The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

017.เข้าไปอยู่ในใจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

017.เข้าไปอยู่ในใจ

017.เข้าไปอยู่ในใจ

กล่มุ บุคคลท่ีมีความเห็นแดกต่างกัน

ความเห็นทแ่ี ตกตา่ งกนั ของผ้คู น มีอยู่เพียง ๑๐ ประการ ดงกล่าว
เทา่ นน้ั หรือ

แทท้ ่ีจรงิ มมี ากกวา่ น้ี ทัง้ ในกลุ่มทเี่ ปน็ มจิ ฉาทฏิ ฐิ และสัมมาทิฏฐิ
ทั้งนีเ้ นื่องจากแต่ละคนมีความสนใจเฉพาะเรอื่ งแตกต่างกัน โดยเหตุน้ี
จึงปรากฏในบางพระสตู รวา่ พระสัมมาสมั พทุ ธเจ้าไดท้ รงแบ่งกลุ่มบุคคล
ท้งั ท่เี ปน็ มิจฉาทฎิ ฐิ และสัมมาทิฏฐอิ กี ลกั ษณะหนงึ่ คอื แบ่งออกเปน็ ๖
กล่มุ โดยจัดเขา้ คกู่ ันไดเ้ ปน็ ๓ ค่ดู งั นี้

มจิ ฉาทิฏฐิ สัมมาทิฏเ

กล่มุ ท ๑ มความเหนว่า ผลชองกรรม กลุ่มท่ี ๑มีความเห็นว่า ผลชองกรรม
ไมม่ ี ใจไม่มี กลุ่มนห้ี ลงถือวา่ ตนเปน็ พวก และใจ“ม,ี , คอื น้อมรับพระธรรมคำลํ่งลอน
หัวก้าวหนา้ ช่างคดหาเหตุผลแต่ทว่าดอ้ื ร้ัแ ของพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า แลว้ ต้งั ใจ
ทำตัวเปน็ ข้าศึกตอ่ พระอรหันต์ มีความ ปฎิบ้ติตาม มคิ วามเหนเปน็ สมั มาทิฎฐิ ๑๐
เห็นเปน็ มิจฉาทฎิ ฐิ ๑๐ ประการ ตงั กลา่ ว ประการ ตงั กล่าวแล้ว
แลว้

ความเหน็ ของกลุ่มนม้ี ชี ือ่ ทางธรรมวา่ ความเห็นของกล่มุ นมี้ ชี ่ือทางธรรมว่า
“นัดถืกทิฏฐิ” “อตั ถิกทฏิ ฐ”ิ

มิจฉาทฏิ ฐิ สัมมาทฏิ ฐิ

กลมุ่ ที่ ๒กลุม่ นม้ี ีความเห็นว่า บุญนละ กล่มุ ที่ ๒ ยอมร้บว่า บญุ และบาปมี จงึ
บาปไมม่ ี คอื ใครกต็ ามทท่ี ำกรรมดีด้วย ไมท่ ำกรรมชว่ั และไมส่ ั่งใหผูอ้ น่ื ทำ แต่ทวา่
ตนเอง หรอื สง่ั ให้ผอู้ น่ื ทำ เขาก็ไม่ไดบ้ ุญ พยายามทำความดแี ละสนับ่ สนนุ ใหผ้ อู้ ่นื
ตรงกันข้าม ใครก็ตามทท่ี ำกรรมชัว่ หรอ ทำดว้ ย
สั่งให้ผูอ้ น่ื ทำเขาก็ไมไ่ ด้บาป
ความเห็นของกลุ่มนมี้ ชี อ่ื ทางธรรมว่า ความเหน็ ของกลมุ่ นม้ี ีช่ือทางธรรมว่า
“อกิรยื ทฎิ ฐ”ิ “กิรืยทิฎฐ”

กลมุ่ ท่ี ๓ กลมุ่ นี้เห็นว่า ไม่มีเหดปัจจัย กล่มุ ที่ ๓ กลมุ่ นเี้ ห็นว่า มเี หตุปจั จัยท่ี
ท่ที ำไหคนเราเศราหมองหรือบรสื ทุ ธึ ทุกข์ ทำใหค้ นเราเศรา้ หมองหรอื บรสิ ทุ ธ ทกุ ข์
หรือสุข จึงเห็นวา่ ชีวติ ของคนเราผนแปรไป หรอื สขุ จึงไม่เชอ่ื เรื่อง “ดวง” แต่เชื่อว่า
ตามเคราะหก์ รรม ความเกิดและภาวะ กรรมดแี ละชวั่ คือเหตุแห่งสขุ และทุกข์
คือเชือ่ ‘ดวง” น่ันเอง จึงไมด่ ดี พัฒนาตน ตามลำดับ
ด้วยกรรมดี

ความเหนของกลุม่ นมี้ ชี อ่ื ทางธรรมวา่ ความเห็นของกลุม่ น้ีมีช่ือทางธรรมว่า
“อเหตุกทฎิ ฐิ” “เหตุกทิฎฐิ”

I 'l l ไไฟร่ ^ในl^ l

คนดตี ้องเขา้ ใจท้ังมจิ ฉาทฏิ ฐิ และสมั มาทิฏฐิ

ทำไมคนเราจึงตอ้ งเรียนรเ้ รอื่ งมิจฉาทิฏฐิ และสมั มาทฎิ ฐิ

เหตุผลสำคัญกค็ ือ มจิ ฉาทิฏฐิเป็นเหตุใหใ้ จคนเรามดื มิดด้วยอำนาจ
กเิ ลสแล้วผสกั คนั บบี คน้ั ให้ก่อกรรมช่วั ตา่ งๆ?งนอกจากจะกอ่ ให้เกดิ ทุกข์
กอ่ ใหเ้ กดิ บญี หาสงั คม ในชาตนิ ี้แล้ว ยงั จะพาตน และเพ่อื นรว่ มชาติไป
นรกในชาตหิ น้าอกี ด้วย เพราะเหตนุ พี้ ระสัมมาสมั พทุ ธเจ้าจึงทรงแสดงว่า
มิจฉาทิฏฐนิ ั้นมโี ทษยิง่ กวา่ อกศุ ลธรรมใดๆ คังนี้

“ดูกอ่ นภิกษทุ ง้ั หลาย เราไม่เล็งเห็นธรรมอยา่ งอนื่
แมข้ ้อหนง่ึ นึ่งเป็นเหตุใหก้ ศุ ลธรรมทย่ี ังไมเ่ กดิ ไม่เกดิ
ข้นึ หรือกุศลธรรมที่เกดิ ขนึ้ แลว้ ย่อมเสอ่ื มไปเหมือน
มจิ ฉาทฏิ ฐินเ้ี ลย

ดกู อ่ นภิกษุท้ังหลาย เราไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอยา่ งอื่น
แมข้ ้อหนึ่ง นง่ึ เปน็ เหตใุ หส้ ตั ว์ทั้งหลายเมื่อแตกกาย
ตายไป ยอ่ มเข้าถึงอบาย ทคุ ติ วินบิ าต นรก เหมอื น
กับมิจฉาทิฏฐนิ ีเ้ ลย...,0๗

เหตุผลสำคัญทส่ี ุดท่ีตอ้ งเรียนรเู้ รอ่ื งสัมมาทิฎฐิ กเ็ พราะจะทำให้
คนเราคิดพัฒนาชวี ิต ดว้ ยการเวน้ ขาดจากกรรมช่ัวโดยเด็ดขาด สรา้ ง
กรรมดีทกุ รูปแบบหากมีโอกาสและทำใจให้ผ่องใสเปน็ สำคัญ สมั มา-
ทิฎฐจิ งึ เปรียบเสมือนแสงเงนิ แสงทองแหง่ ชวี ิต คงั ทีพ่ ระพุทธองคต์ รสั วา่

๒๗ อัง. 1อก. มก. ๓๓/๑๘๓/๑๘๒

พ พ ่ใ จ

“ดูกอ่ นภิกษทุ งั้ หลายส่งิ ทเ่ี ร่มิ ตน้ เปน็ นมิ ิตเบือ้ งต้น
แฟงดวงอาทิตย์เมือ่ จะอทุ ยั คอื แสงเงินแสดงทองฉนั ใด

ดกู ่อนภิกษุทั้งหลาย สงิ่ ทีเ่ รม่ิ ตน้ เปน็ นิมติ เบอ้ื งต้น
แฟงกศุ ลธรรมท้งั หลาย คือสมั มาทฏิ ฐิ ฉันน้ันเหมือน
กันแล,, *๘
สำหรับมิจฉาทฏิ ฐิบุคคลในกลุ่มที่ ๒ และท่ี ๓ ที่เพิ่มขน้ึ นั้น ถา้
ท่านผ้อู า่ นพิจารณาอย่างรอบคอบ กจ็ ะเห็นไดว้ ่าทง้ั ๒ กลุ่มนั้1ม่เชอื่
เรื่องกฎแหง่ กรรมน่นั เอง
อนึง่ สิง่ ทีจ่ ะทำให้คนเราดำเนนิ ชีวิตอย่างถูก่ ด้อง ร้จู ักพัฒนา
ตนใหเ้ จรญิ ก้าวหนา้ ด้วยการประพฤตดิ ี ปฎบิ ้ตชิ อบ ก็เพราะมคี วามเหน็
เปน็ สัมมาทิฏฐิ เปน็ พ้ืนฐานเบอื้ งด้น

ทำไมจงึ ตอ้ งเรยี นแร่ืองมิจฉาทิฎฐิด้วย
มหี ลกั ตดิ งา่ ยๆ วา่ คนท่ีคนุ้ เคยอยกู่ ับความสกปรก เมอ่ื มใี ครพูด
สรรเสริญความสะอาด เขากจ็ ะจินตนาการไม่ออกว่า สิ่งท่ีเรยี กวา่ “ความ
สะอาด” คอื อย่างไร มีคณุ ประโยชนจ์ รงิ หรอื ไม่ประการใด ต่อเมอ่ื เขา
ไดเ้ ห็นท้ัง ๒ สิ่ง คือความสกปรก และความสะอาดเปรียบเทียบกนั แล้ว
เขาก็จะรอ้ งออ่ คอื เขา้ ใจไดว้ า่ ความสะอาดนี้ช่างมีคณุ คา่ เหลือหลาย
โดยทำนองเดยี วกันการทีบ่ คุ คลจะเกดิ ความเข้าใจสมั มาทีฎฐิอยา่ ง
ถ่องแห้ ก็จำเปน็ จะต้องเขา้ ใจเร่อื งมจิ ฉาทีฏฐิอยา่ งถอ่ งแทด้ ้วย มิฉะนนั้
ก็จะยังลงั เลสงสัยทัง้ คุณของสัมมาทีฏฐิ ทงั้ โทษของมิจฉาทฎี ฐิ วา่ จริง

10๘ ปพุ พังคสูตร อัง. ทสก. มก. ๓๘/๑๒๑/๓๘๓

1ปใึ ไใla^lul^

ดงั ทีต่ นได้ยินได้ฟังมาหรอื ไม่ ซง่ึ จะเปน็ เหตุให้จติ ใจเศร้าหมองไมผ่ อ่ งใส
จึงไมส่ ามารถควบคุมตนใหต้ ั้งอย่ใู นความดไี ด้อยา่ งมน่ั คง สมํา่ เสมอ

สัมมาทิฎเคอื ปัญญานำไปส่กู ารต้งั เปา้ หมายชวี ิต

บคุ คลใดก็ตามทมี่ ใี จผอ่ งใสสามารถตรองดว้ ยปญั ญา จนเกดิ ความ
เข้าใจสัมมาทิฏเ ดงั กลา่ วแล้วทั้งหมด ยอ่ มจะเกดิ ความเขา้ ใจต่อไปอกี
วา่ เขาหรือใครๆ กต็ าม ลว้ นเกดิ มาเพอื่ ทำหนา้ ท่ี ๓ ประการ เท่าน้นั
มิใช่เพ่ือสิ่งอืน่ ใดเลย คือ

๑) ละกรรมชั่ว หรอื อกุศลกรรม
๒) สรา้ ง “กรรมด”ี หรอื “กศุ ลกรรม,
๓) ทำใจใหผ้ ่องใส

การครองชีวติ ให้มัน่ คงแน่วแนอ่ ยู่กบั การบำเพ็ญกรรมดีนนั้ ไม่ใช่
เรอื่ งงา่ ยเลย ขนาดนักบวชทีม่ พี ระนพิ พานเปน็ เปา้ หมาย ก็ยงั มีโอกาส
หลงผดิ สร้างอกุศลกรรมหนัก ถงึ ขั้นตกนรกอเวจไี ด้ ดังกรณีพระเทวทัต
เปน็ ด้น

เพราะฉะนน้ั การที่บคุ คลจะสามารถประคองชีวิตไห้อยู่ในวถิ ีทาง
แห่งสมั มาทิฏฐิ ไดโ้ ดยตลอดรอดผิง ไม,ประมาท ไมพ่ ลาดพลั้ง ก็จำเป็น
ตอ้ งมกี ารตั้งเป้าหมายชวี ิตอย่างรอบคอบเสิยกอ่ น เพอื่ ความไม่ประมาท
แลว้ พยายามพัฒนาตน เพอ่ื ให้บรรลุเป้าหมายชวี ติ ที่ตัง้ ไว้นั้น อยา่ ง
เป็นข้ันเปน็ ตอน ตามลำดับ

จากพระธรรมเทศนาในหลายพระสูตร และจากการบำเพ็ญ
ประโยชนข์ องพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า ซ่งึ ทรงประกาศไวอ้ ยา่ งชดั เจนวา่

1>?ทไปa^lul^

พระพุทธองค์ทรงตามสอนสตั ว์ทั้งหลาย เพอื่ ประโยชนป์ ัจจบุ ัน
ประโยชน์ชาติหนา้ และประโยชน์อย่างยงิ่

จากความรู้เรื่องประโยชนท์ ้ัง ๓ นี้ เราอาจนำมาใชเ้ ปน็ หลกั ใน
การต้งั เปา้ หมายชีวิต ได้ ๓ ระดับ คอื

๑. เป้าหมายชีวิตระดบั ดน้ เป็นการตั้งเปา้ หมายชวี ิตเพื่อให้สามารถ
พึ่งพาตนเองไดไ้ ม่ตกเป็นภาระแกใ่ คร ที่เรยี กวา่ ตั้งฐานะหรอื ตั้งดัวได้
ด้วยการประกอบอาชพี สุจรติ หรืออาชพี ถูกตอ้ ง เพือ่ เลย้ี งตนเอง
ครอบครัว มารดา บดิ า และบริวารใหม้ ีความสุขพอประมาณในชาตินี้
โดยไมด่ อ้ งเกีย่ วช้องพวั พันดบั อาชพี ทจุ รติ ผิดกฎหมาย ผิดศลี ธรรม
จมอยใู่ นอบายมุข และอกศุ ลกรรมทงั้ ปวง จะเรียกวา่ เป็นเป้าหมายชวี ิต
ระดับบนดนิ ก็ได้

๒. เป้าหมายชีวติ ระดับกลาง เป็นการต้ังเปา้ หมายชวี ิตเพ่อื ให้
ได้โอกาสไปถือกำเนิดในสคุ ติโลกสวรรค์ หรอื โลกหน้าหลงั จากตาย
แล้ว บุคคลทตี่ ง้ั อย่ใู นสมั มาทฎิ ฐิอยา่ งมน่ั คงสมํ่าเสมอ ต่างร้แู ลว้ วา่
ลัตวโลกตายแลว้ ไม่สญู ยงั จะต้องเดนิ ทางตอ่ ไปอกี และรูด้ ้วยว่าการ
บำเพ็ญกศุ ลธรรมทุกรูปแบบ ทนขาดจากอกุศลกรรมทั้งปวง และทมุ่ เท
เวลาเจรญิ ภาวนา เพอ่ื การทำใจให้ผอ่ งใสเทา่ น้นั จึงจะมีโอกาสบรรลุ
เป้าหมายระดบั กลาง หรอื ระดบั บนฟ้าได้

๓. เปา้ หมายชีวติ ระดบั สูง เปน็ เปา้ หมายชีวติ เพอ่ื มุง่ ความหลดุ
พ้นจากอำนาจของความบีบค้นั ของกิเลส หลุดพ้นจากอำนาจของอวชิ ชา
และพญามารอยา่ งถาวร ทำใหไ้ มด่ ้องกลับมาเวียนวา่ ยตายเกิดอกี คอื
บรรลุมรรคผลนิพพาน ซงึ่ เปน็ เป้าหมายของสมณพราหมณ์ ผูต้ ้งั อยู่ใน

พท'111atfIti^l

โลกตุ ตรสมั มาทิฏฐิ ผูค้ รองเรือนยากท่จี ะมโี อกาสบรรลุเป้าหมายระดบั
สูงน้ี อาจเรียกวา่ ระดับเหนือฟา้ ก็ได้

