The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-26 00:54:33

รายงานประจำปี2563

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

PP&P Excellence บบทททท่ี 2่ี 1

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 135


บทที่ 2 PP&P Excellence

สรปุ ผลการดำเนนิ งานยาเสพติดจังหวัดสุพรรณบุรี ปงี บประมาณ 2563

1. สถานการณ์
สถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพตดิ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ยาบา้ ซึ่งไดแ้ พรก่ ระจายไป

อย่างกว้างขวางในทุกกลุ่มอาชีพ รวมทั้งเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ที่ได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
ครอบครัว ชุมชน และการพัฒนาประเทศโดยรวม จากการจับกุมคดีครอบครองและจำหน่ายยาเสพ
ติดได้หลายประเภท เช่น ยาบ้า ฝิ่น เฮโรอีน กระท่อม ไอซ์ และกัญชา แต่ที่มากที่สุดและเพิ่มความ
รนุ แรงชดั เจน คือ ยาบ้าและไอซ์

จากข้อมูลสถิติการจับกุมคดียาเสพติดในพื้นที่ จังหวัดสุพรรณบุรี พื้นที่แพร่ระบาดมาก
ที่สุดยังคงเป็นเขตพื้นที่อำเภอเมืองสุพรรณบุรี อำเภอสองพี่น้อง และอำเภออู่ทอง ตามลำดับ ซ่ึง
สอดคล้องกับจำนวนประชากร สถานศึกษา สถานบันเทิง ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการแพร่
ระบาดอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งสภาพพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี ยังเป็นเส้นทางลำเลียงยาเสพติดผ่านจาก
ภาคเหนือไปยังพ้ืนท่ีอน่ื กลมุ่ ผเู้ สพเรม่ิ ผนั ตัวเองมาเป็นนักค้ารายย่อย ถงึ แมว้ า่ ปจั จุบันราคายาเสพติด
จะถูกลงมาก แต่การเสพยาเสพติดต้องใช้เงินในการซื้อ จึงผันตัวเองมาจำหน่าย เพื่อให้ได้ยาเสพติด
มาเสพ จังหวัดสุพรรณบุรี ไม่ใช่แหล่งผลิตยาบ้าเอง จึงต้องมีการนำเข้าจากแหล่งอื่น ประกอบกับ
จังหวัดสุพรรณบุรีมีเส้นทางการคมนาคมและการสัญจรไปมาที่สะดวก เป็นทางผ่านไปทางภาคเหนือ
ภาคกลาง และภาคใต้ รวมทั้ง กทม.จึงเป็นปัจจยั ท่ีทำให้มกี ารลกั ลอบใช้เป็นเสน้ ทางผ่านหรอื เส้นทาง
ลำเลียงยาเสพติดทุกประเภทจากภาคเหนือสู่ภาคกลาง ภาคใต้และ กทม. ผ่านจังหวัดสุพรรณบุรี
รวมถึงการเชือ่ มตอ่ ไปยงั เส้นทางมุ่งสู่ภาคใต้ได้อีกเสน้ ทางหนึง่ ด้วยสภาพถนนท่ีดแี ละปริมาณรถยนต์
ทีน่ อ้ ยกวา่ เส้นทางหลกั

ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอำเภอทุกแห่งได้ดำเนินการบันทึกผล
การสำรวจสภาพปัญหายาเสพติดระดับหมู่บ้าน/ชุมชน ผ่านระบบสารสนเทศยาเสพติดจังหวัด
ทั้ง 1,008 หมู่บ้าน 35 ชุมชน ปรากฏผลการจัดทำข้อมูลการประเมินหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะ
ยาเสพติด ปี 2563 (ต.ค 2562 - มี.ค 2563) ภาพรวมจังหวัดสพุ รรณบุรี ดังนี้

สีขาว : ก (ปลอดยาเสพติด) - ไมม่ ปี ญั หาไม่มีผผู้ ลิต/ผู้ขายยาเสพติดและไม่มีผู้เสพ/
ผูต้ ดิ ยาเสพติด จำนวน 581 หมู่บ้าน คดิ เป็นรอ้ ยละ 55.70

สีเขียว : ข (สภาพปัญหายาเสพติดเบาบาง) - ไม่มีผู้ผลิต/ผู้ขายยาเสพติด และมีผู้
เสพ/ผู้ตดิ ยาเสพตดิ ไม่เกิน 3 คนต่อประชากร 1,000 คน จำนวน 344 หมูบ่ า้ น คิดเป็นร้อยละ 32.98

สีเหลือง : ค (สภาพปัญหายาเสพตดิ ปานกลาง) - ไม่มีผู้ผลติ /ผู้ขายยาเสพตดิ และมี
ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดตั้งแต่ 4 คน แต่ไม่เกิน 5 คน : 1,000 คนจำนวน 108 หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ
10.35

สีแดง : ง (สภาพปัญหายาเสพติดรุนแรง) - มีผู้ผลิต/ผู้ขายยาเสพติด หรือมีผู้เสพ/
ผู้ติดยาเสพตดิ เกนิ 5 คนข้ึนไป : 1,000 คน จำนวน 10 หมบู่ ้าน คิดเป็นรอ้ ยละ 0.96

136 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2ี่ 1

2. มาตรการ

-มาตรการส่งเสริมปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
-มาตรการเพิม่ การเข้าถงึ บรกิ ารด้านการบำบดั รักษาฟื้นฟสู มรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพตดิ
-มาตรการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด (Harm reduction)
-มาตรการพฒั นาสถานพยาบาลให้ผา่ นการรับรองมาตรฐานดา้ นการบำบัด (HA ยาเสพตดิ )
-มาตรการลดความรุนแรงและผลกระทบตอ่ ชุมชนและสงั คม

3. ผลลพั ธ์

ผลการบา้ บัดผตู้ ิดยาเสพตดิ ในสถานพยาบาลจังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2563

250 207 สมัครใจ คสช.108 บงั คับบาบัด
200 166

150 25 0 89 100 88 49 12 0 36 69 70 66
100 19 0 0 13 16 9 21 0 64 40 30
50 5 1
0

ตวั ช้ีวัด: รอ้ ยละ50ของผูป้ ว่ ยยาเสพตดิ เขา้ รบั การบำบัดรักษาและติดตามดูแลตอ่ เน่ือง 1 ปี (Retention Rate)

ขอ้ มูลย้อนหลัง 3 ปี เกณฑ์ ปีงบประมาณ 2563 ข้อมูล ณ 22 ก.ย. 63

2561 2562 2563 อำเภอ เปา้ หมาย ผลงาน ร้อยละ

ระดบั ประเทศ 50 เมือง 1,105 664 59.55

41.3 40.71 41.16 เดมิ บางฯ 124 70 56.45

เขต 5 ดอนเจดีย์ 52 33 63.46

38.81 36.92 53.9 ดา่ นช้าง 183 53 28.96

จงั หวดั สุพรรณบุรี บางปลาม้า 47 25 53.19

29.34 39.97 63.41 ศรปี ระจนั ต์ 49 22 44.9

ปีงบประมาณ 2563 สองพีน่ ้อง 171 23 13.45

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 สามชุก 37 12 32.43

41.28 42.97 63.41 หนองหญ้าไซ 60 28 46.67

อูท่ อง 866 784 90.53

รวม 2,704 1,714 63.39

รายงานประจำปีสำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 137


บทท่ี 2 PP&P Excellence

ตัวชี้วดั : ร้อยละ60ของผ้ปู ว่ ยยาเสพติดกลุม่ เสย่ี งก่อความรุนแรงไดร้ ับการประเมินบำบดั รกั ษาและติดตามดูแล
ช่วยเหลอื ตามระดับความรนุ แรงอยา่ งต่อเนอื่ ง 1 ปี (SMIV)

ข้อมูลย้อนหลงั 3 ปี เกณฑ์ ปงี บประมาณ 2563 ข้อมลู ณ 22 ก.ย. 63

2561 2562 2563 อำเภอ เปา้ หมาย ผลงาน รอ้ ยละ

ระดับประเทศ 50 เมอื ง 18 14 77.78

36.13 41.2 58.9 เดมิ บางฯ 11 8 72.73

เขต 5 ดอนเจดีย์ 1 0 0

28 34.65 51.47 ด่านชา้ ง 11 100

จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี บางปลาม้า 2 1 50

16.67 33.33 62.22 ศรีประจนั ต์ 1 0 0

ปงี บประมาณ 2563 สองพ่นี ้อง 5 1 20

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 สามชุก 3 1 33.33

41.28 42.97 62.22 หนองหญา้ ไซ 3 1 33.33

อู่ทอง 1 1 100

รวม 45 28 62.22

ทมี่ าข้อมูล : https://antidrugnew.moph.go.th ณ 30 กันยายน 2563

4.ผลงานเดน่ (Best Practise) รูปภาพกิจกรรมประกอบ 2 - 3 ภาพ

4.1 กระบวนการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดในชุมชน : เขาชะโอยโมเดล อ.เดิมบางนางบวช
จ.สุพรรณบุรี ได้รับรางวัลธัญญารักษ์อวอร์ดประเภทบุคคลดีเด่น ปี 2562 ใช้กระบวนการหลัก 5
ขั้นตอนดังนี้

138 รายงานประจำปสี ำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2ี่ 1

4.2 เรื่อง การจัดการผู้ป่วยรายกรณีโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชยา
เสพตดิ กล่มุ เส่ียงกอ่ ความรุนแรง

รายงานประจำปีสำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 139


บทที่ 2 PP&P Excellence

สรุปและข้อเสนอแนะ

รปู แบบการจัดการผปู้ ว่ ยรายกรณโี ดยการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนสามารถนำตัวผู้ใชย้ าเสพติดท่ีมี
อาการทางจิต หรือมีความเสี่ยงต่อการก่อความรุนแรง เข้ารับการบำบัดรักษาได้เร็ว บรรลุเป้าหมาย
ของการแก้ไขปัญหาทั้งด้านการบำบัดรักษาผู้เสพผู้ติดยาเสพติด และยังช่วยลดความรุนแรง
ผลกระทบทางสังคม ปัญหาในเชงิ สขุ ภาพ สอดคล้องกบั มาตรการป้องกนั และควบคุมการแพรก่ ระจาย
โรคติดเชื้อ COVID-19 ของประเทศ รวมทั้งเป็นการให้โอกาสผู้ที่หลงผิดได้กลับคืนสู่สังคมอย่างปกติ
สุข สมดังสโลแกน “สอดส่องตั้งเป้า เฝ้าระวังสัญญาณ ประสานงานเครือข่าย ปลอดภัยไม่ทิ้งกนั ” จึง
ควรส่งเสริมให้“พยาบาลวิชาชีพ” เป็น “ผู้จัดการรายกรณี” เนื่องจากเป็นผู้ที่รับผิดชอบดูแลผู้ป่วย
ตลอด 24 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังมีความรู้พื้นฐานทางคลินิก สามารถประสานการดูแลระหว่างแพทย์
พยาบาลและทมี สุขภาพอื่น ๆ ได้ดี และสอดคล้องกบั สภาพปัญหา/ ความตอ้ งการของผปู้ ว่ ย สว่ นใหญ่
บุคลากรกลุ่มนี้จะสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือ เป็นผู้ชำนาญทางคลินิก (clinical nurse
specialist) บางแห่งก็ใช้พยาบาลที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี แต่ต้องมีประสบการณ์ในงานที่
เก่ียวข้องอย่างนอ้ ย 3 ปี (ยุวดี เกตสมั พันธ์, ไม่ปรากฏปีทพ่ี มิ พ์)

5. สรุปบทเรยี น

- ผู้ป่วยที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษายาเสพติดในสถานพยาบาลพยาบาลระบบสมัครใจน้อยมาก
เมื่อเปรียบเทียบระบบบังคับบำบัดและระบบสมัครใจ คสช.108/47 (มหาดไทยจับเข้าค่ายบำบัด ฯ
เปน็ หลัก)

-การบูรณางานบำบัดในชุมชน (CBTx) ขับเคลื่อนค่อนข้างยาก หากไม่ได้เกิดจากความต้องการจาก
ชมุ ชนจริงๆ และไม่ได้รบั การสนับสนุนจากหน่วยงานหลักในพน้ื ที่ (มหาดไทย, ตำรวจ, สาธารณสขุ )

-โรงพยาบาลศนู ย์/รพ.แม่ข่ายในจังหวัดควรมีความพร้อมและพัฒนาศักยภาพตนเองเพื่อร่วมกันแก้ไข
ปัญหายาเสพติดตามบริบทของพื้นที่ เช่น เปิดหอผู้ป่วยรับเคสยาเสพติดที่มีปัญหาทางจิตโดยเฉพาะ
หรือเปิดคลนิ ิกเมทาโดนแกป้ ัญหาการแพร่ระบาดของเฮโรอนี ทีเ่ พิ่มขึ้น

6. แผนในอนาคต (ต้องไดร้ ับการสนับสนุนจากผบู้ รหิ ารของจังหวดั และส่วนกลางรว่ มผลักดนั )

พฒั นาระบบบริการสขุ ภาพด้านยาเสพตดิ โดยเฉพาะ

-รพศ.เปดิ Ward ผู้ป่วยในรบั เคสยาเสพติดที่มีปญั หาจิตเวช/ฉกุ เฉินรุนแรง

-รพศ.เปิดคลนิ กิ เมทาโดนรักษาผูป้ ่วยติดเฮโรอีน

140 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

ผลการดำเนนิ งานการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพติด
TO BE NUMBER ONE จงั หวดั สพุ รรณบุรี ปี 2563

1.1 เชิงปรมิ าณ
จังหวัดสุพรรณบุรี ดำเนินการตามแนวทางโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหา

ยาเสพติด TO BE NUMBER ONE โดยใช้ 3 ยทุ ธศาสตร์หลักของโครงการTO BE NUMBER ONE มา
เป็นแนวทางในการดำเนินงาน ตามวิสัยทัศน์ “คนสุพรรณ มุ่งมั่นเป็นหนึ่ง โดยไม่พึ่งยาเสพติด”
เปา้ ประสงค์ : “เยาวชนสพุ รรณ เก่งและดี มคี ณุ คา่ ไมพ่ งึ่ พายาเสพติด” ดงั น้ี

ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การรณรงค์ปลุกจิตสำนึกและสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการ
ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพติด

กิจกรรมหลัก
1. ส่งทีมเข้ารว่ มการประกวด TO BE NUMBER ONE DANCERCISE

ระดับภาค จำนวน 4 ทีม และระดบั ประเทศ 1 ทีม โรงเรียนกฬี า
2. ส่งเยาวชนเขา้ รว่ มการประกวด TO BE NUMBER ONE IDOL ระดบั

ภาค จำนวน 8 คน
3. จดั มหกรรมรวมพลคน TO BE NUMBER ONE สุพรรณบุรี คร้งั ท่ี 3 ณ

โรงเรยี นสงวนหญงิ มีการนำเสนอผลงานชมรม TO BE NUMBER
ONE เพื่อคดั เลือกเปน็ ตวั แทนแขง่ ขันระดับภาคกลางและภาค
ตะวนั ออก ประกวดวาดภาพ จัดบทู นทิ รรศการตา่ งๆ มีเยาวชนเข้า
รว่ มงานจำนวน 800 คน
4. เข้าร่วมการประกวดผลงานจังหวดั และชมรม TO BE NUMBER ONE
ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก 12 ทีม

- ระดบั ดีเด่น
- ระดบั รกั ษามาตรฐานพรอ้ มเปน็ ตน้ แบบระดับเงิน ปีท่ี 1
- ระดบั รักษามาตรฐานพร้อมเปน็ ต้นแบบระดบั เงนิ ปีท่ี 2
5. จัดมหกรรมนำเสนอผลงานจังหวดั และชมรม TO BE NUMBER ONE
รอบลงพ้นื ท่ที ผ่ี า่ นการคัดเลอื กระดบั ภาคเพ่ือสะสมคะแนนเขา้ แข่งขนั
ระดบั ประเทศ 9 ทีม
6. เข้าร่วมการแข่งขนั จังหวดั และชมรม TO BE NUMBER ONE
ระดับประเทศ ในงานมหกรรม TO BE NUMBER ONE ระดับประเทศ
9 ทมี
7. จดั ทำส่ือประชาสัมพนั ธเ์ พื่อสรา้ งกระแสและปลุกจิตสำนึกไมย่ ุ่ง
เกี่ยวกับยาเสพติด(จดั ทำ MASK ทูบนี มั เบอรว์ ัน จำนวน 10,500 ช้ิน )
8. จัดการรณรงค์ปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพติดทกุ อำเภอในวนั ตอ่ ตา้ น
ยาเสพตดิ โลก 26 ม.ิ ย 63 มีผู้เขา้ ร่วมการรณรงค์จำนวน 3,000 คน

รายงานประจำปีสำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 141


บทท่ี 2 PP&P Excellence

ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 : การสรา้ งเสริมภูมิคมุ้ กนั ทางจติ ใจให้แกเ่ ยาวชน
กิจกรรมหลัก
1. สง่ เยาวชน TO BE NUMBER ONE เข้าค่ายพัฒนาสมาชกิ สู่ความเป็น
หนง่ึ ของสว่ นกลาง รนุ่ ที่ 23 จำนวน 1 รนุ่ 10 คน
2. จัดอบรมความรเู้ รือ่ งโทษพิษภัยยาเสพติดแก่เยาวชนในสถานศึกษา
และสถานประกอบการรว่ มกับแรงงานจงั หวดั จำนวน 1,000 คน
3. เปน็ วิทยากรรว่ มกับสำนักงานคุมประพฤตจิ ัดอบรมผผู้ ่านการบำบดั
ฟื้นฟูยาเสพตดิ จำนวน 10 รนุ่ ๆละ 100 คน

