยได้นำมาจัดทำข้อเสนอ
เชิงนโยบายของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ด้วยการระดมสมอง (Brainstorming)
ร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนภาคีเครือข่าย คณะทำงานโครงการ และผู้เกี่ยวข้อง ในการประชุม

168

เชิงปฏิบัติการพัฒนาและขยายผลเครือข่ายเชิงพื้นที่เพื่อการพัฒนาโครงการค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร
เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” สู่ความยั่งยืน
(Rakpongprai Network: RN) ระหว่างวันที่ 24 - 26 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ณ โรงแรมริเวอร์ไซด์
กรงุ เทพมหานคร รายละเอียด ดงั น้ี

ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายการเสรมิ สรา้ งคุณลกั ษณะเยาวชนรักษพ์ งไพร
ตามรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 หมวด 4 หนา้ ที่ของปวงชนชาวไทย
มาตรา 50 (1) และ (8) ได้กำหนดให้บุคคลมีหน้าที่พิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข พร้อมทั้งร่วมมือและ
สนับสนุนการอนุรักษ์และคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ
รวมทั้งมรดกทางวัฒนธรรม พร้อมนี้ในหมวด 5 หน้าที่ของรัฐ มาตรา 57 (2) ได้กำหนดให้รัฐ
ต้องอนุรักษ์ คุ้มครอง บํารุงรักษา ฟื้นฟู บริหารจัดการ และใช้หรือจัดให้มีการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ ให้เกิดประโยชนอ์ ยา่ งสมดุลและ
ยงั่ ยืน โดยตอ้ งให้ประชาชนและชมุ ชนในท้องถิ่นที่เก่ียวข้องมีส่วนรว่ มดําเนนิ การและได้รับประโยชน์
จากการดําเนินการดังกล่าวด้วยตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งสะท้อนถึงความสำคัญของการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ได้ถูกกำหนดให้เป็นหนึ่งในประเด็นระดับชาติที่ทุกภาคส่วน
ต้องใหค้ วามสำคญั และเขา้ มามีสว่ นร่วมในการดำเนนิ งานตง้ั แต่ระดับนโยบายสูร่ ะดับปฏิบัติ ถือเป็น
รากฐานสำคัญในการพฒั นาประเทศไปสู่ความมน่ั คง ม่งั ค่ัง และย่งั ยืน ตามยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี
โดยต้องอาศยั การปลูกฝังจิตสำนกึ และพัฒนาในระยะยาว มงุ่ เนน้ ความเข้มแข็งตามบรบิ ทของท้องถ่ิน
และชุมชน มกี ลไกที่สำคัญ คือ การพฒั นาคณุ ภาพประชาชน โดยสนับสนนุ การจัดการศึกษาด้านการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกต้องตามหลักวิชา สามารถทำได้ทุกระดับอายุ ทั้งในระบบโรงเรียน
และสถาบันการศึกษาต่าง ๆ เพื่อให้เยาวชนและประชาชนเกิดความตระหนักถึงความสำคัญและ
ความจำเป็นในการอนุรกั ษ์ เกดิ ความรักความหวงแหน และให้ความรว่ มมืออย่างจริงจัง
สิ่งทสี่ ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานควรมุง่ เนน้ คือ การขยายผลโครงการ
ในวงกว้างให้ครอบคลุม 225 เขตพื้นที่การศึกษา 77 จังหวัดทั่วประเทศ พร้อมทั้งนำหลักการ
แนวทาง และวิธีการเหล่านี้ไปบูรณาการให้ถึงห้องเรียน เพราะกุญแจสำคัญแห่งความสำเร็จ คือ
การสร้างความยั่งยืนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในการจัดการเรียน
การสอนในห้องเรียนและเติบโตอยู่ในวิถีชีวิตอย่างแท้จริง นำนักเรียนไปสู่การมีคุณลักษณะเยาวชน
รักษ์พงไพร กล่าวคือมีความเคารพรักในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ พร้อมทั้งเห็นถึง
คุณค่าทรัพยากรธรรมชาติ เกิดความรักความหวงแหน มีจิตสำนึก ความรับผิดชอบ และร่วมกัน
อนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณด้านการอนุรกั ษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและน้อมนำมาปรับใช้ รวมถึงนำไปต่อยอดพัฒนาตามความต้องการและ

169

อัตลักษณ์ของพืน้ ท่ี สอดคล้องกับบริบทท้องถิ่น โดยในการยกร่างข้อเสนอเชงิ นโยบายน้ี ผู้วิจัยได้นำ
ประเด็นสำคัญประกอบการพิจารณา เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ
การพัฒนาประเทศ เช่น นโยบายระดับประเทศ กลไกการประสานการบูรณการให้เกิดเอกภาพ
อำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน การดำเนินงานแบบมีส่วนร่วมโดยทุกภาคส่วน องค์ความรู้และผลการ
ศึกษาวิจัย ระเบียบกฎหมาย งบประมาณ และกลไกสนับสนุน มาเป็นกรอบการพิจารณาข้อเสนอ
เชิงนโยบายโดยได้คำนึงถึงหลักการ 3 ประการ คือ ความสอดคล้องกับบริบทพ้ืนที่และบริบท
ทางสังคม การยึดถือประโยชน์ของนักเรียนเป็นสำคัญ และการขับเคลื่อนด้วยการจัดการศึกษา
โดยบูรณาการความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่าย โดยประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านนโยบาย
2) ด้านโครงสร้าง 3) ด้านการขับเคลื่อน 4) ด้านเครื่องมือ/กลไก และ 5) ด้านหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง
โดยแบง่ ออกเป็นข้อเสนอระยะเรง่ ดว่ น ขอ้ เสนอระยะกลาง และขอ้ เสนอระยะยาว ดังตอ่ ไปน้ี

1. ขอ้ เสนอด้านนโยบาย (ระยะเรง่ ด่วน)
ผลักดันให้การเสริมสร้างคุณลักษณะของนกั เรียนด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอ้ มในทุกระดับชัน้ เปน็ นโยบายหลักของกระทรวงศึกษาธิการ โดยในระดับประถมศึกษา
สามารถใช้แนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพรเพื่อการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม เป็นแนวทางการดำเนินงานหลัก ส่วนในระดับอื่นสามารถนำแนวทางดังกล่าวไปปรับใช้
ตามบริบทได้ ซ่ึงควรกำหนดให้การเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเป็นงานยุทธศาสตร์
ที่กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ต้องเร่งให้มีนโยบาย
ระดับประเทศที่ชัดเจน รวมถึงถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติในทุกระดับ มีการกำหนดกลยุทธ์
วิสัยทัศน์ จากสำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา ขับเคลื่อนให้เครอื ขา่ ยโรงเรียนดำเนนิ งานได้อย่างชัดเจน
ครสู ามารถเขียนแผนงานและแผนการสอนรองรบั ในการตอบโจทย์วิสัยทัศน์ และกลยุทธ์ได้ เพือ่ ความ
เป็นเอกภาพในการพัฒนา โดยให้ศูนย์การเรียนรู้ของโครงการ จำนวน 31 ศูนย์ และสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาของโครงการ จำนวน 33 เขต เป็นต้นแบบในการศึกษาเรียนรู้
เพือ่ ขับเคลือ่ นการขยายผลในพน้ื ท่ตี ่างๆ ของประเทศ
2. ขอ้ เสนอดา้ นโครงสรา้ ง

