The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-26 00:54:33

รายงานประจำปี2563

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

PP&P Excellence บบทททที่ 2่ี 1

ผลการดำเนินงานทนั ตสาธารณสุข จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

1. สถานการณ์และสภาพปญั หาสขุ ภาพช่องปาก (Base line)

1.1 สถานการณ์สุขภาพชอ่ งปาก

จังหวัดสพุ รรณบรุ ี เป้าประสงค์ /ผลลัพธ์
ปี
กลุม่ อายุ สภาวะทนั ตสขุ ภาพ ปี ปี ปี
2563
2560 2561 2562

18 เดอื น ปราศจากฟนั น้ำนมผุ 93.4 96.0 95.4 -
ค่าเฉลี่ยฟันผุ อดุ ถอน (dmft) (ซ่/ี คน) 0.3 0.2 0.3 -

3 ปี ปราศจากฟันน้ำนมผุ 62.7 63.3 61.9 ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 70
ค่าเฉลีย่ ฟนั ผุ อุด ถอน (dmft) ( ซ/่ี คน) 1.6 1.7 1.7

เด็กอายุ ปราศจากฟนั แท้ผุ 64.3 68.3 70.3
12 ปี คา่ เฉลย่ี ฟันผุ อดุ ถอน (DMFT) (ซ/่ี คน)
ฟนั ดี ไม่มผี ุ (Cavity Free) 0.8 0.7 0.7 -

78.7 83.4 84.5 ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80

ผสู้ งู อายุ มีฟันใชง้ านอยา่ งน้อย 20 ซี่ หรือ 4 คู่สบ (ฟันแท)้ - 57 52.1 ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 40

ทกุ กลมุ่ วัย อัตราการเขา้ ถงึ บริการสขุ ภาพชอ่ งปาก 31.9 30.3 30.6 ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 40

หมายเหตุ : สำรวจสภาวะช่องปากของประชาชน จงั หวัดสุพรรณบุรี ปี 2560-2562
รายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ คร้งั ท่ี 8 ประเทศไทย พ.ศ.2560 (สำนกั ทันตสาธารณสขุ )

แผนภูมิที่ 1 ร้อยละของเดก็ อายุ 3 ปี ปราศจากฟนั ผุในฟนั นำ้ นม (Caries Free) ปี พ.ศ. 2560-2562

100 เป้าหมาย ร้อยละ 70

80 62.762.261.963.760.4 65.370.2 74.4 74.36970.4 55.554.4 61.772.264.660 66.562.867.159.067.168.9 62.265.3
60
ร้อยละ 47.5 61.459.9 50.2 51.149.535.6

57.6

40

20

0 เมอื ง เดมิ บางฯ ดา่ นช้าง บางปลามา้ ศรปี ระจนั ต์ ดอนเจดีย์ สองพ่นี ้อง สามชกุ อู่ทอง หนองหญา้
สุพรรณบรุ ี ไซ
63.7 65.3 61.4 74.3 55.5 72.2 66.5 59.0
ปี 2560 62.7 60.4 70.2 59.9 69 54.4 64.6 62.8 67.1 50.2 51.1
ปี 2561 62.2 47.5 74.4 57.6 70.4 61.7 60 67.1 68.9
ปี 2562 61.9 70 70 70 70 70 70 70 70 62.2 49.3
รอ้ ยละ 70
65.3 55.6

70 70

เด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟนั ผุในฟันนำ้ นม (Caries Free) ร้อยละ 61.9 (สำรวจสภาวะช่อง
ปากของประชาชนจังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2562) ลดลงเม่ือเทียบกบั ปีท่ีผา่ นมา ยังไม่ผ่านเกณฑ์เปา้ หมายที่
กำหนด (ร้อยละ 70) อำเภอท่ีมีเด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุสูงท่ีสดุ คือ อ.เดมิ บางนางบวช รอ้ ยละ
74.4 รองลงมาคือ อ.บาง ปลาม้า รอ้ ยละ 70.4 และ อ.สามชกุ ร้อยละ 68.9 และอำเภอทป่ี ราศจาก
ฟนั ผุน้อยท่สี ดุ คือ อ.เมืองสุพรรณบุรี ร้อยละ 47.5 รองลงมาคอื อ.หนองหญ้าไซ ร้อยละ 55.6 และ อ.
ด่านชา้ ง ร้อยละ 57.6

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 85


บทท่ี 2 PP&P Excellence

แผนภมู ิท่ี 2 รอ้ ยละเดก็ อายุ 12 ปี ปราศจากฟนั ผุในฟนั แท้ (Caries Free) จังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2560-2562

100 เป้าหมาย รอ้ ยละ 70 83.8 83.3 81.577.683.7
80 72.1 76
60 64.368.370.3 67.4 75.970.3 66.462.873.5 65.672.468.4 66.569.571.4 64.6 62.364.6
56.5 64.3 61.1 61.161.967.6 55.1 64.5

ร้อยละ 40

20

0 สุพรรณบุรี เมือง เดิมบางฯ ด่านชา้ ง บางปลามา้ ศรีประจันต์ ดอนเจดีย์ สองพนี่ อ้ ง สามชุก อ่ทู อง หนองหญ้าไซ
ปี 2560 64.3 56.5 61.1 61.1 66.4 65.6 66.5 55.1 62.3 83.3 81.5

ปี 2561 68.3 67.4 75.9 61.9 62.8 72.4 69.5 64.6 64.6 72.1 77.6

ปี 2562 70.3 64.3 70.3 67.6 73.5 68.4 71.4 64.5 83.8 76 83.7

รอ้ ยละ 70 70 70 70 70 70 70 70 70 70 70

เด็กอายุ 12 ปี ปราศจากฟันผุ (Caries Free) ในฟันแท้ ร้อยละ 70.3 (สำรวจสภาวะ
ช่องปากของประชาชน จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2562) ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 70) อำเภอที่มีเด็กปราศจาก
ฟันแทผ้ ุ (Caries Free) ในฟันแทส้ ูงท่ีสดุ คือ อ.สามชกุ ร้อยละ 83.8 รองลงมาคอื อ.หนองหญา้ ไซ รอ้ ยละ
83.7 และ อ.บางปลาม้า ร้อยละ 73.5 อำเภอที่ปราศจากฟันผุ (Caries Free) ในฟันแท้น้อยท่ีสุดคือ อ.
เมอื งสุพรรณบุรี รอ้ ยละ 64.3 รองลงมาคือ อ.สองพนี่ ้อง และ อ.ดา่ นช้าง ร้อยละ 64.5, 67.6 ตามลำดบั

แผนภูมิที่ 3 ร้อยละเด็กอายุ 12 ปี ฟันดี ไม่มผี ุ (Cavity Free) จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี 2561-2562

ร้อยละ เป้าหมาย รอ้ ยละ 80

120

100 89.188.6 84.685.8 97.4 93.9 95 93.7
80
82.985.2 80.9 85.584.6 91.7 89.6

83.484.5 82.779.2 75.4 72.3

69.5

60

40

20

0

เด็กอายุ 12 ปี ฟันดี ไม่มีผุ (Cavity Free) ในฟันแท้ร้อยละ 84.5 (สำรวจสภาวะช่อง
ปากของประชาชน จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2562) ผ่านเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด (ร้อยละ 80, สำนัก
ทันตสาธารณสุข) อำเภอทีม่ ีเด็กฟันดีไม่มีผุ Cavity Free) สูงท่ีสดุ คือ อ.สามชกุ อ.อทู่ อง อ.หนองหญ้า
ไซ ร้อยละ 97.4 95.0 และ 93.7 ตามลำดับ อำเภอที่มีเด็กฟันดี ไม่มีผุ (Cavity Free) น้อยที่สุดคือ
อ.สองพ่ีนอ้ ง 72.3 รองลงมาคือ อ.เมอื งสพุ รรณบรุ ี รอ้ ยละ 79.2

86 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2่ี 1

1.2. สถานการณ์ทรพั ยากรบุคล (อัตรากำลังการให้บริการสขุ ภาพช่องปาก) จังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2563

ระดับ ระดับทตุ ิภมู ิ – ตติยภูมิ ระดบั ปฐมภมู ิ รวมทงั้ ส้นิ
โรงพยาบาล (คน) รพ.สต. (คน) (คน)
CUP หน่วย รวม จำนวน ทันตาภิบาล/นวก.
บริการ ทันตแพทย์ ทันตาภิบาล/นวก. (แหง่ ) (ทันตสาธารณสขุ ) (รพ. และ
รพ.สต.)
(ทนั ตสาธารณสขุ ) 29 17
40
รพ.เจ้าพระยายมราช A 18 5 23 25 15
รพ.สมเดจ็ พระสงั ฆราช องค์ที่17 M1 26
รพ.อ่ทู อง M2 9 2 11 22 11
รพ.ดา่ นชา้ ง F1 23
รพ.เดมิ บางนางบวช F1 10 2 12 16 7
รพ.บางปลามา้ F2 20
รพ.ศรีประจนั ต์ F2 9 4 13 20 9
รพ.ดอนเจดยี ์ F2 19
รพ.สามชกุ F2 8 2 10 17 7
รพ.หนองหญ้าไซ F2 16
6 39 14 7
รวม 16
6 39 94
14
6 4 10 13 6
14
6 28 95
12
4 37 174 88
200
82 30 112

จังหวัดสุพรรณบุรี มีทันตบุคลากรผู้ให้บริการสุขภาพช่องปาก (ส่งเสริม ป้องกัน รักษา
และฟื้นฟูสภาพ) จำนวนทั้งสิ้น 200 คน ประกอบด้วย ทันตแพทย์ในโรงพยาบาล (10 แห่ง) จำนวน
82 คน ทนั ตาภบิ าลในโรงพยาบาล 30 คน และทนั ตาภบิ าล/นักวชิ าการสาธารณสุข (ทนั ตสาธารณสุข)
ในหน่วยบริการปฐมภูมิ (รพ.สต.) 88 คน ประจำใน รพ.สต. 88 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 50.5 (รพ.สต.
ทง้ั หมด 174 แหง่ )

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 87


บทท่ี 2 PP&P Excellence

2. ผลการดำเนนิ งานทนั ตสาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ดำเนินงานบริการส่งเสริม ป้องกันโรค รักษา

และฟืน้ ฟสู ภาพ เพอ่ื เก็บรักษาฟันในทุกกลมุ่ อายุ และพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสขุ ภาพช่องปาก
บรู ณาการและปรับปรงุ ระบบสนบั สนุนการปฏบิ ัตงิ านใหเ้ อ้ือต่อการดำเนินงานและสอดคล้องกับปัญหา
ของพ้นื ท่ี เพิ่มประสิทธภิ าพการใชร้ ะบบติดตามประเมินผล จดั ให้มีบริการที่ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย ท้ังน้ี
เพอื่ ลดอตั ราการเกดิ โรคฟันผุ ลดการสญู เสียฟันและเพิม่ การเขา้ ถึงบริการสขุ ภาพช่องปาก ดังนี้

I. งานส่งเสริมสขุ ภาพปอ้ งกันและคุ้มครองผู้บรโิ ภคเป็นเลศิ (PP&P Excellence)
1. กลุ่มสตรีและเดก็ ปฐมวัย

กิจกรรม เมอื ง เดมิ บาง ด่าน บาง ศรี ดอน สองพ่ี สาม อู่ หนอง สพุ รรณ
นางบวช ช้าง ปลาม้า ประจันต์ เจดยี ์ น้อง ชกุ ทอง หญ้าไซ บุรี
1. หญงิ ต้ังครรภ์
ได้รับการตรวจ หญงิ ที่คลอด 843 265 395 272 285 247 720 173 480 219 3,899
สขุ ภาพชอ่ งปาก
ผลงาน 321 170 186 127 119 170 239 99 307 85 1,823

ร้อยละ 38.1 64.1 47.1 46.7 41.7 68.8 33.1 57.2 63.9 38.8 46.7

2. หญงิ ต้ังครรภ์ได้รับ ผลงาน 320 170 221 64 118 173 224 105 313 88 1796
การฝึกแปรงฟนั 64.1 55.9 23.5 41.4 70.0 31.1 60.6 65.2 40.1 46.0
170 186 127 119 170 242 100 307 85 1,829
แบบลงมือปฏบิ ัต,ิ รอ้ ยละ 37.9 158 168 51 116 161 222 91 289 80 1,630
Plaque control

3. หญงิ ตงั้ ครรภ์ หญิงทค่ี ลอด 323
ได้รบั บรกิ าร
ทันตกรรม ไดต้ รวจชอ่ งปาก

ผลงาน 294

ร้อยละ 91.0 92.9 90.3 40.1 97.4 94.7 91.7 91.0 94.1 94.1 89.1

1.1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์

หญงิ ตั้งครรภท์ ี่คลอดในปีงบประมาณ 2563 ไดร้ บั การตรวจสขุ ภาพช่องปาก ร้อยละ 46.7
ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติและ Plaque control ร้อยละ 46.0 และหญิงที่คลอด (ใน
ปีงบประมาณ 2563) ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 89.1 (นับหญิงหลังคลอดที่ได้รับการตรวจสขุ ภาพ
ช่องปากและวางแผนการรักษา) อำเภอที่ให้บริการตรวจสุขภาพช่องปากได้มากที่สุดคือ อ.ดอนเจดีย์
รอ้ ยละ 68.8 รองลงมาคอื อ.เดิมบางนางบวช และ อ.อทู่ อง ร้อยละ 64.1 และ 63.9 ตามลำดบั

88 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

1.2 กลมุ่ เดก็ อายุ 0-2 ปี

กจิ กรรม เมอื ง เดมิ บาง ดา่ น บางปลา ศรี ดอน สองพ่ี สาม อู่ หนอง สพุ รรณ
นางบวช ช้าง ม้า ประจันต์ เจดีย์ นอ้ ง ชกุ ทอง หญา้ ไซ บรุ ี
1. เดก็ อายุ 0-2 ปี
ไดร้ ับการตรวจ เป้าหมาย 3,112 1,453 1,882 1,484 1,240 1,054 2,856 912 2,518 1,088 17,599
สุขภาพชอ่ งปาก
ผลงาน 1,026 497 833 285 424 318 1,150 438 957 422 6,350

ร้อยละ 32.9 34.2 44.2 19.2 34.1 30.1 40.2 48.0 38.0 38.7 36.1

2. พ่อแม่/ผู้ดแู ลเดก็ ผลงาน 1,405 657 916 526 562 514 1,326 614 1,339 555 8,414
0-2 ปี ไดร้ บั การฝกึ

แปรงฟนั แบบลงมือ รอ้ ยละ 45.1 45.2 48.6 35.4 45.3 48.7 46.4 67.3 53.1 51.0 47.8
ปฏิบตั ิ

3. เด็กอายุ 0-2 ปี ผลงาน 808 512 908 406 317 413 1,321 515 1,144 531 6,875
ไดร้ บั การทา ร้อยละ 25.9 35.2 48.2 27.3 25.5 39.1 46.2 56.4 45.4 48.8 39.0
ฟลอู อไรดว์ านชิ

จัดให้มีการบริการตรวจคัดกรองสภาวะสุขภาพเด็กและประเมินกลุ่มเสี่ยง ในกลุ่มเด็กอายุ 0-2 ปี
โดยทนั ตบคุ ลากร และเจ้าหนา้ ทีส่ าธารณสขุ ทีผ่ า่ นการอบรม (เพอ่ื เพิ่มความครอบคลุม) ฝกึ ทกั ษะการแปรง
ฟนั แบบลงมือปฏิบตั ิแก่ผู้เลี้ยงดเู ด็กเพ่ือการแปรงฟันให้เด็ก และทาฟลูออไรด์วานิชความเข้มข้นสูงเฉพาะที่
เพื่อ ป้องกันฟันผุ เด็กอายุ 0-2 ปี ได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปาก ครอบคลุมร้อยละ 36.1 ฝึกทักษะ
ผ้ปู กครองแปรงฟันให้เด็กแบบลงมือปฏิบัติ (Hand on) รอ้ ยละ 47.8 และทาฟลูออไรด์วานชิ รอ้ ยละ 39.0

1.3 กลมุ่ เด็กอายุ 3-5 ปี

กิจกรรม เมอื ง เดิมบาง ด่าน บางปลา ศรี ดอน สองพ่ี สาม อู่ หนอง สุพรรณ
นางบวช ชา้ ง ม้า ประจันต์ เจดยี ์ น้อง ชกุ ทอง หญ้าไซ บุรี

1. เด็กอายุ 3-5 ปี ไดร้ ับ เปา้ หมาย 2,926 1,338 1,700 1,416 1,214 1,000 2,947 977 2,440 1,054 17,012

การตรวจสุขภาพ ผลงาน 1,411 519 1,375 361 699 419 1,593 593 1,655 579 9,204
ชอ่ งปาก ร้อยละ 48.2 38.7 80.8 25.4 57.5 41.9 54.0 60.7 67.8 54.9 54.1

2. เดก็ อายุ 3-5 ปี ได้รับ ผลงาน 1,323 900 1,462 542 759 515 1,967 834 1,514 665 10,481
การทาฟลอู อไรด์วานชิ ร้อยละ 45.2 67.2 86.0 38.2 62.5 51.5 66.7 85.3 62.0 63.0 61.6

3. เด็กอายุ 3-5 ปี ไดร้ ับ ผลงาน 1,737 990 1,493 667 815 561 2,055 867 1,896 1,896 11,786
บริการทนั ตกรรม ร้อยละ 59.3 73.9 87.8 47.1 67.1 56.1 69.7 88.7 77.7 77.7 69.2

สร้างเสริมสุขภาพช่องปากและบริการทันตกรรมในกลุ่มเด็กอายุ 3-5 ปี ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเด็ก
กอ่ น วัยเรยี นส่วนใหญ่อยู่ในโรงเรยี นชั้นอนุบาลและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมป้องกันโรค
ในช่องปาก ได้แก่ การตรวจและเฝ้าระวงั ปัญหาสขุ ภาพช่องปาก โดยทนั ตบุคลากร การแปรงฟนั หลังอาหาร
กลางวันทุกวัน การจัดอาหารว่างท่ีมีคุณค่าทางโภชนาการและไม่เสี่ยงต่อฟันผุ การเลิกดูดนมจากขวด ตรวจ
คัดกรองสุขภาพ ช่องปาก และทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุ มีความครอบคลุม ตรวจสุขภาพช่อง
ปาก รอ้ ยละ 54.1 ทาฟลอู อไรดว์ านชิ รอ้ ยละ 61.6 และเด็ก 3-5 ปี ได้รบั บริการทันตกรรม ครอบคลุมร้อย
ละ 69.2

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 89


บทที่ 2 PP&P Excellence

2. กลมุ่ วยั เรียนและวยั รุ่น

2.1 บริการสง่ เสริมสุขภาพและปอ้ งกนั โรคดา้ นทันตกรรมสำหรบั เด็ก “ยมิ้ สดใส เด็กไทยฟนั ดี