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพตดิ

กจิ กรรมหลกั
1. สนับสนุนการสร้างและพฒั นาชมรม TO BE NUMBER ONE ใน

สถานศกึ ษา สถานประกอบการ และชุมชน (จัดทำศนู ยเ์ รียนร้โู ครงการ
TO BE NUMBER ONE) จำนวน 25 ชมรม
2. ส่งชมรมประเภทตา่ งๆ เข้าร่วมการประกวดระดับภาคและ
ระดับประเทศ เพอื่ ร่วมแลกเปลย่ี นเรยี นรู้กบั เครือข่าย TO BE
NUMBER ONE จังหวัดและภาคอืน่ ๆ
3. ประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงานปีละ 4 ครัง้
4. ขยายเครือขา่ ยอำเภอ TO BE NUMBER ONE จำนวน 10 อำเภอ
และส่งผล อำเภอบางปลามา้ เป็นอำเภอ TO BE NUMBER ONE
ดเี ด่นระดับภาค ปี 2563 และเข้าร่วมประกวดระดับประเทศ
5. ขยายเครือข่ายชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการ
เข้าร่วมประกวดชมรมเครือขา่ ยเข้าร่วม ประกวดดีเดน่ ระดับภาค และ
เข้ารว่ มประกวดระดบั ประเทศ
มีสมาชิก TO BE NUMBER ONE อายุ 6-24 ปี จำนวน 177,808 คน คดิ เป็นร้อยละ
94.70 มีชมรม TO BE NUMBER ONE มีชมรมและศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ใน
สถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ 90.48 มีชมรม TO BE NUMBER ONE ในชุมชน ร้อยละ 61.81 มีชมรม
TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการ ร้อยละ 25 และมีชมรม TO BE NUMBER ONE ใน
เรอื นจำคุมประพฤติและสถานพนิ จิ ฯ รอ้ ยละ 100

1.2 เชิงคุณภาพ
-เยาวชนที่เข้ารับการบำบัดรักษาในสถานพยาบาล 10 แห่งในจังหวัดสุพรรณบุรีลดลงเกือบ

ครึ่งหนงึ่ ของปที ่ีผา่ นมา (ปี 2562 จำนวน 375 คน ปี 2563 จำนวน 145 คน)
-เยาวชนเข้าร่วมการประกวด TO BE NUMBER ONE DANCERCISE ได้รับรางวัล

ระดับประเทศ 1 ทีม โรงเรียนกฬี า (รางวลั ชมเชย)

142 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

-ชมรม TO BE NUMBER ONE เข้ารอบการประกวดระดับประเทศ คือ จังหวัด อำเภอและ
ชมรมประเภทต่างๆ ครบทุกประเภท 6 ประเภท 9 ทีม และได้ผ่านการคัดเลือกระดับประเทศ 1 ทีม
คือ ชมรม TO BE NUMBER ONE ของสำนักงานคมุ ประพฤติ

4.ภาพกิจกรรมการดำเนินงานโครงการ
❑ ผลการตัดสนิ การประกวดTO BE NUMBER ONE จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปี2563 ผ่านเขา้ ไป
ประกวดระดบั ประเทศ 9 ทีม 6 ประเภท ดงั น้ี

1.ประเภทจังหวดั TO BE NUMBER ONE
-จังหวดั สพุ รรณบรุ ีผา่ นตน้ แบบระดับเงนิ ปีท่ี 1

2.ประเภทอำเภอ TO BE NUMBER ONE
-อำเภอบางปลามา้ ผ่านระดับดเี ดน่ (ลำดบั 2)

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 143


บทที่ 2 PP&P Excellence

3.ประเภทชมรม TO BE NUMBER ONE ในชุมชนภมู ภิ าค ไดแ้ ก่

-ชมุ ชนบา้ นบางแม่หมา้ ยผ่านระดบั เงนิ ปีท่ี 1

-ชมุ ชนบา้ นกลว้ ยผา่ นระดบั ดเี ดน่ ลาดบั 3

4.ประเภทชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาได้แก่
-รร.บางแม่หมา้ ยรัฐราษฏร์รงั สฤษดผ์ิ า่ นตน้ แบบระดับเงนิ ปีที่ 2

-รร.อ่ทู องผ่านระดับดเี ด่นลำดับ 2

144 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

5.ประเภทชมรม TO BE NUMBER ONE ในหน่วยงานราชการไดแ้ ก่
- สนง.คมุ ประพฤตผิ ่านตน้ แบบระดับเงนิ ปีท่ี 1

- สถานพินจิ และค้มุ ครองเด็กและเยาวชนผ่านตน้ แบบระดบั เงนิ ปีท่ี 1

6.ประเภทชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการ กลมุ่ ดีเด่น ได้แก่
-บริษทั อุตสาหกรรมน้ำตาลสุพรรณบุรีผา่ นระดบั ดเี ดน่ ลำดบั 4

รายงานประจำปีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 145


บทท่ี 2 PP&P Excellence

146 รายงานประจำปีสำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2่ี 1

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 147


บทที่ 2 PP&P Excellence

การประกวด TO BE NUMBER ONE DANCERCISE

การประกวด TO BE NUMBER ONE IDOL

148 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

มหกรรมรวมพลคนทบู ี จงั หวัดสุพรรณบุรี ปี 2563

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 149


บทท่ี 3

Service Excellence


Service Excellence บบทททที่ 3ี่ 1

งานพฒั นาระบบบริการสุขภาพดา้ นบริการเป็นเลศิ (Service Excellence) สาขาสขุ ภาพช่องปาก

1. ร้อยละอำเภอที่จดั บริการสุขภาพช่องปากใน รพ.สต./ศสม.ท่ีมีคณุ ภาพตามเกณฑ์

ปีงบประมาณ 2563 (ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60)

จำนวน จำนวน รพ.สต./ศสม. ผ่านเกณฑจ์ ัดบริการสขุ ภาพชอ่ งปาก

อำเภอ รพ.สต. 6 กลมุ่ เปา้ หมาย รอ้ ยละ 200 คนต่อ ร้อยละ ผ่านทงั้ รอ้ ยละ

เมืองสุพรรณบรุ ี (แห่ง) 14 กิจกรรม 1,000 ประชากร 2 เกณฑ์
เดมิ บางนางบวช
ด่านชา้ ง 29 9 31.0 8 27.5 6 20.6
บางปลามา้
ศรีประจนั ต์ 20 7 35.0 6 30.0 4 20.0
ดอนเจดยี ์
สองพ่นี ้อง 16 7 43.7 11 68.7 7 43.7
สามชกุ
อู่ทอง 17 2 11.7 3 17.6 2 11.7
หนองหญ้าไซ
14 1 7.1 4 28.5 1 7.14
จ. สุพรรณบรุ ี
9 1 11.1 3 33.3 1 11.1

25 8 32.0 6 24.0 3 12.0

13 6 46.1 10 76.9 5 38.4

22 6 27.2 7 31.8 2 9.1

9 4 44.4 8 88.8 4 44.4

174 51 29.3 66 37.9 35 20.1

หมายเหตุ : ผลงาน HDC กล่มุ รายงานมาตรฐาน >> ขอ้ มลู เพ่อื ตอบสนอง Service Plan สาขาสขุ ภาพชอ่ งปาก

แผนภมู ทิ ี่ 5 อำเภอทีจ่ ัดบริการสุขภาพช่องปากใน รพ.สต./ศสม. ที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ 2563

รอ้ ยละ บรกิ าร 6 กล่มุ เปา้ หมาย 14 กจิ กรรม บริการ 200 คน ต่อ 1,000 ประชากร
100
80 เกณฑ์ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 88.8
76.9
68.7 เปา้ หมาย ร้อยละ 54

60 46.1

43.7 17.6 28.5 33.3 32 27.231.8
76.0 11.1
40 29.337.9 31 27.5 35 40.0 11.7 7.1 11.1
20

0 จงั หวัด เมือง เดิมบางฯ ดา่ นช้าง บางปลาม้า ศรีประจนั ต์ ดอนเจดีย์ สองพ่นี ้อง สามชุก อู่ทอง หนองหญา้ ไซ

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 151


บทที่ 3 Service Excellence

การจัดบริการสุขภาพช่องปากใน รพ.สต./ศสม.ที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ (6 กลุ่มเปา้ หมาย 14
กจิ กรรม) ไม่มีอำเภอใดที่สามารถจัดบริการได้ตามเกณฑ์ (รอ้ ยละ 60) อำเภอทจ่ี ดั บริการตามเกณฑ์ครบ
6 กลุ่มเป้าหมาย 14 กิจกรรม จำนวน 51 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 29.3 รพ.สต.จัดบริการได้มากกว่าร้อย
ละ 20 จำนวน 66 แห่ง (ร้อยละ 37.9) และบริการผ่านทั้ง 2 เกณฑ์ จำนวน 35 แห่ง (ร้อยละ 20.1)
กจิ กรรมท่ี รพ.สต.จดั บรกิ ารได้น้อยที่สดุ คือกลุ่มเด็กอายุ 0-2 ปี ได้รบั การตรวจสุขภาพช่องปาก (เกณฑ์
รอ้ ยละ 50) มี รพ.สต.ท่ีจดั บรกิ ารได้ ผ่านเกณฑ์เพียง 59 แหง่ (ร้อยละ 33.9)

2. อัตราการใชบ้ ริการสุขภาพช่องปากของประชาชนรวมทุกสิทธ์ิ ปีงบประมาณ 2563

อำเภอ จำนวนประชากร (คน) อัตราการใชบ้ ริการ
(type 1+3) คน รอ้ ยละ

เมอื งสุพรรณบรุ ี 133,045 35,492 26.7

เดมิ บางนางบวช 52,520 13,034 24.8

ด่านช้าง 49,859 16,770 33.6

บางปลามา้ 55,562 9,004 16.2

ศรีประจนั ต์ 48,411 11,019 22.8

ดอนเจดยี ์ 35,030 8,418 24.0

สองพ่นี ้อง 101,617 23,139 22.8

สามชกุ 40,893 15,425 37.7

อทู่ อง 89,438 25,461 28.5

หนองหญา้ ไซ 37,384 10,682 28.6

จังหวดั สพุ รรณบรุ ี 643,759 168,444 26.2

เกณฑ์ (รอ้ ยละ) 40.0

หมายเหตุ : ผลงานจาก HDC กลุ่มรายงานมาตรฐาน >> ทนั ตกรรม(บรกิ าร) ขอ้ 1

152 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


Service Excellence บบทททท่ี 3่ี 1

แผนภมู ทิ ่ี 6 อัตราการเขา้ ถึงบริการสขุ ภาพช่องปากของประชาชนรวมทุกสิทธ์ิ จังหวัดสพุ รรณบุรี
ปงี บประมาณ 2563

รอ้ ยละ เกณฑร์ ้อยละ 40

60

33.6 37.7

40 26.7 28.5
26.2 28.6
20 24.8 16.2 22.8 24 22.8

0

อัตราการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากของประชาชนรวมทกุ สิทธิ์ จังหวัดสุพรรณบุรี ร้อยละ
26.2 (เกณฑ์ร้อยละ 40) ไม่มีอำเภอท่ีดำเนินการได้ผ่านเกณฑ์ อำเภอที่มีอัตราการเข้าถึงบริการสุขภาพ
ช่องปากมากที่สุดคือ อ.สามชุก ร้อยละ 37.7 รองลงมาคือ อ.ด่านช้าง ร้อยละ 33.6 อัตราการเข้าถึง
บริการสุขภาพช่องปากน้อยกว่าปีที่ผ่านมา (ปี 2562 ร้อยละ 30.6) เพราะมีระยะเวลาดำเนินกิจกรรม
น้อย เนื่องจากเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้แพร่อย่างรวดเร็วและ
กว้างขวางไปหลายประเทศทั่วโลก ซึ่งมีผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
สาธารณสุขจึงได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด 19 (Coronavirus Disease
2019 (COVID -19)) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 ผลการ
ดำเนินงานมาจากการดำเนนิ การในต้นปงี บประมาณ ในขณะทเี่ กดิ สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้หยุดการให้บริการเนื่องจากมีประกาศกรมการแพทย์เมื่อวันที่ 19 มีนาคม
พ.ศ.2563 เรื่องแนวทางปฏิบัติการรักษาทางทันตกรรมในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-
19 ให้ทันตบุคลากรตลอดจนบุคลากรอื่นที่เกี่ยวข้องดำเนินการคือ 1) ให้การรักษาทางทันตกรรมเฉพาะ
กรณีฉุกเฉิน (Emergency case) เท่านั้น และหลีกเลี่ยงการรักษากรณีเร่งด่วน (Urgency case) 2) ให้
เลื่อนการรักษางานทันตกรรมที่ไม่เร่งด่วน (Elective case) ออกไปก่อน จนกว่าสถานการณ์การแพร่
ระบาดจะควบคุมได้หรือมีประกาศเปลี่ยนแปลงจากกระทรวงสาธารณสุข จนถึงเดือน กรกฎาคม
2563 จึงเริ่มดำเนินกิจกรรมในงานหัตถการทีไ่ ม่มีการฟุง้ กระจาย เช่น ตรวจสุขภาพชอ่ งปาก ถอนฟัน
และทาฟลอู อไรด์วานิช

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 153


บทท่ี 3 Service Excellence

ผลการดำเนนิ งานการพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพ (Service Plan)
สาขาพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use ; RDU)

สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
1. สถานการณ์

ตามที่ กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขา
พัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) เพื่อเป็นการคุ้มครองให้ประชาชนได้รับการ

รักษาด้วยยาอย่างมีประสิทธิภาพปลอดภัยและลดความสิ้นเปลืองทางเศรษฐกิจ ผลการประเมินการ
ดำเนินงานพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาล (RDU Hospital ; R1)

และ รพ.สต.ในเครือข่ายบริการ (RDU PCU ; R2) ปีงบประมาณ 2563 (ข้อมูลสะสมวันที่ 1 ต.ค.

2562 – 30 ก.ย. 2563) พบวา่ ในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบรุ ีมโี รงพยาบาลทผี่ ่านเกณฑ์ RDU ข้ัน
ท่ี 1 คดิ เปน็ ร้อยละ 100 (เปา้ หมายร้อยละ 100) ผ่านเกณฑ์ RDU ข้ันที่ 2 คิดเปน็ รอ้ ยละ 50 (เปา้ หมาย
ร้อยละ 50 ขึ้นไป) ผ่านเกณฑ์ RDU ขั้นที่ 3 คิดเป็นรอ้ ยละ 30 (เป้าหมายรอ้ ยละ 20 ขึ้นไป) และมีการ
ดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลและปลอดภัยในชุมชน (RDU in community) ในทุกอำเภอ ผล

การดำเนินงานโรงพยาบาลที่มีระบบจัดการ AMR อย่างบูรณาการ ระดับ Intermediate ขึ้นไป คิด
เป็นร้อยละ 100 (เปา้ หมายร้อยละ 95 ขึ้นไป) และพบอัตราการตดิ เชอ้ื ด้ือยาในกระแสเลือดเพ่ิมขึ้นร้อย
ละ 26.45 จากปีปฏทิ ิน 61 (เป้าหมายลดลงร้อยละ 7.5 จากปปี ฏทิ ิน 61)

2. ขอ้ มลู ประกอบการวเิ คราะห์

2.1 ตวั ช้วี ัด รอ้ ยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU)
ตารางท่ี 1 แสดงผลการดำเนนิ งานตามตัวช้วี ดั RDU ขั้นท่ี 1 (ข้อมูลวนั ท่ี 1 ต.ค. 2562 – 30 ก.ย. 2563)

ตัวช้ี ผลงาน
วัดท่ี
ชอื่ ตัวช้ีวดั และเป้าหมาย ยมราช สังฆราช อู่ทอง ดา่ นชา้ ง เดมิ บาง บาง ศรี ดอน สามชุก หนอง
นางบวช ปลาม้า ประจันต์ เจดยี ์ หญ้าไซ

1 รอ้ ยละของรายการยาทสี่ ัง่ ใช้ยา 99.96 88.92 89.92 94.52 91.53 92.96 91.57 91.29 99.08 98.55

ในบญั ชยี าหลกั แห่งชาติ ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผา่ น

(A≥75%, M1-M2≥85%, F1-

F3≥90%)

2 ประสิทธผิ ลการดำเนนิ งานของ 4 3 3 3 3 4 3 3 3 3

คณะกรรมการ PTC (ระดับ 3) ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น

3 การดำเนนิ งานในการจดั ทำ 3 4 4 4 4 4 4 4 3 4

ฉลากยามาตรฐาน (ระดบั 3) ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น

4 รายการยาท่คี วรตัดออก 8 0 0 00 0 0 0 0 0 0

รายการ (ไมเ่ กิน 1 รายการ) ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผา่ น

5 การดำเนินการเพือ่ สง่ เสรมิ 3 3 33 3 3 3 33 3

จริยธรรม (ระดับ 3) ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผ่าน

รอ้ ยละของ รพ.สต.ที่มีการใช้ 100 100 100 100 100 100 92.86 100 100 100

ยาปฏชิ วี นะในโรค URI และ ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผ่าน

AD ไมเ่ กิน 20 % (≥40%)

154 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


Service Excellence บบทททที่ 3่ี 1

จากตารางที่ 1 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ขั้นที่ 1 ปีงบประมาณ 2563 พบว่า ใน
ภาพรวมของจงั หวดั สุพรรณบุรีมีโรงพยาบาลทผ่ี ่านเกณฑ์ RDU ข้นั ท่ี 1 คดิ เป็นร้อยละ 100 (เป้าหมาย
ร้อยละ 100) ส่วนตัวช้ีวดั สำหรับ รพ.สต. พบว่ามีการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค RI และ AD ไม่เกินร้อยละ
20 ทกุ แห่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 (เปา้ หมายร้อยละ 40 ขน้ึ ไป)

ตารางท่ี 2 แสดงผลการดำเนินงานตามตวั ชีว้ ัด RDU ข้ันที่ 2 (ขอ้ มูลวนั ที่ 1 ต.ค. 2562 – 30 ก.ย. 2563)

ตวั ช้ี ผลงาน
วดั ท่ี
ชือ่ ตัวชว้ี ดั และเปา้ หมาย ยมราช สงั ฆราช อู่ทอง ด่านชา้ ง เดมิ บาง บาง ศรี ดอน สามชุก หนอง
40.87 นางบวช ปลาม้า ประจนั ต์ เจดีย์ หญา้ ไซ
ไมผ่ า่ น 20.38
6 รอ้ ยละการใช้ยาปฏิชวี นะใน ไมผ่ า่ น 19.51 17.03 20.17 18.16 15.88 17.22 18.96 15.73
โรค RI (A,S,M1-M2≤30%, 34.48
F1-F3≤20%) ไมผ่ ่าน ผ่าน ผ่าน ไม่ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผา่ น
57.94
7 ร้อยละการใช้ยาในปฏิชีวนะ ไม่ผ่าน 18.97 19.97 7.54 20.22 15.16 17.99 14.17 16.69 14.51
ในโรค AD (≤20%) ผ่าน ผ่าน ผ่าน ไม่ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน
13.76
8 รอ้ ยละการใชย้ าปฏิชวี นะใน ผ่าน 56.49 62.30 39.22 51.95 49.56 35.56 37.65 35.27 36.05
บาดแผลสดจากอบุ ตั เิ หตุ ไม่ผ่าน ไมผ่ ่าน ผา่ น ไมผ่ ่าน ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผ่าน
(≤50%) 0
ผา่ น 21.67 3.70 3.03 3.05 0 3.19 3.51 21.36 6.67
9 รอ้ ยละการใช้ยาปฏิชีวนะใน ไมผ่ ่าน ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ไมผ่ ่าน ผา่ น
หญงิ คลอดปกติครบกำหนด 0.15
ทางช่องคลอด (≤15%) ผ่าน 0 0000 0 00 0

