ไไ'tlaglui^l
อย่างย่ิง ดงั จะเหน็ จากข้ออุปมาของท่านแตล่ ะเรอ่ื ง ล้วนอยบู่ นพน้ื ฐาน
ของความจริง และเปน็ เร่ืองท่ีเกิดขึ้นหรอื เปน็ ไปได้ในชีวิตปถุ ชุ นโดยทั่วไป
ดังน้ัน วาทะของทา่ นนอกจากจะเฉยี บคมแล้ว ยงั เข้าไจได้ง่าย
สำหรับผู้คนโดยทว่ั ไปอีกด้วย
ยิ่งกวา่ นน้ั คณุ สมบต้ เิ ดน่ ของทา่ นอกี ประการหนึ่งกิคือ ความ
เป็นผู้มีนํา้ ใจกลั ยาณมิตร เพราะน้าํ ใจกัลยาณมติ รของท่านน่เี อง ทำให้
ทา่ นมิความเมตตา และขนั ตธิ รรมสูง สามารถอดทนแสดงธรรมโน้มนา้ ว
พระยาปายาสิ ซึ่งมขิ ้อโต้แยง้ ดว้ ยเหตผุ ลมากมาย อีกทั้งแสดงความ
เปน็ คนหวั ด้อื หัวรัน้ ดนั ทุรงั ตลอดเวลา แตพ่ ระเถระกติ ้งั อยูใ่ นความ
สงบไดโ้ ดยตลอด อาจเป็นไปได้วา่ ถา้ หากพระยาปายาสิยังไม่ยอมศิโรราบ
ขอถึงพระรตั นตรยั เป็นสรณะแลว้ พระเถระกิคงจะแสดงธรรมโนม้ นา้ ว
ต่อไปเรอื่ ยๆ อย่างใจเย็น
สำหรับอาจารยท์ างโลก ถา้ ได้พบลกู ศษิ ย์อย่างพระยาปายาสิ กิ
คงจะไล่ตะเพดิ ออกไป โดยไมร่ อให้แสดงเหตผุ ลดัดคา้ นเกนิ ๓ ครั้ง เปน็ แน่
แตพ่ ระกมุ ารกัสสปเถระน้ันมิอธั ยาศยั แตกตา่ งจากอาจารยท์ างโลกโดย
สนิ้ เชงิ นค่ึ อื คุณสมบ้ตพิ เิ ศษ1ของกลั ยาณมิตรผทู้ รงธรรม
ยงิ่ กวา่ นนั้ การทพี่ ระเถระสามารถแสดงธรรม ทีท่ ำใหพ้ ระยาผู้
เฉลยี วฉลาด แต่เป็นมิจฉาทิฏฐิ เปลยี่ นมาเปน็ สัมมาทฎิ ฐไิ ด้ แมเ้ พยี ง
การฟังธรรมเพียงครั้งแรก และครัง้ เดียวเทา่ น้นั ต้องถอื วา่ เป็นความ
สามารถอย่างเอกอุเฉพาะตัวของทา่ น อยา่ งไรกติ ามจากกรณขี องพระ
กุมารกสั สปเถระและพระยาปายาสนิ ้ี ยอ่ มเปน็ ตวั อยา่ งที่ยืนยันให้เหน็ ว่า
โลกตอ้ งการกลั ยาณมติ รผทู้ รงภูมริ ้ภู มู ธิ รรมเป็นอย่างย่ิง
I l l ใไใJa^lui^
อยากมีสฃุ ตอ้ งแจกสุขก่อน
พระยาปายาสิ หลงั จากสลัดมจิ ฉาทิฏฐิออกจากใจได้ เพราะพระ
ธรรมเทศนาของพระกมุ ารกสั สปเถระแลว้ ใจของท่านพระยาปายาสิกิ
เร่มิ ใสสวา่ งขึน้ ดว้ ยอำนาจแหง่ สัมมาทฏิ ฐิ สามารถตรองเรอ่ื งตา่ งๆ ด้วย
เหตผุ ลทล่ี ึกซ้ึงขน้ึ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งเรอ่ื งกฎแห่งกรรม หรอื ผลวบิ าก
ของกรรมที่ทำดที ำช่วั มี
ต้งั แตส่ มยั กอ่ นพทุ ธกาลจวบจนถงึ สมัยพทุ ธกาลบรรดาพระราชา
ตลอดจนผู้มศี กั ดิใหญท่ ั้งหลายในแผน่ ดินมีความเชอื่ วา่ การบชู ามหายญั
เปน็ สงิ่ ท่ีนำความสขุ มาสู่ชวี ติ ดงั นนั้ ผทู้ ี่ปรารถนาความสขุ ตลอดกาล
นานถดึ ้องทำพธิ บี ูชามหายัญ
พระยาปายาสกิ เ็ ชน่ เดยี วกัน ท่านกม็ ีความคดิ ทีจ่ ะทำพธิ ีบูชา
มหายัญ เพือ่ ความสขุ ตลอดกาลนานของทา่ นเอง และทา่ นกิร้ดวิ า่ พิธี
บชู ามหายัญตามแบบของพราหมณซ์ ึง่ เปน็ ทีน่ ิยมกนั ในสมัยนั้น ต้องมี
การฆ่าสัตวจ์ ำนวนมาก เพ่อื ใชป้ ระกอบพิธกี รรม ขณะนเ้ี ,จของทา่ นใส
สว่างดว้ ยอำนาจแห่งสัมมาทิฏฐิ ตรองเห็นโทษเหน็ บาปของการฆา่ สัตว์
ดัดชีวติ จงึ เกิดความลงั เลสงสยั ถา้ จะทำพิธีบูชายัญตามแบบที่นิยมกัน
โดยทั่วไปในขณะน้นั
ดังนนั้ ท่านจงึ ได้ขอร้องพระกุมารกัสสปเถระ ใหแ้ นะนำการทำ
พิธบี ูชามหายญั พระเถระได้ให้ค0าขแ้ึ จงว่า การบูชามหายัญตามแบบท่ี
นิยมกนั นั้น ตอ้ งมกี ารฆ่าเหล่าปศุสตั ว์มากมาย สำหรบั บชู ามหายญั
หรือเพือ่ นำมาเปน็ ทานถวายแกป่ ฏิคาหก คอื พราหมณ์ผทู้ ำพธิ บี ชู ามหา
ยญั นนั้ การกระทำเชน่ นย้ี ่อมเปน็ เคร่ืองสนับสนนุ ใหเ้ ป็นผู้มคี วามเห็นผิด
เช'พนใจ
คิดผดิ พูดผดิ ทำผดิ เลีย้ งชีพผิด พยายามผดิ ระลึกผิด ต้งั ใจผิด (มิจฉา
ทฏิ ฐคิ รบเครื่องหรือครบวงจร) เพราะฉะนั้น การบชู ามหายัญประเภทนี้
จึงไมม่ ผี ลมาก ไมม่ อี านสิ งสม์ าก ไมท่ ำใหผ้ ู้ประกอบประสบความร่งุ เรือง
ในชวี ติ แตป่ ระการใดเลย เพราะเปน็ การหาความสขุ บนความทกุ ข์ของผู้
อ่นื การบูชามหายัญแบบนี้ เปรียบเหมือนซาวนาทีป่ ลกู ขา้ วลงในนาทม่ี ี
ดินเลว ยงั ไมไ่ ดแ้ ผว้ ถางตอหนาม ยงั ไม่ไดไ้ ถคราด อกี ทง้ั ไม่มฝี นตก
ด้องตามฤดกู าล ขอถามท่านพระยาปายาสวิ า่ การทำเซ่นนี้ ชาวนาจะ
ประสบผลไพบูลยห์ รือ
ในทำนองกลับกนั การบูชามหายัญที่ไม่ดอ้ งฆา่ สัตว์เลย ปฏคิ าหก
ผู้ทำพิธบี ชู ามหายญั น้ัน ยอ่ มเป็นผมู้ คี วามเหน็ ถูก คดิ ถูก พดู ถกู ทำถูก
เลี้ยงชพี ถกู พยายามถูก ระลกึ ถกู ตัง้ ใจถูก (อริยมรรคมอี งค์ ๘)
การบชู ามหายญั แบบน้ี เปรยี บเหมือนชาวนาปลูกขา้ วลงในนา
ที่มดี ินดี แผว้ ถางตอหนามออกหมดแลว้ ไถคราดแล้ว อีกทัง้ ฝนกต็ ก
ตอ้ งตามฤดูกาล ขอถามทา่ นพระยาปายาสิว่า การทำเซ่นนี้ ชาวนาย่อม
จะประสบผลไพบูลยใ์ ชไ่ หม
จากพระธรรมเทศนาเร่ืองการบชู ามหายญั นี้ พระยาปายาสยิ อ่ ม
จะตรองเห็นสาระสำคัญได้วา่ ถ้าคนเราปรารถนาความสขุ กจ็ ำเป็นต้อง
แจกจ่ายความสขุ ออกไปใหผ้ ู้อื่นก่อน แล้วผลแห่งกรรมดีน้ันจะสะทอ้ น
กลับมาสูเ่ ราในทธ่ี ุด ในทำนองกลับกนั ถ้าเราสรา้ งทกุ ข์ไวแ์ ก,ผู้อื่น ผลท่ี
จะสนองเราในทส่ี ุดนั้น ย่อมมแี ต่ทุกข์สถานเดียว ทงั้ หมดน้ี คอื สาระ
สำคัญของกฎแห่งกรรมโดยแท้ เม่ือตรองตามพระธรรมเทศนาทกุ เรื่อง
ของพระเถระไดด้ ว้ ยปญั ญา ทา่ นพระยาก็คดิ แจกสุขให้มหาซน
11ทไ118^ไ«1^
รอยtiiอนที่กำจดั ได้ยาก
พระยาปายาสิรบฟงั พระธรรมเทศนาของพระเถระด้วยความเขา้ ใจ
ชาบซึ้ง ทำใหเ้ กดิ ความคิดวา่ แทนทจ่ี ะทำพิธีบูชามหายญั ดังทเี่ คย
ปฎบิ ้ตกิ นั มาแตก่ าลก่อน ก็จะเปล่ียนเปน็ การต้งั โรงทาน เพือ่ สงเคราะห์
มหาซนแทน
นับแต่นน้ั มาพระยาปายาสจิ ึงไดต้ ง้ั โรงทานสำหรับสมณพราหมณ์
คนเขญ็ ใจ ยาจก และวณพิ กทั้งหลาย แตเ่ พราะเหตุท่ีพระยาปายาสิมี
นิสัยตระหน่เี ปน็ พื้นฐานประจำใจมาเป็นเวลานาน แม้เม่อื พฒั นาสัมมา
ทิฏฐขิ ึ้นในจิตใจ กระทงั้ สามารถตรองเหน็ คณุ ค่าของทาน ถงึ กับตงั้ โรงงาน
ขนึ้ เลีย้ งผูค้ นจำนวนมาก แต่วัตถุสง่ิ ของที่ทำทานของทา่ นพระยาปายาสิ
กล็ ้วนแตเ่ ปน็ วตั ถุสง่ิ ของคุณภาพตรมากๆ ไมป่ ระณตี คือข้าวทีห่ งุ กเ็ ป็น
ปลายข้าวปนรำ และไม่มีกับข้าวใดๆ เลย นอกจากนา้ํ ผักดอง ส่วนผา้
ทีบ่ รจิ าค ก็เป็นผา้ ผืนเล็กๆ หรอื ผ้าฟอ้ นๆ เน้ือหยาบๆ พนักงานหนมุ่
ซึ้งไดร้ บั มอบหมายจากพระยาปายาสใิ ห้มีหนา้ ท่รี ับผิดชอบเก่ยี วกบั การ
จัดการตา่ งๆ ในโรงทาน กค็ ือ นายอดุ ตระ หรือ อุตตรมาณพ ทุกครั้งที่
จัดการใหท้ านเสรจ็ แลว้ อุตตรมาณพกจ็ ะกล่าวคำอธษิ ฐานดังๆ วา่ ดว้ ย
ทานน้ี ขอขา้ พเจา้ ได้พบกบั พระยาปายาสเิ ฉพาะในโลกนเี้ ท่าน้ัน อย่าได้
พบในโลกอน่ื อีกเลย
เมอ่ื เรือ่ งน้รี ถู้ งึ พระยาปายาสิ ท่านพระยาจึงเรยี กอุตตรมาณพ
มาซกั ถาม อุตตรมาณพกย็ อมรับตามจริง พระยาปายาสจิ ึงถามอุตตร-
มาณพใหม่ว่า เจา้ ไม่คดิ บา้ งหรอื ว่า การทขี่ า้ ใหท้ านกเ็ พราะขา้ อยากได้
บญุ อตุ ตรมาณพจึงดอ้ งชีแ้ จงเปน็ เซงิ ให้ขอ้ คิดแกพ่ ระยาปายาสวิ ่า
วัตถุสงิ่ ของทีท่ ่านพระยาปายาสกิ ำหนดให้บริจาคในโรงทาน ทั้งอาหาร
และเคร่ืองน่งุ ห่ม ล้วนมีคณุ ภาพดร ขนาดท่านพระยาเองยังไม่อยาก
แตะต้องด้วยเทา้ เลย ไฉนเลยทา่ นพระยาจะบรโิ ภคส่ิงเหล่าน้ี!,ต้ แน่ใจ
หรอื ว่าทำทานแล้วจะไตบ้ ุญ และเพราะเหตทุ ่ตี ัวเขาเอง และทีมงาน
ต่างมคี วามรักและเคารพในตัวท่านพระยาปายาสิอยา่ งจริงใจ จึงไม่
ปรารถนาจะทำในสง่ิ ที่ไม่สมควรแกฐ่ านะของท่าน
เม่อื พระยาปายาสิไต้ฟังคำช้แี จงของอุดดรมาณพเซ่นนั้น ถ้าเปน็
กอ่ นหน้าน้ี ขณะท่ียงั มีมจิ ฉาทฏี เอย่เู ตม็ อัตรา ทา่ นพระยากอ็ าจจะกริว้
อดุ ดรมานพเป็นฟันเปน็ ไฟ แตก่ ารกลบั ตรงกันข้าม ทา่ นพระยาไต้สิง่
การใหม่ โดยให้จัดเตรยี มอาหารคุณภาพดตี ังทที่ า่ นพระยาบริโภค จัด
เตรยี มผา้ เนื้อดตี งั ที่ทา่ นพระยาใช้นงุ่ หม่ สำหรับบรจิ าคในโรงทาน ทั้งน้ี
ก็คงเป็นเพราะทา่ นพระยาเกดิ รู้สึกละอายแก่ใจ ทตี่ นยังมีความตระหน่ี
ถเี่ หนียวโดยไมส่ มควร ขณะเดียวกนั กก็ ลัวผู้คนจะติเตยี นท่าน ตงั เซ่น
อุดดรมานพ อีกท้ังกลัวจะไมไ่ ต้บุญ สัมมาทีฏฐิ และหริ ิ โอตตัปปะ ท่ี
งอกงามเกิดขน้ึ ในจิตใจของท่านพระยาน้นั เอง ทำให้ทา่ นตง้ั อยใู่ นความ
สงบ เกิดปัญญา คดิ ปรับเปลีย่ นการทำทานดว้ ยสงิ่ ของคุณภาพดี แม้
จะสงิ่ ใหจ้ ัดเตรยี มวัตถุส่งิ ของประณีต เปน็ ทานขน้ึ แทนแลว้ ก็ตาม การ
บรจิ าคทานของพระยาปายาสิก็ยังไมส่ มบรู ณ์อยนู่ ัน้ เอง ทงั้ นี้เพราะ
พระยาปายาสใิ หท้ านโดยไมเ่ คารพ คือไมต่ ระหนักในคุณคา่ ของทานอย่าง
แทจ้ ริง ให้ทานโดยไม่นอบน้อม ไม่ไตใ้ หท้ านด้วยมอื ของตนเอง ใหท้ าน
แบบทิ้งๆ ขวา้ งๆ โดยสรปุ กค็ อื ลกั แตว่ ่าให้ มิไตใ้ หด้ ้วยศรัทธาอยา่ ง
เตม็ เปยี มนั้นเอง
1)?ทไโ•
ณ จุดนี้ทา่ นผู้อ่านคงพอจะมองเหน็ วา่ ท้ังๆ ท่ีสัมมาทิฎฐิได้
พฒั นาขนึ้ ในจติ ใจของพระยาปายาสแิ ล้ว แตอ่ ิทธิพลของมจิ ฉาทิฏฐิ
คอื ความตระหนี่ ซ่งึ เปน็ พน้ื ลกั ษณะนสิ ัยมาแตเ่ ดิม กย็ งั มีเหลือตกค้างอยู่
เป็นเหตุให้ศรทั ธาในการทำทานยงั เกิดไม่เตม็ ท่ี จึงทำทานดว้ ยวตั ถุ
ส่งิ ของทีไ่ มป่ ระณีต ทำทานเหมอื นไมเ่ ตม็ ใจ
เพราะฉะน้ัน การปลกู ฝงั สัมมาทฎิ ฐิ ล้าจะให้สมบรู ณ์ จึงจำเป็น
ต้องรบี ปลกู ฝังกันตั้งแตเ่ ตก็ ๆ เพอื่ ปอ้ งกันไมใ่ หล้ กั ษณะนสิ ยั ที่เป็นมจิ ฉา
ทฏิ ฐิเกดิ ขน้ึ เพราะเม่อื เกดิ ขึน้ ก่อนแล้วจะกำจดั ให้หมดไปไดย้ าก ทำนอง
เดียวกบั ผ้าขาวสะอาดที่เฟ้อนโคลน แมจ้ ะซกั ผ้านั้นจนโคลนหลุดออกหมด
แลว้ แต่ผ้าน้ันกจ็ ะยังมคี ราบสกปรกปรากฏใหเ้ หน็ ตลอดไป
