The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

8-1_LA21202_กฎหมายอาญา_1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-05 10:00:08

8-1_LA21202_กฎหมายอาญา_1

8-1_LA21202_กฎหมายอาญา_1

วิชา กม. (LA) ๒๑๒๐๒
กฎหมายอาญา ๑

ตําÃÒàÃÕ¹

ËÅÑ¡ÊÙμà ¹¡Ñ àÃÕ¹¹ÒÂÊºÔ ตําÃǨ

ÇªÔ Ò ¡Á. (LA) òñòðò ¡®ËÁÒÂÍÒÞÒ ÀÒ¤àÃÕ¹·èÕ ñ

เอกสารน้ี “໚¹¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หามมิใหผหู นง่ึ ผูใ ดเผยแพร คัดลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนงึ่ สว นใด หรอื ทง้ั หมดของเอกสารนเ้ี พอ่ื การอยา งอนื่ นอกจาก “à¾Íè× ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทานั้น การเปดเผยขอความแกบุคคลอื่นท่ีไมมีอํานาจหนาที่จะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา

¡Í§ºÞÑ ªÒ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ สาํ ¹¡Ñ §Ò¹ตาํ ¾ÃÇ.Ȩá.òËõ§‹ ªöÒôμÔ

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สํานกึ ในการใหบ ริการเพอ่ื บําบัดทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝกอบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตํารวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตอ งการอยางแทจ รงิ และมคี วามพรอมในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคาํ ปรึกษา คาํ แนะนาํ ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทาํ ใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กประชาชนไดอ ยา งแทจ ริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผูบ ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÞÑ

ÇªÔ Ò ¡®ËÁÒÂÍÒÞÒ ÀÒ¤àÃÂÕ ¹·Õè ñ ˹Ҍ

º··Õè ñ â¤Ã§ÊÃÒŒ §¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´·Ò§ÍÒÞÒáÅк·¹ÔÂÒÁ ñ
óõ
º··èÕ ò ¡ÒÃ㪌¡®ËÁÒÂÍÒÞÒ ôù
๕๐
º··èÕ ó ¤ÇÒÁÃºÑ ¼Ô´·Ò§ÍÒÞÒ ๕๓
- การกระทาํ โดยเจตนา ๕๖
- การกระทาํ โดยประมาท ๕๘
- การกระทาํ โดยพลาด ๖๐
- ความสาํ คัญผิดในตัวบคุ คล ๖๕
- ความสําคญั ผดิ ในขอเทจ็ จริง ๖๗
- ความไมร กู ฎหมาย ๖๘
- ความมึนเมา ๗๑
- การกระทําความผิดดวยความจําเปน ๘๑
- การปองกันโดยชอบดว ยกฎหมาย ๘๕
- การกระทาํ ความผิดในฐานะเปน ญาตหิ รือสามภี รรยา ๘๘
- บนั ดาลโทสะ ùõ
- ผกู ระทาํ ผิดที่ไดร ับผลดีเนือ่ งจากเกณฑอายุ ๙๕
๑๐๐
º··Õè ô ¡ÒþÂÒÂÒÁ¡ÃÐทํา¤ÇÒÁ¼´Ô ๑๐๒
- การพยายามกระทําความผิด
- การพยายามไมส ามารถบรรลุผลไดอ ยา งแนแ ท
- การยบั ยั้งหรือกลบั ใจแกไ ข

º··èÕ õ μÑÇ¡Òà ¼ŒãÙ ªŒ áÅмÙÊŒ ¹ÑºÊ¹Ø¹ ˹Ҍ
- ตวั การ
- ใชใ หผอู ่ืนกระทําความผิด ñð÷
- ผูสนบั สนนุ ๑๐๗
๑๑๑
º··Õè ö ¤ÇÒÁ¼Ô´à¡ÕèÂǡѺ¤ÇÒÁÁè¹Ñ ¤§á˧‹ ÃÒªÍÒ³Ò¨¡Ñ à ๑๑๕
- ความผิดตอองคพระมหากษตั รยิ  พระราชินี รัชทายาท ñòõ
๑๒๕
และผูส ําเร็จราชการแทนพระองค ๑๒๘
- ความผิดเกยี่ วกับการกอ การราย ñóõ
๑๓๖
º··Õè ÷ ¤ÇÒÁ¼´Ô à¡ÂÕè ǡѺ¡Òû¡¤Ãͧ ๑๖๑
- ความผิดตอ เจาพนกั งาน
- ความผิดตอ ตําแหนง หนาทีร่ าชการ

ÇªÔ Ò ¡Á. (LA) òñòðò
¡®ËÁÒÂÍÒÞÒ ÀÒ¤àÃÂÕ ¹·èÕ ñ



º··Õè ñ

â¤Ã§ÊÌҧ¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´·Ò§ÍÒÞÒáÅк·¹ÔÂÒÁ

๑. วตั ถุประสงคการเรียนรูประจําบท

๑. เพอ่ื ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจมคี วามรคู วามเขา ใจเรอื่ งโครงสรา งความรบั ผดิ ทางอาญา
และบทนยิ าม

๒. เพอ่ื ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจ ทราบถงึ การวดั ผลและประเมนิ ผล วชิ ากฎหมายอาญา ๑
๓. เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจทราบถึงรายละเอียดโครงสรางความรับผิดทางอาญา
และบทนยิ ามลักษณะและการใชกฎหมายอาญา ความรบั ผดิ ทางอาญา การพยายามกระทําความผดิ
ตัวการ ผูใช ผูสนับสนุนความผิดเก่ียวกับความม่ันคงแหงราชอาณาจักร และความผิดเก่ียวกับ
การปกครอง

๒. สว นนํา

นกั เรยี นจะไดศ กึ ษาประมวลกฎหมายอาญา ภาค ๑ เรอ่ื ง บทบญั ญตั ทิ ใ่ี ชแ กค วามผดิ ทว่ั ไป
ซง่ึ ประกอบดว ยเนอื้ หาในเรอื่ ง โครงสรา งความรบั ผดิ ทางอาญา บทนยิ าม ลกั ษณะและการใชก ฎหมาย
อาญา ความรบั ผิดทางอาญา การพยายามกระทําความผิด ตวั การ ผใู ช ผูสนับสนุน ความผดิ เกย่ี วกับ
ความมั่นคงแหง ราชอาณาจกั ร และความผิดเกี่ยวกบั การปกครอง

บทบญั ญตั ทิ ว่ั ไป ลกั ษณะ ๑ บทบญั ญตั ทิ ใี่ ชแ กค วามผดิ ทว่ั ไป ซงึ่ ประกอบดว ยเนอื้ หาในเรอื่ ง
๑. โครงสรา งความรบั ผดิ ทางอาญา
๒. บทนิยามตามมาตรา ๑(๑) – (๑๗)
๓. ขอบเขตการใชกฎหมายอาญา
๔. โครงสรางความรบั ผิดทางอาญา ความรับผดิ ทางอาญา มาตรา ๕๙
๕. การกระทําโดยพลาด การกระทาํ โดยสาํ คญั ผิดในตวั บคุ คล การกระทําโดยสาํ คญั ผิด
ในขอเทจ็ จริง มาตรา ๖๐-๖๒
๖. เหตุยกเวนความผิด เหตุยกเวน โทษ เหตุลดโทษ มาตรา ๖๔-๗๒
๗. การพยายามกระทาํ ความผดิ ตัวการ ผใู ช ผูสนบั สนนุ มาตรา ๘๐-๘๖
๘. ความผดิ เก่ียวกบั ความม่นั คงแหง ราชอาณาจักร มาตรา ๑๐๗-๑๑๒
๙. ความผดิ เกยี่ วกับการปกครอง มาตรา ๑๓๖-๑๖๒



๓. เนอ้ื หา
๓.๑ ความหมายของกฎหมายอาญา

กฎหมายอาญา คือ กฎหมายท่ีบัญญัติวา การกระทําหรือไมกระทําอยางใดเปนความผิด
และกําหนดโทษทีจ่ ะลงแกผูก ระทําความผดิ ไวด วย หรืออาจกลา วไดวา กฎหมายอาญาคือกฎหมายท่ี
บัญญัติหามมิใหมีการกระทําอยางหน่ึงอยางใด หรือบังคับใหมีการกระทําอยางหนึ่งอยางใดโดยผูท่ี
ฝา ฝนหรือไมปฏบิ ตั ติ ามจะตอ งไดรบั โทษ ดงั นัน้ กฎหมายอาญาจะมี ๒ กรณี คอื เปน บทบัญญตั ิท่ี

๓.๑.๑ หามมิใหมีการกระทําอยางหนึ่งอยางใด ผูท่ีฝาฝนก็จะมีความผิด เชน ฆาผูอื่น
(มาตรา ๒๘๘) ขม ขืนกระทําชําเรา (มาตรา ๒๗๖) ลกั ทรพั ยผอู น่ื (มาตรา ๓๓๔) เปน ตน หรือ

๓.๑.๒ บังคับใหมีการกระทําอยางหน่ึงอยางใด ผูที่ไมปฏิบัติตามก็จะมีความผิด เชน
มาตรา ๓๗๔ เห็นผูอื่นตกอยูในอันตรายแหงชีวิต ซึ่งตนสามารถชวยไดแตไมยอมชวย ซ่ึงเรียกวา
การกระทําดว ยการละเวน

กฎหมายอาญานน้ั นอกจากทปี่ รากฏอยใู นประมวลกฎหมายอาญาซงึ่ ถอื วา เปน กฎหมาย
อาญาหลักของประเทศแลว ยังรวมถงึ กฎหมายอืน่ ๆ อีกมากมาย ซ่ึงมลี กั ษณะดงั กลาวขางตน เชน
พระราชบัญญตั ิอาวธุ ปน พระราชบัญญตั จิ ราจรทางบก พระราชบญั ญตั ปิ รามการคา ประเวณี ซง่ึ เมือ่
ถือวาพระราชบัญญัติน้ัน ๆ เปนกฎหมายอาญาแลวจะมีผลทําใหตองนําบทบัญญัติในภาค ๑ แหง
ประมวลกฎหมายอาญาไปใชในพระราชบญั ญตั นิ นั้ ๆ ดว ย ทงั้ น้ีตามท่ีมาตรา ๑๗ ซง่ึ ไดบ ญั ญตั ไิ วว า
“บทบญั ญัติในภาค ๑ แหงประมวลกฎหมายนี้ ใหใ ชใ นกรณีแหง ความผดิ ตามกฎหมายอ่ืนดว ย เวน แต
กฎหมายน้ัน ๆ จะไดบญั ญตั ไิ วเปน อยางอนื่ ”

สาํ หรบั โทษหรอื สภาพบงั คบั ในทางอาญา จะตอ งเปน ไปตามทรี่ ะบไุ วใ นมาตรา ๑๘ เทา นนั้
กลา วคือ ประหารชีวติ จําคกุ กักขงั ปรบั และริบทรัพยส นิ

๓.๒ การใชก ฎหมายอาญา

เนอ่ื งจากโทษในทางอาญามผี ลกระทบตอ ชวี ติ รา งกาย เสรภี าพ และทรพั ยส นิ ของประชาชน
ดวยเหตุนี้กฎหมายอาญาจึงตองมีลักษณะพิเศษหรือมีเอกลักษณของตนเอง แตกตางจากกฎหมาย
อื่น ๆ เชน กฎหมายแพง เปน ตน

มาตรา ๒ วรรคแรก บัญญัติวา “บุคคลจะรับโทษในทางอาญาก็ตอเม่ือไดกระทําการ
อนั กฎหมายท่ีใชใ นขณะกระทํานน้ั บญั ญตั เิ ปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษที่จะลงแกผ กู ระทํา
ความผดิ นั้นตอ งเปนโทษท่บี ญั ญตั ไิ วในกฎหมาย”

ซ่งึ ในหัวขอ การใชก ฎหมายอาญา นัน้ นกั เรียนนายสิบตาํ รวจจะไดเรยี นบทที่ ๒



๓.๓ โครงสรางความรบั ผดิ ทางอาญา

กฎหมายอาญาของไทยนั้นเปนกฎหมายอาญาในรูปแบบของระบบประมวลกฎหมาย
หรือระบบลายลักษณอักษร ซึ่งไดรับอิทธิพลมาจากการปฏิรูปกฎหมายสมัยรัชกาลท่ี ๕ ท่ีทรงจัดให
มีการจัดทําประมวลกฎหมายอาญาขึ้นใหมใหมีความทันสมัยและไดรับการยอมรับจากนานาประเทศ
ซง่ึ ไดน าํ ระบบประมวลกฎหมายแบบประเทศซวิ ลิ ลอวม าใช ซงึ่ ในปจ จบุ นั เปน ทย่ี อมรบั กนั วา โครงสรา ง
ความรบั ผดิ ทางอาญาของไทยนน้ั มคี วามแตกตา งไปจากโครงสรา งความรับผิดชอบของทัง้ common
law และ civil law บาง ซงึ่ เม่ือพจิ ารณาประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา ในลักษณะ ๓
คําพิพากษาและคําสั่งในมาตรา ๑๘๕ “ถาศาลเห็นวาจําเลยมิไดกระทําผิดก็ดี การกระทําของจําเลย
ไมเ ปนความผิดกด็ ี คดีขาดอายุความแลว กด็ ี มเี หตตุ ามกฎหมายทจี่ าํ เลยไมค วรตอ งรับโทษก็ดี ใหศาล
ยกฟองโจทก ปลอยจาํ เลยไป แตศ าลจะสัง่ ขงั จําเลยไวหรือปลอ ยช่วั คราวระหวางคดียงั ไมถึงทส่ี ุดกไ็ ด
เม่ือศาลเห็นวาจําเลยไดกระทําผิดและไมมีการยกเวนโทษตามกฎหมายใหศาลลงโทษแกจําเลย
ตามความผิด แตเม่ือเห็นสมควร ศาลจะปลอยจําเลยชั่วคราวระหวางคดียังไมถึงที่สุดก็ได”
จากมาตรา ๑๘๕ ท่ีศาลจะตอ งพิจารณาพพิ ากษาลงโทษจาํ เลยตามกฎหมาย เปนทม่ี าของโครงสราง
ความรบั ผิดทางอาญา

โครงสรางความรบั ผดิ ทางอาญา
๑. มีการกระทาํ ครบตามองคประกอบท่กี ฎหมายบัญญัติ (แยกพิจารณา ๔ สว น)
๒. ไมมกี ฎหมายยกเวนความผิด
๓. ไมม กี ฎหมายยกเวนโทษ

๑. การกระทําครบ “ͧ¤»ÃСͺ” ท่กี ฎหมายบัญญัติ
การกระทาํ ทคี่ รบ “องคป ระกอบ” ความผดิ ทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ หลกั นม้ี าจากมาตรา ๒

และมาตรา ๕๙ ประกอบดว ยหลักเกณฑ ๔ ประการ คือ
๑.๑ มีการกระทํา
โดยผกู ระทาํ ตอ งกระทาํ โดยรสู าํ นกึ หมายความวา รสู กึ ตวั รวู า จะทาํ อะไร และ

ตัดสินใจทําแลวเคล่ือนไหวอิริยาบถไปตามท่ีคิดนั้น คือ การกระทําที่อยูภายใตการบังคับของจิตใจ
การกระทําทีไ่ มอยูภายใตบงั คบั ของจติ ใจ ไมถอื วา เปนการกระทาํ ทจ่ี ะทาํ ใหตองรบั ผิดทางอาญา เชน

แดงนอนละเมอใชมือฟาดไปถูกตาของดํา ทําใหตาบอด แดงเคล่ือนไหว
รา งกายขณะไมรสู ึกตวั เนอ่ื งจากเปนโรคลมชัก การเคลือ่ นไหวรา งกายดังกลา วไมอ ยภู ายใตบ ังคบั ของ
จิตใจ ถือวา แดงไมร ูสาํ นกึ ในการทีก่ ระทาํ จงึ ไมตองรับผิดในทางอาญา หรือ

ดําเปนคนปญญาออนถึงขนาดท่ีไมอาจรูไดวาการกระทําของตนเปนสิ่งท่ีผิด
กฎหมาย ดําเห็นคนอื่นเล่ือยไมก็ทาํ ตาม โดยไมร ูการกระทํานน้ั เปน ความผดิ ตาม พ.ร.บ.ปา ไม ถอื วา
ดาํ กระทาํ โดยมไิ ดรูสํานึกในการที่กระทํา ดําไมต องรับผดิ ทางอาญา



การกระทํานั้น จะตองถึงข้ันลงมือกระทําความผิดแลวการเคลื่อนไหวหรือไม
เคล่ือนไหวรางกายในขั้นตระเตรียม แมเปนการกระทําโดยรูสํานึกแตถาไมมีกฎหมายบัญญัติวาเปน
ความผดิ ผกู ระทําไมมคี วามรับผดิ ทางอาญาในขั้นตระเตรียม เชน

แดงตอ งการฆา ดาํ แดงพกอาวธุ ปน ไปดกั ยงิ ดาํ แตถ กู เจา พนกั งานตาํ รวจจบั กมุ
เสียกอน แดงมีความผิดตามพระราชบัญญัติอาวุธปน และความผิดตาม ป.อ.มาตรา ๓๗๑ แตไมมี
ความผิดฐานพยายามฆาดําเพราะยังไมไดกระทําจนถึงข้ันลงมือฆาดํา เปนเพียงตระเตรียมการ
เพอื่ ฆา ดาํ เทา นน้ั ซึ่งไมมกี ฎหมายบัญญัติวา เปน ความผดิ

๑.๒ การกระทํานัน้ ครบองคป ระกอบภายนอกของความผดิ ในเรื่องน้นั ๆ
หมายถงึ การเคลอื่ นไหวอริ ยิ าบถโดยรสู กึ ตวั นน้ั ตอ งเปน การเคลอ่ื นไหวอริ ยิ าบถ

เขาตามองคป ระกอบความผิดฐานตา ง ๆ ตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ไิ ว เชน
- ความผิดฐานฆาผูอื่น ตองมีการกระทําที่เปนการฆา ไดแก การบีบคอ

ใชป น ยงิ หรอื ใชไ มต ี เปน การกระทาํ อนั เปน การฆา ซงึ่ เปน องคป ระกอบภายนอกของความผดิ ฐานฆา ผอู นื่
- ความผิดฐานลักทรัพย มีการเอาทรัพยของผูอ่ืนไป เปนการกระทําใน

องคป ระกอบความผดิ ฐานลกั ทรพั ย ถอื วา มกี ารกระทาํ ครบตามองคป ระกอบภายนอกแลว การกระทาํ นนั้
จะเปนความผดิ หรือไมเปนความผดิ ก็ไปดูเรือ่ งเจตนาซึ่งองคประกอบภายในตอ ไป

๑.๓ การกระทาํ ครบองคป ระกอบภายในของความผดิ ในเร่ืองนั้น ๆ
ผกู ระทาํ ตอ งมเี จตนาตามมาตรา ๕๙ วรรคสอง ซงึ่ รวมไปถงึ เจตนาโดยผลของ

กฎหมายตามมาตรา ๖๐ ดว ย หรอื กระทาํ โดยประมาทและมผี ลอยา งใดอยา งหนงึ่ เกดิ ขนึ้ และมกี ฎหมาย
บญั ญตั ใิ หต อ งรบั ผดิ เมอ่ื กระทาํ โดยประมาทโดยใชห ลกั ผลโดยตรงหรอื ไมม เี จตนาแตม กี ฎหมายบญั ญตั ิ
ใหต อ งรบั ผดิ แมไ มม เี จตนา เชน ความผดิ ลหโุ ทษบางฐาน

๑.๔ ผลของการกระทาํ สมั พันธกบั การกระทํา
การกระทําความผิดบางฐานตองการผล ผลน้ันจะตองเปนผลโดยตรงตาม

ทฤษฎเี งือ่ นไข ถาไมมกี ารกระทาํ ผลจะไมเกดิ
ขอสังเกต
เรอื่ งเจตนาจะมี ๒ กรณี คอื เจตนาโดยตรงตามมาตรา ๕๙ และเจตนาโดยผลของกฎหมาย

ตามมาตรา ๖๐ สําหรับมาตรา ๖๑ ไมใชบทกฎหมายในสวนของเจตนา เพราะผูกระทําความผิด
โดยสําคัญผิดในตัวบุคคลมีเจตนากระทําความผิดตามมาตรา ๕๙ อยูแลว การกระทําความผิด
โดยสําคัญผิดในตัวบุคคล เปนกรณีที่กฎหมายไมใหผูกระทําความผิดยกเรื่องความสําคัญผิดเปน
ขอ แกตัวใหพ นผิดเทา นัน้ ไมเก่ียวกบั เรอ่ื งเจตนาเพราะมีเจตนากระทาํ ผิดตามมาตรา ๕๙ อยูแลว

ทง้ั นี้ แมก ารกระทาํ ของบคุ คลใดจะครบ “องคป ระกอบ” ทบี่ ญั ญตั ติ ามโครงสรา งขอ ๑ กย็ งั
ไมอาจจะสรุปไดวาบคุ คลนั้นตอง “รบั ผดิ ในทางอาญา” เพราะจะตอ งพจิ ารณาในโครงสรางขอ ๒ และ
ขอ ๓ ตอ ไป



๒. การกระทําไมม ีกฎหมายยกเวน ความผิด
การกระทําท่ีครบ “องคประกอบ” ท่ีกฎหมายบัญญัติตามโครงสรางขอท่ี ๑ หากเปน
การกระทาํ ท่มี ีกฎหมายยกเวนความผดิ ผกู ระทาํ กไ็ มต อ งรบั ผิดในทางอาญา กฎหมายยกเวนความผิด
มผี ลทาํ ใหผ กู ระทาํ “ไมม คี วามผดิ ” (ดมู าตรา ๖๘) หรอื กลา วอกี ในหนงึ่ คอื ทาํ ใหผ กู ระทาํ มอี าํ นาจกระทาํ ได
กฎหมายยกเวนความผิดมมี ากมายหลายกรณี เชน
๑. กฎหมายยกเวนความผิดในประมวลกฎหมายอาญา เชน

๑. การกระทําโดยปอ งกัน ตามมาตรา ๖๘
๒. การทาํ แทงกรณีพิเศษ ตามมาตรา ๓๐๕
๓. การแสดงความคิดเห็น หรือขอความใดโดยสุจริต ตามมาตรา ๓๒๙
หรือการแสดงความคิดเห็นหรือขอความในกระบวนพิจารณาคดีในศาลโดยคูความหรือทนายความ
ของคูความตามมาตรา ๓๓๑
๒. กฎหมายยกเวนความผิดท่ีมิไดมีบัญญัติไวเปนลายลักษณอักษร เชน หลักในเร่ือง
ความยินยอม ซ่ึงยกเวนความผิดในบางกรณี หลักดังกลาวไมมีกฎหมายบัญญัติไวโดยตรงดังเชน
เร่อื งปอ งกนั แตกน็ าํ มาใชไดโ ดยถอื เปน “หลกั กฎหมายทว่ั ไป” การนาํ มาใชไ มขดั ตอ หลักในมาตรา ๖
เพราะนาํ มาใชเพอ่ื เปน คุณแกผ กู ระทํา
จารีตประเพณี ก็ถือไดวาเปนหลักกฎหมายท่ัวไปท่ียกเวนความผิดได เชน จารีต
ประเพณีใหอํานาจครูตีเด็กนักเรียนพอสมควรเพื่อวากลาวส่ังสอน หรือพระภิกษุมีอํานาจลงโทษ
ศิษยวดั ได (ฎีกาท่ี ๔๒๙-๔๓๐/๒๕๐๕)
๓. กฎหมายยกเวนความผิดในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เชน ป.วิอาญา
มาตรา ๗๘ (๑) การจบั บุคคลตามหมายจบั ท่อี อกโดยชอบดว ยกฎหมายผูจ บั ไมมคี วามผิดตอเสรภี าพ
หรอื หากการจับนนั้ จําเปน ตอ งทาํ ใหทรพั ยข องผูถ ูกจบั เสียหาย เชน จําตอ งยงิ ยางทลี่ อ รถจนยางแตก
เพื่อรถหยุดจะจับกุมคน ซึ่งเปนการกระทําท่ีเหมาะแกพฤติการณแหงเรื่องในการจับ ตาม ป.วิอาญา
มาตรา ๘๓ ผูจ ับไมมคี วามผิดฐานทําใหเ สยี ทรพั ย
อยา งไรกต็ าม แมก ารกระทาํ ทค่ี รบ “องคป ระกอบ” ทก่ี ฎหมายบญั ญตั ติ ามโครงสรา ง
ขอ ๑ จะไมม กี ฎหมายยกเวน ความผดิ ตามโครงสรา งขอ ๒ กย็ งั ไมอ าจสรปุ ไดท นั ทวี า ผกู ระทาํ ตอ งรบั ผดิ
ในทางอาญาจะตองพิจารณาโครงสรางขอ ๓ ตอไปดวยวา การกระทําน้ันมีกฎหมายยกเวนโทษ
หรือไม
๔. กฎหมายยกเวน ความผิดในประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย เชน
๔.๑ ประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย มาตรา ๑๓๔๗ ที่บญั ญตั ใิ หเจา ของท่ีดนิ
ใชส ทิ ธติ ดั รากไมท ร่ี กุ เขา มาในทดี่ นิ ทตี่ ดิ ตอ และเอาไวเ สยี ผกู ระทาํ ยอ มไมม คี วามผดิ ฐานทาํ ใหเ สยี ทรพั ย
๔.๒ ประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย มาตรา ๔๕๐ การทําบบุ สลายหรอื ทาํ ลาย
ทรัพยสิ่งหนึ่งสิ่งใด เพื่อบําบัดปดปองภยันตรายซ่ึงมีมาเปนสาธารณะโดยฉุกเฉิน เชน ทําลายทํานบ



