www.kalyanamitra.org www.webkal.org
www.kalyanamitra.orgwww.webkal.org
- .....- - ...... V
แ เใไป รเโน เ^
ลิขสทิ ธ มลู นธิ ิธรรมกาย
คณะผ้จู ดั ทำ กองวชิ าการ อาศรมบัณฑติ
ISBN 974-91480-3-7
พมิ พ์คร้งั ท่ี ๑
จันท่พี มิ พ์ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๙๖
จำนวนพิมพ์ ๔๓,๐๐๐ เล่ม
จดั พิมพ์และ ชมรมพุทธศาสตรส์ ากล
เผยแพร่โดย ในอปุ ถัมภส์ มเดจ็ พระมหารัชมังคลาจารย์
๒๓/๒ หมู่ ๗ ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี
๑๒๑๒๐
โทร. ๐-๒๘๓๑-๒๗๐๔-๗
โทรสาร ๐-๒๘๓๑-๒๗๐๘
http://www.ibscenter.net
http://www.exam2you.com
จำนวนหนา้ ๒๔๘ หนา้
พิมพท์ ่ี บริษัท เชอรก่ี ราฟหเิ ค ๑๙๙๑ จำกดั โทร.๐-๒๖๙๑-๘๘๒๑-๒
๔๓๑1๔๓๓, ๔๓๔, ๔๓๗ ซ.อินทามระ ๓๓ ถ.สุทธสิ าร
แขวงดนิ แดง เขตดนิ แดง กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐
ราคา ๑๔๐ บาท
คานา
ในฐานะทค่ี ณะผู้จดั ทำหนังสอื น้ี มีสว่ นเปน็ เจ้าของประเทศเช่น
เดยี วกบั คนไทยทกุ คน จงึ ตอ้ งมีความสำนึกรบั ผดิ ชอบรว่ มกบั คนไทยท้งั
แผ่นดนิ และรัฐบาล ไม่ว่าใครจะมาเป็นรัฐบาล และนายกรัฐมนตรกี ต็ าม
นอกจากนเี้ ราไม่เคยมีความคดิ ว่าประชาชนมสี ทิ ธแิ ต่จะเรียกรอ้ งให้รัฐบาล
ทำอยา่ งน้ันอย่างนี้ เพ่อื ประชาชนแตเ่ พียงฝ่ายเดยี ว แตค่ ดิ อยู่เสมอวา่
นอกจากการเป็นพลเมอื งดีตามกฎหมายรัฐธรรมนูญแลว้ ถา้ ประชาชน
จะมีสว่ นชว่ ยรัฐบาล ทำในส่ิงทีเ่ ปน็ ประโยชนั1หแ้ ก่ชาดบิ า้ นเมืองตาม
ศักยภาพของตนต้วย ก็ควรจะกระทำ
เราไต้คดิ ตามการบรหิ ารบ้านเมืองของรฐั บาลตลอดระยะเวลาท่ี
ผ่านมานี้ กไ็ ตเ้ หน็ ว่ารัฐบาลมนี โยบายในการบรหิ ารบา้ นเมืองอย่างมี
วิสัยทศั น์กวา้ งไกล โดยมองทุกเรื่องในสกั ษณะองคร์ วม มใิ ชม่ องเฉพาะ
เรอ่ื ง และเลง็ ผลระยะยาวไปถึงอนาคต ดงั นัน้ การบริหารจัดการของรัฐบาล
จึงเข้าลักษณะปฏิรูป และพัฒนาทุกๆเร่ืองกว็ า่ ไต้ ซงึ่ สอดคลอ้ งตาม
แทไฟa่ |Xttl^
หลักธรรมในพระพุทธศาสนา
การบรหิ ารจัดการของรฐั บาลทเี่ รา และประชาชนเหน็ เปน็
รปู ธรรมกค็ ือ การฟ้นตัวของเศรษฐกจิ อย่างรวดเร็วเกินคาด ซงึ่ มผี ลให้
ประชาชนในระตับรากหญา้ กินดอี ยดู่ ขี ้นึ มคี วามหวังในชีวติ มากข้นึ และ
ท่สี ำคัญคอื ประชาชนสว่ นใหญม่ ีความมัน่ ใจว่า รัฐบาลจะสามารถแก้ปัญหา
วกิ ฤตตา่ งๆของชาติ ท่หี มกั หมมมานานไดส้ ำเร็จดว้ ยดีทกุ ๆ ดา้ น ซ่งึ จะมี
ผลใหป้ ระเทศชาตขิ องเรา ก้าวไปสู่ความเจรญิ รุ่งเรอื งเทียมไหล่เทียม
บา่ ลบั นานาประเทศ ถงึ ข้ันที่จะพูดคุยตอ่ รองในเรื่องผลประโยชนข์ องชาติ
บนเวทีโลก อย่างมสี ิทธิเท่าเทียมลนั
อยา่ งไรกต็ ามเราเหน็ ว่าปญั หาวิกฤตต่าง ๆ ของชาตทิ ห่ี มกั หมม
ลันมานานจนถึงขณะนเี้ ป็นปัญหาเร่ืองคน คอื คนสว่ นใหญใ่ นชาติ มีความ
เหน็ เป็นมจิ ฉาทฏี ฐคิ วามเห็นมิจฉาทฏี ฐขิ องคนในชาตจิ ะเหน็ ไดจ้ ากการ
แสดงพฤตกิ รรมท่ีไม่ถูกตอ้ งทำนองคลองธรรม มีการประพฤตผิ ดิ ศีลลนั
โดยท่ัวไป เชน่ การคอรปั ช่ัน การล้างผลาญชวี ิตลัน การทำตัวเป็นผมู้ ี
อทิ ธพิ ล ลักษณะนิสยั ท่จี มอยู่ลบั อบายมุขทุกๆเร่อื ง ทัง้ เดก็ และผใู้ หญฺ ่ ฯลฯ
การแกป้ ัญหาเรือ่ งคนให้ลัมฤทธผิ ลจรงิ จึงจำเปน็ ตอ้ งแกห้ ลาย ๆ
ดา้ นพรอ้ มลัน การแก้ไขที่สำคญั ย่งิ อยา่ งหน่งึ ก็คอื การสรา้ งภูมิตุ้มลัน
ดๅ้ นจิตใจใหแ้ ก่.ผคู้ นในบา้ นเมอื ง
ธรรมชาติของคนเราน้ันประกอบดว้ ยกายลับใจ กา้ ร่างกายมีภมู ิ
ตุ้มลนั โรคดี ร่างกายคนเราก็สมบูรณแ์ ข็งแรง โรคาพยาธกิ ็ไม่มาแผว้ พาน
ในดา้ นจติ ใจก็เช่นเดยี วลัน ถ้าใจคนเรามภี ูมติ ้มุ ลันดี กเิ ลสคอื ความโลภ
I f I T ไilagtuL^I
ความโกรธ ความหลง ก็ไม่สามารถเข้าครอบงำจิตใจได้
การท่ผี คู้ นโดยทวั่ ไปในบ้านเมอื งมีความเห็นเป็นมิจฉาทฏิ ฐแิ สดง
พฤติกรรมทศุ ลี กนั เนอื ง ๆ กเ็ พราะพวกเขาขาดภูมิคมุ้ กันจติ ใจ
ดงั นน้ั พวกเราจงึ มิความเหน็ ว่า การแกบ้ ้ญหาเรอ่ื งคนใหไ้ ดผ้ ล
ยั่งยนื จำเป็นต้องมุ่งพัฒนาภูมิค้มุ กันจติ ใจเปน็ สำคญั และจำเป็นต้อง
กระทำพร้อมกันไปกบั การแกบ้ ญ้ หาดา้ นอืน่ ๆ ดว้ ย การแก้บญ้ หาด้วยการ
บงั คับไข้กฎหมาย ตลอดจนการพฒั นาอาชีพ และการหาแหลง่ เงินก้ยืม
ใหแ้ กป่ ระชาชน โดยขาดการสรา้ งภมู ิคมุ้ กนั จิตใจให้นัน้ อาจจะได้ผลไม่
ยงั่ ยืน
อน่งึ เคยมีเรือ่ งราวปรากฏในประวํติศาสตร์ชาติไทย และประวเ่ ติ
ศาสตร์ในหลายๆ ประเทศมาแลว้ ว่า คราใดท่ปี ระเทศชาตเิ จริญรุ่งเรอื ง
ด้านเศรษฐกิจ ประชาชนในชาตกิ จ็ ะมีความเปน็ อยอู่ ยา่ งฟงั เฟอ้ ฟมุ เหเื อย
สุรุ่ยสุรา่ ย เหนิ หา่ งจากการศึกษาและปฏิบ้ติธรรมมากข้ึน แลว้ พากนั หัน
เข้าหาความร่ืนเริงบันเทงิ ใจ ในดา้ นอบายมขุ ต่างๆ เม่ืออบายมุขครอง
เมือง โดยไมไ่ ด้รับการแก้ไขอยา่ งถ่กู ดอ้ ง และหันเวลา ชาติบา้ นเมอื งก็
ถึงกับล่มสลาย ดงั เคยปรากฏมาแลว้ ในอดีต
สำหรับประเทศไทยในบจ้ จุบันในเบ้อื งดน้ อบายมุขอาจเป็นเพยี ง
เร่อื งของการพักผ่อนหย่อนใจ แต่ครั้นนานไปก็จะกลายเปน็ ธุรกิจข้ึนมา
สำหรบั ผปู้ ระกอบการ และเป็นการเสพคนุ้ ของผู้รบั บริการ ตอ่ จากนัน้
บ้ญหาตา่ งๆ ทผ่ี ดิ กฎหมาย ผดิ ศลี ธรรมกจ็ ะประดังเขา้ มา ดงั ทร่ี ัฐบาล
ต้องเหนด็ เหน่อื ยจดั ระเบียบสังคมกนั อย่ทกวันน้ี
I l l ไไปa£๒1^
เราในฐานะท่ีศึกษา และปฏบิ ติธรรมกันมาพอสมควร เลง็ เหน็ วา่
ถา้ รัฐบาลมโี ครงการสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ดา้ นจิตใจให้แก่ประชาชนพรอ้ มๆ กบั
โครงการสร้างภมู คิ ุ้มกนั ร่างกาย และโครงการอ่นื ๆ อีกมากมาย การปฏริ ูป
และพัฒนาประเทศชาตขิ องรัฐบาล กจ็ ะสมั ฤทธิผล ดังทีว่ าดฝนั ทกุ ประการ
ซึ่งมีใชเ่ ฉพาะฝนั ของรัฐบาลเท่านัน้ แตย่ งั เปน็ ฝันของประชาชนทั้งชาติ
ร่วมกนั อกี ด้วย
ดว้ ยเหตนุ เี้ ราจงึ ได้ชว่ ยกนั รวบรวมพระธรรมเทศนาของพระเดช
พระคุณพระภาวนาวริ ิยคณุ (เผดจ็ ทัดตซีโ'ว) เกยี่ วกับการสร้างภูมิคมุ้ กัน
จิตใจ ซ่งึ พระเดชพระคณุ ไดแ้ สดงไวในโอกาสตา่ งๆ หลายครง้ั มาเรยี บเรียง
เป็นหนังสือ “เขา้ ไปอยใู่ นใจ” เลม่ น้ี เพือ่ เป็นแนวทางสร้างภมู ิค้มุ กันจติ ใจ
ที่ยงั บริสุทธิให้มีประสทิ ธภิ าพต่อตา้ นมิจฉาทิฏฐิ ขณะเดียวกันกเ็ ปน็
เคร่อื งมอื ปลดเปล้ืองมจิ ฉาทิฏฐิ ที่กำลังออกฤทธอิ้ ยใู่ นจติ ใจผคู้ นใหห้ มด
อำนาจไป
หนงั สือ “เขา้ ไปอยใู่ นใจ” นี้ เป็นงานด้นควา้ ที่เปน็ การจดุ ประกาย
ความคดิ ใหม่ ท่ีมีความสำคัญอยา่ งยิ่งในการเริม่ ดน้ ทำความเขา้ ใจ คำสอน
ของสมเด็จพระสมั มาลมั พทุ ธเจ้าให้ลึกซง้ึ จนถึงแก่น โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ
หัวขอ้ ท่ีสำคัญท่สี ดุ ของอริยสัจ ๔ คือ มรรคมีองค์ ๘ ซง่ึ เป็นหัวใจของ
การเปด็ ประตูชห้ี นทางแกไข เพ่อื คับทกุ ข์ของมนุษย์ชาติ
ในมรรคมอี งค์ ๘ ทเ่ี ร่ิมด้นด้วยคำวา่ “สมั มาทิฏฐ”ิ ซง่ึ ทกุ คนก็
แปลว่า “ความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ ง” ซง่ึ ถา้ ตเู ผินๆ กจ็ ะมีความหมายปรกติ
หลายคนกจ็ ะอ่านผา่ นไป แล้วบอกคัวเองวา่ “เข้าใจ” แล้ว แตถ่ า้ ไล่เรยี ง
HI'l'hlagluL^
จรงิ ๆ เจ้าตัวอาจจะตกใจว่า ที่ว่าเขา้ ใจนน้ั จริงๆ ก็ยงั ไม่เขา้ ใจ
เพราะมี ๒ ประเด็นคำถามท่ซี อ่ นอยู่ในขอ้ นี้ คอื หนงึ่ เขา้ ใจ
เรอื่ งอะไร และสอง เข้าใจลึกซ้ึง จนเข้าไปฝงั ลึกอยู่ในใจแล้วนำไปปฏิบ้ติ
ได้ถูกตอ้ งหรอื ไม่ ตรงนแ้ี หละท่เี ปน็ ทมี่ าของหนงั สือเล่มน้ี
นจราะ “สมั มาทิฏฐ”ิ ซงึ่ เป็นกญุ แจสำตัญในการไขจกั รวาล เพ่ือ
นำไปส่ทู างปฏบิ ต้ ทิ ่ตี ับทกุ ขไ์ ด้ จะด้องประกอบด้วย ๒ ความหมาย คือ
ข้อแรก ตอ้ งเขา้ ใจในสัมมาทฎิ ฐิ ๑๐ ประการ ทเี่ ปน็ ผงั สำเรจ็