เฉกเชน่ พระยาปายาสิ ทยี่ ังมีรอยมลทนิ แห่งมิจฉาทิฏฐิเปน็
อุปสรรคขวางกั้น มใิ หส้ ัมมาทิฏฐิพัฒนาไดเ้ ตม็ ท่ี ทัง้ ๆ ทโ่ี ชคดีอย่าง
มหาศาล ไดพ้ บกัลยาณมิตรผปู้ ระเสรฐิ คอื พระกุมารกสั สปเถระ โดย
เหตนุ ี้ชาวโลกแตล่ ะคนจงึ จำเป็นตอ้ งได้กัลยาณมติ รขนึ้ ำ ปลูกฝังอบรม
ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจถกู ต้อง เกี่ยวกับเรอ่ื งโลกและการดำเนนิ ชวี ติ เพอื่ ให้
สามารถพัฒนาสมั มาทิฏฐิ นบั ต้งั แตเ่ ต็กไปจนตลอดชีวติ เพอื่ ป้องกัน
มิให้มจิ ฉาทฏิ ฐิกำเริบออกฤทธไิ๋ ด้ ท้ังนี้เพื่อสันตสิ ขุ ของตนเอง ของ
สงั คมประเทศชาติ และของโลก
สุคติ คอื ปรโลกของสัมมาทฏิ ฐิบุคคล
จากเร่ืองราวของพระยาปายาสิ ท่านผ้อู ่านคงยงั จำกันได้ว่า
พระยาปายาสเิ คยสรา้ งเวรปาณาตบิ าต ดว้ ยการส่งั ฆา่ คนมาหลายครง้ั
แ ท ไ ใ !a ^ lu l^ l
ครัน้ ได้พบกัลยาณมติ ร ดงั เช่นพระกมุ ารกสั สปะเถระมาโปรด ปลด
เปลื้องมิจฉาทฏิ ฐขิ องทา่ นพระยาออกไปจนหมดสน้ิ แล้ว ท่านพระยาก็
ต้งั ใจส่ังสมกรรมดมี าดลอด มกี ารสร้างโรงทาน เปน็ ด้น ครนั้ เมื่อละโลกไป
แลว้ กรรมดขี องทา่ นพระยาออกผลก่อน โดยสง่ ให้ทา่ นไปบงั เกดิ ใน
สวรรคช์ นั้ ด้น คอื จาตุมหาราชกิ า
ส่วนอดุ ดรมาณพ พนกั งานจัดการเรื่องต่างๆในโรงทานของทา่ น
พระยา แม้จะมที รัพยท์ ำบุญทำทานน้อย แต่เพราะเหตุทมี่ สี ัมมาทฏิ ฐิ
อยู่ในระดับสูงกวา่ ผูเ้ ปน็ นาย ตั้งใจประพฤติดีปฏิบัตชิ อบมานานกวา่ ผู้
เปน็ นาย เม่อื ละโลกไปแลว้ เขากไ็ ดไ้ ปบังเกิดในสวรรคช์ ั้นที่ ๒ คอื ดาวดงึ ส์
ซง่ึ สูงกวา่ สุขกวา่ ประณตี กว่า
เรื่องราวของเทพบุตรทั้ง ๒ องค์ ดังกลา่ ว มรี ายละเอียดอยูใ่ น
บทตอ่ ไป
เยี่ยมวมิ านเทพบตุ ร
X
Illไไฟa่ jflul^
บทที่ ๔
เยีย่ มวิมานเทพบุตร
เสริสสกวมิ าน ๑
ในสมยั พทุ ธกาล พระมหาสาวกองค์หนงึ่ มีนามวา่ พระควัมปติ
เถระ',5ซ่ึงมปี ระวติ ิ เลา่ ไว้ว่า ในอดีตชาติ พระเถระเกิดในมนษุ ยโลก เคย
เปน็ คนเลย้ี งโค วันหน่งึ ขณะทอ่ี อกไปเลยี้ งโค ไดพ้ บพระอรหนั ต์องค์หน่ึง
กำลงั เดนิ บณิ ฑบาตอยู่ คนเลย้ี งโคนั้นจึงนมิ นตพ์ ระเถระ,โหนั ั่งที่โคนด้น
ซกึ ขนาดใหญ่ แล้วถวายอาหารแดพ่ ระเถระองคน์ ัน้
ดว้ ยอานภุ าพของบญุ ทีถ่ วายอาหารในครง้ั นัน้ เมื่อจุติจากมนษุ ย
โลกแลว้ คนเล้ยี งโคได้บงั เกิดเปน็ ภุมเทวา (เทวดาที่อย่บู นพนื้ ดินหรือที่
เราเรยี กวา่ พระภมู ิเจา้ ที่น้ันเอง) ลงั กดั อยู่ในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา
มีวมิ านชื่อว่าเสรสี สกวมิ าน๓อยู่ใกลก้ ับดน้ ซกี นน้ั เทพบตุ รน้นั เวียนวา่ ย
อยใู่ นเทวโลกและมนุษย์โลกตลอดหนึง่ พุทธนั ดร (ช่วงเวลาทวี่ ่างจาก
๑ เสรสิ สกวิมาน ขุ.ว.ิ มก ๔๘/๘๔/๖๔๒
๒ ปายาสิราชัญญสตู ร ที. มหา.มก. ๑๔/๓๓0/๓๙๙
๓ เสริสกวิมาน เป็นวิมานสำหรับเทพผู้จาริกมาจากทกุ ทศี มีอยู่ในดง'โม'้ ช่ือ วฎั ฎนี (ลบั แล)
เฃาไ!Ja<jในใจ
พระพทุ ธเจ้า) ครน้ั แล้วมาบังเกิดในมนษุ ยโลก ในสมัยพระสมั มาสมั พุทธ
เจ้าของเรามีนามว่า พระควัมปติ หลังจากได้ฟงั พระธรรมเทศนาของ
พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าแลว้ พระควัมปติเถระ กบ็ รรลพุ ระอรหัต เป็น
พระอรหนั ตสาวกองค์หนงึ่ ในพระพทุ ธศาสนา
โดยเหตุท่ีพระเถระเคยชินกบั เสริสสกวมิ านมาก่อนครัน้ เห็นวมิ าน
วา่ งอยู่ จงึ ไปพกั กลางวัน ณ เสริสสกวิมานบอ่ ยๆ
วันหนึ่งปายาสเิ ทพบตุ ร เข้าไปหาพระควมั ปตเิ ถระ ไหว้แล้วยนื
ณ ที่สมควรข้างหน่งึ พระเถระจึงถามว่า “ท่านเปน็ ใคร” ปายาสเิ ทพบตุ ร
จึงตอบว่าตนคือ พระยาปายาสิ ไดม้ าบังเกดิ ณ เสรสิ สกวิมานแห่งน้ี
พระเถระจึงกล่าววา่ ทา่ นเป็นมจิ ฉาทิฏฐิ มีความเห็นวปิ รติ มใิ ช่
หรอื มาเกิดในทนี่ ้!ี ดอ้ ย่างไร ปายาสเิ ทพบุตรจงึ เลา่ ใหพ้ ระเถระฟังว่า
“พระกมุ ารกสั สปเถระได้กำจัดมจิ ฉาทฎิ ฐิของข้าพเจา้ ออกไปแล้ว จงึ มา
บังเกิดในวิมานว่างแหง่ น้ี แต่เพราะเหตุทขี่ า้ พเจ้าทำทานโดยไม่เคารพ
จงึ ไดม้ าบังเกิดในโลกสวรรคช์ นั้ จาตมุ หาราชิกาแหง่ น้เี ท่านั้นเอง,
ครั้นแลว้ พระควมั ปตเิ ถระจึงถามต่ออีกวา่ “ทา่ นเทพบตุ ร
อุดดรมาณพ ผ้จู ัดการในทานของทา่ น ไปเกดิ เสียทไ่ี หนละ่ ,
ปายาสเิ ทพบุตรกลา่ วตอบวา่ อดุ ดรมาณพ ผจู้ ดั การทานของ
ตน เม่ือละโลกไปแล้ว ได้ไปบังเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดงึ ส์ ดว้ ยอำนาจ
บญุ แห่งการทำทานโดยเคารพ
ขา่ วสารจากปายาสเิ ทพบตุ ร
ปายาสเิ ทพบตุ ร กวา่ จะร้ซู ้ึงถงึ คุณค่าและความจำเปน็ ของการ
แแไแร^ใน!^
ต้งั ใจทำทานโดยเคารพก็สายไปแล้ว แตก่ ไ็ ด้บงั เกิดเปน็ ภมุ เทวาท่มี ลื มั มา
ทิฏฐิ มคี วามเมตตากรณุ าสูง และมคี วามปรารถนาดตี ่อซาวโลกทง้ั มวล
ในมนษุ ยโลก จงึ ขอรอ้ งพระควมั ปติเถระวา่
“พระคุณเดา้ เมื่อท่านกลบั ไปมนษุ ยโลก ขอทา่ นได้โปรดบอก
แกค่ นทั้งหลายวา่ จงให้ทานโดยเคารพ จงใหท้ านโดยมอื ของตนเอง
จงใหท้ านโดยนอบน้อม จงอยา่ ให้ทานแบบท้งิ ๆ ขวา้ งๆ (สักแต่ว่าให)้
พระยาปายาสิให้ทานโดยไม่เคารพ ไมใ่ ห้ทานดว้ ยมือของตนเอง
ใหท้ านโดยไมน่ อบน้อม ใหท้ านแบบทิ้งๆ ขวา้ งๆ เมื่อตายแล้วได้ไป
บงั เกิดในสวรรคช์ ้นั จาตุมหาราชิกา ณ เสรสิ สกวมิ านอนั เปน็ สาธารณะ
สว่ นอุดดรมาณพผูจ้ ัดการทานของพระยาปายาสนิ ัน้ ให้ทาน
โดยเคารพ ใหท้ านดว้ ยมือของตนเอง ให้ทานโดยนอบน้อม ใหท้ าน
ไม่ท้ิงๆ ขว้างๆ ตายแลว้ กเ็ ขา้ ถึงสุคติโลกสวรรค์ช้นั ดาวดึงส”์
เม่อื พระควิมปตกิ ลับมนษุ ยโลกแลว้ ไดบ้ อกข่าวสารจากปายาสิ
เทพบุตร แกผ่ ้คู นทั้งหลายโดยครบถว้ นทกุ ประการ
เทพอารกั ขาผ้เู ดินทางในทะเลทราย
พระควัมปติเถระ นอกจากจะบอกขา่ วสารแกผ่ คู้ นทัง้ หลาย ตาม
ทีป่ ายาสิเทพบุตรฝากมาแลว้ องั ไดเ้ ลา่ วา่ ท้าวมหาราชเวสจัณ (หา้ ว
จาตุมหาราชองค์หน่ึงประจำทศิ เหนือ) ไดแ้ ตง่ ตงั้ เสริสสกเทพบตุ รเปน็
เด้าหน้าทอ่ี ารกั ขามนุษย์ทเี่ ดนิ ทางในทะเลทรายให!้ เลอดภ้ย
ครัง้ หนง่ึ พวกพ่อค้าชาวอังคะและมคธ ใช้เกวยี น ๑,๐๐๐ เลม่
บรรทุกสนิ คา้ เต็ม เดนิ ทางผา่ นทะเลทรายไปขายสินคา้ นั้นในแควน้ สนิ ธุ
และโสวีระ เพราะกลัวร้อนจงึ ไม่เดนิ ทางในเวลากลางวัน แต่เดนิ ทางใน
เวลากลางคืนโดยอาศัยดวงดาวเปน็ เครอ่ื งกำหนดเปา้ หมาย กองคาราวาน
เกวียนกลุ่มนพี้ ากนั เดนิ หลงทาง จึงวกวนอยใู่ นทะเลทรายนน้ั เอง ใน
บรรดาพอ่ คา้ ทไี่ ปดว้ ยกนั น้ันมีอบุ าสกคนหนึง่ เป็นคนมศี รัทธาเลือ่ มใส
ในพระพทุ ธศาสนา รักษาศลี บริลทุ ธบ๋ิ ริบูรณ์ สมบรู ณด์ ว้ ยอปุ นสิ ัยทจี่ ะ
ไดบ้ รรลพุ ระอรหัต ได้ร่วมเดินทางไปค้าขาย เพ่ือหาเงินมาเลีย้ งมารดา
บิดารวมอยู่ด้วย
เพ่อื ทีจ่ ะอนเุ คราะห์อุบาสกนน้ั เสริสสกเทพบตุ รจึงแสดงองค์
พรอ้ มดว้ ยวิมานต่อคณะพอ่ ค้าเหล่านนั้ คร้นั แล้วได้ถามถงึ สาเหตทุ ีพ่ ่อค้า
เหลา่ นน้ั ใชเ้ ส้นทางทะเลทราย ซึง่ ไม1มรี ่มเงาและนํ้า กใั ด้รบั คำตอบจาก
เหล่าพอ่ คา้ วา่ พวกเขากำลังหลงทาง ตอ่ ไปน้ีเป็นการสนทนาระหว่าง
เสรสิ สกเทพบุตรกบั คณะพ่อคา้ ตามคำบอกเล่าของพระควัมปตเิ ถระ
เทพบตุ ร ะ ดูก่อนมนษุ ย์ท้ังหลาย ในถ่นิ นี้เปน็ ที่อยขู่ องอมนุษย์
หยาบชา้ ยคุ โบราณ เปน็ ทีด่ อน เปน็ ทะเลทราย ไมม่ ีน้าํ ไม่มพี ชื
เปน็ อาหาร แดดแผดเผาร้อนระอุ เหมือนแผน่ เหล็กเผาไฟ
เทยี บไดก้ บั ความร้อนในนรก เปน็ ภมู ิประเทศเหมอื นถกู สาปไร้
เพราะเหตุใดทา่ นจงึ เดนิ ทางมาทางนี้ เพราะความโลภ ความกลัว
หรอื ความหลง
คณะพ่อคา้ : กองเกวียนของเรามาจากแคว้นมคธ และแคว้นองั คะ
จะบรรทกุ สนิ คา้ ไปขายท่ีแคว้นสนิ ธุ และโสวีระ การเดนิ ทางตอน
กลางวนั ร้อนมาก จึงเลอื กเดินทางกลางคนื จงึ พากนั หลงทาง
กำลังเป็นทกุ ข์เหมือนคนตาบอด ชา้ แตเ่ ทวะทเ่ี คารพ พวก
เนาไป8^นใจ
ขา้ พเจา้ ไดม้ าพบทา่ นและวมิ านอนั สวยงามของท่าน ทำให้เกดิ
ความหวังว่าจะไดร้ อดชวี ติ จึงพากันดีใจและปลมื้ ใจเปน็ อย่างยิ่ง
เทพบตุ ร ะ ดกู ่อนพอ่ คา้ ทง้ั หลาย พวกท่านเดนิ ทางท่องทะเลทราย
ไปยังแคว้นตา่ งๆ มากมาย ไดเ้ ห็นสงิ่ สวยงามอัศจรรยอ์ ะไรบา้ ง
เล่าใหฟ้ ังหนอ่ ยไดใ้ หม
คณะพ่อค้า : ข้าแตเ่ ทวะ สมบด้ ิในเมืองมนษุ ยท์ ีพ่ วกขา้ พเจา้ ได้เหน็
มาท้ังหมด ยงั ไม่เคยเห็นสิ่งใดที่อัศจรรยก์ ว่าวิมานของทา่ นเลย
พวกขา้ พเจ้าดูวิมานอันมรื ศั มงี ดงามไม,เบือ่ เลย มสี ระโบกขรณี
เลอื่ นลอยไปในอากาศ มีทงั้ สวนปา่ สวนไมผล และไมด้ อกโชย
กลิ่นอบอวล ทั้งเสาวมิ านและภายในวมิ านล้วนประกอบด้วย
รตั นชาติสว่างไสว ภายในวมิ านแกว้ น้ีมีอาหาร และนํา้ อุดมสมบรู ณ์
ตัวท่านกมิ ีหมู่เทพอัปสรหอ้ มลอ้ ม พรอ้ มทงั้ เสยี งดนตรปี ระโคม
ขับขานอยา่ งไพเราะ ท่านเบกิ บานอย่ดู ้วยเทพนารี บันเทงิ อยู่
ในวิมานปราสาท อันน่ารื่นรมย์ มีอานภุ าพเป็นอจนิ ไตย (ท่ีพน้
ความคิดของพวกมนุษย์) ทา่ นเปน็ เทวดา หรือเปน็ ยักษ์ หรือเป็น
หา้ วสักกะจอมเทพ (พระอินทร์) หรอื เป็นมนุษย์ และมชี ือ่ ว่าอะไร
เทพบุตร ะ ข้าพเจ้าเป็นเทวดา ชอ่ื เสริสสก เปน็ ผู้คมุ้ ครองดูแล
รกั ษาทะเลทราย ตามเทวบญั ชาของหา้ วเวสวณั
คณะพอ่ ค้า ะ วิมานทนี่ ่าภมู ิใจนี้ ท่านไดม้ าอย่างไร เกิดขึน้ เองตาม
ความปรารถนา เกิดข้นึ ดว้ ยโชคชะตา ท่านไข้ฤทธิแ้ หง่ เทพทำ
ขึน้ เอง หรอื เทวดาทง้ั หลายทำให้
เทพบตุ ร ะ วมิ านนมี้ ิได้เกิดข้ึนด้วยการต้งั จติ ปรารถนาของข้าพเจา้
IfJไไปอ^ใน!^!