1) ระยะสั้น ให้มีการพิจารณาทบทวนบทบาทหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับ
ส่วนกลาง เพื่อสรรหาหน่วยงานในการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์การเสริมสร้างคุณลักษณะ
เยาวชนรกั ษ์พงไพรเพอ่ื การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม โดยมีคณะกรรมการในระดับ
นโยบายขึ้นเพื่อพิจารณาภาพรวมระดับประเทศ และภายใต้คณะกรรมการดังกล่าวให้มี
คณะอนุกรรมการในระดับภมู ิภาค ระดับจังหวัด หรือระดับสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา ขับเคลื่อน
และบรู ณาการการดำเนินงานไปสูก่ ารปฏิบัติในสว่ นภมู ิภาคและท้องถ่ิน

170

2) ระยะยาว พิจารณาความเหมาะสม สอดคล้องและเป็นไปได้ในการนำภารกิจ
ด้านการเสริมสรา้ งคณุ ลักษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพรเพอื่ การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
ผนวกเป็นส่วนหนึ่งของภารกิจของหน่วยงานที่รับผิดชอบ เช่น สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
กระทรวงศึกษาธกิ าร สำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน สำนกั พัฒนากจิ กรรมนักเรียน และ
สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา เป็นต้น โดยควรกำหนดเป็นภารกิจการดำเนินงานแบบบูรณาการ
ระหว่างหนว่ ยงานในส่วนทเี่ กีย่ วขอ้ ง

3. ข้อเสนอด้านการขบั เคลือ่ น (ระยะกลาง)
1) ให้ประเด็นการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มเปน็ วาระจงั หวดั และบรรจุไว้ในแผนยุทธศาสตรจ์ งั หวัด โดยบรรจุ
ไว้ในประเด็นยุทธศาสตร์จงั หวัดที่เชื่อมโยงกับการเสริมสร้างสังคมที่เข้มแข็งและการพัฒนาคุณภาพ
ชีวติ ท่ีดี รวมถึงการพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม

2) ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นเขา้ มามีส่วนรว่ มในระดับพนื้ ท่ี ในการขับเคล่ือน
การเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โดยให้เพิ่มการจัดทำแผนระดับท้องถิ่นในด้านดังกล่าวไว้ในแผนพัฒนาขององค์กรปกครอง
สว่ นท้องถิ่นระยะ 3 ปี ทกุ รอบเวลา

3) ให้การดำเนินงานในพื้นที่มีการขับเคลื่อนและดำเนินงานแบบหุ้นส่วน
(Partnership) เน้นการดำเนินงานที่ให้สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นฐานหลัก ร่วมกับสำนักงาน
ศึกษาธิการจังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยดำเนินงานในระดับพื้นที่ตามแผนพัฒนา
ของท้องถิ่นในรูปแบบหุ้นส่วนความร่วมมือ ร่วมกับประชาชนในพื้นที่ทั้งการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ
รว่ มลงมอื ปฏบิ ัติ และรว่ มรับผิดชอบ

4) สง่ เสริมสนับสนนุ การหาพนั ธมิตรในการรว่ มพันธกิจการเสรมิ สรา้ งคุณลักษณะ
เยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกระทรวงศึกษาธิการ
ต้องสร้างกลไกในการสรรหาเครือข่ายการทำงานร่วมกับภายนอก เปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามา
มีส่วนร่วมเพิ่มมากขึ้น เพื่อสนับสนุนด้านงบประมาณ บุคลากร และเป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้
จากผู้เช่ียวชาญต่อยอดไปสู่การเสรมิ สมรรถนะบคุ ลากรและประชาชนในทอ้ งถนิ่

5) ส่งเสริมการสรา้ งจิตสำนกึ ความตระหนัก รวมถึงความรู้ความเข้าใจในคุณค่า
และความสำคัญของการเสริมสร้างคุณลักษณะนักเรียนในด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดลอ้ มใหแ้ ก่ทุกภาคสว่ น โดยมีแนวทางดังนี้

5.1 สอดแทรกเป็นหลักสูตรท้องถิ่นหรือหลักสูตรสถานศึกษาในระดับ
การศึกษาภาคบังคับ หรือจัดให้มีการเรียนการสอนแบบวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมในระดบั
การศกึ ษาทสี่ งู ข้ึน

171

5.2 ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบหลักในระดับนโยบาย มีหน้าทีจ่ ัดการความรู้
เชงิ วชิ าการ ดว้ ยการจัดสัมมนาวชิ าการระดบั ประเทศเป็นประจำทุกปี

5.3 กำหนดให้เป็นวาระของหน่วยงานส่วนท้องถิน่ หรือหน่วยงานในระดบั
พืน้ ท่ี ร่วมกันสร้างองค์ความรแู้ ละความตระหนกั ถงึ ความสำคัญของการเสรมิ สรา้ งคุณลักษณะเยาวชน
รกั ษ์พงไพรเพื่อการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มให้แก่ภาคประชาคม

6) มีนโยบายที่ชัดเจนในการเสริมสมรรถนะและคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับนโยบาย
จดั ทำแผนการพัฒนาศกั ยภาพ จดั ทำหลักสตู รและจดั อบรมใหแ้ กผ่ ู้เก่ียวข้องเปน็ ประจำทกุ ปี

7) ส่งเสรมิ และใหค้ วามสำคัญกับโรงเรียนในการสร้างสรรค์โครงการ กจิ กรรมตา่ ง ๆ
ด้วยตนเอง โดยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ และหน่วยงานส่วนท้องถ่ิน
เป็นผู้สนับสนุน ให้คำปรึกษา โดยมีสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นผู้สนับสนุน
องค์ความรู้ใหม่ ๆ รวมถึงสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานให้มีความต่อเนื่อง เพื่อให้เกิด
องคค์ วามรู้ แนวปฏิบตั ทิ ด่ี ี และนวตั กรรม ที่สามารถขยายผลสู่โรงเรียนและนกั เรียนไดอ้ ยา่ งสอดคล้อง
กับบริบทของแต่ละพื้นที่และชุมชน เพือ่ สืบสาน พฒั นาต่อยอด และขยายผลอยา่ งย่ังยืน

4. ขอ้ เสนอดา้ นเครอื่ งมือ/กลไก (ระยะยาว)
1) กฎหมาย
1.1) ระยะยาว ผลักดันให้มีข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบ

หรือข้อบังคับให้มีความทันสมัย สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นพลวัต ซึ่งเป็นกลไกขับเคลื่อน
การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบนฐานการศกึ ษาที่มปี ระสทิ ธิภาพ

1.2) ระยะสัน้ ใหอ้ งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออกข้อบญั ญัติทอ้ งถน่ิ เพ่ือกำหนด
แนวทางบูรณาการภาคการศึกษากับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการใช้
ประโยชน์ให้สอดคล้องกบั บรบิ ทพ้ืนที่ โดยการมีสว่ นรว่ มของประชาชนทุกภาคสว่ น

2) งบประมาณ
2.1) ให้มีการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์

ของหน่วยงานหลักและหน่วยงานส่วนกลางที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การบูรณาการงานตามนโยบาย
การเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สามารถบรรลุผลสำเร็จไดต้ ามเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ โดยให้สำนักเลขาธิการนายกรฐั มนตรเี ป็นเจ้าภาพ
หลักในการจดั ทำงบบูรณาการและตรวจสอบโครงการ กจิ กรรม รวมถงึ การดำเนินงานของหน่วยงาน
ท่ีเกี่ยวข้องไม่ให้มีความซ้ำซ้อน เป็นไปตามหลักการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการ
เชงิ ยุทธศาสตรท์ ไี่ ดใ้ หค้ วามสำคญั กบั หลักประหยดั ความคมุ้ ค่า และมีประสิทธภิ าพ

172

2.2) ให้มีการพิจารณาช่องทางการจัดเก็บรายได้ของหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง
ในระดับพนื้ ท่ี เชน่ ศูนย์การเรยี นรู้ และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ เปน็ ตน้ เพ่อื นำรายได้เป็นงบประมาณ
ใช้จ่ายในการบำรุงรักษาแหล่งศึกษาธรรมชาติในท้องถิ่นให้มีความสมบูรณ์และมีคุณภาพ รวมถึงใช้
สนับสนุนการดำเนินงานตามแผนการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ให้สอดคล้องกับความตอ้ งการและบรบิ ทของทอ้ งถ่ิน

3) การเสริมแรงและการจงู ใจ
ให้มีการศึกษารูปแบบ ความเหมาะสม และพัฒนาวิธีการเสรมิ แรงและการจูงใจ
โดยใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตรแ์ ละกระบวนการเชิงจิตวิทยา เพื่อนำมาใช้เป็นมาตรการจูงใจและ
วิธีการที่กระตุ้นให้เกิดความร่วมมือได้จริงในทางปฏิบัติ ทั้งจากภาคีเครือข่าย สำนักงานเขตพื้นท่ี
การษกึ ษา โรงเรยี น ชุมชน และภาคเอกชนอ่ืน ๆ เช่น

- มาตรการทางภาษีเพื่อส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ
สนับสนุนการศึกษา ภายใต้โครงการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สำหรับการจัดหาหรือจัดสร้างอาคารเพื่อการจัดกิจกรรม
การเรียนรหู้ รือพักอาศัย หรอื ทด่ี นิ เพ่อื พฒั นาเป็นศนู ย์การเรียนรแู้ ละแหล่งศกึ ษาธรรมชาติในท้องถิ่น
หรือจัดหาวสั ดุอปุ กรณเ์ พ่ือการศกึ ษา ตำรา หนงั สอื ทางวชิ าการ สอื่ และเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา

- การพจิ ารณางบประมาณสำหรบั โครงการสาธารณูปโภค สาธารณปู การต่าง ๆ
ของศูนย์การเรียนรู้และแหล่งศึกษาธรรมชาติในท้องถิ่น โดยให้พิจารณาตามความสอดคล้องกับ
นโยบายและแผนการดำเนินงานด้านการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

- การสรรหาโรงเรียนพัฒนาต่อยอดในแต่ละภูมิภาคที่มีกิจกรรมเด่นหรือ
ประสบผลสำเร็จ และมอบรางวัลระดับชาติ โล่หรือธงสัญลักษณ์ ให้กับคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้อง
เช่น รางวัลการต่อขยายผลยอดยอดเยี่ยม รางวัลยอดเยี่ยมในการจัดรายกจิ กรรมต่าง ๆ โดยมุ่งเน้น
สรา้ งขวญั กำลังใจอย่างท่ัวถงึ ไม่ใหเ้ ป็นการประกวดแขง่ ขนั

5. ขอ้ เสนอด้านหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้อง
การเสริมสร้างคณุ ลักษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพรเพื่อการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม มีภาคีเครือข่ายบูรณาการความร่วมมือในเบื้องต้น 13 หน่วยงาน ซึ่งควรเพิ่มภาคี
เครือขา่ ยเข้ามามีสว่ นรว่ มให้มากข้ึน เพ่ือความสมบรู ณข์ องงานในทกุ ด้านและตอบสนองต่อการพฒั นา
ประเทศตามยทุ ธศาสตรช์ าติไดอ้ ย่างยงั่ ยนื โดยมีหน่วยงานทค่ี วรเข้ารว่ มดังน้ี

1) สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
เพื่อรับผิดชอบในส่วนของการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการที่เกี่ยวกับการ
เสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้มี

173

ความเชื่อมโยงกับการเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ และสอดคล้องกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
รวมทัง้ นโยบายของรฐั บาล

2) กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย เพื่อรับผิดชอบในส่วนของการเป็น
วิทยากรให้ความรู้ รวมถึงสร้างระบบกลไกและกิจกรรมตามแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะ
เยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้สอดคล้องกับการพัฒนา
เศรษฐกิจฐานรากให้มัน่ คงตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3) สถาบันวิทยาลัยชุมชน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวัตกรรม เพื่อรบั ผิดชอบในสว่ นของการสนับสนุนการฝึกอบรมด้านวิชาการและวิชาชพี ที่สอดคลอ้ ง
กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ ให้แก่เยาวชนรักษ์พงไพร ครู และ
ผูเ้ กี่ยวขอ้ ง ซง่ึ เป็นการสง่ เสรมิ การเรียนรูต้ ลอดชีวิตเพ่อื สร้างความเขม้ แข็งของท้องถ่ินและชมุ ชน

4) กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอ้ ม เพ่ือรับผิดชอบในสว่ นของการเปน็ วิทยากรให้ความรู้ สรา้ งความเข้าใจ และสง่ เสริมการมี
ส่วนร่วมในการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พร้อมทั้งสนับสนุนแหล่งเรียนรู้
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั ให้แกน่ กั เรยี น

5) กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อรับผิดชอบ
ในส่วนของการเป็นวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา รักษาสมดุลทรัพยากรน้ำ
ระบบนิเวศ การบริหารจัดการน้ำด้วยเทคโนโลยี การปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ รวมทง้ั มาตรการและขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ ทเี่ กีย่ วข้อง

