The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-26 00:54:33

รายงานประจำปี2563

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Governance Excellence บบทททท่ี 5่ี 1

ปัญหาอุปสรรค

1. บคุ ลากรแพทยแ์ ผนไทยมีไมเ่ พียงพอ
2. การจัดบรกิ ารยังไมเ่ ป็นไปตามมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสรมิ และสนบั สนุน
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน (รพ.สส.พท.)

ข้อเสนอแนะ

หนว่ ยบริการสาธารณสุข ทม่ี ีผลการประเมนิ มาตรฐานโรงพยาบาลสง่ เสริมและสนับสนุน
การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยผ์ สมผสาน (รพ.สส.พท.) ที่อย่ใู นระดบั พื้นฐานและระดับดี ควร
ปรบั ปรุงมาตรฐาน 2 ด้าน คือด้านท่ี 2 เร่ืองบคุ ลากรท่ีปฏบิ ัตงิ านในหน่วยบรกิ าร และดา้ นที่ 5 เรื่อง
การจัดการบริการเพื่อยกระดับมาตรฐานให้อย่รู ะดบั ดีมากและดเี ย่ยี มต่อไป

2. มาตรฐานการนวดไทยในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ

ตาราง สรผุ ลการประเมนิ นวดไทยในสถานพยาบาลของรฐั ปงี บประมาณ 2563

อำเภอ มาตรฐาน ดีเยยี่ ม รวม
รพ. รพ.สต.
รพ. รพ.สต. 11 3
-1 3
เมอื ง - 1 1- 3
-- 2
เดมิ บางนางบวช 1 1 -1 3
-- 1
ดา่ นช้าง -2 11 2
-1 2
บางปลามา้ 11 -- 1
-- 1
ศรีประจันต์ 11 35 21

ดอนเจดยี ์ 1-

สองพี่น้อง --

สามชุก 1 -

อูท่ อง 1 -

หนองหญ้าไซ 1 -

รวม 7 6

หมายเหตุ ขอ้ มลู ณ วันท่ี 30 สิงหาคม 2563

ปญั หาอุปสรรค

นกั การแพทยแ์ ผนไทยไม่ครอบคลมุ ทกุ หน่วยบริการสาธารณสขุ จงึ ไมส่ ามารถประเมนิ
มาตรฐานการนวดไทยได้

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 235


บทที่ 5 Governance Excellence

ข้อเสนอแนะ

ควรมีเกณฑป์ ระเมินนวดไทยในสถานพยาบาลของรัฐของหนว่ ยบริการสาธารณสขุ ทไี่ ม่มี
นักการแพทยแ์ ผนไทยปฏิบัตงิ าน เพื่อประเมนิ ให้ไดผ้ า่ นมาตรฐานตอ่ ไป

งานมาตรฐานการบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกของจงั หวัดสพุ รรณบุรี
ปีงบประมาณ 2563 ในชว่ งที่มสี ถานการณ์การแพร่กระจายของไวรัสโคโรนา 2019 หรอื โรคโควิค 19
ทางจังหวัดสพุ รรณบรุ ี ได้มีประกาศทางกระทรวงสาธารณสขุ โดยกรมการแพทย์แผนไทย เรอื่ ง
แนวทางการใหบ้ ริการทางการแพทย์แผนไทยในสถานบรกิ ารสถานของรฐั เพอ่ื ถือปฏิบัติในแนวทาง
ปอ้ งกนั การแพรข่ องเช้อื โรคโควิค โดยเคร่งครัด ตง้ั แตช่ ว่ งการแพร่กระจายของโรค ตงั้ แตเ่ ร่ิมมีการ
แพร่กระจายของโรค จนถึงช่วงผ่อนคลายของการแพรก่ ารจายของโรค ให้แตล่ ะหน่วยบริการใชแ้ นว
ทางการให้บริการทางการแพทยแ์ ผนไทยในสถานบริการสถานของรฐั เพื่อปอ้ งกันควบคุมโรคตดิ เช้ือ
ไวรสั โคโรนา 2019 หรอื โรคโควิค 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) พ.ศ. 2563 (ฉบบั
ที่ 2) เพื่อถือปฏบิ ัติโดยท่ัวกัน นั้น ตามประกาศ ฯ ทแี่ นบมาท้ายนี้

ตาราง การปฏิบตั ิการบริการแบบ New normal ของงานการแพทยแ์ ผนไทยของหนว่ ยบรกิ าร
สาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

บริการ past new

1. ผู้รบั บรกิ าร walk in/โทร.จองควิ 1. โทร.จองคิวล่วงหน้า

2. ให้บรกิ ารตามผ้ปู ว่ ยเข้ามา 2. จำกัดผ้เู ข้ารับบรกิ ารรอบ

3. มรี อบเวลาใหบ้ ริการ 8.30 น., 10.00 น., 3. ปรับ รอบให้บริการ 9.00 น., 10.30 น.,

13.00 น., 14.30 น. และ 16.00 น. ผูป้ ว่ ย 13.00 น., 14.30 น. และ 16.00 น. ผปู้ ว่ ย

มานั่งรอ มาก่อนเวลา 10 นาที

นวดเพอ่ื การ 4. ระยะเวลาใหบ้ รกิ าร 1.30 ชม. 4. ปรับระยะเวลาให้บริการ 1 ชม.
รักษา/เพือ่ 5. สามารถจองหมอนวดได้ 5. สงวนสิทธิ์การจองหมอนวด
สขุ ภาพ 6. ผู้รับบริการมกี ารเปลี่ยนเส้ือผ้าของ รพ. 6. ผรู้ บั บรกิ ารไมต่ ้องเปลีย่ นเสอื้ ผ้าของ รพ.

7. ทำความสะอาดห้อง เตียงนวด และ
7. ทำความสะอาดห้องใหบ้ ริการ 2 คร้งั /วัน อปุ กรณ์ท่ีผ้รู ับบริการสมั ผสั หลงั ให้บริการ

ทุกรอบ

8. เปล่ยี นผา้ ขวางเตยี งและผ้าคลุมหมอนทกุ 8. เปล่ยี นผา้ ปทู ี่นอน ผ้ารองหมอนหลงั
ครง้ั ใหบ้ รกิ ารทุกครงั้

236 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททท่ี 5่ี 1

บริการ past new
9. เจา้ หน้าทใ่ี ส่ mask, หมวกคลมุ ผม,
9. เจา้ หนา้ ทีใ่ ส่ Mask Face shieid
10. มีผา้ แพร หรอื ผ้าห่มไว้ทุกเตียง 10. ไมม่ ีผ้าแพร หรือผ้าหม่ ทีเ่ ตยี ง
11. มีแชเ่ ท้าก่อนนวด 11. ไม่มีการแช่เท้า
12. บรกิ ารการนำ้ สมนุ ไพรหลังนวด 12. บรกิ ารนำ้ สมนุ ไพรใส่แกว้ กระดาษแทน
ถว้ ยแกว้
13. หมอนวดสวมชุดปฏิบัติงานตามปกติ 13. หมอนวดเปล่ยี นชุดใหบ้ ริการก่อนนวด
ทกุ ครง้ั
บริการนวด บรกิ ารนวด อบ ประคบสมุนไพร ทับหม้อ
อบ ประคบ เกลอื งดบรกิ าร
สมนุ ไพร ทบั
หมอ้ เกลือ จ่ายยาสมนุ ไพร จา่ ยตามปกติ

การจ่ายยา

การนวดหน้า บริการนวดหนน้า งดบรกิ าร

หมายเหตุ กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกของจังหวดั สพุ รรณบรุ ี ได้วางแนว
ทางการใหบ้ ริการ ชว่ งระหวา่ ง เดือน มนี าคม 2563 ถงึ 17 สิงหาคม 2563

งานการแพทย์ทางเลือก

ในปี 2563 มีการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 หรอื โรคโควคิ 19
(Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) จึงทำให้ต้องวางแนวทางเพอื่ ป้องกนั การแพรข่ องโรค
ในช่วงปี 2563 จึงทำให้การดำเนนิ งานด้านการแพทย์ทางเลอื ก ไมไ่ ด้มกี ารดำเนนิ งานเพราะตาม
ประกาศของจังหวัดสพุ รรณบุรี และประกาศของกระทรวงสาธารณสุขเพื่อเว้นระยะห่างของการสมั ผสั
ระหวา่ งผู้ให้บริการและผู้ใชบ้ ริการ

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 237


บทที่ 5 Governance Excellence

1.4 ตวั ช้ีวดั กญั ชาทางการแพทย์

สถานการณแ์ ละสภาพปญั หา

เนื่องด้วยกระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดให้มีการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาการ
ให้บริการกัญชาทางการแพทย์ เพื่อเพิ่มโอกาสในการรักษาโรคให้กับประชาชนที่เจ็บป่วยทรมานจาก
กลุ่มโรคร้ายแรงและไม่ตอบสนองต่อการรักษาทั้งแพทย์แผนปัจจุบันหรือแพทย์แผนไทย ดังนั้นสาร
สกัดจากกัญชาทางการแพทย์จึงเป็นหนึ่งในนวัตกรรมทางการแพทย์ที่สามารถช่วยบรรเทาอาการ
เจ็บป่วยทรมานแก่ผู้ป่วยได้ และสามารถเพิ่มคุณภาพชีวิตแก่ผู้ป่วยได้ กระทรวงสาธารณสุขจึงมี
นโยบายเร่งด่วนเพื่อให้มีการบริการการรักษาด้วยสารสกัดจากกัญชาทางการแพทย์แก่ประชาชนได้
อย่างปลอดภัย รวดเร็ว และ ครอบคลุม และกำหนดให้มีการเปิดบริการ คลินิกกัญชาทางการแพทย์
ผสมผสานแพทย์ปัจจุบันและแพทย์แผนไทย ในสถานพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสุข

จำนวนคลินิกการให้บริการกัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบันและแพทย์แผนไทยในจังหวัด
สุพรรณบรุ ี มีทั้งหมด 3 แหง่ ได้แก่ รพ.เจ้าพระยายมราช, รพ.สมเดจ็ พระสังฆราช องค์ท่ี 17 และ รพ.
ศรีประจนั ต์
การบรหิ ารจดั การ

1.ได้จัดอบรมโครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ในการใช้กัญชาทางการแพทย์แผนไทย แก่
ผู้รับผิดชอบงานการแพทย์แผนไทยในระดับอำเภอและตำบล เพื่อเตรียมความพร้อมในการวางแผน
เปดิ คลนิ กิ กญั ชาทางการแพทย์แผนไทยในอนาคต

2.โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบล 3 แหง่ ในจังหวัดสุพรรณบุรี ไดแ้ ก่ รพ.สต.บา้ นโพธ์ิ, รพ.
สต.บ้านโป่งค่าง รพ.สต.องค์พระ เข้าร่วมโครงการพัฒนาการปลูกกัญชาสำหรบั การใช้ทางการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและชุมชนระยะท่ี 2 ของ
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก โดยมวี ตั ถุประสงค์

- เพ่ือสง่ เสริมและพฒั นาการปลูกกญั ชาทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พ้ืนบ้านไทยให้
มคี ุณภาพมาตรฐาน

- เพื่อส่งเสริมผลผลิตกัญชาที่มีคุณภาพให้กับคลังวัตถุดิบกัญชาของกรมการแพทย์แผนไทย
และการแพทยท์ างเลือกเพื่อนำไปใช้ในผลติ ตำรบั ยาแผนไทยทีม่ กี ัญชาปรุงผสมอยู่

238 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททท่ี 5ี่ 1

ผลการดำเนนิ งาน

หัวข้อ รพ.เจ้าพระยายมราช รพ.สมเด็จพระสังฆราช องคท์ ี่ 17 รพ.ศรปี ระจนั ต์

1.วันเปดิ คลนิ กิ และ 14 ก.พ 2563 28 ม.ค 2563 1 ต.ค 2562

วนั ใหบ้ รกิ าร เปดิ บรกิ ารทุกวนั อังคารที่ 1, 3 ของเดือน อังคารท่ี 1, 3 ของเดอื น

2.จำนวนผู้รบั บริการ

แผนไทย (คน/ครงั้ ) 15 / 15 7 / 16 1,267 / 2,718

แผนปัจจบุ ัน (คน/ครั้ง) 21 / 23 37 / 66 −

3.จำนวนยาที่ใชไ้ ป

แผนไทย

นำ้ มันกญั ชา สตู ร อ.เดชา − − 11,981

ยาศขุ ไสยาศน์ 59 120 −

ยาทำลายพระสุเมรุ 0 55 −

ยาแกล้ มแก้เส้น 5 60 −

แผนปจั จุบนั

THC 23 110 −
− −
CBD − − −

THC : CBD 6 (ดำเนนิ การสง่ คืนแลว้ ) 4,958 (24-06-64)
− −
4.ปริมาณคงคลงั /วนั 0 −

EXP แผนไทย (ดำเนนิ การสง่ คนื แลว้ ) 5 (14-08-63)
0 −
นำ้ มันกญั ชา สตู ร อ.เดชา − −
(รอทำลายหลังEXP) −
ยาศุขไสยาศน์ 241 (30-10-63) 90 (20-08-63)

ยาทำลายพระสเุ มรุ 295 (29-08-63) −

ยาแกล้ มแก้เส้น 300 (24-09-63)

แผนปจั จุบัน (รอทำลายหลงั EXP)

THC 177 (20-08-63)

CBD −

THC : CBD 14 (28-08-63)

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 239


บทท่ี 5 Governance Excellence

หวั ข้อ รพ.เจา้ พระยายมราช รพ.สมเดจ็ พระสังฆราช องค์ท่ี 17 รพ.ศรปี ระจนั ต์

5.อาการขา้ งเคยี งท่ีพบ − − ปากแห้ง คอแหง้ (1)
แผนไทย (ราย) − − −
น้ำมันกัญชา สูตร อ.เดชา − − −
ยาศขุ ไสยาศน์ − − −
ยาทำลายพระสุเมรุ
ยาแกล้ มแกเ้ สน้ − 1.ปากแห้ง คอแหง้ (5) −
แผนปัจจบุ ัน − 2. เวียนศรี ษะ (2) −
THC เวียนหวั , ง่วงนอน 3. ใจสนั่ (1) −
CBD
THC : CBD

6.โรคทีเ่ ขา้ รับการรักษา 1.นอนไม่หลบั (15) 1. นอนไมห่ ลับ 1.นอนไม่หลับ
2. อาการปวดต่างๆ 2.ไมเกรน
แผนไทย 2.อาการปวดเม่ือย 3.ผูป้ ่วยทไ่ี ด้รบั การดูแลแบบ 3.อาการปวดกล้ามเนอื้
ประคับประคอง ปวดขอ้ ตา่ งๆ
กลา้ มเนอ้ื (1) 1.ภาวะปวดประสาท 4.มะเรง็
2.นอนไม่หลบั 5.ภมู ิแพ้ สะเก็ดเงิน
แผนปจั จุบนั 1.นอนไมห่ ลับ 3.ผูป้ ่วยมะเร็งระยะสดุ ทา้ ย
2.มะเรง็ 4. ผู้ป่วยทีไ่ ดร้ ับการดูแลแบบ
3.ภาวะปวดประสาท ประคับประคอง
5. ภาวะคลนื่ ไส้ อาเจยี น จาก
ยาเคมีบำบดั

ปญั หา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ
จำนวนคลินิกการให้บริการกัญชาทางการแพทย์แผนปัจจบุ ันและแพทยแ์ ผนไทยใน

จงั หวดั สพุ รรณบุรี มีทงั้ หมด 3 แหง่ ไดแ้ ก่ รพ.ศรีประจนั ต,์ รพ.เจา้ พระยายมราช และ รพ.สมเดจ็

พระสงั ฆราชองค์ที่ 17

โรงพยาบาลศรีประจันต์ ได้เข้าร่วมโครงการวิจัยการติดตามลักษณะการใช้และ
คุณภาพชีวิตของผู้ใช้น้ำมันกัญชาในการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (ใช้สูตรน้ำมันกัญชา
อาจารย์เดชา) ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 โดยมีจำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับกัญชาทางการแพทย์ ทั้งส้ิน
จำนวน 1,267 ราย รวม 2,718 คร้ัง ใช้น้ำมันกัญชาไปทั้งหมด 11,981 ขวด ซึ่งไม่พบอาการข้างเคียงรุนแรง
จากน้ำมันกัญชา ปัญหาคือมีผู้มารับบริการเป็นจำนวนมากซึ่ง รพ.มีขีดจำกัด ในการให้บริการ
ประมาณ 100 ราย/คร้ังและไม่สามารถขยายเพ่ิมเติมได้ เนอ่ื งจากไมม่ ีความพร้อมทางดา้ นสถานที่และ
บุคลากร ซึ่งเป็นทีมงานเฉพาะกิจ ในขณะนี้ได้ปิดรับคำร้องขอเข้ารับบริการสำหรับผู้ป่วยรายใหม่
ตง้ั แต่ 3 มี.ค 63 ยกเวน้ ผปู้ ว่ ยโรค มะเรง็ พารก์ นิ สนั อลั ไซเมอร์ และ สะเกด็ เงิน

240 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททที่ 5่ี 1

โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช ได้เปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบผสมผสานแพทย์แผน
ปัจจุบันและแพทย์แผนไทย ตั้งแต่วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2563 โดยมีจำนวนผูป้ ่วยที่เข้ารับกัญชาตำรบั
การแพทย์แผนไทยทั้งสิ้น จำนวน 15 ราย รวม 15 ครั้ง รับน้ำมันกัญชาแพทย์แผนปัจจุบัน 21 ราย
23 ครงั้ ซ่งึ ไมพ่ บอาการขา้ งเคียงรุนแรง ปัญหาคอื ผูม้ ารับบริการได้รับยากัญชา เป็นจำนวนไม่มากนัก
เนอื่ งจาก

แผนไทย : ไมผ่ า่ นเกณฑ์การพิจารณาจ่ายยาตำรับเขา้ กัญชาเนื่องจากมโี รคประจำตัวที่เป็นข้อห้าม
ในการใชย้ าตำรบั

: สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (โควิด–19) ทำใหผ้ ู้ปว่ ยมีจำนวนลดลง
แผนปัจจุบัน : ไม่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกการจ่ายยา เนื่องจากเกณฑ์ได้ระบุกลุ่มอาการหรือโรค
ชัดเจน ซงึ่ มขี อ้ จำกดั ทำให้ไมส่ ามารถจา่ ยยาได้ (จำนวนผูร้ บั บริการ 1,549 คน ได้รับน้ำมันกัญชา
21 คน ไมไ่ ดร้ บั 1,528 คน)

: บุคลากรที่ผ่านการอบรมการใช้กัญชาทางการแพทย์ ยังมีจำนวนน้อย โดยเฉพาะ
พยาบาล

: ยากัญชาที่ต้องการใช้ คือสูตร THC : CBD ซึ่งไม่ได้รับการสนับสนุน โรงพยาบาล
ตอ้ งดำเนนิ การจัดซือ้ เอง ดงั น้ันเมอ่ื สั่งจ่ายจงึ ต้องคิดค่าใช้จ่ายกบั ผู้ป่วย

โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 ได้เปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบผสมผสาน
แพทย์ปัจจุบันและแพทย์แผนไทย ตั้งแต่ วันที่ 28 มกราคม 2563 โดยมีจำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับกัญชา
ตำรับการแพทย์แผนไทยทั้งสิ้น จำนวน 7 ราย รวม 16 ครั้ง รับน้ำมันกัญชาแพทย์แผนปัจจุบัน 37
ราย 66 ครั้ง ไม่พบอาการข้างเคียงรุนแรง ปัญหาคือผู้มารับบริการได้รับยากัญชา เป็นจำนวนไม่มาก
นัก เน่อื งจาก

: การเข้ารับบริการที่คลินิกกัญชามีขั้นตอนที่ซับซ้อน จึงทำให้ผู้ป่วยตัดสินใจไม่เข้ารับการ
รกั ษาในคลินิกกัญชา

: ผปู้ ่วยไม่เขา้ เกณฑ์ รับการรักษาในคลินิกกัญชา เน่ืองจากโรคและผลเลือดไม่เข้าตามเกณฑ์
ทก่ี ำหนด

: ผู้ป่วยมคี วามประสงค์ ใช้นำ้ มนั กญั ชาแผนปัจจุบัน มากกว่าตำรับยาทม่ี ีกัญชาผสมของแผน
ไทย

: การติดตามผู้ป่วยหลังได้รับการรักษาด้วยผลิตภัณฑ์น้ำมันกัญชาและตำรับยาที่ผสมกัญชา
ทางโทรศัพท์ ยังมีอุปสรรค บางรายไมส่ ามารถตดิ ตามผลไดท้ ำใหไ้ มส่ ามารถประเมนิ ผลหลงั การใช้ได้

: ระบบการบันทึกข้อมูลการให้บริการยังไม่สมบูรณ์ต้องลงข้อมูลหลายโปรแกรมและหลาย
ขัน้ ตอน

โอกาสพฒั นาตอ่ ไป

เนื่องจาก การเปิดคลินิกการให้บริการกัญชาทางการแพทย์ เป็นนโยบายเร่งด่วนและเป็น

โครงการใหม่ จำเป็นต้องใช้เวลาในการเตรียมการในหลายภาคส่วน ทั้งทางด้านสถานที่ในการตรวจ

รักษา ทางด้านความพร้อมของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ทางด้านเวชภัณฑ์ยา และทางด้านงบประมาณ

ซึ่งในเขตจังหวัดสุพรรณบุรี ในไตรมาสแรก มีโรงพยาบาลที่เปิดให้บริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 241


บทที่ 5 Governance Excellence

แล้วโดยใช้น้ำมันกัญชาสูตรอาจารย์เดชา จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลศรีประจันต์ และในไตร

มาสที่ 2 มีโรงพยาบาลที่เปิดให้บริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบผสมผสานเพิ่มจำนวน 2 แห่ง ได้แก่

โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 (เปิด 28 ม.ค. 2563) และ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช

(เปิด 14 ก.พ.2563) ซึ่งหลังจากเปิดคลินิกได้ไม่นาน ก็มีการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (โควิด–19)

ทำให้ยอดผู้รับบริการคลินิกกัญชา มีไม่มากนัก สำหรับในปีงบประมาณ 2564 โรงพยาบาลอู่ทอง

โรงพยาบาลดอนเจดีย์และโรงพยาบาลหนองหญ้าไซ จะเปดิ ให้บริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผน

ไทยเพิ่ม โดยจะเข้าร่วมกับโครงการประเมินผลความปลอดภัยและประสิทธิผลของยาน้ำมันกัญชาทั้ง

5 ของโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภเู บศร และสำหรบั โรงพยาบาลทีเ่ ปิดคลนิ กิ กญั ชาทางการแพทย์ จะ

บูรณาการใช้ตำรับยาแพทย์แผนไทยที่ผสมกัญชา ในผู้ป่วยติดเตียงในพื้นที่รับผิดชอบ อีกทั้งมีแผนจะ

จัดอบรม เจ้าหน้าที่ รพ.สต. และ อสม. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในชุมชน ทราบนโยบายและ

การเข้าถึงขอ้ มูลทถ่ี กู ต้อง

ปัจจัยท่มี ผี ลตอ่ ความสำเรจ็ ของคลนิ กิ กัญชา ได้แก่

1. การประชาสมั พนั ธเ์ พอ่ื ใหป้ ระชาชนทราบนโยบายและการเข้าถึงข้อมลู ทถ่ี ูกตอ้ ง

2. การวนิ จิ ฉัย และเกณฑพ์ ิจารณาเพอ่ื จ่ายยา ให้แก่ผูป้ ว่ ย

3. เลือกใช้ยาสตู รทีเ่ หมาะสมกับอาการของผูป้ ว่ ย

4. คา่ ใชจ้ ่ายและข้ันตอนในการรับบริการคลินิกกญั ชา

1.5 ประเด็น การบริหารเวชภัณฑย์ าสมุนไพร ในโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบล

สถานการณแ์ ละสภาพปัญหา

กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายในการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพของ
ประชาชน ลดการนําเข้าสารเคมี และยาแผนปัจจุบันจากต่างประเทศส่งเสริมให้เกิดการพึ่งพาตนเอง
และสร้างความมั่นคงของระบบยา หลังจากมีนโยบายจากกระทรวงสาธารณสุข ขอความร่วมมือให้
หน่วยบริการในสังกัดทุกระดับ มีการสั่งใช้ยาสมุนไพร ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยา
แห่งชาติ เรื่องบัญชียาหลักแหง่ ชาติ พ.ศ. 2558 ประกาศ ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2559 เป็นยาลําดบั
แรก(First line Drug) จํานวน 2 รายการคือ ยาขมิ้นชัน สําหรับบรรเทาอาการแน่น จุกเสียดท้องอืด
ท้องเฟ้อหรือผู้ป่วยที่สงสัยว่าจะเป็นโรคกระเพาะอาหาร ยาฟ้าทะลายโจร สําหรับบรรเทาอาการเจ็บ
คอ และบรรเทาอาการของโรคหวดั
การบรหิ ารจัดการ

จังหวัดสุพรรณบุรี สนองตอบนโยบายการสั่งใช้ยาสมุนไพร โดยกำหนดให้สถานบริการใช้ยา
สมุนไพรทดแทน อย่างน้อย 5 รายการ โดยเลือกตามบริบทของแต่ละแห่ง และเพ่ือเป็นการส่งเสริม
ระบบยาสมุนไพรอย่างครบวงจรภายในจังหวัด ซึ่งมโี รงพยาบาลอู่ทองเปน็ แหล่งผลติ ยาสมุนไพร จึงได้
กำหนดให้มีการจัดซื้อยาสมุนไพร เพื่อใช้ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจากโรงพยาบาลอู่ทอง
ทง้ั หมด

242 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททที่ 5ี่ 1

ผลการดำเนินงาน
ตารางที่ 1 แสดงร้อยละมูลค่ายาสมนุ ไพร รายปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ต.ค.62-ก.ย.63)ภาพรวมจังหวดั

ปีงบประมาณ พ.ศ. ผ้มู ารบั บริการ ร้อยละ

2560 ทัง้ หมด แผนไทย 1.61
2561 1.58
870,457,098.54 14,054,553.46 1.58
1.75
860,666,471.45 13,617,076.85

2562 844,568,640.80 13,380,760.27

2563 603,141,740 10,573,200

ท่ีมา : HDC รายงานขอ้ มลู วนั ท่ี 30 กันยายน 2563

สำหรับการใช้ยาสมุนไพรในหน่วยบริการสาธารณสุขของรัฐ โดยที่โรงพยาบาลอู่ทอง
เป็น โรงพยาบาลต้นแบบด้านการแพทย์แผนไทย และเป็นโรงพยาบาลที่ผ่านมาตรฐาน GMP การผลิต
ยาสมุนไพร สามารถผลิตยาสนับสนุนหน่วยบริการสาธารณสุขของรัฐในจังหวัดและในเขตได้อย่าง
เพยี งพอ