มไิ ดเ้ กิดขนึ้ ดว้ ยโชคซะตาหรอื ความบงั เอญิ ข้าพเจา้ ไมไ่ ด้ใช้ฤทธิ้
ทำขึ้นเอง เทวดาท้งั หลายกมิ ิไดท้ ำให้ แตข่ ้าพเจ้าไดม้ าดว้ ย
อานภุ าพบุญทเี่ คยุ ทำไว้ ไมใ่ ชเ่ ปน็ วบิ ากแห่งบาปทีเ่ คยทำ
คณะพ่อคา้ ะ นบั วา่ ทา่ นมบี ุญญาธิการทีเดยี ว อะไรเปน็ วตั ร และเปน็
พรหมจรรยข์ องท่าน ทา่ นบำเพ็ญคุณความดอี ะไร จงึ ไดว้ มิ าน
อันสวยงามน่าภมู ิใจอยา่ งน้ี
เทพบุตร : สมยั เปน็ มนุษยอ์ ยใู่ นมนษุ ยโลก ขา้ พเจ้ามซี ือ่ วา่ ปายาสิ
มอี าชพี รบ้ ราชการรบใชเ,ด้เบอื้ งพระยคุ ลบาทพระเจา้ ปเสนทีโกศล
ได้ทำความดีความชอบไว้พระราชาจึงพระราชทานเมอื งเสตัพยะ
ซ่งึ เป็นเมอื งหนึ่งในแคว้นโกศล ทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ด้วยพชื พนั ธุ
ธญั ญาหาร สตั วเ์ ลย้ี ง และนํ้า เป็นบำเหนจ็ พรหมไทย ๔แกข่ ้าพเจา้
ข้าพเจ้าจึงมีซื่อว่า พระยาปายาสิ ครอบครองเสตพั ยนคร จน
กระท้งั จบชีวติ
ข้าพเจา้ เปน็ นัตถกิ ทีฏฐิ (ลทั ธทิ ถี่ อื วา่ ไม่มีเหตุ ใมม่ ีปจั จัย
มีความเหน็ ผิดว่าไม่มบี ุญบาป ตายแล้วสูญ ไมม่ ีการเวียนว่ายตาย
เกดิ ) ภายหลงั ต่อมา ได้มีสมณะรูปหนงึ่ นามวา่ กมุ ารกัสสปะ
เป็นพหสู ูต แสดงธรรมได้วิจิตรไพเราะลึกขงึ้ มาก ทา่ นกมุ ารกสั สป
นไระไดแ้ สดงพระธรรมเทศนาโปรดขา้ พเจา้ จึงทำให้ข้าพเจ้า
เปลีย่ นความเห็นอันเปน็ มจิ ฉาทฏี ฐแิ ตเ่ ดิมเสีย แลว้ ปฏิญาณตน
เปน็ อบุ าสก งดเวน้ จากปาณาติบาต อทนิ นาทาน ยนิ ดเี ฉพาะ
ภรรยาของตนไมด่ ม่ื นา้ํ เมา เหล่าน้คี ือวัตรปฏิบํติและพรหมจรรย์
๔ พรหมไทย ในทนี่ ห้ี มายถึงการให้อนั ประเสริฐ คอื สิ่งที่พระราชทานแลว้ จะไมย่ ึดกลับคืน
ของข้าพเจา้ เปน็ คณุ ความดีทข่ี ้าพเจ้าสงั่ สมไวด้ ีแลว้ วมิ านนี้
เป็นวบิ ากแหง่ บุญของข้าพเจ้า ไมโซว่ ิบากแหง่ บาป
คณะพอ่ ค้าได้เห็นเทพบตุ รและวิมานท่ีวิจติ รตระการตา
ของเทพบตุ ร จงึ เกิดความเชอ่ื ผลแหง่ กรรม แลว้ ตา่ งกแ็ สดงความ
คดิ เหน็ ระหว่างก้นและกนั วา่
คณะพอ่ ค้า ะ ไคย้ นิ วา่ คนทัง้ หลายทม่ี ปี ญั ญา พดู แต่คำจริง พูดแต่
ป็ยวาจา ไมพ่ ูดโปป้ ดมดเทจ็ คนท่ีบำเพญ็ ส่งั สมแตค่ ณุ งามความดี
ไม่ว่าจะเกดิ ในสถานที่ใด ยอ่ มไค้ประสบแตข่ องสวยงาม น่ารื่นเริง
บันเทงิ ใจทัง้ สน้ิ
สว่ นคนทช่ี อบทำบาป ชอบฆา่ ชอบเรอ่ื งเลวรา้ ยต่างๆ ย่อม
เศรา้ โศก ยอ่ มถูกจองจำ ประสบแตค่ วามทุกข์และความเดือดร้อน
ดว้ ยเรือ่ งเลวรา้ ยต่างๆ ไมว่ า่ จะไปเกดิ ในท่ีใดๆ กไ็ ม่พ้นทคุ ติ
ขณะทพี่ วกพอ่ คา้ กำลังคยุ แสดงความเหน็ ก้นอยู่นั้น
เปลอื กฝกั ชกึ ท่ีแกจ่ ัดไคห้ ลดุ จากขัว้ หลน่ ลงมาใกล้ประตวู ิมาน
เทพบุตร และเหลา่ บริวารต่างแสดงความโทมนสั เสยี ใจ จนออก
นอกหนา้
พวกพ่อคา้ เหน็ เทพบุตร และบริวารแสดงอาการเซ่นน้ัน
จึงถามว่า
คณะพอ่ ค้า ท่านเทพบตุ ร เม่อื ลักครู่นี้ มเี หตอุ ะไรเกิดขน้ึ หรือ ท่าน
และบริวารจึงแสดงอาการเศรา้ โศกเสยี ใจ ตรู าวกบ้ นั้าใสทถี่ กู กวน
ให้ขุ่น
พทไปร^ในเ^!
เทพบุตร ะ ลูกอ่ นพ่อคา้ ทัง้ หลาย กลิน่ ทิพยท์ หี่ อมตลบอบอวล อยู่
ทัว่ วมิ านนม้ี าจากปา่ ไมซ้ ีก นอกจากส่งกล่นิ หอมแล้ว ยงั ช่วยให้
เทพบตุ รและบริวารมรี ัศมีสวา่ งไสว สามารถกำจัดความมดี ไค้
ทั้งเวลากลางวนั และกลางคืนอีกค้วย เม่อื เปลอื กของฝกั ไมซ้ ีก
แตกออกร่วงลงมา ย่อมเปน็ ทรี่ ูก้ นั ว่า กาลเวลา ๑๐๐ ปมี นษุ ย์
ไค้ลว่ งไปแล้ว ดูก่อนพอ่ ค้าทง้ั หลาย อายขุ ัยของข้าพเจ้าจะดำรงอยู่
๔๐๐ ปีทพิ ย์ แล้วก็จะจุติ เพราะสนิ้ บญุ สิน้ อายุ ดังนัน้ เมื่อเห็น
ฝกั ไม้ซีกสกุ แล้วหลดุ จากขัว้ รว่ งลงมา จงึ ทำไหพ้ วกเรารสู้ กึ
โทมนสั เสียใจ เพราะเวลาแห่งการจุตขิ องข้าพเจ้าคืบคลานเขา้
มาใกล้ทุกที
เมอ่ื ไค้ฟังดำของเทพบุตรเชน่ นนั้ เหลา่ พอ่ ค้าจึงพูดปลอบ
โยนเทพบุตรวา่
คณะพอ่ คา้ ะ ใครๆ ก็ตามท่ีมอี ายุขัยน้อย มบี ญุ น้อย ควรจะเศร้าโศก
เพราะความตาย แตเ่ ทพบุตรเช่นห่าน พรัง่ พร้อม ด้วยอานุภาพ
ทิพย์ มีอายุถงึ ๙ ล้านปี ๙อยา่ งน้ี จะเศร้าโศกไปทำไมเลา่
เทพบตุ รไคฟ้ งั คำปลอบโยนของคณะพ่อคา้ กร็ ูส้ ึกพอใจมาก
เพราะรูส้ กึ วา่ เปน็ ข้อเตอื นใจทีม่ คี ุณค่าย่ิง จงึ คดิ ตอบแทนใหส้ ม
กนั ทีเดยี ว ดังนัน้ เทพบตุ รจงึ ให้ดำม่นั วา่ จะคมุ ครองพ่อคา้ เหล่า
นน้ั ใหเ้ ดินทางไปถงึ จุดหมายปลายทางโดยสวัสตภิ าพ
คณะพ่อคา้ จงึ กล่าวแสดงความกดญั ฌรู ูค้ ณุ เทพบุตร อกี ทง้ั
๙๐ ปขี องมนษุ ย์ = ๑ ทวิ า กับหนง่ึ ทตรี ของเทวดาช้นั จาตมุ หาราชกิ า
ดังนน้ั ๔๐๐ ปที ิพย์ = ๙ ลา้ นปขี องมนษุ ย์ โดยประมาณ
สัญญาว่าจะตอบแทนคุณอยา่ งย่งิ ใหญ่ จึงกลา่ ววา่
คณะฟ่อค้า ะ คณะของพวกเราพากนั เดินทางมาไกลเซน่ น้ี กเ็ พอื่ ทำ
การค้าหากำไร ถา้ บรรลเุ ปา้ หมายสมปรารถนาแล้ว ก็จะชว่ ย
กนั เสียสละเงนิ ทองประกอบพิธีฉลอง เพอ่ื บชู าเสรสิ สกเทพบตุ ร
ใหย้ ่งิ ใหญ่ทเี ดยี ว
เทพบุตรปฏิเสธพิธฉี ลองของฟอ่ ค้าเหลา่ น้นั และอวยชัย
ให้พร พรอ้ มท้งั ให้ขอ้ เตอื นใจวา่
เทพบุตร ท่านท้งั หลายอย่าไค้ทำการบชู าเสริสสกเทพบตุ รเลย
ขอใหท้ า่ นประสบผลกำไรงดงามตามทท่ี ง้ั ความปรารถนาไร้
โดยครบถว้ นบรบิ รู ณ์เถิด และขอให้ทา่ นทง้ั หลายจงงดเร้นการ
กระทา่ ท่ีเป็นบาปทีเ่ ปน็ อกุศลกรรมทั้งปวง มปี าณาติบาต เป็นตน้
จงทงั้ ใจประกอบแต่กรรมดี ประกอบแตก่ ศุ ลกรรม มกี ารใหท้ าน
เป็นต้นอยา่ งสมรเสมอ เพยี งเท่านีก้ ็ถอื ว่าเปน็ การฉลองเสรสิ สก
เทพบตุ รแลว้
ครนั้ แล้ว เสรสิ สกเทพบุตร ไต้เป็ดเผยถงึ สาเหตุอนั แห้
จรงิ ทท่ี า่ นไตป้ รากฏแกพ่ ่อคา้ ท้งั หลาย วา่
เทพบุตร ะ ในหมู่พอ่ คา้ เกวยี นของพวกทา่ นนี้มอี ุบาสกคนหนึง่ เป็น
พหสู ูต สมบรู ณด์ ้วยศลี และวตั รปฏิบตี ิอันบริสุทธิ้ ไมพ่ ดู เท็จ ไม่
พูดส่อเสยี ดให้เขาแตกกนั พูดแตว่ าจาอ่อนหวานนา่ รกั ไมโ่ ออ้ วด
ไม่พูดมเี ลศนยั ไม่มมี ายา เป็นคนตรง ไมค่ ดโกง ไม่คิด
เบยี ดเบียนผอู้ นื่ เปน็ ผสู้ ันโดษ มวี ินยั มีความเคารพ และเกรงใจ
ผูอ้ ืน่ มกี ิรยิ าสภุ าพออ่ นโยนละมุนละไม มศี รทั ธาในการท่าทาน
เ>?ทไปaส์ไน็l ^
เปน็ ผู้มคี 'วามรู้ คือรูแ้ ละเขา้ ใจถึงประโยชน!นโลกนี้ และประโยชน์
ในโลกหน้า เข้าใจเร่ืองกฎแหง่ กรรม เขาแสวงหาโภคทรพั ย์
สมปตทิ ง้ั หลาย ก็เพ่ือเลยี้ งมารดาบดิ า มิใชเ่ พอื่ ตนเปน็ สำคญั
ถา้ มารดาบิดาของเขาล่วงลับหมดแล้ว เขาก็จะประพฤติ
พรหมจรรย์ออกบวชเพ่อื บำเพ็ญเนกขัมมบารมี เขาเป็นผ้ทู ำ
แตก่ รรมดี มีความประพฤติอนั ประเสรฐิ อยา่ งนี้แล้วเขาจะมี
ความทกุ ข์ความเดือดร้อนอย่างไรเลา่ เพราะอุบาสกคนน้แี หละ
ท่ที ำใหข้ ้าพเจ้าปรากฏแก่ทา่ นทั้งหลาย
การท่ขี า้ พเจา้ ปรากฏตนแก่ทา่ นท้งั หลาย คอื การประพฤติ
ธรรมของขา้ พเจ้า เมือ่ ข้าพเจา้ รักษาพระธรรม ก็ชื่อว่ารักษาพวก
ท่านดว้ ย ฉะนัน้ พวกท่านจงเห็นพระธรรม คือ จงประพฤติธรรม
ใหบ้ ริสทุ ธิ้ จงประพฤตเิ ฉพาะกุศลกรรมเท่าน้นั
ทา่ นพ่อดา้ ทง้ั หลาย โปรดรับทราบไวด้ ว้ ยวา่ ถ้าไมม่ ี
อุบาสกคนนแ้ี ล้ว พวกท่านจะประสบบญิ หาเดือดรอ้ น วนุ่ วาย
เหมือนคนตาบอดหลงเขา้ ไปในปา ถ้าอุบาสกคนนี!้ มไ่ ดร้ ว่ มอยู่
ในคณะของ พวกทา่ น พวกท่านกค็ งจะกลายเป็นเถ้าถา่ นอย่ใู น
ทะเลทรายแห่งน้ี เพราะฉะนนั้ จงึ เหน็ ไดว้ า่ การคบหาสตั บุรุษ
(อบุ าสกนั้น) นำธขุ มาใหเ้ สมอ
คณะพ่อดา้ ะ ขา้ แต่เทวดา อบุ าสกคนนัน้ คือใคร เขาชือ่ อะไร โคตร
อะไร ท่างานอะไร พวกขา้ พเจ้าเขา้ ใจแลว้ วา่ ท่านมาทนี่ ี่เพือ่
อนุเคราะห์อบุ าสกคนนน้ั พวกขา้ พเจา้ อยากเหน็ อุบาสกคนน้ัน
จริงๆ ท่านรกั อุบาสกคนใด กเ็ ป็นลาภของอุบาสกคนนั้น
เขา^นใจ
เทพบตุ ร ะ อุบาสกท่ซี ่อื วา่ สัมภวะ มอี าชพี กลั บก เขาเปน็ ผู้รบั ใช้
หวีผม แต่งผมใหพ้ วกท่าน ท่านอย่าไดัลูหม่ินอบุ าสกคนนนั้
เขาเป็นคนน่ารกั
คณะพอ่ ค้า ะ ช้าแต่เทวดา พวกํ ขา้ พเจา้ ร้จู กั กัลบกคนที่ทา่ นพดู ถึงแต่
พวกเราไม,รูเ้ ลยวา่ เขาเป็นดงั ทท่ี ่านประกาศเกยี รติคุณ บดนี้
ข้าพเจ้าไค้ร้จู ากท่านแลว้ จะเคารพยกย่องบชู าอบุ าสกคนน้ันดว้ ย
ใจจริง
คร้นั แลว้ เทพบตุ รไดเ้ ชื้อเชิญคณะพอ่ ค้าเชา้ เยย่ี มชมวมิ าน
ของตน เพอ่ื ใหค้ ำแนะนา่ สัง่ สอน จงึ กลา่ วว่า
เทพบุตร ะ มนษุ ย์ในกองเกวียนน้ีไม่ว่าคนหนุ่ม คนแก่ คนปูนกลาง
(กลางคน) หมดทกุ คน ขอเชิญชื้นวมิ าน พวกคนตระหนี่จงลผู ล
ของบุญท้ังหลาย (จะได้เลกิ ตระหนี)่
พวกพอ่ คา้ เหล่าน้นั ท้งั หมด มคี วามเช้าใจถงึ ความจำเป็นและ
คณุ คา่ ของการประพฤตกิ ศุ ลกรรม อันเปน็ การประพฤตทิ เี่ ปน็ ธรรม
ต่างประกาศตนเป็นอุบาสก ตั้งใจประพฤติตนเปน็ คนดี ด้วยเจตนาอัน
แน่วแน่ มคี วามรสู้ กึ ทราบซง้ึ ในพระคุณอนั ประเสริฐของเสริสสก
เทพบุตรเปน็ อย่างยง่ิ
คณะพ่อค้าลาจากเสรสิ สกเทพบตุ รไป ด้วยความประทบั ใจใน เทพ
ฤทธมริ ู้ลืม ในทีส่ ุดก็เดนิ ทางไปถึงแคว้นสินธุและโสวีระ สามารถขาย