ก้ันน้ําในที่ดินของผูอ่ืนเพื่อเปล่ียนทิศทางไหลของนํ้ามิใหเขาทวมบานเรือนในหมูบาน ผูกระทําไมมี
ความผิดฐานทาํ ใหเ สยี ทรัพยแ ละบกุ รุก

๔.๓ ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๔๕๒ การทผี่ คู รอบครองอสงั หารมิ ทรพั ย
ฆา สัตวท่ีเขามาทําความเสียหายในอสงั หาริมทรัพย ผกู ระทําไมมีความผดิ ฐานทาํ ใหเสยี ทรัพย

๔.๔ ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๑๕๖๗ (๒) การทผี่ ใู ชอ าํ นาจปกครอง
เชน บิดา มารดาทําโทษบตุ รตามสมควรเพ่ือวากลา วส่งั สอน

๔.๕ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๓๗๘ การใชสิทธิเหนือที่ดิน
แปลงอืน่ อันตกอยใู นภาระจํายอม ผูกระทําไมมคี วามผดิ ฐานบกุ รกุ (ฎกี าท่ี ๓๙๒๖/๒๕๔๑)

๔.๖ การที่ผูกระทํามีอํานาจตามสัญญาตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
ทก่ี ระทาํ เชน การทผ่ี ใู หเ ชา และผเู ชา มขี อ ตกลงกาํ หนดไวใ นสญั ญาเชา บา นวา หากผเู ชา ผดิ นดั ไมช าํ ระคา เชา
ผูเชายอมใหผูใหเชาเขาไปในบานเชา และตัดน้ํา ตัดไฟฟา หรือใชกุญแจคลองประตูบานเชาได
เม่อื ผเู ชาผิดนัดไมช าํ ระคา เชา ผใู หเชา ก็มีสทิ ธิดาํ เนนิ การตาง ๆ ดังกลาวไดไ มเ ปนความผิดฐานบุกรุก
หรอื ทาํ ใหเ สยี ทรพั ย (เทยี บเคยี งคาํ พพิ ากษาฎกี าที่ ๔๘๕๔/๒๕๓๗, คาํ พพิ ากษาฎกี าที่ ๓๐๒๕/๒๕๔๑)

๕. กฎหมายยกเวน ความผิดในรัฐธรรมนูญ
เชน รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทยพุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๑๒๔ บัญญตั วิ า

“ในท่ปี ระชมุ สภาผูแทนราษฎร ทีป่ ระชุมวุฒิสภาหรือท่ีประชุมรวมกันของรฐั สภา สมาชิกผใู ดจะกลาว
ถอยคําใดในทางแถลงขอเท็จจริง แสดงความคิดเห็นหรือออกเสียงลงคะแนน ยอมเปนเอกสิทธิ์
โดยเดด็ ขาด ผูใดจะนําไปเปนเหตฟุ อ งรองวากลา วสมาชิกผูนน้ั ในทางใดมไิ ด”

๓. การกระทําน้นั ไมม ีกฎหมายยกเวนโทษ

กฎหมายทยี่ กเวนโทษใหแ กการกระทาํ ตางๆ ทีเ่ ปน ความผดิ มีหลายกรณีดวยกัน เชน
๑. การกระทาํ ความผดิ โดยจาํ เปน (มาตรา ๖๗)
๒. การกระทําความผิดของเด็กอายุไมเกิน ๑๐ ป และไมเกิน ๑๕ ป (มาตรา ๗๓
และ ๗๔)
๓. การกระทาํ ความผิดของคนวกิ ลจรติ (มาตรา ๖๕)
๔. การกระทําความผิดของผูมนึ เมา (มาตรา ๖๖)
๕. การกระทําความผดิ ตามคาํ สั่งท่มี ชิ อบดวยกฎหมายของเจาพนกั งาน (มาตรา ๗๐)
๖. การกระทําความผิดเกี่ยวกับทรัพยในบางความผิดระหวางสามีภรรยา (มาตรา ๗๑
วรรคแรก)
นอกจากน้ันกฎหมายยังยกเวนโทษในกรณีที่ความผิดอยูในข้ันพยายาม แตผูกระทํา
ยับยง้ั หรอื กลับใจ (มาตรา ๘๒) หรอื เปนการพยายามทาํ แทงตามมาตรา ๓๐๑ และ ๓๐๒ วรรคแรก
(ดมู าตรา ๓๐๔) และการพยายามกระทาํ ความผดิ ลหโุ ทษ ตามมาตรา ๑๐๕



การกระทําที่ครบ “องคประกอบ” ที่กฎหมายบัญญัติตามโครงสรางขอ ๑ หากไมมี
กฎหมายยกเวน ความผดิ ตามโครงสรา ง ขอ ๒ หรอื ไมม กี ฎหมายยกเวน โทษตามโครงสรา งขอ ๓ ผกู ระทาํ
กจ็ ะตองรับผิดในทางอาญา

อยางไรก็ตาม หากการกระทําน้ันมีเหตุลดโทษตามที่กฎหมายบัญญัติไว ผูกระทําก็อาจ
ไดร บั การลดโทษถา ศาลเหน็ สมควรทจี่ ะลดโทษให

เหตุลดโทษ คือ เหตุที่อาจทําใหผูกระทํารับโทษนอยลง ซ่ึงข้ึนอยูกับดุลพินิจของศาล
ทีจ่ ะลดโทษใหแกผ กู ระทาํ หรือไมก ไ็ ด กฎหมายมักจะบัญญัติเกี่ยวกบั การลดโทษไวใ นทํานองวา “ÈÒÅ
¨ÐÅ´â·Éà¡Ô¹¡Ç‹Ò·Õè¡®ËÁÒ¡íÒ˹´äÇŒÊíÒËÃѺ¤ÇÒÁ¼Ô´¹éѹà¾Õ§㴡çä´Œ” (กรณีบันดาลโทสะตาม
มาตรา ๗๒) หรือบางกรณีก็จํากัดขอบเขตการลดโทษของศาลไว เชน “ถาศาลเห็นสมควรจะลดโทษ
ไมเ กนิ กงึ่ หน่งึ ของโทษที่จะลงแกผ ูกระทาํ ความผิดนน้ั กไ็ ด” (มาตรา ๗๘)

เหตลุ ดโทษ ทบี่ ญั ญัตไิ วม หี ลายกรณี เชน
๑. ความไมรกู ฎหมาย (มาตรา ๖๔)
๒. คนวิกลจริตซ่ึงยังสามารถรูผิดชอบอยูบางหรือยังสามารถบังคับตนเองไดบาง
(มาตรา ๖๕ วรรคสอง)
๓. คนมึนเมา ซึ่งยังสามารถรูผิดชอบอยูบางหรือยังสามารถบังคับตนเองไดบาง
(มาตรา ๖๖)
๔. ปอ งกัน จําเปน เกินขอบเขต (มาตรา ๖๙)
๕. การกระทําความผิดเกี่ยวกับทรัพยบางความผิดระหวางญาติสนิท (มาตรา ๗๒
วรรคสอง)
๖. ผกู ระทาํ อายกุ วา ๑๕ ป แตต า่ํ กวา ๑๘ ป (มาตรา ๗๕) หรือตัง้ แต ๑๘ ป แตไ มเ กิน
๒๐ ป (มาตรา ๗๖)
๗. เหตุบรรเทาโทษ (มาตรา ๗๘)
๘. บันดาลโทสะ (มาตรา ๗๒)
ผูกระทําตองรับผิดชอบในทางอาญา แตมีเหตุลดโทษตามที่กลาว อาจไดรับการลดโทษ
จากศาล หากศาลเห็นเปนสมควรท่ีจะลดโทษให เชน แดงมีความผิดฐานฆาคนตายโดยเจตนา
ตามมาตรา ๒๘๘ และจะตองไดรับโทษจําคุกขั้นต่ําคือ จําคุก ๑๕ ป แตหากมีเหตุบรรเทาโทษ
ตามมาตรา ๗๘ ก็อาจไดรับการลดโทษบาง หรือหากมีเหตุลดโทษอื่น ๆ เชน เปนการกระทํา
โดยบนั ดาลโทสะตามมาตรา ๗๒ ศาลกอ็ าจลดโทษจาก ๑๕ ป ลงเพยี งใดกไ็ ด ซงึ่ หากศาลลงโทษจาํ คกุ
แดงไมเ กนิ ๓ ป แดงกอ็ าจไดร บั การรอลงอาญาไดต ามมาตรา ๕๖ หากเขา เงอื่ นไขของการรอลงอาญา





๓.๔ บทนยิ าม

บทนิยามตามประมวลกฎหมายอาญาเปนการกําหนดไววาในแตละคําในบทนิยามน้ัน
มีความหมายอยางไร เนื่องจากคําตางๆ ในบทนิยามน้ันอาจเปนองคประกอบของความผิดในบาง
มาตรา หรืออาจเปนบทบัญญัติท่ีทําใหผูกระทําความผิดรับโทษหนักขึ้น ดังนั้น ความหมายของ
บทนยิ ามในแตละคาํ จงึ มีความสาํ คญั ซ่ึงนักเรยี นจะตองรแู ละทําความเขา ใจเปนอยางดี เพราะถาไมรู
หรอื ไมเ ขา ใจในความหมายของบทนยิ ามในแตล ะคาํ อาจทาํ ใหก ารวนิ จิ ฉยั ฐานความผดิ ตา งๆ เกดิ ผดิ พลาดได
บทนยิ ามในแตละคํากจ็ ะมคี าํ พิพากษาของศาลฎีกาวนิ จิ ฉัยไวเปน บรรทดั ฐานอีกดว ย

บทนิยาม ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑ อนมุ าตรา ๑ ถงึ อนุมาตรา ๑๗ ไดแ ก
๑. โดยทจุ รติ
๒. ทางสาธารณะ
๓. สาธารณสถาน
๔. เคหสถาน
๕. อาวธุ
๖. ใชกาํ ลงั ประทษุ รา ย
๗. เอกสาร
๘. เอกสารราชการ
๙. เอกสารสิทธิ
๑๐. ลายมือช่ือ
๑๑. กลางคืน
๑๒. คมุ ขัง
๑๓. คา ไถ
๑๔. บตั รอิเลก็ ทรอนกิ ส
๑๕. หนงั สือเดนิ ทาง
๑๖. เจาพนักงาน
๑๗. สอ่ื ลามกอนาจารเด็ก
๑๘. กระทาํ ชาํ เรา

ÁÒμÃÒ ñ ã¹»ÃÐÁÇÅ¡®ËÁÒ¹Õé
(๑) “â´Â·Ø¨ÃÔμ” หมายความวา เพื่อแสวงหาประโยชนที่มิควรได โดยชอบดวย
กฎหมายสําหรบั ตนเองหรือผอู ่ืน
(๒) “·Ò§ÊÒ¸ÒóД หมายความวา ทางบกหรือทางนํ้าสําหรับประชาชน
ใชในการจราจรและใหหมายความรวมถึงทางรถไฟและทางรถรางท่ีมีรถเดินสําหรับประชาชน
โดยสารดว ย

๑๐

(๓) “ÊÒ¸Òóʶҹ” หมายความวา สถานท่ีใดๆ ซ่ึงประชาชนมีความชอบธรรม
ทจ่ี ะเขา ไปได

(๔) “à¤Ëʶҹ” หมายความวา ที่ซึ่งใชเปนท่ีอยูอาศัย เชน เรือน โรง เรือ หรือ
แพ ซ่ึงคนอยูอาศัย และใหหมายความรวมถึงบริเวณของท่ีซ่ึงใชเปนที่อยูอาศัยน้ันดวย จะมีรั้วลอม
หรอื ไมก็ตาม

(๕) “ÍÒÇظ” หมายความรวมถึงส่ิงซึ่งไมเปนอาวุธโดยสภาพ แตซึ่งไดใชหรือเจตนา
จะใชประทษุ รายรา งกายถึงอนั ตรายสาหสั อยา งอาวธุ

(๖) “㪌กําÅѧ»ÃзØÉÌҔ หมายความวา ทําการประทุษรายแกกายหรือจิตใจ
ของบุคคล ไมวาจะทําดวยใชแรงกายภาพหรือดวยวิธีอื่นใด และใหหมายความรวมถึงการกระทํา
ใดๆ ซึ่งเปนเหตใุ หบคุ คลหน่งึ บุคคลใดอยูในภาวะท่ีไมส ามารถขดั ขนื ได ไมว า จะโดยใชยาทาํ ใหม ึนเมา
สะกดจติ หรือใชว ธิ ีอน่ื ใดอันคลายคลึงกัน

(๗) “àÍ¡ÊÒÔ หมายความวา กระดาษหรือวัตถุอื่นใดซึ่งไดทําใหปรากฏความหมาย
ดวยตัวอักษร ตัวเลข ผังหรือแผนแบบอยางอื่น จะเปนโดยวิธีพิมพถายภาพหรือวิธีอื่น
อนั เปน หลักฐานแหงความหมายน้ัน

(๘) “àÍ¡ÊÒÃÃÒª¡ÒÔ หมายความวา เอกสารซึ่งเจาพนักงานไดทําขึ้น หรือรับรอง
ในหนา ที่ และใหหมายความรวมถงึ สําเนาเอกสารนั้นๆ ท่ีเจาพนกั งานไดร บั รองในหนาทด่ี วย

(๙) “àÍ¡ÊÒÃÊ·Ô ¸”Ô หมายความวา เอกสารทเี่ ปน หลกั ฐานแหง การกอ เปลยี่ นแปลง โอน
สงวน หรอื ระงับซ่งึ สทิ ธิ

(๑๐) “ÅÒÂÁ×ͪ×èÍ” หมายความรวมถึงลายพิมพน้ิวมือและเคร่ืองหมายซ่ึงบุคคล
ลงไวแทนลายมอื ชือ่ ของตน

(๑๑) “¡ÅÒ§¤×¹” หมายความวา เวลาระหวางพระอาทติ ยตกและพระอาทติ ยข ึน้
(๑๒) “¤ÁØ ¢Ñ§” หมายความวา คมุ ตัว ควบคมุ ขงั กกั ขงั หรอื จาํ คุก
(๑๓) “¤Ò‹ 䶔‹ หมายความวา ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนท เี่ รยี กเอา หรอื ให เพอื่ แลกเปลยี่ น
เสรีภาพของผูถูกเอาตัวไป ผถู ูกหนวงเหนีย่ วหรอื ผูถ ูกกกั ขัง
(๑๔) “ºÑμÃÍÔàÅ¡ç ·Ã͹¡Ô ʏ” หมายความวา

(ก) เอกสารหรือวัตถุอื่นใดไมวาจะมีรูปลักษณะใดท่ีผูออกไดออกใหแก
ผูมีสิทธิใชซ่ึงจะระบุชื่อหรือไมก็ตาม โดยบันทึกขอมูลหรือรหัสไวดวยการประยุกตใชวิธีการ
ทางอิเลก็ ตรอนไฟฟา คลน่ื แมเ หลก็ ไฟฟา หรือวธิ อี ื่นใดในลกั ษณะคลายกัน ซึ่งรวมถึงการประยกุ ตใช
วธิ กี ารทางแสงหรอื วิธีการทางแมเ หล็กใหปรากฏความหมายดวยตวั อักษร ตัวเลข รหัส เลขหมายบตั ร
หรือสัญลักษณอ่นื ใด ทัง้ ทสี่ ามารถมองเหน็ และมองไมเห็นดวยตาเปลา

(ข) ขอมูล รหัส หมายเลขบัญชี หมายเลขชุดทางอิเล็กทรอนิกสหรือ
เคร่ืองมอื ทางตวั เลขใดๆ ทีผ่ อู อกไดออกใหแ กผ มู ีสิทธใิ ช โดยมิไดมกี ารออกเอกสารหรือวัตถุอืน่ ใดให
แตมีวิธกี ารใชใ นทํานองเดยี วกับ (ก) หรอื

๑๑

(ค) สิ่งอ่ืนใดที่ใชประกอบกับขอมูลอิเล็กทรอนิกส โดยมีวัตถุประสงค
เพื่อระบุตวั บคุ คลผเู ปน เจาของ

“(๑๕) “˹ѧÊ×Íà´Ô¹·Ò§” หมายความวา เอกสารสําคัญประจําตัวไมวาจะมี
รูปลักษณะใดท่ีรัฐบาลไทย รัฐบาลตางประเทศ หรือองคการระหวางประเทศออกใหแกบุคคลใด
เพอ่ื ใชแ สดงตนในการเดนิ ทางระหวา งประเทศ และใหห มายความรวมถงึ เอกสารใชแ ทนหนงั สอื เดนิ ทาง
และแบบหนังสือเดินทางทีย่ งั ไมไ ดก รอกขอ ความเก่ียวกบั ผูถ อื หนังสือเดนิ ทางดว ย

“(๑๖) “à¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹” หมายความวา บคุ คลซงึ่ กฎหมายบญั ญตั วิ า เปน เจา พนกั งานหรอื
ไดรับแตงต้ังตามกฎหมายใหปฏิบัติหนาท่ีราชการ ไมวาเปนประจําหรือครั้งคราว และไมวาจะไดรับ
คาตอบแทนหรอื ไม”

“(๑๗) “Ê×èÍÅÒÁ¡Í¹Ò¨ÒÃà´ç¡” หมายความวา วัตถุหรือส่ิงที่แสดงใหรูหรือเห็นถึง
การกระทําทางเพศของเด็กหรือกับเด็กซ่ึงมีอายุไมเกินสิบแปดป โดยรูป เร่ือง หรือลักษณะสามารถ
สื่อไปในทางลามกอนาจาร ไมวาจะอยูในรูปแบบของเอกสาร ภาพเขียน ภาพพิมพ ภาพระบายสี
ส่งิ พมิ พ รปู ภาพ ภาพโฆษณา เครือ่ งหมาย รปู ถา ย ภาพยนตร แถบบันทกึ เสยี ง แถบบนั ทึกภาพ หรือ
รูปแบบอื่นใด ในลักษณะทํานองเดียวกัน และใหหมายความรวมถึงวัตถุหรือสง่ิ ตา งๆ ขางตน ท่จี ัดเกบ็
ในระบบคอมพวิ เตอร หรือในอุปกรณอ ิเลก็ ทรอนกิ สอ่นื ท่สี ามารถแสดงผลใหเขาใจความหมายได”

ในประมวลกฎหมายอาญา หรือกฎหมายอื่น ขอความใดท่ีมีความหมายพิเศษ
กฎหมายจะกําหนดความหมายไวในบทนิยาม สําหรับประมวลกฎหมายอาญาไดบัญญัติไวใน
มาตรา ๑ ดังนี้

“(๑๘) *“¡ÃÐทาํ ชาํ àÃÒ” หมายความวา กระทาํ เพอ่ื สนองความใครข องผกู ระทาํ โดยการใช
อวยั วะเพศของผูกระทาํ ลว งลํา้ อวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือชองปากของผูอ่นื ”

(ñ) “â´Â·¨Ø ÃμÔ ” หมายความวา เพอ่ื แสวงหาประโยชนท ม่ี คิ วรไดโ ดยชอบดว ยกฎหมาย
สําหรบั ตนเองหรือผูอนื่

ͧ¤» ÃСͺ ¤Í×
๑. เพ่อื แสวงหาประโยชน
๒ เปนประโยชนท ีม่ ิควรไดโดยชอบดว ยกฎหมาย
๓. ประโยชนสาํ หรับตนเองหรือผูอื่น
คํา͸ԺÒÂ
๑. คําวา “ประโยชน” ตามขอน้ียอมมีความหมายทั้งประโยชนท่ีเปนทรัพยสินและ
ทม่ี ิใชท รพั ยส นิ ดวย สว นการแสวงหาอาจจะเกิดความเสยี หายแกบุคคลอน่ื หรือไม ไมใชสาระสําคัญ
๒. สําหรับประโยชนที่มิควรไดโดยชอบดวยกฎหมายน้ัน หมายความวา ประโยชน
ท่ีแสวงหาน้ัน ผูแสวงหาไมมีสิทธิท่ีจะไดประโยชนนั้นตามกฎหมายและประโยชนท่ีแสวงหานั้น

* มาตรา ๑ (๑๘) เพ่มิ เตมิ โดย พ.ร.บ.แกไ ขเพ่ิมเตมิ ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบบั ท่ี ๒๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ ลง รกจ.เลม ๑๓๖/
ตอนท่ี ๖๙ ก/หนา ๑๒๗/๒๗ พ.ค. ๖๒

๑๒

จะเปน เพอื่ ตนเองกไ็ ด หรอื เพอ่ื ประโยชนแ กผ อู น่ื กไ็ ด เชน ทบี่ ญั ญตั ไิ วใ นความผดิ เกย่ี วกบั เจา พนกั งาน
ตามมาตรา ๑๔๓, ๑๔๔, ๑๔๗, ๑๕๗, ๑๖๗ ความผดิ เก่ยี วกบั การปลอมและการแปลงมาตรา ๒๔๒
ความผดิ เกย่ี วกบั เสรภี าพตามมาตรา ๓๑๕, ๓๑๗, ๓๒๔ และความผดิ เกยี่ วกบั ทรพั ยต ามมาตรา ๓๓๔,
๓๔๒, ๓๕๐, ๓๕๓ เปนตน

๓. คําวา “โดยทจุ รติ ” เปนมูลเหตจุ งู ใจหรอื เจตนาพเิ ศษ นอกเหนอื จากเจตนาธรรมดา
®Õ¡Ò·èÕ öóùð/òõôô การท่ีจาํ เลยนําน้ํามันซ่ึงจําเลยมีสิทธิเบิกไปใชไดดวยตนเอง
ไปเติมใสรถยนตคันอ่ืนเพ่ือใชในการปฏิบัติหนาที่ตามปกติ ไมปรากฏวาจําเลยไดนาํ รถยนตคันอ่ืนนั้น
ไปใชในกิจกรรมอนื่ ซ่งึ ไมอ ยใู นอาํ นาจหนาทท่ี ่ีจาํ เลยจะพึงใชไดอ นั อาจถอื ไดว า จําเลยไดป ระโยชนจ าก
การใชนํ้ามันเช้ือเพลิงดังกลาวเปนสวนตัว เมื่อขอเท็จจริงท่ีโจทกนาํ สืบยังมีความสงสัยตามสมควร
วาจําเลยไดกระทาํ การเบียดบังเอานา้ํ มันเชื้อเพลิงที่จําเลยสั่งจายไปเปนของจาํ เลยหรือของผูอ่ืน
โดยทจุ รติ หรอื ไม จงึ ใหย กประโยชนแ หง ความสงสยั นน้ั ใหจ ําเลยตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความ
อาญา มาตรา ๒๒๗ วรรคสอง
®Õ¡Ò·èÕ òò÷ù/òôõñ การที่จาํ เลยเอาเคร่ืองรับโทรทัศนสี ๑ เครื่อง เคร่ืองเสียง
สเตอริโอ ๑ เครื่อง ของกลางของผูเสียหายไปจากบานของผูเสียหายเพราะ ส. ซึ่งเปนสามีของ
ผูเสียหายเปนหน้ีจําเลย โดยจําเลยไมไดทําใหทรัพยสินอยางอ่ืนเสียหาย คงยกเอาทรัพยของกลาง
ไปเทาน้ันโดยจาํ เลยบอกวาถาอยากไดคืนให ส.เอาเงินไปไถ ซ่ึงวันรุงข้ึนเม่ือเจาพนักงานตํารวจไป
ท่ีบานของจําเลย ก็พบจาํ เลยและทรัพยของกลางดังกลาว เชื่อวาจําเลยเอาทรัพยของกลางไป
เพื่อให ส. หรอื ผเู สียหายไปตดิ ตอชําระหนีท้ ค่ี างชาํ ระตอกัน การกระทาํ ของจาํ เลยจงึ มไิ ดเปนการเอา
ทรัพยของผูอื่นไปโดยทุจริตหรือเพ่ือแสวงหาประโยชนที่มิควรไดโดยชอบดวยกฎหมายสาํ หรับตนเอง
หรือผูอ่นื ไมเปนความผดิ ฐานลกั ทรพั ย
®¡Õ Ò·Õè ñððñõ/òõõó การที่จาํ เลยที่ ๑ กับพวกและผูเสียหายนั่งด่ืมเบียรอยูดวยกัน
แลว จําเลยท่ี ๑ ลว งกระเปา กางเกงของผเู สยี หายหยบิ กระเปา เงนิ ออกมา เมอื่ เหน็ วา ไมม เี งนิ ในกระเปา
จงึ ลว งหยบิ เอาโทรศพั ทเ คลอื่ นทข่ี องผเู สยี หายออกมาโดยจาํ เลยท่ี ๑ บอกวา ถา ไมใ หโ ทรศพั ทจ ะทํารา ย หลงั เกดิ เหตุ
ผูเสียหายกลบั ไปบา นพัก สกั ครหู นง่ึ จําเลยที่ ๑ กน็ ําโทรศพั ทเ คล่ือนทมี่ าคนื ใหผ ูเสียหายแมจะคืนโดย
โยนลงพนื้ เอาเทา เหยยี บแลว บอกใหผ เู สยี หายคลานมาเอา จากพฤตกิ ารณด งั กลา วเหน็ วา การกระทําของ
จาํ เลยที่ ๑ เปน การทาํ ไปดว ยความคกึ คะนองมไิ ดป ระสงคต อ ทรพั ยโ ดยมเี จตนาทจุ รติ เพอ่ื เอาทรพั ยไ ป
เปน ของตนเอง อนั เปน การขาดองคป ระกอบของความผดิ ฐานลกั ทรพั ย จงึ ไมเ ปน ความผดิ ฐานชงิ ทรพั ย
ตามฟอง การกระทาํ ของจําเลยที่ ๑ เปนเพยี งความผดิ ตอ เสรีภาพตาม ป.อ. มาตรา ๓๐๙ วรรคสอง
®Õ¡Ò·èÕ ö÷ô/òõõô แมข อ เทจ็ จรงิ จะฟง ไดว า จําเลยกบั พวกเขา ไปทํารา ยรา งกายผเู สยี หาย
จนไดรับบาดเจ็บและบังคับเอาทรัพยสินของผูเสียหายไปเทาที่คิดวาพอกับคาจางที่ผูเสียหายเปนหน้ี
พวกจาํ เลยอยูเทาน้ัน ไมไดเอาทรัพยสินอื่น ๆ ที่มีคามากไปดวยก็ตาม แตการกระทําของจาํ เลย
กบั พวกดงั กลา วเปน การกระทาํ ทไ่ี มม อี ํานาจตามกฎหมาย ศาลฎกี าโดยมตทิ ป่ี ระชมุ ใหญ เหน็ วา เปน การ
กระทาํ โดยมีเจตนาทุจรติ แลว การกระทาํ ของจาํ เลยกบั พวกเปน การรวมกนั ปลน ทรัพยของผูเ สยี หาย

