The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

017.เข้าไปอยู่ในใจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

017.เข้าไปอยู่ในใจ

017.เข้าไปอยู่ในใจ

I l l ไ Itla^lul^

พฤติกรรมทจ่ี ดั เป็นกรรมดแี ละกรรมชว่ั

เน่อื งจากเกณฑใ์ นการตดั สนิ เรอ่ื งกรรมดี และกรรมช่ัวที่กล่าว
ไว้ในตอนต้น อาจจะกวา้ งเกนิ ไปสักหนอ่ ย ไม่สามารถชว่ ยให้ตดั สนิ
ไตอ้ ย่างถูกต้อง กิอาจจะเลือกไซเ้ กณฑ์ใหม่ซ่ึงมีรายละเอียดมากข้ึน
เกณฑน์ จ้ี ะเปน็ การพิจารณาพฤติกรรมของคนเราโดยแยกเปน็ พฤติกรรม
ทางกาย ทางวาจา ทางใจ ผนวกกับเรอื่ งอบายมขุ ๖ ประการ ตังนี้

๑. กรรมดี การประพฤติปฏิบ้ติท่จี ดั วา่ เป็นกรรมดี มีอยู่ ๓ ทาง
คอื ทางกาย ทางวาจา และทางใจ กับการไมเ่ กย่ี วซอ้ งกับอบายมขุ

กรรมดที างกาย ไดแ้ ก่ การไมท่ ำผดิ ศลี ๓ ข้อแรก ไดแ้ ก่

๑) เจตนางดเวน้ จากการฆา่ ท้ังคนและสตั ว์ ตลอดจนงดเวน้
จากการเบียดเบยี นทง้ั คน และสัตว์ (มกี ารทำร้ายรา่ งกาย การกกั ขัง
การทรมานดว้ ยวธิ ีตา่ งๆ เปน็ ตน้ )

๒) เจตนางดเวน้ จากการสักขโมย การโจรกรรม จ้ีปลน้ คดโกง
คอรปั ชน่ั ปลอมแปลงเอกสาร ละเมดิ ลขิ สิทธ้ิ เปน็ ต้น

๓) เจตนางดเว้นจากการประพฤตผิ ดิ ทางเพศ

นอกจากไมท่ ำผิดศีล ๓ ขอ้ แรกแล้ว กิควรจะประพฤตธิ รรมอัน
ดีงามอยา่ งนอ้ ย ๓ ประการคอื ๑) มีความเมตตากรณุ าตอ่ คนและสตั ว์
๒) ทำงานอาชีพสุจรติ ไมผ่ ิดศีลไมผ่ ิดกฎหมาย ๓) รู้จกั ควบคุมตนไน
เรอ่ื งกามารมณเ์ ปน็ อยา่ งดี

กรรมดที างวาจา ไดแ้ ก่ไมท่ ำผิดศีลข้อ ๔ ซ่งึ มีรายละเอยี ดอยู่ ๔
ประการ คือ

1ป็ไไฟ8่ ^น1^

๑) เจตนางดเว้นจากการพูดเท็จ
๒) เจตนางดเว้นจากการพูดสอ่ เสียด ทำใหค้ นแตกกัน
๓) เจตนางดเว้นจากการพูดคำหยาบ
๔) เจตนางดเวน้ จากการพูดเพ้อเจ้อ นนิ ทา
นอกจากไมท่ ำผดิ ศลี ข้อ ๔ พรอ้ มดว้ ยรายละเอียด ๔ ประการ
แล้ว กค็ วรจะประพฤติธรรมอนั ดงี ามดว้ ยการมีความซือ่ สตั ย์สุจรติ ซง่ึ
มีรายละเอยี ดอยู่ ๔ ประการ คอื
๑) พดู แต่คำจริง รกั ษาสจั จะ รกั ษาสัญญา
๒) พูดส่งเสรมิ ให้ผู้คนมคี วามสามัคคีกัน
๓) พูดแต่คำสภุ าพออ่ นหวาน
๙) พดู แตเ่ รอ่ื งท่เี ปน็ ประโยชน์ และถูกกาลเทศะ

กรรมดที างใจ เปน็ การกระทำท่ีสุจริตทางใจ มีรายละเอียดอยู่ ๓
ประการ คือ

๑) ไม่เพ่งเล็งอยากไดข้ องของผูอ้ ืน่ มาเปน็ ของตน หรอื ไมม่ กั ได้
๒) ไมคดพยาบาทจองเวรผใู้ ด
๓) พยายามพัฒนาตนใหเ้ กิดความเข้าใจถกู ตอ้ งเกี่ยวกบั เรือ่ งโลก
และความเปน็ ไปของชวี ติ

การไมเ่ ก่ียวข้องกับอบายมุข

การไมเ่ กีย่ วขอ้ งกับอบายมขุ ๖ก็จดั ว่าเป็นกรรมดอี ย่างหน่ึงของ
เรา อบายมุข ๖ ประกอบด้วย

เขาษ^นใจ

๑) การตดิ สรุ าและของมึนเมา
๒) การชอบเทยี่ วกลางคืน
๓) การตดิ การดูการละเล่น
๔) การตดิ การพนนั
๔) การคบคนชว่ั
๖) การเกยี จครา้ นในการทำงาน

๒. กรรมชัว่ ความประพฤติท่ีจดั ว่าเปน็ กรรมชว่ั มึอยู่ ๓ ทาง
คอื ทางกาย ทางวาจาและทางใจ กับการเก่ียวข้องกบั อบายมข

กรรมชั่วทางกาย ได้แก่ การทำผิดศีล ๓ ขอ้ แรก คอื
๑) เจตนาฆา่ ไมว่ ่าคนหรือสตั ว์ ตลอดจนการทำรา้ ยร่างกาย การ
ทรมานคนหรอื สัตว์ด้วยวิธีตา่ ง ๆ
๒) เจตนาสักขโมย โจรกรรมจปี้ ลน้ คดโกง คอรัปชน่ั ละเมดิ
ลขิ สทิ ธิ้ เป็นดน้
๓) เจตนาประพฤติผดิ ทางเพศ

กรรมชั่วทางวาจา ไดแ้ กก่ ารทำผดิ ศีลข้อ ๔ ช่งึ มรึ ายละเอยี ดอยู่
๔ ประการ คอื

๑) เจตนาพูดเท็จ
๒) เจตนาพดู ส่อเสยี ด เพ่อื ทำใหค้ นแตกแยกกัน
๓) เจตนาพูดคำหยาบคาย
๔) เจตนานนิ ทา

แทไปร^ใน

กรรมชั่วทางใจ เป็นการทำผดิ ทที่ ุจรติ ทางใจ มีรายละเอยี ดอยู่ ๓
ประการ คอื

๑) เพ่งเล็งอยากไดข้ องของผู้อื่น หรอิ มักได้ในทางไมช่ อบ
๒) คดิ พยาบาทจองเวร
๓) มคี วามเขา้ ใจผิดเกี่ยวกบั เรือ่ งโลก และความเปน็ ไปของชวี ติ

การเกี่ยวขอ้ งกับอบายมขุ

การเกยี่ วขอ้ งกบั อบายมุข ๖ จดั ว่าเปน็ กรรมชัว่ อย่างรา้ ยแรงยิ่ง
ของคนเรา เพราะใครกต็ ามท่จี มอย่กู บั อบายมขุ ๖ แม้เพยี งอยา่ งเดียว
กย็ ากที่จะเอาดไี ด้ในชีวติ นี้ ถ้าจมอยู่กบั อบายมุขครบท้ัง ๖ อย่าง แม้
ยงั ไม่จบชีวติ กอ็ าจจะกลายเป็นคนเรร่ ่อนจรจดั หมดศักดrิ ศรีแหง่ ความ
เปน็ มนษุ ย์อยา่ งสิน้ เชงิ ถงึ ข้นั ตอ้ งนอนต้องหลบั อยู่ตามฟุตบาทไม่ผดิ
กบั สุนัขจรจดั

คนเราทุกคนมใี จ
จากพฤตกิ รรมทจี่ ดั เป็นกรรมดแี ละกรรมชั่ว เปน็ การยืนยนั ว่า
คนเราแต่ละคน ประกอบด้วย กายกบั ใจ กลา่ วคอื
๑) ใจเป็นผ้บู ญั ชาให้กายทำกรรมต่างๆ ทั้งกาย และวาจา
๒) ถา้ ใจคดิ ดคี นเรากท็ ำกรรมดี อีกทง้ั ไม่เกย่ี วขอ้ งกบั อบายมุข
๓) ถา้ ใจคดิ ไม่ดคี นเราจะทำกรรมชัว่ อกี ทัง้ ชอบเข้าไปพัวพัน
เก่ยี วขอ้ งกบั อบายมุข
โดยเหตนุ ี้ท่านจึงกล่าวว่า คนเรามีใจเปน็ นาย มกี ายเปน็ บ่าว แม้

เขา^นใจ

พระสัมมาสมั พทุ ธเจ้ากต็ รัสยนื ยนั ในเรอ่ื งนว้ี ่า
“ธรรมท้งั หลายมใี จเป็นหวั หน้า มีใจเป็นใหญ่

สำเรจ็ แลว้ ด้วยใจ ล้าบุคคลใดใจรา้ ยแลว้ พูดอยู่ก็ดี ทำ
อยกู่ ็ดี ทกุ ข์ย่อมไปตามเขาเพราะเหตนุ ้นั ลา้ บุคคลใด
มใี จผอ่ งใสแลว้ พดอย่กู ด็ ี ทำอยู่กด็ ี ความสขุ ย่อมไปตาม
เขาเพราะเหตุนัน เหมือนเงาไปตามตวั ฉะนนั้ , ™
อนึง่ เมอ่ื คนเรามีใจ ยอ่ มมนี ัยต่อไปอกี ว่า ทุกคนต้องรับผิดชอบ
ในการกระทำของตน กลา่ วคือ ถา้ ทำกรรมช่ัวตนเองก็ต้องรับผดิ เป็น
ทกุ ข์และโทษ จากกรรมช่ัวของตนใครๆไม่สามารถมารบั ผดิ แทนไต้ ถ้า
ทำกรรมดตี นเองก็มโี อกาสรับชอบ เปน็ ความสุขจากกรรมดขี องตน ยิง่
กวา่ น้ัน กรรมที่เราทำเปน็ อาจณิ จะเพาะนิสยั ดหี รือช่วั ดดี ตัวตดิ ใจต่อไป
อีกเร่ือยๆ ไม่รู้จบ

พฤติกรรมคอื เครอ่ื งบง่ บอกทิฏฐิ

ใครก็ตามท่มี ่งทำแตก่ รรมดเี ปน็ อาจิณ ก็เพราะเขามคี วามเหน็
เปน็ สัมมาทฎิ ฐิ ในทางกลับกนั ใครก็ตามท่ีเจตนาทำแต่กรรมชว่ั หรือ
แมจ้ ะทำกรรมดีบ้างชัว่ บ้างปะปนกนั ไป กเ็ พราะเขาเห็นวา่ ผลวิบากของ
กรรมทท่ี ำชว่ั คงจะไมม่ ี เห็นวา่ การท่ีผูห้ ลกั ผูใ้ หญแ่ ละสมณพราหมณ์
พรา่ื ตักเตือนสั่งสอนให้ละเว้นกรรมชั่ว ก็เป็นเพียงกุศโลบาย หลอกให้
ทำกรรมดีเทา่ น้ัน ความเห็นเช่นนี้ของเขา ซื่อว่า มิจฉาทิฏฐิ

** ยมกวรรค ข.ุ ธ.มก. ๔๐/©๑/©

เขา^นใจ

สรุป
สาระสำคัญของสัมมาทฏิ ฐิอันดับท่ี ๔ : ทว่ี า่ วบิ ากแหง่ กรรมดี
กรรมซั่วมผี ล คอื ไมว่ ่ากาลไหนๆ ในทสี่ ุดแลว้ บุคคลท0าดตี ้องได้ดจี รงิ
ทำชั่วดอ้ งได้ชัว่ จริง

๔. ความเหน็ เก่ียวกบั เร่อื ง “โลกนี”้

ความหมายของ “โลกนี้”
โลก คอื อะไร
คำวา่ “โลก" ตามหสักพระพุทธศาสนามีความหมายกวา้ งมาก
ความหมายอยา่ งแคบ ยังครอบคลุมถงึ ๓ เรือ่ ง ชงึ่ มศี พั ท์เฉพาะตาม
ความหมายไนตวั เอง คือ
๑) สังขารโลก หมายถึง สงั ขารรา่ งกายของคนและสัตวท์ ัง้ หลาย
อนั ประกอบดว้ ย กาย กบั ใจ
๒) สตั วโลก หมายถงึ หมสู่ ัตวท์ ีม่ ีชีวติ ท้ังปวงนอกจากตวั เราเอง
เซน่ มวลมนุษย์ และสัตวด์ ริ จั ฉานต่างๆ เปน็ ดน้
๓) โอกาสโลก หมายถึง สถานที่ท่ีสัตวโลกได้อาศัยเปน็ ทอี่ ยู่ เป็น
ทีท่ ำมาหากิน และเป็นท่สี ร้างกรรมท้งั ดีและช่ัว ซงึ่ ไดแ้ ก่ ทั้งผนื ดนิ ผืน
น้าํ ผนื ฟา้ น่ันเอง
ดงั น้ัน คำว่า “โลกนี้, จงึ มคี วามหมายไดท้ ้งั ๓ เรอ่ื ง หริอทง้ั ๓
โลก ซ่งึ มปี ระเดน็ ต้องพจิ ารณาอยา่ งรอบคอบกวา้ งๆ ก่อน คอื

เ>1ทไปa^lui^

ก. สัตวโลกล้วนแตกต่างกนั

ท่านผูอ้ า่ นคงไดป้ ระจกั ษ์แล้ววา่ คนเราแต่ละคนล้วนมคี วาม
แตกต่างกนั ท้ังด้านรา่ งกาย ฐานะ สตปิ ัญญา ตลอดจนอุปนิสัย

ท่านคงจะสังเกตมามากแลว้ วา่ บางคนเกดิ มามีรูปร่างได้สดั สว่ น
แขง็ แรงสมบูรณ์ ไม่พิกลพกิ าร บางคนก็มีหนา้ ตาดี เปน็ หญิงสดุ สวย
เป็นชายสุดหลอ่ แต่บางคนกมิ หี นา้ ตาข้รี วิ้ ขเี้ หร่ อัปลักษณ์ทั้งรปู รา่ งหนา้ ตา
และผิวพรรณ วรรณะ

ในบรรดาผ้คู นที่มีความแตกตา่ งกนั ด้านรูปร่างหนา้ ตาเหล่านี้ยัง
มคี วามแตกต่างกนั ดา้ นฐานะทางเศรษฐกจิ และสังคมอีก บางคนกิคาบ
ช้อนเงินชอ้ นทองมาทัง้ แตเ่ กดิ บางคนกิเกดิ มาในครอบคร้วยากจนช้นแดน้
ชนดิ นอนกลางดินกินกลางทราย หรือบางวันกไิ ม่มอี ะไรจะกิน ถงึ กับ
ด้องดน้ หาเศษอาหารตามกังขยะสาธารณะมากนิ หรอื มฉิ ะน้ัน กิตอ้ ง
เปน็ ขอทานท้งั แต่ยงั เปน็ ทารก ชํา้ รา้ ยกวา่ นัน้ ทารกบางคนพอเกดิ มากิ
ถกู นำไปทิ้งตามท่สี าธารณะ ตามกองขยะ ดังท่มี ขี า่ วปรากฏอยูเ่ ปน็ ระยะๆ

นอกจากจะมีความแตกตา่ งกันดา้ นรูปรา่ งหนา้ ตา และฐานะแลว้
ในด้านสตปิ ัญญา กยิ งั มีความแตกต่างกนั อกี มาก บางคนมปี ญั ญาฉลาด
เฉลียว และมนี ิสยั ดีมาท้งั แตเ่ กิด บางคนแมร้ า่ งกายไมท่ พุ พลภาพ แต่
เกดิ มากิทุพพลภาพทางปญั ญา นบั ทัง้ แตต่ ิดหาเหตุผลไม่เปน็ ไปจนถงึ
ปัญญาอ่อน ติดอะไรไม่เป็น เรยี นอะไรไม่เชา้ ใจ

1>ปไ็ ไปa^lttl^

ข.โลกนมี้ ีทีม่ า

ทำไมคนเราจงึ แตกตา่ งกัน
ถ้าพิจารณาดว้ ยโยนโิ สมนสิการ โดยอิงเหตุผลตามเรื่องกฎแห่ง
กรรม ย่อมจะเกดิ ความเข้าใจได้วา่ ลกั ษณะของแตล่ ะคนทัง้ ดา้ นบวก
หรือโชคดี และดา้ นลบ หรอื โชครา้ ย นัน้ ส่วนหน่งึ เปน็ ผลวิบากของ
กรรมดีหรอื กรรมช่ัวทต่ี นก่อขน้ึ เองในอดีตชาติ สง่ ผลมาถึงปจั จบุ ันชาติ
คอื โลกนี้ไมใช่เร่ืองของความบังเอญิ หรือ “ดวง,’ หรอื เรอ่ื งทีจ่ ะมผี วู้ เิ ศษ
มาสI่งเสQรม ห^ร1อผพรู ายมากลyนแกลVง1เหV เก® ดรข(น'IเดV
โดยสรปุ กค็ ือ โลกนี้มีทมี่ า นนั้ คอื กรรมทีเ่ ราเคยทำไว้ในอดีตไม่
วา่ ดหี รือชัว่ อาจเป็นไดท้ ้ังอดตี ช่วงไกล คืออดตี ชาตจิ นกระท้ังมาปฏิสนธิ
ในครรภ์มารดา และอดีตชว่ งใกล คือ ตั้งแต่วนั แรกเกิดจนกระทัง้ ถงึ เม่อื
วานนี้ จดั การให้เราเปน็ ดังเชน่ ตวั เราในขณะนี้ และเปน็ เหตใุ หล้ ดั วโลก
ทั้งหลายแตกตา่ งกนั