6) กรมส่งเสรมิ คุณภาพสิง่ แวดลอ้ ม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
เพื่อรบั ผิดชอบในส่วนของการเป็นวิทยากรให้ความรู้ และสร้างการมสี ่วนรว่ มของนักเรยี นในการสงวน
บำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ
อยา่ งสมดลุ และยงั่ ยนื

7) กรมสง่ เสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม เพอ่ื รบั ผิดชอบในส่วนของการเป็น
วิทยากรให้ความรู้ ส่งเสริม และสนับสนุนให้นักเรียนมีค่านิยมและพฤติกรรมที่เหมาะสม มีความ
ภาคภูมิใจ และสืบทอดวัฒนธรรมอันเป็นอัตลักษณ์ของตนเองและชมุ ชน สามารถประยุกต์ใช้ให้เกดิ
ประโยชน์ตอ่ การดำเนนิ ชีวติ และการพัฒนาท่ยี ่งั ยืน

174

ผลการดำเนินการในขั้นตอนนี้ ทำให้ได้แนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชน
รกั ษพ์ งไพรเพ่ือการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของโรงเรยี นระดบั ประถมศึกษา สังกัด
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน และเอกสารประกอบแนวทาง ทีม่ ีความเหมาะสมในเชิง
นโยบายการจัดการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน และสามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นระดับปฏิบตั ิ ได้อย่างสอดคล้อง
เหมาะสมกับความต้องการตามบริบทพื้นที่ โดยผู้วิจัยได้นำแนวดังกล่าวพร้อมเอกสารประกอบ
แนวทาง ไปเผยแพร่ในรูปแบบ E - book ด้วยช่องทาง Website และระบบสารสนเทศออนไลน์
ของสำนกั พัฒนานวัตกรรมการจดั การศึกษา เพอ่ื ให้ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา ผู้เก่ยี วขอ้ ง และผู้สนใจ
สามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ในวงกว้าง

บทท่ี 5

สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

การวิจัยเรื่อง แนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (2) พัฒนาแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน และ (3) ศกึ ษาผลการใช้แนวทางการเสริมสร้างคุณลกั ษณะเยาวชน
รกั ษ์พงไพรเพอื่ การอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มของโรงเรยี นระดับประถมศึกษา สงั กัด
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะการวิจยั ตามลำดับ ดงั นี้

สรปุ ผลการวิจัย
สรุปผลการวิจัยแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

ขั้นตอนที่ 1 ผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับคุณลักษณะเยาวชน
รักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และแนวทางการเสริมสร้าง
คุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ดงั น้ี

1.1 คุณลักษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพรเพื่อการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ทม่ี ีความเหมาะสมและสอดคล้องกบั ความตอ้ งการพฒั นาบริบทในปัจจุบนั ประกอบด้วยคุณลักษณะ
ใน 3 ดา้ น ได้แก่ (1) ดา้ นความรู้ (2) ด้านทกั ษะนักเรียนใช้ชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และ (3) ด้านเจตคติ

1.2 หลักการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีความครอบคลุมและเหมาะสม ประกอบด้วย 3 หลักการ ได้แก่ (1) การสร้าง
ความตระหนักและความรับผิดชอบในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) กิจกรรม

176

การเรียนรู้จากแหล่งศึกษาธรรมชาติแบบ Active Learning ที่บูรณาการสหวิชาการที่เกี่ยวข้องจาก
ภาคีเครอื ขา่ ย และ (3) การจัดการความรู้ดา้ นการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมอย่างเปน็ ระบบ

1.3 องค์ประกอบของแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) หลักการ
เสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(2) องค์ประกอบเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร (3) ขั้นตอนการเสริมสร้างคุณลักษณะ
เยาวชนรักษ์พงไพร (4) เงื่อนไขการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร และ (5) ปัจจัย
สคู่ วามสำเร็จ

1.4 รูปแบบการประเมินผลแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
เพอ่ื การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมท่เี หมาะสม 6 รูปแบบการประเมนิ

ผลการดำเนินการในขั้นตอนศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานทำให้ได้กรอบแนวคิด
เชิงทฤษฎีของการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
สิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาแนวทางในทุกมิติ ทั้งหลักการของแนวทางโดยมีความสัมพันธ์ระหว่าง
ความสำนึกรับผิดชอบในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเรียนรู้แบบ Active
Learning ในแหล่งศึกษาธรรมชาติ รวมถึงการจัดการความรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างเปน็ ระบบ
ซึ่งเป็นกรอบแนวคิดสำคัญในการพัฒนากระบวนการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
ประกอบด้วย องค์ประกอบการเสริมสร้างคุณลักษณะ ขั้นตอนการเสริมสร้างคุณลักษณะ เงื่อนไข
การเสริมสร้างคุณลักษณะ และปัจจัยสู่ความสำเร็จในการเสริมสร้างคุณลักษณะให้สอดคล้อง
กับความต้องการ และสภาพจริงตามบริบท รวมถึงความเหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
ของการวิจัย

ขัน้ ตอนที่ 2 ผลการออกแบบและพฒั นารา่ งแนวทางการเสริมสรา้ งคณุ ลักษณะเยาวชน
รักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา
สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน สรปุ ไดด้ งั น้ี

2.1 ผลการจัดทำรายละเอียดเอกสารประกอบแนวทาง แบ่งเป็นเอกสาร 3 เล่ม คือ
1) แนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2) คู่มอื ครูวิทยากรเพอ่ื การเสริมสร้างคณุ ลักษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพร และ 3) คมู่ ือเยาวชนรักษ์พงไพร

177

2.2 แนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษพ์ งไพรเพือ่ การอนุรักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขัน้ พนื้ ฐาน คือ

1) หลักการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร ประกอบด้วยหลักสำคัญ
3 ประการ คือ RAK ได้แก่ความตระหนักรู้สำนึกรกั ษ์ (Responsibility) กิจกรรมบนฐานรู้แจง้ ทำจริง
(Active Learning) การจัดการความรูส้ ู่เยาวชนรักษ์พงไพร (Knowledge Management)