๑๓

(ò) “·Ò§ÊÒ¸ÒóД หมายความวา ทางบกหรอื ทางนา้ํ สาํ หรบั ประชาชนใชใ นการจราจร
และใหห มายความรวมถงึ ทางรถไฟและทางรถรางทีม่ รี ถเดนิ สาํ หรับประชาชนโดยสารดว ย

ͧ¤»ÃСͺ ¤×Í
๑. ทางบกหรือทางนํา้
๒. สําหรับประชาชนใชใ นการจราจร
ความผิดเก่ียวกับทางสาธารณะ ไดแก ความผิดท่ีกอใหเกิดภยันตรายตอประชาชน
ตามมาตรา ๒๒๙ และความผิดลหุโทษตามมาตรา ๓๗๒, ๓๗๘, ๓๘๕, ๓๘๖, ๓๘๗, ๓๙๖
คํา͸ԺÒ ทางบก คือ ทางสําหรับคนเดิน หรือท้ังคนและยานพาหนะเดิน รวมท้ัง
ทางรถไฟ ทางรถรางทม่ี รี ถเดนิ ดว ย สว นทางนาํ้ นนั้ คอื แมน าํ้ ลาํ คลองตา งๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ เองโดยธรรมชาติ
หรอื ทาํ การขดุ ขนึ้ แตท างบกหรอื ทางนา้ํ ดงั กลา วนจ้ี ะเปน ทางสาธารณะมสี าระสาํ คญั อยทู วี่ า ประชาชน
ใชในการจราจรได ไมว าจะใชเดนิ เขา ออกหรือโดยยานพาหนะเขา ออก
แตก็มีขอยกเวนอยูในสวนทางของเอกชน ซ่ึงเจาของเขาสงวนสิทธิ์ไวแมจะอนุญาตให
ประชาชนเดนิ ก็ไมใชทางสาธารณะ
ทางหลวงแผน ดนิ ทางหลวงจงั หวดั ไมว า จะใชใ นการจราจรระหวา งจงั หวดั อาํ เภอ ตาํ บล
หรือหมูบาน แมนํ้าลําคลองตางๆ ซ่ึงเกิดจากธรรมชาติยอมถือวาเปนทางสาธารณะ สวนทางบก
หรอื ทางนาํ้ ของเอกชนทาํ ขน้ึ เมอ่ื มกี ารอทุ ศิ ใหเ ปน ทางสาธารณะแลว กย็ อ มถอื เปน ทางสาธารณะดว ย
(ทางหลวง คือทางสาธารณะ)
®Õ¡Ò·Õè ÷ðö/òô÷ð ท่ีชายเลนริมทะเลซ่ึงน้ําทะเลข้ึนทวมถึง แตมีตนไมงอกขึ้น
จนเปนปา ราษฎรใชเ ดนิ เรือไมไ ด ไมเปนทางหลวง (ทางหลวง คอื ทางสาธารณะ)
®Õ¡Ò·èÕ ò÷/òôöö ที่ชายตล่ิงซึ่งติดตอกับถนนหลวง หาใชถนนหลวงไม (เปนทาง
สาธารณะ)
®Õ¡Ò·èÕ øùôó/ôò บานเปนเคหสถานซึ่งใชเปนท่ีอยูอาศัยของจําเลยและบริเวณ
เพิงหนาบานเปนบริเวณของบานซึ่งใชเปนรานคาและท่ีอยูอาศัยดวย จําเลยพาอาวุธปนติดตัวอยูใน
บริเวณที่อยูอ าศัยของตนจงึ ไมเปน ความผิดฐานพาอาวธุ ปนไปในเมืองหมูบา น
®Õ¡Ò·èÕ ñðòð/òõðó ท่ีดินของจําเลยเปนที่ดินมือเปลา มีทางพิพาทมาไมนอยกวา
๔๐ ป สาธารณชนไดใชเดินและชักลากไมมาประมาณ ๒๐ ป ต้ังแตเจาของเดิมกอนจําเลยไมมี
การหวงหามแสดงสิทธิใดๆ เลยดังน้ี ถือวา เปน การอทุ ศิ โดยปรยิ ายเปนทางสาธารณะแลว จาํ เลยไป
ปด ก้ันยอมเปน ผิดตามมาตรา ๓๘๕
®¡Õ Ò·èÕ ÷öõ/òôùø การอุทิศท่ีดินใหทางสาธารณะน้ันแมจะยังมิไดแกโฉนดที่ดิน
และใชม ายังไมถงึ ๑๐ ป กไ็ มสาํ คัญตอ งถือวา เปน ทางสาธารณะ
®Õ¡Ò·Õè ññøö/òõðð ฎีกาท่ี ๑๐๒๐-๑๐๒๑/๒๕๐๕ คลองที่เจาของท่ีดินขุดข้ึน
แมจ ะมีผใู ชเรือเขา ออกมานาน แตเจา ของมไิ ดอทุ ิศใหเ ปนทางสาธารณะนัน้ ไมใชทางสาธารณะ
(ó) “ÊÒ¸Òóʶҹ” หมายความวา สถานท่ีใดๆ ซ่ึงประชาชนมีความชอบธรรม
ที่จะเขา ไปได

๑๔

ͧ¤» ÃСͺ ¤×Í
๑. สถานทใี่ ดๆ
๒. ประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเขาไปได
ความผิดเก่ียวกับสาธารณสถาน ไดแก ความผิดเก่ียวกับการกอใหเกิดภยันตราย
ตอประชาชน มาตรา ๒๑๘(๔) ความผิดเกี่ยวกับทรัพย มาตรา ๓๓๕(๙) และความผิดลหุโทษ
ตามมาตรา ๓๗๒, ๓๗๘ และ ๓๙๗
คาํ ͸ԺÒÂ
๑. คําวา สาธารณสถาน เปนคําตรงขามกับคําวา “ท่ีรโหฐาน” ตามท่ีบัญญัติไวใน
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒ (๑๓) “ท่ีรโหฐาน” หมายถึง สถานท่ีใดๆ
ซ่ึงมใิ ชสาธารณสถาน
๒. คําวา สถานที่ใดๆ นน้ั จะเปน ท่มี ีสิ่งปลูกสรางหรือทว่ี างเปลา มขี อบเขตก็ได เชน
สวนสัตว โรงภาพยนตร แมจ ะตองเสียคาธรรมเนยี มเขา ชม กย็ ังถือวาเปนทีส่ าธารณสถาน ขอสาํ คัญ
จึงอยูที่วาเปนสถานท่ีที่ประชาชนมีความชอบธรรมท่ีจะเขาไปไดหรือไม และการเขาไปน้ันไมวา
จะเปนการเปดช่ัวคราวหรือประจําตลอดไป แตมีขอยกเวนอยูวาในสถานที่แหงเดียวกันน้ันอาจแยก
ออกไดเ ปนสัดสว นวา สว นใดเปน ท่สี าธารณสถาน และสวนใดไมถ อื เปน สถานทีส่ าธารณสถาน
®Õ¡Ò·Õè ñùðø/òõñø จําเลยจอดรถขวางกนั้ ไมใ หโ จทกถ อยรถออกไปจากซอยทเ่ี กดิ เหตุ
เปนเพียงขัดขวางไมใหโจทกนาํ รถออกไปไดเทานั้น สวนตัวโจทกมีอิสระที่จะออกไปจากซอยได
การกระทําของจําเลยยังไมเปนความผิดตามประมวลกฎหมายความอาญามาตรา ๓๑๐ แตเปนการ
รังแกขมเหงทําใหโจทกไดรับความเดือดรอนรําคาญ แมซอยนั้นจะอยูในท่ีดินของผูมีช่ือแบงใหผูอื่น
เชา ปลกู บา น แตประชาชนก็ชอบทีจ่ ะเขา ออกไปตดิ ตอกับผทู ี่อยูใ นซอยนั้นได ถอื ไดว า จําเลยไดกระทาํ
ในท่ีสาธารณสถาน จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๙๗
®¡Õ Ò·Õè øøó/òõòð หองโถงในสถานการคาประเวณีผิดกฎหมายเวลารับแขก
มาเท่ียวเปนสาธารณสถานซ่ึงประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเขาไปได พลตํารวจมีอํานาจคน
โดยไมตองมีหมายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๙๓ จําเลยขัดขวาง
เปน ความผิดตามมาตรา ๑๔๐ ตํารวจจบั ไดต ามมาตรา ๗๘ (๓)
๓. สถานที่บางแหงเปนสาธารณสถานบางเวลา เชน โรงภาพยนตร สถานท่ีราชการ
รานคา เฉพาะเวลาท่ีเปด ทาํ การ
๔. สถานท่บี างแหงเปนสาธารณสถานบางสวน เชน ทท่ี ําการศาลยุติธรรม รานอาหาร
๕. สถานที่บางแหงอาจจาํ กดั อายผุ เู ขา เชน สถานบรกิ ารที่บุคคลท่จี ะเขาไปตอ งมีอายุ
ไมต ่ํากวา ๒๐ ป ก็เปนสาธารณสถาน
๖. คาํ วาสาธารณสถาน ตรงขามกบั คาํ วาท่ีรโหฐาน ตาม ป.วอิ าญา ซงึ่ หมายความถึง
สถานท่ีใด ๆ ซ่ึงมิใชสาธารณสถานตามกฎหมายลักษณะอาญา ไดแก ประมวลกฎหมายอาญา
ในปจจบุ นั น่ันเอง

๑๕

- รานคาเปนท่ีซ่ึงประชาชนมีความชอบธรรมท่ีจะเขาไปได ถือเปนสาธารณสถาน
(คําพพิ ากษาฎกี าท่ี ๑๓๖/๒๕๐๘)

- รา นขายกาแฟเปนสาธารณสถาน (ฎีกาที่ ๑๗๓๒/๒๕๑๖)
- ถนนในซอยเปน สาธารณสถาน (ฎีกาท่ี ๑๙๐๘/๒๕๑๘)
¢ŒÍÊѧà¡μ สถานที่ใดจะเปนสาธารณสถานหรือไม ไมคํานึงวาสถานท่ีนั้นเปนสถานที่
ผดิ กฎหมายหรือไม เพยี งแตพิจารณาวา สถานทน่ี ั้นประชาชนมคี วามชอบธรรมทจ่ี ะเขาไปใชไดหรอื ไม
สถานคา ประเวณถี อื ไดว า เปน สถานทป่ี ระชาชนมคี วามชอบธรรมทจี่ ะเขา ไปไดถ อื วา เปน สาธารณสถาน
ไมใชท่รี โหฐาน (ฎีกาที่ ๘๘๓/๒๕๒๐)
®Õ¡Ò·Õè õôõö/òõõó โจทกบรรยายฟองวา จําเลยลักเหรียญกษาปณรวมเปนเงิน
๘๔๒ บาท ของวัดผูเสียหายโดยเหรียญกษาปณดังกลาวอยูในพานและบาตรวางอยูบนชั้นสามของ
อาคารเจษฎาบดนิ ทร ซง่ึ เปน ทปี่ ระดษิ ฐานพระพทุ ธรปู เพอ่ื ใหป ระชาชนมากราบไหวส กั การะบชู าภายในวดั
ผูเสียหาย สถานที่เกิดเหตุลักทรัพยจึงเปนสถานที่ซ่ึงประชาชนทั่วไปมีความชอบธรรมท่ีจะเขาไปได
ตรงกับคํานยิ ามคําวา “สาธารณสถาน” ตาม ป.อ.มาตรา ๑ (๓) ทง้ั นี้เพื่อการสักการะบชู าพระพทุ ธรูป
ซึ่งประดิษฐานไวใหประชาชนกราบไหวสักการะบูชา จึงเปนการลักทรัพยในสถานท่ีบูชาสาธารณะ
ดังทโ่ี จทกบ รรยายฟอ งไวแลว
(ô) “à¤Ëʶҹ” หมายความวา ทซ่ี ึ่งใชเปน ท่อี ยูอ าศัย เชน เรือน โรง เรือ หรือ แพ
ซ่ึงคนอาศัยอยู และใหหมายความรวมถึงบริเวณของท่ีซึ่งใชเปนที่อยูอาศัยนั้นดวย จะมีรั้วลอม
หรอื ไมก ต็ าม
ͧ¤»ÃСͺ¤×Í
๑. เปนที่ซึง่ ใชอ ยูอ าศยั
๒. ท่ีนั้นคนอยอู าศัย รวมถึงบริเวณทซ่ี ่งึ ใชเปนท่ีอยอู าศยั นัน้ ดวย
คํา͸ԺÒÂ
๑. ที่ซ่ึงใชอยูอาศัยน้ัน ไดแก เรือน โรง เรือ หรือแพ ตามที่ระบุไว นอกจากท่ีระบุ
แลวอาจจะมีสิ่งอ่ืนๆ อีก ขอสาํ คัญอยูท่ีวา ที่ซ่ึงใชอยูอาศัยนั้นเปนที่คนอยูอาศัยจริงๆ ถาไมมี
คนอยอู าศัยแลวกไ็ มเรยี กวา เคหสถาน เชน เรือนปลกู ไว แตไ มมีคนอาศัยอยเู ลย เปน ตน แตถ า เปน
ทีอ่ ยอู าศัยแลว ขณะทเี่ กิดเหตไุ ปธุระเสยี หรือปดใสกญุ แจไวช ว่ั คราวกย็ งั นับวาเปน เคหสถาน
สาํ หรับหองเชาในโรงแรม บังกะโล แฟลต ท่ีใหคนเชาเปนปกติคงถือเปนเคหสถานได
แมผูอาศัยจะเปล่ียนหนากันอยูตลอดเวลา สวนหองนอนในขบวนรถไฟหรือในเรือซ่ึงคนโดยสาร
ใชน อนชวั่ คราวในระหวา งเดนิ ทางไมเ ปน เคหสถาน แตห อ งนอนของตน เรอื ในเรอื ทอ่ี ยปู ระจาํ เปน เคหสถาน
กางเต็นทปลูกเพิงขัดหางนอนระหวางเดินทางเปนระยะๆ ไมเปนท่ีหลับนอนตามปกติ
ถงึ แมจ ะเปน เตน็ ทช นดิ พเิ ศษมเี ครอื่ งปรบั อากาศกไ็ มเ ปน เคหสถาน ทงั้ นี้ ไมร วมถงึ เตน็ ทท ใี่ ชห ลบั นอน
ระหวางทาํ การสาํ รวจ ณ ท่ีใดเปนคราวๆ แมเสร็จแลวจะยายไปท่ีอ่ืน ก็ถือเปนเคหสถาน
ไดเ ชนเดียวกบั ทพี่ กั คนงานกนิ อยูหลับนอนชัว่ คราวระหวา งกอสรางอาคารกเ็ ปน เคหสถาน

๑๖

๒. ขอความที่วา รวมถึงบรเิ วณของท่ซี ง่ึ ใชเปนทีอ่ ยูอ าศยั นน้ั ยอ มหมายถึงเคหสถาน
ที่ตอ เนอ่ื งกับทีซ่ ึง่ คนใชเ ปน ท่อี ยูอาศัยนน้ั เชน นอกชาน หรอื เฉลยี ง หรอื ครวั หรอื เลา ไก ซงึ่ ติดตอ
เกีย่ วเนื่องกับเรือน หรือหางเรอื นเล็กนอ ย เปน ตน

®Õ¡Ò·Õè õòò/òô÷õ รวั้ บา นเปน ขอบเขตเคหสถานไมใชเ ปน เคหสถาน
®Õ¡Ò·èÕ õñõ/òôøö โรงกลึงแมอยูในรั้วบานแตหางตัวเรือน ๑ เสนไมใชอยูอาศัย
ไมเ ปนเคหสถาน
®Õ¡Ò·Õè óùó/òõðù เลาไกไมใชที่ซึ่งคนอยูอาศัยก็จริง แตอยูหางจากเรือนผูเสียหาย
ประมาณ ๑ เมตร แมแ ยกออกไปตา งหากจากตวั เรอื นแลวก็ยงั อยใู นทด่ี นิ อนั เปน บรเิ วณของโรงเรอื น
ซึ่งมีรั้วอยูดวย มิใชอยูในท่ีซ่ึงเปนบริเวณตางหากจากโรงเรือนซ่ึงใชเปนท่ีคนอยูอาศัย จําเลยลักไก
ในเลา ซงึ่ อยใู นบรเิ วณทอ่ี ยอู าศยั จงึ เปน การลกั ทรพั ยใ นเคหสถานทจี่ าํ เลยไดเ ขา ไปโดยไมไ ดร บั อนญุ าต
เปน ความผดิ ตามมาตรา ๓๓๕ (๘) ดวย
®Õ¡Ò·èÕ ñòõð/òõòð สถานทเ่ี กิดเหตุเปนคอกสกุ รและหองพกั คนงาน ซง่ึ มีร้ัวสงั กะสี
ลอมรอบทุกดาน คอกสุกรสรางข้ึนเปนวัตถุประสงคอันสําคัญของผูเสียหายสําหรับเก็บรักษาสุกร
โดยเฉพาะ สวนหองพักคนงานและหองแถวเปนวัตถุประสงคอันดับรองท่ีสรางขึ้นใหคนงาน
พักอาศยั ชว่ั คราวเพอ่ื ดูแลสกุ ร คอกสกุ รแมจ ะอยูติดกบั หองแถว ก็ไมใชบรเิ วณของหองแถวซ่ึงใชเปน
ทอี่ ยูอาศยั ของคนดงั กลาว คอกสกุ รจงึ ไมใ ชเคหสถาน
®¡Õ Ò·èÕ òðñô/òõóö กุฏิพระเปนเคหสถาน
®¡Õ Ò·èÕ ó÷øð/òõóö แผงลอยในตลาดสดท่ีทางราชการจัดใหพอคา แมคาเชา เปน
ที่ขายสินคาของแตละคนเปนสัดสวน ผูเสียหายไดเชาทําเพิงพักเปนที่ขายของ และไดพักอาศัย
ท่บี รเิ วณคาขายนั้นดวย เพิงพกั แผงลอยนน้ั จึงเปนเคหสถาน
®¡Õ Ò·Õè öù/òõóù สนามหญาหนาบานพักแมจะเปนผืนเดียวตลอดแนวเขตบานพัก
ไมมีรัว้ ลอ มหรอื เคร่ืองหมายแสดงเขตก็ตามเปนบริเวณทีอ่ ยูอาศยั จึงเปน เคหสถาน
๓. โดยทวั่ ไปเคหสถานกค็ อื สถานทอ่ี ยอู าศยั แตบ ทนยิ ามตามมาตรา ๑(๔) ใหห มายความ
รวมถงึ บรเิ วณของทซ่ี งึ่ ใชเ ปน ทอี่ ยอู าศยั ดว ย บรเิ วณของทซี่ งึ่ อยอู าศยั หมายถงึ บรเิ วณทอี่ ยใู กลช ดิ ตดิ กบั
ทซ่ี ง่ึ คนใชอ ยอู าศัยนั้น ถาอยูไกลออกไปมากก็ไมถ ือวาเปน เคหสถาน
μÑÇÍÂÒ‹ § โรงเก็บรถยนตทีอ่ ยูติดกบั ตัวบา น กฏุ พิ ระ นอกชานเรอื น รถตทู เ่ี จา ของใชเปน
ทอี่ ยอู าศัยหลบั นอน เลาไกใ ตถ นุ บา น เพงิ พักสําหรับนอนเฝาอวนเวลาตากอวน
เคหสถานตอ งเปน ทท่ี มี่ วี ตั ถปุ ระสงคห ลกั เพอ่ื ใชเ ปน ทอี่ ยอู าศยั คอื ตอ งมคี นอยอู าศยั แลว
ถายงั ไมมคี นอยอู าศัยกไ็ มเปนเคหสถาน เชน บานท่ยี ังไมม คี นอยูอาศัย บา นเชา ท่ีไมม คี นเชา
®Õ¡Ò·èÕ ñùðô/òõôö จําเลยท่ี ๑ นําบนั ไดวางรมิ หนา ตา งชน้ั บนบา นผเู สยี หายและปน
ไปเรียกผูเสียหาย เม่ือผูเสียหายเปดประตูออกมา จาํ เลยท่ี ๑ กอดอุมผูเสียหายและกระทาํ อนาจาร
ปลกุ ปลํา้ ผเู สยี หายทบี่ รเิ วณสนามหญา ขา งหนา บา นพกั ผเู สยี หาย แมส นามหญา กบั บา นพกั ไมม รี ว้ั ลอ มรอบ
และไมมีเคร่ืองหมายแสดงวาเปนแนวเขตของบานพักแตก็อยูขางหนาบานพักซึ่งเปนท่ีอยูอาศัยของ

๑๗

ผูเสียหายถือไดวาจาํ เลยที่ ๑ เขาไปในเคหสถานของผูเสียหายในเวลากลางคืนอันเปนการรบกวน
การครอบครองอสังหาริมทรัพยของผูเสียหายโดยปกติสุขและกระทาํ อนาจารโดยใชกาํ ลังประทุษราย
อันเปน การกระทาํ ตอ เนื่องไมข าดตอนกัน จึงเปนกรรมเดยี วผดิ ตอกฎหมายหลายบท

®Õ¡Ò·Õè ÷ðøø/òõõð ทเ่ี กดิ เหตอุ ยบู รเิ วณหนา หอ งพกั ของผเู สยี หายท่ี ๑ มกี ารกนั้ ผนงั
ดว ยอิฐบลอ็ กและมชี อ งประตทู างเขากนั้ ไวเ ปน สดั สวน บรเิ วณดงั กลา วเปน พนื้ ทใี่ ชส อยของผูเ สียหาย
ท่ี ๑ บุคคลอื่นไมสามารถทีจ่ ะเขา ไปใชส อยได ทเ่ี กิดเหตุถือไดว า เปน เคหสถานของผูเสยี หายท่ี ๑ ตาม
ป.อ. มาตรา ๑ (๔) การทจ่ี าํ เลยกบั พวกเขา ไปรมุ ชกตอ ย เตะผเู สยี หายทงั้ สองทบี่ รเิ วณหนา หอ งพกั ของ
ผูเสยี หายท่ี ๑ ถือวาเปนการเขา ไปในเคหสถานของผอู ่ืนโดยไมม เี หตอุ นั สมควร การกระทําของจําเลย
เปนความผิดฐานรวมกันบุกรุกเคหสถานของผูอื่นในเวลากลางคืนตาม ป.อ. มาตรา ๓๖๕ (๒) (๓)
ประกอบ มาตรา ๓๖๔

®¡Õ Ò·èÕ ù÷ùõ/òõõò แมจ ะไดค วามวา บา นของผเู สยี หายไมม รี วั้ ลอ มและบรเิ วณหลงั บา น
ผเู สียหายอยตู ิดกับถนนสว นบคุ คลกต็ าม กรณีจะถอื เอาเพยี งฝาผนงั และประตเู หล็กดา นหลงั เปนแนว
ของเคหสถานยอมไมได เพราะเคหสถานตามกฎหมายใหหมายความรวมถึงบริเวณของที่ซึ่งใชเปน
ทอี่ ยอู าศยั นนั้ ดว ย เมอ่ื ผเู สยี หายไดใ ชป ระโยชนบ รเิ วณรอบบา นเปน ทว่ี างสง่ิ ของ เครอ่ื งใชอ ยโู ดยรอบ
ทางดานหลังมีโองน้ําและถวยชามวางอยู กับมีหลังคายื่นออกมาคลุม การที่จําเลยท้ังสองไปอยูตรง
บริเวณดังกลาวยอมตองถือวาเปนการเขาไปในเคหสถานของผูเสียหายแลว จําเลยท้ังสองเขาไปใน
ขณะผูเสียหายไมอยูบาน ท้ังไดความวาผูเสียหายกับจําเลยทั้งสองมีสาเหตุโกรธเคืองกันมากอน
เร่ืองจําเลยลักลอบตอสายไฟจากมิเตอรบานของผูเสียหาย จึงย่ิงไมมีเหตุสมควรท่ีจะเขาไปอยูที่
บรเิ วณประตหู ลงั บา นของผเู สยี หายและการทจ่ี าํ เลยทง้ั สองนาํ สบื ปฏเิ สธวา ไมไ ดเ ขา ไปในบรเิ วณประตู
หลงั บา นของผเู สยี หาย จงึ ยง่ิ เปน พริ ธุ สอ แสดงใหเ หน็ ถงึ เจตนาอนั ไมส จุ รติ ของจาํ เลยทงั้ สอง พฤตกิ ารณ
ของจาํ เลยทง้ั สองดงั กลา วฟง ไดว า จาํ เลยทงั้ สองกระทาํ ความผดิ ฐานบกุ รกุ เขา ไปในเคหสถานของผอู นื่
โดยไมม ีเหตุอนั สมควร

