The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิจัยแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร

วิจัยแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร

84

ตารางท่ี 4.1 การสงั เคราะห์คุณลกั ษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดล้อมของโรงเรยี นระดับประถมศึกษา สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

คุณลกั ษณะเยาวชนรักษพ์ งไพร สำนักงาน ิวชาการและมาตรฐานการศึกษา (2552)
ิวจารณ์ พานิช (2555)
สำสมพงษ์ จิตระดับ และคณะ (2556)
ประ ิวทย์ ุสท ิธ ุบญ และคณะ (2558)
นักพัฒนาน ัวตกรรมการจัดการศึกษา (2558)
กรม ่สงเสริมคุณภาพ ิ่สงแวด ้ลอม (2559)
สมยศ ิวเ ีชยรนิต ์ย และคณะ (2559)
อ ิภชาติ ่ออนเอม (2559)
อรนุช ิลมตศิริ (2560)
ัธนย ิวช ิวเ ีชยรพัน ์ธ (2561)
ิสริมา หมอนไหม (2561)

ผลการสังเคราะห์

1. ความใฝร่ ้ดู ้านการอนุรกั ษ์ ปอ้ งกนั และแก้ปญั หา ✓ ✓✓✓ ✓✓ 6
ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มในชุมชน ✓ ✓ ✓ ✓✓✓ ✓ 7
2. การส่ือสารความรู้ดา้ นชวี ติ ทีเ่ ปน็ มิตรต่อ
ส่ิงแวดล้อม ✓ ✓✓✓ ✓✓ 6
3. การนอ้ มนำความรจู้ ากสถาบนั ชาติ ศาสน์
กษัตรยิ ์ สกู่ ารอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ✓ ✓✓✓ ✓✓✓ 7
ส่ิงแวดล้อม
4. ความมวี ินยั เคารพกติกาของสงั คมในการดูแล ✓✓ ✓ ✓ ✓✓ ✓ 7
รกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม
5. ความตระหนกั ถึงปัญหาส่งิ แวดล้อม ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓ 7
จิตสาธารณะ และมสี ่วนรว่ มในการดำเนินชวี ิต
ที่เป็นมติ รตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม ✓ ✓✓✓ ✓✓ 6
6. ความเปน็ ผู้นำในการสานตอ่ และพัฒนา
สิ่งแวดล้อมของบา้ นเกดิ ✓✓ ✓✓ ✓✓ 6
7. การดำเนนิ ชีวติ อยอู่ ย่างพอเพียง
✓✓✓ ✓ ✓✓ 6
8. การนำทักษะในศตวรรษท่ี 21 ไปใช้ดำรงชวี ิต

9. การใช้ชีวติ ทเ่ี ปน็ มิตรต่อสิ่งแวดลอ้ ม

สำหรับหลักการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผู้วิจัยพิจารณาหลักการเสริมสร้างคุณลักษณะดังกล่าว เพื่อเป็นกรอบ
แนวคิดของวิธีการและขั้นตอนในการเสริมสร้างคุณลักษณะ องค์ประกอบของการเสริมสร้าง
คุณลักษณะ และรูปแบบการประเมินผลแนวทาง พบว่า มีน้ำหนักมากที่สุด 2 หลักการ ได้แก่
การสรา้ งเครือข่ายการเรียนรู้เพือ่ สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ของนกั เรยี น และการแลกเปลยี่ นเรียนรู้อย่างเป็น
ระบบ เพื่อพัฒนาความสามารถของผู้สอน รองลงมา 4 หลักการ ได้แก่ การสร้างสำนึกรับผิดชอบ

85

ในการใช้ชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การเรียนรู้ด้วยการฝึกปฏิบัติและการเข้าค่าย การเรียนรู้
ดว้ ยประสบการณ์ตรงจากแหลง่ ศึกษาธรรมชาติ รวมถงึ การจดั กจิ กรรมการเรียนรูท้ ี่เชอื่ มโยงกับบริบท
และวิถีชีวิตของนักเรียน นอกจากนี้ยังมีหลักการสำคัญอื่น ๆ เช่น การบูรณาการองค์ความรู้
จากผู้เชี่ยวชาญหลากหลายสาขาที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ
การสร้างกระบวนการที่เอื้อต่อการนำความรู้ไปใช้อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ในท้องถนิ่ ได้อยา่ งตอ่ เนื่อง เป็นต้น ดงั ตารางที่ 4.2

ตารางที่ 4.2 การสังเคราะห์หลักการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

หลกั การเสรมิ สรา้ ง สำนักงาน ิวชาการและมาตรฐานการศึกษา (2552)
คุณลักษณะเยาวชนรักษพ์ งไพร ิวจารณ์ พานิช (2555)
สำสมพงษ์ จิตระดับ และคณะ (2556)
ประ ิวทย์ ุสท ิธบุญ และคณะ (2558)
นักพัฒนาน ัวตกรรมการจัดการศึกษา (2558)
กรม ่สงเสริมคุณภาพ ิ่สงแวด ้ลอม (2559)
สมยศ ิวเ ีชยรนิต ์ย และคณะ (2559)
อ ิภชาติ ่ออนเอม (2559)
อรนุช ิลมตศิริ (2560)
ัธนย ิวช ิวเ ีชยรพัน ์ธ (2561)
ิสริมา หมอนไหม (2561)

ผลการสังเคราะห์

1. การสร้างตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของ ✓ ✓✓✓ ✓✓ 6
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ✓✓✓✓✓✓ ✓✓ 8
2. การสรา้ งสำนึกรับผิดชอบในการใช้ชีวติ 6
ทเ่ี ป็นมิตรต่อส่ิงแวดลอ้ ม ✓ ✓✓✓ ✓✓
3. การสรา้ งความเขา้ ใจต่อสถาบนั ชาติ ศาสนา
และพระมหากษัตรยิ ์ ทีม่ ีความสำคญั ตอ่ การ ✓✓ ✓ ✓ ✓✓ 6
อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม ✓✓ ✓✓ ✓ ✓ ✓7
4. การจัดการเรยี นรู้แบบบรู ณาการสาระวิชา
✓✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓ 8
5. การบูรณาการองคค์ วามร้จู ากผเู้ ชยี่ วชาญ ✓✓ ✓ ✓✓✓✓✓ 8
หลากหลายสาขาท่เี กยี่ วข้องกบั การอนรุ กั ษ์
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม ✓✓ ✓✓✓ ✓✓ ✓ 8
6. การเรียนรูด้ ว้ ยการฝกึ ปฏบิ ัตแิ ละการเข้าคา่ ย

7. การเรยี นรู้ด้วยประสบการณ์ตรงจาก
แหล่งศึกษาธรรมชาติ
8. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ีเชอ่ื มโยงกับบริบท
และวถิ ีชีวติ ของนักเรียน

86

ตารางที่ 4.2 (ตอ่ )

หลกั การเสริมสร้างคุณลกั ษณะ สำนักงาน ิวชาการและมาตรฐานการศึกษา (2552)
เยาวชนรักษพ์ งไพร ิวจารณ์ พานิช (2555)
สำสมพงษ์ จิตระดับ และคณะ (2556)
ประ ิวทย์ ุสท ิธ ุบญ และคณะ (2558)
นักพัฒนาน ัวตกรรมการจัดการศึกษา (2558)
กรม ่สงเสริมคุณภาพ ิ่สงแวด ้ลอม (2559)
สมยศ ิวเ ีชยรนิต ์ย และคณะ (2559)
อ ิภชาติ ่ออนเอม (2559)
อรนุช ิลมตศิริ (2560)
ัธนย ิวช ิวเ ีชยรพัน ์ธ (2561)
ิสริมา หมอนไหม (2561)

ผลการสังเคราะห์

9. การสรา้ งเครือข่ายการเรยี นรเู้ พอ่ื ส่งเสริม ✓✓ ✓✓ ✓✓✓✓✓ 9
การเรียนรู้ของนักเรียน
10. การแลกเปล่ียนเรียนร้อู ยา่ งเปน็ ระบบ ✓✓✓✓ ✓✓✓ ✓✓ 9
เพือ่ พฒั นาความสามารถของผู้สอน
11. การสามารถเข้าถึงองค์ความร้จู ากผ้เู ช่ยี วชาญ ✓✓ ✓✓ ✓✓ 6
ไดอ้ ย่างสะดวก
12. การสร้างกระบวนการที่เอ้ือตอ่ การนำความรู้ ✓✓ ✓ ✓✓✓✓ 7
ไปใช้อนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
ในทอ้ งถ่ินได้อยา่ งต่อเน่ือง

2. ผลการลงพื้นที่เยี่ยมค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” เพื่อถอดบทเรียนและศึกษาข้อมูลเชิงประจักษ์
ตามสภาพจริงที่เกิดขึน้ ในแต่ละบริบทพ้ืนที่ ระหว่างเดอื นกุมภาพนั ธ์ - มิถุนายน พ.ศ. 2561 แล้วนำมา
พจิ ารณาร่วมกับการสังเคราะห์ข้อมูล ในประเดน็ คณุ ลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร หลักการเสริมสร้าง
คุณลักษณะ องคป์ ระกอบของการเสรมิ สรา้ งคุณลกั ษณะ และรูปแบบการประเมินผลแนวทาง ดังนี้

ประเด็นที่ 1 คุณลักษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อมของโรงเรียนระดบั ประถมศึกษา สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ท่ีมีความสอดคล้องกับความต้องการพัฒนาตามความเหมาะสมของบรบิ ทในปจั จุบนั พบว่า นักเรยี น
มีการจดบันทึก อภิปราย วิเคราะห์ ตรวจสอบและสรุปความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของป่าไม้ คุณค่า
ทรัพยากรสัตว์ป่า ระบบนิเวศ พรรณพฤกษากับสัตวาพิธาน ความสัมพันธ์ระหว่างธรรมชาติและ
สง่ิ แวดลอ้ ม รวมถึงแลกเปลี่ยน ถา่ ยทอด เผยแพร่ความรู้เก่ยี วกับโครงการพระราชดำริ และแนวทาง
การอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น ปุ๋ยหมักพระราชทาน พระมารดาแห่งไหมไทย
โครงการสร้างป่าสร้างรายได้ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ต้นไม้ของพ่อ และพลังสหกรณ์ เป็นต้น
ซ่ึงนกั เรยี นมคี วามมงุ่ มั่น ตั้งใจเรยี นรู้ อยากรอู้ ยากเห็น เขา้ รว่ มกจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาตนเองสู่การดำเนินชีวิต

87
ในการเลือกซื้อ เลือกใช้ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะที่บ้านและชุมชน พร้อมท้ัง
แสดงออกคุณลักษณะท่ีสำคัญ ได้แก่ (1) ด้านความรู้ เชน่ ความใฝร่ ู้ดา้ นการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
การสื่อสารความรู้ในการใช้ชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ความเคารพรักและหวงแหนสถาบันชาติ
ศาสน์ กษัตริย์ และนำมาปรับใช้ (2) ด้านทักษะ เช่น การใช้ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ทักษะทีจ่ ำเป็นในศตวรรษที่ 21 และการใช้ชวี ิตท่ีเปน็ มิตรต่อสิ่งแวดลอ้ ม และ (3) ด้านเจตคติ
เช่น ความมีวินัย เคารพกฎกติกาของชุมชนและสังคม ในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม มีความตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะเป็นผู้นำในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของบ้านเกิด เป็นตน้

ภาพที่ 4.1 การลงพ้ืนทเ่ี ยยี่ มค่ายเพ่อื ศกึ ษาคุณลกั ษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
ประเด็นที่ 2 หลักการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า ควรมีกิจกรรมที่เกี่ยวกับการสร้างความตระหนักและปลูกจิตสำนึก
ให้นักเรียนเคารพรักในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ พร้อมทั้งเห็นถึงคุณค่าทรัพยากร
ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม ทง้ั ในภาพรวมของประเทศและทอ้ งถิน่ เกดิ ความรกั ความหวงแหน มีความ

88
รับผิดชอบ และร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยการออกแบบกิจกรรม
การเรียนรูใ้ ห้มคี วามท้าทายหลากหลายและเอ้ือต่อการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคม
ผ่านประสบการณ์ตรงจากแหล่งศึกษาธรรมชาติจริงในพื้นที่ รวมทั้งออกแบบกิจกรรมบูรณาการ
เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนเกิดความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดี และจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยาก ร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผ่านกิจกรรมค่ายที่บูรณาการสหวิชาการที่เกี่ยวข้อง ด้วยรูปแบบ Active
Learning ในทุกกระบวนการ ทั้งนี้ ต้องมีกระบวนการส่งเสริมให้มีการนำความรู้ ทักษะ และเจตคติ
ท่ีดีไปต่อยอดขยายผลให้เกดิ การพฒั นาตามบรบิ ททอ้ งถิ่นได้อย่างเหมาะสมและเปน็ ระบบ เพื่อให้เกิด
ผลสัมฤทธิ์ที่ยั่งยืน สร้างการเติบโตของนักเรียนบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้ง
เปิดพ้ืนทแ่ี ลกเปลี่ยนการเรียนรู้ตามแนวทางรกั ษพ์ งไพร โดยร่วมกนั จดั การความรใู้ หเ้ ป็นระบบ มีการ
เรียนรู้ร่วมกันของภาคีเครือข่ายและพัฒนาบุคลากร ให้มีความสามารถและความเชี่ยวชาญในการ
ถ่ายทอดเกีย่ วกบั การอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม

ภาพที่ 4.2 การลงพ้นื ท่เี ยย่ี มค่ายเพื่อศกึ ษาหลกั การเสริมสรา้ งคุณลกั ษณะเยาวชนรักษ์พงไพร

89

ประเด็นที่ 3 องคป์ ระกอบของแนวทางการเสริมสรา้ งคณุ ลกั ษณะเยาวชนรักษพ์ งไพร
เพอื่ การอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ทเ่ี หมาะสม พบวา่ แนวทางดังกล่าวควรประกอบไปด้วย หลกั การ
ทมี่ คี วามครอบคลุมและความเหมาะสม ประกอบด้วย การสร้างความตระหนักการอนรุ ักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดกิจกรรมเรียนรู้แบบ Active Learning และการจัดการความรู้
ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยในส่วนขององค์ประกอบในการเสริมสร้าง
คุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรภายใต้หลักการดังกล่าว ควรพิจารณาถึงเนื้อหากิจกรรมการเรียนรู้
ที่บรู ณาการองค์ความรขู้ องภาคีเครือข่ายท่ีเกยี่ วข้อง โดยเฉพาะความเคารพรักในสถาบันชาติ ศาสนา
และพระมหากษัตริย์ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม ซ่ึงมงุ่ เน้นนักเรยี น
มีความสำคัญที่สุดในกระบวนการเรียนรู้ ด้วยการฝึกทักษะการใช้กระบวนการคิด การวิเคราะห์
การสังเกต การรวบรวมข้อมูลและการปฏิบัติจริง เรียนรู้อย่างมีความสุข แสดงออกอย่างอิสระ
บรรยากาศการเรียนที่เป็นกัลยาณมิตร โดยให้ภาคีเครือข่ายให้เข้ามามีบทบาทหลักตั้งแต่เริ่มต้น
จนส้ินสุดกระบวนการ รวมถงึ มีชดุ เอกสารการเรยี นรู้ ส่ือและการวัดผลสำเร็จท่งี ่ายและเหมาะสม

สำหรับขั้นตอนการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร ควรเตรียมการ
อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอนที่ชัดเจนเพื่อสร้างความพร้อมในการพัฒนานักเรียนได้อย่างต่อเนื่อง
โดยเริ่มจากการบูรณาการความร่วมมือ การบริหารจัดการและพัฒนาได้ตรงกับความต้องการ
ของบริบทเชิงพื้นที่ การจัดกิจกรรมค่ายโดยผู้เชี่ยวชาญภายใต้กรอบหลักสูตรบูรณาการและเรียนรู้
โดยตรงจากแหล่งศึกษาธรรมชาติ รวมถึงการต่อยอดในระดับโรงเรียนและชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม
ทั้งนี้ ยังพบอีกว่ามีเงื่อนไขที่สำคัญในการดำเนินงาน ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการเสริมสร้าง
คณุ ลักษณะดงั กล่าว คอื การทำงานร่วมกันภายใต้สมั พนั ธภาพท่ีดขี องบุคลากรระหวา่ งภาคีเครือข่าย
การกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้และการพัฒนาให้สอดคล้องเหมาะสมกับบรบิ ทพ้นื ที่ การจัดกิจกรรม
การเรยี นรูใ้ หน้ ักเรียนเกิดประสบการณ์ตรงจากแหล่งเรยี นรู้ทางธรรมชาติจรงิ นอกจากน้ียังพบอีกว่า
ระดับความสำเรจ็ ของการดำเนินงานจะต้องพจิ ารณาถงึ ปัจจัยความสำเร็จรว่ มดว้ ย คือ การมวี สิ ัยทัศน์
และภาพความสำเร็จร่วมกันของภาคีเครอื ข่าย ความรู้ความสามารถ ทัศนคติที่ดีและความพึงพอใจ
ของบุคลากรในแต่ละภาคีเครือข่าย และที่สำคัญ คือ คุณภาพและความสมบูรณ์ของแหล่งเรียนรู้
ทางธรรมชาติในพ้ืนท่ี ซ่ึงหากประเดน็ ปัจจัยความสำเรจ็ มีความพร้อมมากเท่าไรกจ็ ะสง่ ผลต่อผลสำเร็จ
ในภาพรวมของการดำเนินงานและการเสริมสรา้ งคณุ ลักษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพรมากยิง่ ข้นึ

