The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-26 00:54:33

รายงานประจำปี2563

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

PP&P Excellence บบทททที่ 3่ี 1

การดำเนินงานระดับจังหวดั

1.การประชุมคณะกรรมการขับเคล่ือนการพัฒนา พชอ.จงั หวดั สุพรรณบุรี
2.การเยี่ยมเสรมิ พลงั ระดับจังหวัด-ติดสถานการณ์ Covid-19
3.การถอดบทเรยี น/แลกเปล่ียนเรียนรู้

การประชุมคณะกรรมการขับเคล่ือนการพัฒนา พชอ.จังหวัดสุพรรณบุรี
มีการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนา พชอ.จังหวัดสุพรรณบุรีแล้ว 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 11

มีนาคม 2563 โดยรองผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธาน ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย
คณะกรรมการจากภาครัฐ เอกชน ประชาชน ในระดับจังหวัด พร้อมด้วยทีมเลขาพชอ.และผู้เกี่ยวข้อง
จำนวน 37 คน ประเด็นสำคัญท่ีนำเสนอ ไดแ้ ก่ ประเดน็ การพัฒนาคุณภาพชวี ิตจังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2563
ประเด็นผู้สูงอายุ:จากพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสุพรรณบุรี ประเด็นอุบัติเหตุ : จาก
หัวหน้าสำนักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสุพรรณบุรี ประเด็นอาหารปลอดภัย : จากเกษตร
จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ไดข้ ้อสรปุ สำคัญจากการประชมุ ดงั นี้

1.การเข้าถึงอาหารปลอดภัย ขอให้เพิ่มเติมในเรือนจำด้วย เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ผู้ต้องขัง
จังหวัดสุพรรณบรุ ีท่านผวู้ ่าราชการจังหวัดมีนโยบายส่งเสริมเกษตรอินทรีย์และอาหารปลอดภัย 100% จึง
ขอให้เกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี เกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี พาณิชย์จังหวัดสุพรรณบุรีและ
หนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้องขบั เคลื่อนประเดน็ นีด้ ้วย

2.การบริหารจัดการขยะ ตัวชี้วัดที่ให้ท้องถิ่นช่วยดำเนินการให้เกิดการขับเคลื่อนอย่างเป็น
รูปธรรม มหี ลุมขยะเปียกทุกครัวเรือน มีธนาคารขยะทุกโรงเรียน และวดั ควรมีการบรหิ ารจัดการขยะอย่าง
ถูกวธิ ี นอกจากนี้ Cluster จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ทไ่ี ม่มกี ลมุ่ จำนวน 13 แหง่ มกี ารดำเนินการอย่างไร ขอให้ท้องถิ่น
จังหวัดตดิ ตามเขา้ กลุ่ม

3.การขับเคลื่อน พชอ. ในระดับตำบล คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับตำบล (พชต.) ให้
หารอื ส่วนกลาง การจัดตั้ง พชต. มีระเบยี บรองรับหรือไม่ เพือ่ สะดวกในการบริหารจัดการของท้องถิ่น โดย
มีเป้าหมายหรือข้อตกลงร่วมกันของคนในตำบล “ธรรมนูญตำบล” ซึ่งจะมีผลต่อสังคมชุมชนที่อยู่
ร่วมกนั โดยตรง

4. ยดึ หลักการ บ-ว-ร บ้าน วดั โรงเรยี น ช่วยขบั เคล่อื นประเดน็ อุบัตเิ หตุทางถนน การจดั การขยะ ยา
เสพติด สว่ นเร่ืองไข้เลอื ดออก ฝากฝา่ ยปกครองช่วยขับเคลอ่ื นโดยมมี าตรการทางสงั คม เร่ืองผ้ปู ่วยจิตเวชใน
ชุมชนควรมกี ารจัดการโดยชมุ ชน ฝากท้ังฝ่ายปกครอง พมจ. และสาธารณสุขร่วมกนั บริหารจดั การ ตัวอย่าง
ท่ดี ี เชน่ อบต.บา้ นดอน อ.อทู่ อง มกี ารดูแลผ้เู ปราะบางทางสงั คม เป็นตน้

ถอดบทเรยี น/แลกเปล่ียนเรียนรู้
การดำเนินงานตามโครงการ พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

จังหวดั สุพรรณบุรี ปงี บประมาณ 2564
1.ระยะที่ 1 จัดประชุมแกนนำ พชอ.ค้นหาส่วนขาดของการพัฒนา กลุ่มเป้าหมาย ทีม พชอ.

10 แห่งๆละ 3 คน ประกอบด้วย สสอ./ผู้แทน1 คน ตัวแทนจากกระทรวงมหาดไทย 1 คน ปราชญ์
ชาวบา้ น/ตัวแทนภาคประชาชน 1 คน วทิ ยากร ผูจ้ ดั การประชมุ และผูเ้ ก่ยี วขอ้ ง รวม 40 คน

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 185


บทที่ 3 PP&P Excellence

ผลการดำเนินงาน : จัดประชุมแกนนำ พชอ. วันที่ 14 กรกฎาคม 2564 มีผู้เข้าร่วม
ประชุม จำนวน 35 คน ทีมวิทยากรจากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สพุ รรณบุรี โดยมี ประเด็น
ชวนเรยี นรู้ ดังนี้

1. “อะไรท่ีเราต้องการเพิม่ เติมเพื่อให้งานบรรลุผล”
2. การดำเนินงาน พชอ. การมีสว่ นรว่ ม ในสถานการณโ์ รคติดต่อ
3. ทำอย่างไรให้หลายโครงการดำเนินงานได้ดี
สรปุ สิง่ ทไี่ ดจ้ ากการประชุม(ถอดบทเรียน):
1.พชอ.สิ่งสำคัญคือ การทำงานเป็นทีม นอกจากมีคณะกรรมการ พชอ.แล้ว อาจมี
คณะอนกุ รรมการระดบั อำเภอ และระดบั ตำบล
2.เปา้ หมาย ควรให้ความสำคัญกับกลมุ่ ประชาชน จะทำใหม้ ีเป้าหมายเดยี วกัน
3.การมสี ว่ นรว่ มของภาคเครือข่าย
4.มีการชน่ื ชมและการใหค้ ณุ คา่ ทัง้ จากภายในทีมและทีมภายนอก
5.มกี ารแบ่งปนั ทรพั ยากร
6.การดแู ลประชาชนตามบรบิ ทพื้นที่
KPI คอื ความต้องการของประชาชน อยากเห็นอะไร ดงั นั้น KPI จึงควรกำหนดเองตามบรบิ ทพืน้ ที่
7.ความตอ้ งการเติมเต็มให้ทีมสามารถดำเนนิ งานไดบ้ รรลุผลสำเร็จ
- แลกเปลี่ยนกระบวนการทำงาน พชอ. นำเสนอผลการดำเนนิ งานทุกอำเภอ
- อบรมให้ความรู้ เรื่อง “กระบวนการทำงาน ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ” และการทำงานใน
สถานการณ์การแพร่ระบาด Covid - 19
2.ระยะที่ 2 จัดอบรมพัฒนาศักยภาพและเสริมพลังคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับ
อำเภอ(พชอ.) และมีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เสริมเติมเต็มกระบวนการทำงาน จัดนิทรรศการผลงาน
พชอ. กลุ่มเปา้ หมาย ทีม พชอ. 10 แหง่ ๆละ 7 คน ประกอบดว้ ย เลขา พชอ. 1 คน ผู้ชว่ ยสาธารณสุข
อำเภอ 1 คน นายอำเภอ/ตัวแทนจากกระทรวงมหาดไทย 1 คน ตวั แทนหนว่ ยงานภาครัฐตามประเดน็
ปัญหา 1 คน ปราชญ์ชาวบ้าน/ตัวแทนภาคประชาชน 1 คน อนุกรรมการ 2 คน วิทยากร ผู้จัดการ
ประชมุ และผ้เู กีย่ วข้อง รวม 80 คน ระยะเวลา 2 วัน
ผลการดำเนนิ งาน : จัดอบรมฯ และแลกเปล่ียนเรียนรู้ จัดนิทรรศการผลงาน พชอ. วันที่ 13-
14 สิงหาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 89 คน โดยมี นายนพฤทธิ์ ศิริโกศล รองผู้ว่าราชการ
จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธานและวิทยากรร่วมเสวนาประเด็น “กระบวนการทำงาน พชอ.ให้
สำเร็จ”
1) เสวนาประเด็น“กระบวนการทำงาน พชอ.ใหส้ ำเรจ็ ”
-ประชาชนในพืน้ ท่ีต้องมสี ่วนร่วม ท้องถนิ่ ทอ้ งท่ี ร่วมกนั ดำเนินงาน รว่ มแก้ไข
-ทุก พชอ. ต้องนำข้อมูล สถิติ มาวิเคราะห์ร่วมกัน เช่น อุบัติเหตุ ต้องมีสถิติ การชน การ
บาดเจบ็ ตาย กคี่ น ก่คี รง้ั อายุเท่าไร ระยะเวลาเกดิ เป็นต้น
-นายอำเภอเป็นทั้งประธาน เป็นที่ปรึกษา เป็นพี่เลี้ยง รับฟัง และพูดคุย ปรับเปลี่ยน ตาม
คำแนะนำ

