The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-26 00:54:33

รายงานประจำปี2563

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

บทท่ี 1 ขอ้ มลู ท่ัวไป

เมื่อพิจารณาสาเหตุการตายของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี ในปีพ.ศ.2563 จะพบว่ากลุ่มโรคที่
เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญโดยไม่นับการตายที่ระบุว่าชราภาพหรือไม่ทราบสาเหตุ ได้แก่ 1.กลุ่มโรคระบบ
ไหลเวียนโลหิต (Diseases of the circulatory system) 2.กลุ่มโรคมะเร็ง (Neoplasms) 3.กลุ่มโรคของ
ระบบทางเดินหายใจ (Diseases of the respiratory system) 4.กลุ่มโรคติดเชื้อและปรสิต (Certain
infectious and parasitic diseases) และ 5.กลุ่มการตายจากสาเหตุภายนอก (External causes of
morbidity and mortality) (ตารางท่ี 19, รูปที่ 13)

160

140

120

100

80

60

40

20

0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563

Diseases of the circulatory system 83.45 84.53 92.69 105.69 132.38 115.61 117.26 131.84 148.87 138.67

Neoplasms 88.76 89.50 99.54 110.89 118.60 114.55 124.68 132.90 143.19 122.09

External causes of morbidity and 87.46 85.71 79.80 69.04 75.26 65.17 61.52 79.95 77.04 68.09
mortality

Certain infectious and parasitic 66.90 71.88 73.65 71.05 71.61 72.95 68.94 62.50 54.45 83.84
diseases

Diseases of the respiratory system 55.08 59.82 67.74 71.64 73.85 86.26 85.91 81.37 100.12 93.19

รูปที่ 13 อัตราตายต่อประชากร 100,000 คน ของประชากรกลุ่มโรคที่เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญโดยไม่
นบั การตาย ท่รี ะบุว่าชราภาพหรอื ไม่ทราบสาเหตุ จงั หวัดสุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2554-2563

การตายด้วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ พบว่าสาเหตุการตายลำดับที่ 1.Cerebrovascular
diseases แนวโนม้ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนือ่ ง แต่ในปี พ.ศ.2563 ลดลงเมือ่ เปรยี บเทียบกบั ปี พ.ศ.2562 ลำดับที่
2.Ischaemic heart diseases แนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและในปี พ.ศ.2563 เพิ่มขึ้นสูงสุดเม่ือ
เปรียบเทยี บกับทกุ ปี สว่ นในลำดับที่ 3 และลำดับที่ 4 สลับเปลีย่ นกนั ไปมาระหว่าง Diabetes mellitus และ
Hypertensive ซึ่งมีแนวโนม้ เพิม่ ข้ึนทัง้ 2 โรค

40 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2563


ขอ้ มลู ทวั่ ไป บบทททที่ ี่11

สาเหตุการตายทสี่ ำคญั ของกลุ่มโรคไมต่ ิดต่อท่สี ำคญั ไดแ้ ก่
1.Cerebrovascular diseases

2.Ischaemic heart diseases

3.Diabetes mellitus

4.Hypertensive diseases (รปู ที่ 14)

80

70

60

50

40

30

20

10

0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563

Diabetes mellitus 9.22 12.27 11.67 16.50 28.64 16.24 18.03 18.78 19.21 24.34

Hypertensive diseases 8.39 7.44 8.25 14.38 24.75 16.95 17.32 11.62 20.74 23.40

Ischaemic heart diseases 26.83 24.43 31.35 29.23 35.36 30.25 33.11 29.81 29.34 38.64

Cerebrovascular diseases 38.30 41.19 46.44 49.98 67.77 60.85 60.34 56.57 68.81 65.10

รปู ท่ี 14 อัตราตายตอ่ ประชากร 100,000คนดว้ ยกลุ่มโรคไมต่ ดิ ต่อท่สี ำคัญจังหวดั สพุ รรณบุรี ปี 2554-2563

การตายด้วยกลมุ่ โรคเนอื้ งอกและมะเร็ง

เมื่อจำแนกสาเหตุการตายตามกลุ่มโรคเนื้องอกและมะเร็งพบว่ากลุ่มโรคเนื้องอกร้ายที่ตับ
และท่อน้ำดีในตับ (Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile ducts) แนวโน้มสูงข้ึน
ในปีพ.ศ.2562-2563 เมอ่ื เปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2560 กลมุ่ โรคเนื้องอกร้ายที่หลอดคอ หลอดลมใหญ่
และปอด (Malignant neoplasm of trachea, bronchus and lung) แนวโน้มเพิม่ ข้ึนเมือ่ เปรียบเทียบ
ระหว่าง พ.ศ.2557 ถึง พ.ศ.2560 แนวโน้มสูงขึ้นในปีพ.ศ.2562-2563 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ.2560 กลุ่ม
โรคเนื้องอกร้ายที่ลำไส้ ลำไส้ใหญ่และทวารหนัก (Malignant neoplasm of colon, rectum and
anus) แนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ระหว่างปีพ.ศ.2559-2561 และแนวโน้มลดลงในปี พ.ศ.2562-
2563 และกลุ่มโรคเนื้องอกร้ายที่ตับอ่อนแนวโน้มเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบระหว่างปี พ.ศ.2559 ถึง
พ.ศ.2561 และคงท่ีในปี พ.ศ.2562-2563 (รูปท่ี 15)

กลุ่มโรคเนื้องอกร้ายที่เต้านม (Malignant neoplasm of breast) และกลุ่มโรคเนื้องอกร้ายที่ปาก
มดลูก (Malignant neoplasm of cervix uteri) และกลุ่มโรคเนื้องอกร้ายเม็ดเลือดขาว (Leukemia) มี
แนวโนม้ เพิม่ ขึ้นมากเม่ือเปรยี บเทยี บ พ.ศ.2561 (รูปที่ 16)

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 41


บทที่ 1 ขอ้ มูลทัว่ ไป

30

25

20

15

10

5

0 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563
2554 14.63 14.50 17.09 19.92 18.48 18.15 16.67 19.09 19.09

Malignant neoplasm of liver and 14.96 15.70 15.32 15.32 17.56 20.24 23.92 17.49 24.51 24.51
intrahepatic bile ducts
5.55 6.48 7.19 5.66 6.36 6.72 8.57 7.19 7.19
Malignant neoplasm of trachea, 15.66 1.65 3.18 2.48 2.36 2.00 2.83 3.29 3.06 3.06
bronchus and lung

Malignant neoplasm of colon, 4.09
rectum and anus

Malignant neoplasm of pancreas 2.57

รูปที่ 15 อัตราตายตอ่ ประชากร 100,000 คน ของประชากร ดว้ ยโรคกลมุ่ เน้อื งอกรา้ ยท่ตี ับ และทอ่ นำ้ ดีในตับ
และกลมุ่ โรคเนื้องอกรา้ ยทีห่ ลอดคอ หลอดลมใหญ่ และปอด ปี พ.ศ. 2554-2563

10

9

8

7

6

5

4

3

2

1

0 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563
2.36 3.77 3.77 2.95 4.24 5.30 2.46 2.95 2.72
2554 3.42 3.89 5.19 5.66 6.12 8.13 7.86 8.95 9.10
4.48 3.42 3.18 3.54 3.88 4.01 2.58 4.95 4.61
Malignant neoplasm of cervix uteri 3.39

Malignant neoplasm of breast 4.21

Leukaemia 2.69

รูปที่ 16 อัตราตายต่อประชากร 100,000 คน ของประชากร ด้วยกลุ่มโรคโรค Malignant
neoplasm of cervix uteri, breast, Leukaemia จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2554-2563

ทีม่ า : ข้อมลู การตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2554-2563

42 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี ปงี บประมาณ 2563


ขอ้ มูลทว่ั ไป บบทททท่ี ่ี11

การตายจากสาเหตุภายนอก พบว่า อัตราตายสูงสุด ได้แก่ การตายจากอุบัติเหตุจราจร รองลงมา คือ
อุบัติเหตุจมน้ำและจมน้ำ การสัมผัสกับควันไฟและเปลวไฟ การตกจากที่สูง และการทำร้ายตนเอง
ตามลำดับ (รปู ที่ 17)

35
30
25
20
15
10
5
0

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563

Transport accidents Assault
Falls Accidental drowning and submersion
Exposure to smoke, fire and flames

รูปที่ 17 อัตราตายต่อประชากร 100,000 คน ของประชากร ด้วย Transport accidents, Assault ,Falls,
Accidental drowning and submersion, Exposure to smoke, fire and flame จงั หวัดสพุ รรณบุรี
ปี พ.ศ. 2554-2563

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 43


บทท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไป

การตายด้วยกลุ่มโรคติดต่อ พบว่าการตายด้วยปอดอักเสบ ในปี 2554-2555 มีแนวโน้มลดลง ปี 2556-
2560 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ในปี 2561 มีแนวโน้มลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2560 และในปี 2563 มี
แนวโนม้ ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2562 โรคเอดส์มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องต้ังแต่ปี 2557-2561 ใน
ปี 2562 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และในปี 2563 มีแนวโน้มลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2562 วัณโรคในระบบ
ทางเดินหายใจมีอัตราตายมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่ ปี 2554-2559 แต่ลดลงในปี 2560 และมี
แนวโน้มเพิ่มขึ้นใน ปี 2561-2563 (รปู ท่ี 18)

90

80

70

60

50

40

30

20

10

0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563

Respiratory tuberculosis 8.39 9.09 10.14 8.37 8.84 8.36 6.60 6.81 7.31 8.51

Human immunodeficiency virus 9.10 7.79 12.26 6.72 7.78 5.65 3.77 3.76 5.66 3.31
[HIV] disease

Pneumonia 27.78 25.37 39.96 43.85 53.98 67.55 70.24 64.44 83.77 74.08

รูปท่ี 18 อตั ราตายตอ่ ประชากร 100,000 คน ของประชากร ดว้ ยโรคปอดอักเสบ เอดส์ และวณั โรคปอด
จังหวดั สพุ รรณบุรี ปี พ.ศ. 2554 -2563

ทมี่ า : ข้อมลู การตายจากมรณะบัตร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2554-2563

44 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี ปงี บประมาณ 2563


ข้อมลู ท่วั ไป บบทททที่ ี่11

สาเหตกุ ารตายทสี่ ำคญั จำแนกตาม 5 กลมุ่ วัย
กลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี ในเพศชาย ได้แก่ 1.ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริ

กำเนิด 2.รูปผิดปกติแต่กำเนิด รูปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซม และ 3.ปอดบวม ส่วนในเพศ
หญิง ได้แก่ 1.ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิด 2.รูปผิดปกติแต่กำเนิด รูปพิการและความ
ผิดปกติของโครโมโซม และ 3.โลหติ จาง

กลุ่มเดก็ อายุ 1-4 ปี ในเพศชาย ไดแ้ ก่ 1.อบุ ตั เิ หตุจากการจมน้ำ 2.ทกุ สาเหตุภายนอก
อื่น ๆ และ 3.การติดเชื้อในกระแสโลหิต ส่วนในเพศหญิง ได้แก่ 1.ปอดบวม 2.ภาวะบางอย่างที่
เร่ิมต้นในระยะปรกิ ำเนิด และ 3.การติดเชอื้ ในกระแสโลหิต

กลุ่มเด็กอายุ 5-14 ปี ในเพศชายได้แก่ 1.อุบัติเหตุจากการขนส่ง2.อุบัติเหตุจากการ
จมน้ำและ 3.ทุกสาเหตุภายนอกอื่น ๆ ส่วนในเพศหญิง ได้แก่ 1.อุบัติเหตุจากการขนส่ง 2.โรคปอด
บวม และ 3.อบุ ัติเหตุจากการจมน้ำ

กลุ่มอายุ 15-59 ปี ในเพศชาย ได้แก่ 1.โรคหลอดเลือดสมอง 2.โรคตับและ 3.
โรคหัวใจขาดเลือด ส่วนในเพศหญิง ได้แก่ 1.โรคหลอดเลือดสมอง 2.การติดเชื้อในกระแสโลหิต และ 3.
มะเร็งเต้านม

กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ในเพศชาย ได้แก่ 1.โรคหลอดเลือดสมอง 2.โรคปอดบวม
และ 3.มะเร็งไม่ระบุตำแหน่ง ในเพศหญิง ได้แก่ 1.โรคหลอดเลือดสมอง 2.โรคปอดบวมและ
3.Septicaemia ดงั ตารางท่ี 20

ตารางท่ี 20 สรุปสาเหตุการตายจำแนกตาม 5 กลุ่มวัยที่สำคญั ประจำปี พ.ศ.2554 – 2563

สรปุ ต่ำกว่า 1 ปี เพศชาย สรุปต่ำกว่า 1 ปี เพศหญงิ

1. Certain conditions orginating in the 1. Certain conditions orginating in the

perinatal period perinatal period

2. Congenital malformations, deformations 2. Congenital malformations, deformations

and chromosoma abnormalities and chromosomal abnormalities

3. Pneumonia 3. Anaemias

สรุป 1-4 ปี เพศชาย สรุป 1-4 ปี เพศหญิง

1. Accidental drowning and submersion 1. Pneumonia

2. All other external causes 2. Certain conditions orginating in the

3. Septicaemia perinatal period

3. Septicaemia

สรุป 5-14 ปี เพศชาย สรุป 5-14 ปี เพศหญิง

1. Transport accidents 1. Transport accidents

2. Accidental drowning and submersion 2. Pneumonia

3. All other external causes 3. Accidental drowning and submersion

4. Congenital malformations, deformations 4. Congenital malformations, deformations

and chromosomal abnormalities and chromosomal abnormalities

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 45


บทท่ี 1 ขอ้ มูลทว่ั ไป

สรปุ 15-59 ปี เพศชาย สรปุ 15-59 ปี เพศหญิง

1. Cerebrovascular diseases 1. Cerebrovascular diseases
2. Diseases of the liver 2. Septicaemia
3. Ischaemic heart diseases 3. Malignant neoplasm of breast
4. Pneumonia 4. Septicaemia
5. Intentional self-harm 5. Pneumonia

สรปุ 60 ปขี ้ึนไป เพศชาย สรุป 60 ปขี ้นึ ไป เพศหญงิ

1. Malignant neoplasm of liver and 1. Diabetes mellitus
intrahepatic bile ducts 2. Remainder of diseases of the
2. Human immunodeficiency virus [HIV] genitourinary system
disease 3. Ischaemic heart diseases
3. Respiratory tuberculosis 4. Human immunodeficiency virus [HIV]
4. Malignant neoplasm of trachea, disease
bronchus and lung 5. Diseases of the liver
5. Septicaemia
สรุป 60 ปขี ึ้นไป เพศหญิง
สรปุ 60 ปีขึ้นไป เพศชาย
1. Cerebrovascular diseases
1. Cerebrovascular diseases 2. Pneumonia
2. Pneumonia 3. Septicaemia
3. Remainder of malignant neoplasms 4. Remainder of malignant neoplasms
5. Diabetes mellitus
4. Ischaemic heart diseases 6. Remainder of diseases of the
5. Chronic lower respiratory diseases
6. Hypertensive diseases genitourinary system
7. Diabetes mellitus 7. Hypertensive diseases
8. Remainder of diseases of the 8. Remainder of diseases of the nervous
genitourinary system System
9. Malignant neoplasm of trachea, 9. Ischaemic heart diseases
bronchus and lung 10. Malignant neoplasm of trachea,
10. Malignant neoplasm of liver and bronchus and lung
intrahepatic bile ducts

ท่มี า : ขอ้ มลู การตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2554-2563