- มูลค่าการใช้ยาสมุนไพร ปี 2561 คิดเป็นร้อยละ 1.58 (ยาสมุนไพร
13,617,076.85/ยาทั้งหมด 860,666,471.45 บาท) เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ยาปี 2560 ร้อยละ
1.61 (ยาสมุนไพร 14,054,553.46/ยาท้งั หมด 870,457,098.54 บาท) พบวา่ มูลค่าการใช้ยาสมนุ ไพร
ลดลง ร้อยละ 3.21 ( 437,476.61 บาท )

- ปีงบประมาณ 2562 มูลค่าการใช้ยาสมุนไพร ร้อยละ 1.58 (ยาสมุนไพร
13,380,760.27 /ยาทง้ั หมด 844,568,640.80บาท) พบว่ามลู คา่ การใช้ยาสมุนไพรเท่ากบั ปี 2561

- ปีงบประมาณ 2563 (ตุลาคม2562-กันยายน 2563) มูลค่าการใชย้ าสมุนไพร ร้อย
ละ 1.75 (ยาสมุนไพร 10,573,200 บาท/ยาทงั้ หมด 603,141,740 บาท)

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 243


บทท่ี 5 Governance Excellence

ตารางท่ี 2 มูลค่าการใช้ยาสมุนไพร ของหน่วยบริการในจังหวดั สพุ รรณบรุ ี

หน่วยงาน สสอ. มูลค่า หนว่ ยงานโรงพยาบาล มูลค่า
326,270
สสอ.อทู่ อง 1,008,836 เดิมบางนางบวช 291,460
129,475
สสอ.เมืองสพุ รรณบุรี 754,280 สมเด็จพระสงั ฆราช องค์ท่ี17 96,920
38,530
สสอ.สองพนี่ ้อง 636,605 ดอนเจดีย์ 37,000
29,655
สสอ.บางปลาม้า 332,560 ด่านช้าง 28,300
22,250
สสอ.ดา่ นชา้ ง 327,420 หนองหญา้ ไซ
999,860
สสอ.เดิมบางนางบวช 277,110 ศรปี ระจันต์

สสอ.ศรีประจันต์ 276,145 เจา้ พระยายมราช

สสอ.ดอนเจดยี ์ 217,805 บางปลาม้า

สสอ.สามชกุ 210,665 สามชกุ

สสอ.หนองหญา้ ไซ 151,890

4,193,316

ตารางท่ี 3 มลู ค่ายาสมนุ ไพร ที่มกี ารใช้มากท่สี ุด ในปี 2563

ยาสมนุ ไพร จำนวนจา่ ย (คร้งั ) มลู คา่ (ราคาขาย)

ฟ้าทะลายโจร, ยาแคปซลู 41,471 1,460,130.35

ขมิน้ ชัน, ยาแคปซูล 28,863 1,757,155.50

ไพล, ครีม 21,790 983,097.74

แก้ไอผสมมะขามป้อม , ยานำ้ 21,324 1,094,827.15
ธาตุอบเชย, ยานำ้ 19,769 879,479.99
น้ำมนั ไพล, ยาเขา้ น้ำมนั 15,869 925,262.00
มะขามแขก, ยาแคปซูล 15,391 944,084.04
แก้ไอมะขามปอ้ ม, ยานำ้ 15,293 584,837.96
สหัศธารา, ยาแคปซูล 14,309 604,988.44
เถาวลั ย์เปรยี ง, ยาแคปซูล 10,353 454,247.35
พญายอ, ครีม 9,153 352,132.69
บวั บก, ครมี 6,825 282,276.85

แก้ไอผสมมะนาวดอง, ยาลกู กลอน 6,482 137,050.40

244 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททที่ 5ี่ 1

สำหรับในปีงบประมาณ 2563 มูลค่าการซื้อยาจากโรงพยาบาลอู่ทองโดยโรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตำบล เป็นเงิน 4,193,316 บาท และมูลค่าการซื้อยาโดยโรงพยาบาล เป็นเงิน
999,860 บาท รวมทงั้ ส้ิน 5,193,176 บาท ตามตารางท่ี 2,3

ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

จากการที่ได้ออกนิเทศ และทำการสุ่มตรวจระบบการบริหารคลงั ยาสมุนไพรใน โรงพยาบาล
สง่ เสรมิ สุขภาพตำบล พบปัญหา ดังน้ี

1. มีจำนวนรายการยาหลากหลายมากเกินไป ทำให้มีความเสี่ยงในการบริหารจัดการคลัง
เวชภณั ฑ์

2. สถานท่ีเก็บยายังไมไ่ ดม้ าตรฐาน ไดแ้ ก่
- ไม่มรี ะบบลอ็ คกุญแจ 2 ชนั้
- ไม่มแี นวทางการ เปดิ -ปิด คลงั ยาที่ชดั เจน
- ไม่มีการบันทึกอุณหภูมิและความชื้น เป็นปัจจุบัน หรือบันทึกเฉพาะอุณหภูมิ และพบว่า

อุณหภูมสิ ูงเกนิ ที่กำหนด เนือ่ งจากว่า ไมม่ ีเคร่ืองปรับอากาศ

3. การควบคมุ และการเบกิ จา่ ยยา ไมเ่ ป็นไปตามระเบยี บ
- ใบเบกิ ยาจากคลังยาไปยงั จุดจ่าย ลงนามไมค่ รบถ้วน
- ไม่มี stock card หรือมีแต่ไม่ถกู ต้อง ครบถว้ น
- จำนวนยาในคลัง กบั จำนวนคงเหลือใน stock card ไมเ่ ท่ากัน

4. ระบบการควบคุม ยาหมดอายุ ยังไม่สมบรู ณ์
- พบยาหมดอายุ
- ไมม่ กี ารระบุวนั ที่ เปิดใช้ยาจากกระปุก

ปัจจยั ท่ีมีผลส่งเสริมให้มกี ารสั่งใช้ยาจากสมนุ ไพร

1. ยาทไ่ี ดร้ บั การสนับสนุนมา
2. ผ้ปู ว่ ยรอ้ งขอหรอื เรยี กหา
3. เป็นรายการยาสมุนไพรทดแทนทีก่ ำหนดตามนโยบาย
4. เชอ่ื มั่นในประสิทธผิ ลและผลการรกั ษาของยาชนดิ ท่ีสง่ั ใช้
5. จา่ ยยาสมนุ ไพรรว่ มกับยาแผนปัจจบุ นั เพื่อเพมิ่ ผลการรักษา
6. สมนุ ไพรมีความปลอดภัยมากกวา่ การใชย้ าแผนปัจจุบัน

เน่ืองจากบคุ ลากรผู้สั่งใช้ยาสมนุ ไพรมคี วามหลากหลาย ด้านวชิ าชีพ ความรแู้ ละประสบการณ์
เช่น แพทย์ พยาบาล เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชนและแพทย์แผนไทย ทั้งนี้ผู้สั่งใช้ยาสาขาวิชาชีพ
อ่นื ๆไม่มีขอ้ มูลท่เี พยี งพอ ไมร่ ูจ้ ักขนาดยา สรรพคุณยา ตัวยาส่วนประกอบ ขอ้ บง่ ใช้ ข้อห้ามใช้-ขอ้ ควร
ระวงั และการทผี่ ู้สั่งใช้ยายงั ไมเ่ ชอื่ ม่นั ในคณุ ภาพของผลิตภณั ฑ์ อีกทงั้ ราคายาจากสมุนไพรค่อนข้างสูง

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 245


บทที่ 5 Governance Excellence

อุปสรรคท่ีมีผลกระทบต่อการใช้ยาสมนุ ไพรและยาแผนไทย

1. ผู้สั่งใช้ยาคิดว่าไม่มีความรู้ในการใช้ยาหรือ ไม่ทราบแนวทางการใช้ยา ที่มีประสิทธิภาพ
และปลอดภัย

2. ผสู้ ัง่ ใชย้ ายังไมเ่ ชอื่ มนั่ ในคณุ ภาพยาสมุนไพร
3. ราคายาค่อนข้างสงู
4. ผ้สู ่งั ใช้ยา ไม่มขี ้อมลู ของยาสมุนไพรเพียงพอ
5. กงั วลวา่ ผู้ปว่ ยจะไมเ่ ช่ือถอื ไม่ยอมรับ
6. ไม่มยี าสมนุ ไพร รายการทอ่ี อกฤทธ์ติ รงตามทีต่ ้องการ

โอกาสพฒั นาต่อไป

1. การสนับสนุนขอ้ มูลทางวิชาการ จัดทำเป็นคู่มือแนวทางการสง่ั ใช้ยาสมนุ ไพร
2. การสนบั สนนุ ยาสมุนไพรให้ครอบคลุมทั้งจงั หวดั จากเดมิ สนับสนนุ เฉพาะ ใน รพ.สต ควร

ขยายสนับสนนุ ใน โรงพยาบาลทุกแหง่ ด้วย
3. สนับสนุนให้มีการสั่งใช้ยาจากสมุนไพรในบญั ชียาหลักแหง่ ชาตเิ ป็นลําดับแรก (First-line

drugs)รวมถึงการสนับสนุนการส่ังใช้ยาสมนุ ไพรทดแทนยาแผนปัจจุบนั ด้วย
4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารคลังเวชภัณฑ์ยาสมุนไพร และลดอัตราการสูญเสีย

ควรปรับเปลย่ี นระบบบรหิ ารจัดการ กระจายยา ควบคุม กำกับ และดูแล โดยโรงพยาบาล
แมข่ า่ ย
5. การบริหารจัดการระบบยาสมุนไพรเชิงระบบ เพื่อสร้างมาตรฐาน คุณภาพ และ
ประสิทธิภาพในการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรอย่างครบวงจร

1.6 ประเดน็
การสำรวจและจดั ทำทะเบียนบคุ ลากรดา้ นการแพทย์แผนไทย และการสำรวจและจดั ทำ

ทะเบียนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย และดำเนินการรับรองหมอพื้นบ้าน ตามพระราชบัญญัติ
คมุ้ ครองและส่งเสริม ภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทย

สถานการณแ์ ละสภาพปัญหา

ข้อมูลบคุลากรดา้ นการแพทย์แผนไทยที่มีอยู่ในฐานข้อมูลทีไ่ ด้จากการสำรวจข้อมูลของ
คปสอ. ต่าง ๆ ในบางพื้นที่ยังมีความคลาดเคลื่อนของข้อมูล และในบางพื้นที่ยังมีบุคลากรบางกลุ่ม
เช่น หมอพื้นบ้าน ผู้ปลูกและแปรรูปสมุนไพร ที่ยังไม่ได้รับการสำรวจ อาจเป็นเพราะบุคลากรบาง
กลุ่ม เช่นหมอพื้นบ้านไม่อยากเปิดเผยว่าตนเองเป็นหมอพื้นบ้าน เพราะกลัวความผิดที่ทำการรักษา
ผู้ป่วย และนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข โดยกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ใน
การส่งเสรมิ ใหม้ ีการรับรองหมอพืน้ บา้ น ทางกลมุ่ งานการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือกจึงได้
มีการลงพื้นที่เพื่อทำการสำรวจข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อความชัดเจนของข้อมูล และมีการนำข้อมูลที่ได้มา
ดำเนินงานในการรับรองหมอพ้นื บา้ นตอ่ ไป

246 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททท่ี 5ี่ 1

การบรหิ ารจัดการ
มีการทบทวนข้อมูลบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยกับ คปสอ. และลงพื้นที่เพื่อสุ่ม

สำรวจข้อมูล เช่น กลุ่มหมอพื้นบ้าน กลุ่มผู้ปลูกหรือแปรรูปสมุนไพร กลุ่มผู้ผลิตหรือจำหน่ายยาแผน
ไทย เพื่อเป็นการปรับปรุงฐานข้อมูลในเบื้องต้น และนำข้อมูลที่ได้มาพัฒนางานคุ้มครองและส่งเสริม
ภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยในด้านอ่นื ๆ

ผลการดำเนนิ งาน

การสำรวจและจดั ทำทะเบยี นบคุ ลากรดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย

ข้อมูลผลการดำเนินงานยอ้ นหลงั 3 ปี (คน) ผลการดำเนนิ งาน

กลมุ่ ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63
หมอพน้ื บา้ น 466 494 499 512
นกั วิชาการด้านการแพทย์แผนไทย 678 9

องค์กรเอกชนพฒั นาดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย 144 4
ผูป้ ลูก/แปรรูปสมุนไพร 33 38 38 38
ผผู้ ลติ /จำหนา่ ยยาแผนไทย 59 61 61 61

ผู้มใี บประกอบโรคศลิ ปะสาขาการแพทย์แผน 138 141 141 141
ไทยและการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ 703 604 751 765

รวม

การสำรวจและจัดทำทะเบียนภูมปิ ัญญามาตรา 15 (ตำรับ/ตำราการแพทย์แผนไทย)

ขอ้ มูลผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลัง 3 ปี (รายการ) ผลการดำเนินงาน
ปี 62 ปี 63
ประเภทภมู ิปัญญา ปี 60 ปี 61
33 34
ตำราการแพทยแ์ ผนไทย 32 33

ตำรบั ยาแผนไทย 2,905 3,115 3,219 3,328
รวม 2,937 3,148 3,252 3,362

การรบั รองหมอพืน้ บา้ น
ใหก้ ารรบั รองหมอพน้ื บา้ น ในปี 2562 จำนวน 1 คน

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 247


บทท่ี 5 Governance Excellence

ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

หมอพื้นบ้านบางท่านกลัวว่าให้การรักษาอย่างเปิดเผย จะทำให้ตัวเองมีความผิด จึงไม่
อยากใหข้ ้อมูลกับเจา้ หน้าที่ และการถ่ายทอด หรอื เปิดเผยความรดู้ ้านตำรบั ตำราการแพทย์แผนไทย
ยังถูกจำกัดให้ถ่ายทอดเฉพาะบุคคลที่มีคุณสมบัติเฉพาะ หรือสามารถถ่ายทอดเฉพาะให้แก่บุคคลใน
ครอบครัวเทา่ นน้ั และครอบครัวหมอพ้ืนบ้านบางครอบครัวก็ไมม่ ผี สู้ บื ทอด ทำใหค้ วามรู้ในตำรบั ตำรา
การแพทย์แผนไทยต้อง สูญไปกับตัวหมอพื้นบ้านที่เสียชีวิตลงไป หรือมีการนำตำรับ ตำราการแพทย์
แผนไทยไปไว้ที่วัด หรือฝากไว้ที่ต่าง ๆ และไม่รู้ว่าจะนำไปใช้ประโยชน์ หรือทำการเก็บรักษาหรือ
อยา่ งไร กท็ ำใหส้ ญู หายไป

โอกาสพฒั นาตอ่ ไป
จากการดำเนินงานในพื้นที่ ทำให้ที่มีการเข้าถึงข้อมูลของบุคลากรด้านการแพทย์แผน

ไทย เพิ่มข้ึน เช่น ข้อมูลหมอพ้ืนบ้าน ทำสามารถนำมาวางแผนในการดำเนินงานคุ้มครองและส่งเสริม
ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรีอื่น ๆ ได้ เช่น การดำเนินการรับรองหมอ
พนื้ บา้ น การพฒั นาและสง่ เสรมิ กลุ่มทด่ี ำเนนิ งานเกี่ยวกับการปลูกและแปรรูปสมนุ ไพร

248 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททที่ 5่ี 1

กลุ่มงานนิตกิ าร สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

งานให้คำปรึกษาและความเห็นทางกฎหมาย จำนวน ปี 2562 ปี 2563
ลำดบั กจิ กรรม ปี 2560 ปี 2561 เฉล่ยี เฉลยี่
เกือบทกุ เฉลี่ย สัปดาห์ละ สปั ดาห์ละ
ปี 2559 วันทำการ สัปดาห์ละ 1-2 คร้ัง 2-3 ครง้ั
1. ให้คำปรึกษาและความเห็น เกอื บทกุ
2-3 คร้ัง 2 เรอื่ ง 4 เรือ่ ง
ทางด้านกฎหมาย กฎ ระเบียบ วนั ทำการ
ข้อบังคับ คำสั่งและประกาศ 2 เรอ่ื ง -
แก่บคุ คลและสว่ นราชการ

2. ต ี ค ว า ม ว ิ น ิ จ ฉ ั ย ท า ง ด ้ า น 4 เรอ่ื ง
กฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั
คำส่งั และประกาศแก่บคุ คลและ
สว่ นราชการ

3. ให้ความเห็นเกี่ยวกับร่าง - - 2 2 ฉบับ -
กฎหมายและระเบียบ

ผลการปฏิบัติงานด้านให้คำปรึกษาและให้ความเห็นทางกฎหมาย พบว่า บุคลากร
ด้านสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานอยู่ที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีและหน่วยงานในสังกัด
ขอรับคำปรึกษาหรือขอความเห็นจากนิติกรเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง และ
ประกาศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานเป็นประจำ เฉลี่ยสัปดาห์ละประมาณ 2-3 ครั้ง ผู้ขอรับ
คำปรึกษามีทั้งผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน การขอคำปรึกษาหรือขอความเห็นส่วนใหญ่จะมา
ขอคำปรกึ ษาดว้ ยตนเองหรอื ติดตอ่ ผ่านทางโทรศพั ท์

การให้ความเห็นและตีความวินิจฉัยเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลตามพระราชบัญญัติ
ข้อมูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540

การให้ อสม. พ้นสภาพการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน การรับบริจาค
อาคาร ซึ่งเป็นอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ทางราชการ และการให้ความเห็นเกี่ยวกับพระราชบัญญัติการ
จัดซอื้ จัดจา้ ง และการบรหิ ารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 249


บทที่ 5 Governance Excellence

งานนิตกิ รรมและสญั ญา

ลำดับ กจิ กรรม จำนวน

ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

1. จัดทำนิติกรรมและสัญญาต่าง ๆ 96 60 55 40 69

ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ฉบับ ฉบบั ฉบับ ฉบบั ฉบบั

หรอื หน่วยงานในสงั กดั

2. ตรวจสอบนิติกรรมและสัญญาตา่ ง ๆ 160 155 128 57 73

ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด คร้งั ครงั้ ครงั้ ครง้ั ครั้ง

และหนว่ ยงานในสงั กดั

3. คิดคำนวณค่าเสียหายและค่าปรับ 8 8 4 5 3

กบั ผผู้ ดิ สญั ญา ราย ราย ราย ราย ราย

4. เรียกชดใช้ค่าเสียหายและค่าปรับ 8 8 4 5 3

กบั ผผู้ ิดสัญญา ราย ราย ราย ราย ราย

5. ทำสัญญาเงินเพิ่มพิเศษสำหรับ 216 206 214 228 261

แพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกร ท่ี ราย ราย ราย ราย ราย

ไม่ทำเวชปฏิบัติส่วนตวั

ปีงบประมาณ 2563 กลุ่มงานนิติการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้
จัดทำสัญญารับเงินสนับสนุนการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ตามโครงการผลิตพยาบาล
โดยใช้เงินบำรุงของหน่วยบริการ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อสนับสนุนการศึกษาแก่นักศึกษา
จำนวน 66 ราย และทำสัญญารับสภาพหนี้ผ่อนชำระหนี้กรณีผิดสัญญารับทุนการศึกษา ฝึกอบรม
ปฏิบตั กิ ารวจิ ัย ภายในประเทศ จำนวน 3 ราย

นอกจากนี้ยังตรวจสอบนิติกรรมเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างของ รพศ./รพท. จำนวน
57 ครั้ง และตรวจสอบการคิดคำนวณค่าเสียหายและค่าปรับกับผู้ผิดสัญญาของ รพศ./รพท. จำนวน
16 ครงั้

คิดคำนวณค่าเสียหายและค่าปรับและเรียกชดใช้ค่าเสียหายและค่าปรับกับผู้ผิด
สัญญา จำนวน 3 ราย โดยมาชำระค่าเสียหายและค่าปรับ จำนวน 1 ราย ขอผ่อนผันการชำระโดยงด
เวน้ ดอกเบ้ยี 6 เดือน จำนวน 1 ราย และอยูร่ ะหว่างการดำเนินกระบวนการพิจารณาคดีปกครองกรณี
ขอนับระยะเวลาการกลับเข้ารับราชการเป็นระยะเวลาการรับราชการชดใช้ตามสัญญาฯ จำนวน 1
ราย

จัดทำสัญญาขอรับเงินเพิ่มพิเศษสำหรับแพทย์ ทันตแพทย์และเภสัชกรที่ไม่ทำเวช
ปฏิบัติส่วนตัว จำนวน 261 ราย โดยเป็นผู้ขอทำสัญญารายใหม่ จำนวน 89 ราย ต่อสัญญา 107 ราย
และยกเลิกสญั ญา จำนวน 65 ราย

250 รายงานประจำปสี ำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี ปงี บประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททท่ี 5่ี 1

งานการดำเนนิ การทางวินยั ปี 2559 จำนวน ปี 2562 ปี 2563
ลำดบั กจิ กรรม
4 ปี 2560 ปี 2561 53
1. ส ื บ ส ว น ส อ บ ส ว น แ ล ะ เรื่อง เร่ือง เรอ่ื ง
ด ำ เ น ิ น ก า ร ท า ง ว ิ น ั ย แ ก่ 35
ขา้ ราชการ พนักงานราชการ 5 เรื่อง เรื่อง
และลูกจ้าง ซึ่งมีกรณีถูก เร่อื ง
กล่าวหาว่ากระทำความผิด 4 คร้งั 23 6 17 37
ทางวนิ ัย 96 เรือ่ ง เรือ่ ง เรอื่ ง เรอ่ื ง เรือ่ ง
4 คร้งั 4 คร้ัง 2 ครัง้ 2 ครั้ง
2. ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ช ี ้ แ จ ง 1 คร้ัง 137 เร่อื ง 80 เรื่อง 59 เร่อื ง 52 เรือ่ ง
ขอ้ เทจ็ จริงกรณรี ้องเรียน
1 ครัง้ 1 ครง้ั 6 ครั้ง 7 คร้ัง
3. สรุปและวิเคราะห์ข้อมูลข้อ
ร้องเรียนของหน่วยงานใน
สงั กัด

4. เผยแพร่ เสริมสร้าง พัฒนา
ความรู้ทางด้านวินัย และ
ก า ร ป ้ อ ง ก ั น ก า ร ท ุ จ ริ ต
คอรร์ ปั ชนั

ปีงบประมาณ 2563 มีการสบื สวน สอบสวน และดำเนนิ การทางวินยั ดงั นี้

สอบสวนทางวินัยอยา่ งร้ายแรงขา้ ราชการกรณีละทง้ิ หนา้ ท่รี าชการในคราวเดยี วกันเกิน
กว่าสิบห้าวัน จำนวน 1 ราย ผลการสอบสวนพบว่ากระทำผิดทางวินัยอย่างร้ายแรงจริงเห็นควร
ลงโทษไล่ออกแตเ่ น่ืองจากมปี ัญหาขอ้ กฎหมายเร่ืองวนั ไล่ออกจึงยงั ไมม่ ีคำสง่ั ไล่ออกและอยู่ระหว่าง
หารือ ก.พ. และมีกรณีสืบสวนข้าราชการถูกกล่าวหาว่าละทิ้งหน้าที่ฯ ผลการสืบสวนพบว่า
ข้าราชการรายดังกล่าว มปี ัญหาด้านสุขภาพจิต ปจั จุบนั ไดด้ ำเนินการสง่ ตวั ไปรักษาพยาบาลและมี
การสืบสวนกรณีพนักงานกระทรวงสาธารณสุขละทิ้งหน้าที่ราชการในคราวเดียวกันเกินกว่าสิบหา้
วัน จำนวน 1 ราย ผลการสืบสวนพบว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงฐานละทิ้งหน้าที่ราชการใน
คราวเดียวกันเกินกว่าสิบห้าวัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร จังหวัดสุพรรณบุรีจึงมีคำสั่งลงโทษไล่
ออกตง้ั แตว่ ันที่เรม่ิ ละทิง้ หนา้ ท่ีราชการ

สืบสวนกรณีกล่าวหาว่าเจ้าหน้าที่มีประพฤติตนไม่เหมาะสม จำนวน 1 ราย จากการ
สืบสวนพบว่าใช้ถ้อยคำไม่สภุ าพ ได้ตักเตือนเรื่องการปฏิบัตติ นและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการแสดง
ความคิดเหน็ ต่าง ๆ ในระบบอนิ เทอร์เนต็ อีกท้ัง เฝา้ ระวังพฤติกรรมเพ่ือป้องกันไมใ่ หเ้ กิดเหตุการณ์
ขน้ึ อกี

สำหรับการตรวจสอบและชี้แจ้งข้อเท็จจริงกรณีร้องเรียนนั้น บางเรื่องสำนักงาน
สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีดำเนินการตรวจสอบเอง แต่บางเรื่องส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ตรวจสอบขอ้ เท็จจรงิ แลว้ รายงานผลใหท้ ราบ

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 251


บทที่ 5 Governance Excellence

ตารางแสดงจำนวนข้อร้องเรยี น ปีงบประมาณ 2559 – 2563 จำนวน
ลำดับ ประเภทขอ้ ร้องเรยี น

ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

1. ด้านค้มุ ครองผ้บู ริโภค 40 26 38 19 15

2. ดา้ นอนามยั สงิ่ แวดล้อมและการควบคมุ โรค 13 9 8 10 12

3. ด้านการรักษาพยาบาลและระบบบริการ 20 31 16 9 8

4. ด้านพฤตกิ รรมบริการ 16 40 6 6 11

5. เรอ่ื งทจุ ริต - 5264

6. ด้านอนื่ ๆ 3 16 10 9 2

7. ดา้ นสิทธกิ ารรักษา 2 5---

8. ดา้ นการบริหารงานบุคคล 2 5---

รวมท้ังสน้ิ 96 137 80 59 52

ปีงบประมาณ 2563 ประชาชนร้องเรียนมายังสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี
จำนวน 52 เรื่อง ลดลงจากปี 2562 โดยร้องเรียนด้านคุ้มครองผู้บริโภคมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ
28.85 รองลงมาคือด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและการควบคุมโรค คิดเป็นร้อยละ 23.08 ส่วนข้อ
ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตมีจำนวน 4 เรื่อง จากการตรวจสอบข้อเท็จจริงพบว่าเป็นเรื่องการใช้
อำนาจหนา้ ท่โี ดยมิชอบและการจดั ซ้ือจดั จ้างตรวจสอบแลว้ พบว่าไมม่ ีขอ้ มูลตามท่รี ้องเรยี น

ดำเนนิ คดอี าญา คดแี พง่ คดีปกครอง คดตี ามกฎหมายคมุ้ ครองผ้บู รโิ ภคดา้ นสาธารณสขุ

ลำดบั กจิ กรรม จำนวน

ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
-
1. วิเคราะห์ ตรวจสอบ รวบรวมหลักฐาน - - 1 คดี -
-
ส่งเอกสารให้กับพนักงานสอบสวน

