The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

8-1_LA21202_กฎหมายอาญา_1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-05 10:00:08

8-1_LA21202_กฎหมายอาญา_1

8-1_LA21202_กฎหมายอาญา_1

ÅíÒ´ºÑ àÃ×Íè § ¤íÒ͸ԺÒ ÁÒμÃÒ·èàÕ ¡ÂèÕ Ç¢ŒÍ§ ËÁÒÂàËμØ ๑๙๖
บทท่ี ๗ ความผิดเกีย่ วกับการปกครอง ฎกี า ๙๔๙/๒๕๒๑
ó. àÃÕ¡ ÃºÑ ËÃ×ÍÂÍÁÃѺ¨ÐÃºÑ ÊÔ¹º¹ ฎีกา ๑๒๖๓/๒๕๓๒
- ความผิดตอตําแหนงหนา ทรี่ าชการ มาตรา ๑๔๙ ผูใดเปนเจาพนักงาน สมาชิก ม.๑๔๙

สภานิติบัญญัติแหงรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด หรือสมาชิก
สภาเทศบาล เรยี ก รบั หรอื ยอมจะรบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชน
อ่ืนใดสําหรับตนเองหรือผูอ่ืนโดยมิชอบ เพื่อกระทําการ
หรือไมกระทําการอยางใดในตําแหนงไมวาการนั้นจะชอบ
หรือมิชอบดวยหนาท่ี ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตหาป
ถงึ ยสี่ บิ ป หรอื จาํ คกุ ตลอดชวี ติ และปรบั ตง้ั แตห นงึ่ แสนบาท
ถึงสี่แสนบาท หรอื ประหารชีวติ

ͧ¤»ÃСͺ¢Í§¤ÇÒÁ¼´Ô มีดงั น้ี
๑. เปนเจาพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติ
แหง รฐั สมาชิกสภาจังหวดั หรือสมาชิกสภาเทศบาล
๒. เรยี ก รบั หรอื ยอมจะรบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชน
อื่นใดสาํ หรบั ตนเองหรอื ผอู ่ืนโดยมิชอบ
๓. เจตนา
เพอื่ กระทาํ การหรอื ไมก ระทาํ การอยา งใดในตาํ แหนง
ไมวา การนน้ั จะชอบหรือไมชอบดวยหนาท่ี
¤Òí ͸ԺÒÂ
เปนเจาพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงรัฐ
สมาชกิ สภาจงั หวดั หรอื สมาชกิ สภาเทศบาล มาตรานบ้ี ญั ญตั ิ
เพ่ิมตัวบุคคลผูกระทําผิดนอกเหนือจากเจาพนักงานคือ
รวมถงึ สมาชิกสภานติ บิ ัญญัตแิ หงรัฐ สมาชกิ สภาจงั หวดั
และสมาชิกสภาเทศบาลดวย ความจริงบุคคลในตําแหนง
ดังกลาว ไมมีฐานะเปนเจาพนักงาน แตโดยเหตุท่ีบุคคล
เหลานี้อยูในตําแหนงสําคัญ เปนผูทํางานเพ่ือสวนรวม
หากรบั สนิ บนกย็ อ มกอ ใหเ กดิ ความเสยี หายตอ สาธารณะได
เชนเดียวกับเจาพนักงาน กฎหมายจึงบัญญัติเอาผิดดวย
แตไมขยายไปถึงสมาชิกสุขาภิบาล หรือสมาชิกสภาตําบล
เพราะกฎหมายจาํ กัดเฉพาะสมาชกิ ๓ ประเภทเทานนั้