46 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2563


บทท่ี 2

PP&P Excellence


บทที่ 2 PP&P Excellence

ด้านส่งเสรมิ สุขภาพ ป้องกนั โรคและคุ้มครองผ้บู ริโภคเป็นเลศิ

พัฒนาการสง่ เสริมสุขภาพ และการดูแลสขุ ภาพทุกกลุม่ วยั

การดูแลสุขภาพมารดาและทารก

การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสู่ความเป็นเลิศ (P&P Excellence) เป็นหนึ่งในแผน
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มี
ความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน กรมอนามัยได้มีการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและ
ป้องกันโรคสู่ความเป็นเลิศ (Promotion and Prevention Excellence Strategic Plan Forum)
โดยมีเป้าหมายสำคัญคือ การพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายอย่างมีส่วนร่วม
เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย โดยเริ่มจากกลุ่มสตรีและเด็ก เน้นการส่งเสริม
สุขภาพมารดาและบุตรตั้งแต่ระยะก่อนตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์ จนถึงหลังคลอด เนื่องจากเป็น
จุดเริ่มต้นที่สำคัญต่อการให้กำเนิดทารกที่มีคุณภาพ สมบูรณ์ทั้งด้านร่างกายและสติปัญญา การ
ตั้งครรภ์ของสตรีเป็นภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม
ทำให้หญิงต้ังครรภ์มีความไม่สุขสบายและมีความวิตกกงั วล ดงั นน้ั จึงจำเปน็ ท่หี ญิงตงั้ ครรภ์ต้องเรียนรู้
เกี่ยวกับการดูแลตนเองและทารกในครรภ์ การเปลี่ยนแปลงของร่างกายตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะ
คลอด และระยะหลังคลอด การฝึกการหายใจเพื่อลดความเจ็บปวดขณะคลอด เพื่อเตรียมพร้อม
สำหรับการคลอด รวมทั้งเตรียมรับบทบาทการเป็นมารดาที่ดีมีคุณภาพ สามารถดูแลตนเองภายหลัง
คลอดได้อย่างถูกต้อง และเลี้ยงดูบุตรดว้ ยน้ำนมที่เป่ียมด้วยคุณค่าทางโภชนาการ พรอ้ มด้วยความรัก
ความอบอุ่น เป้าหมายสูงสุด คือ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ไม่มีมารดาเสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และ
การคลอด ซงึ่ กลวิธีทีจ่ ะบรรลุเป้าหมายดังกลา่ ว สถานบริการทุกแหง่ ต้องใหบ้ ริการงานอนามัยแม่และ
เด็กได้ตามเกณฑม์ าตรฐาน ตงั้ แตเ่ ตรยี มความพร้อมของค่แู ต่งงานใหมใ่ นชุมชนซ่ึงถือเปน็ การให้บริการ
ก่อนการตั้งครรภ์ มาตรฐานการฝากครรภ์ (ANC) คุณภาพ การประเมินภาวะเสี่ยงของมารดาขณะ
ตั้งครรภ์ ให้ความรู้และดูแลด้านโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การออกกำลังกาย และการ
พกั ผอ่ นเพ่ือผ่อนคลาย รวมไปถงึ การดูแลสุขภาพจติ ใจและการปรับตัวเพื่อรับการเปล่ียนแปลงท้ังด้าน
ร่างกาย ด้านจิตใจ และด้านสังคมในการรองรับบทบาทหน้าที่ และภาพลักษณ์ใหม่ที่จะเกิดขึ้น
นอกจากนี้ยังมีมาตรฐานห้องคลอด (LR) คุณภาพซึ่งให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่เริ่มมีน้ำเดินหรือ
เจ็บครรภ์คลอดจนถึงการดูแลหลังคลอดในชุมชน เพื่อลดการตายของมารดาและให้กำเนิดเด็กที่มี
พฒั นาการสมวัยต่อไป

สถานการณง์ านอนามยั แมแ่ ละเด็กของจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปี 2563 ไมพ่ บมารดาเสียชีวิต หญงิ
ตั้งครรภไ์ ดร้ ับการฝากครรภ์คร้ังแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ รอ้ ยละ 87.67 (เปา้ หมายร้อยละ 75)
หญิงตง้ั ครรภ์ท่ีได้รับการดแู ลก่อนคลอด 5 ครัง้ ตามเกณฑค์ ุณภาพ ร้อยละ 82.13 (เป้าหมาย ร้อยละ
75) หญิงตั้งครรภ์ทุกรายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงและพบภาวะเสี่ยง ร้อยละ 53.82 (เป้าหมาย
ร้อยละ 25) หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสรมิ ไอโอดีน ธาตุเหล็กและกรดโฟลิก ร้อยละ 77.91 หญิงหลัง
คลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 91.62 (เป้าหมายร้อยละ 65) จำนวนหญิงคลอด

48 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2ี่ 1

6,148 ราย ไม่ฝากครรภ์ 64 ราย ร้อยละ 1.04 โลหิตจางครั้งที่ 1 ร้อยละ 15.04 (เกณฑ์ร้อยละ 20)
ครงั้ ที่ 2 รอ้ ยละ 9.02 (เกณฑ์ รอ้ ยละ 12) คลอดกอ่ นกำหนด ร้อยละ 6.96 น้ำหนกั น้อยกว่า 2,500
กรัม ร้อยละ 6.97 (เกณฑ์ ร้อยละ 7) เป็นเด็กที่คลอดก่อนกำหนดร้อยละ 50.19 สาเหตุจากมารดา
ตัดสินใจไปโรงพยาบาลช้าเมือ่ มีอาการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ปากมดลูก เปิดเกิน 3 เซนติเมตร
ทำให้ยับยั้งการคลอดไม่สำเร็จ มารดาตกเลือดหลังคลอด ร้อยละ 1.56 (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 5 )
หญิงตั้งครรภ์มีภาวะขาดสารไอโอดีน ร้อยละ 55.33 (เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 50) แม้เกินเกณฑ์แต่มี
แนวโน้มลดลง ทารกเกิดมีชีพจำนวน 6,172 ราย เกิดไร้ชีพ 28 ราย อัตราทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน
(รายงานแม่และเด็กไทย) 13.61 : 1,000 (เป้าหมายไม่เกิน 25 : 1,000 การเกิด มีชีพ) ทารกเกิดมีชีพ
ตายภายใน 7 วัน จำนวน 10 ราย ทารกตายปริกำเนิด 38 ราย สาเหตุจากตายเปื่อยยุ่ย, Anomaly,
คลอดกอ่ นกำหนด, ทารกตายภายใน 28 วัน จำนวน 24 ราย ภาวะขาดสารไอโอดีนของทารกแรกเกิด
(TSH> 11.2 mU/L) ร้อยละ 14.83 (เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 3) สอดคล้องกับสถานการณ์ของหญิง
ตั้งครรภ์ท่มี ีภาวะขาดสารไอโอดีนของจังหวัดสพุ รรณบรุ ี

การคัดกรองความเสี่ยงโรคธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ (รายงานครรภ์เสี่ยง) มีการคัดกรอง
หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่มาฝากครรภ์ทุกราย หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรอง OF/MCV/ MCH/
DCIP ร้อยละ 96.46 (เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) หญิงตั้งครรภ์ที่มีผลคัดกรองผิดปกติ ร้อยละ
38.09 คู่สมรสเสี่ยงธาลัสซีเมียได้รับการตรวจคัดกรอง ร้อยละ 70.45 สามีพบผล Positive ร้อยละ
34.42 มีคู่สมรสเสี่ยงร้อยละ 77.63 ส่งตรวจ Hb Typing ร้อยละ 96.27 คู่สมรสเสี่ยงได้รับการ ส่ง

ตรวจ DNA analysis (PCR 1 และ PCRβ) ร้อยละ 12.32 คู่สมรสเสี่ยงที่มีโอกาสให้กำเนิดบุตรท่ี
เปน็ โรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง 17 คู่ ร้อยละ 48.57

ภาวะ Down syndrome มีแม่อยู่ในเกณฑ์เสี่ยง ร้อยละ 11.85 ได้รับการให้คำปรึกษา
ร้อยละ 100 หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการคัดกรองด้วย Quadruple Test ร้อยละ 92.66 หญิงตั้งครรภ์
ที่คัดกรองด้วย Quadruple Test และมีผลเสี่ยงได้รับการหัตถการเพื่อวินิจฉัยทารกในครรภ์
เช่น เจาะน้ำคร่ำ ร้อยละ 21.84 หญิงตั้งครรภ์ที่ผลการวินิจฉัยทารกในครรภ์เป็น Down syndrome
1 ราย และตดั สินใจยุตกิ ารตั้งครรภ์ 1 ราย

การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (รายงาน PHIMS) หญิงคลอดทั้งหมด
จำนวน 6,177 ราย ฝากครรภ์ 6,113 ราย ผลเลือด เอช ไอ วี บวก 33 ราย ได้รับยาต้านไวรัสสูตร
HAART เมื่อมีอาการหรือ CD4 เข้าเกณฑ์การรักษา จำนวน 25 ราย ได้รับยาต้านไวรัส สูตร HAART
เมื่อยังไม่เข้าเกณฑ์การรักษา/ไม่ทราบผล CD4 จำนวน 6 ราย ได้รับยา AZT ตัวเดียวระยะตั้งครรภ์
และ/หรอื ร่วมกับ single-dose NVP จำนวน 1 ราย ไดร้ บั ยาสูตรอน่ื ๆ ระยะต้งั ครรภ์และ/หรือระยะ
คลอด จำนวน 1 ราย ไม่ฝากครรภ์ 64 ราย ผลเลือด เอช ไอ วี บวก จำนวน 2 ราย ได้รับยา AZT ตัว
เดียวระยะตั้งครรภ์และ/หรือร่วมกับ single-dose NVP ผลการตรวจซิฟิลิสระยะตั้งครรภ์ (VDRL)
ผลบวก 1 ราย ไดร้ บั ยา AZT ตวั เดียวระยะตง้ั ครรภ์และ/หรอื ร่วมกับ single-dose NVP 1 ราย ได้รับ
การวินิจฉัยว่าเป็นซิฟิลิส 31 ราย มารดาและบุตรได้รับการรักษาซิฟิลิสและติดตามอย่างต่อเนื่องทุก
ราย เด็กเกิดมีชีพ 35 ราย ได้รับยา AZT อย่างเดียว 16 ราย ได้รับยาที่มีฤทธิ์ต้านไวรัสที่มีฤทธิ์สูง
(สูตร HAART) จำนวน 19 ราย ไม่พบการถ่ายทอดเชือ้ จากมารดาส่บู ตุ ร

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 49


บทที่ 2 PP&P Excellence

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้จัดทำโครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพ
คนไทยกลุม่ สตรีและเด็กปฐมวัย จงั หวัดสุพรรณบุรี ปี 2563 โดยมีกจิ กรรม ดังนี้

1. สร้างความรอบรู้ระบบสุขภาพแม่และเด็กแก่เจ้าหน้าที่มีศักยภาพในการทำงานและหญิง
ตงั้ ครรภม์ ีศกั ยภาพในการดูแลตนเองและตดั สินใจคลอดตามธรรมชาติ

2. จดั ประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงาน MCH Board ระดับจังหวดั จำนวน ๒ ครั้ง
3. พัฒนาระบบ Help for PPH / One Province One Labor room และการติดตามผล

เพื่อปอ้ งกันการตายของมารดา
4. ประเมินมาตรฐาน ANC LR WCC คณุ ภาพในโรงพยาบาล โดยทมี ประเมินฯ ระดบั จงั หวดั

4.1 โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลท่วั ไป 2 แหง่
4.2 โรงพยาบาลชมุ ชน 8 แห่ง
5. จดั ประชมุ คืนข้อมูลการสร้างเสรมิ สุขภาพเชงิ รกุ เพอื่ ป้องกันภาวะเจบ็ ครรภ์คลอดก่อน
กำหนด จงั หวดั สุพรรณบรุ ี รว่ มกับกรมอนามัยและโครงการเครอื ข่ายสุขภาพมารดาและ
ทารกในพระราชปู ถัมภ์ จำนวน 2 คร้งั
6. เกบ็ ปสั สาวะหญงิ ตั้งครรภ์เพ่ือเฝ้าระวงั การขาดสารไอโอดีนในหญงิ ตั้งครรภ์ จำนวน 300
ราย
7. จดั กิจกรรมระดมสมองเพ่อื แก้ไขปัญหาขาดสารไอโอดนี ในพื้นท่ี (อ.สามชกุ )
8. จัดประชุมวางแผนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพกลุ่มวัยตามระบบบริการทาง
การแพทย์ใหม่ (New Normal Medical Services)
9. จดั ประชุมผ้รู ับผดิ ชอบงานกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวยั ระดับจงั หวดั จำนวน 1 ครงั้
10. ติดตามผลงานตามตวั ชีว้ ดั และคืนกลับข้อมลู ไปยงั พ้นื ที่ทุกไตรมาส
11. จดั ประชมุ ทำแผนปฏบิ ัติการกลมุ่ สตรแี ละเด็กปฐมวยั ระดบั จังหวัด / อำเภอ

ผลการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กปี 2558-2563 เปรยี บเทียบเปา้ หมาย ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ข้อมูลอนามัยแม่และเดก็ ปี 2558 -2563 เปรียบเทยี บเปา้ หมาย

ตัวชวี้ ัด KPI เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน
2558 2559 2560 2561 2562 2563

กลมุ่ หญงิ ตั้งครรภ์ (รายงานแม่และเด็กไทย)

1.อัตราตายมารดา < 17/100,000 0 53.81 14.32 0 30.85 0

LB

2.หญงิ มคี รรภม์ ภี าวะโลหติ จางจากการ < รอ้ ยละ 20 16.46 17.49 17.80 19.24 16.28 15.04

ขาดธาตุเหล็ก (ครงั้ ท่ี 1)

3.หญงิ มคี รรภม์ ภี าวะโลหติ จางจากการ < รอ้ ยละ 12 7.65 12.57 12.24 12.03 9.14 9.02

ขาดธาตุเหลก็ (ครง้ั ที่ 2)

4.หญิงต้ังครรภ์มไี อโอดนี ในปสั สาวะ < รอ้ ยละ 50 59.0 66.0 NA 66.0 56.30 55.33

น้อยกว่า 150 ไมโครกรมั /ลิตร

5.หญิงตัง้ ครรภ์คลอดก่อนกำหนด < ร้อยละ 6.5 NA NA 8.86 7.07 7.23 6.96

6.ร้อยละการตกเลอื ดหลงั คลอด < รอ้ ยละ 5 4.62 3.56 1.65 2.02 2.72 1.56

50 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2่ี 1

ตวั ชว้ี ัด KPI เปา้ หมาย ผลการดำเนนิ งาน
2558 2559 2560 2561 2562 2563
กลมุ่ หญิงต้ังครรภ์ (รายงาน HDC) ร้อยละ 100
7.หญิงตง้ั ครรภไ์ ด้รบั ยาเมด็ เสริม > ร้อยละ 75 77.82 81.69 83.72 76.27 73.05 77.91
ไอโอดีน
8. อัตราหญิงตั้งครรภฝ์ ากครรภ์คร้ังแรก 53.70 57.70 68.39 76.72 84.82 87.67
อายุครรภ์ไม่เกนิ 12 สปั ดาห์

9. อัตราการฝากครรภค์ รบ 5 คร้ังตาม > ร้อยละ 75 45.64 39.06 55.75 65.92 74.48 82.13
เกณฑ์

10. หญิงหลังคลอดและทารกไดร้ บั การ > รอ้ ยละ 75 65.57 78.30 74.65 80.95 85.42 91.62
เยยี่ มหลังคลอดครบ 3 ครัง้ ตามเกณฑ์

กลุ่มทารก (รายงานแมแ่ ละเด็กไทย)

1. อัตราการเกดิ ไรช้ ีพ < 16.7 : 1,000 3.29 3.90 4.99 3.49 3.71 4.54

TLB

2. อัตราตายปริกำเนดิ ของทารก < 9 : 1,000 4.17 6.32 2.57 4.93 7.89 6.16
TLB

3. ทารกแรกเกดิ ขาดออกซิเจน < 25 : 1,000 11.50 16.01 13.32 14.54 12.55 13.61
LB

กลมุ่ ทารก (รายงาน HDC)

4.ทารกแรกเกิดนำ้ หนัก <2,500 กรมั < ร้อยละ 7 9.66 8.43 7.02 7.02 6.53 6.97

5. อตั ราตายทารกอายุนอ้ ยกว่าหรอื เทา่ กบั < 3.8 : 1,000 LB 3.61 3.05 3..25 3.84 3.85 3.89
28 วัน

โรคจากภาวะครรภเ์ สยี่ ง (รายงาน PHIMS)

1.อตั ราหญงิ ตงั้ ครรภต์ ดิ เชอ้ื HIV < ร้อยละ 0.65 0.57 0.60 0.61 0.69 0.59 0.57

2.หญงิ ตั้งครรภท์ ต่ี ดิ เชอ้ื HIV ไดร้ บั ยา > รอ้ ยละ 90 95.45 100 95.35 100 100 100
ตา้ นไวรสั เอดส์

3.อตั ราถ่ายทอดเช้ือ HIV จากแมส่ ู่ลูก <รอ้ ยละ 2 2.27 0 2.33 0 0 0
(1/44) (0/44) (1/43) (0/46) (0/37) (0/35)

ปญั หาทพ่ี บในกลุ่มหญิงต้ังครรภ์ ได้แก่ การขาดสารไอโอดีน การคลอดก่อนกำหนด และการ
ให้กำเนิดทารกน้ำหนักตัวน้อย ซึ่งจังหวัดสุพรรณบุรี ได้รณรงค์และกำหนดมาตรการป้องกันปัญหา
ดังกล่าวลงสู่สถานบริการทุกระดับในทุกพื้นที่ใน ตลอดการตั้งครรภ์ มีการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพ่ือ
ป้องกันการคลอดก่อนกำหนดในสถานบริการทุกระดับ การขับเคลื่อนตำบลมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของ
ชีวิต การติดตามประเมินมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก มาตรฐาน ANC/LR คุณภาพในสถานบริการ
และเฝ้าระวังความเสี่ยงในหญิงตัง้ ครรภ์ทุกราย มีการเชื่อมโยงขอ้ มูลการดูแลหญิงครรภเ์ สี่ยงไปจนถงึ
รพ.สต. เพื่อติดตามเย่ียมบ้าน กำกับการกินยาเม็ดเสริมไอโอดีน การใช้ยา Progesterone เฝ้าระวัง
การคลอดก่อนกำหนด และดูแลหญงิ ตงั้ ครรภ์เส่ียงในชุมชนอย่างต่อเน่ืองเพื่อป้องกันมารดาตาย สถาน
บริการทุกแห่งรับฝากครรภ์ตามนโยบายฝากท้องทุกที่ฟรีทุกสิทธิ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 51


