The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

8-1_LA21202_กฎหมายอาญา_1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-05 10:00:08

8-1_LA21202_กฎหมายอาญา_1

8-1_LA21202_กฎหมายอาญา_1

๙๕

º··èÕ ô

¡ÒþÂÒÂÒÁ¡ÃÐทํา¤ÇÒÁ¼´Ô

๑. วัตถุประสงคก ารเรียนรูป ระจาํ บท

เพ่ือใหนักเรียนนายสิบตํารวจเขาใจถึงเรื่องการพยายามกระทําความผิด ซึ่งมีมาตรา
ท่เี ก่ยี วขอ งดังน้ี

๑. การพยายามกระทาํ ความผิด ตามมาตรา ๘๐
๒. การพยายามกระทาํ ความผิดทเ่ี ปนไปไมไดอยา งแนแ ท ตามมาตรา ๘๑
๓. การยับยงั้ หรือกลับใจแกไ ข ตามมาตรา ๘๒

๒. สวนนาํ

กรณีที่จะถือวาการกระทํานั้นอยูในขั้นท่ีเรียกวา “ลงมือกระทําความผิด” น้ันแบงแยกได
ดงั นี้

๑. ข้นั ตอนแหงการคดิ
๒. ขน้ั ตอนแหง การตกลงใจ
๓. ข้นั ตอนแหงการตระเตรยี ม
๔. ขน้ั ตอนแหง การกระทาํ ซงึ่ ขน้ั ตอนนเี้ ปน การกระทาํ ความผดิ โดยการลงมอื กระทาํ ตาม
ทค่ี ดิ ตกลงและตระเตรยี ม
๕. หากการกระทําความผิดน้ันไมสําเร็จ ไมวาจะเปนการท่ีผูกระทําความผิดกระทําไป
ไมตลอดหรือลงมือกระทําผิดไปตลอดแลว แตไมบรรลุผล ผูน้ันจะตองรับผิดฐานพยายามกระทํา
ความผิด ในความผิดน้ัน ๆ

๓. เนือ้ หา
¡ÒþÂÒÂÒÁ¡ÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼Ô´

ÁÒμÃÒ øð ผูใดลงมือกระทําความผิดแตกระทําไปไมตลอดหรือกระทําไปตลอดแลว
แตการกระทาํ นั้นไมบรรลผุ ล ผนู น้ั พยายามกระทาํ ความผิด

ผูใดพยายามกระทําความผิด ผูนั้นตองระวางโทษสองในสามสวนของโทษที่กฎหมาย
กําหนดไว สําหรบั ความผดิ นน้ั

คาํ ͸ԺÒÂ
๑. พยายามกระทาํ ความผดิ ในมาตรานแี้ ยกออกเปน ๒ ประเภท

๑.๑ ลงมือกระทาํ ความผิดแตก ระทําไปไมต ลอด
๑.๒ ลงมอื กระทาํ ความผดิ ไปตลอดแลว แตการกระทาํ นัน้ ไมบรรลผุ ล

๙๖

๒. การพยายามกระทําความผิดในมาตรา ๘๐ นี้ ใหพิจารณาจากเจตนาของผูกระทํา
วาเจตนาจะทําความผิดอะไร เมื่อทราบเจตนาแลวตองวาการท่ีไดกระทาํ ลงไปใกลชิดกับการกระทาํ
ตอความสําเร็จในความผิดน้ันแลว ก็ถือวาลงมือกระทําความผิด ถึงแมการกระทาํ น้ันกระทาํ ไป
ไมตลอด กเ็ รียกไดวา เปนความผดิ ฐานพยายาม ตามมาตรา ๘๐

กรณีท่ีจะถือวาการกระทําน้ันอยูในขั้นท่ีเรียกวา “ลงมือกระทาํ ความผิด” นั้น
แบง แยกไดด งั นี้

๒.๑ ขนั้ ตอนแหง การคิด
๒.๒ ขน้ั ตอนแหง การตกลงใจ
๒.๓ ขั้นตอนแหงการตระเตรยี ม
๒.๔ ขั้นตอนแหงการกระทาํ ซ่ึงข้ันตอนน้ีเปนการกระทําความผิดโดยการลงมือ
กระทําตามที่คดิ ตกลงและตระเตรยี ม
ความผิดในเร่ืองพยายามตามมาตรานี้จะตองพนจากข้ันตอนแหงการคิด
ตระเตรียมเสียกอน แลวจึงถึงข้ันการกระทําความผิด คือการลงมือ เชน ก. ถือปนเดินตรงไปยัง ข.
แตยังไมข้ึนนกปนและเอามาประทับบาจองยิงไปยัง ข. ยังไมเรียกวาเปนการลงมือ แตอยูในข้ันแหง
การตระเตรียม เพราะหางไกลกับเหตุคือการยิง ดังนี้อยางไรที่จะถือวาการลงมือกระทําความผิดน้ัน
ไมมีหลักเกณฑแนนอน จึงตองพิจารณาถึงประเภทของความผิด เชน ถาเอาปนยกข้ึนประทับบา
และจอ งยงิ ไปยงั เปา หมายแลว แตม ีคนมาแยงปนโดยยงั ไมล นั่ ไก หรอื ยกมีดขึน้ เงือ้ จะฟน แตมีคนมา
ขัดขวาง เชนน้ีเรียกวาลงมือกระทําความผิดแลวแตกระทําไปไมตลอด ฉะน้ัน เหตุที่กระทําไมตลอด
เพราะมีคนมาขดั ขวางหรอื เพราะเหตธุ รรมชาติ หรอื เหตอุ ่ืนใดกต็ าม จึงไมใ ชข อสําคญั ขอสําคญั อยูที่วา
ผกู ระทําลงมือกระทําความผดิ หรอื ยัง
Í‹ҧäè֧¨ÐàÃÕ¡ÇÒ‹ ŧÁÍ× ¡ÃÐทําáÅÇŒ
ËÅÑ¡คือใหถ ือหนาที่สุดทายเปนหลักถาหมดหนาทสี่ ุดทา ยแลว ถือวาถงึ ขัน้ ลงมอื กระทํา
เชน ภริยาโรยยาพิษลงในอาหารเพ่อื ฆา สามี แลว สง ไปใหแมค รวั ปรงุ อาหารตอ ไป เชน น้ีถือวา ภรยิ า
หมดหนาท่ีสุดทายแลว เพราะตอไปเปนเร่ืองของแมครัว ภริยาไดลงมือกระทําแลว ถาไมบรรลุผล
เปน พยายามฆา ผอู ่นื
แตถาเปล่ียนขอเท็จจริงวา หนาท่ีปรุงอาหารนั้น ภริยาตองเปนผูปรุงอาหารเอง เชนนี้
เพียงแตภ ริยาโรยยาพษิ ลงในอาหารเตรียมไวเ พื่อที่จะปรงุ อาหารตอไป ถอื วาอยูในขั้นตระเตรียมการ
เทา นน้ั
¢ŒÍ¡àǹŒ ถาการกระทําน้ันใกลชิดตอผลไมตองรอหนาท่ีสุดทายก็ถือวา ลงมือกระทํา
แลว เชน ยกปนขน้ึ มาเลง็ ถอื วา ลงมือกระทําแลว แมหนาที่สุดทายยังจะตอ งใชนว้ิ เหนี่ยวไกปนกต็ าม
เพราะการกระทําใกลชิดตอผลแลว ถาเพียงแตชักปนออกมายังไมไดเล็งหรือจองถือวาอยูในข้ัน
ตระเตรยี มการเทานัน้ (ฎกี าที่ ๑๒๑๕/๒๕๑๘)

๙๗

“»„¹” ถือการเล็ง หรือจองเปนหลักถือวาลงมือกระทําแลว แมนิ้วมือจะยังมิไดสอด
เขาไปก็ตาม (ฎกี าท่ี ๑๗๔๖/๒๕๑๘)

¶ŒÒ໚¹´Òº เมื่อชักดาบออกมาตอ ง “à§éÍ× ” เสียกอ นจึงจะถอื วาลงมอื กระทาํ และตอ ง
อยใู นลกั ษณะท่ีใกลพ อท่จี ะฟนหรือแทงไดด วย ไมใ ชเ ง้ือจะฟนแตห า งกนั ๘๒ วา เชนนก้ี ็ยังไมถ อื วา
ไดล งมือแตอยา งใด (ฎกี าที่ ๕๙๖/๒๔๘๖ และฎกี าที่ ๔๕๔/๒๕๑๓)

นอกจากพวกอาวุธปนแลวยังมีพวกน้ํามัน (ไวไฟ) เพียงแตราดน้ํามันแลวแมยังไม
จุดไฟกต็ ามกถ็ อื วา ถงึ ข้นั ลงมือกระทาํ แลว

®¡Õ Ò·Õè ñôöõ/òõñù (ประชุมใหญ) สุขุม วิทยาและมานพ ๓ คน ใชเสนลวดขึงก้ัน
สะพานบนถนนดักรถท่ีผานมาใหชนเพ่ือเอาทรัพย กระแสขับรถบรรทุกมาเห็นเสนลวดและหยุดได
หา ง ๓ วา การกระทําของจําเลยทั้งสามมใิ ชเ ปน เพียงขน้ั ตระเตรยี มแตเ ปนการลงมือกระทําความผดิ แลว
แตก ระทาํ ไปไมต ลอด ถอื ไดวา จาํ เลยพยายามกระทาํ ความผิดฐานปลน ทรพั ยแลว

®Õ¡Ò·Õè ñðòò/òõðò จําเลยเมาสุราเขาไปในภัตตาคารแหงหน่ึงแลวหยิบปนออกมา
แนบลําตัว สายปนไปมาแบบจังโก ไมปรากฏวาจะยิงผูใด แลวลูกกระสุนลั่นออกมาโดยไมไดจองยิง
ผูใด วินิจฉัยวาแสดงวาจําเลยมิไดมีเจตนาท่ีจะเหน่ียวไกปน ไมมีเจตนาลงโทษฐานพยายามฆาคน
ไมไ ด แตเปนความผิดฐานประมาท

®¡Õ Ò·Õè ñôõñ/òõóñ จําเลยขับรถจักรยานยนตมาดักยิง ศ. เมื่อ ส. ขับรถปคอัพ
มาถึงที่เกิดเหตุจําเลยเขาใจวาเปน ศ. เพราะไมรูจักมากอน จึงจองปนเล็งไปยัง ส. โดยมีเจตนาฆา
โดยไตรต รอง แต ส. โบกมือใหท ราบวาตนมใิ ช ศ. จาํ เลยจงึ ไมยิง เปนการลงมือกระทําความผดิ แลว
แตก ระทําไปไมต ลอด จาํ เลยผดิ ตามมาตรา ๒๘๙(๔), ๘๐

®Õ¡Ò·èÕ ñðø/òõóô จําเลยทะเลาะกับบิดา จําเลยไปหยิบปนออกมาแลวพูดวา
ยงิ เสียเถอะ และยกปนขนึ้ ประทับ หนั ปากกระบอกไปทางบิดา แตม ือยังไมสอดเขาไก มีคนเขา จับมือ
จําเลยไว จําเลยจึงลดปนลงจากบาแลวเอาไปเก็บ กิริยาจําเลยกระทําเปนเพียงการขู ยังไมถึงข้ัน
พยายามฆา

®¡Õ Ò·èÕ òöðô/òõòö จําเลยไมพอใจหาวาผูเสียหายเปนกรรมการตัดสินการแขงขัน
ฟุตบอลไมยุติธรรม จึงกลับไปบานนําเอาอาวุธปนส้ัน มีกระสุนบรรจุอยูแลว ขับรถจักรยานยนต
เขาไปจอดในสนามฟุตบอล หางผูเสียหายประมาณ ๓ เมตร จําเลยหยิบปนจากใตเบาะรถ
เดินเขาหาผูเสียหาย อาวุธปนยังอยูในซองปน แมจําเลยถือปนโดยปากกระบอกช้ีมาทางผูเสียหาย
ผูเสียหายเขาแยงปนเสียกอน การกระทําของจําเลยยังไมถึงขั้นลงมือกระทําความผิด จําเลยไมมี
ความผิดฐานพยายามฆาผเู สียหาย

®Õ¡Ò·èÕ õ/òõòù จาํ เลยใชปน จองไปทางผเู สยี หายเปนเวลาประมาณ ๑๕ วนิ าที แตก ็
ไมไดลนั่ ไกปน ถา จําเลยมีเจตนาจะยิงผเู สยี หาย กย็ ิงไดท นั เปนจํานวน ๑ นดั กอ นท่ีผเู สยี หายจะวง่ิ
หลบไปอยูข า งหลงั คนอ่ืน การกระทาํ ของจําเลยจงึ เปนเพยี งการจอ งปนขผู ูเ สียหาย

®¡Õ Ò·Õè ÷öô÷/òõôø จําเลยเปนคนรายงัดฝาสังกะสีบานผูเสียหายแลวเขาไป
ในบา นเอาโทรทศั น เครื่องเปาผม ไมโครโฟนและรโี มทของผูเ สียหายเคลื่อนทีจ่ ากทเี่ คยวางมาวางอยู

๙๘

ตรงบริเวณที่มีรอยงัด การกระทําของจาํ เลยจึงเปนการเอาทรัพยของผูเสียหายเคล่ือนที่ไปในลักษณะ
ที่สามารถจะเอาไปไดแลว แมวาจะยังไมทันเอาเคลื่อนท่ีพนไปจากบาน การกระทําของจําเลยก็เปน
ความผดิ ฐานลกั ทรพั ยสาํ เรจ็ มใิ ชค วามผดิ ฐานพยายามลักทรพั ย

â·É¢Í§¡ÒþÂÒÂÒÁ¡ÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼Ô´

๑. ตองระวางโทษสองในสามสวนของโทษที่กฎหมายกําหนดไวสําหรับความผิดน้ัน
ตามมาตรา ๘๐ วรรคสอง

๒. ตองระวางโทษไมเกินก่ึงหนึ่งของโทษที่กฎหมายกําหนดไวสาํ หรับความผิดนั้น
ตามมาตรา ๘๑ วรรคแรก

๓. ศาลอาจไมลงโทษเลยก็ได ตามมาตรา ๘๑ วรรคสอง
๔. การพยายามกระทาํ ความผิดท่ีไมม โี ทษ ไดแก

๔.๑ การพยายามกระทาํ ความผดิ แตย บั ยัง้ เสียเองทีเ่ ขาลักษณะ ตามมาตรา ๘๒
๔.๒ การพยายามกระทําความผดิ ลหุโทษ ตามมาตรา ๑๐๕
๔.๓ การพยายามกระทําความผิดฐานทาํ ใหแ ทง ลกู ตามมาตรา ๓๐๔
๕. การพยายามกระทาํ ความผดิ ทมี่ โี ทษเทาความผดิ สาํ เร็จ ไดแ ก
๕.๑ การพยายามกระทําความผิดตอองคพระมหากษัตริยฯ ตามมาตรา ๑๐๗
ถงึ มาตรา ๑๑๐
๕.๒ การพยายามกระทาํ ความผิดตอความมั่นคงของรัฐและสัมพันธไมตรี
ตามมาตรา ๑๒๘ และมาตรา ๑๓๐

¡ÒÃμÃÐàμÃÕÂÁ·èàÕ »¹š ¤ÇÒÁ¼Ô´

ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาโดยทั่วไป ผูกระทาํ จะตองรับผิดเมื่อการกระทํา
เขาขั้นลงมือหรือพยายามตามมาตรา ๘๐ ยกเวนความผิดบางประเภทที่มีกฎหมายบัญญัติไว
โดยเฉพาะใหตองรับผิดแมอยูในข้ันตระเตรียม เชน ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาถือวา
การกระทาํ ในข้นั ตระเตรยี มเปนความผิดเทา กับความผดิ สาํ เร็จ เชน ความผดิ ตอองคพระมหากษัตริย
พระราชนิ ี รชั ทายาท และผูสาํ เร็จราชการแทนพระองค มาตรา ๑๐๗-๑๑๐ ความผดิ ตอ ความมนั่ คง
ของรัฐภายในราชอาณาจักร มาตรา ๑๑๔ ความผิดตอความม่ันคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร
มาตรา ๑๒๘

®¡Õ Ò·Õè õñöô/òõõõ จาํ เลยซ่ึงเปนครูประสงคใชอวัยวะเพศของตนสอดใสอวัยวะเพศ
ของโจทกรวม มิใชเพียงใชอวัยวะเพศของตนถูไถเฉพาะภายนอกอวัยวะเพศของโจทกรวมโดยไม
ประสงคจะสอดใส แตโจทกรวมเปนเด็กหญิงอายุเพียง ๖ ปเศษ มีอวัยวะเพศคอนขางเล็ก เม่ือถูก
อวยั วะเพศของจาํ เลยเสียดสเี พอื่ จะสอดใส จึงเปนผลใหเกดิ การอกั เสบได การกระทําของจําเลยจึงเปน

๙๙

ความผิดฐานพยายามกระทาํ ชําเราโจทกรวมซึ่งเปนเด็กอายุยังไมเกินสิบสามป ศิษยซึ่งอยูใน
ความดูแลตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๗ วรรคสาม ประกอบมาตรา ๒๘๕ และ ๘๐

®Õ¡Ò·Õè òòóð/òõõõ ขณะ จ. และ ส. ซง่ึ เปน นายตรวจศุลกากรประจาํ ดานศลุ กากร
ขอตรวจคนกระเปา เดินทางของจาํ เลย และผลการตรวจคน พบ ๓, ๔-เมทิลลีนไดออกซีเมทแอมเฟตามนี
ซงึ่ เปนอนพุ นั ธของแอมเฟตามีน จาํ นวน ๒,๙๒๕ เมด็ คาํ นวณเปน สารบริสุทธิไ์ ด ๒๑๙.๗๒๔ กรมั
อยูใ นกระเปาเดินทางของจําเลย จําเลยพรอ มกระเปาเดนิ ทางของจําเลยอยใู นราชอาณาจักรไทยแลว
การกระทําของจําเลยจึงเปนการนํา ๓, ๔-เมทิลลีนไดออกซีเมทแอมเฟตามีนของกลางเขามาใน
ราชอาณาจักรตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔ ซ่ึงเปนความผิดสาํ เร็จ
ไปแลว มิใชเปนการกระทาํ ความผิดในขั้นพยายาม แมขณะน้ันจาํ เลยอยูในระหวางพิธีการทาง
ศุลกากรและตรวจคนเขาเมือง ก็เปนการตรวจบุคคลและพาหนะทางบก ซึ่งเปนข้ันตอนการตรวจ
คนตางดาวที่เขามาในราชอาณาจักรเปนการช่ัวคราว (ขาเขา) ซ่ึงมีขั้นตอนในทางปฏิบัติตาม
พระราชบัญญัติคนเขาเมือง พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๑๒, ๑๘ อันเปนคนละสวนกับที่จาํ เลยไดกระทาํ
ความผดิ ตามฟองสําเรจ็ ไปแลว

®¡Õ Ò·Õè ñõõðù/òõõõ พวกของจําเลยใชอาวุธปนอันเปนอาวุธรายแรงซึ่งกระสุนปน
ของกลางสามารถใชยิงอันตรายแกชีวิตและวัตถุไดโดยยิงเขาไปในบานผูเสียหายในยามวิกาล
ซ่ึงวิญูชนทั่วไปยอมรูดีวาตองมีบุคคลหลับนอนหรือพักอาศัยอยูในบาน แมกระสุนปนจะไมถูก
ผูเสียหายหรือผูใดท่ีอยูในบาน แตลักษณะของหัวกระสุนปนมีลักษณะหัวบ้ีเหมือนไปกระทบกับเหล็ก
ซ่ึงเปนประตูร้ัวบานผูเสียหาย อันแสดงถึงวาเปนการยิงเขาไปในบริเวณหนาบานโดยตรงของบาน
ผูเสียหายขณะผูเสียหายอยูบริเวณดังกลาว จําเลยกับพวกยอมเล็งเห็นผลไดวากระสุนปนอาจถูก
ผูเสียหายถึงแกชีวิตได เม่ือจําเลยกับพวกไดลงมือกระทําไปตลอดแลว แตการกระทาํ น้ันไมบรรลุผล
เนอื่ งจากกระสนุ ปนไมถ ูกผเู สียหายกบั พวกจงึ ไมถึงแกความตายสมดงั เจตนาของจําเลยกบั พวก จาํ เลย
ซง่ึ เปน ตัวการตองรวมรับผิดฐานพยายามฆา ดวยเหตทุ ่เี กดิ จากการกระทําของพวกจาํ เลย

®Õ¡Ò·èÕ òöùñ/òõõõ จาํ เลยใชอาวุธปนจอศีรษะผูเสียหายที่ ๑ ขณะมีการกอดปลํา้
และด้นิ รนขัดขืนอยู ยอ มเลง็ เห็นผลไดวา กระสนุ อาจลัน่ ถกู ศรี ษะผเู สยี หายที่ ๑ เปน อนั ตรายถงึ ชวี ิตได
จึงเปนการกระทาํ โดยเจตนาฆา เม่ือผูเสียหายท่ี ๑ ถูกยิงในระยะกระชั้นชิดกระสุนปนเฉี่ยวศีรษะ
มบี าดแผลเลอื ดไหลไมถงึ แกความตาย จําเลยมีความผดิ ฐานพยายามฆาผูเ สียหายที่ ๑

แมไ มมีเหตุทจ่ี ําเลยจะตองฆา ผูเสียหายท่ี ๒ แตการที่จําเลยหันปากกระบอกปนไปทาง
ผูเสียหายที่ ๒ แลวลั่นไกปนจาํ เลยยอมเล็งเห็นผลไดวากระสุนปนอาจลั่นถูกผูเสียหายที่ ๒ ถึงแก
ความตายได เปนการกระทาํ โดยเจตนาฆา เมื่อผูเสียหายที่ ๒ ถูกยิงในระยะใกลกระสุนปนถูก
ทไ่ี หปลารา ไมถึงแกค วามตาย จาํ เลยจึงมีความผิดฐานพยายามฆา ผูเสียหายท่ี ๒

๑๐๐

¡ÒþÂÒÂÒÁäÁÊ‹ ÒÁÒöºÃÃÅؼÅ䴌͋ҧṋ᷌

ÁÒμÃÒ øñ ผูใดกระทําการโดยมุงตอผลซึ่งกฎหมายบัญญัติเปนความผิด แตการ
กระทําน้ันไมสามารถจะบรรลุผลไดอยางแนแท เพราะเหตุปจจัยซึ่งใชในการกระทาํ หรือเหตุแหงวัตถุ
ท่ีมุงหมายกระทําตอใหถือวาผูนั้นพยายามกระทาํ ความผิด แตใหลงโทษไมเกินกึ่งหน่ึงของโทษ
ทกี่ ฎหมายกําหนดไวส ําหรบั ความผดิ น้นั

ถาการกระทาํ ดังกลาวในวรรคแรกไดกระทําไปโดยความเชื่ออยางงมงายศาลจะไม
ลงโทษกไ็ ด

ͧ¤» ÃСͺ
๑. กระทําการ
๒. โดยมุง ตอผล ซึง่ กฎหมายบัญญตั เิ ปนความผิด
๓. การกระทําไมส ามารถบรรลไุ ดอยางแนแ ท เพราะ

๓.๑ เหตุปจจยั ซง่ึ ใชในการกระทาํ หรอื
๓.๒ เหตแุ หงวตั ถทุ ่ีมงุ หมายกระทําตอ
คาํ ͸ԺÒÂ
๑. คําวา “¡ÃÐทาํ ¡ÒÔ หมายความถงึ การลงมือกระทาํ การน้นั แลว คอื เลยขั้นตระเตรยี ม
และตองเปนการกระทาํ โดยมุงตอผลซ่ึงกฎหมายบัญญัติเปนความผิด ซ่ึงความผิดในท่ีนี้ก็คือ
ความผิดอาญา
๒. ความผิดฐานพยายามตามมาตรา ๘๑ นี้ เหตุที่ไมสามารถบรรลุผลไดอยาง
แนแทน น้ั เกิดจากเหตุ ๒ ประการ คือ ปจ จัยท่ีใชในการกระทําความผิด หรือวตั ถทุ ีม่ งุ หมายกระทําตอ
คําวา “»˜¨¨ÂÑ ·èÕ㪌㹡ÒáÃÐทาํ ¼Ô´” นนั้ หมายถงึ สงิ่ ทบ่ี ุคคลนน้ั ใชก ระทาํ โดยมงุ ตอ ผล
ซึ่งกฎหมายบัญญตั ิเปนความผดิ เชน การฆาหรือทาํ รา ยรางกาย ปจ จยั ทใ่ี ชก ระทําก็ไดแ ก อาวุธ เชน
มดี หอก ปน หรอื ส่งิ ที่ถอื วา เปน อาวธุ ตามมาตรา ๑ (๕)
μÑÇÍ‹ҧ เชน เจตนาฆา คน แตป น ทใ่ี ชไมไ ดบ รรจุกระสนุ ปน หรือปน มกี าํ ลังสงออนมาก
ไมเหมอื นปน ธรรมดาท่ัวๆ ไป
คําวา “ÇÑμ¶Ø·èÕÁ‹Ø§ËÁÒ¡ÃÐทําμ‹Í” น้ันหมายถึง บุคคลหรือทรัพยของบุคคลที่ซ่ึงเปน
ขอ เท็จจรงิ อันเปน องคข องความผิด เชน ยิงตน ไมโดยเขาใจวาเปน คน
®Õ¡Ò·Õè ñ÷òð/òõñó จําเลยขวางระเบิดขวดขนาดเทากลองไมขีดไฟไปยังกลุมคนท่ี
กาํ ลังชกตอยวิวาทกับพวกของจาํ เลยโดยเจตนาฆา เปนเหตุใหผูเสียหายซึี่งเปนบุคคลภายนอกไดรับ
บาดเจ็บเพราะถูกสะเก็ดระเบิด เมื่อปรากฏวาระเบิดขวดท่ีขวางไปนั้น ไมอาจทาํ ใหผูท่ีถูกสะเก็ด
ระเบิดถึงแกความตายได เพราะวัตถุระเบิดนั้นมีกําลังออน ดังนี้ ตองถือวาการกระทําของจาํ เลย
ไมส ามารถบรรลผุ ลไดอ ยา งแนแทเพราะเหตปุ จจัยซ่ึงใชในการกระทาํ ผดิ ตามมาตรา ๘๑
®¡Õ Ò·Õè ôòñ/òõñö (ประชมุ ใหญ) จําเลยใชป นยงิ พลตาํ รวจ ปรากฏรายงานการตรวจ
พิสูจนปนของกลางประกอบคาํ เบิกความของผูตรวจพิสูจนวา เอาปนของกลางไปทดลองยิงแตไม