กจิ กรรม เมอื ง เดิมบาง ดา่ น บาง ศรี ดอน สอง สาม อู่ทอง หนอง สพุ รรณ บุรี
นางบวช ชา้ ง ปลาม้า ประจนั ต์ เจดยี ์ พ่นี ้อง ชุก หญา้ ไซ

1. นักเรยี น ป.1 ได้รบั เป้าหมาย 2,058 669 996 535 429 609 1,397 528 1,512 356 9,089
698 939 389 377 405 1,206 471 1,454 269 8,134
การตรวจสขุ ภาพ ผลงาน 1,926 100 94.3 72.7 87.9 66.5 86.3 89.2 96.2 75.6 89.5

ช่องปาก * รอ้ ยละ 93.6

(ปกี ารศึกษา 2562) เกณฑร์ ้อยละ 85.0

2. นกั เรยี น ป.1 ได้รบั ผลงาน 776 488 485 198 211 173 746 185 542 215 4,019
เคลือบหลุมรอ่ งฟนั *

รอ้ ยละ 37.7 72.9 48.7 37.0 49.2 28.4 53.4 35.0 35.8 60.4 44.2

ปกี ารศึกษา 2562 เกณฑ์ร้อยละ 50.0

หมายเหตุ : * จากโปรแกรม ย้ิมสดใส

แผนภมู ทิ ี่ 4 นกั เรยี นชนั้ ป.1 ไดร้ บั การตรวจสุขภาพชอ่ งปากและได้รบั การเคลอื บหลุมร่องฟนั จังหวดั

สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2563 (ปกี ารศกึ ษา 2562) เกณฑ์ ร้อยละ 85 ตรวจสุขภาพชอ่ งปาก
ร้อยละ ร้อยละ 50 เคลือบหลุมร่องฟัน

120

100 93.6 100 94.3 87.9 85 86.3 85 89.2 96.2
80 89.5 53.0 7825.9 85 85 75.6
60 85 72.7 85 66.5 85 85
40 85 49.2 35 35.8
37 60.4
53.4
44.2 48.7
37.7

28.4

20

0 เดมิ บางฯ ด่านชา้ ง บางปลามา้ ศรีประจนั ต์ ดอนเจดีย์ สองพีน่ ้อง สามชกุ อูท่ อง หนองหญา้ ไซ

สพุ รรณบุรี เมอื ง

ดำเนินโครงการ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคด้านทันตกรรมสำหรับเด็ก “ยิ้มสดใส
เด็กไทยฟันดี” ปีการศึกษา 2562 หน่วยบรกิ ารคีย์ข้อมูลผ่านโปรแกรมยิม้ สดใส ผลการตรวจสุขภาพ
ช่องปากนักเรียนชั้น ป.1 สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย ร้อยละ 89.5 (เกณฑ์ร้อยละ 85) และ
บริการเคลือบหลุมร่องฟันนักเรียนชั้น ป.1 ดำเนินการได้ร้อยละ 44.2 ไม่ผ่านเกณฑ์ (เกณฑ์ร้อยละ
50) ส่วนหนึ่งเนื่องมาจากในปลายปีการศึกษา 2562 เกิดสถานการณ์โรค COVID-19 ส่งผลให้หน่วย
บริการไม่สามารถให้บริการทางทันตกรรมในหัตถการที่มกี ารฟุ้งกระจายของละอองฝอยและหัตถการ
ทย่ี งั ไม่มคี วามจำเป็นเร่งด่วนถกู เล่อื นการใหบ้ รกิ ารออกไปกอ่ น

90 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2่ี 1

2.2 บรกิ ารเฝ้าระวงั และสง่ เสริมทันตสุขภาพในโรงเรยี นประถมศึกษา (อายุ 6-12 ป)ี

กจิ กรรม เมอื ง เดมิ บาง ด่าน บาง ศรี ดอน สอง สาม อ่ทู อง หนอง สพุ รรณ
นางบวช ชา้ ง ปลามา้ ประจนั ต์ เจดยี ์ พีน่ อ้ ง ชกุ หญ้าไซ บุรี

1. เด็กอายุ 6-12 ปี เปา้ หมาย 9,592 4,271 4,677 4,321 3,651 3,028 9,589 2,884 7,726 3,197 52,936

ไดร้ บั การตรวจ ผลงาน 4,524 2,819 3,132 1,330 957 1,127 3,681 1,561 5,129 1,967 26,227
สุขภาพช่องปาก ร้อยละ 47.1 66.0 66.9 30.7 26.2 37.2 38.3 54.1
66.3 61.5 49.5

2. เด็กอายุ 6-12 ปี ผลงาน 5,595 3,377 3,448 1,841 1,498 1,576 5,996 2,455 5,509 2,239 33,543
ได้รบั บรกิ าร
รอ้ ยละ 58.3 79.0 73.2 42.6 41.0 52.0 62.5 85.1 71.3 70.0 63.3
ทนั ตกรรม

หมายเหตุ : จากรายงาน HDC กลุม่ รายงานมาตรฐาน >> ข้อมลู เพอื่ ตอบสนอง Service Plan สาขาสขุ ภาพชอ่ งปาก

บริการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากเด็กวัยเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา โดยดำเนิน
กิจกรรมทั้งในและนอกสถานบริการ กิจกรรมส่งเสริมป้องกันโรค ได้แก่ ตรวจสุขภาพช่องปาก เคลือบ
หลุมร่องฟัน เคลือบฟลูออไรด์ บริการรักษาทันตกรรมแก่เด็กนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก เช่น
ขูดหินน้ำลาย อุดฟัน ถอนฟันตลอดจนสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมในโรงเรียน ได้แก่ กิจกรรมแปรง
ฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน การจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ ควบคุมการจำหน่ายขนม ลูกอม
น้ำหวาน น้ำอดั ลม เคร่ืองดื่มทมี่ ีน้ำตาลเกิน 5% ปีงบประมาณ 2563 นักเรยี นประถมศึกษา (อายุ 6-12
ป)ี ไดร้ ับการตรวจสขุ ภาพชอ่ งปาก รอ้ ยละ 49.5 และไดร้ บั บรกิ ารทนั ตกรรม ครอบคลมุ รอ้ ยละ 63.3

2.3 บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากที่มุ่งเน้นการเข้าถึงบริการบาง
กลุ่มวัยเป็นการจำเพาะ (Fee Schedule) ปงี บประมาณ 2563

ปี พ.ศ.2563 เป็นปีแรกที่ กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติ ได้เพิ่มรายการบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากที่จ่ายตามรายการบริการ ( fee

schedule) ในหญิงตั้งครรภ์และเด็กวัยเรียน (4-12 ปี) โดยมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มการเข้าถึงและความ
ครอบคลุมบริการสร้างเสริมสขุ ภาพและป้องกันโรคในชอ่ งปากสำหรับหญิงตั้งครรภ์และเด็กวัยเรียนทุกสิทธิ์
เป็นการวางรากฐานสำหรับการมีสุขภาพ ช่องปากที่ดีตั้งแต่เกิดจนถึงวัยเรียน ซึ่งเป็นช่วงที่มีการ
เปลี่ยนแปลงจากชุดฟันน้ำนมเป็นฟันถาวรและจะส่งผลถึงสุขภาพช่องปากในช่วงวัยต่อไป การบริการได้รบั

อัตราชดเชยคา่ บริการ คือ
1. บรกิ ารตรวจสขุ ภาพช่องปาก ขัดและทำความสะอาดฟนั หญงิ ตง้ั ครรภ์ เหมาจ่าย 500
บาท/หน่ึงการตัง้ ครรภ์
2. บริการเคลือบฟลูออไรด์เฉพาะที่ เด็กอายุ 4-12 ปี เหมาจ่าย 100 บาท/ราย/1

ปงี บประมาณ
3. บริการเคลือบหลุมร่องฟัน (เฉพาะฟันกรามถาวร ซี่ 6 และ 7) เด็กอายุ 6-12 ปี

จา่ ย 250 บาท/ซ่ี ไม่เกิน 4 ซ่ี ต่อ 1 ปีงบประมาณ

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 91


บทที่ 2 PP&P Excellence

อำเภอ 1. ตง้ั ครรภ์ 2. เดก็ อายุ 4-12 ปี 3. เดก็ อายุ 6-12 ปี
ได้รับการตรวจสุขภาพช่อง ไดร้ ับการเคลือบ/ทา ไดร้ บั การเคลือบหลุมรอ่ งฟัน
เมอื งสพุ รรณบุรี ปาก และขดั ทำความสะอาด
เดมิ บาง นางบวช ฟลูออไรด์ กรามแท้
ดา่ นช้าง ฟัน
บางปลาม้า คน คน คน ซี่
ศรีประจันต์ 978 2,761
ดอนเจดยี ์ 43 9,852 1,201 4,076
สองพี่นอ้ ง 5,148 1,234 4,405
สามชุก 74 7,543 541 1,439
อ่ทู อง 1,166 57 190
หนองหญ้าไซ 228 1,760 63 210
รวม จ.สพุ รรณบรุ ี 1,735 1,089 2,795
20 9,469 714 2,305
4,390 316 846
61 5,679 487 1,365
2,563
89 6,689 20,392
49,305
73

112

38

22

760

หมายเหตุ : จากข้อมลู HDC กลุ่มรายงานมาตรฐาน >> ทันตกรรม(บรกิ าร)

3. กลมุ่ ผ้สู ูงอายุ
3.1 บริการสง่ เสรมิ ปอ้ งกนั โรค บรกิ ารทันตกรรม และฟื้นฟสู ภาพช่องปากผู้สงู อายุ

กจิ กรรม เมือง เดมิ บาง ดา่ น บางปลามา้ ศรีประจนั ต์ ดอน สองพ่ี สาม ชกุ อทู่ อง หนอง สุพรรณ
นางบวช ช้าง เจดยี ์ น้อง หญ้าไซ บรุ ี

1. ผสู้ งู อายุได้รับ จำนวน 30,279 14,790 9,362 14,628 12,447 7840 19,631 10,728 19,534 8,893 14,8141
การตรวจสขุ ภาพ
ชอ่ งปาก ผลงาน 5,463 1,639 1,438 1,835 2,305 337 1,489 2,912 2,681 854 20,953
รอ้ ยละ 18.0 11.0
15.3 12.5 18.5 4.3 7.5 27.1 13.7 9.60 14.1

2. ตรวจคดั กรอง จำนวน 12,255 4,903 3,032 4,705 4,295 3,009 7,485 3,523 6,802 3,443 53,452
สขุ ภาพช่องปาก
ผู้ปว่ ยเบาหวาน ผลงาน 2,011 438 627 286 260 157 374 651 1,322 280 6,406
ร้อยละ 16.4 8.9
20.6 6.1 6.0 5.2 5.0 18.4 19.4 8.1 11.9

หมายเหตุ : ผลงานจาก HDC กลมุ่ รายงานมาตรฐาน >> ข้อมลู เพอื่ ตอบสนอง Service Plan สาขาสุขภาพชอ่ งปาก >>

จัดบริการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสภาพ แก่ผู้สูงอายุ สนับสนุนให้ผู้สูงอายุเกิด
พฤติกรรมดูแลสุขภาพช่องปากพื้นฐานที่ถูกต้องด้วยตนเอง สามารถเข้าถึงบริการที่จำเป็นได้ทันเวลา
จัดบริการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากตามชุดสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม ดำเนินกิจกรรมส่งเสริม
สุขภาพช่องปากในชมรมผู้สูงอายุ และการส่งต่อผู้สูงอายุเข้ารับบริการใส่ฟันเทียม ผู้สูงอายุได้รับการ
ตรวจสุขภาพช่องปาก ครอบคลุมร้อยละ 14.1 และตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากผู้ป่วยเบาหวาน
ครอบคลมุ รอ้ ยละ 11.9

92 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2่ี 1

4. งานบริการสร้างเสริมสขุ ภาพและปอ้ งกันโรค ส่วนแกไ้ ขปญั หาพ้ืนที่ (PPA)
(งบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สว่ นแกไ้ ขปัญหาพ้ืนที่ (P&P Area Health Service :
PPA, สปสช.5 ราชบุรี)

เด็กอายุ 0-3 ปี ผปู้ ่วยตดิ บา้ นติดเตียง
ตรวจสขุ ภาพชอ่ งปาก ทาฟลูออไรด์
หนว่ ยบรกิ าร เย่ยี มบ้าน ทาฟลอู อไรด์
(คน) (คน)
รพ.เจ้าพระยายมราช ตรวจสขุ ภาพชอ่ งปาก (คน)
บางปลามา้ 424 400
ศรปี ระจันต์ 253 227 (คน)
สามชุก 569 498
หนองหญ้าไซ 292 258 126 49
อทู่ อง 589 587
2,127 1,970 37 27
รวมทั้งสนิ้ 155 98
94 68

412 242

4.1 กลุ่มเด็กอายุ 0-3 ปี
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ดำเนินโครงการจัดบริการตรวจสุขภาพและ
ป้องกันโรคในประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2563 ดำเนินกิจกรรมตรวจสุขภาพช่องปาก ให้
คำแนะนำฝกึ ปฏบิ ัตผิ ู้ปกครองทำความสะอาดช่องปากเด็กและแปรงฟันให้เด็ก และทาฟลูออไรด์วานิช
ในเด็กอายุ 0-3 ปี ในพืน้ ที่ 5 อำเภอ คอื อ.สามชุก อ.บางปลาม้า อ.ศรีประจนั ต์ และ อ.หนองหญ้าไซ
และ อ.อู่ทอง จำนวนทั้งสิ้น 2,127 คน ได้รับงบประมาณสนับสนุนค่าใช้จ่ายจัดบริการสร้างเสริม
สุขภาพและป้องกันโรค เพื่อแก้ไขปัญหาในพื้นที่ (P&P Area Health Service : PPA) จากสำนักงาน
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 5 ราชบุรี จำนวนทั้งสิ้น 271,445 บาท เป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนิน
กิจกรรม 1) บริการตรวจสุขภาพช่องปากและให้คำแนะนำฝึกปฏิบัติผู้ปกครองทำความสะอาดช่อง
ปากเดก็ และแปรงฟันให้เด็ก 35 บาท/คน และ 2) บริการทาฟลอู อไรดว์ านิช (100 บาท/คน)

4.2 กลุ่มผู้ปว่ ยติดบ้าน ตดิ เตียง (กลุ่มผ้ใู หญ่และกลมุ่ ผสู้ งู อายุ)
ดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในประชาชน จังหวัดสุพรรณบุรี
ปี 2563 กลมุ่ เป้าหมายคอื ผูป้ ่วยตดิ บา้ น ตดิ เตียง (กล่มุ ผูใ้ หญแ่ ละกลมุ่ ผู้สูงอาย)ุ โดยดำเนนิ กจิ กรรมใน
พน้ื ท่ี 4 อำเภอ คือ อ.สามชุก อ.ศรปี ระจันต์ อ.หนองหญา้ ไซ และ อ.เมอื งสุพรรณบุรี จำนวน 412 คน
ได้รับงบประมาณสนับสนุนค่าใช้จ่ายจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อแก้ไขปัญหาใน
พื้นที่ (P&P Area Health Service : PPA) จากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 5 ราชบุรี
จำนวนทั้งสิ้น 156,700 บาท (บริการเยี่ยมบ้านและตรวจสุขภาพช่องปากและคัดกรองรอยโรคในช่อง
ปาก 210 บาท/คน และ บริการทาฟลูออไรด์วานิชความเข้มข้นสูงเฉพาะที่ พร้อมให้คำแนะนำ
ให้คำปรึกษา และฝึกทกั ษะผดู้ แู ลในการดแู ลสขุ ภาพช่องปาก 290 บาท/คน)

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 93


บทท่ี 2 PP&P Excellence

ขอ้ มูลสถานประกอบการ สถานบริการ และผลิตภัณฑ์สุขภาพจังหวดั สุพรรณบรุ ี

จังหวัดสุพรรณบุรี มีสถานประกอบการ สถานบริการ และผลิตภัณฑ์สุขภาพ แบ่งตาม พรบ.
และกฎหมายที่เก่ยี วข้อง ได้ดังน้ี

1. สถานประกอบการและผลติ ภณั ฑ์ด้านอาหาร
สถานประกอบการและผลิตภณั ฑ์ด้านอาหาร จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี มีสถานที่ผลติ อาหารรวมทั้งส้ิน

490 แห่ง แบ่งเป็นสถานที่ผลิตอาหารเขา้ ข่ายโรงงาน 192 แห่ง ไม่เข้าข่ายโรงงาน 291 แห่ง นำเข้า 7
แห่ง โดยจำแนกเป็นรายอำเภอไดด้ ังตารางท่ี 1 ซ่งึ เป็นโรงงานผลติ นำ้ บรโิ ภคจำนวน 123 แหง่ น้ำแข็ง
26 แหง่ (รายละเอียดตามตารางที่ 2) และโรงงานนม 3 แหง่ ซึ่งได้แก่ สหกรณเ์ กษตรเมืองสุพรรณบุรี
(อำเภอเมือง) นายสุมล โค้วอุดมประเสริฐ (อำเภอหนองหญ้าไซ) และบริษัทซองเดอร์ ไทยออร์กานิค
ฟูด (อำเภออู่ทอง)

ตารางที่ 1 สถานทผี่ ลิตอาหารในจังหวดั สพุ รรณบรุ ี

ประเภทใบอนญุ าต เมือง รวม รอ้ ยละ
เดิมบางฯ
สามชุก
ู่อทอง
ด่านช้าง
สอง ี่พ ้นอง
บางปลา ้มา
ศรีประจัน ์ต
ดอนเจดีย์
หนองหญ้าไซ

เข้าข่ายโรงงาน 51 10 15 28 9 23 14 21 14 7 192 39.2
ไมเ่ ขา้ ข่ายโรงงาน
นำเขา้ 69 28 16 39 12 33 32 28 26 8 291 59.4
รวม
3 - -2 - - -11 - 7 1.4
รอ้ ยละ
123 38 31 69 21 56 46 50 41 15 490 100.0

25.1 7.8 6.3 14.1 4.3 11.4 9.4 10.2 8.4 3.1 100.0

ตารางท่ี 2 สถานประกอบการผลิตนำ้ บรโิ ภคและนำ้ แข็ง

ประเภท เมือง
ใบอนญุ าต เดิมบางฯ
สามชุก
ู่อทอง
ด่านช้าง
สอง ่ีพน้อง
บางปลาม้า
ศรีประจันต์
ดอนเจดีย์
หนองหญ้าไซ
รวม ร้อยละ
น้ำบรโิ ภค
7 6 3 4 62 50.4
- เขา้ ขา่ ยโรงงาน 13 4 5 7 4 9 5 8 3 3 61 49.6
12 14 6 7 123 100.00
- ไมเ่ ข้าขา่ ยโรงงาน 11 5 6 11 1 8 9.8 11.4 4.9 5.7 100.0