พนักงานอัยการ เพื่อดำเนินการฟ้อง

คดี แกต้ ่าง คดอี าญา คดแี พ่ง

คดีปกครอง และคดีตามกฎหมาย

คุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เช่น

กฎหมายว่าด้วยอาหาร เครื่องสำอาง

วัตถอุ ันตราย และยา

2. ดำเนินการฟ้องและแก้ต่างคดีปกครอง 1 คดี รอศาลมี รอศาลมี -

ตามที่ผู้ฟ้องคดีหรือผู้ถูกฟ้องคดี 3 ครง้ั คำ คำ

มอบหมาย พิพากษา พิพากษา

252 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททท่ี 5่ี 1

ลำดับ กจิ กรรม จำนวน

ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

3. เป็นผู้แทนในการประสานคดีกับ - - 1 คดี 1 คดี 1 คดี

พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ 6 คร้ัง 2 คร้ัง 2 ครง้ั

ศาลในคดีอาญา คดีแพ่ง คดีปกครอง

และคดีตามกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค

ด้านสาธารณสุข เช่น กฎหมายว่าด้วย

อาหาร เครือ่ งสำอาง วัตถอุ ันตรายและ

ยา เปน็ ตน้

ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีได้ไปแจ้งความดำเนินคดีกับ
ผู้กระทำผิดกรณีโพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กด่าทอเพื่อนร่วมงานด้วยถ้อยคำหยาบคายและได้ประสาน
คดีให้ถอ้ ยคำกบั พนกั งานสอบสวน จำนวน 2 คร้ัง

งานเผยแพรค่ วามร้ดู ้านกฎหมาย ปี 2559 ปี 2560 จำนวน ปี 2562 ปี 2563
ลำดบั กิจกรรม 9 ครง้ั 6 ครั้ง ปี 2561 2 คร้ัง 8 ครัง้
12 ครัง้
1. ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่กฎหมาย 1 ครง้ั 1 ครั้ง - -
ระเบียบ คำสั่ง มติคณะรัฐมนตรีและ 136 คน 103 คน 1 ครง้ั - -
ประกาศตา่ ง ๆ 1 ครั้ง 130 คน
- 140 คน
2. เป็นวิทยากรบรรยายความรู้ทางด้าน -
กฎหมาย

3. จัดประชุม อบรม สัมมนาความรู้ทาง
กฎหมาย

งานบงั คับคดตี ามคำพพิ ากษาหรอื คำสั่ง

ลำดบั กจิ กรรม จำนวน

ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

1. สืบหาหลักทรัพย์ลูกหนี้ตามคำ 9 ครัง้ 11 ครั้ง 10 คร้งั 9 คร้งั 8 ครงั้

พพิ ากษา 78 ราย 86 ราย 70 ราย 56 ราย 43 ราย

2. ประสานเจ้าพนักงานบังคับคดีเพื่อ - - - - -

อายดั หรือยึดทรพั ย์

3. นำเจ้าพนักงานบังคับคดีอายัด หรือ - - - - -

ยึดทรัพย์

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 253


บทท่ี 5 Governance Excellence

งานดำเนนิ มาตรการทางปกครอง

ลำดับ กจิ กรรม จำนวน
ปี 2561
ปี 2559 ปี 2560 ปี 2562 ปี 2563
- - -
1. ดำเนินการเตรียมคำสั่ง ท าง - - - - -
- - -
ปกครอง - - -

2. ดำเนินการพิจารณาคำสั่งทาง - - - - -

ปกครอง

3. ดำเนนิ การออกคำสั่งทางปกครอง - -

4. ดำเนินการพิจารณา หรือกำหนด - -

มาตรการบังคับทางปกครองตาม

มาตรา 57 แห่งพระราชบัญญัติ

ราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

5. เพกิ ถอนคำสง่ั ทางปกครอง --

งานดำเนนิ เปรยี บเทยี บคดี ปี 2560 จำนวน ปี 2562 ปี 2563
29 ราย ปี 2561 12 ราย 15 ราย
ลำดบั กิจกรรม 39 ราย

ปี 2559

1. เ ป ร ี ย บ เ ท ี ย บ ป ร ั บ ห รื อ 49 คดี
เปรียบเทียบคดีตามกฎหมายว่า
ด้วยยา อาหารเครื่องมือแพทย์
เครื่องสำอาง วัตถุอันตราย
สถานพยาบาล และ
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข
พ.ศ.2535

ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดำเนินการ
เปรียบเทียบคดีผู้กระทำผิดกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข จำนวน 15 คดี แยกเป็น
ผกู้ ระทำความผดิ ตามพระราชบญั ญัติอาหาร พ.ศ. 2522 จำนวน 13 ราย ผกู้ ระทำผดิ พระราชบัญญัติ
ยา พ.ศ. 2510 จำนวน 1 ราย และผู้กระทำความผิดพระราชบญั ญัตเิ ครื่องสำอาง พ.ศ. 2558 จำนวน
1 ราย

254 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี ปงี บประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททท่ี 5ี่ 1

งานไกลเ่ กลยี่ ขอ้ พพิ าท ปี 2559 ปี 2560 จำนวน ปี 2562 ปี 2563
ลำดับ กจิ กรรม 2 เรอ่ื ง - ปี 2561 1 เรือ่ ง -
1 เรอ่ื ง
1. งานระงับข้อพิพาทโดยการเจรจา
ไกลเ่ กลย่ี

งานความรบั ผิดทางละเมิด ปี 2550 จำนวน ปี 2562 ปี 2563
ลำดบั กิจกรรม 2 เร่อื ง ปี 2561 - -

ปี 2559 - - - -

1. ดำเนินการเกี่ยวกับการสอบ - - 1 เรอื่ ง -
ข้อเทจ็ จริงความรบั ผดิ ทางละเมิด
1 เรอ่ื ง
2. ดำเนินการเรียกให้ผู้กระทำ -
ละเมิดชดใช้ค่าเสียหาย

3. สอบหาข้อเท็จจรงิ ในเบ้อื งต้น 3 เรื่อง

งานดา้ นกฎหมายทัว่ ไปหรอื งานอืน่ ๆ ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

ลำดบั กิจกรรม จำนวน
ปี 2561
ปี 2559 ปี 2560 5 ครงั้ ปี 2562 ปี 2563
5 ราย 2 ครั้ง 1 ครัง้
1. ดำเนินการเกี่ยวกบั ศพไมม่ ีญาติ 1 ครั้ง - 5 คร้ัง 2 ราย 1 ราย
5 ราย 7 ครัง้ 2 คร้ัง
1 ราย 2 ครัง้ 7 ราย 2 ราย
1 คร้งั 3 คร้งั
2. ดำเนินการเกี่ยวกับการขอรับ - - -
1 เรื่อง 1 เร่อื ง
คา่ ตอบแทนของเจา้ หนา้ ท่ี

3. ดำเนินการจัดทำคำสั่งมอบ 1 ครั้ง 1 ครั้ง

อำนาจ

4. หารือข้อกฎหมายไปยังหน่วยงาน - -

ท่เี กี่ยวขอ้ ง

ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรไี ดป้ ระชาสมั พันธ์เก่ียวกับ
ศพไม่มีญาติ ซึ่งเสียชีวิตที่โรงพยาบาลตา่ ง ๆ จำนวน 1 ครั้ง ออกประกาศปรับเพิ่มค่าตอบแทนให้กับ
เจ้าหน้าที่สาธารณสุขบางตำแหน่ง จำนวน 2 ครั้ง จัดทำคำสั่งมอบอำนาจของนายแพทย์สาธารณสุข
จังหวัดสุพรรณบุรีสุพรรณบุรี จำนวน 3 ครั้ง และจัดทำคำสั่งเพื่อขอรับมอบอำนาจจากผู้ว่าราชการ
จังหวัดสุพรรณบรุ ี จำนวน 2 ครัง้

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีได้หารือเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติในกรณี
นักศึกษาพยาบาลตามโครงการผลิตพยาบาล โดยใช้เงินบำรุงเป็นทุนการศึกษานักศึกษาพยาบาลขอ
เปล่ียนสถานทใ่ี ช้ทุน จำนวน 1 เรอื่ ง

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 255


บทท่ี 5 Governance Excellence

ด้านการเงนิ การคลงั
1.ความมนั่ คงทางการเงินการคลังของหน่วยบรกิ าร ในจังหวดั สพุ รรณบุรี
การจัดสรรเงินงบเหมาจ่ายรายหัว ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดำเนินการ

บริหารจัดการด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2563 โดยได้รับการจัดสรรงบประมาณเหมาจ่าย
รายหัว หลังปรับลดค่าแรง จำนวน 779,283,056.27 บาท และได้รับ การปรับเกลี่ยเพิ่มเติมจาก
งบประมาณเงินกันระดับเขต ตามรายหัวประชากร จำนวน 27,659,349.00 บาท ได้รับงบ PP non
UC จำนวน 18,955,020.06 บาท ไดร้ ับงบประมาณจำนวนทัง้ ส้นิ 825,897,425.33 บาท

การจัดสรรงบประมาณให้กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) โดยจัดสรรค่า
ดำเนินงานของ รพ.สต. 14 บาท/หัว/ปี จำนวน 89,986,176 บาท ค่าใช้จา่ ยในการจัดบริการ OP/PP
ใน รพ.สต. 28,115,364 บาท ค่ายาเสริมธาตุเหล็ก 1,330,595 บาท และ PP non UC จำนวน
9,316,709 บาท รวมงบประมาณเหมาจ่ายรายหัวของ รพ.สต ทั้งสิ้น 135,566,213.00 บาท
นอกจากนี้ ขอความร่วมมือจากโรงพยาบาลในการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานเพิ่มเติม
ให้แก่ รพ.สต. ได้แก่ 1.ค่ายาโรคเรื้อรังกรณีที่ส่งผู้ป่วยกลับไป รับยาที่ รพ.สต 2.ยาเม็ด/ยาฉีด
คมุ กำเนดิ ท่ไี ปรบั บริการที่ รพ.สต. 3. คา่ อา่ นสไลดต์ รวจ Pap-smear ที่รพ.สต. คน้ หาและสง่ ตรวจ 4.
คา่ วสั ดทุ ันตกรรม

สรปุ งบประมาณเหมาจ่ายรายหวั ประจำปีงบประมาณ 2563

จังหวัดสุพรรณบุรี ได้รับเงินเหมาจ่ายรายหัว ไม่รวม PP Non UC จำนวนทั้งส้ิน

806,942,405.27 บาท ผลการดำเนินงาน พบว่า มีรายรับ OP จำนวน 392,953,745.16 บาท มี

รายรับ PP 68,341,717.10 บาท รายรับ IP จำนวน 421,613,407.27 บาท มีโรงพยาบาล 2 แห่ง

ได้รับเงินเติมให้ถึงยอดประกันขั้นต่ำ จำนวน 10,697,574.68 บาท ได้แก่โรงพยาบาลสมเด็จ

พระสงั ฆราชองคท์ ่ี 17 และโรงพยาบาลศรีประจนั ต์ โดยโรงพยาบาลสมเดจ็ พระสังฆราชองค์

ที่ 17 ไดร้ บั การเติมเงิน จำนวน 10,104,371.68 บาท และโรงพยาบาลศรีประจนั ต์ จำนวน 593,203

บาท ในภาพรวมโรงพยาบาลทุกแห่งได้รับเงินจัดสรรเงินเพิ่มจากเงินที่กันไว้ปิดยอดประกันขั้นต่ำ

คงเหลือปี 63 จำนวน 1,596,362.54 บาท และได้รับการจัดสรรกรณีปิดยอด Global IP อีกจำนวน

42,757,573.07 บาท โดยสรุปภาพรวมได้รับเงินตามผลงานรวมเงินเติมให้ถึงยอดประกันขั้นต่ำและ

เงินปิด Global IP รวมทั้งสิ้น 937,960,379.82 บาท ทำให้ผลต่างระหว่างผลงานและงบเหมาจ่าย

รายหัวเป็นบวก จำนวน 131,017,974.55 บาท ดงั แสดงในตารางที่ 1

256 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททที่ 5ี่ 1

ตารางท่ี 1 ตารางแสดงสรุปยอดรายรับเหมาจา่ ยรายหวั ปีงบประมาณ 2563

รวมรายรับงบเหมาจา่ ยรายหัว ปงี บประมาณ 2563

รายรับตามผลงาน+เงินเตมิ

หน่วยบริการ งบเหมาจ่ายราย โอนเงิน PP จัดสรรเงินปดิ เตมิ เงินใหถ้ งึ จัดเสรรเงินที่
หัวปี 2563 โอนเงิน OP ยอดประกนั ปี 63 รายรับยอด กนั ไวป้ ิดยอด ปิดGB ip รวมรายรบั ตามผลงาน ผลตา่ งผลงานตอ่
รายรบั IP ประกนั ขั้นตา่ ปี ประกนั ข้ันตา่ เหมาจ่ายรายหัว
63(100%) คงเหลอื ปี 63
ครั้งท่ี 1 (55%)

รพ.เจ้าพระยายมราช 211,614,361.50 52,410,779.54 9,140,804.47 195,368,859.97 - 729,783.69 22,962,490.18 280,612,717.85 68,998,356.35
136,980,497.64 5,058,267.76
รพ.สมเดจ็ พระสงั ฆราชฯ 131,922,229.88 61,820,211.17 10,792,084.70 48,616,964.68 3,549,362.00 6,555,009.68 178,684.06 5,468,181.35 71,502,746.21 14,720,515.01
89,690,129.25 17,493,296.80
รพ.เดมิ บางนางบวช 56,782,231.20 33,246,905.91 5,776,651.14 29,836,559.87 - 120,746.29 2,521,883.00 55,702,005.60 3,875,697.24
49,266,548.51 3,393,041.51
รพ.ดา่ นชา้ ง 72,196,832.45 44,915,609.94 7,798,685.24 34,169,938.39 - 122,215.13 2,683,680.55 44,876,831.71 2,687,783.22
51,140,255.26 6,420,353.30
รพ.บางปลาม้า 51,826,308.36 33,897,100.49 5,889,322.32 14,652,545.18 - 56,905.21 1,206,132.40 110,037,729.42 6,437,386.75
48,150,918.37 1,933,276.61
รพ.ศรีประจันต์ 45,873,507.00 27,976,974.17 4,858,649.18 14,465,217.54 593,203.00 - 55,276.35 1,317,228.27 937,960,379.82 131,017,974.55

รพ.ดอนเจดยี ์ 42,189,048.49 26,040,157.35 4,523,470.15 13,086,653.46 - 50,194.43 1,176,356.32

รพ.สามชกุ 44,719,901.96 27,963,470.08 4,855,202.89 17,002,123.32 - 70,702.74 1,248,756.23

รพ.อทู่ อง 103,600,342.67 57,053,730.47 9,909,415.51 39,776,311.23 - 155,285.61 3,142,986.60

รพ.หนองหญ้าไซ 46,217,641.76 27,628,806.04 4,797,431.50 14,638,233.63 - 56,569.03 1,029,878.17

รวม 806,942,405.27 392,953,745.16 68,341,717.10 421,613,407.27 4,142,565.00 6,555,009.68 1,596,362.54 42,757,573.07

2. การตดิ ตามเฝา้ ระวงั สถานการณ์เงินการคลัง

การตดิ ตามเฝา้ ระวังสถานการณก์ ารเงินการคลงั ของโรงพยาบาลทกุ แห่ง มีการแต่งตั้ง
คณะกรรมการเงินการคลัง (CFO) จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อกำหนดมาตรการการเงินการคลังระดับ
จงั หวดั พัฒนาระบบบัญชแี ละขอ้ มลู การเงินการคลังให้มปี ระสิทธิภาพ ตดิ ตามสถานการณด์ ้านการเงิน
การคลัง แผนทางการเงิน (Planfin) การโอนเงินให้ รพ.สต. และการจัดเก็บรายได้ IP ในที่ประชุม
คณะกรรมการวางแผนและประเมินผล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี (กวป.) ทุกเดือน
วเิ คราะหป์ ัญหาและตรวจเยีย่ มโรงพยาบาลทว่ี ิกฤติทางการเงนิ ได้แก่ โรงพยาบาลอ่ทู อง ประสบปญั หา
วิกฤติระดับ 7 กำกับตดิ ตามโดยให้โรงพยาบาลอู่ทอง จัดทำแผนปรับประสิทธภิ าพการเงินการคลัง

2.1 สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง ตามหลักเกณฑ์การคิดวิกฤติทางการเงิน
ระดบั 7
จากการติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์การเงินการคลัง (Risk Scoring) 4 ปีย้อนหลัง
คอื ตัง้ แต่ปี ปี 2560-2563 พบวา่ ในปงี บประมาณ 2563 มโี รงพยาบาลทป่ี ระสบภาวะวิกฤติสูงสุดในรอบ
4 ปี คือ วิกฤติระดับ 7 ได้แก่ โรงพยาบาลอู่ทอง ระดับ 3 ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์เจ้าพระยายมราช
และโรงพยาบาลเดิมบางนางบวช และระดับ 1 ได้แก่ โรงพยาบาลสามชุก โรงพยาบาลศรีประจันต์
และโรงพยาบาลหนองหญ้าไซ ดังแสดงในตารางที่ 2

รายงานประจำปีสำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 257


บทท่ี 5 Governance Excellence

ตารางที่ 2 ภาวะวิกฤติทางการเงินของโรงพยาบาลทุกแห่ง ปีงบประมาณ 2560–2563 จำแนกราย

โรงพยาบาล

หนว่ ยบริการ Risk Scoring

ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

รพ.เจา้ พระยายมราช 1 1 2 3

รพ.สมเดจ็ พระสังฆราชฯ 1 1 0 0

รพ.อู่ทอง 64 6 7

รพ.เดมิ บางนางบวช 6 3 3 3

รพ.ดา่ นชา้ ง 13 1 0

รพ.บางปลามา้ 11 0 0

รพ.สามชุก 00 0 1

รพ.ศรปี ระจันต์ 30 0 1

รพ.ดอนเจดยี ์ 41 0 0

รพ.หนองหญา้ ไซ 00 01

2.2 ทนุ สำรองสุทธิ (NWC) เมือ่ เปรียบเทียบทุนสำรองสุทธิ (NWC) ปี 2560-2563
พบว่า ในภาพรวมทั้งจังหวัดทุนสำรองสุทธิ มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นหากพิจารณาเป็นรายโรงพยาบาล
พบว่า โรงพยาบาลทุกแห่งมีทุนสำรองสุทธิเป็นบวก ยกเว้น โรงพยาบาลอู่ทอง ทุนสำรองสุทธิมี
แนวโนม้ ลดลง และ ตดิ ลบในปี 2563 จำนวน -7,955,486.19 บาท ดงั แสดงในตารางที่ 3

ตารางท่ี 3 เปรียบเทยี บทนุ สำรองสุทธิ (NWC) 2560-2563 จำแนกรายโรงพยาบาล

หน่วยบริการ ทุนสำรองสทุ ธิ (Net Working Capital)

ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

รพ.เจา้ พระยายมราช 209,890,116.36 284,288,100.79 141,994,620.60 140,389,383.71

รพ.สมเด็จพระสงั ฆราชฯ 52,605,912.78 74,005,394.13 73,346,280.46 70,995,789.96

รพ.อู่ทอง 325,340.30 8,225,756.85 2,107,320.47 -7,955,486.19

รพ.เดมิ บางนางบวช 58,258.21 7,813,156.77 10,366,194.05 4,994,522.93

รพ.ดา่ นชา้ ง 22,013,922.04 17,354,086.87 19,164,922.02 39,404,682.31

รพ.บางปลามา้ 7,822,149.85 10,447,471.63 19,970,654.38 27,983,224.61

รพ.สามชุก 58,873,789.62 91,984,568.91 96,074,223.82 88,971,525.39

รพ.ศรปี ระจนั ต์ 7,172,706.65 21,342,280.80 32,576,317.28 38,991,418.50

รพ.ดอนเจดยี ์ 3,105,893.73 10,300,778.20 27,498,873.42 43,082,410.46

รพ.หนองหญา้ ไซ 11,781,406.99 20,769,370.83 32,220,003.09 26,319,041.87

รวม 373,649,496.53 546,530,965.78 455,319,409.59 473,176,513.55

258 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททท่ี 5ี่ 1

2.3.อัตรากำไรสุทธิ (NI) เมื่อเปรียบเทียบ NI ปี 2560-2563 พบว่า ภาพรวมท้ัง
จังหวัด NI มีแนวโน้มลดลง โดยโรงพยาบาลที่มี NI ลดลงมากที่สุด ได้แก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายม
ราช ส่วนโรงพยาบาล ท่ีมี NI สงู ข้นึ ไดแ้ กโ่ รงพยาบาลบางปลาม้า ซึ่งสาเหตุสว่ นหนงึ่ มาจากการบันทึก
บัญชีรบั ร้รู ายได้ จากการรับ ตึกอุบัตเิ หตุ ดงั แสดงในตารางที่ 4

ตารางท่ี 4 อตั รากำลงั สทุ ธิ (NI) 2560-2563 จำแนกรายโรงพยาบาล

หน่วยบริการ ผลประกอบการ (NI)

ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

รพ.เจ้าพระยายมราช 105,523,978.86 138,842,481.28 96,336,240.17 -17,900,788.76
66,324,431.71 3,401,384.85
รพ.สมเด็จพระสังฆราชฯ -11,074,591.18 -4,329,673.47 -20,131,376.16
รพ.อู่ทอง -7,262,604.89 -10,706,252.99
รพ.เดิมบางนางบวช -23,083,902.08 -5,407,670.62 2,006,912.73
รพ.ด่านช้าง 773,378.00 17,350,321.05
รพ.บางปลาม้า -6,121,477.70 -5,849,176.09 4,948,123.98 63,883,333.54
รพ.สามชกุ 18,401,047.27 -2,583,967.17
รพ.ศรีประจันต์ -8,396,668.42 -13,895,128.69 5,406,654.54 -1,288,458.49
รพ.ดอนเจดยี ์ 12,531,037.01 12,057,531.81
รพ.หนองหญ้าไซ 905,892.73 234,029.70 8,679,444.08 -5,466,353.48
186,006,375.71
รวม 13,408,337.37 96,737,383.11 60,753,663.09

-1,312,057.13 7,868,968.58

-2,085,706.21 6,406,949.36

3,672,702.25 3,181,962.70

71,436,508.49 223,790,125.86

2.4 การติดตามกำกับด้วยรายได้-ค่าใชจ้ า่ ย (Planfin) ในปีงบประมาณ 2563 โรงพยาบาล
ทุกแห่งในจังหวัดสุพรรณบรุ ี ได้จัดทำแผนรายได้-ค่าใช้จ่าย (Planfin) เพื่อประเมินผลการดำเนินงาน
เปรยี บเทยี บกับประมาณการท่วี างแผนไว้ทง้ั ปี ดงั นี้

2.4.1 ดา้ นรายได้ แผนประมาณการคาดวา่ จะมรี ายไดร้ วม 3,697,975,230.85 บาท
ผลการดำเนินงานจริง ณ กันยายน 2563 มีรายได้รวม 3,899,709,325.37 บาท มีผลการดำเนินงาน
ตา่ งจากแผนประมาณการจำนวน 201,734,094.52 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.46 โดยพบวา่ โรงพยาบาล
ท่ีมรี ายได้ต่างจากแผนมากท่ีสุด ได้แก่ รพ.บางปลามา้ เนอ่ื งมาจากการบนั ทึกบัญชีรับรู้รายได้จากการ
รับตึกอุบัตเิ หตุ

รายงานประจำปสี ำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 259


บทที่ 5 Governance Excellence

ตารางที่ 5 สรุปผลการดำเนินการตามแผนประมาณการรายได้ (Planfin) ณ กนั ยายน 2563

รายได้

โรงพยาบาล แผน ผลการดำเนินงาน ส่วนตา่ ง รอ้ ยละ

ผลต่าง+ -

ไม่เกนิ ร้อยละ 5

เจา้ พระยายมราช 1,584,760,752.26 1,726,297,736.60 141,536,984.34 8.93

สมเด็จพระสังฆราชองค์ท่ี 17 550,838,841.94 523,285,934.39 -27,552,907.55 -5.00

เดิมบางนางบวช 229,301,499.75 244,390,013.76 15,088,514.01 6.58

ด่านชา้ ง 209,009,000.00 227,615,739.47 18,606,739.47 8.90

บางปลามา้ 169,277,000.00 230,731,720.25 61,454,720.25 36.30

ศรปี ระจนั ต์ 157,775,566.54 155,678,137.36 -2,097,429.18 -1.33

ดอนเจดีย์ 155,895,349.00 164,010,023.30 8,114,674.30 5.21

สามชกุ 199,442,276.07 197,768,689.80 -1,673,586.27 -0.84

อทู่ อง 335,250,000.00 327,947,401.08 -7,302,598.92 -2.18

หนองหญ้าไซ 106,424,945.29 101,983,929.36 -4,441,015.93 -4.17

รวม 3,697,975,230.85 3,899,709,325.37 201,734,094.52 5.46

2.4.2 ด้านค่าใช้จ่าย จากแผนประมาณการคาดว่าจะมีค่าใช้จ่ายรวม
3,727,312,666.18 บาท จากผลการดำเนินงานจริง ณ กันยายน 2563 มีค่าใช้จ่ายรวม
3,839,496,808.78 บาท มีผลการดำเนินงานต่างจากแผนประมาณการจำนวน 112,184,142.60
บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.01 ดังแสดงในตารางที่ 6

ตารางที่ 6 สรปุ ผลการดำเนนิ การตามแผนประมาณการคา่ ใช้จ่าย (Planfin) ณ กันยายน 2563

ค่าใชจ้ ่าย

โรงพยาบาล แผน ผลการดำเนินงาน ส่วนต่าง รอ้ ยละ

(ผลต่าง+ -

ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 5)

เจ้าพระยายมราช 1,668,596,026.64 1,744,198,525.36 75,602,498.72 4.53

สมเด็จพระสังฆราชองคท์ ี่ 17 509,150,000.00 519,884,549.54 10,734,549.54 2.11

เดิมบางนางบวช 229,623,000.00 242,383,101.03 12,760,101.03 5.56

ด่านช้าง 209,635,000.00 210,265,418.42 630,418.42 0.30

บางปลาม้า 165,697,000.00 167,389,533.21 1,692,533.21 1.02

ศรปี ระจันต์ 155,300,000.00 156,966,595.85 1,666,595.85 1.07

ดอนเจดยี ์ 150,570,000.00 151,952,491.49 1,382,491.49 0.92

สามชกุ 196,647,839.54 200,352,656.97 3,704,817.43 1.88

อ่ทู อง 335,101,000.00 338,653,654.07 3,552,654.07 1.06

หนองหญ้าไซ 106,992,800.00 107,450,282.84 457,482.84 0.43

รวม 3,727,312,666.18 3,839,496,808.78 112,184,142.60 3.01

260 รายงานประจำปีสำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททท่ี 5ี่ 1

3.การดำเนนิ งานติดตามค่า Case Mixed Index (CMI)
ค่า CMI คือ ค่าที่แสดงถึงศักยภาพในการให้บริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยใน สำนักงาน

สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี มีระบบจัดเก็บฐานข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยทุกแห่ง ในรูปแบบ 43
แฟ้มซึ่งสามารถ นำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ เพื่อหาค่า Case Mixed Index (CMI) ซึ่งเป็นข้อมูลที่
แสดงถึงคุณภาพ การรักษาพยาบาลและศักยภาพของโรงพยาบาล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
สุพรรณบุรี ได้นำค่า CMI มาเป็นเครื่องมือสำหรับติดตามผลการดำเนินการของหน่วยบริการ โดยมี
การติดตามทุกเดือน เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ถึงประสิทธิภาพของการรักษาพยาบาลและวางแผนใน
การพัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน และเพื่อวางแนวทางการพัฒนาระบบ Service
Plan ของจังหวดั