ÅÒí ´ºÑ àÃ×Íè § ¤Òí ͸ºÔ Ò ÁÒμÃÒ·èÕà¡èÂÕ Ç¢ŒÍ§ ËÁÒÂàËμØ
บทที่ ๗ ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง ฎีกา ๓๖๔/๒๕๓๑
ô. »¯ÔºÑμÔËÃ×ÍÅÐàÇŒ¹¡Òû¯ÔºÑμÔ˹ŒÒ·Õèâ´ÂÁԪͺ
- ความผดิ ตอตาํ แหนงหนาท่รี าชการ ËÃ×Íâ´Â·Ø¨ÃμÔ
มาตรา ๑๕๗ ผูใดเปนเจาพนักงาน ปฏิบัติหรือ ม.๑๕๗
ละเวน การปฏบิ ตั หิ นา ทโี่ ดยมชิ อบ เพอ่ื ใหเ กดิ ความเสยี หาย
แกผูหน่ึงผูใด หรือปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดย
ทจุ รติ ตอ งระวางโทษจําคกุ ตั้งแตหน่งึ ปถึงสบิ ป หรอื ปรบั
ตั้งแตส องหม่ืนบาทถงึ สองแสนบาท หรอื ท้งั จําทัง้ ปรับ
ความผดิ มาคตอื ราคนว้ีาบมัญผญดิ แัตริกกาเปรกน รเระ่ือทงํากอาันรปเปฏนิบคัติหวารมอื ลผะิดเว๒น
กกาารรปปฏฏบิิบัตัติหิหรนอื าลทะี่โเดวยนมกิชารอปบฏบิแตัลิหะคนวาาทมโ่ี ดผยิดททุจี่สรอติ งเปนเรื่อง
ค๑ว. าเมปผนดิ เแจรา กพนมักีองงาคนป ระกอบของความผิดดังนี้
๒. ปฏบิ ัติหรือละเวน การปฏบิ ัตหิ นาที่โดยมชิ อบ
๓. เจตนา
๔. เพอ่ื ใหเ กิดความเสียหายแกผ ูหน่งึ ผูใด
¤Òí ͸ºÔ ÒÂ
เปน เจาพนักงาน ความผิดเก่ยี วกับการปฏบิ ัติหรอื
ละเวนการปฏิบัติหนาท่ีโดยมิชอบ หรือโดยทุจริตเพื่อให
เกดิ ความเสยี หายแกผ หู นงึ่ ผใู ด ผกู ระทาํ จะตอ งมฐี านะเปน
เจาพนักงาน
ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ
บทบัญญัติในมาตราน้ีเปนการควบคุมทั่วไป หรือเรียกวา
บททัว่ ไป คอื เอาผิดแกเจาพนกั งานทกุ คนทุกประเภท และ
ไฉมะจนํา้นั กัดหวาากจเปะตนอเจงามพีหนนกั างทาี่โนดยเมเฉอื่ พกาาะรกเจราะะทจํางทแเี่ตกปี่ยรวะขกอางรกใบัด
หซ่ึงนราะทบี่ไมุหเนปานทค่ีขวอามงเผจิดาตพานมักมงาาตนราโตดายงเๆฉพทาี่เะปเนจาบะทจเฉงแพลาะว
เกปอ็ นาจคผวดิาตมาผมิดมตาาตมรบานทีซ้ เฉ่งึ เพปานะบแทลทวว่ั ไกป็ไไมดผ แิดตตถ าา มกบารทกทระ่ัวทไปาํ
ในมาตรา ๑๕๗ น้อี ีก ๑๙๗

ÅíÒ´ºÑ àÃ×Íè § ¤Òí ͸ԺÒ ÁÒμÃÒ·èàÕ ¡ÕèÂǢ͌ § ËÁÒÂàËμØ ๑๙๘
บทท่ี ๗ ความผิดเกย่ี วกบั การปกครอง
õ. »ÅÍÁàÍ¡ÊÒÃâ´ÂÍÒÈÑÂâÍ¡ÒÊ·ÁèÕ ËÕ ¹ŒÒ·Õè ฎกี า ๖๓๕/๒๕๑๗
- ความผิดตอ ตําแหนงหนาท่ีราชการ มาตรา ๑๖๑ “ผูใดเปนเจาพนักงาน มีหนาที่ทํา ม.๑๖๑