ค. ตอ้ งเขา้ ใจโลกนี้ใฟ้ถูกตอ้ ง

ต้องเข้าไจ๓ ยวกบั เรื่องอะไรของโลกนี้
สาระสำคญั ของโลกนี้ ทที่ ุกคนต้องทำความเข้าใจใหถ้ กู ต้อง
ถ่องแท้ มีอยู่อย่างนอ้ ย ๔ ประการ คอื
๑) โลกนีม้ ีที่มา หมายความวา่ การที่เรามีรูปร่างหน้าตา ฐานะ
ทางความเปน็ อยู่ สติปัญญา และนสิ ัย นบั ตงั้ แตไ่ ด้ถอื กำเนดิ เกิดมาเป็น
คนจนกระทัง้ เดี๋ยวนี้ ขณะน้ี ไมว่ ่าจะดีหรอื ไมด่ ี เป็นท่ีพอใจหรือไม่กต็ าม
เป็นผลมาจากกรรมดหี รอื ชัว่ ทเี่ ราทำไว้เองในอดีตชาตเิ ป็นเหตสุ ำคัญเหตุ
หนึ่ง

L U ไไปอfflu L ^

๒) โลกนม้ี ีความไมแ่ นน่ อน คือ เปล่ียนแปลงอยูเ่ สมอ ไม่จีรัง
ย่งั ยืน ไม่คงท่ี เซน่ คนที่เกดิ มาแข็งแรงสมบูรณ์ กอิ าจกลายเปน็ คนขี้
โรคได้ ถ้าปัจจุบันไมร่ ะมดั ระวงั ดูแลรกั ษาสขุ ภาพใหด้ ี หรอื ชอบแส่หา
โรครา้ ยมาใส่ตัวดว้ ยความโง่ ความประมาทและอำนาจกิเลส คนที่เกิดมา
เป็นเศรษฐี กิอาจกลายเปน็ ยาจกได้ คนทเี่ คยยากจนกอิ าจกลายเปน็
เศรษฐไี ด้ คนทพุ พลภาพกอิ าจกลายเปน็ บคุ คลทีท่ ำคุณประโยชน์อย่าง
ยงิ่ ใหญ่ให้แกช่ าวโลกได้

ความไม่แน่นอนนเ้ี กดิ จากอะไร

ความไมแ่ น่นอนน้ี ล้วนเกิดจากกรรมของเราเอง ซึง่ อาจเปน็ ได้
ท่ีงกรรมในอดตี ชาติของเราเพียงลำพงั ๆ หรือกรรมทเี่ ราทำขนึ้ ใหม่ใน
ชาติน้รี ่วมดว้ ยกไิ ด้

เร่ืองการออกผลของกรรมบางอย่างเรากิอาจตรองหาเหตุผลด้วย
โยนิโสมนสกิ ารได้ไม่ยาก บางอย่างกยิ งั ตรองไมไ่ ดท้ ันที โดยเหตทุ ีก่ ารออก
ผลของกรรมเปน็ เรอ่ื งสลับซบั ซ้อนมาก ผ้ทู ีย่ งั ?เกจิตมาดีไม่พอ จงึ ยงั ไม่
ควรติดในเร่ืองรายละเอยี ดใหม้ ากเกนิ เหตุ มิฉะนั้นอาจเปน็ ปัาได้ ‘’๒

๓) โลกนม้ี ตี ณุ เพราะเปน็ แหลง่ สำหรับสร้างบญุ กศุ ลอนั ประเสรฐิ
เพียงแหลง่ เดยี ว กล่าวคือ ลงั ขารรา่ งกายของเราทีเ่ ป็นมนุษยอ์ ย่างน้ี
เหมาะแกก่ ารสร้างบญุ กุศลหรือกรรมดไี ด้หลากหลายรปู แบบ ซงึ่ สังขาร
ของสตั วโลกชนดิ อืน่ ๆ ไมว่ ่าจะมเี ท้ามากหรือเทา้ นอ้ ย หรอื ไมม่ ีเทา้ เลย
กติ าม ไม่สามารถสร้างความดีหรือบุญกศุ ลตงั เซน่ มนษุ ยไ์ ด้ ตังน้นั ใคร

•to อจินตติ สตู ร องั . จตกุ . มก. ๓๔/๗๗/๒๓๕

เขาไป8^ในใจ

ก็ตามที่ฆา่ ตวั ตาย จงึ เป็นคนท่ีนา่ สมเพชท่ีสดุ เพราะนอกจากจะโง่มาก
จนกระท่งั ไมร่ ู้คุณของการได้เกิดมาเป็นมนษุ ย์แลว้ ยงั เปน็ ผู้สร้างบาป
มหนั ต์ใหแ้ ก่ตนอกี ด้วยการทำลายร่างกายและชวี ติ ซึง่ เป็นอุปกรณแ์ สน
ประเสรฐิ เพียงชิ้นเดยี วท่ีมีสำหรบั ไวไซ้เพ่ิมพูนคณุ คา่ ให้แกต่ นเองและชีวติ

สำหรบั โอกาสโลก กเ็ ป็นแหลง่ เดียวท่ีเหมาะแก'การสร้างกรรมดี
ของเรา เนื่องจากเปน็ ที่อยู่ของสัตวโลก ซึง่ สามารถเปน็ กัลยาณมติ รให้
แกเ่ ราไดน้ ับตงั้ แต่พอ่ แม่ครบู าอาจารย์ตลอดจนพระภกิ ษสุ งฆผ์ ้ปู ระพฤติดี
ปฏิบ้ตขิ อบ ผ้เู ปน็ เนอื้ นาบญุ ซ่ึงมอี ยู่แต่เฉพาะในโลกน้เี ท่าน้นั นอกจาก
นก้ื ็ยงั มีผูค้ นอกี มากมายตา่ งฐานะ ต่างศักยภาพอยใู่ นโลกนี้ ทำให้เรามี
โอกาสสร้างกรรมดี ด้วยการแบง่ ปนั หรือการทำทาน การทำสังคม
สงเคราะห์ การถวายทานแกพ่ ระภิกษุสงฆ์ผเู้ ปน็ เน้อื นาบญุ การบูชาบุคคล
ท่คี วรบชู าอยู่เสมอ การได้ศกึ ษาและปฏบิ ติตามพระธรรมวนิ ัยของพระ
สมั มาสมั พทุ ธเจา้ เพราะเหตุนพี้ ระองค์จงึ ตรัสแสดงว่า ความไดเ้ กดิ
เป็นมนษุ ยเ์ ป็นสว่ นแหง่ การไปสสู่ คุ ติในโลกหน้า 001

ใครกต็ ามทย่ี ึดเอาโลกนเี้ ปน็ เวทีสร้างกรรมช่ัวตา่ ง ๆ ย่อมแสดงว่า
เขาไม่รู้จกั คุณของโลกน้เี ลย ความเห็นของเขาจงึ เป็นมิจฉาทีฎฐิอย่าง
รา้ ยแรง

๔) โลกนม้ี เี วลาจำกดั คือมีความตายเปน็ ตัวจำกัดเวลาแห่งการ
มชี ีวิตอยูข่ องคนเรา ความตายเป็นสง่ิ ทแี่ น่นอนสำหรับทุกคน แตว่ ัน
เวลาแห่งความตายของแต่ละคนไม่แน่นอน ช้นิ อยูก่ ับกรรมดี หรอื กรรม

•(ท จวมานสตู ร ชุ.อิติ.มก. ๔๙/๒๖๒/๙๐๒

ชวั่ ท่เี ราทำเอง ท้ังในอดตี ชาติและบจั จบุ นั ชาติ กรรมชั่วท่ที ำใหเ้ รามอี ายุ
ส้นั ก็คอื การทำผดิ ศลี ขอ้ ๑ ทง้ั ในอดีตชาตแิ ละบจั จบุ ันชาติ

อยา่ งไรก็ตาม กรรมชว่ั ในบจั จบุ นั ทคี่ นเราทำด้วยความประมาท
เชน่ ขับรถเร็วดว้ ยความคึกคะนอง ด่มื สุราเมาแล้วขับรถเปน็ ด้น การ
กระทำดว้ ยความประมาทเหล่าน้ี ย่อมเป็นเหตุให้คนเราอายุสั้นได้อีก
เช่นกนั

ประโยชนข์ องความเขา้ ใจเรอ่ื งโลกน้ีถูกต้อง

ความเข้าใจเก่ียวกับเรือ่ งโลกท้ัง ๔ ประการดังกลา่ วแลว้ มี
ประโยชน์อย่างไร

ความรู้ ๔ ประการดังกลา่ ว จะสามารถชว่ ยให้เราเกิดสติบญั ญา
สอนตนเองให้เลอื กสรา้ งกรรมในป็จจุบนั ให้ดีทส่ี ดุ กลา่ วคือ

๑) ทุกคนต้องรีบทำแดก่ รรมดีตง้ั แต่วนั น้เี ปน็ ตน้ ไป เพราะการ
ทเี่ กดิ มามีโชคดีในชาตินี้ เนอ่ื งจากกรรมดใี นอดีตส่งผล ก็พงึ คิดวา่ ผลของ
กรรมดีนนั้ มีวนั สน้ิ สุด จงึ จำเปน็ ตอ้ งเร่งสร้างกรรมดใี หมอ่ กี เพ่ือมิให้
ผลแหง่ กรรมดี คอื บุญทีส่ ะสมอยใู่ นใจมาตง้ั แต่อดีตต้องขาดตอน หรอื
หมดลงเสียก่อน

สว่ นคนทเ่ี กดิ มาโชครา้ ยดว้ ยประการต่างๆ กอ็ ย่าท้อแท้ พงึ คิดวา่
กรรมดที ี่ทำใหมอ่ ยา่ งต่อเนอื่ งนบั แต่วนั นีจ้ ะตอ้ งออกผลดีต่อไปในอนาคต
อย่างแน่นอน ล้าออกผลไมท่ นั ในเดอื นนี้ ปนี ี้ ชาติน้ี กจ็ ะออกผลใน
เดอื นหนา้ ปหี น้า ชาตหิ นา้ ต่อไปอกี ได้

๒) ตอ้ งไมก่ อ่ กรรมชวั่ ใหมอ่ ย่างเติดขาด เพราะตระหนักถงึ ผล
รา้ ยนานาชนดิ ที่จะตดิ ตามมาทั้งแกต่ นเอง เพอื่ นร่วมโลก และสงิ่ แวดลอ้ ม
ตามธรรมชาติ

๓) ต้องไมอ่ ยเู่ ฉย6)โดยไมส่ ร้างกรรมดอี ะไรเลย พึงระลึกไวว้ ่าการ
อยเู่ ฉยๆ นอกจากจะไมม่ กี ำไรแล้ว ยงั จะต้องควกั ต้นทนุ มาใชจ้ ่ายอกี ด้วย
น่ันคือบุญจากกรรมดีทเี่ คยสง่ั สมไว้กจ็ ะหมดส้ินไป และที่แนๆ่ ก็คอื
สังขารร่างกายของเราตอ้ งแก่ลงๆ ทุกวนั โอกาสที่จะสร้างกรรมดใี หม่
น้นั เหลอื อยนู่ อ้ ยเตมิ ที

๔) ต้องใช้รา่ งกายอันเป็นท่อี าศยั ของใจน้ใี ห้คุ้มค่าท่ีสุด ไมว่ า่ จะ
เป็นร่างกายทสี่ มบูรณแ์ ข็งแรงหรอื ร่างกายท่ีทพุ พลภาพ โดยการศกึ ษา
เร่ืองกรรมดีกรรมชวั่ ใหเ้ ชา้ ใจอย่างถ่องแห้ แลว้ เลอื กปฏบิ ้ติแต่กรรมดี
พงึ ระลกึ เสมอวา่ แม้รา่ งกายที่ทพุ พลภาพของมนษุ ย์น้นั ถึงอยา่ งไร ก็
ยังสามารถใช้สรา้ งกรรมดไี ตอ้ ีกมากมาย ต่างกับร่างกายของตริ จั ฉาน
แม้จะสมบรู ณแ์ ขง็ แรงก็ยากทีจ่ ะใชส้ ร้างกรรมดีไต้

ส่วนผูท้ ่ีมรี า่ งกายสมบรู ณ์แข็งแรง ก็อย่าพึงตกอยใู่ ต้อำนาจ
กิเลสใดๆ แล้วหลงใชร้ า่ งกายไปทำกรรมชั่วต่างๆ เชน่ การทำธุรกิจที่
เก่ียวช้องกับเร่อื งคาวโลกีย์ เปน็ ต้น

เก่ยี วกบั เรือ่ งโลกทกี่ ลา่ วมาท้ังหมดน้ที า่ นผู้อ่านยอ่ มเห็นแลว้ วา่
ไม่ว่าจะเปน็ สังขารโลก สัตวโลก และโอกาสโลก ซง่ึ รวมเรยี กว่า “โลกน้”ี
ลว้ นมคี ุณตอ่ ทกุ ๆ ชีวิตนานัปการ ทส่ี ำคัญคอื เป็น สคุ ติ สำหรับสร้าง
กรรมดี หรอื สร้างบุญบารมีของคนเราให้ยิง่ ๆ ขน้ึ ไป

คุณของโลกนี้ มคี ำศพั ทท์ างธรรมว่า “โลกนมี้ ”ี คอื มคี ุณนั่นเอง

121* ไ ไ ป a ^ f lu l^

ใครกต็ ามท่ีเหน็ วา่ “โลกน้มี ี” ความเห็นของเขาจดั วา่ เปน็ สัมมาทิฏฐิ ใน
ทางกสบั กนั ใครก็ตามท่เี หน็ วา่ “โลกน้!ี ม่ม”ี ความเหน็ ของเขาจัดว่า
เป็นมจิ ฉาทฎิ ฐิ ท้งั นี้เพราะเขาจะยรยีบฑี าโลกทั้ง ๓ ดว้ ยความเห็นผดิ
ของเขาได้ทุกรูปแบบ

สรุป
สาระสำคญั ของสมั มาทฏิ ฐิอนั ดบั ที่ ๔ ะทีว่ า่ โลกน้มี ี คอื โลกนมี้ ี
คุณเปน็ อยา่ งย่ิงเหมาะสำหรับใช้สร้างบุญบารมี แต่มีเวลาให้ใชจ้ ำกดั จงึ
ตอ้ งรบี ใช้ ใช้อยา่ งชาญฉลาด ใชใ้ 1หเ้ ต็มกำลัง และใช้อย่างทะนุถนอม จึง
จะค้มุ คา่ ท่ีได้โลกนีม้ า

๖. ความเหน็ เกี่ยวกบั เรอื่ ง “โลกหนา้ ”

ความหมายของ “โลกหน้า”
โลกหน้า คืออะไร
คำว่า “โลกหนา้ ” ในความเหน็ อนั คับที่ ๖ นี้ มีความหมาย ๒
ประการ คอื
๑) ชีวิตหลงั ความตาย
๒) สถานทีส่ ถิตของชีวติ หลงั ความตาย

๑) ชวี ติ หลงั ความดาย หมายความว่า เมือ่ คนเรา รวมทงั้ สตั วโลก
ท้งั มวล ตายแลว้ ไม่สญู หมด จะสูญสน้ิ ก็แตเ่ ฉพาะรา่ งกายซ่งึ ถกู เผา
หรอื ถูกฝงั ลงดิน ส่วนใจยงั ไมส่ ูญตราบใดที่ใจยังมกี ิเลสจะตอ้ งไปเกิด
มีชีวติ อาศยั ในร่างกายใหมต่ ่อไปอกี ส่วนจะไปเกิดมรี ูปรา่ งเปน็ อะไรยัง
ไม่รู้ แตก่ ็พอจะรจู้ ากการสงั เกตและประสบการณใ์ นชาตินวี้ า่ มีผู้คน

เขาษ^นใจ

ทถ่ี ือกำเนดิ เกดิ มาในโลกนเี้ ป็นจำนวนมากมาย ทม่ี สี ภาพดีกวา่ ตัวเรา ทงั้
ดา้ นรปู ร่างหน้าตา ดา้ นฐานะทางเศรษฐกิจ ตลอดจนสติปญั ญาและ
นสิ ัยใจคอขณะเดียวกนั กม็ ีผู้คนทีเ่ กดิ มาเปน็ จำนวนมากยรแย่ตรด้อยกว่า
ตวั เราทุกๆ ด้าน นอกจากนี้กิยังมีสตั ว์ตริ จั ฉานอีกมากมาย เกิดอยูร่ ่วม
โลกกบั เรา เปน็ เครอ่ื งบ่งบอกวา่ การเกิดมาในโลกน้ี ทง้ั ของผ้คู นท่แี ตกตา่ ง
กัน และของสตั วต์ ิรจั ฉานต่างๆ ลว้ นเป็นผลแหง่ กรรมท่แี ตล่ ะ ชวี ิตเคย
สร้างไวใ้ นอดีตทงั้ สนิ้ ตงั ทีพ่ ระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ตรสั วา่

“สัตวท์ งั้ หลายมกี รรมเปน็ ของตนเป็นทายาทแห่ง
กรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มกี รรมเปน็ เผ่าพนั ธ์ มกี รรม
เป็นทพ่ี ึง่ อาศยั กรรมยอ่ มจำแนกสัตว์ให้เลว และ
ประณีตได้’, 0๔

และแนน่ อนเหลอื เกินวา่ บรรดาสัตวโลกท่ถี อื กำเนิดมาเป็นติรจั ฉาน
น้ัน จะตอ้ งมกี รรมช่ัวเป็นเหตุ ตังทพ่ี ระพุทธองค์ตรสั ว่า