ถึงแม้เป้าหมายชวี ิตจะมีอย่ถู งึ ๓ ระดับ บคุ คลก็ควรตง้ั เปา้ หมาย
ชีวติ ทั้ง ๓ระดบั พรอ้ มกนั ไป ท้งั นี้เพราะฆราวาสท่ีตัง้ อยู่ในโลกยิ สมั มาทิฏฐิ
อยา่ งท่ัน'คงสมรเสมอ ย่อมมีโอกาสบรรลเุ ป้าหมายระดบั ดน้ ในชาตินี้
และบรรลเุ ป้าหมายระดบั กลางในโลกหนา้ เปน็ ผลพลอยได้

ขณะที่เปน็ ฆราวาส ถ้ามคี วามตงั้ ใจจริงและมอี นิ ทรีย์แกก่ ล้า',1๘
แลว้ ดดั ใจออกบวชเม่ือใดกต็ าม ถา้ ไดม้ ีโอกาสพบกัลยาณมิตร เช่น
พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ หรอื พระอรหนั ต์กอ็ าจบรรลุเป้าหมายชีวิตระดบั
สงู ได้ แมจ้ ะยงั ไม่หลุดพน้ จากกเิ ลสอย่างเด็ดขาดในชาตนิ ้ี ก็อาจก้าว
ขน้ึ สคู่ วามเป็นอริยบคุ คลระดับใดระดับหนึง่ ได้

เป้าหมายลูกตอ้ งนำไปสสู่ ันสิสขุ

ผคู้ นโดยท่ัวไปในปัจจบุ นั ซง่ึ เป็นสงั คมบริโภคนิยม ส่วนใหญจ่ ะ
มีเปา้ หมายชวี ติ มงุ่ อยูท่ รี่ ะดับบนดิน คือความทั่งทัง่ รารวยเป็นสำคญั
สาเหตทุ อ่ี ยากรา่ํ รวย ก็เพราะคิดว่า เงินคอื พระเจา้ ทีส่ ามารถบันดาลทุกสิ่ง
ทกุ อยา่ งให็ได้ตามปรารถนา ยิ่งไดเ้ ห็นคนรา่ํ รวย ต่างใชช้ ีวิตอย่างฟง้ เฟ้อ
ฟุมIฟอ้ ย หรหู รา สะดวกสบายดว้ ยประการท้ังปวง กย็ ง่ิ อยากเลยี นแบบกนั

‘’๙ อินทรีย์แกก่ ลา้ หมายถึง ใจท่ไี ลร้ ับการพัฒนาจนมคี ุณภาพสงู ซ่ึงมผี ลให้ ๑) มีศรัทธา คอื
m lจเร่ีองกฎแหง่ กรรมอยา่ งลึก'ซ้ึง ๒) มีวริ ิยะ คือมีจิตใจเขมแขง็ พรอ้ มท่จี ะต่อสู้อุปสรรค
ทงั้ มวล ๓) มีสติ คอื มคี วามร้ตัวเป็นอยา่ งดี ไม่เผลอไผลง่ายๆ ๔) มีสมาธิ คือมีจิตใจม่ันคง
ไมว่ อกแวก เมื่อประสบฟญ้ หาต่างๆ ๔) มีฟ้ญญา คอื มคี วามเข้าใจโลกและชวี ิตอยา่ งลกี ฃี[๋ ง

มากข้ึน
แทท้ ่ีจรงิ การต้ังเปา้ ชีวิตดงั กล่าว เป็นการตั้งเป้าหมายชีวติ ท่ี

แคบ ส้นั และเสยี่ งอ้นตราย เปน็ ความคดิ ท่ีอผ่บู นพ้ืนฐานของมิจฉาทิฎฐิ
ไม่ไดเ้ ตรยี มพรอ้ มสำหรับชีวติ หลงั ความตาย ซึ่งหากประมาทแมเ้ พยี ง
เล็กน้อยกม็ แี ตต่ กนรกสถานเดยี ว เพราะเหตใุ ด เพราะย่อมมพี ฤตกิ รรม
แบบมจิ ฉาทฏิ ฐนิ ่นั เอง

เพราะเหตุน้กี ารตง้ั เป้าหมายชีวิต จงึ จำเป็นอย่างยง่ิ ทจ่ี ะตอ้ งตั้ง
ไหถ้ กู ต้อง สัมมาทิฏฐบิ คุ คลเท่าน้นั จงึ จะมีป้ญญาตง้ั เปา้ หมายชีวติ ไตถ้ กู
ตอ้ งตามแบบเปา้ หมายชวี ติ ทั้ง ๓ ระดับดงั กล่าวแล้ว ในเวลาเดยี วกนั

พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาแหง่ ปญั ญา

ศาสนาแห่งปญั ญา หมายถงึ อะไร
ศาสนาแห่งปญั ญา หมายความวา่ ไมม่ ีการบงั คับศาสนิกให้ต้อง
เช่อื ดังเซ่นศาสนาอ่นื ๆแตใ่ ห้เช่ือดว้ ยการใชป้ ญั ญาพจิ ารณาอยา่ งรอบคอบ
ด้วยตนเอง ยนิ ดีเชือ้ เชญิ ศาสนกิ หรอื ใครกต็ าม ให้มาพิสจู น์พระธรรม
ค0าสัง้ สอนท้งั มวล สำหรับค0าสง้ั สอนทลี่ กึ ซึ้งเช้าใจยาก เซ่น การออกผล
อันสลบั ซบั ซ้อนของกรรม เร่ืองโลกน้-ี โลกหนา้ นรก-สวรรค์ และ
โอปปาตกิ ะ ก็บอกวธิ ีพิสจู นโ์ ว1ห้ การพิสจู นพ์ ระธรรมค0าสัง้ สอนท่ลี ึกซึง้ นั้น
ไมส่ ามารถใช้วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรส์ มยั ใหมม่ าพสิ ูจนโ์ ต้ จำเป็นต้อง
ใชว้ ิธกี ารพเิ ศษโดยเฉพาะในพระพุทธศาสนา ผู้พิสูจนท์ ใี่ ชว้ ธิ พี ิสูจนโ์ ม่
ถูกต้อง ยอ่ มไมพ่ บความจริงตามพระธรรมคำสัง้ สอน เฉกเซ่นนัก
คำนวณทใ่ี ช้สตู รผดิ ยอ่ มไมส่ ามารถแกโจทย์ไต้ ชอ้ นฉี้ นั ใดกฉ็ นั นั้น
ในสมยั ปลายพุทธกาล มนี ักคดิ บางทา่ นพยายามพสิ จู น์คำสอน

พ า ษatffch

ในพระพุทธศาสนา แตเ่ พราะเขาไม่รูว้ ธิ พี ิสจู น์ที่ถกู ตอ้ ง จงึ ตอ้ งคว้า
นํ้าเหลวตลอด ซา้ํ ร้ายกว่าน้ันก็คือ เปน็ เหตใุ ห้เขาสร้างบาปกรรมตว้ ย
การฆา่ คนมากมายหลายคน ขอเชิญตดิ ตามเรอื่ งน้ืเ,นบทต่อไป

โลกตอ้ งการกลั ยาณมติ รอย่างย่งิ



เ>"2ทไเ]a^lโน!๊ั

บทที่ ๓
โลกตอ้ งการกัลยาณมติ รอย่างยิ่ง

ไฝเชือ่ เพราะไมเ่ หน็

ไต้กล่าวแลว้ แต่ตน้ ว่า เหตปุ จั จัยทแ่ี ท้จริงของปญั หาวกิ ฤตใน
บา้ นเมอื งของเรากค็ อื ปัญหาเรอ่ื งคน คอื คนมคื วามเหน็ เป็นมิจฉาทิฏฐิ

เหตุแห่งมจิ ฉาทฏิ ฐิของผูค้ นสว่ นใหญ่อาจกลา่ วโดยสรปุ ไต้ว่า การ
ไมเ่ ช่ือและไมท่ ราบพระธรรมคำสง่ั สอนในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะ
อยา่ งยิ่ง ไมเ่ ชอ่ื และไม่ทราบธรรมะทเ่ี ป็นกญุ แจสำคญั ไขไปสูค่ วาม
เขา้ ใจถกู เร่ืองโลก และความเปน็ ไปของชีวิตตามเปน็ จรงิ ท่สี ำคัญยิง่ ๓เรือ่ ง
คอื ๑ เรอ่ื งกฏแหง่ กรรม ๒ เร่อื งโลกหนา้ ๓ เรอ่ื งสัตวผ์ ดุ ขน้ึ เก็ด
(โอปปาตกิ ะ)

ทำไมผ้คู นเหลา่ นน้ั จงึ ไม่เชอื่ ธรรมะดงกลา่ ว
สาเหตทุ ไี่ ม่เช่อื เพราะเขาไมเ่ คยเหน็ ความจรงิ เหลา่ นนั้ ดว้ ยตาของ
ตนเอง (มงั สจกั ษ)ุ เช่น ไม่เคยเหน็ นรก สวรรค์ ไมเ่ คยเหน็ เทพบตุ ร

แ1ไไไ18เ1น1^

เทพธดิ า ไมเ่ คยเห็นสัตวน์ รก ฯลฯ เพราะไมเ่ หน็ จึงไมเ่ ช่ือ เพราะไมเ่ ชือ่
ย่อมทำกรรมช่วั (หากสบโอกาส) เพราะทำกรรมชว่ั ใจจงึ มืด (ด้วย อำนาจ
บาป) เพราะใจมืดจงึ ไมส่ นใจธรรมะ และพร้อมทจี่ ะทำความชัว่ ย่งิ ๆ ขึน้
ไป ผลคอื ทัง้ ตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ ด้องเดือดรอ้ น
กนั ทัว้ หนา้

ตามนษุ ย์ไมส่ ามารถเห็นได้ทุกสงิ่

ในชว่ งตลอด ๒ เดือน ท่ฝี านมา (ไตรมาสท่ี ๒ ของปี ๒๔๔๖) มี
ข่าวเกย่ี วกบั การระบาดของโรคไข้หวัดมรณะ (sars) ซึ่งเปน็ เหตใุ ห้ผูค้ น
พากนั หวาดผวากสัวตายกันไปทวั้ โลก ดังทีท่ า่ นผ้อู า่ นคงจะจำกันได้ ถาม
วา่ ทา่ นเชอื่ หรอื ไมว่ ่า เชื้อไวรัสที่ทำใหเ้ กดิ โรคไขห้ วัดมรณะมอื ย่จู ริง

ถา้ ท่านตอบวา่ ไม่เชื่อ กเิ ทา่ กับทา่ นบอกว่า บุคคลระดบั รฐั มนตรี
สาธารณสขุ ของไทยและของประเทศตา่ งๆ ที่มโื รคไข้หวัดระบาด ตลอด
จนเจา้ หน้าทขี่ ององค์การอนามัยโลกท่อี อกมาให้ข่าวเก่ยี วกบั การระบาด
ของโรคไขห้ วดั มรณะ เช่ือถือไม่ได้ ใชห่ รือไม่

แต่ถ้าทา่ นตอบวา่ เชื่อ กเิ ท่ากบั ท่านยอมรับว่าการที่ตาของท่าน
(รวมทัง้ ของปถุ ุชนทว่ั ไป) ไม่สามารถมองเหน็ สิ่งใดทั้งหมดน้นั มืได้ แสดง
วา่ สงิ่ นน้ั ไมม่ อื ยูจ่ รงิ ในโลกและจกั รวาลของเราใช่หรือไม่ ท้งั นี้ยอ่ มมี
ความหมายครอบคลมุ ไปถึงว่า การที่ทา่ นไม่สามารถเหน็ นรก สวรรค์
โอปปาติกะ ตลอดจนการท่างานของกฎแห่งกรรม ตามทพ่ี ระสัมมา
สมั พทุ ธเจา้ ทรงแสดงไว์ในพระไตรปฎี กน้นั กิมิได้แสดงว่า เร่อื งเหล่านนั้
ไม่มือยูจ่ ริง ใชห่ รือไม่

1ปที ไไ18^โน1^

แทท้ จ่ี รงิ เร่ืองเหล่านน้ั มีอย่จู ริง แตต่ าของทา่ นไมม่ ีศักยภาพ หรือ
พลงั สงู พอท่จี ะเหน็ ได้ตา่ งหาก

การเห็น ๒ ประเภท

ปุถุชนคนมมี จิ ฉาทฏิ ฐิ ไม่เคยศกึ ษาพระพุทธศาสนา ไมร่ ูธ้ รรมะ
แมจ้ ะมคี วามร้ทู างโลกสงู ระดับปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก ตลอดจนมคี ณุ วฒุ ิ
พิเศษเกินปริญญาเอกขนึ้ ไป ยอ่ มไม่ร้โู ม่เข้าใจวา่ การเห็นของคนเรานนั้
มอี ยู่ ๒ ประเภท คือ

๑) เหน็ ดว้ ยตาธรรมดา(มังสจกั ษุ) การเหน็ ประเภทนีห้ มายรวม
ถึงการเหน็ ของคน ไม่วา่ สายตายาวหรอื สายตาสั้นท่ตี ้องอาศัยแว่น
สายตาเปน็ เคร่ืองชว่ ย และการเหน็ โดยมองผา่ นเลนส์ของกล้องตา่ งๆ เช่น
กล้องจลุ ทรรศน์ กลอ้ งสอ่ งทางไกล กล้องลอ่ งดดู าว ฯลฯ การเห็นประเภท
นี้ แม้บุคคลจะมีใจมีดมดิ เพราะถกู ครอบงำดว้ ยอำนาจกเิ ลส ก็มโ้ อกาส
เห็นสงิ่ ตา่ งๆ ได้ซดั เจน

๒) เห็นด้วยใจ มสี ำนวนภาษาทางธรรมว่า เหน็ ดว้ ยญาณ (ญาณ
ทสั สนะ) บา้ ง เห็นดว้ ยตาทพิ ย์ (ทิพยจักษุ) บา้ ง การเห็นประเภทน้ีเปน็
การเห็นด้วยใจที่ผอ่ งใส เพราะมคี วามสว่างโพลงเกดิ ขนึ้ ทกี่ ลางใจ ซง่ึ เกดิ
จากการ?เกอบรมตนตามเส้นทางทาน ศีล ภาวนา หรอื ศลี สมาธิ บญ้ ญา
กิได้ทงั้ น้นั เหตบุ จ้ จยั สำคัญทจี่ ะทำให้ความสว่างโพลงเกดิ ข้ึน ท่ีกลางใจ
กค็ อื การทำให้ใจหยุดใจน่งิ อยา่ งต่อเน่อื งเปน็ เวลานานๆ ซ่ึงเรยี กวา่ การ
ทำภาวนา อันเปน็ เหตุใหใ้ จผอ่ งใสสว่างขน้ึ เนอ่ื งจากกิเลสใน ใจแมม้ อี ยู่
ก็ออกฤทธิ๋ไมไ่ ด้ ดกี รแี หง่ ความสว่างโพลงของใจจะข้ึนอย่กู ับความหยดุ นง่ิ

1?|ไไฟอ่ {|โน็1^

ไดส้ นิทของใจอย่างตอ่ เน่อื งเปน็ เวลานาน พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
และพระอรหนั ตสาวกทง้ั หลาย ใจของทา่ นนงิ่ สนิทตลอดทกุ ลมหายใจ
อย่างถาวรกเิ ลสที่แฝงมาแตก่ ำเนิดจึงถกู กำจัดให้อนั ตรธานไปโดยสิ้นเชงิ
ทำนองเดียวกับหอ้ งทเี่ ปด็ ไฟตลอดเวลา ความมืดย่อมถกู กำจดั ไปโดย
เด็ดขาด ฉะนนั้

ดว้ ยความสวา่ งโพลงอันประมาณมไื ด้ ซ่ึงเกิดจากการทำภาวนา
ท่ีเป็นเหตปุ ็จจยั ใหพ้ ระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ และพระอรหันตสาวกทัง้ หลาย
สามารถเห็นและเกดิ ความเขา้ ใจถูกในสรรพส่ิงทั้งหลายตรงตามความ
เปน็ จรงิ ด้วยตนเอง ไม่วา่ เร่อื งเหลา่ นนั้ จะล้ีสบั เพยี งไหน ทง้ั ทม่ี ือย่ใู นโลก
นแี้ ละโลกหนา้ พระพุทธองค์ และเหลา่ พระอรหนั ตสาวกก็รู้แจ้งเห็นแจง้
โดยสิ้นเชงิ แลว้ นำความรู้จากประสบการณ์การศกึ ษาด้นควา้ ทดลองแบบ
เอาชีวติ เป็นเดมิ พันเหลา่ นน้ั มาสอนซาวโลกใหร้ ตู้ าม

ด้วยเหตนุ ้ี มจิ ฉาทฏิ ฐบิ ุคคลทม่ี ืใจมืดสนิท ไม่มืตาทพิ ย์ ย่อม
ขาดศกั ยภาพของการเห็นดว้ ยใจโดยปริยาย จงึ ไม่สามารถเหน็ สงิ่
ละเอียดต่างๆ หรือสิ่งที่ถอื ได้ว่าเป็นความเรน้ สับของโลก และความ
เปน็ ไปของชีวติ ดังน้ัน การทีท่ ่านไม่สามารถเห็นตามพระธรรมคำสิ่งสอน
แลว้ กลา่ ววา่ ส่งิ เหล่าน้นั ไมม่ อื ยู่จริง ไม่เชอื่ ยอ่ มจะเปน็ การปดี กั้นโอกาส
แหง่ การพฒั นาปญ็ ญาของตน กลายเป็นคนโง่ดักดานตลอดชวี ิต ซา้ํ รา้ ย
จะพาตนไปตกนรกหมกไหมไ้ ปช่ัวกลั ปวสาน ดว้ ยการประพฤติปฏบิ ้ดิ
ตนไปตามอำนาจมิจฉาทิฏฐอิ ีกด้วย