(õ) ÍÒÇظ ใหหมายความรวมถึงสิ่งซ่ึงไมเปนอาวุธโดยสภาพ แตซึ่งไดใชหรือเจตนา
จะใชประทษุ รา ยรา งกายถึงอันตรายสาหัสอยา งอาวุธ

ความผดิ เกี่ยวกบั อาวุธ ไดแก ความผดิ ตอความม่นั คงของรฐั ตามมาตรา ๑๑๔ ความผดิ
ตอเจาพนักงาน มาตรา ๑๔๐ ความผิดเก่ียวกับความสงบสุขของประชาชน มาตรา ๒๑๕ ความผิด
เกย่ี วกบั เพศ มาตรา ๒๗๖ ความผดิ ตอ เสรภี าพ มาตรา ๓๐๙ ความผดิ เกย่ี วกบั ทรพั ย มาตรา ๓๓๕(๗),
๓๓๖ ทวิ, ๓๓๗ (๒), ๓๔๐, ๓๔๐ ทวิ, ๓๔๐ ตรี, ๓๖๕ และความผิดลหุโทษ ตามมาตรา ๓๗๑
และ ๓๗๙

คาํ ͸ԺÒÂ
กฎหมายไมไดใหความหมายของคําวา อาวุธไว ดังนั้น ความหมายของอาวุธจึงอยูใน
ความหมายท่ัวไป หมายถึง เคร่ืองไมเครือ่ งมอื ท่สี รางขึ้นมาใชประหัตประหารโดยตรง เชน ปน , มดี ,
ลูกระเบิด สงิ่ เหลาน้เี ปน อาวุธโดยสภาพ

๑๘

บทนิยามบทนี้ใหรวมถึงส่ิงท่ีมิใชอาวุธโดยสภาพ แตไดใชหรือเจตนาจะใชประทุษราย
รา งกายถงึ สาหสั ไดอ ยา งอาวธุ หมายถงึ ใชป ระทษุ รา ยทาํ นองเดยี วกบั อาวธุ โดยสภาพ เชน สวิ่ มดี ทาํ ครวั
ขวานผา ฟน ไขควง เหล็กขูดชารป เปน ตน

ÊÃØ» อาวุธ แยกออกเปน ๒ ประเภท
๑. อาวธุ โดยสภาพ หรือ เคร่ืองมือทํารา ย ประหัตประหาร
®Õ¡Ò·Õè ñùðó/òõòð ปนท่ีไมอาจใชยิงทําอันตรายแกชีวิตและวัตถุไดก็เปนอาวุธปน
ตาม พ.ร.บ.อาวุธปนฯ และเปนอาวุธโดยสภาพ
®Õ¡Ò·Õè ñôõù/òõòó อาวุธปนไมมีลูกโม แกนลูกโมไมสามารถใชยิงไดเปนอาวุธ
โดยสภาพ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑ (๕)
๒. อาวุธโดยการใช ไมใชเ ครอื่ งมือทาํ รายประหัตประหารโดยตรง แตไ ดใชหรอื เจตนา
จะใชป ระทษุ รายรางกายถึงสาหัสไดทาํ นองเดยี วกับอาวธุ
®¡Õ Ò·èÕ ññòñ/òôøñ ไมพาย ตามสภาพเปน เคร่ืองใชส าํ หรับเรือชนิดหนงึ่ แตเม่อื ได
นํามาทํารา ยรางกายถึงอันตรายสาหัส กถ็ อื ไดว าไมพายนน้ั เปนอาวุธ
®Õ¡Ò·èÕ òððù/òõòò เหลก็ ขดู ชารป หรอื สวิ่ ทจ่ี าํ เลยชกั ออกมาขจู ะทาํ รา ยในการปลน
เปนอาวุธ
®Õ¡Ò·Õè ñøôô/òõóö ปากกา เปน อาวธุ โดยการใชได
®¡Õ Ò·èÕ ñôðð/òõóø มีดคัตเตอรแมจะไมเปนอาวุธโดยสภาพ แตจะเอามาใชขมขู
ผูเสยี หายทุกครงั้ จึงเปนอาวุธโดยเจตนาจะใช
®Õ¡Ò·èÕ òõôø/òõôõ จาํ เลยใชก อ นหนิ ซง่ึ ถงึ แมจ ะไมใ ชอ าวธุ โดยสภาพ แตเ มอ่ื ขอ เทจ็ จรงิ
ปรากฏวา เปน กอนหนิ ที่มีนํ้าหนกั ถงึ ๑ กิโลกรมั เศษ และครงึ่ กิโลกรมั จาํ นวนหลายกอ นทุมมาจากท่ีสงู
ลงมาในหมคู นจาํ นวนมากท่อี ยใู นพืน้ ที่จาํ กดั เชน เรือทีเ่ กดิ เหตเุ ชน นี้ จําเลยหรอื บคุ คลผอู ยูใ นฐานะ
เชนเดียวกับจําเลยยอมเล็งเห็นผลของการกระทําน้ันไดวากอนหินอาจจะไปถูกที่ศีรษะซ่ึงเปนอวัยวะ
ทสี่ าํ คัญเปนผลทาํ ใหถึงตายได แตจําเลยก็หาไดไยดีตอ ผลที่จะเกิดข้ึนไม จึงถอื วาจาํ เลย มีเจตนาฆา
ถา ไมใ ชอ าวธุ โดยสภาพ สง่ิ นน้ั จะตอ งมลี กั ษณะอนั อาจใชป ระทษุ รา ยรา งกายถงึ อนั ตราย
สาหัสอยางอาวุธได จงึ จะเปน อาวุธโดยการใช ดงั น้นั สเปรยพ รกิ ไทยจึงไมใชอ าวธุ ตามความหมายน้ี
®¡Õ Ò·Õè õòðñ/òõõõ แมน ้าํ กรดจะไมใชอาวุธโดยสภาพ แตเ ปน สารเคมกี ัดกรอนชนิด
รุนแรงทําใหเกิดอันตรายถึงแกชีวิต จาํ เลยใชนา้ํ กรดปริมาณมากเทราดใสรางกายผูตาย มีบาดแผล
ทวั่ ทงั้ รา งกาย ผเู สยี หายถงึ แกค วามตายในคนื นน้ั เนอ่ื งจากระบบไหลเวยี นโลหติ ลม เหลว จําเลยรสู ํานกึ
และยอ มเลง็ เหน็ ผลไดว า การกระทาํ ดงั กลา วเปน เหตใุ หผ ตู ายถงึ แกค วามตายได โดยกอ นตายผตู ายตอ ง
ไดรับความลาํ บากและเจ็บปวดอยางทรมานแสนสาหัสจากบาดแผลท่ีไดรับ จาํ เลยมีความผิดฐานฆา
ผูตายโดยทรมานและทารุณโหดราย

๑๙

®Õ¡Ò·Õè òðóñ/òõõô สเปรยพริกไทยผลิตขึ้นโดยมีวัตถุประสงคในการใชฉีดพน
เพื่อยับย้ังบุคคลหรือสัตวรายมิใหเขาใกลหรือทําอันตรายผูอ่ืน ผูที่ถูกฉีดพนสารในกระปองสเปรยใส
จะมอี าการสาํ ลกั จาม ระคายเคอื งหรอื แสบตา หลงั จากนน้ั ไมน านกส็ ามารถหายเปน ปกตไิ ด เหน็ ไดว า
การผลิตสเปรยพริกไทยดังกลาว มิไดผลิตข้ึนเพื่อทํารายผูใดจึงไมเปนอาวุธโดยสภาพ ท้ังไมอาจใช
ประทุษรายรางกายถึงอันตรายสาหัสอยางอาวุธ สเปรยพริกไทยจึงไมเปนอาวุธตามความหมายของ
ป.อ.มาตรา ๑ (๕)

(ö) ãªกŒ าํ Å§Ñ »ÃзÉØ ÃÒŒ  หมายความวา ทําการประทษุ รา ยแกก ายหรอื จติ ใจของบคุ คล
ไมวา จะทําดวยใชแรงกายภาพหรือดว ยวิธอี น่ื ใด และใหหมายความรวมถงึ การกระทาํ ใดๆ ซ่งึ เปน เหตุ
ใหบ ุคคลหน่งึ บุคคลใดอยูใ นภาวะทไี่ มสามารถขัดขนื ได ไมว าจะโดยใชยา ทําใหมนึ เมา สะกดจิต หรือ
ใชวธิ อี ่นื ใดอนั คลายคลึงกนั

คาํ ͸ԺÒÂ
แยกการใชกําลังประทษุ รายออกได ๒ ประเภท
๑. ทําการประทุษรายแกกายหรือจิตใจโดยตรง กลาวคือ กระทําตอเนื้อตัวรางกาย
จติ ใจโดยแท เชน ตี ฟน แทง
๒. ทําใหอยูในภาวะไมอาจขัดขืนได เชน การใชยาทําใหมึนเมา สะกดจิตหรือใชวิธี
อ่ืนใดอันคลา ยคลงึ กนั เชน ใชย านอนหลับใสกาแฟใหดมื่ จนหลบั (ฎีกา ๓๕๖๒/๒๕๓๗)
¡ÒÃ㪌กําÅѧ»ÃзØÉÌҠกระทําได ๒ วธิ ี
๑. ใชแรงกายภาพ หมายถึง การใชความสามารถทางกาย เชน ตบ, ชก, ตอ ย
®¡Õ Ò·Õè ò÷ó/òõðù การใชเทาเง้ือจะถีบไมเปนอันตรายตอจิตใจ เพราะอันตราย
ตอจิตใจนั้นตองเปนผลจากการทําราย แตความรูสึกวาถูกเหยียดหยาม เจ็บใจ แคนใจ เหลานี้เปน
อารมณห าใชเ ปนอันตรายตอ จิตใจไม
®Õ¡Ò·èÕ ñöðù/òõñö จ. เฝา บา นของ น. กาํ ลงั ถางหญา อยหู นาบา น ไดยนิ เสียงแตร
รถในบานจึงเดนิ ไปเปดประตแู ตเปดไมออก ขณะเรยี กบตุ รของ น. อยู จําเลยท่ี ๑ เขามาจบั มอื จ.
และบอกใหเขาไปในบานและไมใหสงเสียงดัง ซึ่งขณะนั้นจําเลยที่ ๒ และท่ี ๓ กําลังลักทรัพยของ
เจา ทรพั ยอ ยู การกระทาํ ของจาํ เลยดงั กลา ว เปน การใชก าํ ลงั ประทษุ รา ย จ. ถอื ไดว า จาํ เลยรว มกนั ลกั ทรพั ย
โดยใชก าํ ลงั ประทุษรา ยมคี วามผิดฐานปลน ทรพั ย
®¡Õ Ò·Õè õò/òõòó การกอดเอว หรือดึงเสื้อเจาพนักงานเพื่อไมใหเขาจับกุมผูตองหา
เปนการใชแรงกายภาพ
®¡Õ Ò·Õè òøõð/òõôó ใชมือผลักเจาพนักงาน กระเด็นไปติดประตูและใชตัวดัน
เพอื่ แยง ของกลางเปน การใชก ําลังประทุษราย
๒. ใชวิธอี น่ื ใด หมายถงึ การกระทําท่ีเกนิ ไปกวาความสามารถทางกาย อาจจะมีอาวธุ
หรอื เคร่อื งมอื อยา งอื่นเขา มาชวยเหลือ เชน ใชย า, ใชไ ฟฟา

๒๐

®¡Õ Ò·èÕ ñôöõ/òõñù ใชลวดขึงขวางถนน ใหคนขี่จักรยานยนตชนลวดเปนอันตราย
แกตนเอง เปนการกระทําท่ีไมไดใชแรงกายภาพโดยตรง แตเปนการกระทําโดยวิธีอ่ืน ในทาํ นอง
เดยี วกับการใชแรงกายภาพ

®Õ¡Ò·èÕ óòöù/òõóñ (ประชุมใหญ) จําเลยกับพวกใชยากดประสาทอยางแรง ใสลง
ในกาแฟใหผูเสียหายดื่ม เมื่อผูเสียหายด่ืมแลวส้ินสติไปแทบจะทันที แลวจําเลยกับพวกไดลัก
เอาทรัพยของผูเสียหายไป ผูเสียหายฟนคืนสติที่โรงพยาบาลหลังจากเวลาลวงเลยไปประมาณ
๑๒ ชวั่ โมงดงั น้ี แมผ เู สยี หายจะไมไ ดร บั อนั ตรายแกก ายอยา งหนง่ึ อยา งใดกถ็ อื ไดว า เปน อนั ตรายแกจ ติ ใจ
ของผูเสียหายแลว การกระทําของจําเลยจึงเปนความผิดฐานชิงทรัพยตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๓๓๙ วรรคสาม

®¡Õ Ò·èÕ ùòôñ/òõô÷ จําเลยกบั พวกนาํ ธปู ซ่ึงมสี ว นผสมของส่ิงของบางอยา งที่ทาํ ให
มึนเมาออกมาใหโจทกรวมและ บ. ดม ทําใหโจทกรวมเกิดอาการมึนศีรษะ เปนเหตุใหอยูในภาวะ
ไมส ามารถขดั ขนื ไดแ ลว จาํ เลยกบั พวกอกี ๒ คน ไดล กั ทรพั ยข องโจทกร ว มไป ถอื ไปวา เปน การลกั ทรพั ย
โดยใชกําลังประทุษรายเพ่ือใหความสะดวกแกการลักทรัพยและการพาทรัพยน้ันไปเม่ือรวมกระทํา
ความผดิ ต้ังแต ๓ คนข้ึนไป การกระทําของจาํ เลยจงึ เปนความผดิ ฐานปลน ทรัพย

(÷) “àÍ¡ÊÒÔ หมายความวา กระดาษหรอื วัตถุอ่ืนใด ซง่ึ ไดทําใหปรากฏความหมาย
ดวยตัวอักษร ตัวเลข ผัง หรือแผนแบบอยางอ่ืน จะเปนโดยวิธีพิมพ ถายภาพ หรือวิธีอ่ืนอันเปน
หลกั ฐานแหงความหมายนน้ั

ͧ¤» ÃСͺ คอื
๑. กระดาษหรอื วัตถุอื่นใด
๒. ซง่ึ ไดท ําใหป รากฏความหมายดว ยตัวอกั ษร ตัวเลข ผัง หรอื แผนแบบอยางอืน่
๓. โดยวธิ ีพิมพ หรือถายภาพ หรือวธิ ีอ่ืน
๔. เปนหลักฐานแหงความหมายนัน้
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร ไดแก ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐ มาตรา ๑๒๓,
๑๒๔, ๑๒๕ ความผิดเกี่ยวกับเจาพนักงาน มาตรา ๑๔๒ ความผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการ
มาตรา ๑๕๘ ความผดิ เกยี่ วกบั การยตุ ธิ รรม มาตรา ๑๖๙, ๑๗๐, ๑๘๕, ๑๘๖ ความผดิ เกยี่ วกบั เอกสาร
มาตรา ๒๖๔ ถึง ๒๖๙ ความผดิ ฐานหม่ินประมาท มาตรา ๓๒๘ และความผิดลหโุ ทษ มาตรา ๓๖๙
คํา͸ºÔ ÒÂ
๑. ประมวลกฎหมายอาญานี้ไดเ อาความหมายของคําวา “จดหมาย” และ “หนังสอื ”
ในกฎหมายลักษณะอาญาเดิมมารวมกันเขาใชคําวา “เอกสาร” แทน ซึ่งมีความหมายกวางกวาเดิม
และเปลยี่ นความผดิ ท่เี ก่ยี วกบั การปลอมหนังสอื เปน ความผดิ เกยี่ วกับเอกสารไปดว ย
๒. เอกสารน้ี นอกจากจะทําบนกระดาษแลว อาจจะทําไวบนวัตถุอ่ืนใดๆ ก็ได เชน
บนแผนทองแดง แผนศิลา แผนไม บนกําแพง บนตนไม บนแผนพลาสติก บนผา หรือโลหะอ่ืนใด
ขอสําคัญก็คือจะตองมีการทําใหปรากฏความหมายบนวัตถุน้ัน จะเปนตัวอักษร ตัวเลข ผัง

๒๑

หรอื แผน แบบอยา งอ่ืน เชน แบบแปลนกอ สรา ง แผนผัง การประดษิ ฐ เครอื่ งบนิ รถยนต แบบบา น
ลายพมิ พ นิ้วมอื รอยตราประทับ

๓. การทําใหปรากฏความหมายตางๆ ดังกลาวมาแลวน้ัน จะทําใหปรากฏโดย
การเขียน การพิมพ การถายภาพ หรือวิธีอื่นใด เชน การแกะสลัก การปน การหลอดวยโลหะก็ได
และการทําใหปรากฏความหมายน้ี จุดประสงคก็คือ ใหเปนหลักฐานแหงความหมายน้ัน โดยใชเปน
พยานหลกั ฐานแสดงถงึ สิง่ ทป่ี รากฏนนั้ ได

®Õ¡Ò·èÕ ñòðù/òõòò ภาพถายหอง เคร่ืองใช ตูเส้ือผา และของอื่นๆ ในบานไมได
แสดงความหมายอยา งใด ไมเ ปนเอกสารตามมาตรา ๑ (๗)

®Õ¡Ò·èÕ ñõóð/òõòò จําเลยเอาภาพถายผูอื่นรับปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต
และสวมครุยวิทยฐานะมาปดภาพถายเฉพาะใบหนาของจําเลยลงไปแทน แกเลข พ.ศ.๒๕๐๘ เปน
๒๕๐๔ แลว ถา ยเปน ภาพใหมด แู ลว เปน ภาพจาํ เลยรบั ปรญิ ญา มตี วั อกั ษรวา มหาวทิ ยาลยั แพทยศาสตร
พ.ศ.๒๕๐๔ เปนภาพถายท่ีไมไดทําใหปรากฏตามความหมายดวยตัวอักษรฯ ตามมาตรา ๑ (๗)
เลข พ.ศ. กไ็ มปรากฏความหมายในตวั เองไมเ ปนปลอมเอกสาร

®¡Õ Ò·èÕ óð/òõòø แบบพิมพเช็คท่ียังมิไดกรอกรายการนี้ยังมิไดทําใหปรากฏ
ความหมาย หรือเปนหลักฐานแหงความหมายอยางใดเลย จึงไมเปนเอกสารตามมาตรา ๑(๗)
แหง ประมวลกฎหมายอาญา

®Õ¡Ò·Õè ôôùõ/òõôø คําวา “เอกสาร” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑ (๗)
หมายความวา กระดาษหรอื วัตถุอืน่ ใดซงึ่ ทาํ ใหป รากฏความหมายดวยอกั ษร ตัวเลข ผงั หรอื แผนแบบ
อยา งอน่ื จะเปน โดยวธิ ีพมิ พ ถายภาพ หรือวิธีอ่ืนใดอันเปน หลกั ฐานความหมายนัน้ ดงั นนั้ เอกสาร
จะมขี ้นึ ในรปู ใด ๆ กไ็ ด การปลอมเอกสารจึงไมจําตองมีเอกสารทีแ่ ทจริงอยกู อ น

จําเลยปลอมหนังสือลาออกจากตําแหนงผูชวยผูใหญบานและคํารับรองความเห็นชอบ
ของกํานันโดยลงลายมือชื่อปลอมบุคคลท้ังสองในหนังสือลาออก กับปลอมหนังสือขอแตงตั้งผูชวย
ผูใหญบานโดยจําเลยลงลายมือช่ือปลอมของกํานันลงในเอกสารเพื่อแสดงวาจําเลยไดรวมกับกํานัน
พิจารณาคัดเลือกและจัดทําหนังสือขอแตงตั้งผูชวยผูใหญบานเสนอตอนายอําเภอตามระเบียบ
เปน การทําเอกสารปลอมขนึ้ ทงั้ ฉบับ จึงเปนความผดิ ฐานปลอมเอกสาร

μÇÑ ÍÂÒ‹ §·ÕèäÁ‹ãªà‹ Í¡ÊÒÃ
®¡Õ Ò·èÕ õö÷ô/òõôô แบบพิมพเช็คท่ียังไมไดกรอกรายการเทากับยังมิไดทําให
ปรากฏความหมายดวยตัวอักษร ตัวเลข อันเปนหลักฐานแหงความหมายนั้นจึงไมเปนเอกสาร
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑ (๗) แมจ าํ เลยเอาแบบพมิ พเ ชค็ ของผเู สยี หายไป กไ็ มม คี วามผดิ
ตามมาตรา ๑๘๘
(ø) “àÍ¡ÊÒÃÃÒª¡ÒÔ หมายความวา เอกสารซ่ึงเจาพนักงานไดทาํ ข้ึนหรือรับรอง
ในหนา ท่ี และใหห มายความรวมถึง สาํ เนาเอกสารน้นั ๆ ทีเ่ จาพนักงานไดรบั รองในหนาทีด่ ว ย

๒๒

®Õ¡Ò·Õè ôöøö/òõôñ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการขอบใจ
หรอื อนุโมทนาบตั ร พ.ศ.๒๕๒๓ ขอ ๓ ระบวุ า เมอ่ื มีผูบริจาคทรัพยสินแกวดั ใหเ จา อาวาสหรืออธบิ ดี
เจา สงั กดั ตอบขอบใจหรอื อนโุ มทนา เหน็ ไดว า การออกอนโุ มทนาบตั รจะตอ งออกโดยเจา พนกั งานซง่ึ กระทําการ
ตามหนา ทซ่ี งึ่ ป.อ.มาตรา ๑ (๘) ระบวุ า “เอกสารราชการ” หมายความวา เอกสารซงึ่ เจา พนกั งานไดท าํ ขนึ้
หรือรับรองในหนาที่ และใหหมายรวมถึงสาํ เนาเอกสารนั้น ๆ ท่ีเจาพนักงานไดรับรองในหนาท่ีดวย
และตาม พ.ร.บ.คณะสงฆ พ.ศ.๒๕๐๕ มาตรา ๔๕ บัญญัติไวใหไวยาวัจกรและเจาอาวาสเปน
เจา พนักงานดว ย ดงั นั้นอนุโมทนาบัตรจงึ เปนเอกสารราชการ

การกระทาํ ของจาํ เลยทกี่ รอกขอ ความลงในแบบอนโุ มทนาบตั ร จาํ นวน ๓๘ ฉบบั กบั ปลอม
หนงั สอื ราชการของจงั หวดั กาฬสนิ ธแุ ละจงั หวดั รอ ยเอด็ รวม ๓ ฉบบั เปน การกระทาํ ตา งกรรมตา งวาระกนั
จงึ ถอื ไดว า จําเลยไดกระทาํ หลายกรรมและผิดตอกฎหมายรวม ๔๑ กระทง

®¡Õ Ò·èÕ õôöö/òõóó คําวา “เอกสารราชการ” ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๑(๘) หรอื มาตรา ๒๖๘ หมายถงึ เอกสารของราชการไทยเทา นน้ั การทจ่ี าํ เลยนาํ หนงั สอื เดนิ ทาง
ปลอมและเช็คเดินทางปลอมไปแสดงตอพนักงานจายเงินและรับแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ
ของธนาคารในคราวเดียวกัน เพื่อขอแลกเงินตามเช็คเดินทางปลอมนั้น เปนการกระทํากรรมเดียว
เปนความผิดตอกฎหมายหลายบท ตองใชกฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สุดลงโทษ สวนปญหาการปรับ
บทลงโทษ แมจ าํ เลยจะมไิ ดฎ กี า แตเ ปน ขอ กฎหมายทเ่ี กย่ี วกบั ความสงบเรยี บรอ ย ศาลฎกี าเหน็ สมควร
แกไขใหถ ูกตอ งและพพิ ากษาตลอดไปถงึ จาํ เลยซึ่งมิไดฎ ีกาดวยเพราะเปนเหตุอยใู นสวนลกั ษณะคดี

เอกสารราชการตามบทนยิ ามน้ี ยอมแบงออกไดเ ปน ๓ อยางดว ยกัน คอื
๑. เอกสารซ่งึ เจา พนักงานไดทาํ ข้นึ ในหนา ท่ี เชน สาํ นวนการสอบสวน ใบตรวจโรคที่
เจาพนักงานแพทยอ อกให ใบอนุญาตอาวุธปน หมายแดงแจงโทษของศาลท่มี ถี งึ ผูบญั ชาการเรอื นจํา
เปน ตน
๒. เอกสารซ่ึงเจาพนักงานไมไดทําขึ้น แตไดรับรองในหนาที่ เชน จาศาลรับรอง
คาํ พพิ ากษาซงึ่ คคู วามขอใหร บั รอง ใบมอบอาํ นาจซง่ึ ทาํ ขนึ้ แลว นาํ ไปใหน ายอาํ เภอรบั รอง เจา พนกั งาน
หอทะเบยี น หนุ สวนบรษิ ทั กลางรบั รองสําเนาคาํ ขอจดทะเบียนหนุ สว นบริษัท เปน ตน
๓. สําเนาเอกสารที่เจาพนักงานไดรับรองในหนาท่ี ดังเชน สําเนาเอกสารตาง ๆ ท่ี
เจาพนักงานไดท าํ ขึน้ ใน ขอ ๑ ซ่ึงเจา พนกั งานไดรับรองในหนา ท่ี ซง่ึ สาํ เนาเอกสารนัน้
®¡Õ Ò·èÕ ÷õ/òôöù โฉนดทีด่ ิน เปน หนงั สือสําคัญในราชการ (เอกสารราชการ)
®¡Õ Ò·Õè ôðù/òô÷ð ต๋ัวพิมพรูปพรรณโค เปนหนังสือสําคัญในราชการ (เอกสาร
ราชการ)
®Õ¡Ò·Õè óõó/òô÷ø หมายเรียกพยาน ที่ทางอําเภอจัดทําข้ึนเพื่อนําสงแกพยานน้ัน
เปน หนังสือราชการ (เอกสารราชการ)
®¡Õ Ò·èÕ òöö/òô÷ô หมายแจง โทษของศาลถงึ เรือนจําเปนเอกสารราชการ