แหง่ ความเปน็ มนษุ ย์อนั ประเสรฐิ ซึ่งถา้ ปราศจากความเข้าใจ และศรทั ธา
ใน ๑๐ ประการน้ี หรอื เขา้ ใจแต่ไม่ครบถ้วน ส่วนท่ขี าดหายไปก็จะ
ทำใหเ้ กิดกรรมที่นำไปสู่ทุคตไิ ด้
ข้อที่สอง แมม้ คี วามเขา้ ใจถูกต้องอยา่ งลึกซึง้ แล้ว เป็นความเขา้ ใจ
ทถ่ี าวรหรอื ไม่ หรือเปน็ เพยี งการอ่านตำราพระพุทธศาสนา เพอ่ื ประตับ
สตปิ ัญญา แต่หาไดน้ ำไปใขป้ ฏบิ ้ติในชวี ติ ประจำวันไม่ เพราะยงั “ไม่
เขา้ ไปอยู่ในใจ”
หนังสือ “เขา้ ไปอยใู่ นใจ” นี้ จงึ เปน็ การเตอื นสตินกั ติด นักเขียน
นักปฏบิ ติวา่ ก้าวแรกแหง่ การศกึ ษาพระพทุ ธศาสนานน้ั ถา้ ขาด “สัมมา
ทิฎฐ”ิ คือ ความเข้าใจถกู ตอ้ ง ซง่ึ ถา้ ไมเ่ ข้าไปอยู่ในใจและไมอ่ ยใู่ ห้ตลอด
ทุกวนิ าที ผลเสยี ก็จะเกิดตามมา คือ มีความเขา้ ใจผิด เอาสง่ิ ผดิ ความรู้
ผิดไปอยู่ในใจแทน กลายเป็นมจิ ฉาทฏี ฐิ ที่เข้าไปอย่ใู นใจ ย่งิ อยนู่ าน
มจิ ฉาทีฎฐยิ ่ิงฝังลกึ จนยากจะแกไ้ ข
ปัญหาของสัใคมมนษุ ยท์ ั้งโลก แทจ้ รงิ แล้วเกดิ จากความผิดเพียง
ประการเดียวน่ีเอง น่นั คือความเข้าใจผิด ผลเสยี จงึ ตามมาคือ คิดผิด พดู ผิด
ทำผิด ประฤอบอาชพี ผดิ พยายามผิด ระลกึ ผดิ และใจต้งั มนั่ ผิด กลาย
เป็นผดิ ทงั้ ขบวน
หนกั ไปย่ิงกว่านั้น คอื การนำเอาความเข้าใจผิดเขา้ ไปอยู่ในใจ
ไว้นานๆ กจ็ ะกลายเป็นนสิ ัยอนั ถาวร เป็นพฤดกี รรมท่ีทำความเดือดร้อน
ให้กับตัวเอง สังคม ประเทศ และมนุษยชาติ ฉะน้นั ล้าจะแก้นิสยั จะปฏิรปู
มนษุ ยใ์ หไ้ ด้ กิดอ้ งแกก้ ันทีจ่ ุดวกิ ฤตนี้
เทา่ กับบอกว่า กา้ วแรกซงึ่ เปน็ ก้าวทสี่ ำคัญอย่างยิ่งในการเขา้
ถงึ พระพทุ ธศาสนาของมนษุ ย์ต้ังแต่จุดกำเนดิ ก็คิอ ดอ้ งปลกู “สัมมาทฎิ ฐิ
๑๐ ประการ” หรอื “ความเข้าใจถกู ๑๐ ประการ” ให้ “เข้า..ไปอยใู่ น..ใจ”
ไห เด
คณะผจู้ ดั ทำหวังเปน็ อย่างยิ่งว่า หนงั สอื “เขา้ ไปอยูใ่ นใจ” เล่มนี้
จะเป็นคูม่ ือเนรมิตแสงเงินแสงทองแหง่ การดำเนนิ ชีวติ ให้แกท่ ่านผอู้ า่ น
ทกุ ๆ คน ทุกเพศทกุ วยั และทกุ ระดบั การศึกษา สาระแหง่ ธรรมที่จะกอ่
ใหเ้ กิดแสงเงนิ แสงทองจะแตกตา่ งกันไป คอื
๑. เยาวชนวยั รุ่นวยั เรียน จะไดร้ ้วู า่ เป้าหมายท่ีแทจ้ ริงของชีวิต
มีอะไรบ้าง แล้วเตรยี มตวั เพอื่ การบรรลเุ ปา้ หมายเหลา่ น้ันตั้งแตเ่ ยาวว์ ยั
ไม่ใหห้ ลงทาง
๒. หนุ่มสาวทก่ี า่ ลงั จะสรา้ งครอบครวิ จะได้รูว้ ่าควรจะเลอื กใคร
แ เใไฟ รส ์ใt t l ^ l
มาเปน็ เพ่อื นคู่ชีวติ เพื่อประคองกนั เดนิ ไปสู่เปา้ หมายชีวติ ได้สำเรจ็ ทกุ ระดบั
๓. ผเู้ ป็นพอ่ แม่ทมี่ ลี ูกเลก็ ๆ จะไดร้ ู้วา่ จำเปน็ ต้องปลกู ฝังเรอ่ื ง
อะไรใหแ้ กล่ กู อย่างเร่งด่วนบา้ งเพ่ือใหล้ กู สามารถไปสู่เปา้ หมายได้ทุกระดบั
ไม่มผี ดิ พลาด
๔. ผเู้ ปน็ ครอู าจารย์จะได้ร้วู ่าจำเปน็ ตอ้ งปลกู ฝังเรอ่ื งอะไรใหแ้ ก่
ศิษยข์ องตนบา้ ง เพอ่ื ให้เป็นคนมคี วามร้คู คู่ ุณธรรม และเป็นคนดีทโี่ ลก
ตอ้ งการ
๔. ผู้ใกลเ้ กษยี ณอายุ จะไดร้ ้วู า่ ตนจำเปน็ จะตอ้ งถ่ายทอดหลกั
สำคัญในการปฎิบด้ หิ นา้ ท่กี ารงาน และการครองชีวติ อย่างไรบา้ งแก่ผ1ู้ ด้
บงั ดับบญั ชา และแก่บตุ รท่ีกำลังจะบนิ ไปจากอก
๖. ผ้ทู ีเ่ กษียณอายุแล้ว จะได้รู้ว่าในเวลาท่ีจากโลกไปนั้น มแี ด่
บญุ หรอื บาปเทา่ น้นั ทจ่ี ะตดิ ตัวไปได้ ถา้ เลือกบญุ กจ็ งเรง่ รีบสะสมใหย้ ่งิ ๆ
ข้นึ บาปจะได้ตามไมท่ ัน
๗. หลวงพอ่ หลวงพท่ื ั้งหลาย ทม่ี องเหน็ ทางไปนิพพานของตน
แลว้ ก็จะไดร้ ูว้ า่ สาระสำคญั ยิ่งแหง่ ธรรมทที่ า่ นจะพงึ เมตตา มอบใหแ้ ก่
ลกู หลานซาวพุทธ และชาวโลกน้ันคอื อะไร
หากรัฐบาลมองเหน็ ประโยชน์ แลว้ นำไปเปน็ แนวทางจัดทำ
โครงการระดบั ชาติ เพือ่ สร้างภมู คิ มุ กนั จิตใจใหแ้ ก่ประชาชน (ซง่ึ ไดแ้ สดง
แนวตดิ ในการท0าโครงการพอเป็นลงั เขปไว้ในบทสดุ ทา้ ย) กจ็ ะเกดิ
ประโยชน์อยา่ งกว้างขวาง ท่สี ำคญั คือเชอื่ วา่ โครงการน้ีจะสามารถ
เป ้ไใเ!
เก้อื หนุนใหโ้ ครงการตา่ ง ๆ ของรฐั บาลประสบผลสำเร็จอยา่ งยัง่ ยนื
เพราะประชาซนทัง้ ชาตมิ ีจติ ใจตัง้ อยูใ่ นสัมมาทิฏฐอิ ยา่ งมนั่ คง จนมิจฉา
ทฎิ ฐไิ ม่สามารถออกฤทธิก๋ าเริบได้
สดุ ห้ายน้ี คณะผจู้ ัดทำขอกราบขอบพระคณุ พระเดชพระคุณ
พระภาวนาวริ ิยคุณ (เผดจ็ ทดั ตซโี -ว) เปน็ อย่างย่งิ ที่เมตตาอนุญาตให้
นำพระธรรมเทศนาของท่านมาเป็นข้อมลู ในการเรียบเรยี งหนังสอื เล่มน้ี
อนง่ึ หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใดในหนังสือเลม่ นี้ ไม่ว่าจะเป็น
ในดา้ นหลักธรรม หรือหลักภาษากต็ าม คณะผู้จดั ทำดอ้ งขออภยั มา ณ
ทนี่ ้ดี ว้ ย และพรอ้ มท่ีจะน้อมรับฟงั คำชีแ้ นะจากท่านผ้อู า่ นโดยตลอด
ด้วยความขอบคุณยิง่
กองวชิ าการ อาศรมบณั ฑติ
กรกฎาคม ๒๕๔๖
เขาไปadในใจ
สารบัญ
บทที่ ๑ บทนำ
สภาพสงั คมปัจจบุ นั ๓
สาเหตุแหง่ ปญั หาวกิ ฤตในสงั คม ........................... ๗
การแก้ปญั หาอย่างถกู ตอ้ ง
๑๔
บทที่ ๒ วถิ ีแห่งโลกและชีวิต
สง่ิ ที่เป็นค่กู ันโดยธรรมชาติ ๑๗
๑. ความเหน็ เกี่ยวกบั การแบง่ ปนั ๑๘
๒. ความเหน็ เกี่ยวกับการสงเคราะห์ ๒๑
๓. ความเห็นเก่ยี วกบั การบูชาบุคคลที่ควรบชู า ๒๔
๔. ความเหน็ เกย่ี วกบั ผลของกรรมดี
และกรรมซวั่ ที่บคุ คลทำไปแลว้ ๒๙
๔. ความเหน็ เกยี่ วกับเรอื่ ง “โลกนี”้ ๔๑
๖. ความเห็นเกี่ยวกับเรอ่ื ง “โลกหน้า” ๔๘
๗. ความเหน็ เกยี่ วกับพระคุณของมารดา ๔๘
๘. ความเห็นเกยี่ วกับพระคุณของบดิ า.................................. ๖๑
๙. ความเหน็ เกยี่ วกับสตั วท์ ผ่ี ดุ ขน้ึ เกิด ๖๓
๑๐. ความเห็นเกีย่ วกบั เรอ่ื งทีว่ า่ มสี มณพราหมณผ์ ู้ประพฤตดิ ี
ปฏบิ ิตชอบ ชนิดทท่ี ำใหแ้ จง้ โลกนโี้ ลกหน้าตว้ ยปญั ญาอันยิง่ เอง
แล้วสอนผอ้ ื่นให้รแ้ จง้ ตาม ๗๘
สรปุ ความเหน็ ทีจ่ ดั เป็นสมั มาทิฏฐิ และมิจฉาทิฏฐิ ๘๔
กลมุ่ บุคคลที่มีความเหน็ แตกตา่ งกัน ๘๖
คนดีต้องเข้าใจทัง้ มิจฉาทิฏฐิ และสมั มาทิฏฐิ ๘๘
เปา้ หมายถกู ตอ้ งนำไปสสู่ นั ตสิ ุข ๙๒
พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาแหง่ ปัญญา .... ๙๓
บทที่ ๓ โลกตอ้ งการกลั ยาณมิตรอยา่ งยิง่ ๙๔
ไมเ่ ช่ือเพราะไมเ่ ห็น ๙๗
ตามนษุ ยไ์ ม่สามารถเห็นไตท้ ุกสิ่ง ๙๘
การเห็น ๒ ประเภท ๙๙
วธิ กี ารทางวิทยาศาสตรไ์ ขพ้ สิ จู น์เรื่องละเอยี ดทางธรรมไม่ไต้ ๑๐๑
พระยาผู้ห่วงใยประชาราษฎร์ ............. ๑๐๒
กัลยาณมิตรผ้เู ปลื้องปมมจิ ฉาทฏิ ฐิ ........ ..............๑๐๔
วิธพี ิสจู นโ์ ลกหน้าของผ้มู ปี ญั ญาทางโลก ....... ... _ ๑๐๖
โลกต้องการกัลยาณมติ รอย่างยงิ่ ____________7. ๑๓๔
อยากมสี ุขตอ้ งแจกสุขก่อน ...... .... .......... . ... ๑๓๗
รอยเ!เอนที่กำจัดไตย้ าก ......... ....... ............. ... _.๑๓๙
สุคติ คอื ปรโลกของสัมมาทฏิ เบคุ คล ............................... ๑๔๑
บทท่ี ๔ เย่ียมวมิ านเทพบุตร
เสริสสกวมิ าน .................................... .... ................๑๔๔
ขา่ วสารจากปายาสเิ ทพบุตร ...... , ....... ........๑๔๖
เทพอารักขาผูเ้ ดินทางในทะเลทราย __________________ .๑๔๗
ใใฟa่ glul^
อุตตรวิมาน ๑๙๖
กัลยาณมิตร คือผู้ชี'้ นำความสขุ แHเรา ๑๖๐
ใครคอื กัลยาณมิตรของเรา ๑๖๐
ไวพจนข์ องกลั ยาณมติ ร ๑๖๓
คุณสมบติของกัลยาณมติ ร .... ๑๖๔
ความสำคัญของกัลยาณมติ ร ๑๗๐
พระพทุ ธองค์ คอื กลั ยาณมติ รผปู้ ระเสรฐิ สุดของโลก ๑๗๐
พึงให้ทานโดยเคารพ ๑๗๑
สมั ภวอบุ าสกบรรลอุ รหตั ผล ๑๗๓
สรปุ ๑๗๓
บทที่ ๕ การปลูกฝงั สมั มาทิฏฐ ๑๗๙
โครงการปลูกฝงั สัมมาทฏิ เ “ระดับชาติ” เรง่ ด่วน ๑๗๙
๑๘๑
สกั ษณะของโครงการ . . ....... . ๑๘๔
๒๑๙
แนวคิดในการบรหิ ารโครงการ . ๒๒๐
๒๓๐
บทสรุป .........................