186 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 3ี่ 1

-จากตน้ แบบการจดั การขยะ อบต.บ้านดอน มีการคดั แยกขยะตั้งแต่ตน้ ทาง มกี ารประเมินผล
และแจ้งให้ทราบ มกี ารขับเคล่ือนดว้ ยกนั และสร้างวินยั ของตวั เอง

-เรียนรู้จากสถานการณ์ Covid-19 ในพื้นที่อ.อู่ทอง: Covid-19 ทำให้รู้พลังของผู้ที่ตั้งใจจริง
หน่วยงาน อปท. มอบให้นายกเป็นประธานทุกตำบล ปลัด อบต. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน มีนายอำเภอเป็น
พีเ่ ลีย้ ง ต้งั ด่าน 2 ชุด มนี โยบายเคลื่อนท่ี มรี ะบบ social distancing และใชร้ ะบบสงั คมควบคมุ กนั เอง
ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งปิดตลาดนัด ทำให้ประชาชนไม่สามารถจับจ่ายซื้อขายได้สะดวก จึงเกิดความ
ร่วมมือของประชาชนสูง จัดเตรียมอปุ กรณ์พรอ้ มใช้ ตรวจติดตามในพื้นท่ีบอ่ ย มีทีมอสม.เขม้ แข็งและ
ผู้นำชุมชนออกตรวจติดตาม มีทีมจังหวดั เขม้ แขง็ ผู้ว่าราชการจังหวัดลงตรวจเย่ียมที่ตำบลจระเข้สาม
พัน และมีการมอบหมายงานที่ชัดเจนจะช่วยลดช่องว่างระหว่างหน่วยงาน เช่น การรายงานตัว ให้
รายงานตัวที่ผู้ใหญ่บ้าน การสัมภาษณ์ ให้อสม.รับผิดชอบ ถ้าไม่ให้ความร่วมมือต้องแจ้งความ ให้
ผู้ใหญ่บ้านรายงานไปที่อำเภอ ปลัดอำเภอจะเป็นผู้แจ้งความ ดังนั้น การดำเนินงาน พชอ.ใน
สถานการณ์ Covid-19 ก็ตอ้ ง new normal ใชก้ ารทำงานแบบประสานทุกฝ่าย

2) ทำอย่างไร การแกป้ ัญหาประเดน็ พชอ.ในพื้นที่ จงึ จะบรรลุผลสำเร็จแบบ Covid-19
-ต้องสร้างแรงกดดันทางสังคมในพื้นที่ พยายามพูดในทุกเวที ทุกกิจกรรมเพื่อสร้างจิตสำนึก
ร่วม แตอ่ าจไม่เทา่ Covid-19 เพราะมีกฎหมายและสถานการณ์บงั คับ
-ต้องอาศัยเวทีอื่นด้วย ทั้งในที่ประชุมกำนันผู้ใหญ่บ้าน, ศปถ. ใน Event ใหญ่ๆ ต้อง
สอดแทรก เพอ่ื ให้ประชาชนรสู้ กึ จะเกิดการตอบรับไดด้ ี และอาจใชส้ ือ่ จูงใจอืน่ ๆ ชว่ ย
สรปุ : สงิ่ ที่ได้จากการอบรมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้
1.ยึดประชาชนเป็นหวั ใจหลกั + ผู้นำท้องถิน่ /ทอ้ งที่
2.ประเดน็ รว่ ม ปัญหารว่ ม ประโยชน์รว่ ม จะทำใหข้ บั เคล่อื นได้ดี
3.สือ่ สารเนน้ ย้ำในท่ีประชุมตา่ งๆ, ส่ือสารสว่ นตวั จะเหน็ รปู ธรรมในการแกไ้ ข/ดำเนินการ
4.มีกฎหมายบังคบั หรอื อาจใชม้ าตรการชมุ ชน
ข้อคิดจากผูร้ ่วมเสวนา :
1.ฝากสถานการณภ์ ยั ทกุ เรื่อง ในปี 2564 ภัยแล้งจะได้รับผลกระทบรุนแรง
2.ฝากเลขาพชอ.ชงข้อมูล นำประเด็นคุยกับนายอำเภอนอกรอบ เมื่อมีการประชุม
ผรู้ บั ผิดชอบรายประเด็นนำเสนอในที่ประชุมดูความก้าวหนา้ และบคุ คลภายนอกรับรู้ เพื่อให้เกดิ ความ
รว่ มมือ หลายเรื่องไม่ต้องใช้งบประมาณ “เลขาเกง่ ประธานรู้เร่ือง ทมี งานเข้มแข็ง”
3.ทำอย่างไร พชอ.ระดับอำเภอ จะขับเคลื่อนประเด็นได้ทุกตัว, ฝากเรื่องมีวินัย มีน้ำใจ ทำ
จรงิ และ ทำอย่างไร พชอ.ของสุพรรณบรุ ี จะขบั เคลอ่ื นไประดับต้นๆของประเทศ
4.พชอ.จะเดินอยา่ งไร และอยอู่ ยา่ งไร Covid-19 เป็นตัวทดสอบ ถา้ สุพรรณบุรตี ้องปิด จะทำ
อยา่ งไร เรามีอาหาร ยา เครือ่ งอปุ โภคบริโภคหรอื ไม่ เราตอ้ ง“พง่ึ ตัวเอง พนื้ ทเ่ี ราเอง”
ผลงานเด่น: อำเภอศรีประจนั ต์ ได้รบั รางวัลอำเภอตัวอยา่ งในการพฒั นา พชอ. ดเี ดน่ ปี 2561

อำเภอสองพนี่ ้อง ได้รับรางวัลอำเภอตวั อยา่ งในการพฒั นา พชอ. ดเี ด่น ปี 2562
อำเภออู่ทอง ไดร้ ับรางวัลชนะเลศิ การประกวดบธู ผลการดำเนนิ งานพชอ.ดีเด่น ปี 2563
อำเภอดอนเจดีย์ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 และอำเภอเดิมบางนางบวช รางวัลรองชนะเลิศ
อนั ดับ 2

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 187


บทที่ 3 PP&P Excellence

สรุปการเบิกจ่ายงบประมาณในการขบั เคลอื่ นการดำเนนิ งาน พชอ.
งบประมาณจากสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้รับการจัดสรร อำเภอละ 20,000 บาท

รวมเป็นเงิน 200,000 บาท โดยใช้ในการจัดประชุมคณะกรรมการ พชอ. อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี ได้
ดำเนินการจัดประชุมไปแล้วอำเภอละ 1-4 ครั้ง และใช้ในการควบคุมป้อง Covid-19 รวมเป็นเงิน
200,000 บาท คิดเปน็ ร้อยละ 100

งบประมาณจากสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อการพัฒนาศักยภาพและเสริมพลัง
พชอ. อำเภอละ 10,000 บาท โดยให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพ
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2564 รวมเป็นเงิน
100,000 บาท ดำเนนิ การเรียบร้อยแล้ว คดิ เปน็ ร้อยละ 100

งบประมาณจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด มีการประชมุ คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนา
พชอ.จังหวัดสุพรรณบุรีและผู้เกี่ยวข้อง 1 ครั้ง และเยี่ยมเสริมพลังพชอ.ระดับจังหวัด รวมเป็นเงิน
6,000 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 100

4.การพฒั นาคุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.ตดิ ดาว)

1.สถานการณ์
จังหวัดสุพรรณบุรี มี รพ.สต. 174 แห่ง ปี 2560 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์ 5 ดาว จำนวน 25

แห่ง คิดเป็นร้อยละ 14.36 (เป้าหมายร้อยละ 10) ปี 2561 ผ่านเกณฑ์ 5 ดาว จำนวน 91 แห่ง
ผลงานสะสม 116 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 66.67 (เป้าหมาย25 เขตร้อยละ 50) ปี 2562 ผ่านเกณฑ์ 5
ดาว จำนวน 58 แห่ง ผลงานสะสม 174 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 100 ปี 2563 มี รพ.สต.ครบต้อง
ประเมินซ้ำ 25 แห่ง แต่เน่อื งจาก สถานการณโ์ ควดิ จึงไม่มกี ารประเมนิ
2.กจิ กรรมการดำเนินการ

1. จัดประชุมชแี้ จงนโยบายการดำเนนิ งาน รพ.สต.ตดิ ดาว ปี 2563 วนั ท่ี 7 มกราคม 2562
2. จดั ทำแผนพฒั นา (Road Map) รพ.สต.ติดดาว ปี 2562
3. อบรมครู ค ในระดบั จังหวัด จำนวน 110 คน และสนับสนนุ คมู่ ือ รพ.สต.ตดิ ดาว

วนั ที่ 31 มกราคม 2563

4. จดั ประชมุ ทมี พัฒนาคุณภาพ Lab จำนวน 35 คน วันที่ 7 มกราคม 2563
5. จัดตั้งทีมประเมนิ ระดบั จังหวัด 5 ทีมๆละ 7 คน
6. อำเภอจดั ตงั้ ทีมพเ่ี ลีย้ งและทีมประเมินระดบั อำเภอ ทกุ อำเภอครบ 10 แห่ง
7. รพ.สต.ประเมนิ ตนเอง มกราคม 2563

188 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 3ี่ 1

3.ผลการดำเนนิ งาน
ตารางแสดง ผลการประเมิน รพ.สต.ตดิ ดาว จำแนกรายอำเภอ จังหวัดสพุ รรณบุรี ปี 2563

จำนวน ผลงาน ผลงาน ผลงาน ผลงาน

ลำดบั อำเภอ รพ.สต. ระดับ 5 ดาว ระดับ 5 ดาว ระดับ 5 ดาว สะสมปี
ที่ ทงั้ หมด ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 2562 ร้อยละ

(แห่ง) (แหง่ ) (แห่ง) (แห่ง) (แหง่ )
1 เมืองสพุ รรณบรุ ี 29 12 29 100
4 13

2 เดิมบางนางบวช 20 2 8 10 20 100

3 ด่านช้าง 16 2 8 6 16 100

4 บางปลามา้ 17 2 7 8 17 100

5 ศรีประจันต์ 14 2 5 7 14 100

6 ดอนเจดีย์ 9 2 6 1 9 100

7 สองพ่ีน้อง 25 4 21 0 25 100

8 สามชุก 13 2 5 6 13 100

9 อู่ทอง 22 4 14 4 22 100

10 หนองหญ้าไซ 9 1 4 4 9 100

รวม 174 25 91 58 174 100

ตารางแสดง ผลการประเมนิ สะสม รพ.สต.ตดิ ดาว จำแนกรายอำเภอ จงั หวดั สุพรรณบุรี ปี 2563

ลำดับ อำเภอ จำนวน ผลงานสะสม ผลงานสะสม ผลงานสะสม รอ้ ยละ
ท่ี รพ.สต. ระดบั 5 ดาว ระดบั 5 ดาว ระดบั 5 ดาว
ทัง้ หมด 100
(แห่ง) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 100
(แหง่ /ร้อยละ) (แหง่ /รอ้ ยละ) (แห่ง)เป้าหมาย 100
1 เมอื งสพุ รรณบรุ ี 29 100
2 เดมิ บางนางบวช 20 เปา้ หมาย เปา้ หมาย ร้อยละ60 100
3 ดา่ นช้าง 16 ร้อยละ10 ร้อยละ 25 เขต 50 เขต100 100
4 บางปลาม้า 17 4/13.79 100
5 ศรปี ระจันต์ 14 17/58.62 29 100
6 ดอนเจดยี ์ 9 2/10 100
7 สองพนี่ ้อง 25 10/50 20 100
8 สามชุก 13 2/12.5 16 100
9 อู่ทอง 22 10/62.5
10 หนองหญ้าไซ 9 2/11.76 17
174 9/52.94
รวม 2/14.28 14
7/50 9
2/22.22
8/88.88 25
4/16
25/100 13
2/15.38
7/53.84 22
4/18.18
18/81.81 9
1/11.11
5/55.55 174
25/14.36
116/66.66

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 189


บทท่ี 3 PP&P Excellence

5.การพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจัดการภาครฐั ( PMQA ) ปี 2563

วัตถุประสงค์
1.เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง

สาธารณสุข
2.นำเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมาพัฒนาองค์กรติดตามและประเมินผลของส่วน

ราชการ
3.เป็นตวั ชวี้ ัดท่ี 55 รอ้ ยละความสำเรจ็ ของสว่ นราชการดำเนนิ การผ่านเกณฑ์ ระดับ 5 รอ้ ยละ 90

สิง่ ทีด่ ำเนินการ
1. จัดทำลักษณะสำคัญขององค์การ จำนวน 13 คำถาม
2. ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ดำเนินการหมวด 3, หมวด 6 และคงรักษาสภาพ (Maintain)

หมวด 1, 2, 4, 5 ทดี่ ำเนินการแล้ว
3. นำโอกาสในการปรับปรุง (Opportunity For Improvement: OFI) ที่ได้จากการประเมิน

องค์การด้วยตนเอง (Self-Assessment)เทียบกับเกณฑ์ฯ มาจัดทำแผนพัฒนาองค์การหมวดละ 1
แผน

4. กลมุ่ พัฒนาระบบบรหิ าร สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข กำหนดตัวชวี้ ัดบังคับ หมวดละ
2 ตัวชวี้ ดั ใชว้ ดั ผลการดำเนนิ งานของส่วนราชการ

5. ให้ส่วนราชการกำหนดตัวชี้วัดขึ้นเองหมวดละ 3 ตัวชี้วัด ตามหัวข้อการพัฒนาคุณภาพการ
บริหารจัดการภาครัฐ หมายถึง การดำเนินการพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การองค์การตามแนวทาง
เกณฑค์ ุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั พ.ศ.2558 (Public Sector Management Quality Award
: PMQA) ประกอบด้วยเกณฑ์ฯ หมวด 7 ให้มีความสอดคล้องกบั OFI พรอ้ มจัดทำรายละเอียดตัวช้ีวัด
(KPI Template)

6. ดำเนนิ การตามแผนพัฒนาองค์การของสว่ นราชการ
7. จัดส่งเอกสารผลการดำเนินงาน รอบ 3, 6, 9 และ 12 เดือน ให้กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ภายในระยะเวลาท่ีกำหนด

ผลการดำเนินงาน รอบ 3 เดือน

1.ทบทวนคำส่ังคณะกรรมการสง่ เสริมการพฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั (PMQA)
ของสำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี ประจำปี 2563

2.จัดประชมุ คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั (PMQA)
ของสำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี ประจำปี 2563 ในวันที่ 9-11 ธนั วาคม 2562

3.ประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารการพฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั (PMQA ให้กบั
ผ้รู ับผิดชอบงานของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอๆละ 3 คน ในวันท่ี 16 ธันวาคม 2562

กิจกรรมท่ีดำเนินการจัดประชมุ ประกอบด้วย
1.จดั ทำรายงานลักษณะสำคัญขององคก์ รครบ 13 คำถาม
2.มผี ลการประเมินองค์กร(Self-Assessment) เทยี บกับเกณฑ์ หมวด 3 และหมวด 6 และ
คงรักษาสภาพ (Maintain) หมวด 1, 2, 4, 5