สนิ ค้าไดห้ มดอย่างรวดเรว็ ประสบกำไรงาม แล้วพากันเดนิ ทางกลับ
เมืองปาฏลีบุดรอยา่ งปลอดภยั ไดก้ ลบั สูเ่ คหสถานบา้ นเรือนของตน ซ่งึ
เขาไป0?}ใน1 จ
มบี ุตรภรรยารออยอู่ ยา่ งพร้อมหน้า คณะพอ่ ค้าตา่ งคนตา่ งมคี วามสขุ
และความปลาบปล้ืมใจเม่อื ระลึกถงึ เสริสสกเทพบุตร ดังน้ัน จึงรว่ มกนั
สร้างเทวาลยั อย่างวจิ ติ รตระการตาขน้ึ หลังหน่งึ ใหช้ ่อื วา่ เสริสสกะ ไว้
เป็นทีล่ ักการบชู าเสริสสกเทพบุตร
อดุ ตรวมิ าน
อตุ ตรมาณพ ผไู ค้รับมอบหมายให้รบั ผดิ ชอบในการจัดกจิ กรรม
ตา่ งๆ ในโรงทานของพระยาปายาสิ เมอื่ ละโลกไปแล้วไคไ้ ปบงั เกิดเปน็
เทพบตุ รในโลกสวรรคช์ ้ันดาวดงึ ส์ มีวิมาน ๑๒ โยชน์ สวยงามใหญโ่ ต
โอฬารยิง่ นัก มีชอ่ื วา่ อตุ ตรวิมาน๖
วันหนงึ่ อุตตรเทพบตุ รไค้ไปหาพระกมุ ารกัสสปเถระ พร้อมทงั้
วมิ าน เพ่อื แสดงความกดญั ฌู ลงจากวมิ านแล้ว กราบด้วยเบญจางค-
ประดิษฐ์ แลว้ ยืนประคองอญั ชลอี ยู่ พระเถระจึงสอบถามเทพบุตร ดงั น้ี
พระเถระ : วิมานของทา่ นทีล่ อยอย่ใู นอากาศนง้ี ดงามไม่แพ้หอ้ ง
ประชมุ สภาของห้าวลักกเทวราช('พรรอินทร;์ สอ่ งแสงสว่าง
เรืองรองไปท่ัวอาณาบริเวณกวา้ งไกล ท่านบรรลเุ ทวฤทธ้ิ มี
อานุภาพมาก ครั้งเกดิ เปน็ มนุษยท์ า่ นไคท้ ำบุญอะไรไว้ เพราะ
บญุ อะไร ทา่ นจึงมอี านุภาพรงุ่ เรือง มีวรรณะสว่างไสว ไปทุกทิศ
อุดดรมาณพ ะ ครงั้ เกิดเปน็ มนุษย์ ข้าพเจา้ เป็นมาณพ (ชายหนมุ่ ) รบั
ใขพ้ ระยาปายาสิ เม่ือไคท้ รพั ยม์ าแลว้ ไค้สละทรัพยส์ ่วนใหญ่
๖ อตุ ตรวมิ าน ข.วิ.มก. ๔๘/๗๔/๙๗๒
แ ท ไila^lul^
เพื่อการทำทาน ขา้ พเจา้ มคี วามเคารพรกั ผู้มีศลี ท้ังหลาย มี
จิตเล่อื มใสในการบริจาคข้าวและนา้ํ เปน็ ทาน ขา้ พเจา้ ถวาย
ทานโดยเคารพ ด้วยมอื ของตนเอง เพราะบญุ นน้ั ขา้ พเจ้าจงึ มี
ผวิ พรรณ วรรณะ สวา่ งไสวไปทกุ ทิศ เชน่ น้ี เพราะบุญนนั้ วมิ าน
และโภคะทกุ อย่างทีน่ ่ารกั สวยงามน้ี จึงบังเกิดแก่ข้าพเจา้
ข้อสงั เกต
เสรสิ สกวมิ าน และ อตุ ตรวมิ าน ท้งั ๒ เร่อื งนี้ มีปรากฏอยูใ่ น
พระสูตรและอรรถกถาแปล ขทุ ทกนกิ าย วิมานวัตถุ เล่มที่ ๒ ภาคท่ี ๑
(ของมหามกุฎราชวิทยาลัย คอื เลม่ ท่ี ๔๘ พ.ศ. ๒๔๒๔)
สำหรับบทสนทนาระหวา่ งบุคคลต่าง ๆ ที่ปรากฏในพระสูตร
คณะผจู้ ัดทำได้ปรับเปลีย่ นสำนวน ภาษาบ้างเล็กนอ้ ย เพื่อใหผ้ ูอ้ ่านเกดิ
ความเขา้ ใจงา่ ยขนึ้ มไิ ด้มเี จตนาจะปฏิรปู งานนิพนธข์ องพระอรรถกถา-
จารยแ์ ละอาจารย์ผู้แปลและเรียบเรยี งแต่ประการใดหากมคี วามบกพรอ่ ง
ประการใด กิขอได้โปรดยกโทษให้ด้วย
อน่ึง อุดดรวมิ าน การอา้ งซ่อื พระอรหันตสาวกในพระสูตร กับ
ในอรรถกถาแปล มีการขดั แยง้ กันอยู่ แต่นนั้ ไม่นา่ จะเป็นประเดน็ สำคญั
การที่นำเสนอพระสูตรทงั้ ๒ น้ี กิเพือ่ สนับสนนุ เร่อื ง “โลกหนา้
มี” ในสัมมาทิฏฐอิ นั ดบั ที่ ๖
จากเร่อื งพระยาปายาสใิ นบทท่ี ๓ นัน้ ทา่ นผูอ้ า่ นคงไมป่ ฏเิ สธ
ว่าท่านพระยาเปน็ บุคคลทฉ่ี ลาดปราดเปรอ่ื งมาก ไมใ่ ช่คนงมงายท่เี ชอื่
อะไรงา่ ยๆ ก่อนจะเช่ือเร่ืองใด ตอ้ งมกี ารพิสูจนโ์ ดยวธิ ีการทางวิทยา-
ศาสตรอ์ ย่างสมบรู ณ์แบบเสยี ก่อน (ถ้าทา่ นพระยาเกิดเปน็ มนษุ ย1นสมยั น ี้นา่
จะเปน็ นักวิทยาศาสตรช์ ่อื ดงั บนั ลอื โลกคนหนง่ึ ทเี ดียว)
แตเ่ พราะเหตุท่พี ระยาปายาสิ เปน็ นัตถกิ ทิฏฐิ คือเห็นวา่ โลกอื่น
(คือโลกหน้า) ไมม่ ี นัน่ คอื ตายแล้วสญู หมด ซึ่งจดั ว่าเปน็ มจิ ฉาทฏิ ฐิ
ดงั นั้น เม่อื พระยาปายาสิไดย้ นิ ว่า สมณพราหมณบ์ างพวกสอนว่าโลกอื่นมี
คอื ตายแลว้ ไมส่ ญู หมด ทกุ ชีวิตยงั ต้องไปเกดิ ใหม่ เวยี นเกิดเวียนตายอยู่
ในวฏั สงสารเรอ่ื ยไป ทา่ นพระยากพ็ ยายามหาวิธพี สิ จู น์ต่างๆ (ดงั ทท่ี า่ น
ผ้อู ่านไดีทราบจากบทที่ ๓ แถว้ ) แต่กไ็ มพ่ บความจริงตามคำสอนของสมณ
พราหมณเ์ หลา่ น้ันจึงทำให้ท่านพระยายึดนั่นความเหน็ ผิดเดิมอยา่ งเหนียว
แน่น โดยไม่ไดเ้ ฉลียวใจเลยสักนิดวา่ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรน์ ้ัน
ยังไมล่ ะเอยี ดลกึ ซง้ึ พอท่ีจะพสิ จู น์โตท้ ุกเรือ่ งโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เรือ่ งต่างๆ
ท่ีเกี่ยวกบั ชีวิตซง่ึ บงั เกดิ ขน้ึ นอกมนุษยโลก กรณขี องพระยาปายาสินกี้ ็
เข้าทำนองฉลาดแต่ไมเ่ ฉลยี ว
พระกุมารกัสสปเถระ เปน็ พระอรหนั ต์ท่เี ปียมด้วยเมตตาธรรม
อยา่ งสงู ส่ง มีความเขา้ ใจดวี ่า พระธรรมคำสัง่ สอนสว่ นใหญ่นั้นเปน็
นามธรรม ยากเกินกวา่ ปุถชุ นจะเกดิ ความเข้าใจได้อยา่ งลกึ ซงึ้ จำเป็นต้อง
ใชถ้ อ้ ยคำอุปมาอปุ ไมยมากมายประกอบการแสดงธรรม จึงจะสามารถ
นา่ ผูฟ้ ังให้ตรองตามด้วยเหตผุ ล เปรียบเทยี บกับประสบการณจ์ รงิ
กระทัง่ เกิดความเข้าใจ และยอมรบั ได้ พระเถระเองกม็ คี วามสามารถ
พิเศษในการสรรหาถ้อยคำอุปมาอุปไมย มาแสดงแก่ผ้ฟู ังอยา่ งไมร่ ้สู ึก
เบ่ือหน่าย ทำใหผ้ ู้ฟงั เกดิ ความเข้าใจอย่างแห้จริง เกิดความรู้สกึ ซาบซึ้ง
และประหับใจพระธรรมเทศนาอนั วิจติ รพสิ ดารของทา่ นมาก แลว้ พา
กนั กลา่ วขวญั ร่ําลอึ ประกาศเกยี รดิคุณของพระเถระให้ขจรขจายไปไกล
Ill'lltla {flu l^
เพราะเหตุน้ี จึงทำใหพ้ ระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ สถาปนาทา่ นไว้ในตำแหน่ง
เอตทคั คะ ผเู้ ลิศด้วยการแสดงธรรมอันวิจติ ร
นับเปน็ โซคดีท่ีพระยาปายาสิ ไดม้ ีโอกาสพบกัลยาณมิตร คือ
พระกมุ ารกัสสปเถระ เม่ือไดฟ้ ังการแสดงธรรมท่ีเตม็ ไปดว้ ยคำอุปมา
อุปไมยอยา่ งลน้ เหลือ พระยาปายาลกิ ใ็ ชค้ วามเป็นคนชา่ งดีดดว้ ยเหตุ
ด้วยผล ตรองตามถ้อยคำของพระอรทนั ตเถระได้ เกดิ ความเช้าใจอยา่ ง
ลึกซึ้ง จนทา่ ใหส้ ลดั ความเห็นมิจฉาทฏิ ฐเิ ดมิ ของตนออกไปไดห้ มด
ถงึ กบั ปฏญิ าณตนเป็นอบุ าสก ขอถงึ พระรัตนตรยั ตงอยู่ในสมั มาทฏิ ฐิ
ปฏริ ปู พฤตกิ รรมของตนเสียใหม่ มีการตัง้ โรงทาน บริจาคทาน เปน็ ด้น
ถามว่า ขณะท่พี ระยาปายาสิ ดดี บรจิ าคทานน้นั ทา่ นร้ถู ึง
อานิสงส์ของทานทจ่ี ะบังเกดิ แกท่ ่านในปรโลกหรอื ไม่ ตอบไดว้ า่ ไม่รู้
เลย เพราะพระอรทันตเถระไมไ่ ด้บอกทา่ น ไม่ได้แสดงธรรมเกยี่ วกบั
อานสิ งสข์ องการทา่ ทานเลย แต่เพราะเหตุทีท่ ่านพระยาเป็นคนฉลาด
สามารถดีดไดด้ ว้ ยเหตุดว้ ยผล ชง่ึ มีศัพท์ทางธรรมว่า “โยนโิ สมนสกิ าร”
ท่านจึงตรองได้เองในระดับหนงึ่ ว่า “การท่าดี ยอ่ มได้ดีอย่างแนน่ อน,
ทา่ นจงึ ดีดท่าทาน และเพราะเหตุท่ีท่านอยู่ในตำแหน่งสงู ถึงขนาดเจา้
ผูค้ รองนครท่มี ีความอดุ มสมบูรณ์ ทา่ นจงึ ต้งั โรงทานได้
นอกจากการบรจิ าคทานแล้ว กิน่าเชื่อได้วา่ ทา่ นจะด้องปฏิบ้ติ
กุศลกรรมบถ ๑๐ ด้วย ดังจะเหน็ จากการท่ีทา่ นดดี ทา่ พธิ บี ูชามหายญั
และขอคำปรึกษาเรื่องนกี้ ับพระอรทันตเถระ
กวา่ ท่านพระยาจะไดป้ ระจกั ษค์ วามจริง เกี่ยวกบั อานสิ งสอ์ นั ยง่ิ
ใหญข่ องการบำเพญ็ ทานกิต่อเมื่อละโลกมนษุ ย์ไปแลว้ ท่านคงจะร้สู ึก
ฟ''พ.ใจ
เลยี ใจไมน่ อ้ ยเหมีอนกนั ทีท่ ่านไมร่ ซู้ ง้ึ ถึงคณุ คา่ ของการทำทาน จึงทำ
ทานโดยไมม่ ีศรท้ ธาเตม็ เปียมไม่ทำทานดว้ ยมอื ตนเองทำแบบสกั แต่วา่ ทำ
ผลของกรรมดีทไ่ี ดเ้ สวยแม้จะยิง่ ใหญ่ แตก่ โม่สามารถเทยี บ ได้กบั อตุ ตร
มาณพที่เป็นเพียงผู้รับใชข้ องทา่ น
กัลยาณมติ ร คือผู้ชีน้ ำความสุขแกเ่ รา
กลั ยาณมติ ร โดยรูปศัพท์ แปลว่า เพอ่ื นทีด่ ี มติ รผ้เู ปยี มด้วยคุณ
ความดี ในทางธรรม เนื้อแท้ของความเปน็ เพ่อื นหรอื มติ ร อยู่ทค่ี วามมี
ใจปรารถนาดตี ่อกัน มีความเมตตาปรานตี อ่ กนั เอือ้ เฟอ้ แบ่งปนั กัน
เห็นใจสงสารสงเคราะหก์ นั และกัน หอบหวิ้ กนั ไปในยามยาก แนะแนวทาง
ชีวิตไปสู่ความสขุ และความเจรญื งอกงาม ห่างไกลจากความทกุ ข์
ความเดือดรอ้ น และความเสื่อมทรามท้ังปวง เพราะฉะนัน้ การมี
กลั ยาณมิตรผชู้ ีท้ างสวา่ งแก่เรา จึงเป็นสงิ่ จำเปน็ ย่งิ ในชีวติ ของคนเรา
หาไมแ่ ลว้ คนเรากอ็ าจจะไม่มโี อกาสประสบความสุข และความเจริญ
ก้าวหน้าในชวี ติ เลย บางคนอาจถงึ ตอ้ งล้มลกุ คลุกคลาน หรือประสบ
ความพนี าศเหมือนตกนรกไนโลกนทื้ เี ดียว
ใครคือกัลยาณมิตรของเรา
จากความหมายของคำว่า กัลยาณมติ ร ดังกลา่ วแล้ว ยอ่ มเห็น
ได้ว่า ผทู้ จี่ ะเป็นกัลยาณมิตรของเรานัน้ มิไดจ้ ำกดั อยแู่ ค่เพยี งบคุ คลทม่ี ี
ความสนทิ สนมกบั เราในฐานะเพื่อนสนิทมิตรสหายเท่านนั้ แต่อาจจะเปน็
ไครกไ็ ดท้ มี่ ีคุณสมบติของกลั ยาณมติ ร และยนิ ดีเตม็ ใจทจ่ี ะชว่ ยชแ้ี นะ
แนวทางแห่งคณุ ความดที ้งั ปวง อบรมสงั่ สอนปลูกฝงั เราให้มสี ัมมาทฏิ ฐิ
รู้จกั ดำเนนิ ชีวิตอยู่อย่างถูกต้องทำนองคลองธรรม เพอ่ื ความสุขความ
เจริญในชีวติ ของตนเอง ครอบครวั สังคม ประเทศชาติ และสังคมโลก
อย่างไรกต็ าม กัลยาณมติ รของเราก็คือ บุคคลที่มคี วาม
สมั พันธก์ ับเราในต้านตา่ ง ๆ ซึง่ ตามทรรศนะทางพระพุทธศาสนาแบ่งไว้