รวม 24 9 11 18 5 17 2 3 1 1 26 100.0
00 00 0 0
ร้อยละ 19.5 7.3 8.9 14.6 4.1 13.8 2 3 1 1 26 100.0
7.7 11.5 3.8 3.8 100.00
น้ำแข็ง

- เขา้ ขา่ ยโรงงาน 31434 4

- ไมเ่ ขา้ ข่ายโรงงาน 0 0 0 0 0 0

รวม 3 1 4 3 4 4

ร้อยละ 11.5 3.8 15.4 11.5 15.4 15.4

94 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2่ี 1

จังหวัดสุพรรณบุรี มีผลิตภัณฑ์อาหารทั้งสิ้น 10,903 รายการ โดยมีประเภทของผลิตภัณฑ์
ใน 5 อันดับจากมากไปนอ้ ยคือ อาหารสำเรจ็ รปู พร้อมบรโิ ภคทันที เคร่ืองดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
นำ้ บริโภคในภาชนะบรรจทุ ป่ี ิดสนทิ และอาหารในภาชนะบรรจทุ ป่ี ดิ สนิท

2. สถานประกอบการด้านยา
จังหวดั สุพรรณบุรี มสี ถานประกอบการด้านยา 267 แหง่ แบง่ เปน็ ใบอนญุ าตขายยาแผนปัจจุบัน

(ขย.1) 139 แห่ง เป็นร้านยาคุณภาพในอำเภอเมืองสุพรรณบุรี จำนวน 4 แห่ง มีใบอนุญาตจำหน่ายหรือ
มีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 จำนวน 8 แห่ง และวัตถุออกฤทธิ์
ในประเภท 3 หรือ 4 จำนวน 9 แห่ง ใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จที่ไม่ใช่ยาอันตรายหรือ
ยาควบคุมพิเศษ (ขย.2) 62 แหง่ ใบอนญุ าตขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จสำหรับสัตว์ (ขย.3) 15
แห่ง ใบอนุญาตขายยาแผนโบราณ (ขยบ) 41 แห่ง และสถานที่ผลิตยาแผนโบราณ 10 แห่ง โดย
มรี ายละเอียดดังตารางที่ 3 และ 4

ตารางท่ี 3 ใบอนุญาตยา

ประเภท เมือง รวม รอ้ ยละ
ใบอนุญาต เดิมบางฯ
สามชุก
ู่อทอง
ด่านช้าง
สอง ี่พ ้นอง
บางปลา ้มา
ศรีประจัน ์ต
ดอนเจดีย์
หนองหญ้าไซ

ขย.1(GPP) 52 8 13 19 13 16 6 3 6 3 139 52.1
ขย.2 16 9 4 1 3 7 4 7 7 4 62 23.2
ขย.3 5 0 0 1 2 2 1 1 3 0 15 5.6
ขยบ. 17 5 3 6 3 2 3 2 0 0 41 15.4
ผยบ. 3 1 1 2 0 0 1 1 0 1 10 3.7
รวม 93 23 21 29 21 27 15 14 16 8 267 100.0
รอ้ ยละ 34.8 8.6 7.9 10.9 7.9 10.1 5.6 5.2 6.0 3.0 100.0

ตารางที่ 4 ใบอนุญาตจำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 3
และวัตถุออกฤทธใ์ิ นประเภท 3 หรือประเภท 4

เมือง
เดิมบางฯ
สามชุก
ู่อทอง
ด่านช้าง
สอง ่ีพ ้นอง
บางปลา ้มา
ศ ีรประจันต์
ดอนเจดีย์
หนองหญ้าไซ
ประเภท รวม ร้อยละ
ใบอนุญาต
0 1 0 0 8 47.1
ยส. 3 1 1 1 0 1 0 1 0 0 9 52.9
วจ. 1 1 3 1 1 1 0 2 0 0 17 100.0
รวม 4 2 4 2 1 2 0.0 11.8 0.0 0.0 100.0
ร้อยละ 23.5 11.8 23.5 11.8 5.9 11.8

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 95


บทที่ 2 PP&P Excellence

3. สถานพยาบาลและสถานบรกิ ารเพือ่ สุขภาพ
จังหวัดสุพรรณบุรีมีสถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน จำนวน 286 แห่ง ซึ่งโดย

ส่วนใหญ่เป็นคลินิกเวชกรรม ทันตกรรม และคลินิกการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (รายละเอียดตาม
ตารางที่ 5) โดยสถานพยาบาลที่มีใบอนุญาตให้มีไว้ในครอบครองหรือใช้ประโยชน์ซึ่งวัตถุออกฤทธ์ิ
จำนวน 54 แห่ง (รายละเอียดตาม ตารางที่ 6) มีสถานประกอบการเพื่อสุขภาพประเภทสปา 1 แห่ง
คอื เซนธารา (ZENTARA) และนวดเพอ่ื สขุ ภาพ 54 แหง่

ตารางท่ี 5 สถานพยาบาลประเภทไมร่ ับผ้ปู ่วยไว้ค้างคนื และนวดเพือ่ สุขภาพ

ลักษณะ เมือง รวม รอ้ ยละ
สถานพยาบาล เดิมบางฯ
สามชุก
ู่อทอง
ด่านช้าง
สอง ี่พ ้นอง
บางปลา ้มา
ศรีประ ัจน ์ต
ดอนเจดีย์
หนองหญ้าไซ

เวชกรรม 52 3 8 10 5 12 1 4 2 3 100 35.0

เฉพาะทาง 6 1 1 0 0 3 0 0 0 0 11 3.8

ทนั ตกรรม 16 1 3 4 3 4 0 2 0 0 33 11.5

การพยาบาลฯ 15 9 14 16 12 10 7 10 4 7 104 36.4

กายภาพบำบัด 1 1 0 0 0 1 0 0 0 1 4 1.4

เทคนิคการแพทย์ 4 0 1 1 0 1 0 0 1 0 8 2.8

การแพทยแ์ ผนไทย 3 1 0 0 1 2 0 3 1 0 11 3.8

การประกอบโรคศลิ ปะ 1 0 1 1 0 0 0 1 0 0 4 1.4

สหคลินิก 2 1 0 0 1 2 0 0 3 0 9 3.1

การผดุงครรภ์ 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1 0.3

การแพทย์แผนไทย 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0.3
ประยกุ ต์

รวม 101 17 28 32 23 35 8 20 11 11 286 100.0

ร้อยละ 35.3 12.2 11.2 8.0 2.8 3.8 7.0 9.8 5.9 3.8 100.0

สปาเพอื่ สขุ ภาพ 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 1.8

นวดเพ่ือสุขภาพ 21 2 6 11 5 5 0 1 2 1 54 98.2

รวม 22 2 6 11 5 5 0 1 2 1 55 100.0

ร้อยละ 40.0 3.6 10.9 20.0 9.1 9.1 0.0 1.8 3.6 1.8 100.0

96 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

ตารางที่ 6 ใบอนญุ าตให้มีไวใ้ นครอบครองหรือใช้ประโยชนซ์ ึง่ วตั ถุออกฤทธิ์

ประเภท เมือง รวม รอ้ ยละ
ใบอนุญาต เดิมบางฯ
สามชุก
ู่อทอง
ด่านช้าง
สอง ี่พน้อง
บางปลาม้า
ศ ีรประ ัจน ์ต
ดอนเจดีย์
หนองหญ้าไซ

ข.ว.จ.2-2 6114 3 2 0 3 1 0 21 38.9
ค.ว.จ.3-2
ค.ว.จ.4-2 3004 10 0 010 9 16.7
รวม
รอ้ ยละ 6126 3 2 0 2 2 0 24 44.4

15 2 3 14 7 4 0 5 4 0 54 100.0

27.8 3.7 5.6 25.9 13.0 7.4 0.0 9.3 7.4 0.0 100.0

4. ผลิตภัณฑ์เคร่อื งสำอาง
จงั หวดั สุพรรณบรุ ี มีสถานท่ผี ลติ เครือ่ งสำอาง 70 แห่ง รายละเอียดดงั ตารางท่ี 7

ตารางท่ี 7 สถานท่ผี ลิตเครือ่ งสำอาง

ประเภท เมือง รวม รอ้ ยละ
ใบอนญุ าต เดิมบางฯ
สามชุก
ู่อทอง
ด่านช้าง
สอง ี่พ ้นอง
บางปลาม้า
ศรีประจัน ์ต
ดอนเจดีย์
หนองหญ้าไซ

ผลิต 16 3 7 7 1 15 1 7 10 3 70 100.0
รอ้ ยละ 22.9 4.3 10.0 10.0 1.4 21.4 1.4 10 14.3 4.3 100.0

5. ผลิตภณั ฑ์วัตถอุ นั ตราย
จังหวัดสพุ รรณบรุ ี มีสถานท่ผี ลติ วตั ถอุ ันตราย (ประเภทท่ี 1) 3 แหง่ รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 8

ตารางท่ี 8 สถานที่ผลิตวัตถุอนั ตราย (ประเภทท่ี 1)

ประเภท เมือง รวม รอ้ ยละ
ใบอนุญาต เดิมบางฯ
สามชุก
ู่อทอง
ด่านช้าง
สอง ่ีพน้อง
บางปลาม้า
ศ ีรประจันต์
ดอนเจดีย์
หนองหญ้าไซ

ผลิต 0 1 0 1 0 0 0 1 0 0 3 100.0
ร้อยละ 0 33.3 0 33.3 0 0 0 33.3 0 0 100.0

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 97


บทท่ี 2 PP&P Excellence

การตรวจเฝ้าระวงั มาตรฐานผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพและสถานบริการสุขภาพ

1. การตรวจเฝ้าระวงั มาตรฐานสถานประกอบการผลิตภัณฑ์สขุ ภาพและบริการสขุ ภาพ

ผลการตรวจเฝ้าระวังมาตรฐานสถานประกอบการผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพ

รายละเอียดดังตารางตอ่ ไปน้ี

ท่ี สถานประกอบการ จำนวน ผลการตรวจเฝ้าระวังมาตรฐาน

ท่ีตรวจ ไม่ผ่าน ผ่านมาตรฐาน

มาตรฐาน แห่ง รอ้ ยละ

1. สถานประกอบการด้านยา

- ร้านยา 299 0 299 100

- สถานทผ่ี ลติ ยาแผนโบราณ 4 0 4 100

2. สถานประกอบการอาหาร

- สถานท่ผี ลติ อาหาร 205 0 205 100

- สถานทีน่ ำเข้าอาหาร 1 0 1 100

- สถานท่จี ำหน่ายอาหาร 10 0 10 100

3. สถานท่ผี ลติ เครอื่ งสำอาง

- สถานทีผ่ ลติ เครอื่ งสำอาง 32 30 2 6.25

- สถานท่ีนำเขา้ เครอื่ งสำอาง 1 0 1 100

- สถานที่จำหน่ายเครื่องสำอาง 16 0 16 100

4. สถานประกอบการดา้ นวัตถุออกฤทธ์ฯิ

- สถานจำหนา่ ยวัตถอุ อกฤทธิ์ฯ (รา้ นยา) 18 0 18 100

- สถานจำหน่ายวัตถอุ อกฤทธ์ิฯ (คลนิ กิ ) 22 0 22 100

5. สถานประกอบการดา้ นวตั ถอุ นั ตราย

- สถานที่ผลติ วัตถุอันตราย 1 0 1 100

- สถานที่ครอบครองวตั ถอุ นั ตรายชนิดท่ี 3 1 0 1 100

6. สถานพยาบาล

- คลนิ กิ 31 1 30 96.78

- โรงพยาบาลเอกชน 4 0 4 100

- สถานพยาบาลทีไ่ ดร้ ับการยกเวน้ 3 0 3 100

7. สถานประกอบการเพอ่ื สุขภาพ

- สปาเพอ่ื สขุ ภาพ 1 0 1 100

- นวดเพ่ือสุขภาพ 38 0 38 100

รวม 687 31 656 95.49

98 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2่ี 1

2. การตรวจสอบเฝ้าระวงั ผลิตภัณฑ์สุขภาพ

การตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ ดำเนนิ การโดยการสุ่มเก็บตวั อยา่ งผลิตภัณฑ์ฯ ส่ง

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพมาตรฐาน ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือสุ่มเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ฯ

ตรวจคณุ ภาพโดยชุดทดสอบเบอื้ งตน้ หรอื สมุ่ ตรวจความถกู ตอ้ งของฉลากผลติ ภณั ฑส์ ุขภาพ

ผลการตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ 2563

รายละเอียดดงั ตารางตอ่ ไปน้ี

ที่ ประเภทผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพ จำนวนท่ี ผลการตรวจเฝา้ ระวังมาตรฐาน

ตรวจ ไมผ่ ่าน ผ่านมาตรฐาน

มาตรฐาน จำนวน ร้อยละ

1. ผลิตภัณฑ์ยา

- สง่ ตรวจวิเคราะหค์ ุณภาพมาตรฐาน 1 0 1 100

- ตรวจโดยชดุ ทดสอบเบอ้ื งต้น 28 0 28 100

- ตรวจฉลากผลติ ภณั ฑย์ า 1,765 0 1,765 100

2. ผลิตภัณฑ์อาหาร

- ส่งตรวจวเิ คราะห์คุณภาพมาตรฐาน 84 15 69 82.14

- ตรวจโดยชดุ ทดสอบเบอื้ งต้น - - --

- ตรวจฉลากผลติ ภัณฑอ์ าหาร 510 0 510 100

3. ผลติ ภณั ฑเ์ ครอ่ื งสำอาง

- สง่ ตรวจวเิ คราะห์คณุ ภาพมาตรฐาน 11 0 11 100

- ตรวจโดยชุดทดสอบเบอื้ งตน้ - - --

- ตรวจฉลากผลิตภัณฑ์เคร่ืองสำอาง 310 217 93 30

4. ผลติ ภัณฑ์วัตถุอนั ตราย

- สง่ ตรวจวิเคราะห์คณุ ภาพมาตรฐาน 2 0 2 100

- ตรวจโดยชุดทดสอบเบือ้ งต้น - - --

- ตรวจฉลากผลติ ภณั ฑ์ 1 0 1 100

5. ผลิตภณั ฑเ์ ครื่องมือแพทย์

- ส่งตรวจวิเคราะห์คุณภาพมาตรฐาน - - - -

- ตรวจโดยชุดทดสอบเบอื้ งต้น - - --

- ตรวจฉลากผลิตภณั ฑ์ 255 0 255 100

รวม 2,967 232 2,735 92.18

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 99


บทท่ี 2 PP&P Excellence

3. การดำเนินงานตรวจเฝ้าระวังการโฆษณาผลิตภณั ฑ์และบริการสุขภาพ
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

ดำเนินงานคมุ้ ครองผ้บู รโิ ภคดา้ นการโฆษณาผลติ ภัณฑแ์ ละบรกิ ารสุขภาพ 2 แนวทาง ได้แก่
3.1 การตรวจเฝ้าระวังการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ณ สถานที่ผลิตหรือสถานที่จำหน่าย

ผลิตภัณฑ์สุขภาพ โดยพนักงานเจ้าหน้าที่จะดำเนินการสุ่มตรวจการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพและ
บริการสุขภาพควบคู่ไปกับการตรวจเฝ้าระวังมาตรฐานสถานประกอบการผลติ ภณั ฑ์สุขภาพ ซึ่งได้แก่
สถานทผ่ี ลิต สถานทนี่ ำเขา้ และสถานท่ีจำหน่ายผลิตภณั ฑ์สุขภาพ

3.2 การตรวจเฝ้าระวังการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพทางสถานีวิทยุกระจายเสียง โดย
สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทร คมนาคมแห่งชาติ
(กสทช.) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ได้มีการประชุม
และจัดทำแนวทางระงับการกระจายเสียงทางสถานีวิทยุกระจายเสียง ในกรณีที่พบการโฆษณา
ผลิตภัณฑ์อาหาร ยา เครื่องมือแพทย์และเครื่องสำอางที่ฝ่าฝืนกฎหมายแล้วแต่กรณี เพื่อเร่งรัดให้ยุติ
การโฆษณาที่ฝ่าฝืนกฎหมาย เป็นไปด้วยความรวดเร็ว โดยกำหนดให้สำนักงาน กสทช. ภาค/เขต
ดำเนินการสุ่มตรวจเฝ้าระวังการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ หากพบการโฆษณาผลิตภัณฑ์ที่เข้าข่าย
อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง ให้ส่งเรือ่ งมายงั สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในเขตพื้นทีโ่ ฆษณาดำเนินการ
พิจารณาตรวจสอบการโฆษณา และส่งเรื่องกลับไปยังสำนักงาน กสทช. ภาค/เขต เพื่อดำเนินคดีกับ
สถานีวิทยุที่โฆษณาฝ่าฝืนกฎหมาย ทั้งนี้ ผลการดำเนินงานตรวจเฝ้าระวังการโฆษณาผลิตภัณฑ์
สขุ ภาพและบรกิ ารสขุ ภาพ รายละเอยี ดดังตารางต่อไปนี้

ที่ ประเภทผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพ จำนวนท่ี ผลการตรวจเฝา้ ระวังโฆษณา
ตรวจ โฆษณา โฆษณาไมถ่ ูกตอ้ ง
1. ผลิตภัณฑย์ า ถูกตอ้ ง จำนวน ร้อยละ
2. ผลติ ภัณฑ์อาหาร 10
3. ผลิตภัณฑเ์ ครือ่ งสำอาง 15 10 0 0
4. ผลติ ภณั ฑเ์ คร่อื งมอื แพทย์ 10 10 5 33.34
5. ผลติ ภัณฑ์วตั ถอุ นั ตราย 10 10 0 0
6. ผลิตภณั ฑว์ ัตถุออกฤทธ์ิฯ/ยาเสพตดิ 10 10 0 0
7. สถานพยาบาล - 10 0 0
8. สถานประกอบการเพือ่ สขุ ภาพ - ---
- ---
รวม 55 ---
50 5 9.09

100 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

4. การดำเนินงานตรวจสอบเรอ่ื งร้องเรียนด้านผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพและบรกิ ารสขุ ภาพ
สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี โดยกลุ่มงานคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคและเภสชั สาธารณสุข

ไดร้ ับเรอื่ งรอ้ งเรยี นดา้ นผลิตภณั ฑแ์ ละบริการสขุ ภาพผ่าน 2 ช่องทางหลกั ไดแ้ ก่ 1) ผ้บู ริโภคแจง้ ขอ้ มูล
การร้องเรียนโดยตรงด้วยตนเอง และ 2) หน่วยงานอื่นแจ้งเรื่องร้องเรียนมายังสำนักงานสาธารณสุข
จังหวัดสุพรรณบุรใี หด้ ำเนินการตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ

ภายหลังได้รับเรื่องร้องเรียน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี จะมอบหมายให้
พนักงานเจ้าหน้าท่รี ะดบั จังหวัดร่วมกบั พนกั งานเจ้าหนา้ ท่ีระดับอำเภอ หรือบางกรณีอาจมอบหมายให้
พนักงานเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอรับผิดชอบในการตรวจสอบข้อเท็จจริงเรื่องร้องเรียนโดยตรง และ
รายงานผลการดำเนินงานมายังสำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี

ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้รับเรื่องร้องเรียนด้าน
ผลิตภัณฑส์ ุขภาพและบริการสขุ ภาพจากผูบ้ รโิ ภคและ จากหนว่ ยงานอื่น ๆ รวมทัง้ ส้ิน 23 เรอื่ ง ซ่ึงผล
การดำเนินงานตรวจสอบข้อเท็จจริงเรื่องร้องเรียน พบการกระทำความผิดตามข้อร้องเรียนจำนวน 8
เรื่อง ไม่พบการกระทำความผิดจำนวน 13 เรื่อง และส่งต่อให้หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องดำเนินการต่อ
จำนวน 2 เรื่อง รายละเอียดสรุปผลการดำเนินงานตรวจสอบข้อเท็จจริงเรื่องร้องเรียนดังแสดงใน
ตารางต่อไปน้ี

ที่ ประเภทเรื่องรอ้ งเรียน จำนวน ผลดำเนินงานตรวจสอบเรือ่ งร้องเรยี น
เรื่อง
1. ด้านยา
2. ด้านอาหาร ร้องเรียน ส่งเร่อื ง ไม่พบ
3. ดา้ นเคร่ืองสำอาง ให้ การ พบการกระทำผิด
4. ดา้ นวัตถอุ นั ตราย
5. ด้านเครื่องมือแพทย์ หนว่ ยงาน กระทำ จำนวน ร้อยละ
6. ด้านยาเสพติด/วตั ถอุ อกฤทธ์ิฯ อ่นื ผดิ
7. สถานพยาบาล
8. สถานประกอบการเพื่อสขุ ภาพ 2 1 1--
9 - 4 5 55.56
รวม 6 1 4 1 16.67
- - ---
- - ---
- - ---
5 - 3 2 40.00
1 - 1--
23 2 13 8 34.79

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 101


บทท่ี 2 PP&P Excellence

สรุปผลดำเนนิ งานของกล่มุ งานอนามยั ส่ิงแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2563

1.การดำเนนิ งานพัฒนาอนามยั สิง่ แวดลอ้ มตามนโยบาย Green & Clean hospital

1) สถานการณ/์ สภาพปญั หา
การดำเนินงานพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง ก่อให้เกิด
การจัดสิง่ แวดลอ้ มทเี่ ออื้ ต่อการสง่ เสรมิ สุขภาพของบคุ ลากร และผมู้ ารบั บรกิ ารตามนโยบาย Green &
Clean Hospital ของจังหวัดสุพรรณบุรี จากผลการดำเนินงานของหน่วยบริการที่ดำเนินการพัฒนา
ตอ่ เนอ่ื งจาก ปีงบประมาณ 2562 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลทั้งหมด จำนวน 174 แห่ง มีสถาน
บริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่เข้ารว่ มดำเนินการ จำนวน 78 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 44.82
โรงพยาบาลในจังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 10 แห่ง การประเมินได้ระดับดีมาก plus จำนวน 2 แห่ง
คิดเป็นร้อยละ 20.00 โรงพยาบาลที่มีผลระดับดีมาก จำนวน 8 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 80.00 โดยมี
เป้าหมายในการพฒั นายกระดับในโรงพยาบาลใหอ้ ยใู่ นระดบั ดมี าก plus ร้อยละ 30.00

2) โครงการ/กจิ กรรมท่ีดำเนินการ
โครงการบรหิ ารจดั การขยะและส่ิงแวดลอ้ มในสถานบรกิ ารสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2563
มาตรการหลัก ประกอบดว้ ย
1. วางแผนการพัฒนาร่วมกับโรงพยาบาลเป้าหมายหลักในการกำหนดเป้าหมายในการ
ดำเนนิ งาน
2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สนับสนุนทีมพัฒนาของโรงพยาบาลเป้าหมายหลักให้
ดำเนินการตามแผนการพัฒนาส่วนขาดของตนเองและตดิ ตามผลตามเวลาทก่ี ำหนด
3. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ส่งเสริม สนับสนุนสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ให้วาง
แผนพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในสังกัดเข้าร่วมการพัฒนาตามเกณฑ์ตามแบ บประเมิน
คุณภาพการจดั การดา้ นอนามัยสิ่งแวดลอ้ มในโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล
4. สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานภายใตน้ โยบาย Green & Clean Hospital ให้กับ
โรงพยาบาลทกุ แห่งและสำนกั งานสาธารณสขุ อำเภอทุกอำเภอ
5. การติดตาม สนับสนุนการดำเนินงาน และประเมินสถานบริการตามมาตรฐาน Green &
Clean Hospital ของโรงพยาบาล และโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบล

3) ผลการดำเนินงานทั้งในรูปของกระบวนการ และผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
จำแนกรายอำเภอ

ในปีงบประมาณ 2563 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีการดำเนินการพัฒนาเพิ่มขึ้น
จำนวน 71 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 40.80 ของท้ังหมด (ผลงานสะสม 2562-2563 เปน็ จำนวน 149 แห่ง
คิดเป็นร้อยละ 85.63 ยังไมม่ ผี ลการประเมนิ จำนวน 25 แหง่ คิดเป็นร้อยละ 14.37)

โรงพยาบาลในจังหวัดสุพรรณบุรีทั้งหมด จำนวน 10 แห่ง เข้าร่วมการพัฒนาตามมาตรฐาน
ครบท้ังหมด จำแนกระดับการประเมินได้ดังนี้ ระดบั ดีมาก plus จำนวน 4 แห่ง คดิ เป็นร้อยละ 40.00

102 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2่ี 1

(เดิมมี 2 แห่งได้รับการพัฒนาเพิ่มอีก 2 แห่ง) โรงพยาบาลที่มีผลระดับดีมาก จำนวน 6 แห่ง คิดเป็น
รอ้ ยละ 60.00

โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบล โรงพยาบาลศูนย์/ทว่ั ไป/ชมุ ชน

4) สรปุ บทเรยี นปญั หาอปุ สรรคในการดำเนินงาน
1. ทีมพัฒนาของโรงพยาบาล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอและโรงพยาบาลส่งเสริม

สุขภาพตำบลบริหารจัดการภายใต้ข้อจำกัดของสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ต้องมกี ารวางแผนและการจดั การท่ีดีทจี่ ะทำให้การพฒั นามีความต่อเน่ือง

2. การพัฒนาของโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบล ต้องเป็นกระบวนการส่งเสริมให้
มีการพัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามศักยภาพและความพร้อม แม้จะไม่เป็นเป้าหมายหลักในการ
พัฒนา แต่สามารถตงั้ เป็นเปา้ หมายท้าทายในการดำเนินงานได้

3. การพัฒนาในปีงบประมาณต่อ ๆ ไปต้องมีการปรับกระบวนการพัฒนาภายใต้
สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในอนาคตและจัดลำดับ
ความสำคญั (priority) ของความจำเป็นในการพัฒนาให้สอดคลอ้ งกับบรบิ ทและสถานการณ์ของพ้ืนที่

5) แผนในอนาคตสิ่งทจ่ี ะพฒั นาในปี 2564
ในปีงบประมาณ 2564 การดำเนินงานการพัฒนาตามนโยบาย Green & Clean

Hospital จังหวัดสุพรรณบรุ ี
1. ตั้งเป้าหมายท้าทายการดำเนินงานในโรงพยาบาล จำนวน 6 แห่ง ให้พัฒนา

ยกระดับเปน็ ระดับ ดีมาก plus ทัง้ หมดทุกแห่ง
2. ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ีเหลือ 25 แหง่ ให้เขา้ ร่วมพัฒนาตามเกณฑ์

ครบ ทกุ แหง่ ทุกอำเภอ เป็นร้อยละ 100 รวมทง้ั พัฒนาให้ยกระดบั ให้ดขี ้ึนจากสถานะเดมิ

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 103


บทท่ี 2 PP&P Excellence

3. สถานบริการที่พัฒนาในปีงบประมาณ 2562 ที่จะหมดระยะเวลารับรอง 2 ปี ใน
ปงี บประมาณ 2564 ให้พฒั นาและประเมนิ รกั ษาสถานภาพการพัฒนาอย่างต่อเนอ่ื ง

2. การดำเนนิ งานพฒั นาคุณภาพระบบบริการอนามยั สง่ิ แวดลอ้ มองค์กรปกครองสว่ น
ทอ้ งถนิ่ (Environmental Health Accreditation : EHA)

1) สถานการณ/์ สภาพปญั หา
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลชีวิตความ

เป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งอาศัยพระราชบัญญัติการ
สาธารณสุข พ.ศ.2535และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติที่ควบคุมดูแล
เกี่ยวกับการอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อคุ้มครองประชาชนด้านสุขภาพ โดยครอบคลุมการดำเนินกิจการ
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสาธารณสุขของประชาชน ตั้งแต่ระดับครัวเรือน ชุมชน ตลอดจนกิจการ
ขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ ในการออกข้อกำหนดท้องถิ่น เพื่อใช้บังคับในการตรวจสอบควบคุมดูแล
รวมถึงการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้บรรลุเจตนารมณ์และเป็นไปตามขอบเขตของกฎหมาย การ
รับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Environmental
Health Accreditation : EHA) เป็นกลไกและเครื่องกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาระบบบริการอนามัย
ส่ิงแวดลอ้ มขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ อยา่ งเปน็ ระบบทง้ั องคก์ ร ทำใหอ้ งค์กรเกดิ การเรยี นรู้ มี
การประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น มีคุณภาพและยั่งยืน อันจะนำไปสู่การลดความเสี่ยง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
และสร้างหลักประกันให้แก่ประชาชนที่จะได้รับการคุ้มครองด้านการบริการอนามัย สิ่งแวดล้อมอยา่ ง
มคี ุณภาพ เปน็ การสง่ เสริมพฒั นาคุณภาพชีวติ และความเป็นอยู่ของชุมชนให้ดีข้นึ

เป้าประสงค์ : ประชาชนและหมู่บ้าน/ชุมชน มีการจัดการสิ่งแวดลอ้ มที่ดี ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมใน
การจดั การสงิ่ แวดล้อมอย่างยง่ั ยืน และไดร้ บั บรกิ ารอนามยั ส่ิงแวดล้อมท่มี ีคุณภาพและเป็นธรรมส่งผล
ให้มีคณุ ภาพชีวติ ทีด่ ี

ตวั ชว้ี ดั และเปา้ หมาย : เทศบาล ผ่านมาตรฐาน EHA ระดบั พืน้ ฐานข้ึนไป ด้านใดดา้ นหนง่ึ
(EHA 1000 - 4000) รอ้ ยละ 70

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มีข้อตกลงความร่วมมือกับกรมส่งเสริมการปกครอง
ท้องถิ่น ในการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมองค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถิ่น ได้มีการดำเนนิ การประสานงานพัฒนาศกั ยภาพภาคเี ครอื ขา่ ย สนับสนนุ ใหเ้ กดิ การพัฒนาและ
ประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม คู่ขนานไปกับการดำเนินงานของกรมส่งเสริมการ
ปกครองส่วนท้องถิ่น ในการประเมินประสิทธิภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งประกอบด้วย 9
ประเด็นงานหลัก 20 ประเด็นงานยอ่ ย การดำเนนิ งาน EHA มีเปา้ หมายเพื่อใหป้ ระชาชนมคี วามรอบรู้
จัดการ พึ่งพาตนเองได้ในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม การประเมินรับรองคะแนน EHA ใน
ระดบั พนื้ ฐาน คะแนน LPA (Local Performance Assessment) นอ้ ยกว่า 80 สำนักงานสาธารณสขุ

104 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2่ี 1

จังหวัดเป็นผู้ประเมิน และในระดับเกียรติบัตรรับรอง คะแนน LPA (Local Performance
Assessment) มากกว่า 80 ศูนยอ์ นามยั ที่ 5 ราชบุรเี ปน็ ผู้ประเมิน

ตารางแสดง ผลการดำเนนิ งานพฒั นาคณุ ภาพระบบบรกิ ารอนามยั สิ่งแวดล้อมองค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถ่นิ (Environmental Health Accreditation : EHA) จังหวัดสพุ รรณบุรี ปี 2563

ลำ ผลการประเมนิ EHA ปี 63

ดบั ชอื่ เทศบาล สมคั ร EHA LPA ไมผ่ ่าน ผา่ นพ้นื ฐาน ผา่ นเกยี รตบิ ตั ร

ท่ี (ประเด็น) รหสั รหัส รหสั

1 ทม.เมอื งสุพรรณบุรี 1001,3001 89.17 3001 1001

2 ทต.ดอนเจดยี ์ 1001,1002,2003, 88.90 4001 1001,1002,2003,

4001,7000, 7000,9001-9003

9001-9003

3 ทต.ปลายนา 4001 <80 4001

4 ทต.บ้านแหลม 4001 82.36 4001

5 ทต.ต้นคราม 4001,4002,7000 <80 4001,4002,7000

6 ทต.ทา่ ระหัด 1001,4001 88.3 1001 4001

1001,4001,

7 ทต.ท้าวอทู่ อง 9001-9003 81.15 1001 9001-9003 4001

8 ทต.ขนุ พดั เพง็ 1001,1002,7000 <80 1001,1002,7000

9 ทต.ท่าเสดจ็ 1001,4001,7000 87.68 4001,7000 1001

10 ทต.นางบวช 2001,3002,4001 87.96 3002 2001/4001

11 ทต.กระจัน 4001 84.71 4001

12 ทต.เขาดิน 2001,4001 88.94 4001 2001

13 ทต.บ้านดอน 2002,4003 90.43 2002 4003

14 ทต.โพธพิ์ ระยา 1002,4001,6000 82.52 1002,4001 6000

15 ทต.ทงุ่ คอก 1002 91 1002

หมายเหตุ

1. LPA (Local Performance Assessment) หมายถึง การประเมินด้านที่ 4 ด้านการบริการ

สาธารณะ หัวขอ้ ประเมินทขี่ อ้ 127 และ 128 (องคป์ ระกอบที่ 1-5)

2. ผ่านการประเมินระดับพื้นฐาน ต้องมีร้อยละของคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 และผ่านการ

ประเมินระดับเกียรติบัตรรับรอง ต้องมีร้อยละของคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

(องคป์ ระกอบท่ี 6-7) และไมผ่ า่ น หมายถึง ได้คะแนนน้อยกวา่ รอ้ ยละ 60

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 105


บทที่ 2 PP&P Excellence

2) สรปุ วิเคราะหง์ าน

จงั หวัดสพุ รรณบุรมี ีจำนวนเทศบาลเมอื ง 2 แหง่ เทศบาลตำบล 43 แห่ง และอบต.จำนวน

81แหง่ รวมท้งั หมด126 แหง่ ปี2563 สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี เปน็

ผู้ประเมินเทศบาล จำนวน 11 แห่งและศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรีเป็นผู้ประเมินเทศบาล

จำนวน 4 แห่ง ผลการดำเนินงานในปี 2561-2563 ผ่านในระดับพื้นฐานและระดับเกียรติบัตร

คิดเป็นร้อยละ 53.3 และในปี 2563 ผ่านในระดับพื้นฐานจำนวน 11 แห่ง ระดับเกียรติบัตร

จำนวน 7แห่ง เป็นระดับเกียรติบัตรรับรองที่มีคะแนน LPA มากกว่า 80 ประเมินรับรองโดยศูนย์

อนามัยที่ 5 ราชบุรี จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี เทศบาลตำบลดอนเจดีย์

และเทศบาลตำบลบ้านดอน ซึ่งเทศบาลขอร่วมเข้ารับการประเมิน EHA ร้อยละ 80 คือด้านการ

จัดการมูลฝอย EHA : 4001 (การจัดการมูลฝอยท่วั ไป)

แมว้ ่าพระราชบญั ญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และกฎหมายท่เี กยี่ วขอ้ งหลายฉบับได้ให้
อำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาครัฐในการควบคุมกำกับเพื่อคุ้มครองสุขภาพประชาชน
แต่ยังประสบปัญหาการบริหารการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามกฎหมาย เนื่องจากขาด
บุคลากรที่มีความรู้และทักษะเฉพาะด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและการใช้กฎหมาย หน่วยงานภาครัฐที่
เกี่ยวข้องจึงจำเป็นตอ้ งให้การสนับสนุนด้านเทคนิคและวิชาการ ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระหว่างท้องถิ่นที่ดำเนินการได้ดีและส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมท้องถิ่นและชุมชน ในการแก้ไขปัญหา
ตามบริบทของพื้นท่ีตนเอง สนบั สนุนการสร้างเครอื ขา่ ยเพอ่ื ลดขอ้ จำกดั ดา้ นบุคลาการและงบประมาณ
ปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัญหาที่ท้าทายในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต อัน
เนื่องมาจากบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งข้อบัญญัติท้องถิ่น ควรมีการทบทวนกฎหมายให้มีความ
ทันสมยั และการบงั คับใช้กฎหมายท่ีมีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหา
อนามัยสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นจากโครงการหรือกิจกรรมและการจัดบริการในรูปแบบต่าง ๆ
ในอนาคตเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพและได้รับประโยชน์จากการพัฒนา
อย่างทวั่ ถึงและเป็นธรรมตามทกี่ ฎหมายกำหนด

3. การดำเนินงานนโยบายสำคัญ ภายใต้โครงการ “หน้าบ้าน อสม. น่ามอง” ในตำบล
จัดการคุณภาพชีวติ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2563

การเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน โดยเสริมสร้างการมีส่วน
ร่วมของภาคีเครือข่ายต่างๆเป็นกลไกสำคัญที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงระบบสุขภาพชุมชน
โดยมีอสม. เป็นองค์กรภาคประชาชนที่มีบทบาท หน้าที่ สำคัญในการพัฒนาและการสร้างการมีส่วน
ร่วมของคนในชุมชน ในการดูแลจัดการด้านสุขภาพเชื่อมโยงไปถึงการพัฒนาด้านอื่น ๆ การรวมพลัง
กับภาคเี ครอื ข่ายสุขภาพต่าง ๆ ในชมุ ชนเพ่อื การจัดการดา้ นสุขภาพชมุ ชนให้ดีข้นึ การพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของประชาชนในระดับตำบลมีการขับเคลื่อนและพัฒนาโดยบทบาทของภาคีเครือข่ายต่าง ๆ
ในหมู่บ้าน/ชุมชน โดยอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และส่งผลต่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของ
ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนได้อย่างยั่งยืน โดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)

106 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

ที่มีบทบาทในการเป็นผู้นำสุขภาพของชุมชนและสามารถปฏิบัติงานในการดูแลสุขภาพประชาช นใน
พื้นที่ของตนเองได้อย่างครอบคลุมทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น อันจะส่งผลต่อสภาวะสุขภาพที่ดี
ของประชาชน

ตารางแสดง ผลการดำเนนิ งานนโยบายสำคัญ สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรี
รอบ 12 เดอื น (วันท่ี 1 ต.ค. 2562 - 30 กันยายน 2563)