“ดูก่อนภกิ ษุทั้งหลาย กก็ ำเนิดสัตวด์ ิรจั นานอันมี
ปกติกระเสอื กกระสนนั้นเปน็ ไนน คือ งู แมลงปอง
ตะขาบ พงั พอน แมว หนู นกเดา้ แมว หรอื สตั ว์
ท้ังหลายผ้เู ข้าถงึ กำเนดิ สัตว์ตริ จั นานเหล่าใดเหลา่ หนง่ึ
แม้อนื่ ๆ ทเี่ หน็ มนุษยแ์ ล้วย่อมกระเสือกกระสน ดูก่อน
ภกิ ษทุ ้ังหลาย การอบุ ต้ ขิ องสตั วย์ ่อมมี เพราะกรรมอัน
มีแล้วด้วยประการดังนแ้ี ล คือเขาย่อมอุปตดิ ้วยกรรมที่
เขาทำ’’ 0๕

๙ จูฬกมั มวภิ ังคสตู ร ม.อุ.มก. ๒๓/๙๘๑/๒๙๑
ธรรมปริยายสตร องั .ทสก.มก. ๓๘/©๙๓/๔๖๗

Ill1ไใ!aflul^

จากพุทธพจนน์ ้ียอ่ มมนี ัยท่สี ำคญั อยู่ ๓ ประการ คือ

ก) ไมว่ ่ามนษุ ย์หรอื ดริ ัจฉานทถี่ อื กำเนดิ เกิดมามีชวี ิตอยใู่ นโลกน้ี
ลว้ นเป็นการรบั ผลของกรรม ทงั้ ฝ่ายดีและฝา่ ยชั่วทแี่ ตล่ ะชีวติ เคยทำ
ไว้ในอดตี ชาติ คอื เป็นทายาทติดตามรับผลแห่งกรรมทีต่ นทำไว้ เขา
ยอ่ มอปุ ่ติ คือเกิดด้วยอำนาจกรรมทเ่ี ขาทำไวเ้ อง

ข) ทกุ ชวี ิตเม่อื ละโลกน้ี!ปแล้ว ยังจะต้องมชี วี ิตหลังความตาย
ตอ่ ไปอกี ตราบท่ียงั ไมห่ มดกิเลส

ค) แต่ละชวี ิตจะถือกำเนดิ ใหม่เป็นอะไร มเี ผ่าพนั ธุเป็นอย่างไร
มคี ณุ สมบต้ อิ ยา่ งไรข้นึ อยกู่ ับกรรมดีหรอื ชัว่ ทีต่ นทำไว้เองในชาตินี้ คอื มี
กรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ มีกรรมเปน็ ที่พ่ึงอาศยั

๒) สถานท่สี ถติ ของชีวติ หลังความตาย เป็นเรื่องที่แนน่ อนว่าเมอ่ื
มกี ารถอื กำเนิดของชวี ติ ก็จำเป็นจะตอ้ งมีสถานที่รองรบั ชวี ิตนั้น จาก
ประสบการณ!นชวี ติ นี้ของเรากพ็ อจะจนิ ตนาการออกวา่ ถา้ เราไตถ้ ือ
กำเนดิ ใหม่เป็นคนในตระกูลท่มี ่งั ค่ัง มเี กยี รตยิ ศซือ่ เสียง เราจะมสี ถานที่
อย่างใดสำหรับอย่อู าศัย แต่ถา้ เราไตถ้ อื กำเนิดในครอบครัวทยี่ ากจน
ข้นแคน้ มฟี อขเ้ึ มาหยำเปตลอดกาล เราจะมีสถานท่อี ย่างใดสำหรบั อยู่
อาศัย หรอื ถ้าเราไต้ถือกำเนิดเป็นตริ จั ฉานอยา่ งใดอย่างหนง่ึ เชน่ สตั วน์ ้าํ
สัตวบ์ ก สตั ว์ครึ่งบกครง่ึ น้ํา สตั ว์ป่า สัตวเ์ ลี้ยง เราก็ย่อมจะมีสถานท่ี
อาศัยทีเ่ หมาะกับสภาพชีวิตนั้นๆ โดยสรปุ กค็ ือ โลกคือสถานทสี่ ำหรบั
รองรับใหเ้ ราไตอ้ าศยั อยใู่ นโลกหน้านั้น อาจจะมสี ภาพดีกว่าหรอื ยรแย่
กวา่ สภาพทเี่ ราอยใู นขณะน้ี ลว้ นเป็นสิ่งท่ีเป็นไปไตท้ ้ังสนิ้

เพราะฉะนน้ั เร่อื งโลกหนา้ จึงเป็นเร่อื งของความไมแ่ น่นอน คอื

ไม่แนน่ อนว่าจะตอ้ งไปถือกำเนดิ เป็นสตั วโลกประเภทใด จะมสี ถานที่ใด
หรอื มีสภาพอยา่ งไรเปน็ ที่อย่อู าศัยกย็ ังไม่รูแ้ น่ อาจจะเปน็ โลกซงึ่ อย่ไู น
จักรวาลอืน่ ก็ไต้ แตส่ ิง่ ทแ่ี น่นอนก็คือ เราจะตอ้ งไปเกิดไหม่อีก เพราะ
เรายังไม่หมดกเิ ลส ดังน้ันเราจึงจำเป็นจะต้องศกึ ษาเรื่องโลกหน้าให้เขา้ ใจ

ประโยชน์ของการศกึ ษาเรื่องโลกหน้า

ทำไมเราจงึ ตอ้ งรเู้ รอ่ื งโลกหน้า

สาเหตทุ ี่เราต้องศึกษาธรรมะ เพ่อื ใหเ้ กิดความรูค้ วามเข้าใจอยา่ ง
ลึกซ้ึงเกย่ี วกบั เรอ่ื งโลกหน้าก็เพราะความร้เู ร่ืองน้ีจะชว่ ยใหเ้ ราเกดิ ฟ้ญญา
สามารถเตรยี มความพรอ้ มอยา่ งถกู ต้อง เพอื่ การบรรลุสนั ติสขุ อันไพบลู ย์
อนั เปน็ ยอดปรารถนาของมวลมนษุ ยชาติ

หสักการเตรยี มความพร้อมอย่างถูกต้องสู่โลกหนา้

คนเราจะตอ้ งเตรียมความพร้อมหรอื เตรียมตัวตายอย่างไร

การเตรียมความพรอ้ มสำหรบั ชวี ิตหลังความตาย ประกอบดว้ ย
หลกั ปฏบิ ตทิ ่สี ำคญั ๔ ประการ คือ

๑) มศี รัทธามนั่ คงในเรอ่ื งกรรม ตอ้ งศึกษากฎแหง่ กรรมใหเ้ กดิ
ความเขา้ ใจอยา่ งถ่องแท้ เพราะวา่ เราจะตอ้ งพยายามละกรรมชวั่ ท้งั
ปวง จะตอ้ งทำกรรมดเี ยอะๆ เราจึงจะประสบแต่ความสขุ อนั เป็นยอด
ปรารถนาของเรา (รวมทงั้ มนุษยชาต)ิ เป็นตน้ ว่า จะตอ้ งทำกรรมดีอะไร
จงึ จะมีอายุยืน มีสขุ ภาพแข็งแรง ไมข่ โี้ รค ไม่เป็นโรคร้ายแรง มรี ูปรา่ ง
หน้าตาดี ไมข่ รี้ ิว้ ขีเ้ หร่ มฐี านะทางเศรษฐกจิ ดี มัง่ คั่ง รื่ารวยดว้ ยอาชพี

เขาษ851!นใจ

สจุ รติ มเี กียรตยิ ศ ชอ่ื เสยี ง เปน็ ท่ยี กย่องเคารพนับถอื ในสงั คม ขณะ
เดียวกันกม็ ีสงิ่ แวดลอ้ มที่ดี ท้งั สงิ่ แวดล้อมท่ีเปน็ ธรรมชาติ และเปน็ คน
มกี ัลยาณมิตรช้นี ำให้เกิดความเข้าใจถกตอ้ ง เกย่ี วกบั เรือ่ งโลกและความ
เปน็ ไปของชวี ิตตามความเป็นจริง เพอจะไต้ครองตนอยู่ในเล้นทางกุศล
ธรรมเสมอ มีความเขา้ ใจวา่ โลกนม้ี ที มี่ า โลกหนา้ มีทไ่ี ป สว่ นวา่ จะไป
ถอื กำเนดิ เปน็ อะไร ขน้ึ อยูก่ บั กรรมที่ทำในชาติน้ีเปน็ หลัก เปน็ ต้น

ตอ่ ไปนเ้ี ปน็ บทสรปุ ผลของกรรมดแี ละกรรมชัว่ ท่ีบุคคลทำไว้
กอ่ นตาย ครั้นตายแล้วถา้ ไม่ไปสทู่ คุ ติ ไต้เกิดเปน็ มนุษย์กีจะมีผลกรรม
ติดดวั มา ดงั ที่พระสมั มาสัมพุทธเจ้าตรสั แสดงแก่สุภมาณพ0๖ดงั นี้

บทสรปุ เหตแุ ละผลของกรรม (ถ้ามาเกดิ เปน็ มนุษย)์

กรรมอนั เป็นเหตุ ผลของกรรม

๑. ก. หมกมุน่ ในการประหัตประหารชวี ติ สตั ว์ อายุสัน้

ข. ละขาดจากปาณาติบาต อายุยืน

๒. ก. มีปกตเิ บยี ดเบียนสัตว์ดว้ ยฝ่ามือ ท่อนไม้ ฯลฯ เปน็ คนโรคมาก

ข. มีปกตไิ ม่เบยี ดเบียนสัตว์ด้วยฝ่ามอื ท่อนไม้ ฯลฯ เป็นคนโรคน้อย

๓. ก. มักโกรธ พยาบาท เป็นคนมผี วิ พรรณทราม

ข. ไม่มักโกรธ ไม่พยาบาท เป็นคนน่าเล่อื มใส

๔. ก. มใี จอจิ ฉารษิ ยา เปน็ คนมศี กั ดา(อำนาจ)น้อย

ข. ไมอ่ ิจฉารษิ ยาใคร เปน็ คนมีศกั ดามาก

จฬู กัมมวิภงั คสตู ร ม.อ.ุ มก. ๒๗๙๗๙-๒๔๑/๒๔๘

เขาษ8^ ใจ

๔. ก. ไม่ใหท้ านแก่สมณพราหมณ์ เป็นคนมโี ภคะน้อย

ข. ชอบให้ทานแก่สมณพราหมณ์ เป็นคนมโี ภคะมาก

๖. ก. เยอ่ หยิง่ ไม่บูชาบคุ คลที่ควรบชู า เกดิ ในสกุลตา

ข.ไม่เย่อหยิ่ง บชู าบคุ คลท่คี วรบูชา เกิดในสกลุ สูง

๗. ก. ไม่เข้าไปหาสมณพราหมณเ์ พ่อื ศึกษาธรรม มีปญ็ ญาทราม

ข.ชอบเขา้ ไปหาสมณพราหมณ์เพื่อศึกษาธรรม มีปัญญามาก

เรื่องของกรรมทยี่ กมาแสดงน้ีเป็นเพยี งสว่ นน้อย จากพระธรรม
เทศนาซงึ่ พระสมั มาสัมพุทธเจ้าตรสั แสดงไว้มากมาย สมควรท่ที ่านผูอ้ ่าน
จะตอ้ งศึกษาคน้ ควา้ เพ่มิ เติมอีก เพ่ือจะไต้เกิดความเข้าใจอย่างถอ่ งแท้ ซึ่ง

นอกจากจะยึดไว้เป็นหลักปฏบิ ้ติในชีวติ ประจำวันแลว้ ยงั จะเปน็ เครือ่ งชว่ ย
ใหร้ ู้จกั ตนเองดีย่งิ ขน้ึ ทง้ั นับว่าเปน็ การส่งั สมบุญอยา่ งหน่งึ

๒) ตั้งใจรักษาศลี อย่างเคร่งครัด อย่างนอ้ ยทีส่ ดุ และสำคญั ที่สุด
ก็คอื ศีล ๕ และถ้าสามารถรักษาศีล ๘ ไตเ้ ป็นบางโอกาสหรือไต้ตลอด
กย็ ่ิงดี เพราะนอกจากจะเป็นการสั่งสมบญุ เพิ่มขนึ้ แล้ว ยงั จะช่วยให้
พฤติกรรมทางกาย และวาจา สะอาด บริสุทธย้ิ ่งิ ขึน้

จากสมั มาท้ฎฐ,ข้อ ๔ และ ๔ ทำใหเ้ รารู้วา่ เราจะต้องเป็นผู้รับ
ผลของกรรมท่ีเราทำไวอ้ ยา่ งแนน่ อน ถา้ ผลของกรรมชวั่ ยังไม่เกดิ ขน้ึ
ในชาติน้ี ก็ยังจะรอเวลาออกผลในชาตภิ พข้างหน้าอกี ถึง ๒ ระยะ ดัง
ไต้กล่าวแล้ว เพราะฉะนน้ั เราจะต้องไมท่ ำกรรมชวั่ อีกโดยเดด็ ขาด ดว้ ย
การตั้งใจรกั ษาศลี ให้บรสิ ทุ ธ้ิ บริบรู ณ์

ดว้ ยเหตนุ จ้ี งึ ถอื ว่า ศีลมคี ณุ ูปการตอ่ ธรรมตา่ งๆ เปน็ เอนกอนนั ต์
ดงั ที่พระสลี วเถระ0๗กลา่ วว่า

- ศลี อันบุคคลศกึ ษาดีแล้ว สง่ั สมดแี ลว้ ย่อมนำสมบดีทัง้ ปวง
มาใหใ้ นโลกน้ี

- ผมู้ ศี ีล ยอ่ มได้รบั การสรรเสรญิ และ(ได้รับ) ชอ่ื เสยี งทกุ เมื่อ
- ศลี เป็นเบอื้ งดน้ เป็นท่ีตั้ง เป็นบอ่ เกิดแห่งคณุ ความดีทั้งหลาย
และเปน็ ประธานแห่งธรรมท้ังปวง เพราะฉะน้ันพงึ ชำระศีลให้บรสิ ทุ ธิ้
- สงั วรศลี เปน็ เครอ่ื งกั้นความทุจริต
- ศลี เป็นกำลังหาที่เปรยี บมไิ ด้ เป็นอาวธุ อย่างสงู สุด เปน็ อาภรณ์
อันประเสริฐ เปน็ เกราะอนั นำอศั จรรย์
- ศีลเปน็ เสบียงอันเลศิ เป็นเสบียงเดินทางช้นั เยย่ี ม เปน็ พาหนะ
ประเสรฐิ ยิง่ นกั
- ในโลกนี้ ศีลเทา่ นนั้ เป็นยอด
บคุ คลใดกติ าม ทสี่ ามารถรักษาศีลไดบ้ รสิ ทุ ธิอ๋ ยเู่ ป็นนิจ ยอ่ ม
ไดช้ อ่ื วา่ ไดส้ ง่ั สมบญุ ไวท้ ี่ใจตลอดไป
๓. ตัง้ ใจใหท้ านเดมิ ท่ี คนเราเม่ือตายไปแล้วรา่ งกายกเิ อาไปไม่
ได้ แมท้ รัพย์สมบ้ดมี ากมายกเิ อาไปไม่ได้ แต่สามารถเอาทรัพย์
ละเอยี ดเปน็ เสบียงดีดใจไปได้

ทรัพยล์ ะเอียด ดอื อะไร
ทรพั ย์ละเอยี ดกิดอื บญุ ทเ่ี ราทำไว้ดีแล้ว บุญนีจ้ ะเป็นที่พง่ึ ของเรา
ในโลกหน้า ไม่ว่าจะตอ้ งไปเกดิ เปน็ อะไรอีก บุญน้ีกิจะนำเราไปเกดิ ใน

*๗ สลี วเถรคาถา ข.ุ เถร.มก. ๙๒/๓๗๘/๔๒๙

เขาษ9,4 จ

ทีเ่ หมาะสม และจะคอยประคับประคองชวี ิตของเราให้ประสบแตค่ วามสขุ

จะมีวิธีทำทรัพยล์ ะเอยี ดไดอ้ ยา่ งไร

ทรพั ย์สมบติ ิท้ังหลายไม่ว่าปราสาทราชวงั ช้าง ม้า วัว ควาย
เพชรนิลจนิ ดา ฯลฯ ทเ่ี รามีอยู่ในโลกน้จี ัดวา่ เปน็ ทรัพยห์ ยาบ แต่
สามารถเปล่ียนให้เป็นทรัพยล์ ะเอียดได้ โดยการนำไปทำทาน ทำสงั คม
สงเคราะห์ นำไปสกั การบูชาบคุ คลทค่ี วรบูชา ตลอดจนถวายทานแก่
พระสงฆผ์ ู้ประพฤตดิ ปี ฏบิ ิตชอบ คือเปลย่ี นให้เป็นบุญนั่นเอง บญุ ท่ีเกิด
ขึน้ น้ี มีลักษณะเปน็ ธาตบุ ริสทุ ธ้ิ สว่างใส สามารถชำระจิตใจผู้ทำบุญให้
สะอาด ผอ่ งใส ชุ่มช่ืน เบิกบานได้ และทีส่ ำคญั คือสามารถสง่ั สมอยใู น
ใจได้ เช่นเดียวกับไฟฟ้าทสี่ ามารถสะสมอยูใ่ นแบตเตอร่ี ฉะนัน้

วิธเี ปลี่ยนทรพั ยห์ ยาบใหเ้ ปน็ บุญ

พระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ทรงแนะนำวา่ ทรพั ย์หยาบของเราถา้ กังไม่
ไดน้ ำออกทำทาน แมจ้ ะมมี ากมายสักเพยี งใด ก็กงั มไิ ดเ้ ปน็ ประโยชน์แก่
ผ้เู ปน็ เจา้ ของทรพั ยน์ ้นั จริงจงั เปรียบดังทรพั ย์สงิ่ ของของเราทข่ี นหนี
ไฟไมท่ ัน ยามท่บี า้ นถูกไฟไหม้น่ันแหละ เพราะทรัพย์เหล่านั้น ยอ่ มเป็น
เชอ้ื เพลงิ ใหแ้ ก่กองไฟน้ันไป ดังทตี่ รสั วา่