เอกสาร กรอกขอ ความลงในเอกสารหรอื ดแู ลรกั ษาเอกสาร
กระทาํ การปลอมเอกสารโดยอาศยั โอกาสทต่ี นมหี นา ทน่ี นั้
ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป และปรับไมเกินสองแสน
บาท”

ͧ¤» ÃСͺ¢Í§¤ÇÒÁ¼´Ô มีดังน้ี
๑. เปน เจา พนักงาน
๒. มหี นา ทท่ี าํ เอกสาร กรอกขอ ความลงในเอกสาร
หรอื ดแู ลรกั ษาเอกสาร
๓. กระทาํ การปลอมเอกสารโดยอาศยั โอกาสทตี่ น
มหี นาที่นั้น
๔. เจตนา
¤Òí ͸ºÔ ÒÂ
เปน เจา พนกั งาน การปลอมเอกสารทจี่ ะมคี วามผดิ
ตามมาตราน้ี ผกู ระทาํ จะตอ งเปน เจา พนกั งานซงึ่ มหี นา ทที่ าํ
กรอกขอความ หรือดแู ลรกั ษาเอกสารน้ัน
มีหนาที่ทําเอกสาร กรอกขอความลงในเอกสาร
หรือดูแลรักษาเอกสาร หมายความวาเจาพนักงานซ่ึงจะ
กระทาํ ความผดิ ตามมาตรานจี้ ะตอ งเปน ผมู หี นา ทที่ าํ เอกสาร
กรอกขอ ความลงในเอกสาร หรอื ดแู ลรักษาเอกสาร
เอกสาร มีความหมายตามบทนิยามในมาตรา
๑(๗) หมายถึง กระดาษหรอื วตั ถุอน่ื ใด ซึ่งไดทาํ ใหป รากฏ
ความหมายดว ยตวั อกั ษร ตวั เลข ผงั หรอื แผนแบบอยา งอนื่
จะเปน โดยวธิ พี มิ พถ า ยภาพ หรอื วธิ อี น่ื ใดอนั เปน หลกั ฐาน
แหงความหมายนนั้

ÅíҴѺ àÃèÍ× § ¤Òí ͸ԺÒ ÁÒμÃÒ·èàÕ ¡ÂÕè Ç¢ŒÍ§ ËÁÒÂàËμØ
บทที่ ๗ ความผิดเก่ยี วกับการปกครอง หนาท่ีของเจาพนักงานตามมาตราน้ี แยกไดเปน
๓ ประการ คอื (๑) หนา ทที่ าํ เอกสาร (๒) หนา ทกี่ รอกขอ ความ
- ความผิดตอ ตาํ แหนงหนา ท่ีราชการ ลงในเอกสาร (๓) หนา ท่ีดแู ลรักษาเอกสาร
(๑) หนา ทที่ าํ เอกสาร หมายถงึ ทาํ เอกสารนที้ ง้ั ฉบบั
หรือแตบางสวน หรือลงลายมือชื่อในการออกเอกสาร
สวนใครจะเขยี นขึ้นไมส าํ คญั
(๒) หนาท่ีกรอกขอ ความลงในเอกสาร เชน กรอก
ขอความลงในแบบพิมพตางๆ ของทางราชการในบัญชี
ใบเสร็จรับเงิน ทะเบียนทีด่ นิ ทะเบยี นบาน เปนตน
(๓) หนาที่ดูแลรักษาเอกสาร ซึ่งหมายถึง ดูแล
รกั ษาเอกสารทที่ าํ สมบรู ณแ ลว และเอกสารแบบพมิ พต า งๆ
เพ่ือกรอกขอความดวย
ขอสําคัญคือ เจาพนักงานผูนั้นจะตองมีหนาที่
โดยตรงในการทํา กรอก หรือดูแลรักษาเอกสารนั้น
หากมิใชหนาท่ีโดยตรงแลว ก็ไมผิดตามมาตรา ๑๖๑
แตอาจผดิ ฐานปลอมเอกสารตามมาตรา ๒๖๔