๖ กลุ่ม มีศพั ทท์ างธรรมวา่ ทศิ ๖ คอื
๑. มารดาบดิ าของเรา จัดเปน็ ทศิ เบอื้ งหนา้ บคุ คลท่ีแม้จะเปน็
พ่อแมข่ องเรา แต่ถา้ ขาดคณุ สมบิตขิ องกัลยาณมติ ร ย่อมเปน็ คนพาล
ย่อมไมช่ ่ือวา่ กัลยาณมติ ร ใครก็ตามทม่ี พี อ่ แมเ่ ปน็ คนพาล นับวา่ เปน็ ผู้
โชคร้าย แต่ก็ไมค่ วรท้อแท้ ควรพยายามแสวงหากลั ยาณมิตรและ
พฒั นาตนใทม้ คี ุณสมบิตของกลั ยาณมิตรขนึ้ มา เพอื่ ยอ้ นกลับไปทำ
หน้าทเี่ ป็นกลั ยาณมิตร ใหก้ ับพ่อแมข่ องตนในโอกาสตอ่ ไปเทา่ ท่ีเราจะ
ทำไต้ตว้ ย
๒. ครูอาจารย์ จัดวา่ เปน็ ทิศเบ้อื งขวา ครูอาจารย์ท่ีชือ่ ว่ากลั ยาณ
มติ ร จะต้องทำหนา้ ที่ปลูกฝังอบรมส่ังสอนศิษยใ์ ห้สมบูรณ์พร้อมทัง้
ความรู้ทางโลกและทางธรรม ความรู้ทางธรรมที่สำศัญกค็ ือสัมมาทฏิ ฐิ
ครอู าจารย์ท่มี ง่ ปลูกฝังความเปน็ เลิศเฉพาะวิทยาการทางโลก โดยไมใ่ ห้
ความสำคัญในการปลกู ฝงั สัมมาทฏิ ฐแิ กศ่ ษิ ยน์ ้นั ไมช่ ื่อว่ากลั ยาณมติ รที่
สมบรู ณ์ “เพราะความรู้เพยี งตา้ นวิชาการ หากเกดิ กบั คนพาล มีแตจ่ ะ
นำความฉิบหายมาให้ เนือ่ งจากเขาอาจนำความรู้นน้ั ไปใชใี นทางทผี่ ดิ ,
๓. สามีหรือภรรยาและบุตร จดั ว่าเป็นทิศเบอื้ งหลงั สามีหรอื
ภรรยาย่อมเป็นกัลยาณมิตรคนสำคญั ของคูส่ มรส รวมท้ังสมาชิกใน
ครอบครัวดว้ ย แตถ่ า้ สามหี รอื ภรรยาและบุตรของท่านขาดคุณสมบิติ
ของกลั ยาณมิตรย่อมเป็นคนพาล ถ้าเป็นเซน่ น้ัน ครอบครวั ของท่านก็ยาก
ทีจ่ ะประสบความสุขและความสำเรจ็ ในชีวติ
๔. มิตรสหาย จดั วา่ เปน็ ทิศเบื้องช้าย มิตรสหาย หมายถึงเพ่ือน
ของเราหลายกลุม่ ด้วยกนั นับตงั้ แต่เพอ่ื นบ้านเพอ่ื นร่วมสถาบนั การศกึ ษา
เพื่อนรว่ มอาชีพ เพอื่ นรว่ มงาน เปน็ ดน้ มติ รสหายท่ขี าดคุณสมบ้ติของ
กัลยาณมิตรยอ่ มเปน็ คนพาล ถา้ เราคบกบั คนพาล ย่อมจะมีแต่ความ
เสื่อมทรามเทา่ น้ัน โอกาสท่จี ะประสบความสขุ และความสำเร็จในชีวติ
อาจไมม่ ีเลย อาจจะเป็นผสู้ รา้ งบญ้ หาวกิ ฤตขึ้นในบ้านเมือง ซ้ํารา้ ยกวา่
น้ันเมือ่ ละโลกไปแล้ว ย่อมไปสู่ทคุ ติเทา่ นัน้ ไม่มีโอกาสไปสู่สุคตเิ ลย
๔. คนรบั ใชแ้ ละคนงาน จดั วา่ เป็นทศิ เบอื้ งล่าง บคุ คลในกลุม่ นี้
นอกจากคนรับใช้และคนงานแล้ว ยงั รวมถึงผูโ้ ด้บงั คับบญั ชาในหนว่ ยงาน
ต่างๆ ด้วย ถา้ บุคคลเหลา่ นมี้ คี ุณสมบ้ตขิ องกัลยาณมติ ร ยอ่ มมสี ว่ น
สนบั สนนุ ความสขุ และความสำเรจ็ ในชีวิต และการงานของเราเป็น
อยา่ งมาก
๖. พระสงฆส์ มณพราหมณ์ จดั วา่ เปน็ ทิศเบอ้ื งบน คนท่ีมสี ัมมา
ทิฎฐิเท่านัน้ จึงจะสามารถพัฒนาคุณสมบ้ติของกลั ยาณมติ รข้ึนในตน
ได้ บคุ คลท่ีมีบทบาทสำคัญทส่ี ุดในการปลูกฝังสัมมาทฏิ ฐิ กค็ ือพระสงฆ์
สมณพราหมณ์ อย่างไรก็ตาม พระสงฆส์ มณพราหมณน์ ัน้ มใิ ช่ว่าจะมี
คุณสมบต้ ิเป็นกลั ยาณมิตรทุกรูป พระสงฆส์ มณพราหมณ์รปู ใดท่ีขาด
คณุ สมบัดิฃองกัลยาณมติ ร ยอ่ มช่ือวา่ เปน็ พาลหรอื พระทศุ ลี ซ่งึ มีมา
ตัง้ แต่สมัยพุทธกาลแล้ว เพราะฉะน้นั จึงเป็นเรอื่ งจำเปน็ สำหรับฆราวาส
ทกคน ทีจ่ ะด้องรจ้ กั พิจารณาเลือกสรร และแสวงหาพระสงฆ์สมณ
Ifl'l'hlagluL^
พราหมณ์ผู้กอปรดว้ ยคุณสมบต้ ิของกลั ยาณมติ ร เปน็ ทพี่ ่ึงทรี่ ะลึก
ใครกต็ ามทีแ่ วดล้อมด้วยบุคคลทง้ั ๖ กลมุ่ ทเ่ี ปน็ กลั ยาณมิตร
ย่อมมโิ อกาสประสบความสุขความเจรญิ ก้าวหน้าในชีวติ ไดอ้ ยา่ งแนน่ อน
แต่ท้ังนี้ตวั เราเองกด็ อ้ งมีตุณสมบตขิ องกลั ยาณมติ รให้แกต่ นเองอยา่ ง
ม่นั คงดว้ ย มฉิ ะนนั้ ผู้ทเ่ี ปน็ กลั ยาณมิตรยอ่ มไมป่ รารถนาจะคบหาสมาคม
กบั เรา ถา้ เป็นเชน่ น้นั ยอ่ มหมายถงึ ว่า เราจะดอ้ งตกอยู่ในวังวนของคน
พาลตลอดไป
ไวพจนข์ องกลั ยาณมติ ร
คำศพั ทท์ างธรรม ที่มคิ วามหมายเชน่ เดยี วกบั กัลยาณมิตรน้ัน
มอี ยูห่ ลายคำ เชน่ คนดี มิตรดี มิตรแห้ บัณฑติ สัตบรุ ุษ สปั ปุรษุ
อน่ึง คำศัพทท์ างธรรมท่ีมคี วามหมายเชน่ เดยี วกบั คำวา่ พาล
ก็มอี ยห่ ลายคำ และมกั จะใชเ้ ปน็ คำตรงขา้ มเข้าคก่ ับคำทห่ี มายถงึ
กัลยาณมติ รดว้ ย เชน่
คนดี ตรงข้ามกับ คนเลว 0
มติ รดี ตรงขา้ มกับ มติ รเลว
มิตรแห้ ตรงขา้ มกับ มติ รเทยี ม
บัณฑิต ตรงข้ามกบั พาล
สัตบรษ ตรงขา้ มกบั อสตั บรษ
LTIไไปอ
คุณสมบัติของกลั ยาณมิตร
การทีบ่ คุ คลจะเลอื กคบหาสมาคมกบั กัลยาณมิตรไดถ้ กู ตัวน้นั ก็
จำเปน็ จะดอ้ งร้ถู งึ คณุ สมบตั ทิ แี่ ท้จรงิ ของกัลยาณมติ รเสยี กอ่ น และการที่
จะร้ถู ึงคุณสมบตั ของกัลยาณมิตรไดถ้ กู ดอ้ งน้นั กจ็ ำเปน็ อยา่ งยงิ่ ที่จะ
ต้องรู้ถึงลกั ษณะนสิ ยั และพฤติกรรมของคนพาลควบคกู่ ันไปดว้ ย เพ่ือจะ
ได้นำมาเป็นขอ้ เปรียบเทียบ สงั เกตพจิ ารณาและตดั สินวา่ ใครเป็น
กัลยาณมิตร ใครเป็นคนพาล ไดถ้ ูกดอ้ งไมผ่ ดิ พลาด
พระสมั มาลมั พทุ ธเจ้าได้ตรสั เทศนาวา่ ด้วยลักษณะของคนพาล
และบัณฑิตเปรียบเทยี บกนั ไว้ในหลายพระสูตรตงั น้ี
ลกั ษณะของคนพาล ลักษณะของบณั ฑติ
๑) กายทุจรติ ๑) กายสจุ รติ
๒) วจีทุจรติ ๒) วจีสจุ ริต
๓) มโนทุจริต ๓) มโนสุจรติ
๑) คดิ ชว่ั ๑) คิดดี
๒) พดู ชวั่ ๒) พูดดี
๓) ทาช่วั ๓) ทาดี
๑) ไมเ่ ห็นความผดิ ของตน ๑) เห็นความผดิ ของตน
วา่ เป็นความผิด ว่าเปน็ ความผิด
๒) รวู้ า่ ตนทำผิดแลว้ ก็ไม่ยอมขอโทษ ๒) รู้วา่ ตนทำผดิ แล้ว ก็ยอมขอโทษ
๓) เมื่อผู้อ่นื ทำผิดแลว้ ขอโทษ ๓) เมือ่ ผ้อู ่ืนทำผิดแลว้ ขอโทษ
ก็ไมย่ อมใหอ้ ภยั กย็ อมให้อภัย
๘ ลักขณสูตร อัง. ตกิ . มก. ๓๔/๔๔๑/๙ ๙ อัจจยสตู ร อัง. ดกิ . มก. ๓๔/๔๔๓/๙
๘ จินตสูตร อัง. ติก. มก. ๓๔/๔๔๒/๗
1โ1ใไป
ลักษณะของคนพาล ลักษณะของบณั ฑติ
๑) ต้งั ปญั หาโดยแยบคาย
๔)°° ๑) ตั้งบญั หาโดยไม่แยบคาย
(ทำสง่ิ ทใี่ ม่เปน็ บัญหาให้เปน็ บัญหา (ไม่ทำส่ิงทีไ่ มเ่ ปน็ ปญั หา
เพราะคิดไมถ่ กู วิธ)ี ใหเ้ ปน็ ปญั หา)
๒) แกป้ ัญหาโดยแยบคาย (ไมก่ ลา่ ว
๒) แก้บัญหาโดยไมแ่ ยบคาย (กล่าวสิ่ง สง่ิ ทไี่ มเ่ ป็นปัญหาว่าเปน็ ปญั หา)
ทีไ่ มเ่ ปน็ ปญั หา วา่ เป็นปญั หา) ๓) เม่อื คนอน่ื แกป้ ัญหาได้แยบคาย
กอ็ นโุ มทนา
๓) เมื่อคนอื่นแก้ปัญหาไดแ้ ยบคาย ๑) กายกรรมที่เปน็ กุศล
ก็ไมอ่ นุโมทนา ๒) วจีกรรมทีเ่ ปน็ กุศล
๓) มโนกรรมที่เปน็ กศุ ล
๔)°° ๑) กายกรรมทเี่ ป็นอกุศล ๑) กายกรรมทไ่ี มเ่ ปน็ โทษ
๒) วจกี รรมที่เป็นอกุศล ๒) วจีกรรมท่ีไม่เป็นโทษ
๓) มโนกรรมทเ่ี ป็นอกศุ ล ๓) มโนกรรมทีไ่ มเ่ ป็นโทษ
๑) กายกรรมทีไ่ มเ่ ป็นการเบียดเบียน
๖)°'° ๑) กายกรรมทเี่ ปน็ โทษ ๒) วจกี รรมทีไ่ ม่เปน็ การเบียดเบียน
๒) วจกี รรมท่เี ป็นโทษ ๓) มโนกรรมทไ่ี มเ่ ป็นการเบียดเบยี น
๓) มโนกรรมทีเ่ ปน็ โทษ
a ir ๑) กายกรรมทเี่ ปน็ การเบยี ดเบียน
๒) วจีกรรมทีเ่ ปน็ การเบียดเบยี น
๓) มโนกรรมทเ่ี ป็นการเบยี ดเบยี น
*° อโยนโิ สสูตร องั . ตกิ . มก. ๓๔/๔๔๔/©๑
“ อกุสลสตู ร องั . ตกิ . มก. ๓๔/๔๔๔/©๔
■๒ สาวัชชสตู ร องั . ติก. มก. ๓๔/๔๔๖/©๔
■° สัพยาปัชชสตู ร อัง. ตกิ . มก. ๓๔/๔๔๗/©๙
พงึ สังเกตว่า ลักษณะของคนพาลในข้อ ๑,๒1๔1๖ และ ๗ ก็คืออกุศลกรรมบถ ๑๐
ส่วนลักษณะของบณั ฑิตในขอ้ ๑,๒1๔1๖ และ ๗ กค็ อื กศุ ลกรรมบถ ๑๐ น่นั เอง
นอกจากน้ีพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ได้ทรงแสดงคณุ สมบตั ขิ อง
กลั ยาณมิตรไวใ้ นทุตยิ สขาสตู ร®๔ว่าจะตอ้ งประกอบด้วยธรรม ๗ ประการ
๑. เปน็ บุคคลทน่ี า่ รกั ๔. อดทนตอ่ ถ้อยคำ
๒. นา่ เคารพ ๖. พดู ถอ้ ยคำลกึ ซ้ึง
๓. นา่ สรรเสรญิ ๗. ไมช่ ักนำไนทางทไี่ ม่ดี
๔. ฉลาดพดู
พระพทุ ธองค์ตรัสแนะนำว่า บคุ คลใดกต็ ามทม่ี คี ณุ ลักษณะ ๗
ประการดังกลา่ วแลว้ ช่ือวา่ เปน็ มิตรแท้ สมควรท่ีเราจะคบเป็นมติ ร ควร
เข้าไปนัง่ ใกล้ แม้จะถกู ขับไลก่ ต็ าม ทัง้ ลกั ษณะของคนพาลและลกั ษณะ
ของบัณฑิตทย่ี กมาแสดงไวน้ นั้ เปน็ สิ่งทสี่ ัมมาทิฎฐบิ คุ คล สมควรจะนำ
มาพจิ ารณาไทล้ กึ ซง้ึ แล้วยดึ ไวเ้ ปน็ หลกั สำหรับตรวจสอบและพัฒนา
พฤติกรรมท้งั ของตนเอง และผทู้ ่เี ราคบหาสมาคมดว้ ย กล่าวคือ ไข้
ลกั ษณะของคนพาลเปน็ หลกั ในการตรวจสอบ ท้งั พฤติกรรมของตนเอง
และผทู้ ่ีเราสมาคมด้วย ถา้ พบวา่ ตนเองมลี กั ษณะของคนพาล กพ็ ยายาม
เว้นขาดไท้ได้ ขณะเดียวกนั ก็ต้งั ใจพฒั นาลกั ษณะของบณั ฑิตไท้เกดิ ข้นึ
ในตนอยา่ งต่อเนอื่ ง
แต่ถา้ พบว่าผู้ทเ่ี ราสมาคมดว้ ย มลี ักษณะของคนพาล และเรา
เองกไ็ มอ่ ยู่ในฐานะที่จะเปน็ กลั ยาณมติ รช้ีน่าไทเ้ ขาปรบั เปล่ยี นพฤติกรรม
ได้ กค็ วรหยุดสมาคมกับเขาเสีย แตถ่ ้าหยดุ ไม่ได้ เพราะเหตผุ ลบาง
ประการ เซน่ บคุ คลเหลา่ นัน้ เป็นบพุ การี ซ่งึ เรายังด้องพ่ึงพาอาศยั อยู่ ก็
อง. สด ดก. มก. ๓๗/๓๔/๙๓
I l l 'ใโปB g lu l^
พึงระลกึ ไว้เสมอวา่ เมอื่ เราสามารถประกอบอาชพี เล้ยี งตัวเองได้แล้ว
เราจะดอ้ งไม,ดำเนินรอยตามพฤติกรรมแบบคนพาล ตังเช่นบพุ การขี อง
เราอย่างเด็ดขาด
ถา้ พบวา่ ผู้ท่ีเราคบหาสมาคมด้วย มลี กั ษณะของบณั ฑติ หรอื