90

ภาพท่ี 4.3 การลงพนื้ ทเี่ ยีย่ มค่ายเพ่อื ศกึ ษาองค์ประกอบของแนวทางการเสรมิ สร้างคุณลกั ษณะ
เยาวชนรกั ษพ์ งไพร
ประเด็นที่ 4 รูปแบบการประเมินผลแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชน

รกั ษพ์ งไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มของโรงเรยี นระดับประถมศึกษา สังกัด
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ที่เหมาะสม พบว่า การประเมนิ ต้องสอดคล้องกับการ
จัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning รวมถึงสอดคล้องกับธรรมชาติของการเรียนรู้ คุณลักษณะ
เยาวชนรกั ษพ์ งไพร และข้นั ตอนการเสรมิ สร้างคุณลักษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพร โดยพิจารณาให้ครบถ้วน
ในทุกมิติและมีช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมในการเก็บข้อมูลทีส่ ามารถสะท้อนผลได้อยา่ งชดั เจนที่สุด เพื่อช่วย
เสริมสร้างความต่อเนื่องในการเรียนรู้ ทั้งนี้ ยังต้องพิจารณาถึงความง่าย และความสะดวกในการ
เก็บข้อมูลของผู้เกี่ยวขอ้ ง ซ่งึ ไม่จำเปน็ ตอ้ งมกี ารประเมินทีซ่ ับซอ้ นจนเกินไป เพราะอาจทำให้ส่งผลกระทบ
ต่อการเรยี นรแู้ ละการดำเนนิ งานได้ โดยมีประเดน็ ทค่ี วรประเมนิ ผล คือ ความคิดเหน็ และความพึงพอใจ
ของผู้เข้าร่วมการดำเนินงาน ความคิดเห็นและความพึงพอใจของนักเรียนที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมค่าย
ความรู้ ทักษะ ทศั นคติและการนำไปประยุกต์ใช้ของครวู ทิ ยากร ความรู้ ทักษะ ทศั นคติและพฤตกิ รรม
ทสี่ ะท้อนความเปน็ เยาวชนรกั ษ์พงไพร ความพรอ้ มในการดำเนนิ งานตามแนวทางและผลท่ีเกิดข้ึนกับ
ครูวิทยากรและนักเรียน รวมถึงการนำความรู้ไปต่อยอดกิจกรรมที่โรงเรียน ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้สำคัญ
ในการกำหนดลักษณะการเก็บข้อมลู ใหม้ ีความเหมาะสม

91

ภาพท่ี 4.4 การลงพ้ืนท่เี ยย่ี มค่ายเพื่อศกึ ษารปู แบบการประเมนิ ผลแนวทางการเสริมสร้างคุณลกั ษณะ
เยาวชนรักษพ์ งไพร
จากการลงพ้ืนท่ีเย่ยี มค่าย “เยาวชน...รกั ษพ์ งไพร เฉลมิ พระเกยี รติ 60 พรรษา สมเด็จ

พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” เพื่อถอดบทเรียนและศึกษาขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ตามสภาพจริง
ท่เี กิดขึน้ ในแต่ละบรบิ ทพืน้ ท่ี ผูว้ ิจัยได้จัดทำประเด็นร่างคุณลักษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพร ร่างหลักการ
เสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร ร่างองค์ประกอบของแนวทาง และร่างรูปแบบการประเมินผล
ของแนวทาง เพือ่ นำไปศกึ ษากรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีต่อไป

3. ผลการสมั ภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับประเด็นร่างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
รา่ งหลกั การเสริมสร้างคุณลกั ษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพร รา่ งองคป์ ระกอบของแนวทาง และรา่ งรูปแบบ
การประเมนิ ผลของแนวทาง ดังน้ี

ประเด็นที่ 1 คุณลักษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพรเพื่อการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสงิ่ แวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ท่ีมีความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับความต้องการพัฒนาของบรบิ ทในปจั จุบัน ประกอบด้วย 3 ด้าน
ไดแ้ ก่ ด้านความรู้ ด้านทกั ษะ และดา้ นเจตคติ ดงั ตารางที่ 4.3

92

ตารางท่ี 4.3 ร่างคณุ ลักษณะเยาวชนรักษพ์ งไพร

คุณลกั ษณะ รายละเอียดและความหมาย
เยาวชนรักษ์พงไพร
คุณลักษณะดา้ นความรู้ นักเรียนมีความใฝร่ ู้ในการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ การส่ือสาร
ความรใู้ นการใชช้ วี ติ ทเี่ ป็นมิตรตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ความเคารพรัก หวงแหน
คุณลักษณะด้านทักษะ และนำความรเู้ กีย่ วกบั สถาบนั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มาปรับใช้
นักเรยี นการใชช้ วี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มที ักษะ
คณุ ลักษณะดา้ นเจตคติ ทีจ่ ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 และนำทักษะไปใชเ้ พอ่ื การดำรงชีวิต
รวมถงึ การใช้ชีวติ ท่ีเปน็ มิตรต่อสง่ิ แวดลอ้ ม
นกั เรยี นมีวนิ ยั เคารพกฎกตกิ าของชมุ ชนและสงั คม ในการดูแลรกั ษา
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม มีความตระหนกั ถึงปญั หา
ส่ิงแวดล้อม มีจิตสาธารณะเป็นผ้นู ำในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดลอ้ มของบ้านเกิด

ประเด็นที่ 2 หลักการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ที่มีความครอบคลุมและความเหมาะสม ประกอบด้วย การสร้างความตระหนัก
และความรับผิดชอบในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดกิจกรรมเรียนรู้แบบ
Active Learning และการจัดการความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ดงั ตารางท่ี 4.4

93

ตารางท่ี 4.4 รา่ งหลกั การเสรมิ สร้างคณุ ลกั ษณะเยาวชนรักษ์พงไพร

หลกั การเสรมิ สรา้ ง รายละเอยี ดและความหมาย

การสร้างความตระหนัก ความร้คู วามเข้าใจ ความตระหนัก และความสำนึกรบั ผิดชอบในการ

และความรับผดิ ชอบ อนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงความเคารพรัก

ในการอนุรกั ษ์ ในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ ทีส่ ร้างคณุ ประโยชน์

ทรัพยากรธรรมชาติ ในด้านการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม พรอ้ มทั้งมี

และสิ่งแวดลอ้ ม ทศั นคตแิ ละคา่ นยิ มท่ดี ีในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม

กจิ กรรมการเรยี นรู้จาก กจิ กรรมที่บูรณาการสหวิชาการจากภาคเี ครือขา่ ยทม่ี คี วามเช่ียวชาญ

แหล่งศึกษาธรรมชาติ ในสาขาวชิ าต่าง ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง ออกแบบภายใต้ทฤษฎีการเรยี นรู้

แบบ Active Learning ของบลมู (Bloom’s Taxonomy) และทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21

ทีบ่ ูรณาการสหวชิ าการ รวมถงึ เรียนรู้ผา่ นประสบการณต์ รงและลงมือปฏิบตั ิในแหลง่ ศึกษา

ทเ่ี กีย่ วขอ้ งจากภาคี ธรรมชาติในพน้ื ที่ต่าง ๆ ซ่งึ สามารถสง่ เสริมการเรียนรทู้ ีเ่ หมาะสม

เครือข่าย ไดต้ ามอตั ลกั ษณ์ ความตอ้ งการพัฒนา สภาวการณ์ปัจจุบนั และบรบิ ท

ของท้องถ่นิ

การจัดการความรู้ การสรา้ ง แสวงหาความรู้ พฒั นาความเชีย่ วชาญของบคุ ลากร และ

ด้านการอนุรักษ์ แลกเปล่ยี นเรียนรู้รว่ มกันของภาคีเครือขา่ ย เก่ียวกับการจัดการเรียนรู้

ทรพั ยากรธรรมชาติ ดา้ นการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม โดยรว่ มกันจัดการ

และสง่ิ แวดลอ้ ม ความรู้ใหเ้ ปน็ ระบบ เปน็ องค์ความรู้ที่มคี วามทนั สมัย เหมาะสมกบั

อยา่ งเปน็ ระบบ การเรียนตามช่วงวัยและสถานการ์ปัจจุบัน เพื่อให้นกั เรียนและ

ผูเ้ กย่ี วข้องสามารถเข้าถึงความรู้ และสามารถนำไปต่อยอดได้

ประเดน็ ที่ 3 องค์ประกอบของแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มของโรงเรียนระดบั ประถมศกึ ษา สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ท่ีเหมาะสม ประกอบด้วย หลกั การเสรมิ สรา้ งคณุ ลักษณะเยาวชน
รักษ์พงไพร องค์ประกอบการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร ขั้นตอนการเสริมสร้าง
คุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร เงื่อนไขการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร และปัจจัย
สูค่ วามสำเรจ็ ดงั ตารางท่ี 4.5

94

ตารางท่ี 4.5 องค์ประกอบของแนวทางการเสริมสร้างคุณลกั ษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพร

องค์ประกอบ รายละเอียดและความหมาย
ของแนวทาง
หลักการเสรมิ สร้าง การพัฒนานกั เรยี นใหส้ ามารถนำไปปรับใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้และเกิด
คุณลกั ษณะเยาวชน ความยัง่ ยนื ประกอบด้วย ความตระหนักและความรบั ผิดชอบในการ
รกั ษพ์ งไพร อนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม กจิ กรรมการเรียนรู้จาก
แหล่งศึกษาธรรมชาติ แบบ Active Learning ที่บูรณาการสหวชิ าการ
องค์ประกอบ ท่เี กี่ยวข้องจากภาคีเครือขา่ ย และการจัดการความรดู้ า้ นการอนุรักษ์
การเสริมสรา้ ง ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งเป็นระบบ
คุณลักษณะเยาวชน ส่ิงท่ีเปน็ ส่วนประกอบทจ่ี ำเป็นตอ้ งพิจารณาสำหรับแนวทางการ
รกั ษพ์ งไพร เสรมิ สร้างคณุ ลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร ประกอบดว้ ย 1) เนอื้ หาหลกั
ของการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ที่บรู ณาการองค์ความรู้จากภาคีเครือข่าย
มงุ่ เนน้ ความเคารพรักในสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
รวมถึงความรูค้ วามเข้าใจและความสำนกึ ในพระมหากรุณาธคิ ุณที่มีต่อ
ประชาชนชาวไทย 2) การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ในคา่ ยทใ่ี ห้นกั เรียน
ฝกึ ทักษะการใช้กระบวนการคิด การวเิ คราะห์ การสังเกต การรวบรวม
ข้อมูลและการปฏบิ ัตจิ รงิ เรียนรู้อย่างมีความสุข แสดงออกอย่างอิสระ
บรรยากาศการเรยี นท่เี ป็นกัลยาณมิตร 3) ความร่วมมือดา้ นการศึกษา
ระหว่างภาคีเครอื ข่ายภาครัฐและเอกชน โดยให้ภาคเี ครอื ข่ายเข้ามา
มบี ทบาทหลกั ตั้งแต่การรว่ มกำหนดทิศทางการพฒั นานักเรยี น
เน้นผลลัพธ์ทตี่ วั นกั เรียน พรอ้ มทัง้ การขยายผล และ 4) ชุดเอกสาร
ท่ีกำหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ เน้อื หาวธิ กี าร กจิ กรรมและ
กระบวนการ รวมถงึ ส่อื และการวัดผลสำเรจ็ ของการเสริมสรา้ ง
คุณลกั ษณะเยาวชนรักษ์พงไพร ได้อยา่ งเหมาะสม

95

ตารางที่ 4.5 (ตอ่ )

องค์ประกอบ รายละเอียดและความหมาย
ของแนวทาง
ขน้ั ตอนการเสริมสรา้ ง กระบวนการและวธิ กี ารทม่ี คี วามเป็นข้นั ตอนท่เี หมาะสมในการ
คุณลักษณะเยาวชน เสรมิ คุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร ประกอบด้วย 1) การบูรณาการ
รกั ษ์พงไพร ความร่วมมอื ร่วมใจตลอดแนวของภาคีเครือข่ายในการเสริมสร้าง
คณุ ลักษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพรเพือ่ การอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
เง่ือนไขการเสรมิ สรา้ ง สง่ิ แวดลอ้ ม 2) การบริหารจัดการบรบิ ทเชงิ พน้ื ท่ี เน้นการพฒั นาโดย
คณุ ลักษณะเยาวชน ผู้เชี่ยวชาญดา้ นต่าง ๆ จากภาคเี ครอื ขา่ ยในพืน้ ที่ 3) การจัดกิจกรรม
รักษ์พงไพร ค่าย Active Learning โดยเรียนรจู้ ากผเู้ ชีย่ วชาญในแตล่ ะดา้ นของ
ภาคีเครอื ข่าย ภายใตก้ รอบหลกั สตู รบูรณาการ และ 4) การดำเนนิ งาน
ภายหลงั จากการจัดคา่ ย ที่มงุ่ เน้นให้ครแู ละนักเรยี นนำองค์ความรู้
ทักษะ และเจตคติท่ีดใี นดา้ นการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ไปตอ่ ยอดในระดบั โรงเรยี นและชมุ ชนอยา่ งเปน็ รปู ธรรม
ขอ้ กำหนดทีเ่ ปน็ ส่วนประกอบหลักในการดำเนนิ งานที่เป็นไปตาม
หลักการของแนวทางให้ประสบผลสำเรจ็ ประกอบด้วย 1) การรว่ ม
ทำงานของภาคีในการประสานการทำงานใหส้ อดคล้องกนั มีแผนงาน
รว่ มกัน เพ่อื ใหเ้ ปา้ หมายการพฒั นานักเรียนประสบผลสำเรจ็
ด้วยพ้ืนฐานการมสี มั พันธภาพท่ีดขี องบุคลากรระหวา่ งภาคเี ครอื ข่าย
2) การมุง่ เน้นเปา้ หมายการเรียนร้แู ละการพัฒนา รวมถงึ อนรุ ักษ์
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมให้สอดคล้องเหมาะสมกบั บรบิ ท
พนื้ ท่ี เพื่อความเข้มแขง็ ของนกั เรียน โรงเรียน และชมุ ชน และ
3) การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ีม่ ุ่งเนน้ ใหน้ ักเรยี นเกดิ ประสบการณ์ตรง
จากแหลง่ เรยี นรู้ทางธรรมชาติจรงิ

96

ตารางที่ 4.5 (ตอ่ )

องค์ประกอบ รายละเอยี ดและความหมาย
ของแนวทาง
ปัจจยั สู่ความสำเร็จ สิ่งท่สี ง่ ผลตอ่ ระดับความสำเรจ็ และการบรรลุเปา้ หมายตามแนวทาง
ประกอบด้วย 1) การสร้างเป้าประสงคแ์ ละภาพความสำเรจ็ รว่ มกนั
ของภาคเี ครือขา่ ย รวมถึงหลักการและวธิ ีปฏิบัติที่จะนำไปสูก่ ารบรรลุ
เป้าหมายในอนาคต โดยเช่ือมโยงกบั วสิ ยั ทัศน์ของแต่ละภาคีเครอื ขา่ ย
2) บุคลากรของภาคเี ครอื ข่ายท่มี ีความรคู้ วามสามารถ มีความพงึ พอใจ
และทัศนคติทดี่ ใี นการมาทำงานและเป็นวิทยากรรว่ มกันอยา่ งเปน็
น้ำหนึ่งใจเดียว และ 3) คณุ ภาพของแหลง่ เรยี นรู้ทางธรรมชาตใิ นพื้นท่ี
สำหรบั จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ มอี ัตลักษณ์ท่ีโดดเด่นและมคี ุณคา่
ตอ่ บริบทพืน้ ทแ่ี ละชมุ ชน มคี วามสมบูรณ์ของทรพั ยากรธรรมชาติ
สง่ิ แวดล้อม และระบบนิเวศ มีความปลอดภยั

ประเด็นที่ 4 รูปแบบการประเมินผลแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชน
รักษ์พงไพรเพอื่ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศกึ ษา สงั กัด
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เหมาะสม โดยพิจารณาจากประเด็นการประเมิน
ตวั บ่งช้ีที่ตอ้ งการวัด และลกั ษณะการเก็บขอ้ มลู ดงั ตารางที่ 4.6

ตารางที่ 4.6 รปู แบบการประเมินผลแนวทางการเสรมิ สร้างคุณลกั ษณะเยาวชนรักษพ์ งไพร

ประเด็นการประเมิน ตัวบ่งชที้ ่ีต้องการวัด ลักษณะการเก็บขอ้ มูล

การประเมนิ ความพึงพอใจ ความคิดเหน็ และความ การสอบถามผูเ้ กี่ยวข้อง ภายหลงั จาก

ต่อแนวทางการเสรมิ สร้าง พงึ พอใจของผเู้ ข้ารว่ ม การนำแนวทางไปใช้ ได้แก่

คณุ ลักษณะเยาวชน การดำเนินงานตามแนวทาง ผรู้ บั ผิดชอบโครงการระดับสำนักงาน

รักษพ์ งไพร เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา ครวู ทิ ยากร และ

วทิ ยากรภาคเี ครอื ข่าย

การประเมินความพงึ พอใจ ความคดิ เหน็ และความ การสอบถามนกั เรยี น ภายหลงั จาก

ต่อกิจกรรมค่าย พึงพอใจของนักเรียนทไี่ ด้ การเข้ารว่ มกิจกรรมคา่ ย

ของนักเรยี น เข้ารว่ มกิจกรรมคา่ ย

97

ตารางที่ 4.6 (ต่อ)