๑๐๑

สามารถใชยิงใหกระสุนล่ันได เนื่องจากเข็มแทงชนวนไมแรงพอ สวนกระสุนปนของกลางอยูใน
สภาพท่ใี ชย งิ ได ดงั น้นั การท่จี าํ เลยใชอาวธุ ปนดงั กลาวยงิ จงึ ไมบรรลผุ ลไดอ ยางแนแท เพราะเหตทุ ี่ปน
ซึ่งเปนปจจัยในการกระทาํ ผิดไมอาจใชยิงได จาํ เลยผิดฐานพยายามฆาเจาพนักงาน แตใหลงโทษ
ไมเ กนิ กึ่งหน่งึ ตามมาตรา ๘๑

®Õ¡Ò·èÕ ùðø/òõòð ผเู สียหายอยูตรงจดุ ระเบดิ ไดร บั บาดแผล ๔ แหง แหง หนง่ึ บวมมาก
และเนื้อไหม นอกนั้นบวมแดง แสดงวาลูกระเบิดมีกาํ ลังออนไมอาจทาํ ใหตายได จําเลยมี
เจตนาฆา แตไ มสามารถบรรลุผลไดอยา งแนแ ทเ พราะปจจยั ท่ีใชเปนความผิดตามมาตรา ๒๘๘, ๘๑

®¡Õ Ò·Õè ñôøð/òõòð จาํ เลยเถียงกับผูเสียหายเร่ืองผูเสียหายสงสัยวาจาํ เลยเปนชูกับ
ภริยาผูเสียหาย จําเลยยิงผูเสียหายดวยปนลูกซองสั้น ๑ นัด ในระยะ ๑ วา เปนแผลเล็กนอย
รักษาในโรงพยาบาล ๒ วันก็กลับบานได แสดงวาปนไมอาจทําใหตายได เปนความผิดตาม
มาตรา ๒๘๘, ๘๑ ไมเปนบนั ดาลโทสะหรือปองกนั

®¡Õ Ò·Õè ôñöö/òõô÷ การกระทาํ ที่ไมสามารถบรรลุผลไดอยางแนแทตาม ป.อ.
มาตรา ๘๑ ตองเปน กรณีเกีย่ วกับปจจยั หรอื วัตถซุ งึ่ ใชใ นการกระทําผดิ ไมสามารถจะกระทาํ ใหบรรลุผล
ไดอ ยางแนแท เชน หญิงไมม ชี อ งคลอดผิดปกตมิ าแตก ําเนิด ซงึ่ อยา งไรๆ อวยั วะเพศชายกไ็ มสามารถ
จะสอดใสเขาไปในอวัยวะเพศของหญิงดังกลาวได แตสําหรับในกรณีของจําเลยที่ไมสามารถสอดใส
อวัยวะเพศของตนเขาไปในอวัยวะเพศของผูเสียหายมิไดเกิดจากความผิดปกติท่ีชองคลอด
ของผูเสียหาย แตเปนเพราะอวัยวะเพศของผูเสียหายมีขนาดเล็กตามธรรมชาติในวัยเด็กเล็กที่มีอายุ
เพียง ๘ ป การกระทาํ ของจําเลยจึงไมใชกรณีท่ีปจจัยซ่ึงใชในการกระทําผิดไมสามารถบรรลุผลได
อยา งแนแทตามความหมายในมาตรา ๘๑

Â§Ô »„¹·ÕèäÁ‹Á¡Õ ÃÐÊع»¹„
®¡Õ Ò·èÕ õøù/òõòù จาํ เลยเอาปนแกปที่ไมมีแกปปน ยิงผูเสียหายโดยเจตนาฆา
กระสุนปน ไมอ าจลัน่ ออกไปไดอ ยางแนน อน ผิดมาตรา ๒๘๘, ๘๑
®Õ¡Ò·Õè ÷÷/òõõõ ลูกกระสุนปนที่จําเลยยิงไมทะลุผานผิวหนังทําอันตรายแกอวัยวะ
ภายในของผูเสียหายที่ ๑ เปนเพราะมกี ําลังออนไมเ พียงแตผ เู สียหายท่ี ๑ ถูกยงิ ในแนวเฉยี ง การกระทาํ
ของจาํ เลยยอมสามารถจะบรรลุผลใหผูเสียหายที่ ๑ ถึงแกความตายไดอยางแนแทเปนความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๘ ประกอบมาตรา ๘๑ วรรคแรก ซ่ึงเปนขอกฎหมายที่เก่ียวกับ
ความสงบเรียบรอย ฎีกายกข้ึนวินิจฉัยไดเอง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๑๙๕ วรรคสอง ประกอบมาตรา ๒๒๕

๑๐๒

¡ÒÃÂѺÂÑé§ËÃÍ× ¡ÅºÑ ã¨á¡Œä¢

ÁÒμÃÒ øò ผูใดพยายามกระทาํ ความผิด หากยับย้ังเสียเองไมกระทําการใหตลอด
หรือกลับใจแกไขไมใหการกระทาํ นั้นบรรลุผล ผูน้ันไมตองรับโทษสําหรับการพยายามกระทําความผิดนั้น
แตถาการที่ไดกระทาํ ไปแลวตองตามกฎหมายท่ีบัญญัติเปนความผิด ผูน้ันตองรับโทษสาํ หรับ
ความผดิ น้ันๆ

คาํ ͸ԺÒÂ
๑. การที่จะเปนความผิดตามมาตรา ๘๒ การกระทําของผูน้ันจะตองเขาข้ันเปนการ
พยายามกระทาํ ความผิด ตามมาตรา ๘๐ กอ น แตผ ูกระทาํ บรรเทาผลรา ยตามเจตนาเดิมใหเ บาบางลง
โดยยับย้ังไมกระทาํ หรือกระทาํ แตแกไขไมใหเปนไปตามเจตนา ผูนั้นมีความผิดแตไมตองรับโทษ
ฐานพยายาม
๒. ความผิดฐานพยายามตามมาตรา ๘๒ นี้ตองเปนการยับย้ังเสียเองโดยความ
สมัครใจของตนเองไมวาการยับย้ังน้ันจะเกิดโดยเหตุภายในตัวผูกระทาํ เอง หรือเพราะเหตุภายนอก
ทําใหยบั ย้งั โดยสมัครใจไมกระทาํ การใหต ลอด
การยับยัง้ เสยี เองนี้ จะตองไมใ ชนึกวาการกระทําน้นั สาํ เร็จไปแลว จึงไมก ระทําตอไป เชน
ก. ใชปน ยิง ข. ไปหนงึ่ นัดโดยเจตนาฆา กระสนุ ยังอยูอีก ๔ นัด แต ก. เหน็ ข. ลมลงจริงนกึ วา ข. ตาย
จึงไมยิงซ้าํ แตความจริงกระสุนปนไมถูก ข. แต ข. ลมลงเพราะตกใจและกลัวจะถูกยิงซา้ํ กรณีนี้
ไมใชการยับย้ังเอง หรือแมแตวาจัดการแกไขไมกระทําไปใหบรรลุผล จึงมีความผิดฐานพยายามฆา
และรับโทษโดยสมบูรณ
สวนการกลับใจแกไขไมใหการกระทํานั้นบรรลผุ ล หมายถึง ผูกระทําความผดิ ไดก ระทาํ การ
อยางใดอยางหน่ึง เพื่อไมใหการพยายามกระทาํ ความผิดตามเจตนาที่กระทาํ แตแรกนั้นบรรลุผล
ตอไปนั่นเอง คือ แกไขใหเปนอยางอ่ืนเสีย เชน ก. ตองการฆา ข. ใชปนจองไปเพื่อยิงตรงหนาอก
พอจะลั่นไกปน ก. จงึ กดปนใหต า่ํ ยงิ ไปทเ่ี ทาของ ข. ทําให ข. ไดร ับอนั ตรายแกกายหรอื รบั อนั ตราย
สาหัส ดังน้ีเรียกวา ก. กลับใจแกไขไมใหการกระทําในการพยายามฆาโดยการยิงน้ันบรรลุผล
และรับโทษเพียงฐานทํารายรางกายไดรับอนั ตรายแกก าย หรือรับอนั ตรายสาหสั เทาน้ัน
อน่ึง ขอใหสังเกตไดวาในกรณีพยายามกระทาํ ความผิดแตยับยั้งเสียเองไมกระทําไป
โดยตลอดหรือกลับใจแกไขไมใหบรรลุตามมาตรา ๘๒ นี้ การกระทาํ นั้นยังเปนความผิดอยูแตตอง
รบั โทษฐานพยายามกระทําความผดิ นนั้
®Õ¡Ò·èÕ ÷/òõóõ ผูเสียหายกับพวกน่ังรอเรืออยูท่ีศาลาทาน้ําของวัด จาํ เลยเขามา
ทักทายผูเสียหายแลวอุมพาไป ๑๐ วา ก็วางลงแลวกลับบาน สวน ส. ท่ีมาพรอมจาํ เลยพูดขูพวก
ผเู สียหายไมใหช ว ย แลว ว่ิงตามจาํ เลยไป ไดฉ ดุ ผูเสียหายไปอกี ๓ เสน แลวขมขืนกระทําชาํ เรา ดงั น้ี
จาํ เลยสนับสนุนการกระทําความผิดฐานขมขืนกระทาํ ชําเรา ตามมาตรา ๒๗๕ ประกอบดวย
มาตรา ๘๕ มใิ ชเปนการยบั ยั้งเสียเอง มาตรา ๘๒

๑๐๓

®Õ¡Ò·èÕ õðø/òõòù จําเลยทาทาย ก. ใหมาสูกนั และวิง่ ไลแทงมาจนถงึ หนาบา น ก.
จึงหยุดไล ตอมาจําเลยถือปนยาว เม่ือใกลถึงตัว ก. ก็จองปนมายัง ก. โดยนิ้วมือสอดเขาไปใน
โกรงไกปน ก. ว่ิงหนี จําเลยไมไดว่ิงตามโดยกลับใจเอาปนมาจอง ข. แทน ทั้งที่มีโอกาสยิง ก. ได
จงึ เปน การยับยัง้ เสียไมกระทาํ ใหตลอด เมื่อจาํ เลยจอ งปน ไปทาง ข. ข. พูดวาไมเก่ยี วและหลบเขาไป
ทางหลังบาน จาํ เลยก็เดินไปอีกทางหน่ึง โดยไมตามเขาไปยิง ข. ท้ังที่มีโอกาสจะยิงได จึงเปนการ
ยับยงั้ เสยี เองไมก ระทําใหต ลอด จําเลยจงึ ไมตองรับโทษฐานพยายามฆา ก. และ ข.

®¡Õ Ò·èÕ ñòñø/òõóð จําเลยชวนผูเสียหายซงึ่ เปนเด็กหญงิ อายุ ๔ ปเศษ ไปดกู ารต นู
ที่บานจําเลย แลว พอไปนอนบนกระดาน ถอดกางเกงผูเ สียหายและจาํ เลยออกแลว จําเลยใชอวัยวะเพศ
ดันไปตรงอวัยวะเพศของผูเสียหายเพียงครั้งเดียว โดยอวัยวะเพศของผูเสียหายไมมีบาดแผล
จําเลยไมไ ดก ระทําซา้ํ ตอไปเพ่อื ใหส าํ เร็จความใคร ทั้งๆ ท่ีจําเลยมีโอกาสจะกระทาํ ไดนับไดว า เปน การ
ยับยั้งเสียเองไมกระทําการใหตลอด จาํ เลยมีความผิดฐานพยายามขมขืนกระทําชําเราเด็กหญิงอายุ
ไมเกนิ ๑๓ ป ตามมาตรา ๒๗๗ วรรคแรก มาตรา ๘๐, ๘๒

แมผูเสียหายไมมีชองคลอด ผิดปกติแตกาํ เนิดอันเปนเหตุประกอบใหเห็นวาโดยสภาพ
วัตถุท่ีมุงหมายกระทาํ ตอ ทาํ ใหการกระทําของจาํ เลยไมสามารถบรรลุผลไดอยางแนแทก็ตาม ก็ไม
ปรากฏวา จาํ เลยหยุดการกระทําตอผูเสียหาย เพราะไดเห็นหรือทราบขอเท็จจริงอันนี้ เมื่อจําเลย
ยับย้ังเสียเอง จําเลยก็ไมตองรับโทษสําหรับการพยายามกระทาํ ความผิดนั้น คงมีความผิดเทาที่
ตอ งตามกฎหมายท่บี ัญญตั เิ ปน ความผิด คือกระทําอนาจารตามมาตรา ๒๗๙

®Õ¡Ò·Õè òóð/òõðò จําเลยหยุดปลนเพราะเปนพวกเดียวกันเปนการยับยั้งเสียเอง
หาใชเพราะมีอุปสรรคอ่ืนขัดขวาง จําเลยจึงไมตองรับโทษสําหรับพยายามกระทําความผิดน้ันตาม
มาตรา ๘๒

μÒÃÒ§ÊÃØ»·ŒÒº·àÃÂÕ ¹ ๑๐๔

ÅíҴѺ àÃ×èͧ ¤íÒ͸ºÔ Ò ÁÒμÃÒ·Õèà¡ÂèÕ Ç¢ŒÍ§ ËÁÒÂàËμØ
บทที่ ๔ การพยายามกระทําความผดิ ฎีกา ๑๔๕๑/๒๕๓๑
พยายามกระทาํ ความผดิ ในมาตรานี้ แบง เปน ๒ ประเภท ฎกี า ๑๐๘/๒๕๓๔
๑. ลงมอื กระทาํ ความผดิ แตก ระทาํ ไปไมต ลอด หรอื กระทาํ ม.๘๐ ฎีกา ๑๐๗/๒๕๑๐
ฎกี า ๑๗๒๐/๒๕๑๓
ความผิดไปตลอดแลว แตการกระทําน้ันไมบรรลุผล ฎกี า ๔๒๑/๒๕๑๖
การพยายามไมสามารถบรรลผุ ลไดอ ยางแนแท
๑. กระทําการโดยมุงตอผล ซ่ึงกฎหมายบัญญัติ ฎีกา ๗/๒๕๓๕
ฎกี า ๑๒๑๘/๒๕๓๐
เนอื้ ความผิด ฎกี า ๒๓๐/๒๕๐๒
๒. การกระทาํ ไมส ามารถบรรลผุ ลไดอ ยา งแนแ ท เพราะ ม.๘๑

๒.๑ เหตุปจจัยซึ่งใชในการกระทํา เชน ปนที่
ไมมกี ระสุน

๒.๒ เหตุแหงวัตถุท่ีมุงกระทําตอ เชน ยิงตนไม
เขา ใจวา เปนคน

¡ÒÃ弄 Âé§Ñ ËÃ×Í¡ÅѺã¨á¡äŒ ¢
ผใู ดพยายามกระทาํ ความผดิ หากยบั ยง้ั เสยี เองไมก ระทาํ ม.๘๒

โดยตลอดหรือกล่ันใจแกไขไมใหการกระทําน้ันบรรลุผล
ผนู นั้ ไมต อ งรบั โทษสาํ หรบั การพยายามกระทาํ ความผดิ นนั้
แตดวยการที่ไดกระทําไปแลวตองตามกฎหมายที่บัญญัติ
เชน ความผดิ ผูน้ันตองรบั โทษสําหรับความผิดน้นั

๑๐๕

๔. คาํ ถามทา ยบท

๑. นายดาํ โกรธแคน นายแดง คนื หนง่ึ จงึ เอาปน ไปยงิ นายแดง ดงั นี้ นายดาํ จะมคี วามผดิ
ฐานใด ถาปรากฏวา

(ก) นายดาํ ยงิ ไปทห่ี องนอนตรงท่ีนายแดงเคยนอนอยู ซึ่งถานายแดงอยู นายแดง
กจ็ ะถึงแกค วามตาย แตน ายแดงยายทน่ี อนเสียกอ นจงึ รอดชีวติ

(ข) นายดาํ ยงิ ไปที่หองนอนของนายแดง แตว นั นัน้ นายแดงไมอยไู ปตา งจังหวดั
(ค) นายดํายิงไปท่ีหองนอนของนายแดง แตปรากฏวานายแดงตายไปกอนหนา
นีแ้ ลว
(ง) นายดาํ ยงิ ไปทห่ี อ งนอนของนายแดง กระสนุ ปน ไมถ กู นายแดง แตน ายแดงไดย นิ
เสยี งปน ของนายดาํ เลยหัวใจวายตาย

๑๐๖

เอกสารอา งอิง

เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์.(๒๕๕๑).คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาค ๑.กรุงเทพฯ:พลสยาม
พรน้ิ ต้งิ

จิตติ ตงิ ศภัทยิ .(๒๕๕๕).กฎหมายอาญา ภาค ๑.กรุงเทพฯ: สํานกั อบรมศกึ ษากฎหมาย
แหง เนติบัณฑติ ยสภา.

ทวีเกียรติ มนี ะกนิษฐ.(๒๕๕๓).คาํ อธบิ ายกฎหมายอาญา ภาคท่วั ไป.กรุงเทพฯ:วิญูชน.
ทวีเกยี รติ มีนะกนษิ ฐ.(๒๕๕๑).ประมวลกฎหมายอาญา ฉบบั อางองิ .กรงุ เทพฯ:วิญูชน.
สมศกั ด์ิ เอย่ี มพลับใหญ.(๒๕๕๗).เกรด็ กฎหมายอาญา.กรุงเทพฯ:บัณฑิตอกั ษร.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชานิติศาสตร.(๒๕๔๐).เอกสารการสอน
ชุดวิชากฎหมายอาญา ๑ ภาคบทบัญญัตทิ ่ัวไป.นนทบุร:ี โรงพิมพม หาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช.
สหรฐั กติ ศิ ภุ การ.(๒๕๕๗).หลกั และคาํ อธบิ ายกฎหมายอาญา.กรงุ เทพฯ:อมรนิ ทรพ รนิ้ ตงิ้
แอนดพ บั ลชิ ชง่ิ
หยุด แสงอุทัย.(๒๕๕๕).กฎหมายอาญาภาค ๑.กรุงเทพฯ:สํานักพิมพมหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร
วิเชียร ดิเรกอุดมศักดิ์.(๒๕๕๓).กฎหมายอาญาพิสดาร เลม ๑.กรุงเทพฯ:แสงจันทร
การพิมพ.

๑๐๗

º··èÕ õ

μÇÑ ¡Òà ¼Ù㌠ªŒ áÅмʌ٠¹ºÑ ʹ¹Ø

๑. วัตถปุ ระสงคก ารเรียนรปู ระจําบท

เพอื่ ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจเขา ใจถงึ เรอื่ งการกระทาํ ความผดิ ซง่ึ มมี าตราทเ่ี กยี่ วขอ งดงั นี้
๑. ตวั การ ตามมาตรา ๘๓
๒. ผูใ ช ตามมาตรา ๘๔
๓. ผสู นบั สนนุ ตามมาตรา ๘๖

๒. สวนนํา

นักเรียนนายสิบตํารวจจะไดศึกษาเรื่อง ตัวการ ผูใชและผูสนับสนุน ตลอดจน
แนวคาํ พพิ ากษาทเ่ี กยี่ วขอ งเพอื่ ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจใชป ระกอบการเรยี นการสอนได และสามารถ
นําหลกั กฎหมายมาใชใ นการวนิ จิ ฉยั ความรบั ผดิ ของบคุ คลในแตละสถานะไดถ กู ตอ ง

๓. เนือ้ หา

μÇÑ ¡ÒÃ

ÁÒμÃÒ øó ในกรณีความผิดใดเกิดข้ึนโดยการกระทําของบุคคลต้ังแตสองคนข้ึนไป
ผูที่ไดรวมกระทําความผิดดวยกันนั้นเปนตัวการ ตองระวางโทษตามที่กฎหมายกําหนดไวสําหรับ
ความผิดน้นั

คํา͸ºÔ ÒÂ
หลักเกณฑท่ีสาํ คัญของตวั การ คือ
๑. เปนการกระทําความผดิ
๒. ตองมีบคุ คลตง้ั แตส องคนขนึ้ ไป
๓. มกี ารกระทาํ รว มกนั ในขณะกระทาํ ความผดิ น้นั
๔. มีเจตนารว มกนั ในขณะกระทาํ ความผดิ
ñ. ໚¹¡ÒáÃÐทํา¤ÇÒÁ¼Ô´ หมายความวา หากการกระทาํ ที่กระทาํ ลงไปไมเปน
ความผิด ผูที่รวมกระทํา ไมถือวาเปนตัวการ หรือหากกระทาํ การนั้นไปแลว แตไมถึงขั้นที่กฎหมาย
บญั ญัตวิ าเปนความผดิ ผทู ี่รวมกระทํากไ็ มเปน ตัวการ เชน

๑๐๘

μÑÇÍ‹ҧ ก. และ ข. สมคบกันจะฆา ค. โดยเฉพาะ ตกลงกันวา ก. จะทาํ หนาท่ียิง
สวน ข. จะคอยดูตนทางให ขณะท่ี ก. เห็น ค. เดินมากับลกู ก. เกดิ สงสารจงึ ไมหยิบปน ออกมายิง
ถือวา ก. และ ข. ไมเปนตัวการตามมาตรา ๘๓ ในความผิดฐานฆาคนตาย เพราะยังไมไดลงมือ
กระทาํ ถึงข้ันทก่ี ฎหมายบัญญตั เิ ปนความผิด

®Õ¡Ò·Õè óñó/òõòø ผูเสียหายยอมใหจาํ เลยที่ ๑ รวมประเวณีโดยความสมัครใจ
แมจาํ เลยท่ี ๒ จะชวยจับผูเสียหายถางออกในการรวมประเวณี โดยความสมัครใจของผูเสียหาย
เชนนี้ ยอ มไมท าํ ใหการกระทาํ ของจาํ เลยท่ี ๒ เปน ความผดิ จงึ ไมถือวาเปนตัวการรว ม

ò. μÍŒ §ÁºÕ ¤Ø ¤Åμ§éÑ áμ‹Êͧ¤¹¢¹Öé ä» หมายความวา จะตอ งมบี คุ คลตง้ั แต ๒ คนข้นึ ไป
กระทําความผิดรวมกันจึงจะถือวาเปนตัวการรวมและการที่จะถือวาเปนตัวการรวมน้ันจะตองรวมกัน
ในขณะกระทําความผิด คือ เลยขั้นตระเตรียมไปแลว ถาเปนการใหความรวมมือกอนกระทาํ ความผิด
หรอื ภายหลงั กระทาํ ความผิดก็ไมใชการรว มกนั ในลกั ษณะตัวการรวม

®¡Õ Ò·Õè òôù/òõðð คนรายลักโคจูงมาตามทางพบจาํ เลย คนรายจึงขอใหจําเลย
ชว ยตอนโคให จําเลยก็ตอ นใหโดยทราบดวี าคนรา ยลกั โคมา กรณเี ชนนไ้ี มถอื วา จาํ เลยเปนตวั การรว ม
ในความผิดฐานลักทรัพย เพราะการลักทรัพยขาดตอนไปแลว (แตนาจะเปนความผิดฐานรับของโจร
ซง่ึ เปนความผดิ โดยเฉพาะตามที่บญั ญตั ไิ วใน มาตรา ๓๕๗)

ó. Á¡Õ ÒáÃÐทาํ ÃÇ‹ Á¡¹Ñ ã¹¢³Ð¡ÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼´Ô ¹Ñé¹ ¡ÒáÃÐทําËÇÁ¡¹Ñ ÁÕä´ŒËÅÒÂ¡Ã³Õ ¤×Í
๑. รว มกนั กระทาํ สว นหนงึ่ ของการกระทาํ ทั้งหมดทร่ี ว มกันเปนความผิด
๒. รวมกนั โดยการแบงหนา ที่กนั ทาํ
๓. อยรู ว มหรือใกลเคียงกบั ท่ีเกิดเหตุในลักษณะทพี่ รอมจะชว ยเหลือกันไดท ันทวงที
๔. อยรู วมในทเี่ กดิ เหตุและกอ ใหผ อู นื่ กระทาํ ความผิด
ó.ñ ËÇÁ¡Ñ¹¡ÃÐทาํ ʋǹ˹èÖ§¢Í§¡ÒáÃÐทํา¹éѹ·Ñé§ËÁ´·èÕËÇÁ¡Ñ¹à»š¹¤ÇÒÁ¼Ô´