11 รอ้ ยละของผปู้ ่วยทใ่ี ช้ 1 ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผ่าน
glibenclamide ทมี่ อี ายุ ไม่ผา่ น
≥65 ปหี รอื มeี GFR ≤60 2.00 0.53 0.17 1.47 1.66 1.58 1.52 0.63 2.97
ml/min/๑.๗๓m2 (≤5%) 100 ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น
ผ่าน
14 รอ้ ยละของผู้ปว่ ยโรคไต 0 0000 0 00 0
เรอ้ื รังระดบั 3 ขน้ึ ไปที่ได้รบั
ยา NSAIDs (≤10%) ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผ่าน

17 จำนวนสตรตี ง้ั ครรภท์ ีไ่ ด้รับ 100 100 100 100 100 92.86 100 100 100
ยาท่ีห้ามใช้ ได้แก่ warfarin, ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผา่ น
statins, ergots เมอื่ ร้วู า่
ตัง้ ครรภ์แลว้ (=0 ราย)

ร้อยละของ รพ.สต.ทีม่ กี ารใช้
ยาปฏชิ วี นะในโรค RI และ
AD ไม่เกนิ 20 % (≥60%)

จากตารางที่ 2 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ขั้นที่ 2 ปีงบประมาณ 2563 พบว่า
โรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์ RDU ขั้นที่ 2 ได้แก่ โรงพยาบาลด่านช้าง โรงพยาบาลบางปลาม้า โรงพยาบาลศรี
ประจันต์ โรงพยาบาลดอนเจดีย์ และโรงพยาบาลหนองหญ้าไซ ซึ่งคดิ เปน็ ร้อยละ 50 (เป้าหมายร้อยละ 50
ขึ้นไป) โดยตัวชี้วัดที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์มากที่สุด คือ ร้อยละของการใช้ยาปฏิชีวนะใน 4 กลุ่มโรค ได้แก่
บาดแผลสดจากอุบัติเหตุ โรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบ โรคอุจจาระร่วง
เฉียบพลัน และหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด ส่วนตัวชี้วัดสำหรับ รพ.สต. พบว่ามีการใช้ยา
ปฏิชวี นะในโรค RI และ AD ไม่เกนิ รอ้ ยละ 20 ทุกแห่ง คิดเปน็ ร้อยละ 100 (เป้าหมายรอ้ ยละ 60 ข้ึนไป)

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 155


บทท่ี 3 Service Excellence

ตารางท่ี 3 แสดงผลการดำเนินงานตามตวั ช้ีวดั RDU ข้ันที่ 3 (ข้อมูลวนั ที่ 1 ต.ค. 2562 – 30 ก.ย. 2563)

ตัวชี้ ผลงาน
วัดท่ี
ช่อื ตวั ชวี้ ัดและเป้าหมาย ยมราช สังฆราช อทู่ อง ด่านชา้ ง เดมิ บาง บาง ศรี ดอน สามชกุ หนอง
นางบวช ปลาม้า ประจันต์ เจดีย์ หญา้ ไซ

6 ร้อยละการใชย้ าปฏชิ วี นะใน 40.87 20.38 19.51 17.03 20.17 18.16 15.88 17.22 18.96 15.73

โรค RI (≤20%) ไม่ผ่าน ไม่ผา่ น ผ่าน ผ่าน ไม่ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผา่ น

7 ร้อยละการใช้ยาในปฏิชีวนะ 34.48 18.97 19.97 7.54 20.22 15.16 17.99 14.17 16.69 14.51

ในโรค AD (≤20%) ไมผ่ ่าน ผา่ น ผา่ น ผา่ น ไม่ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น

8 ร้อยละการใช้ยาปฏชิ ีวนะใน 57.94 56.49 62.30 39.22 51.95 49.56 35.56 37.65 35.27 36.05

บาดแผลสดจากอบุ ัติเหตุ ไม่ผา่ น ไมผ่ า่ น ไม่ผ่าน ผา่ น ไมผ่ ่าน ไม่ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน

(≤40%)

9 ร้อยละการใชย้ าปฏชิ วี นะใน 13.76 21.67 3.70 3.03 3.05 0 3.19 3.51 21.36 6.67

หญงิ คลอดปกติครบกำหนด ไมผ่ ่าน ไมผ่ า่ น ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ไมผ่ า่ น ผา่ น

ทางชอ่ งคลอด (≤10%)

10 รอ้ ยละของผ้ปู ว่ ยความดัน 0.29 0 0.01 0 0 0 0 00 0

โลหติ สงู ท่ใี ชย้ ากลุม่ RAS ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผา่ น

blockade 2 ชนดิ ร่วมกัน

(=0%)

12 รอ้ ยละของผปู้ ่วยเบาหวานท่ี 69.01 86.60 80.21 85.67 100 80.15 84.57 81.08 78.64 81.63

ใช้ยา Metformin เปน็ ยา ไม่ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผา่ น

ชนิดเดียวหรือรว่ ม (≥80%)

13 ร้อยละของผูป้ ว่ ยนอกท่มี ีการ 0.25 0.46 0.16 0.52 0.29 0.05 0.21 0 0.01 0.22

ใชย้ า NSAID ซ้ำซอ้ น (≤5%) ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผ่าน

15 รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยโรคหดื 61.93 53.45 64.46 84.06 67.49 74.94 77.53 81.88 73.58 83.33

เร้อื รงั ทีไ่ ด้รับยา Inhaled ไม่ผ่าน ไมผ่ า่ น ไมผ่ า่ น ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไมผ่ า่ น ผา่ น ไมผ่ า่ น ผา่ น

corticosteroid (≥80%)

16 รอ้ ยละผูป้ ่วยนอกสงู อายุ 0.70 0.96 0.16 0.24 4.05 0.21 0 0.75 1.77 0.23

ท่ใี ชย้ ากลุม่ Long acting ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น

benzodiazepine (≤5%)

18 ร้อยละของผู้ป่วยเดก็ โรค RI 35.81 35.10 14.23 6.07 6.08 3.15 5.01 11.71 11.91 14.34

และไดร้ ับยา Non-sedating ไม่ผา่ น ไมผ่ ่าน ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผ่าน

antihistamine (≤20%)

ร้อยละของ รพ.สต.ท่ีมกี ารใช้ 100 100 100 100 100 100 92.86 100 100 100

ยาปฏิชีวนะในโรค RI และ ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน

AD ไมเ่ กิน % (≥80%)

จากตารางที่ 3 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ขั้นที่ 3 ปีงบประมาณ 2563 พบว่า

โรงพยาบาลท่ผี ่านเกณฑ์ RDU ข้ันที่ 3 ได้แก่ โรงพยาบาลด่านชา้ ง โรงพยาบาลดอนเจดยี ์ และโรงพยาบาล

หนองหญ้าไซ ซึง่ คิดเปน็ ร้อยละ 30 (เปา้ หมายร้อยละ 20 ขึน้ ไป) โดยตัวช้ีวัดทยี่ งั ไม่ผา่ นเกณฑ์มากท่ีสุด คือ

ร้อยละของผู้ป่วยโรคหดื เรื้อรังที่ได้รับยา Inhaled corticosteroid และร้อยละของการใช้ยาปฏิชีวนะใน 3

กลุ่มโรค ได้แก่ บาดแผลสดจากอุบัติเหตุ โรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบ และ

หญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด ส่วนตัวชี้วัดสำหรับ รพ.สต. พบว่ามีการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค RI

และ AD ไมเ่ กนิ ร้อยละ 20 ทุกแห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 (เปา้ หมายร้อยละ 80 ขึน้ ไป)

156 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


Service Excellence บบทททที่ 3ี่ 1

ตารางที่ 4 แสดงผลการดำเนินงานตามตวั ชีว้ ัด RDU ข้ันท่ี 1-3 (ข้อมูลวันท่ี 1 ต.ค. 2562–30 ก.ย. 2563)

ตัวช้ี ผลงาน
วดั ที่
ช่ือตัวชวี้ ดั และเป้าหมาย ยมราช สงั ฆราช อ่ทู อง ดา่ นช้าง เดมิ บาง บาง ศรี ดอน สามชกุ หนอง
99.96 นางบวช ปลามา้ ประจนั ต์ เจดีย์ หญ้าไซ
ผา่ น 88.92
1 รอ้ ยละของรายการยาที่สง่ั ใช้ ผา่ น 89.92 94.52 91.53 92.96 91.57 91.29 99.08 98.55
ยาในบญั ชียาหลักแหง่ ชาติ 4
(A≥75%, M1-M2≥85%, ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น
F1-F3≥90%)
3 3 3334 3 33 3
2 ประสทิ ธิผลการดำเนนิ งาน ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผา่ น
ของคณะกรรมการ PTC 0
(ระดับ 3) ผา่ น 4 4444 4 43 4
3 ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น
3 การดำเนนิ งานในการจดั ทำ ผ่าน 0 0000 0 00 0
ฉลากยามาตรฐาน (ระดับ 3) 40.87 ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผ่าน
ไมผ่ า่ น 3 3333 3 33 3
4 รายการยาท่ีควรตัดออก 8 ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผา่ น
รายการ (ไมเ่ กนิ 1 รายการ) 34.48 20.38 19.51 17.03 20.17 18.16 15.88 17.22 18.96 15.73
ไมผ่ ่าน ไม่ผา่ น ผา่ น ผา่ น ไม่ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผ่าน
5 การดำเนนิ การเพอื่ ส่งเสริม 57.94
จริยธรรม (ระดับ 3) ไม่ผ่าน 18.97 19.97 7.54 20.22 15.16 17.99 14.17 16.69 14.51
ผ่าน ผ่าน ผ่าน ไม่ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผา่ น
6 ร้อยละการใช้ยาปฏิชวี นะใน 13.76 56.49 62.30 39.22 51.95 49.56 35.56 37.65 35.27 36.05
โรค RI (A,S,M1-M2≤30%, ผ่าน ไม่ผา่ น ไมผ่ า่ น ผ่าน ไม่ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผ่าน
F1-F3≤20%)
0.29 21.67 3.70 3.03 3.05 0 3.19 3.51 21.36 6.67
7 ร้อยละการใช้ยาในปฏิชีวนะ ไมผ่ ่าน ไมผ่ า่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผา่ น
ในโรค AD (≤20%)
0 0 0.01 0 0 0 0 00 0
8 รอ้ ยละการใช้ยาปฏชิ ีวนะใน ผ่าน ผา่ น ไม่ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผ่าน
บาดแผลสดจากอุบตั เิ หตุ
(≤50%) 69.01 0 0000 0 00 0
ไมผ่ า่ น
9 รอ้ ยละการใช้ยาปฏชิ วี นะใน ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผ่าน
หญงิ คลอดปกติครบกำหนด 0.25
ทางชอ่ งคลอด (≤15%) ผ่าน 86.60 80.21 85.67 100 80.15 84.57 81.08 78.64 81.63
0.15 ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผา่ น ไม่ผา่ น ผ่าน
10 รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยความดนั
โลหติ สงู ทใ่ี ชย้ ากลุ่ม RAS ผ่าน 0.46 0.16 0.52 0.29 0.05 0.21 0 0.01 0.22
blockade 2 ชนิดร่วมกัน ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผ่าน
(=0%) 2.00 0.53 0.17 1.47 1.66 1.58 1.52 0.63 2.97

11 ร้อยละของผู้ปว่ ยท่ใี ช้ ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผา่ น
glibenclamide ทีม่ อี ายุ
≥65 ปหี รอื มeี GFR ≤60
ml/min/๑.๗๓m2 (≤5%)

12 รอ้ ยละของผู้ปว่ ยเบาหวานท่ี
ใชย้ า Metformin เปน็ ยา
ชนดิ เดียวหรือรว่ ม (≥80%)

13 ร้อยละของผปู้ ว่ ยนอกทมี่ กี าร
ใชย้ า NSAID ซ้ำซอ้ น (≤5%)

14 ร้อยละของผ้ปู ว่ ยโรคไต

เรอ้ื รังระดับ 3 ขึน้ ไปทไี่ ด้รบั

ยา NSAIDs (≤10%)

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 157


บทที่ 3 Service Excellence

ตวั ชี้ ผลงาน
วดั ท่ี
ชื่อตัวชวี้ ดั และเปา้ หมาย ยมราช สังฆราช อทู่ อง ด่านชา้ ง เดมิ บาง บาง ศรี ดอน สามชกุ หนอง
นางบวช ปลาม้า ประจนั ต์ เจดีย์ หญ้าไซ

15 ร้อยละของผปู้ ว่ ยโรคหืด 61.93 53.45 64.46 84.06 67.49 74.94 77.53 81.88 73.58 83.33
เรื้อรังทีไ่ ด้รับยา Inhaled
corticosteroid (≥80%) ไม่ผา่ น ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผา่ น ไม่ผา่ น ไม่ผา่ น ผา่ น ไม่ผา่ น ผ่าน

16 ร้อยละผ้ปู ่วยนอกสูงอายุ 0.70 0.96 0.16 0.24 4.05 0.21 0 0.75 1.77 0.23
ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน
ทใ่ี ชย้ ากลมุ่ Long acting 0 00 0
benzodiazepine (≤5%) ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผ่าน ผา่ น

17 จำนวนสตรีต้ังครรภ์ท่ีไดร้ ับ 1 0 0000 5.01 11.71 11.91 14.34
ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผ่าน
ยาท่ีห้ามใช้ ได้แก่ warfarin, ไมผ่ ่าน ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผ่าน

statins, ergots เมือ่ รวู้ า่

ต้งั ครรภ์แลว้ (=0 ราย)

18 รอ้ ยละของผปู้ ่วยเด็กโรค RI 35.81 35.10 14.23 6.07 6.08 3.15

และได้รับยา Non-sedating ไมผ่ า่ น ไม่ผา่ น ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น

antihistamine (≤20%)

รอ้ ยละของ รพ.สต.ที่มีการใช้ 100 100 100 100 100 100 92.86 100 100 100
ยาปฏชิ วี นะในโรค RI และ ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผ่าน
AD ไม่เกิน % (≥80%)

จากตารางที่ 4 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ขั้นที่ 1 ปีงบประมาณ 2563 พบว่า ใน
ภาพรวมของจงั หวัดสุพรรณบุรีมีโรงพยาบาลทผ่ี ่านเกณฑ์ RDU ขนั้ ที่ 1 คิดเป็นรอ้ ยละ 100 (เป้าหมาย
รอ้ ยละ 100) ผลการดำเนนิ งานตามตวั ชว้ี ัด RDU ขัน้ ที่ 2 พบวา่ โรงพยาบาลท่ีผ่านเกณฑ์ RDU ข้ัน
ที่ 2 ได้แก่ โรงพยาบาลด่านช้าง โรงพยาบาลบางปลาม้า โรงพยาบาลศรีประจันต์ โรงพยาบาลดอน
เจดีย์ และโรงพยาบาลหนอง หญ้าไซ คิดเป็นร้อยละ 50 (เป้าหมายร้อยละ 50 ขึ้นไป) โดยตัวชี้วดั ท่ี
ยังไม่ผ่านเกณฑ์มากที่สุด คือ ร้อยละของการใช้ยาปฏิชีวนะใน 4 กลุ่มโรค ได้แก่ บาดแผลสดจาก
อุบัติเหตุ โรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบ โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน และ
หญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ขั้นที่ 3 พบว่า
โรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์ RDU ขั้นที่ 3 ได้แก่ โรงพยาบาลด่านช้าง โรงพยาบาลดอนเจดีย์ และ
โรงพยาบาลหนองหญ้าไซ คิดเป็นร้อยละ 30 (เป้าหมายร้อยละ 20 ขึ้นไป) โดยตัวชี้วัดที่ยังไม่ผ่าน
เกณฑ์มากที่สุด คือ ร้อยละของผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรังที่ได้รับยา Inhaled corticosteroid และร้อยละ
ของการใช้ยาปฏิชีวนะใน 3 กลุ่มโรค ได้แก่ บาดแผลสดจากอุบัติเหตุ โรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจ

158 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


Service Excellence บบทททท่ี 3ี่ 1

ชว่ งบนและหลอดลมอกั เสบ โรคอจุ จาระรว่ งเฉียบพลนั และหญงิ คลอดปกตคิ รบกำหนดทางชอ่ งคลอด
ส่วนตัวชี้วัดสำหรับ รพ.สต. พบว่ามีการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค RI และ AD ไม่เกินร้อยละ 20 ทุกแห่ง
คิดเป็นรอ้ ยละ 100 (เปา้ หมายรอ้ ยละ 80 ข้ึนไป)

2.2 ตัวชว้ี ดั การดำเนนิ งานการใชย้ าอย่างสมเหตุผลและปลอดภัยในชุมชน (RDU in community)
เป้าหมาย จังหวัดมีการดำเนินงาน RDU in community อย่างน้อย 1 อำเภอ และผ่าน

เกณฑ์ ระดับ 3 โดยเกณฑ์ระดับ 1 คือ มีการออกแบบระบบบริหารจัดการ และทุกโรงพยาบาล
สมัครใจดำเนินการ Proactive Hospital based Surveillance ระดับ 2 คือ ผ่านเกณฑ์ระดับ 1
และดำเนินการกิจกรรมหลัก Active Community based Surveillance และระดับ 3 คือ ผ่าน
เกณฑร์ ะดบั 1 และดำเนินการกิจกรรมหลกั Community participation

ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2563 พบว่า จังหวัดสุพรรณบุรมี ีการดำเนินงาน RDU in
community ทุกอำเภอ อำเภอละ 1 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบล โดยมกี ิจกรรมดงั ต่อไปนี้

1. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาในโรงพยาบาล 10 แห่ง และโรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตำบลในเครอื ข่ายทั้งหมด

2. ดำเนนิ การเฝ้าระวังความปลอดภยั ด้านยาเชงิ รุกในชุมชน 10 อำเภอ 10 โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตำบล โดยการเยี่ยมบ้านด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเฝ้าระวังการปลอมปนส
เตียรอยดใ์ นผลติ ภณั ฑ์สมุนไพรในครวั เรอื น

3. ดำเนนิ การส่งเสริมการใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ลในภาคเอกชน โดยการออกตรวจและใหค้ ำแนะนำ
เชิงบวกเร่ืองการจำหน่ายยาและผลิตภัณฑส์ ุขภาพท่ีถกู ต้องในร้านชำ ในพื้นที่ 10 อำเภอ 10
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