โครงสรา้ งโครงการปลกู ฝงั สัมมาทฏิ ฐริ ะดบั ชาติ
วิธ!ี เกสมาธิเบอ้ื งต้น .
บทนา
1เ1ไใเ|8^น1^
บทท่ี ๑
บทนำ
สภาพสังคมปัจจุบนั
สภาพลังคมไทยบจ้ จุบนั ไม่ว่าจะเป็นในเมืองใหญ่ หรอื ในชนบท
เปลี่ยนแปลงจากอดตี มากมาย โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง สภาพในเมอื งใหญน่ ้นั
เปล่ยี นแปลงไปรวดเร็วมาก
ถ้ามองในแงว่ ัตถุ ผู้คนส่วนใหญ่อาจจะเห็นว่า ความเปล่ียนแปลง
นี้คือวิวัฒนาการมาสู่ความเจรญิ รงุ่ เรือง เพราะมอี าคารบ้านเรอื นสวยงาม
มากมาย เกดิ ข้นึ แทนบ้านหลงั คาจาก หลงั คาสังกะสี และอาคารพาณชิ ย์
เก่าๆ ในอดตี มอื าคารสำนกั งาน และศนู ยก์ ารคา้ สูงเทียมเมฆผดุ ขึน้
มากมายไมแ่ พม้ หานครในประเทศมหาอำนาจ มถี นนหนทางทก่ี ว้างขวาง
เปน็ จำนวนมากเกดิ ขนึ้ แทนถนนแคบๆ และถนนลูกรัง เชือ่ มต่อลัน
ระหว่างชุมชนน้อยใหญ่ ชนบท และจงั หวัดใหญต่ า่ งๆ ทำให้สามารถ
เดนิ ทางไปมาหาส่ลู ันได้สะดวกท่ัวประเทศกวิ า่ ได้
..................................... . . ... ...
นอกจากนีย้ งั มรี ะบบโทรคมนาคมทันสมยั ทีม่ เี ครอื ข่ายตดิ ตอ่ กัน
ไดร้ วดเร็วทว่ั ถงึ ไมว่ า่ จะอยู่มมุ ไหนของประเทศ ววิ ฒั นาการไนด้านวัตถนุ ้ี
ย่อมทำให้ผูค้ นโดยทั่วไปยอมรบั วา่ เป็นสิง่ ทด่ี ี เปน็ ความเจริญของสังคม
ขณะเดยี วกนั ถ้ามองไปที่พฤตกิ รรมของผ้คู นในสังคม ถึจะไดพ้ บว่า
อัตราความเปลยี่ นแปลงในด้านพฤตกิ รรมของผคู้ นนน้ั ไมไ่ ด้ชา้ กวา่ ใน
ดา้ นวัตถุเลย บางทีอาจจะเรว็ กว่าด้านวัตถุดว้ ยซํ้าไป แตเ่ ป็นท่นี ่าเศร้า
ไจว่า ความเปลี่ยนแปลงในด้านพฤติกรรมของผูค้ นนั้น ไม่ไดส้ วยงาม
เหมือนด้านวตั ถุ ทว่าน่าเกลยี ดนา่ กลวั อันตรายยิง่ มัก
ถ้าไดต้ ิดตามขา่ วรายวนั ที่ปรากฏตามสอื่ ตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ วิทยุ
โทรทศั น์ หรอื หนังสือพิมพ์ เรากจ็ ะไดท้ ราบว่า ผคู้ นจำนวนไมน่ อ้ ยใน
สงั คมทกุ ระดบั ทุกแหง่ ทุกเพศ ทุกวัย มพี ฤติกรรมที่ก่อไหเ้ กิดยัญหา
กอ่ ใหเ้ กิดอนั ตราย ก่อใหเ้ กิดทุกข์ ทง้ั แกต่ นเอง ผูอ้ น่ื และสังคมโดยรวม
เป็นดน้ ว่า ในกล่มุ ผู้ใหญ่โดยทว่ั ไปมีการลา้ งผลาญชวี ติ กันรายวัน ด้วย
เรอื่ งหึงหวงกนั บา้ ง แถแ้ ด้นกันบ้าง ทักหลังกนั บ้าง ฯลฯ
ผใู้ หญ่บางคนบางพวก ทพ่ี วั พนั กับอบายมขุ ประเภทตา่ ง ๆ
ย่อมหนีไม่พ้นเร่ืองหนสี้ นิ ชีงส่งผลให้ดอ้ งประกอบอาชพี หรือทจุ ริตผิด
กฎหมาย ในท่ีสดุ ถา้ ไม่จบชวี ติ ดว้ ยการล้างผลาญกนั เอง กดิ อ้ งเช้าไปเสวย
กรรมชว่ั ของตนในคุกตะราง
ผเู้ หญบ่ างคนบางพวก กิประกอบธุรกิจอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใดบงั หนา้
แตเ่ บอื้ งหลังนนั้ มอี าชีพทุจริตตา่ งๆ กนั ไป เชน่ โจรกรรมรถยนต์ บ่อน
เถื่อน คา้ เดก็ ดา้ ยาเสพตดิ ฯลฯ ผู้ใหญบ่ างคนบางพวก แม้มีอาชพี
1ปไึ ใป8*เใ«1^1
การงานเปน็ หลักแหล่งม่นั คงดแี ลว้ กย็ ังหาวธิ รี วยทางลัด ด้วยการ
โจรกรรมทรพั ย์สินของบรษิ ัททต่ี นลงั กัดบา้ ง รวมหัวกันโจรกรรมเงนิ
ของธนาคารบ้าง ค้ายาเสพตดิ บ้าง ฯลฯ
ข้าราชการบางคนบางพวก แม้มีงานทำเปน็ หลกั แหล่งมั่นคง
แลว้ ก็ยังหารายไดเ้ สริมด้วยการคอรปั ช่ันบ้าง ใช้ตำแหนง่ หน้าท่ีรีดไถ
ประชาชนบ้าง ด้ายาเสพตดิ บา้ ง ฯลฯ
บรรดานักการเมอื งบางคนบางพวก ท้งั ที่รา่ํ รวยแล้ว และยงั ไม่
รํา่ รวย ก็ฉวยโอกาสใช้อำนาจหน้าท่ใี นตำแหน่งของตน แสวงหาความ
รํา่ รวยในทางทุจริต โดยการคอรปั ชั่นบ้าง เป็นผู้อยเู่ บ้ืองหลงั ธรุ กจิ และ
การงานผดิ กฎหมายบา้ ง ฯลฯ
ครอู าจารยบ์ างคนบางพวก ก็มวื ธิ ีหารายไดเ้ สริม ด้วยการออก
เงนิ กูด้ อกเบ้ียแพงให้ลกู ศษิ ย์บ้าง ขยนั สอนเสริมนอกเวลา แต่ไม่ชอบ
สอนในเวลาบา้ ง ขายยาเสพตดิ ให้ลูกศิษย์บา้ ง ท่เี ลวรา้ ยที่สุดก็คอื
ขม่ ขืนกระทำชำเราลกู ศษิ ย์ แม้เป็นเดีกหญิงตัวเลก็ ๆ
ฆราวาสบางคนบางพวกทง้ั ทมี่ ืฐานะร่าํ รวยและยากจนกเ็ บียดบัง
หาผลประโยชน์จากพระพุทธศาสนา เอาทรัพย์สินจากพระพทุ ธศาสนา
ไปเปน็ ประโยชน์สว่ นตัวบ้าง ด้วยการแบง่ เงนิ บริจาคของวดั มาเป็นของ
ตนบ้าง ฯลฯ
มจิ ฉาชีพบางคนที่มคื วามรู้ความสามารถดา้ นคอมพวิ เตอรก์ ็
แสวงหาผลประโยชนด์ ว้ ยการหลอกลวงผู้คนให้จ่ายเงินซ้อื สินค้าใน
เวบ็ ไชท้ ์ของตน ผา่ นบัญชธี นาคาร โดยไม่ไดร้ บั สินค้าใดๆ บ้าง หรอื
\§r)
0 11ท ไ1เ0สใ์ น1^
มิฉะนัน้ ก็ประกาศขายสอ่ื ลามกผิดกฎหมายบา้ ง ฯลฯ
เด็กวัยร่นุ จำนวนไม่นอ้ ยแทนทจ่ี ะตั้งใจศกึ ษาเล่าเรยี นตามหนา้ ที่
ของตน แตก่ ็ไปหลงมัวเมาอยูก่ บั แหลง่ อบายมขุ ต่างๆ กลางวนั บ้าง
กลางคนื บ้าง เม่ือเงนิ ทองไม่พอใช้ ก็หนั ไปคา้ ยาเสพติดบ้าง ขายบรกิ าร
ทางเพศบา้ ง จปี้ ล้นบ้าง โจรกรรมบ้าง ฯลฯ
เด็กหญิงวยั รุ่นบางคนบางพวก ทีข่ อบความฟ้งเฟอ้ ฟมุ เหเื อย ทำ
ตัวเลียนแบบดารา หรอื สาวไฮโช แต่ไม่มเี งิน ก็อาจหาเงนิ โดยขาย
บรกิ ารทางเพศบ้าง ขายยาเสพติดบ้าง ฯลฯ
หนมุ่ สาววัยรนุ่ ทีไ่ ม่รักเรยี น แตร่ กั เกมกามราคะ จนเกิดการตัง้
ครรภ์ขน้ึ มา กต็ อ้ งแกบ้ ญ้ หาเฉพาะหน้าดว้ ยการทำแทง้ บางคนก็
ประสบความสำเรจ็ แตบ่ างคนก็เสยี ชีวติ ตามทารกในทอ้ งไปด้วย
บญ้ หาพฤติกรรมผดิ ศีล ผดิ กฎหมายในสังคมบจ้ จบุ นั ยังมีราย
ละเอียดมากกวา่ ทีน่ ำเสนอเป็นตัวอย่างมากมายหลายรอ้ ยเทา่ นกั ยิ่งใน
เมอื งใหญ่ บญ้ หาก็มากตามไปด้วย และมีความสลบั ซบั ซ้อนอย่างคาด
ไมถ่ ึง
บญ้ หาพฤติกรรมเหลา่ น้ี ในทสี่ ุดกจ็ ะกลายเปน็ บ้ญหาสงั คม
เศรษฐกจิ และการเมืองของชาติ เปน็ บ้ญหาทพี่ ัวพนั สลับซับซ้อน ดจุ
กลุ่มเชอื กท่ีพวั พนั กันยงุ่ เหยิง หาด้นหาปลายไมพ่ บ ยากที่จะสางออก
และกลายเป็นบ้ญหาวิกฤตตา่ งๆ ซึ่งนอกจากจะเป็นอุปสรรคต่อการ
พัฒนาบ้านเมอื งแล้ว ยงั จะนำพาประเทศชาตไิ ปสค่ วามลม่ สลายอกี ดว้ ย
!>*£ทไปagใui^
สาเหตุแห่งปญั หาวกิ ฤตในสังคม
ปัญหาต่างๆ ดังกลา่ วไม่ว่าจะเป็นปัญหาจากเดก็ หรือผใู้ หญ่ ล้วน
เป็นปญั หาพฤติกรรมไรศ้ ลี ไร้ธรรมของผูค้ นในสงั คมทั้งสิน้ ถามว่า
สาเหตทุ ่ีแทจ้ รงิ แห่งปัญหาเหลา่ น้นั คืออะไร?