หมายความวา ผูกระทําแตละคนไดกระทาํ การถงึ ขนั้ เปนความผดิ ในตวั เอง เชน
®Õ¡Ò·Õè ñòðò/òõòù จาํ เลยท่ี ๑ ขมขืนกระทําชาํ เราผูเสียหายเพียงคนเดียว

จาํ เลยท่ี ๒ ยังไมไ ดขม ขืนกระทาํ ชําเราดว ย เพียงแตก อดจูบและกดผูเสยี หายใหจําเลยท่ี ๑ ขม ขืนกระทําชําเรา
เทานั้น จาํ เลยท่ี ๒ เปนตัวการรวมกระทาํ ความผิดตามมาตรา ๒๗๖ วรรคแรก และมาตรา ๘๓
การรวมกนั ในขณะน้ี ผูก ระทําไมจาํ เปนตอ งอยรู วมกันตลอดเวลาท่ีกระทาํ

ó.ò ËÇÁ¡Ñ¹â´Â¡ÒÃẋ§Ë¹ŒÒ·Õè¡Ñ¹ทํา หมายความวา ผูรวมกระทําคนหนึ่งลงมือ
กระทาํ การเปนความผิดในตัวเอง ในขณะท่ีผูรวมกระทําผิดคนหน่ึงไดทําหนาท่ีอยางอื่นซึ่งไมเปน
ความผิดในตัวเอง เชน การคอยดูตน ทาง คอยแจงสญั ญาณใหผ กู ระทําความผิด

®Õ¡Ò·èÕ ñ÷ñõ/òõòø กอนเกิดเหตุ จาํ เลยก็อยูในกลุมของพวกท่ีรวมกัน
ขมขืนกระทาํ ชําเราผูเสียหาย และขณะเกิดเหตุจําเลยน่ังอยูกับพวกที่โตะใกลหองน้าํ ท่ีเกิดเหตุ
ถือเส้ือใหเพื่อนเขาไปขมขืน และคอยดูตนทางคอยแจงเหตุ ดังน้ีถือวาจาํ เลยรวมกระทําความผิด
ฐานขม ขนื กระทาํ ชําเราแลว

๑๐๙

ó.ó ¡ÒÃÍ‹ÙËÇÁËÃ×Íã¡ÅŒà¤Õ§·èÕà¡Ô´àËμØã¹ÅѡɳзÕè¾ÃŒÍÁ¨ÐãËŒ¤ÇÒÁª‹ÇÂàËÅ×Í
ä´·Œ ѹ·Ç‹ §·Õ เชน

®Õ¡Ò·èÕ ôõö/òõóð จาํ เลยที่ ๑ ขึ้นไปบนบานของผูเสียหายพรอมกับ
คนรายโดยเอามือลวงกระเปากางเกงอยูท่ีชานบานในลักษณะคุมเชิง สวนคนรายเขาไปควาปน
ลูกซองยาวของผูเสียหายที่แขวนไวท่ีขางฝาและเกิดแยงปนกับภรรยาผูเสียหาย คนรายจึงไดใช
เทาเตะและชักมีดออกมาขู หลังจากนั้นจาํ เลยท่ี ๑ และคนรายวิ่งหลบหนีไปพรอมกัน พฤติการณ
เชน นีแ้ สดงวาจําเลยท่ี ๑ รว มกบั พวกทาํ การปลนทรพั ย

ó.ô ÍÂًËÇÁã¹·Õàè ¡Ô´àËμØáÅС͋ ã˼Œ ÍÙŒ ×¹è ¡ÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼´Ô હ‹
®¡Õ Ò·èÕ ôðôó/òõòø จาํ เลยท้ัง ๔ เขา ไปในบานผเู สยี หายโดยมพี วกรอ

อยูนอกบานติดเคร่ืองรถจักรยานยนตพรอมที่จะแลนออกไปไดทันที จาํ เลยท่ี ๒ เปนผูออกคาํ ส่ังให
จําเลยท่ี ๑ ยงิ ผเู สียหาย แตยงิ ไมถูกและขณะทจ่ี าํ เลยที่ ๑ จอ งยิงไปยังผเู สยี หาย จาํ เลยท่ี ๓ และ ๔
ก็ยืนคุมเชิงอยูด า นหลงั ดงั นี้ จําเลยท่ี ๒, ๓, ๔ เปนตวั การรว มกับจําเลยที่ ๑ ในความผดิ ฐานพยายามฆา

ô. ÁÕà¨μ¹ÒËÇÁ¡Ñ¹ã¹¢³Ð¡ÃÐทํา¤ÇÒÁ¼Ô´ หมายความวา ผูท่ีกระทาํ การรวมกัน
จะตองรูถึงการกระทําของกันและกัน และตางประสงคถือเอาการกระทาํ ของแตละคนเปนการ
กระทาํ ของตนดวย ถึงแมจ ะมิไดท าํ จริงดวยมือตนเองกต็ าม

®¡Õ Ò·èÕ óñó/òõòù ในระหวางที่จําเลยท่ี ๓ รุมชกตอยผูเสียหาย จาํ เลยท่ี ๑
ใชมดี ตดั กระดาษกรีดใบหนาผูเสยี หายเปน แผลเสียโฉมติดตวั จาํ เลยท่ี ๒ และ ๓ ตองมคี วามผดิ ฐาน
เปนตัวการรวมทํารายคนเปนเหตุใหผูเสียหายไดรับอันตรายสาหัสตามมาตรา ๒๙๗ (๔) แตศาล
อาจลงโทษนอยกวาจําเลยที่ ๑ ผูเปนตนเหตุโทษที่ตัวการจะตองรับ ตามมาตรา ๘๓ บัญญัติวา
“ตัวการตองระวางโทษตามท่ีกฎหมายกําหนดไวสาํ หรับความผิดน้ัน” หมายความวาตัวการแตละคน
ตองรับโทษตามตัวบทกฎหมายท่ีบัญญัติไวสาํ หรับความผิดน้ันๆ แตไมไดหมายความถึง
ตัวการรวมทกุ คนจะตอ งรบั โทษเทา กนั

®¡Õ Ò·èÕ ñööø/òõóò จาํ เลยท่ี ๑ แกลง ทาํ เปนถูกผีเขา สิงเดนิ เขา ไปหาผูเสียหาย
เมื่อผูเสียหายตกใจวิ่งหนี จําเลยที่ ๑ ว่ิงไลตามบีบคอกดตัวผูเสียหายลงกับพ้ืน จําเลยที่ ๒ มิได
เขา รวมกับจําเลยที่ ๑ ในเหตุการณด ังกลาว ทงั้ ขณะจําเลยที่ ๑ ขม ขนื กระทําชาํ เราผูเ สยี หาย จําเลยที่ ๒
กน็ ัง่ อยหู า งผเู สยี หายประมาณ ๑๐ วา เม่ือจาํ เลยที่ ๑ ขมขืนกระทําชาํ เราผูเ สียหายเสรจ็ แลว จาํ เลย
ท่ี ๒ จึงเขามาลากผูเสียหายไปขมขืนกระทําชําเราท่ีขางกอไผหางจากจุดท่ีจําเลยท่ี ๑ ขมขืนกระทํา
ชาํ เราผูเ สยี หายพอสมควร โดยจําเลยที่ ๑ มิไดเ ขา มาเกีย่ วของดว ยแตอ ยา งใด การกระทาํ ของจําเลย
ท้งั สองยังไมเขาลักษณะเปนการโทรมหญิง

®¡Õ Ò·Õè ôòóð/òõóð จําเลยเปนชูกับภรรยาผูตาย แลวจาํ เลยมาพบกับภรรยา
ผตู ายที่บานผูต ายในเวลากลางคืน โดยใหเพือ่ นผชู าย ๒ คน ไปเฝา ทีห่ นาหอ งนอนผตู าย เมอ่ื ผูต าย
เห็นขึ้นมาจําเลยจะไดออกไปทางประตูหนาบานไดทัน แสดงวาจาํ เลยมีเจตนาที่จะใหเพื่อนของตน

๑๑๐

ขัดขวางไมใหผตู ายพบเหน็ จาํ เลยเปนชูก บั ภรรยาผตู าย ดังนี้ เมอ่ื เพ่อื นของจาํ เลยซงึ่ มีอาวธุ มีดตดิ ตวั
มาแทงผูตายจนถึงแกความตาย จึงอยูในวัตถุประสงคของจาํ เลยที่มีเจตนาจะไมใหผูตายมาพบเห็น
การกระทาํ ของจําเลย ถอื ไดว าจําเลยรว มกับเพอื่ น ๒ คนนัน้ ฆา ผตู าย

แตการกระทําของเพื่อนจําเลยดังกลาวเปนการฆาผูตายขณะลุกจากท่ีนอนมาที่
ประตูหองนอนเปนเหตุการณเฉพาะหนามิไดเกิดจากการไตรตรองไวกอนจึงไมเปนการฆาผูตาย
โดยไตรตรองไวก อน

®Õ¡Ò·èÕ ñùöõ/òõòô การท่ีจาํ เลยลอบเขา ไปขม ขนื กระทําชาํ เราผูเ สียหาย ถงึ ใน
หองนอนจนสําเร็จความใคร ๑ คร้ัง แลวจําเลยออกจากหองเรียกลูกจางของตนใหเขาไปขมขืน
กระทําชําเราผูเสียหายจนสําเร็จความใคร ๑ คร้ัง โดยจําเลยมิไดรวมกระทําผิดดวยในตอนนั้นกรณี
ยังไมเขาลกั ษณะเปนการโทรมหญิง

ความผิดบางอยางมีองคประกอบความผิดเปนคุณสมบัติเฉพาะตัว หรือลักษณะ
เฉพาะตัวผูกระทําบุคคลอ่ืนๆ โดยทั่วไปซึ่งขาดคุณสมบัติเชนน้ันยอมไมอาจกระทําความผิดนั้นได
เพราะขาดองคประกอบความผิดตามที่กฎหมายบัญญัติไว เชน ความผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการ
ซึ่งผูกระทําจะตองมีคุณสมบัติพิเศษ เปนเจาพนักงาน กลาวคือผูกระทําผิดไดคือเจาพนักงานเทานั้น
บุคคลธรรมดาไมมีคุณสมบัติที่จะกระทําความผิดได ดวยเหตุนี้บุคคลธรรมดาจึงเปนตัวการตาม
มาตรา ๘๓ ในการกระทาํ ความผิดดงั กลา วไมไ ด แตอ าจเปนผูสนบั สนุนได

®Õ¡Ò·èÕ ôð÷/òõðù เมือ่ คดีไดค วามวา จาํ เลยที่ ๑ เปน เจา พนักงานออกใบสทุ ธิ
ในหนาที่ โดยจะเปลี่ยนแปลงขอความไมตรงตอความจริงและผิดระเบียบเพื่อใหจําเลยท่ี ๓ นําไป
แสดงตอผูบังคับบัญชาในการขอบําเหน็จความชอบน้ันก็ไดช่ือวาจําเลยที่ ๑ ปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ
เพื่อใหเกิดความเสียหาย ครบองคค วามผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗

แมจําเลยท่ี ๓ จะไมไดเปนเจาพนักงานผูมีหนาที่ในการนี้ เมื่อไดรวมกับ
เจา พนกั งานในการกระทาํ ความผดิ ก็ยอมมีความผดิ ฐานเปนผูส นบั สนุนในการกระทาํ ความผิดดวย

®Õ¡Ò·Õè öõ÷/òõñó จําเลยท่ี ๑ เปนผูใหญบาน ซึ่งทางอําเภอแตงตั้งใหเปน
กรรมการสํารวจท่ีดิน ไดเรียกประชุมลูกบานใหมาแจงการสํารวจและไดเรียกใหจําเลยอื่นอีก ๔ คน
ซึ่งเปนผูชวยผูใหญบานและราษฎรมาชวยในการนี้แลวจําเลยท้ังหมดนี้ไดรวมกันเรียกรองเอาเงิน
จากราษฎรอางวาเปนคาธรรมเนียม ถาไมใหก็จะไมรับแจงดังนี้ จําเลยท่ี ๑ มีความผิดฐานเปน
เจาพนักงานใชอาํ นาจในตาํ แหนงโดยมิชอบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑๔๘ สวนจาํ เลย
นอกน้ันมีความผิดเพียงฐานเปน ผสู นบั สนุน

®Õ¡Ò·Õè ñõøö/òõóð จําเลยท่ี ๕ และ ๖ เปนเจาพนักงานกระทําความผิด
ตามมาตรา ๑๔๗, ๑๕๑, ๑๕๗ และ ๑๖๒ โดยเปนตัวการรวมกันตามมาตรา ๘๓ ลงโทษตาม
มาตรา ๑๔๗ ซงึ่ เปน บทหนัก สวนจาํ เลยที่ ๗, ๘, ๙, ๑๐ ไมใชเ จาพนกั งาน แมจะรวมกบั จําเลยท่ี ๕
และ ๖ ทุจริตเบียดบังเงินคาใชจายในการดําเนินงานตามโครงการสรางในชนบทก็เปนเพียง
ผูสนับสนนุ ตามมาตรา ๘๖ ในความผิดดังกลาว ลงโทษบทหนกั คอื มาตรา ๑๔๗, ๘๖

๑๑๑

®¡Õ Ò·èÕ öôøð/òõôø กอนเกิดเหตุโจทกรวมเห็น อ. นั่งด่ืมสุราอยูท่ีหนาราน
ของจําเลย ตอมาจําเลยเขามาทวงหน้ีจากโจทกรวม โดยจําเลยกับ อ. พากันเขามาในรานเกมของ
โจทกรว มพรอ มกนั แลวจําเลยชตี้ ัวโจทกรวมให อ. ดพู รอมกบั พดู วา คนนแี้ หละชื่อยนั ต หลงั จากนัน้
อ. พูดวา มงึ พากูออกไปตามหาพอมงึ ตดิ หนีแ้ ลวตองใชหนี้ เม่อื โจทกรว มบอกวาไมท ราบวาพอ อยู
ทไ่ี หนและไมย อมไป อ. กเ็ ดินเขา มาเตะโจทกร วม พฤตกิ ารณแ หงการกระทําของจําเลยดังกลาวเชน นี้
ถือไดวาจําเลยสมคบรวมกันกับ อ. มาเตะทํารายโจทกรวมแลว แมขณะที่ อ. เขามาเตะทําราย
โจทกร ว ม จาํ เลยจะเพยี งแตยืนอยเู ฉยๆ ไมไ ดพดู อะไรก็ตาม

®¡Õ Ò·èÕ òðù/òõõõ จาํ เลยทั้งสองซง่ึ เปนพี่นอ งกนั กบั พวกทีห่ ลบหนมี าดวยกนั แตละคน
มอี าวธุ ตดิ ตัวมาโดยจําเลยท่ี ๑ มีสนบั มือ จาํ เลยที่ ๒ มเี หลก็ ขูดชารป และพวกท่หี ลบหนีมีมดี ปลายแหลม
จําเลยที่ ๑ กับพวกเขาไปกอดคอลากโจทกรวมที่ ๑ จากลานหนาเวทีออกไปริมถนนแลวใชสนับมือ
ชกตอยทํารายโจทกรวมที่ ๑ จนบาดเจ็บ โจทกรวมที่ ๑ วิ่งหนี จําเลยท้ังสองกับพวกว่ิงไลตาม
รุมกระทบื และจาํ เลยท่ี ๒ ใชเ หลก็ ขูดชารป แทงโจทกรวมท่ี ๑ เมอ่ื โจทกร ว มท่ี ๒ เขา หา ม จําเลยท่ี ๑
ยังพูดวา “อยางน้ีตองเอาใหตายสักคน” จําเลยท่ี ๒ ใชเหล็กขูดชารปแทงโจทกรวมที่ ๒ แสดงวาจําเลย
ทั้งสองกับพวกที่หลบหนีรวมรูเห็นสมคบกันกระทําความผิด เมื่อเหล็กขูดชารปท่ีจําเลยที่ ๒ ใชเปน
อาวุธ มีความยาว ๑๕.๕ เซนติเมตร หนา ตัดเปน สามเหล่ยี มแตล ะดา นกวา ง ๐.๖ เซนตเิ มตร นับวา
เปนอาวุธรายแรงสามารถใชทาํ อันตรายถึงชีวิตได ประกอบกับจําเลยท่ี ๒ ใชแทงโจทกรวมที่ ๑
ท่ชี ายโครงลกึ ถงึ ปอด และแทงโจทกร ว มท่ี ๒ ทีห่ ลงั ดานซา ยทะลชุ องอกซาย ซง่ึ เปนอวัยวะสว นสาํ คญั
ของรางกายและแทงอยางแรงบงช้ีวามุงประสงคตอชีวิต จึงฟงไดวาจาํ เลยท้ังสองกับพวกเจตนาฆาโจทก
รวมทง้ั สองและกระทาํ ไปโดยตลอดแลว แตการกระทําไมบ รรลผุ ลเน่อื งจากแพทยช วยรักษาชวี ติ ไดท ัน
จําเลยทั้งสองจึงมคี วามผิดฐานพยายามฆาโจทกร ว มทงั้ สองตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๘
ประกอบมาตรา ๘๐, ๘๓

ãªãŒ ËŒ¼ŒÍÙ è×¹¡ÃÐทํา¤ÇÒÁ¼´Ô

ÁÒμÃÒ øô ผูใดกอใหผูอื่นกระทําความผิดไมวาดวยการใช บังคับ ขูเข็ญ จาง วาน
หรือยุยงสงเสริม หรอื ดวยวธิ ีอืน่ ใด ผูน้นั เปนผใู ชใ หกระทาํ ความผดิ

ถาความผดิ มไิ ดก ระทําลงไมว าจะเปน เพราะผูถูกใชไ มยอมกระทํา ยงั ไมไดก ระทาํ หรือ
เหตอุ น่ื ใด ผูใชตอ งระวางโทษเพยี งหน่งึ ในสามของโทษท่ีกําหนดไวสําหรบั ความผิดนั้น

ถาผูถูกใชไดกระทําความผิดนั้น ผูใชตองรับโทษเสมือนเปนตัวการ และถาผูถูกใชเปน
บคุ คลอายุไมเกนิ สิบแปดป ผพู ิการ ผทู พุ พลภาพ ลกู จางหรือผทู ีอ่ ยูใตบ ังคับบญั ชาของผูใช ผทู ีม่ ีฐานะ
ยากจนหรือผูตองพึ่งพาผูใชเพราะเหตุปวยเจ็บหรือไมวาทางใด ใหเพ่ิมโทษท่ีจะลงแกผูใชกึ่งหน่ึง
ของโทษทศี่ าลกาํ หนดสาํ หรับผนู ้นั ”

๑๑๒

คาํ ͸ºÔ ÒÂ
ËÅ¡Ñ à¡³±¡ ÒÃ໚¹¼ŒãÙ ªŒ
๑. ตอ งมกี ารกระทําอนั เปนการกอ ใหผ อู ื่นกระทําความผิด
๒. การทใ่ี ชใหกระทาํ ตอ งเปน การอนั เปน ความผดิ อาญา
๓. ผูใ ชตอ งมีเจตนาที่จะใหผ ูถูกใชกระทําความผดิ นน้ั
ñ. μŒÍ§ÁÕ¡ÒáÃÐทาํ Íѹ໚¹¡Òá‹ÍãËŒ¼ÙŒÍ×蹡ÃÐทํา¤ÇÒÁ¼Ô´ หมายถึง การกระทาํ ท่ี
ผูใชไดกระทําการอันเปนเหตุใหผูถูกใชตกลงใจในการกระทําความผิด โดยผูท่ีลงมือกระทําความผิด
มิไดเ คยมีเจตนาทีจ่ ะกระทําความผิดนั้นมากอ น

μÇÑ ÍÂÒ‹ §
๑.๑ ดําตองการฆาแดง จึงจางขาวใหเอาปนไปยิงแดง ขาวซ่ึงไมเคยรูจักกับแดง
มากอน แตอยากไดค าจา ง จึงเอาปน ไปยงิ แดงตาย เชน นถี้ อื วา ดําเปนผูกอ ใหขาวกระทําความผิดแลว
๑.๒ ก. ตองการฆา ข. ซงึ่ ก. ทราบวา เปนผูลอบฆาบดิ าของ ก. แต ก. ไมรจู ักตัว
ข. ค. ซงึ่ เปน ศัตรเู กา ของ ข. อยากให ข. ถูกฆา เมื่อ ก. มาถาม ค. จงึ บอก ตอ มา ก. ไปฆา ข. ตาย
การกระทําของ ค. ไมถ อื วา เปนการกอ ใหผูอ นื่ กระทาํ ความผดิ อนั จะเปน ผูใ ชต ามมาตรา ๘๔ (ค. เปน
เพยี งผสู นบั สนุนเทา นนั้ )

การกอใหผ ูอ่ืนกระทําความผิดมไี ดหลายวธิ ี เชน ใช บงั คับ ขเู ขญ็ จาง วาน
ยยุ ง สง เสรมิ หรอื วธิ ีอืน่ ใด ซึ่งวิธีอ่ืนใดน้มี คี วามหมายกวา งอาจหมายถึงการหลอก เปนตน

การกอใหผูอื่นกระทาํ ความผิด คาํ วา “ผูอื่น” น้ันอาจจะเปนการเจาะจงตัว
หรือไมกไ็ ด เชน ก.ใช ข. ไปฆา ค. ถอื วา ข. เปน ผูอ ่นื ก. เปน ผใู ช เปนตน

ò. ¡Ò÷èÕ㪌ãËŒ¡ÃÐทาํ μŒÍ§à»š¹¡ÒÃÍѹ໚¹¤ÇÒÁ¼Ô´ÍÒÞÒ หมายความวา ถาการ
กระทําตามที่ใชไมเปนความผิดทางอาญาแมการกระทาํ นั้นจะรุนแรง ก็ไมใชกรณีผูใช เชน ยุใหเขา
ฆา ตัวเองตาย

ó. ¼ŒÙ㪌μŒÍ§ÁÕà¨μ¹Ò·èÕ¨ÐãËŒ¼ÙŒ¶Ù¡ãªŒ¡ÃÐทํา¤ÇÒÁ¼Ô´ ซ่ึงเจตนาน้ีอาจเปนเจตนา
ประสงคผล หรือเจตนายอมเล็งเห็นผลกไ็ ด เชน ก. ตอ งการฆา ข. จงึ อางวา ค. ใหไ ปฆา ข. เชนนี้
ถือวา ก. มเี จตนาให ค. ไปฆา ข. เปนเจตนาประสงคผ ล

หรือ ก. เปนผูมีอิทธิพลโมโหท่ี ข. ไมอยูใตอิทธิพลของตนจึงพูดกับ ค. ซ่ึงเปน
ลูกนอ งของตนวา “โอหังนักตอ งสัง่ สอนเสยี บา ง” ค. จึงไปตีหัว ข. เชนนีถ้ ือวา ก. เจตนาให ค. กระทาํ
ความผดิ ซงึ่ เปน เจตนายอมเลง็ เหน็ ผล

แตถ าไมมเี จตนาเพยี งแตเ ปน การลอ เลน กรณนี ้ไี มถ ือวาเปนผูใช
â·É¢Í§¼ãÙŒ ªŒãË¡Œ ÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼´Ô ¼Ù㌠ªãŒ ËŒ¡ÃÐทํา¤ÇÒÁ¼´Ô ¨ÐμÍŒ §ÃºÑ â·É´§Ñ ¹éÕ
๑. กรณีความผิดมิไดกระทําลง ผูใชตองระวางโทษเพียงหนึ่งในสามของโทษที่กาํ หนด
ไวส ําหรับความผดิ ท่ีใช ซงึ่ การไมก ระทาํ ความผิดอาจเปนเพราะ

๑๑๓

๑.๑ ผูถ ูกใชไ มย อมกระทํา คอื ไมยอมรบั วาจะกระทําตามทใ่ี ช หรือรับแลว แตตอมา
กลับใจไมก ระทาํ