การวิเคราะห์ค่า Case Mixed Index (CMI) ที่ใช้ Adjust RW เป็นฐานและอัตราครองเตียง
ในจังหวดั สพุ รรณบุรี

ค่า CMI เมื่อเปรียบเทียบค่า CMI ของหน่วยบริการภายในจังหวัดสุพรรณบุรี 4 ปี ย้อนหลัง
พบว่า หน่วยบริการส่วนใหญ่มคี ่า CMI เพิ่มขึ้นในปีงบประมาณ 2563 และผ่านเกณฑ์ ระดับประเทศ
ทุกแห่ง ทั้งนี้เนื่องจากมีการเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการรักษาพยาบาล โดยโรงพยาบาลที่มีค่า
CMI สูงสุด ได้แก่โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช มีค่า CMI เท่ากับ 1.72 และโรงพยาบาลที่มีค่า CMI
ตำ่ สุด ได้แก่โรงพยาบาลบางปลามา้ มีค่า CMI เท่ากบั 0.66

อัตราครองเตียง เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบอัตราครองเตียงย้อนหลัง 4 ปี พบว่า อัตราครอง
เตียงของหน่วยบริการ มีแนวโน้มลดลง และ ส่วนใหญ่ไม่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 ของอัตราครองเตียง
ซึ่งในปีงบประมาณ 2563 ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อ COVID-19 ส่งผลให้จำนวน
ผู้ป่วยในลดลง อัตราครองเตียงจึงลดลง โดยในปี 2563 โดยมีอัตราครองเตียงสูงสุด ที่โรงพยาบาล
เจ้าพระยายมราช ร้อยละ 86.82 และต่ำสุดที่โรงพยาบาลหนองหญ้าไซ ร้อยละ 52.27 ดังแสดงใน
ตารางท่ี 7

ตารางที่ 7 ตารางแสดงค่า CMI และอัตราครองเตียงของหน่วยบริการ จังหวัดสุพรรณบุรี
ประจำปีงบประมาณ 2560 - 2563

หน่วยบริการ เตยี ง CMI อตั ราครองเตยี ง
เกณฑ์
รพ.เจ้าพระยายมราช 680
รพ.สมเดจ็ พระสงั ฆราชฯ 262 2560 2561 2562 2563 2560 2561 2562 2563
รพ.อทู่ อง 142 1.6 1.53 1.55 1.59 1.72 97.5 99.61 96.85 86.82
รพ.เดมิ บางนางบวช 109 1 1.15 1.05 1.08 1.15 89.84 85.97 82.18 70.65
รพ.ดา่ นช้าง 113 0.8 0.84 0.94 0.93 0.99 68.78 76.53 76.19 76.34
รพ.บางปลามา้ 60 0.6 1 0.66 1.1 1.29 66.62 94.26 65.03 62.76
รพ.ศรีประจันต์ 60 0.6 0.74 0.75 0.84 0.84 82.12 83.38 80.66 67.84
รพ.ดอนเจดยี ์ 60 0.6 0.65 0.64 0.67 0.66 76.18 67.23 75.32 71.21
รพ.สามชุก 60 0.6 0.7 0.85 0.64 0.69 82.16 62.49 96.26 85.9
รพ.หนองหญ้าไซ 60 0.6 0.7 0.75 0.64 0.71 68.97 63.44 60.38 61.85
0.6 0.82 1 0.76 0.78 68.63 69.15 55.58 65.53
0.6 0.7 0.71 0.68 0.68 52.55 86.24 64.98 52.27

ท่มี า : http://cmi.healtharea.net

รายงานประจำปีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 261


บทที่ 5 Governance Excellence

4. การดำเนนิ งานกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพในระดับทอ้ งถ่ินหรือพน้ื ที่

ตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 47 กำหนดให้
คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (คณะกรรมการหลักฯ) สนับสนุน ประสาน และกำหนด
หลักเกณฑ์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการกระบวนการ
ระบบหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน
หลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ (สปสช.) และได้ ออกประกาศคณะกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพ เร่อื ง
หลักเกณฑ์การดำเนินงานกองทนุ ปี 2557 และ ในปี 2559 รัฐบาลให้ความสำคัญกบั การเขา้ สู่
สังคมผู้สงู อายุ จึงมีนโยบาลท่ีมุ่งเนน้ การดูแลผูส้ ูงอายทุ ีม่ ีภาวะพึ่งพิง จึงออกประกาศเพิ่มเติม (ฉบับท่ี
2) ปี 2559 แต่ต่อมาพบว่า การแยกประกาศออกมา เป็น 2 ฉบับ ทำให้เกิดความสับสนในการ
ดำเนินงาน จึงมีข้อเสนอให้มีการปรับปรุงประกาศดังกล่าว เรื่องหลักเกณฑ์ เพื่อสนับสนุนให้
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น
หรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ประกาศ ณ วันที่ 13 กันยายน 2561 โดยมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม
2561

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี โดยกลุ่มงานประกันสุขภาพ ได้มีส่วนร่วมในการ

สนับสนุนการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยการร่วมเป็น

คณะทำงาน ตดิ ตาม ประเมนิ ผลกองทุน ฯ ร่วมเป็นคณะทำงานในการจดั ทำแผนงานโครงการตัวอย่าง

สำหรับเผยแพร่ เป็นตวั อย่างในการจัดทำโครงการ รวมทงั้ รว่ มผลกั ดันใหห้ นว่ ยบริการ ไดแ้ ก่

โรงพยาบาล และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนฯเพื่อใช้ใน

การดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่นั้นๆ กลุ่มงานประกันสุขภาพ จึงสรุปผลการดำเนินงาน ตาม

ประกาศปี 2561 ดงั นี้

4.1 สรปุ จำนวนโครงการ และงบประมาณแยกตามประเภทโครงการ รายจังหวัด ประจำปี
งบประมาณ 2563

การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ภาพรวมระดับเขต
สุขภาพที่ 5 พบว่า มีการจัดทำโครงการ จำนวน 11,586 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งสิ้น จำนวน
420,707,685.69 บาท โดยจังหวัดสุพรรณบุรี มีการเสนอโครงการของบประมาณสนับสนุนจาก
กองทุนฯมากที่สุด จำนวน 2,367 โครงการ ได้รับงบประมาณ ทั้งสิ้น จำนวน 75,421,615.07 บาท
ดังแสดงในตารางท่ี 8

262 รายงานประจำปีสำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


ตารางท่ี 8 ตารางแสดงรายงานสรปุ จำนวนโครงการ และงบประมาณ แยกปร

รายงานประจำปสี ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 ล่าดบั จังหวดั ประเภท 1 ประเภท 2 ป
โครงการ งบประมาณ
โครงการ งบประมาณ โครงการ

1 กาญจนบุรี 723 24,649,189.05 862 23,279,655.00 288

2 นครปฐม 721 19,674,745.00 442 16,398,059.00 114

3 ประจวบครี ีขันธ์ 567 20,423,918.50 416 11,526,055.00 98

4 เพชรบุรี 603 16,788,439.50 376 13,076,206.58 61

5 ราชบุรี 689 26,167,879.00 846 25,738,437.00 214

6 สมทุ รสงคราม 146 5,611,502.00 200 5,653,232.00 25

7 สมทุ รสาคร 102 14,612,959.00 150 6,614,069.50 15

8 สุพรรณบุรี 846 25,284,164.00 935 23,570,560.00 148

รวม 4,397 153,212,796.05 4,227 125,856,274.08 963

263


ระเภทโครงการ รายจังหวัด ประจำปีงบประมาณ 2563 Governance Excellence

ประเภท 3 ประเภท 4 ประเภท 5 รวม

งบประมาณ โครงการ งบประมาณ โครงการ งบประมาณ โครงการ งบประมาณ

6,035,114.00 226 6,544,470.62 94 9,341,478.73 2,193 69,849,907.40

3,224,865.00 217 7,753,186.84 111 12,842,949.66 1,605 59,893,805.50

1,915,834.00 196 4,897,170.67 55 5,716,663.96 1,332 44,479,642.13

1,885,164.00 104 3,563,594.17 57 5,652,127.68 1,201 40,965,531.93

5,371,522.00 232 7,291,944.69 105 8,865,341.52 2,086 73,435,124.21

739,614.00 62 1,718,152.00 28 1,754,256.00 461 15,476,756.00

696,615.00 50 9,228,651.95 24 10,033,008.00 341 41,185,303.45
บบทททที่ 5่ี 1
3,506,533.00 274 6,900,930.83 164 16,159,427.24 2,367 75,421,615.07

23,375,261.00 1,361 47,898,101.77 638 70,365,252.79 11,586 420,707,685.69


บทท่ี 5 Governance Excellence

4.2 สรปุ จำนวนโครงการ และงบประมาณแยกตามประเภทโครงการ รายอำเภอในจังหวัด
สพุ รรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2563

การดำเนนิ งานกองทุนหลักประกนั สุขภาพในระดบั ท้องถ่ินหรอื พนื้ ที่ ในภาพรวมระดับจังหวัด
พบว่า อำเภออู่ทอง มีการจัดทำโครงการมากที่สุด จำนวน 368 โครงการ เป็นเงินจำนวน
12,195,631.50 บาท และเมื่อพิจารณาตามประเภทของกลุ่มทีข่ อสนบั สนุนงบประมาณสูงสุดในกลุ่ม
ประเภทท่ี 1 คอื สนบั สนนุ หนว่ ยบรกิ าร/สถานบรกิ าร/หน่วยงานสาธารณสุข ดังแสดงในตารางท่ี 9

ตารางที่ 9 ตารางแสดงรายงานสรุปจำนวนโครงการ และงบประมาณ แยกประเภทโครงการ
รายอำเภอ ประจำปีงบประมาณ 2563

ล่าดบั อ่าเภอ ประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3 ประเภท 4 ประเภท 5 รวม
โครงการ งบประมาณ โครงการ งบประมาณ โครงการ งบประมาณ โครงการ งบประมาณ
1 ดอนเจดยี ์ โครงการ งบประมาณ โครงการ งบประมาณ
2 ดา่ นช้าง 91 3,102,384.00 17 404,463.00 9 469,950.00 184 5,037,577.00
3 เดมิ บางนางบวช 97 2,680,965.00 66 1,049,310.00 1 11,470.00 11 428,737.00 6 266,300.00 184 5,318,017.00
4 บางปลามา้ 92 2,232,921.00 35 616,129.00 15 507,919.09 281 5,885,295.09
5 เมอื งสพุ รรณบุรี 84 2,212,438.00 46 1,076,185.00 24 865,830.00 35 778,961.95 35 1,974,005.65 250 7,239,875.60
6 ศรีประจันต์ 129 4,176,403.00 26 1,449,258.48 16 5,419,749.00 289 14,706,691.48
7 สองพน่ี ้อง 39 1,275,310.00 118 2,211,897.00 21 316,429.00 24 491,673.00 21 1,763,320.00 188 6,750,808.00
8 สามชุก 72 2,487,382.00 25 1,013,265.00 17 1,569,542.00 352 10,262,482.00
9 หนองหญ้าไซ 66 2,163,258.00 79 1,969,845.00 17 304,625.00 19 344,600.00 2 57,100.00 128 3,887,598.00
10 อทู่ อง 45 1,092,622.00 21 311,803.40 12 888,198.00 143 4,137,639.40
รวม 131 3,860,481.00 106 3,474,761.00 12 186,520.00 61 1,062,040.00 31 3,243,343.50 368 12,195,631.50
846 25,284,164.00 274 6,900,930.83 164 16,159,427.24 2,367 75,421,615.07
90 2,691,450.00 14 529,055.00

220 4,847,735.00 18 344,558.00

37 1,263,065.00 4 59,575.00

56 1,598,455.00 9 246,561.00

117 3,387,857.00 28 641,910.00

935 23,570,560.00 148 3,506,533.00

นยิ ามศัพท์

ประเภท 1 = สนับสนนุ หนว่ ยบริการ/สถานบรกิ าร/หนว่ ยงานสาธารณสขุ

ประเภท 2 = สนับสนุนองคก์ รหรือกลุม่ ประชาชน/หนว่ ยงานอน่ื

ประเภท 3 = สนับสนุนศนู ย์ฯ เด็กเล็ก/ผู้สงู อายุ/คนพิการ

ประเภท 4 = สนบั สนนุ การบรหิ าร/พัฒนากองทุนฯ

ประเภท 5 = สนับสนนุ กรณีเกิดโรคระบาด/ภยั พบิ ัติ

5. ความครอบคลมุ การมหี ลักประกันสขุ ภาพของประชาชน

ความครอบคลุมการมีหลักประกันสุขภาพของประชาชน จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2563
คิดเป็น ร้อยละ 99.71 ของประชากรตามทะเบียนราษฎร์ เมื่อจําแนกรายละเอียดตามประเภทสิทธิ
พบวา่ ประชาชน มสี ิทธขิ ้าราชการ/รัฐวสิ าหกิจ ร้อยละ 6.91 สทิ ธิประกันสงั คม รอ้ ยละ 10.65 สิทธิบตั ร
ประกนั สุขภาพถว้ นหน้า รอ้ ยละ 80.96 สทิ ธขิ า้ ราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1.10 สทิ ธอิ นื่ ๆ รอ้ ย
ละ 0.09 อำเภออทู่ อง มคี วามครอบคลุมสูงสดุ ร้อยละ 99.84 รายละเอียดดงั แสดงในตารางที่ 10

264 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททท่ี 5่ี 1

ตารางที่ 10 แสดงความครอบคลุมการมีหลักประกันสุขภาพ ของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี
จำแนกรายอำเภอ ประจำปงี บประมาณ 2563

อำเภอ ประชากร ข้าราชการ ประกันสังคม บัตร อปท. อน่ื ๆ รอ้ ยละ
ทะเบียน ประกนั ผลงาน ความ
ราษฎร์ สขุ ภาพ
ถว้ นหน้า ครอบคลุม

เมอื ง 167,434 15,608 28,365 120,160 2,285 114 166,982 99.73

เดิมบาง 71,191 5,538 5,747 58,861 769 76 70,991 99.72

ดา่ นชา้ ง 67,903 2,764 3,915 60,642 425 35 67,781 99.82

บางปลาม้า 76,620 5,828 8,472 61,309 797 69 76,475 99.81

ศรปี ระจันต์ 61,398 5,811 6,634 47,906 852 72 61,275 99.80

ดอนเจดยี ์ 45,819 2,997 3,868 37,632 641 31 45,169 98.58

สองพนี่ อ้ ง 126,446 5,238 12,955 106,543 1,267 140 126,143 99.76

สามชุก 52,926 3,959 4,176 44,018 626 36 52,815 99.79

อ่ทู อง 120,928 7,502 10,364 101,536 1,198 135 120,735 99.84

หนองหญ้าไซ 48,844 2,755 4,879 40,637 415 26 48,712 99.73

รวม 839,509 58,000 89,375 679,694 9,275 734 837,078 99.71

ร้อยละ 100 6.91 10.65 80.96 1.10 0.09 99.71

ข้อมลู ณ 30 กนั ยายน 2563

6. การพิจารณาการจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้ได้รับความเสียหายจากการ
รักษาพยาบาล

การจา่ ยเงนิ ชว่ ยเหลือเบ้อื งต้น เป็นกระบวนการเยยี วยาผู้รบั บรกิ ารสาธารณสขุ ตามมาตรา 41
แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 โดยมีเจตนารมณ์ท่จี ะสร้างความสัมพันธ์
อนั ดรี ะหวา่ งผใู้ หแ้ ละผรู้ บั บรกิ าร โดยเฉพาะในกรณที ีผ่ รู้ ับบริการได้รับความเสยี หายจากการให้บริการ
สาธารณสุขของหนว่ ยบริการ

ปีงบประมาณ 2563 คณะอนุกรรมการพิจารณาวินิจฉัยคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น
จงั หวัดสุพรรณบุรี ไดด้ ำเนนิ การวินจิ ฉยั คำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบ้ืองต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความ
เสียหายจากการเข้ารับบริการสาธารณสุข จำนวน 17 ราย เข้าเกณฑ์การจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น
จำนวน 14 ราย จ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ทั้งสิ้น จำนวน 4,110,000 บาท ประเภทความเสียหาย
6(1) เสียชีวิตหรือทุพพลภาพอย่างถาวร จำนวน 10 ราย จ่ายเงิน 3,640,000 บาท กรณี 6(2) พิการ
หรือสูญเสียอวัยวะหรือเจบ็ ปว่ ยเร้ือรัง จำนวน 1 ราย จา่ ยเงิน 240,000 บาท กรณี 6(3) บาดเจ็บหรือ
เจ็บป่วยต่อเนื่อง จำนวน 3 ราย จ่ายเงิน 230,000 บาท เมื่อจำแนกความเสียหายจากแผนกท่ีเข้ารับ
บริการ แผนกสูติ- นรีเวชกรรม จำนวน 7 ราย ศัลยกรรม จำนวน 1 ราย อายุรกรรม จำนวน 3 ราย
กมุ ารเวชกรรม จำนวน 3 ราย รายละเอียดดงั แสดงในตาราง ท่ี 11

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 265


บทที่ 5 Governance Excellence

ตารางที่ 11 ผลการพิจารณาวินิจฉัยคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น จังหวัดสุพรรณบุรี
ปีงบประมาณ 2561 - 2563

จ่านวน เกณฑก์ ารจ่ายเงิน ประเภทความเสยี หาย รวมจ่ายเงิน แผนกที่ได้รับความเสยี หาย
(ราย) เขา้ เกณฑ์ ไม่เขา้ เกณฑ์
ปีงบประมาณ 6(1) (ราย) 6(2) (ราย) 6(3) (ราย) ชว่ ยเหลอื

2561 11 11 - จา่ ยเงิน จ่ายเงิน จา่ ยเงิน เบ้ืองต้น สตู ิ ศัลยกรรม อายรุ กรรม เด็ก
5 15 จา่ ยเงิน จ่ายเงิน จ่ายเงิน จา่ ยเงิน
2562 12 9 3 2,413,600
1,756,000 237,600 420,000 2,006,000 5 32 1
2563 17 14 3 4 14 4,110,000 1,120,000 733,600 460,000 100,000

1,512,000 240,000 254,000 3 13 2
10 13 555,000 15,000 680,000 756,000

3,640,000 240,000 230,000 7 13 3
2,090,000 360,000 540,000 1,120,000

ปีงบประมาณ จ่านวน เกณฑก์ ารจ่ายเงิน ประเภทความเสยี หาย รวมจา่ ยเงิน แผนกที่ได้รับความเสยี หาย
(ราย) เขา้ เกณฑ์ ไม่เขา้ เกณฑ์
6(1) (ราย) 6(2) (ราย) 6(3) (ราย) ชว่ ยเหลอื

2561 11 11 - จ่ายเงิน จา่ ยเงิน จา่ ยเงิน เบ้ืองต้น สตู ิ ศัลยกรรม อายรุ กรรม เด็ก
5 15 จา่ ยเงิน จ่ายเงิน จ่ายเงิน จา่ ยเงิน
2562 12 9 3 2,413,600
1,756,000 237,600 420,000 2,006,000 5 32 1
2563 17 14 3 4 14 4,110,000 1,120,000 733,600 460,000 100,000

1,512,000 240,000 254,000 3 13 2
10 13 555,000 15,000 680,000 756,000

3,640,000 240,000 230,000 7 13 3
2,090,000 360,000 540,000 1,120,000

266 รายงานประจำปีสำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


ภาคผนวก


หนา้ ท่ี 1

รายงานผลการดาเนนิ งานตาม PA/KPI กระทรวงสาธารณสขุ ประจาปี งบประมาณ 2563 Seksan Ch

ผลงานไตรมาสท่ี 4 ผลการดาเน

ตวั PA sub ยทุ ธศาสตร์ / แผนงาน-โครงการ เกณฑ์ จ.ราชบรุ ี

ท่ี KPI OKR ลาดบั ตวั ชวี้ ดั , ชอ่ื ตวั ชว้ี ดั ไตรมาสน้ี รบ.

1. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ป้ องกนั โรค และคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคเป็ นเลศิ (PP&P Excellence)

แผนงานท่ี 1 : การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนไทยทุกกลมุ่ วยั (ดา้ นสขุ ภาพ)

1. โครงการพฒั นาและสรา้ งศกั ยภาพคนไทยทุกกลมุ่ วยั

1 PA sub 1. อตั ราสว่ นการตายมารดาไทยตอ่ การเกดิ มชี พี แสนคน (<17/100,000) 17 15.96

A = จานวนมารดาตายระหวา่ งการตัง้ ครรภ์ การคลอด หลังคลอด 42 วนั 1
หลังคลอดทกุ สาเหตุ ยกเวน้ อบุ ตั เิ หตุ ในชว่ งเวลาทก่ี าหนด

B = จานวนการเกดิ มชี พี ทงั้ หมดในชว่ งเวลาเดยี วกัน 6,267

2 PA sub 2. รอ้ ยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ทงั้ หมดตามชว่ งอายทุ กี่ าหนด มพี ฒั นาการสมวยั 85 90.72

2.1 sub 2.1 รอ้ ยละ 90 ของเด็กอายุ 0-5 ปี ไดร้ ับการคดั กรองพัฒนาการ (Coverage) 90 93.16

2.2 sub 2.2 รอ้ ยละ 20 ของเด็กอายุ 0-5 ปี ทไี่ ดร้ บั การคดั กรองพัฒนาการ พบสงสยั ลา่ ชา้ (detect) 20 27.18

2.3 sub 2.3 รอ้ ยละ 90 ของเด็กอายุ 0-5 ปี ทม่ี พี ัฒนาการสงสยั ลา่ ชา้ ไดร้ ับการตดิ ตาม (Follwer) 90 92.14

2.4 sub 2.4 รอ้ ยละ 60 ของเด็กพัฒนาการลา่ ชา้ ไดร้ ับการกระตนุ ้ พัฒนาการดว้ ย TEDA4I 60 67.89

2.5 sub 2.5 รอ้ ยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มพี ัฒนาการสมวยั 85 90.72

A = จานวนเด็ก 9, 18, 30, 42 และ 60 เดอื น ทไ่ี ดร้ ับการตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใชค้ มู่ อื (DSPM) 25,919
แลว้ ผลการตรวจคัดกรอง ผา่ นครบ 5 ดา้ น ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครงั้ แรก

a = จานวนเด็ก 9, 18, 30, 42 และ 60 เดอื น ทไี่ ดร้ ับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ พบพัฒนาการสงสยั ลา่ ชา้ 6,564
และไดร้ บั การตดิ ตามกระตนุ ้ พัฒนาการ และประเมนิ ซา้ แลว้ ผลการประเมนิ ผา่ นครบ 5 ดา้ น
ภายใน 30 วนั (1B260) และสง่ ตอ่ ทันที (1B261+1B262)

B = จานวนเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดอื น ทงั้ หมดในชว่ งเวลาทก่ี าหนด 24,146

C = จานวนเด็กอายุ 9,18,30,42,60 เดอื น มพี ัฒนาการสงสยั ลา่ ชา้ (ตรวจครงั้ แรก) ทตี่ อ้ งแนะนาใหพ้ ่อแม่ 6,512
ผปู ้ กครอง สง่ เสรมิ พัฒนาการตามวยั 30 วนั (1B261)

D = จานวนเด็กอายุ 9,18,30,42,60 เดอื น มพี ัฒนาการสงสยั ลา่ ชา้ (ตรวจครัง้ แรก) สง่ ตอ่ ทันที 52
(1B262 : เด็กทพ่ี ัฒนาการลา่ ชา้ /ความผดิ ปกตอิ ยา่ งชดั เจน)

E = จานวนเด็กอายุ 9,18,30,42,60 เดอื น มพี ัฒนาการสงสยั ลา่ ชา้ (ตรวจครัง้ แรก)ทงั้ เด็กทตี่ อ้ งแนะนาใหพ้ ่อแม่ 6,000
ผปู ้ กครอง สง่ เสรมิ พัฒนาการตามวยั 30 วนั (1B261) แลว้ ตดิ ตามกลบั มาประเมนิ คดั กรองพัฒนาการครงั้ ที่ 2

F = จานวนเด็กอายุ 9,18,30,42,60 เดอื น ทไี่ ดร้ ับการตรวจคดั กรองพัฒนาการโดยใชค้ มู่ อื เฝ้าระวงั และสง่ เสรมิ

พัฒนาการเด็กปฐมวยั (DSPM) แลว้ ผลการตรวจคัดกรอง ผา่ นครบ 5 ดา้ น ในการตรวจคัดกรอง "ครัง้ แรก" รวมกบั 23,513
เด็กทพี่ บพัฒนาการสงสยั ลา่ ชา้ และไดร้ ับการตดิ ตามใหไ้ ดร้ บั การกระตนุ ้ พัฒนาการ และประเมนิ ซา้ แลว้ ผลการประเมนิ

ผา่ นครบ 5 ดา้ นภายใน 30 วนั (1B260)

G = จานวนเด็กอายุ 9,18,30,42,60 เดอื น มพี ัฒนาการลา่ ชา้ (=D ใน KPI 4 ???) 109

H = จานวนเด็กอายุ 9,18,30,42,60 เดอื น มพี ัฒนาการลา่ ชา้ ไดร้ บั การกระตนุ ้ ดว้ ย TEDA4I (=Cใน KPI4??) 74

3 KPI sub 3. รอ้ ยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สงู ดสี มสว่ น และสว่ นสงู เฉลยี่ ทอ่ี ายุ 5 ปี 60 69.56

3.1 sub 3.1) ความครอบคลมุ เด็กทไี่ ดร้ ับการชง่ั น้าหนักและวดั สว่ นสงู (ความยาว) = (B2/ B1) × 100 85 81.43

3.2 sub 3.2) รอ้ ยละเด็กอายุ 0-5 ปีสงู ดสี มสว่ น = (A1 / B2) × 100 60 69.56

3.3 sub 3.3) สว่ นสงู เฉลย่ี ชายทอ่ี ายุ 5 ปี = (A2 / B3) หน่วย ซม. 109.3 110.17

3.4 sub 3.4) สว่ นสงู เฉลย่ี หญงิ ทอ่ี ายุ 5 ปี = (A3 / B4 หน่วย ซม. 108.6 109.10

A1 = จานวนเด็กอายุ 0-5 ปีสงู ดสี มสว่ น 100 18,134

A2 = ผลรวมของสว่ นสงู ของประชากรชายอายุ 5 ปี ทไ่ี ดร้ ับการวดั สว่ นสงู (ซม.) 100 299,892

A3 = ผลรวมของสว่ นสงู ของประชากรหญงิ อายุ 5 ปี ทไ่ี ดร้ บั การวดั สว่ นสงู (ซม.) 100 287,152

B1 = จานวนเด็กอายุ 0-5 ปี ทงั้ หมด 100 32,013

B2 = จานวนเด็กอายุ 0-5 ปีทช่ี ง่ั น้าหนักและวดั สว่ นสงู ทงั้ หมด 100 26,069

B3 = จานวนประชากรชายอายุ 5 ปี ทไ่ี ดร้ ับการวดั สว่ นสงู ทงั้ หมด 100 2,722

B4 = จานวนประชากรหญงิ อายุ 5 ปี ทไี่ ดร้ ับการวดั สว่ นสงู ทงั้ หมด 100 2,632

การพฒั นาและสรา้ งเสรมิ ศกั ยภาพคนไทยกลมุ่ วยั เรยี นและวยั รุน่

4 sub 4. เด็กไทยมรี ะดบั สตปิ ญั ญาเฉลย่ี ไมต่ า่ กวา่ 100 วดั ผลปี 2564 (= A/B) Y-64 ไมม่ ขี อ้ มลู

4.2 KPI sub 4.2 รอ้ ยละของเด็กปฐมวยั ทไ่ี ดร้ ับการคดั กรองแลว้ พบวา่ มพี ัฒนาการลา่ ชา้ ไดร้ ับการกระตนุ ้ พัฒนาการดว้ ย 65 67.89
เครอื่ งมอื มาตรฐาน (C/D) x 100

A = ผลรวมของคะแนน IQ ของเด็กนักเรยี นไทยกลมุ่ ตวั อยา่ ง 0.00

B = จานวนเด็กนักเรยี นไทยทเ่ี ป็ นกลมุ่ ตัวอยา่ งในปีทส่ี ารวจ 0

C = จานวนเด็กปฐมวยั ทไ่ี ดร้ บั การคดั กรองแลว้ พบวา่ มพี ัฒนาการลา่ ชา้ ไดร้ บั การกระตนุ ้ พัฒนาการ 74
ดว้ ยเครอื่ งมอื มาตรฐาน (=H ใน PA 2 ???)