ประเด็นการประเมนิ ตัวบง่ ช้ที ี่ต้องการวัด ลกั ษณะการเก็บข้อมูล

การประเมินความสามารถ ความรู้ ทกั ษะ ทัศนคติ และ การสอบถามและประเมินตนเอง

ในการจดั กิจกรรมของครู การนำไปประยกุ ต์ใช้ ของครวู ิทยากร ภายหลงั จากการ

วทิ ยากรตามแนวทาง ของครวู ทิ ยากร เขา้ รว่ มเครือขา่ ยเชงิ พ้ืนท่ี

การประเมินคุณลักษณะ ความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และ การสังเกตการแสดงออกคุณลักษณะ

เยาวชนรักษพ์ งไพร พฤติกรรมที่สะทอ้ น เยาวชนรกั ษ์พงไพรของนกั เรียน

ความเป็นเยาวชน หลงั จากการเขา้ รว่ มกจิ กรรมค่าย

รักษ์พงไพร โดยให้ผู้เกย่ี วข้องท่ีใกลช้ ิดกบั นักเรียน

เปน็ ผู้ประเมิน ไดแ้ ก่ ครูวิทยากร และ

วิทยากรภาคีเครอื ข่าย

การประเมนิ คุณภาพ ความพรอ้ มในการ การลงพ้ืนที่และสงั เกตผลทเี่ กิดขึ้น

ของแนวทางการเสริมสรา้ ง ดำเนนิ งานตามแนวทางและ เชงิ ประจักษร์ ะหว่างจดั กจิ กรรม

คณุ ลกั ษณะเยาวชน ผลท่ีเกดิ ข้ึนกับครวู ทิ ยากร ตามแนวทาง โดยคณะลงพน้ื ทีต่ ดิ ตาม

รกั ษพ์ งไพรเชิงประจักษ์ และนักเรยี น (การเตรยี ม

ความพร้อม เนือ้ หา

กระบวนการ และผลลัพธ)์

การประเมินการขยายผล การนำความรู้ไปตอ่ ยอด การสงั เกตผลการนำความรู้และทกั ษะ

ตามแนวทาง สู่ความยั่งยืน กจิ กรรมท่โี รงเรียน ของนกั เรียนท่ีได้รบั จากกิจกรรมค่าย

มาดำเนนิ กจิ กรรมต่อยอดที่โรงเรยี น

โดยครูวิทยากร และวิทยากรภาคี

เครือข่าย

จากนั้นผู้วิจัยได้นำข้อมูลที่ได้จากการสังเคราะห์ขอ้ มูลและเอกสารต่าง ๆ รวมถึงการ
ลงพื้นที่เยี่ยมค่ายเพื่อถอดบทเรียนและศึกษาข้อมูลเชิงประจักษ์ ตามสภาพจริงที่เกิดขึ้นในแต่ละ
บริบทพื้นที่ และการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ไปวิเคราะห์หาข้อสรุปเชิงทฤษฎี ซึ่งแสดงถึงหลักการ
กระบวนการ และเป้าประสงค์ ในการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ดงั ภาพที่ 4.5

98

ภาพที่ 4.5 กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎขี องการเสริมสรา้ งคุณลกั ษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพรเพอื่ การอนรุ ักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มของโรงเรียนระดับประถมศกึ ษา สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
ผลการดำเนินการในขั้นตอนน้ี ทำให้ได้กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีของการเสริมสร้าง

คุณลกั ษณะเยาวชนรักษพ์ งไพรเพ่ือการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มของโรงเรียนระดับ
ประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่เกี่ยวขอ้ งกับการพัฒนาแนวทาง
ในทุกมิติ ทั้งหลักการของแนวทางโดยมีความสัมพันธ์ระหว่างความสำนึกรับผิดชอบในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเรียนรู้แบบ Active Learning ในแหล่งศึกษาธรรมชาติ
รวมการจัดการความรู้และแลกเปล่ียนเรียนรอู้ ย่างเปน็ ระบบ ซ่ึงเปน็ กรอบแนวคดิ สำคญั ในการพัฒนา
กระบวนการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร ประกอบด้วยองค์ประกอบการเสริมสร้าง
คุณลักษณะ ขั้นตอนการเสริมสร้างคุณลักษณะ เงื่อนไขการเสริมสร้างคุณลักษณะ และปัจจัย
สู่ความสำเร็จในการเสริมสร้างคุณลักษณะ ให้สอดคล้องกับความต้องการและสภาพจริงตามบริบท
รวมถึงเหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย และนำไปยกร่างรายละเอียดแนวทาง
ประยุกต์ร่วมกับแนวคดิ ทฤษฎอี ่ืน ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง ในตอนตอ่ ไป

99

ตอนที่ 2 ผลการพัฒนาแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

ผลการออกแบบและพฒั นาแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ประกอบดว้ ย การนำผลการศกึ ษาจากขน้ั ตอนท่ี 1 มายกร่างและ
จัดทำรายละเอียดของแนวทาง และจัดทำเอกสารประกอบการใช้แนวทาง พร้อมทั้งตรวจสอบ
ความเหมาะสมและความเป็นไปไดข้ องการนำแนวทางไปใช้จรงิ โดยมีวัตถุประสงค์เพือ่ ยกร่างแนวทาง
สำหรบั นำไปทดลองใช้ รายละเอยี ด ดังน้ี

1. จัดทำรายละเอียดแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในการประชมุ เชิงปฏบิ ัติการพัฒนากระบวนการสรา้ งการเรยี นรู้
ด้านการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม เพื่อการตอ่ ยอดขยายผล โครงการค่าย “เยาวชน
...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี”
ปี พ.ศ. 2561 ระหว่างวันที่ 5 - 7 กันยายน พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมเอเชีย ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
โดยผวู้ ิจยั ไดน้ ำกรอบแนวคดิ เชิงทฤษฎีในข้นั ตอนท่ี 1 มาเป็นใชใ้ นการสรา้ งรายละเอยี ดแนวทาง มผี ลดังน้ี

1) จัดทำรายละเอียดแนวทาง ซึ่งผู้วิจัยได้นำเอาหลักการ แนวคิด และทฤษฎี
ท่ีเกย่ี วข้องตา่ ง ๆ มาประยกุ ต์ใช้ในการจดั ทำรายละเอียดแนวทาง โดยเฉพาะกรอบแนวคิดเชิงระบบ
ของการเสริมสร้างคณุ ลกั ษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพรเพือ่ การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
ของโรงเรียนระดบั ประถมศึกษา สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน รวมถึงหลักการ
เสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร (RAK) ที่มุ่งเน้นพัฒนานักเรียนผ่านกิจกรรมค่ายที่บูรณาการ
สหวิชาการที่เกี่ยวข้องด้วยรูปแบบ Active Learning ผนวกเข้ากับการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง
จากแหล่งศึกษาธรรมชาติจริงในพื้นที่ ส่งเสริมให้โรงเรียนใช้แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติที่กระจายอยู่
ทัว่ ประเทศในการพฒั นานักเรยี นได้อยา่ งเกิดประโยชน์สูงสุด พร้อมมกี ารส่งเสริมการต่อยอดขยายผล
และจัดการความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ ซึ่งมี
ความสัมพันธ์ระหว่างความตระหนักรู้สำนึกรักษ์ (Responsibility) กิจกรรมบนฐานรู้แจ้งทำจริง
(Active Learning) และการจดั การความรู้สู่เยาวชนรักษ์พงไพร (Knowledge Management) โดยมี
กรอบแนวคดิ เชงิ ระบบของแนวทางดังภาพท่ี 4.6

100

ภาพท่ี 4.6 กรอบแนวคิดเชงิ ระบบของแนวทางการเสริมสรา้ งคณุ ลกั ษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพือ่ การ
อนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มของโรงเรยี นระดับประถมศึกษา
สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

2) ผลการจัดทำรายละเอียดเอกสารประกอบแนวทาง แบ่งเป็นเอกสารแนวทาง
การเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 1 เล่ม
และเอกสารประกอบแนวทาง จำนวน 2 เล่ม ได้แก่ เล่มที่ 1 คู่มือครูวิทยากรเพื่อการเสริมสร้าง
คุณลกั ษณะเยาวชนรักษ์พงไพร และเลม่ ท่ี 2 ค่มู อื เยาวชนรักษพ์ งไพร ดังน้ี

2.1) โครงสร้างเอกสารแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ประกอบด้วย

- หลักการและวตั ถุประสงค์
- ขอบเขตการดำเนินงาน
- บทบาทหนา้ ที่
- คุณลักษณะเยาวชนรักษพ์ งไพร
- วธิ กี ารและข้นั ตอนการดำเนนิ งาน
- กจิ กรรมการดำเนินงาน
- การวัดและประเมินผล

101

2.2) โครงสรา้ งคมู่ ือครูวทิ ยากรเพอ่ื การเสริมสรา้ งคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ประกอบด้วย

- หลักการและวตั ถุประสงค์
- ขอบเขตการดำเนนิ งาน
- บทบาทหนา้ ท่ี
- คณุ ลกั ษณะเยาวชนรักษพ์ งไพร
- วิธกี ารและข้ันตอนการดำเนินงาน
- กิจกรรมการเรยี นร้แู ละใบงาน
- การวัดและประเมินผล
2.3) โครงสร้างคูม่ ือเยาวชนรกั ษพ์ งไพรเพ่ือการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประกอบด้วย
- หลกั การและวตั ถุประสงค์
- กิจกรรมการเรียนรแู้ ละใบงาน
2. ผลการตรวจสอบและปรับปรุงแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
เพอ่ื การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมของโรงเรียนระดบั ประถมศกึ ษา สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจุดม่งหมายให้มีการตรวจสอบความถูกต้อง (Accuracy)
ความเป็นไปได้ (Feasibility) ความสอดคล้อง (Congruency) และความเป็นประโยชน์ (Utility)
เพื่อใหไ้ ดข้ ้อเสนอแนะในการปรับปรงุ แก้ไขแนวทางให้สมบรู ณข์ ึน้ แบ่งเปน็ 2 ระยะ ได้แก่
ระยะที่ 1 ผลการตรวจสอบเบอ้ื งต้นและการปรับปรุงแก้ไข โดยวธิ กี ารจัดสนทนากลุ่ม
(Focus Group Discussion) ในการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ
Active Learning และกระบวนการมีส่วนรว่ ม โครงการค่าย “เยาวชน...รกั ษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ
60 พรรษา สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร”ี ปี พ.ศ. 2561 ระหวา่ งวันที่ 25 - 28
กันยายน พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมระยอง ชาเลต์ จังหวัดระยอง โดยผู้วิจัยเลือกผู้เข้ารว่ มสนทนากลมุ่
เป็นผู้แทนภาคีเครือข่าย ผู้รับผิดชอบโครงการค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ
60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” และคณะทำงานโครงการ จำนวน
1 กลุ่ม จำนวน 15 คน โดยนำเสนอข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรงุ แกไ้ ขแนวทางในเบอ้ื งต้น ดงั ตารางท่ี 4.7

102

ตารางที่ 4.7 รายละเอียดผลการตรวจสอบเบื้องตน้ และการปรับปรงุ แกไ้ ขแนวทาง

ที่ ส่วนประกอบ ข้อเสนอแนะเพอื่ การปรับปรุงแก้ไข
1 วัตถุประสงค์ของแนวทาง มคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสม ชดั เจน รวมถึงมีความเป็นประโยชน์
ต่อการพัฒนานกั เรียนและมคี วามเปน็ ไปไดใ้ นการนำไป
การเสริมสรา้ งคุณลกั ษณะ ปฏบิ ัติจริง ไมม่ ีข้อเสนอแนะเพือ่ การปรบั ปรุงแก้ไข
เยาวชนรักษพ์ งไพร มีความสอดคลอ้ งเหมาะสม มคี วามถกู ต้องตามหลักวิชาการ
2 คณุ ลกั ษณะเยาวชน และสอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์การพัฒนา แต่ในแง่
รักษพ์ งไพร ความชดั เจนของคณุ ลกั ษณะแตล่ ะดา้ น ควรกำหนดชอ่ื เฉพาะ
ของคณุ ลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรประกอบด้วย เพอื่ ให้
3 หลกั การเสริมสรา้ ง สามารถจดจำง่ายต่อการนำไปฏบิ ัติของครูวทิ ยากรและ
คณุ ลักษณะเยาวชน การเรียนรู้ของนกั เรียน รวมถงึ สะท้อนและครอบคลมุ
รักษพ์ งไพร ความเป็นเยาวชนรกั ษพ์ งไพรไดอ้ ยา่ งชดั เจนทีส่ ุด จงึ ปรับปรุง
ดงั นี้

1) คณุ ลักษณะด้านความรู้ คอื รรู้ กั ษา
2) คณุ ลักษณะด้านทกั ษะ คือ พัฒนาต่อยอด
3) คุณลกั ษณะด้านเจตคติ คอื สืบทอดวิถี
มีความสอดคล้องเหมาะสมกบั ความต้องการพัฒนาและ
เป้าประสงคก์ ารพัฒนาในปัจจุบนั มีความถกู ตอ้ ง ชดั เจน
ครอบคลมุ การต้ังช่ือเฉพาะที่สอดคล้องกบั โครงการ ไดแ้ ก่
RAK (รกั ) ประกอบด้วย ความตระหนกั รู้สำนกึ รักษ์
(Responsibility) กจิ กรรมบนฐานร้แู จง้ ทำจรงิ (Active
Learning) และการจดั การความรู้ส่เู ยาวชนรักษพ์ งไพร
(Knowledge Management) สามารถทำใหผ้ ูป้ ฏิบัตจิ ดจำ
และนำไปปฏบิ ัตไิ ด้เขา้ ใจมากยงิ่ ข้ึน ส่งผลใหม้ ีความเปน็ ไปได้
ในเชิงปฏบิ ตั ิและการขบั เคล่อื นเชิงนโยบาย ไมม่ ีข้อเสนอแนะ
เพ่อื การปรบั ปรงุ แกไ้ ข

103

ตารางที่ 4.7 (ตอ่ )

ท่ี สว่ นประกอบ ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการปรับปรงุ แก้ไข
4 องค์ประกอบของ ในภาพรวมมคี วามสอดคล้องเหมาะสม ถูกต้องครบถว้ น
ตามหลกั การพฒั นาแนวทางเสริมสรา้ งคุณลักษณะของนกั เรียน
แนวทางการเสรมิ สร้าง โดยมีขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะใหป้ รับปรุงดงั นี้
คุณลกั ษณะเยาวชน
รักษ์พงไพร 1) องค์ประกอบของการเสรมิ สร้างคุณลักษณะเยาวชน
รกั ษ์พงไพร ในสว่ นของเนอ้ื หา ใหป้ รบั เป็น เนื้อหากิจกรรม
บรู ณาการ 3 รักษ์ (รักษ์ชาติ รกั ษศ์ าสน์ รกั ษก์ ษตั รยิ )์ เพือ่ เปน็
กรอบแนวคิด (Concept) ท่ีเขา้ ใจงา่ ยตอ่ การปฏิบัติ

2) องคป์ ระกอบของการเสริมสรา้ งคุณลกั ษณะเยาวชน
รกั ษพ์ งไพร ในส่วนของกระบวนการจัดการเรยี นรแู้ บบ Active
Learning มคี วามเหมาะสมและเปน็ ประโยชน์ แต่ตอ้ งกำหนด
วิธกี ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้รายกิจกรรมของนักเรียนใหง้ ่าย
สะดวก และไม่รบกวนหรอื ส่งผลกระทบตอ่ กระบวนการเรยี นรู้

3) ขน้ั ตอนการเสริมสรา้ งคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
มคี วามสอดคล้องเหมาะสม เปน็ ประโยชนแ์ ละเป็นไปไดใ้ นเชิง
ปฏิบัติ เป็นขน้ั ตอนทเ่ี สรมิ สร้างความเข้มแขง็ ในการพัฒนา
ได้เป็นอยา่ งดี แตค่ วรกำหนดช่ือข้นั ตอนเปน็ ศัพทเ์ ฉพาะทาง
ภาษาองั กฤษ ท่มี ีความเหมาะสมและครอบคลุมด้วย เนอ่ื งจาก
ขั้นตอนถอื เป็นองค์ประกอบสำคญั ในการสอื่ สารการดำเนนิ งาน
ใหม้ เี อกภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล จงึ ปรับปรงุ ดังน้ี
ข้ันตอนที่ 1 การสานสมั พนั ธเ์ ครอื ขา่ ย (Network Engagement)
ขน้ั ตอนท่ี 2 การจดั การเครือข่ายผู้เชยี่ วชาญเชงิ พื้นท่ี
(Expertise Management) ขัน้ ตอนที่ 3 การจัดค่ายบูรณาการ
สหวิชาการ (Multidisciplinary Youth Camp) และข้นั ตอนที่ 4
การขยายผลส่คู วามยัง่ ยนื (Sustainable Generalization)
โดยเรียกเชิงสรุปว่า NEMS

4) เง่อื นไขการเสรมิ สรา้ งคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
และปจั จยั สคู่ วามสำเรจ็ ขอใหม้ ีการกำหนดชอ่ื เป็นศพั ท์เฉพาะ
ทางภาษาองั กฤษดว้ ยเช่นกัน เพือ่ การปฏบิ ตั ิที่เขา้ ใจได้ง่ายข้ึน

104

ตารางที่ 4.7 (ตอ่ )