๒๓

®¡Õ Ò·èÕ ÷óñ/òõðù หนังสือขอยืมเงินทดรองราชการมีลายเซ็นผูบังคับบัญชาอนุมัติ
ใหจ า ยไดเปน เอกสารราชการ

®Õ¡Ò·èÕ óõö/òôöõ ใบอนุญาตมปี นเอกสารราชการ
®Õ¡Ò·èÕ ñó÷õ/òõòò ภาพถายหนังสือรับรองราคาที่ดินซึ่งเจาพนักงานที่ดินออกให
แตเ จา พนกั งานยงั ไมไ ดร บั รองในหนา ท่ี ไมใ ชเ อกสารราชการ เปน เพยี งเอกสารตามมาตรา ๑(๗) เทา นน้ั
®Õ¡Ò·èÕ õõùù/òõôñ ใบส่ังจายน้ํามันท่ีพลขับมีหนาที่ตองกรอกวาเติมนา้ํ มันไปใช
ในราชการใด จาํ นวนเทาใด เปน เอกสารท่ที าํ ขน้ึ ในหนา ท่เี ปนเอกสารราชการ
®Õ¡Ò·Õè òò/òõôò แผนปายแสดงการประกันคุมครองผูประสบภัยจากรถมิใชเอกสาร
ทเ่ี จาพนกั งานไดทําข้ึนหรอื รับรองในหนา ท่จี ึงไมใ ชเอกสารราชการ
¡Ã³·Õ ÕèäÁã‹ ªà‹ Í¡ÊÒÃÃÒª¡ÒÃ
- สลากกนิ แบง ของรฐั บาล (ฎกี าที่ ๕๕๗/๒๕๐๙)
- ใบเสร็จรับเงนิ ของการไฟฟา (ฎีกาที่ ๑๖๑๔/๒๕๑๗)
- ใบมอบฉันทะตาง ๆ เพราะเปนเอกสารที่เอกชนทาํ ยื่นตอทางราชการ (ฎีกาท่ี
๓๕๒/๒๔๗๘)
- แผนปายแสดงการประกันภยั คุมครองผูประสบภยั จากรถยนต (ฎีกาท่ี ๒๒/๒๕๔๒)
- ใบรบั รองการตรวจสภาพรถ ทก่ี รมการขนสง ทางบกมอบใหบ รษิ ทั ซงึ่ ไดร บั อนญุ าตให
จดั ตงั้ สถานตรวจสภาพรถเพอื่ ตรวจสภาพรถยนตแ ละออกใบรบั รองเพอื่ เปน หลกั ฐานวา รถยนตไ ดผ า น
การตรวจสภาพแลว (ฎีกาท่ี ๖๒๘๘/๒๕๔๕)
(ù) “àÍ¡ÊÒÃÊ·Ô ¸Ô” หมายความวา เอกสารท่เี ปน หลกั ฐานแหง การกอ เปลีย่ นแปลง
โอน สงวน หรอื ระงบั ซ่ึงสิทธิ
ตามบทนยิ ามน้ีพอจะแยกเอกสารสทิ ธิไดเปน ๕ ประเภท คือ
๑. เอกสารท่เี ปนหลกั ฐานแหง การกอ ใหเกดิ สิทธิ เชน สัญญากูย ืมเงนิ กอ ใหเ กดิ สทิ ธิ
แกผใู หก ู
๒. เอกสารท่ีเปนหลักฐานแหงการเปล่ียนแปลงสิทธิ เชน สัญญากูยืมเงินท่ีตอมา
ไดท ําหนงั สอื แปลงหน้กี นั ใหม เชน ใหชาํ ระขา วสารแทนการใชเ งินกู หรือเปล่ียนลกู หนี้
๓. เอกสารทเี่ ปน หลักฐานแหงการโอนสิทธิ เชน สญั ญากยู ืมเงิน ซึ่งตอ มาผใู หก ูไดทาํ
สัญญาโอนสทิ ธิเรยี กรองเงนิ กูใ หบ คุ คลอนื่ ไป และแจง การโอนสิทธใิ หผกู ูท ราบ
๔. เอกสารท่ีเปนหลักฐานแหงการสงวนสิทธิ์ เชน การกูยืมเงินท่ีจะหมดอายุความ
๑๐ ป ผูใหกูจึงไดใหผูกูทาํ หนังสือรับสภาพหน้ี ทําใหอายุความสะดุดหยุดลงเปนการสงวนสิทธ์ิ
เรยี กรอ ง
๕. เอกสารทเ่ี ปน หลกั ฐานแหง การระงับสทิ ธิ เชน ก. เปนหน้ี ข. จาํ นวน ๑,๐๐๐ บาท
ข. สงสาร ก. จงึ แสดงเจตนาตอ ก. วาจะยกหน้ใี ห แลวทําหนังสือปลดหน้ี

๒๔

คาํ ͸ºÔ ÒÂ
๑. คําวา “àÍ¡ÊÒÃÊ·Ô ¸Ô” น้ี ตามกฎหมายลกั ษณะอาญาเดิมใชคาํ วา “หนงั สือสําคญั ”
ซึ่งมีความหมายอยางเดียวกัน แตคาํ วา “àÍ¡ÊÒÃÊÔ·¸Ô” ตามประมวลกฎหมายอาญาใหมน้ี
มีความหมายกวางกวา คาํ วา “˹§Ñ Ê×Íสํา¤ÑÞ”
๒. “ÊÔ·¸Ô” หมายถึง อาํ นาจอยางหนึ่งของบุคคลท่ีกฎหมายรับรองใหมีสิทธินั้นข้ึน
ฉะนน้ั คาํ วา “เอกสารสทิ ธิ” จงึ หมายถึงหลักฐานทจ่ี ะเกิดผลบังคบั ไดต ามกฎหมาย ถาไมมีผลบังคบั ได
ตามกฎหมายกไ็ มเ รยี กวา “เอกสารสทิ ธ”ิ ตวั อยา ง ก. ทําสญั ญากเู งนิ ข. ไป ๕๐๐ บาท ทําหนงั สอื สญั ญา
กูยืมใหไวเปนหลักฐาน แตปรากฏวาเงินกูยืมน้ันเกิดจากการพนัน ดังนี้ ตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณชิ ยบ ัญญตั ิวา การพนนั ขนั ตอ ไมกอใหเกิดหนี้ สญั ญากูฉบับดงั กลาวจงึ ไมเ ปนเอกสารสทิ ธิ
®Õ¡Ò·Õè ñóøõ/òõòò หนังสือรับรองการทําประโยชนเปนเอกสารสิทธิอันเปน
เอกสารราชการ
®Õ¡Ò·èÕ ùòø/òõðö คํารองทุกขของผูเสียหายตาม ป.วิอาญา ไมใชเอกสารสิทธิ
ตาม ป.อาญา ม.๑(๙) ฉะน้ัน แมจะไดความวาจาํ เลยเจตนาทุจริตหลอกลวงใหผูเสียหายถอน
คาํ รองทุกขกด็ ี กล็ งโทษจําเลยฐานฉอโกง ตาม ป.อาญา ม.๓๔๑ ไมไ ด
®¡Õ Ò·èÕ ñññò/òôù÷ ใบทะเบียนสมรส แสดงฐานะบุคคลวาเปนสามีภริยากัน
ความเปนสามีภริยาท่ีกอต้ังขึ้นโดยทะเบียนสมรสน้ันเปนฐานะบุคคลไมใชสิทธิและหนาที่ตอกัน
เกดิ จากฐานะบคุ คลนั้นตามกฎหมายบญั ญตั ิไวอ กี ช้นั หน่งึ มไิ ดกอตง้ั ข้นึ โดยเอกสารทะเบียนสมรสนัน้
จงึ ไมใชเ อกสารสิทธิ (เปน เอกสารราชการ)
ºμÑ Ã»ÃÐจาํ μÇÑ Ë¹§Ñ ÊÍ× à´¹Ô ·Ò§, ãºสาํ ¤ÞÑ »ÃÐจําμÇÑ ¤¹μÒ‹ §´ÒŒ Ç ไมเ ปน เอกสารสทิ ธิ เอกสาร
เหลานี้แมผูถือจะอาศัยเปนหลักฐานเพื่อเดินทางเขาออกหรืออยูในราชอาณาจักร หรือไดรับเอกสิทธิ์
เชน ลดราคาคาบริการตางๆ ได ก็เปนแตเอกสารแสดงฐานะบุคคล หรือแสดงขอเท็จจริงบางอยาง
มิใชกอใหเ กิดสิทธใิ ดๆ ข้ึนในตัวเอกสารน้ันเอง (ฎีกาท่ี ๙๒๕/๒๔๙๓) (เปนเอกสารราชการ)
㺷ÐàºÕÂ¹Ã¶Â¹μ มิไดท ําขนึ้ เพือ่ กอ สทิ ธิ แตท ําข้ึนเพอ่ื ความสะดวกในการควบคุมของ
เจา พนกั งานเทา นัน้ ไมใชเ อกสารสทิ ธิ แตเปน เอกสารราชการ (ฎีกาท่ี ๑๗๐๒/๒๕๐๖)
®¡Õ Ò·èÕ õóñ/òôùø สลากกนิ แบง รัฐบาลไมเ ปนเอกสารราชการแตเ ปน เอกสารสิทธิ
®¡Õ Ò·èÕ ññð÷/òõð÷ (ประชมุ ใหญ) ใบแตงทนายความไมใ ชเอกสารสทิ ธิ
®¡Õ Ò·èÕ ñôõö/òõðö แบบแจง การครอบครองท่ีดนิ (ส.ค.๑) เปนเอกสารสทิ ธิ
®¡Õ Ò·Õè øùð/òõðø ประชมุ ใหญเ ฉพาะปญ หาแรก ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย
ใหแจงการครอบครองที่ดินตามแบบ ส.ค.๑ ตอนายอําเภอทองที่ โดยมีกํานันหรือผูใหญบานรับรอง
วาขอความถูกตองและเปนความจริงนั้นเปนประกาศหลักเกณฑและวิธีการ ไมใชเปนขอกําหนด
หนาท่ีของกํานันหรือผูใหญบาน การเซ็นชื่อรับรองดังกลาวเปนแตเพียงพยานเทาน้ัน ไมใชรับรองวา
หนงั สอื นนั้ เปน เสมอื นหนงั สอื ราชการ ดงั นนั้ หนงั สอื ส.ค.๑ นจ้ี งึ ไมใ ชเ อกสารสทิ ธอิ นั เปน เอกสารราชการ

๒๕

ถาหากขอเท็จจริงฟงไดวาจําเลยไดปลอมแบบ ส.ค.๑ และไดใชดวยแลวตองลงโทษ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๖๘ วรรคสองกระทงเดยี ว (และฎกี าท่ี ๒๘๕/๒๕๐๗ ส.ค.๑ เปน
เอกสารสทิ ธิที่ผูค รอบครองทด่ี ินทาํ ขึ้นประมวลกฎหมายท่ีดิน)

®Õ¡Ò·Õè òôñ÷/òõòð ใบมอบอาํ นาจใหจดทะเบียนแกโ ฉนด ไมใชเ อกสารสิทธิ
®Õ¡Ò·Õè óòø÷/òõòò ใบรับรองของผูขอรับเงินชวยเหลือคารักษาพยาบาล
เปนคําช้ีแจงของผูขอเบิกเงิน บันทึกของเจาหนาที่วาตรวจถูกตองอนุมัติใหจายเงิน เปนคําชี้แจงของ
เจาหนาท่ีบัญชีหนางบ สมุดคูมือวางฎีกาเปนแตเอกสารราชการ มิใชหลักฐานแหงสิทธิไมเปน
เอกสารสิทธิ
®Õ¡Ò·èÕ ùòø/òõðö, ò÷òð/òõóõ คํารองทุกขไมใชเอกสารสทิ ธิ
®¡Õ Ò·èÕ ñöóö-ñöõð/òõñø บัตรอนุญาตของเจาหนาท่ีเปนแตเอกสารราชการ
ไมเปน เอกสารสทิ ธิ
®¡Õ Ò·èÕ òõùù/òõóô สมุดคูฝากบัญชีเงินฝากพิเศษยอมเปนหลักฐานแหงการกอตั้ง
สทิ ธแิ กผฝู ากท่ีจะเรยี กถอนเงนิ ฝากคืน จึงเปน เอกสารสทิ ธิ
®¡Õ Ò·Õè ñõðø/òõóø ต๋ัวเครื่องบินเปนเอกสารสิทธิ เพราะมีมูลคาหรือราคาตามที่
ปรากฏในตว๋ั ผมู ชี ื่อในตัว๋ มสี ทิ ธิท่ีจะใชโดยสารเคร่อื งบินจงึ เปน หลักฐานแหงการกอ สทิ ธิ
®¡Õ Ò·èÕ óùô/òõôô สําเนารายงานการประชุมวิสามัญผูถือหุนที่ระบุใหจําเลยผูเดียว
มอี าํ นาจลงลายมอื ชอ่ื ผกู พนั บรษิ ทั เปน หลกั ฐานในการระงบั สทิ ธขิ องโจทก ในการลงลายมอื ชอ่ื ผกู พนั
บรษิ ัท จงึ เปน เอกสารสิทธิ
คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒÅ®¡Õ Ò·Õè õñùõ/òõõ÷
เอกสารสิทธิตามบทนิยามแหง ป.อ. มาตรา ๑ (๙) หมายความวาเอกสารที่เปน
หลักฐานแหงการกอ เปลยี่ นแปลง โอน สงวน หรือระงับซ่งึ สทิ ธิ แตใบขอซื้อสินคา (PR) เปน เพยี ง
คําเสนอที่จะซ้ือสินคาของผูเสียหายเทานั้น หาใชเอกสารที่เปนหลักฐานแหงการกอ เปล่ียนแปลง
โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิไม ดังนั้นใบขอซ้ือสินคา (PR) ดังกลาวจึงไมใชเอกสารสิทธิตาม ป.อ.
มาตรา ๑ (๙) การกระทาํ ของจําเลยเปนเพียงการปลอมเอกสารธรรมดา มิใชเปนการปลอมเอกสาร
สทิ ธิและใชเ อกสารสิทธิปลอม
®¡Õ Ò·Õè óø÷ð/òõõð การที่จําเลยใชหรืออางสัญญาเงินกูซ่ึงเปนเอกสารสิทธิปลอม
ก็เพื่อนําคดีไปฟองศาล ตอมาที่จําเลยเขาเบิกความเท็จในการพิจารณาคดีอาญาวาโจทกสั่งจายเช็ค
จาํ นวน ๓ ฉบบั เพอื่ ชาํ ระหนเี้ งนิ กู แมจ ะเปน ความเทจ็ แตจ าํ เลยกระทาํ โดยมเี จตนาทจี่ ะใหศ าลพพิ ากษา
ลงโทษโจทกตามฟองเปนสําคัญ การกระทําของจําเลยในความผิดฐานใชหรืออางเอกสารสิทธิปลอม
กบั ความผดิ ฐานเบกิ ความอนั เปน เทจ็ ในการพจิ ารณาคดอี าญาจงึ เปน กรรมเดยี วผดิ ตอ กฎหมายหลายบท
®Õ¡Ò·Õè ñ÷öò/òõõò ใบสง่ั ซ้ือสินคา เปน เพียงคําเสนอท่ีจะซอ้ื สินคาของโจทกเ ทา นั้น
ใบสง่ั ซอ้ื สนิ คา จงึ มใิ ชเ อกสารทเี่ ปน หลกั ฐานแหง การกอ เปลย่ี นแปลง โอน สงวนหรอื ระงบั ซง่ึ สทิ ธิ มใิ ช
เอกสารสิทธติ ามความใน ป.อ.มาตรา ๑(๙)

๒๖

®¡Õ Ò·Õè ñðùõù/òõõó ผูเสียหายวาจางจาํ เลยใหซอมและเปลี่ยนเคร่ืองยนตรถยนต
รวมท้ังใหดาํ เนินการจดทะเบียนเปลี่ยนหมายเลขเครื่องยนต จาํ เลยซ้ือเคร่ืองยนตจากบริษัท จ.
โดยบริษทั จ. ออกเอกสารใบสง ของ/บิลเงนิ สด ใบกํากับภาษี กบั หนังสือแจง จาํ หนา ยและการรบั รอง
หลกั ฐานการสง บัญชรี ับและจาํ หนายเครอ่ื งยนต ระบุชอ่ื ผูเสียหายเปน ผูซื้อ จําเลยนาํ เอกสารดังกลา ว
ไปใหบริษัท จ. แกไขเปล่ียนแปลงช่ือผูซื้อเปน ส. โดยผูเสียหายไมยินยอมทาํ ใหผูเสียหายไดรับ
ความเสยี หายแม พ. เปนกรรมการผมู อี าํ นาจของบรษิ ัท จ. และเปนผทู ําเอกสารจะเปน ผแู กไ ข แตเม่ือ
การแกไขเกดิ จากการแจง ของจําเลยโดยไมไดรับความยินยอมจากผเู สียหาย ยอมไมม ีอาํ นาจ เปนการ
ปลอมเอกสารโดยถอื ไดว า จําเลยเปน ผูกระทาํ ความผดิ นด้ี วยการใช พ. เปนเครื่องมือ

ใบกาํ กับภาษีเปนหลักฐานแสดงวาผูขายไดเรียกเก็บภาษีจากผูเสียหายซึ่งเปนผูซ้ือ
เคร่ืองยนตแลว บริษัท พ. ไมมีสิทธิเรียกเก็บภาษีจากผูเสียหายอีกจึงเปนหลักฐานแหงการระงับไป
ซ่ึงสทิ ธิ เปน เอกสารสิทธิ

¡Ã³Õ·ÕèäÁ‹ãª‹àÍ¡ÊÒÃÊÔ·¸Ô ใบทะเบียนสมรส บัตรประจําตัวประชาชน หนังสือเดินทาง
ใบสาํ คญั ประจําคนตา งดา ว ใบทะเบยี นรถยนต เอกสารเหลา นเี้ ปน เพยี งเอกสารแสดงฐานะของบคุ คล
หรือแสดงขอเทจ็ จรงิ บางอยาง มิไดก อ ใหเกดิ สิทธใิ ด ๆ ข้นึ ดว ยเอกสารน้นั

คาํ พิพากษาของศาล เปน แตแ สดงสทิ ธิที่มีอยแู ลว มิใชก อ ตัง้ สิทธิใด ๆ ขนึ้ ใหม
คําÌͧ·Ø¡¢ เปนแตคาํ บอกกลาวแกพนักงานสอบสวนใหดาํ เนินคดี ไมเปนหลักฐาน
แหงการกอ ต้ังสิทธิ (ฎีกาท่ี ๙๒๘/๒๕๐๖) ดว ยเหตนุ ี้ การหลอกใหถ อนคํารอ งทุกขจงึ ไมผิดฐานฉอโกง
(ฎกี าท่ี ๒๗๒๐/๒๕๓๕) เพราะไมใ ชก ารถอนเอกสารสทิ ธิ
Ẻ¤Òí ¢Í㪺Œ Ã¡Ô ÒúμÑ ÃàÍ·àÕ ÍçÁ มใิ ชเอกสารที่เปน หลักฐานแหงการกอสิทธใิ นการฝาก
-ถอนเงินกับธนาคารผูเสยี หายโดยตรง จงึ ไมใ ชเอกสารสิทธิ (ฎีกาที่ ๒๒๒๗/๒๕๔๗)

μÑÇÍÂÒ‹ §àÍ¡ÊÒÃÊ·Ô ¸ÍÔ Ñ¹à»š¹àÍ¡ÊÒÃÃÒª¡ÒÃ

บนั ทกึ นําสง รายงานการเดนิ ทางและรายงานการใชจ า ยคา พาหนะและคา ทพ่ี กั ของตาํ รวจ
เพือ่ เบกิ เงนิ ทางราชการกรมตํารวจ (ฎกี าท่ี ๗๓๑/๒๕๐๙)

⩹´·´Õè Ô¹ (ฎีกาที่ ๗๕/๒๔๖๙)
ãºàÊÃç¨ÃÑºà§¹Ô ¤‹ÒÀÒÉÕÃ¶Â¹μ· Õ·è Ò§ÃÒª¡ÒÃÍÍ¡ãËŒ (ฎกี าท่ี ๒๒๖-๒๒๒๘/๒๕๑๙)
μÇÑë ¾ÁÔ ¾ÃÙ»¾ÃóÊÑμǾ Ò˹Р(ฎกี าที่ ๔๐๙/๒๔๗๐)
ãºÍ¹ØÞÒμãËÁŒ ÍÕ ÒÇظ»¹„ (ฎีกาที่ ๗๑๒/๒๔๘๖, ๓๕๖/๒๔๖๕)
(ñð) “ÅÒÂÁ×ͪè×Í” หมายความรวมถึงลายพิมพนิ้วมือ และเครื่องหมายซึ่งบุคคลลงไว
แทนลายมือชื่อของตน
คํา͸ԺÒÂ
๑. ลายมือชอ่ื ของบคุ คล
๒. ลายพิมพนิ้วมอื ซงึ่ บุคคลลงไวแ ทนลายมือชื่อ
๓. เครอื่ งหมายซงึ่ บุคคลลงไวแทนลายมือช่อื ของตน เชน แกงได ตราประทบั

๒๗

ประมวลกฎหมายอาญามีบทนิยามไวเปนพิเศษแสดงวาไมประสงคจะใหเก่ียวของกับ
ป.พ.พ. มาตรา ๙ วรรคสุดทาย คือ ลายพิมพนิ้วมือ แกงได หรือเครื่องหมายอยางอื่น ซึ่งตองมี
พยานลงชื่อรับรอง ๒ คน จงึ จะใชเปน หลกั ฐานทางแพงได แตตามประมวลกฎหมายอาญาไมต อ งมี
พยานรบั รองกเ็ ปนลายมอื ช่ือ ฉะน้ันในทางอาญา หากผูทาํ เอกสารไมล งลายมอื ช่ือแตพ มิ พล ายพมิ พ
นว้ิ มอื แกงได หรือเคร่ืองหมายอ่นื ใด ถือวาเอกสารไดลงลายมอื ชอ่ื ของผูท าํ เอกสารน้นั แลว

®¡Õ Ò·èÕ öøùø/òõóù ลายพิมพน้วิ มอื ถาทําถกู ตอ งกถ็ อื เปน ลายมอื ช่ือ
®Õ¡Ò·èÕ ôñôõ/òõôø แมลายพิมพน้ิวมือในหนังสือมอบอํานาจของโจทกเปนเพียง
รอยเปอนหมึกไมเห็นลายของนิ้วมือ แตใตลายพิมพก็มีคําอธิบายในวงเล็บวา เปนลายพิมพน้ิวมือ
ของบคุ คล ทาํ ใหส ามารถเขา ใจไดว า รอยดงั กลา วเปน รอยของลายนวิ้ มอื มใิ ชร อยเปอ นหมกึ เมอื่ โจทก
มพี ยานลงลายมอื ชอ่ื รบั รองสองคนและโจทกม พี ยานมาเบกิ ความประกอบเอกสารวา ลายพมิ พด งั กลา ว
เปนลายพิมพน้ิวหัวแมมือขางขวาของโจทกซ่ึงนําสืบไดเพราะเปนรายละเอียด การลงลายมือช่ือใน
หนงั สือมอบอาํ นาจของโจทกจงึ ชอบดวยกฎหมายแลว
(ññ) “¡ÅÒ§¤×¹” หมายความวา เวลาระหวา งพระอาทิตยต กและพระอาทิตยขึ้น
คํา͸ºÔ ÒÂ
กลางคนื ตามบทบญั ญตั ขิ องกฎหมาย ไมถ อื เวลาตามนาฬก า แตถ อื เอาเวลาพระอาทติ ยต ก
กลาวคอื ถือเอาเกณฑมองไมเ หน็ ดวงอาทติ ยแลว จนกระท่ังถงึ เวลาเหน็ ดวงอาทิตยข นึ้
®¡Õ Ò·èÕ ñòùò/òôùø เวลาจวนพลบค่าํ ยังไมมดื ไมใ ชเ วลากลางคืนตามกฎหมาย
®Õ¡Ò·èÕ öôñ/òôùù ตะวนั ตกดนิ แลว แมจ ะยงั ไมม ดื ดี กเ็ ปน เวลากลางคนื ตามกฎหมาย
(ñò) “¤ÁØ ¢§Ñ ” หมายความวา คมุ ตวั ควบคมุ ขงั กักขงั หรือจําคกุ
คํา͸ԺÒÂ
¤ØÁ¢Ñ§ เปนคาํ รวมที่กินความหมายถึง การกระทําทุกอยา งที่จาํ กัดเสรภี าพ
¤ØÁμÑÇ มีทใี่ ชใ นมาตรา ๓๙ (๔), ๔๘, ๔๙ ในกรณีคมุ ตัวไวใ นสถานพยาบาล
¤Çº¤ØÁ มีที่ใชในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒ (๒๑)
โดยพนกั งานฝา ยปกครอง หรอื ตาํ รวจควบคุมผถู ูกจับในระหวา งสบื สวนและสอบสวน
¢Ñ§ มีท่ีใชในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒ (๒๒) โดยศาลขัง
จําเลยหรอื ผูตองหาโดยศาลออกหมายขัง
¡¡Ñ ¢Ñ§ เปน โทษอยา งหนงึ่ ซงึ่ บญั ญตั ไิ วใ นมาตรา ๑๘ (๓)
จํา¤Ø¡ เปนโทษอยา งหนงึ่ ซง่ึ บัญญตั ไิ วใ นมาตรา ๑๘ (๒)
®¡Õ Ò·èÕ óõùø/òõóñ แมการที่พนักงานสอบสวนจะรับตัวผูตองหาควบคุมไว
โดยมไิ ดย น่ื คาํ รอ งตอ ศาลขอหมายขงั อนั เปน การไมป ฏบิ ตั ติ ามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา
มาตรา ๘๗ กต็ าม แตก ารควบคมุ นน้ั กย็ งั คงเปน การควบคมุ ตามอํานาจของพนกั งานสอบสวนอยู ดงั นน้ั
จําเลยซง่ึ เปน เจา พนกั งานตาํ รวจมหี นา ทค่ี วบคมุ ดแู ลผตู อ งขงั ตามอาํ นาจของพนกั งานสอบสวนไดป ลอ ยตวั

