The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-26 00:54:33

รายงานประจำปี2563

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

คบำทนทำ่ี 1

รายงานประจำปี 2563 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็น
ข้อมูลอ้างอิงในการติดตาม กำกับ และประเมินผลการดำเนินงานของกลุ่มงาน ภายใต้กำกับของ
สำนักงานสารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลทั่วไปของจังหวัดสุพรรณบุรี ข้อมูล
ทรัพยากรสาธารณสุข ข้อมูลสถานะสุขภาพ และผลการปฏิบัติงานสาธารณสุข ทั้งนี้รายละเอียดของ
เน้อื หาเปน็ การประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน การวิเคราะห์ เปรยี บเทียบสถติ ขิ ้อมลู ต่าง ๆ พร้อมทง้ั ไดส้ รุป
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ในการนำไปใช้เพื่อการพัฒนางาน
สาธารณสุขใหด้ ยี ิง่ ขนึ้ ตอ่ ไป

การจัดทำรายงานประจำปี 2563 ครั้งนี้ ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากเจ้าหน้าท่ี
สาธารณสุขท่ีปฏิบัติงานในกล่มุ งาน/งาน ต่าง ๆ จงึ ขอขอบคณุ มา ณ โอกาสนี้

สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี หวงั เปน็ อย่างยงิ่ ว่ารายงานประจำปี 2563 น้ีจะเป็น
ประโยชน์แก่ผู้สนใจ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการประสานและสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนา
สาธารณสุขให้เกดิ ผลดีตอ่ สขุ ภาพอนามยั และคุณภาพชีวิตของประชาชน

กลมุ่ งานพฒั นายุทธศาสตร์สาธารณสขุ
สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563

สารบญั

บทที่ 1 คำนำ หนา้
บทท่ี 2 สารบัญ ก
ขอ้ มูลทั่วไป ข
วสิ ยั ทศั น์ 1
ยทุ ธศาสตร์สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี 2
กลยทุ ธ์ 3
โครงสรา้ งการบริหารงานของสำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี 5
แผนท่ีจงั หวดั สุพรรณบรุ ี 7
เขตการปกครอง 8
ประชากรจงั หวัดสพุ รรณบุรี 9
โครงสร้างประชากรตามกลุ่มอายุและเพศ 10
ขอ้ มูลทรัพยากรสาธารณสขุ 11
การบริการสุขภาพ 12
สถานะสุขภาพ 15
PP&P Excellence 21
พฒั นาการสง่ เสริมสุขภาพ และการดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวยั 47
การดแู ลสขุ ภาพ มารดาและทารก 48
การดแู ลสุขภาพ กลมุ่ เด็กปฐมวยั 48
การดูแลสขุ ภาพ เดก็ วัยเรียนและเยาวชน 53
การดแู ลสุขภาพ กลุ่มวัยรุ่น 61
การดูแลสุขภาพ กลมุ่ วยั ทำงาน 66
การดแู ลสุขภาพ กลุ่มวัยสงู อายุ 72
สถานการณ์และสภาพปญั หาสขุ ภาพช่องปาก (Base line) 76
การดูแลสุขภาพช่องปาก กลุ่มสตรีและเดก็ ปฐมวัย 85
การดูแลสขุ ภาพชอ่ งปาก กลมุ่ วยั เรียนและวัยรุน่ 88
การดแู ลสุขภาพชอ่ งปาก กลมุ่ ผู้สูงอายุ 90
ข้อมลู สถานประกอบการ สถานบริการ และผลติ ภณั ฑ์สุขภาพ 90
การตรวจเฝ้าระวังมาตรฐานผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพและสถานบริการสขุ ภาพ 94
การดำเนินงานตรวจเฝา้ ระวังการโฆษณาผลติ ภัณฑแ์ ละบรกิ ารสุขภาพ 98
การดำเนินงานตรวจสอบเรื่องร้องเรียนด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการ 100
สขุ ภาพ 101

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563

สบาทรบทญั่ี 1

สารบญั (ต่อ)

หนา้

บทท่ี 2 PP&P Excellence 104
บทท่ี 3 การดำเนนิ งานพฒั นาคุณภาพระบบบริการอนามัยส่ิงแวดลอ้ มองค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ (Environmental Health Accreditation : EHA) 106
การดำเนินงานนโยบายสำคัญ ภายใต้โครงการ “หนา้ บ้าน อสม. น่ามอง” ใน
ตำบลจดั การคุณภาพชวี ิต จังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2563 109
งานพระราชบญั ญตั ิการสาธารณสขุ พ.ศ.2535 111
งานจดั การมลู ฝอยและมูลฝอยติดเชือ้ ของสถานบริการสาธารณสขุ ปี 2563 116
การดำเนินงานสขุ าภิบาลอาหารประจำปงี บประมาณ 2563 119
การดำเนินงานโรคจากการประกอบอาชีพและส่ิงแวดลอ้ มจังหวัดสพุ รรณบุรี
ปงี บประมาณ 2563 124
การดำเนนิ งานโรคไมต่ ดิ ต่อเร้ือรงั (NCDs) 132
กระบวนงานเชงิ ผลลัพธ์ 132
การดำเนนิ งาน NCD Clinic Plus ในโรงพยาบาล 132
การดำเนนิ งาน โรงพยาบาลเค็มนอ้ ย อรอ่ ย (3) ดี 136
การดำเนนิ งานยาเสพตดิ 132
การดำเนินงาน CBI NCDs 133
การดำเนนิ งานผู้พิการ 136
การดำเนินงานยาเสพติด 141
TO BE NUMBER ONE
Service Excellence 151
งานพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพดา้ นบรกิ ารเป็นเลศิ สาขาสุขภาพช่องปาก 154
การพัฒนาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ สาขาพฒั นาระบบบริการใหม้ ีการใชย้ าอย่าง
สมเหตุผล 162
โครงการราชทัณฑ์ ปนั สขุ ทำความดี เพ่ือชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 166
งานการพฒั นาหนว่ ยบริการปฐมภมู แิ ละเครือขา่ ยหน่วยบริการปฐมภูมิ
(PCU/NPCU) 176
การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ระดับอำเภอ (พชอ.) 188
การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบล (รพ.สต.ติดดาว) 190
การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั ( PMQA ) 191
การดำเนนิ งานการพัฒนาคุณภาพระบบบริการ 198
การดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) และ
ระบบสง่ ตอ่

รายงานประจำปสี ำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563

สารบญั

สารบัญ (ต่อ)

บทท่ี 4 People Excellence หนา้
การพฒั นาเครือขา่ ยกำลงั คนดา้ นสุขภาพ เพื่อคุณภาพชวี ติ ของประชาชน
การบรหิ ารทรัพยากรบุคคล 206
212
บทที่ 5 Governance Excellence
การบรหิ ารการเงินการคลงั กลุ่มงานบรหิ ารทว่ั ไป 219
การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 223
งานกฎหมาย 249
ความม่นั คงทางการเงินการคลงั ของหน่วยบริการ 256
กองทุนหลักประกนั สขุ ภาพในระดบั ท้องถิน่ หรือพื้นที่ 262
ความครอบคลุมการมหี ลกั ประกันสุขภาพของประชาชน 264
การพิจารณาการจา่ ยเงินชว่ ยเหลอื เบ้ืองต้นกรณผี ู้ไดร้ บั ความเสียหายจาก 265
การรกั ษาพยาบาล

รายงานประจำปีสำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563

บทที่ 1

ข้อมูลทั่วไป

ขอ้ มูลท่วั ไป

บทที่ 1 ขอ้ มลู ท่ัวไป

วิสัยทศั น์ สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี เป็นองค์กรบรหิ ารจดั การสุขภาพทดี่ ี
พันธกิจ ภาคีเปน็ เลศิ ระบบขอ้ มลู ทนั สมัย ใส่ใจเจ้าหนา้ ที่ คนสพุ รรณบรุ มี สี ุขภาวะ
ประเด็น
ยุทธศาสตร์ 1. บรหิ ารจัดการ ระบบบรหิ าร บริการ ดา้ นสุขภาพ
เป้าประสงค์ 2. บรู ณาการภาคีเครอื ขา่ ยและสรา้ งความเข้มแขง็ สูค่ วามเป็นเลศิ
3. พฒั นาระบบข้อมูลสขุ ภาพให้มคี วามทันสมยั เอื้อต่อการปฏิบัตงิ าน
คา่ นยิ ม และการเขา้ ถึงของประชาชน
4. สรา้ งเสรมิ ความสุขใหแ้ ก่บุคลากรอย่างยงั่ ยืน

1. ยกระดบั การบริหารจัดการ ระบบบริหาร และบรกิ ารด้านสุขภาพสคู่ วามเป็นเลิศ
2. เสริมสร้างความเข้มแข็งและความเป็นเลิศของภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ
3. พัฒนาบุคลากรและระบบข้อมูลให้เอ้ือต่อการปฏิบัติงาน

1. บริหารจัดการ ระบบบรหิ าร และบริการดา้ นสุขภาพ
1.1 ระบบบรหิ ารจัดการมธี รรมาภิบาล และเอื้อตอ่ การปฏบิ ตั งิ านท่มี ี
ประสทิ ธภิ าพ
1.2 ระบบรกิ ารมคี ณุ ภาพ ครอบคลมุ และเขา้ ถงึ ได้

1.3 ประชาชนมสี ุขภาพดีเหมาะสมตามวยั
2. บรู ณาการภาคเี ครอื ขา่ ยและสรา้ งความเข้มแขง็ ส่คู วามเป็นเลิศ

2.1 ภาคเี ครอื ข่ายมีประสทิ ธภิ าพและผลงานสูง
3. พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพให้มีความทันสมัย เอื้อต่อการปฏิบัติงานและ
การเขา้ ถงึ ของประชาชน

3.1 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศดา้ นสขุ ภาพมีประสิทธิภาพ (ครบถว้ น
ถกู ตอ้ ง ทันสมัย ทันเวลา เช่อื มโยง เขา้ ถึงง่าย)

4. สรา้ งเสรมิ ความสุขใหแ้ ก่บุคลากรอย่างยง่ั ยนื
4.1 บคุ ลากรมคี วามรู้ มคี ุณค่า มีความกา้ วหน้า และมีความสุข

Mastery เปน็ นายตนเอง Service mind มีจติ บริการ
Originality เร่งสร้างสง่ิ ใหม่ Unity สามัคคเี ป็นหนึ่งเดยี ว
People centered ใสใ่ จประชาชน People center ประชาชนเปน็ ศูนยก์ ลาง
Honesty ซื่อสตั ย์ สจุ รติ
Humility ถอ่ มตนออ่ นนอ้ ม Appreciation ชน่ื ชมในความสำเร็จ

Network ทำงานเป็นเครือขา่ ย

2 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2563

ข้อมูลทว่ั ไป บบทททท่ี ่ี11

พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เปา้ ประสงค์ ตวั ชี้วดั

1. บริหาร ยกระดับการบริหาร 1.1 ระบบบริหาร 1) ร้อยละของหนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวง
จดั การระบบ จดั การ ระบบบริหาร จดั การมี สาธารณสุขผ่านการประเมิน ITA

บริหาร บรกิ าร บริการด้านสุขภาพสู่ ธรรมาภบิ าล 2) ร้อยละของการจัดซื้อร่วมของยาเวชภัณฑท์ ี่
ดา้ นสุขภาพ ความเป็นเลิศ และเอื้อต่อการ ไม่ใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดทุ ันตกรรม
ปฏบิ ตั ิงานท่ีมี 3) ร้อยละของหนว่ ยงานผ่านเกณฑ์
ประสิทธภิ าพ ประเมินควบคุมภายใน
1.2 ระบบริการ 1) ร้อยละหนว่ ยบริการผา่ นเกณฑ์คุณภาพ
มคี ุณภาพครอบคลุม
และเข้าถึงได้ ตามมาตรฐาน
2) อัตราการเข้าถึงบรกิ ารแพทย์แผนไทย
3) ความครอบคลุมของแพทย์และเตียงรพ.
สังกัดกระทรวงสาธารณสุข
4) อัตราการเข้าถึงบรกิ ารการแพทย์ฉุกเฉิน
5) อตั ราการเข้าถึงบริการ PP&P
6)ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ไดร้ บั การประเมิน
ภาวะโภชนาการ
7) ร้อยละความพึงพอใจต่อการใหบ้ ริการของ
ประชาชน

2. บูรณาการ เสริมสร้างความ 1.3 ประชาชนมี 1) อัตราปว่ ยและตายด้วยโรคสำคัญตามกลมุ่
ภาคี เข้มแข็งและความ สุขภาพดีเหมาะสม วัยลดลง
เครือข่ายและ เป็นเลิศของภาคี ตามวยั
สร้างความ เครือข่ายด้านสุขภาพ 1) ระดบั ความสำเร็จในการดำเนนิ งานของ
เข้มแข็งสูค่ วาม 2.1 ภาคีเครือข่าย คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวติ ระดับอำเภอ
เป็นเลิศ มีประสิทธภิ าพ มคี ุณภาพ
และผลงานสูง 2) อตั ราป่วยและตายของโรคที่ตอ้ งอาศัยความ
ร่วมมือของภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหา
3) จำนวนนวตั กรรม/ผลงานทางวชิ าการที่ได้รบั
รางวลั (ระดบั ภาคข้ึนไป)