ผลการดำเนนิ งาน

นโยบายสำคัญ กิจกรรมหลกั ตวั ช้วี ดั ร้อยละ
เปา้ หมาย ผลการ
ปีงบฯ 2563 ดำเนินงาน

1. หน้าบ้านอสม. 1. ชแี้ จงแนวทาง อสม.ดำเนนิ การโครงการ 10 ครงั้ /10 10 คร้งั /10 100
อำเภอ อำเภอ
นา่ มอง การติดตาม หนา้ บ้าน อสม.นา่ มอง อสม.ทุกคน อสม. 95.49
ประเมนิ ผลการ (14,809
ดำเนนิ งานตำบล (จดั การขยะ,ปลกู ผักปลอดสารพิษ 10 อำเภอ/ คน)
อสม.ทุกคน 10 อำเภอ/ 92.31
จดั การคุณภาพชีวิต และจัดการนำ้ เสียในครวั เรือน) อสม.
และกจิ กรรม “อสม. 10 อำเภอ/ (14,315
2. การคดั แยก หน้าบา้ น น่ามอง” มากกวา่ ร้อยละ 50 อสม.ทุกคน คน)

ขยะ โดยอสม. 2. แต่งตง้ั 10 อำเภอ/ 86.92
อสม.13,045
คณะกรรมการ คน

ประเมินผล ตำบล

3. การปลกู ผกั “อสม. หน้าบา้ น
ปลอดสารพิษ น่ามอง”ในตำบล
โดย อสม. จดั การคุณภาพชวี ิต
เศรษฐกิจ ระดบั จังหวดั
พอเพยี ง
3. ทมี ผรู้ ับผิดชอบ
ระดับจงั หวัดตดิ ตาม
สนบั สนนุ หม่บู ้าน/
ชุมชน“หนา้ บา้ น
อสม. นา่ มอง”
ในตำบลจัดการ
คุณภาพชวี ติ

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 107


บทที่ 2 PP&P Excellence

1) สรุปผลการดำเนินงาน
คณะกรรมการระดับจังหวัด ประเมินผลหมู่บ้าน/ชุมชน“อสม.หน้าบ้าน น่ามอง” ในตำบล
จัดการคุณภาพชีวิต เพื่อคัดเลือกตำบล “หน้าบ้าน อสม. น่ามอง ” ดีเด่น ระดับจังหวัด ประจำปี
2563 ในระหว่างวันที่ 23-31กรกฎาคม 2563 ซงึ่ สรุปผลการประเมินตำบล “อสม.หน้าบ้าน น่ามอง ”
ดีเด่นระดับจงั หวัด และ อสม.ดีเดน่ ระดบั จงั หวัด ประจำปี 2563 ดังน้ี

- รางวลั ตำบลดเี ด่น
รางวลั ท1ี่ ไดแ้ ก่ ตำบลวงั น้ำเยน็ อำเภอบางปลามา้
รางวลั ที่ 2 ได้แก่ ตำบลหวั โพธ์ิ อำเภอสองพ่นี ้อง
รางวัลที่ 3 ไดแ้ ก่ ตำบลหัวเขา อำเภอเดมิ บางนางบวช
- รางวัล อสม.ดเี ดน่
รางวลั ที่ 1 ไดแ้ กน่ างฐานสิ ริยา อมรพจน์ อำเภอสามชุก
รางวัลท่ี 2 ได้แก่นางวัชราพร เสียงดี อำเภอสองพน่ี ้อง
รางวัลที่ 3 ไดแ้ กน่ ายสำเนียง บุญเรอื งรอด อำเภอดอนเจดยี ์

จังหวัดสุพรรณบุรี ดำเนินการทุกอำเภอ/ตำบล/หมู่บ้าน โดยมีอสม.เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ
95.49 ร่วมกันปลูกผักปลอดสารพิษ ผักสวนครัวไว้กินเองร้อยละ86.92 การปลูกพืชสมุนไพรในพื้นท่ี
สาธารณะ เช่น บรเิ วณวดั และศนู ยก์ ารเรยี นรู้ทางการเกษตรของหมู่บา้ น การทำผลติ ภัณฑ์สมุนไพรใน
หมู่บ้าน และชุมชน มีการทำปยุ๋ หมัก น้ำหมักชวี ภาพ อีเอม็ เอาไวใ้ ช้ในครัวเรือนและจำหน่าย ใน
บางหมู่บ้านได้รับสนับสนุนพันธุ์พืชและต้นกล้าจากหน่วยงาน เช่น สนง.เกษตร/พัฒนาชุมชน
แต่เมล็ดพันธุ์ผักไม่เพียงพอ ในบางช่วงมีภาวะแล้งทำให้ขาดน้ำในการปลูกผัก สถานที่หรือแหล่ง
จำหน่ายผักที่เกินการบริโภคในครัวเรือนจุดจำหน่ายยังมนี ้อย การจัดการน้ำเสียในครัวเรอื น ยังมีการ
ปล่อยน้ำลงที่สาธารณะ ไม่มีบ่อกรอง/ดักไขมัน และจัดการขยะและคัดแยกขยะในครัวเรือนร้อยละ
92.31 ขยะอินทรีย์ทิ้งในถังขยะเปียกลดโลกร้อนขยะติดเชื้อส่งทิ้งที่รพ.สต., ขยะอันตรายมีการ
คัดแยกในครัวเรือนและทิ้งในจุดที่เทศบาล/อบต.จัดตั้งไว้ในหมู่บ้าน/ชุมชน มีการจัดตั้งธนาคารขยะ
และบันทึกการขายขยะ จัดทำสิ่งประดิษฐ์ของใช้จากขยะ และจำหน่ายสินค้าซึ่งได้รับการสนับสนุนผู้
ฝึกสอนอาชีพจาก กศน. แต่พบว่าการจัดการขยะจำพวกถุงพลาสติก/ขยะอันตราย มีข้อจำกัดในการ
รวบรวม ในชุมชนเพ่อื ขายตอ่ จุดรบั ซ้อื หรือสง่ แหล่งกำจดั มกี ารคัดแยกขยะท่ถี ูกหลกั สขุ าภิบาล

การดำเนินงานตามโครงการโดยมีอสม.เป็นต้นแบบและแกนนำให้ครัวเรือนในหมู่บ้านร่วมมือ
ร่วมใจในการจัดการสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนตนเองและในหมู่บ้านและชุมชนทำให้สิ่งแวดล้อมใน
ครัวเรือนสะอาด เป็นระเบียบ น่าอยู่ น่าอาศัย ในพื้นที่สาธารณะและในหมู่บ้านโดยรวมน่าอยู่
สามารถเปน็ ตน้ แบบและพฒั นาต่อ

108 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2่ี 1

4. งานพระราชบัญญตั กิ ารสาธารณสขุ พ.ศ.2535 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม

ในปีงบประมาณ 2563 กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย สำนักงาน

สาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ไดด้ ำเนนิ งาน ตามกิจกรรมต่อไปน้ี

กิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย ผลดำเนนิ การ

กิจกรรมหลักที่ ๑ พัฒนากลไก 1.1 จดั ประชมุ คณะกรรมการ คณะกรรมการสาธารณสุข

การดำเนินงานด้านกฎหมาย สาธารณสุขจงั หวัด จังหวดั มีการประชมุ จำนวน 1
ส า ธ า ร ณ ส ุ ข ผ ่ า น ก ล ไ ก 1.2 ติดตามส่งเสริมสนับสนุน ครั้ง เพื่อ ขับเคลื่อ นก าร
คณะกรรมการสาธารณสุข ภาคีเครือข่าย ในการยกร่าง ดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่ท่ี
ข้อกำหนดท้องถ่นิ
จังหวดั กำหนด

กิจกรรมหลักที่ ๒ ติดตาม 2.1 ติดตาม ส่งเสริม สนับสนนุ เจ้าพนกั งานสาธารณสุขตาม

ตรวจเหตุร้องเรียนรำคาญกับ ภาคีเครือข่าย ในการแก้ไข พระราชบัญญัติการสาธารณสุข
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและออก ปัญหาเหตุรำคาญและมลพิษ พ.ศ. 2535 ตรวจสอบเหตุ
ด้านสิ่งแวดล้อม และร่วม รอ้ งเรยี น,แก้ไขปญั หามลพิษ
ตรวจสอบร่วมกัน
ดำเนนิ การแบบบูรณาการ ด้านอนามัยส่งิ แวดล้อมตาม

2.2 สรุปผลการจัดการเหตุ บทบาทไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

ร้องเรียนรำคาญ เพื่อวาง ปี 2563 จำนวนเหตุรำคาญ 16

แผนการแก้ปัญหาและการ เรอ่ื งรอ้ งเรยี นผา่ นช่องทางดงั นี้

จดั การขอ้ รอ้ งเรยี น ในปถี ดั ไป 1.ทางโทรศัพท์ 8 เรือ่ ง

แกป้ ญั หาแลว้ จำนวน 8 เรือ่ ง

2.ศนู ย์ดำรงธรรม 4 เรอื่ ง

แก้ไขปัญหา 1 เร่ือง อยู่

ระหว่างดำเนนิ การ 3 เร่ือง

(โรงไฟฟ้าชวี มวลตำบลตลงิ่ ชัน,

สรุ พงษ์ฟาร์ม, โรงงานคดั แยก

ขยะ อ.ศรีประจนั ต)์

3.เวปสำนกั งานสาธารณสุข

จงั หวดั สพุ รรณบุรี จำนวน 2

เรื่อง แกป้ ัญหาแล้ว 1 เรอื่ ง

กำลงั ดำเนินการ 1 เรอื่ ง

(โรงงานปลาร้าตำบลมะขาม

ล้ม)

4.หน่วยงานอนื่ ๆท่ีเกี่ยวข้อง

จำนวน 2 เรอื่ ง

แกป้ ัญหาแลว้ จำนวน 2 เร่ือง

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 109


บทที่ 2 PP&P Excellence

กิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย ผลดำเนินการ

กิจกรรมหลกั ท่ี 3 พฒั นา 3.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือ เจ้าพนักงานท้องถิ่นระดับ

ศกั ยภาพเจ้าพนกั งานท้องถ่นิ การพัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงาน อำเภอตรวจสอบเหตุร้องเรียน,
ระดบั อำเภอในการตรวจสอบขอ้ ท้องถิ่นระดับอำเภอมีผู้เข้ารับ แ ก ้ ไ ข ป ั ญ ห า ด ้ า น อ น า มั ย
ร้องเรียนและแกป้ ญั หาด้าน การประชุมเชิงปฏิบัติการ สิ่งแวดล้อมตามบทบาทหน้าท่ี
สง่ิ แวดล้อม ตาม
จำนวน 40 คน เจ้าพนักงาน ต า ม พ ร ะ ร า ช บ ั ญ ญ ั ต ิ ก า ร
พระราชบญั ญตั ิการสาธารณสุข ส า ธ า ร ณ ส ุ ข 2 5 ค น เ จ้ า สาธารณสุข พ.ศ. 2535 และท่ี
พ.ศ. 2535 และทแ่ี ก้ไข พนกั งานท้องถนิ่ 15 คน
เพ่มิ เติม แก้ไขเพิ่มเติม ได้อย่างถูกต้อง

และเกิดประสิทธิภาพ มีความ

มั่นใจในการดำเนนิ การ

110 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2่ี 1

5.งานจัดการมูลฝอยและมลู ฝอยตดิ เชอ้ื ของสถานบรกิ ารสาธารณสุข ปี 2563

กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมฯ ดำเนินการติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานและ
สนับสนุนด้านวิชาการ ในสถานพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี ของสภานพ
ยาบาลทุกแห่งในสังกัดดำเนินการจัดเก็บ ขน ขยะมูลฝอยเป็นไปตามระบบ ถูกต้องตามหลักวิชาการ
ไมพ่ บปัญหาและอปุ สรรค รายละเอยี ดดังน้ี

ซ่งึ ในปงี บประมาณ 2564 จะดำเนินการตดิ ตามในกลุ่มคลินิกเอกชนและโรงพยาบาลเอกชน
ใหด้ ำเนินการจัดเกบ็ ขนย้ายขยะติดเชื้อใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน

ในสว่ นของการจัดการขยะมูลฝอยท่วั ไป ดำเนนิ การภายใต้นโยบาย “จังหวดั สะอาด”
สพุ รรณบุรี ผลการดำเนนิ งานดงั น้ี

1. ขอความรว่ มมือบุคลากรภายในสังกดั ปฏิบตั กิ ารตาม โครงการทำความดดี ้วยหัวใจลดภัย
ธรรมชาติ ลดและคัดแยกขยะในหนว่ ยงานภาครัฐ

1.1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้เข้ารับนโยบายโครงการทำความดี
ด้วยหัวใจลดภัยธรรมชาติ:มาตรการลดและคัดแยกขยะในหน่วยงานภาครัฐ เมื่อวันที่ 23 มกราคม
2563 จากศาลากลางจังหวัดสุพรรณบุรี และดำเนินการประสานงานกับกลุ่มงานบริหารเพื่อการ
บริการจัดการในเรื่องของการจัดการขยะในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ีในการดำเนินงาน
จัดหางบประมาณจัดซื้อที่รองรับขยะตามหลักการคัดแยกขยะ กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชวี
อนามัยรับผิดชอบการดำเนินงานตามโครงการ ได้จัดทำหนังสือเวียน ขอส่งประกาศและแผนปฏิบัติ
การตามโครงการแกก่ ลุ่มงานในสำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 111


บทท่ี 2 PP&P Excellence

1.2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี จัดทำประกาศเจตนารมณ์ การทำ
ความดดี ้วยหัวใจ ลดภัยส่ิงแวดล้อม ลดและคดั แยกขยะมูลฝอยในหน่วยงานภาครฐั เพ่อื ใหบ้ คุ ลากรใน
สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรยี ดึ ถอื และปฏบิ ัตไิ ปในแนวทางเดยี วกนั

2. มีการคัดแยกขยะมูลฝอยเพื่อนำไปจัดการอย่างเหมาะสม ถูกต้องตามหลักวิชาการ โดย
ทางสำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี ประสานงานกบั องค์การบริหารส่วนตำบลในการเก็บขยะ
โดยมีการคัดแยกขยะมูลฝอย เป็น 4 ประเภท ได้แก่ ขยะเปียก ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี จัดการขยะดังนี้

2.1 ขยะเปียกหรอื ขยะอนิ ทรีย์ นำไปทำน้ำหมักชีวภาพ โดยจัดทำสูตรสารพัดประโยชน์
โดยแบง่ ให้เจา้ หน้าทีน่ ำไปใชใ้ นครัวเรือน (รอดำเนินการ)

2.2 ขยะทั่วไป สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ประสานงานกบั องค์การบรหิ ารส่วน
ตำบลทับตีเหลก็ ในการจดั เก็บ

2.3 ขยะรไี ซเคลิ มีการรวบรวมโดยขอความรว่ มมอื แม่บ้านสำนักงานรวบรวมและขายใหก้ บั
รา้ นรับซื้อขยะรไี ซเคิล หรือนำไปใชป้ ระโยชนต์ า่ งๆ

112 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2่ี 1

2.4 ขยะอันตราย ในส่วนของขยะอันตราย สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี
ประสานงานกับองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลทับตเี หลก็ ในการ ขน จัดเก็บ ทำลายอย่างถูกต้อง
ตามหลักการทำลายขยะอนั ตราย

3. มีป้ายแสดงประเภทของขยะมูลฝอยที่ถังขยะอย่างชัดเจน สามารถให้ผู้มาใช้บริการ
สามารถทิ้งขยะได้อย่างถูกต้องโดยสะดวก ตามมาตรการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในจังหวัด
สุพรรณบุรี มีการจัดทำป้ายแสดง ประเภทของขยะที่จุดทิ้งขยะของแต่ละหน่วยงานอย่างชัดเจน
พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายในสำนักงาน บอร์ดประชาสัมพันธ์ และ Facebook
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 113


บทท่ี 2 PP&P Excellence

4. มีการบันทึกปริมาณขยะมูลฝอยแต่ละประเภทตามท่ไี ด้กำหนดรปู แบบการคัดแยกไว้ โดย
สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี จดั ทำแบบรายงานบันทึกเปน็ รายวนั เพื่อความสะดวกในการ
รวบรวมรายงาน และส่งรายงานทกุ วันท่ี 3 ของเดือนถดั ไป

5. มจี ุดเก็บรวบรวมขยะอันตรายทีเ่ หมาะสม ถกู ต้องตามหลักวิชาการ จะมถี ังขยะอนั ตราย
ภายในหนว่ ยงานแบบสำเรจ็ รูป ภาชนะรองรบั แข็งแรง มีป้ายบง่ ชีป้ ระเภทขยะอันตรายชัดเจน ซ่ึง
ต้งั อยู่ใน บรเิ วณทีไ่ ม่โดนแสงแดด ไมโ่ ดนฝนและน้ำท่วมไม่ถึง มีแมบ่ ้านประจำแตล่ ะตึกดแู ล ทงั้ นี้
ปริมาณขยะอันตรายจากหน่วยงานมีปรมิ าณน้อย จึงรวบรวมเพ่ือรอส่งให้กบั องค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ินตำบลทบั ตีเหล็ก เพ่ือการจดั อยา่ งถูกหลักวิชาการต่อไป

6. มีกิจกรรมให้ความรู้ในการคัดแยกขยะมูลฝอยก่อนทิ้งแก่เจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน เช่น การ
จัดบอรด์ ส่งเสรมิ ความรู้ และทำสื่อประชาสัมพันธป์ ระชาสัมพนั ธ์ ผา่ นเสียงตามสายภายในและส่ือสาร
ประชาสัมพนั ธ์ Facebook สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี

7. กำหนดให้มี กิจกรรมส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่มีส่วนร่วมในการนำขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์
เช่น หมักทำปุ๋ย รวบรวมขยะรีไซเคิลและจำหน่าย เพื่อหารายได้จากการขายขยะ มอบให้สำนักงาน
สาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี (อยูใ่ นชว่ งของการรวบรวมและจะรายงานผลในรอบ 12 เดือน)รวบรวม
ขยะรีไซเคิลและจำหน่าย เพื่อหารายได้จากการขายขยะ มอบให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
สพุ รรณบรุ ี

114 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2ี่ 1

8.มีกิจกรรมเพื่อลดการใช้ถุงพลาสติกหูหิ้ว เช่น การส่งเสริมการใช้ตะกร้า ถุงผ้า ปิ่นโต
ภาชนะหรือบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในการซื้อสินค้า ใช้แก้วน้ำตนเอง ใช้ระบบการแจ้ง
รายรับ- จ่ายเงินเดือนด้วยระบบ e-pay Slip เป็นการประหยัดกระดาษและมีความรวดเร็วโดยใช้ใน
สงั กดั สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี มีนโยบายการใช้กระดาษ 2 หนา้ และจดั ทำ QR code
แทนการจัดทำเอกสารเป็นนโยบายประหยดั กระดาษและลดปรมิ าณขยะ เปน็ ตน้