2) คณุ ลักษณะเยาวชนรักษพ์ งไพร ประกอบดว้ ย ร้รู กั ษา พัฒนาตอ่ ยอด สืบทอดวิถี
3) องค์ประกอบการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร ประกอบด้วย
เนื้อหากิจกรรมบูรณาการ 3 รักษ์ (รักษ์ชาติ รักษ์ศาสน์ รักษ์กษัตริย์) กระบวนการจัดการเรียนรู้
แบบ Active Learning การขับเคลื่อนงานด้วยภาคีเครือข่ายและพื้นที่เป็นฐาน คู่มือการดำเนินงาน
ทม่ี ีคุณภาพ
4) ขน้ั ตอนการเสริมสรา้ งคุณลักษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพร ประกอบดว้ ย การสาน
สัมพันธ์เครือข่าย (Network Engagement) การจัดการเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญเชิงพื้นที่ (Expertise
Management) การจัดค่ายบูรณาการสหวิชาการ (Multidisciplinary Youth Camp) การขยายผล
สูค่ วามยั่งยนื (Sustainable Generalization)
5) เงื่อนไขการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร ประกอบด้วย การทำงาน
แบบร่วมมอื รว่ มใจ (Collaborative Working Team) การพฒั นาเชิงพนื้ ท่ี (Area-based Approach)
การใช้แหล่งเรียนรทู้ างธรรมชาติเป็นฐานการเรียนรู้ (Natural Learning Resources)
6) ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ประกอบด้วย การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน (Shared vision)
ทีมวิทยากรมืออาชีพ (Expertise Team) ความพร้อมของแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ (Natural
Learning Resources Readiness)
7) ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั ประกอบดว้ ย ผลผลติ และ ผลลพั ธ์
2.3 กิจกรรมของค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” เป็นกิจกรรมที่มีความหลากหลายที่เกิดจากการ
ออกแบบกิจกรรมแบบบูรณาการการเรียนรู้และองค์ความรู้ ประกอบด้วย 4 หน่วยการเรียนรู้ คือ
หน่วยที่ 1 สำนึกในพระมหากรุณาธิคณุ หน่วยที่ 2 ดินดี พืชดี วิถีพอเพียง หน่วยที่ 3 ขาดเธอ...แล้ว
ฉันจะรูส้ ึก หน่วยที่ 4 ทกั ษะชีวิตเป็นมิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม
2.4 การประเมินผลแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใช้แบบประเมินผล จำนวน 6 ชุด ซึ่งเป็นการประเมินผลและ
คณุ ภาพตามเปา้ ประสงค์ของแนวทาง

178

2.5 ผลการดำเนินการในขั้นตอนการออกแบบและพัฒนา ทำให้ได้แนวทางการเสริมสร้าง
คุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน
ระดับประถมศึกษา สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน (ฉบบั ทดลองภาคสนาม) และ
เอกสารประกอบแนวทาง ได้แก่ คู่มือครูวิทยากรเพื่อการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
และค่มู อื เยาวชนรกั ษพ์ งไพร ที่มคี วามถูกต้องและสอดคล้องเหมาะสมของเน้ือหาสาระ มคี วามเป็นไปได้
ในการนำไปใช้เสริมสร้างคุณลักษณะของนักเรียน มีความสอดคลอ้ งของนโยบายการพัฒนาการศึกษา
และเป็นประโยชน์ตามวัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย รวมถึงเครือ่ งมือประเมินผลการใช้แนวทางมีคุณภาพ
เหมาะสมและพร้อมสำหรับนำไปทดลองใชภ้ าคสนาม

ขั้นตอนที่ 3 ผลการทดลองใช้แนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัด
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

ผลการดำเนินงานในขั้นตอนนี้ คือ ผลการทดลองใช้แนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะ
เยาวชนรักษ์พงไพรเพอื่ การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมของโรงเรยี นระดับประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาคสนามกับกลุ่มเป้าหมาย เพื่อศึกษาผล
การทดลองใช้แนวทาง เกี่ยวกับความพึงพอใจต่อกจิ กรรมค่ายของนักเรยี น ความสามารถในการจัด
กิจกรรมของครูวิทยากรจากการใช้แนวทาง คุณลักษณะของนักเรยี นที่เข้าร่วมกิจกรรมตามแนวทาง
คุณภาพของแนวทางเชิงประจักษ์ และการขยายผลสู่ความยั่งยืน โดยจัดประชุมเตรียมความพร้อม
ร่วมกับวิทยากรภาคีเครือข่าย ครูวิทยากร ผู้รับผิดชอบโครงการระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
และคณะทำงานโครงการเพื่อสร้างความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกบั แนวทางและการทดลองใช้แนวทาง รวมถึง
การเตรียมการและทรัพยากร บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ และภาพความสำเร็จร่วมกันในการ
ดำเนินงาน จากนั้นจึงดำเนินการทดลองภาคสนาม ตามขั้นตอนการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชน
รักษ์พงไพร 4 ขั้นตอน มีผลการทดลอง คือ (1) สานสัมพันธ์เครือข่าย (Network Engagement)
(2) การจัดการเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญเชิงพื้นที่ (Expertise Management) (3) การจัดค่ายบูรณาการ
สหวชิ าการ (Multidisciplinary Youth Camp) (4) ขยายผลสคู่ วามยัง่ ยนื (Sustainable Generalization)
สรปุ ผล ดังน้ี

3.1 ความพึงพอใจของผู้รับผิดชอบโครงการระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ครวู ทิ ยากร และวทิ ยากรเครือข่าย ตอ่ แนวทางโดยรวมอยใู่ นระดบั มากที่สดุ และเม่อื พิจารณารายด้าน
พบว่า ด้านกระบวนการ มีผลการประเมินมากที่สุด ซึ่งมีผลประเมินอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน
ส่วนรายละเอียดในแต่ละด้าน พบว่า ด้านการบริหารจัดการและการเตรียมความพร้อม มีเป้าหมาย
มากที่สุด มีทิศทางในการปฏิบัติอย่างชัดเจน สามารถบรรลุได้ง่ายขึ้น มีผลการประเมินมากที่สุด

179

ด้านเนื้อหา กิจกรรมและระยะเวลา มีความเหมาะสม มีผลการประเมินมากที่สุด ด้านกระบวนการ
การจัดการความรู้เป็นระบบ ถ่ายทอด และฝึกปฏิบตั ิได้ง่าย มีผลการประเมินมากทีส่ ุด และมากกว่า
ข้ออื่น และด้านผลลัพธ์ ข้อเครือข่ายการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมคี วามเข้มแขง็
เปน็ ระบบ ผลการประเมินมากท่สี ุด

3.2 ความพึงพอใจของนักเรียนต่อกิจกรรมค่าย โดยรวมอยใู่ นระดบั มากที่สุด และเมื่อ
พิจารณารายข้อพบว่า นักเรียนปลอดภัยทั้งทางร่างกาย จิตใจ และการแสดงออก มีผลการประเมนิ
มากท่ีสดุ

3.3 ความสามารถจดั กิจกรรมตามแนวทางของครูวทิ ยากรโดยรวมอยใู่ นระดับมากที่สุด
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านทักษะการจัดกจิ กรรมมีผลการประเมินมากที่สุด และมากกวา่
ความรู้ ความเข้าใจ และด้านการนำไปประยุกต์ใช้ที่โรงเรียนซึ่งมีผลประเมินมากที่สุด ส่วนรายละเอียด
ในแต่ละด้าน พบว่า ด้านความรู้ ความเข้าใจ ข้อหลักการจัดกิจกรรมที่เชื่อมโยงกับมาตรฐาน
การเรยี นรู้ มผี ลการประเมินมากที่สดุ ด้านทักษะการจดั กิจกรรม ข้อความชำนาญในการเข้าสู่กิจกรรม
การอธิบาย การใช้คำถาม การเสริมแรง การกระตุ้นและการสรุปบทเรียนมีผลการประเมินมากท่สี ดุ
และด้านการนำไปประยุกต์ใช้ที่โรงเรียนข้อการส่งเสริมนักเรียนให้สามารถต่อยอดขยายผลกิจกรรม
มีผลการประเมนิ มากทส่ี ุด