มีผู้คนไม่นอ้ ยมองว่า สาเหตุสำคญั ของปญั หาวิกฤตในสังคม
ไทย โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ปญั หาวิกฤตท่ีเร่มิ เกดิ ขนึ้ ประมาณปี พ.ศ.๒๔๔๐
เรื่อยมานนั้ เกิดจากปัญหาเศรษฐกจิ ซ่ึงเริม่ จากการทีค่ า่ เงินบาทของ
ไทยลดลงถึงเทา่ คัว และเกอื บเท่าควั ในเวลาต่อมา ส่งผลให้นกั ธรุ กิจ
ส่วนใหญ่ต้องประสบปัญหาหนีส้ นิ ซึง่ ทวขี ึ้นชนดิ ท่ีต้ังรับไมท่ ัน บางคน
ถงึ กบั ตอ้ งลม้ ละลาย สภาวะเช่นนีส้ ่งผลกระทบไปเปน็ ปญั หาการว่าง
งานของประชาชนเปน็ จำนวนมาก จึงกอ่ ให้เกิดปญั หาสงั คม ตลอดถึง
ปัญหาการเมืองในประเทศของเรา
ถา้ มองวา่ เร่ืองเศรษฐกจิ คือตน้ เหตทุ ่แี ท้จรงิ หรือสำคัญท่สี ดุ ของ
ปญั หาวกิ ฤตของชาติ ยอ่ มเปน็ ธรรมดาอย่เู องว่า ผูท้ ่ีมืหนา้ ทร่ี บั ผิดชอบ
ในการบรหิ ารบา้ นเมือง จะต้องทุ่มเทพลงั ลงไปแถ้เรอ่ื งเศรษฐกิจ โดย
ไมไ่ ต้ให้ความสำคัญเรอื่ งอื่นๆ เท่าท่ีควร ด้วยหวังว่าเม่ือแก้ปัญหา
เศรษฐกจิ สำเร็จแล้ว ปญั หาตา้ นอื่นๆ จะหมดไปเองโดยปริยาย นัน่ คือ
เช่ือว่า ถ้าประชาชนมืกนิ มใื ชก้ นั ถว้ นหนา้ แลว้ บา้ นเมอื งจะสงบสุข
ถ้าเชอื่ วา่ จะเป็นจรงิ เช่นนั้น กืต้องถามว่า ครอู าจารย์บางคนท่ี
ขม่ ขนื กระทำชำเราลูกศิษยข์ องตน ก็เพราะมปี ัญหายากจนจริงหรือไม่
แพทยบ์ างคนทีเ่ ปน็ ฆาตกร มวื ธิ ฆี าตกรรมอยา่ งสยดสยองนัน้ ก็เพราะ
มปี ญั หายากจนจริงหรอื ไม่ รัฐมนตรบี างคนที่คอรัปชนั่ เป็นร้อยๆ ล้าน
ก็เพราะมปี ญั หายากจนจรงิ หรือไม่ ผู้คนไม่ว่าผู้ใหญห่ รอื เยาวชนทีเ่ ข้า
ไปหลงระเรงิ อยูไ่ นบาร์ ในผับ เสพยาเสพติดกัน ก็เพราะมีปัญหา
ยากจนจริงหรือไม่
อยา่ งไรก็ตาม ลา้ พิจารณากันใหล้ ะเอียดรอบคอบแลว้ เรายอ่ ม
จะพบวา่ ผคู้ นที่มพี ฤติกรรมชวั่ ข้าเลวทราม ผดิ ศีล ผดิ กฎหมายนน้ั มี
ท้งั คนทมี่ ีฐานะทางเศรษฐกิจดแี ละคนยากจน ดังนั้นความคดิ ท่วี ่าลา้
ประชาชนมีกินมไี ขก้ นั ล้วนหน้าแล้ว บา้ นเมอื งจะสงบสุข จงึ เปน็ ความคดิ
ที่ไมถ่ กู ต้องตามความเป็นจรงิ
นอกจากนย้ี ังปรากฏว่า มีคนจนท่ีหาเขา้ กินคาํ่ ด้วยหยาดเหงื่อ
แรงกายจำนวนมาก ทสี่ ามารถต้ังอยู่ในความดไี ต้ ซึง่ บางคนอาจจะ
ผดิ ศลี บา้ งเล็กน้อย เซน่ ตกเบด็ ทอดแห เป็นคร้งั คราว เพื่อเล้ยี งชวี ติ
ใหอ้ ยู่รอด แต่ก็ไมเ่ คยทำผิดกฎหมายเลย ในทางตรงขา้ ม ผู้ทท่ี ำผดิ
กฎหมาย ผดิ ศีลธรรมอยา่ งฉกาจฉกรรจ์ กลับเปน็ คนมีเงนิ มหิ นำซ้ํา
บางรายย่ิงรวย ยิ่งมีตำแหน่งใหญ่ กย็ ง่ิ ทำความช่วั รา้ ยแรงมาก เพราะ
อาจคิดว่าความรารวย และยศถาบรรดาดกั ดขิ๋ องเขา จะสามารถปกบอ้ ง
ตวั เขาไหพ้ ้นผดิ ไต้
แท้ทจ่ี รงิ ปญั หาในบ้านเมืองของเรานนั้ มอี ยู่มากมายหลายประเภท
ทั้งตา้ นสังคม เศรษฐกจิ และการเมือง ไมใ่ ช่เฉพาะแตเ่ พยี งปัญหา
เศรษฐกิจเท่านนั้ ปัญหาเหลา่ นเี้ กิดขน้ึ และหมักหมมพอกพูนเรอ่ื ยมา
เปน็ เวลานาน ทำนองเดยี วกับตะกอนหิน ดนิ ทราย ทีถ่ ูกพดั มาจาก
ตน้ นํ้าลำธาร มากองทบั ถมไวท้ ีป่ ากแมน่ ํ้า ฉะนั้น ตราบใดทส่ี นั ดอน
ปากน้าํ ยงั ไมโ่ ผลข่ น้ึ เหนือนาั้ ผู้คนกจ็ ะไม่รู้ว่ามีการทบั ถมของตะกอน
เหล่านั้น ปญั หาตา่ งๆ ในบา้ นเมืองก็เช่นเดยี วกนั ล้วนคอ่ ยๆ ฟกั ตัวอยู่
เปน็ เวลานาน แล้วจงึ แผข่ ยายวงกวา้ งขนึ้ เร่ือยๆ จนเห็นเดน่ ชัด เมอื่
ปัญหาเดน่ ชดั ขนึ้ ท่านผูป้ กครองแผ่นดนิ แดล่ ะยุคแดล่ ะสมยั ด่างก็
พยายามทมุ่ เทสตปิ ัญญาแก้ปญั หากนั มาเป็นระยะๆ ในระยะทม่ี กี าร
รณรงคแ์ ก้ปัญหาชนิดถึงลกู ถึงคน ก็สามารถสยบปัญหาลงไตน้ ง่ิ สนทิ
แดต่ ่อมาปัญหาเหลา่ น้นั ก็เรม่ิ ก่อตัวข้ึนอกี ทีละน้อย ๆ จนกระท่งั กลาย
เป็นปญั หาเลวรา้ ยใหร้ ัฐบาลตอ้ งปราบปรามแก้ไขกันอกี เข้าทำนอง
ตำรวจไล่จบั ขโมย พอตำรวจวางใจเม่อื ใด ขโมยเป็นตอ้ งออกอาละวาดอกี
สภาพการณ์เชน่ น้ีเคยมีปรากฏมาแล้วหลายครง้ั ในประว้ติศาสตร์ชาตไิ ทย
ตัวอย่างทเี่ หน็ ไต้ชัดเจนท่สี ดุ กค็ อื เร่ืองการปราบปรามสง่ิ เสพติด
การปราบปรามส่งิ เสพตดิ คือ รื่เน ไตเ้ คยทา่ กนั มาแล้วอยา่ งหนกั
ต้งั แต่สมยั ตน้ กรุงรัตนโกสินทร์® คอื ในรัชสมัยพระบาทสมเดจี พระพทุ ธ
เลิศหลา้ นภาลยั ในปี พ.ศ. ๒๓๔๔ ไตม้ กี ารประกาศห้ามซือ้ ขาย และ
สบู สเิ่ นในราชอาณาจกั รไทย ผใู้ ดฝา่ 'ผินต้องถกู ลงอาญา โดยการเฆีย่ นดี
อย่างหนัก แล้วถูกนำไปตระเวนทงั้ ทางนา้ํ และทางบกอยา่ งละ ๓ รัน
เพ่ือเปน็ การประจานใหร้ ู้สึกอับอาย เขด็ หลาบ ไมก่ ลับไปทำผดิ อกี แด่
ถึงแมจ้ ะถูกลงทัณฑ์ขนาดนัน้ แลว้ กไ็ มส่ ามารถหยดุ ยงั้ การลูบ'ผนิ ไต้
อยา่ งเดีดขาด ยงั มีการลักลอบสูบกนั อยทู่ ว่ั ไป
* ส.พลายน้อย “ยกเลิกการสบู ฉ่น,’ ๑๐๐ ปีรอยอดีต หนา้ ๒๓๗
ฟ พ .ใจ
เวน้ ระยะไดเ้ พยี ง ๒๘ ปี ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา้
เจ้าอยหู่ วั ก็ต้องมกี ารปราบปรามกันอยา่ งหนกั อีกคร้งั หนึง่ มกี ารจบั
ล!่ี นตามหัวเมืองชายทะเลในภาคใตเ้ ป็นจำนวนมาก แลว้ นำมาท0าพิธี
เผาอย่างใหญโ่ ตในกรงุ เทพฯ ในปี พ.ศ. ๒๓๘๒
ตอ่ มาอกี ๑๒๐ ปี คือในสมยั รฐั บาล นึ่งมีจอมพลสฤษด้ิ ธนรชั ต์
เป็นนายกรัฐมนตรี ก็ต้องมีการปราบล่ี!นขนาดหนักอกี ครัง้ หนง่ึ มกี าร
เผาทั้งล!ี่ น ทั้งกล้องยาล!ี่ นทีจ่ บั มาไต้ ณท้องสนามหลวง ในปี พ.ศ. ๒๔๐๒
สว่ นโทษสำหรับผู้ฝา่ ?!นกฎหมายนั้นรุนแรงถึงข้ันยิงเปา้ ประหารชวี ติ
ขั้วเวลาทผ่ี ่านไป ประมาณ ๔๐ ปเี ศษ ปญ้ หาสง่ิ เสพติดกป็ ะทุ
รนุ แรงข้นึ อีกคร้งั หน่ึง แต่คราวนีเ้ ปลยี่ นเปน็ ยาบา้ (ยาเสพตดิ ในรูปแบบ
ใหม)่ ที่นำเอาล!ี่ นมาผสมกบั สารเคมี ใทม้ ฤี ทธท๋ิ ำลายระบบประสาทของ
ผู้เสพรนุ แรงยง่ิ กว่าล!่ี นอีกหลายเทา่ และยืดเย้ือต่อเนื่องมาถงึ รัฐบาลบจ้ จมุ นั
(พ.ศ. ๒๔๔๖)
บ้ญหายาเสพติดทปี่ ะทขุ ้นึ อกี ในบ้จจมุ นั น้ี ยอ่ มสะท้อนใหเ้ ห็นวา่
การแก้บ้ญหาในอดีตทีผ่ ่านมา นา่ จะเป็นการแกไ้ ขที่ไมค่ รบวงจร เข้า
ลกั ษณะหินหับหญ้า หรือไฟไหม้ฟางหรือเปลา่ รฐั บาลในบ้จจมุ ันจงึ
ต้องมาเหนด็ เหนอ่ื ย และเสยี งบประมาณอย่างมหาศาลในการแก้บ้ญหา
ทีเ่ คยแกม้ าแลว้ ถึง ๓ ครั้ง แทนท่รี ัฐบาลจะนำงบประมาณและสติ
บญ้ ญาไปคิดพัฒนาบา้ นเมอื งให้เจรญิ กา้ วตอ่ ไปข้างหน้า
อยา่ งไรกต็ าม การทก่ี ล่าวเซ่นนี้ มีไต้มเี จตนาจะโจมด็ผูใ้ ดให้
เสยี หาย ท้ังไมไ่ ต้หมายความวา่ ไมส่ นบั สนุนนโยบายปราบปรามยา
1^1*ไไฟ่
เสพตดิ ของรฐั บาล ตรงก้นข้ามกลบั มคี วามชื่นซมในการทำสงคราม
ปราบปรามยาเสพติดของรฐั บาลเป็นอยา่ งยิง่ และขอเปน็ กำลังใจ
สนับสนนุ ให้รฐั บาลเดินหนา้ ตอ่ ไป จนกวา่ จะประสบชยั ชนะอย่างเบ็ดเสร็จ
แต่ทว่าการแกป้ ญั หายาเสพตดิ ในคร้งั น้ี นา่ จะดำเนินการใหค้ รบวงจร
การแกป้ ญั หายาเสพติดใหค้ รบวงจรควรทำอย่างไร
แห้ทจี่ ริงแผ่นดินประเทศไทยนีเ้ ป็นของคนไทยทุกคน ผ้ทู ่ีก่อให้
เกิดปัญหายาเสพติดโดยตรงในชาติ กคิ ือคนไทย ดังน้ันเราคงจะปลอ่ ย
ใหก้ ารแก้ปญั หาของชาตเิ ป็นภาระของรัฐบาลฝา่ ยเดียวไม่ได้ แต่
ประชาชนทั้งชาติจะตอ้ งช่วยรัฐบาลแกไ้ ขปัญหาดว้ ย โดยทำให้เตม็ ตาม
หนา้ ที่ และกำลังความสามารถของแตล่ ะคน และแต่ละองค์กร ทง้ั ภาค
รัฐและเอกชน
ในการช่วยรัฐบาลของภาคเอกชนน้ันแมย้ ังไมส่ ามารถเข้าไปรว่ ม
ชว่ ยเหลอื โดยตรงได้ เพยี งแคแ่ ต่ละคน แต่ละสมาคม มีจติ ใจตงั้ มั่นอยู่
ในสัมมาทฏิ ฐิ ไมค่ ิดและไม่เขา้ ไปเกีย่ วขอ้ งกับยาเสพตดิ กิถอื ว่ามีสว่ น
ชว่ ยเหลอื รฐั บาลได้อยา่ งมากในระดบั หน่ึงแลว้
อยา่ งไรกิดี การท่จี ะปลูกฝังสัมมาทิฏฐิใหป้ ระทบั แนน่ อยู่ในใจของ
คนทั้งชาติไม่ใช่เรือ่ งง่ายเลย แต่กิไม่ยากจนเปน็ ส่งิ ที่เปน็ ไปไม่ได้ ถ้า
รัฐบาลมีนโยบายทจี่ ะทำ และวางแผนใหป้ ระชาชนมโี อกาสรว่ มมือ
โดยสรปุ กิคือ การแก้ปัญหายาเสพตดิ ในระดับชาติ ให้ได้ผล
อย่างเบด็ เสร็จ รฐั บาลน่าจะดำเนินโครงการใน ๒ ลักษณะคอื
........