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี จัดกิจกรรมรณรงค์ขอรับบริจาคถุงผ้าที่เหลือใช้ใน
ครัวเรอื น เพอ่ื นำมาใหย้ ืมหมนุ เวยี นกันใชภ้ ายในสำนักงานแทนการใชถ้ ุงพลาสติก

สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี ใชร้ ะบบการแจ้งรายรับ-จ่ายเงินเดือนของข้าราชการ
สาธารณสุขทั้งจังหวัดสุพรรณบุรี ด้วยระบบ ePaySlip เป็นการลดการใช้กระดาษลดขั้นตอนการ
ดำเนนิ งาน สะดวก รวดเร็วและง่ายต่อการเข้าถึงข้อมูลส่วนบคุ คล รวมถงึ รณรงค์ใหใ้ ช้กระดาษหน้า 2
เพื่อลดปริมาณขยะและประหยัดงบประมาณ ทำ QR code แทนการพิมพ์เอกสารแจกเพื่อเป็นการ
ประหยัดงบประมาณและลดปรมิ าณขยะภายในหน่วยงานในสงั กัด

9. มีกิจกรรมเพื่อลดการใช้แก้วพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง เช่น การรณรงค์ให้ใช้แก้วส่วนตัว
แทนแกว้ น้ำพลาสติกพลาสติกใช้ครง้ั เดียวทิง้

10. มีการหา้ มใช้โฟมบรรจุอาหารในร้านคา้ ต่าง ๆ ทีต่ ัง้ ในหน่วยงาน รวมถงึ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่ี
จัดขนึ้ ใน หน่วยงาน และห้ามนำโฟมบรรจุอาหารเขา้ มาในหนว่ ยงาน สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั
สุพรรณบุรจี ัดกิจกรรมตลาดนัดสเี ขยี วทกุ วันพุธ ผลติ ภณั ฑ์ในตลาดนดั ตอ้ งเป็นผลติ ภัณฑ์ที่ปลอด
สารพิษ โดยมกี ารแตง่ ต้งั คณะกรรมการ คณะกรรมการต้องตรวจสอบผลิตภัณฑ์ท่นี ำมาจำหนา่ ย และ
หา้ มใช้โฟมบรรจอุ าหาร

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 115


บทที่ 2 PP&P Excellence

6.สรุปผลการดำเนินงานสขุ าภิบาลอาหารประจำปีงบประมาณ 2563

6.1 การพฒั นายกระดบั รา้ นอาหารและแผงลอยจำหนา่ ยอาหาร

ผลการดำเนินงานด้านสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการจำหน่ายอาหาร
ปีงบประมาณ 2563 ในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่าน
เกณฑ์มาตรฐาน “อาหารสะอาด รสชาติอร่อย”(Clean Food Good Taste) ของกรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสขุ ดังนี้

ลำดบั ประเภทสถานประกอบการ จำนวนทัง้ หมด ผ่านเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ CFGT
จำหน่ายอาหาร (แหง่ ) CFGT (แหง่ ) (ร้อยละ)

1 ร้านอาหาร 347 328 94.52
2 แผงลอยจำหน่ายอาหาร 1,698 1,403 82.63
2,045 1,731 84.65
รวม

เมื่อพิจารณาผลการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการจำหน่าย
อาหาร จำแนกเป็นรายอำเภอ พบว่า ในภาพรวมของแต่ละอำเภอผ่านเกณฑ์มาตรฐาน “อาหาร
สะอาด รสชาติอร่อย” (Clean Food Good Taste) ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ดังน้ี

อำเภอ รา้ นอาหาร แผงลอย ร้านแผง ผ่าน รอ้ ย

จำนวน ผา่ นCFGT รอ้ ยละ จำนวน ผา่ นCFGT ร้อยละ ลอย CFGT ละ

เมืองฯ 170 160 94.12 346 299 86.42 516 459 88.95
เดิมบางฯ 13 11 84.62 180 158 87.78 193 169 87.56
ดา่ นชา้ ง 11 10 90.91 150 69 46.00 161 79 49.07
บางปลาม้า 17 16 94.12 152 100 65.79 169 116 68.64
ศรีประจนั ต์ 30 29 96.67 116 111 95.69 146 140 95.89
ดอนเจดยี ์ 5 5 100.00 176 150 85.23 181 155 85.64
สองพีน่ ้อง 41 41 100.00 177 174 98.31 218 215 98.62
สามชุก 16 15 93.75 143 122 85.31 159 137 86.16
อู่ทอง 37 36 97.30 156 145 92.95 193 181 93.78
หนองหญา้ 7 5 71.43 102 75 73.53 109 80 73.39
ไซ รวม 347 328 94.52 1,698 1,403 82.63 2,045 1,731 84.65

116 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

6.2 การพฒั นายกระดบั ตลาดสด

การพัฒนายกระดับตลาดสดในพืน้ ทีจ่ ังหวัดสุพรรณบุรี ตามเกณฑ์มาตรฐาน “ตลาด

สดนา่ ซอื้ ” ของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ สรุปได้น้ี

ลำดับ พ้นื ท่ีรับผิดชอบของ อปท. ชือ่ ตลาด ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน

ตลาดสดนา่ ซ้อื อนื่ ๆ

1 เทศบาลตำบลดอนเจดีย์ ตลาดสดเมอื งทองดอนเจดยี ์ ระดบั ดีมาก -ตลาดสด

(5 ดาว) ตดิ ดาว

-ตลาดสด

น่าซื้อวถิ ีไทย

2 เทศบาลตำบลสามชกุ ตลาดสดคุณยายจู ระดบั ดีมาก -ตลาดสด

(5 ดาว) ตดิ ดาว

3 เทศบาลเมืองสพุ รรณบรุ ี ตลาดสดทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ ระดับดมี าก -ตลาดสด

(5 ดาว) ตดิ ดาว

4 เทศบาลเมืองสพุ รรณบรุ ี ตลาดสดเทศบาลเมือง 1-3 ระดับดี (3 ดาว)

5 เทศบาลตำบลโพธิพ์ ระยา ตลาดสดเทศบาลตำบลโพธิ์พระยา ระดบั ดี (3 ดาว

6 เทศบาลตำบลนางบวช ตลาดสดดาวสยามนางบวช ระดบั ดี (3 ดาว

7 เทศบาลตำบลดา่ นช้าง ตลาดสดเทศบาลตำบลด่านช้าง ระดบั ดี (3 ดาว

8 เทศบาลตำบลสองพนี่ ้อง ตลาดสดเทศบาลตำบลสองพ่ีนอ้ ง ระดบั ดี (3 ดาว

9 เทศบาลตำบลทุ่งคอก ตลาดสดเทศบาลตำบลทุ่งคอก ระดบั ดี (3 ดาว

ลำดับ พ้นื ทร่ี บั ผิดชอบของ อปท. ชือ่ ตลาด ผา่ นเกณฑ์ มาตรฐาน

ตลาดสดน่าซ้ือ อืน่ ๆ

10 เทศบาลตำบลดอนเจดยี ์ ตลาดสดบุญศรสี วุ รรณ ระดบั ดี (3 ดาว

11 เทศบาลตำบลสระกระโจม ตลาดสดสระกระโจม ระดับดี (3 ดาว

12 เทศบาลตำบลอทู่ อง ตลาดสดเทศบาลตำบลอทู่ อง ระดับดี (3 ดาว

13 เทศบาลตำบลหนองหญา้ ไซ ตลาดสดหนองหญา้ ไซ (เจ๊ลุ้ย) ระดบั ดี (3 ดาว

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 117


บทท่ี 2 PP&P Excellence

6.3 การพฒั นาศกั ยภาพภาคีเครอื ขา่ ยผปู้ ระกอบการจำหนา่ ยอาหาร แผงลอยฯ และ
ตลาดสต

ในปีงบประมาณ 2563 กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย สำนักงานสาธารณสุข
จังหวัดสุพรรณบุรี ได้จัดประชุมสัญจรเพื่อพัฒนาศักยภาพและติดตามผลการดำเนินงานด้าน
สุขาภิบาลอาหารของผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร แผงลอยฯ และตลาดสดน่าซื้อ ทั้งภายใน 10
อำเภอของจังหวัดสุพรรณบุรี และประชุมสัญจรภาคีเครือข่ายฯ กลุ่ม 8 จังหวัด (ภาคกลาง-ตะวันตก)
รวมทงั้ สนิ 4 คร้ัง และจดั ประกวดผลการดำเนนิ งานด้านสขุ าภิบาลอาหาร (New Normal) ของภาคี
เครือข่ายฯ ในแต่ละอำเภอของจังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ใน
การบริหารจัดการตลาดสดและจัดบริการอาหารของผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร ในช่วงที่มี
สถานการณ์การระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ซ่งึ แบ่งเป็น 2 ประเภทกจิ การ ดงั นี้

1) การประกวดผลงานด้านสุขาภิบาลอาหาร ประจำปี 2563 ตามมาตรการ วิถีชีวิต

ใหม่ (New Normal) ในสถานประกอบการ “ตลาดสด”

รางวลั ชนะเลิศ ได้แก่ ตลาดสดเมืองทองดอนเจดีย์

อำเภอดอนเจดยี ์ จังหวัดสพุ รรณบุรี

รางวลั รองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ ตลาดสดคุณยายจู

อำเภอสามชกุ จังหวดั สุพรรณบุรี

รางวลั รองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ ตลาดทรพั ย์สินพระมหากษตั ริย์

อำเภอเมืองฯ จงั หวดั สุพรรณบุรี

2) การประกวดผลงานดา้ นสุขาภิบาลอาหาร ประจำปี 2563 ตามมาตรการวิถชี วี ิต

ใหม่ (New Normal) ในสถานประกอบการ “ร้านอาหาร”

รางวัลชนะเลิศ ไดแ้ ก่ นพรัตนภ์ ตั ตาคาร อำเภอเมอื งฯ

จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

รางวลั รองชนะเลิศอันดบั 1 ไดแ้ ก่ รา้ นขา้ วต้มโกเฑียร อำเภอเมืองฯ

จังหวัดสพุ รรณบุรี

รางวัลรองชนะเลิศอันดบั 2 ไดแ้ ก่ ครัวลุงชาญ อำเภออทู่ อง

จังหวดั สพุ รรณบรุ ี

118 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2่ี 1

ปัญหาอปุ สรรค
1.การพฒั นายกระดบั แผงลอยจำหน่ายอาหาร ตามเกณฑม์ าตรฐาน “อาหารสะอาด รสชาติ

อร่อย” (Clean Food Good Taste) ดำเนินการค่อนข้างยาก เนื่องจาก ผู้ประกอบการฯ ส่วนใหญ่
ไมม่ ีท่ขี ายอาหารประจำอย่างถาวร และเปล่ยี นอาชพี บอ่ ยตามภาวะเศรษฐกจิ ไมค่ อ่ ยมีเวลาเขา้ รับการ
อบรมเพือ่ พฒั นาศกั ยภาพตามหลกั สูตรของกรมอนามยั กระทรวงสาธารสขุ

2.การคงสภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน “ตลาดสดน่าซื้อ” ของตลาดบางแห่ง ไม่สามารถคง
สภาพตามเกณฑม์ าตรฐานทไ่ี ดร้ ับจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

ข้อเสนอแนะในการดำเนนิ งาน
1. หน่วยงานราชการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ทั้งในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล และ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง ควรให้ความสำคัญและส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนายกระดับ
สถานทีจ่ ำหนา่ ยอาหารในพื้นท่ีรับผดิ ชอบ และสรา้ งความเขม้ แขง็ ให้กับภาคีเครอื ขา่ ยที่เกี่ยวข้อง

7. ผลการดำเนินงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสุพรรณบุรี
ปีงบประมาณ 2563

1) สถานการณ์ และสภาพปญั หา
จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นเมืองเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร มีอาชีพทำนา
ทำไร่ ทำสวน มีพื้นที่ปลูกข้าวประมาณ 2,488,066 ไร่ มีจำนวนเกษตรกรทั้งหมด 358,982 คน
(เกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่าไม้) แบ่งเป็นกลุ่มแรงงานในระบบ จำนวน 167,508 คน และ
กลุ่มแรงงานนอกระบบ จำนวน 356,095 คน ดังนั้นแรงงานภาคเกษตรกรรมจึงถือว่าเป็นกำลัง
แรงงานที่มีสัดส่วนสูงที่สุดของจังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งแยกจำนวนแรงงานในชุมชนทั้งหมดของพื้นท่ี
จำแนกเป็นกลุ่มอาชีพได้ ดังนี้ กลุ่มอาชีพรับจ้างการผลิต จำนวน 20,778 คน กลุ่มอาชีพเกษตรกร
จำนวน 234,220 คน กลุ่มอาชีพงานบ้านทั่วไป จำนวน 10,092 คน กลุ่มอาชีพค้าขาย จำนวน
43,619 คน และกลุ่มอาชีพอื่นๆ 50,273 คน และกลุ่มเกษตรกรเป็นกลุ่มอาชีพที่มีเสี่ยงต่อการใช้
สารเคมีกำจัดศัตรูพืชมากที่สุด เม่ือพิจารณาการได้รับบาดเจ็บและอุบัติเหตุจากการทำงาน พบว่าเกิด
อุบัติเหตุหรือบาดเจ็บเกิดจากการถูกปัญหาสภาพแวดล้อมในการทำงานปัญหาส่วนใหญ่เกี่ยวกับ
อิริยาบถในการทำงานสูงสุดร้อยละ 43.3 รองลงมาสภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น มีฝุ่นละออง
ควัน กล่ิน รอ้ ยละ 26.6 และแสงสวา่ งไมเ่ พยี งพอ รอ้ ยละ 13.5

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 119


บทที่ 2 PP&P Excellence

2) สรปุ ผลการดำเนินงานโรคจากการประกอบอาชพี และสงิ่ แวดลอ้ ม ดงั นี้

2.1 หน่วยบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิมีการประเมินตนเองตามมาตรฐานการ

จัดบริการอาชวี - อนามยั และเวชกรรมสิง่ แวดลอ้ มให้แรงงานในชมุ ชน สรปุ ไดด้ งั นี้

ลำดบั อำเภอ ผลการประเมนิ ตนเอง
จำนวน ไมผ่ ่าน เรมิ่ ต้นพฒั นา ดี ดีมาก ดเี ด่น
1 เมืองสุพรรณบรุ ี 29 16 1 37 2
2 เดมิ บางนางบวช 13 10 1 11 0
3 ด่านช้าง 10 3 0 21 4
4 บางปลาม้า 20 0 01 1
5 ศรีประจนั ต์ 81 0 13 3
6 ดอนเจดีย์ 54 0 10 0
7 สองพีน่ ้อง 32 0 10 0
8 สามชุก 15 7 0 15 2
9 อทู่ อง 22 11 0 29 0
10 หนองหญ้าไซ 9 3 2 20 2
รวม 116 57 4 14 27 14

สรุปหน่วยบริการเข้าร่วมจำนวน 116 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 66.60 ผ่านเกณฑ์ระดับเริ่มต้น
จำนวน 4 แห่ง รอ้ ยละ 3.40 ผา่ นเกณฑร์ ะดับดี จำนวน 14 แห่ง ร้อยละ 12.06 และ ผา่ นเกณฑ์การ
ประเมินระดับดีมาก จำนวน 27 แห่ง ร้อยละ 23.27 ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดีเด่น จำนวน 14
แหง่ ร้อยละ 12.06

2.2 การดำเนินงานตามแผนควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ได้
ดำเนินการดังน้ี

2.2.1 โครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข มีสถาน
ประกอบการเข้าร่วม จำนวน 21 แห่ง ผ่านเกณฑ์การประเมินเป็นสถานประกอบการปลอดโรค
ปลอดภยั กายใจเปน็ สุข จำนวน 4 แหง่ (ยอดสะสมปี 2562) ในปีงบประมาณน้ี ไมม่ สี ถานประกอบการ
ทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการและขอรบั การประเมินเปน็ สถานประกอบการปลอดโรคปลอดภัยกายใจเปน็ สุข

2.3 การดำเนินงานตามแผนควบคุมป้องกันโรคและภัยสขุ ภาพบุคลากรในโรงพยาบาลและ
หนว่ ยบริการสาธารณสขุ ได้ดำเนินการดงั น้ี

2.3.1 โรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เข้าร่วม
ประเมนิ ตามมาตรฐาน จำนวน 3 แห่ง ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินระดบั ดี จำนวน 1 แห่ง คอื โรงพยาบาล
สมเด็จพระสังราช องค์ที่ 17 และผ่านเกณฑ์การประเมินระดับเริ่มต้น จำนวน 2 แห่ง โรงพยาบาล
อู่ทอง และโรงพยาบาลสามชุก

120 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2่ี 1

3) แผนงานควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพจากมลพิษสิง่ แวดล้อม ได้ดำเนนิ การดังน้ี
3.1 ดำเนินการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ

และสิ่งแวดล้อมในกลุ่มวัยทำงานและประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ Hot Zone
เหมืองเก่า (สารหนู) ซึ่งเป็นพื้นที่ดำเนินการเหมืองแร่เก่า ในเขตอำเภอด่านช้าง ทั้งหมด 2 ตำบล คือ
ตำบลองค์พระ และตำบลวงั คัน รวมทั้งสิน้ 5 หมบู่ ้าน ประกอบด้วย

1) ตำบลองค์พระ : ม.1 บา้ นทุ่งมะกอก ม.5 บา้ นหนองมะเขือขืน่ , ม.7 บา้ นนำ้ ตก
ไทรทอง

2) ตำบลวงั คนั : ม.2 บ้านหนองยายเงนิ , ม.6 บ้านบุ่งยาง (ไมไ่ ดด้ ำเนนิ การในปนี ้)ี

ปีงบประมาณ 2563 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลทุ่งมะกอก ได้ประสานความร่วมมือใน
การเฝ้าระวังทางสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในประชาชนพื้นที่เสี่ยงสารหนูจากกลุ่มงานอนามัย
สิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี งานพิษวิทยาและเวชกรรม
สิ่งแวดล้อม โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช สำนักงานสาธารณสุขอำเภอด่านช้าง และโรงพยาบาล
ด่านชา้ ง สรปุ กิจกรรมท่ไี ดด้ ำเนินการรายละเอียดดังน้ี

1) กิจกรรมคืนข้อมูลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลการตรวจสุขภาพ และผล

การตรวจสิ่งแวดล้อม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะกอก ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุข

จังหวัดสุพรรณบุรี โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช และโรงพยาบาลด่านช้าง ดำเนินการคืนข้อมูลผล

การตรวจสุขภาพ ผลการตรวจปัสสาวะหาสารหนู และผลการเก็บตัวอย่างน้ำในพื้นที่เสี่ยง ใน

ปีงบประมาณ 2562 ที่ผ่านมา และให้ความรู้ในการปฏิบัติตนกับประชาชนที่มีผลการตรวจปัสสาวะ