190 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 3ี่ 1

3.จดั ทำแผนพัฒนาองค์การหมวด 3 กับหมวด 6 อยา่ งละ 1 แผน
4.กำหนดตวั ชีว้ ัดหมวด 3 กับหมวด 6 ได้ครบถ้วนและกำหนดเองหมวดละ 3 ตัว
- สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ดำเนินการ หมวด 6 ประชุมคณะกรรมการการแพทย์
ฉุกเฉิน
- สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี และสำนักงานสาธารณสขุ อำเภอทุกอำเภอ รายงาน
ผลงานทันตามท่ี กพร.กำหนด
- ผลการดำเนินงาน รอบ 6 เดอื น

- สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี หมวด 3 มีการทบทวนรูปแบบ/วิธีการสำรวจความ
พึงพอใจของผรู้ บั บริการและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี ตามวิธกี ารของผรู้ ับผดิ ชอบ และดำเนินการสำรวจ

- หมวด 6 ประชุมเครือข่าย EMS จังหวัดระดับปฏิบัติการ FR ขึ้นไป จัดหาชุดอุปกรณ์ฝึก
ปฏบิ ตั ิ CPR และ AED เคลอ่ื นที่ให้กับวทิ ยากร ครู ก ทกุ อำเภอ จัดหาชดุ ปฏิบัตกิ าร(เสอ้ื กกั๊ ) EMS ทีม
อำนวยการและทีมปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน พร้อมทั้งจัดงบประมาณสนับสนุนการพัฒนาระบบ
การแพทย์ฉุกเฉิน กิจกรรมประเมินสมรรถนะและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สนับสนุนที่ตั้งหน่วยปฏบิ ัติการ
ฉุกเฉินระดับพื้นที่ สนับสนุนป้านประชาสัมพันธ์ 1669 ให้ประชาชนเข้าถึงบริการ ลงพิกัดประชาชน
กลุ่มเส่ยี ง Stroke STEMI Sepsis

- นิเทศติดตามผลการดำเนนิ การตามแผนงานของ สสอ. ทง้ั 10 อำเภอ

ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน

- หมวด 3 เผยแพร่ผลการสรุปแบบสำรวจใหผ้ ู้เกยี่ วขอ้ งดำเนินการปรับปรุงในส่วนท่ีไมผ่ ่าน
เกณฑ์

- หมวด 6 จดั ทำคู่มอื ฉุกเฉินชุมชน และแผ่นพับให้ประชาชนใช้ประโยชน์
- นิเทศตดิ ตามผลการดำเนนิ การตามแผนงานของ สสอ.ทกุ อำเภอทัง้ 10 อำเภอ ดำเนนิ การ
พฒั นาองคก์ รได้มากกวา่ ร้อยละ 90 และรายงานทนั ตามท่ี กพร.กำหนด
ผลการดำเนนิ งาน รอบ 12 เดือน

- ร้อยละความถกู ต้องครบถว้ นของข้อมูลในแบบสำรวจความพงึ พอใจและความไม่พงึ พอใจ
ของผู้รบั บรกิ ารและผ้มู สี ่วนได้สว่ นเสีย

- ประชาชนเขา้ ถึงบรกิ ารการแพทย์ฉกุ เฉนิ
สสจ.สพุ รรณบรุ ี และสสอ.ทุกอำเภอ ดำเนนิ การพัฒนาองค์กรไดร้ ้อยละ 100 และรายงานทัน
ตามที่ กพร.กำหนด

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 191


บทท่ี 3 PP&P Excellence

6. การดำเนนิ งานการพฒั นาคุณภาพระบบบรกิ าร จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2563

1. วิเคราะห์สถานการณ์

1.1 ดา้ นโครงสร้าง
จังหวัดสุพรรณบุรี มีโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 10 แห่ง

ประกอบด้วย โรงพยาบาลศูนย์ (ระดับ A) จำนวน 1 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป (ระดับ M1)
จำนวน 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชนแม่ข่าย (ระดับ M2) จำนวน 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่
(ระดับ F1) จำนวน 2 แหง่ และโรงพยาบาลชมุ ชนขนาดกลาง (ระดบั F2) จำนวน 5 แหง่ รายละเอียด
ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 แสดงจำนวนโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

ลำดบั โรงพยาบาล การจดั ระดบั ศกั ยภาพบริการ เพื่อรองรับการส่งต่อ

1. เจา้ พระยายมราช ระดบั A รพ.ศนู ย์
2. สมเด็จพระสงั ฆราช องคท์ ี่17 ระดับ M1 รพ.ทว่ั ไปขนาดเล็ก
3. อู่ทอง ระดับ M2 รพ.ชุมชนแม่ข่าย
4. ดา่ นชา้ ง ระดับ F1 รพ.ชุมชนขนาดใหญ่
5. เดิมบาง ระดับ F1 รพ.ชมุ ชนขนาดใหญ่
6. บางปลามา้ ระดบั F2 รพ.ชุมชนขนาดกลาง
7. ดอนเจดีย์ ระดบั F2 รพ.ชมุ ชนขนาดกลาง
8. ศรีประจันต์ ระดบั F2 รพ.ชมุ ชนขนาดกลาง
9. สามชุก ระดบั F2 รพ.ชมุ ชนขนาดกลาง
10. หนองหญา้ ไซ ระดบั F2 รพ.ชมุ ชนขนาดกลาง

192 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 3่ี 1

1.2 ดา้ นการพัฒนาคุณภาพ

จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงพยาบาลทุกระดับมีการพัฒนา
คุณภาพ ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขมาอย่างตอ่ เนื่อง โดยโรงพยาบาลทุกแห่งมีการพัฒนา
คณุ ภาพตามมาตรฐานท่ีกำหนดอย่างเป็นรูปธรรม ไดแ้ ก่ การพัฒนาระบบบริหารคุณภาพโรงพยาบาล
มาตรฐาน HA ของสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) การพัฒนาคุณภาพ
ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ซึ่งประกอบด้วย งานห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุข และงาน
ห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย ซึ่งงานห้องปฏิบัติการชันสูตรโรงพยาบาลมีการพัฒนาคุณภาพตาม
มาตรฐาน LA ของสภาเทคนิคการแพทย์ และตามมาตรฐานห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ของ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ งานห้องปฏบิ ัตกิ ารรังสีวินจิ ฉยั มีการพัฒนาคุณภาพ
ตามเกณฑ์และแนวทางการพัฒนาคุณภาพงานรังสีวินิจฉัยของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง
สาธารณสุข

2. การดำเนนิ งานและสรุปผลการดำเนนิ งานตามตวั ช้วี ัดปีงบประมาณ 2563

2.1 การพฒั นาคุณภาพโรงพยาบาลตามมาตรฐาน HA
จงั หวัดสพุ รรณบุรีไดด้ ำเนนิ การพัฒนาคณุ ภาพโรงพยาบาลทัง้ 10 แห่ง ดงั นี้
1) จัดทำแผนงาน/โครงการพัฒนาคณุ ภาพ รพ. ปี 2563
2) ทบทวนคำสงั่ คณะกรรมการฯ พัฒนาคณุ ภาพ รพ.(HA) ระดบั จงั หวดั เมอื่ วันที่ 20

กมุ ภาพันธ์ 2563
3) ประชุมคณะกรรมการพฒั นาคุณภาพโรงพยาบาล เครือข่ายจังหวดั สพุ รรณบุรี ทุก 6

เดือน

- ครั้งที่ 1/2563 วันท่ี 25 ธนั วาคม 2562
- ครงั้ ท่ี 2/2563 วันที่ 26 สิงหาคม 2563
4) จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ “เรื่องการเรียนรู้มาตรฐาน HA ใหม่/แบบประเมิน 2020
และ Update tools Quality เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563 ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
สุพรรณบรุ ี
5) จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ Provincial learning network เพื่อพัฒนาศักยภาพทีม
QLN และเครือข่ายผู้ประสานงานพัฒนาคุณภาพสถานพยาบาล เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2563 ณ สำนักงาน
สาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี
6) จัดการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลอย่าง
ต่อเนื่อง (CQI) จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2563 ในวันที่ 21 กรกฎาคม 2563 ณ สำนักงานสาธารณสุข
จงั หวดั สุพรรณบรุ ี
7) รพ.ทกุ แหง่ ดำเนนิ การพฒั นาคุณภาพรพ.ตามแผนพัฒนาคุณภาพ ของแต่ละรพ.ท่ีได้
วางแผน