บทท่ี 2 PP&P Excellence

สามารถให้บริการฝากครรภ์ได้ตามมาตรฐาน ANC คุณภาพ แต่ยังพบหญิงตั้งครรภ์ปกปิด ไม่เห็น
ความสำคัญของการฝากครรภ์ ไม่มีเวลามาฝากครรภ์ ไม่อยากรอนานเนื่องจากคลินิก ANC ใน
โรงพยาบาลแออัด สถานบริการในพื้นที่ได้แก้ไขปัญหาโดยการรับฝากครรภ์เชิงรุ ก แต่ก็ยังพบหญิง
ตั้งครรภ์ฝากครรภ์ล่าช้า ไม่มาฝากครรภ์ ร้อยละ 0.72 นอกจากนี้ยังมีการข้ามเขตมาคลอดโดยไม่ได้
ฝากครรภ์ในพื้นที่ และมักพบภาวะแทรกซ้อนในหญิงตั้งครรภ์กลุ่มนี้ จังหวัดสุพรรณบุรีได้มีนโยบาย
ในการติดตามเฝ้าระวังหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงและจัดการความเสี่ยงเป็นรายบุคคล จนถึงหลังคลอด 42 วัน
มีการจัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ในชุมชนและในสถานบริการ การเชื่อมโยงและคืนข้อมูลกลับพื้นที่ผ่าน
ช่องทางต่าง ๆ และการส่งต่อข้อมูลระหว่างสถานบริการแต่ละระดับ ทำให้การจัดการครรภ์เสี่ยงได้ผล
ดขี ้นึ ซึ่งปี 2563 ไม่พบมารดาตาย ดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 จำนวนมารดาตายจำแนกตามสาเหตุการตาย ปี 2558 - 2562

ขอ้ มูลมารดาตาย ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63

จำนวนทารกเกิดมีชีพท้งั หมด 7,916 7,462 6,981 6,876 6,484 6,172

จำนวนมารดาตาย 0410 2 0

อัตรามารดาตายตอ่ แสนการเกดิ มชี พี 0 53.60 14.32 0 30.85 0

สาเหตุ Direct caused 12
- Postpartum Hemorrhage

- Amniotic Fluid Embolism 1

- Eclampsia

สาเหตุ Indirect caused 1
1
- Infection Influenza
1
- AVM
- CHF with PIH c Severe
Pulmonary edema

จังหวัดสุพรรณบุรี มีเด็กที่ได้รับการเจาะส้นเท้าทั้งหมด 6,623 ราย ผล Serum TSH ใน
ซรี ่ัมครัง้ แรกมากกว่า 11.2 mU/L จำนวน 982 ราย คิดเป็นอัตราการขาดสารไอโอดีน รอ้ ยละ 14.83
(เป้าหมายไม่เกินร้อยละ3) Serum TSH มากกว่า 25 mU/L เรียกตรวจซ้ำ จำนวน 45 ราย พบผล
ผิดปกติ 7 รายแพทย์วินิจฉัยเป็น Congenital Hypothyroid 3 ราย คิดเป็น 1.29 : 3000 ได้รับ
การดูแลและติดตามอย่างต่อเนื่องซึ่งภาวะพร่องธัยรอยด์ฮอร์โมนในทารกแรกเกิดสอดคล้องกับ
สถานการณ์มารดาที่มีภาวะขาดสารไอโอดีนของจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2563 ซึ่งเก็บตัวอย่างปัสสาวะ
หญิงต้งั ครรภเ์ มอ่ื มาฝากครรภค์ รั้งแรกในโรงพยาบาลทุกแหง่ จำนวน 300 ราย แปลผลจำนวน 4 แห่ง
(กลุ่มตัวอย่าง 40 รายข้นึ ไป) เพ่อื ตรวจหาสารไอโอดนี พบว่าสารไอโอดีนในปสั สาวะตำ่ กวา่ 150 ug/L

52 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2ี่ 1

อยูใ่ นช่วงรอ้ ยละ 52.50-61.57 ซึ่งเกินเกณฑ์ (เปา้ หมายไมเ่ กินร้อยละ 50) ส่งผลใหท้ ารกมภี าวะพร่อง
ไทรอยด์ฮอรโ์ มนดงั กลา่ ว ดังตารางท่ี 3

ตารางที่ 3 สรุปภาวะขาดสารไอโอดนี ของทารกแรกเกิด จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563

ชว่ งเวลา จำนวนเดก็ เกดิ > 48 ชม. TSH >11.2 รอ้ ยละการขาดสาร

ท่ตี รวจวเิ คราะห์ ในเด็กเกิด > 48 ชม. ไอโอดีน (% IDD)

ไตรมาส 1 1,665 284 17.06

ไตรมาส 2 1,551 244 15.73

ไตรมาส 3 1,633 270 16.53

ไตรมาส 4 1,774 184 10.37

รวม 6,623 982 14.83

จากปัญหาการขาดสารไอโอดีนของหญิงตั้งครรภ์ที่ส่งผลกระทบต่อบุตร จังหวัดสุพรรณบุรี
ได้รณรงคแ์ ละขับเคลื่อนตำบลมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิตอย่างตอ่ เนอื่ ง โดยเฉพาะอย่างยง่ิ 270
วันแรกช่วงตั้งครรภ์ซึ่งส่งผลต่อบุตร มีการทำวิจัยเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะขาดสาร
ไอโอดีนของทารกแรกเกิดในมารดาที่บุตรมีภาวะขาดสารไอโอดีน จำนวน 200 ราย เพื่อหาแนว
ทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว ตลอดจนส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ ตลอดจนหญิงให้ นม
บุตรได้บริโภคอาหารที่มีไอโอดนี และยาเม็ดเสริมไอโอดนี อย่างต่อเนื่องจนถึงหลงั คลอด 6 เดอื น อันจะ
นำไปสู่การให้กำเนิดทารกที่มีน้ำหนักตัวมากกว่า 2,500 กรัม ซึ่งพร้อมที่จะเติบโตมีร่างกายแข็งแรง
สติปญั ญาดี มพี ัฒนาการสมวยั ต่อไป

การดูแลสุขภาพกลมุ่ เดก็ ปฐมวัย

เด็กแรกเกิด-5 ปี เป็นทรัพยากรทีส่ ำคัญต่อการพัฒนาประเทศ เด็กที่มีคุณภาพจะต้องเป็น
เด็กที่มีการเจริญเติบโต และพัฒนาการสมบูรณ์ทุกด้านตามวัย การอบรมเลี้ยงดูและประสบการณ์
ต่างๆ ที่เด็กได้รับในช่วงวัยนี้ จึงมีความสำคัญต่อการพัฒนาเด็กเป็นอย่างยิ่ง เปรียบเสมือนการลงทุน
ทางสังคมเพื่ออนาคต ซึ่งผลตอบแทนสูง สุขภาพเด็กแรกเกิด-5 ปี เป็นช่วงอายุ 5 ปี เป็นช่วงที่มี
ความสำคัญมากที่สุด โดยในระยะเวลาดังกล่าว เด็กจะมีพัฒนาการและการเจริญเติบโตอย่างรวดเรว็
ซึ่งมีพัฒนาการ ด้านสมองสูงร้อยละ 80 เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ใหญ่ และยังเป็นช่วงเวลาที่สำคัญของ
การสรา้ งรากฐานและคุณภาพชีวิต พฒั นาการเด็กมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา นับต้ังแต่การปฏิสนธิ
ในครรภ์จนกระทั่งคลอดและเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงมีทั้งด้านร่างกาย ภาษา อารมณ์
และสังคม โดยเป็นผลมาจากการเจริญเติบโตของร่างกาย นอกจากน้ี ยังมีปัจจัยทางพันธุกรรมและ
สิ่งแวดล้อมที่เป็นปัจจัยที่สำคัญต่อพฤติกรรมการเรียนรู้อย่างเหมาะสม ปัญหาที่พบบ่อย ได้แก่
ภาวะการเจริญเตบิ โตไม่สมวยั จากภาวะโภชนาการตำ่ หรือเกนิ เกณฑ์ การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิต
จางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตสุ ำคัญจากพฤติกรรมการเลยี้ งดูทไ่ี ม่เหมาะสม การเล้ียงลูกด้วย
นมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง นอกจากนี้ พบว่าการค้นหาเด็ก
ที่สงสัยมีพัฒนาการล่าช้าค้นหาไม่ได้ตามเกณฑ์เป้าหมายซึ่งจะส่งผลให้เด็กกลุ่มนี้ขาดโอกาสที่ได้รับ

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 53


บทท่ี 2 PP&P Excellence

การประเมินพัฒนาการและคำแนะนำในการดูแลสุขภาพของตนเองพบว่า ส่วนใหญ่เกิดจากพ่อแม่
ผู้ปกครอง ไม่ตระหนักและเห็นความสำคัญในการพาลูกหลานมาประเมินพัฒนาการเด็ก และไม่
ยอมรับผลการประเมินหากพบเด็กล่าช้าและไม่พาเด็กไปดูแลแต่เนื่อง ฉะนั้นการติดตามเด็กที่สงสัย
ล่าช้ายังเป็นปัญหาของกการดำเนนิ งานในเกอื บทุกพื้นที่ในจังหวัด ในส่วนของการเจริญเติบโต พบว่า
เด็กเตี้ย ผอมมีจำนวนมากขึ้นจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม มีพฤติกรรมเนือยนิ่ง นอนหลับไม่
เพยี งพอ

สถานการณ์เด็กแรกเกิด -ต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 71.10 (เกณฑ์ร้อยละ
50) เดก็ อายุ 6 เดอื น ถงึ 5 ปี ทมี่ ารบั บรกิ ารคลนิ ิกภูมคิ ุ้มกนั ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก ร้อยละ 81.48
(เกณฑ์ร้อยละ 70) เด็กอายุ 6-12 เดือน ได้รับการเจาะ Hct 530 ราย มีภาวะซีด ร้อยละ 16.53
(เกณฑร์ ้อยละ 10)

เด็กปฐมวัย 5 ช่วงวัย อายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน (รายงาน Specialpp) จำนวน
25,123 คน ได้รับ การคัดกรองพัฒนาการตามช่วงอายุ ร้อยละ 97.09 (เกณฑ์ร้อยละ 90) พบสงสัย
ล่าช้า ร้อยละ 24.79 (เกณฑ์ร้อยละ 20) ติดตามให้มารับการกระตุ้นพัฒนาการ ร้อยละ 96.74
(เกณฑ์ร้อยละ 90) พัฒนาการสมวัย ร้อยละ 95.49 (เกณฑ์ร้อยละ 85) เด็กมีพัฒนาการล่าช้าต้อง
ได้รับการกระตุน้ พัฒนาการด้วยเคร่ืองมือ TEDA4I รวมจำนวน 192 คน ได้รับการกระตุ้น ร้อยละ 75
กระตุ้นครบเกณฑ์ร้อยละ 56.94 หลังกระตุ้นปกติ 20 ราย ร้อยละ 24.39 กระตุ้นไม่ครบเกณฑ์
ร้อยละ 34.03 เด็กอยู่ระหว่างการติดตาม ร้อยละ 3.65 ติดตามไม่ได้ ร้อยละ 21.35 ปัญหาเรื่องการ
คัดกรองพัฒนาการพบว่าครยู ังขาดทักษะในการคัดกรองพัฒนาการ ขาดการสื่อสารให้ผู้ปกครองทราบ
ปัญหาและดูแลต่อ หรือสื่อสารแล้วผู้ปกครองไม่ร่วมมือ ในส่วนของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเองมีการ
เปลยี่ นผรู้ บั ผดิ ชอบงาน ขาดทกั ษะในการประเมินพฒั นาการเด็ก พอ่ แม่ ผู้ปกครองไม่เห็นความสำคัญ
และคิดว่าไม่ได้เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบรุนแรงถึงชีวิต บางครอบครัวไม่ยอมรับเรื่องที่บุตรหลานมี
พัฒนาการล่าช้า/หรือไม่สมวัย รวมถึงฐานะของครอบครัวมีผลต่อการนำบุตรหลานมารับการกระตุ้น
พัฒนาการ

เด็กปฐมวัย จำนวน 29,814 คน ได้รับการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ร้อยละ 95.96 สูงดี
สมสว่ น ร้อยละ 66.62 (เกณฑ์รอ้ ยละ 60) มภี าวะเตีย้ ร้อยละ 6.33 (เกณฑ์ไมเ่ กนิ ร้อยละ 10) มีภาวะ
ผอม ร้อยละ 5.22 (เกณฑ์ไมเ่ กินร้อยละ 5) ภาวะอ้วน รอ้ ยละ 8.01 (เกณฑ์ไม่เกนิ ร้อยละ 10) สาเหตุ
จากการบริโภคอาหารไขมันสูง อาหารจานด่วน น้ำอัดลม ขนมขบเคี้ยว เล่นโทรศัพท์มือถือ ขาดการ
ออกกำลังกาย แมจ้ ะมกี ารผลักดันการดำเนนิ งานตำบลมหศั จรรย์ 1,000 วันแรกของชวี ิตในทุกอำเภอ
เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตของทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาจนถึงอายุ 2 ปี แต่พบว่าบุคลากร
สาธารณสุขยังขาดการคืนข้อมูลที่เป็นปัญหา และการบูรณาการกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิตไปด้วยกันทั้งตำบล ปัญหาของเด็ก
ปฐมวัยในดา้ นการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการจงึ ยงั คงอยู่

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้จัดทำโครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคน
ไทยกลุม่ เด็กปฐมวัย ปี 2563 โดยมกี ิจกรรม ดังน้ี

1. รว่ มประชมุ คณะกรรมการ MCH Board ระดบั จังหวดั ติดตามตวั ช้ีวดั ทเี่ ปน็ ปัญหา ได้แก่
การพบเดก็ สงสยั ลา่ ชา้ ตำ่ กว่า ร้อยละ 20 เด็กสงู ดสี มส่วนไมผ่ า่ นเกณฑใ์ นบางพ้ืนท่ี

54 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

2. ประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารถอดบทเรียนตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
3. จัดประชมุ ถ่ายทอดแนวทางจัดประชุมเตรยี มความพร้อมก่อนเปดิ สถานศึกษาเพ่ือความ

ปลอดภยั จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ให้แก่ผู้รับผิดชอบงาน 4 กระทรวงหลกั ได้แก่
3.1 กระทรวงศึกษาธกิ าร : ศึกษาธิการจงั หวดั ผ้อู ำนวยการ สพป.เขต 1-3/ สพม.9
3.2 กระทรวงมหาดไทย : สำนกั งานส่งเสริมการปกครองสว่ นท้องถ่นิ สุพรรณบรุ ี
3.3 กระทรวงการกีฬา : รร.กฬี าสพุ รรณบุรี มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยา
เขตสพุ รรณบุรี
3.4 กระทรวงพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ : พมจ.สุพรรณบุรี

4. จดั ประชมุ การพัฒนาระบบติดตามเด็กลา่ ช้า (TEDA4I) รว่ มกบั ศนู ยส์ ุขภาพจิตที่ 5
5. ร่วมประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยจังหวัดสุพรรณบรุ ี จำนวน 2

ครง้ั
6. กำกบั ตดิ ตามการคดั กรองพัฒนาการในชว่ งปกติและชว่ งสัปดาหร์ ณรงค์ เดอื นกรกฎาคม

และการรายงานภายในเวลาทก่ี ำหนด
7. ขับเคลื่อนตำบลมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต ขยายพืน้ ท่เี พ่มิ 20 ตำบล
8. ประเมินตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชวี ิต จำนวน 10 อำเภอ ๆ ละ 1 ตำบล รวม

10 ตำบล
9. จัดประชมุ ผ้รู บั ผิดชอบงานกลมุ่ สตรแี ละเดก็ ปฐมวัยระดับจังหวดั จำนวน 1 คร้ัง
10. พัฒนาศกั ยภาพสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ของกระทรวงสาธารณสุข (รพศ.)
11. เยย่ี มศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็กเพื่อติดตามระบบ New normal จำนวน 4 แห่ง
12. ร่วมกับศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี Audit บุคลากร รพ.สต.ในการประเมินพัฒนาการเด็ก

ปฐมวยั
13. ร่วมกับศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี เก็บข้อมูลตำบลต้นแบบมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของ

ชวี ติ
14. ติดตามผลงานตามตัวช้วี ดั และคืนกลับขอ้ มูลไปยังพนื้ ที่ทุกไตรมาส
15. จดั ประชุมทำแผนปฏิบตั ิการกลมุ่ สตรแี ละเด็กปฐมวัยระดับจงั หวัด / อำเภอ

ผลการดำเนินงาน
การดำเนนิ งานคัดกรองพัฒนาการเด็กตามกลุ่มอายุ (Specialpp) รายอำเภอ ปี 2563 พบว่า

เดก็ อายุ 0-5 ปี (5 ช่วงวัย อายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดอื น) ได้รับการคดั กรองพัฒนาการผ่านเกณฑ์
ทุกอำเภอ (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ 90) พบเด็กสงสัยล่าช้าภาพรวมมากกว่าร้อยละ 20 ซึ่งผ่านเกณฑ์
อำเภอท่ียังไม่ผ่านเกณฑ์ ไดแ้ ก่ อำเภอสองพี่นอ้ ง รอ้ ยละ 19.84 การติดตามเดก็ สงสัยล่าช้า มารับการ
ประเมินซ้ำผ่านเกณฑ์ทุกอำเภอ (มากกว่าร้อยละ 90) เด็กพัฒนาการสมวัยผ่านเกณฑ์ ทุกอำเภอ
(มากกวา่ รอ้ ยละ 85) ดังตารางท่ี 4

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 55


56 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 ตารางท่ี 4 ข้อมูลผลการดำเนนิ งานคัดกรองพฒั นาการเด็กตามกล่มุ อายุ (Special

อำเภอ เปา้ หมาย คดั กรอง(คน) รอ้ ยละ พบสงสัยลา่
(คน) (คน)

สพุ รรณบุรี 4,324 4,261 98.54 1,004

เดิมบางนางบวช 2,070 2,047 98.89 666

ด่านชา้ ง 2,601 2,502 96.19 630

บางปลาม้า 2,134 1,975 92.55 489

ศรีประจันต์ 1,756 1,701 96.87 404

ดอนเจดยี ์ 1,509 1,444 95.69 373

สองพน่ี อ้ ง 4,173 4,088 97.96 811

สามชุก 1,368 1,347 98.46 419

อทู่ อง 3,604 3,522 97.72 813

หนองหญา้ ไซ 1,584 1,504 94.95 438

รวม 25,123 24,391 97.09 6,047

ที่มา : รายงาน HDC (Health Data Center) กระทรวงสาธารณสขุ ณ วนั ที่ 17 ธัน


l pp) จำแนกรายอำเภอ ปี 2563 บทท่ี 2

าชา้ ร้อยละ ตดิ ตามได้ รอ้ ยละ สมวยั หลงั รวมสมวัย ร้อยละ
(คน) กระตนุ้ (คน) สมวัย
98.37
23.56 965 99.69 944 4,201 97.16
32.54 651 91.0 638 2,019 97.54
25.18 566 93.93 541 2,411 92.70
24.76 449 96.2 444 1,930 90.44
23.75 380 96.76 376 1,673 95.27
25.83 358 98.63 353 1,424 94.37
19.84 789 97.1 771 4,047 96.98
31.11 402 97.26 398 1,326 96.93
23.08 781 95.61 774 3,483 96.64
29.12 414 96.74 411 1,477 93.24
24.79 5,755 5,650 23,991 95.49
นวาคม 2563
PP&P Excellence


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

เด็กอายุ 0-5 ปี (5 ช่วงวัย อายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน) มีพัฒนาการล่าช้า จำนวน
192 คน ไดร้ ับ การกระต้นุ พฒั นาการด้วยเครื่องมือTEDA4I 144 คน รอ้ ยละ 75 ภาพรวมผ่านเกณฑ์
ทุกอำเภอยกเว้นอำเภอด่านช้าง และบางปลาม้า ผลงานร้อยละ 56.25 และ 57.14 (เกณฑ์มากกว่า
รอ้ ยละ 60) กระตุ้นครบเกณฑ์ ร้อยละ 56.94 กระตนุ้ แล้วปกติ ร้อยละ 24.39 ดงั ตารางท่ี 5

ตารางท่ี 5 เดก็ พฒั นาการลา่ ช้าได้รบั การกระตนุ้ พฒั นาการด้วยเคร่ืองมือ TEDA4I จำแนกรายอำเภอ ปี 2563

เปา้ หมาย รวม รวมกระตุ้น กระตนุ้

อำเภอ กระตุน้ กระตุน้ รอ้ ยละ ครบเกณฑ์ รอ้ ยละ แล้วปกติ รอ้ ยละ

(คน) (คน) (คน) (คน)

เมอื งสุพรรณบุรี 44 30 68.18 9 30.00 1 11.11

เดมิ บางนาง 26 26 100 23 88.50 5 21.74

บวช

ด่านชา้ ง 32 18 56.25 1 5.56 0 0

บางปลาม้า 14 8 57.14 3 37.50 1 33.33

ศรปี ระจนั ต์ 11 9 81.82 4 44.40 3 75.00

ดอนเจดยี ์ 8 6 75.00 6 100 2 33.33

สองพน่ี ้อง 27 23 85.19 18 78.30 5 27.78

สามชุก 8 7 87.50 5 71.40 1 20.00

อทู่ อง 14 11 78.57 7 63.60 0 0

หนองหญา้ ไซ 8 6 75.00 6 100 2 33.33

รวม 192 144 75.00 82 56.94 20 24.39

ที่มา : รายงาน HDC (Health Data Center) กระทรวงสาธารณสุข ณ วนั ท่ี 30 ธนั วาคม 2563

เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการชั่งนำ้ หนักและวัดส่วนสูง ร้อยละ 95.96 สูงดีสมส่วน ภาพรวมผ่าน
เกณฑ์ ร้อยละ 66.62 (เกณฑ์ร้อยละ 60) อำเภอที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ได้แก่ อำเภอด่านช้าง บางปลาม้า
และศรปี ระจนั ต์ ร้อยละ 56.80, 59.90 และ 59.67 ตามลำดบั สว่ นสงู เฉลย่ี เมือ่ อายุ 5 ปี ทั้งเดก็ หญิง
และเด็กชายไม่มีอำเภอใดท่ผี า่ นเกณฑ์ (เกณฑเ์ ดก็ ชาย 113 ซม. ,เด็กหญิง 112 ซม.) อำเภอสามชกุ มี
ค่าเฉลี่ยสูงสุด เด็กชาย 111.8 ซม. เด็กหญิง 111.91 ซม.รองลงมา ได้แก่ อำเภอดอนเจดีย์ เด็กชาย
111.01 ซม.เด็กหญิง 108.08 ซม.อำเภอศรีประจันต์ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด เด็กชาย 108.67 ซม. เด็กหญิง
108.68 ซม.รองลงมา ได้แก่ อำเภอด่านช้าง เด็กชาย 108.69 ซม. เด็กหญิง 108.12 ซม.
ดังตารางที่ 6
.......................................................................

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 57


58 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 ตารางที่ 6 เดก็ อายุ 0–5 ปี สงู ดสี มสว่ น และส่วนสงู เฉล่ยี ทอ่ี ายุ 5 ปี จำแนกรายอำเภ

อำเภอ เดก็ อายุ 0-5 ช่งั นำ้ หนัก & ร้อยละ สงู ดีสม ร้อ
ป(ี คน) วัดสว่ นสูง ส่วน
(คน)
(คน)

เมอื งสุพรรณบุรี 5,207 5,078 97.52 3,383 66
เดมิ บางนางบวช 2,411 2,400 99.54 1,582 65
ดา่ นชา้ ง 3,103 3,060 98.61 1,738 56
บางปลาม้า 2,501 2,137 85.45 1,280 59
ศรปี ระจนั ต์ 2,111 1,872 88.68 1,117 59
ดอนเจดยี ์ 1,794 1,598 89.07 1,028 64
สองพี่น้อง 4,968 4,867 97.97 3,390 69
สามชุก 1,600 1,614 100.88 1,149 71
อู่ทอง 4,269 4,221 98.88 3,285 77
หนองหญ้าไซ 1,850 1,762 95.24 1,108 62
29,814 28,609 95.96 19,060 66
รวม

ที่มา : รายงาน HDC (Health Data Center) กระทรวงสาธารณสุข ณ วันท่ี 17 ธนั วา


ภอ ปี 2563

เด็กชายอายุ 5 ปี (คน) เดก็ หญิงอายุ 5 ปี (คน)

อยละ วดั ผลรวม สว่ นสงู วัด ผลรวม บทท่ี 2ส่วนสงู
สว่ นสูง ส่วนสงู เฉล่ยี ส่วนสูง ส่วนสูง เฉล่ยี
(ซม.) (ซม.)

6.62 462 50,764 109.88 443 48,101 108.58

5.92 242 26,500 109.50 207 22,619 109.27

6.80 281 30,541 108.69 281 30,381 108.12

9.90 190 20,892 109.96 203 22,335 110.02

9.67 181 19,669 108.67 188 20,432 108.68

4.33 152 16,873 111.01 109 11,781 108.08

9.65 488 53,849 110.35 472 51,780 109.70

1.19 153 17,106 111.80 154 17,234 111.91

7.83 416 45,850 110.22 374 41,102 109.9

2.88 158 17,376 109.97 182 19,949 109.61

6.62 2,723 299,420 109.96 2,613 285,714 109.34

าคม 2563 PP&P Excellence


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

เด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะอ้วนภาพรวมผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 8.01 (ไมเ่ กนิ ร้อยละ 10) อำเภอที่ไม่
ผ่านเกณฑ์ ได้แก่ อำเภอดอนเจดีย์ บางปลาม้า และหนองหญ้าไซ ร้อยละ 12.31, 10.68 และ 10.14
ตามลำดับ ภาวะ เตีย้ ภาพรวมผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 6.33 (ไม่เกนิ รอ้ ยละ 14) อำเภอด่านช้างผ่านเกณฑ์
แต่พบมีเดก็ เตย้ี มากท่ีสดุ รอ้ ยละ 11.12 เด็กผอม ภาพรวมผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 5.22 (ไม่เกินรอ้ ยละ 6)
อำเภอที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ได้แก่ อำเภอด่านช้าง และอำเภอเมืองสุพรรณบุรี ร้อยละ 7.81 และ 7.15
ตามลำดับ ดังตารางท่ี 7

ตารางท่ี 7 เดก็ ปฐมวัย ท่มี ภี าวะอ้วน เตี้ย ผอม ปี 2563 จำแนกรายอำเภอ

อำเภอ เดก็ อายุ 0-5 อ้วน เตี้ย ผอม

ปี (คน) จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ

เมืองสุพรรณบรุ ี 10,295 964 9.36 639 6.21 736 7.15

เดมิ บางนางบวช 3,279 297 9.06 208 6.34 112 3.42

ดา่ นชา้ ง 4,415 364 8.24 491 11.12 345 7.81
บางปลาม้า 2,566 316 12.31 236 9.20 122 4.75
ศรีประจันต์ 2,538 251 9.89 151 5.95 100 3.94

ดอนเจดยี ์ 1,947 208 10.68 158 8.12 78 4.01
สองพี่น้อง 7,659 403 5.26 337 4.4 378 4.94
สามชกุ 2,613 168 6.43 119 4.55 125 4.78

อู่ทอง 5,088 215 4.23 198 3.89 134 2.63

หนองหญา้ ไซ 2,356 239 10.14 169 7.17 102 4.33

รวม 42,756 3,425 8.01 2,706 6.33 2,232 5.22

ทม่ี า : รายงาน HDC (Health Data Center) กระทรวงสาธารณสขุ ณ วันท่ี 17 ธนั วาคม 2563

เด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี ได้รับน้ำยาเสริมธาตุเหล็ก ร้อยละ 75.26 (เกณฑ์ร้อยละ 70) ผ่าน
เกณฑ์ ทุกอำเภอ ดังตารางที่ 8 และเนื่องจากรายงาน HDC ประเมินจากกลุ่มเด็กที่มารับวัคซีนใน
คลนิ กิ EPI แตใ่ นทางปฏิบัติ อสม.ได้ติดตามให้ยาแก่เดก็ ท่ีไม่ได้มารับวัคซีนในชว่ งเวลาดังกล่าว ดังน้ัน
ผลงานในความเป็นจริงจะสงู กวา่ รอ้ ยละ 81.48

ตารางท่ี 8 การไดร้ บั น้ำยาเสริมธาตุเหลก็ เด็กอายุ 6 เดอื น ถงึ 5 ปี ปี 2563 จำแนกรายอำเภอ

อำเภอ จำนวนเด็ก (คน) ได้รับน้ำยาเสริมธาตุเหล็ก (คน) รอ้ ยละ
เมอื งสุพรรณบุรี 3,865 2,940 76.07

เดมิ บางนางบวช 1,626 1,326 81.55

ด่านชา้ ง 2,443 1,872 76.63
บางปลาม้า 1,681 1,436 85.43

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 59


บทที่ 2 PP&P Excellence

อำเภอ จำนวนเด็ก (คน) ได้รบั นำ้ ยาเสริมธาตุเหลก็ (คน) รอ้ ยละ
ศรปี ระจนั ต์ 1,303 1,177 90.33
ดอนเจดยี ์ 1,270 1,033 81.34
สองพนี่ ้อง 3,627 2,896 79.85
สามชุก 1,213 948 78.15
อ่ทู อง 3,166 2,744 86.67
หนองหญ้าไซ 1,228 1,083 88.19
รวม 21,422 17,455 81.48

ทมี่ า : รายงาน HDC (Health Data Center) กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 17 ธนั วาคม 2563

เด็ก 6-12 เดือน มีภาวะซีดภาพรวมผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 16.53 (ไม่เกินร้อยละ 20) อำเภอ
ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ได้แก่ อำเภอด่านช้าง และสองพี่น้อง ร้อยละ 33.99 และ 20.57 ตามลำดับ
ดังตารางที่ 9

ตารางที่ 9 ภาวะโลหิตจางในเดก็ อายุ 6 – 12 เดอื น ปี 2563 จำแนกรายอำเภอ รอ้ ยละ
อำเภอ เด็กอายุ 6 เดือน ได้รบั การเจาะ Hct เด็กมีภาวะซีด

(คน) (คน) (คน)

เมอื งสุพรรณบรุ ี 814 774 141 18.22
เดมิ บางนางบวช 380 321 31 9.66
ด่านช้าง 499 203 69 33.99

บางปลามา้ 350 77 12 15.58

ศรปี ระจนั ต์ 302 229 28 12.23

ดอนเจดยี ์ 236 193 22 11.4

สองพ่ีน้อง 688 530 109 20.57
สามชกุ 225 221 20 9.05
อู่ทอง 595 469 71 15.14

หนองหญ้าไซ 283 189 27 14.29

รวม 4,372 3,206 530 16.53

ทม่ี า : รายงาน HDC (Health Data Center) กระทรวงสาธารณสขุ ณ วันที่ 30 ธนั วาคม 2563

60 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2่ี 1

ผลงานเด่น/นวตั กรรม
1. รถหัดเดิน กระตุ้นพัฒนาการ เพื่อใช้ในการส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่ถูกต้อง
ตามวัย
2. สื่อรัก 3 ดี (กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน) เพื่อให้ พ่อแม่/ผู้ดูแลเด็ก ได้รับความรู้ใน
การดูแลทั้ง 3 ด้าน คือ ดูแลสุขภาพช่องปาก พัฒนาการเด็ก โภชนาการ โดยยึดหลักกิน
กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน
3. กระเป๋าวิเศษตาชั่งแสนรัก ใช้ติดตามชั่งน้ำหนักของทารก เพื่อประเมินภาวะพร่อง
โภชนาการและการเจรญิ เติบโตของทารก
4. คิวอาร์โค้ดนำทาง เพื่อใช้ในการเดินทางไปเยี่ยมบ้านกลุ่มหญิงก่อนคลอด/หลังคลอด/
เดก็ แรกเกิดจนถึงอายุ 6 ปี
5. สบู่ต้านกระดาษโควิด -19 เพ่ือให้เดก็ ใน ศพด. ใชล้ า้ งมือ ลดการแพรก่ ระจายโรค

ปญั หา อปุ สรรค
1. การดำเนนิ งานเดก็ ปฐมวยั ขาดการบรู ณาการกับหนว่ ยงานท่เี กย่ี วขอ้ งในระดบั จงั หวดั
2. ทักษะการคดั กรองพัฒนาการเด็กของบุคลากรสาธารณสขุ ยงั ไม่ถูกต้อง
3. ทักษะการช่งั น้ำหนกั วัดสว่ นสงู ของเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข/ครผู ู้ดแู ลเดก็ /อสม.
4. อุปกรณใ์ นการชั่ง วดั ยังไมไ่ ด้มาตรฐาน
5. พ่อ แม่/ผู้ดูแลเด็ก ยังไม่ให้ความสำคัญเรื่องพัฒนาการของเด็ก กรณีเด็กมีพัฒนาการ
ลา่ ช้าไมพ่ าไปกระตุน้
6. การบันทกึ และการตรวจสอบขอ้ มูลใหถ้ กู ต้อง