2.3 ตัวช้วี ัด ร้อยละของโรงพยาบาลที่มรี ะบบจดั การการดอ้ื ยาตา้ นจลุ ชพี อยา่ งบรู ณาการ (AMR)
เป้าหมาย การจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) อย่างบูรณาการ ระดับ Intermediate ถึง

Advance ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 (ระดับคะแนน 250 – 350) ผลการประเมินตนเองและแก้ไขปัญหา
ตามคำแนะนำจากทีมตรวจราชการในรอบที่ 1 ไตรมาสท่ี 1 ปี 2563 พบว่า

1. โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช ได้คะแนน 353 คะแนน อยใู่ นระดับ Advance
2. โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสังฆราช องคท์ ่ี 17 ได้คะแนน 355 คะแนน อยูใ่ นระดบั Advance
ซงึ่ ทำใหผ้ ลการดำเนินงานการจดั การเชื้อด้อื ยาต้านจลุ ชีพ (AMR) อยา่ งบูรณาการในจังหวดั สุพรรณบุรีอยู่ใน
ระดบั Intermediate ถงึ Advance เทา่ กับรอ้ ยละ 100
เป้าหมาย อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดลดลงร้อยละ 7.5 จากปีปฏิทิน 61 ผลการ
ดำเนินงาน พบว่า โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช มีอัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดเพิ่มขึ้นร้อย
ละ 9.16 และโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 มีอัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 159


บทท่ี 3 Service Excellence

เพิ่มขึ้นร้อยละ 56.05 โดยภาพรวมอัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดในจังหวัดสุพรรณบุรีเพิ่มข้ึน
ร้อยละ 26.45 จากปีปฏิทนิ 61

ตารางที่ 5 แสดงผลการดำเนินงาน RDU และ AMR ย้อนหลงั ตั้งแต่ ปีงบประมาณ 2560 - 2563

ตัวชว้ี ัด ปีงบประมาณ ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ
2560 2561 2562 2563

RDU ข้ันท่ี 1 รอ้ ยละ 100 ร้อยละ 100 รอ้ ยละ 100 ร้อยละ 100

RDU ขั้นท่ี 2 ร้อยละ 10 ร้อยละ 40 ร้อยละ 50

RDU ขน้ั ที่ 3 รอ้ ยละ 10 รอ้ ยละ 30

โรงพยาบาลมรี ะบบการจดั การ AMR อยา่ ง รอ้ ยละ 50 รอ้ ยละ 50 รอ้ ยละ 100
บูรณาการ ระดบั Intermediate ขึ้นไป

อัตราการตดิ โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช 4.01 3.82 3.96 9.16

เชอ้ื ดอ้ื ยาใน โรงพยาบาลสมเดจ็ 3.93 2.29 3.11 56.05
กระแสเลอื ด พระสงั ฆราช องค์ท่ี 17

ผลการดำเนินงาน RDU และ AMR ปีงบประมาณ 2563 พบว่า ตัวชี้วัดที่มีแนวโน้มดีขึ้นเม่อื
เปรียบเทียบกับปีบประมาณ 2562 ได้แก่ ตัวชี้วัดร้อยละของโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์ RDU ขั้นที่ 2
เพิ่มขึ้นจาก 4 โรงพยาบาล (ร้อยละ 40) เป็น 5 โรงพยาบาล (ร้อยละ 50) ร้อยละของโรงพยาบาลที่
ผ่านเกณฑ์ RDU ขั้นที่ 3 เพิ่มขึ้นจาก 1 โรงพยาบาล (ร้อยละ 10) เป็น 3 โรงพยาบาล (ร้อยละ 30)
และรอ้ ยละของโรงพยาบาลท่ีมกี ารจดั การ AMR อยา่ งบูรณาการระดับ Intermediate ขึ้นไป เพิ่มขึ้น
จาก 1 โรงพยาบาล (ร้อยละ 50) เป็น 2 โรงพยาบาล (ร้อยละ 100) โดยโรงพยาบาลทั้ง 2 แห่ง
สามารถทดสอบความไวของเช้อื ดอ้ื ยา 8 ชนิด ได้ตามมาตรฐานทางหอ้ งปฏิบตั ิการ

3. ปัญหา/อปุ สรรคและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน

3.1 ปญั หา/อปุ สรรคในการดำเนนิ งาน

1. การดำเนินงาน RDU และ AMR ในโรงพยาบาลหลายแห่งยังขาดการผลักดันเชิงนโยบายที่จริงจัง
จากคณะกรรมการบริหารของโรงพยาบาล

2. แพทย์ผ้สู ั่งใชย้ ายงั ขาดความตระหนักในการส่งั ใช้ยาตามแนวทางการใช้ยาอย่างสมเหตผุ ล

3. เภสัชกรยังขาดการกำกับติดตามการสั่งใช้ยาของแพทย์อย่างสม่ำเสมอ และยังขาดการสะท้อน
ข้อมลู ผลการดำเนนิ งานกลับไปยังผบู้ รหิ าร องค์กรแพทย์ และผู้ท่ีเก่ยี วข้องไดร้ ับทราบ

4. โปรแกรม RDU 2016 ซง่ึ ใช้ในการรวบรวมข้อมูลผลการดำเนินงาน RDU ยงั มีข้อจำกดั ในการใช้
งาน จงึ มคี วามจำเป็นต้องใชอ้ ัตรากำลงั คนเพิ่มขน้ึ เพ่ือตรวจสอบข้อมลู ซำ้

160 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


Service Excellence บบทททที่ 3่ี 1

5. การดำเนินงาน AMR ในโรงพยาบาลยังขาดการสนับสนุนงบลงทุนด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ เตียง
ผปู้ ว่ ย หอ้ งแยกโรคและอาคาร เพื่อรองรบั จำนวนผู้ปว่ ยทเี่ พ่ิมขึ้นและลดความแออัดของเตียง
ผูป้ ว่ ยตามมาตรฐานสากล

3.2 ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน

1. ควรสรุปขอ้ มูลผลการดำเนินงาน RDU และสะท้อนข้อมูลรายตัวชี้วดั ให้ผูบ้ รหิ ารโรงพยาบาล
องคก์ รแพทย์ และผู้ที่เกย่ี วข้องรบั ทราบเป็นประจำทุกเดอื น

2. ควรจัดอบรมให้ความรูเ้ ก่ียวกับแนวทางการใชย้ าอยา่ งสมเหตุผลให้แก่แพทย์เพ่ิมพูนทักษะทุก

ร่นุ กอ่ นเรมิ่ ปฏิบตั งิ านในโรงพยาบาล และจัดให้มีการอบรมทบทวนแนวทางการใช้ยาอย่างสม

เหตุผลให้ บุคลกรทางการแพทย์ทกุ คนในโรงพยาบาลทราบอยา่ งสมำ่ เสมอ

3. ควรพัฒนาโปรแกรม RDU 2016 เนื่องจากโปรแกรมยังมีข้อจำกัดในการกรองข้อมูลผลการ
ดำเนินงานรายตัวชี้วัดให้ถูกต้องแม่นยำและสอดคล้องกับการปฏิบัติงานของบุคลากรใน
โรงพยาบาล

4. ควรสนับสนนุ อัตรากำลังบุคลากร ได้แก่ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ และนักเทคนิคการแพทย์
ตามกรอบอัตรากำลัง FTE เพื่อรองรับการปฏิบัติงานด้านการกำกับติดตามการดำเนินงาน
RDU และ AMR ในโรงพยาบาลอย่างมีประสิทธภิ าพ

5. ควรเพิ่มงบลงทุนด้านสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล ได้แก่ การจัดหาเตียงผู้ป่วย ห้องแยกโรค
และอาคารให้เพียงพอ เพื่อแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาลซึ่งมีผลต่อการจัดการ
การด้ือยาตา้ นจลุ ชพี ในระยะยาว

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 161


บทที่ 3 PP&P Excellence

สรุปการดำเนนิ งานกลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพและรปู แบบบรกิ าร ปีงบประมาณ 2563
1.โครงการราชทัณฑ์ ปนั สุข ทำความดี เพอ่ื ชาติ ศาสน์ กษัตริย์

1. สถานการณ์

เรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี มีผู้ต้องขัง ชาย 3,331 ราย หญิง 498 ราย รวมทั้งหมด 3,829 คน
มีพยาบาลเวชปฏิบัติ 3 ราย มีอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจำ ชาย 93 ราย หญิง 46 ราย รวม 139
ราย มีโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราชเป็นโรงพยาบาลแม่ข่าย มีการแต่งตั้งคณะกรรมการและ
คณะทำงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรอื นจำ จังหวัดสุพรรณบุรี ที่ 4663/2562
ลงวันท่ี 6 ธันวาคม 2562 โดยมีผูว้ ่าราชการจังหวัดสพุ รรณบรุ ีเป็นประธาน ภายใต้โครงการราชทณั ฑ์
ปันสุข ทำความดเี พอื่ ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ตามคู่มอื แนวทางการพฒั นาระบบบริการสาธารณสุขสำหรับ
ผตู้ ้องขังในเรอื นจำ ครบ 6 ด้าน
2. มาตรการ/แผนการ/กจิ กรรมการดำเนินงาน ปี 2563

มาตรการ
1.พฒั นารูปแบบการให้บรกิ ารปฐมภูมิ
2.พฒั นาอาสาสมัครสาธารณสุขในเรอื นจำ
3.การจัดระบบบรกิ ารสนบั สนุนในเรอื นจำ
4.กำกบั ติดตามผลการดำเนินงาน

แผนงาน/กิจกรรมการดำเนนิ งาน ปี 2563

1. จดั ทำคำส่งั คณะกรรมการและคณะทำงานพฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพสำหรบั ผ้ตู ้องขังใน

เรือนจำ จังหวัดสุพรรณบุรี

2. ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพสำหรับผตู้ อ้ งขังในเรอื นจำ ระดับจังหวดั

วนั ท่ี 18 พฤศจิกายน 2562 ณ เรอื นจำจังหวดั สุพรรณบุรี

3. ประชมุ คณะทำงานพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ วนั ที่ 17

มิถุนายน 2563 ณ หอ้ งการบูร 1 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี

4. จัดทำแผนบูรณาการรว่ มกัน สสจ./เรือนจำ/รพ.เจา้ พระยายมราช

5. จดั ระบบบรกิ ารสขุ ภาพสำหรบั ผูต้ อ้ งขังในเรือนจำ ตามเกณฑ์ 6 ด้าน โดยโรงพยาบาลแม่

ขา่ ย

6. ติดตามสรปุ ผลการดำเนนิ งาน

162 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 3่ี 1

3. ผลการดำเนินงานการจัดบริการขนั้ พ้นื ฐาน 6 ด้าน

1. ดา้ นการรกั ษาพยาบาล
1.1 ใหบ้ ริการตรวจรักษาตามเวชปฏบิ ตั ิ (แพทย์) สถานพยาบาลทมี่ ีผูต้ อ้ งขังระหวา่ ง 1,250ถึง
4,000คน 6 ชม./สัปดาห์ เขา้ ตรวจทุกวันศกุ ร์
1.2 ให้บริการตรวจรักษาตามเวชปฏิบัติ (พยาบาล) 15,056 คร้ัง
1.3 กรณอี บุ ัตเิ หตุฉุกเฉินมีพยาบาลเวชปฏบิ ตั ิ 40 คร้ัง
1.4 ใหค้ ำปรกึ ษาและจติ บำบัด(นักจิตวทิ ยา) 312 ราย
1.5 ใหบ้ รกิ ารตรวจรักษาและใหค้ ำปรึกษาทาง Video-Conference ทัง้ ในรายปกตแิ ละกรณี
ฉุกเฉิน

2. ดา้ นบริการพน้ื ฐานงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกนั โรค
2.1 กล่มุ หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด
-บรกิ ารฝากครรภ*์ กรณีมี case (ตามเกณฑ์ท่ีกรมอนามัยกำหนด) 69 ราย
-บรกิ ารดูแลตรวจหลังคลอด 69 ราย
2.2 กลุ่มเด็ก0-3ปี*กรณีมี case
-บริการวคั ซีนแก่เดก็ 17 ราย
2.3 กลุ่มอายุ 18-59 ข้ึนไป
-บริการตรวจคดั กรองและให้การรกั ษาโรคตดิ ต่อทว่ั ไป/ไม่ติดต่อ อายุ 35 ปี ข้นึ
ไป (1,671ราย) คัดกรองได้ 1, 260 ราย รอ้ ยละ 75.40
- คดั กรอง TB ทุกราย จำนวน 3,203 ราย ผิดปกติ 226 ราย วนิ ิจฉัยเป็น TB 27 ราย
ไดร้ บั การรักษาแลว้
-บริการวคั ซีนตามโปรแกรมเสริมสรา้ งภูมคิ ุม้ กนั
การไดร้ บั วัคซีน
- ไดร้ บั DT (ผู้ต้องขัง กลุ่มอายุ 20,30,40,50,60 ป)ี ดำเนนิ งาน 412 ราย
- ได้รบั MR (ผตู้ ้องขัง กล่มุ 20-40 ป)ี ดำเนินงาน 2,800 ราย
- วัคซีนไข้หวดั ใหญ่ จนท. 96 ราย
- วัคซนี ไขห้ วัดใหญ่จาก สปสช.ดำเนนิ การผ้ตู ้องขัง 2,854 ราย โดยเรือนจำ

การควบคุมโรค HIV

- บริการปรึกษา และให้ความรู้เกี่ยวกับ HIV ตรวจหาเชื้อเอดส์ด้วยความสมัครใจรวมทั้ง
สนับสนุนอุปกรณ์ในการป้องกันโรค เช่น ถุงยางอนามัย สารหล่อลื่น เจาะเลือดทั้งหมด 374 ราย (ชาย 316
ราย,หญิง 58 ราย) พบ HIV+ 10 ราย (ชาย8รายหญิง 2ราย) รับการรักษาแล้ว VDRL 2 ราย (ชาย1
หญิง 1) รบั รักษาแลว้ ใหค้ ำปรกึ ษา HIV 6 ราย สนบั สนนุ ถุงยาง จาก สสจ./รพศ. 33,000 ช้ิน

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 163


บทที่ 3 PP&P Excellence

- ใหบ้ ริการทนั ตกรรมสง่ เสรมิ ปอ้ งกนั โรค รับการตรวจ 577 ราย ถอนฟนั 529 ราย/รพศ.
- คดั กรองมะเร็งปากมดลุกอายุ 30-60 ปี เป้าหมาย 300 ราย คดั กรองได้ 202 ราย
รอ้ ยละ67.33 ผลผดิ ปกติ 13 ราย รักษาทุกราย
- คดั กรองมะเร็งเตา้ นม 30-70 ปี เป้าหมาย 375 ราย คดั กรองได้ 202 ราย รอ้ ยละ 53.86

2.4 กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป

- บริการวัคซีนตามโปรแกรมสรา้ งเสรมิ ภูมิคมุ้ กันโรค ให้วคั ซนี ไข้หวัดใหญ่ จำนวน 92 ราย

3. ดา้ นงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพจิต

3.1 บรกิ ารคดั กรองความเส่ียงจากการสบู บหุ รี่ ดื่มแอลกอฮอล์ สารเสพติด เรอื นจำเปน็
เขตปลอดบุหร่ี 100%

3.2 ตรวจคดั กรองสขุ ภาพจิต (PMHQ-Thai)
3.3 บริการให้คำปรึกษา และบำบัดรกั ษา แก่ผ้ตู อ้ งขงั ที่มภี าวะเครยี ด/ซึมเศรา้ รวมถึงการ

เจบ็ ป่วยทางจติ เวช (นักจติ วิทยา/พยาบาล/แพทย์ ใหบ้ ริการปรึกษา 312 ราย ปรึกษาราย
Case ทางโทรศัพท์ 27 ราย

4. ดา้ นการฟน้ื ฟสู มรรถภาพ

4.1 จัดบริการฟน้ื ฟูสมรรถภาพผู้ตอ้ งขัง ตามความเหมาะสม จำนวน 1,248 คน/ปี
4.2 ให้บรกิ ารให้คำปรึกษาและกายภาพบำบดั /กจิ กรรมบำบัด จำนวน 108 คน/ปี

5. ด้านการสง่ ตอ่ เพ่ือการรักษา

5.1 มรี ะบบการสง่ ตอ่ ท้งั ทางกายและทางจิต ครอบคลุมถึงการสง่ ต่อประวัติการรกั ษา
ให้บริการ 312 รายมีการปรึกษาราย Case ทางโทรศัพท์ 27 ราย

5.2 มีระบบบริการดา้ นการแพทยฉ์ ุกเฉนิ เพื่อเตรียมสง่ ตอ่ ผูต้ อ้ งขังป่วยไปรบั การรักษา
นอกเรือนจำ ในกรณีฉกุ เฉิน สง่ ตอ่ โดยมีการประสานระบบ 1669 จำนวน 40 ราย

6. ดา้ นการตรวจสอบสทิ ธิ

6.1 มีระบบการให้คำปรึกษาการย้ายสทิ ธ์ิ เปลยี่ นสทิ ธิก์ ารรักษาพยาบาล การเพิกถอน ทุกวัน
6.2มีระบบการลงทะเบียนสิทธิ์ UC 3,237 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 97.41 ณ วนั ท่ี 31 ธ.ค. 63

164 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 3่ี 1

4. ตัวชี้วดั ระดบั ความสำเร็จในการดำเนนิ งานโครงการราชทณั ฑ์ ปนั สุข ทำความดี เพอ่ื ชาติ ศาสน์ กษัตริย์

ระดบั การดำเนนิ งาน ผลการดำเนนิ งาน

1 แต่งตั้งคณะกรรมการตามโครงการ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการและคณะทำงาน

ราชทณั ฑ์ ปนั สุข ทำความดี เพ่อื ชาติ พฒั นาระบบบริการสุขภาพสำหรบั ผู้ตอ้ งขัง

ศาสน์ กษัตรยิ ์ ในเรือนจำจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ท่ี 4663/2562

ลงวันที่ 6 ธันวาคม 2562

2 สสจ./รพ.แม่ข่าย/เรือนจำทำแผนบูรณาการ คณะกรรมการ คณะทำงานและผู้เกยี่ วขอ้ ง

ร่วมกัน ไดจ้ ดั ประชมุ รว่ มกนั วันท่ี 18 พฤศจิกายน

2562 ณ ห้องประชมุ เรอื นจำจงั หวดั

สพุ รรณบรุ ี มีการจัดทำแผนบูรณาการ

รว่ มกันเรยี บร้อยแลว้

3 โรงพยาบาลแม่ข่ายมีการจัดระบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาล

สำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำได้ตามเกณฑ์ท่ี ศนู ยเ์ จ้าพระยายมราช และเรอื นจำ สามารถ

กำหนด ครบ 6 ด้าน จัดบรกิ ารครบตามเกณฑ์ทงั้ 6 ด้าน

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 165


บทท่ี 3 PP&P Excellence

2.งานการพฒั นาหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิและเครอื ขา่ ยหน่วยบริการปฐมภมู ิ
(PCU/NPCU) จงั หวัดสพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ 2563

1. สถานการณ์
จงั หวดั สพุ รรณบุรี มีประชากร จำนวน 653,357 คน (DB pop ณ วนั ที่ 15 พ.ย. 2562) มี 10 อำเภอ

และมหี นว่ ยบริการสาธารณสุขประกอบด้วยโรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 1 แห่ง โรงพยาบาลทัว่ ไป จำนวน
1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 8 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 174 แห่ง และ
ศูนยส์ ขุ ภาพชมุ ชนเมอื ง (ศสม.) จำนวน 3 แหง่

ปี 2563 ได้ขบั เคลื่อนนโยบายการพัฒนาระบบการแพทยป์ ฐมภูมิและพระราชบัญญัติระบบ
สุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 ซึ่งกำหนดให้จัดทำแผนขยายหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วย
บริการปฐมภูมิ เพื่อให้ครอบคลุมประชากร ร้อยละ 40 ในปี 2563 และให้ทบทวนแผนจัดตั้ง ระยะ
10 ปี (ปี 2563-2572) ตามเปา้ หมายทก่ี ระทรวงกำหนด

จังหวดั สพุ รรณบรุ ี มีการวางแผนจัดตัง้ หนว่ ยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐม
ภูมิ 10 ปี (ปี 2563-2572) จำนวน 70 ทีม ครอบคลุมประชากรทั้งหมด 653,357 คน โดยมีเป้าหมายเปิด
หนว่ ยบรกิ ารสะสม ปี 2563 จำนวน 33 ทีม คดิ เป็นร้อยละ 47.14 (เกณฑ์ ร้อยละ 25)

ตาราง แผนจัดต้ังหน่วยบริการปฐมภมู ิและเครือขา่ ยหนว่ ยบริการปฐมภมู ิ 10 ปี (ปี 2563-2572) จังหวดั
สุพรรณบุรี

อำเภอ ประชา ทมี เดมิ ทมี ใหม่ จำนวนทมี /ปี รวม
กร ปี 59- ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี (ทีม)
62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72
15
เมอื งฯ 138,984 4 2 2 1 1111110 6
52,697 5
เดมิ บางฯ 50,310 3 1 11 6
ด่านช้าง 57,256 5
บางปลามา้ 49,264 13 1 4
ศรปี ระจันต์ 36,172 11
ดอนเจดีย์ 98,118 321 4
สองพี่นอ้ ง 40,561 10
สามชุก 92,085 221 4
อทู่ อง 37,910
หนองหญ้า 2 11 70
ไรซวม 653,357
2 3 1 1 1111

22

1 3 2 22

2 11

8 25 11 9 7 4 2 2 1 1 0

จำนวนทีมสะสม 8 33 44 53 60 64 66 68 69 70

ร้อยละสะสม 11.42 47.14 62.86 75.71 85.71 91.42 94.28 97.0 98.57 100

ท่ีมา : ข้อมูลประชากร DB pop จาก HDC (type 1,3 ณ วันท่ี 15 พ.ย.62)

166 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 3ี่ 1

แผนขยายหน่วยบรกิ ารปฐมภมู แิ ละเครือขา่ ยหน่วยบรกิ ารปฐมภูมขิ องจงั หวัด ดแู ลประชาชนใน
เขตรับผิดชอบให้ครอบคลุม จำนวน 307,067 คน ร้อยละ 47 (เกณฑ์ร้อยละ 40) โดยแผนจัดตั้ง ใน
เขตอ.เมือง ซึ่งเป็นที่ตั้ง รพศ.เจ้าพระยายมราช ครอบคลุมประชากร จำนวน 55,793 คน ร้อยละ
40.14 อ.สองพ่ีนอ้ ง ทีต่ ง้ั รพท.สมเดจ็ พระสังฆราชองคท์ ่ี 17 ครอบคลุมประชากร จำนวน 43,932 คน รอ้ ย
ละ 44.77 รายละเอยี ดดังตาราง

ตาราง เป้าหมายขยายหนว่ ยบรกิ ารปฐมภูมิและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบริการปฐมภมู ิ ปี 2563 จังหวดั สพุ รรณบุรี

จำนวน จำนวนหนว่ ยบริการปฐม จำนวน ประชากร ปี 2563 ครอบคลมุ
อำเภอ ประชากร ภมู ิและเครอื ขา่ ยหน่วย ประชากร
ทีมเดิม ทีมใหม่
ท้ังหมด(คน) บรกิ ารปฐมภูมิ 2559 - 2562 2563 จำนวน ร้อยละ
ทีมเดิม ทีมใหม่
เมอื งสพุ รรณบรุ ี 138,984 2559 - 2562 2563 37,578 18,215 55,793 40.14
เดมิ บางนางบวช 52,697 12,408 23,758 23,758 45.08
ดา่ นช้าง 50,310 42 29,214 41,622 82.73
บางปลาม้า 57,256 3 18,658 28,929 28,929 50.53
ศรีประจนั ต์ 49,264 10,791 20,962 20,962 42.55
ดอนเจดีย์ 13 79,435 17,090 17,090 47.25
สองพนี่ ้อง 36,172 3 25,274 43,932 44.77
สามชกุ 98,118 2 20,891 20,891 51.51
อู่ทอง 40,561 2 26,637 37,428 40.65
หนองหญ้าไซ 92,085 16,662 16,662 43.95
37,910 23 227,632 307,06 47.00
รวม 653,357 2
7
13
2

8 25

ท่มี า : ขอ้ มูลประชากร DB pop จาก HDC (type 1,3 ณ วันที่ 15 พ.ย.62)
หมายเหตุ : อ.เมอื งสุพรรณบุรี ทต่ี ้ัง รพศ.เจ้าพระยายมราช และ

อ.สองพี่น้อง ทต่ี ั้ง รพท.สมเด็จพระสังฆราช องค์ท่ี 17

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 167


บทท่ี 3 PP&P Excellence

ตาราง คลนิ กิ หมอครอบครวั ทีผ่ า่ นเกณฑก์ ารขนึ้ ทะเบยี นและเปดิ ดำเนนิ การ ปี 2559-2562

ลำดบั ทมี คลินกิ หมอครอบครัว ลงทะเบยี น ผ่านเกณฑ์ System หมายเหตุ
Structure Staff

1 รพ.เจา้ พระยายมราช ทมี 1 2559 ✓ ✓ ✓ ประตูสาร

2 รพ.เจา้ พระยายมราช ทมี 2 2559 ✓ ✓ ✓ ปราสาททอง

3 รพ.เจา้ พระยายมราช ทีม 3 2559 ✓ ✓ ✓ สุวรรณภมู ิ

4 รพ.สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 2560 ✓ ✓ ✓ ชมุ ชนสองพี่น้อง

5 รพ.สต.สระแกว้ 2561 ✓ ✓ ✓

6 รพ.สต.ดอนคา 2562 ✓ ✓ ✓

7 สอน.บ่อสพุ รรณ 2562 ✓ ✓ ✓

8 รพ.สต.องค์พระ 2562 ✓ ✓ ✓

หมายเหตุ ใช้เกณฑ์การประเมินการจัดตงั้ คลินิกหมอครอบครัว (3S)

ตาราง แผนจดั ตั้งหนว่ ยบริการปฐมภูม/ิ เครือข่ายหนว่ ยบริการปฐมภมู ิพรอ้ มแพทยป์ ระจำ จงั หวัดสุพรรณบุรี ปี

2563

ประเภท สถานะ

ลำ อำเภอ PCU NPCU ทมี ประชากร แพทย์ อว อบรม Basic
ดับ ระยะ course

./วว. สน้ั

1 เมอื งฯ / รพ.เจา้ พระยายมราชทมี 1 8,539 นพ.ประกิต คลา้ ยสวุ รรณ รุ่น 11 /
2 เมอื งฯ / รพ.เจา้ พระยายมราชทีม 2 8,215 นพ.สมชาย หฤหรรวาษนิ รนุ่ 5 /
3 เมืองฯ / รพ.เจ้าพระยายมราชทีม 3 8,288 นพ.นิธิ ประจงการ รุ่น 1 √
4 เมืองฯ / รพ.สต.สระแกว้ 12536 นพ.สมยศ เฉินบำรงุ / √
5 เมืองฯ / / รพ.สต.สนามคลี 8896 พ.ญ.ธดิ าวรรณ สาลผี ล
6 เมืองฯ / รพ.สต.บา้ นโพธ์ิ 9319 พ.ญ.นนั ทรตั น์ มศี รสี ุข √ /
7 เดิมบางฯ / / รพ.สต.นางบวช 10682 พญ.นลนิ สัมบุณณะโชติ / /
8 เดมิ บางฯ / รพ.สต.บอ่ กรุ 8614 พญ.พัณณติ า ภาณปุ ระยรู
9 เดมิ บางฯ รพ.เดมิ บางนางบวช 4462 นายสมชาย เกาะคู รนุ่ 10
10 ด่านช้าง / รพ.สต.องค์พระ 12408 พญ.จิราพร พลาสโถ /
11 ด่านชา้ ง / รพ.สต.ทบั กระดาษ 10229 พญ.มะลสิ า ชนิ วงษ์ /
12 ดา่ นช้าง / รพ.สต.ทับผึ้งนอ้ ย 10650 นพ.เลก็ น้าประเสรฐิ /
13 ดา่ นชา้ ง / รพ.สต.หนองมะคา่ โมง 8335 นพ.เดชา พงษ์สพุ รรณ
14 บางปลาม้า / รพ.บางปลามา้ 8915 นพ.อนวัชช์ รกั ษว์ รรณวงศ์ /
15 บางปลามา้ / รพสต.บางปลาม้า 10585 นพ.ตะวนั เตยี วสกลุ
16 บางปลามา้ / รพ.สต.ไผ่กองดนิ 9429 นพ.ภานุพงศ์ ผลเพมิ่ พูลทวี /
17 ศรีประจนั ต์ / รพ.สต.มดแดง 10129 นพ.สธุ น ยวุ ศิรนิ นั ท์
18 ศรีประจนั ต์ / รพ.สต.ดอนปรู 10833 พญ.แสงอษุ า มารูปหมอก อว
19 ดอนเจดยี ์ รพ.ดอนเจดยี ์ 8484 นพ.พูนชยั อตยิ ศพงศ์

168 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 3ี่ 1

ประเภท สถานะ

ลำ อำเภอ PCU NPCU ทมี ประชากร แพทย์ อว อบรม Basic
ดับ ระยะ course

./วว. สน้ั

20 ดอนเจดยี ์ / รพ.สต.หนองสาหร่าย 8606 นพ.ชยั อานนั ท์ สุวรรณา /

21 สองพี่นอ้ ง / รพ.สมเดจ็ พระสงั ฆราชองค์ 8703 นพ.พรศกั ดิ์ ถริ ธนบูรณ์ อว. /
22 สองพนี่ อ้ ง / สทอี่ 1น7.บอ่ สพุ รรณ รนุ่ 1 /
23 สองพี่นอ้ ง 9955 นพ.อภิชาต วชริ ะปราการ รุ่น 7 /
/ รพ.สต.บา้ นไผโ่ รงวัว 8249 พนพงษ.จ์ ริ เมธ พรหมจิรโชติ 10

24 สองพน่ี อ้ ง / รพ.สต.บ้านลองตอง 8870 พญ.ชอ่ ทิพ เรอื งพรี ะกลุ รุน่ 13

25 สองพ่นี อ้ ง / รพ.สต.บา้ นกุ่ม 8155 นพ.ยทุ ธนา แดงตบ๊ิ รนุ่ 9

26 สามชกุ / รพ.สต.หนองผกั นาก 12066 พญ.จิตรานชุ กาฬภักดี

27 สามชุก / สอ.น.บ้านดอนไร่ 8825 นพ.อรรถพล บัวเอย่ี ม รุ่น 9

28 อทู่ อง / รพ.สต.ดอนคา 10791 พญ.สมพศิ จำปาเงนิ อว.

29 อู่ทอง / รพ.สต.บ้านจร้าใหม่ 6972 พญ.สนุ นั ทา จนิ ดารตั น์

30 อทู่ อง / รพ.สต.บ้านเขาทอก 9228 นพ.อำนวย ทองสมั ฤทธิ์ อว.

31 อทู่ อง / รพ.สต.หนองโอง่ 10437 นพ.ฐานัส ประภากรมโน

32 หนองหญ้า / รพ.หนองหญา้ ไซ 8233 พญ.ปนดั ดา ตปนยี วรวงค์ /
8 / รพ.สต.ทพั หลวง 8429 นพ.อศิ วร ดวงจนิ ดา อว.
33 ไหซนองหญ้า 25 307,067
ไรซวม

หมายเหตุ: อบรมหลกั สูตร Basic course ครง้ั ท1ี่ วันที่ 23-24 ก.ค.63 ครั้งท่ี 2 วันที่ 27-28 ส.ค.63

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 169


บทท่ี 3 PP&P Excellence

2.ขอ้ มลู ประกอบการวิเคราะห์

ตัวชีว้ ดั : กระทรวง

ตวั ชีว้ ดั : ร้อยละของหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิและเครอื ขา่ ยหน่วยบริการปฐมภมู ิท่ีเปดิ ดำเนินการในพ้ืนท่ี

ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปี ปงี บประมาณ 2563 ข้อมลู ณ 30 กนั ยายน
2563

2560 2561 เกณฑ์ อำเภอ เปา้ หมาย ผลงาน รอ้ ยละ/
2562 2563- อัตรา
2572

ระดบั ประเทศ ร้อย เมือง 15 6 40.00

9.17% 12.4% 18.14% ละ 25 เดิมบางนาง 6 3 50.00

บวช

เขต 5 ดา่ นชา้ ง 5 4 80.00

12.61% 17.03% 32.91% บางปลามา้ 6 3 50.00

จังหวดั สุพรรณบรุ ี ศรปี ระจนั ต์ 5 2 40.00

5.63% 7.04% 11.26% ดอนเจดยี ์ 4 2 50.00

ปงี บประมาณ 2563 สองพีน่ อ้ ง 11 5 45.45

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 สามชกุ 4 2 50.00

- 32.86% อทู่ อง 10 4 40.00

ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หนองหญ้าไซ 4 2 50.00

- 47.14 รวม 70 33 47.14

ตัวช้วี ดั : ร้อยละของประชาชนในอำเภอทเ่ี ปน็ ทตี่ ้งั ของ รพศ./รพท.มแี พทย์เวชศาสตรค์ รอบครัวดูแลฯ

ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปี ปงี บประมาณ 2563 ข้อมลู ณ 30 กันยายน
เกณฑ์
2563
2560 2561 2562
อำเภอ ประชากร ผลงาน ร้อยละ/
ทัง้ หมด อัตรา

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี รอ้ ย เมอื ง 138,984 55,793 40.00

- - - ละ 40 สองพน่ี อ้ ง 98,118 43,932 45.45

ปีงบประมาณ 2563 รวม 653357 99,725 42.06

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 เปน็ ตัวชว้ี ดั เร่มิ ปี 63

- 31.02%

ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

- 46.86%

170 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 3่ี 1

ตัวช้ีวัด : จังหวดั

ตวั ชว้ี ดั : รอ้ ยละของประชาชน มแี พทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดแู ลฯ

ขอ้ มลู ย้อนหลงั 3 ปี ปงี บประมาณ 2563 ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2563

2560 2561 2562 เกณฑ์ อำเภอ ประชากร ผลงาน ร้อยละ/
ทัง้ หมด อตั รา

ระดับประเทศ ร้อย เมอื ง 138,984 55,793 40.00

- - - ละ เดิมบางนางบวช 52,697 23,758 50.00
40 ด่านชา้ ง
เขต 5 50,310 40,779 81.05

- -- บางปลาม้า 57,256 28,929 50.00

จงั หวัดสพุ รรณบุรี ศรีประจนั ต์ 49,264 20,962 40.00

- -- ดอนเจดีย์ 36,172 17,090 50.00

ปงี บประมาณ 2563 สองพ่นี ้อง 98,118 43,932 45.45

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 สามชกุ 40,561 20,891 50.00

- 31.02% อูท่ อง 92,085 37,428 40.00

ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หนองหญา้ ไซ 37,910 16,662 50.00

- 46.86% รวม 653357 306,224 46.86

3.การดำเนินงาน/ผลการดำเนินงานตามมาตรการสำคญั
Small Success รอบ 12 เดือน – ประชากร ร้อยละ 40 มแี พทย์เวชศาสตร์ครอบรวั ดแู ลตามหลักเวชศาสตร์
ครอบครัว
ผลการดำเนนิ งานตามตัวช้วี ดั

1.รอ้ ยละ 25 ของหนว่ ยบรกิ ารปฐมภูมิและเครือขา่ ยหนว่ ยบริการปฐมภมู ทิ ่ีเปดิ ดำเนินการใน
พื้นที่ ผลงาน จำนวน 23 ทีม ร้อยละ 47.18

2.รอ้ ยละ 40 ของประชาชนในอำเภอทเี่ ปน็ ทีต่ ้งั ของ รพศ/รพท.มีแพทยเ์ วชศาสตร์ครอบครัว
ดูแลฯ ผลงาน จำนวน 99,725 คน ร้อยละ 42.06

3.ร้อยละ 40 ของประชาชนมีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแล ผลงาน ครอบคลุมประชากร จำนวน
306,224 คน ร้อยละ 46.86

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 171


บทที่ 3 PP&P Excellence

จงั หวัดสุพรรณบรุ ี จดั ทำโครงการพัฒนาการแพทย์ปฐมภมู ิ ปี 2563 งบประมาณ 36,704 บาท มมี าตรการ ดงั น้ี
1.ขับเคลอ่ื นแผนยุทธศาสตรแ์ ละนโยบายหน่วยบริการปฐมภูมิ
2.พัฒนาศักยภาพระบบบริการปฐมภมู ิ
3.สง่ เสรมิ สนบั สนุนการพัฒนากำลงั คน/ การพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภมู ิ

ผลการดำเนินงานตามโครงการ
1.ชแ้ี จงนโยบาย PCU/NPCUในท่ีประชมุ กวป.และท่ีประชุมคณะกรรมการบรหิ ารสสจ