๑.๒ ผูถ กู ใชย ังไมไ ดก ระทาํ เชน ถูกจับเสียกอ นทกี่ ารกระทาํ ความผิด
๑.๓ มเี หตุอ่นื เชน ผถู กู ใชตายเสยี กอน
®Õ¡Ò·Õè ùñ/òõñð (ท่ีประชุมใหญ) ขณะที่ตาํ รวจเขาจับกุมและแยงปนกับจาํ เลยที่ ๑
อยูนนั้ จาํ เลยที่ ๒ เขาชว ยแยงปนจากตาํ รวจ เม่อื ตํารวจจับจําเลยท่ี ๒ ได จาํ เลยที่ ๒ ไดรองบอกให
จําเลยท่ี ๑ ขวา งระเบดิ ใสต ํารวจ ดังนีจ้ าํ เลยที่ ๑ มคี วามผดิ ฐานตอ สขู ดั ขวางเจาพนักงานตํารวจ และ
ใชใหฆา เจา พนกั งาน
®¡Õ Ò·Õè óöññ/òõòø จําเลยไดใชให ก. ฆา ข. ผูตายโดยไตรตรองไวกอนโดยมอบ
อาวุธปนใหนําไปหาโอกาสยิง ข. แม ก. จะยังมิไดกระทาํ ความผิด เพราะไมมีโอกาสฆา ข.
การกระทําของจาํ เลยเปน ความผิดตามมาตรา ๒๘๙(๔) ประกอบกบั มาตรา ๘๔ วรรคสอง
®Õ¡Ò·èÕ ñòöô/òõñó จําเลยใชผูอ่ืนไปลักทรัพยนั้น ถือวาจาํ เลยเปนตัวการดวย
ตามมาตรา ๘๓ เมื่อจําเลยรับทรัพยนั้นจากผูท่ีจําเลยใช ถือวาเปนการรับทรัพยซึ่งเปนการรับทรัพย
ซึ่งเปนผลสืบเน่ืองมาจากกรรมอันเดียวกับความผิดฐานลักทรัพย หรือฉอโกงที่จําเลยเปนผูใชเอง
จําเลยจึงไมมีความผดิ ฐานรับของโจร (ขอสอบผูช ว ยผูพิพากษา ๔ มถิ ุนายน ๒๕๓๑)
®Õ¡Ò·Õè òðõ÷/òõóõ จําเลยตะโกนวา พอมันมาแลว เอามันเลย แลว ส. ใชอาวุธ
ปนลูกซองยาวยิงผูตาย ดังนี้ จาํ เลยตองมีความผิดฐานยุยงสงเสริมใหนาย ส. ฆาผูตาย ตาม ป.อ.
มาตรา ๘๔ ประกอบดวย มาตรา ๒๘๘
®¡Õ Ò·èÕ ñøõ/òõòð จําเลยรองบอกให อ. ยิงตํารวจ และรวมกับ อ. ยิงตาํ รวจ
โดยดึงพานทายปนของตาํ รวจไวไมใหปองกันตัวเปนการยุใหผูอ่ืนทําผิด และรวมกันกระทําผิดดวย
จงึ เกล่อื นกลืนเปนกรรมเดียวฐานเปนตัวการรวมกันพยายามฆาเจาพนักงาน
®¡Õ Ò·èÕ ñøóõ/òõóò รวมกันใช แตละคนเปนผูใชตามมาตรา ๘๔ ไมมีตัวการ
รว มกนั ใช ตามมาตรา ๘๔ ประกอบดว ยมาตรา ๘๓
๒. กรณีความผิดไดกระทําลง ผูใชตองรับโทษเสมือนเปนตัวการ และหากผูถูกใชเปน
บุคคลตอ ไปนี้
๒.๑ อายุไมเกิน ๑๘ ป
๒.๒ ผูพ กิ าร
๒.๓ ผทู ุพพลภาพ
๒.๔ ลูกจา งหรอื ผทู ี่อยใู ตบังคบั บญั ชาของผใู ช
๒.๕ ผูท ี่มฐี านะยากจนหรือผูตองพึง่ พาผใู ชเพราะเหตปุ วยเจบ็ หรือไมวาทางใด
ÁÒμÃÒ øô ÇÃäÊÒÁ บัญญัติใหเพิ่มโทษที่จะลงแกผูใชกึ่งหนึ่งของโทษที่ศาล
กําหนดสาํ หรบั ผนู น้ั

๑๑๔

¼ŒâÙ ¦É³ÒËÃ×Í»ÃСÒÈ

ÁÒμÃÒ øõ ผูใดโฆษณาหรือประกาศแกบุคคลทั่วไปใหกระทําความผิด และ
ความผิดน้ันมีกําหนดโทษไมตํ่ากวาหกเดือน ผูนั้นตองระวางโทษกึ่งหน่ึงของโทษท่ีกาํ หนดไวสําหรับ
ความผดิ น้นั

ถาไดมีการกระทาํ ความผิดเพราะเหตุท่ีไดมีการโฆษณาหรือประกาศตามความ
ในวรรคแรก ผูโฆษณาหรอื ประกาศตองรับโทษเสมอื นตัวการ

¤Òí ͸ºÔ ÒÂ
หลกั เกณฑโ ฆษณาใหกระทําความผดิ มีดังนี้
๑. โฆษณาหรือประกาศแกบคุ คลทวั่ ไปใหก ระทาํ ความผดิ อาญา
๒. ความผดิ อาญานั้นกําหนดโทษไมตํ่ากวา ๖ เดอื น
๓. กระทาํ โดยมเี จตนาใหบ คุ คลทัว่ ไปกระทาํ ความผดิ นั้น
ñ. â¦É³ÒËÃ×Í»ÃСÒÈ ตองเปนการโฆษณาหรือประกาศแกบุคคลท่ัวไป ไมใช
เจาะจงบคุ คลหน่ึงบุคคลใดโดยเฉพาะ และการกระทําน้นั ตอ งเปน ความผดิ อาญา
ò. ¤ÇÒÁ¼Ô´ÍÒÞÒ¹é¹Ñ μÍŒ §ÁÕâ·ÉäÁต‹ า่ํ ¡Ç‹Ò ö à´Í× ¹ ซง่ึ หมายถงึ โทษขัน้ สูงจะเปน โทษ
ตาม ป. อาญา หรอื ตามพระราชบญั ญัติอนื่ ก็ได
ó. ¡ÃÐทําâ´ÂÁÕà¨μ¹Ò คือ ตองมีเจตนาใหบุคคลท่ัวไปกระทําความผิดจริงๆ ไมใช
เจตนาเพยี งแตลอเลน
â·É¢Í§¼ÙŒâ¦É³ÒãË¡Œ ÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼´Ô Á´Õ §Ñ ¹éÕ
๑. เม่ือโฆษณาหรือประกาศใหกระทําความผิด แมยังมิไดมีการกระทําความผิด
ผโู ฆษณาหรือประกาศตองรบั โทษก่งึ หนงึ่ ของโทษสําหรบั ความผิดทโี่ ฆษณาหรอื ประกาศ
๒. ถา ไดมีผูกระทําความผดิ ตามท่ีโฆษณาหรือประกาศ ผโู ฆษณาหรือประกาศตองรับโทษ
ในความผิดนน้ั เสมอื นตวั การ
แตถาโฆษณาหรือประกาศไมเปนความผิดแมจะมีผูกระทาํ ความผิดเพราะเหตุที่ไดมีการ
ประกาศหรือโฆษณา ผูโฆษณาหรือประกาศก็ไมมีความผิด เชน โฆษณาประกาศใหบุคคลทั่วไป
กระทําความผดิ ลหุโทษ
®Õ¡Ò·Õè öøø/òô÷÷ พลตํารวจท่ีวิ่งตามจับผูรายที่ว่ิงหนีและรองบอกราษฎรใหชวยจับ
โดยรองส่ังดวยวา “จับเปนไมไดใหจับตาย” ราษฎรคนที่วิ่งชวยจับผูราย และไดทํารายผูรายถึงตาย
ถือวาเปนการประกาศแกราษฎรท่ัวไปใหกระทาํ ผิด พลตาํ รวจยอมมีความผิดฐานประกาศ
หรอื โฆษณาแกบุคคลทัว่ ไปใหก ระทําความผิด

๑๑๕

¼ŒÙʹѺʹ¹Ø

ÁÒμÃÒ øö ไดบัญญัติวา “ผูใดกระทาํ ดวยประการใดๆ อันเปนการชวยเหลือ หรือ
ใหความสะดวกในการที่ผูอ่ืนกระทําความผิด กอนหรือขณะกระทําความผิด แมผูกระทาํ ความผิด
จะมิไดรูถึงการชวยเหลือใหความสะดวกนั้นก็ตาม ผูน้ันเปนผูสนับสนุนการกระทาํ ความผิด
ตอ งระวางโทษสองในสามสวนของโทษท่ีกาํ หนดไวส าํ หรับความผดิ ทีส่ นับสนนุ นั้น”

ËÅѡࡳ±¢ ͧàÃÍè× §¼ŒÙʹѺʹ¹Ø ÁÕ´§Ñ ¹Õé
๑. กระทาํ ดวยประการใดๆ อันเปนการชวยเหลือหรือใหความสะดวกในการที่ผูอ่ืน
กระทาํ ความผดิ
๒. การชวยเหลือหรือใหความสะดวกในการท่ีผูอื่นกระทําความผิดตองกระทาํ กอน
หรอื ขณะกระทาํ ผิด
๓. กระทําความผิดจะไดร ูห รอื มิไดรถู งึ การชวยเหลือหรือใหก ารสะดวกนัน้ หรอื ไมก็ตาม
๔. ผูสนับสนุนตองมีเจตนาที่จะชวยเหลือใหความสะดวกในการกระทํากอนหรือขณะ
กระทาํ ผดิ
¡ÃÐทาํ ´ŒÇ»ÃСÒÃã´æ Íѹ໹š ¡Òê‹ÇÂàËÅ×ÍËÃ×ÍãˤŒ ÇÒÁÊдǡ㹡Ò÷è¼Õ ÍÙŒ ¹×è ¡ÃÐทํา
¤ÇÒÁ¼´Ô
การใหความชวยเหลือหรือใหความสะดวกในการที่ผูอื่นนั้นจะกระทาํ ดวยประการใดๆ
ก็ได ขอสาํ คัญอยูท่ีวาการกระทํานั้นตองเปนการชวยเหลือหรือใหความสะดวกในการที่ผูอื่นกระทาํ
ความผิด แตผูที่ไดกระทําความผิดน้ันจะรูถึงการชวยเหลือนั้นหรือไม ไมใชขอสาํ คัญ การใหความ
ชวยเหลือแลวใหความสะดวกนั้นอาจเปนการชวยหาชองทางตามโอกาสใหเขาลักษณะใหความรู
หรืออยางอ่นื ๆ กไ็ ด
¡ÒêNj ÂàËÅ×ÍËÃ×ÍãËŒ¤ÇÒÁÊдǡ¹Ñ¹é ¨ÐμÍŒ §¡ÃÐทาํ ¡‹Í¹ËÃ×Í¢³Ð¡ÃÐทํา¤ÇÒÁ¼Ô´
การชวยเหลือหรือใหความสะดวกอันจะถือเปนการสนับสนุนนั้น มีกาํ หนดเวลาอยู
๒ ประการ คือ
๑. กอนกระทําความผิด เชน ชวยเหลือในการตระเตรียมกระทําความผิดของตัวการ
โดยหาอาวุธหรือเครอ่ื งมือเครือ่ งใชในการกระทําความผิดได
๒. ขณะกระทําความผิด เชน ชว ยดูตน ทางใหผ ูร ายท่กี าํ ลงั ลักทรัพย แตห ากวาใหการ
ชวยเหลือ หรือใหความสะดวกภายหลังที่การกระทําความผิดสําเร็จแลว ผูชวยเหลือหรือใหความ
สะดวกนั้น ยอมไมใชผูสนับสนุนตามมาตรา ๘๖ แตอาจมีความผิดฐานอื่นได ถาการกระทาํ นั้น
เขา องคป ระกอบความผิด
¼ÙŒ¡ÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼Ô´¨Ð䴌Ìٶ֧ËÃ×ÍÁÔ䴌Ìٶ֧¡Òê‹ÇÂàËÅ×ÍËÃ×ÍãËŒ¤ÇÒÁÊдǡ¹éѹËÃ×ÍäÁ‹
äÁ‹สํา¤ÑÞ
ความสําคัญของการเปนผูสนับสนุนอยูท่ีการชวยเหลือหรือใหความสะดวกกอนหรือใน
ขณะกระทําความผดิ ผูสนับสนนุ กบั ผูกระทาํ ความผิดนน้ั อาจไมมคี วามสมั พนั ธกันเลยก็ได เชน คนใช
ในบานเปดหนาตางท้ิงไวเพราะโกรธนายจางที่ดุดาทุกวันเผ่ือวาคนรายจะไดเขามาลักทรัพยในบาน

๑๑๖

นายจาง ตอมาไดมีคนรายเขามาลักทรัพยโดยเขามาทางหนาตางที่เปดไวน้ัน เชนนี้แมวาคนราย
จะไมรูเลยวาคนใชในบานเปดหนาตางไวเพ่ือความสะดวกในการท่ีจะเขามาลักทรัพยก็ตาม
แตเม่ือคนรายไดรับความสะดวกในการเขาไปลักทรัพยในบานน้ี คนใชจึงมีความผิดฐานเปน
ผูส นบั สนนุ ในการลักทรัพย

¼ÙŒÊ¹ÑºÊ¹Ø¹μŒÍ§ÁÕà¨μ¹Ò·Õè¨Ðª‹ÇÂàËÅ×ÍËÃ×ÍãËŒ¤ÇÒÁÊдǡ㹡ÒáÃÐทํา¡‹Í¹ËÃ×Í¢³Ð
¡ÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼´Ô

หมายความวา ผูสนับสนุนจะมีความผดิ ตอ เม่ือไดกระทาํ โดยเจตนา กลาวคอื ผูสนับสนนุ
ตองไดกระทําโดยรูวาการกระทําของตนเปนการชวยเหลือหรือใหความสะดวกแกการกระทําความผิด
ของผูก ระทาํ

ถาหากวาผูนั้นไมมีเจตนาที่จะใหความชวยเหลือหรือใหความสะดวกแลว ก็ยอมมิใช
ผูสนับสนุน เชน คนใชลืมใสกลอนหนาตางไวเปนเหตุใหคนรายเขามาลักทรัพยสะดวกข้ึนหรือให
เพื่อนยมื ปน โดยไมท ราบวา เขาจะเอาไปทาํ อะไร แตปรากฏวา เขาเอาไปยิงคนตาย เชนนี้ท้ังสองกรณนี น้ั
ทั้งคนใชและผูที่ใหยืมปน ไมมีเจตนาท่ีจะใหความชวยเหลือหรือใหความสะดวก เชนนี้จึงไมมี
ความผดิ ฐานผูสนบั สนนุ

- การชวยเหลือหรือใหความสะดวกแกตัวการกระทําความผิดน้ัน การกระทําของ
ตัวการจะตองเปนการกระทําที่กฎหมายบัญญัติวาเปนความผิดใหลงโทษ กลาวคือผูสนับสนุนจะมี
ความผิดตอเมื่อปรากฏวามีตัวการและตัวกระทําความผิดน้ัน หรือพยายามกระทําความผิด หรือ
การเตรียมในกรณีทมี่ ีกฎหมายบัญญตั ิวาใหต องรับผิดในขัน้ ตระเตรยี ม

â·É·è¼Õ ÊÙŒ ¹ºÑ ʹ¹Ø ¨Ð䴌úÑ
๑. กรณีธรรมดา ผูสนับสนนุ ตองระวางโทษ ๒ ใน ๓ สวนของโทษทก่ี าํ หนดไวสาํ หรบั
ความผดิ ท่สี นบั สนนุ (มิได ถอื เอาโทษทางตวั การมาเปน เกณฑ)
๒. กรณีพิเศษ ซ่ึงมีกฎหมายบัญญัติไวโดยเฉพาะ ใหผูสนับสนุนรับโทษ ฐานตัวการ
กระทาํ ความผดิ เชน ความผิดตอ องคพ ระมหากษตั ริย ตาม ป.อ. มาตรา ๑๑๙ ถงึ ๑๒๙
๓. กรณีไมตองรับโทษ ผูสนับสนุนไมตองรับโทษในกรณีท่ีความผิดที่สนับสนุนนั้น
เปนความผดิ ลหุโทษ ตาม ป.อ. มาตรา ๑๐๖
μÇÑ Í‹ҧ
®Õ¡Ò·èÕ óôò/òõðù จําเลยพาพวกปลนมารูจักบานผูเสียหาย แลวแยกทางไป
โดยไมไ ดรวมปลนดวย จาํ เลยมคี วามผิดเพียงสนับสนนุ ตาม ป.อ. มาตรา ๘๖
®¡Õ Ò·èÕ ññòô/òõñù จาํ เลยรวมคดิ วางแผนกบั พวก จาํ เลยจอดรถยนตห า งท่เี กิดเหตุ
๘๐ เมตร มศี าลาบงั มองไมเห็นกนั พวกจาํ เลยวิ่งราวทรัพย แลวว่ิงมาข้ึนรถหนีไปตามแผน จาํ เลยเปน
ผสู นบั สนุน

๑๑๗

®Õ¡Ò·èÕ ñùöù/òõðõ (ที่ประชุมใหญ) บุคคลอ่ืนนําเครื่องมือสําหรับปลอมเหรียญ
กษาปณไปทดลองทําเงินตราปลอมที่บานจําเลยดู ดังนี้ จําเลยไมใชตัวการในการทําเงินตราปลอม
เพราะมิไดรวมในการทดลองดวย แตการที่จําเลยยอมใหใชสถานที่ ภาชนะ เตาไฟของตนน้ัน
เปน การใหความสะดวกในการทาํ ปลอมเงนิ ตรา มคี วามผดิ ฐานเปนผสู นับสนุน

®Õ¡Ò·Õè ñññó-ô/òõðø จาํ เลยเห็นผูตายกาํ ลังถกู ทาํ รา ย ไมไ ดเ ขาขัดขวางแตอ ยางใด
และไลล กู ๆ ใหออกไป ทง้ั ส่งั หามไมใ หไปบอกใคร เมอื่ มหี ญิงอกี คนหนึง่ มายังทีเ่ กดิ เหตุ จําเลยว่งิ ไป
รับหนา หามมิใหเขาไปโดยกลาวเท็จวาผัวเมียตีกันไมใชธุระ เปนการแสดงใหเห็นวาจําเลยกระทําไป
โดยตั้งใจเพื่อที่จะอํานวยความสะดวกใหผูตายถูกฆาโดยไมตองถูกฆาโดยไมตองถูกผูใดขัดขวาง
จําเลยจงึ มคี วามผดิ ฐานเปนผูสนบั สนนุ

®Õ¡Ò·èÕ òøðð/òõòò การสนับสนุนการกระทําความผิดตาม ป.อ. มาตรา ๘๖ น้ัน
จะตองมีผูอ่ืนเปนตัวการในการกระทําผิด หากเปนกรณีที่ไมมีตัวการกระทําผิดดังกลาว ผูชวยเหลือ
หรือใหค วามสะดวกในความผิดน้นั กย็ อมไมม คี วามผดิ ในฐานะเปน ผสู นับสนนุ

®Õ¡Ò·Õè óôò/òõðù จําเลยสนับสนุนตัวการใหปลนทรัพย ตัวการไดกระทาํ เพียง
พยายาม ปลน จาํ เลยจึงตองรับโทษ ๒ ใน ๓ ของความผิดฐานพยายามปลน ทรัพย (๒ ใน ๓ ของ
๒ ใน ๗)

®Õ¡Ò·Õè ñðùð/òõòò ข. เขา ไปยิงผเู สยี หาย สว น ก. ขรี่ ถจกั รยานยนต ตดิ เครอื่ งรอ
อยบู นถนน หา งที่เกดิ เหตุ ๑๐๐ เมตร แลวข่จี ักรยานยนตพ า ข. ซ่งึ ซอนทายหนีไป ก. เปน ผูส นบั สนนุ

®¡Õ Ò·Õè òòõ/òõõõ ขณะจําเลยท่ี ๑ และท่ี ๒ รว มกันกระทาํ ความผิด โดยพูดจาหลอกลวง
นําสลากกินแบงรัฐบาลที่มีการปลอมแปลงหมายเลขออกขายใหแกผูเสียหาย จําเลยท่ี ๓ ไมไดอยู
ในท่ีเกิดเหตุและไมไดมีสวนเก่ียวของในการพูดคุยติดตอเจรจากับผูเสียหาย จึงสรุปไดวาจําเลยที่ ๓
เปน ตัวการท่ีรว มกระทําความผิดฐานใชสลากกินแบง รฐั บาลซง่ึ เปน เอกสารสทิ ธิปลอม แตก ารท่ีจําเลย
ท่ี ๓ เปนผูขับรถยนตพาจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ มายังบานผูเสียหายเพื่อใหจําเลยที่ ๓ และที่ ๒ รวมกัน
หลอกลวงนําสลากกินแบงรัฐบาลท่ีมีการปลอมหมายเลขวาถูกรางวัลมาขายเพื่อประสงคจะเอาทรัพยสิน
ของผูเสียหาย เปนการชวยเหลือหรอื ใหความสะดวกแกจาํ เลยที่ ๑ กอนกระทาํ ความผิด จําเลยท่ี ๓
จึงเปนผูสนับสนุนจําเลยท่ี ๑ ในการกระทําความผิดตองรับโทษฐานเปนผูสนับสนุนตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๘๖

®Õ¡Ò·Õè ñóõöð/òõõõ จําเลยที่ ๒ รเู หน็ ในการท่ีจําเลยที่ ๑ โทรศัพทห ลอกใหผตู าย
ออกมาจากบานเพอื่ ใหจ าํ เลยที่ ๓ ใชอ าวุธปน ยงิ ฆาผูตายโดยไตรตรองไวก อ น การกระทาํ ของจาํ เลยท่ี ๒
เปนการชวยเหลือใหค วามสะดวกในการกระทาํ ความผดิ ของจําเลยที่ ๑ จาํ เลยท่ี ๒ จึงมคี วามผดิ ฐาน
สนบั สนนุ ในการจา งวานใชของจาํ เลยท่ี ๑ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๙ (๔) ประกอบ
มาตรา ๘๔, ๘๖

๑๑๘

®Õ¡Ò·èÕ ö÷ó-ö÷ô/òõõõ จาํ เลยท่ี ๑ ตดิ ตอแนะนําใหจ ําเลยท่ี ๒ ไปจาํ หนายเมทแอมเฟตามนี
ของกลางให ช. จําเลยที่ ๒ จึงมีความผิดฐานจําหนายเมทแอมเฟตามีนโดยไมไดรับอนุญาต สวน
จาํ เลยท่ี ๑ เปนเพยี งการชว ยเหลอื หรอื ใหความสะดวกแกจําเลยที่ ๒ ในการจําหนา ยเมทแอมเฟตามีน
จําเลยท่ี ๑ จงึ มคี วามผิดฐานเปน ผูสนับสนนุ ในการกระทําความผิดดงั กลา ว

®¡Õ Ò·Õè ôóùù-ôôðð/òõõõ จาํ เลยท้งั สองเขา ไปพดู กบั ช. และ ภ. ซึง่ ทาํ หนาท่ีเปน
พนักงานรักษาความปลอดภัยของบริษัทผูเสียหายบริเวณประตูทางออกเพื่อให บ. นํารถซ่ึงบรรทุก
กลองกระดาษของผูเสียหายออกไปจากบริษัทผูเสียหาย แมคนรายไดเคล่ือนยายกลองกระดาษจาก
บริเวณที่ผูเสียหายเก็บไวในโกดังข้ึนรถบรรทุกหกลอ แตรถบรรทุกหกลอยังคงอยูภายในโรงงานของ
ผูเสียหายซึ่งมีพนักงานรักษาความปลอดภัยดูแลอยูดวย ท้ังพนักงานรักษาความปลอดภัยไมยินยอม
ให บ. นํากลองกระดาษออกไป จึงถือวาการแยงกรรมสิทธิ์ในกลองกระดาษของ บ. ยังไมสมบูรณ
ขั้นตอนการลักทรพั ยของ บ. ยังกระทําการไมแลวเสรจ็ การนาํ รถบรรทกุ หกลอ บรรทกุ กลอ งทรัพยข อง บ.
ยังกระทําการไมแลวเสร็จ การนํารถบรรทุกหกลอบรรทุกกลองกระดาษออกจากบริษัทของผูเสียหาย
เปนเหตุการณตอเนื่องเกี่ยวพันกับการลักทรัพยท่ีจําเลยท้ังสองพูดกับ ภ. และ ช. เพื่อใหนํารถบรรทุก
หกลอออกไปจากโรงงานผูเสียหาย จึงถือเปนการชวยเหลือหรือใหความสะดวกในขณะท่ี บ. ลงมือ
กระทาํ ความผดิ ฐานลกั ทรพั ย เม่ือ บ. ไมสามารถนาํ กลองกระดาษออกไปได การกระทําของ บ. ยอ มเปน
ความผิดฐานพยายามลกั ทรัพย การกระทาํ ของจาํ เลยท้ังสองจึงเปนความผิดฐานสนบั สนนุ บ. ในการ
กระทาํ ความผิดฐานพยายามลักทรัพย

®Õ¡Ò·èÕ òòøð/òõõõ จําเลยและ บ. กับพวกเขาไปในบานของผูเสียหาย และจําเลย
พดู วา “มึงแนห รอื ทอี่ ยทู ่นี ่มี า ๑๕ ถงึ ๑๖ ป เอามันเลย” กับพูดวา “ไอสตั ว เดย๋ี วยงิ ท้ิงหมดเลย” อนั เปน
ความผิดฐานบุกรุกและขูใหผูอื่นตกใจกลัว แตการท่ีจําเลยพูดวา เอามันเลย และ บ. เขาทําราย
ผูเสียหายโดยจําเลยไมไดทํารายผูเสียหายดวย เปนการท่ีจําเลยกอใหผูอ่ืนกระทําความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๘๔ เม่ือโจทกบรรยายฟอ งวา จาํ เลยกบั บ. และพวกรวมกันทํารายรา งกาย
ผเู สียหายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๓ ขอเท็จจริงทีป่ รากฏในทางพิจารณาจงึ แตกตางกับ
ฟองในสาระสําคัญตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๙๒ วรรคสอง
ยอมลงโทษจําเลยฐานเปนผูใชใหกระทําความผิดไมได แตการที่จําเลยรองบอกดังกลาวถือไดวา
จาํ เลยเปน ผสู นบั สนุนให บ. กระทําความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๖ ศาลมอี าํ นาจ
จับปรบั บทฐานเปน ผูส นับสนุนได