๒๘

ผูตอ งขงั ไป จงึ เปน การกระทําใหผ ทู อี่ ยูใ นระหวา งคุมขงั น้ันหลุดพนจากการคุมขัง จําเลยจงึ มีความผิด
ตามประมวลกฎหมาย มาตรา ๒๐๔

(ñó) “¤‹Ò䶋” หมายความวา ทรัพยสินหรือประโยชนท่ีเรียกเอา หรือให
เพื่อแลกเปล่ยี นเสรภี าพของผูถ ูกเอาตวั ไป ผูถกู หนว งเหนย่ี ว หรอื ผถู กู กกั ขัง

ความผดิ เกี่ยวกบั คาไถ ไดแ ก ความผดิ เกีย่ วกบั เสรภี าพตามมาตรา ๓๑๓ และ ๓๑๖
คาํ ͸ºÔ ÒÂ
ตามความหมายของบทนิยามนี้กรณจี ะถอื วาเปน “คาไถ” จะตองประกอบดว ย
ËÅ¡Ñ à¡³± ó »ÃСÒäÍ×
๑. ตองเปนทรัพยสินหรือประโยชน คาํ วา “ทรัพยสิน” ประมวลกฎหมายแพง
และพาณชิ ยม าตรา ๑๓๘ บญั ญตั วิ า “ทรพั ยส นิ นน้ั ทา นหมายความวา รวมทง้ั ทรพั ยแ ละวตั ถไุ มม รี ปู รา ง
ซึ่งอาจมีราคาไดและถือเอาได” เชน ที่ดิน บานเรือน ตึก ทองคํา เพชรนิลจินดา รถยนต หรือ
วัตถุอ่ืนใดที่มีราคาและถือเอาได คําวา “ประโยชน” นั้นรวมท้ังประโยชนที่ไมเก่ียวกับทรัพยสินดวย
เชน ยกลูกสาวใหเพือ่ ใหถ อนฟองคดีที่ถกู ฟองอยใู นศาล
๒. ทรัพยสินหรือประโยชนนั้น ตองเปนสิ่งที่ผูกระทําผิดเรียกเอาหรือฝายผูเอาตัวไป
ผูถูกหนวงเหน่ียวหรือกักขังใหเองก็ได ประโยชนท่ีเรียกเอาน้ีไมมีขอจาํ กัดวาควรไดโดยชอบดวย
กฎหมายหรอื ไม ซง่ึ ตา งกบั ทุจริตในมาตรา ๑ (๑) ฉะนน้ั ถึงแมจ ะเปนประโยชนท ีค่ วรได แตถา เรียกเอา
โดยวิธีการเพ่อื แลกเปลีย่ นเสรภี าพของผูถกู เอาตวั ไป ก็ถือวาเปน คาไถแ ลว
๓. ในการเรียกทรัพยสินหรือประโยชนน้ัน ตองเปนการเรียกเอาหรือให
เพอ่ื แลกเปล่ียนเสรภี าพของผูถูกเอาตัวไป ผูถ ูกหนวงเหนย่ี วหรอื กักขัง
เม่ือประกอบดวยหลกั เกณฑทงั้ ๓ ประการแลวจงึ เปน “คาไถ”
®¡Õ Ò·èÕ ÷÷ôò/òõôò การท่ีจําเลยท้ังสองกับพวกรวมกันหนวงเหนี่ยวกักขังตัว
ผูเสียหาย ก็เพื่อใหผูเสียหายชําระหน้ีใหแกจาํ เลยท่ี ๑ โดยจาํ เลยท้ังสองเชื่อวาสามารถกระทาํ ได
ดังนั้นประโยชนท่ีจําเลยที่ ๑ เรียกรองใหผูเสียหายชาํ ระหนี้จึงไมใชคาไถตามความหมายในบทนิยาม
คําวา “คาไถ” ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑ (๑๓) การกระทําของจําเลยทั้งสองจึงไมเปน
ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๑๓ วรรคสอง
(ñô) “ºμÑ ÃÍàÔ Å¡ç ·Ã͹ԡʏ” หมายความวา

(ก) เอกสารหรอื วตั ถอุ นื่ ใดไมว า จะมรี ปู ลกั ษณะใดทผ่ี อู อกไดอ อกใหแ กผ มู สี ทิ ธใิ ช
ซงึ่ จะระบชุ อื่ หรอื ไมก ต็ าม โดยบนั ทกึ ขอ มลู หรอื รหสั ไวด ว ยการประยกุ ตใ ชว ธิ กี ารทางอเิ ลก็ ตรอนไฟฟา
คล่ืนแมเหล็กไฟฟา หรือวิธีอ่ืนใดในลักษณะคลายกัน ซึ่งรวมถึงการประยุกตใชวิธีการทางแสงหรือ
วิธีการทางแมเหล็กใหปรากฏความหมายดวยตัวอักษร ตัวเลข รหัส เลขหมายบัตร หรือสัญลักษณ
อน่ื ใด ทั้งทส่ี ามารถมองเห็นและมองไมเหน็ ดวยตาเปลา

๒๙

(ข) ขอมูล รหัส หมายเลขบัญชี หมายเลขชุดทางอิเล็กทรอนิกสหรือ
เครอ่ื งมือทางตัวเลขใดๆ ทผ่ี ูออกไดอ อกใหแ กผ ูมีสิทธใิ ช โดยมไิ ดมีการออกเอกสารหรือวัตถุอื่นใดให
แตม วี ธิ กี ารใชในทาํ นองเดยี วกบั (ก) หรอื

(ค) สิ่งอ่ืนใดท่ีใชประกอบกับขอมูลอิเล็กทรอนิกส โดยมีวัตถุประสงค
เพอ่ื ระบตุ ัวบุคคลผเู ปนเจาของ

นิยามดงั กลาวมี ๓ กรณดี วยกันคือ (ก) (ข) (ค)
¡Ã³áÕ Ã¡ ไดกําหนดความหมายของคาํ วาบัตรอิเล็กทรอนกิ สไ ว ดงั นี้
(¡) àÍ¡ÊÒÃËÃ×ÍÇÑμ¶ØÍ×è¹ã´ ไมวาจะมีรูปลักษณะใดที่ผูออกไดออกใหแกผูมีสิทธิใช
ซงึ่ จะระบชุ อื่ หรอื ไมก ต็ าม โดยบนั ทกึ ขอ มลู หรอื รหสั ไวด ว ยการประยกุ ตใ ชว ธิ กี ารทางอเิ ลก็ ตรอนไฟฟา
คล่ืนแมเหล็กไฟฟา หรือวิธีอ่ืนใดในลักษณะคลายกัน ซึ่งรวมถึงการประยุกตใชวิธีการทางแสง
หรอื วธิ กี ารทางแมเ หลก็ ใหป รากฏความหมายดว ยตวั อกั ษร ตวั เลข รหสั หมายเลขบตั ร หรอื สญั ลกั ษณ
อื่นใด ท้ังท่สี ามารถมองเหน็ และมองไมเ หน็ ดวยตาเปลา
นิยามตามขอ (ก) ดังกลาวขางตนนี้ หมายถึง ºÃôҺÑμÃμ‹Ò§æ หลากหลายประเภท
ท่ีใชกนั อยใู นปจ จุบนั เชน บัตรเครดิต บัตรเดบิต บตั รเอทเี อม็ บตั รซมิ การด บตั รสมารทการด ฯลฯ
บัตรเหลานอ้ี าจเปนเอกสารตามนิยามของมาตรา ๑(๗) หรือไมก็ได หากไมใ ชเอกสาร ก็ถอื วา บัตรน้นั
คือ วตั ถอุ ื่นใด นน่ั เอง
กรณตี ามขอ (ก) น้ี อาจจะไมไ ดออกมาในรปู แบบของบตั รกไ็ ด อาจจะเปน รูปแบบของ
อปุ กรณตา งๆ ทํานอง remote control กไ็ ด ซ่ึงก็เปนÇÑμ¶ÍØ ×¹è ã´อยางหนงึ่ นนั่ เอง
หรืออาจหมายถึง ¡ÃдÒÉ หรือ ËÕºË‹Í ตางๆ ท่ีหอหุมสินคา ซึ่งระบุตัวเลขและ
ลายเสนตา งๆ ทเ่ี รียกกันวา ÃËÊÑ á·‹§ (bar code) หรอื ปกหลงั ของหนงั สอื ทแ่ี สดงลายเสน และตัวเลข
ตางๆ เชน นีถ้ ือวากระดาษ หีบหอ ปกหลงั ของหนงั สือลว นเปน “บตั รอเิ ล็กทรอนิกส” ตามขอ (ก) นี้
เชน กัน
(¢) ¢ŒÍÁÙÅ ÃËÊÑ ËÁÒÂàÅ¢ºÞÑ ªÕ ËÁÒÂàÅ¢ªØ´ ทางอเิ ลก็ ทรอนิกสหรือเคร่ืองมอื ทาง
ตัวเลขใดๆ ทผ่ี ูออกไดอ อกใหแกผ มู สี ทิ ธิใช โดยมไิ ดมีการออกเอกสารหรือวัตถุอื่นใดให แตม ีวธิ ีการใช
ทาํ นองเดยี วกับ (ก)
นิยามตามขอ (ข) ขางตนมุงเนนเรื่องของ “¢ŒÍÁÙÅ ÃËÑÊ ËÁÒÂàÅ¢ºÑÞªÕ ËÁÒÂàÅ¢”
ท่ีผูออกไดออกใหแกผูมีสิทธิใชโดยมิไดมีการออกเอกสารหรือวัตถุอ่ืนใดให แตมีวิธีการใชทํานอง
เดยี วกับ (ก)
μÇÑ Í‹ҧ หมายเลขบัญชหี รอื หมายเลขรหัสตา งๆ ท่บี ริษทั ผูออกไดอ อกใหแกลูกคาของ
บริษัทในการทําธุรกรรมกับบริษัททางอินเทอรเน็ต โดยบริษัทมิไดออกบัตรใดๆ ใหแกลูกคา ขอมูล
ตา งๆ เหลา น้เี ปน บตั รอเิ ลก็ ทรอนิกส ตามขอ (ข) นี้ ดว ยเหตนุ ้ี หากมผี ูแ อบดักฟงทางโทรศัพทขณะท่ี
บริษัทแจงหมายเลขหรือรหัสใหแกลูกคา และจดจาํ ไว แลวนาํ ไปใชโดยมิชอบ ผูนั้นก็มีความผิด

๓๐

ตามมาตรา ๒๖๙/๕ เพราะเปนการใช “บัตรอิเล็กทรอนิกส” ของผูอื่นโดยมิชอบ เพราะหมายเลข
เหลานีค้ ือบัตรอเิ ลก็ ทรอนิกสต ามนยิ ามขอ (ข) น้ี

¡Ã³·Õ ÕèÊÒÁ ไดกาํ หนดอีกความหมายหนงึ่ ของคาํ วาบตั รอเิ ลก็ ทรอนิกสไว ดังนี้
(ค) ส่ิงอ่ืนใดที่ใชประกอบกับขอมูลอิเล็กทรอนิกส เพ่ือแสดงความสัมพันธระหวาง
บุคคลกบั ขอ มูลอิเลก็ ทรอนกิ ส โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอื่ ระบตุ วั บคุ คลผูเปน เจา ของ
μÇÑ Í‹ҧ ลายนวิ้ มือ ลายมือ ลายเทา (ถอยคําจาก ป.วิ.อ. มาตรา ๑๓๒ อนมุ าตรา ๑)
อวัยวะในนัยนตา คลื่นเสียง ส่ิงเหลาน้ี ก็เปน “บัตรอิเล็กทรอนิกส” ตามกฎหมายน้ี เพราะเปน
“ส่ิงอื่นใด” ที่เมื่อ “ใชประกอบกับขอมูลอิเล็กทรอนิกส” เชน ใชนิ้วมือหรือฝามือไปสัมผัสกับเครื่อง
ประตหู อ งกจ็ ะเปด ออกเพราะแสดงวา บคุ คลนนั้ เปน บคุ คลจรงิ ทไ่ี ดร บั อนญุ าตใหเ ขา ไปในหอ งนนั้ เปน ตน
¢ŒÍÊѧà¡μ ปจจุบันมีการใชวิธีการยืนยันตัวบุคคลดวยการนาํ นิ้วมือไปสัมผัสกับเคร่ือง
เพื่อแสดงวาบคุ คลนน้ั เปนเจาของบตั รเครดิต ฯลฯ ทีแ่ ทจริงแทนการใหล งลายมอื ชอ่ื นวิ้ มอื ของบคุ คล
น้นั กค็ ือ บตั รอเิ ล็กทรอนิกสต าม (ข) นัน้ เอง
¢ŒÍ椄 à¡μ
๒. บัตรอิเล็กทรอนิกส เปนเอกสารสิทธิอยูดวยในตัว การที่ผูกระทาํ ผิดปลอมบัตร
เครดิตนอกจากจะผิดมาตรา ๒๖๙/๒ แลว ยงั ผิดปลอมเอกสารสทิ ธิ ตามมาตรา ๒๖๕ และนอกจากน้ี
บัตรอิเล็กทรอนิกสอยูในความหมายของเอกสารตามมาตรา ๑ (๗) ผูกระทําผิดเอาไปโดยไมมีสิทธิ
ก็จะเปนความผิดตามมาตรา ๑๘๘
®Õ¡Ò·Õè ñðùô/òõõò การที่จาํ เลยเอาไปเสียซึ่งเอกสารบัตรเครดิตวีซาการดของ
บริษัท บ. อันเปน บัตรอิเล็กทรอนกิ ส และเอกสารตาม ป.อ.มาตรา ๑ (๗) ซ่งึ ออกใหแ ก น. ในประการ
ทนี่ า จะเกดิ ความเสยี หายแก น. และบรษิ ทั บ. แลว การกระทําของจาํ เลยจงึ เปน ความผดิ ตามบทบญั ญตั ิ
มาตรา ๑๘๘
*(ñõ) “˹ѧÊ×Íà´Ô¹·Ò§” หมายความวา เอกสารสําคัญประจาํ ตัวไมวาจะมี
รปู ลกั ษณะใดทร่ี ฐั บาลไทย รฐั บาลตา งประเทศ หรอื องคก ารระหวา งประเทศออกใหแ กบ คุ คลใด เพอ่ื ใช
แสดงตนในการเดินทางระหวางประเทศ และใหหมายความรวมถึงเอกสารใชแทนหนังสือเดินทาง
และแบบหนงั สือเดนิ ทางทยี่ ังไมไดกรอกขอ ความเกย่ี วกบั ผถู ือหนังสอื เดินทางดว ย
͸ºÔ ÒÂ
หนงั สอื เดนิ ทางตามมาตรา ๑ (๑๕) และมาตรา ๒๖๙/๘ ไมจ ํากดั วา ตอ งเปน หนงั สอื เดนิ ทาง
ของทางราชการไทย เมอ่ื จําเลยผดิ เอาหนงั สอื เดนิ ทางทแี่ ทจ รงิ ของประเทศออสเตรเลยี ไปทาํ ปลอมขนึ้
ก็จะมีความผิดทั้งมาตรา ๒๖๙/๘ และมาตรา ๑๘๘ เปนกรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท ลงโทษ
มาตรา ๒๖๙/๘ ซึง่ เปน บทหนกั ทสี่ ดุ (ฎกี าที่ ๑๐๙๔/๒๕๕๒) แตเอกสารราชการตามมาตรา ๑ (๘)
หมายความเฉพาะราชการไทยเทา นนั้ หนงั สอื เดนิ ทางของไทย จงึ เปน เอกสารราชการหากทาํ ปลอมขน้ึ
ก็จะมีความผิดตามมาตรา ๒๖๕ และมาตรา ๒๖๙/๘ กรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท ลงโทษตาม
มาตรา ๒๖๙/๘ ซ่ึงเปนบททีห่ นกั ทส่ี ุด

* มาตรา ๑ (๑๕) เพิม่ เตมิ โดย พ.ร.บ.แกไ ขเพ่มิ เติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบบั ท่ี ๑๘) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๓

๓๑

(ñö) “਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹” หมายความวา บุคคลซ่ึงกฎหมายบัญญัติวาเปนเจาพนักงาน
หรือไดรับแตงตั้งตามกฎหมายใหปฏิบัติหนาที่ราชการไมวาจะเปนประจําหรือคร้ังคราว และไมวา
จะไดร บั คา ตอบแทนหรอื ไม

การท่ีจะพิจารณาวาบุคคลใดเปนเจา พนักงาน เจา พนักงาน หมายถงึ
ñ. ºØ¤¤Å·ÕèÁÕ¡®ËÁÒ¡Ó˹´ãËŒºØ¤¤Å¹éѹ໚¹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹โดยไมตองคํานึงวา
เปนขาราชการหรือไม เชน ตามพระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ พ.ศ.๒๔๘๔ กาํ หนดให “เจา อาวาส” เปน
เจา พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา ดงั นนั้ “เจา อาวาส” กเ็ ปน “เจา พนกั งาน” หรอื พระราชบญั ญตั ิ
การรถไฟแหง ประเทศไทย พ.ศ.๒๔๙๔ มาตรา ๑๘ บญั ญัติใหพ นักงานของการรถไฟแหง ประเทศไทย
เปนเจาพนักงานตามความหมายแหงประมวลกฎหมายอาญา ดังนั้นพนักงานของการรถไฟ
แหง ประเทศไทยจึงเปนเจาพนักงาน แมจะมใิ ชข า ราชการโดยเปนพนกั งานรฐั วสิ าหกจิ ก็ตาม
®¡Õ Ò·Õè ñ÷ø÷/òõòô เจา พนกั งานยอ มหมายถงึ บคุ คลผปู ฏบิ ตั หิ นา ทร่ี าชการโดยไดร บั
แตง ตั้งตามกฎหมาย กลา วคือ ในการแตง ตั้งน้นั มกี ฎหมายระบถุ งึ วิธีการแตงต้ังไว และไดมีการแตง ต้งั
ถกู ตอ งตามกฎหมายทรี่ ะบไุ วน นั้ จาํ เลยที่ ๑ เปน กาํ นนั จาํ เลยที่ ๒ เปน แพทยป ระจาํ ตาํ บล จาํ เลยที่ ๓
เปนผูใหญบานโดยไดรับการแตงต้ังตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองท่ีฯ จําเลยท้ังสามจึงมี
ฐานะเปน เจาพนกั งาน เมือ่ จําเลยทัง้ สามเปนกรรมการสภาตําบลตามกฎหมายวา ดว ยการจัดระเบียบ
บริหารของตําบล และมีระเบียบของสํานักนายกวาดวยการปฏิบัติตามโครงการพัฒนาทองถิ่นและ
ชวยประชาชนในชนบทในฤดแู ลง พ.ศ.๒๕๑๘ กําหนดใหกํานัน แพทยป ระจาํ ตาํ บล และผูใหญบ า น
เปน คณะกรรมการดาํ เนนิ การตามโครงการพฒั นาทอ งถน่ิ และชว ยประชาชนในชนบทฯ เรยี กโดยยอ วา
ปชลต. ซงึ่ ระเบยี บดงั กลา วนน้ั เปน ระเบยี บทอี่ อกโดยชอบดว ยกฎหมาย การทจ่ี าํ เลยทง้ั สามดาํ เนนิ การ
ในฐานะเปน คณะกรรมการ ปชลต. ยอ มเปน การปฏบิ ตั หิ นา ทรี่ าชการของเจา พนกั งานผมู ตี าํ แหนง หนา ที่
ราชการน้นั อันอาจเปน ความผดิ ตอ ตาํ แหนงหนา ท่รี าชการได
ò. ºØ¤¤Å·äÕè ´ÃŒ Ѻá싧μéѧμÒÁ¡®ËÁÒÂãËŒ»¯ÔºÑμËÔ ¹ŒÒ·ÃÕè Òª¡ÒÃ
¢ŒÒÃÒª¡Òà เปนเจาพนักงาน เพราะมีคําพิพากษาฎีกาหลายเรื่องท่ีไดวินิจฉัยไววา
เจา พนกั งาน ตามประมวลกฎหมายอาญา หมายถึง บคุ คลผปู ฏิบัตหิ นา ทรี่ าชการโดยไดรับการแตงตง้ั
ตามกฎหมาย กลาวคือ ในการแตงต้ังนั้นมีกฎหมายระบุถึงวิธีการแตงต้ัง และไดมีการแตงตั้งถูกตอง
ตามกฎหมายทรี่ ะบไุ วน นั้ (ฎกี าที่ ๑๗๘๔/๒๕๔๔) ดงั นน้ั จากคาํ พพิ ากษาฎกี าดงั กลา ว บรรดาขา ราชการ
ตามกระทรวง ทบวง กรม ตา ง ๆ ตามพระราชบญั ญตั ิระเบียบขา ราชการพลเรือน พระราชบญั ญัติ
ขา ราชการกรงุ เทพมหานคร พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา ราชการฝา ยตลุ าการศาลยตุ ธิ รรม พระราชบญั ญตั ิ
ระเบียบขาราชการอัยการ ฯลฯ จึงเปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาและหมายความถึง
บรรดาขา ราชการการเมือง เชน รฐั มนตรี กเ็ ปน เจาพนักงานดวย (ฎกี าที่ ๙๔๘/๒๕๑๐)
แตสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ไมใชเจาพนักงาน เพราะมิใชขาราชการ
การเมอื ง แตเ ปน “ผดู าํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื ง” มหี นา ทคี่ วบคมุ การบรหิ ารราชการแผน ดนิ หรอื ควบคมุ
คณะรัฐมนตรี

๓๒

äÁÇ‹ Ò‹ ÁÕ˹Ҍ ·Õè»ÃÐจําËÃÍ× ªÇèÑ ¤ÃÒÇáÅÐäÁ‹ÇÒ‹ ¨Ðä´ŒÃѺ¤‹Òμͺ᷹ËÃÍ× äÁ‹ ดงั น้ัน สาํ หรบั
กรณีลูกจางประจํา หรือลูกจางชั่วคราวของหนวยงานราชการตาง ๆ ที่ไดรับแตงตั้งใหปฏิบัติหนาท่ี
ราชการนั้น ¶Í× ¨§Ö ໚¹ “à¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹”

การเปนเจาพนักงานน้ีไมตองคํานึงวาจะไดรับคาตอบแทนหรือไม แมไมมีคาตอบแทน
หากมีกฎหมายบัญญัติหรือไดรับแตงตั้งตามกฎหมายใหปฏิบัติราชการ ก็ถือเปนเจาพนักงานตาม
กฎหมายแลว

¢ŒÍÊѧà¡μ
๑. บคุ คลบางประเภท แมมใิ ชเ ปน “ขาราชการ” ศาลฎีกากว็ ินิจฉยั วาเปนเจาพนกั งาน
เชน กํานนั ผใู หญบ า น แพทยป ระจําตําบล เพราะไดร บั การแตง ตง้ั ตามพระราชบญั ญตั ลิ กั ษณะปกครอง
ทองที่ พ.ศ.๒๔๕๗ อันเปนกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการสวนภูมิภาคใหปฏิบัติราชการ
(ฎกี าที่ ๑๗๘๗/๒๕๒๘)
๒. ถา ไมไ ดเ ปน เจา พนกั งานแตร ว มกระทําความผดิ กบั เจา พนกั งาน เปน ตวั การไมไ ดเ ปน
ไดแ ตผ ูสนับสนุน (ฎีกาที่ ๕๒๘๖/๒๕๔๔)
๓. ความผดิ เกย่ี วกบั เจา พนกั งานอยใู นมาตรา ๙, ๒๕, ๑๓๖-๒๐๕, ๒๑๖, ๒๕๑, ๒๕๕,
๒๖๗, ๒๘๙, ๓๒๓, ๓๒๙ (๒), ๓๓๕ (๖), ๓๕๗, ๓๖๗-๓๖๙ และ ๓๘๓
(ñ÷) “Êè×ÍÅÒÁ¡Í¹Ò¨ÒÃà´ç¡” หมายความวา วัตถุหรือสิ่งท่ีแสดงใหรูหรือเห็นถึง
การกระทาํ ทางเพศของเด็กหรือกับเด็กซึง่ มีอายุไมเกินสบิ แปดป โดยรูป เรอ่ื ง หรอื ลกั ษณะสามารถส่ือ
ไปในทางลามกอนาจาร ไมว า จะอยใู นรปู แบบของเอกสาร ภาพเขยี น ภาพพมิ พ ภาพระบายสี สง่ิ พมิ พ
รูปภาพ ภาพโฆษณา เครื่องหมาย รูปถาย ภาพยนตร แถบบันทกึ เสยี ง แถบบนั ทกึ ภาพ หรอื รูปแบบ
อนื่ ใด ในลกั ษณะทาํ นองเดยี วกนั และใหห มายความรวมถงึ วตั ถหุ รอื สง่ิ ตา งๆ ขา งตน ทจี่ ดั เกบ็ ในระบบ
คอมพวิ เตอร หรือในอุปกรณอิเลก็ ทรอนิกสอื่นที่สามารถแสดงผลใหเขาใจความหมายได
(ñø) “¡ÃÐทาํ ชาํ àÃÒ” หมายความวา กระทาํ เพอ่ื สนองความใครข องผกู ระทาํ โดยการใช
อวยั วะเพศของผูถูกกระทําลวงลาํ้ อวยั วะเพศ ทวารหนัก หรอื ชองปากของผอู ืน่
องคประกอบในสวนของการกระทําของการกระทาํ ชาํ เราน้ีจะตองเปนอวัยวะเพศของผู
กระทาํ เทา นนั้ หากใชส ง่ิ อนื่ ลว งลํ้าเขา ไปไมใ ชก ระทาํ ชาํ เราตามบทนยิ ามนี้ ดงั นน้ั การใชส งิ่ อน่ื ใดกระทาํ
กับอวัยวะเพศหรือทวารหนักของผูอื่นไมใชความผิดกระทําชําเรา แตเปนการกระทําท่ีจะตองรับโทษ
บทหนักของความผดิ ฐานอนาจาร