การดแู ลสุขภาพกลมุ่ เดก็ วัยเรียนและเยาวชน
กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายดำเนินงานโครงการโรงเรียนสง่ เสริมสุขภาพมา

ตั้งแต่ ปีงบประมาณ2541 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับบริการสุขภาพ และพัฒนา
โรงเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพซึ่งมุ่งเน้นให้เด็กวัยเรียนและประชาชนในทุก
พนื้ ทห่ี ันมาให้ความสำคัญและรู้จักดูแลสุขภาพตนเอง มพี ฤตกิ รรมสขุ ภาพท่ีถูกต้องเหมาะสม สามารถ
ควบคุมมูลเหตุปจั จยั และสภาวะแวดล้อมที่มีผลตอ่ สขุ ภาพได้ โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเป็นกล
ยทุ ธห์ นึง่ ในการสรา้ งหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยมโี รงเรียนเป็นจุดเริ่มตน้ และศูนย์กลางของการ
พัฒนาสุขภาพอนามัย ภายใต้ความตระหนักถึงความสำคัญของกระบวนการ พัฒนาที่อาศัย
ความสัมพันธ์เชิงสร้างสรรค์ระหว่างนักเรียน ครอบครวั ชุมชน สถาบันศาสนา โรงเรียน และหน่วยงาน
ต่าง ๆ ในพืน้ ที่ ต่อมาปงี บประมาณ 2548 กรมอนามยั ได้ดำเนินการอยา่ งต่อเนื่องในโครงการเด็กไทย
ทำได้ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อปลูกจิตสำนึกของเด็กและเยาวชนในการ
ส่งเสริมสุขภาพ และการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี โดยให้ความสำคัญกับการ
พัฒนาศักยภาพเด็กนักเรียนให้เปน็ แกนนำด้านสุขภาพในโรงเรียนภายใต้ชื่อ “ชมรมเด็กไทยทำได้” ซ่ึง
เน้นพฤติกรรมสุขภาพใน 3 ด้าน ได้แก่ การดูแลรักษาสุขภาพฟัน ความสะอาดปลอดภัยและคุณภาพ
ทางโภชนาการของอาหาร การมีและใช้ส้วมถูกหลักสุขาภิบาล และในปีงบ ประมาณ 2552 กรม

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 61


บทที่ 2 PP&P Excellence

อนามัย ได้เริ่มนโยบายพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองสู่มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ระดับเพชรและดำเนินการอยา่ งต่อเน่ืองมาจนถงึ ปจั จุบนั

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี ได้จัดทำโครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคน

ไทยกลมุ่ วัยเรยี นและวัยรุ่น ปี 2563 โดยจดั กจิ กรรม ดงั น้ี

1. ดำเนินการจัดประชมุ ชแ้ี จงนโยบายการดำเนนิ งานกลมุ่ วัยเรยี นแกเ่ จ้าหนา้ ที่สาธารณสุข

ระดบั สสอ./รพศ./รพช./เทศบาล จำนวน 30 คน

2. ติดตามเย่ียมเสริมพลังโรงเรียน การจัดอาหารกลางวนั ทม่ี ีคุณภาพ โรงเรียนรอบร้สู ุขภาพ

3. โครงการเด็กไทยสายตาดี ได้ดำเนนิ การคัดกรองและเฝา้ ระวงั ภาวะสายตาผดิ ปกติในเด็ก
นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 9,135 คน พบวา่ มีเด็กที่มี
ปญั หาสายตา จำนวน 95 คน และอยู่ระหวา่ งการสง่ ต่อเพอ่ื พบจักษุแพทย์ตามระบบ

4. การจ่ายยาเม็ดเสรมิ ธาตุเหล็ก จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2563 โรงเรียนในเขต
รับผิดชอบได้รับยาเม็ดเสรมิ ธาตุเหลก็ ทกุ แหง่

ผลการดำเนินงาน
1. การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน โดยการชั่งน้ำหนกั และวัดส่วนสูงเพือ่ ดูการ

เจรญิ เติบโตของนกั เรียน มตี ัวชว้ี ัดดังนี้
1.1 เดก็ วัยเรยี นสงู ดสี มส่วนไม่ตำ่ กว่า ร้อยละ 66
1.2 เดก็ วัยเรยี นมภี าวะเร่มิ อ้วนละอว้ นไม่เกนิ ร้อยละ 10
1.3 เดก็ วัยเรยี นมีภาวะผอมไมเ่ กินร้อยละ 5
1.4 เดก็ วัยเรียนมีภาวะเตี้ยไม่เกนิ รอ้ ยละ 5

ความครอบคลุมในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียน พบว่าในภาพรวมของ
จงั หวัด มกี ารชงั่ นำ้ หนกั และวดั สว่ นสูง ได้รอ้ ยละ 97 ของนักเรียนทั้งหมด ดังตารางที่ 10

ตารางท่ี 10 ความครอบคลุมของการเฝา้ ระวงั ทางโภชนาการเด็กวยั เรียน ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563

อำเภอ นักเรียนทั้งหมด เดก็ ที่ได้รบั การชง่ั นำ้ หนัก/วัด ร้อยละความ
สว่ นสูง ครอบคลุม

เมืองสุพรรณบุรี 17,050 16,103 94.45

เดมิ บางนางบวช 6,992 6,810 97.40
ด่านชา้ ง 7,294 98.60
บางปลาม้า 7,398 5,086 96.93
5,247

ศรปี ระจนั ต์ 3,979 3,849 96.73
ดอนเจดยี ์ 3,997 3,856 96.47
สองพน่ี ้อง 12,248 12,009 98.05

สามชุก 4,998 4,914 98.32
อทู่ อง 9,997 9,910 99.13

62 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2่ี 1

อำเภอ นักเรยี นทง้ั หมด เด็กที่ได้รับการชั่งนำ้ หนัก/วัด ร้อยละความ
สว่ นสงู ครอบคลุม
หนองหญ้าไซ 3,189 3,005
รวม 75,086 72,836 94.23
97.00

ผลการคดั กรองภาวะโภชนาการพบวา่
1. นักเรียนมีรูปร่างดีสมส่วน จำนวน 46,348 คน คิดเป็นร้อยละ 63.63 ยังไม่ผ่านเกณฑ์
(เกณฑ์ไมต่ ่ำกวา่ ร้อยละ 66)
2. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน จำนวน 10,244 คน คิดเป็นร้อยละ 14.06 (เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ
10) พบว่าทุกอำเภอมีเด็กเริ่มอ้วนและอ้วน เกินเกณฑ์ โดยอำเภอที่เด็กมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนมาก
ที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ อำเภอดอนเจดีย์ ,อำเภอเมือง และอำเภอศรีประจันต์ ร้อยละ 14.9, 14.8
และ 14.7 ตามลำดบั
3. ภาวะผอมจำนวน 2,981 คน คดิ เป็นร้อยละ 4.09 (เกณฑไ์ มเ่ กนิ ร้อยละ 5) ผา่ นตามเกณฑ์
ทกุ อำเภอ
4. ภาวะเตี้ย จำนวน 2,713 คน คิดเป็นร้อยละ 3.73 (เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 5) ผ่านตาม
เกณฑท์ กุ อำเภอ
5. ส่วนสูงเฉล่ียท่ี 12 ปี ชาย 154 ซม. หญิง 155 ซม. ไมผ่ ่านเกณฑท์ ุกอำเภอ ดงั ตารางท่ี 11

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 63


64 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563ตารางที่ 11 แสดงภาวะโภชนาการของเด็กวยั เรยี น ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563

เทอม
ภาวะโภชนาการเดก็ อายุ 6-14 ปี

อำเภอ ชัง่ นำ้ หนกั สูงดีสม ร้อยละ ผอม ร้อยละ เริม่ อ้วน ร้อยละ
วัดสว่ นสงู ส่วน และอ้วน

เมือง 16,103 9,855 61.2 786 4.88 2,383 14.8

เดมิ บาง 6,810 4,318 63.4 284 4.17 940 13.8

ด่านชา้ ง 7,294 4,688 64.27 295 4.04 963 13.2
บางปลามา้ 5,086 3,376 66.38 211 4.15 722 14.2
ศรีประจันต์ 3,849 2,337 60.71 109 2.83 566 14.7
ดอนเจดยี ์ 3,856 2,327 60.35 145 3.76 575 14.9
สองพน่ี อ้ ง 12,009 7,680 63.95 470 3.91 1,645 13.7
สามชกุ 4,914 3,232 65.77 144 2.93 629 12.8
อทู่ อง 9,910 6,358 64.16 428 4.32 1,378 13.9
หนองหญ้าไซ 3,005 1,997 66.46 109 3.63 424 14.1
รวม 72,836 46,348 63.63 2981 4.09 10,225 14.04


1 พ.ค.2563 – ก.ค.2563 ส่วนสงู เฉลี่ยของเดก็ อายุ 12 ปี บทท่ี 2

เตีย้ ร้อยละ วดั ชาย หญิง
สว่ นสงู
ผลรวม ส่วนสงู วัดส่วนสงู ผลรวม ส่วนสงู
548 3.4 881 เฉลยี่
218 3.2 375 ส่วนสงู เฉลี่ย ส่วนสงู 151.14
318 4.36 368
193 3.8 326 133,120 151.10 866 130,886 148.80
138 3.6 256
135 3.5 232 55,914 149.10 354 52,674 148.51
468 3.9 670 150.26
162 3.3 354 54,690 148.61 327 48,564 149.75
416 4.2 526 148.87
117 3.9 213 48,747 149.53 253 38,015 150.11
2713 3.73 4201 151.49
37,938 148.20 209 31,297 149.19
152.15
34,428 148.36 174 25,904 150.09

100,277 149.67 640 96,073

53,262 150.46 304 46,053

78,172 148.62 506 75,489

32,003 150.25 155 23,583

628,543 149.62 3788 568,538

PP&P Excellence


PP&P Excellence บบทททที่ 2่ี 1

ผลการดำเนินงาน
1. ขยายกิจกรรม Chopa & Chipa สู่โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาสุพรรณบุรี โดยใช้รูปแบบ จงิ โจ้ FUN FOR FIT เนน้ การกระโดดยืดความสูงของนักเรียน
ในวิชาพละศกึ ษา เน้นรวมเวลาการออกกำลังกายสะสม 60 นาที ในหนึ่งวัน

2. ติดตามเยี่ยมเสริมพลังโครงการอาหารคุณภาพที่ส่งเสริมนักเรียนให้มีภาวะโภชนาการที่ดี
และสมวัย แก่ครูอนามัย และผปู้ ระกอบอาหาร โดยใชโ้ ปรแกรม Thai School Lunch ในการคิดเมนู
และคำนวณคุณภาพอาหารกลางวันในแตล่ ะสัปดาห์ ในโรงเรียนประถมศกึ ษาสงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศึกษาสพุ รรณบรุ ี

3. มีการคัดกรองเดก็ อว้ นคอดำ Obesity sign ทุกโรงเรียน
4. กิจกรรมพัฒนาทกั ษะและองค์ความรู้นกั จดั การน้ำหนัก เดก็ วยั เรยี น (Smart Kids Coacher)
เพื่อพัฒนาทักษะและองคค์ วามรู้นักจัดการน้ำหนกั เดก็ วัยเรียน และเทคนิคการคัดกรองเด็กกลุ่มเสีย่ ง
และ เสริมพลังการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพแบบบูรณาการก้าวสู่เป้าหมายเด็กวัยเรียนสูงดี สมส่วน
ไมอ่ ้วน ผอม เตี้ย ดำเนินการทัง้ 10 อำเภอ
5. กจิ กรรมวนั เด็กแห่งชาติ 2563

5.1 กจิ กรรมรณรงค์วนั Love Milk Day
5.2 กจิ กรรมสง่ เสริมสุขภาพเดก็ และเยาวชน เนอ่ื งในวันเด็กแหง่ ชาติ
6. มกี ารดำเนนิ งานตามโครงการผพู้ ทิ ักษ์อนามัย และมีการเฝา้ ระวงั สถานศึกษา ตามวิถี
New normal เพ่อื ปอ้ งกันโรค Covid – 19
6.1 โรงเรยี นมีการชง่ั นำ้ หนกั วัดสว่ นสูงตามระบบการเฝ้าระวงั ภาวะโภชนาการ
6.2 การประสานเชื่อมโยงกบั เครือข่ายเป็นรปู ธรรมชดั เจน มจี ุดแขง็ สำหรับผบู้ ริหาร
ชดั เจนทั้งภาคโรงเรียนคำนึงถึงประโยชนข์ องเดก็ นกั เรียนเป็นสำคัญ นโยบายชัดเจน
6.3 โรงเรียนมกี ารแกป้ ัญหานักเรียนไม่ได้รบั ประทานอาหารเชา้ มาจากบ้านโดยจัด
โครงการอาหารเช้าราคาถูกสำหรับเด็กๆ
6.4 มบี ริการเชงิ รุกโดยจัดทำ DPAC ในโรงเรียน
6.5 มีการเฝา้ ระวังสถานศกึ ษา ตามวิถี New normal เพ่อื ปอ้ งกนั โรค Covid – 19
7. การดำเนินกจิ กรรมตามโครงการเดก็ ไทยสายตาดี คัดกรองสายตาเด็กนกั เรยี น
ประถมศึกษาปที ี่ 1 จำนวน 9,135 คน พบเด็กที่มปี ัญหาสายตา จำนวน 95 คน อยู่ระหว่างดำเนนิ การ
วดั แวน่ และรอแว่นตามโครงการของขวญั วันเด็ก

ปัญหา อปุ สรรค
1. พ้นื ที่หลายแห่งบันทึกข้อมลู การชัง่ น้ำหนักและวัดสว่ นสูงในระบบไมท่ นั เวลา
2. การแก้ไขปัญหาเชงิ พฤตกิ รรม ตอ้ งใช้เวลา และตดิ ตามกระตุ้นต่อเน่ือง ขาดความร่วมมือ
จากผู้ปกครองอย่างต่อเนอ่ื ง

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 65


บทที่ 2 PP&P Excellence

การดแู ลสขุ ภาพกลมุ่ วัยรุ่น

ปัญหาการตัง้ ครรภ์ในวยั รนุ่ เปน็ เรอ่ื งทีท่ ั่วโลกให้ความสำคญั วัยร่นุ จำนวนมากที่ต้องเผชิญกับ
ปัญหาของการตั้งครรภ์ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในทั่วโลกของทุก ๆ ปี จะมีการตั้งครรภ์ในหญิงวัยรุ่น
มากกว่า 1 ล้านคน 1 องค์การสหประชาชาติได้กำหนดให้การลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 15-19
ปี (Adolescent birth rate) เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable
Development Goals, SDGs) ท่ีนานาชาตติ ้องบรรลุใหไ้ ด้ภายในปี 2573 โดยกำหนดให้ลดอตั ราการ
คลอดในวยั รนุ่ อายุ 10-14 ปี และ 15-19 ปี การตงั้ ครรภ์ในวยั รุ่นนบั ว่าเปน็ ท่ปี ัญหาสำคัญของประเทศ
ซึ่งส่งผลกระทบทัง้ ดา้ นสาธารณสุขและด้านสังคมตลอดจน การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศจากสถติ ิ
การคลอดของแม่วัยรุ่นระดับประเทศ มีอัตราการคลอดในหญิงอายุ 15-19 ปี เปรียบเทียบกบั จำนวน
วยั รุ่นหญิงในกลุม่ อายุ 15-19 ปี พนั คน มีแนวโนม้ ลดลง

สถานการณ์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ปีงบประมาณ 2560-2563 อตั ราการคลอดในหญิงอายุ 10–14 ปี มีแนวโน้มลดลง อัตรา 1.41, 0.94,
1.35 และ 0.89 ต่อพันประชากรหญิงอายุ 10–14 ปี (เป้าหมาย ไม่เกิน 1) อัตราการคลอดมีชีพใน
หญงิ อายุ 15-19 ปี มแี นวโน้มลดลง อตั รา 36.90, 33.22, 25.42 และ 24.22 (เปา้ หมายไม่เกนิ 34
ต่อพันประชากรหญงิ อายุ 15–19 ป)ี หญงิ อายตุ ำ่ กวา่ 20 ปี ตง้ั ครรภ์ซำ้ รอ้ ยละ 15.40, 11.21, 13.06
และ 12.18 ของการคลอดทั้งหมดลดลงเล็กน้อย (เป้าหมาย ร้อยละ 14) หญิงหลังการคุมกำเนิดใน
หญงิ อายตุ ่ำกวา่ 20 ปี หลงั คลอดและหลังแท้งก่อนออกจากโรงพยาบาลหรือไมเ่ กิน 42 วนั หลัง คลอด
มีการคุมกำเนิดรวมทุกวิธี ผลงานยังไม่ได้ตามเป้าหมาย ร้อยละ 65.55, 54.29, 51.69 และ 57.73
(เป้าหมายรอ้ ยละ 80) มีการคมุ กำเนิดวิธีก่ึงถาวร(ยาฝงั คุมกำเนดิ และห่วงอนามัย) ไมไ่ ด้ตามเป้าหมาย
อัตราร้อยละ 83.35, 78.61, 71.90 และ 73.84 (เป้าหมายร้อยละ 80) ซึ่งจะเห็นได้ว่าวัยรุ่น หลัง
คลอด และหลังแท้งยงั มกี ารคมุ กำเนดิ ต่ำกวา่ เป้าหมาย ซึ่งมีโอกาสทำให้มกี ารตง้ั ครรภ์ซ้ำได้