D = จานวนเด็กปฐมวยั ทไี่ ดร้ ับการคดั กรองแลว้ พบวา่ มพี ัฒนาการลา่ ชา้ (=G ใน PA 2 ???) 109

5 KPI sub 5. รอ้ ยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สงู ดสี มสว่ น 66 65.72
sub 1. รอ้ ยละเด็กอายุ 6-14 ปี สงู ดสี มสว่ น = (A1/B1) x 100 65.72

sub 2. รอ้ ยละเด็กอายุ 6-14 ปี มภี าวะผอม = (A2/B1) x 100 4.08

sub 3. รอ้ ยละเด็กอายุ 6-14 ปี มภี าวะเรมิ่ อว้ นและอว้ น = (A3/B1) x 100 14.25

sub 4. รอ้ ยละเด็กอายุ 6-14 ปี มภี าวะเตย้ี = (A4/B1) x 100 3.53

sub 5. ความครอบคลมุ = (B1/B2) x 100 64.97

sub 6. สว่ นสงู เฉลยี่ ชายทอี่ ายุ 12 ปี = (A5/B3) หน่วย ซม. 150.53

sub 7. สว่ นสงู เฉลย่ี หญงิ ทอ่ี ายุ 12 ปี = (A6/B4) หน่วย ซม. 150.91

A1 = จานวนเด็กอายุ 6-14 ปี สงู ดสี มสว่ น 43,396

A2 = จานวนเด็กอายุ 6-14 ปี ทมี่ ภี าวะผอม 2,692

A3 = จานวนเด็กอายุ 6-14 ปี ทม่ี ภี าวะเรมิ่ อว้ นและอว้ น 9,410

A4 = จานวนเด็กอายุ 6-14 ปี ทม่ี ภี าวะเตย้ี 2,329

A5 = ผลรวมของสว่ นสงู ของประชากรชายอายุ 12 ปี ทไ่ี ดร้ ับการวดั สว่ นสงู 519,477

A6 = ผลรวมของสว่ นสงู ของประชากรหญงิ อายุ 12 ปี ทไี่ ดร้ ับการวดั สว่ นสงู 518,388

B1 = จานวนเด็กอายุ 6-14 ปี ทช่ี งั่ น้าหนักและวดั สว่ นสงู ทงั้ หมด 66,031


1 จาก 10

hanmaneerat : Region5

นนิ งาน เดอื นกรกฎาคม 2563 - กนั ยายน 2563 : ผลงานสะสม 12 เดอื น

จ.กาญจนบรุ ี จ.สุพรรณบรุ ี จ.นครปฐม จ.สมทุ รสาคร จ.สมทุ รสงคราม จ.เพชรบรุ ี จ. ผลรวม หมายเหตุ เกณฑ์
พบ. ประจวบครี ขี นั ธ์ เขต 5 idx Q4
กจ. สพ. นฐ. สค. สส.
ปข.

57.41 0.00 0.00 63.84 0.00 100.77 0.00 28.77 1 17
3 0 0 3 0 3 0 10 17

5,226 5,486 4,753 4,699 1,075 2,977 4,278 34,761 85.00 85
89.42 93.27 87.79 72.77 87.27 87.67 89.25 88.26 90 90
91.77 96.15 90.48 75.78 90.04 91.20 91.13 90.91 20 20
23.44 24.77 22.04 18.46 22.04 24.13 23.53 23.76 90 90
91.62 91.26 88.35 82.24 90.11 86.97 91.99 90.15 60 60
72.73 70.72 34.12 51.39 44.12 80.00 72.22 64.35 85 85
89.42 93.27 87.79 72.77 87.27 87.67 89.25 88.26
26,200 23,178 25,315 12,938 4,657 14,606 15,686
148,499
5,636 5,521 5,048 1,810 924 3,215 3,363
32,081
24,045 22,286 22,904 9,805 4,193 13,321 14,294
5,552 5,425 5,003 1,785 890 3,169 3,347 134,994
31,683
84 96 45 25 34 46 16
398
5,087 4,951 4,420 1,468 802 2,756 3,079
28,563

23,427 21,618 22,225 9,415 4,064 12,805 14,000 131,067

143 181 85 72 34 75 36 735 60 60
104 128 29 37 15 60 26 473 85 85
62.37 68.19 68.26 70.39 64.66 68.94 62.42 67.01 60 60
85.39 93.74 78.17 47.79 93.39 80.82 75.33 79.86 109.3 109.3
62.37 68.19 68.26 70.39 64.66 68.94 62.42 67.01 108.6 108.6
110.38 110.15 109.51 111.27 109.46 110.79 112.28 110.41 100
112.81 109.77 108.78 110.17 109.16 109.50 110.87 110.04 100 Y-64
14,193 18,824 16,559 5,833 3,308 10,277 9,351 96,479 100 65
264,248 294,533 274,001 96,358 53,853 154,336 168,864 1,606,085 100
248,285 281,331 261,735 87,693 50,652 152,425 158,100 1,527,373 100 66
26,652 29,449 31,035 17,342 5,478 18,446 19,888 180,303 100 0
22,757 27,605 24,259 8,287 5,116 14,908 14,981 143,982 100
2,394 2,674 2,502 866 492 1,393 1,504 14,547
2,201 2,563 2,406 796 464 1,392 1,426 13,880 Y-64
65
ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู
66
66.11 70.72 34.12 51.39 44.12 80.00 72.22 63.42 0

N/A ประเมนิ ปี 64 ประเมนิ ปี 64 ประเมนิ ปี 64 N/A 0.00 n/a 0.00
N/A 0 ประเมนิ ปี 64 ประเมนิ ปี 64 N/A 0 n/a 0

158 128 29 37 15 60 26 527

239 181 85 72 34 75 36 831
66.75 66.03 61.43 60.02 66.01 63.20 64.99 64.38
66.75 60.02 63.20
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
4.73 3.99 3.80 4.66 4.21 4.01 4.04 4.13
13.48 16.01 16.49 18.83 14.62 16.49 13.40 15.38
8.41 8.34 3.34 4.34 5.73
4.86 99.93 76.85 2.78 81.37 3.19 96.71 75.98
83.48 149.33 148.52 50.88 150.84 53.93 150.20 149.76
149.80 149.95 149.72 152.07 151.03 149.96 151.34 150.59
150.95 55,653 52,046 152.47 9,112 150.96 29,635 262,919
38,145 3,364 3,221 18,182 581 16,750 1,844 16,881
2,702 13,498 13,973 1,413 2,018 1,064 6,112 62,792
7,705 7,092 7,066 5,705 461 4,371 1,977 23,389
2,775 725,605 748,517 121,279 360,625 3,356,048
455,378 654,398 739,184 843 115,540 846 356,715 3,180,519
419,941 84,287 84,724 218,366 13,805 206,801 45,597 408,391
57,148 198,973 177,380

30,295 26,504


หนา้ ที่ 2

รายงานผลการดาเนนิ งานตาม PA/KPI กระทรวงสาธารณสขุ ประจาปี งบประมาณ 2563 Seksan Ch

ผลงานไตรมาสที่ 4 ผลการดาเน

ตวั PA sub ยทุ ธศาสตร์ / แผนงาน-โครงการ เกณฑ์ จ.ราชบรุ ี

ท ่ี KPI OKR ลาดบั ตวั ชวี้ ดั , ชอื่ ตวั ชว้ี ดั ไตรมาสน้ี รบ.
6 34
7 B2 = จานวนเด็กอายุ 6-14 ปี ทกุ คนทเี่ รยี นในเขตรับผดิ ชอบ(อาศยั อยใู่ น+นอกเขตรบั ผดิ ชอบ) 101,626
8 3,451
9 B3 = จานวนประชากรชายอายุ 12 ปีทไ่ี ดร้ ับการวดั สว่ นสงู ทงั้ หมด 3,435
10 19.40
11 B4 = จานวนประชากรหญงิ อายุ 12 ปีทไ่ี ดร้ บั การวดั สว่ นสงู ทงั้ หมด 422
12
KPI sub 6. อตั ราการคลอดมชี พี ในหญงิ อายุ 15 -19 ปี (อตั รา ตอ่ 1,000 <) 21,750
13
13.1 A = จานวนการคลอดมชี พี โดยหญงิ อายุ 15 – 19 ปี (จากแฟ้ม Labor) ดขู อ้ มลู จากจานวนเด็กเกดิ มชี พี (LBORN)
13.2
B = จานวนหญงิ อายุ 15 – 19 ปี ทงั้ หมด ในเขตรับผดิ ชอบ (ประชากรจากการสารวจ Type Area=1,3)
14
15 การพฒั นาและสรา้ งเสรมิ ศกั ยภาพคนไทยกลมุ่ วยั ผสู้ งู อายุ

16 KPI sub 7. รอ้ ยละของผสู้ งู อายทุ มี่ ภี าวะพง่ึ พงิ ไดร้ บั การดแู ลตาม care plan 80 89.79
A = จานวนผสู ้ งู อายทุ มี่ ภี าวะพง่ึ พงิ ทไ่ี ดร้ ับการดแู ลตาม CP.(ปี 63 นับเฉพาะ ผส. ทเี่ ขา้ โครงการ LTC) 1,293
17 1,440
17.1 B = จานวนผสู ้ งู อายทุ มี่ ภี าวะพงึ่ พงิ ทงั้ หมด (ในประเทศไทย) ทเี่ ขา้ รว่ มโครงการ LTC

PA sub 8. รอ้ ยละของประชากรสงู อายทุ มี่ พี ฤตกิ รรมสขุ ภาพทพี่ งึ ประสงค์ 60 60.88
A = จานวนผสู ้ งู อายทุ ไี่ ดร้ ับการประเมนิ มพี ฤตกิ รรมสขุ ภาพทพ่ี งึ ประสงค์ 4,651

B = จานวนผสู ้ งู อายทุ งั้ หมดทไี่ ดร้ ับการประเมนิ 7,640
80 94.23
PA sub 9. รอ้ ยละของตาบลทม่ี รี ะบบการสง่ เสรมิ สขุ ภาพดแู ลผสู้ งู อายรุ ะยะยาว (LTC) ในชุมชนผา่ นเกณฑ์
A = จานวนตาบลทม่ี รี ะบบการสง่ เสรมิ สขุ ภาพดแู ลผสู ้ งู อายรุ ะยะยาวในชมุ ชนผา่ นเกณฑต์ ามองคป์ ระกอบ 98
104
B = จานวนตาบลทงั้ หมด

2. โครงการพฒั นาความรอบรูด้ า้ นสขุ ภาพของประชากร 100 131.64
17,455
PA sub 10. จานวนครอบครวั ไทยมคี วามรอบรูส้ ขุ ภาพเรอื่ งกจิ กรรมทางกาย 13,260
A = จานวนครอบครัวทลี่ งทะเบยี นในระบบฐานขอ้ มลู ครอบครัวอบอนุ่ ออกกาลงั กาย
70 100.00
B = เป้าหมายจากกระทรวง (ครอบครวั ) 10
3. โครงการการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ระดบั อาเภอ (พชอ.) 10
PA sub 11. รอ้ ยละของอาเภอผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ทม่ี คี ณุ ภาพ
A = จานวนอาเภอทผี่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ

B = จานวนอาเภอ …. แหง่

แผนงานท่ี 3 : การป้ องกนั ควบคมุ โรคและลดปจั จยั เสย่ี งดา้ นสขุ ภาพ

4. โครงการพฒั นาระบบการตอบโตภ้ าวะฉุกเฉนิ และภยั สขุ ภาพ

KPI sub 12. ระดบั ความสาเร็จในการจดั การภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ ของหนว่ ยงานระดบั จงั หวดั 50 100.00
A = จานวนสานักงานสาธารณสขุ จังหวดั ทดี่ าเนนิ การไดท้ งั้ 5 ขนั้ ตอน 1
B = จานวนจังหวดั ทงั้ หมด 1
3 เดอื น (ยงั ไมป่ ระเมนิ )

6 เดอื น มกี ารดาเนนิ งานขัน้ ตอนท่ี 1 มขี ัน้ ตอนท
9 เดอื น มกี ารดาเนนิ งานขัน้ ตอนท่ี 2-4 มขี ัน้ ตอนที่ 2

12 เดอื น มกี ารดาเนนิ งานขัน้ ตอนที่ 5 มขี ัน้ ตอนท

5. โครงการควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพ 30 67.31
KPI sub 13. รอ้ ยละการตรวจตดิ ตามกลมุ่ สงสยั ป่ วยโรคเบาหวาน และ/หรอื ความดนั โลหติ สงู 30 65.66
52
sub 13.1 รอ้ ยละการตรวจตดิ ตามกลมุ่ สงสยั ป่ วยโรคเบาหวาน (DM) 947

sub 13.2 รอ้ ยละการตรวจตดิ ตามกลมุ่ สงสยั ป่ วยโรคความดนั โลหติ สงู (HT)

A = จานวนประชากรสงสยั ป่ วยโรคเบาหวานอายุ 35 ปี ขน้ึ ไป ในเขตรบั ผดิ ชอบไดร้ บั การตรวจยนื ยัน โดยการตรวจ
ระดับพลาสมากลโู คสหลงั อดอาหารมากกวา่ 8 ชว่ั โมง (FPG) ทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ภายใน
ปีงบประมาณ (ทงั้ นีค้ วรตรวจตดิ ตามภายใน 3-6 เดอื น)

B = จานวนประชากรอายุ 35 ปี ขนึ้ ไป ในเขตรับผดิ ชอบทไ่ี ดร้ ับการคัดกรองโรค DM และเป็ นกลมุ่ สงสยั ป่ วยโรค DM 1,407
C = จานวนประชากรสงสยั ป่ วยโรค HT อายุ 35 ปี ขน้ึ ไป ในเขตรบั ผดิ ชอบไดร้ บั การวดั ความดนั โลหติ ทบ่ี า้ น* 3,643
D = จานวนประชากรอายุ 35 ปี ขน้ึ ไป ในเขตรบั ผดิ ชอบทไ่ี ดร้ ับการคดั กรอง HT และเป็ นกลมุ่ สงสยั ป่ วยโรค HT ใน
ปี งบประมาณ 5,548

KPI sub 14. รอ้ ยละของจงั หวดั มกี ารขบั เคลอ่ื นมาตรการยตุ กิ ารใชส้ ารเคมที างการเกษตรทมี่ อี นั ตรายสงู 1 1.00
มจี ัดประชมุ
รว่ มกบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งในระดบั สว่ นกลาง และภมู ภิ าค อยา่ งนอ้ ย จว.ละ 1 เรอ่ื ง (เขตฯละ 1 จงั หวดั )
A = จังหวดั ทสี่ ามารถดาเนนิ การจัดประชมุ คณะกรรมการควบคมุ โรคจากการประกอบอาชพี และโรคจากสงิ่ แวดลอ้ ม
จังหวดั

B = จอายนา่ วงนจอ้ ังยหเขวตดั สทขุงั้ หภามพดลเะขต1สจขุ ังภหาวพดั ละ 1 จังหวดั รวมเป็ น12 จังหวดั ) 1
PA sub 15. รอ้ ยละของจงั หวดั มรี ะบบรบั แจง้ ขา่ ว การใช/้ ป่ วยจากการสมั ผสั สารเคมที างการเกษตร 3 ชนดิ 100 100.00

(พาราควอต คลอรไ์ พรฟิ อส ไกลโฟเสต) โดยประชาชน/อสม. ผา่ น Mobile Application 1
สหู่ นว่ ยบรกิ าร (คลนิ กิ สารเคมเี กษตร/คลนิ กิ โรคจากการทางาน)
A = จานวนจังหวดั ทมี่ ขี อ้ มลู การสารวจการใชแ้ ละปรมิ าณสารเคมที างการเกษตร และการใชส้ ารหรอื วธิ กี ารอน่ื ที่
ปลอดภัยไมใ่ ชส่ ารเคมี

B = จานวนจังหวดั ทงั้ หมด (76 จังหวดั ไมร่ วม กทม.) 1
PA sub 16. รอ้ ยละของจงั หวดั มกี ารจดั ทาฐานขอ้ มลู อาชวี อนามยั และสง่ิ แวดลอ้ ม (Occupational and

Environmental Health Profile : OEHP) ดา้ นเกษตรกรรม และมกี ารรายงานการเจ็บป่ วย 100 100.00

หรอื เสยี ชวี ติ จากสารเคมที างการเกษตร (รหสั โรค T60) 1
A = จานวนจังหวดั ทม่ี กี ารจัดทาฐานขอ้ มลู อาชวี อนามัยและสง่ิ แวดลอ้ ม ดา้ นเกษตรกรรม และมกี ารรายงานการเจ็บป่ วย 1
หรอื เสยี ชวี ติ จากสารเคมที างการเกษตร (รหสั โรค T60) มกี ารวเิ คราะหค์ วามเชอ่ื มโยงระหวา่ งการใชส้ ารเคมที าง
การเกษตร และผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ พรอ้ มทงั้ จัดทารายงานฐานขอ้ มลู OEHP ดา้ นเกษตรกรรม ฉบบั สมบรู ณ์ ภายใน
Bไต=รมจาาสนทวนี่ 4จังหวดั ทงั้ หมด (76 จังหวดั (ไมร่ วม กทม.))

6. โครงการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคดา้ นผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพและบรกิ ารสขุ ภาพ 80 95.72
80 100.00
KPI sub 17. รอ้ ยละของผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพกลมุ่ เสยี่ งทไี่ ดร้ บั การตรวจสอบไดม้ าตรฐานตามเกณฑท์ กี่ าหนด
sub 17.1. รอ้ ยละของผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพกลมุ่ เสย่ี ง "ทเ่ี ก็บตวั อยา่ งไดแ้ ลว้ " 187
187
A0 = จานวนผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพกลมุ่ เสย่ี ง 4 กลมุ่ ทเ่ี ก็บตัวอยา่ งไดแ้ ลว้

B0 = จานวนผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพกลมุ่ เสย่ี ง 4 กลมุ่ ทเี่ ป็ นเป้าหมายตอ้ งเก็บตัวอยา่ ง ทงั้ หมด


2 จาก 10

hanmaneerat : Region5

นนิ งาน เดอื นกรกฎาคม 2563 - กนั ยายน 2563 : ผลงานสะสม 12 เดอื น

จ.กาญจนบรุ ี จ.สพุ รรณบรุ ี จ.นครปฐม จ.สมทุ รสาคร จ.สมทุ รสงคราม จ.เพชรบรุ ี จ. ผลรวม หมายเหตุ เกณฑ์
ประจวบครี ขี นั ธ์ idx Q4
กจ. สพ. นฐ. สค. สส. พบ. เขต 5
49,144 ปข. 537,476 34 34
68,457 84,350 110,249 59,537 16,966
3,040 4,859 5,040 1,436 804 1,379 47,147 22,410 80 80
2,782 4,364 4,937 1,305 765 1,175 2,401 21,120 60 60
23.58 17.69 28.30 16.23 30.19 2,357 80 80
510 368 660 239 15.53 29.41 22.89
71 375 378 3,023 100 100
21,632 20,803 23,322 14,728 12,421 132,081
4,573 12,852 70 70
95.23
87.76 96.24 100.00 96.72 97.14 90.43 96.56 7,305
86 2,687 849 413 712 312 953 7,671
98 2,792 849 427 733 345 987 66.68
64.05 91,623
67.41 5,410 49.37 81.39 64.59 52.67 63.94 137,412
788 8,446 13,542 51,120 425 14,141 1,546 92.88
99.09 27,429 62,806 658 26,846 2,418 1,838
1,169 91.67 1,979
92.30 109 98.11 90.00 94.44 88.17
1,331 110 104 36 34 82 44 129.91
1,442 106 40 36 93 48 133,810
103,004
117.51 162.69 55.37 39.22 100.18 380.81 135.82
20,839 30,072 8,416 6,607 3,931 35,194 11,296 100.00
17,734 18,484 15,199 16,844 3,924 62
9,242 8,317 62

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
13 10 7 3 3 8 8
13 10 7 3 3 8 8

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 50 50
1 1 1 1 1 1 1 8
1 1 1 1 1 1 1 8 30 30
30 52
ท่ี 1 มขี ัน้ ตอนที่ 1 มขี ัน้ ตอนท่ี 1 มขี ัน้ ตอนที่ 1 มขี ัน้ ตอนท่ี 1 มขี ัน้ ตอนท่ี 1 มขี ัน้ ตอนที่ 1 มขี ัน้ ตอนที่ 1 52
2-4 มขี ัน้ ตอนที่ 2-4 มขี ัน้ ตอนท่ี 2-4 มขี ัน้ ตอนที่ 2-4 มขี ัน้ ตอนท่ี 2-4 มขี ัน้ ตอนท่ี 2-4 มขี ัน้ ตอนท่ี 2-4 มขี ัน้ ตอนท่ี 2-4 1
ท่ี 5 มขี ัน้ ตอนที่ 5 มขี ัน้ ตอนที่ 5 มขี ัน้ ตอนที่ 5 1 100
มขี ัน้ ตอนที่ 5 มขี ัน้ ตอนท่ี 5 มขี ัน้ ตอนที่ 5 มขี ัน้ ตอนที่ 5 100 100

82.74 70.55 56.61 56.84 59.08 62.89 71.49 67.64 100
85.49 80.35 59.63 42.46 66.03 85.54 76.33 70.89

1,227 1,339 882 345 257 666 938 6,601

1,483 1,898 1,558 607 435 1,059 1,312 9,759
4,833 7,635 2,942 2,410 1,065 3,271 3,541 29,340
5,653 9,502 4,934 5,676 1,613 3,824 4,639 41,389

0.00 1.00 0.00 1.00 0.00 1.00 0.00 50
ไมม่ ปี ระชมุ มจี ัดประชมุ ไมม่ ปี ระชมุ มจี ัดประชมุ ไมม่ ปี ระชมุ มจี ัดประชมุ ไมม่ ปี ระชมุ
4
1 1 1 1 1 1 1 8

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

1 1 1 1 1 1 1 8
1 1 1 1 1 1 1 8

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

1 1 1 1 1 1 1 8 80 80
80 80
1 1 1 1 1 1 1 8

100.00 92.68 100.00 95.24 96.00 100.00 93.44 94.83
100.00 100.00 100.00 100.00 96.00 100.00 100.00 99.65

7 41 19 20 48 11 244 577
7 41 19 20 50 11 244 579


หนา้ ท่ี 3

รายงานผลการดาเนนิ งานตาม PA/KPI กระทรวงสาธารณสขุ ประจาปี งบประมาณ 2563 Seksan Ch

ผลงานไตรมาสท่ี 4 ผลการดาเน

ตวั PA sub ยทุ ธศาสตร์ / แผนงาน-โครงการ เกณฑ์ จ.ราชบรุ ี

ท ่ี KPI OKR ลาดบั ตวั ชว้ี ดั , ชอื่ ตวั ชว้ี ดั ไตรมาสน้ี รบ.
A01 = จานวนผกั และผลไมส้ ด ทต่ี รวจสอบแลว้ "มคี วามปลอดภัย" 149
18 1
18.1 A02 = จานวนผลติ ภัณฑเ์ สรมิ อาหารหรอื อาหารกลมุ่ เป้าหมายทพี่ บสารทมี่ ฤี ทธใ์ิ นการลดน้าหนัก 15
18.2 หรอื เสรมิ สรา้ งสมรรถภาพทางเพศ ทตี่ รวจสอบแลว้ "มคี วามปลอดภยั " 14
18.3 156
18.4 A03 = จานวนเครอื่ งสาอาง ทตี่ รวจสอบแลว้ "มคี วามปลอดภยั " 2
A04 = จานวนผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพร ทต่ี รวจสอบแลว้ "มคี วามปลอดภัย" 15
19 B01 = จานวนผกั และผลไมส้ ด ทไี่ ดร้ ับผลการวเิ คราะหจ์ ากหอ้ ง LAB ทงั้ หมด 14
19.1 B02 = จานวนผลติ ภัณฑเ์ สรมิ อาหารหรอื อาหารกลมุ่ เป้าหมายทพี่ บสารทม่ี ฤี ทธใ์ิ นการลดน้าหนัก
ผา่ นเกณฑ
20 หรอื เสรมิ สรา้ งสมรรถภาพทางเพศ ทไ่ี ดร้ บั ผลการวเิ คราะหจ์ ากหอ้ ง LAB ทงั้ หมด 100.00
100.00
21 B03 = จานวนเครอ่ื งสาอาง ทไ่ี ดร้ บั ผลการวเิ คราะหจ์ ากหอ้ ง LAB ทงั้ หมด 83.33
33.33
22 B04 = จานวนผลติ ภัณฑส์ มนุ ไพร ทมี่ ผี ลตรวจวเิ คราะหจ์ ากชดุ ทดสอบอยา่ งงา่ ยทงั้ หมด 0
22.1 2
แผนงานท่ี 4 : การบรหิ ารจดั การสงิ่ แวดลอ้ ม 6
23 4
7. โครงการบรหิ ารจดั การสงิ่ แวดลอ้ ม 12
24 100.00
24.1 KPI sub 18. รอ้ ยละของ รพ. ทพี่ ฒั นาอนามยั สงิ่ แวดลอ้ มไดต้ ามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital (สตู ร?) Q4 100.00
24.2 1
24.3 sub 18.1 = รอ้ ยละของ รพ.สงั กดั กสธ.ทด่ี าเนนิ กจิ กรรม GREEN&CLEAN ผา่ นเกณฑร์ ะดบั พนื้ ฐาน ขนึ้ ไป 100 1
24.4 1
24.5 sub 18.2 = รอ้ ยละของ รพ.สงั กดั กสธ.ทด่ี าเนนิ กจิ กรรม GREEN&CLEAN ผา่ นเกณฑร์ ะดบั ดี ขนึ้ ไป 100
24.6 36.00
sub 18.3 = รอ้ ยละของ รพ.สงั กัด กสธ.ทดี่ าเนนิ กจิ กรรม GREEN&CLEAN ผา่ นเกณฑร์ ะดบั ดมี าก ขน้ึ ไป 75 75
27
sub 18.4 = รอ้ ยละของ รพ.สงั กดั กสธ.ทดี่ าเนนิ กจิ กรรม GREEN&CLEAN ผา่ นเกณฑร์ ะดับ "ดมี าก Plus" 30 30
75
A1= จานวน รพ.สงั กัด กสธ.ทผี่ า่ นเกณฑ์ GREEN&CLEAN ระดบั พนื้ ฐาน (ผา่ นหมดแลว้ ไมต่ อ้ งลง)
23.22
A2= จานวน รพ.สงั กัด กสธ.ทด่ี าเนนิ กจิ กรรม GREEN&CLEAN ผา่ นเกณฑร์ ะดบั ดี (ผา่ นหมดแลว้ ไมต่ อ้ งลง) 137,224
591,045
A3= จานวน รพ.สงั กดั กสธ.ทด่ี าเนนิ กจิ กรรม GREEN&CLEAN ผา่ นเกณฑร์ ะดับดมี ากขนึ้ ไป(ไมร่ วมผา่ นระดับดแี ลว้ )
95.13
A4= จานวน รพ.สงั กัด กสธ.ทด่ี าเนนิ กจิ กรรม GREEN&CLEAN ผา่ นเกณฑร์ ะดับ "ดมี าก Plus" 100.00