ในทางกลับกัน ลา้ ทา่ นเป็ดใจกว้างสลัดความดื้อร้นั ท้งิ ไป ท่าน
กจ็ ะร้จกั แสวงหาสิง่ ทถี่ กต้อง ด้วยวิธีการท่ีถกตอ้ ง ไม่ข้าไม่นานท่าน ก็

เข'พนใจ

อาจจะสามารถ?เกอบรมใจให้ผอ่ งใสได้ ทำให้สามารถเห็นสจั ธรรม
ต่างๆ ได้ ปญั ญาของท่านก็จะเพ่มิ พูนทวีขน้ึ ท้งั น้ี เพราะปัญญาของคน
เราพิฒนาไปตามการเห็น ขอใหท้ ่านพงึ สำเหนยี กเถิดวา่ การเห็นของคน
เรามีอยอู่ ยา่ งน้อย ๒ ประเภท คอื เหน็ ด้วยมังสจักษกุ บั ทพิ ยจกั ษุ

อนึ่ง พงึ ทราบความจริงว่า ส่งิ ใดกต็ าม หากสามารถมองเห็นได้
ดว้ ยมงั สจักษุ ลว้ นสามารถมองเหน็ ได้ด้วยทิพยจกั ษทุ งั้ สน้ิ ขณะเดยี วกนั
สิง่ ใดก็ตามทไ่ี ม่สามารถมองเหน็ ได้ดว้ ยมังสจกั ษุ กล็ ว้ นสามารถมองเห็น
ไดด้ ้วยทพิ ยจกั ษุทั้งสน้ิ นนั่ คือ การที่ทา่ นไมส่ ามารถมองเหน็ ใจ ไมว่ ่า
ใจของตนเองหรอื ผ้อู ่ืน ไม่สามารถมองเห็นนรก สวรรค์ ด้วยมงั สจกั ษุ
ของทา่ นน้ัน มิได้หมายความวา่ ส่ิงดังกลา่ วไม่มีอยจู่ ริง มไิ ดห้ มายความว่า
ผ้อู น่ื กต็ อ้ งไมเ่ ห็นเชน่ เดียวกับท่านดว้ ย เพราะในโลกนผ้ี มู้ ที ิพยจักษยุ ัง
มอี ยู่

วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ใชพ้ ิสจู นเ์ รอ่ื งละเอียดทางธรรม
ไม่ได้

บุคคลทไี่ ม่มีความเข้าใจเกีย่ วกบั การเหน็ ๒ ประเภท ดังกลา่ ว
แล้วยึดมั่นวา่ สง่ิ ใดทตี่ นไม่สามารถเห็นดว้ ยตาตนเอง ก็จะไม่ยอมเช่ือ
กอ่ นจะเชอ่ื สิ่งใดๆ ดอ้ งพิสูจนใ์ ห้เหน็ จะจะดว้ ยตาตนเองเสยี กอ่ น แต่ผู้คน
ประเภทนส้ี ว่ นใหญ่กไ็ มเ่ คยทา่ การพสิ ูจนI้ั ดๆ มเี พียงบางคนเท่านนั้ ที่
ม่งุ มน่ั พสิ ูจนห์ าความจริง เรื่องนรก สวรรค์ ตลอดจนเรอ่ื งของใจ โดย
ใขว้ ธิ ีการทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ซงึ่ ใข้พสิ ูจน์เรื่องละเอียดลึกซึ้ง เชน่
นรก สวรรค์ และใจไม่ได้ เปรยี บเสมือนการใขก้ ล้องสอ่ งทางไกลมา

ส่องดเู ช้ือจลุ ินทรีย์ ย่อมไม่มีทางเห็นเชือ้ จุลินทรยี ์ได้ ฉันใด การพิสูจน์
ความจรงิ ทางธรรมดังกล่าว ย่อมไมม่ ีทางสัมฤทธผิ ล ฉันน้นั

บคุ คลท่ีขาดโยนิโสมนสิการ พยายามพสิ จู นค์ ำสอนเรอ่ื งนรก-
สวรรค์ เรื่องใจ ดว้ ยวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์สมัยใหมน่ ้นั มิได้มเี ฉพาะ
แตใ่ นสมยั น้ีเท่านน้ั แมใ้ นสมัยพุทธกาลกเ็ คยมี กลา่ วคอื คนฉลาดปราด
เปร่ือง มีหัวกา้ วหน้าแต่ขาดปญ็ ญาทางธรรมซ่ือพระยาปายาสไิ ดพ้ ยายาม
พสิ จู น์เรื่องเหลา่ นมี้ าแลว้ แตก่ ต็ ้องคว้านา้ํ เหลว ดงั มเี รือ่ งราวปรากฏ
เป็นหลกั ฐานอยู่ในพระไตรปฎี ก ดังนี้

พระยาผู้หว่ งใยประชาราษฎร์

แคว้นโกศลของพระเจา้ ปเสนทิโกคล ในสมยั พุทธกาล เป็นแควน้
ใหญ่แควน้ หนึ่ง ประกอบดว้ ยนครน้อยใหญ่หลายแห่งด้วยกนั ใน
บรรดานครนอ้ ยใหญ่เหล่าน้นั มนี ครอย่แู หง่ หนึง่ ซือ่ เสดัพยะ เปน็ นคร
ทีม่ ีพืซพันธธุ ญั ญาหาร และปศสุ ัตว์ อุดมสมบรู ณ์มาก พระเจ้าปเสน,ทโิ กคล
ไดพ้ ระราชทานเสดพั ยะนครให้เป็นบำเหนจ็ ความชอบแกม่ หาอำมาตย์
ผหู้ นึง่ ไปเป็นเจา้ ผู้ครองนคร และสถาปนาใหเ้ ปน็ พระยา มีซือ่ ว่า
พระยาปายาสิ °

พระยาปายาสนิ ้ี กลา่ วไดว้ ่าเป็นคนเกง่ เฉลียวฉลาด รกั การ
ศกึ ษาด้นคว้าหาความร้ทู ้ังทางโลกและทางธรรม ดว้ ยวธิ ีการทาง
วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ นิสัยประจำตัว แต่ทว่าเป็นมิจฉาทฏิ ฐิ คอื มคี วามเหน็

* ปายาสิราชัญญสูตร ที. มหา. มก. ๑๔/๓๐๑/๓๖๙

1 ป ็ไ ไ ใ 1 8 ร ใ น 1 ^

ความเข้าใจเกย่ี วกับเรอ่ื งโลกและความเปน็ ไปของชวี ติ อยา่ งผิด ๆ เปน็ ตน้
ว่า มคี วามเหน็ ว่า โลกหน้าไม่มี โอปปาติกะไมม่ ี ไม่เชื่อเรอ่ื งกฎแหง่
กรรม

สมยั หน่งึ พระกมุ ารกสั สปเถระ จาริกไปสู่แคว้นโกศล พร้อมด้วย
ภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๔๐๐ รปู และหยดุ พกั แรมอยู่ ณ ปา่ ไม้สเี สยี ด
ซงึ่ อยู่ทางต้านทศิ เหนอื ของเสตัพยนคร พราหมณ์และคหบดซี าว
เสตพั ยนคร ไต้ยินกิตตศิ ัพท์เลอื่ งลอื มานานแล้วว่า พระกมุ ารกัสสป-
เถระเป็นพระพทุ ธสาวกองค์หน่งึ ซึ่งแสดงธรรมไต้ไพเราะลึกซ้ึง เปน็
พระธรรมกถกึ ทีเ่ ปน็ มัณฑิต ผู้เพียบพรอ้ มไปดว้ ยปฏภิ าณ ปัญญา ฉลาด
และเป็นพหูสูต ที่สำคัญคือ เป็นพระอรหันต์อกี ด้วย

ครั้นเมื่อไตข้ ่าวการจาริกไปสู่เสตพั ยนครของพระเถระบรรดาซาว
เมอื งตา่ งกป็ ลาบปล้ืมยนิ ดี พากนั ไปฟังธรรมจากพระเถระ ณปา่ ไม้สเี สียด
ในเวลากลางวนั

ขณะนนั้ พระยาปายาสกิ ำลงั พกั ผอ่ นกลางวนั ณ ปราสาทช้นั บน
ไต้แลเหน็ ประชาซนพากันเดนิ ออกจากเสตพั ยนครเป็นหมู่ ๆ มุ่งหน้าไป
ทางทศิ เหนอื จงึ เรียกคนสนิทมาถาม ไตค้ วามว่า ประซาซนเหล่านัน้
กำลงั ม่งุ หน้าไปคารวะ และฟงั ธรรมจากพระกุมารกสั สปเถระ สาวกของ
พระสมณโคดมสมั มาลมั พทุ ธเจ้า และเปน็ พระอรหันตผ์ มู้ กี ติ ตศิ พั ท์อัน
งามขจรขจายไปไกล

พระยาปายาสจิ งึ สั่งให้คนสนิทไปบอกประซาชนเหลา่ นนั้ หยุดรอ
ทา่ นกอ่ น เพราะทา่ นจะไปด้วย ทงั้ นกี้ เ็ พราะพระยาปายาสเิ คยไตข้ า่ ว
วา่ กอ่ นหน้านั้1มน่ านนักพระกุมารกัสสปะเถระเคยไปทเ่ี สตัพยนคร และ

ได้แสดงธรรมส่ังสอนประชาซนว่า โลกหนา้ มจี ริง โอปปาตกิ ะมจี ริง กฎ
แหง่ กรรมมีจรงิ ซงึ่ เป็นคำสอนที่ตรงข้ามกบั ความเชอื่ ของท่านพระยา
โดยส้ินเชงิ ท่านพระยาจงึ มคี วามตดิ ว่า ซาวเมืองท่ีเชื่อตามคำสอนของ
พระเถระย่อมกลายเปน็ คนโง่เขลา ดงั นน้ั ในคราวน้ีท่านพระยาจะต้อง
ไปฟังด้วย เพ่อื จะไดม้ โี อกาสโตว้ าทะกับพระเถระ ซึ่งจะมีส่วนชว่ ยให้
ประซาชนหายโง่ เมอ่ื พรอ้ มแลว้ ขบวนของพระยาปายาสิก็เคลื่อนไป
สูป่ ่าไม้สเี สยี ด โดยมปี ระชาซนหอ้ มลอ้ มเปน็ จำนวนมาก

ครั้นเมือ่ เขา้ ไปพบพระกุมารกัสสปเถระแลว้ พระยาปายาสิและ
ประชาชนท้ังมวลต่างกแ็ สดงคารวะ และทกั ทายพระเถระตามสมควร
แล้วก็หาทีน่ ่งั กัน

เมอ่ื น่งั เรียบรอ้ ยแลว้ พระยาปายาสิกก็ ราบเรียนพระกุมาร
กสั สปเถระว่า ตนมีความเหน็ วา่ โลกอน่ื ไมม่ ี สตั วผ์ ดุ เกดิ ไมม่ ี ผลวิบาก
ของกรรมท่สี ตั วท์ ำดีทำช่วั ไมม่ ี

กลั ยาณมิตรผู้เปลอ้ื งปมมจิ ฉาทฏิ เ

พระกุมารกัสสปเถระ เม่อื ได้ฟังความเห็นอนั เปน็ มิจฉาทฏิ ฐขิ อง
พระยาปายาสิแล้ว ด้วยน้ําใจของกลั ยาณมติ ร พระเถระกเ็ กิดความคดิ
ทีจ่ ะตอ้ งอนเุ คราะห์ปลกู ฝงั สมั มาทฏิ ฐใิ ห้แก่พระยาปายาสทิ ันที ด้วย
การแกไ้ ขมิจฉาทฏี ฐนิ นั้ ใหก้ ลบั เป็นสัมมาทฏี ฐิ แต่แทนทพี่ ระเถระจะ
แสดงพระธรรมเทศนาสอนพระยาปายาสิ แบบพระเทศนั1้ หโ้ ยมฟัง ดัง
ท่เี ราท่านได้เหน็ การปฏบิ ต้ ิกันในสังคมของเรา พระเถระกลับใชว้ ิธี
ปุจฉาพยากรณ์ โดยตงั้ คำถามใหพ้ ระยาปายาสิเปน็ ผูค้ ิดด้น หาคำตอบ
เองมาตอบท่าน

1โทใใ!a^lul^

ต่อไปนข้ี อใหท้ ่านผู้อา่ นได้สงั เกตการแสดงวาทะหกั ล้างกันระหวา่ ง
ผมู้ ฟี ญ้ ญาทางโลกกับผ้มู ฟี ญ้ ญาทางธรรมช่งึ มที พิ ยจกั ษุ

พระเถระ : ทา่ นพระยา ตามทที่ ่านเห็นว่า โลกอื่นไมม่ ี สัตว์ผุด
เกดิ ไม่มี ผลวิบากของกรรมทีส่ ัตว์ทำดีทำช่วั ไม่มี ถา้ อยา่ งนนั้
อาตมาขอถามความเห็นของทา่ นว่า พระจนั ทร์ พระอาทติ ย์มี

อยู่ไนโลกนหี้ รือโลกอนื่ เปน็ เทวดาหรอื มนษุ ย์

พระยาปายาสิ : พระจนั ทร์พระอาทิตยม์ ีอยูใ่ นโลกอ่ืน ไม่ใชโ่ ลกนี้ เป็น
เทวดา ไมใ่ ช่มนุษย์ {สนั นิษฐานว่า ถ้าตอบว่า ท้งั พระจันทร์ พระ

อาทิตย์มีอยใู่ นโลกน้ี ก็บอกไมไ่ ถว้ ่าอยู่ตรงไหน คร้นั จะบอกว่าสัตวโลก

ทอี่ าศัยอยใู่ นน้ันเป็นมนษุ ย์ จรงิ ๆ ก็ไมเ่ คยเหน็ ว่าเป็นอะไรแน่ แลว้ อยู่

ไถ้อยา่ งไร ในเมอ่ื ดวงอาทติ ย์แสนจะร้อน คร้นั จะตอบว่าไม่รก้ ็จะกลาย

เปน็ คนโง่ จงึ ถอ้ งตอบแบบขอไปที )

พระเถระ : ทา่ นพระยา จากคำตอบของทา่ น ก็แสดงว่า โลกอ่ืน
มี สตั วผ์ ดุ เกิดมี ผลวิบากของกรรมท่สี ตั ว์ทำดที ำชัว่ มี

พระยาปายาสิ : ถึงแมพ้ ระคุณเจา้ จะกล่าวเชน่ นัน้ แต่ข้าพเจ้าก็ยังมี

เหตุผลทตี่ ้องขอยืนยันความเห็นเดมิ คือโลกอื่นไมม่ ี สตั ว์ผุด
เกดิ ไมม่ ี ผลวิบากของกรรมที่สตั ว์ทำดีทำชัว่ ไม่มี

พระเถระ : ท่านพระยาท่านมีเหตุผลอะไรสนบั สนุนความเห็นของ
ทา่ นอกี หรอื

พระยาปายาสิ : มคี รบั พระคณุ เจ้า

พระเถระ มวี า่ อยา่ งไร

Ill'lll

วธิ ีพิสูจนโ์ ลกหนา้ :ฃองผู้มปี ญั ญาทางโลก

ก. วธิ พี ิสูจน์นรก

พระยาปายาสิ ะ พระคุณเจ้าครบั ขา้ พเจ้ามญี าตมิ ิตรที่ชอบฆ่าสตั ว์ สัก
ทรัพย์ ประพฤตผิ ิดในกาม พูดเท็จ พดู ส่อเสียด พูดคำหยาบ
พดู เพ้อเจ้อ มกั ได้ ชอบปองรา้ ยผูอ้ ่นื มีความเท็นผิด (ทัง้ หมดน
คอื หมวดธรรมท่มี ีชอ่ื ว่า อกศุ ลกรรมบถ ๑๐) คร้นั เมื่อพวกเขา
คนใดคนหนงึ่ ปว่ ยหนกั คงจะไม1หายตอ้ งตายแน่ ขา้ พเจ้าจงึ
เข้าไปพูดกับเขาวา่ มีสมณพราหมณพ์ วกหนง่ึ มคี วามเหน็ วา่
บคุ คลทีป่ ระพฤตอิ กุศลกรรมบถ ๑๐ เม่ือตายแลว้ จะต้องไปสู่ทุคติ
นรก เปรต อสุรกาย สตั วต์ ริ ัจฉาน ตวั เขาก็ประพฤติเซ่นนัน้ เพราะ
ฉะน้นั เมื่อเขาตายไปแล้ว ถา้ ไต้พบวา่ ความเหน็ ของสมณ
พราหมณ์ พวกนัน้ เป็นความจริงถูกตอ้ ง ขอใหเ้ ขากลับมาบอก
ขา้ พเจ้าด้วย ข้าพเจา้ จะยอมเชื่อโดยปราศจากความสงสยั ญาติ
มติ รเหล่าน้ันก็รบั คำ แตเ่ มอ่ื พวกเขาตายไปแลว้ ไม่เคยปรากฏ
ว่ามญี าติมิตรทตี่ ายไปแล้วกลับมาบอกข้าพเจา้ เลย เพราะเหตุนี้
ข้าพเจา้ จึงขอยืนยันความเหน็ ของขา้ พเจ้าตงั กล่าวแล้วน้นั