®Õ¡Ò·Õè ñóõöð/òõõö จําเลยที่ ๑ วาจางใหจําเลยที่ ๓ กับพวกใชอาวุธปนยิงผูตาย
ที่บานของผูตาย ถือไดวาเปนผูสนับสนุนการกระทําความผิดฐานรวมกันมีและพาอาวุธปน
โดยไมไดรับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และ
สิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. ๒๔๙๐ มาตรา ๗, ๘ ทวิ วรรคหนึ่ง, ๗๒ วรรคสาม, ๗๒ ทวิ วรรคสอง
ประกอบประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๖, ๓๗๑

๑๑๙

จําเลยท่ี ๒ รูเห็นในการท่ีจําเลยที่ ๑ โทรศัพทหลอกใหผูตายออกมาจากบานเพ่ือให
จาํ เลยที่ ๓ ใชอาวธุ ปน ยิงฆา ผูตายโดยไตรตรองไวก อ น การกระทําของจําเลยท่ี ๒ เปนการชว ยเหลอื
ใหสะดวกในการกระทําความผิดของจําเลยที่ ๑ จําเลยที่ ๒ จึงมีความผิดฐานสนับสนุน
ในการจา งวานใชข องจําเลยท่ี ๑ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๒๘๙ (๔) ประกอบมาตรา ๘๔, ๘๖

μÒÃÒ§ÊÃØ»·ÒŒ º·àÃÂÕ ¹ ๑๒๐

ÅÒí ´Ñº àÃèÍ× § ¤íÒ͸ԺÒ ÁÒμÃÒ·èàÕ ¡ÂèÕ Ç¢ŒÍ§ ËÁÒÂàËμØ
บทท่ี ๕ ตวั การ ËÅѡࡳ±Ê Òí ¤ÑޢͧμÇÑ ¡Òà ม.๘๓ ฎกี า ๓๑๓/๒๕๒๘
๑. เปนการกระทาํ ความผดิ ฎีกา ๑๒๐๒/๒๕๒๙
๒. มีบคุ คลตงั้ แตสองคนขนึ้ ไป ฎกี า ๑๗๑๕/๒๕๒๘
๓. มีการกระทาํ รว มกนั ในขณะกระทําความผิดนั้น ฎกี า ๑๕๘๖/๒๕๓๐
๔. มีเจตนารวมกนั ในขณะกระทาํ ความผิด
๕. มีเจตนารวมกนั ในขณะกระทําผดิ ฎกี า ๓๖๑๑/๒๕๒๘
ฎกี า ๒๐๕๗/๒๕๓๕
บทท่ี ๕ ผใู ชใ หผูอ่นื กระทําผดิ ËÅѡࡳ±¡ÒÃ໚¹¼Ù㌠ªŒ ฎีกา ๑๘๓๕/๒๕๓๒
๑. ตองมีการกระทําอันเปนการกอใหผูอื่นกระทํา ม.๘๔
ความผิด
๒. การทใ่ี ชใ หก ระทาํ ตอ งเปน การอนื่ เชน ความผดิ อาญา
๓. ผูใชตองมีเจตนาท่ีจะใหผูถูกใชกระทําความผิดนั้น
โทษของผใู ชใ หกระทําผิด ผูใ ชต องรับโทษดังนี้

๑. กรณีความผิดไดกระทําลง ผใู ชต องรบั โทษ ๑ ใน
๓ ของโทษทีก่ าํ หนด

๒. หากผถู กู ใชไ ดก ระทาํ ความผดิ นนั้ ผใู ชต อ งรบั โทษ
เตม็ จํานวนสาํ หรบั ความผิดน้ัน

๓. หากผูถูกใชเปนบุคคลอายุไมเกินสิบแปดป
ผูพิการ ผูทุพพลภาพ ลูกจางหรือผูที่อยูใตบังคับ
บญั ชาของผใู ชท ม่ี ฐี านะยากจน หรอื ผตู อ งพง่ึ พาผใู ช เพราะ
เหตุปวยเจ็บ หรือไมวาทางใด ใหเพ่ิมโทษที่จะลงแกผูใช
กึง่ หน่งึ ของโทษทศี่ าลกาํ หนดสําหรบั ผนู ัน้

ÅÒí ´Ñº àÃ×Íè § ¤Òí ͸ºÔ Ò ÁÒμÃÒ·èÕà¡èÂÕ Ç¢ŒÍ§ ËÁÒÂàËμØ
บทที่ ๕ ผูโ ฆษณาหรอื ประกาศ ฎกี า ๖๘๘/๒๔๗๗
ËÅѡࡳ±â¦É³ÒãË¡Œ ÃзíÒ¤ÇÒÁ¼´Ô มีดังน้ี ม.๘๕
ผสู นับสนุน ๑. โฆษณาหรอื ประกาศแกบ คุ คลทว่ั ไปใหก ระทาํ ความผดิ ฎกี า ๓๔๒/๒๕๐๙
อาญา ฎกี า ๑๑๒๔/๒๕๑๙
๒. ความผดิ ตามนั้นกาํ หนดโทษไมต ํ่ากวา ๖ เดอื น ฎีกา ๑๑๑๓-๔/๒๕๐๘
๓. กระทําโดยมเี จตนาใหบ ุคคลทัว่ ไปกระทําความผดิ

ËÅ¡Ñ à¡³±àÃÍè× §¡ÒÃʹѺʹع มดี งั นี้ ม.๘๖
๑. กระทาํ ดว ยประการใดๆ อนั เปน การชว ยเหลอื หรอื ให
ความสะดวกในการท่ีผูอ่นื กระทาํ ผดิ
๒. การชวยเหลือใหความสะดวกในการท่ีผูอื่นกระทํา
ความผดิ ตอ งกระทํากอน หรอื ขณะกระทาํ ความผิด
๓. กระทาํ ความผดิ จะไดร หู รอื มไิ ดร ถู งึ การชว ยเหลอื หรอื
ใหความสะดวกน้ัน หรอื ไมก ต็ าม
๔. ผสู นบั สนนุ ตอ งมเี จตนาทจ่ี ะชว ยเหลอื ใหค วามสะดวก
ในการกระทาํ กอนหรอื ขณะกระทําผดิ

๑๒๑

๑๒๒

๔. คําถามทา ยบท

๑. นายเอกเจตนาฆานายโทไดชวนนายโทไปเท่ียวปาลาสัตวดวยกันทั้งสองเดินเขาไป
ในปา ลึก นายเอกใชป นยิงนายโทไดร บั บาดเจ็บ นายโทรองขอชวี ิต นายเอกเกดิ สงสารจงึ แบกนายโท
ออกมาจากปา และนาํ สง โรงพยาบาล แพทยช ว ยชวี ติ นายโทไวไ ด แตน ายโทตอ งกลายเปน อมั พาต ดงั นี้
ใหวนิ ิจฉยั การกระทาํ ของนายเอกวาจะตองรบั ผิดในทางอาญาหรือไมอยางไร

๒. นายแดงตองการใหนายดําตาย จึงเขียนจดหมายวาจางนายมวงซ่ึงเปนมือปน
ใหไปฆานายดํา โดยใหนายขาวลูกนองของตนเองถือจดหมายจางฆาไปใหแกนายมวง ถาขอเท็จจริง
ปรากฏวา

ก. ระหวา งทางนายขาวทําจดหมายของนายแดงหาย นายมว งจงึ ไมท ราบถงึ ขอ ความ
ในจดหมาย จึงไมไดไ ปฆานายดํา

ข. นายขาวไดน าํ จดหมายนนั้ ใหแ กน ายมว ง นายมว งเปด จดหมายอา นดู แตไ มย อม
ฆานายดําเพราะนายดําเคยมีบญุ คุณกบั ตนมากอน

ค. นายมวงไดรับจดหมายของนายแดงแลว ไดขอยืมปนของนายเหลืองไปยิง
นายดําตาย โดยที่นายเหลืองรวู า นายมว งจะเอาปนของตนไปยิงนายดาํ

ดงั น้ี นายแดง นายมว ง นายเหลืองจะมีความผดิ อยางไร
๓. นายหน่ึง นายสองและนายสามรวมกันเพื่อเขาไปลักทรัพยในบานของนายขาว
โดยนดั แนะกนั วา นายหนง่ึ จะเปน คนขน้ึ ไปลกั ทรพั ยบ นบา น นายสองตดิ เครอ่ื งรถรอรบั ทรพั ยอ ยหู นา บา น
สวนนายสามคอยแจงสัญญาณอันตรายอยูปากซอยบาน หางจากบานนายขาว ๘๐ เมตร
เม่อื นายหนง่ึ ไดท รพั ยมาแลวจึงมาขึ้นรถทน่ี ายสองจอดรอแลว มารับนายสาม ดังนี้ นายหนึง่ นายสอง
และนายสาม ตองรับผิดอยา งไร

๑๒๓

เอกสารอางอิง

เกียรติขจร วัจนสวัสด์ิ.(๒๕๕๑).คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาค ๑.กรุงเทพฯ:พลสยาม
พริ้นตง้ิ

จติ ติ ติงศภทั ิย.(๒๕๕๕).กฎหมายอาญา ภาค ๑.กรงุ เทพฯ: สาํ นักอบรมศึกษากฎหมาย
แหง เนติบณั ฑิตยสภา.

ทวเี กยี รติ มนี ะกนษิ ฐ.(๒๕๕๓).คําอธบิ ายกฎหมายอาญา ภาคท่วั ไป.กรุงเทพฯ:วญิ ชู น.
ทวเี กยี รติ มีนะกนิษฐ.(๒๕๕๑).ประมวลกฎหมายอาญา ฉบบั อา งองิ .กรุงเทพฯ:วิญชู น.
สมศักดิ์ เอยี่ มพลับใหญ.(๒๕๕๗).เกร็ดกฎหมายอาญา.กรุงเทพฯ:บณั ฑติ อกั ษร.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชานิติศาสตร.(๒๕๔๐).เอกสารการสอน
ชุดวชิ ากฎหมายอาญา ๑ ภาคบทบญั ญัติท่ัวไป.นนทบรุ :ี โรงพมิ พม หาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช.
สหรฐั กติ ศิ ภุ การ.(๒๕๕๗).หลกั และคาํ อธบิ ายกฎหมายอาญา.กรงุ เทพฯ:อมรนิ ทรพ รน้ิ ตงิ้
แอนดพบั ลิชช่งิ
หยุด แสงอุทัย.(๒๕๕๕).กฎหมายอาญาภาค ๑.กรุงเทพฯ:สํานักพิมพมหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร
วิเชียร ดิเรกอุดมศักด์ิ.(๒๕๕๓).กฎหมายอาญาพิสดาร เลม ๑.กรุงเทพฯ:แสงจันทร
การพิมพ.

๑๒๕

º··èÕ ö

¤ÇÒÁ¼Ô´à¡ÂÕè ǡѺ¤ÇÒÁÁ¹èÑ ¤§á˧‹ ÃÒªÍҳҨѡÃ

๑. วัตถุประสงคการเรยี นรูประจาํ บท

เพ่ือใหนักเรียนนายสิบตํารวจเขาใจถึงความผิดเกี่ยวกับความผิดตอองคพระมหากษัตริย
พระราชินี รชั ทายาท และผสู ําเร็จราชการแทนพระองค และความผดิ เก่ยี วกับการกอ การรา ย

๒. สว นนํา

ในบทนี้นักเรียนนายสบิ ตํารวจจะไดศกึ ษา ๒ สว น ดวยกนั คอื
๒.๑ ความผิดที่เกี่ยวกับความผิดตอองคพระมหากษัตริย พระราชินี รัชทายาท
และผสู าํ เรจ็ ราชการแทนพระองค และความผดิ เกย่ี วกบั การกอ การรา ย ซงึ่ มมี าตราทเี่ กย่ี วขอ งตา ง ๆ ดงั นี้

๑. ปลงพระชนมพระมหากษตั รยิ  มาตรา ๑๐๗
๒. ผูใดกระทาํ การประทุษรายตอ พระองคหรอื เสรีภาพ มาตรา ๑๐๘
๓. โทษของการปลงพระชนมพระราชินี หรือรัชทายาท หรือฆาผูสําเร็จราชการ
แทนพระองค มาตรา ๑๐๙
๔. กระทําการประทษุ รา ยตอพระองค หรือเสรีภาพของพระราชนิ ี หรือรัชทายาท
มาตรา ๑๑๐
๕. ผสู นบั สนนุ ในการกระทาํ ความผิด มาตรา ๑๑๑
๖. หมิน่ ประมาท ดูหมนิ่ หรอื แสดงความอาฆาตมาดรา ย มาตรา ๑๑๒
๒.๒ ความผิดเกี่ยวกบั การกอการราย
ความผิดเกยี่ วกับการกอการรา ย ตามมาตราตา ง ๆ ดงั นี้
มาตรา ๑๓๕/๑, มาตรา ๑๓๕/๑ วรรคสอง, มาตรา ๑๓๕/๑ วรรคสาม
มาตรา ๑๓๕/๒, มาตรา ๑๓๕/๓, มาตรา ๑๓๕/๔

๓. เนือ้ หา
๓.๑ ความผิดตอองคพระมหากษตั ริย พระราชินี รัชทายาท และผูสาํ เรจ็ ราชการ

แทนพระองค

»Å§¾ÃЪ¹Á¾ÃÐÁËÒ¡ÉμÑ ÃÂÔ 
“ÁÒμÃÒ ñð÷” ผูใดปลงพระชนมพ ระมหากษตั ริย ตองระวางโทษประหารชีวิต
ผูใดพยายามกระทาํ การเชน วานั้น ตองระวางโทษเชน เดียวกัน
ผูใดกระทําการใดอันเปน การตระเตรียม เพื่อปลงพระชนมพระมหากษัตริย หรือรู
วามีผูจะปลงพระชนมพระมหากษัตริย กระทําการใดอันเปนการชวยปกปดไว ตองระวางโทษจําคุก
ตลอดชวี ติ

๑๒๖

ͧ¤» ÃСͺ¤ÇÒÁ¼´Ô
๑. ปลงพระชนม
๒. พระมหากษตั รยิ 
๓. โดยเจตนา
คาํ ͸ºÔ ÒÂ
การปลงพระชนมพระมหากษัตริยจะกระทําดวยประการใดๆ ก็ได เชน ยิง แทง ฟน
ทุบตี หรือวางยาพษิ เปนตน
พระมหากษัตริยตามความหมายของมาตรานี้ หมายถึง พระมหากษัตริยท่ีทรง
ครองราชยอ ยู ขณะถกู ปลงพระชนม
การกระทําท่ีจะเปนความผิดตามมาตราน้ี ผูกระทําจะตองกระทําโดยเจตนา กลาวคือ
รูสํานึกในการกระทาํ และประสงคตอผลหรือยอมเล็งเห็นผลของการกระทํานั้น โดยผูกระทาํ จะตอง
ทราบวาผูท่ีตนปลงพระชนมน้ันเปนพระมหากษัตริย และจะเปนความผิดสาํ เร็จตอเม่ือพระมหากษัตริย
น้ันสิ้นพระชนมดวยเหตุแหงการกระทาํ ของตน แตหากไมถึงขั้นสิ้นพระชนมก็จะเปนความผิด
ฐานพยายามตามวรรค ๒
ทํา¡ÒûÃзÉØ ÃŒÒÂμ‹Í¾ÃÐͧ¤ËÃ×ÍàÊÃÀÕ Ò¾¢Í§¾ÃÐÁËÒ¡ÉμÑ ÃÂÔ 
“ÁÒμÃÒ ñðø” ผูใดกระทําการประทุษรายตอพระองค หรือเสรีภาพของพระมหากษัตริย
ตอ งระวางโทษประหารชวี ติ หรือจาํ คกุ ตลอดชวี ติ
ผูใดพยายามกระทําการเชน วานัน้ ตองระวางโทษเชน เดียวกัน
ถาการกระทําน้ันมีลักษณะอันนาจะเปนอันตรายแกพระชนม ผูกระทําตองระวาง
โทษประหารชีวิต
ผูใดกระทําการใดอันเปนการตระเตรียมเพ่ือประทุษรายตอพระองค หรือเสรีภาพของ
มหากษัตริย หรือรูวามีผูจะกระทําการประทุษรายตอพระองคหรือเสรีภาพของพระมหากษัตริย
กระทาํ การใดอันเปน การชวยปกปด ไว ตอ งระวางโทษจําคุกตั้งแตสบิ หกปถ งึ ยี่สบิ ป
ͧ¤» ÃСͺ¤ÇÒÁ¼´Ô
๑. การกระทําการประทษุ รา ยตอพระองคหรือเสรภี าพของพระมหากษตั รยิ 
๒. โดยเจตนา
คําวา “»ÃзØÉÌҔ หมายความวา ทําการประทุษรายแกกายหรือจิตใจของ
พระมหากษัตริย ไมวาจะทํารายโดยใชแรงกายภาพหรือดวยวิธีอื่นใด และใหหมายความรวมถึง
การกระทําใดๆ ซ่ึงเปนเหตุใหอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได ไมวาจะโดยใชยาทําใหมึนเมา
สะกดจติ หรือใชวิธีอ่ืนใดอันคลา ยคลงึ กนั ตามความในมาตรา ๑(๖)
กระทําการประทุษรายตอพระองคของพระมหากษัตริย จึงเปนการกระทําการ
ประทษุ รายตามความหมายของมาตรา ๑(๖)

๑๒๗

สําหรับความผิดในวรรค ๓ นั้น กฎหมายบัญญัติใหมีโทษหนักขึ้นกวา วรรค ๑ และ
วรรค ๒ ถาการกระทําน้นั มีลักษณะนาจะเปนอันตรายแกพระชนม

ผูใดกระทําอยูในข้ันตระเตรียมการ หรือรูวาจะมีผูกระทําการเชนวานั้นแตชวยปกปดไว
กเ็ ปน ความผดิ ตามกฎหมายเชนเดียวกัน

»Å§¾ÃЪ¹Á¾ÃÐÃÒªÔ¹Õ ËÃÍ× ÃѪ·ÒÂÒ· ËÃÍ× ¦Ò‹ ¼สÙŒ าํ àÃç¨ÃÒª¡ÒÃá·¹¾ÃÐͧ¤
“ÁÒμÃÒ ñðù” ผูใดปลงพระชนมพระราชินีหรือรัชทายาท หรือฆาผูสําเร็จราชการ
แทนพระองค ตอ งระวางโทษประหารชีวติ
ผูใ ดพยายามกระทาํ การเชน วานั้น ตอ งระวางโทษเชน เดียวกัน
ผูใดกระทําการใดอันเปนการตระเตรียมเพื่อปลงพระชนม พระราชินีหรือรัชทายาท
หรือเพอ่ื ฆาผสู ําเรจ็ ราชการแทนพระองค หรอื รูวา มผี ูจะปลงพระชนมพ ระราชินี หรอื รชั ทายาท หรือจะฆา
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค กระทําการใดอันเปนการชวยปกปดไวตองระวางโทษจําคุกต้ังแต
สบิ สองปถ งึ ย่ีสิบป
ͧ¤» ÃСͺ¤ÇÒÁ¼´Ô
๑. ปลงพระชนมพ ระราชินี หรือรัชทายาท หรอื
๒. โดยเจตนา
¾ÃÐÃÒªÔ¹Õ ตอ งเปน พระราชินีขององคพระมหากษตั รยิ  รชั กาลปจจบุ ัน
ÃѪ·ÒÂÒ· หมายถึง ผูจะสืบราชสมบัติตามกฎมนเทียรบาลวาดวยการสืบ
ราชสนั ตติวงศ พ.ศ.๒๔๖๗ และตามรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย
¼ÙŒสําàÃç¨ÃÒª¡ÒÃá·¹¾ÃÐͧ¤ คือ ผูท่ีพระมหากษัตริยทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ
แตงต้งั ใหเ ปน
ʹºÑ ʹ¹Ø ¡ÒáÃÐทํา¤ÇÒÁ¼Ô´μÒÁÁÒμÃÒ ñð÷ ¶§Ö ÁÒμÃÒ ññð
“ÁÒμÃÒ ñññ” ผูใดเปนผูสนับสนุนในการกระทําความผิดตามมาตรา ๑๐๗ ถึง
มาตรา ๑๑๐ ตองระวางโทษเชน เดยี วกับตัวการในความผิดนนั้
คํา͸ԺÒÂ
คําวา “¼ÙŒÊ¹ÑºÊ¹Ø¹” ก็คือ ผูที่กระทําการใดๆ อันเปนการชวยเหลือหรือใหความ
สะดวกในการท่ีผูอื่นจะกระทําความผิด กอนหรือขณะกระทําความผิด แมผูกระทําความผิดมิไดรูถึง
การชวยเหลือ หรือใหค วามสะดวกน้ันก็ตาม
การชวยเหลือหรือใหความสะดวกน้ัน มิไดจํากัดการกระทําไว ฉะนั้นจะกระทําดวย
ประการใดๆ ก็ไดทั้งสิ้น ขอสําคัญใหเปนการชวยเหลือหรือใหความสะดวกแกผูอื่นท่ีจะกระทํา
ความผิดนั้นก็เพียงพอแลว เชน การนําทาง การแนะทาง การใหความสะดวก ในการเขาไปกระทํา
ความผดิ ใหยมื ยานพาหนะหรอื ขับยานพาหนะไปสง ใหย มื อาวธุ ตา งๆ เปนตน แตก ารชว ยเหลอื หรอื
ใหความสะดวกน้ันเฉพาะความผิดฐานปลงพระชนมหรือกระทําประทุษรายตอพระองคหรือเสรีภาพ
ของพระมหากษตั รยิ  พระราชินี รัชทายาท หรอื ผสู าํ เร็จราชการแทนพระองค กอนหรอื ในขณะกระทํา
ความผดิ

๑๒๘

“ÁÒμÃÒ ññò” ผูใดหม่ินประมาท ดูหมิ่นหรือแสดงความอาฆาตมาดราย
พระมหากษัตริย พระราชินี รัชทายาทหรือผูสําเร็จราชการแทนพระองค ตองระวางโทษจําคุกต้ังแต
สามปถ งึ สบิ หา ป

ͧ¤» ÃСͺ¤ÇÒÁ¼Ô´
๑. หม่ินประมาท ดูหม่ิน หรือแสดงความอาฆาตมาดรายพระมหากษัตริย พระราชินี
รัชทายาท หรอื ผสู ําเรจ็ ราชการแทนพระองค
๒. โดยเจตนา
®Õ¡Ò·èÕ õñ/òõðó จําเลยพูดกลาวถอยคําอันเปนการหม่ินประมาทพระมหากษัตริย
ในท่ีประชุมสาธารณะ จาํ เลยจะยกประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๓๒๙(๔) มาแกตวั ใหพ น ผิดไมไ ด
®Õ¡Ò·èÕ ñòùô/òõòñ กลุมผูอภิปรายปดอภิปราย แลวเปดเพลงสรรเสริญพระบารมี
ประชาชนยืนตรง จําเลยกลาววา “เฮยเปดเพลงอะไรโวย ฟงไมรูเรื่อง” และไมยืนตรง ถอยคํา
ท่กี ลา วเปน ความผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒
®¡Õ Ò·Õè òóõô/òõóñ พยานท่ีเบิกความเปนความเห็นประกอบขอความท่ีอางวา
เปน หมน่ิ ประมาท ยอ มรบั ฟงได ขอ ความทว่ี าจะเลอื กเกิดใจกลางพระบรมมหาราชวังเปน พระองคเจา
แมจําเลยจะมิไดระบุช่ือบุคคลหนึ่งบุคคลใดโดยชัดแจง ก็แปลเจตนาของจําเลยไดวาจําเลยกลาว
โดยมุงหมายถึงองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ และ
สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร องครัชทายาท
ความผิดฐานหม่ินประมาท ดูหมิ่น พระมหากษัตริย พระราชินี และรัชทายาท
แมการกระทําของจําเลยจะไมบังเกิดผลเพราะไมมีใครเช่ือถือคํากลาวของจําเลย จําเลยก็หาพน
ความรบั ผดิ ไม
การพิจารณาวาจําเลยจะมีเจตนาหมิ่นประมาท หรือดูหมิ่นหรือไม มิใชถือตาม
ความเขา ใจของจําเลยซึ่งเปน ผกู ลาวเอง

๓.๒ ความผิดเกีย่ วกับการกอ การราย

ÁÒμÃÒ ñóõ/ñ ¼Ù㌠´¡ÃÐทํา¡ÒÃÍ¹Ñ à»š¹¤ÇÒÁ¼Ô´ÍÒÞҴѧμÍ‹ 仹Õé
(๑) ใชกําลังประทุษราย หรือกระทําการใดอันกอใหเกิดอันตรายตอชีวิต หรือ
อันตรายอยางรายแรงตอ รา งกาย หรือเสรีภาพของบุคคลใดๆ
(๒) กระทําการใดอันกอใหเกิดความเสียหายอยางรายแรงแกระบบการขนสง
สาธารณะ ระบบโทรคมนาคม หรือโครงสรา งพื้นฐานอันเปน ประโยชนสาธารณะ
(๓) กระทําการใดอันกอใหเกิดความเสียหายแกทรัพยสินของรัฐหน่ึงรัฐใด หรือ
ของบุคคลใด หรือตอส่ิงแวดลอม อันกอใหเกิดหรือนาจะกอใหเกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจ
อยางสาํ คัญ