๑๙๙

ÅÒí ´Ñº àÃÍè× § ¤íÒ͸ºÔ Ò ÁÒμÃÒ·àÕè ¡èÂÕ Ç¢ŒÍ§ ËÁÒÂàËμØ ๒๐๐
บทท่ี ๗ ความผิดเก่ียวกับการปกครอง ฎีกา ๔๙๐๐/๒๕๒๘
ö. ÃѺÃͧËÃ×Í¡ÃÍ¡¢ŒÍ¤ÇÒÁŧã¹àÍ¡ÊÒà ฎกี า ๔๖๔๙/๒๕๓๓
- ความผดิ ตอ ตําแหนง หนาทร่ี าชการ Íѹ໹š à·¨ç ฎกี า ๓๕๗๒/๒๕๒๙

มาตรา ๑๖๒ ผูใดเปนเจาพนักงาน มีหนาที่ทํา ม.๑๖๒
เอกสาร รับเอกสารหรือกรอกขอความลงในเอกสาร
กระทําการดงั ตอไปนใ้ี นการปฏบิ ัตกิ ารตามหนาที่

(๑) รบั รองเปน หลกั ฐานวา ตนไดก ระทาํ การอยา งใดขน้ึ
หรือวาการอยางใดไดกระทําตอหนาตนอันเปนความเท็จ

(๒) รบั รองเปน หลกั ฐานวา ไดม กี ารแจง ซง่ึ ขอ ความ
อันมิไดมีการแจง

(๓) ละเวนไมจดขอความซึ่งตนมีหนาท่ีตองรับจด
หรอื จดเปลีย่ นแปลงขอความเชน วานน้ั หรอื

(๔) รบั รองเปน หลกั ฐานซง่ึ ขอ เทจ็ จรงิ อนั เอกสารนนั้
มงุ พสิ จู นค วามจริงอนั เปนความเท็จ

ตองระวางโทษจําคุกไมเกินเจ็ดป และปรับไมเกิน
ส่หี ม่นื บาท

ͧ¤»ÃСͺ¢Í§¤ÇÒÁ¼Ô´ มดี งั น้ี
๑. เปน เจาพนักงาน
๒. มหี นา ทที่ าํ เอกสาร รบั เอกสารหรอื กรอกขอ ความ
ลงในเอกสาร
๓. กระทําการดังตอไปน้ี ในการปฏิบัติการตาม
หนา ท่ี

(๑) รับรองเปนหลักฐานวา ตนไดกระทําการ
อยางใดขึ้น หรือวาการอยางใด ไดกระทําตอหนาตน
อันเปนความเท็จ

(๒) รบั รองเปน หลกั ฐานวา ไดม กี ารแจง ขอ ความ
อันมิไดมกี ารแจง

(๓) ละเวนไมจดขอความซ่ึงตนมีหนาที่ตอง
รบั จด หรอื จดเปล่ยี นแปลงขอ ความเชนวา นน้ั หรือ

(๔) รบั รองเปน หลกั ฐานซงึ่ ขอ เทจ็ จรงิ อนั เอกสารนน้ั
มุง พสิ จู นความจรงิ อนั เปน ความเทจ็