ขอ้ อปุ มาด้วยโจรของพระเถระ

พระเถระ ะ ทา่ นพระยา ถ้าอย่างน้นั อาตมาขอถามใหม่ว่า ถ้าพวก
เจ้าหน้าทีข่ องทา่ นพระยาจบั โจรมาไต้ แล้วพามาใหท้ ่านพระยา
ตัดสินลงโทษ ทา่ นพระยาก็สงั่ เจา้ หนา้ ท่ใี หล้ งโทษประหารชีวิต
โจรน้ัน หลังจากท่ีเจ้าหน้าที่มดั มือโจรไพล่หลัง โกนมวั ตี

แเใโปร^น!^

บัณเฑาะว์ พาตระเวนไปทว่ั พระนครตามคำส่งั ของทา่ นแล้ว ก็
นำโจรไปน่ังบนตะแลงแกง เพอ่ื เตรียมตดั ศรี ษะ โจรจึงขอรอ้ ง
เจา้ หน้าทใ่ี หผ้ อ่ นผนั อนญุ าตใหเ้ ขาได้มีโอกาสเดินทางไปราลา
ญาติสนทิ มิตรสหายที่บ้านหรอื ที่นิคมท่ีอย่หู า่ งไกลจากนน้ั เสยี กอ่ น
แล้วจะกลับมาขนึ้ ตะแลงแกงให้ตัดศีรษะ ถามวา่ เจา้ หน้าท่ีของ
ท่านพระยาจะยอมผอ่ นผันตามคำออ้ นวอน หรอื จะตัดศรี ษะ
ของโจรนั้น โดยไม่เสียเวลารอ

พระยาปายาสิ : พระคุณเจา้ ครับ เจ้าหน้าทีฆ่ า่ โจรคงจะตดั ศีรษะโจร
ทันที โดยไมอ่ นโุ ลมผ่อนผันตามคำออ้ นวอนรอ้ งขอเปน็ แนค่ รบั

พระเถระ ท่านพระยา ท้งั โจรทง้ั เจ้าหนา้ ทีป่ ระหาร ดา่ งกเ็ ปน็

มนษุ ยอ์ ยใู่ นเมอื งเดียวกนั โจรยังไม่ไดร้ ับการผ่อนผนั ใหร้ อการ

ตัดศีรษะไว้ก่อนเลย แดญ่ าตมิ ติ รของทา่ นพระยาทส่ี รา้ งอกศุ ล

กรรมอนั หนกั หน่วง ด้องไดร้ บั โทษทณั ฑ์ถึงขนั้ ไปบงั เกดิ ในนรก

แล้วไฉนเลยนายนริ ยบาลซ่ึงไม่ใชม่ นษุ ยจ์ ะสั่งให้รอการลงโทษไว้

จนกวา่ ญาติมิตรของท่านจะน่าความมาบอกท่าน แลว้ คอ่ ยกลบั

ไปรบั โทษเลา่ ดว้ ยเหตุผลนี้ ท่านพระยาพงึ เขา้ ใจเถดิ ว่า โลก

อน่ื มี สตั วผ์ ุดเกดิ มี ผลวิบากของกรรมทีท่ ำดีท่าขั้วมี

(อนง่ึ สมมตุ ิว่า ญาติคนหนึง่ ของทา่ นพระยาซึง่ รบปากทา่ นพระยาไว้ ครั้น
เมอ่ื ตายแลว้ ไดไ้ ปบังเกิดใหมเ่ ปน็ สุนัขตัวโปรดของท่านพระยา ถาม
ว่าสนุ ัขตวั นั้นจะสามารถสื่อสารให้ท่านพระยารูใด้หรือว่า มนั เคยเปน็
ญาติของทา่ นพระยาในอดีต)

1ปไึ ไฟ่8#เน1^

พระยาปายาสิ : พระคณุ เจ้าครับความเห็นของพระคุณเจ้าก็น่าจะเปน็
จริง แตถ่ งึ กระนน้ั ขา้ พเจ้ากย็ งั มีเหตุผลอื่นทีต่ อ้ งยนื ยันความ
เหน็ เดิมไม่เปลย่ี นแปลง

พระเถระ : ท่านพระยา ยงั มีเหตผุ ลอยา่ งอ่นื อกี หรือ

พระยาปายาสิ : ยงั มอี ีกครบั

พระเถระ ะ ทา่ นพระยา อาตมาอยากฟงั เหตผุ ลของทา่ น

ข. วิธพี สิ จู นส์ วรรค์

พระยาปายาสิ : พระคุณเจ้าครับ ข้าพเจ้ามญี าตมิ ติ รมากมาย ทีง่ ดเว้น
จากการฆา่ สตั ว์ สกั ทรัพย์ ประพฤติผดิ ในกาม พูดเทจ็ พูดส่อเสียด
พูดคำหยาบ พูดเพอ้ เจอ้ ไมม่ ักไต้ ไม่ปองร้ายผู้อื่น มคี วาม
เหน็ ถกู ต้อง (ทง้ั หมดนค้ี ือหมวดธรรมที่มชี ่อื วา่ กศุ ลกรรมบถ ๑๐) ตอ่
มาพวกเขาแตล่ ะคนลม้ ปว่ ยหนัก ดูท่าทางวา่ จะไม่รอดต้องตาย
แน่ ขา้ พเจ้าจงึ บอกกับเขาวา่ มสี มณพราหมณ์ พวกหนึง่ มี
ความเห็นวา่ การประพฤติกุศลกรรมบถ ๑๐ จะไปสสู่ ุคตโิ ลก
สวรรค์ หสงั จากละโลกนโ้ั ปแล้ว เพราะฉะนนั้ พวกเขายอ่ มมี
โอกาสไปบงั เกดิ ในสุคตโิ ลกสวรรค์ ถ้าความเห็นน้ีเปน็ จรงิ ขอ
ไหพ้ วกเขากลับมารายงานไห้ขา้ พเจ้าทราบตว้ ย แลว้ ขา้ พเจา้
จะยอมเชือ่ อย่างสนทิ ใจ ญาติมติ รเหลา่ นน้ั ก็รับคำเป็นม่นั เปน็
เหมาะ แตไ่ มเ่ คยปรากฏเลยว่า จะมีญาตมิ ติ รคนใดกลบั มา
รายงานเอง ท้ังไม่เคยส่งใครมาบอกใหท้ ราบด้วย เพราะเหตุน้ี
แหละ ข้าพเจา้ จึงขอยนื ยนั มน่ั คงในความเหน็ ของขา้ พเจา้ ว่า

เขาM นใ,จ

โลกอ่ืนไมม่ ี สตั ว์ผุดเกิดไม่มี ผลวิบากของกรรมท่สี ัตว์ท0าดที ำช่ัว
ไมม่ ี

ประสบสขุ แล้วยอ่ มไม,ถวลิ หาทกุ ข์

พระเถระ ะ ทา่ นพระยา ถ้าเซน่ นน้ั อาตมาจะอปุ มาใหฟ้ ัง เพราะ
วิฌฌซู นผ้เู ป็นนกั ปราชญบ์ างพวกในโลกน้ี สามารถเขา้ ใจสาระ
สำคัญของธรรมภาษติ ได้ดว้ ยถอ้ ยคำอุปมา ท่านพระยา สมมุติ
วา่ มีชายคนหนึง่ ตกลงไปในบ่อคูถ (อุจจาระ) จนมดิ ศีรษะ ทำนุ
พระยาเหน็ แลว้ รู้สึกสงสารชายคนนน้ั เป็นอย่างยง่ิ จึงสัง่ บรรดา
เจา้ หนา้ ทใ่ี หช้ ว่ ยกนั ดงึ ชายผู้เคราะหร์ ้ายคนน้ันขึน้ มาจากบอ่
แลว้ ช่วยท่าความสะอาดให้เปน็ พเิ ศษ ด้วยการ,1ชไ้ มีไผ่'ซกี ครูด
อจุ จาระออกจากผิวกายชายผู้นนั้ ใหเ้ กลยี้ งใชต้ ินสีเหลืองสำหรับ
ขัดคัว ขดั ผิวให้ ๓ ครง้ั ใช้นาั้ มันชโลมกายใหท้ ั่ว เอาจณุ (ผง
ละเอียด หรือแปังหอม) ละเอยี ดลบู ไลก้ าย ๓ ครั้ง จนดผู ิวเนียน
สะอาดหมดจด จดั แต่งหนวดและทรงผมใหส้ วยงาม พรมน้าํ อบ
นํ้าหอมใหม้ ากๆ หาเส้ือผ้าเครื่องนุ่งหม่ ขาวสะอาดมาให้ใส่ หา
เครือ่ งทองเครื่องเพชรมาใหป้ ระคับ พร้อมทง้ั มพี วงดอกไม้
ประดบั กายตามสมควร แลว้ ให้พกั อยู่ ชน้ั บนของปราสาท ที
ตกแตง่ ไรอ้ ย่างสวยงามวจิ ติ รตระการตา พรอ้ มสรรพด้วยเครื่อง
บำเรอกามคุณ ๔ (รปู เสยี ง กลน่ิ รส สัมผสั ) ไมม่ ีขาดตกบกพรอ่ ง
ถามว่า ชายผู้น้นั ยงั อยากจะจมลงในบอ่ คถู อกี หรอื ไม่

พระยาปายาสิ ะ ไมห่ รอกครับ พระคณุ เจ้า เปน็ ไปไม่ได้เลยท่เี ขาจะ
ปรารถนาอย่างน้ัน

แทไฟ8่ ^ไใ*1^

พระเถระ ะ เพราะเหตุใด

พระยาปายาสิ : พระคณุ เจา้ ครับ บอ่ คถู น้นั ทง้ั สกปรก ทง้ั เหม็น ท้ัง
นา่ เกลยี ดเต็มไปด้วยสงิ่ ปฏกิ ูล ไยเขาจะปรารถนาจมลงไปอีก

เทวดาเหมน็ สาบมนษุ ย์

พระเถระ : พระยาปายาสิ อปุ มาฃอ้ นฉ้ี นั ใด อปุ ไมยกฉ็ นั นน้ั กล่าว
คอื พวกมนุษยท์ งั้ ไม่สะอาด ท้ังนบั ว่าไม่สะอาด ท้งั กล่ินเหม็น
ทง้ั นับวา่ กลน่ิ เหมน็ ทง้ั นา่ เกลยี ด ทั้งนบั วา่ น่าเกลียด ทงั้ ปฏกิ ลู
ทง้ั นับว่าปฏกิ ลู กลิน่ มนษุ ยเ์ หมน็ คลุง้ ข้ึนไปถึงเทวดาต้งั ร้อยโยชน์
บรรดามิตรสหายของทา่ นท่ไี ปบังเกิดในสคุ ติโลกสวรรค์ ได้
ประสบพบแตส่ ่ิงวิเศษ สวยงามอันเปน็ ทพิ ย์ทัง้ สิ้น แล้วไยพวก
เขาจึงอยากจะกลบั มาบอกทา่ นอีกเล่า เพราะเหตนุ ้ีแหละ ท่าน
พระยาจึงควรเหน็ วา่ โลกอน่ื มี สัตว์ผุดเกดิ มี ผลวบิ ากของ
กรรมท่สี ตั ว์ทำดีทำชว่ั มี

พระยาปายาสิ ะ ที่พระคุณเจ้ากลา่ วอย่างนัน้ ก็คงจะจรงิ อยู่ แต่ถึง
อยา่ งไร ข้าพเจ้ากย็ งั ม็เหตุผลทท่ี ำใหด้ ้องยนื ยนั ความเหน็ เติม
ไมเ่ ปล่ยี นแปลง

พระเถระ ะ ท่านพระยา ทา่ นยังม็เหตุผลอยา่ งอนื่ อีกหรอื

ค. วิธพี สิ ูจนโ์ ลกสวรรค์ชัน้ ดาวดงึ ส์

พระยาปายาสิ : ยงั มีซคิ รบั พระคณุ เจา้ ขา้ พเจ้ามีญาติ มติ รมากมาย
ที่งดเวน้ จากการฆ่าสตั ว์ สกั ทรัพย์ ประพฤตผิ ิดในกาม พูดเท็จ

I'ZJ'I'hlaเในL^l

และงดเวน้ จากทีต่ ้งั แหง่ ความประมาท คอื ดม่ื นาํ้ เมา ไดแ้ ก่สุรา
และเมรัย (ศีล ๔) คร้ันตอ่ มา เมือ่ พวกเขาแต่ละคนลม้ ป้วยหนกั
คนไหนทขี่ า้ พเจ้าแนใจว่าเขาจะไมห่ าย ตอ้ งตายแน่ ข้าพเจา้ จึง
เขา้ ไปบอกกบั เขาวา่ มีสมณพราหมณ์บางพวกมคี วามเหน็ ว่า
การประพฤตศิ ลี ๕ โดยบริสทุ ธิ้บริบูรณ์ เมอื่ ตายแลว้ จะพงึ
บังเกิดในสุคติโลกสวรรค์ชนั้ ดาวดึงส์ ดงั นั้น พวกเขาซ่ึงมศี ีล
บริสทุ ธ๋ยิ อมจะไปบังเกิด ในสวรรคช์ ้ันดาวดงึ ส์อย่างแนน่ อน
หลงั จากละโลกไปแล้ว ถ้าความเหน็ นี้เปน็ จรงิ ก็ขอไหพ้ วกเขา
กลบั มาบอกขา้ พเจา้ ด้วย

ถา้ รู้ว่า โลกอน่ื มี สตั ว์ผดุ เกดิ มี ผลวิบากของกรรมท่ี
สตั วท์ ำดที ำชั้วมี กข็ อให้กลบั มาบอกดว้ ย ข้าพเจา้ จะยอมเช่อื
ถ้อยคำบอกเล่าของพวกเขาอยา่ งสนิทใจ ญาติมติ รเหลา่ นัน้ ก็
ยนิ ดีใหส้ ัญญาเปน็ ม่นั เป็นเหมาะ แต่จนแล้วจนรอดก็ไมเ่ คย
ปรากฏว่า จะมีญาตมิ ติ รคนใดทล่ี ่วงลบั ไปแลว้ กลบั มาบอกเอง
หรือแมจ้ ะไหวว้ านใครมาบอกแทนก็ไมเ่ คยเลย พระคุณเจา้
นีแ่ หละครับ คือเคร่ืองยืนยันความเหน็ เติมของขา้ พเจา้

เทวดาชัน้ ดาวดึงสอ์ ายุยืนสามร้อยกวา่ ลา้ นปี

เถระ : ท่านพระยา ถา้ อยา่ งน้ัน ขอถามวา่ รอ้ ยปขี องมนษุ ย์
เปน็ รนั หนงึ่ กับคนื หนึ่งของเทวดาชั้นดาวดงึ ส์ อายขุ องเทวดา
ชั้นดาวดึงส์น้นั ยาวนานถงึ พันปีทิพย์ {ไมใชป่ ีมนษุ ย์) ญาติมติ รของ
ท่านพระยาทีเ่ พง่ิ ไปบงั เกดิ ในสวรรค์ช้ันดาวดึงสใ์ นรันแรก ก็
คงจะดื่นตาดืน่ ใจกบั วิมาน พรอ้ มด้วยเครอื่ งบำเรอกามคุณ ๕

เข'พนใจ

อันเปน็ ทพิ ยท์ ้ังส้ินจงึ คิดว่าขอเสวยผลแหง่ กรรมดขี องตนใหเ้ ตม็
อมิ เต็มใจสกั สองหรอื สามทิวาราตรี ( = สองสามร้อยปมี นุษ3) แล้ว
คอ่ ยกลับมารายงานผลให้ท่านพระยาทราบ ถาเป็นเซน่ นี้ เมือ่
ญาติมติ รแตล่ ะคนทก่ี ลบั มาจะมีโอกาสไดพ้ บท่านพระยาหรือ

พระยาปายาสิ : คงจะไม่ไดพ้ บกันหรอกครบั พระคณุ เด้า เพราะพวก
ขา้ พเจ้าคงจะตายกนั ไปเสียตั้งนานแลว้ แต่ เอ๊ะ! ใครบอก
พระคุณเดา้ ล่ะครบั วา่ เทวดาขนั้ ดาวดึงสม์ ี หรือว่าเทวดาข้นั ดาว
ดงึ สม์ ีอายยุ นื ถงึ เพยี งนน้ั ข้าพเจา้ ไมเ่ ชอ่ื พระคุณ*จวั หรอกครับ (ขอ้

นีย้ อ่ มชชี้ ดั ว่า พระยาปายาสจิ ะเชอื่ เฉพาะแตส่ ่ิงทตี่ นรูแ้ ละเห็นเท่านั้น)