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 193


บทท่ี 3 PP&P Excellence

ผลงานการรบั รองคณุ ภาพตามมาตรฐาน HA ของจังหวัดสุพรรณบรุ ี
- โรงพยาบาลศูนย์/ โรงพยาบาลทั่วไป ที่ผ่านการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน HA ขั้น 3 มี
จำนวน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 (ผ่านเกณฑ์) ได้แก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช และโรงพยาบาล
สมเด็จพระสงั ฆราชองค์ท่ี 17
- โรงพยาบาลชุมชนที่ผ่านการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน HA ขั้น 3 มีจำนวน 8 แห่ง คิด
เปน็ รอ้ ยละ 100 (ผ่านเกณฑ)์ ได้แก่ โรงพยาบาลเดมิ บางนางบวช, โรงพยาบาลด่านชา้ ง, โรงพยาบาลบาง
ปลาม้า, โรงพยาบาลศรปี ระจันต,์ โรงพยาบาลดอนเจดยี ์, โรงพยาบาลสามชุก, โรงพยาบาลอู่ทองและ
โรงพยาบาลหนองหญา้ ไซ รายละเอียดดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 แสดงการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามมาตรฐาน HA จงั หวัดสุพรรณบรุ ี จำแนกราย

โรงพยาบาล

ลำดับที่ โรงพยาบาล HA
ขั้น 3 วดป.หมดอายุ

1. รพศ.เจ้าพระยายมราช 14 ธ.ค. 61 (Re-ac3) 13 ธ.ค. 64
2. รพท.สมเดจ็ พระสังฆราช องคท์ 1ี่ 7 27 มี.ค.63 (Re-ac3) 26 ม.ี ค.64
3. รพช.เดมิ บางนางบวช 16 ต.ค. 61 (Re-ac1) 15 ต.ค. 64
4. รพช.ดา่ นชา้ ง 10 เม.ย. 61 (Re-ac2) 9 เม.ย. 64
5. รพช.บางปลามา้ 25 ก.ย. 61 (Re-ac1) 24 ก.ย. 64
6. รพช.ศรปี ระจนั ต์ 28 พ.ค. 62 (Re-ac2) 27 พ.ค. 65
7. รพช.ดอนเจดยี ์ 12 ก.ย. 60 (Re-ac2) 11 ก.ย. 63
8. รพช.สามชกุ 17 พ.ย.62 (Re-ac2) 18 พ.ย. 65
9. รพช.อ่ทู อง 20 ธ.ค.59 (Re–ac2) 19 ธ.ค. 62
10. รพช.หนองหญ้าไซ 30 เม.ย. 64
1 พ.ค. 63
รวม
10

194 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 3่ี 1

2.2 ผลงานการพฒั นาคุณภาพห้องปฏบิ ัติการทางการแพทย์

การพัฒนาคณุ ภาพเครือข่ายห้องปฏบิ ัตกิ ารทางการแพทย์ (Lab) ได้ดำเนินการดังนี้
1) ทบทวนและแต่งตั้งคณะกรรมการฯ ปี 2563 ระดบั จังหวัด เม่อื วันท่ี 20 มกราคม
2563
2) ประชมุ คณะกรรมการฯ ทุก 6 เดอื น

- คร้ังที่ 1/2563 วันที่ 3 ธันวาคม 2562
- ครง้ั ที่ 2/2563 วันที่ 21 สิงหาคม 2562
3) ออกนิเทศติดตามประเมินคุณภาพ ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ของ รพ. ทุกแห่ง
ระหว่างวันที่ 6–28 กุมภาพันธ์ 2563
4) ดำเนนิ การพัฒนาคณุ ภาพห้องปฏิบตั กิ ารชันสูตร รพ.อยา่ งต่อเนือ่ ง

ผลงานการพฒั นาคณุ ภาพห้องปฏบิ ัติการทางการแพทย์ตามเกณฑ์มาตรฐาน LA

- รพ.ที่มีการพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการผ่านการรับรองตามเกณฑม์ าตรฐาน LA ของ
สภาเทคนิคการแพทยป์ ีงบประมาณ 2563 จำนวน 2 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 20 ได้แก่ รพ.เจ้าพระยายม
ราช และรพ.บางปลาม้า

ผลงานการพัฒนาห้องปฏิบตั ิการทางการแพทยต์ ามมาตรฐานของกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์
กระทรวงสาธารณสขุ

- ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ที่ผ่านการรับรองตามมาตรฐานของกรมวิทยาศาสตร์
การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ของจังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ได้แก่
รพ.เจา้ พระยายมราช, รพ.สมเด็จพระสงั ฆราชองคท์ ่ี 17, รพ.ด่านชา้ ง, รพ.บางปลาม้า, รพ.ศรปี ระจนั ต์
, รพ.ดอนเจดยี ์, รพ.สามชกุ , รพ.อทู่ อง, รพ.เดมิ บางนาวบวช และรพ.หนองหญ้าไซ

ผลงานการพัฒนาคุณภาพหอ้ งปฏิบัตกิ ารทางการแพทย์ ใน รพ.สต.

- การพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ใน รพ.สต.มีมาอย่างต่อเนื่อง การ
ประเมินคุณภาพงานห้องปฏิบัติการชันสูตรใน รพ.สต.ปีงบประมาณ 2563 ใช้เกณฑ์ รพ.สต.ติดดาว
ดำเนินการประเมิน รพ.สต.ทั้ง 10 อำเภอ จำนวน 174 แห่ง ผลการดำเนินงาน พบว่า ผ่านเกณฑ์
จำนวน 174 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ของรพ.สต. ทัง้ หมด (174 แหง่ )

2.3 ผลงานการพฒั นาคุณภาพห้องปฏบิ ตั กิ ารรงั สีวนิ จิ ฉยั

การพัฒนาคุณภาพหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารรงั สวี ินจิ ฉยั ได้ดำเนินการดงั นี้
1) ทบทวนและแตง่ ตัง้ คณะกรรมการฯ ปี 2563
2) ประชมุ คณะกรรมการฯ ทุก 6 เดือน

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 195


บทที่ 3 PP&P Excellence

- ครั้งท่ี 1/2563 วนั ที่ 11 กมุ ภาพนั ธ์ 2563
- คร้งั ท่ี 2/2563 วนั ที่ 29 มิถุนายน 2563
3) การออกนิเทศติดตามประเมินรับรองการพัฒนาคุณภาพงานห้องปฏิบัติการรังสี
วินจิ ฉัยในโรงพยาบาล ออกตรวจเย่ียมโรงพยาบาลทกุ แห่ง ระหว่างวนั ที่ 18-22 พฤษภาคม 2563

ผลงานการพฒั นาคณุ ภาพหอ้ งปฏิบัติการรังสวี นิ จิ ฉัย

- หอ้ งปฏบิ ตั ิการรังสวี นิ จิ ฉยั ใน รพ. ผา่ นเกณฑ์การรับรองตามมาตรฐานของ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ทงั้ 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ได้แก่ รพ.เจา้ พระยา
ยมราช, รพ.สมเด็จพระสงั ฆราชองค์ท่ี 17, รพ.ด่านชา้ ง, รพ.บางปลาม้า, รพ.ศรีประจนั ต,์ รพ.ดอนเจดยี ์
, รพ.สามชุก, รพ.อู่ทอง, รพ.เดิมบางนางบวช และรพ.หนองหญา้ ไซ