“ครั้นเมอื่ เรือนถกู ไฟไหม้ เจา้ ของขนสง่ิ ใดออก
ได้ ของสิ่งนน้ั ก็เปน็ ประโยชนแ์ กเ่ จา้ ของ สว่ นของท่ีไม่
ไดข้ นออกกไ็ หมอ้ ย่ใู นนัน้

ฉันเดียวกันครัน้ เมื่อโลก(ตัวเรา)อนั ชรามรณะไหม้
อย่อย่างน้แี ลว้ ชาวโลกพงึ ขนออกดว้ ยการให้ทานเถดิ

ไใป

สิ่งที่ให้เป็นทานไปแลว้ จดั ว่าไดข้ นออกอย่างดแี ล้ว
ความสำรวมทางกาย วาจา ใจ อนั ใดในโลกน้ี คือ
เม่ือยงั เป็นบคุ คล ไดท้ ำบุญอนั ใดไว้ บุญอันนน้ั ย่อม
เปน็ ไปเพื่อความสุขแก่เขาผล้ ะ (โลกนี้) ไป ” “๔
เพราะฉะน้นั การเตรียมเสบียงตดิ ตัวไปใหม้ ากที่สุด ก็คือการ
ส่งั สมบุญไวใ้ นใจของเราใหม้ ากท่ีสดุ ด้วยการเร่งรบี ทำทานทุกรูปแบบ
เพอื่ เปลย่ี นทรัพย์หยาบใหเ้ ป็นบญุ ท้ังน้เี พราะ “บุญเทา่ นนั้ ย่อมเป็นท่พี ื่ง
ของเหล่าสตั ว์ในโลกหนา้ ” ‘’๙

๔. ตอ้ งเพม่ิ พูนปัญญาใหย้ ง่ิ ๆ ขึ้นไป เพ่ือให้เกดิ ปญั ญา คือ ความ
รคู้ วามเข้าใจโลกและความเป็นไปของชีวติ อย่างถ่องแห้ ตรงตามเป็นจริง
นอกจากจะตอ้ งศกึ ษาพระธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนาอยา่ งกว้าง
ขวางแล้ว ส่ิงท่จี ะหลกี เล่ยี งไม่ไต้คือการเจรญิ ภาวนา

ทำไมตอ้ งทำภาวนา
จุดมุ่งหมายของการทำภาวนาในข้นั ต้นก็คอื เพื่อ?เกใจให้หยดุ นง่ิ
เปน็ สมาธิ ไม่คิดซัดสา่ ยไปในเร่ืองต่างๆ
เมือ่ ใจหยดุ น่งิ สนิทเป็นสมาธไิ ตต้ ่อเนอ่ื งเป็นเวลานานๆใจก็จะสว่าง
โพลงขนึ้ ไปตามลำตับ ๆ จนกระทง้ั สามารถส่องให้เหน็ ความจริงของโลก
และความเปน็ ไปของชีวติ ไต้สมุ่ ลึก ซึ่งมังสจักษุมองไมเ่ ห็น

จากการเห็นธรรมชาติความเปน็ ไปของชวี ติ และโลกตามความเปน็

*๘ ทตุ ยิ ชนสตู ร องั .ติก. ๓๔/๔๙๓/๒๑๗
•๘ เสรีสตู ร อัง.ส.มก. ๒๔/๒๘๓/๓๖๙

I l l ใไปอ^ใน

จริงนีเ้ อง จงึ ก่อใหเ้ กิดปัญญารู้เท่าทนั สรรพส่ิงท้ังหลาย ปญั ญาชนดิ น้ี
จะมมี ากน้อยเพียงใด ก็ขึน้ อยู่กับปริมาณความสว่างโพลงที่เกดิ ข้นึ
ภายในเพยี งนั้น

อย่างไรกต็ าม แม้การปฏปิ ต้ ิภาวนายังไมเ่ กดิ ความสวา่ งโพลงท่ี
กลางใจ แต่การที่บุคคลมีใจสงบอยู่เสมอ ก็จะเป็นเครอ่ื งส่งเสริมใหเ้ ขา
รู้จักคิดด้วยโยนิโสมนสกิ าร อนั จะเปน็ เหตใุ หเ้ ปน็ ผมู้ สี ัมมาทิฏฐิ ไม่คดิ ไม่
ทำกรรมชว่ั ดงั เช่นเหล่ามิจฉาทิฏฐิ กล่าวได้วา่ การหมัน่ ทำภาวนาอย่าง
สมรเสมอจนเปน็ นิสยั แม้ยังไม่ถงึ ขนั้ รแู้ จง้ เห็นแจง้ คนเราก็จะเกดิ
ปัญญาสอนตนเองไดใ้ นระดับหนึ่งว่า อะไรเป็นบาป-บุญ คุณ-โทษ
ประโยชน-์ มใิ ช่ประโยชน์ และสามารถกำจัดนสิ ัยทไ่ี มด่ ขี องตนให้ลดลง
แลว้ พัฒนานิสยั ดีๆ ข้ึนมาแทนไดก้ ารเจรญิ ภาวนาจงึ เป็นบญุ อีกประเภท
หนง่ึ

ทัง้ หมดนี้ คอื เหตผุ ลท่ีวา่ ทำไมทุกคนตอ้ งทำภาวนา
ความปลอดภยั ในโลกหนา้
เนอ่ื งจากโลกหนา้ มคี วามไม่แนน่ อน แตท่ กุ คนก็ตอ้ งไปส่โู ลก
หน้าอย่างไมม่ ีทางเล่ยี งเพราะยงั ไม่หมดกิเลส เพราะฉะนัน้ ใครที่เคย
ทำ กรรม ชัว่ มาแล้ว ก็ขอให้แลว้ ไป ลมื อดีตเสยี เพราะถึงอยา่ งไรก็
เรยี กคืนกลับไมไ่ ด้ เร่ืองอนาคตก็ยังมาไมถ่ งึ จึงไม่ต้องวิตกกงั วลใหเ้ กนิ
เหตุ พึงทมุ่ ชวี ติ ทำวนั น้ี (ปจั จบุ นั )ใหด้ ีทส่ี ดุ ด้วยการเตรยี มความพร้อม
ท้งั ๔ ประการ ดงั กลา่ วแลว้ ซ่ึงจะเป็นบุญประทบั แนน่ อยใู่ นใจเราตลอดไป
และจะเปน็ เคร่ืองคํ้าประกันความปลอดภยั ทกุ ประการให้แก่เราในโลกหนา้
โดยไม่มีความเสย่ี งอะไรเลย
ความเหน็ ท่ีวา่ โลกหนา้ มีความไมแ่ นน่ อน ในพระพุทธศาสนาใช้

Ifl'I'klagluL^

สำนวนวา่ “โลกหน้าม”ี ใครก็ตามท่ีเหน็ วา่ โลกหนา้ มี ความเห็นของ
เขาชือ่ ว่า “สัมมาทฏิ เ” สว่ นใครกต็ ามทเ่ี ห็นว่า “โลกหนา้ ไมม่ ,ี , ความ
เห็นของเขาช่อื ว่า “มิจฉาทิฏฐ”ิ ทง้ั นีเ้ พราะเขาจะมชี วี ติ อยอู่ ยา่ งประมาท
พร้อมท่ีจะประพฤตผิ ิดศลี และสรา้ งกรรมช่ัวเพอื่ ถว่ งตัวเองให้ตกตรเนอื ง ๆ

สรุป

สาระสำคญั ของสมั มาทฎิ ฐิ อันดับ ๖ ะ ท่วี ่าโลกหนา้ มี คือโลก
หน้ามีจรงิ ตายแลว้ ไมส่ ูญ ความเป็นไปของโลกหน้าเปน็ ผลจากกรรมดี
หรอื ชวั่ ทเ่ี ราทำไว้เองในโลกน้ีเปน็ หลกั ใครๆ จงึ ตอ้ งไมป่ ระมาท

๗. ความเหน็ เกย่ี วกับพระคุณของมารดา

ในช่วงระยะเวลากวา่ สบิ ปที ผ่ี า่ นมา มักจะมีขา่ วการจับกุมหมอ
เถอ่ื นตามคลินิกทำแท้งบอ่ ย ๆ หวังวา่ ท่านผอู้ า่ นคงจะเคยไตย้ นิ ข่าวเช่น
นี้บา้ ง ทา่ นเคยคิดหรอื ไมว่ า่ ขณะที่ทา่ นถือปฏิสนธิอยูใ่ นครรภ์มารดาของ
ทา่ นแล้ว หากมารดาของท่านเกิดความคิดและกระท่าเขน่ เดยี วอบั บรรดา
หญิงมคี รรภ์ ท่ีตอ้ งการกำจดั ทารกออกจากครรภ์เหล่านั้น ท่านจะไต้
มชี ีวิตอยู่จนไตอ้ ่านหนังสือนี้หรือไม่

สมมตุ วิ ่ามารดาของท่านเปน็ คนจจู้ ขี้ ี้บน่ คอยห้ามปรามคอย ขดั ใจ
หรอื บางครัง้ อาจท่าโทษทา่ นอย่างรุนแรง เมอ่ื ทา่ นทา่ ผิด หรือดือ้ ร้นั ทา่
ใหท้ ่านรส้ กี เสยี ใจมาก ทั้งโกรธหรือถืงช่ันเกลยี ดขังในบางครงั้ ถามวา่ ทา่ น
คดิ วา่ มารดาของท่านมพี ระคุณต่อท่านหรือไม่ ถาั มี มใี นต้านใด

อนง่ึ สัตว์ทเี่ ลย้ี งลกต้วยนัา้ นมนัน้ มีอยม่ ากมาย หลายประเภท

เขาไป0^ นใจ

เช่น สนุ ขั แมว วัว ควาย ช้าง ม้า ฯลฯ คนเราก็จัดอยู่ในประเภทสตั ว์
เล้ียงลกู ดว้ ยนาํ้ นมเหมอื นกัน ทา่ นเคยคิดไหมว่า ถ้าชนกกรรมของท่าน
นำปฏิสนธจิ ติ ของท่านไปปฏิสนธใิ นครรภข์ องสัตว์เลยี้ งลกู ดว้ ยนาํ้ นม
ประเภทใดประเภทหนงึ่ ทีไ่ ม่ใช่คน ทา่ นจะได้รปู ร่างหน้าตาเป็นคนหลอ่
เหลาสวยงาม ดงั ทเ่ี ปน็ ตัวทา่ นอยใู่ นขณะนห้ี รอื ไม่ เป็นส่งิ ทเี่ ปน็ ไปไม่ได้
เลยวา่ ทา่ นจะไดร้ ปู รา่ งท่ีเป็นมนษุ ย์ แตท่ วา่ ทา่ นจะด้องได้รูปร่างเหมือน
กับสตั วโลกอยา่ งใดอย่างหนงึ่ ท่ีท่านไดอ้ าศัยครรภข์ องสัตวน์ น้ั เปน็ แดน
เกดิ

สมมุตวิ า่ เม่ือตวั ท่านถอื กำเนิดเกิดมาในโลกนี้ มีรปู ร่างเป็นสนุ ัข
พันธุพดุ เดิลที่น่ารัก เปน็ ท่โี ปรดปรานของเหล่าคนรา่ํ รวยเป็นเศรษฐี
สุนขั ท่แี สนน่ารักตวั นั้น กอ็ าจจะมสื ร้อยเพชรเปน็ ปลอกคอ ได้นงั่ รถยนต์
หรหู ราไปไหนมาไหนกับเจ้าของไม่มหื ่าง ได้รับการเลีย้ งดเู อาใจใสอ่ ยา่ ง
ดเี ลิศ มือาหารอยา่ งดกี นิ ทกุ มือ้ ทา่ นจะพอใจชวี ิตเช่นสนุ ัขพดุ เติลตัวนัน้
หรอื พอใจทีจ่ ะเป็นเชน่ ตวั ท่านในขณะนี้ ซึง่ ไมม่ ืรถยนตข์ บ ยังต้อง
ห้อยโหนรถเมลไ์ ปทำงานทกุ วัน

ถา้ คำตอบของทา่ น คอื ตอ้ งการเกดิ เปน็ เชน่ ทา่ นในขณะน้ี มาก
กวา่ จะเป็นสนุ ัขพุดเติลทส่ี ดุ แสนนา่ รัก มีชวี ติ อยอู่ ยา่ งแสนสุขสบาย ก็
ต้องถามตอ่ ว่าทำไม

คำตอบท่ถี กู ตอ้ งมอื ยู่คำตอบเดียวคอื เมื่อเกดิ มาเป็นคนไดร้ ูปรา่ ง
เปน็ คนก็จะมโื อกาสบำเพญ็ คุณความดี หรอื สง่ั สมบญุ บารมใี หย้ ่ิงๆ ข้ึนไป
สามารถทำใจใหผ้ ่องใสจนถึงขั้นสว่างโพลงได้ แต่สตั วต์ ริ ัจฉานตา่ ง ๆ
ไมส่ ามารถทำได้เลยโดยเดดี ขาด

เขาไปอ^นใจ

อยา่ งไรกต็ าม แมว้ ่ามารดาจะยากจน ไม่มมี รดกกองโตมอบให้
ทา่ น ใหไ้ ดแ้ ตเ่ พยี งตน้ แบบรา่ งกายทเี่ ป็นมนุษยแ์ ยท่ ่านเท่าน้ัน ถามวา่
เปน็ บญุ คณุ มากพอหรือยัง

ยิง่ กวา่ นัน้ การทที่ ่านสามารถดำเนนิ ชีวติ อยใู นฐานะพลเมอื งดีของ
ชาดีคนหนึ่ง ไม่ประพฤตผิ ิดศลี ผดิ กฎหมาย ไมม่ ีเงินทองมากมาย
ขนาดตอ้ งสร้างหอ้ งลับใด้ดีนไวเ้ กบ็ ธนสารสมบดี ดงั เซ่นเจา้ พ่อยาเสพดดี
ทั้งหลาย แตท่ ่านก็ดำเนนิ ชวี ติ อย่างมีความสขุ ตามอัตภาพ ถามวา่ การ
ที่ท่านเปน็ พลเมืองดีเซน่ น้ี ท่านดีดว้ ยตนเอง หรือไครมีส่วนปลุกปนั ไห้
ท่านเป็นคนดี

ก่อนจะตอบคำถามนี้ท่านพอจะมองเห็นพระคณุ ของมารดาของ
ทา่ นหรือยัง

จากท้ัง ๓ กรณที ่ยี กมาเปน็ ตัวอย่างน้ี ไม่วา่ ทา่ นจะมที ัศนะ
อย่างไรต่อมารดาของท่านกต็ าม แต่ความจริงกค็ อื มารดาของท่านมี
พระคุณตอ่ ทา่ นอยา่ งน้อย ๓ ประการ คือ

๑) ไห้ชีวิตแย่บุตร
๒) ใหต้ ้นแบบรา่ งกายทเี่ ป็นมนุษยแ์ ยบ่ ุตร ซ่งึ เหมาะแย่การ
บำเพ็ญคุณความดเี ปน็ อย่างยิ่ง
๓) ใหต้ ้นแบบจิตใจท่เี ปน็ มนุษยแ์ ยบ่ ุตร

พระคณุ ทง้ั ๓ ประการทม่ี ารดาให้มานี้ แหท้ ่ีจรงิ กค็ อื ใหโ้ ลกน้ี
แยบ่ ตุ รนน้ั เอง

อนึง่ ถา้ ท่านต้งั สดีระลึกนกึ ถงึ พระคณุ ของมารดาของทา่ นโดย

เขาษ9,ทนใจ

ปราศจากความลำเอยี งเขา้ ขา้ งตนเอง ทา่ นกอ็ าจจะมองเห็นพระคุณแหง่
มารดาของทา่ นมากกวา่ นี้

ความเหน็ ว่า มารดามีพระคณุ ตอ่ บุตร ในพระพทุ ธศาสนามี
สำนวนใชว้ ่า “มารดามี” คือมีบญุ คุณ หรือมีพระคุณตอ่ บุตรน่ันเอง ใคร
ก็ตามทีเ่ ห็นว่า “มารดาม”ี ความเหน็ ของเขาเปน็ “สัมมาทิฏฐ”ิ ใน
ทำนองกลบั กัน ใครก็ตามที่เห็นวา่ “มารดาไม่ม”ี ความเหน็ ของเขาเป็น
“มจิ ฉาทฎิ ฐิ”

สรุป
สาระสำคญั ของสมั มาทฎิ ฐิอันดับที่ ๗ ะทว่ี า่ มารดามี คอื มารดา
มพี ระคุณตอ่ บตุ รอย่างย่งิ บตุ รทกุ คนตอ้ งต้งั ใจตอบแทนพระคณุ ทา่ นให้
เตม็ ความรคู้ วามสามารถของตน

๘. ความเหน็ เกี่ยวกบั พระคณุ ของบดิ า

บิดามพี ระคุณต่อบตุ รอย่างไร
โดยทั่วไปแล้ว บดิ ากม็ ีพระคุณตอ่ บุตร ๓ ประการ เช่นเดียวกบั
มารดาคือ
๑) ใหช้ ีวติ แกบ่ ตุ ร
๒) ให้ต้นแบบร่างกายท่เี ป็นมนษุ ยแ์ ก,บุตร
๓) ให้ต้นแบบจติ ใจท่ีเปน็ มนุษย์แกบ่ ุตร
มักจะมผี สู้ งสยั อย่เู สมอวา่ บิดาประเภทท่ไี มใ่ ห้การอุปการะเล้ยี งดู
บุตรของตน ตามหน้าท่ีอนั พึงจะตอ้ งรบั ผิดชอบนนั้ ไม่ว่าจะด้วยเหตผุ ล
ใดๆ กต็ าม มีพระคุณต่อบตุ รหรือไม่