ท่านพระยาอุปมาเหมอื นคนตาบอดแต่กำเนดิ

พระเถระ : ทา่ นพระยา คนท่ตี าบอดมาแตก่ ำเนดิ ไมเ่ หน็ สดี ำ สี
ขาว สเี ขียว สเี หลือง สีแดง หรอื สีอะไร ๆ เลย พ้นื ทเ่ี รียบ
หรอื ไม่เรยี บก็ไม่เคยเห็น พระอาทติ ย์ พระจนั ทร์ หรือดาว ก็
ไมเ่ คยเห็น ถ้าคนตาบอดนัน้ พดู วา่ รปู ดำ รูปขาว รปู เหลอื ง
รปู แดง พ้นื ที่เรียบ และไม่เรียบ พระอาทิตย์ พระจนั ทร์ หรือ
ดาว ไมม่ ี บุคคลทีเ่ ห็นรูปดำ รูปขาว รูปเขยี ว รปู เหลอื ง รูป
แดง พ้ืนทเี่ รยี บและไมเ่ รยี บ พระอาทติ ย์ พระจันทร์ หรือดาว
กไ็ ม่มี ถามวา่ คนตาบอดผู้นัน้ พดู ถูกหรือไม่

พระยาปายาสิ : ไมถ่ กู ครบั พระคุณเดา้ เพราะส่ิงต่างๆ ดงั กล่าวน้นั
มีอยูจ่ รงิ ผเู้ หน็ สิ่งเหลา่ นั้นก็มีอยจู่ รงิ คนตาบอดท่พี ดู เซน่ นัน้
ก็ชอื่ วา่ พูดไมถ่ ูกตอ้ ง

พระเถระ เรอื่ งนก้ี ท็ ำนองเดยี วก้นทา่ นพระยาอุปมาเหมือนคน

ตาบอดแตก่ ำเนิด จงึ มายอ้ นถามวา่ ใครบอกอาตมาว่า สวรรค์

ชนั้ ดาวดึงส์มเี ทวดา และเทวดาก็อายุยืนยาวขนาดพันปีทพิ ย์

แถมยงั บอกว่า ไม่เชอ่ื คำพดู ของอาตมาอีกด้วย

ไฝมตี าทพิ ย์ไมเ่ หน็ นรกสวรรค์

ทา่ นพระยา ฟงั ให้ดีนะ โลกอนื่ ๆ นนั้ ไมม่ ใื ครสามารถเหน็
ได้ด้วยมังสจกั ษุ {ตามนุษย์) อย่างที่ทา่ นพระยาเขา้ ใจหรอกนะ แต่
สมณพราหมณ์ที่เป็นผไู้ ม่ประมาท เขา้ ปา่ แสวงหาท่สี งบวเิ วก
บำเพญ็ เพยี รอยา่ งอุกฤษฏด์ ว้ ยจิตใจมงุ่ ตรงตอ่ พระนพิ พานตลอด
เวลา จนกระท่ังกาย วาจา ใจ ใสบริสุทธิห้ มดจดยอ่ มบงั เกดิ
ทพิ ยจักษุ {ตาทิพย)์ จึงสามารถเหน็ โลกน้โี ลกอนื่ เหน็ หมู่สัตวท์ ี่
ผดุ เกดิ ไดด้ ้วยทิพยจกั ษุ อนั บริสทุ ธยิ้ ง่ิ กวา่ จกั ษมุ นุษยม์ ากมาย
หลายรอ้ ยหลายพนั เท่า เพราะเหตุนี้แหละท่านพระยา พงึ เห็น
เถดิ ว่า โลกอนื่ มื สตั วผ์ ดุ เกดิ มี ผลวิบากของกรรมท่ีสัตวท์ ่าดี
ทา่ ชัว้ มีจรงิ ๆ

พระยาปายาสิ : ตามท่ีพระคณุ เจา้ กล่าวก็อาจจะเปน็ จริงอยู่แตถ่ ึงอยา่ ง
นน้ั ขา้ พเจ้ากย็ ังมเี หตุผลที่ทา่ ใหต้ อ้ งยนื ยนั ความเห็นเดมิ อยคู่ รบั

พระเถระ : ทา่ นพระยา ทา่ นยังมีเหตุผลขอ้ โต้แยง้ อะไรอีกหรอื

พระยาปายาสิ ะ มีแน่นอนครับ พระคุณเจา้

เขาษร^ใจ

มิจฉาทฏิ ฐิย่อมประเมนิ ผอู้ ่นื ด้วยความโง่ของตน

พระยาปายาสิ ะ ข้าพเจ้าได้เห็นสมณพราหมณ์ทท่ี รงศลี ทรงธรรม
จำนวนมาก ลว้ นดอ้ งการมชี ีวิตอยู่ ไม่อยากตาย ล้วนรกั สุข
เกลยี ดทุกข์ ถ้าสมณพราหมณท์ ีป่ ระพฤติดปี ฏบิ ตชอบเหลา่ นี้รู้
ว่า เม่อื ละจากโลกนี้!,ปแล้วจะไดพ้ บกับชวี ิตอันประเสรฐิ แลว้
เหตไุ ฉนจึงไมฆ่ า่ ตัวตายกันเล่า จะกินยาพษิ ก็ได้ ยงิ ตวั ตาย
ก็ได้ ผูกคอหรอื โดดเหวตายก็ไดท้ ัง้ น้ัน แต่เพราะเหตุทส่ี มณ
พราหมณ์เหลา่ นโื๊ มร่ วู้ า่ ตายไปแล้วจะไดพ้ บชีวิตท่ีประเสริฐกวา่
ใช่หรอื ไม่ จงึ ปรารถนาจะมีชวี ติ อยกู่ ันทงั้ นั้นไมอ่ ยากตาย จึง
รักสขุ เกลียดทกุ ข์ ทั้งหมดน้แี หละครบั พระคณุ tจ้า ทที่ ำให้
ขา้ พเจา้ ยังยนื ยนั ความเหน็ เติม

{ข้อนี้ย่อมสะทอ้ นให้เห็นทรรศนะของพระยาปายาสทิ ีม่ ี ตอ่ สมณ

พราหมณ์ผ้ปู ระพฤติดีปฏบิ ้ตชอบ โดยเอาตนเองเปน็ มาตรฐาน ว่า
ท่านผทู้ รงศลี เหลา่ นนั้ ๑) ไม่แนใจว่าโลกหนา้ มี ๒) ไมแ่ นใจเรื่องผล
แห่งกรรมทีท่ ำดอี ยา่ งอกุ ฤษฏ์แล้ว จะได้ดีหลงั จากตาย ดงั น้ันจึงไม่

อยากตาย)

มจิ ฉาทฎิ ฐิย่อมขาดโยนโิ สมนสกิ าร

พระเถระ ท่านพระยา ถ้าอยา่ งน้นั จงฟงั อุปมาเรอื่ งนีI้ ห้ดี เรอ่ื ง

เคยมมี าแลว้ วา่ พราหมณ์ผหู้ นึ่งมภี รรยา ๒ คน ภรรยาคน

หน่ึงมบี ุตรชายอายุประมาณ ๑๑ ปีเศษ ภรรยาอกี คนหนึ่ง

กำลงั มีครรภแ์ ก่ ครน้ั แลว้ พราหมณ์ผ้สู ามีก็ถึงแก,กรรม บุตร

เขาษ^นใจ

วยั ร่นุ กพ็ ูดกบั แม่เลยี้ งว่าทรพั ยส์ มบิดเิ งินทองท้ังมวลควรเป็นของ
เขาทงั้ หมด เพราะเป็นทรัพย์สินของบิดาของเขา แม่เลีย้ งไม่
มีสทิ ธิใดๆ ในทรพั ยส์ นิ เหล่าน้ัน ดังน้นั ขอแม่เล้ียงโปรดมอบ
มรดกแก่เขา

แม่เลยี้ งไดฟ้ งั เซ่นน้ัน ก็บอกใหบ้ ุตรเลี้ยงรอไปจนกว่าเธอ
จะคลอด ถ้าทารกท่เี กิดมาเปน็ ชาย ก็จกั มีสิทธิในมรดกสว่ นหนึ่ง
แต่ถ้าเป็นหญงิ ก็จักตกเป็นบริจารกิ า (หญิงรับใ#) ของบุตรเลีย้ ง
นนั้ ตอ่ มาไม่นานบุตรเลย้ี งกอ็ ้อนวอนแม่เลยี้ ง ให้มอบมรดกให้
เปน็ ครงั้ ท่ี ๒ ฝ่ายแม่เลี้ยงก็ให้คำตอบเหมอื นเดมิ

ครน้ั ต่อมา บตุ รเลี้ยงกอ็ ้อนวอนแม่เลย้ี งเปน็ ครง้ั ที่ ๓
แมเ่ ลีย้ งขดั ใจ จงึ ควา้ มดี เขา้ ห้องแหวะท้อง เพอ่ื จะให้รวู้ ่าทารก
ในท้องเป็นชายหรือหญงิ แต่หญงิ แม่เล้ียงต้องจบชวี ติ ลง คือ
ทำลายทัง้ ชวี ิตตนเอง ท้ังทารกในครรภ์ท้งั ทรพั ยม์ รดกอนั จะพงึ ได้
ท้ังน้ีกเ็ พราะความโง่เขลาของหญิงแมเ่ ลีย้ งท่ีแสวงหาทายาทโดย
ขาดโยนิโสมนสกิ าร หรือความคิดอันแยบคาย จนถึงความ
ย่อยยบั ฉันใด อุปไมยกฉ็ ันนน้ั เหมือนกนั คอื ท่านพระยาเปน็ คน
เขลา ไมฉ่ ลาด แสวงหาโลกอืน่ โดยขาดโยนโิ สมนสิการ กจ็ กั ถงึ
ความยอ่ ยยบั เหมือนพราหมณีผนู้ ั้น

ผทู้ รงศีลทรงธรรมยอ่ มมชี วี ติ เพ่ือเก้อื ถูลโลก

ท่านพระยา เหลา่ สมณพราหมณผ์ ูม้ ีศีลมกี ัลยาณธรรม
เป็นบณั ฑติ ยอ่ มไมช่ งิ สกุ ก่อนห่าม แตร่ อเวลาสุกเต็มท่ตี า่ งหาก

m ไไปatfใน

ท่านพระยา ชีวิตของสมณพราหมณผ์ ปู้ ระพฤตดิ ปี ฏิยัดชอบ
ดำรงอย่ยู ่ังยนื ยาวนานเพยี งใด ยอ่ มประสบบุญมากเพียงนนั้
เพราะต่างปฏยิ ตั ิตนเพอ่ื เกอ้ื กลู เพื่อความสุข เพื่ออนุเคราะหผ์ คู้ น
แเปก็น่เทอวันดมาาทก£งหเลพา่ือยอนทเ่าคนรพาระะหยโ์ าลกดyวตยเลหอตดุผจลนดฯเพงกือ่ ลเ1กา่ ื้อวมก*าล0น‘ครท'ุว£งาห0ม0ม0ส'!ดข
จงเหน็ จงเขา้ ใจเถิดว่า โลกอน่ื มี สตั วผ์ ดุ เกดิ มี ผลวิบากของ
กรรมทีส่ ตั ว์ทำดที ำซวั่ มี

(พระธรรมเทศนาของพระเถระในข้อนี้ มนี ยั วา่ สมณ-
พราหมณ์ผูป้ ระพฤติดีปฏบิ ตั ิชอบเป็นบณั ฑิต ไม่ใช่ว่าท่านไม่
อยากตายหรือกลวั ตาย แตท่ ่านยงั ไม่อยากตายเรว็ เพราะอยาก
มีชวี ิตอยู่เพอ่ื สร้างกรรมดีมากๆ ซ่งึ จะทำใหไ้ ดบ้ ุญมาก ท่านมี
บญุ มากเทา่ ใด นอกจากทา่ นจะมคี วามสุขมากแล้ว ยงั สามารถ
อนุเคราะห์คนหรือลตั วโลกได้มากขึ้นอีกด้วย)

พระยาปายาสิ : ดำกลา่ วของพระคณุ เจ้า ฟงั ดูก็จรงิ อยู่ แต่ขา้ พเจ้าก็
ยงั มีเหตุผลท่ีทำใหต้ ้องยืนยนั ความเห็นเตมิ อย่างเหนยี วแนน่

พระเถระ ะ ทา่ นพระยา ยังมีเหตผุ ลอ่ืนอีกหรือ อาตมาอยากฟงั

คน้ หาใจไมเ่ จอ ถา้ ทำผิดวธิ ี

พระยาปายาสิ : ยงั มอี กี ครับ พระคณุ เจ้า เจา้ หน้าท่ขี องข้าพเจ้าจบั โจร
ผูก้ ระทำผดิ แล้วพามาหาขา้ พเจ้า ขอใหส้ ั่งลงโทษ ข้าพเจ้าจึง
ส่งั เจา้ หนา้ ที่ใหเ้ อาโจรท่ยี ังมีชวี ติ เป็นๆ อย่นู น้ั ใสล่ งในหม้อ
ขนาดใหฌม่ าก ปดี ปากหม้อ เอาหนงั สดรดั ให้แนน่ เอาดนิ

เข'พนใจ

เหนียวพอกปากหมอ้ ยาใหห้ นา แลว้ ยกหมอ้ ข้นึ ต้มบนเตาไฟ

เมื่อขา้ พเจา้ กะคะเนวา่ โจรน้นั ตายแลว้ จงึ สัง่ ใหย้ กหม้อ
นั้นลงจากเตา กะเทาะดินออก แก้สายหนังรัดออก เปีดปากหม้อ
เฝืาสงั เกตดู ดว้ ยหมายใจว่าจะไต้เหน็ ชวี ะ {ชวี ะ คือจติ ทอ่ี อกจาก
รา่ ง,วญิ ญาณ) ของโจรน้นั ออกจากหม้อ แตก่ ็ไมเ่ ห็นออกมาเลย
เหตนุ ้ีแหละครบั ทเ่ี ปน็ เครอื่ งยนื ยันความเห็นเดมิ ของข้าพเจ้า
ไมเ่ ปล่ยี นแปลง

สนเป็นอาการที่ใจออกไปฟอ่ งเทย่ี ว

พระเถระ : ท่านพระยา ท่านจงฟังให้ดี ทา่ นพระยาเคยนอนพกั
กลางรัน แล้วฝนั เห็นสวนดอกไม้ ปา้ สระโบกขรณี หรือ
ภูมภิ าคยันน่ารื่นรมย์บา้ งไหม

พระยาปายาสิ ะ เคยครับ พระตณุ เจ้า

พระเถระ : ขณะท่ีทา่ นนอนฝันอยู่นั้น มหี ญิงบริจาริกาหอ้ มลอ้ ม
ทา่ นอย่หู รอื เปลา่

พระยาปายาสิ ะ มีครบั พระคณุ เจา้
พระเถระ : หญงิ เหล่านั้น มีบ้างไหม ท่ไี ต้เห็นชวี ะของท่านพระยา

ออกจากรา่ ง หรือกลับเข้าไปในร่างของทา่ นพระยา

พระยาปายาสิ : ไม่มใี ครเหน็ หรอกครบั พระคณุ เจ้า
พระเถระ ะ ทา่ นพระยา ทง้ั ๆ ท่ที า่ นยงั มีชีวติ อยู่ หญิงเหลา่ นน้ั

ก็ยังมชี ีวติ อย่ ยงั ไม่เหน็ ชวี ะของทา่ นพระยาท่ีกำลังเขา้ มา หรือ

เช้าษ^ใจ

ออกไปจากรา่ งของท่านพระยาเลย แลว้ ท่านพระยาจะแลเห็นชีวะ
ของคนตายที่กำลังเขา้ มา หรือออกไปจากร่างได้อยา่ งไรเลา่
โดยเหตุนี้ ทา่ นพระยาจงเหน็ เถดิ วา่ โลกอ่นื มี สัตว์ผดุ เกดิ มี
ผลวิบากของกรรมที่สตั วท์ ำดที ำชั่วมี (อาการฝันเปน็ เคร่ืองปนี ยันว่า

คนเรามีใจ)

พระยาปายาสิ ะ การท่พี ระคุณเจา้ กล่าวอยา่ งนน้ั กจิ รงิ อยู่ แตถ่ ึงอย่าง
น้นั ขา้ พเจ้ากยิ ังมีเหตุผลที่ทำให้ด้องยนื ยนั ความเห็นเดิมอยู่อกี

พระเถระ : ท่านยงั มีเหตุผลอะไรอีกหรอื

ใจบัญชากายใหท้ ำ(กิจ)กรรม

พระยาปายาสิ ะ มีครบั พระคณุ เจา้ เจา้ หน้าทีข่ องขา้ พเจ้าจับโจรท่ี
กระทำผดิ ได้ แล้วพามาหาขา้ พเจา้ ขอให้สัง่ ลงโทษ ขา้ พเจ้าจงึ
สัง่ ใหเ้ จา้ หนา้ ที่ช่งั นา้ํ หนักตวั ของโจรขณะท่ียงั มชี ีวติ อยู่ ครน้ั แลว้
สั่งใหเ้ จ้าหน้าที่ไข้สายธนูรดั คอโจรจนสิ้นไจตาย แลว้ นำไปชัง่
น้ําหนักอกี ครัง้ หนึง่ ปรากฏว่าศพของโจรมีนา้ํ หนักมากกว่าขณะ
ทย่ี งั มีชีวิตอยู่ เมอื่ เปรยี บเทยี บร่างกายของโจร จะเห็นวา่ ใน
ขณะทีย่ งั มีชวี ติ อยูน่ ้ําหนกั เบากวา่ เมอ่ื ตายแล้วเรือนร่างกิอ่อนไหว
เคลอ่ื นไหวได้คล่องแคล1ว แตพ่ อตายแลว้ เรอื นร่างกิแขง็ ท่อื
เคลื่อนไหวไมไ่ ด้เลย ท้ังหมดน้ีแหละครบั เป็นเครือ่ งยนื ยนั
ความเห็นของข้าพเจ้า ไม่มีเปลี่ยนแปลง