2.4 ผลงานการลดระยะเวลารอคอย

ผลงานการลดระยะเวลารอคอย ตามที่กระทรวงสาธารณสุข กำหนดแผนการตรวจราชการ
กระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2563 เพื่อเป็นแนวทางการตรวจ กำกับ ติดตาม และ
ประเมินผลการปฏิบัตงิ านตามยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข และนโยบายทส่ี ำคัญในปีงบประมาณ
2563 รวมทั้งแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในแต่ละพื้นทีใ่ ห้มีประสิทธภิ าพและประสิทธิผลตามเป้าหมายท่ี
กำหนด โดยมปี ระเดน็ ทมี่ งุ่ เนน้ คอื 1) Agenda based (นโยบายรฐั บาล ผ้บู ริหารระดับสูง ยุทธศาสตร์
ชาติ) ประกอบด้วย 2 ประเด็น คือ โครงการพระราชดำริ และกัญชาทางการแพทย์และสมุนไพรเพื่อ
เศรษฐกิจ 2) Functional based (ระบบงานของหน่วยบริการ)ประกอบด้วย 2 ประเด็น คือ สุขภาพ
กลุ่มวัย และลดแออัด ลดรอคอย 3) Area based (ปัญหาสำคัญของพื้นที่) ให้แต่ละเขตสุขภาพ
คัดเลือกประเด็นที่เป็นปัญหาสำคัญของพื้นที่ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายดังกล่าว สำนักงาน
สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี จงึ ได้เก็บข้อมูล ระยะเวลาการรอคอยของผู้มารับบริการท่ีแผนกผู้ป่วยนอก
ปี 2563 ในเดือนเมษายน และสงิ หาคม โดยมีขอ้ มูลเปรียบเทียบรายละเอียดตามตารางท่ี 3-6

196 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 3่ี 1

ตารางที่ 3 ตารางเปรยี บเทียบระยะเวลารอคอยรพ.ระดับ A – M1 (หน่วย: นาที)

ขน้ั ตอน รพ.เจา้ พระยายมราช (A) รพ.สมเด็จพระสังฆราช ฯ (M1)
เดอื นเมษายน เดือนสิงหาคม เดือนเมษายน เดือนสงิ หาคม

1.ระยะเวลารอบตั ร (นาท)ี 0 (ไม่ใชบ้ ตั ร) 0 (ไม่ใชบ้ ัตร) 04:10 05:00
2.ระยะเวลารอพยาบาล 45:54 (1) 54:25 (2) 35:00 (2) 20:00 (3)
3.ระยะเวลาพบพยาบาล 03:53 04:00 03:00
3:45

4.ระยะเวลารอตรวจ 45:43 (2) 65:53 (1) 39:00 (1) 25:00 (2)
5.ระยะเวลาพบแพทย์ 4:12 03:56 04:10 05:00

6.ระยะเวลารอรบั ใบสง่ั ยา 0 (ไม่มีใบสัง่ ยา) 0 (ไม่มีใบส่ังยา) - -
7.ระยะเวลารอรักษา 36:29 (3) 33:28 (3) 31:00 (3) 30:00 (1)
136:52 161:52 130:00 88:00
รวม (2:16:52) (02:41:34) (1:57:20) (01:28:00)
ระยะเวลารับบริการท้ังหมด

ตารางท่ี 4 ตารางเปรียบเทยี บระยะเวลารอคอยรายรพ. M2 - F1 (หน่วย: นาที)

ขน้ั ตอน รพ.อทู่ อง (M2) รพ.ดา่ นช้าง (F1) รพ.เดิมบางนางบวช (F1)
เมษายน สิงหาคม เมษายน สงิ หาคม เมษายน สิงหาคม
1.ระยะเวลารอบตั ร(นาที) 01:50 00:28 0:08 00:01 0:35 00:30
2.ระยะเวลารอพยาบาล 33:37 (2) 26:00 (2) 33:19 (1) 51:02 (1) 26:55 (2) 24:23 (2)
3.ระยะเวลาพบพยาบาล 08:40 07:81 03:09 10:01 04:08 03:56
4.ระยะเวลารอตรวจ 39:00 (1) 27:89 (1) 20:46 (3) 39:44 (2) 40:51 (1) 32:13 (1)
5.ระยะเวลาพบแพทย์ 03:33 03:67 08:16 07:38 3:20 03:24
6.ระยะเวลารอรับใบสง่ั ยา 01:0 01:00
7.ระยะเวลารอรกั ษา -- 30:15 (3) 16:17 (3) --
รวมระยะเวลารับบริการ 10:69 (3) 13:03 (3) 87:32 125:03 6:12 (3) 09:49 (3)
ทง้ั หมด 86:03 79:08 (1:26:92) (02:05:03) 82:01 92:15
(01:26:03) (01:19:08) (1:22:01) (01:32:15)

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 197


บทท่ี 3 PP&P Excellence

ตารางท่ี 5 ตารางเปรยี บเทียบระยะเวลารอคอยรพ.ระดบั F2 (หนว่ ย : นาที)

ข้ันตอน รพ.สามชุก (F2) รพ.ศรีประจนั ต์ (F2) รพ.ดอนเจดีย์ (F2)
1.ระยะเวลารอบตั ร(นาที)
เมษายน สิงหาคม เมษายน สงิ หาคม เมษายน สงิ หาคม
01:00 01:00 10:00 04:00 0:17 0:16

2.ระยะเวลารอพยาบาล 12:00 (2) 13:00 (2) 43:00 (1) 17:00 (2) 26:52 (2) 35:27 (1)

3.ระยะเวลาพบพยาบาล 03:00 02:00 04:00 03:00 05:20 05:19

4.ระยะเวลารอตรวจ 16:00 (1) 35:00 (1) 34:00 (2) 31:00 (1) 27:33 (1) 25:09 (2)

5.ระยะเวลาพบแพทย์ 02:00 01:00 06:00 06:00 03:45 02:43

6.ระยะเวลารอรบั ใบส่งั ยา 01:00 01:00 - - - -

7.ระยะเวลารอรกั ษา 08:00 (3) 08:00 (3) 14:00 (3) 12:00 (3) 15:00 (3) 16:32 (3)

รวมระยะเวลารบั บริการ 43:00 61:00 113:00 73:00 76:53 83:04
ทง้ั หมด (01:01:01) (1:53) (01:13:00) (1:16:53) (1:23:04)

ตารางที่ 6 ตารางเปรียบเทียบระยะเวลารอคอย รพ.ระดบั F2 (หนว่ ย : นาที)

ข้นั ตอน รพ.บางปลามา้ (F2) รพ.หนองหญา้ ไซ (F2)
เมษายน สิงหาคม เมษายน สิงหาคม
1.ระยะเวลารอบัตร (นาท)ี 01:16 01:04 03:00 01:00
2.ระยะเวลารอพยาบาล 19:24 (1) 23:00 (2) 57:12 (1) 18:52 (2)
3.ระยะเวลาพบพยาบาล 04:09 04:00 04:39 04:38
4.ระยะเวลารอตรวจ 12:38 (2) 26:00 (1) 9:17 (3) 06:26 (3)
5.ระยะเวลาพบแพทย์ 03:20 05:03 06:18 04:24
6.ระยะเวลารอรบั ใบสง่ั ยา
7.ระยะเวลารอรักษา -- --
รวมระยะเวลารับบรกิ าร 11:27 (3) 15:00 (3) 20:48 (2) 20:12 (1)
ทั้งหมด 50:15 75:11 97:34 54:52
(1:37:34)
(01:15:11)

198 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 3ี่ 1

7. การดำเนนิ งานการพฒั นาคุณภาพระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) และระบบส่งตอ่
จงั หวดั สพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ 2563