3.4 คุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร โดยครูวิทยากรและวิทยากรภาคีเครือข่าย
เป็นผู้ประเมินนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม โดยรวมอยู่ในระดับมากทีส่ ุด เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า
ด้านความรู้ (ร้รู ักษา) มีผลการประเมินมากที่สุด และมากกว่าด้านทักษะ (พฒั นาต่อยอด) และด้านเจตคติ
(สบื ทอดวถิ )ี โดยมรี ายละเอยี ดผลการประเมินในแต่ละด้าน คือ ความรู้ (รู้รักษา) โดยรวมอยู่ในระดับ
มากทส่ี ุด เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายข้อ พบว่า นกั เรียนมีความใฝ่รู้ด้านการอนุรักษ์ ปอ้ งกัน และแก้ปัญหา
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน มีผลการประเมินมากที่สุด ด้านทักษะ
(พัฒนาต่อยอด) โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และด้านเจตคติ (สืบทอดวิถี) โดยรวมอยู่ในระดับ
มากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า นักเรียนเป็นผู้นำในการสานต่อการอนุรักษ์และพัฒนา
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมของบา้ นเกิด มผี ลการประเมนิ มากทสี่ ดุ

3.5 คณุ ภาพของแนวทางเชงิ ประจักษ์ เป็นขอ้ มูลเชงิ คณุ ภาพที่สอดคล้องกับสภาพจริง
ตามบริบทจากการลงพื้นท่ีเยี่ยมค่าย “เยาวชน…รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จ
พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ” มผี ลการศึกษาแบง่ เปน็ 4 ดา้ น ดงั น้ี

1) ด้านการบริหารจดั การและการเตรียมความพรอ้ ม การดำเนินงานตามแนวทาง
ส่งผลให้มีความเหมาะสมในการบริหารจัดการและการเตรียมความพร้อม เนื่องจากผู้ที่เกี่ยวข้อง
สามารถมองเห็นภาพการดำเนินงานได้ตลอดตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ ทราบถึงเป้าหมายและ
ทิศทางการปฏิบัติงาน มีกำหนดการ แผนงานที่ชัดเจน และระยะเวลาดำเนินงานเหมาะสม เกิดการ

180

หลอมรวมภาคีเครือข่าย และผู้ที่เกี่ยวข้องให้เข้มแข็ง มีความเข้าใจบทบาทหน้าที่ที่ทำร่วมกัน
การติดต่อประสานงานทุกขัน้ ตอนมีความสะดวก รวดเร็ว ชัดเจน รวมถึงความพร้องทางด้านสถานที่
แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติที่เหมาะสม ปลอดภัย การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สื่อ และเทคโนโลยี
สารสนเทศในการดำเนินงานและจัดกิจกรรมที่ครบถ้วนเหมาะสม เอื้อต่อการเสริมสร้างคุณลักษณะ
เยาวชนรักษ์พงไพรไดอ้ ยา่ งเต็มศักยภาพของนกั เรียน

2) ด้านเนื้อหา การดำเนินงานตามแนวทางส่งผลให้มีความเหมาะสมของเนื้อหา
ในเชิงบรู ณาการทม่ี ากยง่ิ ข้ึน ลดการเรยี นรายกจิ กรรมที่ทำให้เสียเวลา หรอื ซำ้ ซ้อน นักเรียนได้เรียนรู้
อย่างมีความหมาย สนุก เข้าใจง่าย และมีความสุขในการเรยี นผ่านกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาที่มกี าร
ออกแบบอยา่ งหลากหลาย สอดคล้องกับความต้องการและบริบทที่เปน็ เร่อื งราวใกล้ตัวในการนำไปใช้
ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ สื่อและอุปกรณ์มีความเหมาะสมกับ
เนื้อหาและกิจกรรม รวมถึงวิทยากรจากภาคีเครือข่ายและครูวิทยากรที่ได้เตรียมความพร้อม
ความรอบรู้ รอบคอบ และสามารถถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ ทกั ษะ และเจตคตไิ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี ตามแนวทาง
เอกสารประกอบทม่ี ีเนือ้ หาครอบคลุมและมคี ณุ ภาพ

3) ด้านกระบวนการ การดำเนินตามแนวทางส่งผลให้ภาคีเครือขา่ ยและผู้ที่เกี่ยวขอ้ ง
มีส่วนร่วมในการทำงานทุกขั้นตอน การมีทัศนคติที่ดีร่วมกันของภาคีเครือข่าย บนฐานวิสัยทัศน์
ความรู้ความสามารถในการทำงานและภาพความสำเร็จร่วมกัน มีฐานข้อมูลเครือข่ายในระดับพื้นที่
ท่สี ามารถประสานได้ และระบบข้อมูลสารสนเทศโครงการที่สนบั สนนุ การบริหารจดั การ งานทะเบยี น
เอกสารประกอบการเรียนรู้ องคค์ วามรู้ท่ีเก่ียวขอ้ ง และระบบการกำกับติดตามท่ีชดั เจนและต่อเน่ือง
ส่งผลให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ประสบการณ์ตรงจากแหล่งเรียนรู้จริง ด้วยกระบวนการ Active
Learning นักเรียนมคี วามกระตือรอื รน้ ในการเรียนรู้ สบื ค้นขอ้ มูลเพ่ือการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ซึ่งกระบวนการตามแนวทางที่เป็นระบบ
ช่วยให้การถ่ายทอดและฝึกฝนได้ง่าย เน้นไปตามขั้นตอนการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชน
รักษ์พงไพรทีป่ ระสบผลสำเร็จ

4) ด้านผลลัพธ์ การดำเนินงานตามแนวทางส่งผลให้นักเรียนเกิดคุณลักษณะ
เยาวชนรักษ์พงไพร ได้แก่ รู้รักษา คือ คุณลักษณะด้านความรู้ พัฒนาต่อยอด คือ คุณลักษณะ
ด้านทักษะ และสืบทอดวิถี คือ คุณลักษณะด้านเจตคติ ซึ่งช่วยเสรมิ สร้างให้นกั เรียนเป็นผู้นำในการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมร่วมกับเครือข่าย โรงเรียน ชุมชน และครอบครัว
อย่างเข้มแขง็ รวมถงึ ส่งเสริมให้ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม และประยุกต์ใช้ในโรงเรียนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ตามหลักวิชาการ มีเครือข่าย
ร่วมคิด ร่วมทำ และร่วมพฒั นาทเี่ ข้มแขง็ และเปน็ ระบบ นอกจากน้ี แนวทางดงั กล่าวยังช่วยส่งเสริม
ใหโ้ รงเรยี นสามารถดำเนินการตอ่ ยอดดา้ นการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มได้อยา่ งเป็น