(ในกรณนี ี้ พระยาปายาสซิ ง่ึ นิยมการค้นคว้าหาความจรงิ โดย
วธิ กี ารทำนองเดยี วกบั นกั วิทยาศาสตรส์ มัยใหม่ แตกสะท้อนให้เหน็ วา่

Ill'll11aifluL^l

ฟานพระยาไม่รูว้ า่ การเคล่อื นไหวของกาย เป็นไปตามบญั ชาของใจตน
เชน่ คนท่ียกมือขึ้นไหวพ้ ระกเ็ พราะใจส่ังให้ไหว้ เน่อื งจากเหน็ วา่ กริ ยิ า
เช่นนัน้ เปน็ กรรมดี มือป็นรบิ จา้ งท่ีออกไปตามไล่ล่าเหย่ือ กเ็ พราะใจ
สั่งใหท้ ำ ถ้าไม่มืบัญชาจากใจให้ทำเช่นนั้น เขาก็จะอยเู่ ฉยๆ ไมม่ กื าร
เคลอื่ นไหวไลล่ า่ เหยื่อ)

ไหวตงิ ไฝได้ เพราะใจท้ิงรา่ งไปแลว้

พระเถระ ะ ทา่ นพระยา ถา้ อยา่ งนั้นจงฟงั ให้ดี ร่างกายของท่าน
พระยานัน้ เปรยี บเหมอื นทอ่ นเหล็กร้อนอยทู่ ้งั วนั ที่ชา่ งดีเหลก็
เผาไฟจนลกุ โชนโชติชว่ ง แล้วนำมาชง่ั น้ัาหนกั คร้นั ต่อมาเม่ือ
ท่อนเหล็กน้ันเยน็ สนทิ แลว้ นำกลับไปชง่ั ใหม่ ถามวา่ เมอ่ื ใด
ทอ่ นเหลก็ จงึ เบา ออ่ น หรอื ควรแก่งาน (ตให้เปน็ รปู ทรงตา่ งๆ) เมอื่
ถูกเผารอ้ นโชนโชตชิ ว่ ง หรอื เมือ่ เยน็ สนิทแลว้

พระยาปายาสิ ะ ท่อนเหล็กทเ่ี ผาร้อนโชนโชติชว่ ง มแื ต่เตโชธาตุ และ
วาโยธาตุ จะเบาออ่ น ควรแก่งาน แต่ถ้าเมื่อใดท่อนเหล็กเยน็ สนทิ
ไมม่ เื ตโชธาตุ และวาโยธาตุ จะหนกั แข็งกระด้างไมค่ วรแก่งาน
ครับ พระคณุ เจ้า

พระเถระ : ท่านพระยา กรณีนกี้ เ็ ชน่ เดยี วกัน ขณะร่างกายคนเรา
ประกอบดว้ ยอายุ ไออนุ่ และวิญญาณ กจ็ ะเบา ออ่ น และควร
แกง่ าน แต่ถา้ เมือ่ ใดรา่ งกายหมดอายุ ไออนุ่ และวญิ ญาณ ก็
จะหนกั แข็งทอื่ และไมค่ วรแกง่ าน ดว้ ยความจริงนีแ้ หละ ท่าน
พระยา ทา่ นจงเข้าใจเถดิ วา่ โลกอ่ืนมี สตั วผ์ ดุ เกดิ มี ผลวิบาก
ของกรรมท่สี ตั ว์ท0าดีทำช่ัวมี

LH'VhiBtftuL^i

พระยาปายาสิ : ตามท่พี ระคณุ เจา้ กล่าวนน้ั กจ็ ริงอยถู่ งึ กระน้นั ขา้ พเจ้า
กย็ งั มีเหตผุ ลอนื่ ทสี่ นบั สนุนความคดิ เดิมของข้าพเจา้ อีก

พระเถระ ะ ทา่ นพระยามเี หตผุ ลอะไรอีก อาตมาอยากฟงั

ค้นหาใจด้วยกรรมวิธที ีผ่ ิดศีล ยอ่ มไมเ่ จอ

พระยาปายาสิ ะ พระคุณเจา้ ครบั ครงั้ หนงึ่ เจา้ หน้าท่ขี องขา้ พเจา้ จบั โจร
ผกู้ ระทา่ ผิดมาไค้จึงพามาหาข้าพเจา้ เพอ่ื ขอให้ส่ังลงโทษขา้ พเจา้
จงึ สั่งเจ้าหน้าท่ใี หฆ้ า่ โจรนนั้ โดยมใิ หผ้ ิวหนงั เนอื้ เอ็น กระดกู
เย่ือกระลูก บอบซาํ้ เลย เมอื่ โจรกำลงั จะส้นิ ใจตาย ขา้ พเจา้ กส็ ่งั
เจา้ หนา้ ทใ่ี ห้ผลักโจรนนั้ นอนหงายกบั พื้น ดว้ ยหมายใจว่าจะไค้
เห็นชวี ะของเขาออกจากรา่ ง แตพ่ วกเรากไ็ มเ่ หน็ เลย

ข้าพเจ้าจงึ ส่ังเจ้าหน้าทีใ่ ห้จับร่างของโจรน้ันพลกิ ควร
บา้ ง ตะแคงซ้าย ตะแคงขวาบา้ ง พยุงให้ยืนบ้าง จบั เอาหวั หอ้ ย
ลงบ้าง ทบุ ด้วยฝ่ามอื ด้วยกอ้ นหิน ดว้ ยท่อนไม้ ด้วยอาวธุ บ้าง
ลากไปลากมาบา้ ง แต่พวกเรากม็ ิได้เห็นชีวะของเขาออกมาเลย
ตาของเขาก็ไมร่ ับรภู้ าพท่ใี หด้ ู หูก็ไม่รับเสียงทใี่ ห้ฟงั จมูกก็ไม่
รับรู้กลน่ิ ที่ให้ดม สน้ิ ก็ไมร่ ับร้รู สท่ีให้ชมิ ผวิ กายกไ็ มร่ ับรู้การ
สมั ผสั เลย ทง้ั หมดน้แี หละครับ ท่ีเป็นเครอ่ื งยนื ยนั ความเหน็
เดิมของขา้ พเจ้าทุกประการ

ทำไมถ่ กู วิธีย่อมไม่มผี ลสำเร็จ

พระเถระ ทา่ นพระยา ถ้าอย่างน้ันจงฟงั ขอ้ อปุ มาของอาตมา

เขาษ^นใจ

เรอื่ งเคยมีมาแลว้ ว่า มนี กั เป่าสงั ข์คนหนึง่ เดินทางไปยงั ชนบท
ชายแดน เมอ่ื ไปถึงหมู่บา้ นแหง่ หน่งึ เขายืนอยกู่ ลางลานหมบู่ ้าน
นั้น แลว้ กเ็ ปา่ สังข์ ๓ ครัง้ คร้นั แล้วก็วางสงั ขค์ วรลงบนพื้นดนิ
ตนเองกน็ ัง่ ลงหา่ งจากสงั ข์พอประมาณ

บรรดาผ้คู นในหมูบ่ ้าน หลงั จากไดย้ นิ เสียงสงั ขแ์ ล้ว
ต่างก็ดดิ อกตดิ ใจไถ่ถามกนั ว่า เสียงอะไรนะ ช่างไพเราะจับใจเหลอื
เกนิ ในท่ีสดุ กพ็ ากันมารุมลอ้ มไตถ่ ามคนเปา่ สงั ข์ คนเปา่ สังข์
จึงตอบวา่ เสียงที่ไพเราะจบั ใจน้ันก็คอื เสียงสังข์ พลางช1ื้ หผ้ ู้คน
เหล่านน้ั ลสู งั ขท์ ีว่ างไว้ท่ีพ้นื ดนิ คนเหล่านั้นก็จบั สังข์หงายขึ้น แลว้
พดู กบั สังขว์ า่ พดู ซิพอ่ สังข์ พูดซพิ ่อสังข์ แตส่ ังขน์ ้นั ก็ไม่ออก
เสียงตามท่ีผ้คู นส่ัง คนเหลา่ นัน้ จงึ จบั สังขค์ วรลงบา้ ง ตะแคงซิาย
ตะแคงขวาบา้ ง ยกขึน้ ตั้งบ้าง ต้ังเอาหวั ลงบ้าง ทุบดว้ ยฝ่ามอื
ด้วยกอ้ นดนิ ด้วยท่อนไม้ ด้วยอาวุธบ้าง ลากไปลากมาบ้าง
พร้อมทั้งส่งั ว่า พดู ซพิ อ่ สงั ข์ พดู ซิพอ่ สังข์ แต่สงั ข์นน้ั ก็ยงั ไม่
ออกเสยี งอยนู่ น่ั เอง

ท่านพระยา นกั เปา่ สงั ขค์ ดิ อยใู่ นใจวา่ คนชาวชนบทชาย
แดนพวกนีช้ า่ งโงเ่ ขลาจรงิ ๆ ก็ในเม่อื ดน้ หาไม่ถูกวิธี แล้วจะ
พบเสยี งสงั ข์ไดอ้ ยา่ งไรกัน ขณะท่ีคนเหลา่ น้นั กำลังมองดูสังข์กัน
อยู่ นักเปา่ สังขจ์ ึงหยิบสงั ข์ขึน้ มาเป่า ๓ ครง้ั วางสังขล์ งกบั พืน้
แลว้ ก็เดนิ หลีกไป

ทา่ นพระยา เมอื่ ซาวบา้ นแลเห็นเชน่ นนั้ จงึ เกิดความ
เข้าใจวา่ เมอื่ ใดสังข์ประกอบด้วยคน ๑ ความพยายาม ๑

I ll ใไป8ปใ็ น1^1

และลม ๑ เท่าน้ัน สงั ขจ์ ึงจะออกเสียงได้ แต่ถ้าสงั ข์ขาดองค์
ประกอบทั้ง ๓ ดังกล่าว สังขน์ ัน้ กไ็ มอ่ อกเสียง อุปมาขอ้ น้ีฉนั ใด
อุปไมยกฉ็ นั นนั้ เหมือนกัน

กลา่ วคือ เมอื่ ใดร่างกายนี้ ประกอบด้วย อายุ ๑ ไออุ่น
๑ และวญิ ญาณ ๑ เม่ือน้นั รา่ งกายนีก้ ็สามารถนั่ง ยืน เดิน นอน
กา้ วหนา้ ถอยหลงั ได้ ตากม็ องเห็นรูปได้ หกู ฟ็ ังเสยี งได้ จมูก
ก็ได้กลน่ิ ลน้ิ ก็ชิมรสได้ ผวิ กายสัมผสั สง่ิ ใดกร็ สู้ ึก ใจคิดอย่างไร
ก็รู้ ในทางกลบั กัน ถา้ รา่ งกายน้ีหมดอายุ ไออนุ่ และวิญญาณ
ร่างกายนีก้ เ็ คลอื่ นไหวไมไ่ ด้ ตา หู จมกู ล้นิ ผิวกาย ก็รบั รู้
อะไรไม่ไดท้ ้งั ลน้ิ ความรสู้ ึกนกึ คดิ ก็ไม่เกดิ ข้นึ ดว้ ยเหตุผล
ดงั กล่าวท้งั หมดน้ี ทา่ นพระยาจงเข้าใจเถดิ ว่า โลกอืน่ มื สัตว์
ผดุ เกดิ มี ผลวบิ ากของกรรมที่สตั ว์ทำดีทำชวั่ มื

พระยาปายาสี ะ ตามที่พระคุณเจา้ กล่าวมาท้งั หมดน้ี กจ็ ริงอยู่ แด,
ข้าพเจา้ กย็ ังมเื หตุผลอน่ื ทท่ี ำให้ต้องยืนยันความเห็นเดิมอยู่
นั่นเองครับ

พระเถระ ะ ท่านยังมเื หตผุ ลอะไรอีกหรือ

วธิ ีการของมิจฉาทฏิ ฐบิ คุ คล ใช้พสิ ูจนเ์ รือ่ งใจไฝได้

พระยาปายาสิ ะ ยงั มือกี คร้บพระคณุ เจ้าวันหนง่ึ เจา้ หน้าที่ของขา้ พเจ้า
จบั โจรผู้กระทำผดิ ได้ จึงพามาหาข้าพเจ้า เพ่อื ส่ังให้ลงโทษ
ข้าพเจ้ากส็ ่งั เจ้าหนา้ ทใี่ ห้เฉอื นผวิ หนงั ของโจรน้นั ดว้ ยหมายใจ
จะดชู ีวะของโจรน้ัน แด,ก็ไมเ่ หน็ ให้เฉอื นหนัง เฉอื นเอ็น เฉือน

เขาไปaf๒!จ

กระดกู เฉือนเยอ่ื กระลูก กไ็ มเ่ หน็ ชีวะของโจรน้ันเลย เร่อื งนี้
แหละครับท่ีเปน็ เครือ่ งยืนยันสนับสนุนความคดิ เดมิ ของขา้ พเจา้

(ในกรณีนี้ย่อมมีนัยว่า เพราะเหตุทพี่ ระยาปายาสไิ ฝเช่อื วา่ คน

เรามีใจ เนอื่ งจากคน้ หาเทา่ ไรๆ ก็ไม่พบ จึงเขา้ ใจว่าคนเราตายแล้ว
สญู หมด ทำใหเ้ กิดความเหน็ วา่ ผลวิบากของกรรมท่ที ำดีและทำชว่ั ไม่
มี คือไมเ่ ชือ่ เร่อื งกฏแหง่ กรรมนน่ั เอง ทา่ นพระยาจึงสงั่ ฆา่ คนไค้เรอื่ ยๆ
โดยไมต่ ระหนกั ว่าจะมบี าปมาถงึ ตน กล่าวไคว้ า่ ความเห็นของท่าน
พระยาก็เหมอื นๆ กบั ของผคู้ นโดยน่ัวไปในยุคปจั จจุบนั )

ฉลาดทางโลก มไิ ด้หมายความว่าตอ้ งฉลาดทางธรรม

เถระ : ท่านพระยา ถา้ อยา่ งนน้ั อาตมาจะอุปมาให้ฟัง เร่ือง
เคยมีมาแล้ววา่ ชฎลิ ผู้บำเรอไฟผู้หนึง่ อาศัยอยู่ ณ กฎุ ีมุงด้วย
ใบไม้ ใกลช้ ายปา่ ครัง้ นน้ั มหี มู่เกวียนมาพักแรมอยูใ่ นชนบท
ไมไ่ กลจากอาศรมของชฎลิ นกั หม่เู กวยี นพักแรมอย่คู นื หน่งึ
แล้วก็จากไป

เมอื่ หมู่เกวยี นจากไปแล้ว ชฎิลเกดิ ความคิดวา่ อาจจะมี
อปุ กรณ์บางอยา่ งถกู ทอดทิ้งไว้ ณ ทีพ่ กั ของหม่เู กวียนบา้ ง จึง
เขา้ ไปสำรวจดู ก็ไดพ้ บทารกคนหน่ึงถูกทิง้ ไว้ ชฎลิ เกิดความ
เมตตาสงสาร จงึ นำทารกน้นั มาเลย้ี งไวจ้ นเดิบใหญ่

วนั หน่ึง ขณะที่ทารกนนั้ อายุได้ประมาณ ๑๑ ปแี ลว้
ชฎิลเกิดมีธรุ ะบางอย่างในชนบท ก่อนไปได้ส่งั ลกู บญุ ธรรมใหค้ อย
บำเรอไฟไว้ อย่าใหไ้ ฟดบั ถา้ ไฟดับกด็ อ้ งจุดใหม่ แล้วเตรยี ม

เขา!**นใจ

อุปกรณ์จุดไฟไว้พร้อมสรรพ คอื มดี ไม้ และไมส้ ีไฟ

เนือ่ งจากเดกน้ันเลน่ เพลนิ ไป ไฟจงึ ดับ เด็กจึงคดิ จุดไฟ
ตามคำสั่งของพอ่ โดยเอามดี ถากไมส้ ีไฟ ด้วยหมายใจวา่ จะพบ
ไฟบา้ ง แต่ก็ไม่พบ เดก็ จงึ ผา่ ไม้สีไฟไปเรอ่ื ยๆ จนกลายเป็นชิน้
เลก็ ชนิ้ นอ้ ย ก็ไม่พบไฟ จึงเอาเศษไมท้ ้ังหมดไล่ครกโขลก
จนละเอียด แลว้ นำไปโปรยท่ลี มแรงๆ ดว้ ยหมายใจจะได้พบไฟ
แต่กผ็ ดิ หวัง