๑๒๙

ͧ¤» ÃСͺ¢Í§¤ÇÒÁ¼Ô´ÇÃäáá ÁÕ´§Ñ ¹éÕ
๑. ผูใดกระทําความผดิ อาญา
๒. โดยใชกําลังประทุษรายหรือกระทําการใดอันกอใหเกิดอันตรายตอชีวิต หรือ
อนั ตรายอยา งรายแรงตอ รา งกาย หรอื เสรีภาพของบุคคลใดๆ
๓. กระทําการใดอันกอใหเกิดความเสียหายอยางรายแรงแกระบบขนสงสาธารณะ
ระบบโทรคมนาคม หรือโครงสรา งพืน้ ฐานอันเปนประโยชนส าธารณะ
๔. กระทําการใดอันกอใหเกิดความเสียหายแกทรัพยสินของรัฐหนึ่งรัฐใด หรือของ
บุคคลใดหรือตอส่ิงแวดลอม อันกอใหเกิดหรือนาจะกอใหเกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจ
อยางสําคัญ
๕. โดยเจตนา
ÇÃä ò
ถาการกระทํานั้นไดกระทําโดยมีความมุงหมายเพื่อขูเข็ญหรือบังคับรัฐบาลไทย
รัฐบาลตางประเทศ หรือองคการระหวางประเทศ ใหกระทําหรือไมกระทําการใดอันจะกอใหเกิด
ความเสียหายอยางรายแรง หรือเพ่ือสรางความปนปวนโดยใหเกิดความหวาดกลัวในหมูประชาชน
ผูนั้นกระทําความผดิ ฐานกอการราย ตองระวางโทษประหารชวี ติ จําคุกตลอดชวี ติ หรือจาํ คุกต้ังแต
สามปถ ึงย่ีสิบป และปรับตง้ั แตห กหมน่ื บาทถงึ หนงึ่ ลานบาท
ÇÃäÊͧ¶ŒÒ¡ÒáÃÐทาํ ¹Ñé¹ä´¡Œ ÃÐทาํ â´ÂÁ¤Õ ÇÒÁÁا‹ ËÁÒÂ
๑. เพื่อขูเข็ญหรือบังคับรัฐบาลไทย รัฐบาลตางประเทศหรือองคการระหวาง
ประเทศใหกระทําหรอื ไมก ระทาํ การใด อนั กอใหเ กิดความเสยี หายอยา งรายแรง หรือ
๒. เพื่อสรางความปน ปว นโดยใหเ กดิ ความหวาดกลวั ในหมปู ระชาชน
๓. โดยเจตนา
ÇÃä ó
การกระทําในการเดินขบวน ชุมนุม ประทวง โตแยง หรือเคลื่อนไหวเพื่อเรียกรอง
ใหรัฐชวยเหลือหรือใหไดรับความเปนธรรมอันเปนการใชเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ ไมเปนการกระทํา
ความผดิ ฐานกอ การราย
การกระทําในการเดนิ ขบวน การชุมนุม ประทวง โตแ ยง หรอื เคลอ่ื นไหวเพ่อื
๑. เรียกรองใหร ฐั บาลชวยเหลอื หรือ
๒. ใหไ ดร บั ความเปนธรรม
๓. อันเปน การใชเสรภี าพตามรฐั ธรรมนญู ถอื วา ไมเปน ความผดิ ตามมาตราน้ี
ÁÒμÃÒ ñóõ/ò ¼ãÙŒ ´
(๑) ขูเข็ญวาจะกระทําการกอการราย โดยมีพฤติการณอันควรเชื่อไดวาบุคคลนั้น
จะกระทาํ การตามที่ขูเ ข็ญจรงิ หรอื

๑๓๐

(๒) สะสมกําลงั พลหรืออาวธุ จดั หาหรือรวบรวมทรพั ยสิน ใหหรอื รับการฝก การกอการราย
ตระเตรียมการอ่ืนใด หรือสมคบกัน เพื่อกอการราย หรือกระทําความผิดใดๆ อันเปนสวนของ
แผนการเพื่อกอการรายหรือยุยงประชาชนใหเขามีสวนในการกอการราย หรือรูวามีผูจะกอการราย
แลวกระทําการใดอนั เปนการชว ยปกปดไว

ผูน้นั ตอ งระวางโทษจําคกุ ต้งั แตส องปถ ึงสิบปและปรับต้งั แตส ีห่ ม่ืนบาทถึงสองแสนบาท
ͧ¤»ÃСͺ
¼ãÙŒ ´
๑. ขูเข็ญวาจะกระทําการกอการราย โดยมีพฤติการณอันควรเช่ือไดวาบุคคลนั้นจะ
กระทาํ การตามท่ขี ูเขญ็ จรงิ หรอื
๒. สะสมกําลังพลหรอื อาวธุ จดั หาหรือรวบรวมทรัพย

๒.๑ ใหหรือรบั การฝก การกอ การรา ย
๒.๒ ตระเตรยี มการอน่ื ใด หรอื สมคบกันเพอ่ื กอ การราย หรือ
๒.๓ กระทาํ ความผิดใดๆ อนั เปน สว นของแผนการ เพือ่ กอการราย หรอื
๒.๔ ยยุ งประชาชนใหเ ขา มสี ว นในการกอ การรา ย หรอื
๒.๕ รวู ามีผูจะกอการรา ยแลว กระทาํ การอันเปน การชวยปกปดไว
๓. โดยเจตนา
ÁÒμÃÒ ñóõ/ó ผูใดเปนผูสนับสนุนในการกระทําความผิดตามมาตรา ๑๓๕/๑ หรือ
มาตรา ๑๓๕/๒ ตองระวางโทษเชน เดียวกับตวั การในความผิดนั้นๆ
ÁÒμÃÒ ñóõ/ô ผูใดเปนสมาชิกของคณะบุคคลซึ่งมีมติของหรือประกาศภายใต
คณะมนตรีความม่ันคงแหงสหประชาชาติกําหนดใหเปนคณะบุคคลท่ีมีการกระทําอันเปนการกอ
การรายและรัฐบาลไทยไดประกาศใหความรับรองมติหรือประกาศดังกลาวดวยแลว ผูน้ันตองระวาง
โทษจาํ คุกไมเ กนิ เจ็ดปแ ละปรับไมเกินหนึ่งแสนส่ีหมืน่ บาท
๑. ผูใดเปนสมาชิกของคณะบุคคลซ่ึงมีมติ หรือประกาศ ภายใตคณะมนตรี
ความม่ันคงแหงสหประชาชาติ กาํ หนดใหเปน คณะบุคคลทมี่ ีการกระทาํ อันเปน การกอ การราย และ
๒. รฐั บาลไทยไดประกาศใหความรบั รองมติหรอื ประกาศดงั กลา วดว ยแลว
๓. โดยเจตนา

μÒÃÒ§ÊÃ»Ø ·ŒÒº·àÃÕ¹

ลาํ ดับ เร่อื ง คาํ อธบิ าย มาตราท่เี กี่ยวขอ ง หมายเหตุ
บทที่ ๖ ความผิดเกีย่ วกับความม่นั คงแหงราชอาณาจกั ร
ËÅ¡Ñ à¡³± ประหารชีวติ
ความผดิ เกยี่ วกับการกอ การราย - ปลงพระชนมพ ระมหากษตั ริย ตปลระอหดาชรีวชติ ีวิตหรือจําคุก
- พกรระะทมําหกาากรษปัตรระิยท ุษรายตอพระองคหรือเสรีภาพของ ม.๑๐๗ ประหารชีวิต
ม.๑๐๘ โทษเชน เดยี วกบั ตวั การ
จาํ คกุ ตง้ั แต ๓ ป ถงึ ๑๕ ป
- รปาลชงกพารระแชทนนมพ พรระะอรงาคชนิ ี หรอื รชั ทายาท หรอื ฆา ผสู าํ เรจ็ ม.๑๐๙ ฎกี า ๑๒๙๔/๒๕๒๑
- ผูใ ดสนับสนุนการกระทาํ ผิด ม.๑๐๗-๑๑๐ ม.๑๑๑ ฎกี า ๒๓๕๔/๒๕๓๑
- หมน่ิ ประมาท ดหู มนิ่ หรอื แสดงความอาฆาตมาดรา ย ม.๑๑๒
พระมหากษัตริย พระราชินี รัชทายาท หรือผูสําเร็จ
ราชการแทนพระองค

ËÅ¡Ñ à¡³± ม.๑๓๕/๑ วรรคแรก
๑. ผใู ดกระทําความผดิ เฉพาะ
๒. โดยใชกําลังประทุษราย หรือกระทําการใดอันกอให
เกดิ อนั ตรายตอ ชวี ติ หรอื อนั ตรายรา ยแรงตอ รา งกาย หรอื
เสรภี าพตอ บุคคลใด ๆ
๓. การกระทําใดอันกอใหเกิดความเสียหายรายแรง แก
ระบบขนสงสาธารณะ การโทรคมนาคม หรือโครงสราง
๔พ้นื. ฐกาานรอกนั รเะปทนําปใดระอโันยกชอนใส หาเธกาิดรคณวะามเสียหายแกทรัพยสิน
ขอÇอÃันÃงกร¤อ ัฐÊใหหÍนเ ก§ึ่งดิ¶รคัฐŒÒวใ¡ดาÒมÃหเส¡รยีือÃหÐขาอ·ยงíÒขบ¹อุคéÑง¹คเศäลร´ใษดŒ¡ฐÃกหÐจิร·ือíÒตâอ´สÂิ่งแÁวÕ¤ดลÇÒอÁม
Á§‹Ø ËÁÒÂ
๑. เพ่ือขูเข็ญ หรอื บงั คบั รฐั บาลไทย รฐั บาลตา งประเทศ
หรอื องคก ารระหวา งประเทศใหก ระทาํ หรอื ไมก ระทาํ การใด
อันกอใหเกดิ ความเสียหายอยางรา ยแรง หรอื
๒. เพื่อสรางความปนปวนโดยใหเกิดความหวาดกลัว
ในหมปู ระชาชน ๑๓๑
๓. โดยเจตนา

ลําดับ เร่อื ง คาํ อธิบาย มาตราทเ่ี กยี่ วขอ ง หมายเหตุ ๑๓๒
บทท่ี ๖ ความผิดเกย่ี วกบั การกอการรา ย ระวางโทษประหารชวี ติ
ÇÃä ó ม.๑๓๕/๑ วรรคสอง จําคุกตลอดชีวิต หรือ
การกระทําในการเดินขบวน ชุมนุม ประทวง โตแยง จาํ คกุ ตงั้ แต ๓ ป ถงึ ๒๐ ป
หรือเคล่ือนไหวเพื่อเรียกรองใหรัฐชวยเหลือหรือใหไดรับ
ความเปนธรรมอันเปนการใชเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ ระวางโทษจําคุกต้ังแต
ไมเปนการกระทาํ ความผดิ ฐานกอการรา ย ๒ ป ถึง ๑๐ ป และ
การกระทําในการเดินขบวน การชุมนุม ประทวง ปรับต้ังแตส่ีหม่ืนบาท
โตแ ยง หรอื เคล่อื นไหวเพอ่ื ถึงสองแสนบาท
๑. เรียกรองใหร ัฐบาลชวยเหลอื หรอื ม.๑๓๕/๑ วรรคสาม

๒. ใหไ ดรับความเปน ธรรม
๓. อันเปนการใชเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ ถือวา
ไมเ ปนความผดิ ตามมาตราน้ี

ÁÒμÃÒ ñóõ/ò ¼ŒÙã´
(๑) ขูเข็ญวาจะกระทําการกอการราย โดยมีพฤติการณ ม.๑๓๕/๒
อันควรเชื่อไดวาบุคคลน้ันจะกระทําการตามที่ขูเข็ญจริง

หรอื
(๒) สะสมกําลังพลหรือรวบรวมทรัพยสิน ใหหรือรับการ
ฝกการกอการรายตระเตรียมการอื่นใด หรือสมคบกัน
เพ่ือกอการราย หรือกระทําความผิดใดๆ อันเปนสวน
ของแผนการเพอื่ กอ การรา ยหรอื ยยุ งประชาชนใหเ ขา มสี ว น
ในการกอ การรา ย หรอื รวู า มผี จู ะกอ การรา ยแลว กระทาํ การใด
อันเปนการชวยปกปดไว

ผนู น้ั ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตงั้ แตส องปถ งึ สบิ ปแ ละปรบั
ต้งั แตส ห่ี ม่นื บาทถึงสองแสนบาท

ลําดับ เรอ่ื ง คําอธบิ าย มาตราที่เกย่ี วขอ ง หมายเหตุ
บทท่ี ๖ ความผิดเก่ียวกับการกอ การราย
ͧ¤»ÃСͺ
¼ÙŒã´ ๑๓๓
๑. ขูเข็ญวาจะกระทําการกอการราย โดยมีพฤติการณ
อ๒นั. ควสระเชสอ่ืมไกดาํ ว ลา ังบพคุ ลคหลรนอื น้ั อจาะวกุธระจทดั าํ หกาาหรตรอืามรวทบข่ี รเู ขวญ็มทจรรงิพั หยร อื

๒.๑ ใหห รอื รับการฝกการกอ การราย
๒.๒ ตระเตรียมการอื่นใด หรือสมคบกันเพื่อกอ
การรา ย หรือ
๒.๓ กระทําความผิดใดๆ อันเปนสวนของแผนการ
เพ่อื กอ การรา ย หรือ
๒.๔ ยยุ งประชาชนใหเ ขา มสี ว นในการกอ การรา ย หรอื
๒.๕ รวู า มผี จู ะกอ การรา ยแลว กระทาํ การอนั เปน การ
ชวยปกปดไว
๓. โดยเจตนา
มาตรา ๑๓๕/๓ ผูใดเปนผูสนับสนุนในการกระทํา ม.๑๓๕/๓
คระววาามงผโทิดษตาเชมนมเาดตียรวากับ๑ต๓วั ๕กา/๑รในหครวือามมาผติดรนานั้ ๑ๆ๓๕/๒ ตอง
ซึ่งมมีมาตติขรอางห๑ร๓ือ๕ป/๔ระกาผศูใภดาเยปในตคสณมะารชัฐิกมขนอตงรคีคณวาะมบมุคั่นคคลง ม.๑๓๕/๔
แหง สหประชาชาตกิ าํ หนดใหเ ปน คณะบคุ คลทม่ี กี ารกระทาํ
อันเปนการกอการรายและรัฐบาลไทยไดประกาศให
ความรบั รองมตหิ รอื ประกาศดงั กลา วดว ยแลว ผนู นั้ ตอ งระวาง
โทษจําคุกไมเ กนิ เจด็ ปและปรับไมเ กินหนึ่งแสนสีห่ ม่ืนบาท
๑. ผใู ดเปน สมาชกิ ของตามบคุ คลซงึ่ มมี ติ หรอื ประกาศ
ภายใตค ณะมนตรคี วามมนั่ คงแหง สหประชาชาติ กาํ หนดให
เปนคณะบคุ คลทีม่ กี ารกระทาํ อนั เปน การกอ การราย และ
๒. รฐั บาลไทยไดป ระกาศใหค วามรบั รองมตหิ รอื ประกาศ
ดงั กลา วดว ยแลว
๓. โดยเจตนา

๑๓๔

๔. คาํ ถามทายบท

๑. การกระทําอันเปนการหมิ่นประมาท ดูหม่ิน หรือแสดงความอาฆาตมาดราย
องคพระมหากษัตริย เปนองคประกอบภายนอกซึ่งไมใชขอเท็จจริง แตเปนพฤติการณประกอบการ
กระทาํ ความผดิ หมายความวา อยางไร

๒. ความหมายของการกอ การรา ยในประเทศไทย ตาม ป.อ. มาตรา ๑๓๕/๑-๑๓๕/๔

เอกสารอางองิ

เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์.(๒๕๕๑).คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาค ๑.กรุงเทพฯ: พลสยาม
พริ้นต้ิง

จิตติ ติงศภัทิย.(๒๕๕๕).กฎหมายอาญา ภาค ๑.กรุงเทพฯ: สํานักอบรมศึกษากฎหมาย
แหงเนติบัณฑติ ยสภา.

ทวเี กียรติ มนี ะกนษิ ฐ.(๒๕๕๓).คาํ อธิบายกฎหมายอาญา ภาคท่วั ไป.กรุงเทพฯ:วญิ ชู น.
ทวเี กียรติ มีนะกนษิ ฐ.(๒๕๕๑).ประมวลกฎหมายอาญา ฉบบั อา งองิ .กรุงเทพฯ:วญิ ูชน.
สมศักดิ์ เอ่ียมพลับใหญ.(๒๕๕๗).เกรด็ กฎหมายอาญา.กรงุ เทพฯ:บัณฑติ อักษร.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชานิติศาสตร.(๒๕๔๐).เอกสารการสอนชุดวิชา
กฎหมายอาญา ๑ ภาคบทบญั ญัติทัว่ ไป.นนทบุรี:โรงพิมพมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช.
สหรฐั กิติศุภการ.(๒๕๕๗).หลักและคาํ อธบิ ายกฎหมายอาญา.กรุงเทพฯ:อมรนิ ทรพ รนิ้ ติ้ง
แอนด พบั ลชิ ช่ิง
หยุด แสงอุทัย.(๒๕๕๕).กฎหมายอาญาภาค ๑.กรุงเทพฯ:สํานักพิมพมหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร
วิเชียร ดิเรกอุดมศักดิ์.(๒๕๕๓).กฎหมายอาญาพิสดาร เลม ๑.กรุงเทพฯ : แสงจันทร
การพมิ พ.

๑๓๕

º··èÕ ÷

¤ÇÒÁ¼Ô´à¡ÕèÂÇ¡ºÑ ¡Òû¡¤Ãͧ

๑. วัตถปุ ระสงคก ารเรยี นรปู ระจาํ บท

เพอื่ ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจเขา ใจถงึ เรอ่ื งความผดิ เกย่ี วกบั การปกครอง ในเรอื่ งทเี่ กย่ี วกบั
และความผดิ ตําแหนงหนาท่ีราชการ

๒. สว นนาํ

ในบทน้ีนักเรยี นนายสิบตํารวจจะไดศ กึ ษา ๒ สว นดวยกันคือ
๒.๑ ความผิดเกย่ี วกบั การปกครอง

ความผิดเก่ียวกบั เจา พนกั งาน มาตรา ๑๓๖ ถงึ มาตรา ๑๓๙
๑. ดูหม่นิ เจาพนกั งาน มาตรา ๑๓๖
๒. แจงความเท็จตอเจา พนักงาน มาตรา ๑๓๗
๓. ตอ สขู ัดขวางเจาพนกั งาน มาตรา ๑๓๘
๔. ขม ขนื ใจเจาพนกั งาน มาตรา ๑๓๙
๒.๒ ความผิดเกย่ี วกับตาํ แหนง หนา ท่รี าชการ
ความผดิ เกย่ี วกับเจา พนกั งานปฏบิ ตั ิหนา ที่โดยมชิ อบและโดยทุจริต
๑. เจาพนกั งานมีหนา ทซี่ ื้อ ทํา จัดการหรือรกั ษาทรัพย ตามมาตรา ๑๔๗
๒. ผใู ดเปนเจา พนักงาน ใชอ าํ นาจในตําแหนงโดยมิชอบ ตามมาตรา ๑๔๘
ความผิดตอ ตาํ แหนงหนาทร่ี าชการ และการละเวนการปฏบิ ตั หิ นาที่
๑. เจาพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด หรือสมาชิก
สภาเทศบาล เรยี ก รบั หรือยอมจะรบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนอ น่ื ใด ตามมาตรา ๑๔๙,
๒. เจาพนกั งานปฏบิ ตั ิหรอื ละเวนการปฏบิ ตั ิหนาท่ีโดยมิชอบ ตามมาตรา ๑๕๗
ความผิดตอ ตาํ แหนงหนาทร่ี าชการ และการปลอมเอกสาร
๑. การทําเอกสาร กรอกขอความลงในเอกสารหรือดูแลรักษาเอกสาร กระทาํ
การปลอมเอกสาร ตามมาตรา ๑๖๑
๒. การรับรองเอกสารตามมาตรา ๑๖๒

๓. เน้ือหา

๑๓๖

¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ㹤ÇÒÁ¼´Ô ·èàÕ ¡èÕÂǡѺ¡Òû¡¤Ãͧầ‹ Í͡໚¹ ò ʋǹ
¤ÇÒÁ¼´Ô μ‹Íà¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹

เดิมเมื่อยังใชกฎหมายลักษณะอาญา ศาลฎีกาเคยวินิจฉัยใหความหมายของคําวา
เจาพนักงาน หมายถึง ผูที่ไดรับการแตงตั้งโดยทางการของรัฐบาลไทยใหปฏิบัติราชการไทยโดยปกติ
จะถือวาผูใดเปนเจาพนักงาน ผูน้ันจะตองเปนขาราชการตามกฎหมาย เวนแตจะมีกฎหมายบัญญัติ
ไวเปนพิเศษใหเปนเจาพนักงาน ตอมามีการประกาศใชประมวลกฎหมายอาญา กฎหมายก็มิได
บัญญตั ิบทนยิ ามของคาํ นีไ้ ว แตต ามท่เี ขาใจกนั ในปจ จุบัน คาํ วา เจา พนักงานมคี วามหมายถึง บุคคลที่
กฎหมายบัญญัติไว โดยเฉพาะวาเปนเจาพนักงาน และบุคคลที่ไดรับการแตงต้ังใหปฏิบัติหนาท่ีราชการ
ไมวา เปนประจาํ หรือชัว่ คราว และไมวาจะไดร ับประโยชนตอบแทนจากรัฐหรอื ไม

จากความหมายขา งตน เจา พนกั งาน หมายถงึ บคุ คล ๒ จาํ พวก คอื (๑) บคุ คลทกี่ ฎหมาย
บญั ญัติไวโ ดยเฉพาะวาเปนเจาพนกั งาน และ (๒) บคุ คลทีไ่ ดร บั แตง ตง้ั ใหปฏบิ ตั ิหนา ทร่ี าชการ ไมวา
ประจําหรอื ครงั้ คราว และไมวาจะไดค าตอบแทนหรือไม

¡. º¤Ø ¤Å·¡èÕ ®ËÁÒºÞÑ ÞÑμÔäÇŒâ´Â੾ÒÐÇÒ‹ ໚¹à¨ŒÒ¾¹¡Ñ §Ò¹
กลาวคือ มีกฎหมายระบุไวเปนพิเศษวาใหบุคคลใดเปนเจาพนักงาน เชน พ.ร.บ.