1.สถานการณ์

จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดำเนินการพัฒนาขีดความสามารถของสถานบริการในแต่ละระดับโดย
จัดทำแผนพัฒนาระบบบริการของเครือข่าย ประกอบด้วยการวิเคราะห์ส่วนขาดของระบบบริการ
พรอ้ มการพัฒนาศักยภาพของสถานบรกิ ารสขุ ภาพอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้เกดิ ประโยชนต์ ่อประชาชน ใน
ปีงบประมาณ 2563 จึงเน้นการพัฒนาศักยภาพของสถานบริการสุขภาพทุกระดับ ให้เป็นไปตามขีด
ความสามารถท่ีควรเป็นในแต่ละระดับสถานบริการ และกระบวนการเชื่อมโยงถึงหน่วยบริการปฐมภูมิ
เพื่อการพัฒนาระบบบริการที่ตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพที่สำคัญทั้ง 20 สาขา ได้แก่ 1) สาขา
โรคหัวใจ 2) สาขามะเร็ง 3) สาขาอุบตั เิ หตุและฉุกเฉิน 4) สาขาทารกแรกเกิด 5) สาขาการรับบริจาค
และปลูกถ่ายอวัยวะ 6) สาขาแม่และเด็ก 7) สาขาออร์โธปิดิกส์ 8)สาขาศัลยกรรม 9) สาขาอายุรก
รรม 10)สาขาสุขภาพจิตและจติ เวช 11) สาขาสุขภาพช่องปาก 12) สาขาไต 13) สาขาตา 14) สาขา
โรคไม่ติดต่อ 15) สาขาระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ 16) สาขาการแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ผสมผสาน 17) สาขายาเสพติด 18) สาขาการดูแลระยะเปลี่ยนผ่านผู้ป่วยกึ่งเฉียบพลัน
(Intermediate Care) และการดูแลแบบประคับประคอง (PalliativeCare) 19) สาขาการพัฒนา
ระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล และ 20)สาขากัญชาทางการแพทย์ โดยการการพัฒนาทุก
ระดับตั้งแต่ความเชี่ยวชาญระดับสูง ตติยภูมิ ทุติยภูมิปฐมภูมิ และสร้างระบบที่เชื่อมโยงกันเป็น
เครือขา่ ย เพอื่ ให้การบริหารจัดการระบบบริการได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ เหมาะสมกบั บริบทแต่ละพื้นท่ี
ของจงั หวดั สพุ รรณบุรี

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 199


บทที่ 3 PP&P Excellence

ตารางแสดง จำนวนผู้ป่วยและอตั ราตายด้วยโรคท่สี ำคัญในการพฒั นา Service Plan จงั หวัดสพุ รรณบุรี
ปีงบประมาณ 2561 - 2563

ตวั ชวี้ ัด โรค ปงี บประมาณ 2561 ปงี บประมาณ 2562 ปีงบประมาณ 2563
ที่
ผู้ป่วย ตาย ร้อยละ ผู้ปว่ ย ตาย รอ้ ยละ ผู้ป่วย ตาย ร้อยละ
24 หลอดเลือดสมอง(I60-I69) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน)
เกณฑ์ < ร้อยละ 7
-แตก เกณฑ์ < ร้อยละ 25 3,035 377 11.10 3,330 350 10.57 3,398 346 10.18
-ตบี /ตัน เกณฑ์ < รอ้ ยละ 5
833 244 29.29 871 265 30.42 855 238 27.84
34 ตดิ เช้อื ในกระแสเลอื ดแบบ 1,685 76 4.51 1,844 73 3.96 2,044 92 4.50
รุนแรง เกณฑ์ < รอ้ ยละ 28 706 161 22.80 771 156 20.23
655 187 28.55
36 กลา้ มเนือ้ หวั ใจตายเฉียบพลนั 253 27 10.67 324 28 8.64
(STEMI) เกณฑ์ < รอ้ ยละ 9 256 33 12.89

2. สภาพปญั หา

ปญั หาระบบการสง่ ต่อผู้ปว่ ย

1. บางกรณพี บมปี ญั หาการส่งตอ่ ผ้ปู ว่ ยลา่ ชา้ จากระบบศนู ยป์ ระสาน โปรแกรมส่งต่อ และการวนิ ิจฉัย
2. แนวทางการสง่ ตอ่ สอ่ื สารไมต่ รงกันระหวา่ งโรงพยาบาลต้นทางกบั ปลายทาง และไม่ปฏบิ ตั ติ าม CPG

ปญั หาระบบบริการสขุ ภาพ Service Plan
1.การจดั เก็บข้อมูลในระบบ HDC บางตัวช้วี ดั ออกรายงานไมค่ รบสมบูรณ์
2. ปัญหาบุคลากร Service Plan ขาดทักษะ เนื่องจากโรงพยาบาลชุมชนบางแหง่ ยังไม่มีพยาบาล
เฉพาะทาง
3.การเข้าถึงบริการฉุกเฉิน STEMI Fast Track (door to needle time < 30นาที) ยังไม่ได้ตาม

เกณฑ์ เนอ่ื งจากโรงพยาบาลชมุ ชนบางแหง่ ไมม่ อี ายุรแพทย์ทำให้การวินิจฉัยล่าชา้

3.การดำเนินงาน

การดำเนินงาน ตามโครงการพัฒนาคณุ ภาพระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) และระบบส่ง
ต่อ จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2563

มาตรการ : 1 พฒั นาระบบสง่ ตอ่ ในเครือขา่ ยบรกิ ารสุขภาพ จงั หวัดสุพรรณบรุ ใี ห้มปี ระสิทธภิ าพ

กิจกรรมหลักที่ 1 การพัฒนาระบบสง่ ตอ่ จังหวดั สพุ รรณบุรี
กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะทำงานศูนย์ประสาน

ระบบส่งต่อจังหวัดสุพรรณบุรี ระดับจังหวัด/อำเภอ 1 ครั้ง เพื่อพัฒนาระบบ Refer In / Refer
Back รว่ มกนั ระหว่างโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลชุมชน ให้มีแนวทางชัดเจนในการปฏิบัติรับ-ส่ง
ต่อผูป้ ว่ ย จำนวน 52 คน งบประมาณ 7,500 บาท

200 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททที่ 3ี่ 1

กิจกรรมย่อยที่ 1.2 จัดทำคู่มือการประสานการส่งต่อผู้ป่วยจังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อเป็น
แนวทางในการประสานงานระหว่างเครือข่ายบริการสุขภาพของรัฐและเอกชนในจังหวัดสุพรรณบุรี
รวมทั้งเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาคุณภาพบริการงานส่งต่อให้มีประสิทธิภาพ จำนวน 16 เล่ม
งบประมาณ 1,680 บาท

กิจกรรมทีย่ ่อย 1.3 ประชุมวิชาการ Safety Transportaion ร่วมกับ Sevice Plan Trauma
และส่งต่อผู้ป่วย เพื่อพัฒนาบุคลากรในการดูแลผูป้ ่วยขณะส่งตอ่ ให้มีคุณภาพมาตรฐานและปลอดภยั
ในวันที่ 26 สงิ หาคม 2563 ผู้เขา้ รบั การอบรม 120 คน งบประมาณที่ 21,600 บาท

ผลลพั ธ์ที่ 1
1. มีระบบช่องทางการปรึกษาระหว่าง แพทย์โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาล
ชุมชน
2. โรงพยาบาลทกุ แห่งในจังหวดั สุพรรณบรุ มี แี นวทางการสง่ ต่อชดั เจน ตามคมู่ ือ CPG
3. ผปู้ ว่ ยได้รบั การดูแลรกั ษาอย่างมคี ณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานตามแนวทาง CPG
มาตรการ : 2 การพฒั นาคุณภาพระบบบรกิ ารสุขภาพ (Service Plan) ให้มคี ุณภาพมาตรฐาน
กิจกรรมหลักที่ 2 การพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ให้สอดคล้องกับแผน
นโยบายกระทรวงสาธารณสขุ และประเดน็ ปญั หาระบบบริการสุขภาพ

กิจกรรมย่อยที่ 2.1 ประชุมคณะทำงานการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
จังหวัดสุพรรณบุรี รายสาขาตามประเด็นปัญหา สาขาละครึ่งวัน โดยประชุมสรุปผลการดำเนินงาน
และปัญหาอุปสรรคปีที่ผ่านมา และชี้แจงนโยบายตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข และเสนอแนะ
แลกเปล่ียนความคิดเห็นการพฒั นาระบบบริการสุขภาพ และติดตามความกา้ วหน้าผลการดำเนินงาน
ปี 2563 ดงั นี้