ÅíҴѺ àÃ×Íè § ¤Òí ͸ºÔ Ò ÁÒμÃÒ·èàÕ ¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ ËÁÒÂàËμØ
บทที่ ๗ ความผิดเกีย่ วกับการปกครอง
๔. เจตนา ม.๒๐๔
- ความผิดตอตาํ แหนงหนา ท่รี าชการ ¤íÒ͸ºÔ ÒÂ
เปนเจาพนักงาน การทําเอกสาร รับเอกสาร
กรอกขอความลงในเอกสาร หรือรับรองเอกสารอันเปน
เทจ็ ตามมาตราน้ี ผกู ระทาํ จะตอ งมฐี านะเปน เจาพนักงาน
มีหนาที่ทาํ เอกสาร รบั เอกสารหรอื กรอกขอความ
ลงในเอกสาร เจาพนักงานซ่ึงจะกระทําผิดตามมาตราน้ี
ตองเปนเจาพนักงานซึ่งมีหนาที่อยางหนึ่งอยางใดคือทํา
เอกสาร รับเอกสารหรอื กรอกขอความลงในเอกสาร
มาตรา ๒๐๔ ความผิดฐาน “เจาพนักงานผูควบคุม
ผตู อ งขังทําใหผูตอ งขงั หลดุ พนจากการคุมขัง”
ͧ¤» ÃСͺÀÒ¹͡
(๑) เจาพนักงานมีตําแหนงหนาที่ควบคุมดูแลผูที่ตอง
คมุ ขงั ตามอํานาจของศาล ของพนกั งานสอบสวนหรือของ
เจาพนกั งานผูมอี าํ นาจสบื สวนคดีอาญา
(๒) กระทําดวยประการใดๆ ใหม ีการหลดุ พนจากการ
ถูกคุมขัง
(๓) ซงึ่ ผทู ี่อยใู นระหวางคุมขงั
ͧ¤»ÃСͺÀÒÂã¹
à¨μ¹Ò¸ÃÃÁ´Ò
เหตุฉกรรจตามวรรคสอง ผูท่ีหลุดพนจากการคุมขัง
ไปนั้น เปนบุคคลที่ตองคําพิพากษาของศาลหน่ึงศาลใด
ใหล งโทษ
(ก) ประหารชีวติ หรอื
(ข) จําคุกตลอดชีวติ หรือ
(ค) จาํ คุกต้งั แตสบิ หา ปข ้ึนไป หรือ
(ง) มีจํานวนต้ังแตส ามคนขึน้ ไป

๒๐๑

ÅÒí ´ºÑ àÃèÍ× § ¤Òí ͸ºÔ Ò ÁÒμÃÒ·Õèà¡èÕÂǢ͌ § ËÁÒÂàËμØ ๒๐๒

มาตรา ๒๐๕ ความผดิ ฐาน “เจา พนกั งานผคู วบคมุ
ผตู อ งขงั ทาํ ใหผ ตู อ งขงั หลดุ พน จากการคมุ ขงั โดยประมาท”

ͧ¤» ÃСͺÀÒ¹͡ (àËÁ×͹ÁÒμÃÒ òðô)
ͧ¤» ÃСͺÀÒÂã¹
»ÃÐÁÒ·
เหตุฉกรรจตามวรรคสอง (เหมือนเหตุฉกรรจ
ตามวรรคสองของมาตรา ๒๐๔)
วรรคสาม เหตงุ ดการลงโทษ คือ ผกู ระทําความผิด
จดั ใหไ ดต วั ผทู ห่ี ลดุ พน จากการคมุ ขงั คนื มาภายในสามเดอื น