๑. โครงการแกป้ ัญหาระยะสน้ั ขงึ้ ดอ้ งมกี ารรณรงคก์ ันอยา่ ง
จรงิ จงั หลายด้าน หลายรปู แบบ คอื มที ง้ั การประชาสัมพนั ธ์ การ
บังคับใชก้ ฎหมาย การบำบัดรักษา การ?เกอาชีพ (แลว้ แต่กรณ)ี ฯลฯ
ใหไ้ ด้ผลสำเรจิ เปน็ รปู ธรรมในระยะเวลาท่ีกำหนด (กำลงั ทำอยู่)
๒. โครงการแกป้ ัญหาระยะยาว จัดเปน็ โครงการตอ่ เนอื่ งจาก
โครงการแกป้ ัญหาระยะสน้ั ดว้ ยการปลกู ฝงั สมั มาทิฎเให้ผู้คนทง้ั เดก็
และผใู้ หญ่ โครงการนีด้ อ้ งเนน้ หนักในด้านการศึกษาและปฏิบตั ธิ รรม
เปน็ โครงการทดี่ ้องทำอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ไมม่ กี ารหยดุ ชะงักใหข้ าดชว่ ง ไม่
มีการเลิกลม้ ด้องทำตอ่ เนื่องทุกรฐั บาล เพราะเป็นโครงการพฒั นา
จติ ใจบคุ คล ใหบ้ รสิ ุทธ่ิใสสวา่ ง เปน็ สัมมาทิฎฐิ
ตราบใดทคี่ วามสวา่ งในจติ ใจยังคงอยู่ ความมีดมดิ คือมจิ ฉาทฏิ ฐิ
จะออกผลไม่ไดเ้ ลย และตราบใดทป่ี ระชาชนท้งั ชาตมิ ั่นอยูใ่ นสมั มาทฏิ ฐิ
ปัญหายาเสพติดขง้ึ เปน็ ปญั หาสังคมอย่างหนึ่ง กจ็ ะไม่เกดิ ข้นึ ใหม่อกี
และปญั หาเก่าก็จะคลค่ี ลายไปเองจนหมดส้ิน
ท้ังหมดนคี้ ือการแกป้ ัญหายาเสพติดอย่างครบวงจร เมือ่ โครงการ
แกป้ ัญหาระยะยาวออกผลดแี ลว้ ต่อแต่นี้!ปก็ไม่จำเป็นตอ้ งมโี ครงการ
ระยะสนั้ อีก
จากปัญหาการปราบปรามส์นท่ียกมาเปน็ ควั อย่างน้ี ถาวิเคราะห์
ดูใหล้ ึกขงึ้ ย่อมจะเหน็ ได้วา่ เป็นปญั หาความเสพค้นุ ของคนเราเปน็ สำคัญ
มไิ ดเ้ ปน็ ปัญหาท่ีมีดน้ เหตมุ าจากความยากจน หรอื ปญั หาเศรษฐกิจแต่
อยา่ งใด ตรงกนั ช้ามผทู้ ไ่ี ปสบู ส์นมัน่ แหละจะด้องมีเงิน เพราะถ้าไมม่ ี
1ป็ไใป8^เน1^1
เงนิ ซ้อื ร่เื น กจ็ ะไมม่ ผื ินมาสูบ
อยา่ งไรกต็ าม ถา้ ย้อนกลบั ไปศกึ ษาปญั หาต่างๆ ท่ีเกดิ ขึน้ ไน
บา้ นเมอื งของเรากอ่ นการเกิดปญั หาเศรษฐกจิ ฟองสบแู่ ตก ก็จะพบว่า
แท้ทจ่ี รงิ นนั้ มีปัญหาลังคม เศรษฐกจิ และการเมือง หมักหมมทบั ถม
กันมาหลายรัฐบาลแถ้ว และค่อยๆ เพิ่มความร้อนแรงข้ึนเร่อื ยๆ ครัน้
เมอ่ื เกิดปัญหาเศรษฐกจิ ฟองสบแู่ ตก จงึ ส่งผลกระทบถงึ ปญั หาเลวร้าย
เหล่าน้ันทันที กลายเป็นปัญหาวกิ ฤตท้ังดา้ นลงั คม เศรษฐกิจ และการ
เมอื งพรอ้ มๆ กัน ดว้ ยเหตนุ ้ีการทจ่ี ะมองวา่ ปญั หาเศรษฐกิจ คอื สาเหตุ
ที่แท้จริงของปัญหาวิกฤตในบา้ นเมอื ง คงจะถูกไมห่ มด
สาเหตุท่แี ทจ้ ริงของปญั หาวกิ ฤต คืออะไร
คงจะตอบคำถามนี!้ ด้วา่ สาเหตุที่แท้จรงิ ของปญั หาวกิ ฤตใน
บา้ นเมืองของเรา ตลอดเวลาที่ผ่านมาจนกระทัง้ ถึงปัจจบุ นั ก็ศอึ ผู้คน
สว่ นไหญในบ้านเมืองมปื ญั หา ถามวา่ ปญั หาอะไร ปัญหาทสี่ ำคญั ทส่ี ดุ
ก็ศึอ การขาดความเขา้ ใจอยา่ งถกู ต้องเก่ยี วกบั เร่อื งโลกและความเปน็
ไปของชวี ิตตามความเปน็ จรงิ หรอื อาจกลา่ วอีกอย่างหนึง่ วา่ มืความ
เข้าไจผดิ เกี่ยวกบั เรอ่ื งโลกและความเป็นไปของชวี ติ ซง่ึ มคื ัพท์ทางธรรม
วา่ “มจิ ฉาทฎิ เ” หรือ “ความเหน็ ผดิ ” มิจฉาทฏี ฐินี้เองทีเ่ ปน็ เหตไุ ท้
ผู้คนไนลังคมมพื ฤติกรรมไรศ้ ลี ธรรม คังที่ยกมาแสดงเปน็ ควั อยา่ งแลว้
การแก้ปญั หาอย่างถกู ตอ้ ง
ขณะน้เี ราได้ทราบซดั แล้ววา่ เหตแุ ห่งปญั หาวกิ ฤตอผทู่ ่ีผ้คู น
ในบ้านเมือง ดงั นน้ั การแกป้ ญั หาใหถ้ กู จุด ก็จะตอ้ งแกท้ ่ีผูค้ นในชาติ
บา้ นเมืองนน้ั เอง จึงจะมโื อกาสประสบผลสำเรจ็ อยา่ งแห้จรงิ
เน่ืองจากผู้คนเขา้ ใจผิดหรือเขา้ ใจไมถ่ กู ตอ้ งเกย่ี วกับเร่ืองโลกและ
ความเปน็ ไปของชวี ิตตามเป็นจรงิ เพราะฉะนน้ั กจ็ ำเปน็ ตอ้ งแก้ความ
เข้าใจผดิ น้นั ให้เปน็ ความเขา้ ใจถูกตอ้ ง ชีงมืคำศพั ทท์ างธรรมวา่ “สัมมา
ทิฏเ” หรือ “ความเห็นถูก” นคื่ อื หลักการในการแก้ปญั หา อย่างถูกตอ้ ง
เกีย่ วกบั เร่ืองโลกและความเป็นไปของชีวติ
ความเหน็ อยา่ งใดจัดเป็นสมั มาทฏิ ฐิ อยา่ งใดจดั เป็นมจิ ฉาทิฏฐิ
มืคำอธิบายอยา่ งละเอยี ดในบทกดั ไป
วถิ โี ลกและชวี ติ
บทท ๒
วิถีโลกและชวี ิต
สิง่ ทเี่ ปน็ คกู่ ันโดยธรรมชาติ
สงิ่ ต่างๆ อันเปน็ ธรรมดาธรรมชาติทีเ่ กดิ ขึ้น และเปน็ ไปในโลกน้ี
มีอยู่ไม่นอ้ ยทเี่ กิดขึ้นเป็นคูล่ บลา้ งหรอื คูป่ รับกันเสมอ แต่ละคูก่ แ็ ตกตา่ ง
กนั ชนิดอยคู่ นละขั้วอย่างเห็นไดซ้ ัดเจนทเี ดียว เชน่ ความสวา่ งคูก่ บั ความ
มดี ความสขุ คกู่ บั ความทกุ ข์ ความดคี กู่ ับความชัว่ บุญคูก่ ับบาป ความ
เย็นค่กู บั ความรอ้ น ความฉลาดคกู่ บั ความโง่ และสมั มาทีฏฐิคกู่ บั มิจฉา
ทิป!็
ในการศกึ ษาส่งิ ทีม่ ธี รรมดาธรรมชาตทิ เี่ ป็นคลู่ บล้างกันน้ี จำเปน็
จะต้องนำสิง่ ทั้งสองมาพจิ ารณาพร้อมกนั โดยการเปรยี บเทียบกนั กจิ ะ
เกดิ ความเข้าไจอย่างถ่องแท้ สำหรบั เรือ่ งสมั มาทิฏฐแิ ละมิจฉาทฏิ ฐิ
กิเชน่ เดยี วกัน ถา้ นำความเหน็ หรือทฏี ฐิสองประเภทน้มี าเปรียบเทียบ
กัน กจิ ะทำใหผ้ ู้ศกึ ษาเกิดความเขา้ ใจไดโ้ ดยงา่ ย
เขาไป0$ในใจ
ในการแสดงพระธรรมเทศนาเรอ่ื งทิฎฐิทั้ง ๒ ประเภทนี้ พระสัมมา
สัมพุทธเจ้ากท็ รงแสดงด้วยวธิ ีการเปรยี บเทยี บ โดยทรงแบ่งสมั มาทฏี เ
ออกเปน็ ๑๐ ประการ และมิจฉาทีฏฐิ ๑๐ ประการ4, ดังนี้
๑. ความเหน็ เกีย่ วกบั การแบ่งปนั
การแบ่งปนั คอื อะไร
เน่ืองจากคนเราจะมชี วี ิตรอดอย่ใู นโลกน้ี!ด้ จะต้องมปี ัจจยั ในการ
ดำรงชวี ิตอยา่ งนอ้ ย ๔ ประการ คือ ๑) ที่อยอู่ าศัย หมายรวมทง้ั อาคาร
และพนื้ แผน่ ดินอันเป็นทต่ี ง้ั ของอาคาร ตลอดจนทีด่ ินสำหรบั ทำมาหา
กนิ ด้วย ๒) อาหาร ๓) เสอื้ ผ้า เครื่องนุ่งห่ม และ ๔) ยารักษาโรค
รวมเรียกวา่ ปัจจยั ๔ รองลงมาก็เป็นอปุ กรณ์เคร่อื งใช้ตา่ งๆ ทจี่ ำเป็น
สำหรบั การทำมาหากิน เพราะฉะนนั้ การแบ่งปันข้นั พื้นฐานจงึ มอี ยู่ ๓
ประการ คอื ๑) ปนั กันอยู่ ๒) ปนั กนั กิน ๓) ปนั กนั ใช้ การแบ่งปัน
ทม่ี คี วามสำคญั รองลงไปก็อาจจะเป็น การแบง่ ปนั ความรู้ การแบ่งปนั
อาชพี หรอื สิ่งอ่ืนใดก็ข้นึ อยู่กับความขาดแคลน และความพรอ้ มของท้ัง
ฝ่ายผู้รับและผู!้ ห้
ทำไมจงึ ต้องแบง่ ปนั กัน
จุดมุง่ หมายท่ีสำคญั ก็คอื เพื่อป้องกนั มใิ ห้คนเราคดิ โลภเหน็ แกไ่ ด้
และแสดงพฤตกิ รรมไรน้ าั้ ใจตา่ งๆ อนั จะนำไปสูก่ ารผดิ ศีล ผดิ กฎหมาย
ในที่สดุ การแบง่ ปันกนั อยา่ งถกู วิธีจงึ เป็นไปเพ่อื
* สาเลยยสตร ม. ม. มก. ๑๙/๔๘๓/๒๔๙
เขาษ0^ใจ
๑. เพอ่ื ปอ้ งกนั การอยแู่ บบตัวใครตวั มัน เพราะคนเราต่างตอ้ ง
พงึ่ พาอาศยั กันและกัน ไมม่ ใี ครสามารถอยอู่ ย่างมีความสขุ สบายตาม
ลำพงั ไต้
๒. เพ่ือป้องกันปัญหามือใครยาวสาวไตส้ าวเอา เพราะจะทำให้
ผูท้ ่มี ีความรู้ ความสามารถ และประสทิ ธภิ าพในการทำงานดร ต้อง
เดอื ดร้อน ขาดแคลน อดอยาก
๓. เพ่อื ปอ้ งกนั การเอาเปรยี บ เบียดเบียนผู้อน่ื ท่ตี อ้ ยกวา่ ใน
ต้านตา่ ง ๆ
๔. เพอื่ ปอ้ งกนั การกกั ตนุ สินคา้ ไว้ค้ากำไรเกนิ ควร ซ่งึ เปน็ การ
กอบโกยผลประโยชน์ตว้ ยความเหน็ แก่ตวั โดยไม่คำนึงถงึ ความเดอื ดรอ้ น
ของผ้คู นที่อยู่ร่วมกนั ในสังคม ทัง้ ๆ ที่ตนเองกิมีอยูอ่ ย่างล้นเหลือ จะ
กินจะใช้อย่างไร ก็ไม่รจู้ กั หมดสิน้ ฯลฯ
เห็นผิดจึงไมค่ ิดแบง่ ปนั ใหใ้ คร
ใครกต็ าม ทีไ่ ม่คดิ และไม่รู้จกั แบง่ ปัน ยอ่ มมพี ฤตกิ รรมผิดๆ ตงั
กลา่ ว ท้งั น้ีเพราะเขาไมเ่ หน็ โทษของพฤติกรรมผิดๆ เหล่านัน้ อีกทง้ั
ไม่เห็นคณุ ประโยชน์ของการแบง่ ปนั ยง่ิ กว่าน้นั เขายังเห็นผิดวา่ ถ้าเขา
จะแบ่งปนั สงิ่ ของของเขาให้แก่ใคร เขาก็จะเสยี ประโยชนแ์ ต่ฝ่ายเดยี ว
ไมม่ ีทางจะไตร้ ับประโยชนอ์ นั ใดเลย เพราะฉะนน้ั เขาจงึ ไมค่ ิดและไม่
แบง่ ปันส่ิงใดใหแ้ กใ่ คร ความเหน็ เซน่ น้ีจดั เปน็ มิจฉาทิฏฐิ
เข'พนใจ