ที่ สว่ นประกอบ ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การปรับปรงุ แกไ้ ข
5 เอกสารประกอบ มีความสอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์การพัฒนา มาตรฐานการ
เรยี นรแู้ ละตัวช้ีวัด ถกู ตอ้ งตามหลกั วิชาการ เหมาะสมต่อการ
แนวทางการเสริมสร้าง นำไปไดจ้ รงิ มปี ระโยชนแ์ ละเอ้ือต่อการเรียนรไู้ ด้อยา่ ง
คณุ ลกั ษณะเยาวชน ครบถว้ น มกี ิจกรรมเสริมการเรยี นรู้เพ่มิ เตมิ ใหค้ รูวิทยากร
รักษ์พงไพร สามารถนำไปเลอื กและปรับใชไ้ ด้ทีโ่ รงเรียน โดยควรทบทวน
ให้แนใ่ จวา่ วธิ กี ารประเมนิ ผลการเรียนรูร้ ายกจิ กรรมของ
6 การประเมนิ ผลแนวทาง นกั เรยี นให้งา่ ย สะดวก และไมร่ บกวนหรือสง่ ผลกระทบตอ่
การเสริมสรา้ งคณุ ลกั ษณะ กระบวนการเรียนรู้ และควรสร้างความร้คู วามเขา้ ใจ รวมถงึ
เยาวชนรักษพ์ งไพร การฝึกปฏบิ ัติให้แก่ครูวทิ ยากรและวทิ ยากรภาคเี ครือขา่ ย
กอ่ นนำไปใช้จรงิ ไมม่ ีขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การปรบั ปรงุ แกไ้ ข
7 ผลผลิตและผลลพั ธ์ มีความสอดคล้องเหมาะสมตามวตั ถปุ ระสงคข์ องแนวทาง
8 ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ ชัดเจน ครบถ้วนและถกู ต้องตามหลักวิชาการ เหมาะสมและ
เปน็ ไปได้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ไม่มขี ้อเสนอแนะเพ่อื การ
ปรบั ปรงุ แกไ้ ข
มีความสอดคล้องเหมาะสม ไม่มีขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การ
ปรบั ปรงุ แก้ไข
การกำหนดนกั เรยี นทเ่ี ขา้ ร่วมกิจกรรมในช่วงชน้ั ท่ี 2
ควรกำหนดในระดับ ป.4 – 5 เนอ่ื งจากจะไดม้ ีห้วงเวลา
ไปต่อยอดขยายผลท่ีโรงเรียน

จากตารางที่ 4.7 ผลการสังเคราะห์ประเด็นตรวจสอบเบื้องต้นและการปรับปรุงแก้ไข
แนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่ผู้วิจัยนำเสนอ พบว่า ผู้เข้าร่วมตรวจสอบมีข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขแนวทาง
ดงั รายละเอียดท่ีกล่าวมาข้างตน้ โดยผู้วจิ ยั ได้นำผลการตรวจสอบในเบ้อื งต้นดังกลา่ ว มาปรับปรุงให้มี
ความสมบรู ณม์ ากยง่ิ ขน้ึ เพอื่ นำไปตรวจสอบเพ่ือการยืนยนั และการปรับปรงุ แก้ไขในระยะต่อไป

ระยะที่ 2 ผลการตรวจสอบเพื่อการยืนยันและการปรับปรุงแก้ไข โดยตรวจสอบ
ความสอดคลอ้ ง (Consistency) ในเชงิ เน้ือหาของแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพร

105

เพอื่ การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศกึ ษา สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน และเอกสารประกอบแนวทาง ไดแ้ ก่ (1) คู่มือครวู ิทยากรเพื่อการ
เสรมิ สร้างคุณลกั ษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพร และ (2) คมู่ อื เยาวชนรักษพ์ งไพร ก่อนนำแนวทางไปทดลองใช้
ภาคสนาม โดยประยุกต์ใช้เทคนิคการหาค่าสัมประสิทธิ์แคปปาของโคเฮน (Cohen’s Kappa
Coefficient) ซึ่งเป็นการใช้วัดความเห็นพ้องต้องกันสำหรบั ขอ้ มูลที่ได้จากการวัดเชงิ จำแนกประเภท
จากผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัยและพัฒนา การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการ
พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ รวมจำนวน 5 คน พบว่า ระดับความสอดคล้องของสถิติแคปปาที่ผ่าน
มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับได้นั้น ต้องอยู่ในระดับมากกว่า 0.61 ซึ่งในการดำเนินการของผู้วจิ ัยน้ัน
ผลที่ได้รับอยู่ในระดับ 0.85 แสดงว่ารายละเอียดของแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชน
รักษพ์ งไพรเพือ่ การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สงั กัด
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน และเอกสารประกอบแนวทาง มคี วามสอดคลอ้ งดมี าก

3. จดั ทำแนวทางการเสรมิ สรา้ งคณุ ลักษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพรเพ่ือการอนรุ กั ษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพนื้ ฐาน (ฉบบั ทดลองใช้)

ผลการดำเนินการในขั้นตอนออกแบบและพัฒนา ทำให้ได้ร่างแนวทางการเสริมสร้าง
คณุ ลกั ษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพรเพือ่ การอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมของโรงเรียนระดับ
ประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเอกสารประกอบแนวทาง
ไดแ้ ก่ คมู่ อื ครวู ทิ ยากรเพื่อการเสรมิ สร้างคุณลกั ษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพร และคมู่ อื เยาวชนรักษ์พงไพร
ที่มีความถูกต้องและสอดคล้องเหมาะสมของเนือ้ หาสาระ มีความเป็นไปได้ในการนำไปใช้เสริมสร้าง
คุณลักษณะของนักเรียน มีความสอดคล้องของนโยบายการพัฒนาการศึกษา และเป็นประโยชน์
ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย รวมถึงเครื่องมือประเมินผลการใช้แนวทางมีคุณภาพ เหมาะสมและ
พร้อมสำหรบั นำไปทดลองใช้ภาคสนาม รายละเอียด ดงั น้ี

แนวทางเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพือ่ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดลอ้ มของโรงเรยี นระดบั ประถมศกึ ษา สังกดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

1. หลกั การเสริมสรา้ งคุณลกั ษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพร
หลักการเสรมิ สรา้ งคุณลักษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพรเพ่อื การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อมของโรงเรยี นระดบั ประถมศึกษา สังกดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
มุ่งเน้นการพฒั นานกั เรียน ผ่านกิจกรรมค่ายที่บูรณาการสหวิชาการที่เกี่ยวข้อง ด้วยรูปแบบ Active
Learning ในทุกกระบวนการ ผนวกเข้ากับการเรยี นรู้ผา่ นประสบการณ์ตรงจากแหลง่ ศึกษาธรรมชาติ
จริงในพื้นที่ ส่งเสริมให้โรงเรียนใช้แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติที่กระจายอยู่ทั่วประเทศในการพัฒนา
นักเรียนได้อย่างเกดิ ประโยชนส์ ูงสุด พร้อมทั้งส่งเสริมการต่อยอดขยายผลและจัดการความรู้ดา้ นการ

106

อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้วยเครือข่ายเชิงพื้นท่ีอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย
หลกั สำคญั 3 ประการ คือ RAK ได้แก่ ความตระหนกั ร้สู ำนกึ รักษ์ (Responsibility) กิจกรรมบนฐาน
ร้แู จ้งทำจรงิ (Active Learning) และการจัดการความรู้สู่เยาวชนรักษ์พงไพร (Knowledge Management)
รายละเอยี ด ดังนี้

1) ความตระหนักรู้สำนึกรักษ์ (Responsibility) คือ ความสำนึกรับผิดชอบ
ในการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม สามารถพงึ่ พาอาศัยกนั ได้อย่างสมดุล พร้อมทั้งใช้
ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุดและยั่งยืน ตลอดทั้งคำนึงถึงผลกระทบที่อาจก่อให้เกิด
ผลเสียต่อธรรมชาติสิ่งแวดล้อมให้น้อยที่สุด รวมถึงความสำนึกต่อสถาบันชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย์ ประกอบด้วย ทัศนคติและค่านิยมที่ดีในการอนุรักษ์แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติและ
สง่ิ แวดล้อม และความสำนกึ ในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

2) กิจกรรมบนฐานรู้แจ้งทำจริง (Active Learning) คือ กิจกรรมการเรียนรู้
ที่บูรณาการสหวิชาการที่เกี่ยวข้องจากภาคีเครือข่ายที่มีความเชี่ยวชาญ ผนวกเข้ากับการเรียนรู้
ผา่ นประสบการณต์ รงจากแหล่งศกึ ษาธรรมชาตจิ รงิ ประกอบด้วย กิจกรรมการศกึ ษา สืบคน้ เก่ยี วกับ
การอนุรักษ์แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมฝึกปฏิบัติการบูรณาการอ นุรักษ์
แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชีวิตประจำวัน และกิจกรรมการประยุกต์การอนุรักษ์
แหลง่ เรยี นร้ทู างธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มสำหรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั

3) การจัดการความรู้สู่เยาวชนรักษพ์ งไพร (Knowledge Management) คือ
การสรา้ งและแสวงหาความรู้ รวมถึงแลกเปลี่ยนเรียนร้รู ว่ มกันของภาคีเครือข่าย เก่ยี วกบั การอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยร่วมกันจัดการความรู้ให้เป็นระบบ ประมวลและกลั่นกรอง
ความรู้ ให้นักเรียนและผู้เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงความรู้ เกิดการแบ่งปันความรู้ และสามารถนำไป
ต่อยอดกิจกรรมได้ในโรงเรียน และชุมชน ประกอบด้วย กระบวนการหรือวิธีการนำความรู้เกี่ยวกบั
การอนุรักษ์แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และกระบวนการหรือวิธีการที่ทำให้เยาวชน
เกิดความสำนกึ เคารพรักในสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์

2. วตั ถปุ ระสงค์
เพ่ือใหน้ ักเรยี นเกิดคุณลักษณะเยาวชนรักษพ์ งไพร กลา่ วคือมคี วามเคารพรักในสถาบัน
ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ พรอ้ มทงั้ เหน็ ถึงคุณค่าทรัพยากรธรรมชาติ เกิดความรัก ความหวงแหน
มีจติ สำนึก ความรบั ผิดชอบ และร่วมกนั อนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม สำนกึ ในพระมหากรุณาธิคุณ
ดา้ นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มและนอ้ มนำมาปรับใช้ รวมถงึ นำไปตอ่ ยอดพัฒนา
ตามความต้องการและอัตลักษณ์ของพื้นที่ สอดคล้องกับบริบทท้องถิ่น โดยมีคุณลักษณะเยาวชน
รกั ษพ์ งไพร ประกอบด้วย

107

1) รู้รักษา คือ คุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรด้านความรู้ กล่าวคือ นักเรียน
มีความใฝ่รู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สามารถสื่อสารความรู้ในการใช้ชีวิต
ทเ่ี ปน็ มิตรตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม มคี วามเคารพรกั หวงแหน และนำความรู้เก่ยี วกับสถาบันชาติ ศาสนา และ
พระมหากษตั ริย์ รวมถึงการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ไปปรบั ใช้ได้ตามบรบิ ท

2) พัฒนาต่อยอด คือ คุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรด้านทักษะ กล่าวคือ
นักเรียนใช้ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และใช้ชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีทักษะ
ที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และสามารถนำทักษะไปใช้เพื่อการดำรงชีวิตตามวิถีบริบทของท้องถิ่น
ไดอ้ ย่างสอดคล้องเหมาะสม

3) สืบทอดวิถี คือ คุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรด้านเจตคติ กล่าวคือ นักเรียน
มีวินัย เคารพกฎกติกาของชุมชนและสังคม ในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มีความตระหนักถึงปญั หาส่ิงแวดลอ้ ม มีจติ สาธารณะ เป็นผ้นู ำในการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ มของบ้านเกดิ

3. องค์ประกอบการเสริมสรา้ งคุณลกั ษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
1) เนื้อหากิจกรรมบูรณาการ 3 รักษ์ (รักษ์ชาติ รักษ์ศาสน์ รักษ์กษัตริย์) คือ

เน้อื หาหลักของการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ในค่าย “เยาวชน...รกั ษ์พงไพร เฉลมิ พระเกียรติ 60 พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ที่บูรณาการองค์ความรู้ของภาคีเครือข่าย
ที่เกีย่ วข้อง เพอื่ การพัฒนานักเรยี นใหม้ ีคณุ ลกั ษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพร เขา้ ใจประโยชน์ของทรพั ยากร
ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม มีคณุ ธรรม และสำนึกในพระมหากรณุ าธิคุณ ประกอบดว้ ย

- รักษช์ าติ คอื การดำเนนิ ชีวติ ภายใต้ระเบยี บ กฎกติกาของสงั คม เห็นคุณค่า
ของความรัก ความสามคั คี รักและหวงแหนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม รวมถงึ ถน่ิ กำเนิดและ
ถ่นิ ทีอ่ ยู่อาศัย ธำรงไว้ซง่ึ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่

- รักษศ์ าสน์ คือ การประพฤติ ปฏิบตั ิ ภายใต้กรอบศาสนาของตนเอง นับถือ
ไม่ลบหลู่ดูหมิ่นศาสนาอื่น บนพื้นฐานของความเชือ่ ของแตล่ ะศาสนาที่สอนให้ทกุ คนเป็นคนดี ใช้สติ
ในการสังเกต การสื่อสารด้วยกัลยาณมติ ร แสดงออกซ่ึงความรกั ความเมตตา การให้อภัย ให้โอกาส
และใหค้ วามช่วยเหลือผู้อ่ืนตามความเหมาะสม

- รักษ์กษัตริย์ คือ ความเข้าใจในหลักคิด หลักการทรงงาน และโครงการ
ในพระราชดำริเพื่อน้อมนำไปเป็นแนวปฏิบัติในชีวิตประจำวัน รวมถึงสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ
ปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ รวมถึงเข้าใจในพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ
ของพระมหากษตั ริยแ์ ตล่ ะพระองค์ทท่ี รงอนรุ กั ษ์และหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม

2) กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning คือ การจัดกิจกรรม
การเรยี นรูใ้ นคา่ ย “เยาวชน...รักษพ์ งไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

108

สยามบรมราชกมุ าร”ี ทใ่ี ห้นกั เรยี นมีความสำคญั ที่สุดในกระบวนการเรยี นรู้ ด้วยการฝึกทักษะการใช้
กระบวนการคิด การวิเคราะห์ การสังเกต การรวบรวมข้อมูลและการปฏิบัติจริง เรียนรู้อย่างมี
ความสุข แสดงออกอย่างอิสระ บรรยากาศการเรียนที่เป็นกัลยาณมิตร โดยให้เรียนรู้ในสิ่งที่มี
ความหมายตอ่ ชวี ติ สิ่งที่อยู่ใกล้ตวั ด้วยการใชแ้ หล่งศึกษาธรรมชาติในทอ้ งถิน่ เป็นส่ือให้นักเรียนได้มี
โอกาสฝึกฝน ได้เรียนรู้ตามความต้องการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้รับประสบการณ์การเรียนรู้
ด้วยตนเองในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งปลูกฝังสอดแทรกคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยมท่ีดงี าม รวมถงึ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

3) การขับเคลื่อนงานด้วยภาคีเครือข่ายและพื้นท่ีเป็นฐาน คือ ความร่วมมือ
ดา้ นการศึกษาระหว่างภาคีเครือข่ายภาครัฐและเอกชนในการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
เพ่ือการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม โดยใหภ้ าคเี ครือขา่ ยให้เข้ามามีบทบาทหลักตั้งแต่
การร่วมกำหนดทิศทางการพัฒนานกั เรียน เน้นผลลัพธ์ที่ตวั นักเรียน พร้อมทั้งขยายผลความร่วมมอื
เพื่อระดมทรัพยากรและเทคโนโลยีในการยกระดับกิจกรรมการเรียนรู้สู่ความเป็นเลิศอย่างต่อเนื่อง
โดยคำนงึ ถงึ มิติการมีส่วนร่วมและบูรณาการทรพั ยากรในท้องถ่ิน ใช้แหลง่ ศกึ ษาธรรมชาติและบริบท
ชุมชนเป็นฐานให้เกิดความเขม้ แข็งจากฐานราก ด้วยความรว่ มมือของหนว่ ยงานในพื้นที่ ทั้งการรว่ มคดิ
ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ ร่วมดำเนินการ ร่วมรับผิดชอบ ร่วมติดตามประเมินผล ร่วมแก้ปัญหา
และร่วมเสริมพลัง

4) คู่มือการดำเนินงานท่ีมีคุณภาพ คือ ชุดเอกสารที่กำหนดจุดมุ่งหมายของการ
เรียนรู้ เนื้อหาวิธีการ กิจกรรมและกระบวนการ รวมถึงสื่อและการวัดผลสำเร็จของการเสริมสร้าง
คุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยคำนึงถึง
ความเหมาะสมของเนื้อหาและการนำเสนอกิจกรรมแต่ละข้ันตอนให้มีความชัดเจน สะดวกต่อการ
นำไปใช้ปฏิบตั จิ รงิ ประกอบด้วยคมู่ ือ 2 เล่ม ไดแ้ ก่ คูม่ ือครูวทิ ยากรเพ่ือเสรมิ สร้างคณุ ลักษณะเยาวชน
รกั ษ์พงไพร และคูม่ อื เยาวชนรักษ์พงไพร

4. ขน้ั ตอนการเสรมิ สรา้ งคณุ ลกั ษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพร
1) การสานสัมพันธ์เครือข่าย (Network Engagement) คือ การบูรณาการ

ความรว่ มมอื ในการเสริมสรา้ งคุณลักษณะเยาวชนรักษพ์ งไพรเพ่ือการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ตั้งแต่การร่วมกำหนดวิสัยทัศน์ ร่วมพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ร่วมแลกเปลี่ยนแบ่งปัน
องค์ความรู้และทรัพยากรเพื่อประโยชน์สูงสุดของนักเรียน ภายใต้การทำงานแบบร่วมมือร่วมใจ
ของภาคีเครอื ขา่ ย ดังนี้