ครน้ั ชฎลิ กลับมา เด็กก็สารภาพความผิดของตนว่า เลน่
เพลินไป แลว้ ก็เล่าวธิ ีจดุ ไฟทลี่ ม้ เหลวใหพ้ อ่ ฟงั ชฎิลผ้บู ำเรอไฟนน้ั
จึงคดิ วา่ เจา้ หนูลกู ของเรานีช่ ่างโงเ่ ขลาเสยี นี่กระไร ไม่ฉลาดเอา
เสยี เลย ใชว้ ิธีด้นหาไฟโดยอุบายไมแ่ ยบคาย จะได้ไฟอย่างไรกัน
คดิ เช่นนั้นแลว้ ชฎิลกจ็ บั ไม้ ๒ อัน มาสกี นั จนไฟคดิ ตอ่ หน้าเดก็
พลางสอนวธิ ีคดิ ไฟที่คนฉลาดเขาทำกัน พร้อมทงั้ ตเิ ตยี นเดก็ ว่า
ชา่ งโง่เขลา ไม่ฉลาดเสยี เลย

ท่านพระยา อปุ มาเรือ่ งนีฉ้ ันใด อปุ ไมยกฉ็ ันนนั้ ท่าน
พระยาโง่เขลา ไม่ฉลาด จงึ ดน้ หาโลกอ่นื โดยอุบายไมแ่ ยบคาย
โปรดสละความเห็นผดิ เหน็ ชั่วของท่านเสียเถิด ขออย่าให้ความ
เหน็ ผดิ เห็นช่ัวเชน่ นน้ั มแี กท่ า่ นพระยาอกี ตอ่ ไปเลย เพราะ
มจิ ฉาทิฏฐิเชน่ น้นั จะไมก่ อ่ ประโยชน์เกื้อกลู ท่านพระยาเลย มี
แตจ่ ะกอ่ ทุกขใ์ ห้ตลอดกาลนานประการเดยี ว

I l l ไไฟ ่a t f l u l ^

ความดอ้ื รัน้ คอื องคป์ ระกอบของมิจฉาทฏิ ฐิ

พระยาปายาสิ : ตามที่พระคณุ เจา้ กลา่ วกจ็ ริงอยู่ แตถ่ ึงกระนั้นข้าพเจ้า
กไ็ มอ่ าจสละความเหน็ ผิดนเ้ั ,ตห้ รอกครบั เพราะพระเจ้าปเสนทิ
โกศลและพระราชาอ่ืนๆ ยอ่ มรู้วา่ ข้าพเจา้ มีความเห็นอย่างไร
เพราะเหตุผลอะไรบา้ ง ถา้ ข้าพเจ้ายอมสละความเห็นของตนเสีย
แลว้ ท้งั พระเจา้ ปเสนทิโกศล ทัง้ พระราชาอน่ื ๆ กอ็ าจจะตำหนิ
ตเิ ตียนไดว้ า่ ข้าพเจา้ โงเ่ ขลาไมฉ่ ลาด มีมิจฉาทิฏฐถิ า้ เป็นเชน่ นั้น
ข้าพเจ้ากจ็ ะรู้สึกโกรธ คดิ ลบหลู่ หรือไม่เคารพหรือตีเสมอ
พระเจา้ ปเสนทิโกศลและพระราชาเหลา่ นัน้

มจิ ฉาทฎิ ฐิทำลายทั้งตนเอง และชาวโลก

พระเถระ ะ ทา่ นพระยา ถ้าอยา่ งนน้ั อาตมาจะอปุ มาไหฟ้ ัง เร่อื ง
เคยมมี าแลว้ วา่ พ่อค้าเกวยี นมีเกวียนประมาณพนั เลม่ เดิน
ทางออกจากชนบททศิ ตะวนั ออกไปลู่ทศิ ตะวันตก กองเกวียน
ใหญ่นน้ั มนี ายกองเกวียนควบคมุ ไป ๒ คน นายกองเกวยี นท้ัง
สองจึงปรกึ ษาตกลงแบง่ ความรบั ผิดชอบคุมกองเกวียนคนละ
๔๐๐ เลม่ แล้วก็ตา่ งคนต่างไป

ขณะเดนิ ทาง นอกจากเกวยี นจะตอ้ งบรรทุกสนิ ค้าเปน็
จำนวนมากแล้ว ยังจะต้องบรรทุกหญ้าแหง้ หญา้ สด น้าํ และไม้
เพอ่ื การบริโภค และอุปโภค ทง้ั ของพวกลูกเกวียน และปศุสตั ว์
ไปพร้อมกันดว้ ย

นายกองเกวยี นคนหนง่ึ เม่ือเตรยี มการทกุ อย่างเสรจ็

สรรพแลว้ ก็เดินทางล่วงหนา้ ไปก่อน เมอื่ เดินทางไปไดส้ อง
สามวัน ก็พบบุรุษตัวดำตาแดง สะพายแลง่ ธนู คลอ้ งพวง-
มาลยั ดอกโกมุฑ {บัวแดง) มีผา้ เปียกผมเปยี ก กำลงั เดินทางสวน
มาดว้ ยรถตันงาม มโี คลนเ!เอนลอ้ รถ

นายกองเกวยี นจงึ ซกั ถามบรุ ษุ นั้น ถึงหนทางทเี่ ขาผ่าน
มา ก็ไดร้ บ้ คำตอบในเชงิ แนะนำว่า หนทางข้างหนา้ ทรุ กันดารมาก
เพราะฝนตกซุก แต่ทว่ามนี า้ํ มหี ญา้ และไม้ อุดมสมบูรณ์
ตังนัน้ ควรทง้ิ หญา้ และนํ้าทเ่ี ตรยี มไปเสีย เพ่ือวา่ เกวยี นจะได้
บรรทกุ ลมั ภาระเบาลงทำไหเ้ ดินทางได้สะดวกรวดเรวี ขน้ึ เนือ่ ง
จากทางทุรกนั ดาร สว่ นหญา้ และนํา้ นั้นไปหาเอาในระหวา่ งทาง
สะดวกมาก

นายกองเกวยี นไดน้ ำเรื่องนมี้ าปรกึ ษากับลกู เกวยี น เมื่อ
ไม่มเี สียงตัดด้านนายกองเกวียนก็ตดั สนิ ใจสง่ั ใหท้ ิ้งหญา้ นํ้าและไม้
ของเก่าท่ีเตรียมไปทง้ิ เสียเปน็ จำนวนมาก ทำให้เกวียนเบาลง เดิน
ทางไดเ้ รว็ ขึน้

คร้ันเดนิ ทางไปถึงท่ีพักกองเกวียนระยะแรก พวกเขาก็
ไมเ่ ห็นหญ้า น้าํ และไม้ อุดมสมบรู ณต์ งั คำบอกเลา่ ของบุรุษนนั้ เลย
ย่ิงเดินทางไกลออกไปเทา่ ใดก็ย่งิ ไมพ่ บเลยทำใหผ้ ู้คนและปศุสัตว์
ทง้ั หลายในกองเกวียนหมดแรง ถูกยกั ษ์ผ้เู ป็นอมนษุ ย์จับกินเป็น
อาหาร เหลอื แตก่ ระดูกทิง้ ไว้เป็นกองๆ

ส่วนนายกองเกวยี นอีกคนหน่ึงเมื่อเตรยี มการเสรจ็ สรรพ
แลว้ กอ็ อกเดนิ ทางตามไป ครัน้ เดนิ ทางไปได้ประมาณสองสามวัน

1>?1ใใป8{fto

กส็ วนทางกับบุรุษตัวดำ ตาแดง สะพายแล่งธนู คล้องพวงมาลัย
ดอกโกมุท ผา้ เปียก ผมเปยี ก น่ังรถตนั งาม มโี คลนเ!เอนล้อรถ
นายกองเกวยี นจึงเขา้ ไปทกั ทายบุรุษนนั้ เพอ่ื ถามถึงสภาพหนทาง
ทเี่ ขาผา่ นมา กไ็ ดร้ ับดำตอบและคำแนะนำเซ่นเดียวกบั นายกอง
เกวยี นคนแรก ครัน้ แลว้ นายกองเกวียนจงึ เรียกพวกลกู เกวียน
มาปรกึ ษาหารอื กนั เก่ยี วกบั ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากบุรษุ แปลกหน้าน้นั
ในทีส่ ดุ นายกองเกวียนกบ็ อกกบั พวกลกู เกวียนวา่ บรุ ุษนัน้ ไม่ใช่
ญาตสิ นิทมติ รแทข้ องเรา เราจึงไม่ควรเชอื่ คำแนะนำบอกเล่า
ของเขา ครัน้ แล้วสัง่ ห้ามลูกเกวยี นมิใทท้ ิง้ สิ่งของทุกอย่างท่ี
เตรยี มมาเป็นอันขาด

กองเกวยี นท่ีสองน้ีเดนิ ทางต่อไป ถงึ ทพ่ี กั ระยะที่ ๑ ที่ ๒
ที่ ๓ แมก้ ระท่ังระยะที่ ๗ ก็ไมพ่ บความอดุ มสมบรู ณด์ ้วยหญ้า
และน้าั ตังดำบอกเลา่ ของบรุ ุษแปลกหน้าผนู้ ้นั เลย ทว่าพบแต่
กองกระดกู มนษุ ยแ์ ละปศุสตั ว์ และซากเกวยี นเหลือทงิ้ ไว้ ซง่ึ
ทำใหพ้ วกเขาสนั นิษฐานได้วา่ พวกกองเกวยี นท่ีหน่ึงถูกยกั ษ์
จับกินหมดแลว้

นายกองเกวียนจึงเรียกบรรดาลูกเกวียนมาประชมุ ปรึกษา
หารือ แล้วสรปุ วา่ กองเกวยี นแรกมีนายกองเกวยี นโง่เขลาเป็น
ผ้นู ำ จงึ ประสบความพินาศยอ่ ยยับตังทีเ่ หน็ เพราะฉะนน้ั กอ่ น
จะเดนิ ทางต่อไปอกี ก็ใหส้ ำรวจลสู ิ่งของทไี่ ม่จำเปน็ แลว้ ทิ้งเสีย
เพ่ือว่าเกวียนจะไดเ้ บาลง ขนไปเฉพาะส่ิงทจี่ ำเปน็ เท่านน้ั จะทำ
ให้สามารถขา้ มทางทรุ กนั ดารไปไดโ้ ดยสะดวกรวดเรว็ ขนึ้ ในทีส่ ดุ
กองเกวียนทีส่ องกบ็ รรลุถงึ จดุ หมายปลายทางโดยสวัสดี

I'E n ไป

ทา่ นพระยา อุปมาเร่อื งนี้ฉนั ใด อปุ ไมยกฉ็ ันนั้นเหมือน
กัน ท่านพระยาเปน็ คนเขลา .ไม่ฉลาด คนั หาโลกอืน่ โดยอบุ าย
ไมแ่ ยบคาย ขาดโยนิโสมนสิการไนที่สดุ กจ็ ะประสบความพนิ าศ
ย่อยยบั เฉกเช่นนายกองเกวยี นคนแรก แม้พวกท่เี ชอ่ื ฟังทา่ น
พระยากจ็ ะพลอยพินาศยอ่ ยยับไปเหมือนพวกลกู เกวยี นนนั้ ด้วย

ท่านพระยา โปรดสละความเหน็ มจิ ฉาทิฎฐเิ สยี เถิด ขอ
ความเห็นมิจฉาทิฎฐนิ ัน้ อย่าไดเ้ ปน็ สิ่งเกอื้ กูลให้ทา่ นประสบ
ทกุ ขต์ ลอดกาลนานเลย

พระยาปายาสิ ะ ตามทพี่ ระคณุ เจ้ากลา่ วอย่างน้ันก็จรงิ อยู่ แตถ่ ึงอยา่ ง
นั้นข้าพเจา้ ก็ไมอ่ าจสละความเห็นผิดน!ี้ ดห้ รอกครบั ทัง้ นเ้ี พราะ
ทงั้ พระเจ้าปเสนทิโกศล ท้งั พระราชาอ่นื ๆ ก็ทรงทราบกนั ดีวา่
ขา้ พเจ้ามีความเหน็ ว่า โลกอ่นื ไม่มื สตั ว์ผดุ เถิดไมม่ ี ผลวิบากของ
กรรมท่ีสตั วท์ ำดีทา่ ชั่วไม่มี กเ็ พราะข้าพเจ้ามเี หตุผลสนับสนุน
ด้วยประการทัง้ ปวง ถ้าหากว่าขา้ พเจา้ สละความเห็นเดิมของ
ตนเสีย กอ็ าจจะถกู พระเจา้ ปเสนทโิ กศล และพระราชาอ่นื ๆ
ทรงกล่าวติเตียนว่า ข้าพเจ้าช่างโง่เขลา ไม่ฉลาด ยดึ ถอื ความ
เหน็ ที่เป็นมจิ ฉาทิฏฐิ ถ้าเชน่ นัน้ ข้าพเจา้ กจ็ ะเถดิ ทิฏฐิมานะ
อาจจะโกรธเคือง แลว้ แสดงพฤตกิ รรมลบหลู่ ไมแ่ สดงความ
เคารพอ่อนนอ้ ม โดยดีตนเสมอทา่ นเหลา่ นัน้

เกิดมิจฉาพฎิ ฐิ เพราะขาดโยนโิ สมนสกิ าร

พระเถระ ท่านพระยา ถ้าอยา่ งนนั้ อาตมาจะอุปมาให้ฟงั ใหม่

1>1ทไปa^luL^

เรอ่ื งเคยมีมาแล้วว่า ชายเล้ยี งสกุ รคนหนง่ึ ออกจากบ้านไปยัง
ตำบลอนื่ พบคถู แห้งจำนวนมาก กองทิ้งตามพื้นดนิ เขาจงึ คิด
จะเอาคูถแห้งนน้ั ไปเป็นอาหารสกุ รท่ีเขาเลี้ยงไว้ คิดเชน่ น้ัน
แล้วกค็ ล่ผี ้าหม่ ออก ห่อคถู แหง้ ไวเ้ ต็มอตั รา ยกเทินไวบ้ นศีรษะ
แล้วเดินต่อไป

ในระหว่างทางฝนตกลงมาหา่ ใหญ่ เปน็ เหตใุ ห้คูถในห่อ
เปยี ก ไหลลงมาเปรอะฟอ้ นร่างกายของเขา จนเลอะและเหมนี
คลุง้ เขาก็ไม่ยอมทงิ้ หอ่ คูถน้นั แม้ผทู้ ่ีพบเหน็ เขาจะวพิ ากษ์
วิจารณว์ า่ เขาเสยี จริตไปแล้วหรืออยา่ งไรจงึ ทำเชน่ น้ัน แตเ่ ขา
ก็ตอบกลบั ไปว่า พวกชา่ งวิจารณ์นนั่ แหละเปน็ บา้ เปน็ คนเสยี จริต
สาเหตทุ ีเ่ ขาไมย่ อมทิง้ ห่อคูถก็เพราะมนั คืออาหารฟรสี ำหรับสกุ ร
ของเขา

ท่านพระยา อปุ มาเรือ่ งนีฉ้ ันใด อปุ ไมยก็ฉนั น้นั เหมอื น
กนั ท่านพระยานา่ จะร้ตู วั วา่ ท่านเหมอื นคนเทินห่อคูถ ทา่ นโปรด
สละความเหน็ ผิดของทา่ นเสียเถดิ ขอความเหน็ มจิ ฉาทิฏฐนิ ัน้
อยา่ ไดเ้ ก้ือกูลท่านพระยาใหเ้ กดิ ความทกุ ข์ความเดอื ดรอ้ นตลอด
กาลนานเลย

พระยาปายาสิ ะ ตามที่พระคณุ เจ้ากลา่ วอปุ มาน้ันก็จริงอยู่ แตถ่ งึ อยา่ ง
นนั้ ข้าพเจา้ กไ็ มอ่ าจล้มเลกิ ความเหน็ เดิมไดห้ รอกครบั เพราะ
ทิ้งพระเจา้ ปเสนทิโกศล และพระราชาอน่ื ๆ ทรงทราบดวื า่
ขา้ พเจา้ มีความเหน็ อย่างไร เพราะเหตุผลอะไร ถา้ ข้าพเจา้ สละ
ความเหน็ เดมิ ของตนเสยี ทง้ั พระเจา้ ปเสนทโิ กคล และพระ

ราชาอืน่ ๆ กจ็ ะติเตียนไดว้ า่ ขา้ พเจ้าเปน็ คนโงเ่ ขลา ไม,ฉลาด เปน็
มิจฉาทิฏฐิ ถ้าเปน็ เซน่ นั้น ขา้ พเจ้าก็อาจจะเกดิ ทฏิ ฐมิ านะ โกรธ
แสดงอาการลบหลู่ ตีเสมอ โดยปราศจากความเคารพอ่อนน้อม
ต่อพระราชาเหล่าน้นั