ทำไมการไมเ่ หน็ ประโยชนข์ องการแบ่งปนั จงึ จัดเป็นมิจฉาทิฎเ
ทงั้ นีเ้ พราะผ้ไู มเ่ หน็ ประโยชนข์ องการแบ่งปนั อาจถอื โอกาส
ประพฤตติ น เอารัดเอาเปรียบและเบียดเบยี นผ้อู ื่นอยา่ งไม่เป็นธรรม
ซ่งึ จะก่อใหเ้ กดิ ความขัดแยง้ การทะเลาะเบาะแว้ง และการทะเลาะววิ าท
กัน ในทีส่ ุดกิจะกลายเป็นปัญหาวกิ ฤตข้ึนในบา้ นเมือง
ตรงกนั ขา้ ม ท่ีใดหรอื สังคมใดกติ าม ไม่ว่าจะเปน็ สังคมระดับ
ครอบครวั ระดับชุมชน หมูบ่ ้าน ประเทศ หรือแมร้ ะดบั โลก ถ้าสมาชกิ
แตล่ ะคนของสงั คมนนั้ มนื า้ั ใจเอ้อื อาทรต่อกันโดยปันกันอยู่ ปนั กนั กนิ
ปันกันใชส้ ังคมนั้นจะมืแตบ่ รรยากาศทีอ่ บอนุ่ ด้วยรอยยิ้มอย่างมืไมตรีจติ
มติ รภาพ ต่างคนต่างรกั ใคร่สมคั รสมานสามัคคกี นั เห็นอกเห็นใจกนั
ช่วยเหลอื เกือ้ กลู กันด้วยเรอ่ื งตา่ งๆ ไม่แทงกันขา้ งหลัง ไมต่ อ้ งทำใบปลวิ
หรอื บัตรสนเท่ห์เพ่ือใสค่ วามโจมตกี นั ไม่ตอ้ งให้ขา่ วหนงั สอื พมิ พ์เพือ่
บดิ เบอื นความจรงิ จนเกิดความเข้าใจสบั สนขึ้น แมบ้ างครง้ั อาจจะมืบางคน
เกดิ ความรสู้ ึกขดั แยง้ กัน ดว้ ยเร่ืองความคดิ เห็น หรือเร่ืองอน่ื ใดกติ าม
ย่อมสามารถทำความเขา้ ใจ ประนีประนอมกนั ได้ ใหอ้ ภยั กันได้โดย
งา่ ย เนอื่ งจากมคิ วามเป็นมิตรกัน มไิ ด้มองกันด้วยสายตาแหง่ ความ
เปน็ ศตั รูคอู่ าฆาต ดว้ ยเหตนุ พ้ี ระสมั มาสมั พุทธเจา้ จึงตรสั วา่ “ผใู้ ห้ย่อม
ผูกมิตรไวไ้ ด”้ ๒
ตามหลักพระพทุ ธศาสนา ถอื วา่ การแบ่งปนั หรอื การให้เป็น
“ทาน” หรอื “การทำทาน” ชนดิ หนง่ึ ผูท้ มี่ นิ ิสัยชอบแบ่งปัน กิเพราะมใิ จ
* อาฬวกสตร ลงั .มก.๒๔/๘๔๔/๔๒๕
lil'liน
เป็นกศุ ล และมคี วามฉลาด เขาจะมคี วามสุข และความปลาบปลมื้ ใจ
เม่อื ได้ทำทาน รวมทัง้ เกิดความเหน็ วา่ การทำทาน คือเครื่องมือสำคญั
ยิง่ ในการสร้างสนั ติสขุ ให้เกดิ ข้ึนในโลก
นัน่ กค็ ือเขาเห็นด้วยใจของเขาวา่ “ทานท่ีใหแ้ ล้วมีผล, ความเหน็
เซ่นน้ซี ่อื วา่ “สัมมาทิฏฐิ” ในทางกลบั กนั ผูท้ ่ี'โม่คิดแบง่ ปนั ไม่คดิ จะให้
อะไรใคร ซา้ํ ร้ายยงั จะคิดเบียดเบยี น แก่งแย่งของของผูอ้ น่ื อีก กเ็ พราะ
เหน็ ว่าการทำทานไม่ไดท้ ำให้เกดิ ผลดีอะไรขึ้นกบั ควั เขา เขาจงึ เห็นว่า
“ทานท่ีให้แล้วไมม่ ผี ล” ความเห็นเซ่นนซี้ อื่ ว่า “มิจฉาทฏิ ฐ”ิ
สรปุ
สาระสำคญั ของสมั มาทิฏฐิอนั ดับท่ี ๑ : ที่ว่า ทานมผี ลหรอื การ
แบง่ ปนั มผี ล คอื มีผลใหค้ นเราสามารถปอ้ งกนั และกำจัดความตระหนี่
ความเห็นแก่คัวออกจากใจได้ ขณะเดยี วกันก็เปน็ การเพิ่มพนู ความ
ปรารถนาดตี อ่ กนั และกนั ระหว่างผู้ใหก้ ับผู้รับ
๒. ความเห็นเกี่ยวกบั การสงเคราะห์
การสงเคราะห์คืออะไร
การสงเคราะหต์ ามนัยทจี่ ะกล่าวถึงนี้ หมายถงึ การให้ความ
ชว่ ยเหลอื กลุ่มซนในสงั คมท่ีมปี ัญหา หรือประสบปัญหาต่างๆ แตกต่าง
จากเรอ่ื ง “ทาน” ในข้อ ๑ ซ่งึ เป็นการใหแ้ ก่บุคคลเป็นรายควั มิใชก่ ลมุ่
ซนในสงั คม ดังนนั้ สงเคราะห์ในที่น้ีจงึ หมายถงึ สงั คมสงเคราะห์
ไ]เร^น
สงั คมสงเคราะห์เปน็ การพฒั นาสังคม
ทำไมตอ้ งทำสังคมสงเคราะห์
เนื่องจากในบ้านเมืองของเรา มืผูค้ นจำนวนไมน่ อ้ ยทปี่ ระสบ
บ้ญหาความทุกข์ยาก ความขาดแคลน และความเดอื ดรอ้ นในการดำเนนิ
ชีวติ เช่น ผูท้ พุ พลภาพมาแต่กำเนดิ ผ้ทู พุ พลภาพจากอุบด้ ิเหตแุ ละ
อบุ ต้ ิภัยตา่ ง ๆ คนชราทยี่ ากไร้ ขาดที่พึ่ง เดกื กำพร้า ผ้ปู ระสบสาธารณภยั
ต่างๆ ผู้ดอ้ ยโอกาส เปน็ ดน้ ผู้คนเหลา่ นใ้ื ม่สามารถช่วยตนเองได้ จำเป็น
ทบี่ รรดาบคุ คลช่ึงมกื นิ มใื ชไี ม่เดอื ดรอ้ น บคุ คลทีม่ ฐื านะม่ังค่ัง รา่ํ รวย
จะต้องเขา้ ไปให้ความช่วยเหลือประคับประคอง เพ่ือใหบ้ คุ คลผูโ้ ชครา้ ย
คังกลา่ ว
๑) สามารถมชี วี ิตอย่ไู ด้
๒) มีโอกาสไดร้ ับการศกึ ษาพัฒนาให้เป็นพลเมอื งดขี องชาติ
๓) สามารถแกบ้ ญ้ หาเร่งตว่ นท่ตี นกำลังเผชญิ อยู่ไดส้ ำเร็จ
แท้ท่จี ริงงานชว่ ยเหลอื สงเคราะห์บคุ คลดังกล่าว รฐั กิดำเนินการ
อยแู่ ลว้ แตเ่ นื่องจากความจำกดั งบประมาณ และกำลงั เจ้าหนา้ ท่ขี องรฐั
อาจทำใหไ้ ม่สามารถสงเคราะห์ผคู้ นเหลา่ นนั้ ไดอ้ ยา่ งคั่วถงึ รวดเรว็ ทัน
หว่ งที ก้าเราชว่ ยสงเคราะห์ไดอ้ ีกทางหนึง่ กิเท่ากับเปน็ การช่วยรัฐดว้ ย
เพราะถ้าผ้คู นทกุ หมเู่ หล่าสามารถช่วยคัวเองได้ กิจะไมก่ ่อบ้ญหาขึน้ ใน
สังคม ดงั นนั้ จงึ กลา่ วได้ว่า การทำสงั คมสงเคราะห์ ของภาคเอกชน เป็น
การชว่ ยรฐั พฒั นาสังคมท่เี หมาะสมย่งิ
นอกจากน้กี ิยังมีสมณพราหมณ์ ดอื พระภิกษสุ งฆ์ ผ้ทู ำหน้าท่ี
1?1ใใ
เผยแผ่ธรรม เป็นครบู าอาจารยส์ อนวชิ าศีลธรรม สอนความเปน็ มนุษย์
ใหแ้ กผ่ ู้คนในสังคม ให้ต้งั ม่นั อยู่ในสมั มาทฏิ ฐิ ไม่หลงมัวเมากบั ความเหน็
อนั เป็นมจิ ฉาทิฏฐิ ไมก่ ่อปญั หาเดือดร้อนตา่ งๆ ขึ้นในสังคม
สมณพราหมณเ์ หลา่ นีจ้ ำเปน็ ตอ้ งอาศัยจตุปจั จัยจากญาตโิ ยมเปน็
เครื่องหลอ่ เลย้ี งชวี ติ และต้องอาศยั อุปกรณ์เครือ่ งใชท้ ่จี ำเปน็ จากญาติโยม
สำหรับเป็นเครอ่ื งมือในการเผยแผ่ศลี ธรรม ดังนนั้ การอุปถัมภส์ มณ-
พราหมณต์ ว้ ยเรือ่ งต่าง ๆ กจ็ ดั ว่าเปน็ สังคมสงเคราะห์อีกอย่างหนึ่งต้วย
ถ้าประชาซนไมส่ งเคราะห์เหลา่ สมณพราหมณ์ ทา่ นก็จะไม่
สามารถปฏปิ ัตหิ น้าที่ครูสอนศีลธรรมทที่ า่ นพงึ ปฏิบต้ ติ ่อสังคมอีกต่อไปไต้
จำต้องสึกหาลาเพศออกไปประกอบอาชพี เลี้ยงชีวติ ดังเซ่นฆราวาสโดย
ทว่ั ไป ถา้ เป็นเซน่ นน้ั ชาวโลกก็คงจะไม่มโี อกาสไต้เรียนรู้วิชาว่าดว้ ย
ความเปน็ มนุษย์ เพราะตามสถาบันการศกึ ษาต่างๆ ทางโลก ไม่วา่ จะเป็น
ในประเทศหรอื ตา่ งประเทศ ล้วนเปีดสอนกนั แตว่ ชิ าที่มุ่งเน้นในต้านวัตถุ
ขาดการมุ่งพฒั นาในต้านจติ ใจและความเปน็ มนุษย์อย่างจริงจงั
ถา้ สงั คมมนษุ ย์ขาดครูบาอาจารยผ์ ทู้ ำหน้าท่อี บรมสงั่ สอนวชิ าแหง่
ความเป็นมนุษยใ์ ห้แล้ว อกี ไมช่ ้าไม่นาน ผคู้ นในมนษุ ยโลก กจ็ ะมคื วาม
เป็นมนุษยเ์ ฉพาะกายเท่าน้นั แต่จติ ใจของเขาคงจะดุรา้ ยย่ิงกว่าดิรัจฉาน
เสียอีก ซ่งึ ในที่สุดโลกมนุษย์ก็อาจจะต้องถกู ยุบไปรวมเป็นส่วนหนง่ึ ของ
อบายภมู เิ ปน็ แน่ ดว้ ยเหตนุ ้กี ารสงเคราะห์สมณพราหมณ์ ผ้ปู ระพฤตติ ิ
ปฎิบ้ตชิ อบจึงเป็นหน้าที่รับผดิ ชอบของซาวโลกทุกคน
ดว้ ยเหตผุ ลและความจำเป็นดงั กล่าวแลว้ การทำสังคมสงเคราะห์
จงึ เปน็ สง่ิ จำเปน็ มีประโยชน์ และควรทำอยา่ งยง่ิ แตก่ ม็ ผี คู้ นไม่นอ้ ยไม่
คิดและไมท่ ำสงั คมสงเคราะห์ เพราะพวกเขามองไมเ่ ห็นว่า การทำสงั คม
สงเคราะหจ์ ะให้ผลดีอย่างไรแก่พวกเขา ความเห็นเช่นนกี้ จ็ ัดว่าเป็น
มจิ ฉาทิฏฐิประการหน่งึ อยา่ งไรก็ตาม ยงั มผี ้คู นไม่นอ้ ยทงี่ ท่ีมีฐานะทาง
เศรษฐกจิ ดีมาก ค่อนข้างดี และไม่ดีนัก แตก่ ม็ นี า้ํ ใจและนสิ ัยสงเคราะห์
ผู้คนในชุมชนต่างๆ แมไ้ มส่ ามารถสงเคราะหด์ ้วยเงนิ ทอง หรือทรัพยส์ นิ
สิ่งของใหม่เอ่ยี มถอดด้ามมคี ุณภาพดี ก็อุตส่าห์สงเคราะห์ด้วยแรงกาย
แรงใจ ตลอดจนแบง่ ปนั สิง่ ของที่ตนใช้แล้ว เชน่ เส้ือผา้ และเครอ่ื งมอื
เคร่อื งใช้ตา่ ง ๆ เปน็ ดน้ นํ้าใจของผทู้ ำสงั คมสงเคราะห์เหล่านี้ นา่ สรรเสรญิ
ยิ่งนัก
บุคคลที่มนี ํ้าใจเสียสละทำสงั คมสงเคราะหเ์ ปน็ นสิ ยั ความเสียสละ
น้นี อกจากจะสามารถเป็นภูมคิ ้มุ กันไมใ่ ห้เขาเกิดความโลภ ตลอดถึงความ
โกรธ และความหลงข้นึ ไดโ้ ดยง่ายแลว้ ยังจะกอ่ ใหเ้ กิดอานสิ งสแ์ กต่ ัว
เขาอย่างมาก คอื
๑) ผู้ท่ีทำสงั คมสงเคราะห์ ยอ่ มเป็นทร่ี ักทช่ี อบใจของผคู้ นเป็น
ยนั มาก
๒) คนดีย่อมอยากคบค้าสมาคมด้วย
๓) ผู้ทท่ี ำสังคมสงเคราะห์ย่อมมีชื่อเสยี งขจรขจายไปไกล
๔) ผู้ท่ที ำสงั คมสงเคราะหย์ ่อมเป็นผ้อู งอาจ ไมเ่ กอ้ เขิน เมอ่ื เช้า