กลั ยาณมติ ร เราก็ควรสานสัมพันธ์กับบุคคลเหลา่ นน้ั ต่อไป ขณะเดียวกัน
กพ็ ยายามสงั เกต และถา่ ยทอดคุณธรรมของบณั ฑิต หรือกัลยาณมิตร
มาส่ตู วั เรา เพอื่ พัฒนาลกั ษณะของบณั ฑติ และกลั ยาณมติ รในตัวเราไห้
สมบรู ณย์ ง่ิ ๆ ข้นึ เพอื่ บรรลุเปาั หมายสงู สดุ ในชวี ติ และเพ่อื สรา้ ง
ประโยชน์แกส่ ังคมและชาติบ้านเมืองต่อไป
กลั ยาณมติ ร ๒ ประ๓ ท
กลั ยาณมติ รในชวี ิตของคนเรานัน้ อาจแบง่ ออกได้เปน็ ๒ ประเภท
คือ
๑. กัลยาณมติ รท่เี ราเลือกได้
๒. กัลยาณมติ รที่เราไมไ่ ดเ้ ลอื ก
๑. กลั ยาณมิตรทเ่ี ราเลอื กได้ หมายถึงบคุ คลท่ีเป็นคนด็ มี
สัมมาทิฏฐิ มีความรู้ ความสามารถทัง้ ทางโลกและทางธรรม ทีเ่ รา
จำเปน็ ดอ้ งแสวงหา เพื่อประโยชน์โนการดำเนินชวี ิตของเราอยา่ งมี
ความสขุ และความเจรญิ กา้ วหนา้ ซง่ึ อาจจะเปน็ ครูอาจารย์ประจำวชิ า
ตา่ งๆ ในสถาบนั การศกึ ษา ทเี่ ราสามารถเลือกศึกษาเล่าเรยี นด้วย โดย
การลงทะเบยี นเรยี นวชิ าที่ท่านสอน หรืออาจจะเป็นบุคคลทเี่ ราเลือก
เป็ใพ รรยา หรอื สามี อาจจะเป็นเพอ่ื นรว่ มงาน ร่วมอาชีพท่เี ราสามารถ
เลือกได้
1บไ1ปร£เน1^
นอกจากนี้ก็คือพระสงฆ์ คนเราทุกชาตทิ ุกภาษาจำเป็นต้องมี
ศาสนาหรอื ธรรมะเป็นทพี่ ึง่ ในการพฒั นาสมั มาทิฎฐิ ดังน้ันการเลอื กวัด
สำหรบั เปน็ สถานท่ีศึกษาและปฏิบตํ ธิ รรม รวมท้ังการเลือกพระสงฆผ์ ู้
ทรงภูมริ ภู้ มู ธิ รรมเปน็ ครบู าอาจารยข์ องเรานั้น เปน็ สิง่ ทเี่ ราเลอื กไต้
อยา่ งไรก็ตาม การท่ีเราจะเลอื กวดั หรือพระสงฆ์ท่ีมีลกั ษณะของ
กลั ยาณมติ รอย่างแทจ้ รงิ นน้ั เราก็จำเปน็ ตอ้ งมคี วามรู้ทางพระธรรมวนิ ัย
บา้ ง ผนวกกบั โยนิโสมนสกิ ารของเราเอง แตถ่ ้าเราเปน็ คนเช่ือตามกระแส
หรือเป็นมจิ ฉาทิฎฐิ เราก็อาจจะเลอื กพระทุศีลมาเป็นทพ่ี ่ึง ทำใหไ้ มม่ ี
โอกาสไตพ้ บกัลยาณมิตรที่แทจ้ รงิ ซึง่ จะยังผลใหเ้ ราประสบความทกุ ข์
และความเดอื ดร้อนไมม่ ีทสี่ ิน้ สดุ
๒. กลั ยาณมติ รทเี่ ราไมไ่ ต้เลือก กัลยาณมิตรประเภทน้ี กค็ ือ
บคุ คล ๖ กลมุ่ หรือทิศ ๖ ของเรา ซง่ึ มลี กั ษณะของบัณฑติ และ
กัลยาณมิตรอยา่ งสมบรู ณ์ ใครกต็ ามที่ไต้มีโอกาสพบกัลยาณมิตร
ประเภทนี้ ตอ้ งนับวา่ เปน็ ผู้โซคดีมาก อยา่ งไรกต็ ามความโชคดนี ี้มิไต้
เกิดขน้ึ โดยบังเอญิ หากแตเ่ ป็นอานสิ งสแ์ หง่ การสรา้ งคณุ ความดหี รือ
บญุ กุศลที่เราสง่ั สมมาแต่กาลก่อน
ท่านผู้อา่ นคงจำไต้วา่ การทปี่ ายาสเิ ทพบุตร ปรากฏตนแก่คณะ
พอ่ ค้าเกวยี นที่หลงทางในทะเลทราย ก็เพราะเทพบตุ รมจี ุดมงุ่ หมาย
เพอื่ อนเุ คราะห์ อุบาสกชอ่ื ลมั ภวะ ผ้มู ีอาชพี กลั บกซึ่งร่วมเดินทางไป
กบั คณะพ่อค้าเกวยี นนนั้ สาเหตุท่ีปายาสิเทพบุตรต้องทำหน้าทอ่ี นุเคราะห์
อบุ าสกนั้น กเ็ พราะเขาเป็นคนดีมสี มั มาทฏิ เ ๑๐ อยา่ งสมบรู ณ์ ประกอบ
สัมมาอาชีพ เล้ยี งพ่อแม่ ท้ังยงั มปี ณิธานแน่วแนท่ ี่จะออกบวชเพื่อ
บำเพญ็ เนกขัมมบารมี หลงั จากทพี่ อ่ แมข่ องเขาละโลกไปแล้ว
Ill'll\
แมป้ ายาสเิ ทพบตุ รมจี ดุ มุ่งหมายทจ่ี ะอนุเคราะห์สมั ภวะอุบาสกแต่
เพยี งผู้เดยี ว แต่เพราะเหตุทค่ี ณะพ่อค้าเกวียนเป็นผู้รว่ มทางของอุบาสก
จงึ พลอยโชคดีไคร้ ับการอนุเคราะหไ์ ปดว้ ย มิฉะนั้นอาจจะประสบความ
พนิ าศถงึ ขน้ั ละสังขารในทะเลทรายอันรอ้ นระอุและทรุ กันดารกันท้งั คณะ
กลา่ วไดว้ ่า สัมภวะอุบาสกไดท้ ำหนา้ ที่เป็นกลั ยาณมิตรใหค้ ณะ
พอ่ คา้ โดยไมร่ ้ดัว ส่วนคณะพ่อคา้ กม็ ีกลั ยาณมิตรโดยทไี่ มไ่ ดเ้ ลือก ถาม
ว่ากรณีท่ีเกิดขน้ึ ในครัง้ น้ี เปน็ เรอ่ื งบังเอิญหรือเปล่า
ถา้ พิจารณาตามหลกั ของกฎแหง่ กรรม ย่อมตอบได้วา่ ไมใ่ ช่เรอื่ ง
บังเอิญ แตเ่ ป็นเพราะคณะพ่อค้าเหล่านั้นก็เคยสรา้ งคณุ ความดกี ันมาใน
ระดบั หนง่ึ แตย่ ังเทยี บไม่ไดก้ ับคณุ ความดีหรือบุญของอบุ าสก กระนน้ั
กต็ ามเมอ่ื เทวดาลงรักษาอบุ าสกน้ัน คณะพอ่ คา้ จงึ ได้รับส่วนแห่งใบบญุ
น้นั ด้วย
อน่ึง มขี ้อสังเกตว่า แมส้ ัมภวะอุบาสก จะมีบุญยิ่งกวา่ ผ้ใู ดใน
คณะ ถึงขน้ั เทวดาลงรักษาก็ตาม แต่เขาก็เป็นเพียงกลั บกเทา่ นนั้ ซง่ึ
แนน่ อนว่าเขามีฐานะยากจน เมื่อเปรยี บเทยี บกับคณะพ่อคา้ เหลา่ นน้ั
ทั้งน้ยี ่อมฟอ้ งวา่ ในอดตี ชาติเขาทำทานมานอ้ ยน้ันเอง
อยา่ งไรกต็ าม จากเรอื่ งนี้ ยอ่ มเห็นได้วา่ แม้เพียงการอยใู่ กล้ชิด
กับกลั ยาณมติ รธรรมดาคนหน่ึงบุญกศุ ลของกัลยาณมติ รนน้ั ก็ยงั สามารถ
แผข่ ยายมาถงึ เรา ถา้ หากเรามศี รัทธาเชอื่ นนั้ ในพระธรรม คำสัง่ สอน
ของพระสมั มาสมั พุทธเจ้า ผู้ทรงเป็นกลั ยาณมิตรผยู้ ่ิงใหญ่ของโลก แลว้
ตง้ั ใจปฏิบัตติ ามให้บริสุทธ๋ิบริบรู ณ์ แน่นอนเหลอื เกนิ ว่าอานิสงสอ์ ันย่งิ
ใหญจ่ ะด้องบังเกิดแกเ่ ราทกุ คณะ
ความสำคัญของกัลยาณมิตร
จากธรรมบรรยายเก่ียวกับกลั ยาณมติ รทง้ั หมดนี้ ท่านผอู้ ่านยอ่ ม
ตรองได้ดว้ ยโยนิโสมนสิการเองว่า กัลยาณมิตรนนั้ มีบทบาทสำคญั ยิ่ง
ตลอดชีวติ ของคนเราทกุ คนพระสัมมาส้มพทุ ธเจา้ ของเราน้นั ทรงใหค้ วาม
สำคญั ตอ่ การมกี ลั ยาณมิตรเป็นอย่างยิ่ง คงั ทีต่ รสั ไว้ในกัลยาณมติ ตาทิ
วรรค0๔ ว่า
“ดกู ่อนภิกษทุ ง้ั หลาย เราย่อมไมเ่ ลง็ เห็นธรรมอ่นื
แม้อย่างหนง่ึ ที่เปน็ เหตุให้กุศลธรรมท่ียังไมเ่ กดิ เกดิ
ข้นึ หรืออกุศลธรรมท่ีเกดิ ขน้ึ แลว้ เสื่อมไป เหมอื น
ความเปน็ ผม้ มี ีดรดี
ดกู อ่ นภกิ ษทุ ัง้ หลาย เมือ่ บุคคลมีมติ รดี กศุ ลธรรม
ทย่ี ังไมเ่ กดิ ย่อมเกิดข้ึน และอกศุ ลธรรมทีเ่ กดิ ขนึ้ แลว้
ย่อมเส่ือมไป”
พระพทุ ธองค์ ดอื กลั ยาณมติ รผปู้ ระเสรฐิ สุดของโลก
คร้งั หนง่ึ พระอานนทไ์ ดก้ ลา่ วกับพระผ้มู พี ระภาคเจ้าว่า การมี
กลั ยาณมิตรเปน็ ก่งึ หน่งึ แห่งพรหมจรรย์ ในการครองชีวติ อันประเสรฐิ
เมื่อไดส้ ดบั เช่นน้นั พระพทุ ธองค์ทรงคัดด้านทันที โดยตรสั แสดงว่า
กัลยาณมติ รเป็นท้งั หมดของพรหมจรรย์ ดงั น้ี
“ดูก่อนอานนท์ เธออยา่ กลา่ วอย่างน้ัน ดูกอ่ น
อานนท์ ความเป็นผ้มู ืมติ รดี มีสหายดี มีจติ น้อมไป
•๙ อัง. เอก. มก. ๓๒/๗๒/๑๙๒
แปใี ไปร^น!^
ในคนทดี ี เปน็ พรหมจรรย์ทงั้ หมดเลย" ‘’๖
ครน้ั แล้ว พระพุทธองค์ได้ทรงแสดงตอ่ ไปอีกว่า พระองคค์ อื
กัลยาณมิตร ผอู้ นุเคราะหส์ ตั วโลกทัง้ หลายให้บรรลคุ วามหลดุ พ้น ดังนี้
uดูก่อนอานนท์ดว้ ยวา่ อาศยั เราเป็นมติ รดี ศตั ว์
ทั้งหลายผ้มู คี วามเกิดเป็นธรรมดา ยอ่ มหลดุ พน้ จาก
ความเกิดได้ สตั ว์ท้ังหลายผู้มีความแก่เปน็ ธรรมดา
ยอ่ มหลดุ พน้ จากความแก่ได้ สตั วท์ ั้งหลายผูม้ ีความ
เจบ็ ปวยเปน็ ธรรมดา ยอ่ มหลุดพ้นจากความเจบ็ ปวยได้
สตั ว์ทั้งหลายผม้ คี วามตายเป็นธรรมดาย่อมหลดุ พน้ จาก
ความตายได้ สัตว์ท้ังหลายผมู้ คี วามโศก ความราไร
ความทุกข์ความเสยี ใจ และความศับแคน้ ใจเปน็ ธรรมดา
ย่อมหลุดพ้นจากความโศก ความราไร ความทกุ ข์ความ
เสยี ใจ และความศบั แดน้ ใจได”้
จากพุทธพจนท์ งั้ หมดนี้ อาจกล่าวได้ว่า ความสำคญั ของกลั ยาณ
มิตร อยู่ทก่ี ารเปน็ ผู้ปลูกฝังอบรมสงั่ สอน ชแ้ี นะประดับประคองบคุ คล
ให้ประพฤตปิ ฏบิ ตเิ ฉพาะแตก่ ุศลธรรม จนเกดิ เป็นลักษณะนิสัย ซึ่งจะ
สง่ ผลให้สัมมาทฎิ ฐิพฒั นาข้ึนในจิตใจของเขายิ่งๆขึ้น'ใป ตลอดชวี ติ
สามารถครองชีวติ อยูอ่ ยา่ งสนั ตสิ ขุ และบรรลุความหลุดพน้ ในทสี่ ดุ
พึงให้ทานโดยเคารพ
จากการทปี่ ายาสเิ ทพบุตรสารภาพกับพระควัมปตเิ ถระว่า แมต้ น
ทุตยิ อปั ปมาทสตู ร ลงั . ส. ผก. ๒๔/๓๘๒/๔๘๒
จะทำทานมากมายถึงขนาดตั้งโรงทานกต็ าม แตเ่ พราะเหตทุ ที่ ำทานโดย
ไมเ่ คารพ ครนั้ เม่ือละโลกไปแล้ว อานิสงสแ์ หง่ ทานนัน้ ไดส้ ่งผลให้ไป
บังเกดิ เปน็ ภุมเทวาในสวรรค์ช้นั ดน้ คอื จาตมุ หาราชิกาเทา่ นั้นเอง
ผดิ กบั อุดดรมาณพซงึ่ เปน็ เพียงบรวิ ารผมู้ หี นา้ ท่จี ดั การในโรงทานของ
พระยาปายาสิ แต่ทวา่ มีความเคารพในการทำทานอย่างยิ่ง ครั้นเมือ่ ละ
โลกไปแลว้ อานสิ งสแ์ หง่ ทานนนั้ ได้สง่ ไห้เขาไปบังเกิดเปน็ สหายของเทวดา
ในโลกสวรรคช์ น้ั ดาวดึงส์ ซงึ่ เป็นสวรรคช์ ้นั สูงกวา่ จาตุมหาราชิกา
การทำทานโดยเคารพน้ัน ต้องทำอยา่ งไร
คร้ังหน่งึ พระสมั มาสมั พุทธเจ้าไดต้ รัสสอนอนาถบิณฑกิ เศรษฐี
เกยี่ วกับการให้ทานโดยเคารพว่า ๑๗
การให้ทานโดยเคารพแก่พระภกิ ษุสงฆ์ คือการใหท้ ี่ประกอบด้วย
๑. ด้องถวายดว้ ยอาการนอบน้อมอย่างยงิ่
๒. ด้องใหด้ ้วยมือของตนเอง
๓. ตอ้ งให้ของทไี่ มเ่ หลือเป็นกากเดน หรอื ของท่ีเรากำลังจะทงิ้
๔. ต้องเชือ่ กรรมและผลของกรรมท่ใี หท้ าน ว่าการใหท้ านเป็น
ส่ิงท่ีดึ จะเกดิ ผลดีแก่ทั้งผู้ให้และผรู้ บั
นอกจากนีพ้ ระสมั มาสมั พทุ ธเจ้ายงั ไดต้ รัสแสดงว่า การให้ทาน
โดยเคารพ จะมีอานิสงสอ์ นั ยิ่งใหญใ่ นภพชาติต่อไปอกี เชน่ ถา้ ได้
บงั เกดิ ในมนุษยโลก ไมว่ า่ จะเกิดในตระกลู ใดๆ จิตของผู้ให้ทานยอ่ ม
น้อมไปเพ่อื บริโภคอาหารอยา่ งดี เพื่อบริโภคผา้ อย่างดี เพอ่ื บรโิ ภคกามคุณ