2.ประชุมจัดทำแผนจัดตั้ง PCU/NPCU เมื่อวันที่ 25 พ.ย.62 ได้แผนจัดตั้ง PCU/NPCU 10 ปี
(ปี 2563-2572) จำนวน 70 ทมี แผนจัดต้ังสะสม ปี 63 จำนวน 33 ทีม

3.แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดตั้ง PCU/NPCU เขตเมืองและเขตชนบท จ.กำแพงเพชร วันที่ 16

ม.ค.63 ผรู้ บั ผดิ ชอบงาน รพ./สสอ./ผูเ้ กีย่ วขอ้ ง จำนวน 30 คน

4.จัดอบรมพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน PCU/NPCU วันท่ี 6 มี.ค.63 บุคลากรที่ปฏิบัติงาน

จำนวน 33 ทมี ๆละ 1 คน ผรู้ บั ผิดชอบงานรพ./สสอ.และผู้เกย่ี วข้องรวม 60 คน

5.สนบั สนนุ การพฒั นาสหวชิ าชพี

- อบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารพฒั นาภาวะผ้นู ำการเปลี่ยนแปลงในระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ รนุ่ ท่ี 4
ระหว่างวันท่ี 16-19 ธ.ค.62 จำนวน 1 ทมี คือ ทมี รพ.สต.บา้ นทบั กระดาษ

- อบรมพัฒนาทนั ตาภบิ าลเพอ่ื การบริการคลนิ กิ หมอครอบครัว ระหวา่ งวันที่ 20-24 ม.ค.63
ณ วพบ.ราชบุรี จำนวน 2 คน

- อบรมทันตกรรมผู้สงู อายุตามแนวทางของหน่วยบริการปฐมภูมแิ ละเครือข่ายหน่วยบริการ
ปฐมภมู ิ ปี 2563 วันท่ี 2-7 ก.พ.63 จำนวน 2 คน จากรพ.สต.พหิ ารแดง และรพ.สต.หนองมะค่าโมง

- อบรมพฒั นาบุคลากรทีมสหวิชาชีพวันที่ 6-7 ก.พ.2563 จำนวน 1 ทมี คือ รพ.สต.มดแดง
- แพทย์อบรมหลักสูตรระยะสั้น “เวชศาสตร์ครอบครัวสำหรับแพทย์ปฏิบัติงานในคลินิก
หมอครอบครวั ” รนุ่ ท่ี 15 ในระหวา่ งวนั ท่ี 25 พ.ค.-26 ส.ค.63 จำนวน 1 คน จากรพ.บางปลาม้า
- แ พ ท ย ์ อ บ ร ม ห ล ั ก ส ู ต ร Basic course of Family Medicine for Primary Care
Doctor(เขตจดั ) คร้งั ท่1ี วนั ที่ 23-24 ก.ค.63 ครง้ั ท่ี 2 วันที่ 27-28 ส.ค.63 จำนวน 16 คน
- อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในระบบสุขภาพปฐมภูมิ รุ่นที่ 4
ระหวา่ งวนั ที่ 16-19 ธ.ค.62 จำนวน 1 ทีม คอื รพ.สต.บา้ นทับกระดาษ
- อบรมพฒั นาทนั ตาภบิ าลเพอื่ การบริการคลนิ กิ หมอครอบครวั ระหว่างวนั ท่ี 20-24 ม.ค.63
ณ วพบ.ราชบรุ ี จำนวน 2 คน
- อบรมทนั ตกรรมผ้สู งู อายุตามแนวทางของหน่วยบริการและเครือขา่ ยหนว่ ยบริการปฐมภูมิ
ปี 2563 วันท่ี 2-7 ก.พ.63 จำนวน 2 คน จาก รพ.สต.พหิ ารแดง และรพ.สต.หนองมะค่าโมง
- อบรมพฒั นาบุคลากรทมี สหวิชาชีพ วันที่ 6-7 ก.พ.63 จำนวน 1 ทมี คอื รพ.สต.มดแดง
- นิเทศติดตามการดำเนินงาน 2 ครั้งโดยนพ.สสจ.และคณะ และสุ่มลงพื้นที่อำเภอละ 1
ครัง้

172 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 3ี่ 1

ผลการดำเนนิ งานตามนโยบายมุ่งเน้น การพฒั นาระบบสุขภาพปฐมภมู ิ เพือ่ ลดความแออัด

จังหวัดสุพรรณบุรี พฒั นาหน่วยบริการปฐมภูมแิ ละเครอื ข่ายหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิ ให้มศี ักยภาพ
ในการจดั บริการมากขึ้น ได้แก่ การจัดบรกิ ารคลนิ ิกโรคเร้อื รงั DM /HT การตรวจ Lab การส่งต่อไปยัง
โรงพยาบาลแม่ข่าย โดยช่องทาง Green channel ทำให้ผู้รับบริการไม่ต้องใช้เวลารอรับบริการใน
โรงพยาบาลแม่ข่าย ผลการดำเนินงานในปี 2563 พบว่า ผู้ป่วย DM มารับบริการ ที่ PCU/NPCU
เพ่ิมขนึ้ ร้อยละ 10.28 ผ้ปู ่วย HT มารับบรกิ าร ที่ PCU/NPCU เพิม่ ขน้ึ รอ้ ยละ 9.55 และผปู้ ่วย DM คุม
ระดับนำ้ ตาลได้ดี ลดลง รอ้ ยละ -2.82 มีสาเหตมุ าจาก 1.ติดสถานการณโ์ ควิด 19 ทำให้ผปู้ ว่ ยบางส่วน
ยังไม่ได้ตรวจ HbA1C 2.พฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย การดูแลหญิงตั้งครรภ์มีผลการดำเนินงานเพิ่มข้ึน
โดย ANC ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละ 81.61 ANC ครั้งแรกอายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 86.27
รายละเอียดดงั ตาราง

ตาราง ผลการพฒั นา PCU/NPCU เพอื่ ลดความแออดั จงั หวดั สุพรรณบรุ (ี 1 ต.ค.62-30 ก.ย.63)

ตวั ช้ีวัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน
ปี 2562 ปี 2563 เพ่ิมข้ึน

การจัดการโรคเร้ือรงั 56.29 66.57 10.28

1.ผปู้ ว่ ย DM มารบั บรกิ าร ที่ PCU/NPCU เพิม่ ขึ้นรอ้ ยละ 5 หรอื ไม่
น้อยกว่า รอ้ ยละ 70

2.ผปู้ ่วย HT มารบั บริการ เพม่ิ ขึ้นร้อยละ 5 หรอื ไม่ 51.43 60.98 9.55
ที่ PCU/NPCU น้อยกวา่ รอ้ ยละ 70

3.ผู้ป่วย DM คมุ ระดบั น้ำตาลไดด้ ี เพ่ิมขน้ึ รอ้ ยละ 5 29.89 27.07 -2.82
ANC รอ้ ยละ 75 74.21 81.61 7.40
1.ANC ครบ 5 ครง้ั ตามเกณฑ์

2.ANC ครัง้ แรกอายุครรภ์ ≤ 12 สปั ดาห์ ร้อยละ80 84.47 86.27 1.8

ที่มา: ขอ้ มูล HDC ณ วนั ที่ 4 ต.ค.63

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 173


บทท่ี 3 PP&P Excellence

สรุปผลการนิเทศตดิ ตามการดำเนนิ งานตามนโยบายมงุ่ เนน้ :

- อำเภอท่ี ผู้ป่วย DM คุมระดับ น้ำตาลได้ดี ได้แก่ ดอนเจดีย์ เพิ่มขึ้น 8.65%(31.63%),
หนองหญ้าไซ เพิ่มขึ้น 7.14% (25.79 %), ศรีประจันต์ เพิ่มขึ้น 4.98% (33.58 %) และสองพี่น้อง
เพ่ิมขนึ้ 2.23% (33.42%)

-แนวทางพัฒนาเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย รพ.ควรมีแผนตรวจติดตามกลุ่ม DM คุมไม่ได้ทั้งเชิงรับ
และเชงิ รกุ รว่ มกบั PCU/NPCU

-การส่งต่อ มรี ะบบ Green channel มี Flow chart, รพศ.เจ้าพระยายมราช เป็นตน้ แบบ
ผลการดำเนินงานพัฒนาบรกิ ารของหนว่ ยบริการทไ่ี ด้รับจัดสรรงบประมาณจากสปสช.

PCU/NPCU ที่ได้รบั จดั สรรงบประมาณจากกองทนุ หลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ มแี ผนงาน/
โครงการเพื่อพัฒนาระบบบริการและดำเนินงานเชิงรุกในชุมชน เช่นโครงการพัฒนาระบบบริการ
คลินิกหมอครอบครัว เครือข่ายโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช ปี 2563, โครงการพัฒนาระบบ
การแพทย์ปฐมภูมิ ปี 2563, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการให้บริการสุขภาพประชาชนแบบองค์
รวม โดยทมี หมอครอบครัวดอนคา ปี 2563 เปน็ ตน้

4.ปญั หา/อปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะในการดำเนนิ งาน

จากผลการดำเนินงานเชิงปริมาณ พบว่า สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายและเกินเกณฑ์
ของกระทรวง ส่วนเชิงคุณภาพ ผู้ป่วย DM คุมระดับน้ำตาลได้ดี ไม่ผ่านเกณฑ์ ลดลง -2.82%(ปี
63=27.07%) ควรมีการพัฒนาระบบบริการ ให้มีศักยภาพทั้งคน เงิน ของ เทคโนโลยี และดำเนินเชงิ
รุกในชมุ ชน

5. ปัจจยั ความสำเรจ็
1. นโยบาย/พระราชบัญญัตริ ะบบสุขภาพปฐมภมู ิ พ.ศ.2562
2. ผู้บริหารใหค้ วามสำคญั จดั สรรแพทย์เวชศาสตร์ครอบครวั ทำงานในพ้นื ท่ี
3. การทำงานเป็นทีม การจัดบริการตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัว และสอดคล้องกับบริบท

พืน้ ที่

6.ผลงานเดน่ / นวัตกรรมท่สี ามารถเปน็ แบบอย่าง

- คลินิกหมอครอบครัวตน้ แบบระดบั เขต ไดแ้ ก่ คลนิ ิกหมอครอบครัวประตสู าร
- หน่วยบริการปฐมภูมิเครือข่ายรพ.เจ้าพระยายมราช ได้แก่ รพ.เจ้าพระยายมราช ทีม 1 ทีม 2 และทีม
3 (เดิมเรยี กวา่ PCC ประตสู าร, PCC ปราสาททอง, PCC สุวรรณภูมิ) มกี ารพฒั นาระบบบรกิ ารเพื่อให้
ประชาชนเขา้ ถึงบรกิ ารทมี่ ีคณุ ภาพ เป็นต้นแบบในการดูแลสุขภาพประชาชน ดงั น้ี

จัดทำสมุดประจำตัวผู้ป่วยติดบ้าน/ติดเตียง โดยบันทึกข้อมูลการให้บริการ ข้อแนะนำ
แผนการเยี่ยมเพื่อให้ทีมสหวิชาชีพได้บันทึกการเยี่ยมและเป็นจุดรวมของข้อมูลไว้ วางแผนการดูแล
ตอ่ เน่ือง หรือส่งต่อเข้ารบั การรักษาใน รพศ. เปน็ เสมือน Chart ของ Home Word เม่ือผู้ป่วยมีภาวะ
ฉกุ เฉินตอ้ งเขา้ รพ. สามารถนำส่งรพศ.ไดเ้ ลยจัดทำสต๊กิ เกอรค์ ลนิ ิกหมอครอบครวั ไวท้ ุกครวั เรือน มชี อ่ื
แพทย์ พยาบาล อสม. Care Giver และเบอร์โทรศัพท์ให้ติดต่อตามนโยบาย “ประชาชนอุ่นใจ มีญาติ
ทั่วไทยเปน็ ทมี หมอครอบครัว”

174 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 3่ี 1

มีแพทย์และทีมสหวิชาชีพปฏิบัติงานประจำทุกวัน และจากการทำ“โครงการส่งเสริมสขุ ภาพ
ฟื้นฟูสภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดบ้าน/ติดเตยี ง”ได้จ้างนกั กายภาพ 2 คน เพื่อบริการเชิง
รุกที่ PCC ประตูสารและ PCC ปราสาททอง เป็นเงิน 405,600 บาท ได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์ทาง
กายภาพ จากกองทนุ หลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสุพรรณบุร(ี เครื่อง Ultrasound, เคร่อื งกระตุ้น
กล้ามเนื้อไฟฟ้า, เข็มขัดพยุงเดิน, กระเป๋าไฟฟ้า, ยางยืดออกกำลังกาย) เป็นเงิน 223,000 บาท ผล
การดำเนินงานเยี่ยมบ้าน(โดยนักกายภาพ) ในปี 2563 ผู้ป่วยทั้งหมด จำนวน 183 คน ติดบ้าน 113
คน ติดเตียง 70 คน ผู้ป่วยอาการดีขึ้นจากติดเตียงเปลี่ยนเป็นติดบ้าน จำนวน 8 คน จากติดบ้าน
เปลี่ยนเป็นติดสงั คม จำนวน 61 คน รวมเป็นผู้ป่วยอาการดีข้ึนสามารถเปลี่ยนกลุม่ ได้ทั้งหมด จำนวน
69 คน คิดเป็นร้อยละ 37.70 ผลการให้บริการดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงดังกล่าว ผู้ป่วยอาการดีขึ้นเปลี่ยน
กลมุ่ ได้เพมิ่ ขนึ้ มากกว่าปี 2562 (ปี 62 เปล่ยี นกลุ่ม จำนวน 19 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 23.65)

พัฒนาระบบ Green Channel จัดให้มีพยาบาลรับผิดชอบ มีเบอร์โทรศัพท์สามารถติดต่อ
โดยตรง ผูป้ ว่ ยทกุ คนที่ Refer มาจาก PCU/รพ.สต. จะนัดใหม้ าตรวจพร้อมจัดทำเอกสารให้เรียบร้อย
ก่อนพบแพทย์ เมอ่ื พบแพทย์เรยี บร้อยแล้ว พยาบาล Green Channel สง่ ข้อมลู การมารับบริการของ
ผู้ป่วยกลับให้ PCU/รพ.สต. ทุกวัน ทาง Line, Email(มี Flowchart) นอกจากนี้มีการพัฒนาการใช้
Program Thai COC เพือ่ ใช้ในการดูแลผปู้ ว่ ยต่อเนอ่ื งครอบคลุมท้งั อำเภอและจงั หวัดสุพรรณบุรี

มี “โครงการลดความแออัดผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในกลุ่มสิทธิ์บัตรทอง
ของคปสอ.เมืองสุพรรณบุรี (ปี 2561-ปัจจุบัน) ซึ่งประสานความร่วมมือระหว่างรพศ. และPCU/รพ.
สต. แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ห้อง Lab จัดทำแผนเจาะเลือด ส่งผล Lab online แพทย์และทีมสห
วชิ าชพี ออกตรวจผปู้ ่วยท่ีไม่มีภาวะแทรกซ้อน เภสชั และผชู้ ว่ ยเภสัชจดั ยาให้ผู้ป่วยทกุ ราย มีระบบการ
ออกประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาโดยตรวจ Fundus Camera ปีละ 1 คร้ัง ผลการดำเนินงาน ผู้ปว่ ย
ที่ส่งตัวจากรพศ.เจ้าพระยายมราชไปยัง PCU จำนวน 3,680 คน รับการตรวจ จำนวน 3,516 คน คิดเป็น
ร้อยละ 95.54 refer กลับ รพศ. 59 คน คิดเป็นร้อยละ 1.67, ผู้ป่วยส่งตัวจากรพศ.เจ้าพระยายมราชไป รพ.
สต. จำนวน 7,596 คน รับการตรวจ 7,334 คน คิดเป็นร้อยละ 96.55 referกลับรพศ.122 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 1.66

ผลงานความภาคภมู ใิ จในการดูแลตอ่ เน่ืองทีบ่ ้านของทีมงาน มีการดแู ลผ้ปู ว่ ยที่ on ventilator
1 ราย ตั้งแต่ ปี 60 ถึงปัจจุบัน ไม่มี Re-admit และไม่มีภาวะแทรกซ้อน สามารถลดค่าใช้จ่ายปีละ
ประมาณ 9,081,600 บาท รวมค่าใช้จ่ายต้งั แต่ปี 60-ปัจจบุ ัน เปน็ เงิน 36,326,400 บาท

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 175


บทที่ 3 PP&P Excellence

3.การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตระดบั อำเภอ (พชอ.) จงั หวดั สพุ รรณบุรี

1.สถานการณ์
จังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบด้วย 10 อำเภอ มีหน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวน 177 แห่ง จำแนก

เป็น ศสม. 3 แห่ง รพ.สต. จำนวน 174 แห่ง ปีงบประมาณ 2561-2562 มีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตระดับอำเภอ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพืน้ ที่ พ.ศ.2561
ในปี 2562 มีผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพระดับอำเภอที่สามารถยกระดับขึ้นหน่ึง
ระดับทุกข้อหรือตั้งแต่ระดับสามขึ้นไปทุกข้อ อย่างน้อย 2 เรื่อง พบว่ามีการพัฒนาตามเกณฑ์ UCCARE ครบ
10 อำเภอ คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
เปา้ หมาย (Health Outcome) :

รอ้ ยละของอำเภอทีม่ กี ารพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตระดบั อำเภอ (พชอ.) ทม่ี คี ุณภาพ ร้อยละ 100
เป้าหมาย(Service Outcome) :

กลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)แก้ปัญหาระดับพื้นที่ อย่างน้อย2เรื่องตามบริบท
พืน้ ที่
2.กลวิธีดำเนินการ

กิจกรรมหลกั 1 สร้างกลไกการขบั เคล่ือนทีเ่ ช่ือมโยงระบบบรกิ ารปฐมภูมิกบั ชุมชนและท้องถนิ่ อย่างมคี ุณภาพ
1. ทบทวนคำสง่ั แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลือ่ นการพฒั นา พชอ.จงั หวดั สุพรรณบุรี
2.ทบทวนคำส่ัง แต่งตงั้ คณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตระดบั อำเภอ (พชอ.) ตามระเบียบ
สำนักนายกฯ และคำส่งั อนกุ รรมการ/คณะทำงาน ตามประเด็นพฒั นา
3.ช้แี จงนโยบาย พัฒนาคุณภาพชวี ิต (พชอ.) ในทป่ี ระชมุ กวป.คณะกรรมการบริหารของ สสจ.เพ่ือ
บูรณาการงานรว่ มกนั
กิจกรรมหลัก 2 สนบั สนุนใหม้ กี ารพฒั นาคณุ ภาพชีวิตระดับอำเภออยา่ งมีสว่ นร่วม
ระดับจังหวดั 1.ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนา พชอ.จงั หวัดสพุ รรณบุรี จำนวน 2 ครัง้ (ม.ี ค.,
ก.ย.)