ไปอย่ใู นที่ประชมุ ใหญ่
พระพุทธศาสนาเรยี กการทำสงั คมสงเคราะห์ว่า “ยญั , หรอื “ยัญ
11ทไป
ที่บูชาแลว้ ”พระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ทรงแสดงว่า “ยญั ทีบ่ ชู าแล้ว มีผล”หมาย
ความวา่ การทำสังคมสงเคราะหม์ ผี ลดี มีประโยชน์มาก ควรทำอย่างยง่ิ
ใครก็ตามทีเ่ ห็นว่า “ยญั ทบ่ี ชู าแล้วมีผล” ความเห็นของเขาช่อื วา่
“สมั มาทฏิ ฐ”ิ
ในทางกลับกัน ใครกต็ ามทีเ่ หน็ ว่า “ยัญท่บี ูชาแล้วไมม่ ีผล” ความ
เหน็ ของเขาช่ือว่า “มิจฉาทฏิ ฐ”ิ ผทู้ มี่ ีมิจฉาทิฎฐปิ ระเภทนี้นอกจากจะ
ไม่สงเคราะห์กลุม่ ชนใดๆ แล้ว ยังจะจ้องหาโอกาสเบยี ดบงั ทรพั ย์สมบต้ ิ
ของสังคมอกี ด้วย เซ่น การเบยี ดบังงบประมาณในโครงการต่างๆ ของ
รัฐ เปน็ ด้น
สรปุ
สาระสำคัญของสัมมาทฎิ ฐอิ นั ดับที่ ๒: ทีว่ ่า ยญั ที่บูชาแลว้ มผี ล
หรือการทำสังคมสงเคราะหม์ ผี ล คือ มีผลช่วยให้ตนเองสามารถปอ้ งกัน
และกำจัดความโลภไดอ้ ย่างกวา้ งขวางและยง่ิ ยนื ขึ้น ขณะเดียวกนั ก็
สามารถเพิ่มพนู ความรกั ความปรารถนาดตี อ่ มวลมนุษย์ที่อยรู่ ่วมโลก
เดียวกนั ให้กว้างขวางยิง่ ๆ ขึน้
๓. ความเหน็ เก่ยี วกับการบูชาบุคคลทีค่ วรบชู า
การบูชา คอื อะไร
การบูชาในเรอื่ งน้ี หมายถึง การนำสิ่งของท่สี มควรไปสักการะ
หรอื มอบให้ผ้ที่ควรบซา
เขาไป3^โนใจ
ใครบ้าง คอื บคุ คลทคี่ วรบูชา
บุคคลทค่ี วรบูชา ก็คือบุคคลท่ีเคยประกอบคุณงามความดมี าแลว้
ทัง้ แกเ่ รา และผูอ้ ่ืน แบ่งออกไดเ้ ป็น ๔ กลุม่ คือ
๑) บคุ คลทีม่ ีพระคุณตอ่ ตวั เราเองโดยตรง และท่านยงั มีชีวิตอยู่
เซ่น มารดา บดิ า ครูอาจารย์ ญาติผู้ใหญ่ ผ้บู ังตบั บัญชา ตลอดจนผู้มี
อุปการคณุ ในด้านตา่ ง ๆ
๒) บรรพบรุ ุษ และญาติมิตรผ้ลู ว่ งลบั ไปแลว้
๓) บคุ คลที่มีศีลธรรมสูงสง่ มคี วามสำเรจ็ ในชวี ติ สมควรเปน็
แบบอย่างทีด่ ีของลงั คมได้
๔) สมณพราหมณ์ ผูป้ ระพฤตดิ ปี ฏิบิติชอบ ซงึ่ กำลงั มุ่งม่ํนพฒั นา
ผคู้ นในสงั คม
จุดมงุ่ หมายของการบชู าบุคคลท่ีควรบูชา
ทำไมจงึ ตอ้ งยกยอ่ งบชู าให้เกียรติบุคคลตงั กลา่ ว
จดุ มงุ่ หมายสำคัญกค็ ือ
๑) เพ่อื แสดงความกตัญฌูกตเวที แกผ่ ทู้ ่เี คยมีพระคุณแกเ่ ราเอง
มากอ่ น
๒) เพ่อื แสดงการยอมรบั นับถือ ใหเ้ กยี รติ ยกย่อง เทดิ ทูน
บุคคลทเี่ ราไดเ้ ห็นแลว้ ว่ามคี ุณงามความดีมากพอ
๓) เพ่อื ประกาศเกียรติคณุ ของท่านนน้ั ๆ ใหโ้ ลกรู้ และยึดไวเ้ ป็น
แบบอย่างบุคคลผบู้ ำเพ็ญความดี ทใ่ี ครๆ กค็ วรปฏบิ ตั ติ าม
๙) เพอ่ื สรา้ งค่านิยมทถี่ ูกดอ้ งใหแ้ ก,สังคม คอื เคารพธรรมะหรือ
เขาไปBSjในใจ
ถอื ศีลธรรม ตลอดจนคณุ ความดีเป็นใหญ่ ไมใช่ถอื ยศตำแหน่ง อำนาจ
หน้าท่ี และความรารวยเปน็ ใหญ่
๔) เพ่ือปอ้ งกันตนเองไมให้คอยจบั ผิดคิดอจิ ฉารษิ ยาผ้อู นื่ ตลอด
จนยกตนข่มท่าน แตท่ วา่ คอยสงั เกตคณุ ความดขี องผ้อู ่นื แลว้ น่ามา
เปน็ แบบอย่างปฏบิ ้ติตาม
ผลเสยี ของการไฝ บูชาบคุ คลที่ควรบูชา
ล้าคนเราไมย่ กย่องบูชาใหเ้ กียรตบิ คุ คลทคี่ วรบูชาจะเกดิ ผลเสยี
อยา่ งไร
ผลเสียโดยสรุปกศ็ อี มิจฉาทิฏฐบิ คุ คลจะครองเมอื ง ผูค้ นในสังคม
จะแย่งกนั เดน่ แยง่ กนั ดัง แยง่ ตำแหน่ง แยง่ กันอยู่ แย่งกันกนิ แยง่ กัน
ใช้ ผใู้ ตบ้ งั คับบัญชากค็ ดิ จะแยง่ ตำแหนง่ หัวหน้า ลูกนอ้ งทไ่ี ต้ดบิ ไตด้ ขี ้ึน
มาก็ทำคัวเปน็ วัวลมื ตีน แสดงพฤติกรรมกา้ วรา้ วลูกพื่ ท่ีเคยใหก้ าร
อปุ การะสนับสนุน ศษิ ยท์ ีไ่ ต่เตา้ ข้ึนไปสู่ตำแหนง่ สูงไต้ ก็แสดงพฤตกิ รรม
วัดรอยเทา้ ครบู าอาจารย์ คนท่เี คยเปน็ เพอ่ื นรกั กนั กม็ ืพฤตกิ รรมเหยียบ
จมกู กัน เมอ่ื ถงึ คราวแยง่ ผลประโยชนก์ นั เหลา่ นี้คอื ควั อยา่ งของความ
ขัดแยง้ วุ่นวาย สับสน ทจี่ ะเกิดขึน้ ในสังคม ลา้ ผู้คนไม่เคารพยกยอ่ ง
บชู าบคุ คลท่คี วรบชู า ในท่สี ุดกจ็ ะกลายเป็นความแตกแยกระหว่างผคู้ น
ในบา้ นเมอื ง เกิดเป็นหลายกก๊ หลายพวก หลายสี อันจะนำไปสู่ความ
หายนะ และความส้นิ ชาติ ส้ินศาสนา
สาเหตทุ ่คี นเราไม,บูชาบุคคลท่คี วรบูชา
ทำไมคนเราจึงไม่ยกย่องบูชาให้เกียรตคิ นดีหรอื บคุ คลทค่ี วรบูชา
อาจมีหลายสาเหตุ เช่น เพราะมคี วามโลภ อยากเดน่ ดงั กวา่
แทไใ!รเlul^
ใครๆ เพ่ือเป็นทางมาแหง่ อำนาจและผลประโยชนข์ องตน จงึ ไม่ยกย่อง
ใหเ้ กียรติผู้อืน่ ทเี่ หนอื กวา่ ตนในด้านตา่ ง ๆดว้ ยการกลา่ วโจมตบี ุคคลเหล่า
น้นั เพอื่ เป็นการยกตนใหเ้ ดน่ ดัง เป็นท่สี นใจของผู้คนในสังคมข้ึนแทน
บางคนอาจมีความคดิ อจิ ฉาริษยาผู้อน่ื ไม่ตอ้ งการเห็นผอู้ ่นื เด่น
ดังกว่าตน จงึ ไมย่ กยอ่ งใครๆ ทั้งสิน้ แมพ้ ่อแม่ครอู าจารยข์ องตนเอง
บางคนมีปมดอ้ ย ซง่ึ อาจเกิดจากเคยถกู กดขีข่ ่มเหงนํ้าใจมาแด่
เยาวว์ ยั ไม่ไดร้ ับความยกยอ่ งให้เกียรตจิ ากใครมาแด่เด็ก จนเกดิ เป็น
ความฝังใจว่าทุกคนในโลกนใ้ื ม่มีคนตี มแี ด่คนใจร้าย ไมม่ คี วามยตุ ิธรรม
เขาจงึ ไมย่ กย่องบชู าใหเ้ กยี รตคิ นตี หรือใครๆ ทง้ั สิน้
โดยสรุปกีคือ ผู้ท่มี ีความโลภเป็นนิสยั ผทู้ ีม่ นี ิสยั ขี้อิจฉา ริษยา
และผ้ทู ี่มีปมด้อย จะไม่รูจ้ ักยกย่องสรรเสริญใครๆ แมแ้ ดบ่ ุคคลท่ีควรแก่
การยกย่องบูชา
อย่างไรกตี าม เด็กๆ ท่ีได้รับการอบรมสั่งสอน ปลูกฝงั ศลี ธรรม
และมารยาทตงี ามตา่ งๆ จากพ่อแมผ่ ู้ปกครอง และครอู าจารยม์ าเป็นอย่าง
ตี รวมทัง้ การรู้จกั ยกยอ่ งให้เกยี รติผู้คน ครั้นเมอื่ เติบโตเปน็ ผใู้ หญ่ เขา
จะไม่มนี สิ ยั ดงั กลา่ ว
ในพระพทุ ธศาสนา เรยี กการนำสง่ิ ของทีส่ มควร เข่น ดอกไม้
ธปู เทียน สิง่ ของเครอื่ งใซ้ที่พอเหมาะ ตลอดจนขา้ ว ปลา อาหาร ท่ี
ประณตี ฯลฯ ไปสกั การะ คอื มอบใหบ้ คุ คลท่ีควรแก่การยอมรบั นับถือวา่
“การเซ่นสรวง, พระสัมมาสมั พุทธเจา้ ทรงแสดงวา่ “การเซน่ สรวงมผี ล,
หมายความวา่ การนำส่ิงของท่สี มควรไปมอบใหผ้ ้ทู ่คี วรยกยอ่ ง ให้เกยี รติ
I l l ไไป a $ flu l^
ในวาระทเ่ี หมาะสม ย่อมมีผลดี มีประโยชน์ ควรทำอยา่ งย่งิ
ใครกต็ ามทเ่ี หน็ วา่ “การเซน่ สรวงมผี ล” ความเห็นของเขาซือ่ วา่
“สัมมาทฏิ ฐิ” ในทำนองตรงกันขา้ ม ใครก็ตามท่ีเหน็ ว่า “การเซน่ สรวงไม่
มีผล, ความเห็นของเขาซือ่ วา่ “มิจฉาทิฎฐิ”
สรปุ
สาระสำคญั ของสัมมาทิฏฐอิ นั ดบั ที่ ๓ ะท่วี ่า การเซ่นสรวงมีผล
หรอื การบชู าบคุ คลทค่ี วรบูชามีผล ดีอมผี ลดใี นการส่งเสรมิ ใหท้ ุกผูค้ นใน
สังคมถอื ธรรมเป็นใหญ่ มีจิตใจผอ่ งใส เกิดกำลงั ใจในการทำความดใี หย้ ่งิ ๆ
ข้ึนไปและก่อใหเ้ กิดความสามคั คีของคนในชาติ
๔. ความเห็นเก่ยี วกับผลของกรรมดี และกรรมชัว่ ทบ่ี คุ คล
ทำไปแล้ว
ความหมายของ “ กรรม” ตามหลกั พระทุทธศาสนา
กอ่ นอืน่ ถามวา่ “กรรม” คืออะไร
คำวา่ “กรรม” ในพระพุทธศาสนา แปลวา่ “การกระทำโดยเจตนา”
น่นั คอื การกระทำทางกาย วาจา และใจ ทุกเรอ่ื งทุกประการไม่วา่ ดีหรอื ช่ัว
ทเี่ กดิ จากความต้ังใจของผู้กระทำ ถือวา่ เปน็ “กรรม” ท้งั สนิ้
ความหมายโดยยอ่ ของ กรรมดี และกรรมชว่ั
กรรมที่เรยี กวา่ กรรมดี หมายถึงการกระทำทด่ี ีงาม เหมาะสม
ไม่ผดิ ศีล ไม่ผดิ ธรรม ไม่มบี าป เช่นการทำทาน การสงเคราะห์ผ้คนใน
เขา^นใจ
สังคม การยกย่องบูชาคนดี เป็นต้น
สว่ น กรรมชว่ั หมายถงึ การกระทำท่ีผดิ ศีล ผดิ ธรรม เช่น การ
ฆ่าสตั ว์ การเอารดั เอาเปรียบผอู้ ื่น การใส่ร้ายผู้อ่นื เป็นต้น กรรมเหล่า
นกี้ อ่ ให้เกดิ บาปท้ังสิน้
เกณฑใ์ นการตัดสนิ กรรมดี กรรมช่วั
พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าทรงแสดงเกณฑ์ในการตดั สนิ เร่อื งกรรมดี
กรรมช่วั ไว้ตงั น้ี คอื
เกณฑ์ในการตดั สินกรรมดี หรอื กศุ ลกรรม