181

รูปธรรม มีกรอบแนวคดิ หลกั การ ข้ันตอน และวิธกี ารท่ชี ัดเจนมากยงิ่ ข้นึ สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง
ทุกระดับ ซึ่งเป็นการสนองนโยบายยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร
ต่อสงิ่ แวดลอ้ ม

3.6 การขยายผลสู่ความยั่งยืน โดยครูวิทยากรและวิทยากรเครือข่ายเป็นผู้ประเมิน
นักเรียน ซึ่งสะท้อนความเป็นเยาวชนรักษ์พงไพร โดยรวมการขยายผลสู่ความยั่งยืน อยู่ในระดับ
มากที่สุด เมื่อพิจารณาเปน็ รายข้อพบว่า นักเรยี นดำเนินกจิ กรรมต่อยอดการเรียนรู้จากกิจกรรมค่าย
อยา่ งสอดคลอ้ งกบั แนวทาง และถกู หลกั การ มผี ลการประเมนิ มากที่สดุ

ข้ันตอนท่ี 4 ผลการนำแนวทางไปใช้
ผลการดำเนินงานในขั้นตอนนี้ คือ แนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
เพอื่ การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมของโรงเรียนระดบั ประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้ปรับปรุงจากขั้นตอนการทดลองใช้ ไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย
โครงการ เพื่อศึกษาผลการใชแ้ นวทาง เกี่ยวกับความพึงพอใจต่อแนวทาง ความพึงพอใจต่อกจิ กรรม
ค่ายของนักเรียน ความสามารถในการจัดกิจกรรมของครูวิทยากรจากการใช้แนวทาง คุณลักษณะ
ของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมตามแนวทาง คุณภาพของแนวทางเชิงประจักษ์ และการขยายผล
สู่ความยงั่ ยนื สรปุ ผลได้ ดงั นี้

4.1 ความพึงพอใจของผู้รับผิดชอบโครงการระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา ครูวิทยากร และวิทยากรภาคีเครือข่ายต่อแนวทางโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ
เม่ือพิจารณารายดา้ นพบว่า ด้านการบรหิ ารจัดการและการเตรียมความพร้อมมีผลประเมินมากทีส่ ุด
ท้ังน้ี เพราะในการทำงานร่วมกนั โดยพลังความร่วมมือของผู้รับชอบโครงการ ครวู ิทยากร และวทิ ยากร
ภาคีเครอื ข่ายไดม้ กี ารประชุมวางแผน ออกแบบทำงานและกจิ กรรมรว่ มกันในทุกขน้ั ตอน มเี ป้าหมาย
และทิศทางปฏิบัติชัดเจน จึงสามารถบรรลุวัตถุประสงคไ์ ด้ง่ายขน้ึ มีแผนงานชดั เจน มีการบูรณาการ
การทำงานอยา่ งสอดคลอ้ ง นอกจากน้นั การเลือกสถานท่ีที่เป็นแหลง่ เรยี นรู้ธรรมชาติที่มีความพร้อม
ในการจัดกิจกรรมได้สะดวก เหมาะสม ตลอดถึงวัสดุ อุปกรณ์ สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศในการ
ดำเนินงานและจดั กิจกรรมได้ครบถ้วน ทนั สมัยเหมาะสม ตามกำหนดการและระยะเวลาดำเนนิ การ

4.2 ความพึงพอใจของนักเรียนต่อกิจกรรมค่ายโดยรวมอยู่ในระดับมากทีส่ ุด และเม่ือ
พิจารณารายข้อพบว่า นักเรียนปลอดภัยทั้งทางร่างกาย จิตใจ และการแสดงออกมีผลการประเมิน
มากที่สุด ทั้งน้ี เพราะในการจดั กิจกรรมค่ายทุกบริบทของพนื้ ที่ ภาคเี ครือขา่ ยและผู้ท่ีเก่ียวข้องมีการ
บริหารจดั การและการเตรยี มความพร้อมอยา่ งเหมาะสม โดยเฉพาะการเตรียมสถานท่ีดำเนนิ งานและ
จัดกิจกรรมมีความพร้อมและปลอดภัย แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติในพื้นที่ที่มีคุณภาพและ
ความสมบรู ณ์ พรอ้ มท้งั วสั ดุ อุปกรณ์ สื่อ และเทคโนโลยสี ารสนเทศในการดำเนนิ งานและจัดกิจกรรม

182

ที่เหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ส่งผลให้นักเรียน
มคี วามกระตือรือรน้ ในการเรยี นรู้ การไดร้ ับประสบการณ์ตรงจากแหล่งเรยี นรู้ธรรมชาติจริง สามารถ
นำประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ซึ่งเป็นสว่ นสำคัญทีท่ ำให้นกั เรียนสะท้อนความรูส้ ึกในการ
อยูภ่ ายในคา่ ยอย่างปลอดภัย มีความสุข จติ ใจเบิกบาน และได้แสดงศกั ยภาพในการทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ

4.3 ความสามารถจัดกิจกรรมตามแนวทางของครูวิทยากร โดยรวมอยู่ในระดับ
มากที่สดุ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบวา่ ดา้ นการนำไปประยุกตใ์ ชท้ ่ีโรงเรียนมีผลประเมินมากที่สุด
และมากกว่าข้ออื่น ทั้งนี้เพราะในการจัดกิจกรรมค่ายที่จะส่งให้นักเรียนเกิดคุณลักษณะเยาวชน
รักษ์พงไพร คือ รู้รักษา คือคุณลักษณะด้านความรู้ พัฒนาต่อยอด คือ คุณลักษณะด้านทักษะ และ
สืบทอดวิถี คือ คุณลักษณะด้านเจตคติ ซึ่งช่วยเสริมให้นักเรียนเป็นผู้นำในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นร่วมกับเครือข่ายโรงเรียน ชุมชน และครอบครัวได้อย่างเข้มแขง็
ช่วยส่งเสริมให้โรงเรียนสามารถดำเนินการต่อยอด กิจกรรมด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้อย่างเป็นรูปธรรม ภายใต้กรอบแนวคิดมีหลักการ ขั้นตอนและวิธีการพัฒนา
ทช่ี ัดเจนมากยง่ิ ข้ึน