- ประสานหน่วยงานจากภาครัฐและเอกชน เพื่อระดมทรัพยากรสำหรับ
สรา้ งภาคเี ครือข่ายในการเสรมิ สร้างคณุ ลกั ษณะเยาวชนรักษ์พงไพร

109

- สร้างชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) บนฐานกลั ยาณมติ ร เพอื่ รว่ มกัน
สนทนาและระดมความคดิ ในการกำหนดทศิ ทางในการเสรมิ สร้างคณุ ลักษณะเยาวชนรักษพ์ งไพร

- กำหนดกิจกรรม วิธกี าร ข้ันตอน และบทบาทในการทำงานอย่างบูรณาการ
รว่ มกนั ของภาคีเครอื ข่ายทกุ ภาคสว่ น

- การร่วมกันจัดกิจกรรมการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
ตามขนั้ ตอนที่กำหนด

- ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสะท้อนข้อมูล รวมถึงการร่วมกันถอดบทเรียน
ในการดำเนินงานรว่ มกนั ของภาคีเครือข่าย

2) การจัดการเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญเชิงพืน้ ที่ (Expertise Management) คือ
การบรหิ ารจัดการบรบิ ทเชงิ พน้ื ท่ี เน้นการพฒั นาโดยผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ จากภาคีเครอื ข่าย เข้ามา
มีส่วนร่วมในการเสริมสรา้ งคณุ ลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร โดยมุ่งเน้นความเปน็ เอกลกั ษณ์เชิงพ้นื ที่
ของแตล่ ะแห่ง ภายใต้เครือขา่ ยเชงิ พนื้ ที่ (Rakpongprai Network: RN) เพอ่ื การพัฒนาโครงการค่าย
“เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กมุ าร”ี สคู่ วามย่ังยนื ดงั น้ี

- ร่วมกนั จดั ทำหลักสูตรกจิ กรรมการเรียนรูเ้ พือ่ เสรมิ สร้างคุณลักษณะเยาวชน
รกั ษ์พงไพรภายใต้บรบิ ทเชงิ พ้นื ทโี่ ดยผเู้ ชีย่ วชาญ

- ร่วมกันกำหนดแผนการดำเนินงานเชิงพื้นที่ในการเสริมสร้างคุณลักษณะ
เยาวชนรกั ษพ์ งไพร และขอ้ มลู สารสนเทศโครงการ

- พัฒนาทีมวิทยากรร่วมกันระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในการ
พฒั นาองค์ความรู้ ทักษะ วิธกี ารต่าง ๆ ให้แกท่ มี วิทยากรโดยเครือข่ายผ้เู ชี่ยวชาญ

- ร่วมกันกำหนดแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติตามบริบทเชิงพื้นที่ร่วมกัน และ
ดำเนินงานรว่ มกบั ภาคีเครอื ขา่ ยในระดับพ้นื ท่ี

3) การจัดค่ายบูรณาการสหวิชาการ (Multidisciplinary Youth Camp) คือ
การจัดกิจกรรมค่ายโดยมีรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญในแต่ละด้านของภาคี
เครือข่าย ดำเนินการออกแบบกิจกรรมภายใต้กรอบหลักสูตรโดยบูรณาการองค์ความรู้ ทักษะ และ
เจตคติที่เกย่ี วข้อง เพอ่ื ปลูกฝังจติ สำนึกรว่ มกนั ให้นักเรยี นไดต้ ระหนักในคุณค่าขององค์ความรู้ท่ีได้รับ
ซ่งึ จดั ใน 31 ศูนยก์ ารเรียนรูท้ ี่เปน็ แหลง่ ศึกษาธรรมชาติท่วั ประเทศ ภายใต้ชอื่ คา่ ย “เยาวชน...รักษพ์ งไพร
เฉลิมพระเกยี รติ 60 พรรษา สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ดงั น้ี

- ศึกษาหลกั สตู ร กิจกรรม และข้ันตอนการจัดกจิ กรรมเสริมสร้างคุณลักษณะ
เยาวชนรกั ษ์พงไพร

110

- ออกแบบกจิ กรรมบรู ณาการเพอื่ เสรมิ สร้างใหน้ ักเรยี นเกิดความรู้ ทักษะ เจตคติ
ทด่ี ี และจติ สำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม

- จัดกิจกรรม ค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา
สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี” ตามกรอบกจิ กรรมบรู ณาการท่ีออกแบบไว้

- ประเมนิ องค์ความรู้ ทกั ษะ และเจคตขิ องเยาวชนรักษพ์ งไพร
- วิเคราะห์ผลการประเมินเพื่อนำผลไปพัฒนาในการดำเนินการเสริมสร้าง
คณุ ลกั ษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพรในคร้งั ตอ่ ไป
4) การขยายผลสู่ความย่ังยืน (Sustainable Generalization) คอื การดำเนินงาน
ภายหลงั จากการจดั คา่ ยฯ ทม่ี ่งุ เน้นให้ครูและนกั เรยี นนำองค์ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติที่ดีในด้านการ
อนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ไปต่อยอดในระดับโรงเรยี นและชมุ ชนอย่างเป็นรูปธรรม
ภายใต้การส่งเสริมสนับสนุนของภาคีเครือข่ายในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดคุณลักษณะเยาวชน
รักษพ์ งไพร 3 ด้าน คอื รรู้ กั ษา พฒั นาต่อยอด สืบทอดวถิ ี จนเกดิ เปน็ ลกั ษณะนสิ ยั ดงั น้ี
- จดั กจิ กรรมสรุปองค์ความรู้ ทกั ษะ และคณุ ลักษณะทีไ่ ด้รับจากการเข้าร่วม
กิจกรรมคา่ ยเยาวชน...รกั ษพ์ งไพร
- ครูวิทยากรรักษ์พงไพรและเยาวชนแกนนำรักษ์พงไพรวางแผนกำหนด
กจิ กรรม แนวทางในการขยายผลลงสู่สถานศกึ ษา
- เครือข่ายเชิงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลังโดยการให้กำลังใจในการดำเนินงานกับ
ครวู ทิ ยากรรักษพ์ งไพร และเยาวชนรักษพ์ งไพร พร้อมทง้ั มีการแลกเปล่ยี นเรียนรูร้ ่วมกนั
5. เงื่อนไขการเสรมิ สรา้ งคุณลกั ษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพร
1) การทำงานแบบร่วมมือร่วมใจ (Collaborative Working Team) คือ การร่วม
ทำงานของภาคีเครือข่ายแบบร่วมแรงร่วมใจในการเสริมสร้างเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประสานการทำงานให้สอดคล้องกัน มีแผนงานร่วมกัน เพื่อให้
เปา้ หมายการพัฒนานกั เรียนประสบผลสำเร็จ ดว้ ยพ้ืนฐานการมสี ัมพันธภาพท่ีดีของบุคลากรระหว่าง
ภาคีเครือข่าย เข้าใจบทบาทและความสำคัญของแต่ละภาคีเครอื ข่าย เอื้ออำนวยแบ่งปันความรูแ้ ละ
ทรัพยากรซ่งึ กันและกัน รวมถงึ ใหค้ วามช่วยเหลือสนับสนุนอย่างตอ่ เน่ืองจนบรรลุเป้าประสงค์ร่วมกนั
2) การพัฒนาเชิงพื้นที่ (Area-based Approach) คือ การมุ่งเน้นเป้าหมาย
การเรยี นรู้ และการพฒั นา รวมถงึ อนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมให้สอดคล้องเหมาะสม
กับบริบทพื้นที่ บนฐานการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อความเข้มแข็งของนักเรียน
โรงเรียน และชุมชน ให้สามารถพึ่งตนเองได้ สามารถปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ใช้ความรู้
ในการจัดการหรือแก้ไขปัญหาตามความต้องการและสอดคล้องกับพื้นที่ได้อย่างยั่งยืน โดยอาศัย

111

องค์ประกอบของพื้นที่ทั้งแหล่งเรียนรู้ สังคมวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ทรัพยากร และความสัมพันธ์
ระหวา่ งภาคเี ครือขา่ ยในทกุ ระดับ รวมถึงการมีสว่ นรว่ มของชุมชน

3) การใช้แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติเป็นฐานการเรียนรู้ (Natural Learning
Resources) คือ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูท้ ่มี ุ่งเนน้ ใหน้ กั เรยี นเกิดประสบการณ์ตรงจากแหล่งเรียนรู้
ทางธรรมชาติจริง ในศูนย์การเรียนรู้ของกรมป่าไม้ และกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
จำนวน 31 ศูนย์ ทั่วประเทศ ซึ่งจะทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซ่ึงกันและกันระหว่างกลุ่มเพื่อน
นักเรียน ครูวิทยากรกับนักเรียน วิทยากรประจำแหล่งเรียนรู้กับครูวิทยากรและนักเรียน รวมถึง
เอื้อให้นักเรียนสามารถสืบค้นแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้โดยง่ายจากสภาพจริง นำไปสู่การสร้าง
องค์ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรกั และหวงแหนในทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมไดด้ ว้ ยตนเอง

6. ปจั จยั สูค่ วามสำเรจ็
1) การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน (Shared vision) คือ การสร้างเป้าประสงค์ร่วมกัน

และภาพความสำเร็จร่วมกันของภาคีเครือข่ายในการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงหลักการและวิธีปฏิบัติที่จะนำไปสู่การ
บรรลุเป้าหมายในอนาคต โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของแต่ละภาคีเครือข่าย บทฐานทัศนะ
ความร่วมมอื กันอย่างยึดมั่นของบุคลากรในภาคีเครอื ข่าย ด้วยความตระหนักและความเข้าใจ รวมถึง
ยินยอมพร้อมใจและให้ข้อผูกพันต่อจุดมุ่งหมายในการดำเนนิ งานภายใต้จุดหมายเดียวกัน พร้อมท้ัง
มีการส่อื สารให้รับรใู้ นทุกระดบั เพ่ือให้บรรลเุ ป้าหมายของการดำเนนิ งาน

2) ทีมวิทยากรมืออาชพี (Expertise Team) คือ บคุ ลากรของภาคีเครือข่ายท่ีมี
ความรู้ความสามารถ มีความพึงพอใจและทัศนคติที่ดีในการมาทำงานและเป็นวิทยากรร่วมกัน
อยา่ งเป็นนำ้ หนึ่งใจเดียว เป็นบุคลากรทม่ี ีความเหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรแู้ ละสอดคล้องต่อการ
บรรลุเป้าประสงค์ในการเสรมิ สรา้ งคณุ ลักษณะเยาวชนรักษพ์ งไพรเพ่ือการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดลอ้ ม โดยทำงานร่วมกันเป็นทีม มีปฏสิ มั พันธ์ท่ีดีตอ่ กนั ระหว่างสมาชิกในทีม ช่วยเหลือกัน
ทำงานเพื่อใหบ้ รรลเุ ป้าหมายเดียวกันอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

3) ความพร้อมของแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ (Natural Learning Resources
Readiness) คือ คุณภาพของแหลง่ เรียนทางธรรมชาติในพื้นท่ี สำหรับจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีอัตลักษณ์
ท่ีโดดเด่นและมีคุณค่าตอ่ บริบทพน้ื ท่ีและชุมชน มคี วามสมบรู ณ์ของทรพั ยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม
และระบบนิเวศ มีความปลอดภัย ที่เอื้อต่อการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการ
อนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมได้อย่างเหมาะสม

112

7. ผลที่คาดว่าจะไดร้ บั
แนวทางเสริมสรา้ งคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อมของโรงเรียนระดบั ประถมศึกษา สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
มุ่งเนน้ ให้เกิดผลผลติ และผลลัพธ์ ดังนี้

ผลผลติ
1) นกั เรยี น ครู และผูเ้ กยี่ วขอ้ ง มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั การอนุรักษ์ทรพั ยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทีส่ อดคล้องกับความตอ้ งการและบรบิ ทของท้องถิ่น รวมถึงทักษะทีจ่ ำเปน็
และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำวันได้อย่างเหมาะสม
2) นกั เรียน ครู และผเู้ ก่ยี วข้อง มีความตระหนกั มจี ติ สำนกึ ที่ดเี ห็นถึงคุณค่า และ
เกิดความรกั ความหวงแหน รวมถึงร่วมกันอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม สนองพระราโชบาย
ของสมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง
3) นักเรียน ครู และผู้เกี่ยวข้อง มีความเคารพรักในสถาบันชาติ ศาสนา และ
พระมหากษตั รยิ ์ มคี ุณธรรมจริยธรรมทด่ี ี มีจติ อาสา มีทักษะการคิดวเิ คราะห์และทักษะชวี ติ สามารถ
ตอ่ ยอดขยายผลกิจกรรมด้านการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติในโรงเรียน ชุมชน และท้องถ่นิ ได้อย่าง
เปน็ รูปธรรมสอดคลอ้ งกบั ความต้องการและบรบิ ทท้องถิ่น
4) ครูและผู้เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอนด้านการ
อนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มในท้องถิน่ มีรปู แบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้อง
กับหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน และการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21
5) เครือข่ายความร่วมมือที่สามารถบูรณาการการทำงานร่วมกันด้านการอนรุ กั ษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มในทอ้ งถิ่นที่เข้มแข็งและย่ังยนื
ผลลพั ธ์
1) โรงเรียนและชุมชน มศี กั ยภาพเป็นแหล่งเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมในด้านการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น สนองพระราโชบายของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง
2) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและหน่วยงานภาคีเครือข่าย
มีความร่วมมือและบูรณาการแบบมีส่วนร่วมในการดำเนินงานที่เขม้ แข็งเพิ่มมากข้ึน รวมถึงสามารถ
ขยายความร่วมมือได้ในวงกวา้ ง
3) สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน มีแนวทางการปลกู ฝงั และพัฒนา
เยาวชนและทุนมนุษย์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ท่ีมุ่งเน้น
ความเขม้ แข็งตามบริบทของท้องถิน่ สอดคลอ้ งและเป็นรากฐานสำคัญกับทศิ ทางการพฒั นาประเทศ

113

โดยสรุปแล้ว แนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขนั้ พื้นฐาน มุ่งเนน้ การพัฒนานกั เรยี น ผา่ นกิจกรรมค่ายที่บูรณาการสหวิชาการท่ีเก่ียวข้อง
ด้วยรูปแบบ Active Learning ในทุกกระบวนการ ผนวกเข้ากับการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง
จากแหล่งศึกษาธรรมชาติจริงในพื้นที่ ส่งเสริมให้โรงเรียนใช้แหล่งเรียนรูท้ างธรรมชาติที่กระจายอยู่
ทั่วประเทศในการพัฒนานักเรียนได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด สามารถแสดงกรอบแนวคิดเชิงระบบ
ของแนวทางดังกลา่ ว ได้ดังภาพที่ 4.7

ภาพท่ี 4.7 กรอบแนวคิดเชงิ ระบบของแนวทางการเสริมสรา้ งคณุ ลักษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพรเพ่ือการ
อนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมของโรงเรยี นระดับประถมศึกษา
สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

รายละเอยี ดขั้นตอนการเสริมสร้างคุณลกั ษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
ข้นั ตอนการเสริมสรา้ งคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร 4 ขน้ั ตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การสานสัมพันธ์เครือข่าย (Network Engagement) เป็นการบูรณาการ
ความรว่ มมือในการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพ่อื การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ตั้งแต่การร่วมกำหนดวิสัยทัศน์ ร่วมพัฒนากิจกรรมการเรยี นรู้ ร่วมแลกเปลี่ยนแบ่งปัน
องค์ความรู้และทรัพยากรเพื่อประโยชน์สูงสุดของนักเรียน ภายใต้การทำงานแบบร่วมมือร่วมใจ
ของภาคีเครอื ข่าย จำนวน 13 หน่วยงาน ประกอบด้วย
1) สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
2) มลู นธิ ิสวนสมเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ิตฯ์ิ
3) กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพนั ธุ์พชื
4) กรมป่าไม้

114

5) กรมตรวจบัญชีสหกรณ์
6) กรมพัฒนาท่ีดนิ
7) กรมส่งเสรมิ การเกษตร
8) กรมส่งเสรมิ สหกรณ์
9) กรมหม่อนไหม
10) องค์การสวนสตั ว์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์
11) สำนกั การศกึ ษา กรุงเทพมหานคร
12) ทรู คอรป์ อเรช่ัน
13) เครอื เจรญิ โภคภัณฑ์
การบูรณาการความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย รวม 13 หน่วยงาน มุ่งเน้นการอนุรักษ์
แหล่งเรียนรู้ทางทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนและท้องถิ่น เป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาประเทศ
ไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ตามยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ซึ่งเป็นการปลูกฝังและพัฒนา
ในระยะยาว มุ่งเนน้ ความเขม้ แขง็ ตามบรบิ ทของทอ้ งถ่นิ และชุมชน ซ่ึงมกี ลไกท่สี ำคญั คือ การพัฒนา
คุณภาพนักเรียน ครู และผู้เกี่ยวข้อง ด้วยการสนับสนุนการจัดการศึกษาด้านการอนุรักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้องตามหลักวิชา เพื่อให้นักเรียน ครู และผู้เกี่ยวข้อง เกิดความ
ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการอนุรักษ์ เกิดความรักความหวงแหน และให้ความ
ร่วมมอื อยา่ งจรงิ จงั ในการเข้ามามสี ่วนร่วมอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
ขน้ั ตอนท่ี 2 การจดั การเครือขา่ ยผ้เู ชย่ี วชาญเชิงพ้นื ที่ (Expertise Management)
เป็นการบริหารจัดการบริบทเชิงพื้นที่ เน้นการพัฒนาโดยผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ จากภาคีเครือข่าย
ในระดับพื้นที่ของแต่ละภูมิภาค เข้ามามีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
โดยมุ่งเน้นความเป็นเอกลักษณ์เชิงพื้นที่ของแต่ละแห่ง ภายใต้เครือข่ายเชิงพื้นที่ (Rakpongprai
Network: RN) เพื่อการพัฒนาโครงการค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลมิ พระเกยี รติ 60 พรรษาสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ส่คู วามย่งั ยืน ประกอบด้วย 7 เครอื ขา่ ย ดังน้ี