๔. คาํ ถามทา ยบทเรียน

๑. นายดาํ สามีของนางแดง แยงกระเปาเงินของนางแดงไปเพื่อไมใหนางแดงไปเลน
การพนนั เชนนี้ การกระทาํ ของนายดาํ เปน การกระทาํ โดยทจุ รติ หรอื ไม

๒. ทางเดนิ ในตลาดเอกชนเปนทางสาธารณะหรือไมอ ยา งไร

๓๓

๓. การท่ีนายตองอาศัยกินอยูหลับนอนบริเวณท่ีน่ังพักผูโดยสารสนามบินสุวรรณภูมิ
สถานท่ดี งั กลาวน้ี ตรงกับบทนิยามตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑ หรอื ไมอ ยางไร

๔. การที่นายจีวอนแอบเก็บปากกาดามทองของนายกินจังไวโดยที่นายกินจังไมรูตัว
แลว ตอ มาเอาปากกาดา มนน้ั ทงิ้ ไวใ นหอ งนํ้าบนเครอื่ งบนิ การกระทําของนายจวี อนเปน การกระทาํ โดย
ทจุ รติ หรอื ไมอ ยา งไร

๕. เลา ไกท ่อี ยหู างตัวเรือน ๑ เมตร ถือวา เปน เคหสถานหรอื ไม เพราะเหตใุ ด

๓๔

เอกสารอา งอิง

เกยี รตขิ จร วจั นสวสั ด.ิ์ (๒๕๕๑).คาํ อธบิ ายกฎหมายอาญา ภาค ๑ กรงุ เทพฯ:พลสยามพรนิ้ ตงิ้ .
คณิต ณ นคร.(๒๕๔๗). กฎหมายอาญา ภาคทั่วไป. กรงุ เทพฯ:วิญูชน.
ทวเี กยี รติ มนี ะกนษิ ฐ.(๒๕๕๓).คาํ อธบิ ายกฎหมายอาญา ภาคทว่ั ไป. กรงุ เทพฯ:วญิ ชู น.
ประภาศน อวยชยั .(๒๕๒๖).ประมวลกฎหมายอาญา ภาค ๑. กรงุ เทพฯ:สาํ นกั อบรมศกึ ษา
กฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา.
สหรัฐ กิติศุภการ.(๒๕๕๗).หลักและคําอธิบายกฎหมายอาญา.กรุงเทพฯ:อมรินทร
พริน้ ติ้งแอนดพบั ลชิ ชิ่ง
บญุ เพราะ แสงเทียน.(๒๕๕๒).กฎหมายอาญา ๑ ภาคทัว่ ไป.กรงุ เทพฯ:บรษิ ทั วทิ ยพฒั น
จาํ กดั
สุพจน นาถะพินธุ.(๒๕๓๓).ประมวลกฎหมายอาญา.กรุงเทพฯ:สํานักพิมพรุงเรืองธรรม.
สุวัฒน ศรีพงษสุวรรณ.(๒๕๔๙).คาํ อธิบายประมวลกฎหมายอาญา.กรุงเทพฯ:
นติ บิ รรณาการ.
วินยั เลศิ ประเสริฐ.(๒๕๔๗).วธิ ไี ลสายกฎหมายอาญา เลม ๑.กรงุ เทพฯ:อินเตอรบ คุ ส.
เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์.(๒๕๕๐).คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาคความผิด เลม ๑.
กรงุ เทพฯ:หางหนุ สวนจํากัด จิรัชการการพิมพ.

๓๕

º··èÕ ò

¡ÒÃ㪡Œ ®ËÁÒÂÍÒÞÒ

๑. วตั ถุประสงคก ารเรียนรูประจาํ บทเรียน

เพื่อใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจเขาใจในหลกั การใชกฎหมายอาญา ดงั น้ี
๑. บุคคลจักตองรับโทษในทางอาญาตอเม่ือกฎหมายบัญญัติเปนความผิดและกําหนด
โทษไว ตามมาตรา ๒ และ
๒. การใชกฎหมายตองใชในสว นทเ่ี ปน คณุ แกผ กู ระทําความผดิ ตามมาตรา ๓

๒. สวนนาํ

เมื่อมีการกระทาํ ความผิดตามกฎหมายอาญาของไทยเกิดข้ึน การท่ีจะใชกฎหมายอาญา
ของไทยลงโทษผูกระทําความผิดจะตองคํานึงถึงขอเท็จจริง ดังนี้ คือ สถานท่ีซึ่งการกระทาํ ความผิด
ไดเ กดิ ข้ึน ลักษณะพเิ ศษของความผิดบางประเภท และสญั ชาตขิ องผกู ระทําความผิดหรือสัญชาตขิ อง
ผเู สยี หาย หรอื คณุ สมบตั พิ เิ ศษโดยเฉพาะของผกู ระทาํ ความผดิ และลกั ษณะของความผดิ ในกรณเี ชน น้ี
หลักที่ใชในการพิจารณาในเรื่องนี้ มีอยู ๓ ประการ คือ หลักดินแดน หลักอํานาจลงโทษสากล
และหลักบุคคล

๓. เนอื้ หา

ñ. º¤Ø ¤Å¨¡Ñ μÍŒ §ÃºÑ â·Éã¹·Ò§ÍÒÞÒμÍ‹ àÁÍè× ¡®ËÁÒºÞÑ ÞμÑ àÔ »¹š ¤ÇÒÁ¼´Ô áÅÐกาํ ˹´
â·ÉäÇμŒ ÒÁÁÒμÃÒ ò

ÁÒμÃÒ ò ÇÃäáá บญั ญตั วิ า “บคุ คลจะรบั โทษในทางอาญากต็ อ เมอ่ื ไดก ระทาํ การ
อนั กฎหมายทีใ่ ชใ นขณะกระทาํ นนั้ บญั ญตั เิ ปนความผดิ และกาํ หนดโทษไว และโทษท่จี ะลงแกผกู ระทาํ
ความผดิ น้ันตอ งเปนโทษทีบ่ ญั ญตั ิไวใ นกฎหมาย” จากบทบญั ญัติดังกลาว แยกพจิ ารณาได ดงั นี้

๑. ผูกระทําไมตองรับผิดในทางอาญา หากกระทําน้ันไมมีกฎหมายบัญญัติไว

ในขณะกระทาํ วา เปน ความผดิ และกาํ หนดโทษไว ซง่ึ ตรงกบั สภุ าษติ กฎหมายวา “ไมม คี วามผดิ ไมม โี ทษ
หากไมม กี ฎหมาย” ภาษาลาตนิ วา “Nullum crimen nulla poena sine lege” แปลเปน ภาษาองั กฤษวา
“No crime nor punishment without law”

ตัวอยาง การกระทําชําเราผิดธรรมดามนุษย ไมมีกฎหมายบัญญัติวาเปนความผิด
ผกู ระทาํ จงึ ไมม คี วามผดิ (แตก ฎหมายลกั ษณะอาญา รศ.๑๒๗ มาตรา ๒๔๒ บญั ญตั ลิ งโทษการกระทาํ
เชนน้ไี ว)

๓๖

หากเปนกรณียกเวนความผิดแลว แมไมมีกฎหมายบัญญัติยกเวนความผิดไวเปน
ลายลักษณอักษรในขณะกระทํา ก็นํามาใชไดโดยไมขัดตอหลักในมาตรา ๒ เพราะเปนการนํามาใช
เพอ่ื เปน ผลดมี ใิ ชเปนผลรา ยแกผ กู ระทาํ เชน หลกั ในเรื่องความยนิ ยอมซง่ึ ยกเวน ความผดิ ของผูกระทาํ
ในบางกรณีกย็ อ มนําหลักนีม้ าใชได แมจ ะไมม ีกฎหมายบญั ญตั ิไวเปน ลายลักษณอกั ษร
๒. กฎหมายอาญาจะยอ นหลงั ใหผ ลรา ยมไิ ด ทง้ั น้ี เพราะมาตรา ๒ ใชค าํ วา “ในขณะ
กระทํา” หมายความวา
๒.๑ หากในขณะกระทํา ไมมีกฎหมายบัญญัติเปนความผิด ตอมามีการ
ออกกฎหมายยอ นหลงั โดยถอื วากระทาํ นั้นเปนความผดิ มิได เชน ขณะนีก้ ารทําชูไ มมกี ฎหมายอาญา
บญั ญตั วิ า เปน ความผดิ ดงั นนั้ การทนี่ างขาวภรยิ านายแดงลกั ลอบทาํ ชกู บั นายดาํ นางขาวและนายดาํ
ไมมีความผิด ถาตอมารัฐเห็นวาการทําชูกอใหเกิดปญหาแกสังคม และศีลธรรมของคนในชาติ
รฐั จงึ บญั ญตั กิ ฎหมายวา การทาํ ชเู ปน ความผดิ อาญา เชน นน้ั บทบญั ญตั นิ ย้ี อ นหลงั ไปถอื วา การกระทาํ
ของนางขาวและนายดํา ซงึ่ ส้ินสดุ ลงไปแลว เปน ความผดิ มไิ ด
๒.๒ หากในขณะกระทํามีกฎหมายบัญญัติเปนความผิดและกาํ หนดโทษไว
ตอมาจะมกี ารออกกฎหมายยอ นหลังเพ่มิ โทษการกระทาํ ดงั กลา วใหหนกั ขนึ้ มไิ ด
๓. ถอ ยคาํ ในกฎหมายอาญาจะตอ งบญั ญตั ใิ หช ดั เจนแนน อนปราศจากความคลมุ เครอื

มาตรา ๒ ใชค าํ วา “บญั ญตั เิ ปน ความผดิ ” การทจ่ี ะใหค นรลู ว งหนา วา การกระทาํ
อยางไร หรอื การไมกระทําอยา งใดเปน ความผดิ นั้น” บทบัญญตั นิ ้นั ๆ ตองชดั เจน แนน อน ปราศจาก
ความคลุมเครอื เชน มาตรา ๒๘๘ ใชค ําวา “ผูใ ดฆาผอู นื่ ” ซ่ึงเปน บทบัญญัตทิ ม่ี คี วามชดั เจน
๔. กฎหมายอาญาตอ งตคี วามโดยเครง ครดั

หมายความวา เม่ือมีกฎหมายบัญญัติวาการกระทําหรือไมกระทําอยางใด
เปน ความผดิ ทางอาญาแลว ก็ถือวาเฉพาะกรณีนนั้ ๆ เทาน้นั ทีเ่ ปน ความผดิ จะไปรวมถงึ กรณอี ่ืน ๆ
ดว ยไมไ ด
ËÅ¡Ñ ¡ÒÃμÕ¤ÇÒÁâ´Âà¤Ã§‹ ¤Ã´Ñ ¹¹éÑ หมายความวา
๔.๑ จะอาศัยเทียบบทกฎหมายทใ่ี กลเคียงอยา งยิ่ง จะใชเ ปน ผลรายมไิ ด
μÑÇÍ‹ҧ
(๑) นายแดงใชป น ยงิ ตนเองใหต าย แตไ มต าย เชน นจี้ ะถอื วา นายแดงมคี วามผดิ
พยายามฆา ตวั เอง โดยนาํ มาตรา ๒๘๘ ประกอบมาตรา ๘๐ มาเทยี บเคยี งลงโทษนายแดงมไิ ด
(๒) นายเอกวางเพลิงเผาบานที่เปนกรรมสิทธิ์รวมของนายเอกและนายโท
นายเอกไมม คี วามผดิ ตามมาตรา ๒๑๘ (๑) เพราะความผดิ ตามมาตรา ๒๑๘ (๑) ตอ งเปน การวางเพลงิ
เผา “ทรพั ยข องผอู น่ื ” ตามมาตรา ๒๑๗ การวางเพลงิ เผาทรพั ยซ ง่ึ ตนเองและผอู น่ื เปน เจา ของรวมอยดู ว ย
ไมม คี วามผดิ ตามมาตรา ๒๑๗ หากลงโทษนายเอกตามมาตรา ๒๑๘ (๑) ถอื วา เปน การอาศยั เทยี บบท
กฎหมายใกลเคยี งอยางยง่ิ มาใชเ ปน ผลรายแกน ายเอกจงึ ตอ งหา มตามมาตรา ๒

๓๗

๔.๒ จะนํา “¨ÒÃÕμ»ÃÐླՔ มาใชใหเ ปนผลรายมิได
แตถานําจารตี ประเพณมี าใชเ พอ่ื เปนคณุ ยอมทําได เชน จารีตประเพณียอมให

ครูตเี ด็กไดตามสมควรเพ่ือวา กลา วส่งั สอน ดงั นนั้ การที่ครูตเี ดก็ เพอื่ อบรมสั่งสอนยอมไมเ ปน ความผิด
๔.๓ จะนาํ “ËÅÑ¡¡®ËÁÒ·ÇèÑ ä»” มาใชใ หเ ปนผลรายมไิ ด
แตจ ะนํามาใชเ พอ่ื เปน คณุ ยอ มทาํ ได เชน หลกั ในเรอื่ งความยนิ ยอมซง่ึ ถอื วา เปน

“หลักกฎหมายทั่วไป” สามารถนํามาใชเพ่ือยกเวนความผิดไดในบางกรณี การนํามาใชเพ่ือยกเวน
ความผิดใหแกผูกระทาํ ถือวาเปนการนํามาใชเพ่ือเปน “คุณ” เพราะทําใหผูกระทําไมตองรับผิด
ในทางอาญา

ฎีกาที่ ๑๔๐๓/๒๕๐๘ การยอมความในความผิดอันยอมความไดตามประมวลกฎหมาย
วิธพี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๓๕ วรรคสอง และ ๓๙ (๒) นั้น เปน การกระทาํ ภายหลังท่คี วามผดิ
ไดเกิดข้ึนแลว มิใชการท่ีจะกระทาํ ไวลวงหนากอนการกระทําความผิด ขอตกลงลวงหนากอนมีการ
กระทาํ ความผิดจะถอื เปนการยอมความตามบทกฎหมายดังกลาวไมได

บุคคลจะตกลงกันไวกอนวาจะไมฟองคดีอาญา ถาหากจะมีการกระทาํ ความผิดเกิดข้ึน
ตอ ไปขางหนานนั้ ขอตกลงน้นั หามผี ลกอใหเกดิ หนี้ท่ีจะผูกพนั คกู รณีใหจําตองงดเวนไมฟอ งคดอี าญา
เชน วา นน้ั แตป ระการใดไม เพราะอํานาจฟอ งคดอี าญาจะมอี ยหู รอื ไมน นั้ มไิ ดอ ยภู ายใตบ งั คบั ของกฎหมาย
ลักษณะหนใี้ นทางแพงหากอยภู ายในบงั คับของกฎหมายวา ดวยวิธพี จิ ารณาความอาญาอีกสว นหน่ึง

ขอตกลงวาจะไมฟองคดีอาญานั้น อาจถือเปนความยินยอมใหกระทาํ การท่ีตามปกติ
ตอ งดว ยบทบญั ญตั วิ า เปน ความผดิ ไดม หี ลกั ทวั่ ไปเปน เหตยุ กเวน ความผดิ อาญาตามนยั ฎกี าท่ี ๖๑๖/๒๔๘๒
และ ๗๘๗/๒๔๘๓ วา ความยินยอมอันบริสุทธิ์ของผูเสียหายใหผูใดกระทาํ การที่กฎหมายบัญญัติ
วาเปนความผิดน้ัน ถาความยินยอมนั้นไมขัดตอความสาํ นึกในศีลธรรมอันดีและมีอยูจนถึงขณะ
กระทาํ การอันกฎหมายบญั ญตั ิวา เปนความผิดนน้ั แลว ความยินยอมนั้นเปน ขอยกเวนมิใหก ารกระทํา
นั้นเปน ความผดิ ขน้ึ ได

ขอ ตกลงระหวา งโจทกจ ําเลย แมไ มผ กู พนั โจทกใ หย นิ ยอมอยเู ชน นนั้ ตลอดไป แตโ จทกก ไ็ ด
ยนิ ยอมใหจ ําเลยออกเชค็ โดยจะไมฟ อ งเปน ความผดิ อาญา เปน ความยนิ ยอมทมี่ อี ยจู นถงึ ขณะทจี่ ําเลย
ออกเช็ค โดยรูวาไมมีเงินในธนาคาร อันเปนการกระทําโดยเจตนาท่ีเปนองคความผิดประการหนึ่ง
ซ่ึงจาํ เลยไดกระทําลงตามความยินยอมของโจทก ความผิดกรณีน้ีเปนความผิดอันยอมความได
ถือไดวาความยินยอมของผูเสียหายในการกระทาํ ฐานนี้ไมขัดตอความสาํ นึกในศีลธรรม การกระทาํ ท่ี
โจทกฟ อ งจึงไมเปน ความผดิ ในทางอาญา (ประชุมใหญครั้งท่ี ๑๗/๒๕๐๘)

๒. การใชก ฎหมายอาญายอ นหลังเพ่ือเปน คณุ แกผูก ระทาํ ความผดิ ตามมาตรา ๓
การใชกฎหมายอาญายอนหลังเพ่ือเปนโทษแกผูกระทาํ ความผิดนั้นทําไมได

เพราะขดั กบั บทบญั ญตั ใิ นมาตรา ๒ วรรคแรก ทไ่ี ดก ลา วมาแลว แตห ากยอ นหลงั เพอ่ื เปน คณุ แกผ กู ระทาํ
ความผดิ แลวสามารถทาํ ได ทง้ั นีต้ ามที่บัญญัติไวใ นมาตรา ๒ วรรคสองและมาตรา ๓

๓๘

ÁÒμÃÒ ò ÇÃäÊͧ บัญญัติวา “ถาตามบทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติ
ในภายหลัง การกระทําเชนนั้นไมเปนความผิดตอไป ใหผูที่ไดกระทําการน้ันพนจากการเปนผูกระทํา
ความผิด และถาไดมีคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหลงโทษแลว ก็ใหถือวาผูนั้นไมเคยตองคําพิพากษาวา
ไดก ระทาํ ความผดิ นัน้ ถารับโทษอยูก็ใหก ารลงโทษนนั้ สิน้ สุดลง”

ÁÒμÃÒ ó บัญญัติวา “ถากฎหมายทใ่ี ชใ นขณะกระทําความผดิ แตกตา งกบั กฎหมาย
ทใี่ ชใ นภายหลงั การกระทาํ ความผดิ ใหใ ชก ฎหมายในสว นทเ่ี ปน คณุ แกผ กู ระทาํ ความผดิ ไมว า ในทางใด
เวน แตคดีถงึ ทส่ี ุดแลว แตในกรณีท่ีคดีถงึ ท่ีสดุ แลว ดังตอ ไปน้ี

(๑) ถาผูกระทําความผิดยังไมไดรับโทษ หรือกําลังรับโทษอยูและโทษที่กําหนด
ตามคําพิพากษาหนักกวาโทษที่กําหนดตามกฎหมายท่ีบัญญัติในภายหลังเมื่อสํานวนความปรากฏ
แกศ าล เม่ือผกู ระทําความผิด ผูแ ทนโดยชอบธรรมของผูน ้ัน ผอู นุบาลของผูน ัน้ หรือพนกั งานอัยการ
รอ งขอใหศ าลกาํ หนดโทษเสยี ใหมต ามกฎหมายทบี่ ญั ญตั ใิ นภายหลงั ในการทศี่ าลจะกาํ หนดโทษใหมน ี้
ถา ปรากฏวา ผกู ระทาํ ความผดิ ไดร บั โทษมาบา งแลว เมอ่ื ไดค าํ นงึ ถงึ โทษตามกฎหมายทบ่ี ญั ญตั ใิ นภายหลงั
หากเหน็ เปน การสมควรศาลจะกาํ หนดโทษนอ ยกวา โทษขนั้ ตาํ่ ทกี่ ฎหมายทบ่ี ญั ญตั ใิ นภายหลงั กาํ หนดไว
ถา หากมกี ไ็ ดห รอื ถา เหน็ วา โทษทผ่ี กู ระทาํ ความผดิ ไดร บั มาแลว เปน การเพยี งพอ ศาลจะปลอ ยผกู ระทาํ
ความผิดไปกไ็ ด

(๒) ถาศาลพิพากษาใหประหารชีวิตผูกระทําความผิด และตามกฎหมายท่ีบัญญัติ
ในภายหลัง โทษท่ีจะลงแกผูกระทําความผิด ไมถึงประหารชีวิต ใหงดการประหารชีวิตผูกระทํา
ความผดิ และใหถ อื วา โทษประหารชวี ติ ตามคาํ พพิ ากษาไดเ ปลย่ี นเปน โทษสงู สดุ ทจี่ ะพงึ ลงไดต ามกฎหมาย
ทบี่ ญั ญัติในภายหลัง”

บทบัญญตั ใิ นมาตรา ๒ วรรคสอง และมาตรา ๓ แยกพจิ ารณาไดดงั น้ี
๑. กฎหมายท่ีบัญญัติในภายหลังยกเลิกความผิดตามกฎหมายที่ใชในขณะกระทํา
ความผิด (มาตรา ๒ วรรคสอง)
๒. กฎหมายที่บัญญัติในภายหลังมิไดยกเลิกความผิดตามกฎหมายที่ใชในขณะ
กระทาํ ความผดิ แตมคี วามแตกตางกัน (มาตรา ๓)

๑. กฎหมายทบี่ ญั ญตั ใิ นภายหลงั ยกเลกิ ความผดิ ตามกฎหมายทใี่ ชใ นขณะกระทาํ ความผดิ
มาตรา ๒ วรรคสอง

ฎกี าที่ ๒๗๖๓/๒๕๔๑ รังนกอีแอนในถ้าํ เปนทรัพยไมมีเจาของ แตบุคคลอาจไดมา
ซ่ึงกรรมสิทธ์ิโดยเขายึดถือเอา การท่ีบริษัทผูเสียหายไดรับอนุญาตใหเก็บรังนกอีแอน อันเปนการ
ผูกขาดจากรัฐบาล ผูเสียหายมีสิทธิเพียงวาถาประสงคจะเก็บรังนกอีแอนในถาํ้ ท่ีผูกขาดยอมมีสิทธิ
ท่ีจะเขาเก็บเอาไดไมถูกหวงหามเสมือนบุคคลผูไมไดรับอนุญาต แตจะมีกรรมสิทธ์ิไดในรังนกอีแอน
ยงั จะตอ งมกี ารเขา ยดึ เอาอกี ชน้ั หนงึ่ กอ นเมอื่ ผเู สยี หายยงั มไิ ดเ ขา ถอื เอารงั นกอแี อน ตามมาตรา ๑๓๑๘

๓๙

แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยผูเสียหายจึงมิไดเปนเจาของในรังนกรายพิพาท การเก็บรังนก
อแี อน ดงั กลา วของจําเลยทงั้ สามกบั พวกจงึ ไมม คี วามผดิ ฐานรว มกนั ลกั ทรพั ยข องผเู สยี หาย ขณะเกดิ เหตุ
การกระทาํ ของจําเลยท้ังสามกับพวกเปนความผิดฐานเขาหรือข้ึนไปบนเกาะท่ีนกอีแอนทาํ รังอยูตาม
ธรรมชาติ แตระหวางการพิจารณาคดีของศาลอุทธรณภาค ๓ ไดมีพระราชบัญญัติอากรรังนกอีแอน
พ.ศ.๒๕๔๐ ยกเลิกพระราชบัญญัติอากรรังนกอีแอนฉบับเดิมท้ังหมด โดยไมมีบทบัญญัติใดระบุ
การเขา หรอื ขนึ้ ไปบนเกาะทน่ี กอแี อน ทํารงั อยตู ามธรรมชาติ จะตอ งไดร บั อนญุ าตจากผรู บั อนญุ าตเกบ็
รงั นกอีแอนหรอื อาศยั อํานาจผไู ดรับอนุญาตหรือเจา หนาท่ีของรฐั บาลตามมาตรา ๖ พระราชบัญญตั ิ
ฉบบั เดมิ และไมม บี ทกาํ หนดโทษเชน พระราชบญั ญตั ฉิ บบั เดมิ ถอื ไดว า ตามบทบญั ญตั ขิ องกฎหมายทบ่ี ญั ญตั ิ
ในภายหลงั การกระทําเชน นน้ั ไมเ ปน ความผดิ จําเลยทงั้ สามจงึ พน จากการเปน ผกู ระทําผดิ ตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๒ วรรคสอง

ผลดแี กผูกระทาํ ความผดิ มดี งั นี้
(๑) พน จากการเปน ผกู ระทําความผดิ
(๒) ถาไดมีคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหลงโทษแลว ก็ใหถือวาผูน้ันไมเคยตองคําพิพากษาวา
ไดกระทาํ ความผิดน้นั ซ่ึงเปนผลตามมาตรา ๕๖ ในเรือ่ งรอการกําหนดโทษ และรอการลงโทษ รวมทัง้
มาตรา ๙๒ และ ๙๓ เปน เร่อื งเหตุเพม่ิ โทษ เปนตน
(๓) ถารับโทษอยกู ็ใหการลงโทษนน้ั ส้ินสุดลง