คณะสงฆ พ.ศ.๒๕๐๕ ใหเจาอาวาสและไวยาวัจกร เปนเจาพนักงาน, พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖
ใหพนักงานเทศบาลเปนเจาพนักงาน, พ.ร.บ.ปองกันภัยทางอากาศ พ.ศ.๒๔๘๒ ระบุใหบุคคล
ทรี่ ฐั มนตรกี ลาโหม แตง ตง้ั ใหท ําหนา ทตี่ าํ รวจ หรอื ดบั เพลงิ หรอื กจิ การอน่ื ใด เปน เจา พนกั งาน นอกจากน้ี
ยังมกี ฎหมายอืน่ ๆ อีกเปนจาํ นวนมากทีบ่ ญั ญตั ไิ วเปน พเิ ศษในลักษณะนี้ เชน พ.ร.บ.การทะเบยี นราษฎร,
พ.ร.บ.ยาสูบ, พ.ร.บ.ทะเบยี นพาณชิ ย, กฎหมายท่ีดิน เปน ตน

¢. ºØ¤¤Å·äèÕ ´ŒÃºÑ á싧μé§Ñ ãË»Œ ¯ÔºμÑ ËÔ ¹ŒÒ·èÕÃÒª¡Òà äÁÇ‹ ‹Ò»ÃÐจาํ ËÃÍ× ªèÇÑ ¤ÃÒÇ
ผูท่ีไดรับการแตงตั้งใหปฏิบัติราชการโดยทั่วไป ก็คือขาราชการ ฉะน้ัน เจาพนักงาน

ในความหมายนี้ก็คือขาราชการน้ันเอง จะเปนขาราชการฝายใดๆ ก็ได เชน ขาราชการพลเรือน
ขาราชการตุลาการ ขา ราชการทหาร ตํารวจ เปนตน แตจะตอ งไดร ับการแตงตั้งโดยถูกตอ งตามหลักเกณฑ
ท่ีบัญญัติไวในกฎหมาย ซ่ึงวาดวยการแตงตั้งขาราชการดาํ รงตําแหนง กฎหมายเหลานี้ก็ไดแก
พ.ร.บ.ระเบียบขาราชการพลเรือน, พ.ร.บ.ระเบียบขาราชการตุลาการ, พ.ร.บ.ระเบียบขาราชการตาํ รวจ
เปนตน แตมิใชวาทุกคนที่ไดรับการแตงตั้งใหปฏิบัติราชการแลว จะเปนขาราชการและถือวาเปน
เจาพนักงานไปท้ังหมด การแตงตั้งใหปฏิบัติราชการในอันที่จะทําใหผูไดรับการแตงตั้งมีฐานะ
เปน ขา ราชการนน้ั จะตอ งเปน การแตง ตั้งตามหลกั เกณฑท ่ีกฎหมายบัญญตั ิไว

๑๓๗

ñ. ´ÙËÁ¹Ôè à¨ÒŒ ¾¹Ñ¡§Ò¹
ÁÒμÃÒ ñóö ¼ÙŒã´´ÙËÁÔè¹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹ «èÖ§¡ÃÐทํา¡ÒÃμÒÁ˹ŒÒ·Õè ËÃ×Íà¾ÃÒÐä´Œ

¡ÃÐทํา¡ÒÃμÒÁ˹Ҍ ·ÕèμÍŒ §ÃÐÇÒ§â·Éจํา¤Ø¡äÁ‹à¡¹Ô ˹è§Ö »‚ ËÃÍ× »ÃѺäÁà‹ ¡Ô¹Êͧ¾¹Ñ ºÒ·ËÃÍ× ·Ñ§é จาํ ·é§Ñ »ÃѺ
ͧ¤»ÃСͺ¢Í§¤ÇÒÁ¼Ô´ ÁÕ´§Ñ ¹éÕ
๑. ดหู ม่นิ
๒. เจาพนกั งานซ่งึ กระทาํ การตามหนาที่ หรือเพราะไดก ระทาํ ตามหนาท่ี
๓. เจตนา
“´ÙËÁèÔ¹” หมายถึง การแสดงความดูถูก เหยียดหยาม ดา หรือสบประมาทผูอื่น

ทง้ั อาจแสดงดว ยกริ ยิ าวาจา ทา ทาง และจะกระทาํ ตอ หนา หรอื ลบั หลงั กไ็ ด วสิ าร พนั ธนุ ะ (๒๕๓๗:๖๕)
เชน ใหของลบั ดานายสถานวี า เปน หมา ไมใชคน วาผใู หญบ า นวา ผใู หญบ า นหมาๆ เยด็ แม ดา ตํารวจวา
ตาํ รวจชาตหิ มา วาตาํ รวจทจี่ ับจาํ เลยวา ผมผดิ แคนี้ ใครๆ ก็ผดิ ได ทาํ ไมมาวาผม อยา งคุณจะเอาผมไป
คุณถอดเคร่อื งแบบมาชกกันตัวตอ ตวั ดีกวา หรอื รถคันนีท้ ําไมไมจ ับ คนก็แนนเหมือนกนั หรอื จะแกลง
จับเฉพาะผมคนเดียวเทาน้ัน จราจรลําพูนไมใหความยุติธรรม หรือพูดวาตํารวจเฮงซวยถือวามีอํานาจ
ก็ทําไปตามอํานาจ จะตองใหเจอมีดเสียบบาง หรือวาตํารวจวาคุณแกลงจับผม หรือพูดกับนายตํารวจ
วา ผูกองอยางมึงจะเอาอะไรกับกู น่ีหรือผูพิทักษสันติราษฎร ขูเจาพนักงานตํารวจวา อายจา ถามึงจับกู
กูจะเอามึงออก ชี้หนาปลัดอําเภอและพูดวา ปลัดอําเภอจะบาหรืออยางไร มาขัดขวาง กล่ันแกลง
เลือกทีร่ กั มกั ทช่ี ังไมใ หความยุตธิ รรม เหลานลี้ ว นเปนตวั อยา งของการดหู ม่นิ ทัง้ ส้ิน

อยา งไรกต็ าม ถอ ยคาํ ซง่ึ ไมส ภุ าพ คาํ ตชิ มตามปกตวิ สิ ยั หรอื พดู ดว ยความนอ ยเนอ้ื
ตาํ่ ใจ ไมถ อื เปน การดหู มน่ิ เชน ใชค าํ วา “มงึ -ก”ู กบั เจา พนกั งาน หรอื พดู วา ผกู องพดู อยา งนเี้ อากฎหมาย
มาพดู ไมม ศี ลี ธรรมหรอื วา ตาํ รวจวา พวกมงึ ตาํ รวจไมม คี วามหมายสาํ หรบั กู อยากจะจบั กจ็ ะมาจบั เลย
ในเมอื่ กไู มไ ดก ระทาํ ผดิ หรอื กลา วตาํ หนวิ า คณุ เปน นายอาํ เภอไดอ ยา งไร ไมร บั ผดิ ชอบหรอื พดู ทา ทาย
ตาํ รวจวา ถา แนจ รงิ ใหถ อดปน ทเี่ อวมาตอ ยกนั ตวั ตอ ตวั และถา แนจ รงิ มายงิ กนั คนละนดั กไ็ ด ไมต อ งใช
กําปน ใชป นดกี วา หรือพดู วา แครอ ยตาํ รวจโทน้นั กระจอกไมอ ยากคยุ ดวยหรอก

´ÙËÁèÔ¹¡ÑºËÁèÔ¹»ÃÐÁÒ·¹éѹμ‹Ò§¡Ñ¹ ËÁÔè¹»ÃÐÁÒ· เปนเร่ืองที่ผูกระทําใสความผูอื่น
ตอบุคคลท่ีสาม และทําใหบุคคลที่สามรูสึกดูถูกดูแคลนผูถูกใสความน้ัน คือใหช่ือเสียงในชุมชนของผูถูก
ใสความเสื่อมลง สวน´ËÙ Á¹Ôè ไมจ าํ ตองกลา วตอ บุคคลทสี่ าม และเปนเรอื่ งทผ่ี ูกระทาํ น้นั เองรสู ึกดถู กู
หรอื เกลียดชงั ผูถูกดูหม่ิน เชน การดา ดว ยคาํ หยาบคายวา ไอเ ห้ีย ไมทาํ ใหผ ูถูกดา เสียชอ่ื เสียง ไมผ ดิ
ฐานหมิน่ ประมาท แตเปนการดหู มิน่ ฉะน้นั ¡ÒôÙËÁ¹èÔ ¨Ö§ÍÒ¨äÁ‹à»š¹ËÁÔè¹»ÃÐÁÒ· áμË‹ ÁÔ¹è »ÃÐÁÒ·
ÍҨ໚¹¡ÒôÙËÁèÔ¹ä»ã¹μÑÇä´Œ ถาผูหม่ินประมาทไดกระทําการอันดูหมิ่นผูถูกหมิ่นประมาทดวย
ถอื เปนความผิดหลายบทตามมาตรา ๙๐ อยางไรกต็ าม มาตรา ๑๓๖ ตองเปน การดหู ม่นิ เจาพนักงาน
ถาเปนหมิ่นประมาทเจาพนักงานโดยไมมีลักษณะดูหมิ่นดวยก็เปนความผิดมาตรา ๓๒๖ ไมผิดตาม
มาตรา ๑๓๖

๑๓๘

®Õ¡Ò·èÕ ôôõ/òõòò จําเลยดาผเู สียหายตอหนาบุคคลอ่นื ๆ วา “ไอเหีย้ ไอสตั ว
ไอทองสุข โกงบาน โกงเมือง” คําวา ไอเห้ีย ไอสัตว เปนการดูหมิ่น แตคาํ วา ไอทองสุขโกงกิน
บา นเมอื งเปนหมิ่นประมาท

਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹«Ö觡ÃÐทํา¡ÒÃμÒÁ˹Ҍ ·Õè ËÃÍ× à¾ÃÒÐä´Œ¡ÃÐทํา¡ÒÃμÒÁ˹Ҍ ·èÕ บคุ คล
ผูถ กู ดหู มน่ิ ในทน่ี ีจ้ ะตองเปน “เจาพนกั งาน” ซงึ่ หมายถึง บคุ คลทกี่ ฎหมายบญั ญตั วิ าเปน เจาพนักงาน
และบุคคลท่ีไดรับแตงตั้งใหปฏิบัติหนาที่ราชการไมวาเปนการประจาํ หรือชั่วคราว และไมวาจะไดรับ
ประโยชนต อบแทนจากรฐั หรอื ไม แตไ มร วมถงึ ผมู อี าํ นาจหนา ทที่ างนติ บิ ญั ญตั ิ และในขณะทถ่ี กู ดหู มนิ่
บคุ คลนนั้ จะตอ งเปน เจา พนกั งานอยู มฉิ ะนนั้ จะเอาผดิ ตามมาตรานไี้ มไ ด นอกจากนน้ั ยงั จะตอ งเปน การ
ดหู มน่ิ ขณะเจาพนกั งานกระทาํ การตามหนาท่ี

¡ÃÐทํา¡ÒÃμÒÁ˹ŒÒ·Õè ไดแก การปฏิบัติการตามหนาท่ีของตน เจาพนักงาน
คนใดจะมีหนาท่ีอยางใดน้ันตองดูจากกฎหมายท่ีกาํ หนดหนาที่ของตําแหนงนั้นๆ เชน เจาพนักงาน
ศลุ กากร ยอ มมหี นา ทจี่ บั กมุ ผทู ล่ี กั ลอบนาํ สนิ คา หนภี าษเี ขา มาในประเทศ แตถ า ไปจบั กมุ คนรา ยวง่ิ ราวทรพั ย
ก็ไมเรียกวากระทาํ การตามหนาท่ีเพราะการจับกุมคนรายธรรมดาไมใชหนาที่ของพนักงานศุลกากร
ฉะนั้น การดูหมิ่นเจาพนักงานซ่ึงกระทาํ การตามหนาท่ีจะตองดูหม่ินขณะท่ีเจาพนักงานผูนั้น
กระทาํ การตามหนาที่ หรืออยรู ะหวา งการกระทาํ การตามหนาทโ่ี ดยชอบดว ยกฎหมาย

®¡Õ Ò·Õè ñ÷óõ/òõðö กลา วแกต าํ รวจจราจรผูจ บั จําเลยวา “ล้ือชุยมาก” มีความผิด
ฐานดหู มิน่ เจา พนกั งาน ซ่งึ กระทาํ การตามหนาท่ตี ามมาตรา ๑๓๖

®¡Õ Ò·Õè øöò/òõðø กลา วดหู มน่ิ เจาพนกั งานวา “ตํารวจเฮงซวย ถอื วา มอี ํานาจ
กท็ าํ ไปตองใหเจอดบี า ง” มคี วามผดิ ตามมาตรา ๑๓๖

®¡Õ Ò·Õè òòôö/òõñõ มีผูรองทุกขตอพนักงานสอบสวนวา จําเลยบุกรุกที่ดิน
พนกั งานสอบสวนจงึ มหี นงั สอื ถงึ นายอาํ เภอขอใหส งั่ พนกั งานทด่ี นิ ไปรว มตรวจพสิ จู น นายอาํ เภอสงั่ ให
พนักงานที่ดินไปรวมตรวจพิสูจน นายอาํ เภอสั่งใหผูเสียหายซ่ึงเปนเสมียนที่ดินอาํ เภอไปทาํ การรังวัด
สอบเขต การที่ผูเสียหายไปทําการรังวัดที่ดินตามคําสั่งของนายอาํ เภอยอมไดชื่อวาเปนเจาพนักงาน
กระทาํ การตามหนา ที่ เมอ่ื จําเลยกลา วดหู มนิ่ ผเู สยี หายวา “พนกั งานทดี่ นิ หมาๆ ชอบกนิ แตเ บย้ี ” จาํ เลย
จงึ มคี วามผดิ ฐานดหู ม่ินเจา พนกั งานซึ่งกระทาํ การตามหนา ที่

®Õ¡Ò·Õè óñö/òõñ÷ ขอเท็จจริงไดความวา จาสิบตาํ รวจเขาทําการจับกุมจาํ เลย
ในขอ หาบกุ รกุ จําเลยกลา วตอ จา สบิ ตาํ รวจวา “ไอจ า ถา มงึ จบั กู กจู ะเอามงึ ออก” ศาลฎกี าวนิ จิ ฉยั วา ถอ ยคาํ
ดังกลาวเปนถอยคําท่ีกลาวสบประมาท เหยียดหยาม ขมขูเจาพนักงานตํารวจผูน้ันมิใหจับกุมจาํ เลย
อนั เปนการดหู มนิ่ เจา พนกั งานผกู ระทําการตามหนา ที่

®¡Õ Ò·Õè ñõôñ/òõòò ขอเท็จจรงิ ไดค วามวา เจาพนกั งานตํารวจไดจบั กมุ จาํ เลย
ตามหนาท่ีในขอหาวางคานเหล็กกีดขวางทางเทา และใหจาํ เลยไปสถานีตาํ รวจ พอไปถึงสถานีตาํ รวจ
จําเลยไดกลาววา “ล้ือจับแบบน้ีแกลงจับอั๊วน่ีหวา ไมเปนไร ไวเจอกันเม่ือไรก็ได” เปนการดูหม่ินเจาพนักงาน
ซึ่งกระทําการตามหนา ที่

๑๓๙

®Õ¡Ò·Õè ôñõ/òõòø จําเลยกลาวกับตาํ รวจผูจับจําเลยวา “ถาแนจริงใหถอดปน
ทเี่ อวมาตอ ยกนั ตวั ตอ ตวั และถา แนจ รงิ มายงิ กนั คนละนดั กไ็ ดไ มต อ งใชก าํ ปน ใชป น ดกี วา ” เปน คาํ กลา ว
ทไ่ี มส ภุ าพและไมส มควรเทา นน้ั ขณะกลา วจาํ เลยไดถ อดกางเกงขายาวออกเหลอื แตก างเกงใน ถอ ยคาํ
และการกระทาํ ไมเปนการดหู มนิ่ เจาพนักงาน ซง่ึ กระทาํ การตามหนา ท่ี

®Õ¡Ò·èÕ ôòð/òõòù พลตาํ รวจ ม. เรยี กใหร ถแท็กซ่ีทีจ่ าํ เลยนั่งมาหยดุ เพื่อตรวจ
จําเลยพูดวาดานจริงหรือผี ม. พูดวาดานจริง และชี้ไปที่ ร.ต.ท. ป. โจทกรวมวาเปนหัวหนาดาน
หากสงสยั สอบถามหัวหนา ดา นได จาํ เลยพูดวา แค ร.ต.ท.นัน้ กระจอกไมอ ยากคยุ ดว ย ดงั น้ีเปนคาํ พดู
ไมส ุภาพหาใชค าํ ดา หรอื สบประมาทเหยยี ดหยามโจทกร ว ม จําเลยไมม ีความผิด

´ÙËÁÔè¹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹à¾ÃÒÐä´Œ¡ÃÐทํา¡ÒÃμÒÁ˹ŒÒ·Õè กรณีนี้เปนการดูหมิ่นในขณะที่
เจาพนักงานมิไดกระทําการตามหนาท่ี แตการดูหมิ่นมีสาเหตุมาจากการที่เจาพนักงานไดกระทําการ
ตามหนาท่ีมาแลว เชน โกรธตํารวจทจ่ี บั ลกู ชายของตนไป จงึ ตามไปวาตํารวจท่บี าน เปน ตน

®Õ¡Ò·Õè ññøó/òõðó ตํารวจจับจําเลยขณะเลนการพนัน จําเลยพูดวา ตํารวจ
ลวงเอาเงินสวนตัวในกระเปาของจําเลยไป พูดซํ้ากันหลายครั้ง ดังนี้ เปนการดูหม่ินเจาพนักงานซึ่งกระทําการ
ตามหนา ทีห่ รือเพราะกระทําการตามหนาท่ี

®¡Õ Ò·èÕ ñ÷òø/òõðö ตํารวจกับผูใหญบานรวมกันไปจับกุมจําเลย ในขอหาวา
กระทําความผิดจําเลยกลาวตอผูใหญบานวา “อ๊ัวไมไวใจล้ือ เด๋ียวลื้อจะเอาของผิดกฎหมายใสอั๊ว” ดังน้ี
เพราะเปน การดหู ม่ินเจาพนักงาน

®Õ¡Ò·èÕ ùòð/òõðø จําเลยไปพูดประกันผูตองหาเปนการสวนตัว ขณะ
พนกั งานสอบสวนกาํ ลงั กินขา วที่บานพกั จงึ ไมใชเวลาปฏบิ ัติราชการตามหนา ท่ี จําเลยดาพนักงานสอบสวน
ถอื ไมไดว าจาํ เลยดหู มนิ่ เจาพนกั งานเพราะไดก ระทาํ การตามหนา ท่ี

การดหู มน่ิ เจา พนกั งานตามมาตรา ๑๓๖ นี้ ตอ งเปน เรอื่ งเจาพนกั งานกระทาํ การ
ตามหนา ที่ หรอื เพราะไดกระทาํ ตามหนา ที่ ถาเปนการนอกหนาท่หี รือเปน เร่อื งสว นตัว กไ็ มเขา มาตราน้ี

®¡Õ Ò·Õè òññó/òõñö การท่ีกํานันใชใหบุคคลอ่ืนไปตามบุตรสาวจําเลยมาไกลเกลี่ย
แบง ทรพั ยส นิ กนั ระหวา งสามภี รรยา มใิ ชเ ปน การปฏบิ ตั ติ ามหนา ทขี่ องกาํ นนั ตามพระราชบญั ญตั ลิ กั ษณะ
ปกครองทอ งท่ี จาํ เลยกลา ววาจาดูหม่ินกํานัน ไมเ ปนความผดิ ฐานดูหมนิ่ เจา พนักงาน

®¡Õ Ò·èÕ ó÷ô/òõñù นายตาํ รวจไมรบั แจง ความเร่ืองสุนัขกดั หลานจาํ เลย จําเลย
กลาวตอนายตํารวจวา ทําอยางน้ีไมยุติธรรม ดังนี้เปนการดูหม่ินเหยียดหยาม ไมใชตอวาแสดง
ความคิดเห็นโดยสุจริตเพ่ือความชอบธรรมปองกันสวนไดเสียตามคลองธรรมเปนความผิดตาม
ป.อ. มาตรา ๑๓๖

®¡Õ Ò·Õè õðñ/òõó÷ จําเลยจอดรถกีดขวางการจราจรและถูกผูเสียหาย ซึ่งกําลัง
ปฏิบัติหนาท่ีตํารวจจราจรทําการจับกุม จําเลยไดกลาวตอผูเสียหายวา เปนนายจับอยางไรก็ได และ
เรียกทาํ เย็ดแม ดังน้ี ทจี่ ําเลยกลาววา เปน นายจับอยางไรก็ได เปนเพียงคํากลาวในทํานองตัดพอตอวา
ไมไดกลาวหาวาผูเสียหายกลั่นแกลง จึงไมเปนการดูหม่ินผูเสียหาย แตที่จาํ เลยกลาววา เรียกทาํ เย็ดแม

๑๔๐

เปนคําดาอันเปนการดูหม่ินผูเสียหายแลว จาํ เลยจึงมีความผิดฐานดูหมิ่นเจาพนักงานซ่ึงปฏิบัติการ
ตามหนา ท่ตี าม ป.อ.มาตรา ๑๓๖

®¡Õ Ò·èÕ òòõö/òõó÷ จาํ เลยวาผูเสียหายท่ี ๑ วาเปนผูหญิงตาํ่ ๆ ตอหนาผูอื่น
ซ่ึงเปนคาํ พูดท่ีเหยียดหยามผูเสียหายที่ ๑ วาเปนผูหญิงไมดีมีศักด์ิศรีตา่ํ กวาผูหญิงทั่วไปเปนการดูหม่ิน
ผเู สียหายท่ี ๑ ซ่งึ หนา หาใชเปนคําพูดในเชิงปรารภปรบั ทกุ ขไม

ผูเสียหายท่ี ๒ เปนเจาพนักงานตํารวจมีหนาที่ในการปราบปรามสืบสวนและจับกุม
ผกู ระทําผิดทางอาญา หาไดเ ก่ยี วกับกรณีท่ีมบี ุคคลพิพาทกนั ในทางแพง ไม แมคกู รณีนาํ เร่อื งทางแพง
ไปแจงใหจัดการไกลเกล่ียเปรียบเทียบและผูเสียหายที่ ๒ ทําการไกลเกล่ียให และจัดการลงบันทึก
ประจําวันไวเปนหลักฐานก็หาใชเปนหนาที่ของเจาพนักงานตาํ รวจโดยตรงตามกฎหมายไม คงเปน
แตเพียงอัชฌาสัยในฐานะเปนเจาพนักงานตาํ รวจผูรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชนเทานั้น
การกระทําของผเู สยี หายท่ี ๒ จงึ มใิ ชเ ปน การปฏบิ ตั ติ ามหนา ทขี่ องเจา พนกั งาน แมจ ําเลยไดพ ดู ถอ ยคาํ วา
“มนั กเ็ ขาขา งกัน” กไ็ มเ ปน ความผดิ ฐานดูหม่นิ เจา พนักงานซง่ึ กระทาํ การตามหนาที่

®¡Õ Ò·Õè ôóò÷/òõôð การกระทาํ อันเปนองคประกอบสําคัญประการหนึ่งของ
ความผดิ ตาม ป.อ.มาตรา ๑๓๖ คือ “ดูหม่ิน” ซึ่งหมายถงึ การดา ดถู ูกเหยียดหยาม หรอื สบประมาท
ใหอบั อาย ถอ ยคําท่จี าํ เลยกลา วตอสิบตํารวจตรี ข.วา “แนจ ริงมึงถอดเสือ้ มาตอ ยกับกเู ลย” เห็นไดว า
เปนการกลาวทาทายใหสิบตาํ รวจตรี ข. ออกมาตอสูกับจาํ เลย อันเปนเพียงคํากลาวท่ีไมสุภาพ
และไมสมควร ยังไมถึงข้ันท่ีพอจะใหเขาใจวาจําเลยมีความมุงหมายท่ีจะดา ดูถูกเหยียดหยาม
หรือสบประมาทใหสิบตาํ รวจตรี ข. อับอาย การกระทาํ ของจาํ เลยจึงไมเปนความผิดตาม
ป.อ.มาตรา ๑๓๖

à¨μ¹Ò เจตนาในการกระทําผิดตามมาตราน้ี คอื เจตนาตามมาตรา ๕๙ วรรค ๒ และ
ผูดูหม่ินตองรูขอเท็จจริงอันเปนองคประกอบของความผิดดวย คือ ตองรูวาผูที่ตนดูหมิ่นนั้นเปน
เจาพนักงานซ่ึงกระทาํ การตามหนาท่ีหรือไดกระทาํ การตามหนาท่ีตามมาตรา ๕๙ วรรค ๓ มิฉะน้ัน
ไมถือวาผูกระทํามีเจตนา เชน แดงเปนนายตํารวจกลับจากแตงงานเกิดโตเถียงกับดาํ โดยดาํ ไมรูวา
แดงเปนนายตาํ รวจ แมด าํ จะกลา วคําพดู ดหู มิ่นแดงกไ็ มไ ดผ ิดตามมาตรานี้

ò. ᨧŒ ¤ÇÒÁà·¨ç μÍ‹ ਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹
ÁÒμÃÒ ñó÷ ¼ÙŒã´á¨Œ§¢ŒÍ¤ÇÒÁÍѹ໚¹à·ç¨á¡‹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹ «èÖ§ÍÒ¨ทําãËŒ¼ÙŒÍ×è¹

ËÃ×Í»ÃЪҪ¹àÊÕÂËÒÂμŒÍ§ÃÐÇÒ§â·Éจํา¤Ø¡äÁ‹à¡Ô¹Ë¡à´×͹ ËÃ×Í»ÃѺäÁ‹à¡Ô¹Ë¹Öè§ËÁ×蹺ҷ ËÃ×Í
·Ñ§é จํา·Ñ駻úÑ

มาตราน้ีเปนเรื่องการแจงความเท็จตอเจาพนักงานเปนการแจงเท็จในเร่ืองทั่วๆ ไป
ไมวา จะเกย่ี วกับเรือ่ งทางแพง อาญา ครอบครัว ทดี่ ิน หรอื เร่ืองเก่ียวกับวนิ ยั ขาราชการ เชน แจง กับ
เจาหนาที่วาเปนโสด ท้ังท่ีแตงงานแลว เพ่ือจดทะเบียนสมรสใหม หรือแจงวาคูสมรสเปนคนไทย
แตความจริงเปนคนตางดาวเพ่ือรับโอนที่ดิน เปนตน มาตราน้ีจึงเปนบททั่วไป การแจงขอความเท็จ

๑๔๑

ยังเปนความผิดตามบทเฉพาะอีกได เชน ถาเกี่ยวกับคดีอาญาก็ผิดตามมาตรา ๑๗๒ หรือมาตรา
๑๗๓ ฟอ งคดีอาญาอันเปนเทจ็ เบกิ ความเท็จ ทาํ หลักฐานเท็จ นาํ สืบพยานเทจ็ หรือแมแตก ารบอก
ชื่อเท็จ เหลานี้ กฎหมายบัญญัติใหเปนความผิดโดยเฉพาะ ซึ่งศาลฎีกาถือวาเม่ือการแจงขอความเท็จนั้น
ผิดตามบทเฉพาะแลว กไ็ มผดิ ตามบททว่ั ไปคือ มาตรา ๑๓๗ อกี