มิจฉาทฎิ ฐมิ ิ'กหลงวา่ ตนฉลาด

พระเถระ ะ ท่านพระยา ถ้าอย่างนนั้ ฟังอปุ มาของอาตมาใหม่
เร่ืองเคยมมี าแลว้ วา่ นักเลงสกา'0 ๒ คน เล่นการพนันสกากัน
นักเลงสกาคนหนงึ จะหยิบเบ้ยี แพ้ (เบ้ยี ท่ที ำใหต้ นแพ้) ทท่ี อดออก
มาใส่ปากแลว้ กลืนลงท้องทกุ ตวั นักเลงสกาอีกคนหนึง่ เหน็ ดังนนั้
จึงกลา่ วกบั คู่เลน่ ว่า เพื่อน เจา้ ชนะข้างเดยี วโปรดให้ลูกสกาแก่
ข้าเกดิ ขา้ จกั เซน่ บชู า นกั เลงสกาผู้ชนะกต็ กลง แลว้ มอบลกู
สกาใหแ้ ก่คู่เลน่

เมอื่ ได้ลกู สกามาแลว้ นกั เลงสกาผู้น้นั กแ็ อบไปเอายาพษิ
อาบลูกสกา ครน้ั ตอ่ มา กม็ าซักชวนเพ่อื นคนเติมเล่นพนันสกา
กันอีก เพือ่ นนักเลงสกาคนน้ันก็ใข้วิธกี ารเตมิ คอื กลนื เบ้ยี แพ้
ท่ที อดมาทกุ ตวั คู่เล่นอีกฝา่ ยหน่ึงเหน็ ตังนนั้ จงึ กลา่ ววา่ บุรุษกลนื
กินลกู สกา น่ึงอาบดว้ ยยาพษิ มฤี ทธิ๋รายแรง หารูส้ กึ ตวั ไม่
นกั เลงชวั่ ผู้น่าสงสารกลนื กนิ ยาพิษเขา้ ไป ความเร่าร้อนจักดอ้ ง
มแี ก่เจา้

๒ สกา คอื การพนนั อย่างหน่ึง ใช้ลูกบาศก(์ ลกู สกา)ทอด แลว้ เดนิ ตวั สกาตามแตม้ ลกู บาศก์

ท่านพระยา อุปมาเรอื่ งนฉี้ นั ใด อุปไมยกฉ็ ันน้นั เหมือน
กัน ทา่ นพระยานา่ จะรตู้ ัวว่า ท่านเปรยี บเหมือนนกั เลงสกา ทา่ น
โปรดสละความเห็นผดิ นน้ั เสียเถดิ ขอความเห็นมิจฉาทฎิ เ นน้ั
อยา่ ได้เปน็ สงิ่ เกือ้ กลู ความทกุ ข์ ความเดือดรอ้ นแก่ทา่ นพระยา
ตลอดกาลนานเลย

พระยาปายาสิ ะ ตามท่พี ระคณุ เจา้ พดู ก็จริงอยู่ แต่ถงึ อย่างน้นั ขา้ พเจา้
ก็ไม,สามารถสละความเห็นเดิมได้ทงั้ น้เี พราะพระเจ้าปเสนทิโกคล
และพระราชาอน่ื ๆ ยอ่ มทรงรู้วา่ ข้าพเจา้ มีความเห็นอย่างไรดว้ ย
เหตผุ ลอะไร ถ้าหากขา้ พเจ้ายอมสละความเห็นเดมิ กอ็ าจจะ
ถกู ท่านเหลา่ นน้ั ตำหนติ เิ ตียนว่า ขา้ พเจา้ โงเ่ ขลา ไมฉ่ ลาด ถ้า
เป็นเช่นนั้น ข้าพเจา้ กอ็ าจจะเกดิ ทฎิ เมานะ แสดงความโกรธ
ความลบหลู่ หรือความตเี สมอทา่ นเหลา่ นั้น

มจิ ฉาทฎฐิทำใหว้ ิสยั ทัศนผ์ ดิ

พระเถระ : ทา่ นพระยา ถา้ อย่างน้ันอาตมาจะอุปมาใหฟ้ ังอกี เรอ่ื ง
เคยมมื าแลว้ วา่ มชี าย ๒ คนเป็นเพือ่ นกนั ซวนกันไปเส่ียงโชค
ดว้ ยการเดินทางไปลู่ชนบทแหง่ หนึ่ง คร้นั เดนิ ทางมาพบปา่ นท่ี
ผคู้ นท้งิ ไว้ข้างทางเปน็ จำนวนมาก ชายทง้ั สองต่างก็กลุ ีกุจอคลี่
ผา้ ออกมาหอ่ ป่านน้ันแล้วมัดจนแนน่ แล้วก็แบกกนั ไปคนละหอ่
แลว้ เดนิ ทางต่อไป

ครัน้ มาถึงหม่บู ้านแห่งใหม่ กไ็ ด้พบดา้ ยปา่ นเป็นจำนวน
มาก ถกู กองทง้ิ ไวข้ า้ งทาง เพื่อนคนหนงึ่ จงึ เสนอความคิดใหม่

•แป้ไไปอเไน!^

ว่า ทง้ิ ป่านในหอ่ ท่แี บกมาเสยี ดกี วา่ แล้วใชผ้ ้าห่อด้ายปา่ นแทน
แต่เพ่ือนอีกคนหนึ่งไม่เห็นดว้ ย เพราะมคี วามคดิ วา่ ได้หอบป่าน
มาไกลแล้ว จะท้ิงไปก็รสู้ ึกเสยี ดาย จึงไม่ตอ้ งการดา้ ยปา่ นอกี
แล้ว เพราะฉะนนั้ เพือ่ นที่ไม่เปล่ยี นความคดิ จงึ แบกหอ่ ปา่ น
เดินตอ่ ไป ส่วนเพื่อนทเ่ี ปล่ยี นความคดิ ไดแ้ บกหอ่ ดา้ ยป่านแทน
ห่อป่านท่แี บกมาแตแ่ รก

คร้นั เมือ่ ๒ สหายเดนิ ทางไปถึงหมบู่ า้ นอีกแหง่ หนึง่
ก็ได้พบผา้ ป่านเปน็ จำนวนมากกองทิง้ ไว้ช้างทาง เพ่ือนช่างคดิ
กบ็ อกเพ่ือนว่า เราหอบป่านหรือด้ายปา่ นไปก็เพ่ือนำไปทอเปน็
ผ้าป้าน เพราะฉะนนั้ เมอ่ื เราได้พบผ้าป่านแลว้ ไยเราไม่ทิ้งป่าน
หรอื ด้ายป่านเสยี เลา่ แลว้ หอบผ้าปา่ นไปแทน กลา่ วดงั นัน้ แล้ว
เพื่อนช่างคิดก็ทงิ้ ดา้ ยปา่ น แลว้ หอ่ ผ้าป่านไปแทน แตเ่ พ่ือนอกี
คนหนึ่งก็ยงั ยืนยันม่ันคงทีจ่ ะแบกห่อปา่ นตอ่ ไป ด้วยเหตุผลว่า
ได้หอบมาไกลมากแล้ว อีกท้ังมดั ไวด้ ีแล้วดว้ ย

คร้นั เมื่อ ๒ สหาย เดินทางไปถงึ หมู่บ้านตอ่ ๆ ไป กไ็ ด้
พบสิ่งของทม่ี ีผค้ นทงิ้ ไวม้ ากมาย ตา่ งชนิด ตา่ งคุณคา่ ตลอดเสน้
ทาง เปน็ ด้นว่า เปลอื กไม้ ดา้ ยเปลือกไม้ ผา้ เปลอื กไม้ ฝืาย ดา้ ย
ฝาื ย ผ้าฝาื ย เหล็ก ดบี ุก สำริด เงนิ {แร่ธาต)ุ และทอง ตาม
ลำดับ ในท่ีสุด สหายที่ช่างคิดก็แบกหอ่ ทองกลับบ้าน ส่วนสหาย
ผม้ ีความคิดมัน่ คงไม่เปล่ียนแปลง กแ็ บกห่อป่านกลับบา้ น

บิดามารดา บุตรภรรยา ญาติมิตร เมอื่ ไดเ้ หน็ หอ่ ป่านท่ี
ชายนัน้ แบกกลับบา้ น ต่างก็พากนั รู้สกึ เฉยๆ ไม่ได้มีความยนิ ดี

แแไน่ร^น!^

ยินร้ายกบั การไปตระเวนลำบากตรากตรำของเขาในถ่ินหา่ ง
ไกลแตป่ ระการใด

ในทางตรงข้าม สหายท่แี บกหอ่ ทองกลบั บา้ น บิดามารดา
บตุ รภรรยา ตลอดจนญาติมิตรของเขา ต่างพากันยินดีปรีดาไป
กับเขา ทเ่ี ขาแบกห่อทองกลับบา้ น

ทา่ นพระยา อปุ มาเรอ่ื งนี้ฉนั ได อุปไมยก็ฉนั นัน้ เหมอื น
กัน ท่านพระยาน่าจะร้ตู ัวดีว่า ทา่ นเปรยี บเหมอื นชายคนท่ีแบก
หอ่ ปาน โปรดสละความเหน็ ผดิ ของทา่ นเสยี เถดิ ขอความเหน็
มิจฉาทฏิ ฐอิ ยา่ ได้มแื กท่ า่ นเลย เพราะนอกจากจะไม่เก้อื กูล ท่าน
ไห้ไดร้ ับประโยชนอ์ ันใดแลว้ ยังจะสร้างความทุกข์ให้แก่ทา่ น
ตลอดกาลนาน

คำสารภาพของผ้จู นปญั ญา

พระยาปายาสิ : พระคณุ เจ้าครับ ด้วยข้อมูลอุปมาขอ้ แรกของ
พระคุณเจ้า ขา้ พเจา้ กร็ ้สู ึกดีใจอยา่ งยิง่ แล้ว แตข่ า้ พเจา้ ประสงค์
จะฟงั ปฏภิ าณแหง่ ปญั ญาอันวจิ ิตรของพระคุณเจา้ จงึ ไดแ้ สดง
เหตุผลโต้แยง้ ตัดด้าน พระคณุ เจ้ามืปฏภิ าณสูงสง่ อย่างแห้จริง
สามารถไขปัญหาไดอ้ ยา่ งชาญฉลาด ไพเราะตบั ใจ มคี วาม
แจ่มแจง้ เหมือนหงายของทค่ี วร เปดี ของทป่ี ดี ช้ีทางแกผ่ ู้หลงทาง
หรือส่องประทีปในทม่ี ดื ด้วยหมายใจจะใหผ้ ู้ฟังเกดิ ปญั ญา เกิด
สัมมาทิฏฐิ เขา้ ใจโลกและชีวติ ตามความเปน็ จรงิ

1>?1ไไ\lagluL^

พระคณุ เจ้าครับ ขา้ พเจ้าใคร่ขอถงึ พระสัมมาส้มพทุ ธเจา้
พระธรรม และพระสงฆ์ วา่ เปน็ สรณะ ต้งั แต่บดั น้ีเป็นดน้ ไป ขอ
พระคุณเจ้าโปรดทรงจำขา้ พเจา้ ว่าเป็นอุบาสก ถึงสรณะตลอด
ชีวติ ตลอดไปด้วยครบั

โลกตอ้ งการกัลยาณมติ รอย่างยิ่ง

จากการสนทนาโดต้ อบระหวา่ งพระกมุ ารกสั สปเถระ และพระยา
ปายาสิ ทผ่ี ่า%เมานท้ี ่านผ้อู ่านยอ่ มเหน็ ได้ว่า บุรษุ ทง้ั ๒ต่างเป็นผู้มีไหวพริบ
ปฏภิ าณไวด้วยกนั ทั้งคู่ กลา่ วไดว้ า่ ถา้ เปน็ นักโด้วาที กเปน็ คู่โดท้ ี่พอ
ฟดั พอเหวีย่ งกนั หรอื มี?เปากใกล้เคยี งกนั

สำหรับพระยาปายาสนิ ั้น จะเหน็ ว่าเปน็ คนฉลาดไมน่ อ้ ย ชา่ งคิด
หาเหตุผล ชอบศกึ ษา ด้นควา้ ทดลอง วเิ คราะห์วจิ ัยแบบนกั วิทยาศาสตร์
เพ่ือด้นควา้ หาความจรงิ เกย่ี วกบั เรื่องโลกและความเป็นไปของชีวติ แต่
เพราะเหตุทข่ี าดกัลยาณมติ ร แนวการศึกษาดน้ คว้าของท่านจงึ เขา้ ลกั ษณะ
หลงทาง ไมส่ ามารถพบสารัตถะสำคญั ทส่ี ดุ ของชวี ิต ซึ่งทา่ นพระยา
เรียกวา่ ชีวะ{คือใจน่ันเอง) จงึ ทำให้ทา่ นไม่มคี วามเข้าใจเรอื่ งของใจ เพราะ
ขาดความเข้าใจเรอื่ งใจ ท่านพระยาก็เลยไม่เชื่อเรื่องโลกหนา้ เร่ือง
โอปปาติกะ เร่อื งกฎแหง่ กรรม โดยสรปุ ก็คีอ เปน็ มิจฉาทีฏฐเิ ตม็ อัตรา

แท้ท่ีจริง เร่อื งผลวิบากของกรรมทส่ี ตั วท์ ำดีทำชวั่ หรือเรอื่ งกฎ
แหง่ กรรมน้ัน การตรองด้วยเหตผุ ล และการสงั เกตจากประสบการณ์
ในชีวติ ของคัวเราเอง ของบุคคลใกล้ชดิ ตลอดจนของบคุ คลทั่วไปในสงั คม
ยอ่ มกอ่ ให้เกดิ ความเขา้ ใจไดใ้ นระคบั หนึง่ ซึง่ จะทำใหส้ ามารถยอมรบั

เขาไปa^ในใจ

เรอื่ งกฎแหง่ กรรมได้ แตเ่ หตุไฉนพระยาปายาสซิ ึ่งเป็นผู้ฉลาดเฉลียว จึง
ตรองเองไม่ออก กลายเป็นคนไม่รบู้ ญุ รูบ้ าป มีความเห็นเป็นมจิ ฉาทฏิ ฐิ
มาเป็นเวลานาน ท้งั นี้ย่อมแสดงใหเ้ ห็นวา่ ตราบไดทีย่ ังไมศ่ กึ ษาไหเ้ ขา้ ไจ
สัจธรรมอยา่ งถกู ตอ้ งถอ่ งแท้ คนเราก็ยังโงอ่ ยู่นนั่ เอง แตท่ า่ นพระยาก็
ยังพอมบี ุญอยู่บา้ ง ใจของท่านยงั ไม่ถงึ ขั้นมีดสนิทอยา่ งถาวร เม่ือได้ฟงั
พระธรรมเทศนาพรอ้ มด้วยอุปมาอุปไมยอนั วิจติ รลกึ ซึ้ง นุม่ นวลของ
พระกุมารกัสสปเถระมาตามลำดับแลว้ ใจก็เร่ิมสงบชุม่ ฉํา่ เยือกเย็นลง
สามารถจบั แนวคิดได้ถูกต้อง เป็นโยนโิ สมนสิการ ตรองไห้เกิดบ้ญญาเขา้ ใจ
เร่ืองโลกหนา้ เรื่องโอปปาติกะ และยอมรบั เร่อื งกฎแหง่ กรรม ขณะเดียว
กนั มจิ ฉาทิฏฐขิ องทา่ นพระยา กถ็ กู ปลดเปลื้องออกไปไดเ้ ป็นอัศจรรย์

ณ จุดน้ีเอง ทที่ ำไห้เหน็ ไดช้ ัดว่า กลั ยาณมิตรผเู้ ปียมดว้ ยภูมธิ รรม
ยอ่ มมีบทบาทสำคญั ยงิ่ ต่อความเหน็ ความเขา้ ไจถกู เรอ่ื งโลก และความ
เปน็ ไปของชวี ติ ตามเป็นจริง ซ่ึงเป็นบจ้ จยั สำคญั ย่งิ สำหรบั คนเราไนการ
ครองชวี ิตไหอ้ ยดู่ ้วยความสุข หา่ งไกลจากความทุกข์ ความเดือดร้อน
อย่างแหจ้ ริง ลา้ ขาดกัลยาณมิตรเสยี แลว้ แม้คนเราจะฉลาดเฉลยี วเพยี งใด
มีศกั ยภาพในการทำงานสูงส่งเพียงไดประสบความสำเร็จในอาชพี เพยี งใด
แต่กจ็ ะมคี วามเห็นเป็นมจิ ฉาทฎิ ฐิ อาจถ่อกรรมข้วั ขั้นอกุ ฤษฏ์ได้ เช่น เปน็
หัวหน้าขบวนการกอ่ การร้ายระดับโลกท่ีมีฐานะราํ่ รวย มีสมนุ บริวาร
มากมาย เป็นราชายาเสพติดทมี่ ีเครอื ข่ายทัว่ โลก เปน็ จอมเผดจ็ การที่
ไม่เคยเคารพกฎกตกิ าสังคมโลก ฯลฯ

สำหรับพระกุมารกสั สปเถระน้ัน จะเห็นไดว้ า่ ท่านมีเชาวนไ์ ว
ไหวพรบิ ขน้ั เย่ียม มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจทัง้ ทางโลก และทางธรรมเป็น


Click to View FlipBook Version