เกณฑใ์ นการตัดสินกรรมดี มอี ยู่ ๒ ลักษณะ คอื
๑) พิจารณาทีผ่ ลสดุ ทา้ ยของการกระทำ ตังท่ตี รัสว่า
“บคุ คลทำกรรมใดแล้วไม่เดอื ดร้อนในภายหลัง
มจี ิตแช่มช่ืนเบิกบานไดร้ บั ผลกรรมใด กรรมท่ีทำแล้ว
น้ันเป็นกรรมดี” ๓
๒) พิจารณาทต่ี น้ เหตขุ องการกระทำ ตังท่ีตรัสวา่
“กรรมใดทบ่ี ุคคลทำดว้ ย อโลภะ อโทสะ อโมหะ
กรรมนนั้ เปน็ กศุ ล กรรมนัน้ ไมม่ โี ทษ กรรมนั้นมีผล
เป็นสขุ ” ๔
๓ เขมสูตร สง.ส.มจร. ๑±7๑๐๓/๑®ร)
๔ ปฐมนทิ านสตู ร อัง. ติก; มก. ๓๔/๙๙๙๙๒๐
lll'I'liIa g lu L ^ I
เกณฑใ์ นการตัดสินกรรมช่ัว หรอื อกุศลกรรม
เกณฑ์ในการตัดสินกรรมช่วั มอี ยู่ ๒ ลกั ษณะ คอื
๑) พจิ ารณาท่ผี ลสดุ ท้ายของการกระทำ ตงั ทต่ี รัสว่า
“บคุ คลทำกรรมใดแลว้ ย่อมเดือดร้อนในภาย หลัง
และมีหนา้ นองดว้ ยนาตา รอ้ งไห้อยู่ ได้รับผลกรรมใด
กรรมท่ีทำแล้วนัน้ เปน็ กรรมไม่ดี’, ๕
๒) พจิ ารณาที่ต้นเหตขุ องการกระทำ ดงั ทต่ี รสั ว่า
“กรรมใดทบี่ ุคคลทำดว้ ยโลภะ โทสะ โมหะ กรรม
นนั้ เป็นอกศุ ลกรรม กรรมน้ันมีโทษ กรรมน้ันมีผล
เป็นทกุ ข”์ ๖
สาระสำตัญฃองกฎ แห่งกรรม
สาระสำตัญของกฎแหง่ กรรม คืออะไร
สาระสำคญั ของกฎแห่งกรรม คอื “ทำดยี ่อมไตร้ ับผลดี ทำช่วั ย่อม
ไตร้ ับผลชั่ว” ดังธรรมภาษติ ว่า
“บรุ ษุ ทำกรรมเหล่าใดไว้ เขายอ่ มเห็นกรรมเหลา่
นนั้ ในตน ผทู้ ำกรรมดีย่อมไดร้ ับผลดี ผทู้ ำกรรมชัว่
ยอ่ มได้รบั ผลชัว่ บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้รับผล
เช่นนัน้ ” ๗
๙ เขมสตู ร ลงั . ส. มจร. ๑๙/๑๐๓/«๑๑
๖ ปฐมนทานสตู ร องั . ติก. มก. ๓๔/๙๙®/๙๒๐
๗ จุลลนันทยิ ชาดก ขุ. ชา. ทกุ . มก. ๙๗/๒๙๔/๓๘๙
จากธรรมภาษติ นี้ มสี าระสำคัญอาจแยกออกได้ ๔ ประเดน็ ดว้ ยกนั
คือ
๑. ผู้ใดทำกรรมดี หรอื ชั่ว ยอ่ มไดร้ บั ผลของกรรมเหล่าน้ันด้วย
ตนเอง
๒. ผูใ้ ดทำด็ จะไดผ้ ลดี
๓. ผูใ้ ดทำชวั่ จะไดผ้ ลชั่ว
๔. ผลของกรรมเปรยี บเทยี บไดก้ ับการออกผลของพืช กล่าวคือ
เมอื่ ปลกู พืชชนิดใด จะได้เกบ็ ผลของพชื ชนิดน้นั
การเกดิ ผลของกรรมทั้งดีและชวั่ เรียกวา่ วิบาก ซึ่งมีกฎเกณฑ์
แนน่ อนตายคัว ท่านจึงเรียกกฎเกณฑ์แห่งวิบากกรรมวา่ “กฎแห่ง
กรรม” กฎนีเ้ ป็นกฎเหล็กท่ีเทยี่ งธรรมท่สี ดุ ไมต่ อ้ งมกี ารดีความใดๆ
จากสาระสำคัญ ทั้ง ๔ ประเดน็ ของธรรมภาษิต ดงั ไดแ้ สดงแล้ว
ท่านผอู้ ่านคงจะเหน็ แลว้ ว่า กฎแหง่ กรรม เปน็ กฎแหง่ เหตุและผลทเ่ี ขา้ ใจ
ไดง้ ่าย เพราะทกุ คนสามารถตรองไดจ้ ากประสบการณในชวี ิตจรงิ ของ
ตนเอง เช่น เดก็ ทีเ่ กยี จคร้านไมย่ อมเรยี นหนงั สือ ย่อมอา่ นหนังสือไม,
ออก คนบางคนท่ดี ่ืมสรุ าจนเมามาย ยอ่ มควบคมุ สติไม่อยู่ ย่อมทำ
กรรมชว่ั ไดท้ ุกเร่ือง เป็นดน้ แตท่ ำไมจึงยังมผี ู้คนจำนวนไม่น้อย ทมี่ ีความ
สงสยั การออกผลของกรรม แล้วไมเ่ ช่ือกฎแห่งกรรม
เนอ่ื งจากการกระทำของผู้คนโดยทัว่ ไป มีท้ังกรรมดีและกรรมชว่ั
ปะปนกนั ไปในแตล่ ะวัน ประการหน่งึ การทำกรรมดีและกรรมชัว่ ของ
คนเราน้นั มิไดท้ ำกนั เพยี งแค่ครั้งเดยี ว แต่ทำกนั บ่อยๆ อีกประการหน่งึ
ทำให้การออกผลของกรรมมคี วามสลับซับชอ้ นมาก จึงลูเหมอื นว่า การ
ออกผลของกรรม มไิ ด้สอดคล้องกบั ธรรมภาษิตดังกล่าว เพราะเหตุนี้เอง
จงึ ทำให้มีผู้คนสงสยั เรื่องกฎแหง่ กรรมอย่เู สมอ
กาลเวลาแห่งการให้ผลของกรรม
เก่ยี วกบั ความสลับซบั ช้อนในเร่อื งการออกผลของกรรมน้ี พระ
พทุ ธศาสนามคี ำอธิบายละเอียดพอสมควร ๘ซึง่ สามารถสรปุ ได้ว่า กาล
เวลาแหง่ การใหผ้ ลของกรรมแตล่ ะครั้งท่ีเราทำมอี ยู่ ๓ ระยะ คือ
ระยะที่ ๑ กรรมท่ีให้ผลในชาตินี้
ระยะท่ี ๒ กรรมที่ใหผ้ ลในชาติหนา้ กัดจากชาตินี้โป
ระยะที่ ๓ กรรมท่ใี ห้ผลในชาตติ ่อๆไป ไมม่ ีกำหนดจนกว่าจะ
หมดกเิ ลสบรรลุพระนิพพาน
จากเรอ่ื งกาลเวลาแหง่ การใหผ้ ลของกรรมนี้ แสดงใหเ้ หน็ วา่ โลก
หนา้ มี ตายแลว้ ไมส่ ญู ตราบใดทีย่ ังมีกเิ ลส จะต้องไปเกดิ อีก ส่วนว่าจะ
ไปเกดิ เป็นอะไร อยู่ทไ่ี หน กรรมของตนจะเปน็ ผจู้ ัดสรรให้เอง
อย่างไรก็ตาม พระสัมมาสมั พุทธเจ้าไดต้ รสั ยนื ยนั วา่ กรรมท่ี
บุคคลใดทำแล้ว จะสง่ ผลแก่บุคคลน้นั อยา่ งแน่นอน สำหรับกรรมช่ัวนั้น
เม่อื ถึงคราวกรรมออกผลก็ไม่มสี ง่ิ ใลมพี ลงั อำนาจมาขดั ขวางทัดทานได้
ดังท่ีตรัสวา่
“บคุ คลทท่ี ำกรรมชวั่ ไว้ หนไี ปแล้วในอากาศ กไ็ ม่
พึงพน้ จากกรรมช่วั ได้ หนไี ปในทำมกลางมหาสมทุ ร
๘ นิทานสูตร องั . ตกิ . มก. ๓๔/๔๗๓/๑©๘
mniiiaifiuta
ก็ไมพ่ ึงพ้นจากกรรมชั่วได้ หนีเข้าไปส่ซู อกภเู ขา กไ็ ม่
พงึ พ้นจากกรรมชั่วได้ (เพราะ)เขาอย่แู ล้วในประเทศ
แฟงแผน่ ดินใด พงึ พน้ จากกรรมชัว่ ได้ ประเทศแหง่
แผ่นดนิ น้นั หามอี ยู่ไม"่ ๙
นอกจากน้พี ระสมั มาส้มพุทธเจ้ายังไดต้ รสั เรือ่ งวิบากของกรรม
ท้ังชวั่ และดไี วด้ งั นี้
“ผมู้ กี รรมลามก ยอ่ มเข้าถึงนรก ผมู้ กี รรม
เปน็ เหตุแหง่ สคุ ติ ยอ่ มไปสวรรค์ ผไู้ ม่มอี าสวะยอ่ ม
ปรินิพพาน” 90
จดุ มุ่งหมายของการศึกษๆเรื่องกรรม
ทำไมคนเราจึงตอ้ งศึกษาเรอื่ งกรรม
จุดมุ่งหมายของการศกึ ษาเรื่องกรรม กเ็ พ่อื ใหร้ วู้ า่ พฤตกิ รรม
อย่างไรเป็นกรรมดี อยา่ งไรเป็นกรรมชั่ว แลว้ เลอื กประพฤติปฏิบติ
เฉพาะแต่กรรมดีเท่าน้นั ไม่ยอมแตะต้องกรรมชวั่ เปน็ อนั ขาด แมค้ วาม
ช่ัวเพยี งนดิ กไ็ มค่ ดิ ท่า เพราะกรรมดีจะนำความสุขมาให้เป็นรางวลั สว่ น
กรรมชัว่ จะนำความทกุ ข์และความเดือดรอนมาใหเ้ ปน็ การลงโทษทัณฑ์
คนเราทุกคนย่อมปรารถนาความสขุ การทง้ั ไจศกึ ษาสรรพ-
วิชาการตา่ งๆ ใหไ้ ดค้ วามร้มู ากมายสูงสง่ กเ็ พอ่ื เป็นเครอื่ งมือสร้างความ
มั่นคง และความสขุ ใหแ้ ก่ชีวติ ตนเอง แต่ถา้ ไม่รเู้ รือ่ งกรรม เขาก็อาจจะ
๔ ปาปวรรค ช.ุ ร. มก. ๔๒/๑๙/๓
*° ปาปวรรค ชุ. ธ. มก. ๔๒/©๙/๓
1> ป ีไ ไ ป aเใu l ^
ใช้ความรู้ของตนไปในทางทผ่ี ิด เช่น ใชค้ วามรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ของตน
ไปสร้างอาวุธชีวภาพเพอ่ื ใช้ในสงคราม ฆ่าลา้ งผลาญชวี ิตผคู้ น การใช้
ความร้ทู างศัลยกรรมไปผา่ ตดั ร่างกายคนดี เพ่ือปล้นไตเอาไปขายให้
คนไชท้ ่กี ำลงั รอเปลย่ี นไต ตังท่มี ีข่าวฮอื ฮาในบางประเทศเปน็ ระยะ ๆ
เป็นตน้ การกระทำเช่นนีก้ ็เชา้ ทำนอง “ความรูท้ ีเ่ กดิ ข้นึ แกค่ นพาล มี
แตจ่ ะนำไปสร้างความฉบิ หาย”
เพราะฉะนั้น คนที่มคี วามรทู้ างโลกมากมาย แตไ่ มร่ ูเ้ ร่อื งกรรม
กม็ ีแต่จะใชค้ วามรขู้ องตนสรา้ งความหายนะให้แก่โลก ในทสี่ ดุ ตนเองก็
จะไมม่ ที างรอดจากโทษ และทุกขจ์ ากกรรมชัว่ ของตน ความปรารถนา
ทจ่ี ะมีชวี ติ เป็นสขุ กจ็ ะกลายเป็นทุกขเ์ ชา้ มาแทนที่ สู้คนอ่านไมอ่ อก
เขียนไม่ไต้ แต่รูว้ า่ อะไรเป็นกรรมดี อะไรเป็นกรรมชัว่ แลว้ เลอื กทำแต่
กรรมดี ละเวน้ กรรมช่ัวทกุ อย่าง แม้จะมีอาชีพเป็นคนดแู ลทำความ
สะอาดห้องสขุ า ชวี ิตของเขากม็ ีความสขุ ตามอัตภาพ ไม่ทกุ ข์ใจ
ด้วยเหตนุ ีจ้ ึงเห็นไตว้ ่า ชีวิตคนเราจะมคี วามสขุ และมีคุณคา่
อย่างแท้จรงิ ก็อยทู่ ี่การเลือกทำแตก่ รรมดเี ทา่ นนั้
ชีวิตของคนเราอาจเปรยี บไต้กับถว้ ยแกว้ ใบหนึ่ง ขณะท่ีถ้วยแก้ว
ใบนนั้ ยงั ไมถ่ กู นำมาใช้ กอ็ าจจะไมม่ ีคณุ ค่าอยา่ งใด แต่ถา้ ถว้ ยใบน้นั ถูก
นำมาใช้เป็นถ้วยน้าั มนต์ มนั กจ็ ะมคี ณุ คา่ กลายเปน็ ถว้ ยศักดrิ สทิ ธข์ น้ึ มา
ทนั ที ในทางกลบั กนั ถา้ ถ้วยใบนัน้ ถูกนำมาใชใ้ ส่ยาพิษ มันกเ็ ป็นถ้วย
อัปมงคลทไี่ รค้ ณุ คา่ เรอ่ื งนี้ฉนั ใด ชวี ิตของคนเรากฉ็ ันน้ัน ถา้ ทำแต่กรรมดี
ชีวิตกม็ ีตณุ ค่าและมคี วามสขุ แต่ถา้ ไม่รู้เรื่องกรรมดีกรรมช่ัว ทำอะไรๆ
ตามใจปรารถนา ชวี ติ ก็ไร้คณุ คา่ ประสบแต่ความทกุ ข์รื่าไป