๒. กฎหมายทบี่ ญั ญตั ใิ นภายหลงั มไิ ดย กเลกิ ความผดิ ตามกฎหมายทใี่ ชใ นขณะกระทาํ ความผดิ
แตม คี วามแตกตา งกัน มาตรา ๓

มาตรา ๓ วรรคแรก บญั ญตั วิ า “ใหใ ชก ฎหมายในสวนที่เปน คณุ แกผกู ระทําความผดิ
ไมว า ในทางใด”

๒.๑ กรณีกฎหมายท่ีแตกตางกนั และเปน คณุ แกผกู ระทําความผดิ เชน
(๑) กฎหมายทม่ี โี ทษเบากวา
(๒) กฎหมายที่มีโทษลําดับหลัง ๆ ของ มาตรา ๑๘ ลําดับโทษตาม

มาตรา ๑๘ นน้ั ลาํ ดบั ท่รี องลงมาเบากวา ลาํ ดับแรก ๆ เชน โทษปรบั เบากวาโทษจาํ คกุ
(๓) กฎหมายที่ใหเลือกลงโทษอยางใดอยางหน่ึงตามมาตรา ๑๘ ได เชน

กฎหมายเกา ลงโทษทั้งจําคุกและปรบั สว นกฎหมายใหมใหลงโทษจําคุกหรอื ปรบั
(๔) กฎหมายท่ีมีอัตราโทษข้ันสูงตํ่ากวา เชน กฎหมายเกามีอัตราโทษจําคุก

ข้ันสูงไมเ กิน ๕ ป แตก ฎหมายใหมมอี ตั ราโทษจาํ คกุ ข้นั สงู ไมเ กนิ ๓ ป
(๕) กฎหมายทไ่ี มม อี ตั ราโทษขน้ั ตา่ํ เชน กฎหมายเกา มอี ตั ราโทษชนั้ สงู ไมเ กนิ

๕ ป และข้นั ตา่ํ ๓ ป สวนกฎหมายใหมมีอัตราโทษขน้ั สงู เทา กันแตไมม ีอตั ราโทษข้ันต่าํ
(๖) กฎหมายท่ีมีเหตยุ กเวนความผิด ยกเวน โทษหรอื ลดโทษมากกวา

๔๐

(๗) กฎหมายท่ีกาํ หนดเง่ือนไขในการดาํ เนินคดีเขมงวดกวากัน เชน
กฎหมายเกาถือวาความผิดน้ีเปนความผิดอาญาแผนดิน แตกฎหมายใหมถือวาคดีความผิด
อนั ยอมความได ตองถอื วา กฎหมายใหมเปน คณุ

(๘) กฎหมายท่กี าํ หนดอายุความฟองรองที่สั้นกวา
๒.๒ กรณีคดีถึงท่ีสุดแลว และผูกระทํารับโทษครบถวนจนกระท่ังพน โทษแลว

กรณีเชนน้กี ็ไมอาจนํากฎหมายในสวนทเ่ี ปน คณุ ไปใชแ กผกู ระทําผิดได เพราะ
รับโทษครบถว นจนกระทัง่ พนโทษแลว

๒.๓ กรณคี ดถี งึ ท่สี ุดแลว และผูกระทาํ ยงั ไมไ ดร ับโทษหรือกาํ ลังรับโทษอยู
มาตรา ๓ อนุมาตรา ๑ และ ๒ แยกโทษออกเปน ๒ ประเภท คือ
(๑) โทษตามคาํ พพิ ากษาไมใชโทษประหารชวี ติ
(๒) โทษตามคาํ พิพากษาเปนโทษประหารชีวิต

๑. โทษตามคําพพิ ากษาไมใ ชโ ทษประหารชวี ติ ซงึ่ แยกพจิ ารณาไดเ ปน ๒ กรณี คอื กรณี
ผูก ระทําความผดิ ยังไมไ ดร ับโทษและกรณผี กู ระทาํ ความผิดกาํ ลงั รับโทษอยู

ก. ผูกระทําความผิดยังไมไดรับโทษ ถาปรากฏวาโทษท่ีกําหนดตามคําพิพากษา
หนักกวาโทษที่กําหนดตามกฎหมายท่ีบัญญัติในภายหลัง ศาลตองกาํ หนดโทษเสียใหมตามกฎหมาย
ท่บี ญั ญตั ิในภายหลัง

ข. ผกู ระทาํ ความผดิ กาํ ลงั รบั โทษอยู ถา โทษทกี่ าํ หนดตามคําพพิ ากษาหนกั กวา โทษ
ท่ีกาํ หนดตามกฎหมายท่ีบัญญัติในภายหลัง ศาลก็ตองกําหนดโทษเสียใหมตามกฎหมายท่ีบัญญัติ
ในภายหลัง

ฎีกาท่ี ๗๗๗๙/๒๕๔๙ คดีถึงท่ีสุดตามคําพิพากษาศาลฎีกาแตจาํ เลยที่ ๑ กําลัง
รับโทษตามคําพิพากษาดังกลาวอยู เมื่อจาํ เลยท่ี ๑ ย่ืนคาํ รองอางวา มี พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโทษ
(ฉบับท่ี ๕) พ.ศ.๒๕๔๕ ยกเลิกความในมาตรา ๑๕ และมาตรา ๖๖ แหง พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโทษ
พ.ศ.๒๕๒๒ และใหใ ชค วามใหมแทน อนั เปนกฎหมายท่เี ปน คณุ แกจ ําเลยท่ี ๑ ดังน้ี จาํ เลยที่ ๑ ยอ มมี
สทิ ธิทีจ่ ะรอ งขอตอศาลใหศาลชนั้ ตนกาํ หนดโทษเสยี ใหมใ หแ กจ าํ เลยท่ี ๑ ได ตาม ป.อ.มาตรา ๓ (๑)
ท่ีศาลช้ันตนมีคาํ สั่งวา คดีถึงท่ีสุดตามคําพิพากษาศาลฎีกาแลว จึงไมอาจแกไขโทษตามคําพิพากษา
ไดน นั้ เปน การไมถ กู ตอ ง เพราะอํานาจในการมคี ําสงั่ ตามคํารอ งของจําเลยท่ี ๑ ในกรณเี ชน นเี้ ปน อาํ นาจ
ของศาลชนั้ ตน

ในการกาํ หนดโทษใหมน ี้ หากเห็นเปน การสมควร
ก. ศาลจะกาํ หนดโทษนอ ยกวา โทษขนั้ ต่าํ ทกี่ ฎหมายทบี่ ญั ญตั ใิ นภายหลงั กาํ หนดไว
ถา หากมีก็ได
ข. ศาลจะปลอยผูกระทําความผิดไปก็ได ถาเห็นวาโทษท่ีผูกระทําความผิด
ไดร ับมาแลว เปน การเพยี งพอ

๔๑

๒. โทษตามคําพิพากษาเปนโทษประหารชีวิต (ดูมาตรา ๓ (๒) ในกรณีเชนน้ีหากตาม
กฎหมายบญั ญัตใิ นภายหลงั โทษที่จะลงแกผูกระทําความผดิ ไมถ ึงประหารชวี ติ จะตอ ง

ก. งดการประหารชีวติ ผูกระทาํ ผดิ และ
ข. เปล่ียนโทษประหารชีวิตมาเปนโทษสูงสุดที่จะพึงลงไดตามกฎหมายท่ีบัญญัติ
ในภายหลงั เชน ตามกฎหมายท่ีบัญญัติในภายหลังไดก าํ หนดโทษไว คือ จําคกุ ตลอดชวี ติ หรอื จําคุก
ตง้ั แตส บิ หา ปถ งึ ยสี่ บิ ป เชน นตี้ อ งเปลย่ี นจากประหารชวี ติ มาเปน จาํ คกุ ตลอดชวี ติ เพราะเปน “โทษสงู สดุ ”
ตามกฎหมายใหมแตจะลงโทษจําคกุ ท่กี าํ หนดระยะเวลา เชน ยีส่ ิบปไมไดเ พราะมใิ ช “โทษสูงสดุ ”

ขอบเขตการใชก ฎหมายอาญา (มาตรา ๔-๑๗)

มาตรา ๔ ผูใดกระทําความผดิ ในราชอาณาจักร ตอ งรบั โทษตามกฎหมาย
การกระทาํ ความผิดในเรือไทยหรอื อากาศยานไทย ไมวาจะอยู ณ ท่ีใด ใหถ อื วา กระทาํ
ความผดิ ในราชอาณาจักร
ความผดิ เกดิ ในราชอาณาจักร (มาตรา ๔ วรรคแรก)
โดยหลกั ผกู ระทําความผดิ ทจี่ ะตอ งรบั โทษตามกฎหมายไทย ตอ งเปน การกระทําความผดิ
ในราชอาณาจักร ซ่ึงรวมถึงทะเลท่ีหางจากดินแดนประเทศไทยไมเกิน ๑๒ ไมลทะเลดวย แตเขต
เศรษฐกิจจําเพาะ (ซึ่งมีระยะ ๒๐๐ ไมลทะเลวัดจากเสนฐานท่ีใชวัดความกวางของทะเล อาณาเขต
มีวัตถุประสงคเพ่ือสงวนรักษาทรัพยากรธรรมชาติ) และสถานทูตไทยท่ีอยูตางประเทศ ไมถือวาเปน
ราชอาณาจักรตามมาตราน้ี
การกระทําความผิดในราชอาณาจกั รตามมาตรา ๔ วรรคหนง่ึ หมายถึงการกระทาํ ทเี่ ปน
องคประกอบความผิดภายนอกท้ังหมดเกิดข้ึนในราชอาณาจักร สวนผลของการกระทาํ จะเกิดขึ้นใน
หรือนอกราชอาณาจักรก็ไมใชขอสาํ คัญ ถาการกระทําความผิดมิไดเกิดขึ้นในราชอาณาจักรท้ังหมด
ตองพิจารณาตามมาตรา ๕
ฎีกาท่ี ๘๓๓๕/๒๕๔๗ ขณะท่ีเจาพนักงานตรวจคนพบยาเสพติดใหโทษ จาํ เลย
ลงจากเคร่ืองบินมาอยูในอาคารผูโดยสารของทาอากาศยานกรุงเทพเพ่ือจะไปข้ึนเคร่ืองบินอีกลําหน่ึง
จาํ เลยจึงเขามาในราชอาณาจักรไทยแลว เมื่อจาํ เลยมียาเสพติดใหโทษไวในครอบครองเพ่ือจําหนาย
ซึ่งตามกฎหมายไทยบัญญัติวา เปน ความผดิ จําเลยจงึ เปน ผกู ระทาํ ผดิ ในราชอาณาจักรตองรับโทษตาม
กฎหมายไทยตาม ป.อ.มาตรา ๔
ความผดิ เกดิ ในเรือไทยหรืออากาศยานไทย (มาตรา ๔ วรรคสอง)
ความผิดที่เกิดข้ึนในเรือไทยหรืออากาศยานไทย ไมวาอยูที่ใด ถือวากระทําความผิด
ในราชอาณาจกั รไทย คาํ วา ไมว า อยทู ใ่ี ดหมายถงึ สถานทอ่ี น่ื ทอี่ ยนู อกราชอาณาจกั ร ถา ขณะความผดิ
เกิดข้ึนน้ันเรอื ไทยหรืออากาศยานไทยอยูในราชอาณาจักร ถือเปนกรณตี ามมาตรา ๔ วรรคแรก

๔๒

ฎีกาที่ ๒๖๗๐/๒๕๓๕ เหตเุ กิดข้นึ ในเรอื ไทย เปนการกระทาํ ความผิดในราชอาณาจักร
พนักงานสอบสวน กองปราบปราม กรมตาํ รวจ มีอํานาจสอบสวนคดีอาญาไดท่ัวราชอาณาจักร
จงึ มอี ํานาจสอบสวน

มาตรา ๕ ความผิดใดท่ีการกระทําแมแตสวนหนึ่งสวนใดไดกระทําในราชอาณาจักรก็ดี
ผลแหงการกระทําเกิดในราชอาณาจักรโดยผูกระทําประสงคใหผลน้ันเกิดในราชอาณาจักร หรือโดย
ลกั ษณะแหง การกระทาํ ผลทเี่ กดิ ขน้ึ นนั้ ควรเกดิ ในราชอาณาจกั รหรอื ยอ มจะเลง็ เหน็ ไดว า ผลนน้ั จะเกดิ
ในราชอาณาจักรก็ดี ใหถือวา ความผิดนน้ั ไดก ระทาํ ในราชอาณาจกั ร

ในกรณีการตระเตรียมการ หรือพยายามกระทําการใดซึ่งกฎหมายบัญญัติเปนความผิด
แมก ารกระทาํ น้ันจะไดก ระทํานอกราชอาณาจักร ถาหากการกระทาํ น้นั จะไดก ระทําตลอดไปจนถงึ ขน้ั
ความผิดสําเร็จ ผลจะเกิดข้ึนในราชอาณาจักร ใหถือวา การตระเตรียมการหรือพยายามกระทํา
ความผดิ นน้ั ไดก ระทําในราชอาณาจกั ร

กรณที ่ถี ือวา ความผิดกระทําในราชอาณาจักร (มาตรา ๕) มี ๒ กรณี
๑. ความผดิ สวนใดสว นหน่ึงกระทาํ ในราชอาณาจกั ร หรอื
๒. ผลแหงการกระทําเกดิ ในราชอาณาจักร โดย

๒.๑ ผูกระทาํ ประสงคใหผ ลนั้นเกิดในราชอาณาจกั ร หรอื
๒.๒ โดยลักษณะแหงการกระทํา ผลท่เี กดิ ขึน้ ควรเกิดในราชอาณาจกั ร หรือ
๒.๓ ผกู ระทาํ ยอ มเลง็ เหน็ ไดว า ผลนนั้ จะเกดิ ในราชอาณาจกั ร (มาตรา ๕ วรรคแรก)
ฎีกาท่ี ๑๖๔๕/๒๕๓๑ การกระทําความผิดฐานพรากผูเยาวไปเพื่อการอนาจารเร่ิมขึ้น
ตง้ั แตจ าํ เลยพาผเู สยี หายขนึ้ รถยนตท ป่ี ากซอยหนา บา นในประเทศไทย แมจ าํ เลยจะไปรว มประเวณกี บั
ผเู สยี หายทปี่ ระเทศญป่ี นุ การกระทาํ ของจาํ เลยสว นหนงึ่ กไ็ ดเ กดิ ขน้ึ แลว ในประเทศไทย ถอื วา ความผดิ
ไดกระทําในราชอาณาจกั รตาม ป.อ.มาตรา ๕
ฎกี าที่ ๑๐๑๐/๒๕๐๘ ออกเชค็ นอกราชอาณาจกั รใหม าขน้ึ เงนิ ทธ่ี นาคารในราชอาณาจกั ร
เช็คน้นั ไมม เี งนิ ธนาคารปฏเิ สธการจายเงิน ถอื วาเหตุเกิดในราชอาณาจักร
ฎีกาที่ ๑๕๘๖/๒๕๒๖ จําเลยกับพวกบังคับหนวงเหนี่ยวกักขังผูเสียหายชาวมาเลเซีย
เพื่อเรียกคาไถและบังคับใหผูเสียหายขับรถไปยังชายแดนประเทศไทย ซึ่งนาจะไดควบคุมเขาไปใน
เขตแดนไทยดวย เพราะภูมิลําเนาของจาํ เลยกับพวกอยูในราชอาณาจักร จึงเปนความผิดตอเนื่อง
ทั้งในและนอกราชอาณาจักร พนักงานสอบสวนสถานีตํารวจภูธรกิ่งอําเภอควนโดน จังหวัดสตูล
ซึง่ จับจําเลย จงึ มีอํานาจสอบสวนดําเนนิ คดีกบั จําเลยได
ฎกี าที่ ๑๒๘๙/๒๕๒๑ ผจู ดั การธนาคารไทย สาขาไทเปมอบเงนิ ใหจ าํ เลยซงึ่ เปน คนไทย
และเปนผูชวยผูจัดการและรักษาการสมุหบัญชี นําเงินของธนาคารไปฝากธนาคารอ่ืน จําเลยเปน
ผูครอบครองเงินนั้น จําเลยถอนเงินไปโดยทุจริตมีความผิดตามมาตรา ๓๕๔ ซึ่งเปนธุรกิจท่ีไววางใจ
ของประชาชน ธนาคารเปนผเู สยี หายรอ งทกุ ขไ ดแ ละลงโทษในศาลไทยได

๔๓

ฎกี าที่ ๔๙๐๕/๒๕๔๘ การจะถือวาความผิดนั้นไดกระทําในราชอาณาจักรตาม ป.อ.
มาตรา ๕ ก็ตอเมื่อสวนใดสวนหน่ึงของความผิดไดกระทาํ ในราชอาณาจักรหรือผลแหงการกระทํา
เกิดในราชอาณาจักร คดีนี้โจทกบรรยายฟองระบุวาเหตุทุกขอหาเกิดท่ีบริเวณตาํ บลใดไมปรากฏชัด
อําเภอปะทวิ จงั หวัดชมุ พร แตท างนําสืบของโจทกไ ดค วามวา เหตเุ กิดในเขตตอเน่อื งของประเทศไทย
ไมม สี ว นใดของความผิดไดก ระทําในราชอาณาจักร และผลแหงการกระทาํ ก็ไมไ ดเ กิดในราชอาณาจกั ร
จึงถือวา จาํ เลยกระทาํ ความผิดในราชอาณาจักรไมได

การตระเตรียมหรือพยายามกระทาํ ผิด (มาตรา ๕ วรรคสอง)
การตระเตรยี มหรอื พยายามกระทาํ การทกี่ ฎหมายบญั ญตั เิ ปน ความผดิ แมก ารกระทาํ นน้ั
จะไดกระทํานอกราชอาณาจักร ถาหากการกระทํานั้นสําเร็จ ผลจะเกิดขึ้นในราชอาณาจักร ใหถือวา
การตระเตรียมหรือพยายามกระทาํ ความผิดนน้ั ไดก ระทาํ ในราชอาณาจกั ร (มาตรา ๕ วรรคสอง)
เชน มีการตระเตรียมวางเพลิงในประเทศพมา เพื่อมาวางเพลิงท่จี ังหวัดตาก แตถกู จับได
เสยี กอน ก็ถอื วา การตระเตรยี มดงั กลาวกระทาํ ในประเทศไทย จึงฟอ งคนรายตอ ศาลไทยได
มาตรา ๖ ความผิดใดท่ีไดกระทําในราชอาณาจักรหรือที่ประมวลกฎหมายนี้ถือวาได
กระทาํ ในราชอาณาจกั ร แมก ารกระทาํ ของผเู ปน ตวั การดว ยกนั ของผสู นบั สนนุ หรอื ของผใู ชใ หก ระทาํ
ความผดิ น้ันจะไดก ระทํานอกราชอาณาจักร ก็ใหถือวา ตวั การ ผสู นบั สนนุ หรอื ผใู ชใหก ระทําไดก ระทํา
ในราชอาณาจักร
ตัวการ ผสู นับสนนุ หรือผใู ชก ระทํานอกราชอาณาจักร (มาตรา ๖)
กรณตี ามมาตรา ๖ เปนกรณที ค่ี วามผิดไดก ระทาํ ในราชอาณาจกั รหรือถอื วา ไดกระทําใน
ราชอาณาจกั ร แตก ารกระทาํ ของตวั การ ผสู นบั สนนุ หรอื ผใู ชไ ดก ระทาํ นอกราชอาณาจกั รกถ็ อื วา ตวั การ
ผสู นับสนนุ หรอื ผใู ชไดก ระทาํ ในราชอาณาจกั ร เชน ก. จา ง ข. ทป่ี ระเทศลาวเพื่อใหฆ า ค. ในจังหวดั
หนองคาย ถือวา ก. ใช ข. ในประเทศไทย จึงฟอ ง ก. ตอ ศาลไทยได
ฎกี าท่ี ๕๔๔๕/๒๕๕๒ จําเลยลอยเรือเพื่อใหเรือลําอื่นที่ชักธงชาติไทยมารับชวงน้ํามัน
ไปจาํ หนายแกเ รือประมงอกี ทอดหนึ่ง แมเหตจุ ะเกดิ ที่นอกราชอาณาจกั ร แตเ หน็ ไดวาจําเลยมีเจตนา
ประสงคตอผล หรือยอมจะเล็งเห็นไดวาผลนั้นจะเกิดข้ึนในราชอาณาจักรเพราะเรือท่ีรับชวงนํ้ามัน
จะตองนําน้ํามันไปจําหนายใหแกเรือประมงที่ทําการประมงในทะเลอาณาเขตซึ่งอยูในเขต
ราชอาณาจักรไทย การกระทําของจําเลยจึงอยูในขั้นพยายาม ตองดวย ป.อ.มาตรา ๕ วรรคสอง
จาํ เลยจงึ มคี วามผดิ ตามพระราชบญั ญตั ิศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๒๗
มาตรา ๗ ผูใดกระทําความผิดดังระบุไวตอไปน้ีนอกราชอาณาจักร จะตองรับโทษใน
ราชอาณาจักร คือ

(๑) ความผิดเก่ียวกับความม่ันคงแหงราชอาณาจักร ตามที่บัญญัติไวใน
มาตรา ๑๐๗ ถงึ มาตรา ๑๒๙

(๑/๑) ความผิดเกี่ยวกับการกอการรายตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา ๑๓๕/๑
มาตรา ๑๓๕/๒ มาตรา ๑๓๕/๓ และมาตรา ๑๓๕/๔

๔๔

(๒) ความผิดเก่ียวกับการปลอมและการแปลง ตามที่บัญญัติไว
ในมาตรา ๒๔๐ ถงึ มาตรา ๒๔๙ มาตรา ๒๕๔ มาตรา ๒๕๖ มาตรา ๒๕๗ และมาตรา ๒๖๖ (๓) และ (๔)

(๒ ทว)ิ ความผิดเกี่ยวกับเพศตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา ๒๘๒ และ
มาตรา ๒๘๓

(๓) ความผิดฐานชิงทรัพย ตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา ๓๓๙ และความผิด
ฐานปลนทรพั ย ตามท่บี ัญญตั ไิ วใ นมาตรา ๓๔๐ ซงึ่ ไดก ระทําในทะเลหลวง

ความผดิ เกดิ นอกราชอาณาจกั ร (มาตรา ๗-๙) แตต องรับโทษในราชอาณาจักร
กรณีตามมาตรา ๗
ความผดิ ทเี่ กดิ นอกราชอาณาจกั รแตต อ งรบั โทษในราชอาณาจกั รตามทรี่ ะบไุ วใ นมาตรา ๗
ไดแ ก
(๑) ความผิดเกีย่ วกับความม่ันคงตามมาตรา ๑๐๗-๑๒๙
(๑/๑) ความผดิ เกยี่ วกบั การกอ การรา ยตามทบี่ ญั ญตั ไิ วใ นมาตรา ๑๓๕/๑ มาตรา ๑๓๕/๒
มาตรา ๑๓๕/๓ และมาตรา ๑๓๕/๔ (อนุมาตราน้ีเพมิ่ เติมป ๒๕๔๖)
(๒) ความผดิ เกยี่ วกบั การปลอมและการแปลงเงินตรา มาตรา ๒๔๐-๒๔๙, ๒๕๔, ๒๕๖,
๒๕๗ และ ๒๖๖ (๓) (๔) จําสั้น ๆ วาความผดิ เกี่ยวกับการปลอมแปลงเงนิ ตรา
(๒ ทวิ) ความผดิ เกย่ี วกบั เพศตามท่บี ญั ญัตไิ วใ นมาตรา ๒๘๒ และมาตรา ๒๘๓
(อนมุ าตรานีเ้ พมิ่ เติมป ๒๕๔๖)
(๓) ความผดิ เกยี่ วกับชิงทรัพย มาตรา ๓๓๙ และปลน ทรัพย มาตรา ๓๔๐ ซง่ึ กระทาํ ใน
ทะเลหลวง
มาตรา ๘ ผูใดกระทาํ ความผิดนอกราชอาณาจกั ร และ

(ก) ผกู ระทาํ ความผดิ นน้ั เปนคนไทย และรฐั บาลแหง ประเทศที่ความผิดได
เกิดขน้ึ หรือผเู สียหายไดรองขอใหล งโทษ หรือ

(ข) ผูกระทําความผิดน้ันเปนคนตางดาว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเปน
ผเู สียหาย และผเู สียหายไดรอ งขอใหลงโทษ

ถาความผิดนั้นเปนความผิดดังระบุไวตอไปนี้ จะตองรับโทษภายใน
ราชอาณาจักร คือ

(๑) ความผิดเกี่ยวกับการกอใหเกิดภยันตรายตอประชาชน ตามที่
บัญญัติไวในมาตรา ๒๑๗ มาตรา ๒๑๘ มาตรา ๒๒๑ ถึงมาตรา ๒๒๓ ทั้งนี้ เวนแตกรณีเกี่ยวกับ
มาตรา ๒๒๐ วรรคแรก และมาตรา ๒๒๔ มาตรา ๒๒๖ มาตรา ๒๒๘ ถงึ มาตรา ๒๓๒ มาตรา ๒๓๗ และ
มาตรา ๒๓๓ ถึงมาตรา ๒๓๖ ท้งั นี้ เฉพาะเม่อื เปนกรณีตอ งระวางโทษตามมาตรา ๒๓๘

(๒) ความผดิ เกย่ี วกบั เอกสาร ตามทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ นมาตรา ๒๖๔ มาตรา ๒๖๕
มาตรา ๒๖๖ (๑) และ (๒) มาตรา ๒๖๘ ท้ังนี้ เวนแตกรณีเก่ยี วกบั มาตรา ๒๖๗ และมาตรา ๒๖๙


Click to View FlipBook Version