หรือผลการตรวจสขุ ภาพผดิ ปกติ

2) กิจกรรมเฝา้ ระวงั ทางสง่ิ แวดล้อม

เฝ้าระวังทางสิ่งแวดล้อมโดยเก็บตัวอย่างน้ำดิบจากแหล่งน้ำผิวดิน จำนวน 8 ตัวอย่าง และ
ดินทีป่ ระชาชนในพ้นื ทเ่ี ส่ียงสารหนูปลูกพืชทางการเกษตร จำนวน 5 ตวั อยา่ ง สง่ ตรวจห้องปฏิบัติการ
เพื่อหาการปนเปือ้ นสารหนูในสิ่งแวดล้อมที่อาจมผี ลกระทบกับประชาชนในพื้นที่เส่ียง ณ ศูนย์อ้างอิง
ทางห้องปฏิบัติการและพิษวิทยา กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสขุ

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 121


บทท่ี 2 PP&P Excellence

ตารางแสดง ผลการวเิ คราะห์คุณภาพนำ้ เพ่อื หาปรมิ าณการปนเปอ้ื นสารหนู พน้ื ทเ่ี ส่ียงตำบลองค์
พระ อำเภอดา่ นช้าง จงั หวดั สุพรรณบุรี (วันเดือนปที ีเ่ ก็บ : 17 กันยายน 2563)

ลำดับ รหัส ชนดิ ตัวอยา่ ง จุดทเ่ี กบ็ ผลการ สรุปผล
ตวั อย่าง ตรวจ
แยกลำห้วยข้างบา้ นอำพร 37 เกนิ คา่
1 อพ 01 น้ำลำธาร ม.7 ต.องคพ์ ระ 0.128 มาตรฐาน
เกนิ ค่า
2 อพ 02 น้ำประปาผา่ นระบบ 153 ม.5 ต.องค์พระ 0.069 มาตรฐาน
บ้านนายวิรตั น์ อนิ ทฤทธ์ิ
3 อพ 03 บอ่ น้ำผวิ ดนิ 0.111 เกินค่า
แหล่งนำ้ ต้นปะปาผิวดนิ ม.5 0.347 มาตรฐาน
4 อพ 04 น้ำบ่อซมึ ผวิ ดนิ ต.องค์พระ อ.ดา่ นชา้ ง 0.013 เกินค่า
บ้านกำนนั เสน่ห์ 195 ม.5 ต. 0.032 มาตรฐาน
5 อพ 05 นำ้ ผวิ ดิน องคพ์ ระ เกินคา่
อ่างเก็บน้ำ แยกคอกชา้ ง ม. 5 ต. มาตรฐาน
6 อพ 06 น้ำจากลำหว้ ย องคพ์ ระ เกินคา่
มาตรฐาน
หน้าบ้านนายเงนิ อาจคงหาญ ไมเ่ กินคา่
มาตรฐาน
7 อพ 07 ประปา ร.ร.วัดคอกชา้ ง ร.ร.วดั คอกชา้ ง ม.5 ต.องค์พระ 0.002 ไมเ่ กนิ คา่
0.001 มาตรฐาน
8 อพ 08 นำ้ ประปา ม. 9 บ้านนายสายนั ธรรมะ 310 ม. 5 ต.
องคพ์ ระ อ.ด่านชา้ ง

หมายเหตุ : เกบ็ ตัวอย่างสง่ หอ้ งปฏบิ ตั ิการ ณ วันที่ 17 กันยายน 2563

ตารางแสดง ผลการวิเคราะห์คุณภาพดินทางการเกษตร เพื่อหาปริมาณการปนเปื้อนสารหนู พื้นที่
เสี่ยง ตำบลองคพ์ ระ อำเภอด่านชา้ ง จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

ลำดบั รหัส ชนดิ ตวั อยา่ ง จดุ ทีเ่ กบ็ ผลการ สรปุ ผล
ที่ ตัวอย่าง ตรวจ
ดินบ่อ แหล่งผลิตปะปา ผวิ ดิน เกินคา่
1 อพ 01 ดิน ม. 5 ต.องคพ์ ระ (ใกลไ้ รม่ นั ปะหลงั ) 35.523 มาตรฐาน
เกินค่า
2 อพ 02 ดนิ เหนยี วปนตะกอน กลางคเู หมืองเก่า ม. 5 ต.องค์พระ 569.343 มาตรฐาน
เกนิ คา่
3 อพ 03 ดนิ ร่วนปนทราย กลางสวนหลงั บ้าน กำนันเสน่ห์ 48.010 มาตรฐาน
195 ม. 5 ต.องค์พระ
11.576 เกนิ คา่
4 อพ 04 ดินร่วนปนทราย ไร่นายเงนิ อาจคงหาญ ปลูกฝักทอง มาตรฐาน
ใกล้ลำห้วย ม. 5 ต.องคพ์ ระ 21.446 เกินคา่
มาตรฐาน
5 อพ 05 ดินรว่ นปนทราย ไร่ออ้ ย หนา้ บา้ น นายสายัน ธรรมะ
310 ม. 5 ต.องคพ์ ระ

หมายเหตุ : เกบ็ ตวั อย่างส่งหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ณ วันท่ี 17 กันยายน 2563

122 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

4) กิจกรรมเฝ้าระวังทางสุขภาพ
4.1 คัดกรองความเสี่ยงสภาวะสุขภาพเชิงรุกในกลุ่มประชาชนพื้นที่เสี่ยงสารหนู

จำนวน 112 ราย โดยใชแ้ บบสอบถามประเมินความเส่ียง

4.2 เฝา้ ระวงั สภาวะสขุ ภาพในประชาชนพ้นื ท่เี ส่ยี งโดยประเมนิ ปริมาณการสมั ผัสสาร

หนู และผลกระทบทางชีวภาพ

4.2.1 ตรวจปสั สาวะในประชาชนกลุ่มเส่ียงเพ่ือหาสารหนูในรา่ งกาย (Biomarker
of exposure) โดยการเก็บ ปัสสาวะส่งตรวจหาปริมาณสารหนูรวม (Total Arsenic) จำนวน 114
คน

4.2.2 ตรวจเลอื ดทางห้องปฏบิ ัติการเพื่อดูผลกระทบทางชีวภาพ (Biomarker of
effect) ในประชาชนที่มีผลการตรวจปัสสาวะหาสารหนูในปีที่ผ่านมาเกินค่ามาตรฐาน ได้แก่ ตรวจ
ปัสสาวะ (Urine Analysis) ความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) ตรวจการทำงานของไต
(BUN,Creatinine) และ ตรวจการทำงานของตับ (Liver Function Test : LFT) จำนวน 31 คน

4.2.3 เอกซเรย์ปอดและหัวใจ (Chest X-ray : CXR) ในประชาชนที่มีผลการ

ตรวจปสั สาวะหาสารหนูในปที ผ่ี า่ นมาเกินคา่ มาตรฐาน จำนวน 48 คน

ตารางแสดง จำนวนประชาชนท่ไี ดร้ บั การเฝ้าระวังสภาวะสขุ ภาพโดยประเมินปริมาณการสมั ผัส
สารหนูและผลกระทบทางชวี ภาพ ตำบลองค์พระ อำเภอด่านช้าง จังหวัดสพุ รรณบุรี

ลำดับ รายการตรวจทางห้องปฏิบัตกิ าร จำนวนตวั อย่าง (คน)

1 สารหนูในปสั สาวะ 114

2 ความสมบูรณ์ของเม็ดเลอื ด (CBC) 31

3 ตรวจปสั สาวะ (Urine Analysis) 31

4 ตรวจการทำงานของไต (BUN, Creatinine) 31

5 ตรวจการทำงานของตับ (Liver Function Test : LFT) 31

6 เอกซเรยป์ อดและหัวใจ (Chest X-ray : CXR) 48

หมายเหตุ : เกบ็ ตัวอยา่ งส่งหอ้ งปฏิบตั ิการ ณ วนั ที่ 9 กันยายน 2563

5) ตรวจสขุ ภาพประจำปใี นประชาชนพน้ื ทเ่ี ส่ียง โดยแพทยอ์ าชีวเวชศาสตร์

ประชาชนในพื้นที่เสี่ยง ตำบลองค์พระ รายใหม่ที่นำปัสสาวะส่งตรวจหาสารหนู และ
ประชาชนรายเก่าที่มีผลการตรวจปัสสาวะหาสารหนู ในรอบปีที่ผ่านมาที่มีสารหนูในปัสสาวะเกินค่า
มาตรฐาน ไดร้ ับการสง่ เข้าพบแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ เพ่อื ตรวจสขุ ภาพประจำปี จำนวน 85 คน

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 123


บทที่ 2 PP&P Excellence

สรุปผลการดำเนนิ งานโรคไมต่ ดิ ต่อเรือ้ รงั (NCDs) ปีงบประมาณ 2563

KPI กระทรวง :

ตัวชีว้ ัดที่ 13 : รอยละการตรวจตดิ ตามกลุมสงสัยปวยโรคเบาหวาน และ/หรอื โรคความดันโลหิตสงู
ตวั ช้วี ดั ยอยท่ี 1 : รอยละการตรวจตดิ ตามกลุมสงสัยปวยโรคเบาหวาน ≥รอ้ ยละ 30
ตัวชว้ี ดั ยอยท่ี 2 : รอยละการตรวจติดตามกลุมสงสัยปวยโรคความดนั โลหิตสูง ≥รอ้ ยละ 52

KPI กรม :

ตวั ชี้วดั ที่ 1. รอ้ ยละประชาชนอายุ 35 ปขี ้นึ ไปไดร้ ับการคัดกรองโรคเบาหวาน ≥ร้อยละ 90
2. รอ้ ยละประชาชนอายุ 35 ปขี น้ึ ไปไดร้ บั การคัดกรองโรคความดันโลหิตสงู ≥รอ้ ยละ 90
3. อตั ราผูป้ ว่ ยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสีย่ งเบาหวาน ≤รอ้ ยละ 1.95
4. อัตรากลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบ ได้รับการวัดความดันโลหิตท่บี ้าน
≥ร้อยละ 30
5. รอ้ ยละผปู้ ่วยเบาหวานทค่ี วบคมุ ระดับน้ำตาลได้ดี ≥ร้อยละ 40
6. ร้อยละผู้ปว่ ยความดนั โลหติ สงู ที่ควบคมุ ความดันโลหิตได้ดี ≥รอ้ ยละ 50
7. ร้อยละของผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดนั โลหิตสูงได้รับการประเมิน CVD Risk
≥รอ้ ยละ 85
8. รอ้ ยละของผู้ป่วยเบาหวานท่ีได้รบั การตรวจไขมัน LDL และมคี า่ LDL<100 mg/dl ≥
ร้อยละ 60
9. รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยเบาหวานท่มี คี วามดนั โลหิตน้อยกว่า 140/90 mmHg ≥ร้อยละ 60
10. รอ้ ยละของการเกดิ ภาวะแทรกซ้อนเฉยี บพลันในผู้ปว่ ยเบาหวาน ≤ร้อยละ 2
11. ร้อยละของผ้ปู ว่ ยเบาหวานรายใหมล่ ดลง ≥ร้อยละ 5
12. รอ้ ยละของผู้ปว่ ยเบาหวานทมี่ ภี าวะอว้ น (BMI ≥25 กก./ตร.ม.) ลดลงจากปีงบประมาณ
ทผ่ี า่ นมา ≥รอ้ ยละ 10
13. รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยเบาหวาน และ/หรอื ความดนั โลหิตสูง ท่ีไดร้ บั การค้นหาและคัดกรอง
โรคไตเรือ้ รงั ≥ร้อยละ 80
14. ร้อยละของผูป้ ่วยเบาหวาน และ/หรอื ความดนั โลหติ สงู ท่ีมี CVD Risk ≥ 20% ในชว่ ง
ไตรมาส 1, 2 และมีผล CVD Risk ลดลงเปน็ ≤ 20% ในไตรมาส 3, 4 ≥ร้อยละ 40
15. ร้อยละของผ้ปู ว่ ยเบาหวาน และ/หรือความดันโลหติ สงู ทเี่ ป็น CKD 3-4 ชะลอการลดลง
ของ eGFR ไดต้ ามเปา้ หมาย >ร้อยละ 50

กระบวนงานเชิงผลลัพธ์

1. การดำเนนิ งาน NCD Clinic Plus ในโรงพยาบาล
2. การดำเนินงาน โรงพยาบาลเค็มน้อย อร่อย (3) ดี ในโรงพยาบาลระดับ A, S
3. การดำเนินงาน CBI NCDs ชมุ ชนเปน็ ฐานในการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม

124 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2ี่ 1

1. วิเคราะหส์ ถานการณ์/สภาพปัญหา

สถานการณ์โรคเบาหวาน
สถานการณ์โรคเบาหวานของจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า จำนวนผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนใน

ระบบบริการเพิ่มขึ้นทุกปี โดยในปีงบประมาณ 2560, 2561 และ 2562 มีผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน
50,585 คน, 51,252 คน และ 51,667 คน ตามลำดบั จากผลการคดั กรองโรคเบาหวาน กลุม่ เปา้ หมาย
อายุ 35 ปขี ึน้ ไป ในปงี บประมาณ 2560 จำนวนทั้งหมด 326,961 คน ไดร้ ับการตรวจคัดกรอง 291,683
คน คิดเป็นร้อยละ 89.21 ปีงบประมาณ 2561 จำนวนทั้งหมด 330,323 คน ได้รับการตรวจคัดกรอง
294,737 คน คิดเป็นร้อยละ 89.23 และปีงบประมาณ 2562 จำนวนทั้งหมด 329,676 คน ได้รับการ
ตรวจคัดกรอง จำนวน 302,713 คน คิดเป็น ร้อยละ 91.82 สำหรับผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่ม
เสี่ยงเบาหวาน พบว่า ในปีงบประมาณ 2560 จำนวนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานทั้งหมด 41,287 คน เป็นผู้ปว่ ย
เบาหวานรายใหม่ 647 คน คิดเป็นร้อยละ 1.57 ปีงบประมาณ 2561 จำนวน 30,474 คน เป็นผู้ป่วย
เบาหวานรายใหม่ 537 คน คิดเป็นร้อยละ 1.76 และในปีงบประมาณ 2562 จำนวนกลุม่ เส่ียงเบาหวาน
ทง้ั หมด จำนวน 24,673 คน เป็นผู้ปว่ ยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 408 คน คิดเป็นร้อยละ 1.65 ส่วน
ของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ในปีงบประมาณ 2560 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด
50,585 คน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี 11,592 คน คิดเป็นร้อยละ 22.92 ปีงบประมาณ 2561 จำนวน
51,252 คน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี 13,938 คน คิดเป็นร้อยละ 27.20 และในปีงบประมาณ 2562
ผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด จำนวน 51,049 คน ผู้ป่วยท่ีควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี จำนวน 14,962 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 29.31

สถานการณ์โรคความดันโลหิตสูง

สถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงของจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า จำนวนผู้ป่วยที่ขึ้น
ทะเบียนในระบบบริการเพิม่ ข้ึนทกุ ปี โดยในปีงบประมาณ 2560, 2561 และ 2562 มีผู้ปว่ ยโรคความดัน
โลหิตสูง จำนวน 105,167 คน, 107,576 คน และ 110,085 คน ตามลำดับ จากผลการตรวจคัดกรอง
โรคความดันโลหิตสงู ในกลุ่มเปา้ หมายอายุ 35 ปีข้ึนไป ในปงี บประมาณ 2560 จำนวนท้งั หมด 273,195
คน ได้รับการตรวจคัดกรองจำนวน 251,822 คน คิดเป็นร้อยละ 92.18 ปีงบประมาณ 2561 จำนวน
ทั้งหมด 281,059 คน ได้รับการตรวจคัดกรองจำนวน 258,004 คน คิดเป็นร้อยละ 91.80 และ
ปงี บประมาณ 2562 จำนวนทัง้ หมด 276,777 คน ได้รบั การตรวจคัดกรอง 260,252 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ
94.03 สำหรับในกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน พบว่า ใน
ปีงบประมาณ 2560 มีจำนวนกล่มุ สงสยั ป่วยความดนั โลหติ สูงท้ังหมด 10,880 คน ไดร้ บั การวดั ความดัน
โลหิตที่บ้าน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 0.09 ปีงบประมาณ 2561 มีกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหติ
สูงทั้งหมด จำนวน 11,924 คน ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน จำนวน 3,203 คน คิดเป็น ร้อยละ
26.86 และในปีงบประมาณ 2562 จำนวน 11,578 คน ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านจำนวน
7,094 คน คิดเป็นร้อยละ 61.27 และในส่วนของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทีค่ วบคุมความดันโลหิตได้ดี
ปีงบประมาณ 2560 มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 105,167 คน ควบคุมความดันโลหิตได้ดี
จำนวน 37,735 คน คิดเป็นร้อยละ 35.88 ปีงบประมาณ 2561 มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด
จำนวน 107,576 คน ควบคุมความดันโลหิตได้ดี จำนวน 44,786 คน คิดเป็นร้อยละ 41.63 และใน

รายงานประจำปีสำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 125


บทที่ 2 PP&P Excellence

ปีงบประมาณ 2562 มีผู้ป่วยความดนั โลหติ สงู ทั้งหมด จำนวน 110,085 คน ควบคุมความดันโลหิตไดด้ ี
จำนวน 50,313 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 45.70

นอกจากนี้ จังหวัดสุพรรณบุรี ยังมีการดำเนินงานโรคหัวใจและหลอดเลือด ในตัวชี้วัด
ร้อยละของผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหติ สูง ที่ขึ้นทะเบียนไดร้ ับการประเมินโอกาสเสี่ยง
ต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) โดยพบว่า ในปีงบประมาณ 2560 มีจำนวนผู้ป่วย
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ที่ขึ้นทะเบียนและยังไม่ป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดทั้งหมด
จำนวน 39,428 คน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) จำนวน
32,456 คน คิดเป็นร้อยละ 82.32 ปีงบประมาณ 2561 ทั้งหมดจำนวน 39,892 คน ได้รับการประเมิน
โอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) จำนวน 33,278 คน คิดเป็นร้อยละ 83.42 และใน
ปีงบประมาณ 2562 ทั้งหมดจำนวน 40,248 คน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอด
เลือด (CVD Risk) จำนวน 35,925 คน คิดเปน็ ร้อยละ 89.26

ในส่วนของการดำเนินงาน NCD Clinic Plus ในโรงพยาบาล เป็นการพัฒนาระบบ
เครือข่ายการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเชิงกระบวนการ 6 องค์ประกอบ และการประเมิน
เชิงผลลัพธ์การบริการ โดยผลการประเมิน NCD Clinic Plus ในโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2562
ท้ังหมดจำนวน 10 แหง่ มดี ังน้ี

โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ NCD Clinic Plus ระดับดีมาก จำนวน 1 แห่ง คือ โรงพยาบาล
ศรปี ระจันต์

โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ NCD Clinic Plus ระดับดี จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาล
ด่านช้าง, โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช, โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17, โรงพยาบาลเดมิ
บางนางบวช

โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ NCD Clinic Plus ระดับพื้นฐาน จำนวน 4 แห่ง ได้แก่
โรงพยาบาลอ่ทู อง, โรงพยาบาลดอนเจดีย์, โรงพยาบาลสามชุก, โรงพยาบาลบางปลาม้า, โรงพยาบาล
หนองหญ้าไซ

2. การดำเนนิ งานตามมาตรการสำคญั

1. การบริหารจดั การระดับจังหวัด : โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการเชิงระบบ ปีงบ
2563
กิจกรรมหลัก : การพฒั นาบุคลากร
กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมฟื้นฟูความรู้โรคเบาหวาน, โรคความดันโลหิต, Stroke ในยุคสังคม

พลวัต จำนวน 50 คน/1 วัน เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ให้กับบุคลากร
สาธารณสุข ได้นำความรใู้ หมๆ่ ไปใช้ในการปฏิบตั ิงาน

กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมพยาบาลผู้ดูแลผู้ป่วยรายกรณี จำนวน 50 คน/2 วัน เพื่อพัฒนา
ศักยภาพและองคค์ วามรใู้ หก้ ับบคุ ลากรสาธารณสขุ ใหเ้ พยี งพอตอ่ การปฏบิ ตั งิ าน

126 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2ี่ 1

กจิ กรรมหลัก : การนเิ ทศ ตดิ ตาม
กิจกรรมท่ี 1 จัดการประชุมคณะกรรมการ NCD Board จำนวน 2 ครั้ง คือในไตรมาสที่ 1
และไตรมาสที่ 4 เพื่อกำกับ ติดตามความก้าวหน้า สรุปผลการดำเนินงาน ตลอดจนปัญหาอุปสรรคที่
ผ่านมา
หมายเหตุ : เนื่องจากเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ทำใหต้ อ้ งงดการจดั ประชมุ คณะกรรมการ NCD Board จำนวน 2 ครงั้ คอื ในไตรมาสที่ 2
และ 3 นอกจากนี้ ยังต้องงดการจัดกิจกรรมท่ี 2 คือการจัดอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Best Practice
ของแตล่ ะอำเภออีกดว้ ย

กิจกรรมเพ่ิมเติม : การสนบั สนุนการป้องกนั และควบคมุ โรคไม่ติดต่อเรอ้ื รงั
กิจกรรมการจัดตั้งเครื่องวัดความดันโลหิตอัตโนมัติชนิดสอดแขน ในโครงการเพิ่มการเข้าถึง
การวัดความดันโลหิตในที่สาธารณะ ตามแนวทางการจัดทำจุดบริการตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเอง
(Health Station) เช่น โต๊ะขนาดไม่น้อยกว่า 60 x 100 เซนติเมตร เก้าอี้ที่มีพนักพิงไม่มีล้อไฟฟ้า
ปลั๊กพ่วง WIFI สำหรับเชื่อมต่อกับเครื่องวัดความดันโลหิต เจลแอลกอฮอล์ล้างมือ เครื่องชั่งน้ำหนัก
บุคคล สายวัดรอบเอว และผู้ดูแลจุดบริการ เป็นต้น ไว้บริการประชาชน เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน
เขา้ ถงึ การวัดความดันโลหิตและตรวจเช็คสุขภาพดว้ ยตนเอง จำนวน 1 แหง่ คือ สำนักทะเบียนอำเภอ
ท่วี า่ การอำเภอเมอื งสพุ รรณบรุ ี
2. รูปแบบการดำเนินงาน : ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล และจำแนกกลุ่มเป้าหมายตามผลการตรวจ
คัดกรองโรค

- กลุ่มปกติ กิจกรรมที่ดำเนินการคือการให้ Health Literacy ลดหวานมัน เค็ม ลดการ
เนือยน่งิ รบั รสู้ ญั ญาณเตอื นของโรค ตลอดจนเบอร์โทรชว่ ยเหลือฉุกเฉิน 1669 ให้กบั ประชาชนในทุก
ช่องทางการสื่อสาร ไมว่ ่าจะเป็นการให้ความรู้รายบุคคล, รายกลมุ่ , ให้ความรผู้ า่ นทาง อสม., การจัด
รายการวทิ ยุ, ชอ่ งทาง social network, Group line เป็นต้น

- กลุม่ เสย่ี ง/กลมุ่ สงสัยป่วย กจิ กรรมที่ดำเนนิ การคือ การนำเข้าสกู่ ระบวนการปรับเปล่ียน
พฤติกรรมสขุ ภาพที่ถกู ตอ้ ง 3 อ 2 ส เพือ่ ลดอตั ราผูป้ ว่ ยรายใหม่

- กลุ่มป่วย กิจกรรมที่ดำเนินการคือ การนำเข้าสู่กระบวนการรักษาพยาบาล, คลินิก
NCD, การประเมิน CVD Risk, คลินกิ ชะลอไตเสอ่ื ม เปน็ ต้น

3. การบูรณาการงาน : เน้นความเช่อื มโยงในทุกระดับ
บูรณาการงานทั้งด้านบริการรักษาพยาบาล, งานระบบข้อมูล HDC, งาน Lab, Service

Plan, และงานส่งเสรมิ สุขภาพตามกล่มุ วัย

4. สรปุ ผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดตอ่ (NCDs) ปงี บประมาณ 2563
ตวั ชว้ี ดั ที่ผ่านเกณฑ์ มจี ำนวน 5 ตวั ช้ีวัด ได้แก่

ตวั ช้วี ัดที่ 13 : รอยละการตรวจตดิ ตามกลุมสงสัยปวยโรคเบาหวาน และ/หรือโรคความดนั โลหติ สงู
ตวั ชีว้ ดั ยอยที่ 1 : รอยละการตรวจตดิ ตามกลุมสงสัยปวยโรคเบาหวาน ≥รอ้ ยละ 30

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 127


บทที่ 2 PP&P Excellence

ผลการดำเนินงาน เปา้ หมาย 1,898 คน ผลการดำเนินงาน 1,339 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 70.55

แผนภมู แิ สดงร้อยละการตรวจติดตามกลมุ สงสยั ปวยโรคเบาหวาน ≥ ร้อยละ 30

100 93.92 100
89.71
72.08 77.88 81.18 70.55
80 76.90

60 49.36 59.17
50.00

40

20

0

ทมี่ า : ข้อมลู จาก HDC ณ วันท่ี 30 กันยายน 2563

ตัวชี้วัดที่ 13 : รอยละการตรวจติดตามกลุมสงสัยปวยโรคเบาหวาน และ/หรือโรคความดัน
โลหติ สูง

ตัวชี้วัดยอยที่ 2 : รอยละการตรวจติดตามกลุมสงสัยปวยโรคความดันโลหิตสูง ≥
รอ้ ยละ 52
ผลการดำเนินงาน เปา้ หมาย 9,502 คน ผลการดำเนินงาน 7,635 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 80.35

128 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 2่ี 1

แผนภมู แิ สดงร้อยละการตรวจติดตามกลุมสงสยั ปวยโรคความดนั โลหติ สงู ≥ ร้อยละ 52

100 95.34 97.99

80 79.70 84.98 85.96 80.34 72.04 86.13 76.92 80.35
69.51

60

40

20

0

ตวั ชว้ี ดั : อตั รากลุ่มสงสยั ป่วยความดันโลหิตสงู ในเขตรบั ผิดชอบ ไดร้ บั การวดั ความดนั โลหิตทีบ่ ้าน ≥
ร้อยละ 30

ผลการดำเนนิ งาน เป้าหมาย 9,502 คน ผลการดำเนินงาน 8,116 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 85.41

แผนภูมแิ สดงร้อยละอัตรากลมุ่ สงสัยป่วยความดันโลหติ สงู ในเขตรับผิดชอบ ไดร้ บั การวดั ความดนั โลหิตทบ่ี า้ น

99.28 99.78 ≥ ร้อยละ 30

100 95.53 92.46 88.47 86.54 88.46 85.41
82.48
80 74.90 73.56

60

40

20

0

ที่มา : ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2563
ตวั ช้ีวัด : ร้อยละผ้ปู ่วยความดันโลหิตสงู ทค่ี วบคมุ ความดนั โลหิตได้ดี ≥รอ้ ยละ 50

รายงานประจำปีสำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 129


บทที่ 2 PP&P Excellence

ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย 112,904 คน ผลการดำเนินงาน 55,525 คน คดิ เป็นร้อยละ 49.18

100 แผนภมู แิ สดงร้อยละผูป้ ว่ ยความดนั โลหิตสูงท่คี วบคุมความดันโลหติ ได้ดี ≥ ร้อยละ 50

90
80
70
60 59.63 60.28 57.88
50 51.22
40 47.90 48.27 49.75 49.18
41.27 39.37 41.04

30
20
10
0

ตัวชี้วัด : รอ้ ยละผูป้ ว่ ยเบาหวานทค่ี วบคุมระดบั น้ำตาลไดด้ ี ≥รอ้ ยละ 40
ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย 53,293 คน ผลการดำเนนิ งาน 14,347 คน คดิ เป็นร้อยละ 26.92

100 แผนภูมิแสดงร้อยละผู้ปว่ ยเบาหวานทค่ี วบคมุ ระดับน้าตาลไดด้ ี ≥ รอ้ ยละ 40

90
80
70
60
50
40
30 29.83 31.06 30.23 30.20 35.54 29.74 26.92
20 20.31
17.65 15.18 22.94

10
0

ทีม่ า : ขอ้ มลู จาก HDC ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2563
130 รายงานประจำปสี ำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2่ี 1

ตวั ชีว้ ัด : อัตราผ้ปู ่วยเบาหวานรายใหมจ่ ากกลุ่มเส่ยี งเบาหวาน ≤ รอ้ ยละ 1.95
ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย 22,447 คน ผลการดำเนนิ งาน 393 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.75

5 แผนภูมแิ สดงอตั ราผปู้ ่วยเบาหวานรายใหมจ่ ากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ≤ ร้อยละ 1.95

4

3 2.47 2.42
1.87 1.96
2 1.42 1.77 1.66 1.75
1.46 1.27
1 0.50

0

ตัวชีว้ ดั : ร้อยละของผปู้ ่วยดว้ ยโรคเบาหวานและโรคความดนั โลหิตสูงได้รบั การประเมิน CVD Risk
≥รอ้ ยละ 85

ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย 40,258 คน ผลการดำเนนิ งาน 34,510 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 85.72

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดนั โลหติ สูงท่ขี ึ้นทะเบยี นได้รับ

การประเมนิ โอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลอื ด (CVD Risk) ≥ รอ้ ยละ 85

100 84.35 87.07 89.68 91.75 82.31 95.90 92.27 90.23 85.72

80 71.92 75.57

60

40

20

0

ที่มา : ขอ้ มูลจาก HDC ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2563 131

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


บทท่ี 2 PP&P Excellence

กระบวนงานเชงิ ผลลพั ธ์

1. การดำเนนิ งาน NCD Clinic Plus ในโรงพยาบาล

เป็นการประเมินกระบวนการพัฒนาคุณภาพและการประเมินผลลัพธ์ตัวชี้วัดบริการของโรงพยาบาล

ตามเกณฑ์มาตรฐาน NCD Clinic Plus

ผลการดำเนินงานของโรงพยาบาล จำนวน 10 แห่ง สรุปผลไดด้ งั นี้

โรงพยาบาลผา่ นเกณฑ์ ระดบั ดเี ดน่ จำนวน 1 แห่ง ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ท่ี 17

โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ ระดับดีมาก จำนวน 6 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช,

โรงพยาบาลอู่ทอง, โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช, โรงพยาบาลสามชุก, โรงพยาบาลศรีประจันต์ และ

โรงพยาบาลบางปลามา้

โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ ระดับดี จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลด่านช้าง, โรงพยาบาลดอนเจดีย์

และโรงพยาบาลหนองหญ้าไซ

2. การดำเนินงาน โรงพยาบาลเค็มนอ้ ย อรอ่ ย (3) ดี เป้าหมายคอื โรงพยาบาลระดับ

A,S

ผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช และโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช

องค์ที่ 17

1. โภชนากรปรับสูตรอาหารสำหรับผู้ป่วย IPD ที่ไม่มีข้อจำกัด ลดปริมาณโซเดียมลงอย่าง

นอ้ ยร้อยละ 15

เมนอู าหารธรรมดา

» รพ.เจา้ พระยายมราช ปรบั สูตรอาหารได้ จำนวน 44 เมนู

» รพ.สมเดจ็ พระสงั ฆราช องคท์ ี่ 17 ปรับสูตรอาหารได้ จำนวน 4 เมนู

เมนอู าหารออ่ น

» รพ.เจา้ พระยายมราช ปรบั สตู รอาหารได้ จำนวน 17 เมนู

» รพ.สมเด็จพระสังฆราช องคท์ ี่ 17 ปรับสูตรอาหารได้ จำนวน 1 เมนู

2. โภชนากรปรับสตู รเมนอู าหาร ในรา้ นอาหารของโรงพยาบาลและอบรมผปู้ ระกอบอาหาร

» รพ.เจ้าพระยายมราช จำนวน 8 รา้ น ปรบั สตู รอาหารได้ จำนวน 8 เมนู

» รพ.สมเด็จพระสังฆราชฯ จำนวน 6 ร้าน ปรับสตู รอาหารได้ จำนวน 11 เมนู

3. การดำเนนิ งาน CBI NCDs ชมุ ชนเปน็ ฐานในการปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม
พ้ืนทดี่ ำเนนิ การ ได้แก่ พ้นื ทีข่ องโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังน้ำเยน็ อำเภอบางปลามา้ จังหวัด
สพุ รรณบุรี ในการใช้ชุมชนเปน็ ฐานในการปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค NCDs

132 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 2่ี 1

สรปุ ผลการดำเนินงานผู้พิการ
1. ดำเนินการร่วมกับ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 5 ราชบุรี ในส่วนของการ
ประสานงานกำกับติดตามงบประมาณจากกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ เงินชดเชยงบ
บริการของโรงพยาบาลและการสนับสนนุ อปุ กรณเ์ คร่ืองช่วยคนพกิ าร

2. ดำเนนิ การรว่ มกบั สำนกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ดังน้ี
- เป็นคณะอนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการประจำจังหวัดสุพรรณบุรี

เข้าร่วมการประชุมเพื่อพิจารณาสนับสนุนเงินช่วยเหลือในการซ่อมแซมที่พักอาศัย และพิจารณา
กลัน่ กรองเงนิ กูย้ ืมกองทนุ สง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพชีวิตคนพิการ จำนวน 6 คร้ัง/ปี

- ประสานงานการจัดตั้งศูนย์บริการคนพิการแบบครบวงจร ในโรงพยาบาลแห่งแรกของ
จังหวดั สพุ รรณบรุ ีคอื โรงพยาบาลอ่ทู อง

การดำเนินกจิ กรรมเพม่ิ เติม : การสำรวจและค้นหาผปู้ ว่ ยโรคพาร์กนิ สนั
เข้ารับไม้เท้าเลเซอร์พระราชทาน จากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อุปนายิกาผู้อำนวยการสภากาชาดไทย เพื่อช่วยแก้ไขอาการเดิน
ติดขัด ที่มีการเดินซอยเท้าถี่เป็นช่วงๆ ก้าวเท้าไม่ออก มีการเดินที่ผิดปกติหรือสูญเสียการทรงตัว
ส่งผลให้เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย ใช้เป็นอุปกรณ์ช่วยเพิ่มความมั่นคงในการก้าวเดิน และแสง
เลเซอรช์ ่วยกระต้นุ ใหผ้ ้ปู ว่ ยกา้ วเดินไดง้ ่ายข้นึ

5. งาน SERVICE PLAN ท่เี ก่ียวข้อง
- สาขาโรคไมต่ ิดต่อ
- สาขาโรคหวั ใจและหลอดเลือด
- สาขาโรคปอดอดุ กน้ั เรอ้ื รงั
- สาขาไต

รายงานประจำปีสำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 133


บทที่ 2 PP&P Excellence

6. ปญั หา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

ปญั หาอุปสรรคด้านการดำเนนิ งาน ปัญหาอุปสรรคจากปัจจยั ภายนอก/ปจั จยั จากโรค

ตัวช้ีวัด : ร้อยละผู้ปว่ ยเบาหวานทค่ี วบคุมระดับ 1. ปัจจัยแวดล้อมภายนอกที่มีผลต่อวิถีชีวิต เช่น

น้ำตาลได้ดี ≥ ร้อยละ 40 ไม่ผ่านเกณฑ์ โดยม ภาวะเร่งรีบทำให้ต้องบริโภคอาหารจานด่วน หรือ

ปจั จยั ดงั น้ี การรับประทานขนมหวาน เครื่องดื่มที่มีรสหวาน

1. การตรวจ Hb A 1C ในผู้ป่วยเบาหวาน มี หรือวิถีการใช้ชีวิตของเด็ก ที่ให้ความสำคัญกับ การ

ราคาค่อนข้างแพง ทำให้การตรวจ HbA 1C ไม่ เล่นเกม การใช้โทรศัพท์มือถือเป็นเวลานาน จนเกิด

ครอบคลมุ ผปู้ ่วย ภาวะเนือยนิ่ง ขาดการออกกำลังกาย และ

2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย รับประทานขนมกรุบกรอบ น้ำอัดลม ทำให้เกิดภาวะ

เบาหวานให้ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี เป็นเรื่อง อว้ น และเกิดโรคไมต่ ิดต่อเร้อื รัง ตงั้ แต่อายุ ยังนอ้ ย

ที่ค่อยข้างยาก จากวิถีการดำเนินชีวิตและการ 2. การดำเนินของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นไปอย่าง

บริโภคอาหาร ช้าๆ ทำให้ประชาชนขาดความตระหนักในเรื่องของ

การแกไ้ ขปัญหา การรบั รอู้ นั ตรายจากพยาธิสภาพของโรค

1. เสนอปัญหาเข้าที่ประชุมคณะกรรมการเขต การแกไ้ ขปัญหา

สุขภาพที่ 5 เพื่อให้เขตฯเป็นสื่อกลางในการ วิเคราะห์ข้อมูล และจำแนกกลุ่มเป้าหมายตาม ผล

ต่อรองราคาให้ถกู ลง การตรวจคัดกรองโรค เพื่อกำหนดกิจกรรมการ

2. รว่ มกันกำหนดกลยุทธ์ในการดำเนินงานของ ดำเนินงานให้สอดคลอ้ งกบั กลุ่มเปา้ หมาย

พื้นที่ร่วมกันทั้งจังหวัด ผ่านการประชุม NCD

Board

7. ภาพกิจกรรม

134 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2563


Click to View FlipBook Version