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 3

บทที่ 1 ขอ้ มลู ทั่วไป

ตอ่ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วดั
พันธกจิ พฒั นาบุคลากรและ 1) ร้อยละของหนว่ ยบริการสามารถเช่ือมโยง
3.1 ระบบ แลกเปลย่ี นข้อมลู ได้
3. พัฒนาระบบ ระบบข้อมลู ใหเ้ อ้ือต่อ 2) ร้อยละของประชาชนเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ
ข้อมลู สุขภาพใหม้ ี การปฏบิ ตั ิงาน เทคโนโลยี ของตนเองได้
ความทนั สมัย เอ้ือ สารสนเทศ
ต่อการปฏิบตั ิงาน ด้านสุขภาพมี 1) ดัชนีความสุขของคนทำงาน
และ การเข้าถงึ ประสิทธิภาพ (Happinometer)
ของประชาชน (ครบถ้วน ถกู ต้อง 2) ดัชนีสุขภาวะองค์กร (Happy Public
ทันสมัยทันเวลา Organization Index)
4. สร้างเสรมิ เชื่อมโยงเข้า 3) อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข
ความสขุ ให้แก่ ถึงง่าย 4) ร้อยละของหน่วยบริการท่ีมีบุคลากร
บคุ ลากรอย่าง สาธารณสุขเพียงพอ
ย่ังยืน 4.1 บุคลากรมี
ความรู้ มีคณุ คา่
มีความก้าวหนา้
และมีความสุข

4 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2563

ขอ้ มูลท่ัวไป บบทททที่ ่ี11

กลยุทธ์

กลยุทธ์ที่ 1 จัดทำแผนยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นการปฏิรูประบบสุขภาพให้ครอบคลุมทุก
ด้านรวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ระบบติดตามประเมินผลเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพ
จงั หวัด

กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายและเพิ่มมาตรการ
เชิงรุกใหก้ บั กลุ่มทีเ่ ข้าไม่ถงึ บรกิ าร

กลยุทธ์ที่ 3 ประสานงานภาคีเครือข่ายในการบูรณาการแผน การกำกับติดตาม และ
เพมิ่ ศักยภาพของภาคเี ครือขา่ ยในการดแู ลสขุ ภาพประชาชน

กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาศักยภาพบุคลากรสู่การปฏิบัติ รวมทั้งเพิ่มมาตรการสร้างแรงจูงใจ
และความกา้ วหนา้ ของบุคลากรให้สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ (สืบทายาท)

กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาระบบข้อมูลเพื่อตอบสนองความต้องการใช้ข้อมูลของผู้ให้บริการ
และผู้รับบริการผ่านชอ่ งทางที่ทันสมัยและหลากหลาย (ชุดข้อมูลที่จำเป็น, เพิ่มโอกาส
การเขา้ ถึงข้อมลู , ลดความซำ้ ซอ้ นของรายงาน/โปรแกรม)

กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาระบบการควบคุม การป้องกัน การจัดบริการและการบริหารจัดการ
โรคอุบตั ิใหมอ่ บุ ตั ิซำ้

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 5

บทที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไป

ปญั หาสาธารณสขุ PP&P Excellence
ทสี่ ำคัญ
1. โรคจากความเสื่อมและปญั หาการดูแลในผู้สงู อายุ
2. โรคเรอ้ื รงั ทเี่ กดิ จากพฤตกิ รรมสุขภาพไมถ่ ูกตอ้ งเหมาะสม
3. โรคปอดบวม
4. ปญั หาวยั รุ่น (ทอ้ งกอ่ นวยั ,ยาเสพตดิ ,บุหร,่ี สรุ า,โรคตดิ ตอ่ ทาง

เพศสมั พนั ธ์)
5. ANC คุณภาพยงั ไมค่ รอบคลมุ
6. โรคไขเ้ ลอื ดออก
7. สงู ดสี มสว่ น ฟนั ไม่ผุ พฒั นาการสมวยั ในเดก็ ปฐมวยั
8. ปัญหาสขุ ภาพจติ (ซมึ เศรา้ /จติ เวช/ฆ่าตวั ตาย)

Service Excellence

1. การเข้าถึงบริการในกลมุ่ วกิ ฤตฉิ กุ เฉินน้อยและลา่ ชา้
(Stroke Stemi อบุ ตั เิ หตุ Septic Shock ฯลฯ)

2. ระบบการส่งตอ่ นอกเขตใน 4 สาขาหลกั สูง
3. ปัญหาอบุ ตั เิ หตุจราจร อัตราการตายสูง

People Excellence

1. ความเพยี งพอของบคุ ลากร
2. ความสุขของบคุ ลากร เชน่ ความกา้ วหน้า Career Path

ความเหลอื่ มล้ำในการทำงานระหวา่ งวิชาชพี , การคงอยขู่ อง
บคุ ลากร/ ความผกู พัน

Governance Excellence

1. การพัฒนาคณุ ภาพระบบขอ้ มูล
2. ระบบธรรมาภิบาลของหน่วยงาน

คณุ ธรรมและความโปร่งใส

6 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ 2563

โครงสรา้ งการบรหิ ารงานสำน

นายแพทย์สาธารณ
(นายแพทย

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 นายแพทยเ์ ช่ยี วชาญ นกั วิชาการสาธารณสขุ เชย่ี วชาญ
(ดา้ นสง่ เสริมพัฒนา)
(ด้านเวชกรรมป้องกนั )
(นางสาวเพช็ รน้อย ศรผี ดุ ผอ่ ง)
(นายแพทยร์ ัฐพล เวทสรณสุธี)

1. กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข 1. กลุม่ งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
2. กลุ่มงานบริหารทรพั ยากรบุคคล 2. กลุ่มงานอนามัยส่ิงแวดล้อมและอาชีวอนามัย
3. กลมุ่ งานควบคุมโรคตดิ ตอ่ 3. กล่มุ งานพฒั นาคุณภาพและรปู แบบบริการ
4. กลุ่มงานนติ กิ าร 4. กลมุ่ งานทันตสาธารณสุข

คปสอ.เมอื งสุพรรณบรุ ี คปสอ.สองพี่น้อง
คปสอ.ศรีประจันต์ คปสอ.สามชุก
คปสอ.บางปลาม้า

7

นักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ขอ้ มูลทวั่ ไป

ณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี
ย์วรงค์ รุง่ เรือง)

นักวชิ าการสาธารณสขุ เชี่ยวชาญ นายเฉลิมพล กาละพงษ์
(ด้านบรกิ ารทางวชิ าการ) นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการพเิ ศษ
(นายมนูญ ศูนยส์ ิทธิ)์

1. กลุ่มงานบริหารทว่ั ไป 1. กลมุ่ งานควบคุมโรคไมต่ ิดต่อบบทททท่ี ่ี11
2. กล่มุ งานคุม้ ครองผูบ้ ริโภค สขุ ภาพจติ และยาเสพตดิ

และเภสชั สาธารณสขุ 2. กลมุ่ งานประกนั สขุ ภาพ
3. กลุ่มงานการแพทยแ์ ผนไทย
คปสอ.เดมิ บางนางบวช
และแพทยท์ างเลือก คปสอ.ดา่ นช้าง

คปสอ.อูท่ อง คปสอ.หนองหญ้าไซ
คปสอ.ดอนเจดยี ์ คปสอ.

บทที่ 1 ขอ้ มลู ทั่วไป

จงั หวัดสุพรรณบรุ ี เปน็ จังหวัดหน่ึงในเขตภาคกลางดา้ นทิศตะวนั ตกของประเทศไทย ตั้งอยบู่ นพ้ืนท่ี
ราบลมุ่ แม่นำ้ ท่าจีนหรือแมน่ ้ำสพุ รรณบรุ ีไหลผา่ นตามแนวยาวของจงั หวัดจากเหนือจรดใต้ จงั หวดั
สุพรรณบรุ ี ตง้ั อยรู่ ะหวา่ งเส้นรงุ้ ท่ี 14 องศา 4 ลปิ ดา ถงึ 15 องศา 5 ลปิ ดาเหนอื และระหว่างเส้นแวง
99 องศา 17 ลปิ ดา ถึง 100 องศา 16 ลปิ ดาตะวันออก อยูส่ ูงจากระดับนำ้ ทะเลปานกลาง 3-10 เมตร
มพี นื้ ท่ีทัง้ หมดประมาณ 5,358.01 ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 3.3 ลา้ นไร่ คิดเปน็ ร้อยละ 5.2 ของ
พนื้ ท่ีภาคกลาง อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 107 กโิ ลเมตร (ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
340) โดยางรถไฟ ประมาณ 142 กโิ ลเมตร มอี าณาเขตตดิ ต่อกับจงั หวดั ใกล้เคียง ดังน้ี

ทศิ เหนอื ติดจังหวัดอุทัยธานี และจังหวัดชัยนาท
ทิศตะวันออก ตดิ จงั หวัดสงิ หบ์ ุรี จังหวัดอ่างทอง และจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
ทศิ ใต้ ตดิ จงั หวัดนครปฐม และจังหวัดกาญจนบรุ ี
ทศิ ตะวันตก ติดจังหวัดกาญจนบุรี และจังหวดั อุทัยธานี

อทุ ยั ธานี

อุทยั ธานี

แผนทจี่ ังหวดั สพุ รรณบุรี
8 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ 2563

ข้อมลู ทั่วไป บบทททท่ี ี่11

การปกครอง

การปกครอง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี แบง่ สว่ นราชการออกเปน็ 2 สว่ น คือ การบริหาราชการสว่ น
ภูมภิ าคและการบรหิ ารราชการสว่ นท้องถน่ิ

1. การบริหารราชการส่วนภูมภิ าค แบง่ เขตการปกครองออกเปน็ 10 อำเภอ 110 ตำบล 258

ชุมชน และ 1,008 หมบู่ ้าน โดยมีอำเภอ ดังนี้

1. อำเภอเมืองสุพรรณบรุ ี 2. อำเภอเดิมบางนางบวช

3. อำเภอด่านช้าง 4. อำเภอบางปลามา้

5. อำเภอศรปี ระจนั ต์ 6. อำเภอดอนเจดีย์

7. อำเภอสองพ่นี ้อง 8. อำเภอสามชุก

9. อำเภออู่ทอง 10. อำเภอหนองหญ้าไซ

2. การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาล
เมือง 2 แหง่ เทศบาลตำบล 43 แหง่ และองค์การบรหิ ารส่วนตำบล 81 แหง่ (ตารางที่ 1)

ตารางที่ 1 เขตการปกครองจงั หวัดสุพรรณบรุ ี จำแนกรายอำเภอ จำนวนชุมชน/หม่บู ้านตาม
เขตการปกครอง(มหาดไทย)
เทศบาล
อำเภอ ตำบล เมือง ตำบล อบต. ชุมชน หมู่บา้ น
72 124
เมืองสพุ รรณบรุ ี 20 18 14 42 121
เดมิ บางนางบวช 5 93
ด่านชา้ ง 14 - 8 8 30 127
บางปลามา้ 24 64
ศรีประจนั ต์ 7 -1 7 8 50
ดอนเจดีย์ 25 140
สองพี่น้อง 14 -7 11 20 68
สามชกุ 30 155
อู่ทอง 9 -6 4 2 66
หนองหญา้ ไซ 258 1,008
5 -2 5
รวม
15 11 14

7 -1 6

13 - 9 6

6 -1 6

110 2 43 81

ท่ีมา : 1) ทก่ี ารปกครองจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ขอ้ มูล ณ วันที่ 25 ธนั วาคม 2563

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 9

บทท่ี 1 ขอ้ มูลทวั่ ไป

ประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี

จำนวนประชากรจงั หวัดสุพรรณบุรี ในระบบทะเบยี นราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย(ณ วนั ท่ี 31
ธันวาคม 2562) มีจำนวนทั้งสิ้น 846,334 คน จำแนกเป็นชาย 408,808 คน คิดเป็นร้อยละ 48.30
และหญิง 437,526 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 51.70 อัตราสว่ นเพศชายต่อเพศหญิง เท่ากบั 1:1.07 อำเภอท่ี
มีสัดส่วนประชากรมากที่สุด 3 ลำดับแรก คือ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี รองลงมาคืออำเภอสองพี่น้อง
และอำเภออู่ทอง ความหนาแน่นของประชากรในภาพรวมทั้งจังหวัด เท่ากับ 158 คนต่อตาราง
กิโลเมตร (พื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรีมีทั้งหมด 5,358.01 ตารางกิโลเมตร) มีจำนวนหลังคาเรือนรวม
ทัง้ สน้ิ 302,594 หลงั คาเรอื น (ตารางท่ี 2)