B = จานวน รพ.สงั กดั กสธ.ทงั้ หมด 1,042
1,042
KPI sub 19. รอ้ ยละของจงั หวดั มรี ะบบจดั การปจั จยั เสยี่ งดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ 80 3,944
4,146
sub Q1-2 = รอ้ ยละของจังหวดั ฯ ผา่ นเกณฑ์ ระดบั พน้ื ฐาน (ในไตรมาส 1 - 2) 100 1,042
1,042
Q1-2 = จานวนจังหวดั มรี ะบบจัดการปัจจัยเสยี่ งดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพผา่ นเกณฑ์ ระดับพน้ื ฐาน 1,042

A = จานวนจังหวดั มรี ะบบจัดการปัจจัยเสยี่ งดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพผา่ นเกณฑ์ ระดบั ดี 11.35
25.63
B = จานวนจังหวดั ทงั้ หมด
4.87
2. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นบรกิ ารเป็ นเลศิ (Service Excellence) 25 56.32
100.00
แผนงานที่ 5 : การพฒั นาระบบการแพทยป์ ฐมภมู ิ (Primary Care Cluster)
7.19
8. โครงการพฒั นาระบบการแพทยป์ ฐมภมู ิ
PA sub 20. รอ้ ยละของหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู แิ ละเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ทิ เี่ ปิ ดดาเนนิ การในพนื้ ที่ 235

A = จานวนหน่วยบรกิ ารปฐมภมู แิ ละเครอื ขา่ ยหน่วยบรกิ ารปฐมภมู ิ ที่ รพศ./รพท/รพช./รพ.สต ดาเนนิ การใหบ้ รกิ าร 2,071
สขุ ภาพปฐมภมู ิ เป้าหมายรวม รอ้ ยละ 25 (จานวนทมี ทเี่ ปิดดาเนนิ การใหมใ่ นปี 2563 จานวน = 446 หน่วย เป็ นขอ้ มลู
สะสมเดมิ จากปี 2559-2562 จานวน เขตสขุ ภาพ จานวน 1,141 หน่วย และ กทม.จานวน 38 หน่วย รวม 1,179 หน่วย)

B = จานวนหน่วยบรกิ ารปฐมภมู แิ ละเครอื ขา่ ยหน่วยบรกิ ารปฐมภมู เิ ป้าหมาย (6,500 หน่วย) หรอื แผนการจัดตงั้ หน่วย
บรกิ ารสขุ ภาพปฐมภมู ิ (กาลังดาเนนิ การจัดทาแผนการจัดตงั้ เพอ่ื สอดคลอ้ งกบั พรบ.ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ พ.ศ.2562)

PA sub 21. รอ้ ยละของประชาชนในอาเภอทเ่ี ป็ นทต่ี ง้ั ของ รพศ./รพท. มแี พทยเ์ วชศาสตรค์ รอบครวั หรอื แพทยท์ ผี่ า่ น 40
การอบรมและคณะผใู้ หบ้ รกิ ารสขุ ภาพปฐมภมู ดิ แู ลดว้ ยหลกั เวชศาสตรค์ รอบครวั

A = จานวนประชาชนในอาเภอทเี่ ป็ นทตี่ งั้ ของ รพศ./รพท. ทจ่ี ัดตงั้ หน่วยบรกิ ารปฐมภมู แิ ละเครอื ขา่ ยหน่วยบรกิ ารปฐมภมู ิ
B = จานวนประชากรทงั้ หมดในอาเภอทเี่ ป็ นทตี่ งั้ ของ รพศ./รพท. (แหลง่ ขอ้ มลู ประชากร ทะเบยี นราษฎร์ ณ 31 ธค.

2562)

9h.ttpโคs:ร//งwกwาwรพ.dฒัopนaา.gเคoร.tอhื ขา่ ยกาลงั คนดา้ นสขุ ภาพ และ อสม. 70
PA sub 22. รอ้ ยละของผปู้ ่ วยกลมุ่ เป้ าหมายทไี่ ดร้ บั การดแู ลจาก อสม. หมอประจาบา้ น มคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี 70

sub 22.1 รอ้ ยละ อสม. กลมุ่ เป้ าหมายมศี กั ยภาพเป็ น อสม. หมอประจาบา้ น Q-wait
A= จานวน อสม. กลมุ่ เป้าหมายมศี ักยภาพเป็ น อสม. หมอประจาบา้ น
B= จานวน อสม. ทไ่ี ดร้ บั การพัฒนาศกั ยภาพเป็ น อสม. หมอประจาบา้ น
C= จานวนผปู ้ ่ วยกลมุ่ เป้าหมายทไี่ ดร้ บั การดแู ลจาก อสม. หมอประจาบา้ น มคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี

D= จานวนผปู ้ ่ วยกลมุ่ เป้าหมาย

PA sub 23. จานวน อสม. ทไี่ ดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพเป็ น อสม. หมอประจาบา้ น (เป้ าหมาย กสธ. 80,000 คน)
A = จานวน อสม. ทไ่ี ดร้ ับการพัฒนาศกั ยภาพเป็ น อสม. หมอประจาบา้ น

B = ??? 7
25
แผนงานท่ี 6 : การพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ (Service Plan) 5
10. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ สาขาโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั
60
PA sub 24. รอ้ ยละอตั ราตายของผปู้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมอง และระยะเวลาทไี่ ดร้ บั การรกั ษาทเ่ี หมาะสม
sub 24.1 อตั ราตายของผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมอง (Stroke ;I60-I69)
sub 24.2 อตั ราตายของผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมองแตก (Hemorrhagic Stroke ;I60-I62)
sub 24.3 อตั ราตายของผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมองตบี /อดุ ตนั (Ischemic Stroke ;I63)
sub 24.4 รอ้ ยละผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมองตบี /อดุ ตันระยะเฉยี บพลนั (I63) ทมี่ อี าการไมเ่ กนิ 4.5 ชม.ไดร้ ับการรักษา
ดว้ ยยาละลายลม่ิ เลอื ดทางหลอดเลอื ดดาภายใน 60 นาที (door to needle time)

sub 24.5 รอ้ ยละผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมอง(I60-I69) ทมี่ อี าการไมเ่ กนิ 72 ชม.ไดร้ บั การรกั ษาใน Stroke Unit 50
sub 24.6 รอ้ ยละผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมองแตก (I60-I62) ไดร้ ับการผา่ ตัดสมองภายใน 90 นาที 60

(door to operation room time)

A = จานวนครัง้ ของการจาหน่ายสถานะตายของผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมอง
(Stroke ;I60-I69) จากทกุ หอผปู ้ ่ วย

B = จานวนครัง้ ของการจาหน่ายของผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมองจากทกุ หอผปู ้ ่ วยในชว่ งเวลาเดยี วกัน

(Stroke ;I60-I69)


3 จาก 10

hanmaneerat : Region5

นนิ งาน เดอื นกรกฎาคม 2563 - กนั ยายน 2563 : ผลงานสะสม 12 เดอื น

จ.กาญจนบรุ ี จ.สุพรรณบรุ ี จ.นครปฐม จ.สมทุ รสาคร จ.สมทุ รสงคราม จ.เพชรบรุ ี จ. ผลรวม หมายเหตุ เกณฑ์
ประจวบครี ขี นั ธ์ idx Q4
กจ. สพ. นฐ. สค. สส. พบ. เขต 5
2 0 5 5 34 5 ปข. 412
212
2 รอผลตรวจฯ 4 4 0 4 23
8
1 10 10 10 13 1 66
2 28 0 1 1 1 6 49
2 5 5 5 2 429
0 34 222
2 4 4 4 28
3 0 9
1 10 10 1 73
2 10 0 2 15 1 11 50
28 1 2

์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ รอประเมนิ -Q4 0
100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100 100
100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100 100
100.00 100.00 75.00 100.00 85.71 75 75
100.00 100.00 100.00 100.00 66.67 37.50 37.50 41.43 30 30
0 0 0 0 0
75.00 100.00 80.00 0 0 2 0 10 80 80
0 1 3 5 31 100 100
43.75 40.00 30.00 3 2 3 3 29
3 3 8 8 70
000 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
402 1 1 1 1 8
1 1 1 1 8
565 1 1 1 1 8

743

16 10 10

100.00 100.00 100.00

100.00 100.00 100.00

111

111

111

29.51 47.14 37.50 33.33 43.75 40.00 42.11 38.21 25 25
162
18 33 30 13 7 18 16
424 40 40
61 70 80 39 16 45 38
32.43
35.77 42.06 26.93 24.45 51.03 56.56 78.14 918,698
97,085 99,725 214,220 142,958 42,713 68,295 116,478 2,833,189
271,403 237,102 795,426 584,703 83,694 120,751 149,065
97.64 70 70
100.00 100.00 97.47 100.00 87.86 95.05 100.00 99.98 70 70
100.00 100.00 99.90 100.00 100.00 100.00 100.00 6,005
1,027 6,006 รอประเมนิ -Q-wait Q-wait
1,023 1,075 1,028 319 311 744 464 21,461
1,023 1,075 3,163 319 311 744 464 21,980
3,128 5,695 3,245 990 825 2,324 1,392 5,993
3,128 5,695 1,015 990 939 2,445 1,392 5,993
1,023 1,075 1,015 319 311 744 464 4,938
1,023 1,075 1,015 319 311 744 464
1,023 1,075 319 464
0 0

11.02 9.95 12.87 9.85 13.39 7.30 10.50 10.76 7 7
24.90 27.75 31.22 31.78 26.50 20.30 28.52 27.59 25 25
5 5
3.97 4.52 4.57 3.60 3.56 2.96 4.88 4.27
59.55 77.88 88.55 54.65 92.68 71.88 76.83 72.08 60 60
54.10 84.11 92.90 64.36 69.98 74.85 91.69 77.12
41.00 ไมม่ ขี อ้ มลู 95.00 40.91 23.28 16.68 50 50
0.00 0.00
226 294 299 75 245 1,600 60 60
147 79
2,051 2,955 2,324 560 2,333 14,869
1,493 1,082


หนา้ ท่ี 4

รายงานผลการดาเนนิ งานตาม PA/KPI กระทรวงสาธารณสขุ ประจาปี งบประมาณ 2563 Seksan Ch

ผลงานไตรมาสที่ 4 ผลการดาเน

ตวั PA sub ยทุ ธศาสตร์ / แผนงาน-โครงการ เกณฑ์ จ.ราชบรุ ี

ท ี่ KPI OKR ลาดบั ตวั ชวี้ ดั , ชอื่ ตวั ชวี้ ดั ไตรมาสนี้ รบ.
173
25 A = จานวนครงั้ ของการจาหน่ายสถานะตายของผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมองแตก
25.1 (Hemorrhagic Stroke ;I60 - I62) จากทกุ หอผปู ้ ่ วย 675
25.2
B = จานวนครัง้ ของการจาหน่ายของผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมองแตก จากทกุ หอผปู ้ ่ วยในชว่ งเวลาเดยี วกนั 64
26
26.1 (Hemorrhagic Stroke ;I60-I62) 1,314
26.2
26.3 A = จานวนครงั้ ของการจาหน่ายสถานะตายของผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมองตบี /อดุ ตนั 49
(Ischemic Stroke ;I63) จากทกุ หอผปู ้ ่ วย
27 87
27.1 B = จานวนครงั้ ของการจาหน่ายของผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมองตบี /อดุ ตัน จากทกุ หอผปู ้ ่ วยในชว่ งเวลา 75
27.2 เดยี วกัน (Ischemic Stroke ;I63) 75
10
28 A = จานวนผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมองตบี /อดุ ตันระยะเฉยี บพลัน (I63) ทม่ี อี าการไมเ่ กนิ 4.5 ชม.ไดร้ ับการรักษา 139
ดว้ ยยาละลายลมิ่ เลอื ดทางหลอดเลอื ดดาภายใน 60 นาทนี ับตัง้ แตผ่ ปู ้ ่ วยมาถงึ โรงพยาบาล (OPD/ER)
29 85.45
30 B = จานวนผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมองตบี /อดุ ตนั ระยะเฉียบพลนั (I63) ทม่ี อี าการไมเ่ กนิ 4.5 ชม.ไดร้ บั การ
รกั ษาดว้ ยยาละลายลม่ิ เลอื ดทางหลอดเลอื ดดาในชว่ งเวลาเดยี วกัน 54.94

A = จานวนผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมอง(I60-I69) ทม่ี อี าการไมเ่ กนิ 72 ชม.ไดร้ บั การรักษาใน Stroke Unit 94
B = จานวนผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมอง(I60-I69) ทมี่ อี าการไมเ่ กนิ 72 ชม.ไดร้ ับการรกั ษาในชว่ งเวลาเดยี วกัน
110
A = จานวนผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมองแตก (I60-I62) ทมี่ าที่ ER และไดร้ ับการผา่ ตดั สมองภายใน 90 นาที
นับตงั้ แตผ่ ปู ้ ่ วยมาถงึ โรงพยาบาลและนับเฉพาะผปู ้ ่ วยทม่ี าท่ี ER เทา่ นัน้ 734

B = จานวนผปู ้ ่ วยโรคหลอดเลอื ดสมองแตก (I60-I62) ทม่ี าที่ ER และไดร้ ับการผา่ ตัดสมองในชว่ งเวลาเดยี วกัน 1,336
11. โครงการพฒั นาระบบรกิ ารโรคตดิ ตอ่ โรคอบุ ตั ใิ หม่ และโรคอบุ ตั ซิ า้
54.55
PA sub 25. อตั ราความสาเร็จการรกั ษาผปู้ ่ วยวณั โรคปอดรายใหม่ 85 27.27

sub 25.1 อัตราความสาเร็จการรักษาผปู ้ ่ วยวณั โรคปอดรายใหม่ ทข่ี นึ้ ทะเบยี น ในไตรมาสที่ 1 ของปีงบประมาณ 2562 0
(เดอื นตลุ าคม – ธันวาคม 2561) 6
3
sub 25.2 รอ้ ยละความครอบคลมุ การรักษาผปู ้ ่ วยวณั โรครายใหมแ่ ละกลบั เป็ นซา้ (TB Treatment Coverage) ทขี่ น้ึ ทะเบยี น 82.5 11
0
ในปีงบประมาณ 2563 ( 1 ตลุ าคม 2562–30 กนั ยายน 2563) 0
0
A = จานวนผปู ้ ่ วยวณั โรคปอดรายใหม่ ทข่ี นึ้ ทะเบยี น ในไตรมาสที่ 1 ของปีงบประมาณ 2563 (เดอื นตลุ าคม – 0
ธนั วาคม 2562) โดยมผี ลการรักษาหาย (Cured) รวมกับรักษาครบ (Completed) โดยครบรอบรายงานผลการรกั ษา
วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2563 50.00
+8.96
B = จานวนผปู ้ ่ วยวณั โรคปอดรายใหม่ ทขี่ นึ้ ทะเบยี น ในไตรมาสท่ี 1 ของปีงบประมาณ 2563 (เดอื นตลุ าคม –
ธนั วาคม 2562) 2
4
A = จานวนผปู ้ ่ วยวณั โรครายใหมแ่ ละกลบั เป็ นซา้ (TB Treatment Coverage) ทคี่ น้ พบและขน้ึ ทะเบยี นใน 15.63
ปีงบประมาณ 2563 (1 ตลุ าคม 2562–30 กนั ยายน 2563) 17.03

B = จานวนคาดประมาณการผปู ้ ่ วยวณั โรครายใหมแ่ ละกลับเป็ นซา้ (TB Treatment Coverage) ทข่ี น้ึ ทะเบยี นใน +26.22
ปีงบประมาณ 2563 (1 ตลุ าคม 2562–30 กนั ยายน 2563) คดิ จากอตั รา 153 ตอ่ ประชากรแสนคน 1,514
1,117
12. โครงการป้ องกนั และควบคมุ การดอื้ ยาตา้ นจลุ ชพี และการใชย้ าอยา่ งสมเหตสุ มผล 50
PA 26 รอ้ ยละของโรงพยาบาลทใ่ี ชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล (RDU) 20 2.71
1 11
sub 26.1 RDU ขัน้ ท่ี 2 รอ้ ยละ (A1/B) x 100
4,054
sub 26.2 RDU ขัน้ ท่ี 3 รอ้ ยละ (A2/B) x 100
54.97
sub 26.3 จังหวดั มกี ารดาเนนิ การ RDU Community อยา่ งนอ้ ย 1 อาเภอ และผา่ นเกณฑร์ ะดับ 3

A1 = จานวน โรงพยาบาล ทผ่ี า่ น RDU ขัน้ ที่ 2

A2 = จานวน โรงพยาบาล ทผ่ี า่ น RDU ขนั้ ที่ 3

B = จานวน โรงพยาบาล ทงั้ หมด

C = จานวนจังหวดั ทม่ี กี ารดาเนนิ การ RDU Community อยา่ งนอ้ ย 1 อาเภอ และผา่ นเกณฑร์ ะดบั 3
ระดับ 1 มกี ารออกแบบระบบบรหิ ารจัดการ และทกุ รพ. สมคั รใจดาเนนิ การ Proactive Hospital based surveillance
ระดับ 2 ผา่ นเกณฑร์ ะดับ 1 และดาเนนิ การกจิ กรรมหลัก Active Community based Surveillance

ระดบั 3 ผา่ นเกณฑร์ ะดบั 2 และดาเนนิ การกจิ กรรมหลกั Community participation (วดั ผลไตรมาส 4)

PA sub 27. รอ้ ยละของโรงพยาบาลทมี่ รี ะบบจดั การการดอื้ ยาตา้ นจลุ ชพี อยา่ งบรู ณาการ (AMR) 95
sub 27.1 รอ้ ยละของ รพ.ระดับ A,S,M1 ทกุ แหง่ มรี ะบบการจัดการ AMR ระดับ Intermediate 0
sub 27.2 อัตราลดลงของการตดิ เชอ้ื ดอื้ ยาในกระแสเลอื ด เทยี บกบั ปีปฏทิ นิ 2561 (ไมเ่ กนิ กวา่ ปี 2561)

A = จานวนโรงพยาบาลทมี่ กี ารจัดการ AMR ระดับ intermediate

B = จานวนโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 ทงั้ หมดในจังหวดั (เขต)
C = อัตราการตดิ เชอ้ื ดอื้ ยาในกระแสเลอื ด รอบปีปฏทิ นิ 61 (รอบ 1=ม.ค.-ธ.ค. 61/รอบ 2=ม.ค.-ธ.ค. 61)
D = อตั ราการตดิ เชอ้ื ดอ้ื ยาในกระแสเลอื ด รอบปีปัจจบุ นั

13. โครงการพฒั นาศนู ยค์ วามเป็ นเลศิ ทางการแพทย์ 10
KPI sub 28. รอ้ ยละการสง่ ตอ่ ผปู้ ่ วยนอกเขตสขุ ภาพลดลง (A-B)/A x 100 (คา่ ผา่ นเกณฑ์ ตอ้ งเป็ นบวก)

A = จานวนผปู ้ ่ วย 4 สาขา ทสี่ ง่ ตอ่ ออกนอกเขตสขุ ภาพปี 2562
B = จานวนผปู ้ ่ วย 4 สาขา ทสี่ ง่ ตอ่ ออกนอกเขตสขุ ภาพปี 2563 (เมอ่ื สนิ้ ไตรมาส 4)

รอบ 3 เดอื น มกี ารดาเนนิ งานขัน้ ตอนที่ 1 - 3

รอบ 6 เดอื น และ 9 เดอื น มกี ารดาเนนิ งานขนั้ ตอนท่ี 1 - 5

14. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ สาขาทารกแรกเกดิ 3.7
KPI sub 29. อตั ราตายทารกแรกเกดิ นอ้ ยกวา่ 3.7 ตอ่ 1,000 ทารกเกดิ มชี พี

A = จานวนทารกทเี่ สยี ชวี ติ < 28 วนั
B = จานวนทารกแรกเกดิ มชี พี

15. โครงการการดแู ลผปู้ ่ วยระยะทา้ ยแบบประคบั ประคองและการดแู ลผปู้ ่ วยกงึ่ เฉยี บพลนั

KPI sub 30. รอ้ ยละการบรรเทาอาการปวดและจดั การอาการตา่ ง ๆ ดว้ ย Opioid ในผปู้ ่ วยประคบั ประคองระยะทา้ ย 40
อยา่ งมคี ณุ ภาพ [(B/A) x 100] มาแปลกเพอื่ น


4 จาก 10

hanmaneerat : Region5

นนิ งาน เดอื นกรกฎาคม 2563 - กนั ยายน 2563 : ผลงานสะสม 12 เดอื น

จ.กาญจนบรุ ี จ.สุพรรณบรุ ี จ.นครปฐม จ.สมทุ รสาคร จ.สมทุ รสงคราม จ.เพชรบรุ ี จ. ผลรวม หมายเหตุ เกณฑ์
พบ. ประจวบครี ขี นั ธ์ เขต 5 idx Q4
กจ. สพ. นฐ. สค. สส. 55
120 199 226 116 53 ปข. 1,110

168 4,023

482 717 724 365 200 271 589 424

61 81 73 40 14 24 67 9,926

1,535 1,792 1,596 1,112 393 811 1,373 493

53 81 116 47 38 46 63 684
6,416
89 104 131 86 41 64 82 8,320

766 953 2,159 856 415 607 585 159
953
1,416 1,133 2,324 1,330 593 811 638

41 0 19 0 18 0 71

100 0 20 255 44 90 305

79.01 85.71 86.51 80.39 90.63 78.10 90.52 83.67 85 85
55.30 57.35 53.87 157.58 70.27 64.91 72.74 69.62 82.5 82.5

128 114 109 123 29 82 105 784

162 133 126 153 32 105 116 937
756 745 751 1,393 208 481 611 5,679
1,367 1,299 1,394 296 741 840 8,157
884

73.33 50.00 55.56 66.67 66.67 87.50 50.00 62.69 50 50
33.33 20.00 22.22 0.00 33.33 87.50 25.00 32.84 20 20
0 1 1
1 1 1 2 1 1 0 5
11 5 5 0 2 7 4 42 95 95
2 2 3 1 7 2 22 0 0
5 10 9 0 3 8 8 67
15 1 1 ไมม่ ี 1 1 0 10 10
มี มี มี มี มี ไมม่ ี 5
1 มี มี มี มี มี มี 0
มี มี มี มี ไมม่ ี มี 0
มี 100.00 0
ไมม่ ี 100.00 100.00 +35.21 100.00 100.00 100.00
+26.45 -1.02 +89.06 -5.12 -34.16 75.00
0.00 1 3 1 -10.80
-21.21 2 1 3 1 1 2
2 3.91 2.84 1 3.91 2 12
0 6.05 3.87 3.84 1.28 3.71 35.63 16
2 7.65 2.42 23.46 71.23
1.98 -6.19 +25.11 +11.19 63.54
1.56 +13.24 969 872 -2.90 7,247 +14.32
2,258 653 138 6,436 1,976 -4.09
-27.07 1,959 1,029 142 1,693 26,104
11,130 27,172
14,143

2.87 3.57 1.47 4.96 1.98 3.02 2.36 2.99 3.7 3.7
15 20 7 25 2 9 12 101 40 40
33,740
5,226 5,597 4,753 5,037 1,010 2,977 5,086
47.78
43.27 44.97 69.91 54.33 21.00 61.80 48.89


หนา้ ที่ 5

รายงานผลการดาเนนิ งานตาม PA/KPI กระทรวงสาธารณสขุ ประจาปี งบประมาณ 2563 Seksan Ch

ผลงานไตรมาสที่ 4 ผลการดาเน

ตวั PA sub ยทุ ธศาสตร์ / แผนงาน-โครงการ เกณฑ์ จ.ราชบรุ ี

ท ี่ KPI OKR ลาดบั ตวั ชวี้ ดั , ชอื่ ตวั ชวี้ ดั ไตรมาสน้ี รบ.
426
31 A = จานวนผปู ้ ่ วยในและผปู ้ ่ วยนอก 4 กลมุ่ โรค ทไ่ี ดร้ บั การวนิ จิ ฉัยระยะประคับประคอง (Z51.5) และ ไดร้ บั การรกั ษาดว้ ย
Opioid ดงึ ขอ้ มลู จากฐานขอ้ มลู การจา่ ยยา Opioid ของผปู ้ ่ วยในและผปู ้ ่ วยนอก หรอื ขอ้ มลู จากศนู ย์ PC เฉพาะรายใหม่
32 ของปีงบประมาณ ไมน่ ับรายครัง้ / ซา้ รายการยา Opioid ทอ่ี งคก์ ารอนามยั โลกตดิ ตามขอ้ มลู ของประเทศสมาชกิ และ
33 รหสั ยา 24 หลกั (หลกั ท่ี 1 - 11 แสดงชอื่ สามัญ)
33.1
33.2 B = จานวนผปู ้ ่ วยในและผปู ้ ่ วยนอก 4 กลมุ่ โรค ทไี่ ดร้ ับการวนิ จิ ฉัยระยะประคับประคอง (Z51.5) ดงึ ขอ้ มลู จากฐานขอ้ มลู 775
การวนิ จิ ฉัยโรคของโรงพยาบาล ตาม ICD 10 ทก่ี าหนดตาม service plan ทเี่ กยี่ วขอ้ ง คอื (ICD-10 รหสั C00-C96,
34 F03, I50, I60-I69, J44, R54, N185 และผปู ้ ่ วยอายุ 0 – 14 ปี ทวี่ นิ จิ ฉัย Z515 รว่ มดว้ ย) เฉพาะรายใหมข่ อง
34.2 ปีงบประมาณ ไมน่ ับรายครัง้ / ซา้
34.3
34.4 16. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารการแพทยแ์ ผนไทยฯ 19.5 19.71
34.5 KPI sub 31. รอ้ ยละของผปู้ ่ วยนอกทงั้ หมดทไ่ี ดร้ บั บรกิ าร ตรวจ วนิ จิ ฉยั รกั ษาโรค และฟ้ื นฟสู ภาพดว้ ยศาสตรก์ ารแพทย์