ถ้าย้อนกลบั ไปดูพระคุณบดิ าทมี่ ตี ่อบตุ ร ๓ ประการ ดังกล่าว
แล้ว ทา่ นก็จะได้คำตอบด้วยตนเองวา่ บิดามพี ระคณุ ตอ่ บตุ รอยา่ งแนน่ อน
แต่อาจจะมีความบกพรอ่ งในประการท่ี ๓ ไปบา้ ง

อยา่ งไรก็ตาม ถา้ ทา่ นได้เหน็ ความบกพรอ่ งในการทำหน้าทใี่ น
ฐานะบิดาของทา่ นประการใดบ้าง ทที่ ำใหท้ ่านไม่พอใจ ท่านกค็ วรจะ
จดจำไว้เป็นบทเรียนสอนใจท่านเอง เมือ่ ถงึ คราวท่ที ่านด้องทำหน้าท่ี
บิดาของบุตรของทา่ นบา้ ง กจ็ งปฎบิ ิติหนา้ ท่ขี องท่านใหส้ มบูรณ์ อยา่ ให้
ลกู ของทา่ นเกิดทศั นคตใิ นเซิงลบตอ่ ท่าน ดังทีท่ า่ นเคยรู้สกึ ไม่พอใจบิดา
ของทา่ นมาแล้ว ท่านก็จะเป็นคณุ พอ่ ท่นี า่ รกั ของลูกๆ ครอบครัวของ
ทา่ นก็จะมคี วาม สงบสุข

สาระสำคญั ของความเหน็ เกี่ยวกับพระคุณของบดิ า ก็คอื เร่อื ง
การมีความกดญั ฌกู ตเวทีต่อบดิ า เซ่นเดียวกับมารดาทุกประการ

ความเหน็ ว่าบิดามีพระคณุ ตอ่ บุตร ในพระพทุ ธศาสนาใชส้ ำนวน
ว่า “บิดาม”ี คือมีบญุ คณุ หรอื มพี ระคุณต่อบุตรนน่ั เอง ใครกต็ ามทีเ่ หน็ วา่
“บดิ ามี” ความเหน็ ของเขาเปน็ “สมั มาทฎี ฐิ” แตใ่ ครก็ตามทเี่ ห็นว่า “บิดา
ไม่มี” ความเห็นของเขาเป็น "มจิ ฉาทีฏฐิ”

สรุป

สาระสำคัญของสมั มาทฎี ฐิอนั ดบั ท่ี ๘ : ทวี่ า่ บดิ ามี คือ บิดามี
พระคณุ ตอ่ บดรอย่างย่งิ เซ่นเดยี วกบั มารดา

แทไปรส์ในเ๊ั )^

๙. ความเห็นเกีย่ วกับสัตว์ที1ผดุ ขึน้ ๓ ด

การถือกำเนดิ ,1นมนุษยโลก
ในมนษุ ยโลก การถอื กำเนดิ ของสตั วโลกทเี่ ราไดร้ !ู ด้เหน็ ก็จำกดั
อยูเ่ ฉพาะการกำเนิดในโลกน้ี ซงึ่ โดยท่วั ไปทกุ คนยอ่ มเหน็ ไดด้ ว้ ยตา
ตนเองชัดๆ วา่ มีการถอื กำเนดิ อยู่เพยี ง ๒ ประเภท คอื
๑. เกดิ ในฟองไข่ (อัณฑซะกำเนิด)ได้แก่สัตว์ดิรจั ฉานตา่ ง ๆ เขน่
ไก่ นก เปน็ ด้น
๒. เกดิ ในครรภ์ (ชลาพุชะกำเนิด) คือเกิดในครรภห์ รอื จากครรภ์
ไดแ้ ก่ สตั ว์เลีย้ งลูกด้วยนํ้านมเป็นส่วนมาก เขน่ คน สุนขั เปน็ ดน้
แตจ่ ากการศกึ ษาด้นควา้ ทางดา้ นวิทยาศาสตร์ ทำใหพ้ บว่ามีการ
เกดิ ประเภทท่ี ๓ อยูใ่ นมนุษยโลกอกี ด้วย คอื เกิดในสง่ิ โสโครก ในน้ํา
ในอาหารบูดเน่า (ลงั เสทซะกำเนิด) เข่น จลุ นิ ทรืย์ หรอื สัตวเ์ ซลลเ์ ดยี ว
ชนดิ ต่างๆ เปน็ ด้น จลุ ชีวันเหลา่ นแ้ี มเ้ ราจะไมส่ ามารถมองเห็นไดด้ ้วย
ตาเปลา่ แตก่ ็มีเครื่องมอื วิทยาศาสตร์ คือ กลอ้ งจลุ ทรรศน์ ใช้ลอ่ งดูได้
โดยสรุปกค็ อื การกำเนดิ ในมนุษยโลก มอี ยู่ ๓ ประเภท ดว้ ยกัน
จากเร่ืองกฎแหง่ กรรมและโลกน-ี้ โลกหนา้ ทำใหเ้ ราเชา้ ใจชดั วา่
การถือกำเนิดทงั้ ๓ ประเภทดงั กล่าว ขึ้นอยกู่ ับกรรมทีแ่ ต่ละชีวติ
เคยสร้างไว้ คอื มกี รรมเป็นกำเนิด กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและ
ประณีตได้

การถอื กำเนดิ นอกมนุษยโลก
สมณพราหมณห์ รอื บคุ คลผูป้ ระพฤตดิ ีปฏิบ้ตชอบ มใี จผ่องใส

1แไ1ฟ8่ ^น1^

สว่างโพลงอยู่เปน็ นจิ ท่มุ เทชีวิตทำภาวนาจนกระทง่ั บรรลญุ าณทสั สนะ
หรือมีตาทิพย์ในระดบั ตา่ ง ๆ ทา่ นสามารถเหน็ การถอื กำเนดิ ของสตั วโลก
นอกมนุษยโลกไดอ้ ย่างชดั เจน ท่านไดร้ ไู้ ด้เหน็ วา่ ยงั มกี ารเกิดอีก
ประเภทหนง่ึ ซึ่งเกดิ จากอำนาจของกรรมท่มี นุษยท์ ่าไวม้ ากเปน็ พิเศษ
ถึงข้นั อุกฤษฏท์ ีเดียว อกี ทง้ั กระบวนการเกิดก็แตกตา่ งจากท้ัง ๓
ประเภทในมนษุ ยโลกโดยสิน้ เชงิ คือเกิดปบั โตปบั ทนั ที โดยมีกรรมเป็น
ท้ังผ!ู้ 'หก้ ำเนิดและผปู้ ระดบั ประคองดแู ล เม่ือถงึ คราวตายก็ไม่มีซากศพ
เหลอื ให้เหน็ คือตายปบั สลายปับทันทเี ซน่ กนั การเกดิ ประเภทท่ี ๔ น้ี
ไมส่ ามารถใช้เครือ่ งมอื วทิ ยาศาสตรใ์ ด ๆ ส่องดูได้

กลา่ วคอื บคุ คลใดก็ตามที่ได้สรา้ งแต่กรรมดไี วม้ ากมาย (สั่งสม
บญุ ไวม้ าก) เม่อื ละโลกนี!้ ปแลว้ ก็จะถือกำเนดิ ในสักษณะเกิดปับโตปับ
ในสถานท่แี สนสุขสบาย ยง่ิ กวา่ ในโลกมนษุ ย์ ซึง่ สมมตุ ซิ ่อื ว่า สวรรค์
(หรือโลกสวรรค์) มรี ูปกายเป็นทิพย์ สวยงาม เปน็ เทพบตุ รกม็ ี เทพธดิ า
กม็ ี สวรรค์มถี ึง ๖ ขนั้ แต่ละข้นั งามวิจติ รตระการตาไมเ่ ทา่ กัน ใคร
จะไดไ้ ปบังเกิดในข้นั ไหนๆ กรรมจะเป็นผจู้ ัดสรรให้อยา่ งเป็นธรรม จะถือ
วา่ เป็นการไปพกั ผ่อนระยะยาว หรอื รับรางวลั แห่งการท่าความดกี ็ได้

สำหรบั บุคคลใดกต็ ามทสี่ ร้างกรรมข้วั ไวม้ าก(สัง่ สมบาปไวม้ าก)
เมือ่ ละโลกน้ใี ปแล้ว ก็อาจจะถอื กำเนิดเปน็ สัตว์ติรจั ฉานอยูใ่ นมนษุ ยโลก
แตผ่ ทู้ ส่ี ร้างกรรมขวั้ ไวม้ ากมายนักเกนิ กว่าโลกน้ีจะร้บได้(สะสมบาปไวม้ าก
มาย) เมื่อละโลกน้ี!ปแลว้ ก็จะถอื กำเนิดใหมใ่ นลกั ษณะเกดิ ปับโตปับ
ในสถานทีอ่ ันแสนจะทกุ ขท์ รมานทีม่ กี ารลงโทษทัณฑ์อยา่ งสดุ แสนหฤโหด
สุดจะนับจะประมาณมีได้ สถานที่สำหรับใหส้ ัตวโลกซงึ่ ทา่ ความขวั้ ไป

เขา^นใจ

ถอื กำเนิดนน้ั สมมตุ ซิ อื่ ว่า อบาย หรอื อบายภมู ิ ซ่งึ แบง่ ออกเป็น ๔ ภมู ิ
หรอื ๔ เขตดว้ ยกนั เรียงลำดบั ตามโทษหนักลงมาถงึ โทษเบา ดงั นีค้ ือ
๑) นรก ๒) เปรต ๓) อสรุ กาย ๔) ติรัจฉาน ๓ ภูมแิ รกอยนู่ อก
มนษุ ยโลก สว่ นภมู ทิ ่ี ๔ คือ ติรจั ฉาน อยูใ่ นมนุษยโลกนี้

ความหมายของ “ สัตวท์ ่ผี ดุ ข้ึนเกิด”

การถอื กำเนิดนอกมนษุ ยโลก แบบเกดิ ปับโตปับ ท้ังในโลก
สวรรค์และในอบาย ทา่ นเรียกว่า “สตั วท์ ผี่ ดุ ขึน้ เกดิ ” ซ่งึ มีคำศพั ท์ทาง
ธรรมว่า “โอปปาติกะ” หรือ “อปุ ปาติกะ”

โอปปาติกะ ที่ผุดเกิดขน้ึ ในโลกสวรรค์ก็ซื่อว่า ไดเ้ กิดใน “สุคต”ิ
คอื เกดิ ในสถานทท่ี ่ดี ี โอปปาติกะในสุคตมิ ีซ่อื เรยี กว่า เทพบุตร เทพธิดา
ส่วนโอปปาตกิ ะ ท่ีผดุ เกดิ ข้ึนในอบาย กซ็ ือ่ ว่าไดเ้ กดิ ใน “ทคุ ต”ิ คือเกดิ
ในสถานที่ไม่ดี โอปปาตกิ ะในทคุ ตมิ ีซ่ือเรียกวา่ สัตวน์ รก เปรต อสรุ กาย

สภาพชีวิตในสคุ ติ

สคุ ติ คอื อะไร

คำว่า “สคุ ติ” หมายถงึ สถานท่ที ด่ี ที ี่ใครได้อย่แู ลว้ ยอ่ มเปน็ สุข เปน็
สถานทีท่ ่ีสัตวโลกซ่ึงทำกรรมดีจะไปถอื กำเนดิ ใหม่ หลังจากอำลาโลกน้ี
ไปแล้ว ได้แก่ ๑)โลกมนุษย์ และ ๒) โลกสวรรค์ ผทู้ ี่สรา้ งกรรมดี
พอประมาณ ปราศจากกรรมช่ัวหรอื มีกรรมช่ัวเพียงเล็กนอ้ ย ก็อาจจะ
ไดถ้ ือกำเนิดใหม่ในโลกมนษุ ยอ์ ีกทนั ที

ส่วนผ้ที่สร้างกรรมดไี ว้มากเปน็ พเิ ศษ กจ็ ะได้โอกาสถือกำเนิด

ใหมแ่ บบโอปปาติกะในโลกสวรรค์ เสวยทิพยสขุ เป็นเวลานานแสนนาน
อย่างนอ้ ยทีส่ ดุ ในสวรรคช์ น้ั ท่ี ๑ กม็ ีอายยุ าวนานถึง ๔๐๐ ปที พิ ย์
(= ๙,๐๐๐1๐๐๐ ปีมนษุ ย์) และอยา่ งมากท่ีสดุ ในสรรค์ชัน้ ที่ ๖ กม็ อี ายุ
ยาวนานถง ๑๖,๐๐๐ ปทพย (= ๒๘๘,๐๐๐,๐๐๐ ปมนษุ ย) ๒๐

บรรดาเทวดานางฟา้ ทงั้ หลายเม่อื หมดบญุ หรือหมดผลแหง่ กรรม
ดีแลว้ กจ็ ะตาย(จุต)ิ ร่างกจ็ ะสลายแลว้ หายลบั ไปทนั ที เม่อื มาเกิดใหม่
อีก สว่ นมากกจ็ ะได้เกิดในโลกมนษุ ย์ แตจ่ ะเกดิ ในตระกูลสูงหรอื ดร ก็
ข้นึ อยกู่ ับกรรมดีท่ีทำไวก้ ่อนไปเกดิ ในสวรรค์ (แต่บางคนอาจจะตอ้ งไป
เกิดในอบายตอ่ ไป เพราะกรรมช้วั ท่เี คยทำไว้ก่อนไปทงั เกดิ ในสวรรค์
ชิงให้ผล ก็เปน็ ได้ทงั้ ส้นิ )

สภาพชีวติ ในทุคติ

ทคุ ติ คอื อะไร

คำว่า ทคุ ติ หมายถึงสถานทีท่ ่เี ต็มไปดว้ ยความทกุ ข์ ท่ลี ดั วโลก
ซง่ึ ทำกรรมชั้วจะไปถอื กำเนดิ ใหม่หลงั จากละโลกนเ้ื ,ปแล้ว ได้แก่ สัตวน์ รก
เปรต อสรุ กาย และสัตว์ตริ ัจฉาน การแบ่งภมู ติ ่างๆ ในทุคตอิ าจเปรียบ
ไดก้ บั การแบง่ แดนต่างๆ ในเรอื นจำ ซึ่งแบง่ แดนกกั ขงั นกั โทษตาม
โทษานุโทษของแต่ละคน

ลัดวโลกที่เกิดแบบโอปปาตกิ ะในทคุ ตภิ มู ิท้ัง ๓ คอื นรก เปรต
และอสุรกายนัน้ ตอ้ งไดร้ บั โทษทณั ฑ์ตลอดเวลาทีอ่ ยใู่ นทคุ ติ ภมู ทิ ี่ต้องรับ
โทษทัณฑห์ นกั ที่สดุ และมรี ะยะยาวนานทส่ี ดุ ก็คอื นรก ซึ่งมรี ะยะเวลายาว

bo อโุ ปสถสตู ร อัง. ดกิ . มก. ๓๔/๙๑๐/๓๙๐

ไไปร!f iu i ^

นานกว่าชีวติ ในสรวงสวรรค์อยา่ งเทยี บกนั ไมไ่ ดเ้ ลย เชน่ อายสุ ัตวน์ รก
ในมหานรกขุมท่ี ๑ซึ่งสั้นทส่ี ุด (มอี ายุถึง ๔๐๐ปี หรือ เท่ากับ ๑1๖๒๐,๐๐๐
ลา้ นปีมนุษย์ (๑ วันในนรกขุมนี้ = ๙ ลา้ นปีมนษุ ย์) และอายสุ ตั ว์นรกใน
มหานรกขุมท่ี ๘ (อวีจนิ รก) ซง่ึ ยาวทส่ี ดุ มีอายถุ งึ ๑ อันตรกัป ของ
มนษุ ย์ ๒° (๑ อันตรกัป คอื ระยะเวลาที่นบั จากอายุเฉลยี่ ของมนษุ ยด์ ้น
กปั ซ่งึ ยาวนานเป็นอสงไขยปี (อสงไขยปมี ีคา่ เทา่ กบั เลข ๑ ทมี่ ีเลขศูนย์
ต่อท้ายอกี ๑๔๐ ตวั ) แลว้ ลดลง ๑ ปี ทกุ ๆ ช่วง ๑๐๐ ปี จนกระท่งั อายุ
เฉลี่ยของมนษุ ย์ลงมาถงึ ๑๐ ปี กจ็ ะไม่ลดลงอีก แต่จะกลับเพมิ่ ข้ึน ๑ ปี
ทกุ ๆ ช่วง ๑๐๐ ปี จนกระทงั่ อายุเฉล่ียของมนุษยข์ ้นึ มาถงึ อสงไขยปี
ตามเดมิ )toto

สตั ว์ในทุคตภิ มู ทิ ีห่ มดโทษทัณฑ์แล้ว กจ็ ะไดก้ ลบั มาเกดิ เปน็ มนษุ ย์
ในมนษุ ยโลกอีก แตส่ ่วนมากก็จะเกิดในสกุลดร ยํ่าแย่ มสี งิ่ แวดล้อม
ทช่ี กั จูงใทส้ ร้างกรรมชั่วได้มากกวา่ กรรมดี ครน้ั เมือ่ ละโลกนโ้ี ปแลว้ ก็
มักจะกลบั ไปสวู่ งจรเดมิ อีก ทำนองเดียวกับวงจรของดริ จั ฉานต่างๆ เช่น
พวกแมลง พวกผเี ส้ือ เปน็ ดน้ หนทางทจี่ ะประสบความสุขอันไพบูลย์
หรือความหลุดพน้ นนั้ ไกลสดุ เอ้ือม