ตวั ชีว้ ดั การดำเนนิ งาน ปงี บประมาณ 2563
1. อตั ราการคลอดมีชพี ในหญิงอายุ 15–19 ปี ไม่เกนิ 34 ต่อพนั ประชากรหญิงอายุ 15–19 ปี
2. อตั ราการคลอดมชี ีพในหญิงอายุ 10–14 ปี ไมเ่ กนิ 1.0ตอ่ พนั ประชากรหญงิ อายุ 10–14 ปี
3. การตง้ั ครรภซ์ ้ำในหญงิ อายุนอ้ ยกว่า 20 ปี ไมเ่ กนิ ร้อยละ 14
4. หญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอดและหลังแท้งคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern

Methods) ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80
5. หญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอดและหลังแท้ง คุมกำเนิดด้วยวิธีกึ่งถาวร (ยาฝัง

คมุ กำเนิด/หว่ งอนามัย) ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80
6. โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์ประเมินและรับรอง

โรงพยาบาลตามมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (Youth
Friendly Health Service : YFHS)ฉบบั บูรณาการ ร้อยละ 80
7. อำเภอทผี่ า่ นการประเมินตามเกณฑอ์ ำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ รอ้ ยละ 80

66 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

ในปีงบประมาณ 2563 สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี ดำเนินงานโครงการพัฒนา
ระบบบริการสรา้ งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุน่ จังหวัดสุพรรณบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์
ซำ้ ในวัยรนุ่ และบูรณาการดำเนินงานกับทกุ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง มีผลการดำเนินงาน ดงั นี้

กิจกรรมท่ี 1 ประชมุ บูรณาการคณะอนุกรรมการการป้องกันและแกไ้ ขปญั หาการตั้งครรภ์ใน
วยั รนุ่ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี เปา้ หมาย ปลี ะ 2 ครง้ั

ผลการดำเนินงาน จัดประชุมได้เพียง 1 ครั้ง ในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563 ไม่ได้ตาม
เป้าหมายเนอื่ งจากสถานการณโ์ รคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019

กิจกรรมที่ 2 ประเมินโรงพยาบาลตามมาตรฐานบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน
และ ประเมินอำเภออนามัยการเจริญพนั ธ์ุ

ผลการดำเนินงาน โรงพยาบาลทุกแห่งผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานฉบับบูรณาการ 2563
และรับใบประกาศนียบัตรรับรองให้ไว้ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2563 และประเมินอำเภออนามัยเจริญ
พันธุ์ ผ่านเกณฑ์ทุกอำเภอ ในวันที่ 21–22 กรกฏคม 2563 และมีองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นระดับ
จังหวัดสุพรรณบุรีเป็นแหล่งเรียนรู้เพิ่มอีก แห่ง ได้แก่ เทศบาลตำบลวังยาง อำเภอศรีประจันต์ และ
อบต.บาง ตาเถร อำเภอสองพีน่ ้อง

ผลการดำเนนิ งาน
อตั ราการคลอดมชี ีพในหญิงอายุ 15-19 ปี คิดเป็น 24.22 ตอ่ พนั ประชากรหญิงอายุ 15-19

ปี (เป้าหมายไม่เกิน 34) พบว่าทุกอำเภอผ่านเกณฑ์ แต่ยังมีอำเภอที่ผลงานใกล้เกินเกณฑ์ จำนวน 2
อำเภอ ได้แก่ อำเภอดอนเจดยี ์ (อัตรา 33.42) และอำเภอด่านชา้ ง (อัตรา 31.74) อตั ราการคลอดมีชีพ
ในหญิงอายุ 10–14 ปี 0.89 ต่อพันประชากรหญิงอายุ 10-14 ปี (เป้าหมาย ไม่เกิน 1.0) ผลงาน
ภาพรวมผา่ นเกณฑ์ อำเภอทไี่ มผ่ า่ นเกณฑ์ ได้แก่ อำเภอสองพนี่ ้อง (อตั รา 2.25) ดงั ตารางที่ 12

ตารางที่ 12 จำนวนการคลอดและอตั ราตอ่ พันของประชากรหญงิ อายุ 10–14 ปี และ 15–19 ปี

ปี 2563 จำแนกรายอำเภอ

ประชากร หญิงคลอด ประชากร หญงิ คลอด

อำเภอ หญงิ อายุ อายุ 10-14 ปี หญงิ อายุ อายุ15-19 ปี

10-14 ปี จำนวน อตั รา:พนั 15-19 ปี จำนวน อัตรา:พัน

เมืองสุพรรณบุรี 3,992 3 0.75 4,318 84 19.45

เดิมบางนางบวช 1,613 1 0.62 1,550 40 25.81

ดา่ นชา้ ง 1,655 1 0.60 1,733 55 31.74

บางปลาม้า 1,658 0 0 1,700 29 17.06

ศรีประจนั ต์ 1,363 1 0.73 1,370 32 23.36

ดอนเจดยี ์ 1,085 0 0 1,107 37 33.42

สองพีน่ ้อง 3,548 8 2.25 3,242 85 26.22

สามชกุ 1,117 1 0.89 1,224 20 16.34

อ่ทู อง 3,004 3 1.0 2,929 80 27.31

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 67


บทท่ี 2 PP&P Excellence

ประชากร หญิงคลอด ประชากร หญิงคลอด
อาย1ุ 5-19 ปี
อำเภอ หญิงอายุ อายุ 10-14 ปี หญิงอายุ จำนวน อัตรา:พนั
31 26.27
10-14 ปี จำนวน อัตรา:พนั 15-19 ปี 493 24.22

หนองหญา้ ไซ 1,199 0 0 1,180

รวม 20,234 18 0.89 20,353

ทมี่ า : ข้อมลู HDC จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2563

กราฟแสดงข้อมูลการเฝ้าระวังการคลอดของประชากรหญิงไทยอายุ 10–14 ปี จำแนกรายอำเภอ
ปีงบประมาณ 2563 (ไมเ่ กนิ 1.0 ต่อพนั )

อตั ราการเฝ้าระวงั การคลอดในหญิงอายุ 10 - 14 ปี

2.25

0.75 0.62 0.60 0.73 0.90 1.00 0.89

0.00 0.00 0.00

กราฟแสดงข้อมูลการเฝ้าระวังการคลอดของประชากรหญิงไทยอายุ 15–19 ปี จำแนกรายอำเภอ
ปงี บประมาณ 2563 (ไมเ่ กิน 34 ตอ่ พัน)

อตั ราการเฝ้าระวงั การคลอด ในหญิงอายุ 15 - 19 ปี

31.74 33.42 26.22 27.31 26.27 24.22
16.34
25.81 23.36
19.45 17.06

68 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2่ี 1

การตัง้ ครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ไม่เกินรอ้ ยละ 14 ผลงานภาพรวมผ่านเกณฑ์ ร้อย
ละ 12.18 ท่ีไมผ่ า่ นเกณฑ์ 2 อำเภอ ได้แก่ อำเภอบางปลาม้า (รอ้ ยละ 25) และอำเภอสองพนี่ ้อง (ร้อย
ละ 17.14) ดังตารางที่ 13

ตารางท่ี 13 ร้อยละหญงิ ไทยคลอดและแท้งอายุ < 20 ปี ตั้งครรภซ์ ำ้ ปีงบประมาณ 2563 จำแนกรายโรงพยาบาล

หนว่ ยบริการ หญงิ อายุ <20 ปี หญงิ คลอดและแท้งอายุ<20 ปี รอ้ ยละ
คลอดทัง้ หมด (คน) ครรภ์ท่ี 2 ข้นึ ไป

รพศ.เจ้าพระยายมราช 250 34 13.60

รพช.เดิมบางนางบวช 40 2 5.00

รพช.ด่านช้าง 103 10 9.71

รพช.บางปลามา้ 8 2 25.00

รพช.ศรปี ระจันต์ 37 2 5.41

รพช.ดอนเจดีย์ 35 4 11.43

รพช.สามชกุ 30 2 6.67

รพท.สมเดจ็ พระสงั ฆราช องคท์ ี่ 17 175 30 1714

รพช.อทู่ อง 130 13 10.00

รพช.หนองหญ้าไซ 13 1 7.69

รวม 821 100 12.18

ท่มี า : ข้อมลู HDC จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2563

กราฟแสดงข้อมูลหญงิ ไทยคลอดและแท้งอายุน้อยกว่า 20 ปี ตง้ั ครรภซ์ ำ้ จำแนกรายโรงพยาบาล
ปีงบประมาณ 2563 (ไมเ่ กินร้อยละ 14)

ร้อยละการตงั้ ครรภซ์ า้ ในหญิงอายุ น้อยกว่า 20 ปี

25.00

17.14 12.18
13.60
9.71 11.43 10.00
5.00
5.41 6.67 7.69

หญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอดและหลังแท้งคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern
Methods) ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 ผลงานภาพรวม รอ้ ยละ 57.73 ไมผ่ ่านเกณฑ์ อำเภอท่ีผ่านเกณฑ์มี

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 69


บทที่ 2 PP&P Excellence

3 อำเภอ ไดแ้ ก่ อำเภอสามชุก (ร้อยละ 93.33) อำเภอหนองหญ้าไซ (ร้อยละ 92.31) และอำเภอดอน
เจดีย์ (ร้อยละ 85.71) ดงั ตารางท่ี 14

ตารางท่ี 14 ข้อมลู หญิงอายนุ ้อยกวา่ 20 ปี หลงั คลอดและหลังแท้ง คมุ กำเนิดด้วยวิธสี มยั ใหม่

(Modern Methods) จำแนกรายโรงพยาบาล ปงี บประมาณ 2563

หญิงอายุ <20 ปี หญงิ คลอดและแท้ง

หน่วยบรกิ าร คลอดทัง้ หมด อายุ<20 ปี คมุ กำเนิด ร้อยละ

(คน) ทกุ วิธี

รพศ.เจา้ พระยายมราช 250 109 43.60

รพช.เดิมบางนางบวช 40 29 72.50

รพช.ดา่ นชา้ ง 103 62 60.19

รพช.บางปลาม้า 8 5 62.50

รพช.ศรีประจันต์ 37 28 75.68

รพช.ดอนเจดยี ์ 35 30 85.71

รพช.สามชุก 30 28 93.33

รพท.สมเด็จพระสังฆราช องค์ท่ี 17 175 99 56.57

รพช.อู่ทอง 130 72 55.38

รพช.หนองหญา้ ไซ 13 12 92.31

รวม 821 474 57.73

กราฟแสดงข้อมูลหญงิ ไทยคลอดและแทง้ อายุน้อยกว่า 20 ปี คมุ กำเนดิ ดว้ ยวธิ สี มัยใหม่ จำแนกราย
โรงพยาบาล ปงี บประมาณ 2563 (ไม่เกินร้อยละ 14)

หญงิ อายุ <20 ปี คุมกาเนิด รวมทุกวิธี

100.00 85.71 93.33 92.31
90.00
80.00 72.50 75.68
70.00
60.00 60.19 62.50 56.57 55.38 57.73
50.00
40.00 43.60
30.00
20.00
10.00
0.00

หญิงอายุน้อยกวา่ 20 ปี หลังคลอดและหลังแทง้ คุมกำเนิดด้วยวธิ ีกึง่ ถาวร (ยาฝังคุมกำเนิด/
ห่วงอนามัย) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลงานภาพรวม ร้อยละ 73.84 ไม่ผ่านเกณฑ์ อำเภอที่ไม่ผ่าน
เกณฑ์ ไดแ้ ก่ อำเภอสองพี่นอ้ ง (รอ้ ยละ 41.41) และอำเภออทู่ อง (ร้อยละ 43.06) ดงั ตารางที่ 15

70 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2่ี 1

ตารางที่ 15 ข้อมลู หญิงอายุน้อยกวา่ 20 ปี หลังคลอดและหลังแท้ง คุมกำเนดิ ดว้ ยวธิ กี ่ึงถาวร (ห่วง

อนามยั , ยาฝังคุมกำเนดิ ) ปงี บประมาณ 2563 จำแนกรายโรงพยาบาล

หญงิ อายุ<20 ปี หญงิ คลอดและแทง้

หน่วยบรกิ าร คลอดทงั้ หมด (คน) อายุ<20 คุมกำเนดิ รอ้ ยละ

ก่งึ ถาวร

รพศ.เจา้ พระยายมราช 109 98 89.91

รพช.เดมิ บางนางบวช 29 29 100

รพช.ดา่ นชา้ ง 62 59 95.16

รพช.บางปลาม้า 5 4 80.00

รพช.ศรีประจันต์ 28 25 89.29

รพช.ดอนเจดีย์ 30 26 86.67

รพช.สามชุก 28 27 96.43

รพท.สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 99 41 41.41

รพช.อู่ทอง 72 31 43.06

รพช.หนองหญา้ ไซ 12 10 83.33

รวม 474 350 73.8

กราฟแสดงข้อมลู หญงิ ไทยคลอดและแท้งอายุน้อยกวา่ 20 ปี คมุ กำเนดิ ดว้ ยวิธีก่งึ ถาวร จำแนกราย
โรงพยาบาลปงี บประมาณ 2563 (ไม่เกนิ ร้อยละ 14)

หญิงอายุ <20 ปีคมุ กาเนิด แบบก่งึ ถาวร

100.00 89.91 100.00 95.16 80.00 89.29 86.67 96.43
80.00
60.00 83.33
40.00 73.84
20.00
0.00 41.41 43.06

โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์ประเมินและรับรอง
โรงพยาบาลตามมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน(Youth Friendly
Health Service : YFHS) ฉบับบรู ณาการ ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 100 ทุกโรงพยาบาล (เกณฑ์ร้อยละ 80)

อำเภอที่ผ่านการประเมินตามเกณฑ์อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 100 ทุก
อำเภอ (เกณฑ์ร้อยละ 80)

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 71


บทท่ี 2 PP&P Excellence

การดแู ลสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน

จากข้อมูลยอ้ นหลังพบว่า รอ้ ยละของประชากรวัยทำงานอายุ 18–59 ปี มคี า่ ดชั นีมวลกาย
ปกติ ปี 2560-2562 มีแนวโน้มลดลง คือ 48.73, 47.39 และ 45.61 ตามลำดับ (ค่าเป้าหมาย
ระดับประเทศ ร้อยละ 49 (Base Line ร้อยละ 48.29) ระดับศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี ร้อยละ 50.33
(Base Line ร้อยละ 49.62) จังหวัดสุพรรณบุรี ได้มีการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงสาธารณสขุ
ตามยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ แผนงานการพัฒนา
คุณภาพชีวติ คนไทยทุกกลุ่มวัย (ดา้ นสขุ ภาพ) ในโครงการพัฒนาความรอบรู้สุขภาพเรื่องกิจกรรมทาง
กายภายใต้การดำเนินงานในโครงการ 10 ล้านครอบครัวไทยออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเฉลิมพระ
เกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก และได้จัดกิจกรรมก้าวท้าใจ Season 1
VIRTUAL RUN และก้าวท้าใจ Season 2 ต้านภัยโควิด 19 พิชิต 60 วัน 6,000 กิโลแคลอรี่ เพื่อให้
เจา้ หน้าท่ีสาธารณสุขและอสม.รว่ มลงทะเบียน และเขา้ ร่วมกจิ กรรม เพ่อื ให้เป็นตน้ แบบในการส่งเสริม
การออกกำลังกายเพื่อสขุ ภาพให้กับประชาชนลดปจั จัยเส่ียงจากภาวะอ้วนและโรคไมต่ ิดต่อเรื้อรัง พบ
จำนวนที่ลงทะเบียนในโครงการทั้งหมด 30,046 ครอบคัว คิดเป็นร้อยละ 116.68 (เป้าหมายตาม
นโยบายสำคัญของสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี) โดยมเี จา้ หน้าทส่ี าธารณสุขท่ีข้ีนทะเบียนละเข้าร่วม
กจิ กรรมออกกำลังกาย จำนวน 3,005 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 52.77 และอสม. จำนวน 9,823 คน คิดเป็น
ร้อยละ 65.13