35 แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก
35.1
35.2 A = จานวนผรู ้ บั บรกิ าร (ครงั้ ) ทไี่ ดร้ บั การบรกิ ารทงั้ หมดของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั สงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ 68 2,325,962
35.3 โดยมกี ารวนิ จิ ฉัยรหสั กลมุ่ โรคและอาการของแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั (ขน้ึ ตน้ ดว้ ย A-Y) หรอื แพทยแ์ ผนไทย (รหสั ขนึ้ ตน้ ดว้ ย
BU=ยจกาเวนน้วนUผ7รู ้7บั บหรรกิอื าUร 7(ค7รxงั้)) ทไ่ี ดร้ ับการบรกิ ารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื กโดยมกี ารวนิ จิ ฉัยรหสั กลมุ่ 6.3 458,554
โรคและอาการ ทม่ี รี หสั 3 หลักขน้ึ ตน้ ดว้ ย U50-U76 และ U78-U79 การจา่ ยยา ทม่ี รี หสั ขน้ึ ตน้ ดว้ ย 41 หรอื 42 การให ้ 85
หตั ถการ (900-77-00 ถงึ 900-78-88) หตั ถการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ (900-79-00 ถงึ 900-79-99) อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ทงั้ นีไ้ ม่ 73.64
1รว7ม. รโหคสั รงzการพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ สาขาสขุ ภาพจติ และจติ เวช 28 12,442
KPI sub 32. รอ้ ยละของผปู้ ่ วยโรคซมึ เศรา้ เขา้ ถงึ บรกิ ารสขุ ภาพจติ (A/B) x 100 มากกวา่ รอ้ ยละ 68 90 16,895
A = จานวนผปู ้ ่ วยโรคซมึ เศรา้ ทมี่ ารับบรกิ ารตงั้ แตป่ ีงบประมาณ 2552 สะสมมาจนถงึ ปีงบประมาณ 2563 90
B = จานวนผปู ้ ่ วยโรคซมึ เศรา้ คาดประมาณจากความชกุ ทไี่ ดจ้ ากการสารวจ 90 2.36
30 96.41
KPI sub 33. อตั ราการฆา่ ตวั ตายสาเร็จ ประเมนิ ไตรมาส 4 (อตั รา < 6.3 /แสน)
sub 33.1 อัตราการฆา่ ตวั ตายสาเร็จ 20
sub 33.2 รอ้ ยละของผพู ้ ยายามฆา่ ตวั ตายไมก่ ลบั มาทารา้ ยตวั เองซา้ ในระยะเวลา 1 ปี 847,633

A = จานวนผฆู ้ า่ ตวั ตายสาเร็จ 510
529
B = จานวนประชากรกลางปี 2562
C = จานวนผพู ้ ยายามฆา่ ตัวตายไมก่ ลบั มาทารา้ ยตัวเองซา้ ภายใน 1 ปี 22.77
D = จานวนผพู ้ ยายามฆา่ ตวั ตายทเ่ี ขา้ ถงึ บรกิ ารทย่ี งั คงไมเ่ สยี ชวี ติ 93.66
90.30
18. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ 5 สาขาหลกั 83.37
KPI sub 34. อตั ราตายผปู้ ่ วยตดิ เชอื้ ในกระแสเลอื ดแบบรุนแรงชนดิ community-acquired 36.44

sub 34.2 อตั ราการไดร้ บั Antibiotic ภายใน 1 ชม.(นับจากเวลาทไี่ ดร้ ับการวนิ จิ ฉัย) 112

sub 34.3 อัตราการเจาะ H/C กอ่ นให ้ Antibiotic

sub 34.4 อตั ราการไดร้ บั IV 30 ml/kg ใน 1 ชม.แรก (ในกรณไี มม่ ขี อ้ หา้ ม)

sub 34.5 อัตราทผ่ี ปู ้ ่ วยไดร้ ับการดแู ลแบบภาวะวกิ ฤติ (ระดับ 2-3) ภายใน 3 ชม.
A = จานวนผปู ้ ่ วยทเ่ี สยี ชวี ติ (dead) จากภาวะการตดิ เชอื้ ในกระแสเลอื ดแบบรนุ แรงชนดิ community-acquiredทล่ี ง
ICD 10 รหสั R 65.1 และ R57.2 ใน Principle Diagnosis และ Comorbidity ไมน่ ับรวมทลี่ งใน Post Admission
Comorbidity (complication) และไมน่ ับรวมผปู ้ ่ วย palliative (Z 51.5)

B = จานวนผปู ้ ่ วยทป่ี ฏเิ สธการรกั ษาเพอ่ื กลบั ไปเสยี ชวี ติ ทบี่ า้ น (against advise) จากภาวะการตดิ เชอื้ ในกระแส 0
เลอื ดแบบรนุ แรงชนดิ community-acquiredทลี่ ง ICD 10 รหสั R 65.1 และ R57.2 ใน Principle Diagnosis และ
Comorbidity ไมน่ ับรวมทล่ี งใน Post Admission Comorbidity (complication) และไมน่ ับรวมผปู ้ ่ วย palliative
(รหสั Z 51.5)โดยมสี ถานภาพการจาหน่าย (Discharge status) = 2 ปฏเิ สธการรักษา, และวธิ กี ารจาหน่าย
(Discharge type) = 2 ดขี นึ้

C = จานวนผปู ้ ่ วยทป่ี ฏเิ สธการรกั ษาเพอื่ กลับไปเสยี ชวี ติ ทบี่ า้ น (against advise) จากภาวะการตดิ เชอ้ื ในกระแส 3
เลอื ดแบบรนุ แรงชนดิ community-acquired ทลี่ ง ICD 10 รหสั R 65.1 และ R57.2 ใน Principle Diagnosis และ
Comorbidity ไมน่ ับรวมทล่ี งใน Post Admission Comorbidity (complication) และไมน่ ับรวมผปู ้ ่ วย palliative
(รหสั Z 51.5)โดยมสี ถานภาพการจาหน่าย (Discharge status) = 2 ปฏเิ สธการรกั ษา, และวธิ กี ารจาหน่าย
(Discharge type) = 3 ไมด่ ขี นึ้

Sub1= จานวนผปู ้ ่ วยตดิ เชอื้ ในกระแสเลอื ดแบบรนุ แรงทไ่ี ดร้ บั Antibiotic ภายใน 1 ชม. 473
Sub2= จานวนผปู ้ ่ วยตดิ เชอื้ ในกระแสเลอื ดแบบรนุ แรง ทไ่ี ดร้ ับ การเจาะ H/C กอ่ นให ้ Antibiotic 456
Sub3= จานวนผปู ้ ่ วยตดิ เชอ้ื ในกระแสเลอื ดแบบรนุ แรงทไี่ ดร้ ับ Ivfluid จานวน 1.5 ลติ ร ภายใน 1 ชม. 421
Sub4= จานวนผปู ้ ่ วยตดิ เชอ้ื ในกระแสเลอื ดแบบรนุ แรง ทไี่ ดเ้ ขา้ ICU ภายใน 3 ชม. 184

D = จานวนผปู ้ ่ วยตดิ เชอื้ ในกระแสเลอื ดแบบรนุ แรงชนดิ community-acquired ทงั้ หมด ทล่ี ง ICD 10 รหสั R 65.1 505
และ R57.2 ใน Principle Diagnosis และ Comorbidity ไมน่ ับรวมทล่ี งใน Post Admission Comorbidity
(complication) และไมน่ ับรวมผปู ้ ่ วย palliative (รหสั Z 51.5)

KPI sub 35. รอ้ ยละของโรงพยาบาลทมี่ ที มี Refracture Prevention ในโรงพยาบาลตง้ั แตร่ ะดบั M1 ขนึ้ ไป 5.38 1
ทม่ี แี พทยอ์ อรโ์ ธปิ ดกิ สเ์ พมิ่ ขน้ึ ใหไ้ ดอ้ ยา่ งนอ้ ย 1 ทมี ตอ่ 1 เขตสขุ ภาพ
30 100.00
sub 35.1 รพ.ทมี่ ที มี Refracture Prevention ในโรงพยาบาลตัง้ แตร่ ะดับ M1 ขน้ึ ไป ทม่ี แี พทยอ์ อรโ์ ธปิดกิ สเ์ พม่ิ ขนึ้ 25
ใหไ้ ดอ้ ยา่ งนอ้ ย 1 ทมี ตอ่ 1 เขตสขุ ภาพ 39.51
0.00
sub 35.2 การผา่ ตัดภายใน 72 ชว่ั โมง (Early surgery) > รอ้ ยละ 30 นับตงั้ แตร่ บั ผปู ้ ่ วยเขา้ รักษาในโรงพยาบาล 4
sub 35.3 Rate Refracture < รอ้ ยละ 25 *(ตัวชว้ี ดั น้ใี ชไ้ ดก้ รณที โี่ รงพยาบาลนัน้ ทาโครงการ มาแลว้ 1 ปี) 4
81
A = จานวนโรงพยาบาล M1,S,A ทมี่ ที มี Refracture Prevention 205
0
B = จานวนโรงพยาบาล M1,S,A ทงั้ หมดในจังหวดั (เขต) 299
C = จานวนผปู ้ ่ วยในโครงการ Refracture Prevention ทไ่ี ดร้ บั การผา่ ตดั ภายใน 72 ชวั่ โมง

D = จานวนผปู ้ ่ วยทไ่ี ดร้ บั การผา่ ตัด
E = จานวนผปู ้ ่ วยในโครงการ Refracture Prevention ทม่ี กี ระดกู หกั ซา้

F = จานวนผปู ้ ่ วยในโครงการ Refracture Prevention ในระยะเวลา 1 ปี

19. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ สาขาโรคหวั ใจ


5 จาก 10

hanmaneerat : Region5

นนิ งาน เดอื นกรกฎาคม 2563 - กนั ยายน 2563 : ผลงานสะสม 12 เดอื น

จ.กาญจนบรุ ี จ.สพุ รรณบรุ ี จ.นครปฐม จ.สมทุ รสาคร จ.สมทุ รสงคราม จ.เพชรบรุ ี จ. ผลรวม หมายเหตุ เกณฑ์
พบ. ประจวบครี ขี นั ธ์ เขต 5 idx Q4
กจ. สพ. นฐ. สค. สส.
ปข.

376 1,630 151 477 139 652 441 4,292

869 3,625 216 878 662 1,055 902 8,982

22.30 20.80 17.64 11.03 20.82 21.85 19.63 19.15 19.5 19.5
1,658,997
2,074,708 2,257,682 2,450,295 687,579 1,381,782 1,527,933 14,364,938 68 68

462,651 469,531 432,235 182,923 143,158 301,880 300,009 2,750,941 6.3 6.3
85 85
75.21 61.74 58.51 69.97 68.33 87.78 78.14 70.43
11,908 10,443 10,574 7,442 2,684 8,373 8,170 72,036 28 28
15,833 16,915 18,073 10,636 3,928 9,539 10,455 102,274 90 90
90 90
6.25 7.44 4.47 2.97 9.46 5.37 3.99 4.98 90 90
94.93 92.47 98.29 82.84 100.00 96.97 97.18 95.39 30 30

56 63 30 17 18 26 22 252
895,525 846,229 670,559 573,215 190,374 484,294 551,466 5,059,295

262 307 517 111 32 160 172 2,071
276 332 526 134 32 165 177 2,171

26.41 22.13 43.74 27.60 40.38 27.15 27.73 28.14
91.66 79.00 93.83 91.13 92.31 96.74 93.15 91.12
88.80 86.75 97.60 94.96 96.15 97.77 99.69 92.83
80.29 67.53 68.95 48.96 96.15 81.10 82.24 72.03
10.30 86.27 48.03 15.55 19.23 32.82 19.31 31.87

323 122 255 252 21 158 89 1,332

002 0000 2

0 15 0 0 0 0 0 18 5.38 5.38

1,121 489 547 832 48 563 299 4,372 30 30
1,086 537 569 867 50 569 320 4,454 25 25
418 402 447 50 472 264 3,456
982 534 280 142 10 191 1,529
126 62
619 583 913 52 582 4,798
1,223 321
1 0 0 1 1 1
0 1
100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 87.50
0.00 60.00 28.57 13.04 40.91 52.17 100.00 34.22
40.11 3.01 4.12 1.56 1.02 0.00 75.59
2 1 3 1 1 0.00 1.49
0.87 2 1 3 1 1 2 14
0 129 38 88 27 48 2 16
2 215 133 675 66 92 96
8 10 1 1 0 127 580
73 266 243 64 98 146 0 1,695
182 127
22
2 1,473
230


หนา้ ท่ี 6

รายงานผลการดาเนนิ งานตาม PA/KPI กระทรวงสาธารณสขุ ประจาปี งบประมาณ 2563 Seksan Ch

ผลงานไตรมาสที่ 4 ผลการดาเน

ตวั PA sub ยทุ ธศาสตร์ / แผนงาน-โครงการ เกณฑ์ จ.ราชบรุ ี

ท ี่ KPI OKR ลาดบั ตวั ชวี้ ดั , ชอื่ ตวั ชว้ี ดั ไตรมาสน้ี รบ.
36
36.1 PA sub 36. อตั ราตายของผปู้ ่ วยโรคกลา้ มเนอื้ หวั ใจตายเฉยี บพลนั ชนดิ STEMI และการ 9 8.91
36.2 50 89.32
ใหก้ ารรกั ษาตามมาตรฐานเวลาทกี่ าหนด
37 18
sub 36.1 อัตราตายของผปู ้ ่ วยโรคกลา้ มเนอ้ื หวั ใจตายเฉยี บพลนั ชนดิ STEMI (<) 202
sub 36.2 รอ้ ยละของการใหก้ ารรกั ษาผปู ้ ่ วย STEMI ไดต้ ามมาตรฐานเวลาทกี่ าหนด 644

A = จานวนผปู ้ ่ วยรหสั ICD10 -WHO – I21.0-I21.3 ทเี่ สยี ชวี ติ ในโรงพยาบาลทงั้ หมด 721

B = จานวนผปู ้ ่ วยรหสั ICD10 -WHO – I21.0-I21.3 ทร่ี ับไวร้ กั ษาทโ่ี รงพยาบาลทงั้ หมด ผา่ นเกณฑ

A = จานวนครงั้ การรกั ษาทสี่ ามารถใหย้ าละลายลมิ่ เลอื ดภายใน 30 นาที นับจากผปู ้ ่ วยไดร้ บั การวนิ จิ ฉัย STEMI เมอ่ื
มาถงึ โรงพยาบาล หรอื จานวนครัง้ ทส่ี ามารถสง่ ตอ่ ไปทโ่ี รงพยาบาลทที่ า PCI ได ้ ใหไ้ ดร้ บั การทา Primary PCI ภายใน
120 นาทนี ับจากผปู ้ ่ วยไดร้ บั การวนิ จิ ฉัย STEMI เมอ่ื มาถงึ โรงพยาบาล

B = จานวนผปู ้ ่ วย STEMI ทมี่ าถงึ โรงพยาบาลและไดร้ บั ยาละลายลมิ่ เลอื ดทงั้ หมด หรอื จานวนผปู ้ ่ วย STEMI ทม่ี าถงึ
โรงพยาบาลและไดร้ ับไดร้ ับการทา Primary PCI ทงั้ หมด

20. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ สาขาโรคมะเร็ง

KPI sub 37. รอ้ ยละผปู้ ่ วยมะเร็ง 5 อนั ดบั แรก ไดร้ บั การรกั ษาภายในระยะเวลาทก่ี าหนด

37.1 sub 37.1 รอ้ ยละของผปู ้ ่ วยทไี่ ดร้ บั การรกั ษาดว้ ยการผา่ ตดั ภายในระยะเวลา 4 สปั ดาห์ (A(s)/ B(s)) X100 70 82.48
37.2 sub 37.2 รอ้ ยละของผปู ้ ่ วยทไี่ ดร้ ับการรกั ษาดว้ ยเคมบี าบดั ภายในระยะเวลา 6 สปั ดาห์ (A(c)/ B(c)) X100 70 89.71
37.3 sub 37.3 รอ้ ยละของผปู ้ ่ วยทไี่ ดร้ ับการรักษาดว้ ยรังสรี ักษาภายในระยะเวลา 6 สปั ดาห์ (A(R)/ B(R)) X100 60 78.81

A(S) = จานวนผปู ้ ่ วยทแ่ี พทยว์ างแผนการรกั ษาดว้ ยการผา่ ตัดและไดร้ บั การผา่ ตดั รักษา ≤4 สปั ดาหน์ ับตามเกณฑท์ ี่ 66 226
กAา(Cห)น=ด จานวนผปู ้ ่ วยทแ่ี พทยว์ างแผนการรกั ษาดว้ ยเคมบี าบดั และไดร้ บั การรักษาดว้ ยเคมบี าบดั ≤ 6 สปั ดาห์ 314
85
นับตามเกณฑท์ ก่ี าหนด 0.9 186
45 274
R) = จานวนผปู ้ ่ วยทแี่ พทยว์ างแผนการรักษาดว้ ยรังสรี ักษาและไดร้ ับการรกั ษาดว้ ยรังสรี ักษา ≤ 6 สปั ดาห์ 350
นับตามเกณฑท์ กี่ าหนด 55 236

B(S) = จานวนผปู ้ ่ วยทไ่ี ดร้ ับ การผา่ ตัด เพอื่ รักษามะเร็งทงั้ หมดในปีทร่ี ายงาน 75 63.35
60
B(C) = จานวนผปู ้ ่ วยทไ่ี ดร้ บั เคมบี าบดั เพอื่ รกั ษามะเร็งทงั้ หมดในปีทรี่ ายงาน 6,252
B(R) = จานวนผปู ้ ่ วยทไ่ี ดร้ บั รงั สรี ักษา เพอ่ื รักษามะเร็งทงั้ หมดในปีทรี่ ายงาน
9,869
21. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ สาขาโรคไต
81.71
38 KPI sub 38. รอ้ ยละของผปู้ ่ วย CKD ทมี่ อี ตั ราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr 871
A = จานวนผปู ้ ่ วยโรคไตเรอ้ื รงั Stage 3-4 สญั ชาตไิ ทยทมี่ ารับบรกิ ารทโ่ี รงพยาบาลไดร้ บั การตรวจ creatinine/มผี ล
eGFR ≥ 2 คา่ และคา่ ทงั้ สองหา่ งกันไมน่ อ้ ยกวา่ 3 เดอื น โดยพจิ ารณาคา่ ของ eGFR ตงั้ แตย่ อ้ นหลงั 1ปีงบประมาณ 1,066
และมคี า่ เฉลยี่ การเปลย่ี นแปลง < 5
0.20
B = จานวนผปู ้ ่ วยโรคไตเรอ้ื รงั Stage 3-4 สญั ชาตไิ ทยทม่ี ารบั บรกิ ารทโ่ี รงพยาบาลไดร้ บั การตรวจ creatinine/มผี ล 5
eGFR ≥ 2 คา่ และคา่ ทงั้ สองหา่ งกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 เดอื น โดยพจิ ารณาคา่ ของ eGFR ตงั้ แตย่ อ้ นหลัง 1 ปีงบประมาณ
2,449
22. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ สาขาจกั ษุวทิ ยา
57.35
39 KPI sub 39. รอ้ ยละผปู้ ่ วยตอ้ กระจกชนดิ บอด (Blinding Cataract) ไดร้ บั การผา่ ตดั ภายใน 30 วนั 2,125
A = จานวนผปู ้ ่ วยตอ้ กระจกชนดิ บอด (Blinding Cataract) ทไ่ี ดร้ บั การผา่ ตดั ภายใน 30 วนั
3,705
B = จานวนผปู ้ ่ วยตอ้ กระจกชนดิ บอด (Blinding Cataract) ทไี่ ดร้ บั การวนิ จิ ฉัย
45.68
23. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ สาขาปลกู ถา่ ยอวยั วะ
40 KPI sub 40. อตั ราสว่ นของจานวนผยู้ นิ ยอมบรจิ าคอวยั วะจากผปู้ ่ วยสมองตาย ตอ่ จานวนผปู้ ่ วยเสยี ชวี ติ 37

ในโรงพยาบาล (โรงพยาบาล A, S) 81

A = จานวนผบู ้ รจิ าคอวยั วะจากผปู ้ ่ วยสมองตาย (actual donor) 100.00
B = จานวนผปู ้ ่ วยทเี่ สยี ชวี ติ ในโรงพยาบาลจากทกุ สาเหตุ ในปีงบประมาณ 2562
88.70
24. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารบาบดั รกั ษาผปู้ ่ วยยาเสพตดิ
11
41 KPI sub 41. รอ้ ยละของผปู้ ่ วยยาเสพตดิ เขา้ รบั การบาบดั รกั ษา และ ตดิ ตามดแู ลอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 1 ปี (Retention Rate) 11
A = จานวนผใู ้ ช ้ ผเู ้ สพ และผตู ้ ดิ ยาเสพตดิ ทไ่ี ดร้ บั การบาบดั รักษาตดิ ตามดแู ลตอ่ เนื่องตามเกณฑม์ าตรฐานอยา่ งนอ้ ย 4 510

ครงั้ ภายใน 1 ปี หลงั จาหน่าย

B = จานวนผใู ้ ช ้ ผเู ้ สพ และผตู ้ ดิ ทรี่ บั การบาบดั รกั ษาและไดร้ ับการจาหน่ายทงั้ หมดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จาก
สถานบาบดั ฟ้ืนฟผู เู ้ สพผตู ้ ดิ ยาเสพตดิ ยกเวน้ ถกู จับ เสยี ชวี ติ หรอื ผปู ้ ่ วยทไ่ี ดร้ ับ methadone maintenance treatment

: MMT
42 KPI sub 42.(เรนอ้ ่ือยงจลาะกขอเปง็ นผกปู้ า่ วรยดยแู ลาเตสอ่ พเนตื่อดิ งกไมลม่มุ่ กีเสายร่ี จงากหอ่ นค่าวยา)มรุนแรงไดร้ บั การประเมนิ บาบดั รกั ษาและตดิ ตามดแู ล

ชว่ ยเหลอื ตามระดบั ความรุนแรง อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

A = จานวนผปู ้ ่ วยกลมุ่ เสยี่ งกอ่ ความรนุ แรงไดร้ บั การประเมนิ บาบดั รกั ษาและตดิ ตามดแู ลชว่ ยเหลอื ตามระดับความ
รนุ แรงอยา่ งตอ่ เนือ่ งอยา่ งนอ้ ย 4 ครัง้ ภายใน 1 ปี หลังจาหน่าย

B = จานวนผปู ้ ่ วยกลมุ่ เสยี่ งกอ่ ความรนุ แรงทไ่ี ดร้ ับการประเมนิ การบาบดั รักษาและไดร้ ับการจาหน่ายทงั้ หมดใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จากสถานบาบดั ฟ้ืนฟผู เู ้ สพผตู ้ ดิ ยาเสพตดิ ยกเวน้ ถกู จับ เสยี ชวี ติ หรอื ผปู ้ ่ วยทไี่ ดร้ บั
methadone maintenance treatment : MMT (เนอื่ งจากเป็ นการดแู ลตอ่ เนือ่ งไมม่ กี ารจาหน่าย)

25. โครงการการบรบิ าลฟ้ื นสภาพระยะกลาง (Intermediate care; IMC)

43 KPI sub 43. รอ้ ยละ รพ. ระดบั M และ F ทใี่ หก้ ารบรบิ าลฟ้ื นสภาพระยะกลางแบบผปู้ ่ วยใน (intermediate bed/ward)

43.1 sub 43.1 ผปู ้ ่ วย Stroke, Traumatic Brain Injury และ Spinal Cord Injury ทรี่ อดชวี ติ และมคี ะแนน Barthel index <15

รวมทงั้ คะแนน Barthel index >15 with multiple impairment ไดร้ บั การบรบิ าลฟ้ืนสภาพระยะกลางและตดิ ตามจนครบ 6
เดอื น หรอื จน Barthel index = 20 (ตัวชวี้ ดั ระดบั จังหวดั )

A = โรงพยาบาลระดับ M และ F ในจังหวดั ทผี่ า่ นเกณฑใ์ หบ้ รกิ ารการดแู ลระยะกลางแบบ ผปู ้ ่ วยใน (intermediate
bed/ward) ตามภาคผนวก 1 และ 2

B = จานวน รพ. ระดบั M และ F ทงั้ หมดในจังหวดั
A1 = ผปู ้ ่ วย Stroke, Traumatic Brain Injury และ Spinal Cord Injury ภายในจังหวดั ทรี่ อดชวี ติ และมคี ะแนน Barthel
index <15 ไดร้ ับการบรบิ าลฟ้ืนสภาพระยะกลางและตดิ ตามจนครบ 6 เดอื น หรอื จน Barthel index = 20


6 จาก 10

hanmaneerat : Region5

นนิ งาน เดอื นกรกฎาคม 2563 - กนั ยายน 2563 : ผลงานสะสม 12 เดอื น

จ.กาญจนบรุ ี จ.สพุ รรณบรุ ี จ.นครปฐม จ.สมทุ รสาคร จ.สมทุ รสงคราม จ.เพชรบรุ ี จ. ผลรวม หมายเหตุ เกณฑ์
พบ. ประจวบครี ขี นั ธ์ เขต 5 idx Q4
กจ. สพ. นฐ. สค. สส.
ปข.