โลกมนษุ ยเ์ ป็นแดนสคุ ติ
ทำไมโลกมนุษย์จงึ เปน็ สุคติ

เพราะเป็นสถานทีแ่ หง่ เดยี วสำหรับสร้างกรรมได้เดิมท่ีใม่วา่ ดี

to* อบุ าสสิ าถวลิ วต้ ริ างถลู ะเ7าคีอใคร หน้า ๓๐-๓©
toto พระพรหมโมลี (วลิ าศ ญาณวโร ป.ธ.๙) : มนุ ีนาถทปี พี หนา้ ๒๙-๓๐ พ.ศ.๒๔๔๔

wntiiatfiuL^i

หรือชัว่ ของคนเรา ได้กล่าวแล้วว่าผู้ท่ีสง่ั สมกรรมดหี รอื บญุ กศุ ลไว้มาก
มาย ยอ่ มจะไปบงั ๓ ดเปน็ เทวดา นางฟา้ ในโลกสวรรค์ ไดเ้ สวยความ
สขุ สุดจะนับจะประมาณ นน่ั ก็เปน็ เสมอื นหน่งึ การเดินทางไปรับรางวัล
แหง่ ความดีท่ีทำไว้ และไดม้ โื อกาสพกั ผอ่ นหย่อนใจเป็นเวลานานเปน็
พิเศษอีกด้วย ขณะท่เี หล่าเทวดา นางฟ้าเสวยทพิ ยสขุ อยบู่ นสวรรค์ ก็
ไม่มโื อกาสสร้างกรรมดีเพ่ิมเติม เพราะองค์ประกอบแหง่ ทพิ ยกายไม่
อำนวยประการหนงึ่ ประกอบกับไมม่ กื ารเรียนการสอนพระธรรมวินัย
ของพระสมั มาสัมพุทธเจ้าไนสวรรค์ เปน็ ประการทส่ี อง เทวดา นางฟา้
เหลา่ นเี้ ปรยี บเสมอื นเศรษฐที น่ี ่ังกินนอนกิน นานไปเงนิ กุงเงนิ กังย่อม
ร่อยหรอลง และหมดไปไนทสี่ ุด คร้นั เม่อื กาลเวลาแหง่ การเสวยผลบญุ
สิน้ สดุ ลง เทพท้งั หลายก็จำเป็นตอ้ งจุติ สว่ นจะมาเกดิ เป็นมนุษย์อกี หรือ
ไม, ก็ขึน้ กับผลกรรมทท่ี ำไว้สบัยเป็นมนษุ ย์

สว่ นสตั วโลกท่ีพ้นโทษทณั ฑจ์ ากอบายภมู แิ ลว้ กม็ ืโอกาสกลบั มา
เกิดเปน็ มนษุ ยอ์ ีกเหมือนกนั แด,ทว่ามแี นวโนม้ ที่จะได้เกิดในสกุลดร

มนุษยโลก จงึ เป็นเสมอื นศูนย์กลางแห่งการทำกรรมดีกรรมชัว่
ทัง้ ปวง เน่อื งจากมนษุ ยม์ ืรปู กายแข็งแรงทรหดอดทนเหมาะแก่การ
สร้างกรรมดที ุกรปู แบบ มนุษย์ทัง้ หลายยอ่ มมโี อกาสพง้ พระธรรมเทศนา
ของพระตถาคตเจ้าโดยตรง หรือจากพุทธสาวก ส่วนเหลา่ เทวดา นางฟ้า
และสัตวโลกไนอบายไมม่ โื อกาสเลย นอกจากนโ้ี ลกนีก้ ย็ งั เปน็ แหล่ง
พกั พงิ ของสัตวโลกมากมาย ท่เี อ้อื ให้มนษุ ยม์ ีโอกาสสัง่ สมบุญดว้ ยการ
ทำทาน คอื การแบง่ บัน การสงเคราะห์ การบูชาบคุ คลทค่ี วรบูชา การ
ถวายทานแก่พระภิกษสุ งฆ์ และทกั ขิไณยบุคคล ตลอดจนการแสดงความ

เขาษ1*เนใจ

กดัญฌตู อ่ มารดา บิดา ครูอาจารย์

ใครกต็ ามทีม่ บี ญิ ญา คือ มีสมั มาทิฏฐทิ ง้ั ๘ ประการดงั กล่าวมา
แล้วเป็นอยา่ งนอ้ ย รจู้ กั สั่งสมบุญไว้มากๆ งดเว้นจากบาปทงั้ ปวง เม่อื
หมดอายุขยั ละโลกน!ี้ ,ปแล้วก็มีโอกาสเดินทางไปรับรางวัล คอื เสวยผล
บุญในสุคติโลกสวรรคซ์ ํา้ อีก เปน็ วงจรไม่รจู้ บ

สำหรบั ผู้ทพี่ น้ โทษมาจากอบาย ถา้ ได้มาเกิดเปน็ คนอกี แมจ้ ะ
มแี นวโน้มวา่ จะได้เกดิ ในสกลุ ดร แต่ถา้ มโี อกาสพบกลั ยาณมิตร ซ่ึง
อาจเป็นครูอาจารย์ หรอื พระภกิ ษุสงฆ์ คอยช้แี นะ สง่ั สอนอบรมสัมมา
ทิฏฐทิ ้งั ๙ ประการน้ี1ห้ ก็จะสามารถทำบุญทำทาน และสงั่ สมกรรมดี
เป็นบญุ สัง่ สมไวใ้ นใจอยูเ่ นอื งๆโดยไม่ข้องแวะกบั การทำกรรมชวั่ ก่อบาป
อกุศลใดๆ กส็ ามารถเอาตวั รอดได้ คือเม่อื ละโลกนี้!ปแล้ว ย่อมไปเสวย
สขุ อยใู่ นสุขคติโลกสวรรค์ เพราะเหตุนโ้ี ลกมนษุ ย์จึงซื่อว่าเป็น แดนสคุ ติ

ใครกต็ ามทีโ่ ชคดไี ดเ้ กดิ เป็นมนษุ ยแ์ ลว้ ไม่วา่ จะเกดิ ในสกุลสูงหรอื
ตา หรอื พิกลพิการ อยา่ งไรก็ตาม พึงพยายามแสวงหากลั ยาณมติ ร
เพื่อใหท้ า่ น แนะนำอบรมศลี ธรรม กจ็ ะมโี อกาสส่งั สมบญุ ตลอดชวี ติ
เพื่อไมด่ อ้ งย้อนกลบั ไปรบั โทษทัณฑอ์ นั หฤโหด สดุ แสนยาวนานใน
อบายอีก

สาเหตุทคี่ นเราประมาท

ความประมาท คืออะไร

คำวา่ “ประมาท” โดยรูปศัพทห์ มายถึง ความเปน็ อยอู่ ยา่ งขาด
สติ ความปลอ่ ยปละละเลย อนั เป็นเหตใุ ห้คนเราทำความผิดพลาดเสยี หาย

ตลอดจนละเลยโอกาสท่จี ะทำเหตแุ ห่งความดี และความเจริญ

สำหรบั “ประมาท” ทใี่ ชในทางธรรม โดยท่วั ไปจะหมายถึง การ
ไม่สนใจใฝร่ ้ธู รรมอย่างจรงิ จัง อันเปน็ เหตใุ หค้ นเราประพฤตผิ ดิ ศีล ผดิ ธรรม
ตกอยู่ใตอ้ ำนาจกเิ ลส เห็นผิดเป็นชอบดว้ ยประการตา่ งๆ คือเป็นมจิ ฉา
ทิฎฐิน่ันเอง

ไตก้ ล่าวแลว้ วา่ บรรดาโอปปาติกะ (โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ สัตว์นรก)
เมือ่ การถูกลงโทษทณั ฑ์ในนรกจบสน้ิ ลง กจิ ะจตุ จิ ากนรกไปเกิดมชี วี ิต
ใหม่ แมโ้ ทษทณั ฑใ์ นนรกจะจบสน้ิ แลว้ แต่กจิ บเฉพาะกรรมหนักเท่านนั้
ยังมเิ ศษกรรมหลงเหลอื ตดิ อย่มู ากบ้างน้อยบ้าง ทำนองเดียวกบั มือท่ี
ฟอ้ นอาจม แม้ล้างน้าั แล้ว กิยังมกื ลนิ่ เหมน็ ติดอยู่

ในบรรดาสตั วโลกทจ่ี ุตจิ ากนรกทม่ี เื ศษกรรมตดิ อยูม่ าก กจิ ะไป
ถือกำเนดิ เปน็ สตั วต์ ริ ัจฉาน สว่ นพวกทีม่ ็เศษกรรมเหลอื อยู่น้อย กจิ ะ
ไปถอื กำเนิดเปน็ คนทพุ พลภาพ บ้ญญาอ่อน หรอื เกดิ ในสกลุ ตา่ํ ยากจน
ขน้ แคน้ รูปรา่ งหนา้ ตาอัปลักษณ์ ขีร้ ว้ิ ข้ีเหร่ ฯลฯ หรือในบรรดาสตั วโลก
ที่สั่งสมบญุ กศุ ลไวม้ าก ไต้ไปถอื กำเนดิ แบบโอปปาติกะอยูใ่ นโลกสวรรค์
เมือ่ หมดบุญจากสวรรค์แลว้ กจิ ุตลิ งมาเกดิ ในโลกมนุษย์ ในตระกลู สงู
เป็นผูม้ โื อกาสดีในสังคม

กลไกแหง่ การเวียนวา่ ยตายเกิดดงั กลา่ ว มนษุ ยโ์ ดยทว่ั ไปไม่
สามารถรเู้ ห็นไต้ดว้ ยตาของตนเอง ทำใหไ้ ม่สามารถเห็นวงจรท่คี รบ
สมบรณท์ ้ังฝา่ ยกรรมดีและกรรมชวั่ แมจ้ ะมผี ้หู วงิ ดีหรอื มีกัลยาณมติ ร
มาบอกเล่ากิไมเ่ ชื่อ (บางคนทีม่ สื ติบญ้ ญากิพยายามหาวิธพี ิสจู น์ ดว้ ย

เบาษ0^ใจ

การศึกษาและปฏบิ ้ตธิ รรม) บางคนที่หัวก้าวหน้าแต่หลงตนวา่ เปน็ คน
เกง่ ก็นำวิธกี ารทดลองในหอ้ งวทิ ยาศาสตรม์ าใช้พิสจู น์ แนน่ อนเขาย่อม
ไม่พบความจริง(เนอ่ื งจากวิธีการทดลองเซน่ นัน้ ใช้โมไ่ ดก้ ับกลไกแหง่ วงจร
ของกิเลส กรรม และวบิ าก) เมือ่ ไมพ่ บความจริงก็ไมย่ อมเช่ือ แต่แห้ทจ่ี ริง
ผคู้ นสว่ นใหญ่กไ็ ม่ได้พยายามหาทางพิสจู น์อะไรทั้งสิน้ คดิ แคเ่ พยี งวา่ เม่อื
ไมร่ ูไมเ่ ห็นก็ไมเ่ ช่ือ จงึ ขาดโยนิโสมนสกิ าร อันเปน็ เหตุให้ คิด พดู และ
ทำสง่ิ ต่างๆ ดว้ ยความมกั งา่ ย ตั้งตนอยใู่ นความประมาท ดว้ ยการ
ประพฤตผิ ดิ ศลี สรา้ งกรรมชว่ั อยเู่ นืองๆ

กลา่ วไดว้ า่ การเห็นวงจรแห่งกรรมดแี ละกรรมช่วั ไม่ครบบริบรู ณ์
นั้นเอง ท่ที ำใหค้ นเราตัง้ อยู่ในความประมาท มพี ฤติกรรมเป็นคนมิจฉา-
ทิฎฐกิ ันเตม็ บา้ น เตมิ เมืองและเติมโลก เชา้ ลกั ษณะตัวเองตกนรกคน
เดียวไม่พอ อังจะดงึ คนอนื่ ๆ ให้ตกตามไปอกี ดว้ ย

เพชรในดวงใจ

ไดก้ ลา่ วแลว้ วา่ มีสมณพราหมณ์ และบคุ คลทป่ี ระพฤตดิ ปี ฏิบ้ติ
ขอบ สามารถรู้เห็นการถือกำเนดิ แบบโอปปาติกะ นนั้ คือสามารถรเู้ ห็น
วงจรทีส่ มบูรณแ์ หง่ กลไกการทำงาน หรอื การออกผลของท้ังกรรมดี
และกรรมชว่ั ทำให้เกิดปญั ญา และความเชา้ ใจถูกต้องเก่ยี วกบั เรื่องโลก
และความเปน็ ไปของชีวิตตามเป็นจรงิ เพราะฉะนนั้ ใครกต็ ามที่สนใจ
ใฝ่รูว้ งจรทีส่ มบรู ณ์แหง่ การออกผลของกรรม ตังเซ่นสมณพราหมณ์
และบคุ คลทปี่ ระพฤติดปี ฏิบต้ ชิ อบตังกลา่ ว กย็ ่อมสามารถ?เกฝนตนเอง
ให้เกดิ ปัญญารู้แจ้งเซ่นนนั้ ได้เหมือนกัน

ทำไมคนเราจงึ จำเปน็ ต้องมปี ัญญารูแจง้ เช่นนัน้

ทงั้ น้ีกเ็ พ่อื ไมให้ต้งั ตนอยู่ในความประมาท ประพฤติตนทศุ ลี ซ่ึง
ไมใ่ ชเ่ พยี งแคเ่ สยี่ งคกุ ตะรางเทา่ น้นั ยงั เสยี่ งต่อนรกอีกต้วย

จะตอ้ งทำอย่างไรปญั ญาเแจ้งจงึ จะเกดิ ขึ้น

โดยหลกั การกค็ ือ การทำใจใหผ้ ่องใสยงิ่ ๆ ขึ้นไป เน่อื งจากใจคน
เราตัง้ แตเ่ กดิ มาเปน็ ทารกแตกต่างจากสัตวต์ ิรจั ฉานอยา่ งมาก คือใส
เหมือนเพชร และมคี วามสวา่ งอยใู่ นตัวเหมอื นดาวฤกษ์ ตงั ท่ที า่ นกลา่ ว
กนั วา่ ประภสั สรตามธรรมชาติอยู่แลว้ แตเ่ ม่อื ไม่ไตร้ บั การ?เกอบรม
เลี้ยงดอู ย่างถูกต้องเหมาะสม คร้ันนานไป ใจทีเ่ คยใสสวา่ งกจ็ ะกลบั กลาย
เปน็ ใจท่ีมีดมิดด้วยอำนาจกเิ ลส ตงั นั้นถา้ ร้จู กั วธิ แี ละขจดั ปดั เปา่ กิเลส
ออกไปใจกจ็ ะกลับใสเหมอื นเตมิ หรือยงิ่ กว่าเติม เสมือนหน่ึงมเี พชรอยู่ใน
ดวงใจ

ใจคนเราจะผ่องใสไตจ้ ะต้องเรม่ิ จาก ๑) ละชวั่ ทง้ั ปวง ๒) ทำความ
ดใี หถ้ ึงพรอ้ ม และ ๓) ทำใจให้หยดุ น่งึ อยู่ภายใน

การละชั่วทั้งปวง กค็ ืองดเวน้ กรรมช่วั ท้งั ทางกาย วาจา และใจ
ในข้ันต้นก็ละชว่ั ดว้ ยการรักษาศีลใหบ้ รธิ ุทธิ้ บรบิ ูรณ์

การทำความดีให้ถึงพรอ้ มนน้ั มขื อบขา่ ยกวา้ งขวางมากนบั ตง้ั แต่
การทำทานในลกั ษณะแบ่งปนั ในลักษณะลงั คมสงเคราะห์ การลกั การะ
บชู าบคุ คลที่ควรบชู า การถวายทานแก่สมณพราหมณผ์ ้ปู ระพฤตดิ ี
ปฎปิ ต๋ ชิ อบการแสดงความกตัญฌกู ตเวทีต่อบุพการี ด้วยการเอาใจใส่
รบิ ใช้เลี้ยงดูเปน็ อย่างดี ตลอดถงึ การศกึ ษาพระธรรมคำส่ังสอนของพระ

เขาษ9^ใจ

สมั มาสมั พทุ ธเจา้ มเี รื่องกฎแหง่ กรรมเป็นเอก
เมื่อละชว่ั ท้งั ปวงแลว้ ทำความดีใหถ้ งึ พร้อมแลว้ ก็ทำภาวนาให้

ยง่ิ ๆ ขึน้ ไป จนกระทัง้ ใจหยุดนง่ิ ใจกจ็ ะผ่องใสไปตามลำดับๆ
เม่ือใจผ่องใสเดมี ที่ ใจกจ็ ะสว่างโพลงทำให้สามารถเหน็ วงจร

แห่งการทำงานของทง้ั กรรมดแี ละกรรมชวั่ ได้อย่างสมบรู ณช์ ดั เจน ซงึ่
จะทำใหเ้ กดิ ความรแู้ จ้งเร่ืองสตั วผ์ ุดเกิดข้ึน หรือโอปปาติกะตามเปน็ จรงิ

ตุณประโยชนข์ องการเรียนรูเ้ รื่องโอปปาตกิ ะ

ทำไมคนเราจงึ จำเป็นด้องเรียนรูเ้ รื่องโอปปาตกิ ะ
มีเหตุผลอยหู่ ลายประการ ทีค่ นเราทกุ คนจำเป็นดอ้ งเรียนรู้
เรื่องโอปปาติกะ แต่เหตผุ ลลำดัญยง่ิ มอี ยู่ ๒ ประการ คอื
๑) ความรู้เรื่องนีม้ ีคุณปู การอย่างย่งิ ต่อการพฒั นาหริ โิ อตตัปปะ
คือทำใหเ้ กดิ ความอายบาปกสัววิบากของบาปขึ้นในใจ ในที่สุดกจ็ ะทำให้
ไม่ยอมทำชั่วใด ๆ แมมี ีโอกาสและไม่มีใครร้เู ห็นเปน็ พยาน
๒) ความรเู้ รอ่ื งนม้ี คี ณุ ปู การอยา่ งยิ่งตอ่ การพัฒนากำลังใจใน
การสรา้ งบญุ กุศลของคนเรา ในทธ่ี ุดกจ็ ะตั้งใจสร้างบุญบารมี เพอื่ กำจดั
กเิ ลสใหห้ มดส้ินไป จะได้พน้ จากการเวยี นวา่ ยตายเกดิ บรรลมุ รรคผล
นิพพาน