ตวั ชว้ี ดั การดำเนินงาน ปงี บประมาณ 2563
1. จำนวนครอบครัวไทยมีความรอบรู้สุขภาพเรื่องกิจกรรมการออกกำลังกาย จำนวน 10
ล้านครอบครวั
2. วัยทำงานมีพฤตกิ รรมสขุ ภาทีพ่ งึ ประสงค์ ร้อยละ 30
3. ร้อยละของประชากรวยั ทำงาน อายุ 18-59 ปี มีดชั นีมวลกายปกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50

ตารางที่ 16 ข้อมูลจำนวนครอบครวั ไทยมคี วามรอบรู้สขุ ภาพเร่ืองกิจกรรมการออกกำลังกาย จำแนก

รายอำเภอ ปีงบประมาณ 2563

อำเภอ เป้าหมายจำนวนครอบครัว จำนวนครอบครวั ขึ้นทะเบียน ร้อยละ

เมอื งสุพรรณบรุ ี 5,249 5,007 95.39

เดมิ บางนางบวช 2,285 2,580 112.91

ด่านช้าง 2,218 2,549 114.92

บางปลามา้ 2,198 2,193 99.77

ศรีประจนั ต์ 1,941 2,447 126.07

ดอนเจดยี ์ 1,356 954 70.35

สองพีน่ ้อง 3,998 4,605 137.83

สามชุก 1,721 2,702 157.00

อู่ทอง 3,341 4,605 137.83

หนองหญ้าไซ 1,443 3,781 262.02

รวม 25,750 30,046 116.68

ที่มา : เวบ็ ไซด์ 10 ลา้ นครอบครัว www.activefam.anamai.moph.go.th

72 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2่ี 1

ผลการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพ ความรอบรู้ และปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลสุขภาพของ
ประชาชนวัย ทำงาน ของจงั หวัดสพุ รรณบุรปี ีงบประมาณ 2563 (จากการสุ่มตวั อย่างและบันทึกผลใน
โปรแกรม H4U เปา้ หมาย 5 อำเภอ สองพ่ีนอ้ ง,หนองหญ้าไซ,ศรีประจันต,์ ดอนเจดีย์ และอู่ทอง) และ
ได้คืนข้อมูลให้กบั พืน้ ที่ ในวันที่ 8 กันยายน 2563 เพื่อนำไปวางแผนแกไ้ ขปัญหาพฤตกิ รรมสุขภาพใน
ปีต่อไป พบว่าพฤติกรรมพึงประสงค์ของวัยทำงาน 4 ด้าน คือ พฤติกรรมการกินผัก พฤติกรรมการ
นอน กิจกรรมทางกาย และพฤติกรรมดูแลสุขภาพช่องปาก ในกลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมพึงประสงค์
ครบทั้ง 4 ด้าน มีจำนวนน้อยมาก (เป้าหมาย ร้อยละ 30 ภาพรวมเขตสุขภาพที่ 5 ร้อยละ 14.40
สุพรรณบุรี ร้อยละ 23.50) ซึ่งทำให้มีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพ และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่สำคัญ
ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคไต โรคมะเร็ง เป็นต้น เมื่อ
จำแนกรายด้านเรียงลำดับ ดังนี้ 1) กิจกรรมทางกาย ร้อยละ 76.10 2) พฤติกรรมการนอน ร้อยละ
56.30 3) พฤติกรรมดแู ลสขุ ภาพช่องปาก รอ้ ยละ 56.30 และ 4) พฤติกรรมการกินผกั ร้อยละ 51.30

2. คา่ ดชั นีมวลกาย (BMI) ปกติ ซง่ึ มคี า่ ต่ำกว่าเป้าหมายของประเทศ (เปา้ หมายประเทศ ร้อย
ละ 49 เป้าหมายของศูนย์อนามัยเขต 5 ร้อยละ 50.32 ผลงานเขตสุขภาพที่ 5 ร้อยละ 38.30
สุพรรณบุรี ร้อยละ 38.10) และมีภาวะอ้วนระดับ 1 (BMI 23-24.99) อ้วนระดับ 2 (BMI 25-29.99)
และอ้วนระดับ 3 (BMI 30 ขึ้นไป) รวม กันมากกว่าร้อยละ 50 (เขตสุขภาพที่ 5 ร้อยละ 53.30
สุพรรณบุรี ร้อยละ 53.70) ซึ่งเป็นภาวะอ้วนทำให้เกิดโรค ติดต่อเรื้อรังหลายโรคซึ่งส่งผลต่อคุณภาพ
ชวี ติ ความสขุ ครอบครัว สงั คม และเศรษฐกจิ นอกจากนภี้ าวะอ้วนเปน็ ปัจจยั ท่ีสำคัญทำให้เกิดภาวะ
สมองเส่อื ม ซมึ เศรา้ อุบตั ิเหตุ และปญั หาหยุดหายใจในระหวา่ งนอนหลับ ควรมกี ารส่งเสริมสนับสนุน
ใหป้ ระชาชนวยั ทำงานมีค่า BMI ปกติ โดยให้มีกิจกรรมทางกายและออกกำลงั กาย และพฤติกรรมการ
กนิ อาหารตามโภชนบญั ญัติ 9 ประการ และธงโภชนาการ

ประชากรวัยทำงานอายุ 18-59 ปี ในจังหวัดสุพรรณบุรี ปี2563 จำนวน 364,534
คน ได้รับ การคัดกรองค่าดัชนีมวลกายหรือ BMI จำนวน 220,410 คน คิดเป็นร้อยละ
60.46 ซึ่งต่ำกว่าค่าเป้าหมายของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ที่
กำหนดให้ประชากรอายุต้ังแต่ 19 ปี จะต้องได้รับการประเมินค่า BMI ปีละ 1 คร้ัง และทุก
ครั้งที่เข้ารับบริการ ตามชุดสิทธิประโยชน์ของผู้ใช้สิทธิหลัก ประกันสุขภาพ
สำหรับประชากรอายุ 18 ปี ใช้ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงและเปรียบเทียบกับเกณฑ์อ้างอิง
การเจริญเติบโตเด็กของประเทศ เพื่อลดปัจจัยเส่ียงทางสุขภาพ อัตราป่วย/อัตราตายท่ีเป็น
ภาระโรคของประเทศและส่งเสริมสุขภาพ บรรลุเป้าประสงค์ที่ต้องการให้ประชาชนมี
คุณภาพชีวิตที่ดีและลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของครัวเรือน (คู่มือผู้ใช้สิทธิหลักประกัน
ส ุ ข ภ า พ , https://www.nhso.go.th/FrontEnd/pagecontentdetail.aspx?CatID=
MTE4Mg==) ผลการคัดกรองพบว่ามีค่า BMI ปกติ (BMI>=18.5 ถึง <23) จำนวน 99,858
คน คิดเป็นร้อยละ 45.31 ซึ่งค่า BMI ปกติ น้อยกว่าค่าร้อยละของ Baseline ของเขต
สุขภาพ (ร้อยละ 48.29) และร้อยละของค่าเป้าหมายของประเทศ (ร้อยละ 49.00) ทุก
อำเภอในจังหวัดสุพรรณบุรี ไม่ผ่านเกณฑ์ค่าดัชนีมวลกายปกติ และอำเภอที่มีค่าดัชนีมวล
กายปกติน้อยที่สุด 3 ลำดับ ได้แก่อำเภอหนองหญ้าไซ (40.27) อำเภอด่านช้าง (41.28)
และอำเภอศรีประจันต์ (41.85) อำเภอที่มีภาวะเสี่ยงโรคอ้วน(เส้นรอบเอวปกติน้อยที่สุด)

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 73


บทที่ 2 PP&P Excellence

3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอศรีประจันต์ (41.94) อำเภอหนองหญ้าไซ (43.36) และอำเภออู่
ทอง (45.52)

ประชากรวัยทำงานอายุ 18-59 ปี จังหวัดสุพรรณบุรี มีค่า BMI ปกติ แบ่งเป็นวัย
ทำงานตอนต้น (อายุ 18-29 ปี) จำนวน 519 คน คิดเป็นร้อยละ 40.93 วัยทำงาน
ตอนกลาง (อายุ 30-44 ปี) จำนวน 39,709 คน คิดเป็นร้อยละ 48.26 และวัยทำงานตอน
ปลาย (อายุ 45-59 ปี) จำนวน 59,630 คน คิดเป็นร้อยละ 43.57 ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ทั้ง 10
อำเภอ

ประชากรวัยทำงานตอนต้น (อายุ 18-29 ปี) จังหวัดสุพรรณบุรี มีร้อยละของค่า
BMI ปกติ (BMI>=18.5 ถึง <23)ไม่ผ่านเกณฑ์ท้ัง 10 อำเภอ อำเภอที่มีค่า BMI ปกติ มาก
ที่สุดคือ อำเภอด่านช้าง มีร้อยละ 48.80 รองลงมาคืออำเภอเมือง มีร้อยละ 46.94 และ
อำเภอศรีประจันต์ มีร้อยละ 44.26 อำเภอที่มีร้อยละของค่า BMI ปกติ น้อยท่ีสุดคือ อำเภอ
เดิมบางนางบวช รองลงมาคืออำเภอหนองหญ้าไซ และอำเภอสองพี่น้อง

ประชากรวัยทำงานตอนกลาง (อายุ 30-44 ปี) จังหวัดสุพรรณบุรี มีร้อยละของค่า
BMI ปกติ (BMI>=18.5 ถึง <23) มี 3 อำเภอที่ผ่านเกณฑ์ ค่า BMI ปกติ ได้แก่ อำเภอ
สามชุก มีร้อยละ 53.71 รองลงมาคืออำเภอเมือง มีร้อยละ 50.91 และอำเภออู่ทอง มีร้อย
ละ 50.21 อำเภอที่มีร้อยละของค่า BMI ปกติ น้อยที่สุดคือ อำเภอด่านช้าง รองลงมาคือ
หนองหญ้าไซ และอำเภอดอนเจดีย์

ประชากรวัยทำงานตอนปลาย (อายุ 45-59 ปี) จังหวัดสุพรรณบุรี มีร้อยละของค่า
BMI ปกติ (BMI>=18.5 ถึง <23) ไม่ผ่านเกณฑ์ทั้ง 10 อำเภอ อำเภอท่ีมีค่า BMI ปกติมาก
ที่สุดคือ อำเภอเมือง ร้อยละ 45.58 รองลงมาคืออำเภอเดิมบางนางบวช ร้อยละ 43.98
และอำเภอบางปลาม้า ร้อยละ 43.93 อำเภอที่มีร้อยละของค่า BMI ปกติ น้อยที่สุดคือ
อำเภอหนองหญ้าไซ รองลงมาคืออำเภอด่านช้าง และอำเภอศรีประจันต์ ดังตารางท่ี 17

ตารางท่ี 17 แสดงจำนวนและร้อยละของวยั ทำงานอายุ 18-59 ปี ทม่ี คี า่ ดชั นมี วลกาย (BMI) ปกติ

จำแนกตามวยั ทำงานตอนตน้ ตอนกลาง และตอนปลาย ปี 2563

วยั ทำงานมี วัยทำงานตอนตน้ วยั ทำงานตอนกลาง วยั ทำงานตอนปลาย

อำเภอ BMI ปกติ (อายุ 18-29 ปี) (อายุ 30-44 ปี) (อายุ 45-59 ปี)

จำนวน รอ้ ย จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
(คน) ละ (คน) (คน) (คน)

เมอื งสุพรรณบรุ ี 21,133 47.58 23 46.94 8,461 50.91 12,649 45.58

เดมิ บางนางบวช 7,504 45.04 3 13.64 2,742 47.15 4,759 43.98

ด่านช้าง 7,192 41.28 81 48.8 2,952 43.07 4,159 39.98

บางปลาม้า 8,252 45.08 256 41.56 3,025 47.47 4,971 43.93

ศรปี ระจันต์ 6,992 41.85 27 44.26 2,770 46.84 4,195 39.09

ดอนเจดีย์ 5,608 44.13 9 28.13 2,051 45.02 3,548 43.70

สองพี่นอ้ ง 16,025 46.31 11 24.44 6,482 48.11 9,532 45.2

สามชกุ 6,743 49.90 7 43.75 2,611 53.71 4,125 47.77

74 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2่ี 1

วัยทำงานมี วัยทำงานตอนต้น วัยทำงานตอนกลาง วยั ทำงานตอนปลาย

อำเภอ BMI ปกติ (อายุ 18-29 ปี) (อายุ 30-44 ปี) (อายุ 45-59 ปี)

จำนวน ร้อย จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
(คน) ละ (คน) (คน) (คน)

อทู่ อง 14,926 45.99 98 40.5 6,492 50.21 8,336 43.22

หนองหญา้ ไซ 5,483 40.27 4 21.05 2,123 43.44 3,356 38.53

รวม 99,858 45.31 519 40.93 39,709 48.26 59,630 43.57

ทีม่ า รายงาน HDC วันที่ 1 ตุลาคม 2563

กราฟแสดงรอ้ ยละของวัยทำงานอายุ 18-59 ปี ทม่ี ีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ปกติ รายอำเภอ จำแนก
ตามวยั ทำงานตอนตน้ ตอนกลาง และตอนปลาย ปี 2563

60

รอ้ ยละ 50
40

30

20

10

0 เมอื ง เดิมบางนาง ด่านชา้ ง บางปลาม้า ศรีประจันต์ ดอนเจดีย์ สองพี่น้อง สามชุก อู่ทอง หนองหญา้ ไซ
สพุ รรณบุรี บวช
วัยทางาน 45.04 41.28 45.08 41.85 44.13 46.31 49.9 45.99 40.27
ตอยต้น 47.58 48.8 41.56 44.26 28.13 24.44 43.75 40.5 21.05
ตอนกลาง 13.64 43.07 47.47 46.84 45.02 48.11 53.71 50.21 43.44
ตอนปลาย 46.94 39.98 43.93 39.09 43.7 45.2 47.77 43.22 38.53
47.15
50.91
43.98
45.58

สรปุ ปญั หาทีส่ ำคัญ
Cluster วัยทำงาน จังหวัดสุพรรณบุรี กำหนดกลุ่มเป้าหมายเป็นประชากรวัย

ทำงานอายุ 18-59 ปี ที่มีค่าดัชนีมวลกายเกินมาตรฐาน (BMI>23) ให้สามารถควบคุมค่า
BMI และหรือลดน้ำหนักให้ค่า BMI อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน โดยส่งเสริมการออกกำลังกาย
และพฤติกรรมการกินอาหาร เพื่อใช้ติดตามควบคุมกำกับค่าดัชนีมวลกาย ( BMI) ใช้การ
ส่งเสริม/สนับสนุนแนวคิดทางสังคม ในการเสริมพลังให้กับผู้ลดน้ำหนัก ส่งเสริมการออก
กำลังกาย และพฤติกรรมการกินอาหาร เพ่ือใช้ติดตามควบคุมกำกับค่าดัชนีมวลกาย ( BMI)
ในคนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน ให้ลดน้ำหนักอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน โดยได้รับคำปรึกษา
แนะนำอย่างถูกต้องเหมาะสมจากนักวิชาการและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เน้นในเรื่องโรค
อ้วนและภาวะอ้วนลงพุง ซ่ึงส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 75


บทท่ี 2 PP&P Excellence

การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยสูงอายุ

ผู้สูงอายุในจังหวัดสุพรรณบุรี มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 18.32, 18.93 และ 19.64 ในปี
2560-2562 ตามลำดับ) ในปี 2563 จังหวัดสุพรรณบุรี มีผู้สูงอายุร้อยละ 20.42 (จำนวนประชากร
รวม 846,334 คน จำนวนผู้สงู อายุ 172,858 คน) โครงสร้างประชากรจังหวัดสพุ รรณบุรี ขณะนี้เข้าสู่
สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aging Society) และส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่ทำกิจวัตรประจำวันเองได้
(ร้อยละ 97.02) มีพื้นที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aging Society) จำนวน 6 อำเภอ ได้แก่
อำเภอเดิมบางนางบวช (ร้อยละ 23.98) อำเภอสามชกุ (ร้อยละ 23.43) อำเภอศรีประจนั ต์ (ร้อย
ละ 23.08) อำเภอบางปลาม้า (รอ้ ยละ 22.52) อำเภอเมอื ง (ร้อยละ 20.30) อำเภอหนองหญา้ ไซ (รอ้ ย
ละ 20.23) ดังตารางที่ 18

ตารางที่ 18 จำนวนและร้อยละของผสู้ ูงอายรุ ายอำเภอ จำแนกตามทะเบยี นราษฎร์

อำเภอ จำนวนประชากรรวม จำนวนผ้สู ูงอายุ รอ้ ยละ

เมอื งสุพรรณบุรี 168,079 34,128 20.30
เดมิ บางนางบวช 71,774 17,212 23.98
ด่านช้าง 68,307 11,358 16.62
บางปลามา้ 77,210 17,389 22.52
ศรปี ระจนั ต์ 61,693 14,244 23.08
ดอนเจดยี ์ 46,168 8,974 19.43
สองพี่น้อง 127,800 23,233 18.17
สามชกุ 54,060 12,668 23.43
อทู่ อง 121,930 23,675 19.41
หนองหญา้ ไซ 49,313 9,977 20.23
846,334 172,858 20.42
รวม