•๘ เวลามสูตร องั . นวก. มก. ๓๗/๒๒๙/๗๗๙
1*21ใ ไ ป a g t u l^
๕ อย่างดี แมบ้ รวิ ารของผู้ใหท้ าน คือ บตุ ร ภรรยา คนรับใช้ คนทำงาน
ย่อมเช่อื ฟงั ย่อมยินดรี บั ใช้ ดว้ ยใจจดจ่อ เหลา่ นีค้ อื อานสิ งส์ ของ
การทำทานโดยเคารพ
สัมภวอุบาสกบรรลอุ รหัตผล
ท่านผอู้ ่านคงยงั จำสม้ ภวอบุ าสก ผซู้ ึง่ เป็นกัลบกเดินทางไปกบั
คณะพ่อค้า อนั เป็นเหตุให้ปายาสิเทพบุตรตอ้ งตามอารกั ขาเขา และ
ปรากฏตนต่อคณะพอ่ คา้ ซ่งึ พลอยไค้รบั อานิสงสจ์ ากการตามอารกั ขา
ของเทพบตุ รด้วย
มีช้อมลู ปรากฏในอรรถกถาเสริสสกวิมานวา่ สัมภวอุบาสกไค้
บวชในพระพุทธศาสนาหลงั จากมารดาบิดาของเขาล่วงลับไปแลว้ และ
ในท่ีสุดกไ็ ค้บรรลุอรหตั ผล เป็นพระอรหันตอ์ งคห์ นง่ึ ในพระพุทธศาสนา
ชอ่ื วา่ พระลมั ภวเถระ
สรปุ
จากเรื่องปายาสเิ ทพบุตร อตุ ตรเทพบตุ ร และพระลมั ภวเถระ
นอกจากเปน็ การยืนยันเรอื่ งกฎแหง่ กรรม โลกนี้ โลกหน้า คอื ตายแลว้
ไม,สูญแล้ว เชอ่ื ว่าท่านผูอ้ า่ นคงจะไคร้ บั บทสรปุ สัมมาทิฏฐิ ๑๐ ประการ
ทช่ี ัดเจน ลกึ ซึ้ง และกวา้ งขวางขนึ้ อกี ดังน้ี คือ
สมั มาทิฏฐิ หมายรวมถึง ความเชา้ ใจซาบซึ้งในเรอ่ื ง บาป-บญุ
คณุ -โทษ ประโยชน์-มใิ ชป่ ระโยชน์ นั่นเอง
สัมมาทฎิ ฐิข้อใดบา้ งทจ่ี ะกอ่ ให้เกิดความเข้าใจซาบซ้งึ เรื่องบาป-บุญ
สาระสำคัญของสมั มาฑิฏฐิ ๔ ข้อแรก กค็ ือ เรือ่ งทาน กบั ศลี
น่นั เอง ผู้ทต่ี งั้ ใจปฏบิ ตติ ามหลกั ธรรมในสมั มาทิฏฐิ ๔ ข้อแรกนอี้ ย่าง
จรงิ จัง สมรเสมอ ไมม่ ีบกพร่อง จะเกิดความเขา้ ใจชาบซง้ึ เร่ืองบาป-บุญ
เปน็ อยา่ งดี
สมั มาห็ฏฐขอ้ ใดบ้าง ที่จะทำใหเ้ ขา้ ใจซาบซึง้ เร่ือง คุณ-โทษ
สมั มาทิฎฐิ ขอ้ ๔, ๖ และ ๙ คือ เรื่องโลกน้ี โลกหนา้ และโอป
ปาตกิ ะ จะแสดงให้เหน็ ถงึ คณุ ของบญุ และโทษของบาปอย่างชดั เจน เร่ือง
ราวของปายาสเิ ทพบตุ ร และอดุ ดรเทพบตุ ร ยอ่ มแสดงให้เหน็ ถงึ ผลบญุ
ทป่ี รากฏในโลกหนา้ ของเทพบตุ รทั้ง ๒ สว่ นบญุ ทปี่ รากฏในโลกนข้ี อง
เทพบุตรท้งั ๒ กค็ ือ บญุ หรอื ผลของกรรมดที ี่ตดิ ไปกบั ใจ (คำวา่ โลกน้ี
ในบรบิ ทน้หี มายถึงใจ) อนั เปน็ ชนกกรรมนำให้ท่านทงั้ สองไดถ้ อื กำเนิด
ใหมแ่ บบโอปปาติกะ ในแดนสคุ ติ โลกสวรรค์
บุคคลสำคัญที,สุดทจ่ี ะดอ้ งทำหนา้ ท่ี ขี้เรอื่ ง บาป-บญุ คณุ -โทษ
ให้ลกู เข้าใจ ก็คือพอ่ แม่ การอบรมส่งั สอนใหล้ ูกเกิดความเข้าใจเรอื่ ง
บาป-บุญ คณุ -โทษ (สมั มาทฏิ ฐิ ข้อ ๑-๙) นจี้ ำเปน็ ดอ้ งปลูกฝังอบรมกัน
ตัง้ แต่เดกี ๆ จนเกิดความเขา้ ใจชาบซงึ้ และเกดิ ศรัทธาตง้ั ใจปฏิบตํ ิเปน็
นิสัย พระคณุ อนั ย่ิงใหญข่ องพ่อแม่ ตามนยั ของสัมมาทฏิ ฐขิ อ้ ๗ และ ๘
ก็อยู่ตรงน้เี อง ถ้าพ่อแมไ่ ม่ปฏบิ ้ตหิ น้าทตี่ รงน้ี ลกู กอ็ าจจะมองไม่เหน็
บุญคณุ ของพอ่ แมด่ ้วย แล้วลกู กจ็ ะช่ือว่าไม่มสี มั มาทฎิ ฐขิ อ้ ๗-๘ รวม
ทงั้ ข้ออนื่ ๆ อกี
ส่วนเร่อื งการมมี รดกให้ลูก มเี งินมีทองส่งลูกไปศกึ ษาเลา่ เรยี น
เมืองนอกเมืองนา ระดับปรญิ ญาโท ปริญญาเอกน้นั ถือเปน็ เศษๆ แหง่
ไใฟธ่ ^lut^
บุญคุณของพอ่ แมเ่ ทา่ น้นั ท้งั นเี้ พราะลกู ทไ่ี ม่ไดร้ ับการอบรมปลกู ฝงั
สัมมาทฎิ ฐเิ ป็นอย่างดมี าแตเ่ ด็กๆ จากพ่อแม่ ถึงแม้จะมีการศึกษาทาง
โลกสูงๆ ถึมโี อกาสเปน็ มจิ ฉาทฏิ ฐไิ ด้มาก เพราะการศกึ ษาในสถาบัน
การศึกษา ตา่ งมงุ่ เน้นความเปน็ เลศิ ทางวชิ าชพี สำหรับใช้เป็นเครื่องมือ
ทำมาหากินไม่มีการเน้นเรือ่ งสมั มาทฎิ ฐิ สถาบันเหลา่ น้ันหารู!ม่วา่ คน
เราแค่เพยี งไมเ่ ชื่อวา่ มโี ลกหน้าเขากทิ ำความช่วั ไดท้ กุ อย่างเมือ่ สบโอกาส
ในทางกสบั กัน คนทีม่ ีความเช้าใจซาบซ้ึงไนเรอ่ื ง บาป-บุญ คณุ -
โทษ ประโยชน-์ มิใชป่ ระโยชน์ แมไ้ ม่มดี ีกรแี สดงคุณวฒุ ทิ างการศกึ ษา
สูงๆ กิสามารถพาตนให้พ้นทกุ ข์ไดช้ ่วั นริ ันดร อยา่ งเช่นสมั ภวอบุ าสกที่
เป็นเพียงกลั บกกระจอกคนหน่ึง
เพราะฉะนัน้ สมั มาทฏิ ฐิขอ้ ๗ และ ๘ กิคือ พ่อแม่จะมีพระคุณ
อย่างยิ่ง กติ รงการอบรมปลูกฝังให้ลูกเกิดความเชา้ ใจซาบซึ้ง เร่อื ง บาป
บญ คณุ -โทษ เป็นสำคัญ
สัมมาทฎิ เข้อใดฟา้ ง ทจี่ ะทำให้เช้าใจซาบซึง้ เรื่องประโยชน-์ มใิ ช่
ประโยชน์
กอ่ นอืน่ พึงเช้าใจวา่ ประโยชนม์ อี ยู่ ๓ ระคบั (ไดก้ ล่าวแลว้ ในบท
ท่ี ๒) คือ ๑ ประโยชน!์ นชาตนิ ้ี ๒ ประโยชน!์ นชาติหนา้ และ ๓
ประโยชน์อย่างยงิ่
สัมมาทฏิ ฐิประการสุดทา้ ย (ข้อ ๑๐) ทำหนา้ ทซ่ี นึ้ ำใหเ้ กดิ ความ
เชา้ ใจซาบซ้ึง ในเร่ืองประโยชน-์ มิใช่ประโยชน์เป็นอย่างดี น้นั คือ ใคร
กติ ามที่มศี รีทธาน้นั วา่ พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า และพระอรหนั ต์มีจรงิ ย่อม
พรีอมที่จะปฏิบติตามพระธรรมคำสั่งสอนท้งั มวล ซึ้งไดร้ ับการถ่ายทอด
เข'พ ใจ
ผา่ นมาทางพอ่ แม่(สำคญั ท่สี ดุ ) ครูอาจารย์ สมณพราหมณ์ ผทู้ รงภมู ิรู้
ภูมิธรรม ตลอดจนการศกึ ษาด้วยตนเองจากคมั ภีรพ์ ระไตรปฎี ก
การปฎบิ ต้ คิ ังกล่าว ย่อมก่อให้เกิดประโยชนIนชาตนิ ี้ คังมี
สมั ภวอุบาสกเปน็ ควั อย่าง ส่วนเทพบุตรทั้ง ๒ องค์ ยอ่ มเป็นควั อยา่ ง
อันดขี องบคุ คลทไ่ี ดร้ บั ประโยชน!นชาติหนา้ สำหรับประโยชน์อยา่ งยง่ิ
น้ันหมายถึงการบรรลมุ รรคผลนพิ พาน ซงึ่ มีสัมภวอุบาสกตลอดจน
พระอรหันตเถระและพระอรหันตเถรจี ำนวนมากมายในพระพทุ ธศาสนา
ผบู้ รรลุนิพพานแลว้ เป็นควั อย่าง
มิใชป่ ระโยชน์ หมายถงึ อะไร
มิใซป่ ระโยชน์ หมายถงึ การปฏิบ้ติทไ่ี มก่ อ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ทัง้ ๓
ดงั กล่าว ซ่งึ เปน็ พฤตกิ รรมของบคุ คลทมี่ คี วามเหน็ เปน็ มิจฉาทิฏฐิ บุคคล
ทีเ่ กิดความเขา้ ไจซาบซึง้ สัมมาทฏิ เ ๑๐ ประการ ยอ่ มมปี ัญญาร้ซู ัดวา่
พฤตกิ รรมผิดๆ ของผู้เหน็ ผิด มิไซ่ประโยชน์ จึงละเว้นไดเ้ ดด็ ขาด เพราะ
นอกจากจะไม่ก่อใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ลว้ ยงั มีโทษถงึ ขั้นดอ้ งไปเกดิ ในทุคติ
อันเตมิ ไปดว้ ยความทกุ ข์ทรมานสดุ บรรยาย
อยา่ งไรก็ตาม พงึ ระลกึ ไว้เสมอว่า สัมมาทิฎเนอกจากจะเป็น
ความเข้าใจซาบซ้งึ เรื่องบาป-บญุ คณุ -โทษ ประโยชน์-มใิ ชป่ ระโยชน์
แล้ว ยังเปน็ ทางเพม่ิ พูนบุญกศุ ลอย่างมากมายมหาศาล สดุ จะนับ
จะประมาณแก่ตนเองอีกดว้ ย
แลว้ เราจะตอ้ งทำอยา่ งไร คนไทยทั้งชาตจิ งึ จะเป็นสัมมาทฏิ เ
ประเทศไทยจะไดพ้ น้ จากภาวะวิกฤตเสยี ที
น£/)J)
เขว~hfajfluliว
บทท่ี ๔
การปลกู ฝงั สัมมาทฏิ ฐิ
โครงการปลูกฝังสมั มาทฎิ ฐิ “ระดบั ชาต”ิ เรง่ ดว่ น
ได้กล่าวไวใ้ นบทท่ี ๑ แล้ววา่ สาเหตุที่แท้จริงของปญั หาวิกฤต
ในบ้านเมืองของเรา คือพฤตกิ รรมของผู้คนในบา้ นเมอื ง กล่าวคอื ผ้คู น
โดยทว่ั ไปทกุ ระดับชนั้ เปน็ มิจฉาทฏิ ฐิ ตา่ งกนั แต่มากหรือน้อยเท่านัน้ การ
ทจี่ ะแก้ปญั หาน้ีใหส้ มั ฤทธผิ ลไดจ้ รงิ ก้ด้องแก้กันใหต้ รงจดุ ด้วยการ
ปลกู ฝังสัมมาทิฏฐลงไปในจิตใจผู้คน ทั้งนี้เพราะเมื่อสมั มาทิฏฐพิ ฒั นา
ข้นึ ในจติ ใจของบคุ คลแล้ว มิจฉาทฏิ ฐิท่ีเคยมือย่ยู อ่ มจะอันตรธาน หายไป
เฉกเซ่นความมดื ที่อนั ตรธานไป เม่อื ดวงไฟสว่างขึน้ ฉะน้นั
จากธรรมบรรยายในบทที่ ๒ ทา่ นผอู้ ่านย่อมไดท้ ราบถงึ ความ
แตกตา่ งระหว่างความเห็นท่จี ัดว่าเปน็ มิจฉาทฎิ ฐิ กับ สัมมาทิฏเ อยา่ ง
ครบถว้ นแล้ว ความเห็นในส่วนทจ่ี ดั ได้ว่าเปน็ อันตรายอย่างยง่ิ ของ
มจิ ฉาทิฏฐิบคุ คลถคึ ือ พวกเขาไม่เชื่อเรอ่ื งกฎแห่งกรรม ซ่งึ โยงใยเกยี่ วพัน
ฟอ่ ^ใน
ตอ่ เนือ่ งกบั เรื่องโลกน-ี้ โลกหนา้ และโอปปาติกะ ซงึ่ มคี วามครอบคลมุ ไป
ถงึ เรอื่ งนรก-สวรรค์อีกดว้ ย
สาเหตทุ ่ีทำให้คนเราไมเ่ ชอ่ื เรอ่ื งกฎแหง่ กรรม กเ็ พราะไมศ่ ึกษา
และปฏบิ ้ติธรรม เพราะไม่เชื่อเร่ืองกฎแหง่ กรรม ก็จะไม่เช่ือเรอ่ื งโลกนี้
-โลกหน้า เรอื่ งโอปปาติกะ และเรื่องนรก-สวรรค์ อกี ด้วย เพราะไมเ่ ชือ่
เร่ืองนรก คนเราก็พรอ้ มที่จะทำกรรมชัว่ ทำผดิ ศีลได้ทกุ ข้อ ขนาดร้ทู ั้ง
ร้วา่ การทำผดิ กฎหมายบางเรอ่ื ง มีโทษหนกั ถงึ ขนั้ จำคกุ ตลอดชีวิตหรอื
ประหารชวี ติ เขายังไม่เกรงกลวั ยงั กล้าทำผิดกฎหมายกันอยู่ด่ืนดาษ แล้ว
ไยเขาจะด้องกลวั โทษทัณฑไ์ นนรกที่เขาไมเ่ คยเหน็ เลยเลา่ และเพราะ
ไม่เชื่อเรอ่ื งสวรรค์ เขากม็ องไมเ่ หน็ ประโยชนข์ องกรรมดีท่ที ำแล้ว วา่ จะ
เกิดขึน้ แก่ตวั เขาได้อยา่ งไร เขาจงึ ไม่สนใจทำดี
อน่งึ ทุกวนั นีก้ ารปลกู ฝังอบรมผ้คู นใหเ้ หน็ คุณค่าอนั สูงสง่ ของ
สัมมาทฏิ ฐิ และโทษภัยรา้ ยแรงของมจิ ฉาทิฏฐิในสังคมของเรา ก็แทบจะ
ไมม่ ีเลย หรอื ถ้าหากจะมีอยบู่ า้ งก็ไม่สมบูรณ์ ยังมขี อ้ บกพร่องอย่มู าก
ทัง้ นเี้ พราะการปลูกฝังสัมมาทฏิ ฐิเปน็ หน้าท่ีรบั ผดิ ขอบโดยตรงของพอ่ แม่
ซ่งึ ด้อง?เกอบรมลกู ตั้งแต่ยังเปน็ ทารกแต่พ่อแม่สว่ นใหญ่กป็ ลอ่ ยปละละเลย
โดยมสี าเหตหุ ลายอยา่ งแตกต่างกันออกไป แต่ทแี่ น่ๆ ก็คอื พอ่ แมเ่ องกเ็ ป็น
มจิ ฉาทิฏฐิ