ตารางท่ี 2 จำนวนประชากรในทะเบยี นราษฎรแ์ ละหลงั คาเรือน กระทรวงมหาดไทย รายอำเภอ
จงั หวดั สพุ รรณบุรี

อำเภอ ชาย หญงิ รวม รอ้ ยละ อตั ราส่วน หลงั คา
ชาย:หญิง เรือน

เมือง 79,623 88,456 168,079 19.9 1.11 64,171

เดิมบางนางบวช 34,516 37,258 71,774 8.5 1.08 26,937

ด่านชา้ ง 33,699 34,608 68,307 8.1 1.02 26,663

บางปลามา้ 37,523 39,687 77,210 9.1 1.03 25,954

ศรปี ระจันต์ 29,404 32,289 61,693 7.3 1.10 22,705

ดอนเจดีย์ 22,383 23,785 46,168 5.5 1.06 16,375

สองพ่ีน้อง 62,489 65,311 127,800 15.1 1.05 41,624

สามชุก 25,869 28,191 54,060 6.4 1.09 21,192

อ่ทู อง 59,211 62,719 121,930 14.4 1.06 39,807

หนองหญา้ ไซ 24,091 25,222 49,313 5.8 1.05 17,166

รวม 408,808 437,526 846,334 100 1.07 302,594

ทีม่ า : 1. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2562
2. ขอ้ มูลจำนวนหลังคาเรอื น 2562
https://stat.bora.dopa.go.th/new_stat/webPage/statByYear.php

10 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2563

ขอ้ มูลท่วั ไป บบทททที่ ่ี11

โครงสรา้ งประชากรตามกลุ่มอายุและเพศ

กลุ่มอายุ (ปี ) % ชาย % หญิง กลุ่มอายุ (ปี ) % ชาย % หญิง

80+ 0.50 0.83 80+ 0.67 1.15
75-79 0.47 0.65 75-79 0.77 1.13
70-74 0.79 70-74 1.24
65-69 1.17 1.05 65-69 1.49 1.61
60-64 1.64 1.44 60-64 1.73 1.83
55-59 1.83 1.84 55-59 2.49 2.13
50-54 1.97 2.00 50-54 3.07 2.94
45-49 2.77 2.22 45-49 3.75 3.52
40-44 3.45 3.06 40-44 4.06 4.25
35-39 4.35 3.74 35-39 3.87 4.45
30-34 4.76 4.67 30-34 4.08 4.06
25-29 4.53 4.96 25-29 4.11 4.08
20-24 4.45 4.59 20-24 3.66 4.05
15-19 4.53 4.57 15-19 3.77 3.65
10-14 4.05 4.38 10-14 3.62 3.53
05-09 4.01 3.87 05-09 3.00 3.44
00-04 3.67 3.74 00-04 3.08 2.82
3.47 2.90

642024 6 5432101234 5

ร้อยละ ร้อยละ

รปู ท่ี 1 ปริ ามดิ ประชากร จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ.2543 รปู ที่ 2 ปริ ามิดประชากร จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ.2553
ทีม่ า ข้อมลู จากกรมการปกครอง ณ 31 ธันวาคม 2542 ท่ีมา ขอ้ มูลจากกรมการปกครอง ณ 31 ธันวาคม 2552

กลุ่มอายุ (ปี ) % ชาย % หญิง

90-94 0.02 0.02
75-79 0.05 0.07
60-64 0.14
45-49 0.36 0.27
30-34 0.79 0.63
15-19 1.05 1.19
00-04 1.54 1.43
2.20 2.05
2.64 2.80
3.52 3.16
3.67 4.11
3.60 4.17
3.80 3.80
3.74 3.82
3.50 3.71
3.51 3.40
3.19 3.41
2.95 3.26
2.97 2.77
2.76 2.81
2.29 2.63
2.19

5432101234 5

ร้อยละ

รปู ท่ี 3 ปริ ามดิ ประชากร จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ.2563
ที่มา ข้อมลู จากกรมการปกครอง ณ 31 ธันวาคม 2562

เมอ่ื พิจารณาโครงสรา้ งประชากรของจงั หวัดสพุ รรณบุรี จำแนกตามกลมุ่ อายุและเพศ ในรอบ
20 ปีที่ผ่านมา (ปี พ.ศ.2543-2563) พบว่ามกี ารเปลย่ี นแปลงทางโครงสร้างกลุ่มอายุที่ชดั เจนมาก
กลา่ วคอื สัดสว่ นของประชากรวัยเด็ก (0-14 ป)ี ลดลง ในขณะเดียวกนั สดั สว่ นประชากรกลมุ่ ผู้สูงอายุ
(60 ปขี นึ้ ไป) เพม่ิ มากขึน้ (รูปที่ 1-3) เมื่อพิจารณาจากจำนวนประชากรอายุ 60 ปีขึน้ ไป จำนวน
172,862 คน คิดเปน็ ร้อยละ 20.42 ของประชากรทัง้ หมด (หมายเหต:ุ จำนวนประชากรทงั้ หมด
846,334 คน ขอ้ มลู จากกรมการปกครอง ณ เดือนธันวาคม 2562 จำนวนประชากรอายุ 65 ปขี ้ึนไป
จำนวน 123,759 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.62 ของประชากรทัง้ หมด) นน่ั หมายถึงจังหวัดสุพรรณบุรเี ข้า
ส่สู ังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 11

บทท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไป

ขอ้ มลู ทรัพยากรสาธารณสขุ จำนวน 1 แห่ง
จำนวน 1 แหง่
สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั จำนวน 1 แห่ง
จงั หวัดสุพรรณบรุ ี มสี ถานบริการสาธารณสขุ ของรฐั บาล ดังนี้ จำนวน 2 แหง่
จำนวน 5 แห่ง
โรงพยาบาล ระดับ A โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช
โรงพยาบาล ระดบั M1 โรงพยาบาลสมเด็จพระสงั ฆราชองคท์ ี่ 17 จำนวน 174 แหง่
โรงพยาบาล ระดับ M2 โรงพยาบาลอ่ทู อง จำนวน 8 แหง่
โรงพยาบาล ระดับ F1 โรงพยาบาลด่านชา้ ง, เดิมบางนางบวช จำนวน 166 แห่ง
โรงพยาบาล ระดับ F2 โรงพยาบาลสามชกุ , ศรีประจันต์, ดอนเจดีย,์ จำนวน 3 แห่ง

บางปลาม้า, หนองหญา้ ไซ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

- โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลขนาดใหญ่
- โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลขนาดท่ัวไป
ศนู ย์บริการสาธารณสุขของเทศบาล

ตารางที่ 3 จำนวนสถานบริการสาธารณสุขของรฐั บาล จำแนกรายอำเภอ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

โรงพยาบาล โรงพยาบาล หน่วย เครือขา่ ย
ส่งเสรมิ สขุ ภาพ บรกิ าร หน่วย
อำเภอ ประเภท/แห่ง จำนวน จำนวนเตยี ง ปฐมภมู ิ บรกิ ารปฐม
เตียงจริง ตามกรอบ ตำบล (หน3่วย) (หภน3มู่วิย)
เมอื งฯ
เดิมบางฯ รพ. ระดบั A 1 แหง่ 680 680 29 1 2
ดา่ นชา้ ง รพ. ระดับ F1 1 แหง่ 120 20 4-
บางปลาม้า รพ. ระดับ F1 1 แหง่ 109 90 16 -
ศรีประจนั ต์ รพ. ระดบั F2 1 แหง่ 60 17 - 3
ดอนเจดีย์ รพ. ระดบั F2 1 แห่ง 113 60 14
สองพี่นอ้ ง รพ. ระดับ F2 1 แห่ง 60 9 - 2
สามชุก รพ. ระดบั M1 1 แห่ง 60 262 25
อทู่ อง รพ. ระดับ F2 1 แห่ง 60 13 1 1
หนองหญา้ ไซ รพ. ระดบั M2 1 แหง่ 60 150 22 2
รพ. ระดบั F2 1 แห่ง 60 9 3
รวม 60 1,602 174 -
10 2
262 -
1 4
60
8 1
142
60 25
1,606

ท่มี า : ขอ้ มลู หน่วยบรกิ ารปฐมภมู ิและเครือข่ายหนว่ ยบรกิ ารปฐมภูมิ กล่มุ งานพัฒนาคณุ ภาพและรปู แบบบริการ
สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี (ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2563)

12 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2563

ขอ้ มลู ทัว่ ไป บบทททท่ี ี่11

สถานบริการสาธารณสขุ ของเอกชน จำนวน 4 แหง่

• สถานพยาบาลประเภทที่รบั ผปู้ ว่ ยไว้คา้ งคืน จำนวน 4 แหง่
o โรงพยาบาล จำนวน - แห่ง
o สถานพยาบาล (มีเตียง) จำนวน 286 แห่ง

• สถานพยาบาลประเภททไ่ี ม่รับผปู้ ว่ ยไว้ค้างคืน จำนวน 100 แห่ง
o คลินิกเวชกรรม จำนวน 11 แหง่
o คลนิ ิกเวชกรรมเฉพาะทาง (คลนิ ิกแพทย์) จำนวน 33 แห่ง
o คลินกิ ทนั ตกรรม จำนวน 104 แห่ง
o คลินกิ การพยาบาล จำนวน 1 แหง่
o คลนิ กิ ารผดงุ ครรภ์ จำนวน 8 แห่ง
o คลินิกเทคนคิ การแพทย์ จำนวน 11 แห่ง
o คลนิ ิกการแพทย์แผนไทย จำนวน 1 แหง่
o คลินกิ การแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ จำนวน 9 แหง่
o สหคลนิ ิก จำนวน 4 แห่ง
o คลินิกกายภาพบำบัด จำนวน 4 แห่ง
o คลนิ ิกการประกอบโรคศิลปะ จำนวน 267 แห่ง

• สถานประกอบการรา้ นขายยาและผลติ ยาแผนโบราณ จำนวน 139 แห่ง
o ร้านขายยาแผนปจั จบุ นั จำนวน 62 แห่ง
o ร้านขายยาแผนปัจจบุ ันบรรจเุ สรจ็ จำนวน 41 แห่ง
o รา้ นขายยาแผนโบราณ จำนวน 10 แหง่
o สถานทผี่ ลติ ยาแผนโบราณ จำนวน 15 แห่ง
o รา้ นขายยาแผนปจั จบุ ันบรรจเุ สร็จสำหรับสัตว์

ทีม่ า : กล่มุ งานคมุ้ ครองผูบ้ ริโภคและเภสชั สาธารณสขุ สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี

ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม พ.ศ.2563

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 13

บทที่ 1 ข้อมลู ทวั่ ไป

ตารางที่ 4 เจ้าหนา้ ทท่ี างการแพทย์ของรัฐบาล จำแนกรายอำเภอ จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563

เจา้ หน้าท่ีทางการแพทย์ของรฐั บาล ประชากรต่อเจา้ หนา้ ทท่ี างการแพทยท์ ั้งหมด

Medical personnels in the Government Population per total medical personnel
อำเภอ แพทย์ ทันต เภสชั พยาบาล พยาบาล แพทย์ ทันต เภสัชกร พยาบาล พยาบาล

แพทย์ กร เทคนคิ แพทย์ เทคนิค

เมอื ง 148 18 40 745 1 1,134 9,323 4,195 225 167,812
เดมิ บางฯ 13 6 8 121
ดา่ นช้าง 16 9 9 102 0 5,505 11,927 8,945 591 0
บางปลาม้า 8 6 7 83
ศรีประจนั ต์ 9 6 7 83 0 4,250 7,556 7,556 667 0
ดอนเจดีย์ 8 6 7 72
สองพีน่ อ้ ง 35 14 22 279 0 9,632 12,842 11,008 928 0
สามชกุ 8 6 7 71
อทู่ อง 25 9 15 153 0 6,840 10,260 8,794 742 0
หนองหญา้ ไซ 7 3 5 57
2 5,771 7,694 6,595 641 23,082
รวม 227 83 127 1,766
1 3,649 9,123 5,805 458 127,715

0 6,669 8,892 7,622 751 0

0 4,878 13,551 8,131 797 0

0 7,041 16,430 9,858 865 0

4 3,049 10,174 6,649 478 211,119

ทม่ี า : กลมุ่ งานบริหารบุคคล สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี (ณ วันท่ี 25 ธนั วาคม 2563)

ตารางที่ 5 จำนวนอาสาสมัครสาธารณสขุ จำแนกรายอำเภอ จังหวดั สพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ 2563