115

ตารางที่ 4.8 เครือข่ายเชิงพื้นท่ี (Rakpongprai Network: RN) เพื่อการพัฒนา โครงการค่าย
“เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมาร”ี สูค่ วามย่ังยืน

เครือข่าย ผู้รับผิดชอบ ศูนยใ์ นเครอื ขา่ ย ผ้รู ับผิดชอบศนู ย์
เชงิ พ้นื ท่ฯี เครือขา่ ย
1. ภาคเหนอื สพป.เชียงใหม่ ศรร.เชียงใหม่ สพป.เชียงใหม่ เขต 1
เขต 1 ศธส.เชงิ ดอยสเุ ทพ สพป.เชยี งใหม่ เขต 1
2. ภาค ศธส.นา่ น สพป.นา่ น เขต 1
ตะวันออก สพป.ชัยภมู ิ ศรร.นา่ น สพป.นา่ น เขต 2
เฉียงเหนอื เขต 2 ศรร.แมฮ่ อ่ งสอน สพป.แม่ฮอ่ งสอน เขต 1
ศธส.ถำ้ น้ำลอด สพป.แมฮ่ อ่ งสอน เขต 1
ศรร.ตาก สพป.ตาก เขต 2
ศรร.ยโสธร สพป.ยโสธร เขต 1
ศธส.หว้ ยกมุ่ สพป.ชัยภูมิ เขต 2
ศธส.ลำปาว สพป.กาฬสินธ์ุ เขต 1
ศธส.อุบลราชธานี สพป.อุบลราชธานี เขต 1
สพป.อุบลราชธานี เขต 5
3. ภาคกลาง สพป.อทุ ัยธานี ศธส.ห้วยขาแขง้ สพป.อทุ ัยธานี เขต 1
สพป.อทุ ัยธานี เขต 2
กลุม่ ท่ี 1 เขต 2 ศธส.พษิ ณุโลก สพป.พิษณโุ ลก เขต 2
ศธส.บึงบอระเพ็ด สพป.นครสวรรค์ เขต 1
4. ภาคกลาง สพป. สระบุรี ศธส.เขาน้ำพุ สพป.กาญจนบุรี เขต 1
ศธส.นครนายก สพป.นครนายก
กลุ่มที่ 2 เขต 2 ศธส.ราชบุรี สพป.ราชบุรี เขต 1
สวนสมเด็จพระนางเจา้ สริ กิ ติ ฯ์ิ สพป.กรงุ เทพมหานคร
5. ภาคกลาง สพป. ศธส.สระบรุ ี สพป. สระบุรี เขต 2
กลุ่มท่ี 3 สมทุ รปราการ ศธส.เขาสอยดาว สพป.จันทบุรี เขต 1
เขต 1 สพป.จนั ทบุรี เขต 2
ศธส.เขาเขียว สพป.ชลบรุ ี เขต 1
สพป.ชลบรุ ี เขต 3
ศรร.ประจวบครี ีขันธ์ สพป.ประจวบคีรขี นั ธ์ เขต 1
ศรร.สวนศรีนครเข่ือนขันธ์ สพป.สมทุ รปราการ เขต 1

116

ตารางที่ 4.8 (ตอ่ )

เครือข่าย ผรู้ ับผดิ ชอบ ศนู ยใ์ นเครอื ข่าย ผ้รู ับผดิ ชอบศูนย์
เชงิ พ้ืนทฯี่ เครือข่าย
6. ภาคใต้ สพป.สงขลา ศรร.หาดใหญ่ สพป.สงขลา เขต 2
กลุ่มท่ี 1 เขต 2 ศธส.หาดใหญ่ สพป.สงขลา เขต 2
ศธส.ทะเลสาบสงขลา สพป.สงขลา เขต 1
ศธส.ทะเลนอ้ ย สพป.พทั ลุง เขต 2
ศธส.นครศรธี รรมราช สพป.นครศรีธรรมราช เขต 1
สพป.นครศรีธรรมราช เขต 4
7. ภาคใต้ สพป.ภเู ก็ต ศธส.เขาทา่ เพชร สพป.สรุ าษฎรธ์ านี เขต 1
กลุ่มที่ 2 ศธส.เขาชอ่ ง สพป.ตรัง เขต 1
ศธส.เขาพระแทว สพป.ภูเกต็

เครือข่ายเชิงพื้นท่ีฯ (Rakpongprai Network: RN) มีวัตถุประสงค์การดำเนินงาน คือ
(1) ขบั เคล่อื นดำเนินงานในระดับพ้ืนท่ีให้เกิดความยัง่ ยนื (2) พัฒนาครวู ทิ ยากรของโครงการในระดับ
พื้นที่อย่างเป็นระบบ และ (3) ส่งเสริมการต่อยอดขยายผลการดำเนินงานให้สอดคล้องเหมาะสมกับ
บรบิ ทในระดับพ้นื ท่ี โดยมภี ารกิจ คือ

1) ประสานงาน วางแผนและเตรยี มการจัดค่าย รวมถงึ ขยายผลการดำเนินงานร่วมกับภาคี
เครือขา่ ย 13 หน่วยงานในระดบั พ้ืนท่ี ภายใตก้ ารบูรณาการความรว่ มมอื

2) ดำเนินการจัดการอบรมพัฒนาครูวิทยากร ตามกรอบเนื้อหาแกนกลาง โดยแต่ละ
เครือขา่ ยสามารถประยุกตใ์ ห้สอดคล้องกับบริบทไดต้ ามความเหมาะสม รายละเอียดดงั น้ี

117

ตารางท่ี 4.9 กรอบเนอื้ หาแกนกลางการอบรมพัฒนาครวู ิทยากรของเครือข่ายเชงิ พ้นื ที่ฯ

กจิ กรรม ประเด็นการพฒั นา
เพลงคา่ ย เพลงเยาวชน...รักษ์พงไพร และตน้ ไม้ของพอ่
สำนกึ ในพระมหากรุณาธคิ ณุ เป็นการเรยี นร้โู ครงการและกิจกรรมของสถาบนั
ทกั ษะชวี ิตท่ีเปน็ มิตรตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม พระมหากษัตรยิ ์
บูรณาการเน้ือหากิจกรรม ไดแ้ ก่ เรอื่ งการทำอาหาร
ดินดี พืชดี วถิ ีพอเพยี ง การจดั การขยะ วฏั จักรชวี ติ ของผลติ ภณั ฑ์ (Life Cycle
Assessment: LCA)
ขาดเธอ แลว้ ฉันจะร้สู กึ บรู ณาการเนือ้ หากิจกรรม ได้แก่ พลังสหกรณ์ บัญชี
กิจกรรมเทยี น พชื ทอ้ งถนิ่ การแปรรปู การจำหนา่ ยสินคา้ หมอ่ นไหม
บทบาทครูวทิ ยากร และการนำไป ปุ๋ยหมักและหญ้าแฝก
ประยุกต์ใชท้ โี่ รงเรยี น บรู ณาการเนอ้ื หากจิ กรรม ได้แก่ ทรัพยากรป่าไม้และสตั ว์ป่า
แนวทางการขบั เคลือ่ น สวนสตั ว์ โซ่อาหาร สายใยอาหาร และ We Grow
การตอ่ ยอดขยายผล เป็นกจิ กรรมท่สี ร้างพลัง ให้รู้สกึ และสำนึกรกั สถาบนั
พระมหากษัตริย์ และรกั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม
เนอื้ หากจิ กรรม ได้แก่ ภารกิจของครใู นการทำหน้าที่
วทิ ยากรคา่ ย การนำความรไู้ ปใช้ในโรงเรียน
การประเมนิ ผล การบนั ทึกข้อมูลในระบบ Online
ออกแบบแนวทางการขบั เคลอ่ื นและพัฒนาโครงการ
การนเิ ทศติดตามระดบั เขตพ้นื ท่ี
การพัฒนาและขยายผลในระดบั เขตพื้นท่ี เช่น ปัญหา
สิ่งแวดลอ้ มตามบรบิ ท (เพิ่มเตมิ ) เนื้อหากจิ กรรม
เปน็ รูปแบบ Project - based เพือ่ การนำไปตอ่ ยอด
ขยายผลในโรงเรยี นและชมุ ชน

3) ดำเนินการศึกษาวิจัยการดำเนินงานที่เอื้อต่อการยกระดับโครงการฯ สู่ความ
ย่ังยนื ตามความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของแตล่ ะเครือข่ายเชิงพืน้ ท่ี

4) ดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งในระดับเครือข่าย ศูนย์การเรียนรู้ หรือ
โรงเรียนในโครงการฯ ตามแนวคิดและวิธีการของเครือข่ายเชิงพื้นที่ฯ ภายใต้ความเหมาะสมและ
เออ้ื ต่อการต่อยอดขยายผล โครงการฯ สู่ความยั่งยนื

118

5) ให้แนวทาง คำแนะนำ ส่งเสริมและสนับสนุนการลงทะเบยี น การจัดทำข้อมูล
โรงเรียนการขยายผลของศูนย์ฯ และการรายงานผลของศูนย์ฯ ในเครือข่ายที่รับผิดชอบ ให้เป็นไป
อย่างมีคุณภาพ ประสิทธภิ าพ และประสิทธิผล

ข้นั ตอนที่ 3 การจดั ค่ายบรู ณาการสหวชิ าการ (Multidisciplinary Youth Camp)
เป็นการจดั กิจกรรมค่ายโดยมีรปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญในแต่ละด้านของภาคี
เครือข่าย ดำเนินการออกแบบกิจกรรมภายใต้กรอบหลักสูตรโดยบูรณาการองค์ความรู้ ทักษะ และ
เจตคติที่เกี่ยวขอ้ ง บนฐานการเรยี นรู้แบบ Active Learning เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกร่วมกันให้นักเรยี น
ได้ตระหนักในคุณค่าขององค์ความรู้ที่ได้รับ ซึ่งจัดกิจกรรมค่ายใน 31 ศูนย์การเรียนรู้ที่เป็น
แหล่งศึกษาธรรมชาติทั่วประเทศ ประกอบด้วย สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ จำนวน 1 ศูนย์
ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่า (ศธส.) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จำนวน 22 ศูนย์
และศนู ยเ์ รียนรู้เพอื่ การอนุรกั ษท์ รพั ยากรป่าไมต้ ามแนวพระราชดำริ (ศรร.) กรมปา่ ไม้ จำนวน 8 ศูนย์
ภายใต้ชื่อ ค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี” โดยมีกำหนดจัดกิจกรรมค่ายละ 3 วัน ศูนย์ละ 4 รุ่น รวม 124 ค่าย สำหรับ
เป้าหมายการจัดค่ายทั่วประเทศในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กำหนดเป็นนักเรียนช่วงชั้นที่ 2
(ประถมศกึ ษาปีที่ 4 - 6) จำนวน 60 คน ตอ่ รนุ่ รวม 7,440 คน (รายชอ่ื ศนู ยต์ ามภาคผนวก)

สำหรับกิจกรรมในค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดลอ้ ม โดยบูรณาการสาระความรู้ต่าง ๆ เพื่อใหเ้ ห็นความเช่ือมโยงของทรพั ยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อมกบั การดำเนินชีวิตของคนในท้องถน่ิ รวมทัง้ ปลกู ฝังคุณธรรม คา่ นยิ มท่ีดีงาม คุณลักษณะ
ทพ่ี ึงประสงคใ์ นการอนุรักษแ์ ละพฒั นาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม เพือ่ ให้นักเรียนมีคุณภาพ
ตามทีห่ ลักสูตรแกนกลางแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ระบุไว้ในระดับประถมศึกษา
ปที ี่ 4 - 6 ซ่งึ กำหนดคุณภาพนักเรียนดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มไว้ ดงั น้ี

1) ด้านความรู้ (Cognitive Domain) นักเรียนมีความเข้าใจโครงสร้างและ
การทำงานของระบบต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิต และความสมั พันธ์ของสิง่ มีชีวิตท่ีหลากหลายในสิ่งแวดล้อม
ที่แตกต่างกัน และรู้ผลจากการกระทำของมนุษย์ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ
การเลือกซ้ือผลติ ภัณฑ์ทีเ่ ปน็ มิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม และความรเู้ ร่อื งหม่อนไหม

2) ด้านทักษะการปฏิบัติ (Psychomotor Domain) นักเรียนสามารถนำหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ในการดำเนินชวี ติ และใชท้ กั ษะตา่ ง ๆ ในการเลือกตดั สินใจในการ
คดั แยกขยะ เลอื กผลติ และบริโภคผลิตภัณฑ์ท่เี ป็นมติ รกับส่ิงแวดลอ้ มไดอ้ ยา่ งคุ้มค่าและประหยดั

3) ด้านเจตคติ (Affective Domain) นักเรียนเห็นประโยชน์ของการอนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รวมถงึ แสดงความซาบซง้ึ ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเก่ียวกับการใช้

119

การดแู ลรกั ษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มอย่างรูค้ ุณค่า เกดิ ความตระหนักในการทำกิจกรรม
ที่จะสง่ ผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดล้อม

ในส่วนของกรอบเนื้อหาของค่าย “เยาวชน...รกั ษพ์ งไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร”ี มุ่งเนน้ กิจกรรมบรู ณาการ 3 รักษ์ (รกั ษช์ าติ รักษศ์ าสน์
รกั ษ์กษัตรยิ ์) คือ เน้อื หาหลกั ของการจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ นคา่ ย “เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลมิ พระเกียรติ
60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ที่บูรณาการองค์ความรู้ของภาคี
เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อการพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เข้าใจประโยชน์
ของธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม มีคุณธรรม และสำนึกในพระมหากรณุ าธคิ ุณ ไดแ้ ก่

1) รักษ์ชาติ คือ การดำเนินชีวิตภายใต้ระเบียบ กฎกติกาของสังคม เห็นคุณค่า
ของความรัก ความสามัคคี รักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงถิ่นกำเนิด
และถ่นิ ที่อยู่อาศยั ธำรงไวซ้ ึง่ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรม และภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ

2) รักษ์ศาสน์ คือ การประพฤติ ปฏิบัติ ภายใต้กรอบศาสนาของตนเอง นับถือ
ไม่ลบหลู่ดูหมิ่นศาสนาอื่นบนพื้นฐานของความเชื่อของแต่ละศาสนาที่สอนให้ทุกคนเป็นคนดี ใช้สติ
ในการสังเกต การส่ือสารด้วยกัลยาณมิตร แสดงออกซึ่งความรัก ความเมตตา การให้อภัย ให้โอกาส
และใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผอู้ ่นื ตามความเหมาะสม

3) รักษ์กษัตริย์ คือ ความเข้าใจในหลักคิด หลักการทรงงาน และโครงการ
ในพระราชดำริเพื่อน้อมนำไปเป็นแนวปฏิบัติในชีวิตประจำวัน รวมถึงสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ
ปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์รวมถึงเข้าใจในพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ
ของพระมหากษัตรยิ แ์ ต่ละพระองค์ที่ทรงอนรุ ักษ์และหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม

120

ภาพท่ี 4.8 รปู แบบความสัมพนั ธ์ของเยาวชนรักษพ์ งไพรและกจิ กรรมบูรณาการ 3 รกั ษ์

กิจกรรมของค่าย “เยาวชน...รักษพ์ งไพร เฉลมิ พระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” เป็นกิจกรรมที่มีความหลากหลายที่เกิดจากการออกแบบ
กิจกรรมแบบบูรณาการการเรียนรู้และองค์ความรู้ จากภาคีเครือข่าย 13 หน่วยงาน ประกอบด้วย
4 หนว่ ยการเรยี นรู้ รวม 35 ชวั่ โมง ดังนี้

ตารางที่ 4.10 โครงสร้างหลักสูตรกิจกรรมค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร”ี

หน่วยการเรยี นรู้ กจิ กรรมเรยี นรู้แบบบรู ณาการ เวลา (ชว่ั โมง)
หนว่ ยท่ี 1 สำนกึ ในพระมหากรุณาธิคณุ 7
หนว่ ยที่ 2 ดินดี พืชดี วิถีพอเพยี ง 9
หนว่ ยท่ี 3 ขาดเธอ...แลว้ ฉนั จะรูส้ กึ 10
หน่วยท่ี 4 ทักษะชวี ิตเปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม 9
35
รวม

121

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสำคัญที่สุด
ในกระบวนการเรยี นรู้ ดว้ ยการฝึกทักษะการใช้กระบวนการคดิ การวเิ คราะห์ การสังเกต การรวบรวม
ข้อมูลและการปฏิบัติจริง เรียนรู้อย่างมีความสุข แสดงออกอย่างอิสระ บรรยากาศการเรียนที่เป็น
กัลยาณมิตร โดยใหเ้ รียนรใู้ นสง่ิ ท่ีมีความหมายตอ่ ชีวติ ส่งิ ทอ่ี ยูใ่ กล้ตัว ดว้ ยการใช้แหลง่ ศึกษาธรรมชาติ
ในทอ้ งถิ่นเป็นสื่อให้นักเรยี นไดม้ ีโอกาสฝึกฝน ได้เรยี นรตู้ ามความตอ้ งการอยา่ งต่อเน่ือง เพ่ือให้ได้รับ
ประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยตนเองในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พร้อมท้ัง
ปลูกฝังสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีงาม รวมถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยมี
กรอบกิจกรรมการเรียนรู้ ดงั น้ี

ตารางที่ 4.11 กรอบกิจกรรมค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จ
พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี”

ที่ กจิ กรรม วัตถุประสงค์ ผรู้ ับผดิ ชอบ

หน่วยท่ี 1 สำนกึ ในพระมหากรุณาธคิ ณุ ศธส./ศรร.