5.50 8.37 6.45 6.91 5.68 5.15 10.33 7.09 9 9
42.27 32.17 91.06 61.86 100.00 88.55 22.83 69.24 50 50

16 19 10 42 5 12 19 141 70 70
291 227 155 608 88 233 184 1,988 70 70
60 60
123 46 112 60 88 116 42 1,231
66 66
291 143 123 97 88 131 184 1,778
85 85
ฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ไมผ่ า่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ 0.9 0.9
84.44 79.79 84.34 45 45
121.74 71.78 82.81 82.18 100.00 90.00 88.21 90.52
146.55 75.88 87.04 64.08 91.30 93.58 68.63 68.47 55 55
62.96 72.53 152 63.16 49.30 225 1,513
61.40 143 68 187 1,518
112 145 477 108
66 21 35 493
170 151 430 180 102 282 1,794
174 212 1,677
35 34 66 103 36 35
51 720
92 202 576 43.78 68 120
116 199 494 23 109 64.93 58.30
10,865 57 71
57 54 91 3,964 44,192

62.03 64.34 70.70 66.81 69.12 75,806

6,103 6,549 5,693 946 3,820 85.72
5,367
9,838 10,179 8,052 24,820 1,416 5,527 6,105 6,261

89.03 86.69 97.55 88.05 69.16 90.41 86.27 0.16
1,055 899 718 383 536 415 490 21
1,185 736 435 775 459 568
1,037 12,955

0.33 0.06 0.00 0.27 0.00 0.10 0.24 56.55
7 1 0 5 0 1 2 7,867

2,107 1,707 2,309 1,845 671 1,031 836 13,911

56.04 63.41 51.72 39.23 74.20 58.18 53.61 57.14
297 1,683 1,460 244 233 964 861 204

530 2,654 2,823 622 314 1,657 1,606 357

61.11 60.00 47.06 20.00 100.00 72.31 50.00
11 27 32 5 35 47 10

18 45 68 25 35 65 20

85.71 100.00 100.00 100.00 100.00 81.11 83.33 85.82 75 75
45.45 94.12 87.97 82.89 63.16 81.11 92.12 60 60
84.99
12 9 8 1 2 73 5
14 9 8 1 2 90 6 121
20 192 117 63 96 73 152
141
1,223


หนา้ ที่ 7

รายงานผลการดาเนนิ งานตาม PA/KPI กระทรวงสาธารณสขุ ประจาปี งบประมาณ 2563 Seksan Ch

ผลงานไตรมาสที่ 4 ผลการดาเน

ตวั PA sub ยทุ ธศาสตร์ / แผนงาน-โครงการ เกณฑ์ จ.ราชบรุ ี
ท ี่
44 KPI OKR ลาดบั ตวั ชว้ี ดั , ชอื่ ตวั ชวี้ ดั ไตรมาสนี้ รบ.
45 B1 = ผปู ้ ่ วย Stroke, Traumatic Brain Injury และ Spinal Cord Injury รายใหมห่ รอื กลับเป็ นซา้ ทงั้ หมดทเ่ี ขา้ รบั การ
46 รกั ษาในโรงพยาบาลภายในจังหวดั รอดชวี ติ และมคี ะแนน Barthel index <15 รวมทงั้ คะแนน Barthel index >15 with 575
461A
461B multiple impairment 92.12
462A 222
463A 26. โครงการพฒั นาระบบบรกิ าร one day surgery 60 241
463B KPI sub 44. รอ้ ยละของผปู้ ่ วยทเ่ี ขา้ รบั การผา่ ตดั แบบ One Day Surgery
4
47 A = จานวนผปู ้ ่ วยทงั้ หมดทไ่ี ดร้ บั การผา่ ตัดแบบ One Day Surgery 4
48 B = จานวนผปู ้ ่ วยทเ่ี ขา้ เงอื่ นไขในการเขา้ รับการผา่ ตดั One Day Surgery ดว้ ยโรคทกี่ าหนด(Principle diagnosis) 4
49
50 27. โครงการกญั ชาทางการแพทย์ 1 11.76

51 PA sub 45. จานวนคลนิ กิ การใหบ้ รกิ ารกญั ชาทางการแพทยน์ ารอ่ งอยา่ งนอ้ ย เขตสขุ ภาพละ 1 แหง่ 12 75.00
A =จานวนคลนิ กิ การใหบ้ รกิ ารกญั ชาทางการแพทยน์ ารอ่ งในเขตสขุ ภาพ 80 88.34
52 21.90
B =จังหวดั ถกุ กาหนดใหเ้ ป็ นเป้าหมาย
100.00
แผนงานท่ี 7 : การพฒั นาระบบบรกิ ารการแพทยฉ์ กุ เฉนิ ครบวงจรและระบบการสง่ ตอ่
28. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารการแพทยฉ์ ุกเฉนิ ครบวงจรและระบบการสง่ ตอ่ 99.98
514
PA sub 46. อตั ราเสยี ชวี ติ ของผปู้ ่ วยวกิ ฤตฉิ กุ เฉนิ (triagel level 1) ภายใน 24 ชม. ใน รพ. A, S, M1
4,369
(ทง้ั ท่ี ER และ Admit) นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 12 (Trauma<12%, Non-trauma<12%) 63
sub 1.1 อตั ราของผปู ้ ่ วย trauma triage level 1 และมขี อ้ บง่ ชใ้ี นการผา่ ตัด ใน รพ. ระดับ A, S, M1 สามารถเขา้ หอ้ ง
84
ผา่ ตดั ไดภ้ ายใน 60 นาที ไมต่ า่ กวา่ รอ้ ยละ 80 24,906
28,192
sub 1.2 อัตราของผปู ้ ่ วย triage level 1, 2 อยใู่ นหอ้ งฉุกเฉนิ <2 ชม. ใน รพ. ระดับ A, S, M1 ไมต่ า่ กวา่ รอ้ ยละ 60 60
45 76
sub 2.1 อตั ราตายผปู ้ ่ วยบาดเจ็บรนุ แรงตอ่ สมอง (mortality rate of severe traumatic brain injury) (GCS ≤ 8) ใน 347
โรงพยาบาลระดบั A, S, M1 ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 45
91
sub 3.1 อตั ราของ TEA unit ในโรงพยาบาลระดบั A, S, M1 ทผ่ี า่ นเกณฑป์ ระเมนิ คณุ ภาพ (ไมต่ า่ กวา่ 20 คะแนน) 80 91
ไมต่ า่ กวา่ รอ้ ยละ 80 639
639
sub 3.2 อัตราของโรงพยาบาลระดับ F2 ขนึ้ ไปทผ่ี า่ นเกณฑป์ ระเมนิ ECS คณุ ภาพ (ไมต่ า่ กวา่ รอ้ ยละ 50) 80 52.55
ไมต่ า่ กวา่ รอ้ ยละ 80 2,290
4,358
A = จานวนผเู ้ จ็บป่ วยวกิ ฤตฉุกเฉนิ (ทงั้ trauma และ non-trauma) ทเ่ี สยี ชวี ติ ภายใน 24 ชวั่ โมง 100.00

B = จานวนผเู ้ จ็บป่ วยวกิ ฤตฉุกเฉนิ (ทงั้ trauma และ non-trauma) ทงั้ หมด 1
A1 = จานวนผปู ้ ่ วย trauma triage level 1 และมขี อ้ บง่ ชใี้ นการผา่ ตัด ใน รพ. ระดบั A, S, M1 1
สามารถเขา้ หอ้ งผา่ ตดั ไดภ้ ายใน 60 นาที 148.52
3,664
B1 = จานวนผปู ้ ่ วย trauma triage level 1 และมขี อ้ บง่ ชใ้ี นการผา่ ตดั ใน รพ. ระดับ A, S, M1 2,467
และไดร้ ับการผา่ ตดั ทงั้ หมด
ไมม่ ขี อ้ มลู
A2 = จานวนผปู ้ ่ วย triage level 1, 2 อยใู่ นหอ้ งฉุกเฉนิ ท่ี admit ภายใน 2 ชม. 26 0
B2 = จานวนผปู ้ ่ วย triage level 1, 2 ที่ admit ทงั้ หมด 0

A3 = จานวนผปู ้ ่ วย severe traumatic brain injury (GCS ≤ 8) ทเ่ี สยี ชวี ติ ในโรงพยาบาลระดบั A, S, M1 ไมม่ ขี อ้ มลู
B3 = จานวนผปู ้ ่ วย severe traumatic brain injury ทงั้ หมดในโรงพยาบาลระดบั A, S, M1
A4 = จานวน TEA unit ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 ทผี่ า่ นเกณฑป์ ระเมนิ คณุ ภาพ (ไมต่ า่ กวา่ 20 คะแนน)
B4 = จานวน TEA unit ทป่ี ระมนิ คณุ ภาพทงั้ หมดในโรงพยาบาลระดบั A, S, M1
A5 = จานวน รพ. ระดบั F2 ขนึ้ ไป ทผี่ า่ นเกณฑป์ ระเมนิ ECS คณุ ภาพ (ไมต่ า่ กวา่ รอ้ ยละ 50)
B5 = จานวนโรงพยาบาลระดับ F2 ขน้ึ ไป ทป่ี ระเมนิ ECS คณุ ภาพทงั้ หมด
KPI sub 47. รอ้ ยละของประชากรเขา้ ถงึ บรกิ ารการแพทยฉ์ ุกเฉนิ (ระดบั A, S และ M1) สงั กดั สธ.
A = จานวนครัง้ ของผปู ้ ่ วยฉุกเฉนิ วกิ ฤตทม่ี าโดยระบบการแพทยฉ์ ุกเฉนิ (EMS)
B = จานวนครงั้ ของผปู ้ ่ วยฉุกเฉนิ วกิ ฤตทงั้ หมดทม่ี ารบั บรกิ ารทหี่ อ้ งฉุกเฉนิ (ER Visit)

PA sub 48. รอ้ ยละของ โรงพยาบาลศนู ย์ ผา่ นเกณฑ์ ER คณุ ภาพ 80
A = จานวนโรงพยาบาล ระดบั A ทผี่ า่ นเกณฑป์ ระเมนิ ER คณุ ภาพ -5
B = จานวนโรงพยาบาล ระดับ A ทงั้ หมด ในสงั กัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ
100
PA sub 49. จานวนผปู้ ่ วยทไ่ี มฉ่ กุ เฉนิ ในหอ้ งฉกุ เฉนิ ระดบั 4 และ 5 (Non trauma) ลดลง (สตู ร??)
A = จานวนผปู ้ ่ วยทไ่ี มฉ่ ุกเฉนิ ในหอ้ งฉุกเฉนิ ระดับ 4 และ 5 (Non trauma) ปีงบประมาณ 2562

B = จานวนผปู ้ ่ วยทไ่ี มฉ่ ุกเฉนิ ในหอ้ งฉุกเฉนิ ระดับ 4 และ 5 (Non trauma) ปีงบประมาณ 2563

แผนงานท่ี 8. การพฒั นาตามโครงการพระราชดาริ โครงการเฉลมิ พระเกยี รติ และพนื้ ทเี่ ฉพาะ
29.โครงการพระราชดาริ โครงการเฉลมิ พระเกยี รติ และโครงการพน้ื ทเ่ี ฉพาะ

PA sub 50. รอ้ ยละของจงั หวดั เป้ าหมายทมี่ หี นว่ ยบรกิ ารตง้ั อยใู่ นพน้ื ทเี่ กาะมกี ารจดั ระบบบรกิ ารสขุ ภาพ
สาหรบั การทอ่ งเทย่ี วทางทะเลทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ

A = จานวนจังหวดั กลมุ่ เป้าหมายทผ่ี า่ นเกณฑ์ ( 5 ระดับ) 5

B = จานวนจังหวดั กลมุ่ เป้าหมาย 11 จว. ตามเป้าหมาย ปีงบประมาณ 2563

แผนงานที่ 9. อตุ สาหกรรมการแพทยค์ รบวงจร การทอ่ งเทยี่ วเชงิ สขุ ภาพ ความงาม และแพทยแ์ ผนไทย
30. โครงการพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วเชงิ สขุ ภาพและการแพทย์

PA sub 51. รอ้ ยละทเ่ี พมิ่ ขนึ้ ของรายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพ,ความงาม และแพทยแ์ ผนไทย
A = รายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพ ความงาม และแพทยแ์ ผนไทย ในปี 2563 ของประเทศไทย (1 ตลุ าคม 2562 –
30 กนั ยายน 2563 จากรายงานผลการวจิ ัยและสารวจขอ้ มลู ฯ กรมสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพ)

B = รายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพ ความงาม และแพทยแ์ ผนไทย ในปี 2562 ของประเทศไทย (1 ตลุ าคม 2561 –
30 กนั ยายน 2562 จากรายงานผลการวจิ ัยและสารวจขอ้ มลู ฯ กรมสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพ)

3. ยทุ ธศาสตรบ์ คุ ลากรเป็ นเลศิ (People Excellence) iss1-5
แผนงานที่ 10. การพฒั นาตามโครงการพระราชดาริ โครงการเฉลมิ พระเกยี รติ และพน้ื ทเ่ี ฉพาะ

31. โครงการผลติ และพฒั นากาลงั คนดา้ นสขุ ภาพสคู่ วามเป็ นมอื อาชพี
KPI sub 52. ระดบั ความสาเร็จของเขตสขุ ภาพทมี่ กี ารบรหิ ารจดั การระบบการผลติ และ

พฒั นากาลงั คนไดต้ ามเกณฑเ์ ป้ าหมาย (เป้ าหมายระดบั เขตสขุ ภาพ)
A = จานวนเขตสขุ ภาพทผ่ี า่ นเกณฑเ์ ป้าหมายทกี่ าหนด
B = จานวนเขตสขุ ภาพ


7 จาก 10

hanmaneerat : Region5

นนิ งาน เดอื นกรกฎาคม 2563 - กนั ยายน 2563 : ผลงานสะสม 12 เดอื น

จ.กาญจนบรุ ี จ.สพุ รรณบรุ ี จ.นครปฐม จ.สมทุ รสาคร จ.สมทุ รสงคราม จ.เพชรบรุ ี จ. ผลรวม หมายเหตุ เกณฑ์
พบ. ประจวบครี ขี นั ธ์ idx Q4
กจ. สพ. นฐ. สค. สส. เขต 5
ปข. 1,439

44 204 133 76 152 90 165

100.00 99.13 98.90 43.84 97.17 61.48 53.68 78.75 60 60
396 341 361 192 103 75 226 1,916 1 1
396 344 365 438 106 421 2,433
122
2 3 0 2 1 2 15
2 3 0 2 1 1 2 15
2 1 1 2 1 1 4 16
1

7.27 7.66 7.85 8.55 18.40 8.74 9.67 8.90 12 12
80 80
33.33 29.03 29.75 55.17 50.00 7.41 41.79 41.44 60 60
45 45
80.04 81.09 85.17 81.93 93.45 53.83 69.40 80.85 80 80
80 80
30.00 35.29 35.43 18.60 24.44 55.56 24.44 27.03
26 26
100.00 100.00 100.00 100.00 0.00 100.00 100.00 99.03 80 80
-5 -5
100.00 100.00 100.00 0.00 100.00 100.00 100.00 99.55
100 100
431 209 180 145 46 220 203 1,948
5,932 2,727 2,292 1,695 250 2,516 2,099 21,880 5 5

23 9 36 16 2 2 28 179

69 31 121 29 4 27 67 432

13,744 9,440 4,719 6,104 1,770 3,026 6,303 70,012
17,172 11,642 5,541 7,450 1,894 5,621 9,082 86,594

63 42 62 24 11 5 33 316
210 119 175 129 45 9 135 1,169
1
2 2 1 3 0 1 2 102
2 2 1 3 1 8 2 103
14 2 9 0 3 8 8 683
14 2 9 3 3 37.67 8 686
36.43 13.03 44.07 35.92 53.75 1,007 52.08 27.03
832 3,445 1,739 842 136 2,673 2,370 12,661
2,284 26,436 3,946 2,344 253 ไมม่ ี รพศ. 4,551 46,845
ไมม่ ี รพศ. 100.00 100.00 100.00 ไมม่ ี รพศ. 0 ไมม่ ี รพศ. 100.00
0 1 1 1 0 0 0
0 1 1 1 0 ไมม่ ี รพศ. 0 4
ไมม่ ี รพศ. 151.18 113.71 134.29 ไมม่ ี รพศ. 0 ไมม่ ี รพศ. 4
0 20,444 16,052 93,913 0 0 0 -25.39
0 13,523 14,116 69,931 0 0 134,073
100,037

ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู
0
0 0 0 0 0 0 0 0
0 0 0 0 0 0 0
ไมม่ ขี อ้ มลู
ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู 0

0

ไมม่ ขี อ้ มลู iss1-5 iss1-5

0
0


หนา้ ท่ี 8

รายงานผลการดาเนนิ งานตาม PA/KPI กระทรวงสาธารณสขุ ประจาปี งบประมาณ 2563 Seksan Ch

ผลงานไตรมาสท่ี 4 ผลการดาเน

ตวั PA sub ยทุ ธศาสตร์ / แผนงาน-โครงการ เกณฑ์ จ.ราชบรุ ี

ท ่ี KPI OKR ลาดบั ตวั ชว้ี ดั , ชอ่ื ตวั ชวี้ ดั ไตรมาสนี้ รบ.
53 4
32. โครงการบรหิ ารจดั การกาลงั คนดา้ นสขุ ภาพ 1.34
54 ม
KPI sub 53. รอ้ ยละของเขตสขุ ภาพทม่ี กี ารบรหิ ารจดั การกาลงั คนทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ(เป้ าหมายเขต /เก็บขอ้ มลู จงั หวดั ) ม
55 A1 = จังหวดั มขี อ้ มลู ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ม
55.1
55.2 A2 = จังหวดั มแี ผนบรหิ ารตาแหน่งวา่ ง 47
3,513
56 A3 = จังหวดั มกี ารดาเนนิ การบรหิ ารตาแหน่งวา่ งใหบ้ รรลเุ ป้าหมายทก่ี าหนดตามแผน
56.1
56.2 A = จานวนตาแหน่งวา่ งเป้าหมายทงั้ หมด (ขา้ ราชการ + พนักงานราชการ) ณ วนั ทรี่ ายงานผล

57 B = จานวนตาแหน่งทงั้ หมด (ขา้ ราชการ + พนักงานราชการ) ณ วนั ทร่ี ายงานผล
57.1
4. แผนยทุ ธศาสตรบ์ รหิ ารเป็ นเลศิ ดว้ ยธรรมาภบิ าล (Governance Excellence)
58
58.1 แผนงานที่ 11. การพฒั นาระบบธรรมาภบิ าลและองคก์ รคณุ ภาพ
58.2
33. โครงการประเมนิ คณุ ธรรมความโปรง่ ใส
59
KPI sub 54. รอ้ ยละของหนว่ ยงานในสงั กดั สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ITA 90 90.91
60 A = จานวนหน่วยงานทผี่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ตนเองตามแบบสารวจหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ 20
60A 22
60A (Evidence Base) ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 90 (ใน 1 ปี)
60A ผา่ นเกณฑ
B = จานวนหน่วยงานทงั้ หมดทเ่ี ขา้ รับการประเมนิ ITA (สสจ.+รพศ/ท.+สสอ.+รพช.) 90 100.00
90 100.00
33. โครงการประเมนิ คณุ ธรรมความโปรง่ ใส
PA sub 55. รอ้ ยละความสาเร็จของสว่ นราชการในสงั กดั สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ทด่ี าเนนิ การ 1
1
พฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั ผา่ นเกณฑท์ ก่ี าหนด (PMQA) 10
10
sub 55.1 สสจ. ดาเนนิ การผา่ นเกณฑท์ กี่ าหนด ระดับ 5
ผา่ นเกณฑ
sub 55.2 สสอ. ดาเนนิ การผา่ นเกณฑท์ ก่ี าหนด ระดับ 5 98 100.00
80 100.00
A = จานวน สสจ. ทด่ี าเนนิ การผา่ นเกณฑท์ ก่ี าหนด
4
B = จานวน สสจ. ทงั้ หมด 4
6
A2 = จานวน สสอ. ทดี่ าเนนิ การผา่ นเกณฑท์ กี่ าหนด 6

B2 = จานวน สสอ. ทงั้ หมด 75 100.00
158
34. โครงการพฒั นาองคก์ รคณุ ภาพ
0
PA sub 56. รอ้ ยละของ รพ. สงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ มคี ณุ ภาพมาตรฐานผา่ นการรบั รอง HA ขน้ั 3
sub 56.1 รพ. ศนู ย,์ รพ. ทวั่ ไป, รพ. สงั กัดกรมการแพทย,์ กรมควบคมุ โรค และกรมสขุ ภาพจติ 0

sub 56.2 รพ.ชมุ ชน 158

A = จานวน รพศ./รพท. รพ.กรมการแพทย์ กรม คร./กรม จ. ในจังหวดั ทมี่ ผี ลการรบั รองขนั้ 3+Reaccredit

B = จานวน รพศ./รพท. รพ.กรมการแพทย์ กรม คร./กรม จ. ทงั้ หมดในจังหวดั
C = จานวน รพ. ชมุ ชนในสงั กัด สป.สธ. ทมี่ ผี ลการ รบั รองขนั้ 3 + Reaccredit
D = รพ.ชมุ ชน ในสงั กัด สป.สธ. ทงั้ หมด ในจังหวดั

sub 57. รอ้ ยละของ รพ.สต. ทผ่ี า่ นเกณฑก์ ารพฒั นาคณุ ภาพ รพ.สต. ตดิ ดาว

PA sub 57. รพ.สต. ผา่ นเกณฑพ์ ัฒนาคณุ ภาพ รพ.สต.ตดิ ดาว ระดับ 5 ดาว แบบสะสม รอ้ ยละ 75

A = จานวนโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลระดบั 5 ดาว (สะสมปีงบประมาณ (2561 – 2563)
ผา่ นเกณฑพ์ ัฒนาคณุ ภาพ รพ.สต.ตดิ ดาว ระดับ 5 ดาว ในปีงบประมาณ 2563

B = จานวนโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลระดับ 4 ดาว (สะสมปีงบประมาณ 2561 – 2563)
*รายงานไปยงั เขตเพอื่ วางแผนพัฒนา

C = จานวนโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลระดบั 3 ดาว (สะสมปีงบประมาณ 2561 – 2563)
*รายงานไปยงั เขตเพอื่ วางแผนพัฒนา

D = จานวนโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลทงั้ หมด โดยไมร่ วม รพ.สต. ทถี่ า่ ยโอนไปยงั อปท.

(9,782 แหง่ ) (ทม่ี าของขอ้ มลู จากระบบขอ้ มลู ทรัพยากรสขุ ภาพหน่วยบรกิ ารปฐมภมู )ิ

35. โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงแหง่ ความสขุ

PA sub 58. จานวนองคก์ รแหง่ ความสขุ ทม่ี คี ณุ ภาพมาตรฐาน (Happy Organization) 1,10
1
sub 58.1 รพศ./รพท./สสจ. อยา่ งนอ้ ยเขตละ 1 แหง่ เป็ นองคก์ รแหง่ ความสขุ ทม่ี คี ณุ ภาพมาตรฐาน 10 5
100.00
sub 58.2 รพช. และ สสอ. เป็ นองคก์ รแหง่ ความสขุ ทม่ี คี ณุ ภาพมาตรฐาน รอ้ ยละ 10
5
A = รพศ./รพท./สสจ. (อยา่ งนอ้ ยเขตละ 1 แหง่ ) 17
17
A1 = จานวน รพช. และ สสอ.ในจังหวดั ทมี่ ผี ลการประเมนิ ผา่ นเกณฑค์ ณุ ภาพมาตรฐานองคก์ รแหง่ ความสขุ

B1 = จานวน รพช.และ สสอ.ทงั้ หมดในจังหวดั

แผนงานท่ี 12 : การพฒั นาระบบขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นสขุ ภาพ

36. โครงการพฒั นาระบบขอ้ มลู ขา่ วสารเทคโนโลยสี ขุ ภาพแหง่ ชาติ (NHIS)

KPI sub 59. รอ้ ยละของจงั หวดั ทผี่ า่ นเกณฑค์ ณุ ภาพขอ้ มลู 80 0.00

1.ขอ้ มลู เลขประจาตัวประชาชน (CID) ไมผ่
ไมผ่
2.ขอ้ มลู เพศ (SEX) ไมผ่
3.ขอ้ มลู สญั ชาติ (NATION) ไมผ่
ไมผ่
4.ขอ้ มลู วนั เกดิ (BIRTH)
0
5.ขอ้ มลู สถานะ/สาเหตกุ ารจาหน่าย (DISCHARGE) 1

A = จานวนจังหวดั ทผ่ี า่ นเกณฑค์ ณุ ภาพขอ้ มลู บรกิ ารสขุ ภาพ

B = จานวนจังหวดั ทงั้ หมด

37. โครงการ Smart Hospital

PA sub 60. รอ้ ยละของหนว่ ยบรกิ ารทเี่ ป็ น Smart Hospital

sub A11 รอ้ ยละของ รพ. ระดบั A, S, M1, M2 ผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน รพ. Green and Clean & Digital Look 100 100.00
100 100.00
sub A12 รอ้ ยละของ ระดบั F1, F2, F3 ผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน รพ. Green and Clean & Digital Look
sub A13 รอ้ ยละของ รพ. นอกสงั กดั สปฯ ผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน รพ. Green and Clean & Digital Look 100 100.00

A11 จานวน รพ. ระดบั A, S, M1, M2 ทผี่ า่ นเกณฑม์ าตรฐาน รพ. Green and Clean & Digital Look 4
7
A12 จานวน รพ. ระดบั F1, F2, F3 ทผี่ า่ นเกณฑม์ าตรฐาน รพ. Green and Clean & Digital Look 1
A13 จานวน รพ. นอกสงั กัด สป.ฯ ทผ่ี า่ นเกณฑม์ าตรฐาน รพ. Green and Clean & Digital Look


8 จาก 10

hanmaneerat : Region5

นนิ งาน เดอื นกรกฎาคม 2563 - กนั ยายน 2563 : ผลงานสะสม 12 เดอื น

จ.กาญจนบรุ ี จ.สุพรรณบรุ ี จ.นครปฐม จ.สมทุ รสาคร จ.สมทุ รสงคราม จ.เพชรบรุ ี จ. ผลรวม หมายเหตุ เกณฑ์
พบ. ประจวบครี ขี นั ธ์ เขต 5 idx Q4
กจ. สพ. นฐ. สค. สส.
ปข. 4.31 4 4

6.59 4.54 3.42 5.55 7.09 3.58 5.52 759
ี มี มี มี มี มี 0 มี 17,617
ี มี มี มี มี มี 0 มี
ี มี มี มี มี มี 0 มี

188 108 87 91 70 67 101
1,870
2,854 2,377 2,545 1,640 987 1,831

96.55 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 97.79 90 90
28 21 17 6 7 17 17 133
29 21 17 6 7 17 17 136 90 90
90 90
์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์
100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 98 98
100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 80 80
100.00 100.00 100.00 1 1 1 1 8
1 1 1 1 8 75 75
1 1 1 3 3 8 8 62
1 1 1 3 3 8 8 62 1,10 1,10
13 10 7 1 1
13 10 7 ไมม่ ขี อ้ มลู ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ 10 10
100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ 100.00 85.71 97.73 80 80
ไมม่ ขี อ้ มลู 1 1 2 17
100.00 100.00 100.00 3 1 1 2 17 100 100
3 2 6 0 43 100 100
100.00 100.00 100.00 0 2 7 0 44 100 100
0
222 100.00 100.00 100.00 98.35
100.00 49 117 81 893
222 54
0 117 81 212
13 8 8 0
0 117 81 199
13 8 8 0
49 117 81 908
89.36 100.00 100.00 54
126 174 134

14 0 0

100

141 174 134

3 1 1 0 1 0 2 13
100.00 16.67 80.00 100.00 100.00 80.60 64.29 78.88

3 1 1 0 1 0 2 13
26 3 12 3 5 108 9 183
26 18 15 3 5 134 14 232

1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 87.50
7
ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น 7
ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น 7
ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น 7
ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น 7
ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น 0
8
000 0 0 0 0
111 1 1 1 1

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
97.83
100.00 100.00 100.00 ไมม่ ขี อ้ มลู 50.00 100.00 100.00
100.00
0 100.00 ไมม่ ี รพ. 100.00 ไมม่ ี รพ.นอก ไมม่ ี รพ.นอก ไมม่ ี รพ.นอก ไมม่ ี รพ.
นอก สป. สป. สป. สป. นอก สป. 22
45
432 3123
3
12 7 7 0165

101 0000


Click to View FlipBook Version