อำเภอ จำนวน อสม. (คน) อตั ราส่วน อสม./ประชากร อัตราส่วน อสม./หลังคาเรอื น

เมืองสุพรรณบุรี 2,401 1:70 1:27
เดมิ บางนางบวช 1,668 1:43 1:16
ดา่ นชา้ ง 1,177 1:58 1:23
บางปลาม้า 1,497 1:52 1:16
ศรปี ระจนั ต์ 1,301 1:47 1:17
ดอนเจดยี ์ 911 1:51 1:18
สองพ่นี ้อง 1,757 1:71 1:24
สามชกุ 1,195 1:45 1:18
อทู่ อง 2,642 1:46 1:15
หนองหญ้าไซ 1,301 1:38 1:13

รวม 15,850 1:53 1:19

ทมี่ า : ระบบสารสนเทศสขุ ภาพภาคประชาชน กองสนับสนนุ สุขภาพภาคประชาชน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563
http://www.thaiphc.net/thaiphcweb/index.php?r=staticContent/show&id=1 (วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2563)

14 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2563

ข้อมลู ทว่ั ไป บบทททท่ี ี่11

การบริการสุขภาพ
การใหบ้ รกิ ารสุขภาพในระดบั โรงพยาบาล
1. ผปู้ ่วยนอก

การให้บริการผู้ป่วยนอกในจังหวัดสุพรรณบุรี จากคลังข้อมูลสุขภาพ กระทรวง
สาธารณสุข ในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จำนวนผู้มารับ
บรกิ ารผู้ปว่ ยนอกในสถานพยาบาลทุกระดับ เมือ่ พจิ ารณาอัตราส่วนของการมารับบริการ (ครั้งต่อคน)
ตามประเภทสิทธิ จะเห็นวา่ กล่มุ สิทธิข้าราชการ/รฐั วสิ าหกิจ/เบิกตน้ สังกัดมาใช้บริการเฉลยี่ จำนวนคร้ัง
ตอ่ คนมากกวา่ กลุม่ สิทธิอื่นๆ คือ 5.11 คร้ัง/คน รองลงมาคือกลุ่มสิทธิ UC มีอัตราส่วนของการมารับ
บริการเท่ากับ 4.08 ครั้ง/คน กลุ่มสิทธิประกันสังคม มีอัตราส่วนของการมารับบริการ คือ 2.81
คร้งั /คน และในกลุ่มสทิ ธิแรงงานตา่ งด้าวมีอัตราสว่ นของการมารบั บริการตำ่ สุดคือ 1.73 คร้ัง/คน โดย
คา่ เฉลย่ี ของการมารบั บริการผปู้ ว่ ยนอกในสถานพยาบาลทุกระดับในภาพรวมของประชากรทั้งจังหวัด
ในปี พ.ศ.2563 มคี า่ เฉลี่ยเทา่ กับ 4.57 ครง้ั /คน/ปี (ตารางที่ 6)

ตารางที่ 6 จำนวนคน/ครั้ง ของผู้รับบริการประเภทผู้ป่วยนอกในสถานพยาบาลทุกระดับ สังกัด
ภาครัฐ ในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จำแนกตามประเภทสทิ ธิ ปีงบประมาณ พ.ศ.2562-2563

ประเภทสทิ ธิ คน ปี 2562 ครงั้ :คน คน ปี 2563 ครั้ง:คน
99,448 5.50 95,044 5.11
(ผูป้ ว่ ยนอก) 141,292 ครงั้ 2.79 143,759 ครั้ง 2.81
1. ขา้ ราชการ/รัฐวสิ าหกิจ/เบิกต้นสงั กัด 741,338 546,751 4.18 696,517 486,004 4.08
2. ประกันสงั คม 88,874 394,609 1.81 78,631 403,386 1.73
3. UC บตั รทองไม่มี ท/มี ท 3,101,964 2,844,945
4. แรงงานต่างด้าว 25 161,021 3.52 423 136,318 1.46

5. สทิ ธิไ์ ม่ตรงรหัสมาตรฐาน 993,162 88 4.23 942,819 616 4.11

รวมผมู้ ารบั บริการ 4,204,356 3,871,254
ประมาณการอตั ราสว่ นการใชบ้ ริการ
ผปู้ ว่ ยนอก 1 ปีตอ่ ประชากรทั้งหมด 4.95 คร้ัง/คน/ปี 4.57 คร้ัง/คน/ปี

ท่มี า : คลงั ขอ้ มูลสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ (Health Data Center) ณ วนั ท่ี 1 ธนั วาคม 2563

เมื่อจำแนกจำนวนผู้มารับบริการผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลของรัฐ จังหวัดสุพรรณบุรี
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นรายโรงพยาบาล พบว่า รพศ.เจ้าพระยายมราช มีจำนวนผู้ป่วยนอก
เฉล่ยี ต่อเดือนมากท่สี ุด รองลงมาคือ รพท.สมเด็จพระสังฆราช องค์ท่ี 17 รพช.อู่ทอง รพช.เดิมบางนาง
บวช รพช.ด่านช้าง รพช.สามชุก รพช.ดอนเจดีย์ รพช.บางปลาม้า รพช.ศรีประจันต์ และ
รพช.หนองหญ้าไซ ตามลำดับ แต่อัตราส่วนของการมารับบริการผู้ป่วยนอกจำนวนครั้งต่อคนต่อปี
ของรพช.สามชุกสงู สดุ คอื 5.78 คร้งั /คน/ปี โดยคา่ เฉลีย่ ทั้งจังหวดั สพุ รรณบุรีเทา่ กับ 4.60 ครงั้ /คน/ปี
(ตารางที่ 7)

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 15

บทท่ี 1 ข้อมลู ทว่ั ไป

ตารางที่ 7 จำนวนคนและครั้งของผู้รับบรกิ ารประเภทผู้ปว่ ยนอก จำแนกตามรายโรงพยาบาลสังกัด
ภาครัฐในจงั หวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2562-2563

โรงพยาบาล คน ปี 2562 ครัง้ : ปี 2563 ครัง้ :
เดือน เดือน
รพศ.เจ้าพระยาฯ 161,311 ครั้ง ครงั้ : คน ครงั้ ครั้ง :
รพท.สมเด็จฯ 71,609 คน 65,632 คน 61,473
รพช.เดิมบางฯ 40,805 28,448 26,510
รพช.ดา่ นช้าง 41,275 787,579 4.88 16,089 157,614 737,679 4.68 13,849
รพช.บางปลาม้า 33,055 341,376 4.77 14,812 68,035 318,119 4.68 14,178
รพช.ศรีประจนั ต์ 31,166 193,062 4.73 12,219 37,364 166,190 4.45 10,585
รพช.ดอนเจดยี ์ 28,163 177,740 4.31 12,169 39,495 170,136 4.31 11,523
รพช.สามชุก 28,138 146,627 4.44 12,369 31,587 127,019 4.02 10,728
รพช.อ่ทู อง 60,927 146,027 4.69 14,036 30,601 138,280 4.52 13,107
รพช.หนองหญา้ ไซ 20,634 148,433 5.27 21,371 24,149 128,740 5.33 18,566
517,083 168,437 5.99 8,663 27,225 157,279 5.78 7,745
รวม 256,455 4.21 55,527 222,797 4.01
103,958 5.04 205,808 19,215 92,937 4.84 188,265

2,469,694 4.78 490,812 2,259,176 4.60

ท่ีมา : คลังขอ้ มูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ (Health Data Center) ณ วันที่ 1 ธนั วาคม 2563

2. ผู้ป่วยใน
การให้บริการผู้ป่วยในของโรงพยาบาลของรัฐ จากคลังข้อมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ใน

ภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2563 เมื่อพิจารณาตามจำนวนวันนอนเฉลี่ยต่อราย
พบวา่ จำนวนวนั นอนเฉล่ียผู้ป่วยใน 1 ราย มีวันนอนเฉลี่ยเทา่ กบั 4.69 วัน/ราย มากกว่าปงี บประมาณ
2562 ซึง่ มีวันนอนเฉลย่ี ประมาณ 4.47 วนั /ราย เมอ่ื แยกตามประเภทสทิ ธิ พบว่าผปู้ ว่ ยสิทธขิ ้าราชการ
มีวันนอนเฉลี่ยสูงกว่าผู้ป่วยสิทธิอื่นๆ คือมีวันนอนเฉลี่ย 6.29 วันต่อผู้ป่วยใน 1 ราย รองลงมาได้แก่
ผู้ป่วยแรงงานต่างด้าว มีวันนอนเฉลี่ย 4.85 วัน/ราย ผู้ป่วยสิทธิ UC มีวันนอนเฉลี่ย 4.50 วัน/ราย
และผ้ปู ่วยสทิ ธิประกนั สงั คม 4.25 วนั /รายตามลำดบั รายละเอยี ดตามตารางที่ 8

16 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2563

ขอ้ มูลท่วั ไป บบทททที่ ่ี11

ตารางที่ 8 จำนวนผรู้ บั บรกิ าร จำนวนวันนอน และจำนวนวันนอนเฉลี่ยของผ้ปู ่วยในจำแนกตาม
ประเภทสิทธิ จังหวัดสพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2562–2563

ประเภทสทิ ธิ ปงี บประมาณ 2562 ปงี บประมาณ 2563

1.ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ จำนวน รวมวนั วนั นอน จำนวน รวมวัน วนั นอน
2.ประกันสังคม (ราย) นอน เฉล่ยี /ราย (ราย) นอน เฉล่ยี /ราย
3.UC บตั รทองม/ี ไม่มี
4.แรงงานตา่ งดา้ ว 10,820 63,140 5.84 10,269 64,554 6.29
5.สทิ ธิไ์ มต่ รงรหสั มาตรฐาน 10,133 49,260 4.86 8,827 37,498 4.25
76,261 327,328 4.29 71,111 320,003 4.50
รวมผู้มารบั บรกิ าร 5,601 20,053 3.58 5,563 26,998 4.85
12 39 3.25
6 26 4.33 95,780 449,092 4.69
102,820 459,807 4.47

ที่มา : คลงั ขอ้ มลู สขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ (Health Data Center) ณ วนั ท่ี 1 ธันวาคม 2563

เมื่อจำแนกวันนอนเฉล่ียผู้ปว่ ยในรายโรงพยาบาล พบว่า รพท.สมเด็จพระสงั ฆราช องค์ที่ 17
มีวนั นอนเฉล่ยี ผู้ปว่ ยในสูงสุดคือ 5.38 วัน/ราย รองลงมาคือ รพศ.เจา้ พระยายมราช มีวนั นอนเฉล่ยี ผู้ป่วย
ใน 5.33 วัน/ราย ในระดับโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลที่มีจำนวนวันนอนเฉลี่ยผู้ป่วยในสูงสุดคือ
รพช.เดิมบางนางบวช (4.47 วนั /ราย) รองลงมาได้แก่ รพช.อทู่ อง (4.41 วัน/ราย) รพช.สามชุก (3.72
วนั /ราย) รพช.บางปลามา้ (3.67 วนั /ราย) รพช.ด่านชา้ ง (3.62 วนั /ราย) รพช.ศรปี ระจนั ต์ (3.56 วัน/
ราย) รพช.หนองหญ้าไซ (3.46 วนั /ราย) และ รพช.ดอนเจดีย์ (3.18 วัน/ราย) ตามลำดับ (ตารางที่ 9)

เมอื่ เปรียบเทียบวันนอนเฉลี่ยของผู้ปว่ ยในกับค่าเฉลี่ยของประเทศในชว่ งเวลาเดียวกันคือในปี
2563 จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาล จะเหน็ ว่าวนั นอนเฉลี่ยของผปู้ ่วยในระดับโรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาลท่วั ไปและโรงพยาบาลชมุ ชน มคี า่ เฉลีย่ สงู กวา่ คา่ เฉล่ียของประเทศ (ตารางที่ 9)

อัตราการครองเตยี ง ในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบรุ ี คิดเปน็ รอ้ ยละ 76.80 แต่เมอื่ พจิ ารณา
ตามประเภทโรงพยาบาล พบว่าโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราชสูงที่สุด มีอัตราการครองเตียง ร้อยละ
87.95 สูงกว่า โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 มีอัตราครองเตียงร้อยละ 73.35 และกลุ่ม
โรงพยาบาลชุมชน M2, F1 และ F2 มีอัตราครองเตียง ร้อยละ 69.57 ร้อยละ 67.90 และร้อยละ
64.39 ตามลำดับ โดยโรงพยาบาลศูนย์มีอัตราครองเตียงต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ (ค่าเฉลี่ยของ
ประเทศเทา่ กบั 92.80) โรงพยาบาลท่วั ไปมีอัตราครองเตียงสงู กว่าค่าเฉลยี่ ของประเทศ (ค่าเฉลี่ยของ
ประเทศเทา่ กบั 73.27) โรงพยาบาลชุมชน M2 มีอัตราครองเตยี งสงู กวา่ คา่ เฉล่ยี ของประเทศ (คา่ เฉล่ยี
ของประเทศเท่ากับ 70.73) โรงพยาบาลชุมชน F1 มีอัตราครองเตียงต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ
(ค่าเฉลี่ยของประเทศเท่ากับ 64.53) และโรงพยาบาลชมุ ชน F2 มีอัตราครองเตียงสูงกว่าค่าเฉลี่ยของ
ประเทศ (คา่ เฉล่ยี ของประเทศเท่ากับ 56.23) (ตารางท่ี 9)