4.4 คุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร โดยครูวิทยากร และวิทยากรภาคีเครือข่าย
เป็นผู้ประเมินนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน
พบว่า ด้านเจตคติ (สืบทอดวิถี) มีผลการประเมินมากท่ีสุด และมากกว่าด้านทักษะ (พัฒนาต่อยอด)
และด้านความรู้ (รู้รักษา) โดยมีรายละเอียดผลการประเมินในแต่ละด้าน คือ ด้านความรู้ (รู้รักษา)
โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า นักเรียนมีความใฝ่รู้ด้านการอนุรักษ์
ป้องกัน และแก้ปัญหาอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน มีผลประเมินมากที่สุด
ด้านทักษะ (พัฒนาต่อยอด) โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า นักเรียน
มีทักษะในศตวรรษที่ 21 ไปใช้เพื่อการดำรงชีวิต มีผลประเมินมากที่สุด ด้านเจตคติ (สืบทอดวิถี)
โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า นักเรียนมีวินัย เคารพกติกาและสังคม
ในการดูแลทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มมผี ลการประเมนิ มากทส่ี ดุ

4.5 คณุ ภาพของแนวทางเชงิ ประจักษ์ ซ่งึ เปน็ ข้อมลู เชงิ คุณภาพที่สอดคล้องกับสภาพจริง
ตามบริบท จากการลงพื้นที่เยี่ยมค่าย “เยาวชนรักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ” ในการนำแนวทางไปใช้จริง มีผลการศึกษา 4 ด้าน
ดงั นี้

1) ด้านการบริหารจัดการและเตรียมความพร้อม ผู้เกี่ยวข้องทั้งระดับส่วนกลาง
และระดับพื้นที่สามารถดำเนินการตามแนวทางและจัดกิจกรรมได้อย่างชัดเจน ภายใต้เป้าหมาย
ทิศทาง แผนงาน บทบาท และภารกิจ โดยไม่ต้องเสียเวลาในการซักซ้อมความเข้าใจ ผู้เก่ี ยวข้อง
สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง ตามกำหนดการ และระยะเวลาที่เหมาะสม ซ่ึงอาศัยการประสาน

183

และติดตอ่ ได้สะดวกนอกจากน้ี การตดิ ตาม และรายงานผลทงั้ ในระดบั พ้ืนที่ รวมถึงการรายงานผลไป
ยังระดับส่วนกลางผ่านระบบสารสนเทศ มีความรวดเร็ว สามารถจัดการข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
ครบถว้ น สำหรับสถานท่ีดำเนินงาน วสั ดุ อปุ กรณ์และส่อื ได้จดั เตรียมใหม้ ีความพร้อมตามบริบทของ
พ้นื ท่ที เ่ี ป็นแหลง่ เรียนรู้ธรรมชาติ สามารถบรู ณาการเนอ้ื หา 3 รกั ษ์ (รักษช์ าติ รักษ์ศาสน์ รักษก์ ษัตริย์)
กลา่ วได้ว่า แนวทางดังกล่าวสง่ ผลสามารถทำ (Check List) เพือ่ เตรียมความพรอ้ มได้อย่างเหมาะสม
สอดคลอ้ งกับบริหารจัดการอยา่ งมปี ระสิทธิภาพในทกุ ข้ันตอน

2) ดา้ นเน้อื หา นักเรยี นได้เรยี นรเู้ น้ือหาและกจิ กรรมทีเ่ หมาะสม ซ่งึ กรอบเน้ือหา
3 รักษ์ (รักษ์ชาติ รักษ์ศาสน์ รักษ์กษัตริย์) มีความสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา รวมถึง
ความต้องการและอัตลักษณ์บรบิ ทของพนื้ ทไ่ี ด้ตระหนักรู้ และเหน็ ความสำคญั ต่อทรพั ยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมใกล้ ๆ ตัว ซึ่งสามารถนำไปปรับใชไ้ ด้ เพราะคู่มือและใบงานท่ีนักเรียน และวิทยากรใช้
ก็สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างสะดวก เข้าใจง่าย ทั้งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
ครอบคลุมตรงประเด็น มีประโยชน์ต่อการเรียนรู้ พร้อมทั้งสื่อและอุปกรณ์ที่ใช้เหมาะสมกับเนื้อหา
และกิจกรรม โดยเฉพาะการประยุกต์ใช้สื่อวัสดุธรรมชาติตามบริบทของพื้นที่ ซึ่งครูวิทยากรและ
วิทยากรจากภาคีเครือข่ายมีความชำนาญและมีความพร้อมเป็นอย่างมาก สามารถประยุกต์
องคค์ วามรู้ กิจกรรมและส่อื รวมถงึ การสอ่ื สารถ่ายทอดใหก้ บั นักเรียนเปน็ อย่างดี

3) ด้านกระบวนการ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายสามารถร่วมดำเนนิ งานได้อย่างต่อเนือ่ ง
ในทุกขั้นตอน และทุกกิจกรมการเรียนรู้ สามารถทดแทนหมุนเวียนการปฏิบัติงานร่วมกันได้อย่าง
สอดคลอ้ งสัมพันธก์ ัน ซง่ึ เกดิ จากการท่แี นวทางไดเ้ ปิดโอกาสให้ภาคเี ครือขา่ ยและผูท้ ่ีเกีย่ วข้องมีส่วนร่วม
ในทุกขั้นตอน มีความรู้สึกเป็นเจ้าของงานในทุก ๆ มิติ และอยากที่จะเข้ามามีส่วนร่วมมากยิ่งขึ้น
รวมถึงสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นแบบ Active Learning ได้เป็นอย่างดี มีการบูรณาการ
สหวชิ าการและองค์ความรู้ของแต่ละภาคเี ครือขา่ ย ใหน้ กั เรียนสามารถเรยี นรู้สาระสำคัญในเวลาจำกัด
ได้อย่างครบถ้วน ผ่านกิจกรรมเกม และการทำงานกลุ่ม ลดการเรียนรู้แบบท่องจำ ลดความเครียด
เพิ่มความสนุก ทำให้นักเรียนเข้าใจเรื่องยาก ๆ ได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ มีการจัดกิจกรรมความรู้ และ
ข้อมลู สารสนเทศอย่างเปน็ ระบบ ผู้ทีเ่ กี่ยวขอ้ งสามารถใชข้ อ้ มูลและตดิ ต่อประสานงานไดส้ ะดวก ทำให้
กระบวนการตามแนวทางสามารถถ่ายทอด และฝึกปฏิบตั ไิ ดง้ า่ ย เป็นไปตามหลกั การพัฒนาและขน้ั ตอน
การเสริมสรา้ งคุณลกั ษณะ และมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ดา้ นผลลัพธ์ นกั เรยี นแสดงออกอย่างชัดเจน
ถงึ ความรักและหวงแหนในสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ รวมถงึ มีความตระหนกั ความรู้
ความเข้าในถึงปัญหาสิ่งแวดล้อม การใช้ประโยชน์ รักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
และภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ มจี ิตอาสา สามารถใช้ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และใช้ชีวิต
ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และสามารถต่อยอดขยายผลกิจกรรม
ในโรงเรียนและชุมชนได้อย่างเป็นรูปธรรม สอดคล้องกบั ความต้องการและบริบทของทอ้ งถ่นิ พรอ้ มทั้งครู


Click to View FlipBook Version