๒๐๓

๔. คาํ ถามทายบท

๑. เจาพนกั งาน ตามความหมายของประมวลกฎหมายอาญา หมายความวา อยา งไร
๒. ในความผิดฐานดูหม่นิ เจาพนกั งาน หากไมเ ปน การดูหมนิ่ เจาพนกั งานโดยตรง แตมี
บคุ คลทสี่ ามอยูดวยในที่นั้น จะมีความผดิ ฐานอ่นื หรอื ไม อยา งไร
๓. การที่เจาพนักงานจับกุมผูขับขี่รถฝาฝนสัญญาณไฟจราจร แลวเรียกเงินคาปรับเอง
โดยไมออกใบสั่งใหน ั้น การกระทาํ ของเจาพนกั งานเปนความผดิ ฐานใด
๔. การท่ีเจาพนักงานตํารวจเรียกผูขับขี่รถจักรยานยนตใหจอดรถ แลวกลาวหาวา
ขบั รถผิดกฎหมายจราจร แลวเรียกเงนิ ดงั น้ี การกระทาํ ดงั กลา วมีความผดิ ฐานใด
๕. กรณีที่เจาพนักงานมีหนาท่ีรับแจงความ ไดรับแจงขอความอันเปนเท็จจาก
ประชาชนทม่ี าแลว และจดขอความอนั เทจ็ นนั้ ลงในเอกสาร เจาพนักงานผูจดจะมีความผิดตอตาํ แหนง
หนาท่ีราชการหรอื ไม
๖. ร.ต.ท. ดี พนักงานสอบสวน กําลังสอบปากคํานายติ๊กคนรายลักรถจักรยานยนต
และไดชกตอยเตะถีบนายต๊ิก เน่ืองจากโมโหที่นายติ๊กปฏิเสธความรับผิด ไมยอมรับสารภาพ กรณีนี้
ร.ต.ท. ดี จะมีความผดิ ฐานเจาพนักงานปฏบิ ตั ิหนาที่โดยมชิ อบตามมาตรา ๑๕๗ หรือไม เพราะเหตใุ ด
๗. เจาหนาท่ีราชทัณฑอยูเวรควบคุมผูตองขังซ่ึงออกมารักษาตัวท่ีโรงพยาบาล แตมิได
ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บของกรมราชทณั ฑที่ใหล า มโซผตู องขงั ไวกบั เตียงในตอนกลางคืน และยังนงั่ หลับอยูท ี่
ระเบยี งนอกหอ งคุมขงั ดวย เปนเหตใุ หผ ูตองขังหลบหนีไปจะผดิ มาตรา ๒๐๕ หรือไม

๒๐๔

เอกสารอางอิง

เกียรติขจร วัจนสวัสด์ิ.(๒๕๕๑).คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาค ๑.กรุงเทพฯ: พลสยาม
พริน้ ต้งิ

จิตติ ติงศภัทิย.(๒๕๕๕).กฎหมายอาญา ภาค ๑.กรุงเทพฯ: สํานักอบรมศึกษากฎหมาย
แหงเนตบิ ัณฑิตยสภา.

ทวีเกยี รติ มนี ะกนิษฐ.(๒๕๕๓).คาํ อธบิ ายกฎหมายอาญา ภาคท่วั ไป.กรงุ เทพฯ:วญิ ชู น.
ทวเี กยี รติ มนี ะกนิษฐ.(๒๕๕๑).ประมวลกฎหมายอาญา ฉบบั อางอิง.กรงุ เทพฯ:วญิ ชู น.
สมศกั ดิ์ เอี่ยมพลบั ใหญ. (๒๕๕๗).เกรด็ กฎหมายอาญา.กรุงเทพฯ:บณั ฑติ อักษร.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชานิติศาสตร.(๒๕๔๐).เอกสารการสอนชุดวิชา
กฎหมายอาญา ๑ ภาคบทบัญญัตทิ ่ัวไป.นนทบุร:ี โรงพมิ พมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.
สหรฐั กติ ิศภุ การ.(๒๕๕๗).หลกั และคาํ อธบิ ายกฎหมายอาญา.กรุงเทพฯ:อมรินทรพร้ินติ้ง
แอนด พับลิชชิ่ง
หยุด แสงอุทัย.(๒๕๕๕).กฎหมายอาญาภาค ๑.กรุงเทพฯ:สํานักพิมพมหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร
วิเชียร ดิเรกอุดมศักด์ิ.(๒๕๕๓).กฎหมายอาญาพิสดาร เลม ๑.กรุงเทพฯ : แสงจันทร
การพิมพ.

๒๐๖

จัดพมิ พโ ดย
โรงพิมพตํารวจ ถ.เศรษฐศิริ ดุสติ กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท ๐-๒๖๖๘-๒๘๑๑-๓ โทรสาร ๐-๒๒๔๑-๔๖๕๘

“เปนองคกรบังคับใชกฎหมายที่นําสมัย
ในระดับมาตรฐานสากล เพ�อใหประชาชนเช�อมั่นศรัทธา”

พลตํารวจเอก สุวัฒน แจงยอดสุข
ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ


Click to View FlipBook Version