หริ โี อตตัปปะเสมอื นห้ามล้อทท่ี รงประสิทธิภาพ
ยานพาหนะตา่ งๆ เซ่น รถยนต์ ขณะทีแ่ ล่นไปตามหอ้ งถนนดว้ ย

1โ1ไไ\10^น1^

ความเร็วสงู หากมีเหตกุ ารณ!ดๆ เกิดข้ึนขวางหน้ากะทนั หัน ปจั จัย
สำคญั ยงิ่ ท่ีจะเอือ้ อำนวยใหผ้ ขู้ ับแตล่ ะคน สามารถควบคุมรถยนตแ์ ตล่ ะคัน
ใหป้ ลอดภ้ยจากอบุ ตเิ หตไุ ด้ กิคอื ห้ามล้อทท่ี รงประสิทธภิ าพ หาไม่แล้ว
การสูญเสียท้ังชีวติ และทรพั ย์สิน จะดอ้ งเกิดข้ึนเป็นโศกนาฏกรรมอยา่ ง
ไมม่ ีทางเลี่ยงไดเ้ ลย

ขอ้ น้ีฉันใด หิริโอตตปั ปะกฉิ ันนั้น คือจะทำหน้าทเี่ สมอื นหา้ มล้อ
สะกดคนเราใหห้ ยุดนิ่ง ไมก่ า้ วล่วงไปทำบาปทำช่ัว เมื่อถกู บีบคน้ั หรอื
ถกู ยั่วยจุ ากสภาพเหตุการณแ์ วดล้อมต่าง ๆ

การทำหนา้ ที่ของหริ ิโอตตปั ปะ

หิรโิ อตตัปปะมกี ระบวนการสะกดใจคนเราไมใ่ ห้ทำชัว่ ไดอ้ ย่างไร

การทำหนา้ ทีข่ องหริ โิ อตตปั ปะ อาจแบง่ ไดเ้ ปน็ ๒ ลกั ษณะ คงั นี้

๑) ในกรณที ่ีถูกบีบค้นั จากภายนอก การที่เราอยู่ในลังคม ดอ้ ง
เกย่ี วขอ้ งคับผคู้ นเปน็ อนั มาก โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในลังคมธุรกจิ และการ
เมอื ง ยอ่ มมโี อกาสท่ีคนเราจะขดั ใจคนั ขดั ผลประโยชน์คัน อิจฉาริษยา
คัน เปน็ คูแ่ ขง่ ชิงดชี งิ เดน่ คัน ก้าเราดอ้ งพบเจอเกยี่ วข้องคับคนพาล กิ
อาจมีการวิวาทบาดหมางคันรนุ แรงถึงขน้ั ทำลายลา้ งชวี ติ และทรพั ย์สนิ คนั

ใครกิตามทมี่ ีหิริโอตตปั ปะ เม่อื ต้องประสบคบั ความทุกขค์ วาม
เดอี ดร้อน ทั้งกายและใจอยา่ งแสนสาหัสจากการกระทำของคพู่ ิพาทท่ี
เป็นคนพาล เขน่ บดิ า หรือบตุ รของเขา ถูกค่พู พิ าทฆ่าตาย สิง่ แรกที่
เขาจะต้องทำให้ได้ คอื อดทน ไมต่ อบโตด้ ้วยวธิ กี ารรนุ แรง ชนดิ ตาต่อ
ตา ฟนั ตอ่ ฟนั แตเ่ ขาจะคดิ หาทางแกไ้ ขปัญหาดว้ ยลันดวี ธิ ี ทง้ั น้ีเพราะ

I t l ไใปเu i^

เขารดู้ วื ่า การตอบโต้ดว้ ยวิธีรุนแรงถึงขนผิดศลี เชน่ ฆา่ หรอื ส่งั ฆา่
คู่พิพาทเปน็ การแกแ้ ค้น ฯลฯ เขาจะต้องถกู ลงโทษทณั ฑใ์ นอบายหลงจาก
ละโลกน้!ี ปแล'้ ว (แม้ในโลกนีก้ ็ยากทจ่ี ะรอดพน้ มือกฎหมาย) อย่างสุด
แสนหฤโหดยิ่งกวา่ และเปน็ ระยะยาวนานกว่าทเี่ ขาไต้รับความเดอื ดร้อน
จากการกระทำของค่พู ิพาทนบั ด้วยแสนเทา่ ลา้ นเทา่ ทเี ดยี ว ทั้งนเี้ พราะ
กรรมวิธีลงโทษในอบายน้นั โหดเหี้ยม และวติ ถารเกินกว่ามนุษยแ์ ละ
เทคโนโลยใี ดๆ จะทา่ ไต้ อีกท้ังระยะเวลาทนทกุ ขใ์ นอบายกแ็ สนยาว
นานเทยี บกับโลกมนุษย์ไม่ไต้เลย

๒) ในกรณีที่ถูกย่วั ยุหรอื เย้ายวนจากภายนอก ดังเชน่ สภาพ
สังคมปจั จบุ ัน ซง่ึ เต็มไปดว้ ยอบายมขุ ตา่ งๆ เกลอ่ื นเมอื ง ใครกต็ ามที่มื
หริ ิโอตตัปปะเขาก็จะสามารถสะกดตนเองไตไ้ มใ่ ห้ตกอยใู่ ต้กิเลสทม่ี าย่วั ยุ
เยา้ ยวน เพราะเขาจะร้ดู วื า่ ความสนกุ สนาน อันเกดิ จากอบายมขุ ต่างๆ
เปน็ เพยี งความเพลดิ เพลินช่วั ครชู่ ั่วยาม ซ้ํารา้ ยกวา่ นั้น อบายมขุ
เหล่านีถ้ มเท่าไรกไ็ มม่ วื ันเตม็ ลา้ เขาถลำตัวเข้าไปพัวพนั ก็จะมืความ
ช่ัวอย่างอนื่ ตามมาอีก ล้าเขาไม่สามารถหักห้ามใจ การประพฤติผดิ ศีล
กจ็ ะตามมา นนั้ คือ มีแนวโนม้ ที่จะไปล่ทุคติ อยา่ ว่าตอ้ งถงึ ขนาดตกนรกเลย
แคเ่ พยี งตอ้ งเกดิ เป็นสตั วต์ ิรัจฉาน ก็กลัวจนขนพองสยองเกล้าแลว้ เม่ือ
ติดไต้ตังนี้ เขากส็ ามารถหา้ มตนเอง ไม่ใหเ้ ขา้ ไปเกี่ยวขอ้ งกบั อบายมุข
และกรรมช่ัวต่างๆ ไต้สำเรจ็

ท้ัง ๒ กรณี คือ การท่าหน้าที่ของหิริโอตตปั ปะ ซง่ึ พฒั นามา
จากความรเู้ รอ่ื งโอปปาตกิ ะ

เซ'พ ใจ

ความแรอ่ื งโอปปาติกะมคี ุณูปการต่อการสงั่ สมบญุ

ความแรอ่ื งโอปปาติกะจะช่วยส่งเสรมิ ให้คนเราเกิดกำลังใจท่มุ เท
สร้างบญุ ใต้อยา่ งไร

ความร้เู รอ่ื งโอปปาตกิ ะภาคสคุ ติ จะเอ้ืออำนวยให้คนเราดำเนิน
ชวี ิตอยอู่ ย่างไม่ประมาท คือ นอกจากจะตงั้ ใจเรน้ ขาดจากกรรมชั่วแลว้
ยังมงุ่ มั่นสรา้ งแต่กรรมดี และทุ่มเททำใจให้ผอ่ งใสอกี ดว้ ย

ทัง้ นี้เพราะไดเ้ รียนรูแ้ ล้วว่า ความสุขในโลกมนุษย์อนั เกดิ จาก
ลาภ ยศ สรรเสรญิ และสุขอนั เกิดจากกามคณุ คอื รปู รส กลนิ่ เสยี ง
สัมผัสแมจ้ ะยาวนานกีว่ ัน กี่เดอื น กี่ปี ไม่ว่าจะไดม้ าจากการเป็นพระราชา
พระเจา้ จกั รพรรดิ หรือมหาเศรษฐี หรอื จะเป็นความสขุ ทีเ่ ลอเลศิ วเิ ศษ
สุดไดม้ าจากวธิ ใี ดๆ กต็ าม กไ็ มถ่ ึงหนง่ึ ในล้านสว่ นเม่อื เทยี บอับทิพยสุข
ในสรวงสวรรค์

ความรู้ความเขา้ ใจเชน่ นี้ ยอ่ มเป็นกำลงั ใจอย่างใหญห่ ลวง ให้
คนเราดำเนนิ ชวี ติ อยูอ่ ยา่ งไมป่ ระมาท คอื เร้นขาดจากกรรมช่ัวทั้งปวง
เชน่ ไม่ทำผิดศลี ไมเ่ กีย่ วขอ้ งอบายมุขไม่คอริปชั่นไม่ทำตวั เปน็ ผูม้ อี ทิ ธพิ ล
มิมิอเป็อนเลอื ด ฯลฯ แตท่ วา่ มุ่งม่ันทำแต่กรรมดี ไม่ว่าจะมีชอ่ งทาง
การทำความดอี ะไรกต็ าม มากน้อยเพียงไรก็ตาม เป็นต้องรบี ขวนขวาย
ไปสรา้ งบุญกุศลนั้นอยา่ งรวดเรว็ ไมร่ รี อและไมล่ งั เล แตจ่ ะทุ่มเททำอย่าง
เดีมกำลัง ทัง้ กำลังทรัพย์ กำลงั กาย กำลงั สตฟิ ญ้ ญา ตลอดจนกำลังพวก
พ้องญาติมิตร

แมโ้ นบางคร้ังจะพบอปุ สรรคขดั ขวางมากมายเพียงใด กไ็ มย่ ่อห้อ

1>ปไึ ไปรส์ใui^l

ไม่ทอดถอนใจ แตจ่ ะพยายามหาวิธฟี ันฝ่าอปุ สรรคนั้นๆ โดยเอาชวี ิต
เปน็ เดิมพัน ทำความดีไมห่ วน่ํ ไหว เพราะตระหนกั ดีว่าความดีทต่ี นทำ
แล้วในโลกน้ี จะส่งผลไห้ประสบสขุ อนั ประณตี ยาวนานหลายลา้ นๆ ๆ ๆ
ปี สดุ จะนบั จะประมาณในสรวงสวรรค์

โดยสรุปก็คอื ความร1นเรอื่ งโอปปาติกะ จะทำให้คนเราสอนตัว
เองได้วา่

ความชั่วแม้เพียงนอ้ ยนิด กม็ ีสิทธ๋ไิ ปนรก
แตค่ วามดีท่ีเราทำแม้น้อยนิด กม็ ีสิทธไ๋ิ ปสวรรคเ์ สมอ

ใครก็ตามที่เห็นวา่ “สตั วผ์ ดุ ขน้ึ เกิดมี (จรงิ )” ความเหน็ ของเขา
ช่อื ว่าเป็น “สัมมาทฎิ ฐิ” ในทำนองตรงขา้ ม ใครก็ตามทีเ่ ห็นว่า “สัตว์ผดุ
เกิดขน้ึ ไม่มี (จรงิ ),, ความเหน็ ของเขาช่ือวา่ เปน็ “มิจฉาทฎิ ฐ,ิ ,

สรปุ

สาระสำคัญของสัมมาทิฏฐอิ นั ตับที่ ๙ ะทว่ี ่าโอปปาติกะหรอื สตั ว์
ผดุ เกิดขน้ึ มี คอื โอปปาติกะมีจริง นรกและสวรรค์ซึ่งเปน็ ที่เกดิ ทอ่ี ย่ขู อง
เหล่าโอปปาตกิ ะกม็ จี รงิ ทั้งนรกและสวรรค์ตา่ งอยฟู่ ันจากโลกมนุษย์
และสายตามนุษย์ แตย่ ังไม่ฟันจากการเวยี นวา่ ยตายเกดิ ไม่ฟนั จาก
อำนาจกิเลส และไมฟ่ นั ทุกข์ ถอื วา่ เป็นสตั วโลกอีกประเภทหนึง่ ทย่ี ัง
ตกอยในความประมาท

1?1ใไป

๑๐. ความเหน็ เกย่ี วกับเร่อื งที่ว่า มีสมณพราหมณ์ผ้ปู ระพฤติ
ดปี ฏิบตั ิชอบ ชนดิ ที่ทำใหแ้ จง้ โลกนีโ้ ลกหน้าดว้ ยปัญญาอัน
ยิง่ เอง แลว้ สอนผ้อู ื่นใหร้ แู้ จ้งตาม

สมณพราหมณผ์ ปู้ ระพฤติดปี ฏบิ ตั ชิ อบ ชนิดทที่ ำให้แจ้งโลกน้ี
โลกหน้าดว้ ยปัญญาอนั ยิ่งเอง หมายถึงใคร และท่านมีความสามารถ
เช่นนน้ั ได้อยา่ งไร

ประการแรก สมณพราหมณ์ท่านน้นั ๆ ยอ่ มหมายถงึ พระ
อรหนั ต์

ประการที่สอง ความรู้แจง้ เรอ่ื งโลกนีโ้ ลกหนา้ ยอ่ มหมายถงึ
ความรู้แจง้ ในสงั สารวฏั คือการเวยี นว่ายตายเกิดน้นั เอง

ประการท่สี าม สาเหตุท่ที ่านมปี ัญญาวเิ ศษสามารถร้แู จ้งโลกนี้
โลกหนา้ ได้ ก็เพราะทา่ นตัง้ ใจท่มุ เทประพฤติดปี ฏิบต้ ซิ อบ ดว้ ยการละ
กรรมชั่วท้งั ปวง ทำกรรมดใี ห้ถงึ พรอ้ ม และทำใจใหผ้ ่องใสอย่างไม่
ลดละ เม่ือใจของท่านผ่องใสถงึ ข้นั สวา่ งโพลง เกิดทพิ ยจกั ษุตลอดจน
ธรรมจักษุ หรือญาณทสั สนะไปตามลำดับๆ ท่านก็สามารถเห็นแจ้งรู้
แจง้ โลกน้โี ลกหน้าได้ ตามความเป็นจรงิ ตลอดจนรูเ้ ห็นวิธ?ี เกอบรมตน
ใหพ้ น้ จากสงั สารวฏั ชัดเจนยง่ิ ขน้ึ หลังจากทา่ นพากเพียรกลนั่ ใจของ
ท่านใหผ้ อ่ งใสหมดจดย่ิงขึ้นไปไม่เลิกลา ในทีส่ ุดก็หมดกิเลสโดยเด็ดขาด
บรรลุสภาวะท่ีเรียกว่า อรหัตผลเป็น “พระอรหนั ต”์ มีแตค่ วามสุขอยา่ ง
ย่ิงไม่ต้องเวยี นวา่ ยในวฏั สงสารอีกต่อไป

จากถ้อยคำทว่ี ่า “ชนดิ ทีท่ ำใหแ้ จง้ โลกน้ีโลกหนา้ ดว้ ยปญั ญาอนั ย่ิง
เอง” อาจจะมีความหมายเปน็ ๒ น'ิ ย' คือ

L in ไปafluL^

นัยที่ ๑ ทำใหแ้ จ้งไดโ้ ดยไม่ต้องมิครอาจารยเ์ ลย ไนกรณนี ี้
สมณพราหมณ์ ผ้ปู ระพฤตดิ ีปฏบิ ต้ ชอบท่านนนั ๆ ย่อมหมายถงึ พระ
อรหนั ตสัมมาสมั พทุ ธเจ้าแต่ละพระองค์ ซ่งึ ทรงมาบงั เกิดในโลกมนุษย์
แตล่ ะยคุ ละสมยั และแต่ละยคุ กิจะมีเพยี งพระองค์เดียว

นัยท่ี ๒ ทำใหแ้ จง้ โดยมคี รูอาจารย์สอนให้ แต่กิต้องประพฤติ
ดปี ฏบิ ต้ ิซอบด้วยดนเอง จึงจะรแู้ จ้งเห็นแจง้ ไต้ ในกรณีน้ีสมณพราหมณ์
ผปู้ ระพฤตดิ ีปฏิบดชอบทา่ นนนั้ ๆ ย่อมหมายถึงพระอรหันต์นงั้ ปวงมี
จำนวนมาก ซงึ่ เป็นสาวกของพระสัมมาสมั พุทธเจ้าในแต่ละยุคน่นั เอง

เน่อื งจากพระสัมมาสมั พุทธเจา้ ทรงเปน็ ผ้ตู รสั เทศนาเรือ่ งนีเ้ อง
ประการหนึ่ง อกี ทง้ั บรรดาพระอรหันตสาวกทั้งหลาย กิล้วนเปน็ กำลัง
สำคัญ ในการประกาศพระศาสนาไต้ชว่ ยพระพทุ ธองคส์ ัง่ สอนชาวโลก
ด้วยกนั ทั้งสิ้น อกี ประการหนึง่

เพราะฉะน้ัน สมณพราหมณ์ ในความเห็นข้อน้ี พระพทุ ธองค์คง
มิไตเ้ จาะจงวา่ หมายถึงพระองค์เองโดยเฉพาะ แต่ทว่า หมายถงึ
พระองค์เองผเู้ ป็นพระอรหนั ตสมั มาสัมพทุ ธเจ้า รวมทงั้ พระอรหนั ตเจา้
ทั้งหลายด้วย