อัตราการใช้เตียง 1 ปี (Bed Turnover Rate) พบว่าในระดับโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาล

ทั่วไป โรงพยาบาลชุมชนของจังหวัดสุพรรณบุรี มีการใช้เตียงน้อยกว่ามาตรฐานระดับประเทศ

เนื่องจากจำนวนรับไว้รักษาในโรงพยาบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับ

ปีงบประมาณ พ.ศ.2562

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 17

บทท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไป

ตารางท่ี 9 จำนวนผรู้ ับบริการผูป้ ว่ ยใน จำนวนวันนอน จำนวนเตียง อตั ราการครองเตียง
อัตราการใช้เตียง 1 ปี ของผปู้ ว่ ยใน จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ พ.ศ.2563

จำนวน จำนวน วนั นอน จำนวนเตียง อตั ราการ อัตราการ
ใชเ้ ตยี ง
โรงพยาบาล ผปู้ ่วยใน วันนอน เฉล่ยี (ตามกรอบ) ครองเตยี ง 1 ปี
60.28
ผูป้ ว่ ยใน 49.77
45.88
รพศ.เจ้าพระยายมราช 40,991 218,297 5.33 680 87.95 84.16
69.75
รพท.สมเด็จพระสังฆราชฯ 13,039 70,149 5.38 262 73.35 87.88
64.62
รพช.เดมิ บางนางบวช 5,506 24,618 4.47 120 56.21 57.45
57.63
รพช.ด่านชา้ ง 7,574 27,428 3.62 90 83.49 54.07
59.79
รพช.บางปลามา้ 4,185 15,370 3.67 60 70.18
อตั ราการ
รพช.ศรปี ระจนั ต์ 5,273 18,753 3.56 60 85.63 ใช้เตยี ง
1 ปี
รพช.ดอนเจดยี ์ 3,877 12,336 3.18 60 56.33 60.28
49.77
รพช.สามชุก 3,447 12,837 3.72 60 58.62 57.63
62.29
รพช.อ่ทู อง 8,644 38,092 4.41 150 69.57 66.75

รพช.หนองหญ้าไซ 3,244 11,212 3.46 60 51.20

รวม 95,780 449,092 4.69 1,602 76.80

สรุปตามประเภทโรงพยาบาลจงั หวดั สพุ รรณบุรี ปี 2563

จำนวน จำนวน วันนอน จำนวนเตยี ง อัตราการ

โรงพยาบาล ผู้ปว่ ยใน วนั นอน เฉลีย่ (ตามกรอบ) ครองเตยี ง

ผปู้ ว่ ยใน

รพศ. (A 1 แห่ง) 40,992 218,297 5.33 680 87.95

รพท. (M1 1 แหง่ ) 13,039 70,149 5.38 262 73.35

รพช. (M2 1 แหง่ ) 8,644 38,092 4.41 150 69.57

รพช. (F1 2 แห่ง) 13,080 52,046 3.98 210 67.90

รพช. (F2 5 แห่ง) 20,026 70,508 3.52 300 64.39

18 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2563

ขอ้ มูลท่ัวไป บบทททที่ ี่11

โรงพยาบาล ค่าเฉล่ียระดบั ประเทศ ปี 2563 อัตราการ
ใชเ้ ตยี ง
รพศ. (A 34 แหง่ ) จำนวน จำนวน วันนอน จำนวนเตียง อตั ราการ 1 ปี
รพท. (M1 38 แห่ง) ผู้ป่วยใน วันนอน เฉลยี่ (ตามกรอบ) ครองเตยี ง 67.14
รพช. (M2 90 แห่ง) 63.68
รพช. (F1 91 แห่ง) ผู้ป่วยใน 74.30
รพช. (F2 509 แห่ง) 1,697,146 8,561,847 5.04 25,276 92.80 71.49
573,527 2,408,573 4.20 9,006 73.27
860,863 2,991,082 3.47 11,586 70.73 69.85
543,797 1,791,592 3.29 7,607 64.53
1,539,772 4,524,543 2.94 22,045 56.23

ท่ีมา : คลงั ข้อมูลสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วนั ท่ี 1 ธนั วาคม 2563

หมายเหตุ : อตั ราการครองเตียง = (จำนวนวันนอนX100)/(จำนวนเตยี งX365)

-คา่  120 หมายถึง ผู้ปว่ ยมเี ตยี งไม่เพียงพอ แออดั
-ค่า 80-100 หมายถึง เหมาะสม

-ค่า  80 หมายถงึ ใช้เตียงไมค่ ุ้มคา่ ต้องปรับระบบการให้บรกิ าร
อตั ราการใช้เตียง = จำนวนผู้ปว่ ยใน/จำนวนเตียง
-รพศ./รพท. (A, M1) มีค่าอยู่ระหว่าง 50-90
-รพช.(M2, F1, F2) มีค่าอยรู่ ะหว่าง 80-120

ทีม่ า : กองบรหิ ารการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข http://cmi.healtharea.net/site/index ณ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 19

บทท่ี 1 ข้อมลู ทัว่ ไป

ค่า CMI และอัตราครองเตียงในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ดงั น้ี
ค่า CMI เมื่อเปรียบเทียบค่า CMI ของหน่วยบริการภายในจังหวัดสุพรรณบุรี 4 ปี ย้อนหลัง

พบว่า หน่วยบริการส่วนใหญ่มคี ่า CMI เพิ่มขึ้นในปีงบประมาณ 2563 และผ่านเกณฑ์ ระดับประเทศ
ทุกแห่ง ทั้งนี้เนื่องจากมีการเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการรักษาพยาบาล โดยโรงพยาบาลที่มีค่า
CMI สูงสุด ได้แก่โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช มีค่า CMI เท่ากับ 1.72 และโรงพยาบาลท่ีมีค่า CMI
ตำ่ สดุ ไดแ้ กโ่ รงพยาบาลบางปลามา้ มคี ่า CMI เท่ากบั 0.66

ตารางที่ 10 ตารางเปรยี บเทียบอัตราการครองเตยี งและค่า CMI ประจำปีงบประมาณพ.ศ.2560-2563

หน่วยบริการ เตยี ง CMI อตั ราครองเตยี ง
เกณฑ์
รพ.เจ้าพระยายมราช 680
รพ.สมเดจ็ พระสังฆราชฯ 262 2560 2561 2562 2563 2560 2561 2562
รพ.อทู่ อง 142 1.6 1.53 1.55 1.59 1.72 97.5 99.61 96.85
รพ.เดมิ บางนางบวช 109 1 1.15 1.05 1.08 1.15 89.84 85.97 82.18
รพ.ดา่ นช้าง 113 0.8 0.84 0.94 0.93 0.99 68.78 76.53 76.19
รพ.บางปลามา้ 60 0.6 1 0.66 1.1 1.29 66.62 94.26 65.03
รพ.ศรีประจันต์ 60 0.6 0.74 0.75 0.84 0.84 82.12 83.38 80.66
รพ.ดอนเจดยี ์ 60 0.6 0.65 0.64 0.67 0.66 76.18 67.23 75.32
รพ.สามชุก 60 0.6 0.7 0.85 0.64 0.69 82.16 62.49 96.26
รพ.หนองหญ้าไซ 60 0.6 0.7 0.75 0.64 0.71 68.97 63.44 60.38
0.6 0.82 1 0.76 0.78 68.63 69.15 55.58
0.6 0.7 0.71 0.68 0.68 52.55 86.24 64.98

ทมี่ า : CMI กองบรหิ ารการสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสุข วนั ที่ 1 ธันวาคม 2563

20 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี ปงี บประมาณ 2563

ข้อมูลท่วั ไป บบทททที่ ่ี11

สถานะสขุ ภาพ
สถติ ชิ พี

สถติ ชิ พี ของประชากรในจังหวัดสุพรรณบุรี ในปี 2561-2563 พบวา่ ประชากรมกี ารเกดิ ลดลง
โดยมีอัตราเกิด 8.68, 7.90 และ 7.57 ตามลำดับ ซึ่งสวนทางกับการตายที่เพิ่มขึ้น โดยมีอัตราตาย
8.32, 8.80 และ 9.20 ตามลำดับ สง่ ผลใหป้ ระชากรภาพรวมของจังหวดั ลดลง

สว่ นการตายของมารดา (การตายเน่อื งจากการคลอดและภาวะแทรกในการมคี รรภ์และระยะ
อยู่ไฟ (ภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด) ในระหว่างปี 2561-2563 ปีละ 2 ราย โดยอัตราตายแต่ละปีมี
แนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 28.53, 29.90 และ 31.21 ต่อการเกิดมีชีพ 100,000 คน ซึ่งเกินเกณฑ์ที่
กระทรวงสาธารณสขุ กำหนดไว้ คอื อตั ราตายของมารดาไมเ่ กิน 18 คนต่อการเกดิ มชี ีพ 100,000 คน

สำหรับอัตราทารกตายมีแนวโน้มไม่คงที่ กล่าวคือ ระหว่างปี 2561-2563 มีอัตราทารกตาย
5.54, 4.80 และ 5.62 ต่อการเกิดมีชีพ 1,000 คน ตามลำดับ และเป็นที่สังเกตุว่า อัตราเพิ่มตาม
ธรรมชาติมีแนวโน้มลดลงอยา่ งตอ่ เน่ืองจากปี 2561-2563 (ตารางที่ 11)

ตารางท่ี 11 จำนวนและอัตรา ของการเกดิ การตาย ทารกตาย มารดาตาย และดัชนีชีพ

จังหวัดสุพรรณบรุ ี พ.ศ. 2546 – 2563

จำนวน อตั รา

ปี เกดิ มี ตาย ทารก มารดา เกิดมี ตาย ทารก มารดา อัตราเพิม่ ตาม ดชั นชี ีพ
ชพี ตาย ตาย ชพี ตาย ตาย ธรรมชาติ (ร้อย 148.52

ละ)

2546 8,898 5,991 71 1 10.24 6.90 7.98 11.24 0.33

2547 9,536 6,314 65 1 11.35 7.52 6.82 10.49 .038 151.03

2548 9,202 6,915 72 1 10.92 8.21 7.82 10.87 .027 133.07

2549 9,174 6,132 72 1 10.87 7.27 7.85 10.90 0.36 149.61

2550 9,333 6,673 66 0 11.08 7.92 7.07 0.00 0.32 139.86

2551 9,049 6,603 56 2 10.72 7.82 6.19 22.10 0.29 137.04

2552 9,356 6,542 47 3 11.08 7.75 5.02 32.06 0.33 143.01

2553 8,891 7,022 54 2 10.51 8.30 6.09 22.99 0.22 126.62

2554 9,147 6,697 58 0 10.81 7.92 6.34 0.00 0.29 137.00

2555 9,242 6,806 39 1 10.91 8.03 4.22 10.82 0.28 135.86

2556 8,739 6,817 24 2 10.07 7.85 2.75 11.44 0.22 126.62

2557 8,586 6,862 36 1 9.89 7.90 3.93 12.35 0.20 125.12

2558 8,307 7,112 23 2 9.78 8.38 2.91 28.12 0.14 116.80

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 21

บทที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไป

จำนวน อตั รา

ปี เกิดมี ตาย ทารก มารดา เกิดมี ตาย ทารก มารดา อตั ราเพิ่มตาม ดัชนชี พี
ชีพ ตาย ตาย ชพี ตาย ตาย ธรรมชาติ (รอ้ ย

ละ)

2559 7,596 7,345 19 1 8.94 8.64 2.50 13.61 0.03 103.42

2560 7,463 7,190 35 0 8.75 8.47 4.72 0.00 0.03 103.00

2561 7,161 7,418 41 2 8.68 8.75 5.54 28.53 (-0.03) 104.31

2562 6,682 7,891 32 2 7.90 9.34 4.80 29.90 (-0.14) 89.58

2563 6,409 7,777 36 2 7.57 9.21 5.62 31.21 (-0.16) 82.37

ท่มี า : 1. กรมการปกครอง (http://203.113.86.149/xstat/tran/birth51_3.html)

2. ขอ้ มลู เกิด-ตาย ปี 2559-2563 (https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/birth)
หมายเหตุ : 1. มารดาตายคอื การตายเนื่องจากการคลอดและภาวะแทรกในการมีครรภ์และระยะอย่ไู ฟ (ภายใน 6 สปั ดาหห์ ลังคลอด)