2.ชีแ้ จงแนวทางเพอ่ื ขบั เคล่ือนการดำเนินงาน พชอ.จงั หวัดสุพรรณบุรี
ระดับอำเภอ 1.จัดประชมุ แบบมสี ่วนร่วมเพ่ือวเิ คราะหป์ ัญหา/ประเด็นพัฒนา นำมาคัดเลอื กประเดน็ ท่ี
สำคัญตามบริบทในพื้นที่ ท่ีเกีย่ วกบั การพัฒนาคุณภาพชวี ิต บูรณาการรว่ มกันจำนวนอย่างน้อย 4 คร้ัง/ปี

2.จดั ทำแผนดำเนนิ การพฒั นา/แกไ้ ขปญั หาสำคัญตามบริบทในพ้ืนท่ี เก่ียวกับการพัฒนา
คุณภาพชวี ติ อย่างน้อย 2 เร่ือง

3.ดำเนนิ การตามแผนพฒั นา บริหารจดั การ อยา่ งมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วน
4.อำเภอประเมินตนเอง ดว้ ย UCCARE ปลี ะ 2 คร้งั (ก.พ., มิ.ย.)
5. สรปุ บทเรยี นและผลการดำเนินงาน พชอ.ท่ผี ่านมา (ส.ค.-ก.ย.)

กจิ กรรมหลัก 3 เสรมิ สร้างศกั ยภาพ พชอ. อยา่ งมั่นคงและย่ังยนื
1.ส่งเสริมใหอ้ ำเภอดำเนนิ การบริหารจัดการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตระดับอำเภอแบบบรู ณการ
และมีส่วนรว่ มทกุ ภาคส่วน
2.ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานการพัฒนา/แก้ไขปัญหาสำคญั ตามบริบทในพน้ื ที่ เก่ียวกับการ
พฒั นาคณุ ภาพชีวิต ด้วย UCCARE และเยยี่ มเสรมิ พลังโดยทีมระดับจังหวดั ปลี ะ 1 คร้ัง (ก.ค.)

176 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 3่ี 1

3.ถอดบทเรยี น (พชอ.) โดยมตี ้นแบบอยา่ งน้อย 1 แหง่ (ส.ค.) สรปุ ผลการดำเนินงาน (ก.ย.)

การตดิ ตามประเมินผล (Quick win)

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

- คณะกรรมการ พชอ.มีการ -พชอ.มคี ณะทำงาน/ -พชอ. ประเมนิ ผล -สรปุ ผลการ
ประชุม คัดเลือกประเด็น อนกุ รรมการ พชอ. ตนเอง ดำเนินงาน
สำคัญตามบรบิ ทพน้ื ท่ี ท่ี วางแผนแนวทางในการ -มกี ารเย่ียมเสริมพลงั -มีอำเภอผา่ นเกณฑ์
เกีย่ วกับการพัฒนาคณุ ภาพ ขบั เคลื่อนประเดน็ คณุ ภาพ และประเมินผลการ การประเมินการ
ชีวิต ดำเนนิ การพฒั นาหรอื ชวี ิตตามทพี่ ื้นทก่ี ำหนด ดำเนินงานพฒั นา พฒั นาคุณภาพชีวิต
แก้ไขปญั หา อยา่ งน้อยอำเภอ -มีการบริหารจดั การ คุณภาพชีวิต โดยทมี ทมี่ คี ุณภาพ รอ้ ยละ
ละ 2 ประเด็น ทรพั ยากรของทกุ ภาคสว่ น ระดับจังหวดั 100
อยา่ งมีสว่ นรว่ ม

3.การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคัญ
มีการประเมินประเด็นปัญหาการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามองค์ประกอบ UCCARE และมี

ผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพอำเภอที่สามารถยกระดับขึ้นหนึ่งระดั บทุกข้อหรือ
ตั้งแต่ระดับสามขึ้นไปทุกข้อ โดยการประเมินตนเอง พบว่า มีการพัฒนาตามเกณฑ์ UCCARE จำนวน
10 อำเภอ คดิ เป็นร้อยละ 100

โดยคณะกรรมการ พชอ.ประชุมร่วมกัน 1-4 ครั้ง คัดเลือกประเด็นปัญหาตามบริบทพื้นที่
อำเภอละ 2-5เรื่อง ร่วมกันจัดทำแผนดำเนินการ ดังนี้ การป้องกันอุบัติเหตุจราจร จำนวน 7 อำเภอ
การกำจัดขยะ จำนวน 6 อำเภอ อาหารปลอดภัย, การดูแลผู้สูงอายุ จำนวน 4 อำเภอ การดูแลผู้มี
ภาวะพึ่งพิง, ไข้เลือดออก จำนวน 2 อำเภอ การป้องกันวัณโรค, โรคเรื้อรัง:เบาหวาน ความดัน, การ
ป้องกันปัญหายาเสพตดิ ในเยาวชน และการส่งเสริมการออกกำลงั กาย ประเดน็ ละ 1 อำเภอ

เนอื่ งจากมีการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) ทวั่ ประเทศ พชอ.จึง
นำประเดน็ โควิด 19 ขับเคล่อื นในทกุ อำเภอ

จากสถานการณ์แพร่ระบาดดังกล่าว ทำให้บางกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการได้ตามกำหนด
เช่น การประชุมคณะกรรมการ การเยย่ี มเสรมิ พลังระดับจังหวัด

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 177


บทท่ี 3 PP&P Excellence

ตารางแสดง คะแนนการประเมินตนเองการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ตามองค์ประกอบ UCCAREปีงบประมาณ2563

ระดบั พัฒนา UCARE ในภาพรวม (ระบรุ ะดับ)

ลำ รายช่อื อำเภอ ประเดน็ ปญั หา Unity Team Resource ผา่ น/
ดับ Customer Focus sharing and ไมผ่ า่ น
Appreciation
Essential carehumanผ่าน
Community development
participation ผา่ น
ผา่ น
1 เมอื งสุพรรณบรุ ี 1. การดูแลผสู้ ูงอายุระยะยาว 4 4 4 4 4 4 ผ่าน
........................ 2. การจัดการขยะ 2 2 ผา่ น
32 2 2 3 3
4 4 ผ่าน
3.อาหารปลอดภยั 44 3 4
5 5 ผ่าน
4.การป้องกนั และควบคุม Covid-19 4 4 4 4 3 4
5 5 ผา่ น
2 เดมิ บางนางบวช 1.การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน 5 5 4 4 3 3 ผา่ น
3 3
2. การกำจดั ขยะ 43 4 4 3 3
3 3
3.การปอ้ งกนั และควบคมุ Covid-19 5 5 5 4 3 3
4 4
3 ดา่ นชา้ ง 1.การสง่ เสรมิ การออกกำลังกาย 3 3 3 3 3 4
5 5
2.การปอ้ งกนั อบุ ัตเิ หตุ 33 3 3 5 5
5 5
4 บางปลามา้ 1.การจดั การขยะในชุมชน 44 4 3 3 4
4 4
2.การปอ้ งกันปัญหายาเสพติดในเยาวชน 3 3 4 3 5 5
4 4
3.การป้องกนั อุบตั ิเหตุทางถนน 33 4 3 3 3
3 4
5 ศรีประจนั ต์ 1.อุบตั ิเหตจุ ากการจราจร 44 4 4 4 4

2.การดูแลผสู้ งู อายุ 44 3 3 3 2
3 3
6 ดอนเจดีย์ 1.ผู้สูงอายุ 55 5 5 3 3
55 5 5 3 3
........................ 2.อาหารปลอดภัย 4 4
3 4
3.การปอ้ งกันและควบคมุ Covid-19 5 5 5 5 5 5

7 สองพ่ีน้อง 1.อุบัตเิ หตุทางถนน 43 4 4

2.อาหารปลอดภัย 43 4 4

3.วณั โรค 55 5 4
4.ผพู้ ิการ ผดู้ อ้ ยโอกาสและผู้ท่ีมี 5 5 5 4

ภ5.าไวขะ้เลพือึ่งดพอิงอก 33 3 3

8 สามชุก 1.การดแู ลผู้มภี าวะพ่ึงพงิ 44 3 3

2.อาหารปลอดภยั (ผกั ปลอดสารพิษ+น้ำ) 3 4 3 3

3. การลดอุบตั ิเหตุทางถนน 42 2 3
4.การจดั การขยะในชุมชน 44 3 3

9 อู่ทอง 1.การจัดการขยะในชุมชน 33 3 3

2.การป้องกนั อบุ ัตเิ หตุทางถนน 3 3 3 3

10 หนองหญ้าไซ 1.พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผสู้ งู อายุ 4 4 4 4

2.การกำจัดขยะ 43 4 4

3.การป้องกนั และควบคมุ Covid-19 5 5 5 4

178 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 3ี่ 1

ผลการดำเนนิ งาน พชอ.แตล่ ะอำเภอ ปี 2563

พชอ. เมอื ง :
ประเด็นการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว : ปี 2563 ดำเนินงานแล้ว มีดังนี้ ตรวจคัดกรองสุขภาพ
ผู้สูงอายุ จำนวน 28,381 ราย คิดเป็นร้อยละ 93.76 ของผู้สูงอายุทั้งหมด ติดสังคม 27,479 ราย ติดบ้าน
685 ราย ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุติดเตียง 217 ราย เสริมพลังให้กำลังใจผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 100 ปี
จำนวน 8 ราย ขอรับสิ่งสนับสนุนจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หน่วยงานเอกชน เช่น เตียงไฟฟ้า รถเข็น
ผา้ หม่ ฯลฯ รว่ มกบั สภาผูส้ ูงอายุ (Covid) สนับสนนุ วัสดุที่จำเปน็ สำหรับประชาชน
ประเด็นอาหารปลอดภัย : ตรวจร้านอาหาร แผงลอยงานมหกรรมอาหาร และผักสดท่ีจำหน่ายใน
ชุมชน จำนวน 23 รา้ น แผงลอย 180 รา้ น ให้ความรู้แก่ร้านอาหารและประชาชนเร่ืองสารปนเปื้อน การเลือก
ซ้ืออาหารปลอดภัย ส่มุ ตรวจรา้ นอาหาร สง่ เสรมิ อสม.เรอ่ื งการปลูกผักปลอดสารพษิ
ประเด็นการจัดการขยะ : คัดแยกขยะ จัดทำธนาคารน้ำใต้ดิน รายได้ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส ให้
ความรู้ เรื่องการจัดการขยะในชุมชน จำนวน 2 ครั้ง 19 ตำบล 24 หมู่บ้าน เผยแพร่ความรู้แก่ประชาชน
เพื่อคัดแยกขยะที่ถูกต้อง จำนวน 2,332 คน ประสานและบูรณาการทำงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิน่ ในการคัดแยกขยะ มีตน้ แบบการจัดการขยะในบ้านทตี่ ำบลตล่ิงชนั
ประเด็นการป้องกันและควบคุม Covid-19 : เฝ้าระวังป้องกันโรคในพื้นที่ ทุกหลังคาเรือน ไม่พบ
ผูป้ ว่ ย
พชอ. เดิมบางนางบวช
ประเดน็ การป้องกันอบุ ัติเหตุทางถนน: การปอ้ งกนั อุบตั เิ หตุ มีการจดั การจุดเสย่ี ง เปา้ หมาย ลด
อตั ราตายไม่เกิน 21 ต่อแสนประชากร ผลการดำเนนิ งาน สามารถลดอตั ราตายได้ตามเป้าหมาย(20.96)
ประเด็นการจัดการขยะ : ชุมชนมีการคัดแยกขยะ จัดทำธนาคารน้ำใต้ดิน มีระบบการจัดการ
ขยะ121 หมู่บา้ น มกี ารดำเนินการคดั แยกขยะทุกหมบู่ ้าน ทกุ ชุมชน
ประเดน็ การป้องกนั และควบคุม Covid-19 : เฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั โรคไวรัสโคโรนา่ มรี ะบบเฝ้าระวงั ปอ้ งกนั
โรคไวรัสโคโรนา่ Covid-19 ไมพ่ บผปู้ ว่ ย

พชอ.ด่านชา้ ง :
โดยภาพรวมมีการประชุมคณะกรรมการ พชอ./อนุกรรมการ/ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 19 ครั้ง บูรณา
การทำงานรว่ มกนั ทุกภาคส่วนจากระดับอำเภอถึงหมบู่ ้าน
โรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 :
-จัดประชุมคณะทำงาน พชอ. ในระดับอำเภอ มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรู้ในการป้องกนั โควิด 19 วัณ
โรค และไข้เลือดออก จำนวน 1 ครั้ง 71 คน ทำให้เกิดการปรับกระบวนทำงาน โดยเน้นให้พื้นที่ระดับ
ชมุ ชน ดำเนนิ การอย่างเข้มแข็งโดยฝ่ายปกครองเป็นผูน้ ำทีม
–ประชุมคณะทำงานโควิด 19 ชี้แจงและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานป้องกันโควิด 19
ในภาพอำเภอจำนวน 3 ครั้ง 42 คน ประชุมในระดับหมู่บ้าน จำนวน 3 ครั้ง 93 คน ผลงาน ทุกหมู่บ้านมี
การออกคดั กรองโควิด 19 อย่างเข้มแข็ง ไมพ่ บผู้ป่วย
–ประชุมคณะทำงานตามกล่อง EOC เตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉิน จำนวน 4 ครั้ง มี
การฝกึ ปฏบิ ตั ิตอบโต้และเตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 179


บทที่ 3 PP&P Excellence

–ประชุมทีมปฏิบัติการในพื้นทีท่ ำความเข้าใจการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง จำนวน 3 ครั้ง 90 คน มีการ
คดั กรองผเู้ ดนิ ทางมาจากกรุงเทพและปริมณฑล ท้งั หมด 1,385 คน ไม่พบผู้ป่วย

–อบรมด้าน IC ป้องกันการติดเชื้อ จำนวน 2 ครั้ง 250 คน ผลเจ้าหน้าที่ทุกคนมีทักษะในการ
ปอ้ งกนั โรคโควิด 19

พชอ.บางปลาม้า :
โดยภาพรวมมีการประชุมคณะกรรมการ พชอ. 3 ครั้ง การดำเนินตามประเด็นในพน้ื ท่ี ดงั นี้
ประเดน็ การป้องกนั ปัญหายาเสพติดเยาวชน :
1.มีกิจกรรมการสร้างความตระหนักด้านยาเสพติดในกลุ่มเยาวชน ผลงาน เดินรณรงค์ในวัน
สำคัญต่างๆ ให้ความรู้ในกลุ่มนักเรียนในโรงเรียน โดย จนท.สาธารณสุข/ครู/ตำรวจ (ครู D.A.R.E) มี
กิจกรรมบางแม่หมา้ ยรนั นงิ่ วงิ่ ตอ่ ตา้ นยาเสพติด
2.สร้างกลุ่ม/ชมรมเยาวชนตน้ แบบ และเขา้ ร่วมประกวดในโครงการ To be number one
ผลงาน ชมุ ชนบางแม่หม้าย/โรงเรียนบางแม่หม้ายฯ รกั ษามาตรฐานระดบั เงนิ (ระดับประเทศ) -
อำเภอบางปลามา้ ผา่ นมาตรฐานระดบั ประเทศ
ประเดน็ การจัดการขยะในชมุ ชน : มกี จิ กรรม “หนา้ บ้าน นา่ มอง” ผลงานดังนี้
1.การจดั การขยะเปียก - มีแหล่งเรียนรู้การจดั การขยะเปยี ก มีการจัดการขยะเปยี กทุก
ครัวเรือน
2.การจัดการขยะ Recycle –มกี ารจัดต้ังธนาคารขยะในหมู่บ้าน
3.ปลูกผกั ปลอดสารพิษกินเองในครัวเรือน-ครัวเรอื นของ อสม.มีการปลกู ผกั ปลอดสารพิษทกุ
ครวั เรอื น
ประเด็นโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: ดำเนินการควบคุม ป้องกัน เฝ้าระวังโควิด 19 โดย พชอ.
บางปลาม้าร่วมบูรณาการกับทุกภาคส่วน ผลงาน X-ray กลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากนอกพื้นที่ทุกหลังคา
เรือน จำนวน 23,367 หลังคาเรือน สนับสนุน/ส่งต่อสิ่งสนับสนุนในการเฝ้าระวังป้องกันโควิด 19
แอลกอฮอล์ รพ.สต.ละ 20 ลิตร จำนวน 5 รอบ Mask และเจลแอลกอฮอล์ เพื่อให้เพียงพอแก่การใช้งาน
เฝ้าระวังติดตามกลุ่มเสี่ยงจนครบ 14 วัน กลุ่มเสี่ยงทุกคน จำนวน 2,463 คน จัดเจ้าหน้าที่ออกหน่วย
ควบคุมโควิด 19 ริมทางถนนสายหลัก 340 ตลอด 24 ชม. ตั้งแต่วนั ที่ 13-30 เมษายน 2563 ใหค้ วามรู้/สื่อ
ต่างๆ ในการควบคุมป้องกันโควิด 19 เช่น สื่อแผ่นพับ สปอร์ตวิทยุ กลุ่มไลน์ อสม.เจ้าหน้าที่ให้ความรู้
ประชาชนทุกหลังคาเรือน
พชอ. ดอนเจดยี ์ :
จากการประชุมคณะกรรมการ พชอ.คัดเลือกประเด็นปัญหาในการดำเนินงานปี 2563 ได้แก่ การ
ดูแลผู้สงู อายุ อาหารปลอดภัย และการจดั การขยะในชุมชน
ประเด็นการดูแลผู้สูงอายุ : ดำเนินการต่อเนื่องตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561-2563 โดยมุ่งเน้นการ
ดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชวี ิตผ้สู ูงอายุ 4 ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านสุขภาพ ด้านครอบครัว ดา้ นเศรษฐกิจ และด้าน
ที่อยู่อาศัย ในปี 2563 ได้จดั ทำคำสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการพัฒนาระบบงานผู้สูงอายุ (Aging manger) โดย
มีนายอำเภอเป็นประธาน และคณะกรรมการจากเครือข่ายต่าง ๆ ซึ่งมีการประชุมร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูล
ทางสุขภาพและจัดลำดับความสำคัญของปัญหา วางแผนแก้ไข ติดตามประเมินผลการดำเนินงานและคืน
ขอ้ มลู ให้ชมุ ชน