เชื้อมจิ ฉาทฏิ ฐขิ องพ่อแม่ยอ่ มแพร่กระจาย และตกทอดไปถงึ
ลกู หลานโดยอัดโนมติ ิ จงึ ทำให้จำนวนมิจฉาทฏิ ฐบิ คุ คลเพม่ิ มากขนึ้ ๆ ใน
ลกั ษณะทวคี ณู เฉกเซ่นการขยายพันธุด้วยการแบ่งเซลลข์ องเช้ือแบคทีเรีย
ทีม่ ีลกั ษณะทวีคณู หรอื เฉกเซ่นการขยายพนั ธุอย่างรวดเรว็ ของผักตบชวา
IU ไไป
ฉะนัน้ ดว้ ยเหตุนีแ้ ทนท่ีสถาบันครอบครวั จะเป็นแหลง่ ปลกู ฝังสมั มาทิฎฐิ
ทม่ี ปี ระสิทธิภาพ กลบั กลายเปน็ แหลง่ ผลติ มจิ ฉาทฏิ ฐบิ คุ คลอย่างมี
ประสทิ ธิผลไป
ครั้นมาถึงสถาบันการศึกษาระดบั ตา่ ง ๆ ซง่ึ ควรจะเป็นแหล่งปลกู
ฝังสัมมาทิฏฐิให้แกเ่ ยาวชนรองจากบ้านกห็ วงั ไม่ไดเ้ ลย เน่ืองจากสาเหตุ
หลายประการ นบั ตงั้ แต่มนี ักเรียนจำนวนมากเกนิ กำลงั ครอู าจารย์ ทจี่ ะ
คอยเฝาั อบรมอย่างใกลช้ ิด มีวิซาทด่ี ้องเรยี นตอ้ งสอนกนั ในโรงเรยี น
อยู่มาก ครูอาจารย์ที่มีภูมิรู้ภูมธิ รรมพอทจ่ี ะสอนวิชาพระพทุ ธศาสนาก็
ขาดแคลน ตวั ครูอาจารยโ์ ดยทว่ั ไปก็มีเซอ้ื มจิ ฉาทิฏฐิอยไู่ ม่น้อยเหมือนกัน
หนว่ ยงานของรฐั ทกี่ ำลังดแู ลการศกึ ษาของชาตเิ ท่าทผี่ า่ นมา ก็ไม่มี
นโยบายปลกู ฝงั สมั มาทิฏฐิแกค่ รู และนักเรียนอย่างชัดเจน
ดว้ ยเหตุผลดังกลา่ ว รฐั บาลจึงจำเป็นท่ีจะต้องจัดทำโครงการ
ปลกู ฝังสมั มาทิฏเระดบั ชาตใิ ห้แก่ประชาชนท้ังชาติอยา่ งเร่งตว่ น มิ
ฉะน้นั บ้ญหาสงั คมจะทวีขึ้นมากมาย จนกระทั่งเปน็ อุปสรรคตอ่ การแก้
บ้ญหาเศรษฐกจิ และการเมือง ตลอดถึงการพฒั นาประเทศโดยรวม
ลกั ษณะของโครงการ
โครงการปลูกฝงั สมั มาทิฎเระดบั ชาติควรมลี ักษณะอย่างไร
เน่ืองจากโครงการปลูกฝังสมั มาทิฏฐิทร่ี ฐั บาลจะพึงจัดซน้ื น้ี เป็น
โครงการระดับชาติ มวี ัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังสัมมาทฏิ ฐใิ หแ้ กป่ ระชาซน
ทงั้ ชาตอิ ยา่ งเรง่ ดว่ น ดังน้ัน หน่วยงานที่จะทำหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบโครงการนี้
จำเปน็ จะตอ้ งเปน็ หน่วยงานระดับชาติท่ีมีความพร้อมด้านตา่ ง ๆในระดบั
i n ' ! ไปatflu
กระทรวง อยา่ งน้อย ๓ กระทรวง โดยแบง่ งานกันทำหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบ
และขอความรว่ มมอื จากสถาบนั สงฆ์
ตัวอยา่ งเชน่ กำหนดมอบหมายใหก้ ระทรวงวัฒนธรรม ดแู ล
รบั ผดิ ชอบในการปลกู ฝังสัมมาทิฏฐิให้แก่ผใู้ หญ่ ในสถาบันครอบครวั
ทว่ั ประเทศ มอบหมายให้กระทรวงมหาดไทย และสำนักงานตำรวจแห่ง
ชาตริ ับผิดชอบในการปอ้ งกนั และปราบปรามอบายมขุ อันเปน็ ต้นตอใหญ่
ของมจิ ฉาทฏิ ฐิให้เขม้ งวดยิ่งขนึ้ และมอบหมายใหก้ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ดูแลรบิ ผิดชอบในการปลูกฝังสัมมาทฏิ ฐิใหแ้ กเ่ ยาวชนในสถาบันการศกึ ษา
ทกุ ระดับทว่ั ประเทศ การตำเนินโครงการของ ๓ กระทรวง จะอยู่ในลักษณะ
ขอความชว่ ยเหลอื ต้านวิทยากรท่ที รงภมู ิรูภ้ ูมธิ รรมจากสถาบนั สงฆ์ สว่ น
ประธานโครงการเร่งด่วนน้ีจำเป็นอย่างยงิ่ ที่จะตอ้ งเปน็ ผู้นำแห่งชาติ คอื
นายกรัฐมนตรบี ัญชาการเอง
ทำไมประธานโครงการนีจ้ ึงจำเปน็ ตอ้ งเปน็ ผ้นู ำแหง่ ชาสิ
ท้งั นีก้ เิ พราะโครงการนเี้ ปน็ โครงการระดับนโยบายของรฐั บาล ท่ี
มุง่ ปฏิรูปเพื่อแก้ปญ้ หาวิกฤตต้านสงั คม จงึ จำเป็นตอ้ งมกิ ารรณรงค์
ชกั ชวนนอ้ มนำประซาซนทัง้ มวลในชาติ ให้ร่วมมือร่วมใจกันศกึ ษาและ
ปฏบิ ้ติธรรมอย่างจรงิ จัง ต่อเนอื่ ง สมํ่าเสมอ จงึ จะสมั ฤทธิผล
ตามธรรมดาผู้นำของชาตยิ ่อมเป็นทตี่ งั้ แหง่ ศรทิ ธาของประชาชน
โดยท่ัวไป เมอ่ื ผ้นู ำออกมาเชิญชวนขน้ึ ำประชาชนทัง้ ชาติ ให้รว่ มมอื รว่ มใจ
กันทำกจิ กรรมอยา่ งใดอย่างหน่ึง เพอื่ ประโยชน์ส่วนรวมของชาติ พวก
เขาย่อมจะใหค้ วามร่วมมือรว่ มใจเป็นอย่างดี เพราะพวกเขาจะไต้รบั
ประโยชนโ์ ดยตรง โครงการปราบปรามยาเสพติดของรัฐบาล นับเปน็
QyN&jlBjy
ตัวอยา่ งอนั ดี ท่ปี ระชาชนรว่ มกันแสดงพลงั สนับสนุนรัฐบาล
ตวั อยา่ งทีช่ ดั คือโครงการประกาศสงครามปราบปรามยาเสพตดิ
น้ัน ถ้ามอบหมายให้รัฐมนตรีทา่ นใดทา่ นหน่งึ เป็นประธาน โดยนายก
รัฐมนตรไี ฝออกมารณรงคด์ ว้ ยตนเอง กเ็ ช่ือเหลอื เกินว่าประชาชนคงจะ
ไฝต่นื ตัวเขา้ ร่วมสนับสนนุ กนั ทุกหย่อมหญ้าซง่ึ มีส่วนสนบั สนนุ ใหโ้ ครงการ
ประสบผลดีอย่างรวดเรว็ เกนิ คาด ตงั ทป่ี รากฏ
โครงการปลกู ฝังสัมมาทิฏฐิกเ็ ช่นเดยี วกนั คือเหมอื นกับโครงการ
ปราบปรามยาเสพติด ตรงที่เป็นโครงการเพอื่ ประโยชนแ์ ก่ประชาชนทงั้
ชาติ แต่ทวา่ การบรหิ ารจดั การโครงการนจ้ี ะแตกตา่ งจากโครงการปราบ
ปรามยาเสพตดิ โดยสน้ิ เชิง กลา่ วคือ จะไฝมกี ารตงั้ ขอ้ หาวา่ ใครทำผิด
กฎหมาย ไมท่ ำให้ใครตอ้ งเสียผลประโยชนม์ ากมาย ถึงข้ันตอ้ งลา้ งผลาญ
ชีวติ ใครๆ ให้เปน็ ตราบาปติดตรงึ อยู่ในใจ เป็นโครงการท่ีจะยกระดับจิตใจ
คนไทยทงั้ ชาตใิ ห้สูงข้ึน ใหม้ ีความสขุ มากขึน้ ทส่ี ำคัญเหนอื สิ่งอื่นใดก็คือ
เป็นโอกาสสง่ั สมบญุ กศุ ลของทกุ คนทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการ
ถา้ รฐั บาลออกมาขนึ้ ำประชาชน ให้ตระหนกั ในความจรงิ ทว่ี า่
ตราบใดท่ีมจิ ฉาทฏิ ฐยิ งั ทว่ มเมอื งอยู่อยา่ งในขณะน้ี ตราบนนั้ รัฐบาลจะ
ไม่สามารถแกไ้ ขปญ็ หาวกิ ฤตต่างๆ ของชาติ แม้ป็ญหายาเสพติดไต้อย่าง
เปด็ เสรจี ถ้ารัฐบาลวางใจเมอื่ ใด ป็ญหาก็จะปะทขุ น้ึ มาอีก เพราะประชาชน
ยังไม่รจู้ ักสร้างความสวา่ ง เพื่อขับไลค่ วามมดี ท่หี ่อห้มุ จิตใจของพวกเขา
ใหส้ ูญสน้ิ ไป หรือแม้เพียงจางลง มิจฉาทฏิ ฐิจงึ พร้อมทีจ่ ะออกฤทธิ้ยอ่ ม
กลับกำเรบิ ขน้ึ เมือ่ สบโอกาส
ถา้ ผนู้ ำของประเทศออกมาขึ้นำประชาชนใหเ้ กิดโยนโิ สมนสิการ
Ill'lltla (fในl^ l
สามารถตระหนักในความจรงิ ดงั กล่าว พวกเขาก็จะตื่นดัวพากันศกึ ษาและ
ปฏิบัติธรรม เพอ่ื ปฏริ ปู ตนเอง และพฒั นาสมั มาทฎิ ฐขิ ้นึ ในตนเองไดอ้ ยา่ ง
มัน่ คงถาวร ถ้าเปน็ เช่นนน้ั ความเหน็ดเหน่อื ยกายใจ และงบประมาณ
ทีรฐั บาลทุ่มเทเสียสละเพ่ือกอบกู้วิกฤติของชาติ ก็จะปรากฏผลสำเรจ็
อย่างเบด็ เสรจ็ ทนั ตาเห็น เปน็ ความสขุ ความชน่ื ใจโดยสว่ นตวั ของรัฐบาล
ขณะเดยี วกันกเ็ ป็นศักดศิ๋ รีเกยี รตยิ ศ และความภาคภมู ใิ จของคนไทย
ทั้งชาติ เรยี กได้ว่า ได้กำไรเกินคุ้มทนุ หลายร้อยเท่าทีเดียว
แนวคดิ ในการบรหิ ารโครงการ
โครงการปลกู ฝงั สมั มาทฎิ ฐริ ะดบั ชาติจะต้องมกี ารบรหิ าร
จัดการอยา่ งไร
จากลกั ษณะของโครงการทีก่ ล่าวมาแลว้ ทา่ นผู้อา่ นจะเหน็ ไดว้ า่
โครงการปลกู ฝงั สมั มาทฏี ฐิระดับชาตอิ ย่างเร่งด่วนนี้ จะตอ้ งมกี าร
บรหิ ารจัดการโดย ๔ สถาบัน เปน็ หลกั สำคญั คอื
๑. กระทรวงวัฒนธรรม ทำหนา้ ที่รับผดิ ชอบในการปลกู ฝัง
สมั มาทีฏฐใิ หแ้ ก่สถาบนั ครอบครัว
๒. กระทรวงมหาดไทยและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ทำหนา้ ท่ี
ควบคุมปัองกัน และปราบปรามอบายมุข
๓. กระทรวงศกึ ษาธิการ ทำหนา้ ที่รบั ผดิ ชอบด้านการศกึ ษาทกุ
ระดบั
๔. สถาบันสงฆ์ ทำหนา้ ท่ีด้านอบรมศีลธรรม และจรยิ ธรรม
สำหรับรายละเอียดและบทบาทของสถาบนั ทงั้ ๔ มีดงั ตอ่ ไปนี้
แแไปร^ใน!^
๑. กระทรวงวฒั นธรรม
กระทรวงวฒั นธรรมจะต้องทำหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบการปลูกฝงั สมั มา
ทฏิ ฐิใหแ้ ก่สถาบนั ครอบครัว กลมุ่ เปา้ หมายของหน่วยงานนี้กค็ ือ
ประชาชนท่ัวไป ทีม่ ไิ ต้อยใู่ นวัยเรียน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ผูท้ ่ีเป็นพ่อแม่
ผู้ปกครอง
กระทรวงควรแต่งตั้งคณะกรรมการกลางข้ึนมาคณะหนึง่ เพือ่
ทำหน้าท่รี ับผิดชอบในระดบั นโยบาย การบริหารจัดการและการติดตาม
ผลการปฏบิ ติโครงการโดยกระจายงานไปใหผ้ วู้ า่ ราชการจงั หวดั ทุกจงั หวัด
ท่ัวประเทศ รบั ไปดำเนินการอีกต่อหน่งึ โดยตอ้ งให้มีท้งั โครงการระยะสนั้
และระยะยาว
วตั ถุประสงค์ของโครงการน้ีกค็ อื เพอื่ ให้ประชาชนทง้ั ชาตมิ ีสมั มา
ทฏิ ฐอิ ย่างสมบรู fUไมบ่ กพรอ่ ง ดงั น้ันเพ่อื ใหโ้ ครงการนบ้ี รรลวุ ัตถปุ ระสงค์
อยา่ งแห้จรงิ จงึ ใครเ่ สนอแนวคิดบางประการในการบริหาร จดั การท้ังที่
เป็นงานระยะสั้นและระยะยาวของกระทรวงนี้ ไวด้ งั น้ี คือ
๑) เปา้ หมายชีวิตอนั ดบั แรกคือการสรา้ งบารมี แกอบรมประชาชน
ให้เกิดความรคู้ วามเข้าใจว่า เป้าหมายสำคัญอนั ดับหนงึ่ ของการไตเ้ กิดมา
เปน็ มนุษย์ คือ เพอ่ื สรา้ งคณุ ความดี ดงั มีสำนวนวา่ ‘‘เราเกิดมาสรา้ งบารม”ี
ทัง้ นกี้ เ็ พอื่ ความหลดุ พน้ ในทีส่ ุดไม่ว่าจะอกี เม่อื ใดก็ตาม ถ้าหลุดพน้ เมอื่ ใด
ก็ไม่ตอ้ งเวียนวา่ ยตายเกิด ผจญความทกุ ข์อย่ใู นสังสารวฏั ซง่ึ รวมทั้ง
ในโลกนี,้ ดงั ทไ่ี ต้รไู้ ตเ้ ห็นกันอยู่ และนบั วันจะเลวรา้ ยลงเรื่อยๆ ความรู้
ความเข้าใจสัมมาทิฏฐิ ๑๐ ประการอยา่ งถ่องแห้ จะชว่ ยให้ประชาซนเกิด
ความเขา้ ใจเป้าหมายชวี ิตอนั ดับหนง่ึ นี!้ ต้โดยงา่ ย