2. อตั ราเกิดมชี ีพและตายตอ่ ประชากร 1,000 คน
3. อัตราทารกตายตอ่ เกิดมชี ีพ 1,000 คน และมารดาตายต่อเกดิ มชี พี 100,000 คน
4. อตั ราเพิ่มตามธรรมชาติ (รอ้ ยละ) : จำนวนเกดิ ลบดว้ ย จำนวนตาย หารด้วยจำนวนประชากรกลางปี คูณดว้ ย 100
5. ดชั นชี ีพ (จำนวนเดก็ เกดิ มีชีพ/จำนวนคนตาย) X 100
ประชากรกลางปี bps.moph.go.th/new_bps/ขอ้ มลู ประชากรกลางปี
ปี 2562 สุพรรณบุรี 845,012 คน ประเทศ 65,557,054 คน ปี 2563 สุพรรณบุรี 844,476 คน

ขอ้ มลู การเกดิ สำนกั บริหารการทะเบียน กรมการปกครอง
(https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statMONTH/INTERNET/#/TableTemplate/statbirth)

22 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี ปงี บประมาณ 2563

ขอ้ มูลทั่วไป บบทททที่ ี่11

ตารางท่ี 12 สถติ ชิ พี จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2563 และ ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2562

สถิติชีพ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ประเทศไทย

ปี พ.ศ. 2563 ปี พ.ศ. 2562

1. อตั ราเกดิ มีชีพ (Crude Birth Rates) 7.571 9.102
2. อตั ราตาย (Mortality Rates) 9.201 7.502
3. อตั ราเพมิ่ ตามธรรมชาติ (Natural Growth) -1.631 0.202
4. อัตราทารกตาย (ต่อการเกิดมีชพี 1,000 คน) 5.621 5.602
5. อัตรามารดาตาย (ตอ่ การเกดิ มีชพี 100,000 คน) 31.211 22.502

6. อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ( จำนวนปีเฉล่ียทค่ี าดวา่
บคุ คลทเี่ กดิ มาแล้วจะมชี วี ิตอยู่ต่อไปอกี ก่ปี )ี

ชาย 73.771 73.283

หญงิ 80.961 80.103

7. อายคุ าดเฉลยี่ ท่ีอายุ 60 ปี (จำนวนปีเฉลี่ยที่คาดวา่ 22.131 17.103
ผทู้ ม่ี อี ายุ 60 ปี จะมีชีวิตอยู่ต่อไปอกี กี่ป)ี

ชาย

หญงิ 25.411 22.8033

ท่มี า : 1กลุ่มงานพฒั นายุทธศาสตรฯ์ สสจ.สพุ รรณบรุ ปี ี 2563
2สถิตสิ าธารณสุข พ.ศ.2562 (http://bps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/statistic62.pdf)
3สารประชากร มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล (ฉบบั เดอื นมกราคม)

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 23

บทท่ี 1 ขอ้ มูลท่วั ไป

อายคุ าดเฉลีย่ ตารางท่ี 13 อายุคาดเฉล่ียของประชากร จังหวดั สุพรรณบรุ ี

อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (ความยืนยาว ปี พ.ศ. 2563
ของชีวิตตั้งแต่แรกเกิด-ตาย) ของประชากร อายุคาดเฉลยี่ (Expectation of Life)
จังหวัดสุพรรณบุรี ในปี 2563 (จากข้อมูล กลุ่มอายุ
กรมการปกครอง) อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ชาย หญงิ รวม
แยกตามเพศ พบว่า เพศหญิงมีอายุยืนยาวกว่า
เพศชาย กล่าวคือ เพศหญิงมีอายุคาดเฉลี่ยเม่ือ < 1 73.77 80.96 77.38
แรกเกิดเท่ากับ 80.96 ปี เพศชายมีอายุคาด
เฉลี่ยเมื่อแรกเกิดเท่ากับ คือ 73.77 ปี ในภาพรวม 1 - 4 73.25 80.31 76.80
ทั้ง 2 เพศมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดเท่ากับ
77.38 ปี 5 - 9 69.38 76.45 72.94

อายุคาดเฉลี่ยเมื่ออายุ 60 ปี (อายุท่ี 10 - 14 64.48 71.58 68.05
คาดว่าจะยืนยาวต่อไปหลังจากอายุ 60 ปี)
พบว่า เพศหญิงจะมีอายุยืนยาวต่อไปอีก 15 - 19 59.59 66.64 63.14
ประมาณ 25.41 ปี ขณะทผี่ ชู้ ายจะมีอายุยืนยาว
หลงั อายุ 60 ปี ต่อไปอกี 22.13 ปี (ตารางท่ี 13) 20 - 24 55.05 61.81 58.46

เมื่อพิจารณาอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด 25 - 29 50.51 57.01 53.80
ของประชากรจังหวัดสุพรรณบุรีเทียบกับ
ระดับประเทศในช่วงเวลาที่ใกล้เคียงกัน พบว่า 30 - 34 46.07 52.27 49.23
อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของประชากรจังหวัด
สุพรรณบุรีเพศชายและเพศหญิงสูงกว่าอายุ 35 - 39 41.53 47.57 44.62
คาดเฉลีย่ ของระดับประเทศ ดังรูปท่ี 4 และ 5
40 - 44 37.13 42.89 40.09

45 - 49 33.04 38.31 35.78

50 - 54 29.20 33.92 31.68

55 - 59 25.60 29.62 27.74

60 - 64 22.13 25.41 23.91

65 - 69 18.90 21.67 20.42

70 - 74 15.94 17.91 17.05

75 - 79 13.49 14.56 14.11

>80 11.44 11.84 11.68

24 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2563

ขอ้ มลู ทวั่ ไป บบทททที่ ี่11

100.00 73.77 73.28 80.96 80.1 100.00

50.00 50.00
0.00
22.13 20.1 25.41 23.3

0.00 หญงิ ชาย หญงิ
ชาย สพุ รรณบรุ ี ประเทศไทย

สพุ รรณบรุ ี ประทศไทย

รปู ที่ 4 อายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกดิ ของประชากรเพศชาย รปู ท่ี 5 อายุคาดเฉลีย่ เมอื่ อายุ 60 ปี ของประชากรเพศชาย
จงั หวัดสุพรรณบุรี พ.ศ.2563 และประเทศไทย พ.ศ.2562 จงั หวัดสุพรรณบุรี พ.ศ.2563 และประเทศไทย พ.ศ.2562

ทมี่ า : 1กล่มุ งานพฒั นายุทธศาสตรฯ์ สสจ.สุพรรณบรุ ีปี 2563
สถติ สิ าธารณสขุ พ.ศ.2562 กองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน สำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ขอ้ มลู เบอ้ื งต้นของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 25

26 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2563 สาเหตุการปว่ ย
จากการรวบรวมข้อมลู กลมุ่ ผู้ป่วยนอก โดยประมวลผลจากระบบ HDC (คลงั ขอ้ มูลสำนกั

กลุ่มโรคทีเ่ ป็นสาเหตุการเจบ็ ปว่ ยที่สำคัญของประชาชนจังหวดั สุพรรณบรุ ี คือ 1.ความดันโลหติ ส
โครงสร้าง 5.การติดเชื้อของทางเดนิ หายใจส่วนบนแบบเฉยี บพลนั อน่ื ๆ 6.พยาธสิ ภาพของหลงั สว่
บาดเจบ็ ระบเุ ฉพาะอื่น ๆ ไมร่ ะบเุ ฉพาะและหลายบรเิ วณในร่างกาย 10.โรคอื่น ๆ ของผวิ หนงั และ

ช่อื กลมุ่ (298โรค) 2559 2560

145 ความดันโลหิตสงู ทีไ่ ม่มีสาเหตุนำ จำนวน อัตรา จำนวน อตั

104 เบาหวาน 413,185 48,627 413,783 48,90
207 เนอื้ เยือ่ ผดิ ปกติ 312,879 36,822 321,426 37,99
181 ความผิดปกติอืน่ ๆ ของฟันและโครงสรา้ ง 233,397 27,468 237,593 28,08
167 การตดิ เชอื้ ของทางเดินหายใจส่วนบน แบบ 140,157 16,495 174,513 20,62
เฉยี บพลันอน่ื ๆ
206 พยาธสิ ภาพของหลงั สว่ นอ่ืน ๆ 172,952 20,355 181,120 21,40
180 ฟันผุ
185 โรคอื่น ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะ 156,053 18,366 155,807 18,41
และดโู อเดนมั 92,155 10,846 93,659 11,07
281 การบาดเจ็บระบเุ ฉพาะอ่ืน ๆ ไมร่ ะบุเฉพาะ
และหลายบรเิ วณในร่างกาย 85,367 10,047 85,546 10,11
99 โรคอ่นื ๆ ของผิวหนงั และเน้ือเยื่อใต้ผวิ หนัง
83,015 9770 73,384 8,64
82,105 9,663(10) 78,262 9,25

ทม่ี า : คลังข้อมูลสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี (Health Data Center) ณ วันท

กงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ )ี ในรอบ 5 ปที ผ่ี ่านมา พบวา่ 10 ลำดับแรกของ บทที่ 1
สูงที่ไมม่ สี าเหตนุ ำ 2.เบาหวาน 3.เนื้อเยอ่ื ผิดปกติ 4. ความผดิ ปกตอิ น่ื ๆ ของฟันและ
วนอนื่ ๆ 7.ฟนั ผุ 8.โรคอ่ืน ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดูโอดินมั 9.การ
ะเน้ือเยอื่ ใตผ้ ิวหนัง (ตารางที่ 13 รูปท่ี 6)

2561 2562 2563

ตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อตั รา

07(1) 369,772 43,400(1) 368,063 43,367(1) 364,159 43,122(1)
91(2) 267,856 31,438(2) 255,873 30,148(2) 241,056 28,545(2)
82(3) 202,968 23,822(3) 183,377 21,606(3) 169,443 20,065(3)
27(5) 185,746 21,801(4) 181,890 21,431(4) 132,369 15,675(4)

08(4) 162,143 19,031(5) 136,708 16,107 (5) 116,550 13,801(5)

16(6) 128,250 15,053(6) 119,822 14,118(6) 103,932 12,307(6)
70(8) 69,134 8,114(8) 68,731 8,098(7) 63,273 7,493(7)

11(7) 73,570 8,635(7) 66,040 7,781(8) 62,291 7,376(8)

48(9) 66,651 7,823(9) 62,893 7,410(9) 56,850 6,732(9)
52,312 6,195(10)
50(10) 60,331 7,081(10) 54,828 6,460(10)

ที่ 1 ธันวาคม 2563 ประชากรกลางปี 2563 คือ 844,476 คน

ขอ้ มลู ท่วั ไป

ขอ้ มลู ทว่ั ไป บบทททที่ ี่11

10 อนั ดับโรคผปู้ ่วยนอก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

199 โรคอน่ื ๆ ของผวิ หนังและเนือ้ เยื่อใตผ้ ิวหนัง 6,195

281 การบาดเจบ็ ระบุเฉพาะอื่น ๆ , ไมร่ ะบเุ ฉพาะและหลายบรเิ วณในร่างกาย 6,732

185 โรคอนื่ ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดูโอเดนัม 7,376

180 ฟนั ผุ 7,493

206 พยาธิสภาพของหลงั ส่วนอ่นื ๆ 12,307

167 การติดเชือ้ ของทางเดนิ หายใจสว่ นบนแบบเฉียบพลนั อืน่ ๆ 13,801

181 ความผดิ ปกติอื่น ๆ ของฟนั และโครงสร้าง 15,675

207 เนอื้ เยอื่ ผดิ ปกติ 20,065

104 เบาหวาน 28,545

145 ความดันโลหติ สูงทไี่ ม่มีสาเหตนุ า 43,122

0 5000 10000 15000 20000 25000 30000 35000 40000 45000 50000

298 กลมุ่ โรค (สาเหตุโรคหลัก) จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ พ.ศ.2563

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 27

28 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2563 สำหรับผ้ปู ว่ ยใน สาเหตุการเจบ็ ปว่ ยท่ีสำคัญ จำแนกตามกลมุ่ สาเหตุการปว่ ย
บวมไม่ระบุรายละเอียด 2.การดูแลมารดาทีม่ ีแผลเปน็ ทมี่ ดลกู เนอื่ งจากการผ่าตดั 3.ก
และเอ็นที่ใช้เหยียดนิ้วมืออื่นที่ระดับข้อมือและมือ 5.หัวใจล้มเหลว 6.โลหิตจา
9.ภาวะแทรกซอ้ นอืน่ ๆ ของการต้ังครรภ์ และการคลอด 10.โรคหลอดลมอกั เสบ ถ

ตารางที่ 15 จำนวนและอตั ราปว่ ยตอ่ ประชากรแสนคน ของผู้ป่วยใน จำแนกตาม
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ พ.ศ.2559-2563