1 สำนึกใน เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นรูส้ ึกซาบซงึ้ ในพระมหากรณุ าธิคณุ ศธส./ศรร.

พระมหากรณุ าธคิ ุณ ของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ กรมส่งเสรกิ ารเกษตร
กรมหมอ่ นไหม
2 กิจกรรมเทียน ตระหนกั และความสำคญั ของตนเองในการอนุรักษ์ กรมสง่ เสริมสหกรณ์
กรมตรวจบัญชสี หกรณ์
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม กรมพัฒนาทีด่ นิ
กรมพัฒนาทดี่ ิน
รำลึกถงึ พระมหากรุณาธิคณุ

หนว่ ยท่ี 2 ดินดี พืชดี วิถพี อเพยี ง

1 ดินดี พชื ดี วิถีพอเพียง สร้างความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ ค่าของพืชใน
ทอ้ งถิน่ และสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์
แปรรปู เพิ่มมูลค่าและนำไปจัดจำหนา่ ย

2 หญ้าแฝก พืชเพ่อื การ มจี ติ สำนกึ ตระหนกั ถงึ ความสำคญั และประโยชน์
อนุรักษด์ นิ และนำ้ ของหญ้าแฝกกับการจดั การทรพั ยากรดนิ เพ่อื การ
อนรุ กั ษ์ดนิ และนำ้

3 พระมารดาแห่งไหมไทย สำนึกในพระมหากรณุ าธิคณุ มีความรู้ความเข้าใจ กรมหมอ่ นไหม
และหมอ่ นไหมสารพัด เกย่ี วกับการนำหมอ่ น และไหมไปใช้ประโยชน์

ประโยชน์

122

ตารางที่ 4.11 (ตอ่ )

ท่ี กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ ผู้รบั ผิดชอบ
กรมตรวจบัญชี
4 บญั ชนี ำวถิ ี เหน็ ความสำคญั ของการจดั ทำบญั ชตี ามปรชั ญาของ สหกรณ์
กรมพฒั นาท่ดี ิน
สคู่ วามพอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพียง สามารถจำแนกรายการรบั รายการจา่ ย
ศธส./ศรร.
และจัดทำบัญชรี บั -จา่ ยของตนเองและครอบครัวได้ ทรู คอร์เปอเรช่ัน

5 สตู รป๋ยุ พระราชทาน มีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ประโยชน์ และสามารถ ศธส./ศรร.
ทรู คอร์เปอเรชนั่
ผลติ ปุย๋ หมักสตู รปยุ๋ พระราชทาน นำ้ หมักชวี ภาพและ ศธส./ศรร.
สพฐ.
ผลติ สารบำบดั น้ำเสยี และขจดั กล่ินเหมน็ จากขยะได้
กรมปา่ ไม้
หนว่ ยท่ี 3 ขาดเธอ...แลว้ ฉันจะร้สู กึ
กรมอทุ ยาน
1 ขาดเธอ...แลว้ ฉันจะรสู้ กึ เหน็ ความสัมพนั ธ์เช่อื มโยงของระบบนเิ วศ ตระหนักและ แหง่ ชาตฯิ
เห็นคุณค่าของการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ สัตวป์ ่า กรมอุทยาน
แหง่ ชาติฯ
และปา่ ไม้ มีทักษะในการสบื ค้นข้อมูล กรมอทุ ยาน
แหง่ ชาตฯิ
2 รบั อรณุ ยามเชา้ /ดนู ก ศึกษาธรรมชาติในยามเชา้ และเตรียมความพร้อมรา่ งกาย
กายบริหาร ก่อนรบั การเรยี นรูใ้ นแตล่ ะวนั ศธส./ศรร.

3 สวนพฤกษศาสตร์ มคี วามตระหนกั ความรคู้ วามเขา้ ใจในการอนรุ กั ษ์ สพฐ.
โรงเรยี น
ทรพั ยากรเด่นในทอ้ งถ่ิน สรา้ งจติ สำนึกในการอนรุ ักษ์ สพฐ.
4 คุณค่าทรัพยากรปา่ ไม้
พันธกุ รรมพืช
5 สร้างป่า สร้างรายได้
เห็นประโยชนข์ องตน้ ไม้และป่าไม้ มคี วามรูเ้ กยี่ วกบั ป่าไม้
ในประเทศไทย ทรัพยากรธรรมชาติเด่นในท้องถ่ิน เข้าใจ
วิธกี ารปลกู ต้นไม้และการดูแลรักษา
รู้จกั ศาสตรพ์ ระราชาสู่การพัฒนาอยา่ งย่งั ยนื
สร้างผลิตภณั ฑ์จากพืชในปา่

6 คุณค่าทรพั ยากรสัตวป์ า่ เหน็ คุณค่าของทรัพยากรสัตวป์ า่ และสัตวป์ า่ สงวน
เปน็ เครอื ขา่ ยในการชว่ ยปกป้อง

7 เรือ่ งเล่าจากปา่ ตระหนกั และเกดิ แนวคดิ ในการอนรุ กั ษ์
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมในท้องถิ่น

หนว่ ยที่ 4 ทักษะชีวิตเป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม

1 พฒั นาความคนุ้ เคย สร้างความคุ้นเคยระหว่างเยาวชน และร่วมกนั กำหนด
กติกาพ้นื ฐานของค่าย รวมทั้งขอ้ ตกลงการอย่รู ่วมกนั ในค่าย

2 ทักษะชวี ิตเป็นมิตรกบั มีความรูค้ วามเข้าใจในเรอ่ื งการจดั การขยะ ดำเนินการ
สิง่ แวดลอ้ ม ท่เี ป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อม

3 เส้นทางชวี ิตของ มคี วามร้คู วามเข้าใจในการเลอื กใชผ้ ลิตภัณฑ์
ผลิตภณั ฑ์ ในชวี ิตประจำวนั ท่ีเป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อม

123

ตารางที่ 4.11 (ตอ่ )

ที่ กจิ กรรม วตั ถุประสงค์ ผ้รู บั ผิดชอบ
4 ขยะเปล่ยี นชวี ิต สพฐ.
สรา้ งความตระหนกั เรอ่ื ง มลพิษทางสงิ่ แวดล้อม
5 เรยี นรภู้ าษาไทย มคี วามร้คู วามเข้าใจในเรื่องการจดั การขยะ ได้ฝึกทักษะ สพฐ.
กนั เถอะ กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ
มีทกั ษะการอา่ นบทร้อยกรองภาษาไทย รู้จกั ชื่อของ ศธส./ศรร.
6 ขวัญใจค่าย พรรณไม้ผ่านบทร้อยกรอง ชว่ ยรักษาหลกั ฐานในทาง สพฐ.
พฤกษศาสตร์ของชาติ
สรา้ งแรงจูงใจ เสรมิ แรงและสง่ เสรมิ วินัยเชิงบวกให้แก่
นักเรยี น

กรอบกิจกรรมการเรยี นรู้ดังกลา่ ว เปน็ การบูรณาการสหวิชาการทีเ่ ก่ียวขอ้ งจากภาคเี ครือข่าย
ที่มีความเชี่ยวชาญ ผนวกเข้ากับการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรงจากแหล่งศึกษาธรรมชาติจริง
ประกอบด้วย กิจกรรมการศึกษา สืบค้น เกี่ยวกับการอนุรักษ์แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม กิจกรรมฝึกปฏิบัติการบูรณาการอนุรักษ์แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ในชีวิตประจำวัน และกิจกรรมการประยุกต์การอนุรักษ์แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สำหรับใช้ในชีวิตประจำวนั ซงึ่ แตล่ ะพื้นท่สี ามารถปรับสาระให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับ
บรบิ ทไดต้ ามความเหมาะสม (กำหนดการกจิ กรรมคา่ ยตามภาคผนวก)

ขั้นตอนที่ 4 การขยายผลสู่ความยั่งยืน (Sustainable Generalization) เป็นการ
ดำเนนิ งานภายหลงั จากการจัดค่ายฯ ที่มุ่งเนน้ ใหค้ รูและนกั เรยี นนำองค์ความรู้ ทักษะ และเจตคติท่ีดี
ในด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไปต่อยอดในระดับโรงเรียนและชุมชน
อย่างเป็นรูปธรรม ภายใต้การส่งเสริมสนับสนุนของภาคีเครือข่ายในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิด
คุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร 3 ด้าน คือ รู้รักษา พัฒนาต่อยอด สืบทอดวิถี จนเกิดเป็นลักษณะนิสัย
โดยกำหนดให้นักเรียนเร่มิ ดำเนนิ การต่อยอดภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากผา่ นกจิ กรรมค่าย รายละเอียด
ดงั นี้

1) นักเรียน (เด่ยี วหรอื กลุ่ม) พิจารณาเลือกกจิ กรรมทีไ่ ด้เรยี นรู้จากค่าย “เยาวชน
...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี”
จำนวน 1 กิจกรรมขึ้นไป โดยพิจารณาความเหมาะสมในการต่อยอดให้สอดคล้องกับบริบท
ของโรงเรียนและพนื้ ท่ี

2) นักเรียนสร้างสรรค์และนำเสนอกิจกรรมการเรียนรู้ แนวทางการดำเนินงาน
ผลท่ีคาดวา่ จะได้รับ การตดิ ตาม วดั และประเมินผลงาน รวมถึงการรายงานผลตอ่ ครูวิทยากรและภาคี

124

เครือข่ายในที่รับผิดชอบในพื้นที่ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเติมเต็มการทำงานของนักเรียน รวมถึง
กำหนดแผนการเยีย่ มเสรมิ พลังของภาคีเครือข่าย ณ โรงเรียนในพ้นื ทีท่ ร่ี บั ผิดชอบ

3) นักเรียนมีแผนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ประยุกต์กิจกรรมตามแผน
ให้สอดคลอ้ งกบั อตั ลกั ษณท์ อ้ งถนิ่ และบรบิ ทโรงเรยี น

4) นักเรยี นดำเนินการต่อยอดกิจกรรมการเรยี นรู้อยา่ งเปน็ รูปธรรม
5) ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ร่วมเป็นพี่เลี้ยงให้แก่นักเรียนในการต่อยอดขยายผล
พร้อมส่งเสริมสนับสนุนองค์ความรู้และทรัพยากรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพี่อให้เกิดความยั่งยืนในการ
อนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มในท้องถ่นิ ตามเป้าประสงค์โครงการ
การประเมินผลแนวทาง
การประเมินผลแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ใช้แบบประเมินผล จำนวน 6 ชุด ได้แก่ ชุดที่ 1 แบบประเมินความพึงพอใจ
ต่อแนวทาง ชุดที่ 2 แบบประเมินความพึงพอใจต่อกิจกรรมค่ายของนักเรียน ชุดที่ 3 แบบประเมิน
ความสามารถจัดกิจกรรมตามแนวทางของครูวิทยากร ชุดที่ 4 แบบประเมินคุณลักษณะเยาวชน
รักษ์พงไพร ชุดที่ 5 แบบประเมินคุณภาพของแนวทางเชิงประจักษ์ และชุดที่ 6 แบบประเมิน
การขยายผลส่คู วามยงั่ ยนื ซ่งึ เปน็ การประเมนิ ผลและคุณภาพตามเปา้ ประสงค์ของแนวทาง
โดยสรุป แนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ถือเป็นการสร้างและแสวงหาความรู้ รวมถึงแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกนั ของภาคี
เครือข่าย เกี่ยวกับการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม โดยร่วมกันจัดการความรู้ให้เป็น
ระบบ ประมวลและกลั่นกรองความรู้ เพื่อให้นักเรียนและผู้เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงความรู้ เกิดการ
แบ่งปันความรู้ และสามารถนำไปต่อยอดกิจกรรมได้ในโรงเรียนและชุมชน ผ่านกระบวนการหรือ
วิธีการนำความรูเ้ ก่ียวกับการอนรุ กั ษแ์ หลง่ เรยี นรู้ทางธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และกระบวนการหรือ
วิธีการที่ทำให้นักเรียนเกิดความสำนึกเคารพรักในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ เพื่อให้
นักเรยี นความสำนึกรบั ผิดชอบในการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม สามารถพึ่งพาอาศัย
กันได้อย่างสมดุล พร้อมทั้งใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุดและยั่งยืน โดยมีรูปแบบ
ค ว า ม ส ั ม พ ั น ธ ์ ข อ ง แ น ว ท า ง ก า ร เ ส ร ิ ม ส ร ้ า ง ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ เ ย า ว ช น ร ั ก ษ ์ พ ง ไ พ ร เ พ ื ่ อ ก า ร อ น ุ ร ักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน เรียกวา่ ตน้ รกั ษ์ (RAK) ดงั ภาพท่ี 4.9

125

ภาพที่ 4.9 ตน้ รกั ษ์ (RAK) : รปู แบบความสัมพันธ์ของแนวทางการเสริมสร้างคณุ ลักษณะเยาวชน
รกั ษ์พงไพรเพอ่ื การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมของโรงเรียนระดับ
ประถมศึกษา สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
ผลการดำเนินการในขั้นตอนการออกแบบและพัฒนา ทำให้ได้แนวทางการเสริมสร้าง

คณุ ลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพือ่ การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มของโรงเรียนระดับ
ประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ฉบับทดลองภาคสนาม) และ
เอกสารประกอบแนวทาง ได้แก่ คู่มือครูวิทยากรเพื่อการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
และค่มู อื เยาวชนรักษ์พงไพร ท่ีมคี วามถูกตอ้ งและสอดคลอ้ งเหมาะสมของเน้ือหาสาระ มคี วามเป็นไปได้
ในการนำไปใชเ้ สรมิ สร้างคณุ ลกั ษณะของนกั เรียน มีความสอดคลอ้ งของนโยบายการพัฒนาการศึกษา
และเปน็ ประโยชน์ตามวัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย รวมถงึ เครอื่ งมอื ประเมินผลการใช้แนวทางมีคุณภาพ
เหมาะสมและพร้อมสำหรบั นำไปทดลองใช้ภาคสนามในขั้นตอนตอ่ ไป
ตอนที่ 3 ผลการทดลองใช้แนวทางการเสริมสร้างคณุ ลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพรเพ่ือการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

ผลการดำเนินงานในขั้นตอนนี้ คือ ผลการทดลองใช้แนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะ
เยาวชนรักษ์พงไพรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระดับ
ประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาคสนามกับกลุ่มเป้าหมาย
มีวัตถุประสงค์เพ่อื ศึกษาผลการทดลองใชแ้ นวทาง เก่ียวกบั ความพึงพอใจต่อแนวทาง ความพึงพอใจ

126

ต่อกิจกรรมค่ายของนักเรียน ความสามารถในการจัดกิจกรรมของครูวิทยากรจากการใช้แนวทาง
คุณลักษณะของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมตามแนวทาง คุณภาพของแนวทางเชิงประจักษ์ และ
การขยายผลสู่ความยั่งยืน ซึ่งผู้วิจัยเริ่มต้นโดยดำเนินการประชุมเตรียมความพร้อมร่วมกับวิทยากร
ภาคีเครือข่าย ครวู ทิ ยากร ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการระดบั สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา และคณะทำงาน
โครงการ ในการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาหลักสูตรโครงการค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร
เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี” ปีที่ 5 พ.ศ. 2562
ใหส้ อดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี ระหวา่ งวนั ท่ี 17 - 20 มกราคม พ.ศ. 2562 ณ อุทยานแห่งชาติ
เอราวัณ จังหวัดกาญจนบุรี เพือ่ สร้างความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั แนวทางและการทดลองใช้แนวทาง
รวมถึงการเตรียมการและทรัพยากร บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ และภาพความสำเร็จร่วมกัน
ในการดำเนินงาน จากนั้นจึงดำเนินการทดลองภาคสนามตามขั้นตอนการเสริมสร้างคุณลักษณะ
เยาวชนรักษ์พงไพร 4 ขั้นตอน มีผลการทดลอง ดงั นี้