ͧ¤»ÃСͺ¢Í§¤ÇÒÁ¼´Ô Á´Õ ѧ¹Õé
๑. แจง ขอ ความอันเปนเท็จ
๒. แกเจาพนกั งาน
๓. ซงึ่ อาจทาํ ใหผูอื่นหรอื ประชาชนเสยี หาย
๔. เจตนา
คาํ ͸ԺÒÂ
ᨌ§¢ŒÍ¤ÇÒÁÍѹ໚¹à·ç¨ การแจงขอความคือการทําใหผูอ่ืนไดทราบขอความนั้น
ไมวาจะโดยพูด เขียน หรือกิริยาทาทางใดๆ และไมวาจะเปนการนําขอความไปแจงเอง หรือแจง
ใหทราบเม่ือถูกถามก็ตาม แตขอความที่แจงนั้นจะตองเปนขอความอันเปนเท็จ คือ เปนขอเท็จจริง
ในอดตี หรอื ปจ จบุ นั ทไ่ี มเ ปน ความจรงิ ถา เปน ขอ เทจ็ จรงิ ในอนาคตกไ็ มใ ชค วามเทจ็ เพราะยงั ไมเ กดิ ขน้ึ
ไมอ าจจะรูไดว าเท็จหรอื จริง
การแจง คือ การทําใหทราบ จะดวยการพูด การเขียน การยื่นเอกสาร หรือวิธี
อื่นใด (การแจง อาจแจงดว ยตนเองหรอื ถูกถามก็ได ฎีกาท่ี ๔๙๒/๒๕๐๙)
ขอ ความอันเปนเท็จ หมายความวา ขอความทนี่ าํ ไปแจงไมตรงกบั ความจรงิ และ
ขอ ความเทจ็ นนั้ จะตอ งเปน เรอ่ื งในอดตี หรอื ปจ จบุ นั ถา ขอ ความทกี่ ลา วถงึ อนาคตนน้ั เหน็ ไดว า เปน เรอื่ ง
ท่ยี งั ไมเ กดิ ขึน้ ไมแ นนอน ไมถอื วา แจง ความเท็จ
การแจงความจรงิ บางสวน เทจ็ บางสว น กเ็ ปนกรณแี จง ขอ ความเท็จเชน กนั
®¡Õ Ò·èÕ ñùñö/òõðõ การท่ีจําเลยยืมเงินโจทกและสลักหลังเช็คมอบใหโจทกไว
เพื่อใชหน้ี แตกลับไปแจงขอความอันเปนเท็จตอเจาพนักงานวาเช็คหายไปนั้น เห็นไดชัดวาเปนการเสียหาย
ตอโจทก
®Õ¡Ò·èÕ òöñô/òõñø ชายมีภริยาจดทะเบียนอยูแลว จดทะเบียนสมรสกับหญิง
อื่นอีก โดยแจงกับนายทะเบียนวาไมเคยสมรสมากอน เปนความผิดฐานแจงความเท็จผิดตาม
มาตรา ๑๓๗
®¡Õ Ò·èÕ ñõùô/òõòò ก. ปลกู บานไวกอนแลว ตอ มาขายฝากให ข. แลว ก. ขอ
ปลูกสรางบานเปนอุบายเพื่อขอเลขบานใหม และไดรับเลขบานใหมไปเปนอุบายเพื่อขอเลขบานใหม
และไดรับเลขบานใหมไป เปน การแจงความเทจ็
®Õ¡Ò·Õè ñõôô/òõòô จําเลยแจงขอความตอเจาพนักงานตํารวจผูขอตรวจคน
ใบอนุญาตขับขี่รถยนตของจําเลยวาใบอนุญาตหาย พรอมกับแสดงสําเนาใบแจงความ ขอเท็จจริง

๑๔๒

ไดค วามวา จรงิ ๆ แลว ใบอนุญาตขับรถของจําเลยไมหาย หากแตถูกเจา พนักงานตาํ รวจยดึ ไวกอนแลว
การกระทําของจาํ เลยผดิ ฐานแจง ความเท็จ เพราะทาํ ใหเจา พนกั งานตาํ รวจไดร ับความเสียหายทีไ่ มไ ด
จบั กุมผูกระทาํ ความผดิ มาลงโทษ

®Õ¡Ò·èÕ òõðñ/òõò÷ สมุดเช็คของจําเลยมิไดหายไป จําเลยกลับไปแจงความ
แกพนักงานสอบสวนวา สมดุ เช็คของจําเลยหายไป ซ่ึงอาจทําใหผ เู สยี หายและพนักงานสอบสวนไดรบั
ความเสยี หาย จาํ เลยมีความผดิ ฐานแจงความเท็จตาม ป.อ.มาตรา ๑๓๗

®¡Õ Ò·Õè ôðôø/òõòø การที่จําเลยซึ่งถูกจับกุมในขอหาวาเปนคนญวนอพยพหนี
จากเขตควบคุม ใหการปฏิเสธพรอมท้ังแสดงบัตรประจําตัวประชาชนใหตํารวจดูน้ัน เปนการปฏิเสธ
ในฐานะผตู อ งหา แมขอความน้นั จะเปน เทจ็ ก็ไมเปนความผิดฐานแจง ความเทจ็ ตามมาตรา ๑๓๗

®¡Õ Ò·èÕ ñôøù/òõóð ผูกาํ กบั การตํารวจภธู รจงั หวัด ผบู ังคับการตํารวจภูธรและ
ผูบัญชาการตํารวจภูธรตางมีฐานะเปนเจาพนักงานมีอํานาจหนาที่ที่จะดําเนินการทางวินัยตอโจทก
ซึ่งเปนผูอยูใตบังคับบัญชา ฉะน้ัน หากขอความในหนังสือท่ีจําเลยรองเรียนตอผูบังคับบัญชา
ของโจทกดงั กลา วเปน เท็จ จาํ เลยยอมมคี วามผิดฐานแจงความเทจ็ ตาม ป.อ.มาตรา ๑๓๗

®Õ¡Ò·èÕ õøò/òõóò จําเลยนําบานของผูอื่นมาขายใหโจทก โดยอางวาเปนของ
จาํ เลย โจทกจงึ ไปแจงความตอ พนักงานสอบสวน มีสาระสําคัญวา สญั ญาซ้อื ขายบา นดงั กลา วลม เลกิ
และจําเลยจะคืนเงินคาซื้อบานใหแกโจทก ตอมาจําเลยไปแจงความตอพนักงานสอบสวนวาโจทก
แจง ความเทจ็ กลา วหาวา จาํ เลยฉอ โกงโจทก ซงึ่ ขอ สาระสาํ คญั ไมต รงกบั ขอ ความทโ่ี จทกแ จง ไวเ ปน เหตุ
ใหโจทกถูกจบั กมุ ดําเนนิ คดี ดังน้ี จาํ เลยมคี วามผิดฐานแจงความเท็จ

®¡Õ Ò·Õè òöôñ/òõóò แจงตอผูใหญบานวาบุตรเกิดที่รอยเอ็ด ความจริงเกิดที่
พระนครศรีอยธุ ยา เปนแจง ความเทจ็

®Õ¡Ò·Õè ÷óô/òõóó จาํ เลยที่ ๑ เปน ชาวญวนอพยพ ไมม สี ญั ชาตไิ ทยและไมเ คย
มีบัตรประจําตัวประชาชน ไดแจงความเท็จตอพนักงานสอบสวนวาบัตรประจําตัวประชาชนหาย
แลวนําหลักฐานท่ีพนักงานสอบสวนออกใหไปยื่นคําขอมีบัตรประจําตัวประชาชน โดยแจงขอความเท็จ
ตอเจาพนักงานเขตบางกอกนอยวาตนมีสัญชาติไทย และแจงใหเจาพนักงานจดขอความอันเปนเท็จ
ลงในบัตรประจําตวั ประชาชนอันเปน เอกสารราชการ เพ่ือใชเปน พยานหลกั ฐานในการแสดงตวั บคุ คล
ซ่ึงเปนการกระทําในวันเดียวกัน เวลาตอเนื่องกัน โดยมีเจตนาเดียวกันเพื่อใหทางราชการออก
บัตรประจําตัวประชาชนให ถือไดวาเปนการกระทํากรรมเดียวผิดตอประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๑๓๗, ๒๖๗ และพระราชบญั ญัติบัตรประจาํ ตวั ประชาชน พ.ศ.๒๕๒๖ มาตรา ๑๔ ตอ งลงโทษ
ตามพระราชบญั ญตั บิ ตั รประจาํ ตวั ประชาชนฯ ซงึ่ เปน บทหนกั ทส่ี ดุ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๐

®¡Õ Ò·Õè ñòó÷/òõôô ขณะจําเลยจดทะเบียนสมรสกับ ส. จําเลยไมมีคูสมรส
เพราะจาํ เลยจดทะเบยี นหยา กบั ค. กอ นหนา นน้ั การจดทะเบยี นสมรสของจาํ เลยกบั ส. จงึ ไมเ ปน การ
ฝาฝนเงื่อนไขการสมรส ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๒๕ แมจําเลยจะแจงตอนายทะเบียนวาจําเลย

๑๔๓

เคยสมรสแตไ มไ ดจ ดทะเบียนสมรส ทัง้ ๆ ทค่ี วามจรงิ เคยจดทะเบยี นสมรสกบั ค. กม็ ีผลอยางเดยี วกนั
วาจําเลยไมมีคูสมรส ในขณะจดทะเบียนสมรสกับ ส.นั่นเอง การที่นายทะเบียนจดทะเบียนสมรสให
โดยเช่ือวาจําเลยไมเ คยจดทะเบยี นสมรสมากอ น จึงไมอ าจทําใหผอู ่ืนหรอื ประชาชนเสียหาย และนา
จะเกดิ ความเสยี หายแกผ อู น่ื หรอื ประชาชน การกระทาํ ของจาํ เลยจงึ ไมเ ปน ความผดิ ตามมาตรา ๑๓๗

®¡Õ Ò·Õè öðõ/òõôö จําเลยแจงความอันเปนเท็จแก ว.เจาพนักงานผูมีอํานาจ
หนาที่ในการออกบัตรประจําตัวประชาชน โดยกรอกขอความเท็จในแบบคําขอมีบัตรประจําตัว
ประชาชน และเสนอ ส. พนกั งานเจา หนา ทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบเพอื่ ใหด าํ เนนิ การออกบตั รประจาํ ตวั ประชาชน
อนั เปน เอกสารราชการใหแ ก ง. และ ก. โดยประการที่นาจะเกิดการเสียหายแก ว. และ ส. ซงึ่ เปน
พนักงานเจาหนาที่ผูอ่ืน และประชาชน เปนการกระทําผิดโดยมีเจตนาชวยเหลือบุคคลสองคนให
ไดรับบัตรประจําตัวประชาชน แมจะกระทําในวันเดียวกัน สถานท่ีเดียวกัน แตเจตนาในการกระทําผิด
เปนคนละสวนแยกตางหากออกจากกัน การกระทําของจําเลยจึงเปนความผิดหลายกรรมตางกัน
มีความผิดฐานแจงความเทจ็ แจง ใหเจาพนกั งานจดขอความอนั เปน เท็จ ผิดตามมาตรา ๑๓๗

®Õ¡Ò·èÕ õøö/òõðô คณะกรรมการของมัสยิดซึ่งเปนนิติบุคคล ไดประชุมลงมติ
ใหจําเลย ซึ่งเปนกรรมการผูหน่ึงไปแจงตออําเภอวา เปนเจาของครอบครองท่ีดินและสิ่งปลูกสราง
ของมัสยิดเปนการชว่ั คราว เพอื่ ความสะดวกที่จะใหเ ชาและกนั คนอืน่ ถือสิทธติ อ ไป จําเลยกน็ ําความ
ไปแจงตอปลัดก่ิงอําเภอวา จําเลยเปนเจาของ การแจงของจําเลยเชนนี้ไมมีเจตนาทุจริตคิดจะเอาที่พิพาท
หรือผลประโยชนอันเกิดจากท่ีพิพาทเปนของตน หากแตเปนการกระทําท่ีรูกันระหวางจําเลยกับ
คณะกรรมการมัสยดิ มัสยิดและผูใดไมไ ดเสยี หายหรอื อาจเสยี หายแตป ระการใด ไมผิดฐานแจงความเทจ็

®Õ¡Ò·Õè ññòô/òõð÷ ก. นําขอความเท็จไปรองเรียนตอปลัดกระทรวงยุติธรรมวา
ข. ซึง่ เปนผูพพิ ากษาไปรว มรับประทานเลยี้ งกับ ค. ซง่ึ ข. ตัดสินใหช นะคดีท่ีรานขางศาลในตอนเยน็
วันตัดสินนั้น และไดไปยืนยันใหถอยคําตออธิบดีผูพิพากษาภาคซ่ึงเปนผูบังคับบัญชาโดยตรงของ ข.
ในการสอบสวน เพื่อดําเนินการทางวินัยแก ข. เชนนี้ การกระทําของ ก. เปนการแจงขอความเท็จ
ซ่งึ อาจทําให ข. เสยี หาย เปนความผดิ ตามมาตรา ๑๓๗

®¡Õ Ò·èÕ òñôñ/òõóò จําเลยท้ังส่ียื่นคํารองตอเจาพนักงานท่ีดินขอรับมรดกท่ีดิน
มีโฉนดแลว จําเลยท้ังส่ีใหถอยคําและยืนยันรับรองบัญชีเครือญาติตอเจาหนาที่ท่ีดินท่ีสอบสวนที่ดิน
มรดกวา ผูตายมีทายาทเพียง ๔ คน คอื จาํ เลยทงั้ สี่ อนั เปนเทจ็ ซงึ่ ความจริงจําเลยทั้งสต่ี า งทราบดี
อยูแลววาผูตายยังมีบุตรสาวอีก ๒ คน เปนทายาทโดยธรรม เจาพนักงานท่ีดินจดทะเบียนโอน
กรรมสิทธิ์ท่ีดินใหแกจําเลยท่ี ๒ ถึงที่ ๔ ตามคําขอของจําเลยทั้งส่ีทําใหกรมท่ีดินและบุตรสาวอีก ๒ คน
ของผตู ายเสยี หาย จาํ เลยทงั้ สย่ี อ มมคี วามผดิ ตาม ป.อ.มาตรา ๑๓๗ และกรณเี ชน นถ้ี อื วา เปน ความผดิ สาํ เรจ็
ในวันท่กี ระทําความผิดนน้ั เอง

à¨μ¹Ò เจตนาในการกระทําความผิดตามมาตรานี้ คือ เจตนาตามมาตรา ๕๙
วรรค ๒ รวมทั้งผูกระทําจะตองรูขอเท็จจริงอันเปนองคประกอบของความผิดตามมาตรา ๕๙

๑๔๔

วรรค ๓ ดวย คือ ตองรวู าขอความท่ีตนแจง นน้ั เปน ขอความอันเปนเทจ็ และตองรวู าผูท ่ีตนแจงนัน้ เปน
เจา พนกั งาน ถา ไมร ขู อ ความทแี่ จง เปน เทจ็ หรอื รวู า เปน ความเทจ็ แตไ มร วู า ผทู ตี่ นแจง เปน เจา พนกั งาน
ก็ไมผ ดิ ตามมาตรานี้

®Õ¡Ò·èÕ ñóø/òõñõ นายจางแจงนายอําเภอวาลูกจางหนี เพราะลูกจางไมมา
ทาํ งาน ไปตามก็ไมม า เปนการแจงตามทเ่ี ชอื่ วาเปนความจรงิ ไมผ ิดตามมาตรา ๑๓๗

®¡Õ Ò·èÕ òöôñ/òõóò จําเลยแจงขอความตอ บ. ผูใหญบานซ่ึงเปนผูชวย
นายทะเบียนตําบลวาเด็กหญิง ธ. เปนบุตรของตนเกิดท่ีจังหวัดรอยเอ็ด อันเปนความเท็จ เพราะ
เดก็ หญงิ ธ. เกดิ ทจ่ี งั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา จาํ เลยกรอกขอ ความดงั กลา วในแบบฟอรม ใบรบั แจง ความ
การเกดิ เอง โดย บ. มไิ ดแ นะนาํ ขณะเกดิ เหตจุ าํ เลยเปน อาจารยใ หญย อ มทราบดวี า การกระทาํ ดงั กลา ว
เปน การแจงขอความอันเปน เทจ็ จําเลยจงึ มเี จตนาแจงขอความอนั เปนเท็จตอ เจาพนักงาน

ó. μÍ‹ ÊÙ¢Œ ´Ñ ¢ÇÒ§à¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹
ÁÒμÃÒ ñóø ¼ãÙŒ ´μÍ‹ ʌ٠ËÃÍ× ¢´Ñ ¢ÇÒ§à¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹ËÃÍ× ¼«ÙŒ §èÖ μÍŒ §ªÇ‹ Âà¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹

μÒÁ¡®ËÁÒÂ㹡Òû¯ºÔ μÑ μÔ ÒÁ˹Ҍ ·èÕ μÍŒ §ÃÐÇÒ§â·Éจาํ ¤¡Ø äÁà‹ ¡¹Ô ˹§èÖ »Ë‚ ÃÍ× »ÃºÑ äÁà‹ ¡¹Ô Êͧ¾¹Ñ ºÒ·
ËÃÍ× ·é§Ñ จํา·Ñ駻ÃѺ

¶ŒÒ¡ÒÃμÍ‹ ÊÙËŒ ÃÍ× ¢Ñ´¢ÇÒ§¹¹Ñé ä´¡Œ ÃÐทาํ â´Â㪡Œ íÒÅ§Ñ »ÃзÉØ ÃÒŒ  ËÃÍ× ¢Ù‹à¢Þç ÇÒ‹ ¨Ð㪌
กําÅѧ»ÃзØÉÌҠ¼ŒÙ¡ÃÐทําμŒÍ§ÃÐÇÒ§â·Éจํา¤Ø¡äÁ‹à¡Ô¹Êͧ»‚ ËÃ×Í»ÃѺäÁ‹à¡Ô¹ÊèվѹºÒ· ËÃ×Í·éѧจํา
·§éÑ »ÃѺ

วรรคแรกของมาตราน้ีบัญญัติการกระทําอันถือวาเปนความผิดฐานตอสูขัดขวาง
เจา พนกั งานหรอื ผูซ ่ึงตอ งชว ยเจา พนักงาน สว นวรรคทายเปน เหตุท่ีทําใหรับโทษหนกั ข้นึ

ความผิดตามวรรคแรก มีองคป ระกอบของความผดิ ดังน้ี
๑. ตอ สหู รือขัดขวาง
๒. เจาพนักงานหรือผูซ่ึงตองชวยเจาพนักงานตามกฎหมายในการปฏิบัติการ
ตามหนาท่ี
๓. เจตนา
คาํ ͸ԺÒÂ
μÍ‹ ÊÙŒËÃÍ× ¢´Ñ ¢ÇÒ§
μ‹ÍÊÙŒ ในท่ีน้ีหมายถึง การกระทําใดๆ อันเปนการขัดขืนหรือโตแยงอํานาจของ
เจา พนกั งาน แตไ มถ งึ กบั ลงไมล งมอื กบั เจา พนกั งาน เชน ตาํ รวจเขา จบั กมุ กส็ ะบดั หรอื ดน้ิ ไมย อมใหจ บั
แตไมชกหรือทาํ รายตํารวจ การตอสูจะตองไมถึงกับทาํ รายหรือใชกําลังประทุษราย เพราะถาใชกาํ ลัง
ประทุษรายก็เปนความผิดตามวรรคทายไป แตตองเปนการกระทาํ ท่ีแสดงออกมาไมใชน่ิงเฉยๆ เชน
ตํารวจจับกุมจะพาไปสถานีตาํ รวจแตไมยอมไปน่ังเฉยหรือนอนเสีย ตาํ รวจตองยกใสรถไป อยางนี้
ไมใชก ารตอสู เพราะมิไดกระทําการใดๆ อนั เปน การขดั ขนื อาํ นาจของตํารวจ
¢Ñ´¢ÇÒ§ หมายถึง การกระทําที่กอใหเกิดอุปสรรคหรือความยากลําบากในการปฏิบัติ
หนาที่ของเจาพนักงาน แตไมถึงกับขัดขืนไมใหบรรลุผลเสียทีเดียวเพียงทําใหการปฏิบัติหนาที่ของ

๑๔๕

เจาพนักงานลาํ บากข้ึน เชน ตาํ รวจไลจับ พอตนเองว่ิงขามสะพานไปแลว ก็ดึงไมกระดานทอดสะพาน
ออกไมใหตํารวจขาม หรือยิงปนขึ้นฟาขูมิใหไลจับกุมตอไป ถือเปนการขัดขวางเจาหนาที่ การขัดขวางน้ี
อาจเปนการกระทาํ ของผูอ่ืนที่สอดแทรกเขามาก็ได เชน ตํารวจไลจับแดง เขียวกั้นกลางมิใหตํารวจจับแดงได
หรือเขียวดงึ สะพานออกไมใ หต ํารวจขาม เปนตน

਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹ËÃÍ× ¼«ŒÙ èÖ§μÍŒ §ªÇ‹ Â਌Ҿ¹¡Ñ §Ò¹μÒÁ¡®ËÁÒÂ㹡Òû¯ÔºÑμÔ¡ÒÃμÒÁ˹Ҍ ·Õè
਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹ ก็หมายถึง บุคคลท่ีกฎหมายบัญญัติไวโดยเฉพาะวาเปนเจาพนักงาน
และบคุ คลทไี่ ดร บั แตง ตงั้ ใหป ฏบิ ตั หิ นา ทร่ี าชการไมว า เปน ประจาํ หรอื ชวั่ คราว และไมว า จะไดร บั ประโยชน
ตอบแทนจากรฐั หรอื ไม
¼ÙŒμŒÍ§ª‹ÇÂ਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹μÒÁ¡®ËÁÒ หมายถึง ตองมีกฎหมายบัญญัติใหบุคคลนั้นๆ
มีหนาท่ีตองชวยเจาพนักงาน เชน สารวัตรกาํ นัน ซึ่งเปนผูชวยกํานัน กฎหมายบัญญัติใหมีหนาท่ี
ตองชวยกํานัน ฉะนั้น ถาสารวัตรกํานันเขาทําการจับกุมหากผูถูกจับกุมตอสูขัดขวางสารวัตรกํานัน
ก็ถือวา เปน การตอ สูข ัดขวางผูตอ งชว ยเจา พนักงานตามกฎหมาย หากไมมีกฎหมายบัญญตั ิใหม หี นาที่
ตอ งชว ยเจา พนักงาน แตเ ปนการเขา ชว ยเจา พนักงานโดยสมัครใจเอง กม็ ใิ ชผูซ ึ่งตอ งชวยเจาพนักงาน
ตามกฎหมาย เชน ตํารวจขอแรงไก ราษฎรใหชว ยตดิ ตามขัน ถอื วา ไกเขา ชว ยเจาพนักงานโดยสมคั รใจ
ถาขันตอสูขัดขวางมิใหไกจับกุมตัว ขันไมผิดฐานตอสูขัดขวางผูซึ่งตองชวยเจาพนักงานตามกฎหมาย
เพราะในกรณนี ี้ไมม กี ฎหมายบญั ญตั ิใหราษฎรมหี นาทีต่ อ งชว ยเจา พนกั งานแตอยา งใด
การตอสูหรือขัดขวางอันจะเปนความผิดตามมาตราน้ี จะตองเปนการตอสูขัดขวาง
เจาพนักงานในการปฏิบัติการตามหนาท่ี หรือตอสูขัดขวางผูซึ่งตองชวยเจาพนักงานตามกฎหมาย
ในการปฏิบตั กิ ารตามหนาท่ี และการปฏิบัติหนาทีน่ น้ั กต็ องเปน การปฏบิ ัตหิ นา ทีโ่ ดยชอบดวยกฎหมายดว ย
®Õ¡Ò·èÕ óñù-óòð/òõòñ นายสิบตาํ รวจจับผูท่ีกาํ ลังยิงคน ผูน้ันไมยอมใหจับ
เกิดปลาํ้ กนั เปน กรณีจบั ผกู ระทําผดิ ซึง่ หนา ไมตอ งมีหมายจบั และไมตอ งแจง วาจะจับ ตาม ป.ว.อ.
มาตรา ๗๘ และมาตรา ๘๓ การตอ สจู ึงเปนความผิด
®Õ¡Ò·Õè ó÷ôó/òõòù เจาพนักงานสรรพสามิตและตํารวจคนพบของกลางซึ่งเปน
ภาชนะเคร่ืองกล่ันสําหรับทาํ สุราที่บริเวณบานจาํ เลย และสอบถามแลวจาํ เลยรับวาเปนของตน ดังนี้
ไมใ ชค วามผดิ ซง่ึ เจา พนกั งานเหน็ จําเลยกําลงั กระทําหรอื พบในอาการซงึ่ แทบจะไมม คี วามสงสยั เลยวา จาํ เลย
กระทําผดิ มาแลว สดๆ จงึ ไมใ ชค วามผดิ ซงึ่ หนา ทพ่ี นกั งานฝา ยปกครองหรอื ตํารวจจะจบั เลยไดโ ดยไมม ี
หมายจับ แมจําเลยจะตอ สขู ัดขวางการจบั กุมก็ไมม ีความผิด
®¡Õ Ò·èÕ òñòø/òõóó การท่ีจาํ เลยทั้งสามรวมกันเพ่ือความประสงคแหงการคา
หรือโดยการคา ทาํ ใหแพรหลายดวยการฉายภาพยนตรท่ีแสดงความสัมพันธทางเพศอันเปนภาพ
ลามกอนาจาร เปนความผดิ ตาม ป.อ. มาตรา ๒๘๗(๑) และการทจ่ี ําเลยทงั้ สามขดั ขวางมิใหเจาพนักงาน
ตาํ รวจงัดกุญแจเขาไปตรวจคนภายในหองซึ่งจําเลยนําเอาเคร่ืองฉายภาพยนตรและฟลมเก็บไว
การกระทําของจาํ เลยท้ังสามดังกลาวแสดงใหเห็นเจตนาวาประสงคมิใหการปฏิบัติหนาท่ีของ


Click to View FlipBook Version