ชอ่ื กลมุ่ (298 กลุ่มโรค) 2559 จำนว

169 ปอดบวม ไมร่ ะบุรายละเอยี ด จำนวน อตั รา 5,77
239 การดูแลมารดาทมี่ ีแผลเปน็ ทมี่ ดลกู เน่ืองจากการผ่าตดั 3,82
217 การตดิ เชือ้ ในทางเดินปสั สาวะ ไมร่ ะบุตำแหนง่ 5,205 613 2,25
281 การบาดเจบ็ ทก่ี ล้ามเน้ือยาวและเอ็นท่ีใช้เหยยี ดนวิ้ มอื อนื่ 3,797 447
ท่ีระดบั ข้อมอื และมือ 1,984 233 3,12
151 หวั ใจลม้ เหลว
098 โลหิตจางอน่ื ๆ 3,162 372 2,22
154 เนือ้ สมองตาย
133 ต้อกระจกและความผิดปกติของเลนส์อืน่ ๆ 1,951 230
242 ภาวะแทรกซอ้ นอน่ื ๆของการตงั้ ครรภ์ และการคลอด
175 โรคหลอดลมอกั เสบ ถุงลมโปง่ พองและปอดชนดิ อุดกนั้ 4101 483 3235
แบบเรือ้ รงั อืน่

ทม่ี า : คลังข้อมูลสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วนั ท่ี 1 ธนั วาคม 2

ย 298 กลุ่มโรค (สาเหตุโรคหลกั ) 10 ลำดบั แรกในปี พ.ศ.2563 ไดแ้ ก่ 1.ปอด บทที่ 1
การติดเช้อื ในทางเดนิ ปัสสาวะ ไมร่ ะบุตำแหนง่ 4.การบาดเจบ็ ทีก่ ล้ามเน้ือยาว
างอื่น ๆ 7.เนื้อสมองตาย 8.ต้อกระจกและความผิดปกติของเลนส์อื่น ๆ
ถุงลมโปง่ พองและปอดชนิดอุดกั้นแบบเร้ือรังอน่ื (ตารางที่ 15 รปู ที่ 7)

มกลุม่ สาเหตุการปว่ ย 298 กลมุ่ โรค (สาเหตุโรคหลัก) 10 ลำดับแรก

2560 2561 2562 2563

วน อตั รา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อตั รา
4,458
74 680 6,409 752 5,013 591(1) 3,290 528(1)
26 451 3,708 435 3,488 411(2) 390(2)
55 266 2,175 255 2,260 266(6)
28 369 2,664 312 2,434 287(4) 2,352 279(3)
26 262 2,288 268 2,250 265(7)
2,306
5 381 3574 419 2831 334(3) 273(4)

2,258 267(5)
261(6)
2,200 246(7)
2,076 235(8)
228(9)
1,984 227(10)

1,929

1,916

2563 ประชากรกลางปี 2563 คอื 844,476 คน

ขอ้ มลู ท่วั ไป

ขอ้ มูลท่ัวไป บบทททท่ี ่ี11

10 อนั ดับโรคผูป้ ่วยใน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563

175 โรคหลอดลมอักเสบ ถงุ ลมโปง่ พองและปอดชนิดอุดกนั้ แบบ 227
เร้อื รงั อ่นื 228

242 ภาวะแทรกซ้อนอน่ื ๆของการต้งั ครรภ์ และการคลอด

133 ตอ้ กระจกและความผดิ ปกตขิ องเลนสอ์ น่ื ๆ 235

154 เนอ้ื สมองตาย 246

098 โลหติ จางอ่ืน ๆ 261

151 หวั ใจล้มเหลว 267

281 การบาดเจบ็ ท่กี ลา้ มเน้อื ยาวและเอน็ ท่ใี ชเ้ หยยี ดนิว้ มอื อื่น 273

217 การติดเช้ือในทางเดนิ ปสั สาวะ ไมร่ ะบตุ าแหน่ง 279

239 การดแู ลมารดาทีม่ ีแผลเปน็ ที่มดลกู เนื่องจากการผา่ ตัด 390

169 ปอดบวม ไม่ระบรุ ายละเอียด 528
0 100 200 300 400 500 600

รูปท่ี 7 อตั ราผปู้ ว่ ยในต่อประชากร 100,000 คน 10 ลำดับแรก จำแนกตามกลุ่มสาเหตุการปว่ ย 298 กลมุ่ โรค
(สาเหตุโรคหลัก) จงั หวดั จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2563

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 29

บทท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไป

การเจ็บปว่ ยของผปู้ ่วยในจากกลุ่มโรคไม่ตดิ ต่อท่สี ำคัญ
การเจ็บป่วยของผูป้ ่วยในจากกลุม่ โรคไม่ตดิ ต่อที่สำคัญ พบว่า กลุ่มโรคมะเร็งทกุ ชนิด มีอัตราป่วยมากท่สี ุด

ในกล่มุ นี้ โดยมอี ตั ราปว่ ยเพิม่ ข้ึนเล็กนอ้ ยจากปี 2559-2560 และค่อนขา้ งคงที่ ในปี 2561-2562 และเพิ่มขึ้นชัดเจน
ในปี 2563 คือมีอัตรา 705.05 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาได้แก่ กลุ่มโรคเนื้อสมองตายเพราะขาดเลือดไม่ระบุ
รายละเอยี ด อตั ราปว่ ยมแี นวโน้มเพมิ่ ขึ้นทุกปี

กลุ่มโรคเบาหวาน อัตราป่วยมีแนวโน้มลดลงทุกปี จากปี 2559-2563 มีอัตราป่วย 258.92, 241.47,
219.83, 218.68, และ 215.99 ตามลำดับ

กลุ่มโรคไตวายเรื้อรัง มีอัตราป่วยลดลง จากปี 2559-2561 แต่กลับเพิ่มขึ้นชัดเจนในปี 2562-2563 คือมี
อตั รา 53.87, 62.56 และ 85.56 ตามลำดบั

กลุ่มโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่มีสาเหตุนำ มีอัตราป่วยเพิ่มขึ้นและลดลงสลับกันไปในปี 2559-2563 โดยมี
อตั ราป่วย 97.45, 102.88, 91.78, 93.67 และ 68.44 ตามลำดบั สว่ นกล่มุ โรคหัวใจขาดเลอื ด มีแนวโนม้ ลดลงตง้ั แต่
ปี 2559-2562 และเพิม่ ขึ้นเล็กน้อยในปี 2563 (ตารางที่ 16 รปู ท่ี 8)

ตารางท่ี 16 อัตราป่วยตอ่ ประชากร 100,000 คน ของผูป้ ว่ ยในกลุม่ โรคไม่ตดิ ตอ่ ท่ีสำคัญ จำแนกตามกลุ่ม
สาเหตุการป่วย 298 กลุ่มโรค (สาเหตุโรคหลัก) จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559–2563

ช่ือกลมุ่ (298โรค) 2559 2560 2561 2562 2563

1.มะเรง็ ทุกชนิด จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อตั รา จำนวน อตั รา จำนวน อตั รา
(58-96) 5,954 705.05(1)
2.เนอื้ สมองตาย 4,498 529.36 4,859 572.61 5,129 601.99 5,103 601.26
เพราะขาดเลือด 1,373 161.59 1,582 186.43
ไมร่ ะบุราย 1,735 203.64 1,881 221.63 2,067 244.77(2)
ละเอียด (154) 2,200 258.92 2,049 241.47
3.โรคเบาหวาน 687 80.85 549 64.70 1,873 219.83 1,856 218.68 1,824 215.99(3)
828 97.45 873 102.88 459 53.87 531 62.56 731 85.56(4)
(104) 782 91.78 795 93.67 578 68.44(5)
687 80.85 638 75.19
4.ไตวายเรือ้ รงั 552 64.79 429 50.55 497 58.85(6)

(214)

5.โรคความดนั
โลหิตสงู ท่ีไมม่ ี
สาเหตนุ ำ (145)
6.โรคหัวใจ
ขาดเลือด (148)

ทม่ี า : คลังข้อมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ (Health Data Center) ณ วนั ที่ 1 ธันวาคม 2563

30 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2563

ข้อมลู ท่วั ไป บบทททที่ ี่11

800

อัตราต่อแสนประชากร 700

600

500

400

300

200

100

0 2559 2560 2561 2562 2563

1.มะเรง็ ทุกชนิด (58-96) 529.36 572.61 601.99 601.26 705.05

2.เน้อื สมองตายเพราะขาดเลือดไม่ระบุ 161.59 186.43 203.64 221.63 244.77
รายละเอียด (154)

3.โรคเบาหวาน (104) 258.92 241.47 219.83 218.68 215.99

4.ไตวายเรอ้ื รงั (214) 80.85 64.7 53.87 62.56 85.56

5.โรคความดนั โลหติ สูงท่ีไม่มีสาเหตุนา(145) 97.45 102.88 91.78 93.67 68.44

6.โรคหวั ใจขาดเลือด (148) 80.85 75.19 64.79 50.55 58.85

รูปที่ 8 อตั ราปว่ ยต่อประชากร 100,000 คน ของผู้ปว่ ยใน กล่มุ โรคไม่ตดิ ต่อทีส่ ำคัญ จำแนกตามกลุ่มสาเหตุ
การป่วย 298 กลุม่ โรค (สาเหตโุ รคหลกั ) จังหวัด สพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2559–2563

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 31

32 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2563 อัตราป่วยของผู้ปว่ ยรายใหม่จากกลุ่มโรคไม่ตดิ ตอ่ ทีส่ ำคญั

การเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญของจังหวัดสุพรรณบุรี ในปี 2559
ป่วยมีแนวโนม้ ลดลงทุกปีคือมีอัตรา 1,587.55, 1,419.57, 1,344.83, 1,278.97
โรคเบาหวาน มีอตั ราการเจ็บปว่ ยลดลงตั้งแต่ปี 2559-2562 แต่มแี นวโนม้ เพ่ิมข้ึนเล
ของโรคหลอดเลือดสมอง โรคปอดอดุ ก้นั เรอื้ รงั และโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด ตา

ตารางที่ 17 อัตราปว่ ยต่อประชากร 100,000 คน ของผูป้ ว่ ยใหม่กลมุ่ โรคไม่ต

อัตราการปว่ ยด้วยโรคไม่ตดิ ตอ่ ทส่ี ำคัญ 2559

จำนวน อตั รา

1.อัตราปว่ ยรายใหม่ของโรคความดันโลหติ สงู 13,487 1,587.55

2.อตั ราปว่ ยรายใหมข่ องโรคเบาหวาน 6,046 711.67

3.อตั ราอบุ ตั ใิ หม่ของโรคหลอดเลอื ดสมอง 548 64.50

4.อัตราปว่ ยรายใหม่ของโรคปอดอุดก้นั เรอื้ รงั 440 51.79

6.อตั ราป่วยรายใหมข่ องผูป้ ่วยโรคหัวใจและหลอดเลอื ด 298 0.04

ท่มี า : คลังข้อมลู สขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ (Health Data Center) ณ วนั ที่ 1 ธันวาคม 2563

9-2563 พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุด แต่อัตรา บทที่ 1
7 และ 1,184.52 ต่อประชากรแสนคนตามลำดบั รองลงมาได้แก่ อัตราการเจ็บป่วยด้วย
เล็กน้อยในปีงบประมาณ 2563 และโรคไมต่ ิดต่อที่มีอัตราป่วยรองลงมา ได้แก่ โรคอุบัติใหม่
ามลำดับ (ตารางท่ี 17 )

ติดตอ่ ท่สี ำคญั จงั หวัดสพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ พ.ศ. 2559–2563

2560 2561 2562 2563

จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อตั รา

12,046 1,419.57 11,458 1,344.83 10,823 1,278.97 10,025 1,184.52(1)

5,203 613.15 4,897 574.76 4,691 554.34 5,6035 594.92(2)

193 22.74 164 19.25 228 26.94 199 23.51(3)

222 26.16 238 27.93 168 19.85 144 17.01(4)

91 0.01 76 0.01 70 0.01 82 0.01(5)