1. ข้ันตอนการสานสัมพันธ์เครอื ขา่ ย (Network Engagement)
ดำเนนิ การการบูรณาการความรว่ มมือในการเสรมิ สร้างคุณลักษณะเยาวชนรักษ์พงไพร
ตัง้ แตก่ ารรว่ มกำหนดวสิ ัยทัศน์ รว่ มพฒั นากจิ กรรมการเรยี นรู้ ร่วมแลกเปลีย่ นแบ่งปนั องค์ความรู้และ
ทรพั ยากร ภายใต้การทำงานแบบร่วมมือร่วมใจของภาคีเครอื ข่าย โดยดำเนนิ การจำนวน 2 ครัง้ ไดแ้ ก่
ครั้งที่ 1 ในการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาหลักสูตรโครงการค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร
เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ปีที่ 5 พ.ศ. 2562
ให้สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี ระหวา่ งวนั ที่ 17 - 20 มกราคม พ.ศ. 2562 ณ อทุ ยานแหง่ ชาติ
เอราวัณ จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งมีการร่วมกันทบทวนและพัฒนาหลักสูตรโครงการ ร่วมพัฒนาและ
ฝึกปฏิบัติการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ให้มีประสิทธิภาพ ร่วมลงพื้นที่เพือ่ ศึกษาสภาพจรงิ
ของแหล่งเรียนรู้และความพร้อมในการจัดค่าย ณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่า (ศธส.) เขาน้ำพุ
จังหวัดกาญจนบรุ ี พร้อมท้ังรว่ มกันพัฒนาแนวทางการตอ่ ยอดขยายผลสู่ห้องเรยี นและชุมชนเพอ่ื ความ
ยั่งยืน และครั้งที่ 2 ในการประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนโครงการค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร
เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ประจำปี พ.ศ. 2562
ระหว่างวันที่ 20 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ณ โรงแรมกานต์มณี พาเลซ กรุงเทพมหานคร
โดยมุ่งเนน้ การเสริมสร้างเอกภาพในการดำเนนิ งาน การใชง้ านระบบข้อมลู สารสนเทศเพ่อื การจัดการ
ความรู้โครงการผ่านทาง rakpongprai.innoobec.com มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเพิ่มพูน
องค์ความรู้ ทักษะ นำเสนอผลการดำเนินงานของภาคีเครือข่ายและความคืบหน้าการดำเนินงาน
โครงการ รวมถึงร่วมกันพัฒนารายละเอียดของงานให้สมบูรณ์ โดยจากการสานสัมพันธ์เครือข่าย
ดังกล่าว ได้มแี นวคิด (Slogan) ในการดำเนินงานรว่ มกันคือ “สร้างจติ สำนึก รักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์

127

ปลูกฝังการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แบบ Active Learning เรียนรู้จริงจากป่า
สหู่ อ้ งเรียนและชมุ ชน เพื่อการพฒั นาทีย่ ่งั ยนื ”

ภาพที่ 4.10 การทดลองแนวทางในข้นั ตอนการสานสัมพันธ์เครอื ข่าย
2. ขน้ั ตอนการจดั การเครอื ข่ายผูเ้ ชีย่ วชาญเชงิ พน้ื ที่ (Expertise Management)
ดำเนินการบริหารจัดการบริบทเชิงพื้นที่ เน้นการพัฒนาโดยผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ
จากภาคเี ครอื ขา่ ย เขา้ มามีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชนรกั ษ์พงไพร มุง่ เน้นความเป็น
เอกลักษณ์เชิงพื้นที่ของแต่ละแห่ง โดยเครือข่ายเชิงพื้นที่ (Rakpongprai Network: RN) เพื่อการ
พัฒนาโครงการค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี” สู่ความยั่งยืน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างวันที่ 10 - 14 มีนาคม พ.ศ. 2562
ณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่า (ศธส.) ห้วยกุ่ม จังหวัดชัยภูมิ เพื่อยกระดับครูวิทยากรและ
วทิ ยากรภาคเี ครอื ข่าย เสริมสรา้ งความเขม้ แข็งระหว่างกลมุ่ ภาคีเครอื ข่ายในพ้ืนท่ี ดว้ ยการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ทั้งในระดับเครือข่าย ศูนย์การเรียนรู้ และโรงเรียนในโครงการ ตามแนวคิดและวิธีการ
ของเครือข่ายเชิงพื้นที่ ผู้เข้าร่วมประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบโครงการระดับสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา จำนวน 5 คน ได้แก่ สพป.ยโสธร เขต 1 สพป.ชัยภูมิ เขต 2 สพป.กาฬสินธุ์ เขต 1 สพป.
อุบลราชธานี เขต 1 และสพป.อุบลราชธานี เขต 5 ครูวิทยากร จำนวน 80 คน วิทยากรภาคีเครอื ข่าย

128

(วทิ ยากรประจำศูนย์การเรียนรู้และวิทยากรภาคีเครือข่ายในพ้ืนท่ี) จำนวน 50 คน ไดแ้ ก่ ศรร.ยโสธร
ศธส.ห้วยกุ่ม ศธส.ลำปาว และ ศธส.อุบลราชธานี รวมจำนวนทั้งสิ้น 135 คน โดยมีการฝึกอบรม
เชิงปฏิบัติการตามหน่วยการเรยี นรขู้ องกิจกรรมคา่ ย เช่น สำนึกในพระมหากรุณาธคิ ุณ การบรู ณาการ
องค์ความรู้จาก 5 กรม ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า และระบบนิเวศ
ทักษะชีวิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และกิจกรรมเทียนเพื่อสร้างจิตสำนึก เป็นต้น โดยเรียนรู้
แบบ Active Learning ในทุกกิจกรรมและทุกกระบวนการ พร้อมทั้งเพิ่มเติมการฝึกปฏิบัติกิจกรรม
Nature game เพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับกิจกรรมหลักได้อย่างหลากหลายและน่าสนใจ
มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ได้มีการสร้างความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่และภารกิจของครูวิทยากรและ
วิทยากรภาคีเครือข่าย แนวทางการขับเคลื่อนและพัฒนาโครงการระดับเครือข่ายเชิงพื้นที่และ
ระดับประเทศ การนิเทศติดตามและประเมินผล การบันทึกข้อมูลและจัดการความรู้ในระบบ
สารสนเทศออนไลน์ รวมถึงการออกแบบการขยายผลดว้ ย Project-based Learning เพื่อการนำไป
ตอ่ ยอดในโรงเรยี นและชุมชนได้อย่างสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและบรบิ ทพน้ื ท่ี

ภาพท่ี 4.11 การทดลองแนวทางในข้นั ตอนการจัดการเครอื ข่ายผเู้ ชี่ยวชาญเชงิ พ้ืนท่ี
3. ขนั้ ตอนการจดั คา่ ยบูรณาการสหวชิ าการ (Multidisciplinary Youth Camp)
ดำเนนิ การจดั คา่ ย “เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกยี รติ 60 พรรษา สมเดจ็ พระเทพ

รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ในพื้นที่รับผิดชอบของเครือข่ายเชิงพื้นที่ (Rakpongprai
Network: RN) เพื่อการพัฒนาโครงการค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา
สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร”ี สคู่ วามยง่ั ยนื ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ จำนวน

129

6 ค่าย ใน 2 ศูนย์การเรียนรู้ แบ่งเป็น 1) ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่า (ศธส.) ห้วยกุ่ม จังหวัด
ชัยภมู ิ (สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2 เปน็ ผู้รับผิดชอบ) จำนวน 4 ค่าย ได้แก่ คา่ ยรุน่ ที่ 1 วันที่ 25 - 27 มีนาคม
พ.ศ. 2562 ค่ายร่นุ ท่ี 2 วนั ที่ 29 - 31 มีนาคม 2562 ค่ายรุน่ ท่ี 3 วันท่ี 3-5 เมษายน พ.ศ. 2562 และค่าย
รุ่นที่ 4 วันที่ 7 - 9 เมษายน พ.ศ. 2562 และ 2) ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่า (ศธส.) ลำปาว
จังหวัดกาฬสินธุ์ (สพป.กาฬสินธุ์ เขต 1 เป็นผู้รบั ผิดชอบ) จำนวน 2 คา่ ย ได้แก่ ค่ายรุน่ ท่ี 1 วนั ท่ี 27 - 29
มนี าคม พ.ศ. 2562 และค่ายรุน่ ท่ี 2 วันที่ 2 - 4 เมษายน พ.ศ. 2562 มนี กั เรยี นระดับชั้นประถมศกึ ษา
ปที ่ี 4 - 5 เข้าร่วมคา่ ยละ 60 คน รวมจำนวน 360 คน โดยเรยี นรู้อย่างสนกุ และมีความสุขจากผู้เชี่ยวชาญ
ในแต่ละด้านของภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ภายใต้หน่วยการเรียนรู้ที่บูรณาการองค์ความรู้ ทักษะ และ
เจตคตทิ เี่ กี่ยวขอ้ ง รวมถงึ กรอบเนื้อหากิจกรรมบูรณาการ 3 รกั ษ์ (รักษ์ชาติ รักษ์ศาสน์ รักษ์กษัตริย์)
เพ่อื การพัฒนานกั เรียนใหม้ ีคณุ ลักษณะเยาวชนรกั ษพ์ งไพร ประกอบดว้ ย รูร้ กั ษา พฒั นาต่อยอด และ
สืบทอดวิถี กล่าวคือ นักเรียนมีความตระหนักความรูแ้ ละเข้าใจถึงประโยชน์ของทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม และสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน
ชวี ติ ประจำวนั รวมถงึ ต่อยอดสโู่ รงเรียน ชมุ ชนและครอบครวั ได้

ภาพท่ี 4.12 การทดลองแนวทางในขั้นตอนการจดั คา่ ยบูรณาการสหวิชาการ

130

4. ข้ันตอนการขยายผลสู่ความย่งั ยืน (Sustainable Generalization)
ดำเนินการส่งเสริมให้นักเรียนทีผ่ ่านกิจกรรมค่าย จากศูนยศ์ ึกษาธรรมชาตแิ ละสตั ว์ปา่
(ศธส.) ห้วยกุ่ม จังหวัดชัยภูมิ (สพป.ชัยภูมิ เขต 2 เป็นผู้รับผิดชอบ) จำนวน 4 ค่าย และศูนย์ศึกษา
ธรรมชาติและสัตว์ป่า (ศธส.) ลำปาว จังหวัดกาฬสินธุ์ (สพป.กาฬสินธุ์ เขต 1 เป็นผู้รับผิดชอบ)
จำนวน 2 ค่าย ไปขยายผลในลักษณะ Project Based Learning ทั้งแบบเป็นกลุ่มหรือรายบุคคล
ด้วยการนำองคค์ วามรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในด้านการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ไปต่อยอดในระดับโรงเรียนและชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม บูรณาการกับการจัดการเรียนการสอน
หลักสตู รสถานศกึ ษา และกิจกรรมเสริมการเรยี นรู้ของโรงเรียน โดยเริม่ ดำเนนิ การภายใน 2 สัปดาห์
หลังจากผ่านกิจกรรมค่าย ภายใต้การส่งเสริมสนับสนุนของเครือข่ายเชิงพื้นที่ (Rakpongprai
Network: RN) เพื่อการพัฒนาโครงการค่าย “เยาวชน...รักษ์พงไพร เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” สู่ความยั่งยืน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
อยา่ งต่อเนอ่ื ง โดยมกี ารตดิ ตามผลการต่อยอดกิจกรรมดงั กล่าว ในพ้นื ทีร่ ับผิดชอบของสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 จำนวน 20 โรงเรียน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษากาฬสินธ์ุ เขต 1 จำนวน 10 โรงเรยี น รวมจำนวน 30 โรงเรยี น ซง่ึ มกี ารจดั กจิ กรรมสรุป
องค์ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะทไ่ี ด้รับจากการเขา้ รว่ มกิจกรรมค่าย การวางแผนกำหนดกิจกรรม
และแนวทางในการขยายผลรว่ มกันระหวา่ งครแู ละนักเรียน รวมถึงการเยย่ี มเสริมพลงั จากผรู้ ับผิดชอบ
โครงการระดับสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาและภาคีเครือขา่ ยในพื้นท่ี ที่มุ่งให้องคค์ วามรู้ทีเ่ กี่ยวข้อง
เพิ่มเติม สนับสนุนอปุ กรณ์ และให้กำลังใจในการดำเนินงาน พร้อมทัง้ นำผลจากการต่อยอดดังกล่าว
ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้องในเครือข่าย เพื่อให้เกิดการเสริมสร้างคุณลักษณะ
เยาวชนรกั ษพ์ งไพร ท้งั 3 ดา้ น คือ รูร้ ักษา พฒั นาต่อยอด สืบทอดวถิ ี จนกลายเป็นลักษณะนิสัยและ
วถิ ีชีวิต ส่กู ารพฒั นาทยี่ ัง่ ยืนตามเป้าประสงคโ์ ครงการ

131

ภาพที่ 4.13 การทดลองแนวทางในขนั้ ตอนการขยายผลสู่ความย่ังยนื (Sustainable Generalization)

ผลการวิเคราะห์ข้อมลู จากแบบประเมินผลแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะเยาวชน
รกั ษ์พงไพรเพ่ือการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมของโรงเรยี นระดับประถมศึกษา สังกัด
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน รายละเอยี ด ดังนี้

1. ผลการวิเคราะห์จากแบบประเมนิ ความพึงพอใจตอ่ แนวทางของผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ
ระดับสำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา ครูวิทยากร และวทิ ยากรภาคีเครือข่าย (วทิ ยากรประจำศูนย์การ
เรยี นรแู้ ละวทิ ยากรภาคีเครอื ข่ายในพ้ืนท)ี่ ดังตารางท่ี 4.12 ถึง 4.17

ตารางที่ 4.12 ข้อมูลจำนวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบประเมนิ ความพึงพอใจตอ่ แนวทาง

ผตู้ อบแบบประเมนิ จำนวน (คน) รอ้ ยละ
ผู้รับผดิ ชอบโครงการระดบั สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา 5 3.70
ครูวิทยากร 80 59.26
วิทยากรประจำศูนย์การเรียนรู้ 20 14.82
วทิ ยากรภาคีเครือข่ายในพ้นื ท่ี 30 22.22
135 100.00
รวม

132

จากตารางที่ 4.12 พบว่า ผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจต่อแนวทางมากที่สุด
เปน็ ครูวิทยากร จำนวน 80 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 59.26 รองลงมาไดแ้ ก่ วิทยากรภาคเี ครือข่ายในพื้นท่ี
จำนวน 30 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 22.22 วทิ ยากรประจำศูนย์การเรียนรู้ จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ
14.82 และผู้รับผิดชอบโครงการระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ
3.70 ตามลำดบั

ตารางที่ 4.13 คา่ เฉลี่ย สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจต่อแนวทางของผู้รับผิดชอบ
โครงการระดบั สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา ครูวทิ ยากร และวิทยากรภาคเี ครือขา่ ย ในภาพรวม

รายการ (n = 135)
x̄ S.D ระดับ
1. ด้านการบรหิ ารจัดการและการเตรยี มความพร้อม 4.61 0.29 มากทส่ี ดุ
2. ดา้ นเนือ้ หา 4.65 0.21 มากท่ีสดุ
3. ด้านกระบวนการ 4.71 0.19 มากทสี่ ดุ
4. ด้านผลลัพธ์ 4.64 0.24 มากทส่ี ุด
4.65 0.13 มากทีส่ ุด
รวม

จากตารางที่ 4.13 พบว่า ในภาพรวมความพึงพอใจต่อแนวทางของผู้รับผิดชอบ
โครงการระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ครูวิทยากร และวิทยากรภาคีเครือข่าย อยู่ในระดับ
มากที่สุด (x̄ = 4.65, S.D. = 0.13) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านกระบวนการ มีผลการประเมิน
มากที่สุด (x̄ = 4.71, S.D. = 0.19) รองลงมาคือ ด้านเนื้อหา (x̄ = 4.65, S.D. = 0.21) ด้านผลลัพธ์
(x̄ = 4.64, S.D. = 0.24) และด้านการบรหิ ารจดั การและการเตรียมความพรอ้ ม (x̄ = 4.61, S.D. = 0.29)
ตามลำดบั

133

ตารางท่ี 4.14 คา่ เฉล่ยี สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจต่อแนวทางของผู้รับผิดชอบ
โครงการระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ครูวิทยากร และวิทยากรภาคีเครือข่าย ในด้าน
การบริหารจดั การและการเตรียมความพร้อม

รายการ (n = 135)
x̄ S.D ระดับ
1. เป้าหมายและทศิ ทางปฏิบตั ิชดั เจน สามารถบรรลุไดง้ า่ ยขึน้ 4.76 0.43 มากที่สดุ
2. แผนงานชดั เจน ภารกิจการพัฒนาสอดคล้องเหมาะสม 4.54 0.50 มากทสี่ ดุ
3. บทบาทของภาคีเครอื ขา่ ยและผเู้ ก่ยี วข้องมีความเหมาะสม
4.51 0.64 มากทีส่ ดุ
และมสี ่วนรว่ มในทุกขนั้ ตอน 4.58 0.51 มากทส่ี ดุ
4. กำหนดการและระยะเวลาดำเนินงานมคี วามเหมาะสม 4.57 0.53 มากทส่ี ดุ
5. การตดิ ตอ่ ประสานงานทกุ ขนั้ ตอนสะดวก รวดเร็ว ชัดเจน 4.65 0.49 มากทส่ี ดุ
6. สถานที่ดำเนินงานและจัดกจิ กรรมสะดวก เหมาะสม
7. วสั ดุ อุปกรณ์ ส่อื และเทคโนโลยีสารสนเทศในการ 4.64 0.51 มากที่สดุ
4.61 0.29 มากท่สี ุด
ดำเนินงาน และจดั กิจกรรมครบถว้ น ทนั สมยั
รวม

จากตารางที่ 4.14 พบว่า ในภาพรวมความพึงพอใจต่อแนวทาง ของผู้รับผิดชอบ
โครงการระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ครูวิทยากร และวิทยากรภาคีเครือข่าย ในด้านการ
บรหิ ารจดั การและการเตรยี มความพรอ้ ม อย่ใู นระดับมากที่สุด (x̄ = 4.61, S.D. = 0.29) เม่ือพิจารณา
เป็นรายข้อ พบว่า เป้าหมายและทิศทางปฏิบัติชัดเจน สามารถบรรลุได้ง่ายขึ้น มีผลการประเมิน
มากทีส่ ุด (x̄ = 4.76, S.D. = 0.43) รองลงมาคือ สถานท่ดี ำเนินงานและจัดกิจกรรมสะดวก เหมาะสม
(x̄ = 4.65, S.D. = 0.49) และวัสดุ อุปกรณ์ สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศในการดำเนินงานและ
จัดกิจกรรมครบถว้ น ทันสมยั (x̄ = 4.64, S.D. = 0.51) ตามลำดบั


Click to View FlipBook Version