180 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 3่ี 1

มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รับฟังความคิดเห็นของประชาชน ผู้สูงอายุ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มี
การเยี่ยมบ้านเป็นรายบุคคล มีการนำเสนอ case conference เพื่อรับฟังความคิดเห็น มีการนำเสนอ
นวัตกรรมในการดูแลผู้ป่วยร่วมกัน และติดตามเยี่ยมโดยทีมสหวิชาชีพ ทีมหมอครอบครัว คณะกรรมการ
พชอ. มีการดำเนินโครงการเพื่อนช่วยเพื่อนอย่างต่อเนื่อง ผลการดำเนิน 1.ตำบลที่เข้าร่วมดำเนินการ
ระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ไม่น้อยร้อยละ 50 ผลงาน 5 ตำบล คิดเป็นร้อยละ 100
2.ตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ผลงาน 5 ตำบล คิดเป็น
ร้อยละ 100 3.ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลงาน ร้อยละ 97.92 4.มีการ
จัดทำ Care plan ในผู้สูงอายุทม่ี ีภาวะพึ่งพิง ตำบลเป้าหมาย จำนวน 3 ตำบล ร้อยละ 100 5.ผู้สูงอายุที่มี
ภาวะพึ่งพิง ตำบลเป้าหมาย ได้รบั การดูแลตาม Care plan จำนวน 3 ตำบล รอ้ ยละ 100 และมีนวัตกรรม
ทส่ี ามารถเปน็ แบบอย่างได้ ไดแ้ ก่ นวตั กรรมมอื ทสี่ าม กระรอกพาเพลิน

การดำเนินงานตามโครงการสง่ เสรมิ สุขภาพผสู้ ูงอายุ ผลงาน
1.ผู้สงู อายุที่มปี ัญหาด้านสขุ ภาพ จำนวน 278 คน ไดร้ บั การเยีย่ มดแู ลสุขภาพ และได้รับการชว่ ยเหลอื
ครบทุกคน
2.ผู้สูงอายุ ที่มีปัญหาด้านครอบครัว จำนวน 1 คน ได้รับการดูแลโดยทีม รพ.สต.และทีม
คณะกรรมการ พชอ. และภาคีเครอื ข่าย
3.ผู้สูงอายุ ที่มีปัญหาด้านเศรษฐกิจ จำนวน 51 คน ได้รับการเสริมอาชีพโดยหน่วยงานพัฒนา
ชุมชนอำเภอ
4.ผู้สูงอายุ ที่มีปัญหาด้านที่อยู่อาศัย จำนวน 3 คน ได้รับการการดูแลเรื่องที่อยู่อาศัยจาก
อบต.ในพื้นที่ และ พม.จงั หวัดสพุ รรณบุรี

ประเด็นอาหารปลอดภัย : ผลการดำเนินงาน
1.ส่งสริมการปลูกพืชสวนครัวบริโภคในครัวเรือน ลดรายจ่าย-เพิ่มรายได้ ผลงาน “โครงการหน้า
บ้านอสม.น่ามอง อำเภอดอนเจดีย์” ให้ความรู้ลดการใช้สารเคมีในพืชผักมีอสม.เข้าร่วม 400 คน ส่งเสริม
การปลกู ผักสวนครัว ร้ัวกนิ ได้ โดยปราชญช์ ุมชน เป้าหมาย อสม.เขา้ ร่วม 839 คน ผลงาน 570 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 68
2.ตรวจสารปนเปื้อนในอาหารที่จำหน่ายในงานอนุสรณ์ดอนเจดีย์และตลาดสด จำนวน 783
ตัวอยา่ ง พบปนเป้ือน 4 ตัวอยา่ ง มีอาหารสดผ่านมาตรฐาน 779 ตัวอยา่ ง
3.รณรงค์ No Foam งดใช้โฟมบรรจุอาหารและส่งเสริมการใช้ภาชนะบรรจุอาหารทท่ี ำจากวัสดุ
ทดแทนโฟมในร้านค้า ผลงาน ทกุ หนว่ ยงานในอำเภอดอนเจดีย์เข้าร่วมกจิ กรรม รา้ นค้าเข้าร่วม
โครงการ 3 แห่ง
4.สง่ เสรมิ Green market สง่ เสรมิ การจำหนา่ ยอาหารและผลิตภณั ฑ์อาหารปลอดภัยให้
แพร่หลายสู่ประชาชน มีการจัดตั้งตลาดสเี ขียว 1 แหง่
5.พฒั นารา้ นอาหารริมบาทวิถีใหม้ ีมาตรฐาน-อยู่ระหวา่ งการดำเนินการ
6.การคัดแยกขยะเพ่ืออนรุ ักษส์ ิ่งแวดล้อม อสม.มีการคัดแยกขยะและสามารถลดขยะในครัวเรือน
จนเป็นแบบอย่างกับเพ่ือนบ้านได้ ผลงาน อสม. คดั แยกขยะ จำนวน 704 คน รอ้ ยละ 83.9

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 181


บทที่ 3 PP&P Excellence

7.อบรมความรสู้ ุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการด้านอาหาร ผลงาน อบรมผปู้ ระกอบการ
รา้ นอาหาร แผงลอย ร้านอาหาร แผงลอย ในตลาด ตลาดสด 181 ร้าน -รา้ นอาหารริมบาทวถิ ี 70
รา้ น

8.พฒั นายกระดับตลาดสดน่าซ้ือจาก 3 ดาว สู่ 5 ดาว -ไม่มีตลาดสดไดร้ ับการพัฒนายกระดับ
ในปี 2563 เย่ืองจากติดสถานการณ์ Covid-19

ประเด็นโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: ควบคุมการแพร่กระจายโรคติดต่อไวรัส 2019
สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในเขตพ้ืนท่ีอำเภอดอนเจดีย์ ข้อมลู ณ วันที่ 17 มิถุนายน 2563
ไมพ่ บผปู้ ่วยยนื ยันในพ้ืนท่ี มีผู้ปว่ ยยืนยนั นอกพื้นท่ี มีTime Line 14 วัน ได้มาทำกิจกรรมในพื้นท่ี จำนวน
1 ราย มีจำนวนผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์สอบสวนโรค (Patients under investigation : PUI) จำนวน 34 ราย
ครบกำหนดเฝ้าระวัง 14 วัน (Home Quarantine) แล้วจำนวน 31 ราย ยังไม่ครบกำหนด Home
Quarantine 3 ราย

1. รณรงค์สร้างกระแสการดูแลสุขภาพตนเองใหป้ ลอดภัยจากโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และโรค
ไข้เลือดออก

2. ให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนในพื้นที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตาม
มาตรการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้แก่ การล้างมือ 7 ขั้นตอนด้วยน้ำหรือแอลกอฮ อล์
เจล การสวมหนา้ กากอนามยั การเว้นระยะหา่ งทางสงั คม

3. ตดิ ตามเย่ยี มบ้านผทู้ ่ีได้รับผลการทบจากสถานการณ์โรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019
4. สรปุ ผลการดำเนินงาน ปัญหาอปุ สรรค รายงานผบู้ ริหาร
5. ไมพ่ บผปู้ ่วยด้วยโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในพ้นื ทอี่ ำเภอดอนเจดีย์

พชอ. สองพ่นี อ้ ง :
ประเด็นอุบัติเหตุทางถนน : ลดอัตราผู้เสียชีวิตทางถนนไม่เกิน 16 ต่อแสนประชากร (20 ราย)
ผลงาน 28 ราย
ประเด็นวัณโรค : คัดกรองกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายตามตัวชี้วัดกระทรวง 4,654 ราย ผลงาน 5,667
ราย เอ็กเรยก์ ล่มุ เสย่ี งงบกองทนุ ตำบล เป้าหมาย 6,257 ราย ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากติดสถานการณ์โควิด
19 คน้ หาผปู้ ่วยข้ึนทะเบียน เปา้ หมาย 172 ราย ผลงาน 72 ราย รักษาสำเร็จ เป้าหมาย รอ้ ยละ 85 ผลงาน
ร้อยละ 61.53
ประเด็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสผู้มีภาวะพึ่งพิง : ผู้ป่วยติดเตียงและผู้มีภาวะพึ่งพิงได้รับการ
ช่วยเหลือ จำนวน 20 คน จัดหางบประมาณ โดยจัดกิจกรรม อสม. เดิน-วิ่ง เป็นกองทุน จำนวน 541,666
บาท
ประเดน็ โรคไขเ้ ลอื ดออก :อัตราปว่ ยด้วยโรคไขเ้ ลือดออกไมเ่ กิน 50 ต่อแสนประชากร ผลงาน 42.34 ต่อแสน
ประชากร
ประเด็นอาหารปลอดภัย : ประชาชนในชุมชนสามารถปลูกผักไว้รับประทานเอง จำนวน 1,625
หลังคาเรือน ลดรายจ่ายภายในครัวเรือน จำนวน 1,625 หลังคาเรือน สุ่มตรวจไม่พบยาฆ่าแมลงในผักท่ี
จำหน่ายในตลาดนัด/ตลาดสด
ประเดน็ โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 : ควบคมุ การแพร่กระจายโรคติดต่อไวรสั 2019 ผลงาน ไม่
มีการแพร่กระจายเชื้อ สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในเขตอำเภอสองพี่น้อง ปี 2563 พบ

182 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 3่ี 1

ผปู้ ่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 จำนวน 1 ราย โดยแบ่งเป็นผสู้ ัมผัสท่เี ข้าเกณฑ์ PUI จำนวน 48
ราย ผู้สัมผัสเสี่ยงที่เข้าเกณฑ์ PUI มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
จำนวน 20 ราย รวมทั้งสน้ิ 68 ราย ผลการตรวจโรคโคโรนาไวรัส 2019 พบผลเป็นลบทุกราย

ความก้าวหน้าการดำเนินงาน พชอ.สองพี่น้อง โครงการ “อสม.หน้าบ้าน น่ามอง ในบ้านน่าอยู่
หลังบ้านน่ากิน ขยะทุกชิ้นน่าใช้ สร้างความปลอดภัยในชุมชน” กิจกรรม ประกวดบ้านอสม.ระดับตำบล
(กุมภาพนั ธ์) ประกวดบ้าน อสม.ระดบั อำเภอ (มีนาคม) ประชมุ คณะกรรมการตัดสนิ การประกวด ขณะนี้รอ
ประกาศผลการประกวดและมอบโลร่ างวัล

พชอ.สามชุก :
มีการประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) 2 ครั้ง ประชุม
คณะอนุกรรมการฯและผู้เก่ยี วข้องตามประเด็นปัญหาในพ้นื ที่ 4 ครัง้
ประเดน็ การดูแลผู้มภี าวะพึ่งพิง: เป้าหมาย ผ้มู ภี าวะพง่ึ พงิ จำนวน 298 คน
ผลงาน 1. วางแผนการดแู ล ทำ Care Plan โดย CM (ผ้จู ดั การดูแล)
2. CG ดแู ล ชว่ ยเหลือ ติดตามต่อเนื่อง จำนวนครัง้ ตาม Care Plan ทก่ี ำหนด
3. ให้การดแู ลเปน็ ทมี สหวชิ าชพี ร่วมกบั รพ.สามชกุ
4. CM ใหก้ ารดูแล กำกบั ตดิ ตาม และรายงานผลการดแู ล
5. ตดิ ตามเย่ยี มผ้มู ภี าวะพง่ึ พิง - โดยเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุข แบง่ ออกเป็น ผสู้ ูงอายุ จำนวน
288 คน และผู้มอี ายตุ ำ่ กว่า 60 ปี จำนวน 10 คน - โดยคณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตระดบั อำเภอ
(พชอ.) จำนวน 2 ครงั้ 10 คนตดิ ตามเย่ียมผมู้ ภี าวะพ่ึงพงิ
ประเด็นอาหารปลอดภัย : มกี ระบวนการต้นนำ้ กระบวนการกลางนำ้ กระบวนการปลายน้ำ
ผลงาน
กระบวนการต้นน้ำ “ผ้ผู ลติ /เกษตรกร”
1.ส่งเสริมกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษกินเองและกลุ่มปลูกข้าวปลอดสารพิษ จำนวน 1,090
หลังคาเรือน ปี 63 ร้อยละ 10 ของหลังคาเรือน ปลูกผักปลอดสารพิษ ผลงาน มีการปลูกผักปลอด
สารพิษกินเอง จำนวน 203 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.62 มีการปลูกข้าวปลอดสารพิษ จำนวน 4 ราย
(โครงการที่เกี่ยวข้อง : โครงการหน้าบ้าน อสม. น่ามอง โดยส่งเสริมให้ อสม.ปลูกผักปลอดสารพิษที่
บ้าน, โครงการส่งเสริมการใช้สารจากธรรมชาติ การควบคุมการใช้สารเคมีทางการเกษตรอย่าง
เหมาะสมและการตรวจหาสารพษิ ตกคา้ ง ในเกษตรกร)
กระบวนการกลางน้ำ “รา้ นค้า รา้ นอาหาร แผงลอยจำหนา่ ยอาหาร ตลาดสด ตลาดนดั ”
1. ตรวจติดตามดา้ นสุขาภิบาล อาหาร ตามเกณฑ์ CFPG ตลาดสดน่าซอื้ ตลาดนัดน่าซ้ือ
เปา้ หมาย แผงลอย จำนวน 93 รา้ น ผลงาน ผ่านเกณฑจ์ ำนวน 82 ร้านคดิ เปน็ รอ้ ยละ 88.17 – ปลอด
โฟมจำนวน 45 ร้าน คดิ เป็นร้อยละ 48.39
2. ตรวจสารปนเปอ้ื นในอาหาร ตามเกณฑ์มาตรฐาน อาหารปลอดภยั สารปนเปอ้ื น 6 ชนิด
เป้าหมาย ร้านคา้ ในตลาดสามชุกร้อยปี และตลาดสดยายจู 150 รา้ น ผลงาน จำนวน 85 ตัวอยา่ ง
ผ่าน 77 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 8 ตวั อย่าง
กระบวนการปลายนำ้ “ผู้บรโิ ภค ผ้ซู ื้อ” ผลงานบรรลเุ ปา้ หมาย

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 183


บทที่ 3 PP&P Excellence

1. จดั ทำบทความหอกระจายขา่ ว/เสยี งตามสาย ส่งให้ อปท. จำนวน 7 แห่ง และ โรงเรียน จำนวน
31 แห่ง

2. ตดิ ตัง้ ปา้ ยประชาสมั พันธ์ จำนวน 4 ป้าย
3. มีหน่วยงานตน้ แบบการลดใช้โฟม จำนวน 18 แหง่
4. สง่ เสรมิ รา้ นคา้ และแผงลอยจำหนา่ ยอาหาร ใหล้ ดใช้โฟม 100 % จำนวน 54 รา้ น
ประเด็นการลดอุบัติเหตุบนท้องถนน : อบรมการช่วยฟื้นคืนชีพและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยให้กับ
บุคลากร และ จัดซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่ ผลงานอบรมให้ครู ก. 4 คน ครู ข. จำนวน50 คน อบรม CPRและการใช้
เครื่อง AEDบุคลากร จำนวน234 คน ร้อยละ 97.86 อบรมให้กับอสม. จำนวน 1,091 คน ร้อยละ 100 อบรมอาสา
ฉุกเฉินทางการแพทย์ EMR 22 คน ประกอบด้วย เทศบาล 4 คน มูลนิธิเสมอกันและตำบลอื่นๆ 13
คน อำเภอเดิมบางนางบวช 5 คน และซ้อมแผนอุบัติเหตหุ มู่ จำนวน 1 ครั้ง
ประเด็นการจัดการขยะในชุมชน: รณรงค์การคัดแยกขยะ และการประกวดบ้านดีเด่น
เป้าหมาย บ้าน อสม. จำนวน 1,091 หลังคาเรือน ผลงาน มีการคัดแยกขยะที่บ้าน จำนวน 948 ครัวเรือน
คดิ เป็นรอ้ ยละ 86.89 จัดต้ังกองทุนขยะ 1 ตำบล (ตำบลกระเสยี ว) และจัดประกวดบา้ น อสม. ดเี ด่น ตาม
โครงการหนา้ บ้าน อสม.น่ามอง

พชอ.อ่ทู อง:
โดยภาพรวม : มีทบทวนคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ พชอ. มีการประชุมคณะกรรมการ พชอ./
อนุกรรมการ/ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 2 ครั้ง จัดทำแผนตามประเด็นปัญหา 2 เรื่อง และมีการควบคุมป้องกัน
โรค โควดิ 19 ดงั น้ี
1.มีคำสั่งระดับอำเภอ อปท./ส่วนราชการ ดำเนินการตามบริบทพื้นที่และตามสถานการณ์การ
ระบาดของโรคโควิด 19 จำนวน อปท.15 แห่ง ผู้นำ 13 ตำบล
2.จดั ตั้งศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารและคณะกรรมการป้องกนั โรคโควิด 19
3.แต่งต้งั คณะกรรมการดำเนินงานตามมาตรการแก้ไขปัญหาโควดิ 19 ระดับอำเภอ 21 คน ระดับ
ตำบล 141 คน มีการประชุม 2 ครั้ง มีการเฝ้าระวัง/ค้นหา/ป้องกันโรคโควิดอย่างต่อเนื่อง จำนวน อปท.
15 แหง่ 13 ตำบล 155 หมู่บ้าน มีนวัตกรรมท่ีเป็นแบบอย่าง/ผลงานเด่น ได้แก่ New Normal Care รพ.
สต.จรเข้สามพัน และนวตั กรรม “ปลอกแขนวดั ความดัน” รพ.สต.จระเข้สามพัน
พชอ.หนองหญ้าไซ
ประเด็นพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ: มีการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
เยี่ยมบา้ นโดยสหวชิ าชพี ผสู้ ูงอายุไดร้ บั การคัดกรอง จำนวน 7,891 คน (ติดสงั คม 7,690 ตดิ บา้ น 157
ติดเตยี ง 44)
ประเด็นการจัดการขยะ : มีการคัดแยกขยะทุกหมู่บ้าน ชุมชน จำนวน 66 หมู่บ้าน 4 ชุมชน
จดั ทำธนาคารนำ้ ใตด้ นิ รายได้ชว่ ยเหลอื ผดู้ ้อยโอกาส
การป้องกนั และควบคุม Covid-19 : มรี ะบบเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั โรคไวรัสโคโรน่า Covid-19 และ
ไม่พบผูป้ ่วยในพ้ืนท่ี

184 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


Click to View FlipBook Version