จากการประเมินผสู้ งู อายตุ ามความสามารถในการดำเนินชีวติ ประจำวัน (ดชั นีบารเ์ ธลเอดีแอล)
ปี 2563 จำแนกเปน็ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มท่ีสามารถดำเนนิ กิจวัตรประจำวันได้เอง (ตดิ สงั คม) ร้อยละ
97.02 กลุ่มที่ต้อง การความช่วยเหลือบา้ ง (ตดิ บา้ น) ร้อยละ 2.29 และกลมุ่ ท่ีต้องการความช่วยเหลือ
สมบรู ณ(์ ติดเตียง) ร้อยละ 0.69 โดยพบว่าอำเภอดอนเจดีย์มีผูส้ ูงอายุกล่มุ ตดิ เตยี งจำนวนมากทส่ี ดุ
รอ้ ยละ 0.87 ดงั แสดงในตารางท่ี 19

76 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

ตารางท่ี 19 จำนวนผูส้ งู อายุรายอำเภอ จำแนกตาม ADL index

DB POP ปี 63 ประเมนิ กลุ่ม 1 (ตดิ สังคม) กลุ่ม 2 (ตดิ บา้ น) กลุ่ม 3 (ตดิ เตียง)

อำเภอ ADL (คน) จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
จำนวน ร้อยละ 27,550 96.75 699 2.45 225 0.79
13,878 97.97 168 1.19 120 0.85
เมืองสุพรรณบรุ ี 34,128 20.30 28,474 7,379 97.8 123 1.63 43 0.57
9,903 96.95 198 1.94 114 1.12
เดิมบางนางบวช 17212 23.98 14,166 12,284 96.39 328 2.57 132 1.04
7,433 96.66 222 2.89 35 0.46
ด่านชา้ ง 11358 16.62 7,545 14,608 96.09 511 3.36 83 0.55
9,791 97.26 232 2.3 44 0.44
บางปลามา้ 17389 22.52 10,215 16,278 97.01 397 2.37 104 0.62
7,755 97.47 157 1.97 44 0.55
ศรีประจันต์ 14244 23.08 12,744 126,859 96.96 3,035 2.32 944 0.72

ดอนเจดยี ์ 8974 19.43 7,690

สองพ่ีน้อง 23233 18.17 15,202

สามชุก 12668 23.43 10,067

อทู่ อง 23675 19.41 16,779

หนองหญา้ ไซ 9977 20.23 7,956

รวม 172,858 20.42 130,838

ท่ีมา : รายงาน HDC ณ วันที่ 14 ตุลาคม 2563

ผลการดำเนนิ งาน

โครงการ พฒั นาระบบการดูแลผู้สูงอายรุ ะยะยาว จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2563

มาตรการท่ี 1 พฒั นาการประเมนิ คัดกรองภาวะสขุ ภาพผ้สู งู อายุ ระบบข้อมลู และมาตรฐานบรกิ าร
1.1 จดั ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการแก่ผ้รู บั ผดิ ชอบงานผูส้ ูงอาย/ุ PM การประเมนิ สมรรถนะการ

ดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั และการประเมนิ ภาวะสขุ ภาพผสู้ ูงอายุ บทบาทการคัดกรอง ในพ้ืนที่ แบ่งเป็น
2 ระดับ ดงั นี้

1.1.1 ระดับ รพ.สต./อสม. คัดกรองเบื้องต้น พบผิดปกติ/สงสัย ส่งตรวจ รพช.
(หรือ รพท./รพศ.) ในเครอื ข่าย

1.1.2 ระดับ รพช. รพท. รพศ. ทำหน้าที่ 3 บทบาท ดงั นี้
- คดั กรองเบ้ืองตน้ กรณีผูส้ ูงอายทุ ่ีอย่ใู นเขตพน้ื ทีร่ ับผดิ ชอบโรงพยาบาล
- คัดกรองตามแบบประเมินผู้สงู อายุ สำหรับ รพ. (Geriatic Assessment :
GA) ในรายที่ผิดปกติ/สงสัย ซึ่งส่งต่อมาจาก รพ.สต. หรือรายที่คัด
กรองในโรงพยาบาลพบผิดปกติ

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 77


บทที่ 2 PP&P Excellence

- รพช. ให้การวนิ จิ ฉัย รกั ษาเบื้องต้น และส่งต่อในรายที่เกินขีด
ความสามารถโดยกำหนด ให้มพี ยาบาลผูร้ ับผิดชอบการคัดกรอง อย่างนอ้ ย รพช. ละ 2 คน เพอ่ื
ประสานการคัดกรองและการส่งตอ่ กบั รพ.สต. ในอำเภอ ส่วน รพท./รพศ. วินจิ ฉัยโรค ใหก้ ารรกั ษา
ผสู้ ูงอายรุ ายที่ผิดปกตซิ ึ่งส่งต่อมาจาก รพช. หรือรายท่คี ดั กรองใน รพ.พบความผิดปกติ โดยกำหนดให้
มแี พทย์อย่างน้อย 1 คน และพยาบาลอยา่ งนอ้ ย 2 คน และทมี สหวชิ าชีพ เป็น Case Manager เพอ่ื
ประสานการคัดกรองและส่งต่อกับ รพ.สต. ในอำเภอ และ รพช.

1.2 นิเทศตดิ ตามและสุม่ ประเมนิ ผลการคัดกรองในพื้นที่ 10 อำเภอ
จากรายงานผลการคัดกรองปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุในปี 2562 พบผู้สูงอายุมีภาวะเสี่ยง
หลอดเลือดสมอง มากที่สุด (ร้อยละ 54.97) รองลงมาได้แก่ ความดันโลหิตสูง (ร้อยละ 36.76) และ
ดชั นีมวลกาย (BMI) (รอ้ ยละ 30.13) ตามลำดับ ดังแสดงตารางที่ 20

78 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


ตารางที่ 20 ร้อยละของผ้สู งู อายุทีม่ ีภาวะเส่ยี งปญั หาสขุ ภาพ DM ร้อยละ คดั

HT เสย่ี ง 11.82 11
อำเภอ 10.88 4,
2,356 7.3 3,
คัดกรอง เสี่ยง ร้อยละ คัดกรอง 1055 10.75 6,
441 15.2 4,
รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 เมอื งสพุ รรณบรุ ี 14,802 7,604 51.37 19,928 1,074 12.36 3,
1,275 4.92 7,
เดมิ บางนางบวช 7,447 1,761 23.65 9,695 691 2.29 3,
643 9.46 7,
ด่านชา้ ง 4,819 779 16.17 6,043 168 8.57 3,
1,263 9.54 55
บางปลาม้า 6,330 3,415 53.95 9,994 516
9,482
ศรีประจนั ต์ 6,051 2,576 42.57 8,390

ดอนเจดยี ์ 3,806 1701 44.69 5,592

สองพี่น้อง 9,048 2551 28.19 13,071

สามชุก 5,005 467 9.33 7,349

อู่ทอง 9,987 3,623 36.28 13,345

หนองหญ้าไซ 4,068 2,498 61.41 6,019

รวม 73,765 26,975 36.76 99,426

79


CVD สุขภาพชอ่ งปาก AMT PP&P Excellence

ดกรอง เส่ียง ร้อยละ คดั กรอง เส่ยี ง ร้อยละ คดั กรอง เสย่ี ง รอ้ ยละ

1,115 7,483 67.32 27,149 960 3.54 27,223 354 1.3

,327 2,095 48.42 13,074 218 1.67 13,531 294 2.17

,151 1,613 51.19 7,067 405 5.73 6,957 143 2.06

,364 3,753 58.97 7,839 703 8.97 8,141 165 2.03

,618 2,512 54.4 7,755 560 7.22 7,939 114 1.44

,291 1,820 55.3 7,256 793 10.93 7,184 90 1.25

,715 4,150 53.79 14,008 386 2.76 13,625 143 1.05

,868 2,028 52.43 7,755 23 0.3 7,977 7 0.09

,190 3,654 50.82 14,934 6.69 6.69 15,002 241 1.61 บบทททที่ 2่ี 1

,762 2,147 57.07 6,733 8.64 7.63 6,899 23 0.33

5,401 31,255 54.97 113,570 5629 4.95 114,478 1,574 1.37


80 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 ตารางท่ี 20 (ต่อ) รอ้ ยละของผู้สงู อายทุ มี่ ีภาวะเสีย่ งปัญหาสุขภาพ ขอ้ เขา่
อำเภอ 2Q เส่ยี ง

คดั กรอง เส่ยี ง ร้อยละ คดั กรอง 2,127
383
เมืองสุพรรณบุรี 27,135 37 0.14 27,227 682
877
เดิมบางนางบวช 13,815 26 0.19 13,476 294
649
ดา่ นช้าง 6,192 9 0.15 7,063 1,113
60
บางปลามา้ 9,985 69 0.69 8,260 1,597
763
ศรีประจันต์ 7,935 22 0.28 7,920 8,545

ดอนเจดยี ์ 7,146 8 0.11 7,144

สองพ่ีนอ้ ง 15,121 6 0.04 14,970

สามชุก 8,028 0 0 8,055

อ่ทู อง 15,242 39 0.26 14,984

หนองหญ้าไซ 6,980 25 0.36 6,994

รวม 117,579 241 0.2 116,093

ทม่ี า : รายงาน HDC ณ วันท่ี 14 ตลุ าคม 2563


หกล้ม BMI บทท่ี 2

รอ้ ยละ คัดกรอง เสี่ยง รอ้ ยละ คัดกรอง เสีย่ ง รอ้ ยละ

7.81 27,131 980 3.61 27,336 8,946 32.73
2.84 13,483 280 2.08 13,639 3,725 27.31
9.66 7,077 318 4.49 8,411 1,985 23.6

10.62 8,282 446 5.39 13,096 4,233 32.32
3.71 7,722 207 2.68 11,112 3,583 32.24
9.08 7,114 247 3.47 6,528 1,805 27.65
7.43 14,743 587 3.98 17,418 5,551 31.87
0.74 8,058 48 0.6 9,188 2,731 29.72
10.66 14,979 1,674 11.18 18,279 5,273 28.85
10.91 7,098 217 3.06 7,844 2,198 28.02
7.36 115,687 5004 4.05 132,851 40,030 30.13

PP&P Excellence


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

มาตรการท่ี 2 พัฒนาศกั ยภาพชมรมผ้สู งู อายุ และสง่ เสรมิ พฤตกิ รรมสขุ ภาพท่ีพงึ ประสงค์
2.1 สนับสนุนการดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุในพื้นที่ ในการจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ สุขภาพ
เพอื่ ให้

ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ และสนับสนุนกิจกรรม ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าว
อรอ่ ย จำนวน 10 ชมรม ในพน้ื ที่ 10 อำเภอ

2.2 สนับสนุนสาขาสมาคมสภาผู้สูงอายแุ หง่ ประเทศไทยฯ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ในการดำเนนิ
กิจกรรมส่งเสรมิ สขุ ภาพผู้สูงอายุ

2.3 ประเมนิ ชมรมผ้สู ูงอายุคุณภาพ

ตารางท่ี 21 จำนวนชมรมและโรงเรียนผู้สงู อายุ จำแนกรายอำเภอ

อำเภอ จำนวนชมรมผู้สงู อายุ จำนวนโรงเรยี นผู้สูงอายุ

เมอื งสุพรรณบรุ ี 29 3
เดิมบางนางบวช 19 2
ดา่ นช้าง 82
บางปลาม้า 27 8
ศรีประจนั ต์ 15 0
ดอนเจดีย์ 15 1
สองพ่ีนอ้ ง 26 1
สามชุก 15 2
อ่ทู อง 27 3
หนองหญา้ ไซ 51
รวม 186 23

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 81


บทที่ 2 PP&P Excellence

ตารางท่ี 22 ผสู้ ูงอายุทีม่ พี ฤติกรรมพึงประสงค์ จำแนกรายอำเภอ

อำเภอ มพี ฤตกิ รรมพึงประสงค์ (รอ้ ยละ)

เมอื งสพุ รรณบรุ ี 71.4
เดิมบางนางบวช 81.69
ดา่ นช้าง 49.95
บางปลาม้า 69.64
ศรีประจันต์ 39.81
ดอนเจดยี ์ 61.64
สองพี่น้อง 56.43
สามชุก 68.15
อู่ทอง 80.89
หนองหญา้ ไซ 55.83
เฉลย่ี 63.54

มาตรการท่ี 3 พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพผ้สู งู อายรุ ะยะยาว
กจิ กรรมหลกั สำคัญท่ไี ด้ดำเนนิ การ ดังน้ี
3.1 พ้ืนท่ีดำเนนิ การตำบลดแู ลระยะยาวดา้ นสาธารณสุขสำหรบั ผู้สงู อายทุ มี่ ภี าวะพง่ึ พงิ ปี

2562 จำนวน 110 ตำบล ดังแสดงในตารางที่ 23

ตารางที่ 23 จำนวนตำบลดำเนินการ LTC แยกรายอำเภอ

อำเภอ จำนวน ผา่ นเกณฑ์
20 19
เมืองสพุ รรณบรุ ี 14 14
เดมิ บางนางบวช 7 7
ดา่ นชา้ ง 14 14
บางปลาม้า 9 9
ศรีประจันต์ 5 5
ดอนเจดีย์ 15 15
สองพีน่ ้อง 7 7
สามชกุ 13 13
อทู่ อง 6 6
หนองหญา้ ไซ 110 109
รวม

82 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

ตารางที่ 24 ผู้สูงอายทุ ม่ี ีภาวะพึ่งพิงได้รบั การดูแลตาม Care plan แยกรายอำเภอ

อำเภอ ได้รับการดูแลตาม Care plan (ร้อยละ)
92.9
เมืองสุพรรณบรุ ี 99.62
เดิมบางนางบวช 94.59
ด่านชา้ ง 87.38
บางปลามา้ 96.06
ศรีประจนั ต์ 97.85
ดอนเจดยี ์ 90.37
สองพนี่ อ้ ง 100
สามชุก 82.23
อู่ทอง 99.11
หนองหญ้าไซ 94.01
เฉลย่ี

3.2 พัฒนาศักยภาพผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care manager) โดยส่งบุคลากรเข้ารับ
การอบรมฟื้นฟูหลักสูตรผู้จัดการการดูแลผู้สงู อายุ (Refresher Care Manager) ณ ศูนย์อนามัยที่ 5
ราชบุรี ระหวา่ งวันท่ี 13-15 พฤศจิกายน 2562 จำนวน 14 คน ดังตารางที่ 25

ตารางท่ี 25 จำนวนบุคลากรอบรมฟน้ื ฟหู ลกั สูตรผู้จัดการการดแู ลผสู้ ูงอายุ (Refresher Care Manager)

อำเภอ จำนวน (คน)
เมอื ง 2
เดมิ บางนางบวช 0
ด่านช้าง 4
บางปลามา้ 0
ศรีประจนั ต์ 1
ดอนเจดีย์ 3
สองพน่ี อ้ ง 2
สามชกุ 0
อู่ทอง 2
หนองหญ้าไซ 0
รวม 14

3.3 สร้างผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care manager) โดยมีแผนส่งบุคลากรเข้ารับการ
อบรมหลักสูตรผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care manager) 70 ชั่วโมง ของกรมอนามัย ณ ศูนย์
อนามัยที่ 5 ราชบุรี ระหว่างวันที่ 13-17 และ 27-31 พฤษภาคม 2562 จำนวน 25 คน เนื่องจาก
สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา COVID-2019 การอบรมจึงถกู เลอื่ นออกไปไมม่ ีกำหนด

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 83


บทที่ 2 PP&P Excellence

มาตรการท่ี 4 แลกเปลยี่ นเรียนรู้ และประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน
4.1 ไดร้ ับรางวลั ระดับเขต จากศนู ย์อนามัยท่ี 5 ราชบรุ ี
1. ชมรมผ้สู งู อายดุ ีเดน่ จำนวน 1 รางวลั
2. Care giver ดเี ด่น จำนวน 1 รางวลั
3. Care manager ดเี ดน่ จำนวน 1 รางวลั
4. ตำบลที่มรี ะบบการสง่ เสริมสุขภาพดแู ลผู้สูงอายรุ ะยะยาว (Long Term Care) ใน

ชุมชนผา่ นเกณฑ์ ดีเด่น จำนวน 1 รางวัล
4.2 ประเมนิ วัดส่งเสรมิ สุขภาพ จำนวน 173 วัด ( 1 วดั 1 รพ.สต. 1 โรงพยาบาล ) วัดท่ผี ่าน

เกณฑ์วัดสง่ เสริมสุขภาพและไดร้ บั การคดั เลือกระดบั จงั หวดั จำนวน 4 วัด
1. ระดับดีเด่น จำนวน 1 วดั
2. ระดบั ดีมาก จำนวน 2 วดั
3. ระดบั ดี จำนวน 1 วัด

84 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


Click to View FlipBook Version