พระพุทธองค์ เมอ่ื ทรงรแู้ จง้ เห็นแจง้ โลกนโ้ี ลกหน้าแล้ว ด้วยพระ
มหากรณุ าธคิ ณุ อันย่งิ ใหญ่ จึงทรงให้พระอรหนั ตสาวกท้งั หลายนำความ
รู้จากประสบการณ์ของตนมาสอนชาวโลกใหร้ แู้ จ้งตามดว้ ย เพอ่ื จะได้
สามารถพาตนให้พ้นจากสังสารวฏั ซงึ่ เปรยี บเสมือนคกุ มหึมา ทขี่ งั
สัตวโลกอยู่ในวงจร แหง่ กิเลส กรรม วิบาก อนั หาจุดจบมิได้นี้

ผู้มปิ ัญญาต้องแสวงหากลั ยาณมิตร

ถา้ ท่านผอู้ า่ นไตศ้ กึ ษาเรื่องราวในสมัยพุทธกาล กจ็ ะไตพ้ บว่า
ในสมัยนนั้ มีนักคดิ นกั ปรัชญา ที่ต้งั ใจศึกษาต้นคว้าหาความจรงิ เกย่ี ว
กบั เรอื่ งโลกและชวี ติ อยมู่ ากมาย แตไ่ ม่ปรากฏว่ามีนกั คดิ หรอื นักปรชั ญา
คนใด สำนกั ใดร้แู จ้งเห็นแจ้งเรอื่ งกฎแหง่ กรรม เร่ืองโลกน้-ี โลกหน้า
เร่อื งนรก-สวรรค์ ตลอดจนเรือ่ งโอปปาตกิ ะ รวมทัง้ มรรคผลนพิ พาน
ชดั เจนสักทา่ นเดยี ว

เพราะไม่รู้แจง้ เห็นแจง้ ตามจริง นักคดิ ท้งั หลายซึ่งตง้ั ตวั เปน็
ครูบาอาจารย์ต่างก็มคี ำสอนตรงกนั ขามกับพระพุทธศาสนาซึ่งทา่ นผ้อู ่าน
จะไต้เหน็ จากคำสอนอันเปน็ มจิ ฉาทฏิ ฐทิ ้งั ๙ ประการทผี่ า่ นมาน้ัน ใน
เมอื่ ครบู าอาจารยเ์ ปน็ มจิ ฉาทฏิ แสยี แลว้ จงึ ไมต่ อ้ งสงสัยเลยว่าสานศุ ษิ ย์
จะไม่เป็นมจิ ฉาทิฏเตามไปด้วย ซ้ํารา้ ยศิษยบ์ างคนยังอาจเป็นมจิ ฉา
ทิฏฐิดงิ่ ยง่ิ กวา่ อาจารย์เสียอีก

พระพทุ ธองคท์ รงมวี ัตถปุ ระสงค์สิง่ ใด จึงตรสั เทศนาความเห็น
อันดบั ท่ี ๑๐ น้ี

จากการวิเคราะห์ความเหน็ อนั ดบั ที่ ๑๐ นีม้ าตง้ั แต่ต้น อาจสรปุ
ไตว้ ่า พทุ ธประสงคใ์ นการตรัสเทศนาอันดับที่ ๑๐ ทส่ี ำคญั กศ็ ึอ

๑) บคุ คลทร่ี ู้แจ้ง โลกน้ี-โลกหน้า (สงั สารวฏั ) นน้ั มอี ยู่จรงิ ใน
โลกน้ี ไมใ่ ช่มีแต่นักคิดนักวิจารณ์เซน่ เดยี วกับเขาเหล่านั้นเทา่ น้ัน

๒) บุคคลทรี่ ู้แจ้งเช่นนโ้ี ดยทว้ั ไปแล้วจะต้องเปน็ สมณพราหมณ์
ผ้ปู ระพฤติดีปฎบิ ดชอบ อยา่ งชนดิ เอาชวี ิตเป็นเตมิ พันเท่าน้ัน (ย่อมมใิ ช่

lH'I'hfagluL^

ผคู้ รองเรอื น) ช้ีงไดแ้ ก่พระอรหันตสมั มาสัมพุทธเจา้ พระอรหนั ตเจ้า
ท้ังหลายนน่ั เอง

๓) บุคคลผู้รู้แจ้งเหล่าน้ี ล้วนมคี วามยนิ ดีและเต็มใจทำหนา้ ท่ี
กัลยาณมีตร ช้ีนำให้ซาวโลกรตู้ าม และมีกำลงั ใจปฎิบตติ าม

เนื่องจากท่านมนี ํ้าใจเปียมล้นดว้ ยความกรุณา ปรารถนาจะช่วย
ใหส้ ัตว์พ้นทกุ ข์ โดยมิได้หวงั ในลาภ ยศ สรรเสริญ แตป่ ระการใด

๔) ความรู้แจ้งเหน็ แจง้ มใิ ชเ่ ปน็ ความรู้ผูกขาดเฉพาะผ้ใู ดผหู้ นึ่ง
แด,มนษุ ย์ปกตธิ รรมดาทกุ คน เช่น เรา-ท่าน ลว้ นมีศกั ยภาพที่จะ
พัฒนาตนให้มีความรเู้ ช่นนโี้ ด้

แตท่ วา่ ตอ้ ง ะ-
- มีความเพียรอย่างยงิ่ ยวดไม่มยี อ่ หยอ่ น

- ต้องมีความเขา้ ใจสมั มาทิฏฐิทั้ง ๙ ข้อ ทีผ่ า่ นมาอยา่ งถอ่ งแห้

- ต้องมีครดู ี อยา่ งนอ้ ยทสี่ ดุ ผเู้ ปน็ ครูของเราตอ้ งรูแ้ จ้งเห็นแจง้
ด้วยวิปสั สนาญาณ ดอี มที ง้ั ทิพยจกั ษแุ ละธรรมจกั ษุในระดบั หนง่ึ

เนอื่ งจากในปจั จุบนั เราไมม่ ีโอกาสไต้พบพระอรหันตสัมมา-
สัมพทุ ธเจ้า หรอื แม้พระอรหันต์ แตจ่ ะยงั มพี ระอรยิ บุคคลท่ที รงภมู ิรู้
ภมู ธิ รรม ประพฤตดิ ปี ฏิปัตซิ อบไต้ในระดับหนึ่งอยู่ปัาง เพราะฉะน้นั
จึงเป็นหน้าที่ของเราทจ่ี ะตอ้ งแสวงหาครดู ใี ห้พบ แล้วเข้าไปศโิ รราบ
กราบกรานขอเป็นศิษยข์ องทา่ น เพอ่ื ศึกษาและปฎบิ ติธรรมอยา่ งถกู ตอ้ ง
จรงิ จงั

๔) โทษภัยของการไมข่ วนขวาย?เกอบรมตนใหร้ ูแ้ จ้งเห็นแจง้ ก็
คือ เราจะถูกกระแสโลกาภิวัตน์ ดงึ ดดู เขา้ ไปอยู่ในวังวนของสังคมบริโภค

'ใไปagโนL

นยิ มและวตั ถุนยิ ม จนหมดโอกาสสรา้ งเฉพาะกรรมดี เพราะถกู อำนาจ
กิเลสบีบคั้นใหท้ ำกรรมช่ัวโดยไม่รสู้ กึ อาย ไมร่ ู้สกึ กลัว จิตไจกิไมผ่ อ่ งไส
เพราะถูกอำนาจกิเลสครอบงำจนมดื มิดและเศรา้ หมอง แนน่ อนเหลอื เกนิ
เมอื่ ถงึ เวลาละโลก ย่อมมที ุคตเิ ป็นท่ไี ป ดงั ที่พระสัมมาลมั พทุ ธเจา้ ตรัสวา่

“เมื่อจติ เศร้าหมองแล้ว ทคุ ติเปน็ อันหวังได้
เมอ่ื จติ ไม่เศร้าหมอง สุคตเิ ป็นอันหวังได”้ tom
เพราะฉะนัน้ การมกี ลั ยาณมิตรเปน็ ครดู ี จะช่วยให้เรามคี วาม
เขา้ ใจสมั มาทิฏฐิทุกข้ออยา่ งถกู ต้องถอ่ งแห้ ยิ่งกวา่ น้นั กิจะเข้าไจตอ่ ไป
อีกด้วยว่า คนเราทุกคนทเี่ กิดมาในโลกน้ี ไม่วา่ จะเวียนมาจากสวรรค์
หรอื นรกกติ าม ลว้ นเกิดมาเพ่ือสร้างกรรมดหี รือบุญบารมีเท่านนั้ เพราะ
โลกมนษุ ย์คอื สคุ ติและศูนยก์ ลางแหง่ การสร้างบารมอี ย่างแห้จรงิ มใิ ช่
เพ่ือสร้างอำนาจอทิ ธิพล เป็นอันธพาลระดบั ชาติ ระดับโลก หรอื ความ
ชัว่ รา้ ยอน่ื ใด

ปัจจัยสง่ เสริมกำลังใจนักสร้างบารมี
ทำอย่างไร นักสร้างบารมจี ึงจะมกี ำลังใจเข้มแข็ง ไม่ยอ่ ทอ้
ถดถอย
เพ่ือเปน็ การสรา้ งเสริมกำลังใจใหเ้ ขม้ แขง็ อยู่เสมอ ไมย่ ่อหอ้
ถดถอยต่อการสร้างบารมขี องตน นกั สรา้ งบารมตี ้องรจู้ กั สรา้ งเสริม
เพม่ิ พนู กำลงั ใจ และเปน็ กัลยาณมิตรใหแ้ ก่ตน ดว้ ยการตรองให้
ตระหนักถงึ ความมโี ชคอยา่ งยง่ิ ของตนเองในชาตินี้คอื

๒“ วตั ถปู มสูตร ม. ม. มก. «๗/๙๒/๔๓๓

Iti'l'hlagluL^

๑. ตนเอง๓ ดถกู ยคุ เพราะบางยุคบางสมัยโลกกว็ า่ งจากพระ
อรทันตสัมมาสมั พุทธเจา้ สัตวโลกยคุ นัน้ ๆ ก็ไมม่ ีโอกาสเรียนรู้ธรรมะ
อนั ประเสรฐิ แม้เพยี งสมั มาทฏิ ฐขิ ้อตน้ ๆ กไ็ ม่รู้ ต้องถือเป็นโชคดี
อยา่ งยงิ่ ของพวกเราทไ่ี ต้เกดิ ในยคุ ทแ่ี ม้พระองค์จะดับขันธปรินพิ พานแล้ว
แด่คำสอนของพระองคย์ งั หลงเหลอื อยถู่ ืงจนปจ็ จุมนั

๒. ตนเองเกดิ ถกู ประเทศ การท่ีพวกเราเกดิ ในดินแดนพระ-
พุทธศาสนาก็นบั ว่าเป็นโซคอยา่ งยง่ิ ของเรา เพราะถา้ เกดิ ในดนิ แดนที่
พระพุทธศาสนาแผ่ไปไมถ่ ืง ไมม่ ศี าสนา หรือมศี าสนาอนื่ เราก็คงไมม่ ี
โอกาสไตเ้ รียนรู้พระธรรมอันประเสริฐ หรือแมส้ นใจอยากเรียนรู้กอ็ าจ
ถูกส่ังหา้ มหรือถกู ลงโทษทณั ฑ์

๓. ตนเองเกดิ ถกู ตระถลู จงภูมใิ จทเ่ี ราไตเ้ กิดในตระกูลสัมมาทิฏฐิ
ไม่ถกู ปลกู ฝงั ตว้ ยคำสอนผดิ ๆ บดิ เบือนจากคำสอนของพระสัมมา­
สมพุทธเจ้า ไม่ยอมให้ทำอาชพี ผิดๆ เป็นตน้ มพี ่อแม่ ปย่ ่า ตายาย เปน็
สมั มาทิฎฐิ ตัง้ ใจสอนใหล้ ูกหลานเชน่ เรา รู้จัก บาป-บุญ คุณ-โทษ
ประโยชน-์ มใิ ช่ประโยชน์ ไมป่ ล่อยปละละเลย ใหเ้ ราตกอยูใ่ นปสกั แหง่
ความชว่ั ถึงแมค้ วามเขม้ งวดกวดขัน จะทำใหเ้ ราร้สู กึ ขัดเคืองใจบ้าง หรือ
แม้ทา่ นจะไมม่ ีมรดกมอบใหเ้ รา ก็ตอ้ งถือว่าทำนมพี ระคุณตอ่ เรามาก
ลน้ แล้ว

๔. ตนเองเกดิ เป็นคนมสี ดสิ มั ปชัญญะสมบูรณ์ จงภมู ิใจในความ
มีสดิสมั ปชัญญะสมบรู ณ์ เพราะทำให้เราสามารถศึกษาและปฎบิ ิดธิ รรม
เพือ่ พฒั นาจิตใจตนเอง มใิ ห้ตกดรมีดมดิ ต้วยอำนาจกเิ ลสมาไตจ้ นถงึ มัดน้ี

<%/

เฃาษ3^นใจ

อยา่ งไรกต็ าม สำหรบั ทา่ นที่กายทพุ พลภาพ แต่จิตใจและสติ
ปัญญาเป็นปกติ กพ็ งึ อยา่ นอ้ ยอกน้อยใจในความโชคร้ายของตน แต่ต้อง
รีบขวนขวายศึกษาและปฏิบติธรรม เพ่ือใหส้ ามารถแกไ้ ขปัญหาของตนฺ
อยา่ งมีประสิทธิภาพ เพอ่ื กา้ วไปสโู่ ลกหน้าอนั สวยงามเรอี งรองทร่ี ออยู่

ความฉลาดในการเลอื กตรองตามแนวทางท้ัง ๔ ประการเหล่า
นี้จะเปน็ กำลังใจใหเ้ ราเกิดความทรหดอดทนและสามารถพากเพียรสรา้ ง
บารมใี หย้ ่ิงๆ ขน้ึ อย่างไม่ลดละต่อไป

ใครก็ตามท่เี ห็นว่า ในโลกนมี้ ีสมณพราหมณ์ ผปู้ ระพฤติดี
ประพฤตชิ อบ ชนดิ ท่ีทำให้แจ้งดว้ ยความร้ยู งิ่ เองแล้วประกาศโลกนี้
โลกหน้ามีอยจู่ ริง ความเห็นของเขาซื่อว่าเป็น “สัมมาทิฏฐ” สว่ นผทู้ ี่มี
ความเห็นตรงข้าม ความเหน็ ของเขาซ่อื วา่ “มิจฉาทิฏฐ”

สรุป

สาระสำคัญของสัมมาทิฏฐ อนั คบั ที่ ๑๐ ะ ทว่ี ่าในโลกนีส้ มณ
พราหมณผ์ ปู้ ระพฤตดิ ปี ระพฤติชอบ ชนดิ ที่ทำใหแ้ จง้ ด้วยความรู้ยิ่งเอง
แล้วประกาศโลกนโี้ ลกหน้ามี หมายความวา่ พระอรหันตสมั มา
สมั พุทธเจา้ ตลอดจนพระอรหนั ตเจา้ ผสู้ ามารถร้แู จ้งเห็นแจ้งโลกนีโ้ ลก
หน้า ดว้ ยวริ ิยอุตสาหะยิง่ ของทา่ นเอง มีจริง ท่านเหล่าน้ันเปยี มลน้ ดว้ ย
มหากรุณาไดส้ ละชีวิตบ0าเพึญตนเป็นกลั ยาณมติ รให้แก่ชาวโลกเสมอมา

สฺรุปความเหน็ ทีจ่ ัดเปน็ สัมมาทฏิ เ และมิจฉาทิฎเ

ขณะนีท้ า่ นผอู้ า่ นก็ไดท้ ราบถงึ สมั มาทฏิ ฐ และมจิ ฉาทฏิ ฐอยา่ งละ

เซ'พนใจ

๑๐ ประการแล้ว ซึง่ สามารถแสดงเปรียบเทยี บกนั ด้วยสำนวนในพระ
สุตตันตปีฎก ดงั นี้

สัมมาทฏิ ฐิ ๑๐ มิจฉาทฎิ ฐิ ๑๐

๑) ทานทใ่ี หแ้ ลว้ มีผล ๑) ทานที่ให้แลว้ ไมม่ ผี ล

๒) ยัญทบ่ี ชู าแลว้ มีผล ๒) ยัญทบี่ ชู าแล้วไม่มผี ล

๓) การเช่นสรวงมผี ล ๓) การเชน่ ?(รวงไมม่ ผี ล

๔) ผลคือวบิ ากของกรรมทท่ี ำดี ๔) ผลคอื วบิ ากของกรรมทท่ี ำดี
และทำช่ัวมี และทำชั่วไมม่ ี

๔) โลกนมี้ ี ๔) โลกนื้ใมม่ ี

๖) โลกหน้ามี ๖) โลกหน้าไม่มี

๗) มารดามี ๗) มารดาไม่มี

๘) บิดามี ๘) บิดาไมม่ ี

๙) สัตวท์ ี่ผุดขนึ้ เกิดมี ๙) สัตว์ทผ่ี ุดขึน้ เกิดไม่มี

๑๐)ในโลกนม้ี สี มณพราหมณ์ผู้ประพฤติ ๑๐)ในโลกน!ี้ มม่ ีสมณพราหมณผ์ ้ปู ระพฤติ
ดปี ฏิบิตชิ อบชนิดทที่ ำให้แจ้งดวยความ ดปี ฏิบิติซอบ ชนิดทท่ี ำให้แจง้ ดวยความ
ร้ยู ิ่งเอง แลว้ ประกาศโลกน้ีและโลกหนา้ รู้ย่งิ เอง แล้วประกาศโลกนีแ้ ละโลกหนา้


Click to View FlipBook Version