3

ขอ้ มลู ท่วั ไป

ขอ้ มลู ท่วั ไป บบทททท่ี ่ี11

เมื่อพิจารณาสาเหตุการป่วยของผู้ป่วยในด้วยสาเหตุจากกลุ่มโรคมะเร็ง พบว่า ในปีงบประมาณ
2563 มะเร็งลำไส้ใหญ่ไมร่ ะบตุ ำแหนง่ มอี ัตราปว่ ยสงู ท่ีสดุ คอื มอี ตั ราปว่ ย 139.14 ตอ่ ประชากรแสนคน
โดยมีแนวโนม้ เพิ่มข้ึนอย่างชัดเจน จากปี 2562 รองลงมาได้แก่ มะเร็งของลำไส้ตรง มีอัตราป่วย 103.38
ต่อประชากรแสนคน โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนจากปี 2562 เช่นเดียวกับมะเร็งลำไส้ใหญ่ไม่ระบุ
ตำแหน่ง ส่วนลำดับที่ 3-10 มีอัตราป่วยค่อนข้างคงที่ตั้งแต่ปี 2559-2563 ได้แก่ ลำดับที่ 3 เนื้องอกไม่ร้าย
ของหูส่วนกลางโพรงจมูกและโพรงอากาศ มีอัตราป่วย 61.93 ต่อประชากรแสนคน ลำดับที่ 4 มะเร็ง
บริเวณที่เหลื่อมกันของหลอดลมและปอด มีอัตราป่วย 47.01 ต่อประชากรแสนคน ลำดับที่ 5
มะเร็งของเต้านมไม่ระบุตำแหนง่ มีอัตราป่วย 43.81 ต่อประชากรแสนคน ลำดบั ที่ 6 มะเร็งทอ่ น้ำดีในตับ
มีอัตราป่วย 39.55 ต่อประชากรแสนคน ลำดับที่ 7 มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดชนิดบี-เซลล์ ไม่ระบุ
รายละเอียด มีอัตราป่วย 34.10 ต่อประชากรแสนคน ลำดับที่ 8 เนื้องอกไม่ร้ายของกล้ามเนื้อมดลูก ไม่
ระบุรายละเอียด มีอัตราป่วย 31.26 ต่อประชากรแสนคน ลำดับที่ 9 มะเร็งของกระเพาะอาหารไม่ระบุ
ตำแหน่ง มีอัตราป่วย 23.09 ต่อประชากรแสนคน และลำดับที่ 10 มะเร็งทุติยภูมิของตับและท่อน้ำดีใน
ตบั มอี ตั ราปว่ ย 21.31 ตอ่ ประชากรแสนคน ตามลำดบั (รปู ที่ 9)

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 33

34 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2563

รปู ที่ 9 อัตราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผ้ปู ่วยใน จำแนกตามกลุ่มสาเหต
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559-2563

ทม่ี า : คลงั ขอ้ มลู สขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วนั ที่ 1 ธนั วาคม 2563

บทที่ 1

ตกุ ารปว่ ย 298 กล่มุ โรค (สาเหตุโรคหลกั ) ดว้ ยสาเหตุโรคมะเร็ง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

ขอ้ มลู ท่วั ไป

ขอ้ มลู ทวั่ ไป บบทททที่ ่ี11

สถานการณก์ ารเจบ็ ป่วยดว้ ยกล่มุ โรคติดตอ่ ท่ีสำคัญ

สำหรับกลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ ไดแ้ ก่ โรคปอดบวมมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเน่ือง แต่ลดลง
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562-2563 ในขณะที่หลอดลมอักเสบเฉยี บพลันและโรคติดเชื้อท่ีลำไส้จากไวรัสไม่
ระบุชนดิ มอี ัตราป่วยผู้ป่วยในเพ่ิมข้ึนเล็กน้อย แตล่ ดลงในปีงบประมาณ พ.ศ.2562-2563 และไข้หวัด
ใหญ่ มีอัตราป่วยผู้ป่วยในเพิ่มขึ้นมากในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน
เฉยี บพลันมอี ัตราป่วยผปู้ ่วยในคงท่ีต้งั แตป่ ีงบประมาณ พ.ศ.2559-2562 และลดลงในปี 2563 (รูปที่ 10)

900.00

800.00 768.42

700.00 680.44
600.00
612.57 584.50

512.91

500.00

400.00 321.76 330.44 330.52

281.34
300.00 216.55

200.00 140.83
98.39
84.15 59.86 80.40
100.00

0.00
2559 2560 2561 2562 2563

169.ปอดบวม ไม่ระบรุ ายละเอยี ด

170.หลอดลมอกั เสบเฉยี บพลนั ไม่ระบรุ ายละเอียด

6.โรคตดิ เช้อื ท่ีลาไสจ้ ากไวรัสซง่ึ ไม่ระบุชนดิ

168.ไขห้ วัดใหญ่รว่ มกบั อาการแสดงอน่ื ทางระบบหายใจ ไมร่ ะบุชนดิ ไวรัส

167.การติดเช้ือทางเดนิ หายใจส่วนบนเฉยี บพลนั หลายตาแหนง่ อน่ื

รูปที่ 10 อัตราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผู้ป่วยใน จำแนกตามกลุ่มสาเหตุการป่วย 298 กลุ่ม
โรค (สาเหตโุ รคหลัก) ระบบหายใจส่วนบนติดเช้ือเฉียบพลัน, ไขห้ วัดใหญ่ ปอดบวม หลอดลมอักเสบ และ
โรคติดเชอื้ อ่ืน ๆ ของลำไส้ จังหวดั สพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2559-2563

ท่มี า : คลังข้อมลู สขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2563

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 35

บทที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไป

กลุ่มโรคไข้เลือดออกจากเชื้อเด็งกี่ มีการระบาดตามฤดูกาลซึ่งมีอัตราป่วยสูงในปี พ.ศ.2561-
2562 ในขณะทว่ี ัณโรคปอดมีอัตราปว่ ยคงท่ี โดยมีอตั ราป่วยตำ่ ปีสดุ ปี พ.ศ.2560 (รูปท่ี 11)

3.ไข้เลือดออกเด็งกี
7.วณั โรคปอด ยืนยันด้วยผลการตรวจเสมหะโดยใช้กลอ้ งจุลทรรศน์ อาจมหี รือไม่มีการเพาะเช้ือ

300.00 253.29 250.47
250.00
200.00 211.72
150.00
100.00 184.08
50.00
121.62
0.00
50.96 47.85 52.98 50.70 49.97

2559 2560 2561 2562 2563

รูปท่ี 11 อัตราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผู้ป่วยใน จำแนกตามกลุ่มสาเหตุการป่วย 298
กลุ่มโรค (สาเหตโุ รคหลัก) ดว้ ยวณั โรค และโรคไข้เลือดออก จังหวัดสุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2559-2563

ที่มา : คลังข้อมลู สุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ (Health Data Center) ณ วนั ท่ี 1 ธันวาคม 2563

36 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2563

ขอ้ มลู ทั่วไป บบทททท่ี ่ี11

สถานการณ์การเจ็บปว่ ยดว้ ยกลุม่ โรคท่ีตอ้ งเฝา้ ระวงั ทางระบาดวิทยา
จากการพิจารณาการเจ็บป่วยด้วยกลุ่มโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของประชาชนจังหวัด

สุพรรณบุรี พบว่า อัตราป่วยลำดับที่ 1-7 ของปี 2563 ยังคงเหมือนกับปี 2562 โดยปี 2563 โรคอุจาระร่วง มี
อัตราป่วยสูงที่สดุ คือ 969.12 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาได้แก่ ไขไ้ มท่ ราบสาเหตุ, โรคปอดอกั เสบ อตั ราป่วย
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่วนโรคไข้หวัดใหญ่ อัตราป่วยค่อนข้างคงท่ี โรคไข้เลอื ดออก อัตราป่วยมแี นวโน้มเพิ่มขึ้น วัณ
โรคปอดรายใหม่ และอาหารเป็นพิษ อัตราป่วยมีแนวโน้มลดลง ส่วนลำดับที่ 8-10 มีการสลับลำดับกันเล็กน้อย
(ตารางที่ 18)

ตารางท่ี 18 จำนวนและอัตราป่วย ด้วยโรคทต่ี ้องเฝา้ ระวังทางระบาดวทิ ยา พ.ศ.2562–2563 จงั หวัดสพุ รรณบุรี

โรคเฝ้าระวังทางระบาด พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563

ลำดับ วิทยา จำนวนป่วย(ราย) อัตราปว่ ย/แสน จำนวนป่วย(ราย) อตั ราป่วย/แสน

1. โรคอจุ าระรว่ ง 7,691 902.70(1) 8,201 969.12(1)

2. ไข้ไมท่ ราบสาเหตุ 2,251 264.20(2) 2,920 345.06(2)

3. โรคปอดอักเสบ 1,477 173.36(4) 1,878 221.93(3)

4. โรคไข้หวดั ใหญ่ 1,549 181.81(3) 1,525 180.21(4)

5. โรคไข้เลือดออก 691 81.10(5) 797 94.18(5)

6. วณั โรคปอดรายใหม่ 606 71.13(6) 578 68.30(6)

7. โรคอาหารเป็นพิษ 548 64.32(7) 424 50.10(7)

8. โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพันธ์ 108 12.68(10) 367 43.37(8)

9. โรคตาแดง 133 15.61(9) 350 41.36(9)

10. โรคสุกใสหรืออสี ุกอีใส 265 31.10(8) 241 28.48(10)

ท่ีมา : รายงาน 506 กลุ่มงานควบคมุ โรคติดตอ่ สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี ณ 31 มกราคม 2564

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 37

บทที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไป

ขอ้ มูลการตาย

การตายของประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2563 มีจำนวน 7,777 คนต่อปี เมื่อจำแนกตาม
เพศพบว่า จำนวนการตายของเพศชายสงู กวา่ เพศหญงิ มาตลอด (รูปท่ี 12)

9,000 7,891 7,777
8,000
7,000 6,861 7,112 7,345 7,189 7,010
6,000
5,000 6,697 6,806 6,816
4,000
3,000 3,711 3,752 3,724 3,759 3,839 3,932 3,890 3,812 4,295 4,161
2,000 2,986 3,054 3,092 3,102 3,273 3,413 3,299 3,198 3,596 3,616
1,000

-

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ชาย หญงิ รวม

รูปท่ี 12 จำนวนการตายของประชากร จำแนกตามเพศ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2554-2563

38 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ 2563

ตารางท่ี 19 จำนวนและอัตราตายต่อประชากรแสนคน จำแนกตามกลุ่มสาเหตกุ ารตา

ICD-10 สาเหตุการตาย 2559

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 I00-I99 โรคของระบบไหลเวยี นโลหติ จำนวน อ
C00-D48 มะเรง็
J00-J98 โรคของระบบหายใจ 981 1
A00-B99 โรคติดเชอ้ื และโรคปรสติ บางโรค 972 1
V01-Y89 สาเหตภุ ายนอกของการเจบ็ ปว่ ยและการตาย 732
N00-N98 โรคของระบบสืบพันธุแ์ ละระบบปัสสาวะ 619
K00-K92 โรคของระบบยอ่ ยอาหาร 553
E00-E88 โรคของต่อมไรท้ อ่ โภชนาการ และเมตะบอลิซมึ 254
L00-L98 โรคของผิวหนังและเน้ือเยื่อใต้ผวิ หนงั 237
M00-M99 โรคของระบบกล้ามเนอ้ื โครงร่าง และเน้ือเยือ่ เกย่ี วพัน 177
F01-F99 ความผดิ ปกตทิ างจิตและพฤติกรรม 47
Q00-Q99 รปู ผิดปกติแตก่ ำเนดิ รูปพกิ าร และความผิดปกติของโครโมโซม 23
P00-P96 ภาวะบางอยา่ งทเ่ี รมิ่ ต้นในระยะปรกิ ำเนิด 12
D50-D89 12
O00-O99 โรคของเลือดและอวยั วะสร้างเลอื ดและความผดิ ปกตขิ องภูมคิ ุ้มกนั 19
G00-G98 23
การตงั้ ครรภ์ การคลอด และระยะหลังคลอด 1
R00-R99 โรคของระบบประสาท 214
อาการ อาการแสดง และความผิดปกตทิ พ่ี บจากกาตรวจทาง
คลนิ ิกและทางหอ้ งปฏิบตั ิการมไิ ดจ้ ำแนกไว้ 2,467 2

รวม 7,345 8

ทมี่ า : ข้อมลู เกิด-ตาย ปี 2559-2563 (https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/birth)

39

าย ของประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2559-2563

อัตรา 2560 2561 2562 2563 ขอ้ มูลทวั่ ไป

115.61 จำนวน อตั รา จำนวน อตั รา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา
114.55
86.26 995 117.26 1,118 131.84 1,258 148.87 1,171 138.67
72.95 124.68 1,127 132.90 1,210 143.19 1,031 122.09
65.17 1,058 690 81.37 846 100.12 787 93.19
29.93 530 62.50 460 54.44 708 83.84
27.93 729 85.91 678 79.95 651 77.04 575 68.09
20.86 343 40.45 460 54.44 342 40.50
214 585 68.94 258 30.42 328 38.82 233 27.59
2.71 228 26.89 260 30.77 229 27.12
1.41 522 61.52 70 8.25 58 6.86 37 4.38
1.41 30 3.54 48 5.68 20 2.37
2.24 261 30.76 23 2.71 31 3.67 18 2.13
2.71 15 1.77 21 2.49 15 1.78
0.12 234 27.58 27 3.18 13 1.54 13 1.54
25.22 14 1.65 12 1.42
164 19.33 8 0.95
290.73 1 0.12 1 0.12 2 0.24
36 4.24 207 24.41 429 50.77 938 111.07
868.12
22 2.59

12 1.41

11 1.3

13 1.53

6 0.71

00

517 60.93 บบทททท่ี ่ี11

2,022 238.28 2,059 242.81 1,805 213.61 1,650 195.39

7,187 849.68 7,418 874.77 7,891 933.83 7,777 920.93


Click to View FlipBook Version