- สาขา Palliative Care จำนวน 40 คน วันท่ี 11 ธันวาคม 2562 งบประมาณ 1,000 บาท
- สาขา สุขภาพจิตและจิตเวช จำนวน 35 คน วันที่ 26 ธันวาคม 2562 งบประมาณ 875
บาท
- สาขา Sepsis จำนวน 50 คน วันที่ 28 มกราคม 2563 งบประมาณ 1,250 บาท
- สาขา Intermediate Care จำนวน 40 คน วันที่ 9 มนี าคม 2563 งบประมาณ 1,000 บาท
- สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน จำนวน 50 คน วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2563 งบประมาณ 1,250
บาท
กิจกรรมย่อยที่ 2.2 ประชุมคณะทำงานภาพรวมพฒั นาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อประชุมชี้แจงนโยบายและแนวทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service
Plan) ตามตวั ชว้ี ดั /ตรวจราชการ รวมท้งั ตดิ ตามผลดำเนนิ งานและการเก็บขอ้ มลู ระบบบริการ
- ประธาน/เลขา/ผู้ประสาน รพศ. 1 ครั้ง จำนวน 50 คน วันที่ 19 ธันวาคม 2562
งบประมาณ 1,500 บาท
- คณะทำงานภาพรวม สสจ./รพ. ทุกแห่ง 1 ครั้ง จำนวน 91 คน วันที่ 24 ธันวาคม 2562
งบประมาณ 625 บาท
กจิ กรรมย่อยท่ี 2.3 อบรมให้ความร้เู พมิ่ ขดี ความสามารถบุคลากรในการพฒั นาระบบบริการ
สุขภาพ (Service Plan) จงั หวัดสพุ รรณบุรี

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 201


บทท่ี 3 PP&P Excellence

- สาขากุมารเวชกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “Nursing Management of Respiratory
Care” เพื่อพัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้สามารถประเมินอาการและดูแลผู้ป่วยเด็กโรคระบบทางเดิน
หายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ และลดอัตราตายโรคปอดบวมเด็กให้กับพยาบาลผู้รับผิดชอบดูแล
ผู้ป่วยเด็กโรคระบบทางเดินหายใจในโรงพยาบาลทุกแห่ง จำนวน 46 คน วันที่ 18 ธันวาคม 2563
งบประมาณ 9,900 บาท

- สาขา Intermediate Care อบรมเชิงปฏิบัติการฝึก ทักษะการกลืน เพื่อพัฒนาสมรรถนะ
บุคลากรในการให้บรบิ าลฟื้นฟูผูป้ ่วย Intermediate Care ที่มีปัญหาการกลนื ให้กับพยาบาลและนกั
กายภาพบำบัดของ โรงพยาบาลทุกแห่ง และ PCC จำนวน 44 คน วันที่ 10 มกราคม 2563
งบประมาณ 8,100 บาท

- สาขาไต ประชุมวิชาการ เรื่องแนวทางการใช้ยาลดความดันโลหิตและยาลดไขมันในผู้ป่วย
เบาหวาน/โรคไตเรื้อรัง เพื่อเพิ่มพูนความรู้ที่ทันสมัยสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสมและชะลอภาวะไตเสื่อม ให้กับบุคลากร แพทย์ เภสัชกร และพยาบาล ของ โรงพยาบาลทุก
แหง่ และ PCC จำนวน 74 คน วันท่ี 14 มกราคม 2563 งบประมาณ 3,300 บาท

กิจกรรมย่อยที่ 2.4 นิเทศงานบูรณาการ ระบบบริการสุขภาพ Service Plan และระบบส่ง
ตอ่

กิจกรรมย่อยท่ี 2.5 โรงพยาบาลแมข่ า่ ยเย่ียมสญั จรโรงพยาบาลชมุ ชน
กจิ กรรมยอ่ ยที่ 2.6 สรุปผลการดำเนินงานและวเิ คราะห์ปัญหา
ผลลัพธ์ที่ 2
1.สถานบริการสุขภาพทุกแห่งมีมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยตามศักยภาพแต่ละระดับการ

ให้บริการ ตามแนวทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ทุกสาขา มีการขับเคลื่อนไป

แนวทางเดยี วกนั รวมทง้ั ใชท้ รพั ยากรร่วมกนั ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อระบบบริการผปู้ ่วย

2.ระบบเครอื ข่ายบริการสขุ ภาพจังหวดั ได้รับการพัฒนาความเชย่ี วชาญ และเชือ่ มโยงสถาน

บริการทุกระดับ

รวมการใช้งบประมาณตามโครงการการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสขุ ภาพและระบบส่งต่อ
ปี 2563 ท้ังส้นิ 59,580 บาท

202 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


PP&P Excellence บบทททท่ี 3่ี 1

4.สรปุ ผลการดำเนนิ การ

ตารางสรปุ ผลการดำเนินงานระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) และระบบส่งต่อ ตาม PA/ KPI
กระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ 2563

ตวั ชี้วัดที่ ตวั ชี้วัดตาม PA/KPI กระทรวงสาธารณสุข ผลการดำเนนิ งาน
24
1.อตั ราตายของผปู้ ่วยหลอดเลือดสมอง 4.50 %
- อัตราตายของผู้ปว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองตีบ/อุดตนั (Ischemic Stroke 92/2044 ราย
;I63) < ร้อยละ 5
- อตั ราตายของผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองแตก Hemorrhagic Stroke ;I60- 27.84 %
I62) < ร้อยละ 25 238/855 ราย
- อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลอื ดสมอง (Stroke ;I60-I69) < ร้อยละ 7
10.18 %
2. การรกั ษาใน Stroke Unit 346/3398 ราย
- ร้อยละ 50 ผ้ปู ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ทม่ี ีอาการไมเ่ กนิ 72
ช่ัวโมงไดร้ บั การรักษาใน Stroke Unit 87.69 %
3. ระยะเวลาทีไ่ ด้รับการรักษาที่เหมาะสม 933/1064 ราย
- รอ้ ยละ 60 ผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองตบี /อุดตันระยะเฉยี บพลนั (I63) ท่ีมี
อาการไมเ่ กนิ 4.5 ชัว่ โมงได้รับการรักษาด้วยยาละลายล่มิ เลอื ดทางหลอดเลือด 61.19 %
ดำภายใน 60 นาที 82/134 ราย

28 รอ้ ยละการสง่ ตอ่ ผปู้ ่วยนอกเขตสขุ ภาพ 4 สาขาหลัก ลดลง รอ้ ยละ 10 ลดลง 5.46 %
(ป6ี 2=2258 ราย , ปี 63 =2141 ราย)
20.23 %
34 อตั ราตายผปู้ ว่ ยตดิ เช้อื ในกระแสเลือดแบบรนุ แรงชนดิ community- 156/771 ราย
acquired เกณฑ์ < 30%
-อัตราการได้รบั Antibiotic ภายใน 1 ชม.(นับจากเวลาทไ่ี ดร้ บั การวนิ ิจฉัย) 80.80 %
เกณฑ์ 90 % 623/771 ราย
-อตั ราการเจาะ Hemoculture ก่อนให้ Antibiotic เกณฑ์ 90 %
88.33 %
-อัตราการไดร้ บั IV 30 ml/kg ใน 1 ชม.แรก (ในกรณไี มม่ ขี อ้ ห้าม) เกณฑ์ 681/771 ราย
90 %
-อัตราทผี่ ปู้ ่วยไดร้ บั การดูแลแบบภาวะวกิ ฤติ (ระดับ 2-3) ภายใน 3 ชม. 77.82 %
เกณฑ์ 30 % 600/771 ราย

35 รอ้ ยละของโรงพยาบาลทม่ี ีทมี Refracture Prevention 86.77 %
-รพ.ระดับ M1 ข้ึนไปท่ีมกี ารจดั ตัง้ ทีม Refracture Prevention 669/771 ราย

-การผา่ ตดั ภายใน 72 ชัว่ โมง แบบ Early surgery > รอ้ ยละ 30 100 %
(2 แห่ง)
- Rate Refracture < ร้อยละ 25 60 %
(132/220) ราย)
2.92 %
8/274 ราย

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 203


บทที่ 3 PP&P Excellence

ตัวชวี้ ัดท่ี ตัวชี้วัดตาม PA/KPI กระทรวงสาธารณสขุ ผลการดำเนนิ งาน
36
ร้อยละของการให้การรกั ษาผปู้ ว่ ย STEMI ได้ตามมาตรฐานเวลาทกี่ ำหนด 8.64 %
-อัตราตายของผ้ปู ่วยโรคกลา้ มเนือ้ หัวใจตายเฉียบพลนั ชนดิ STEMI < ร้อยละ 28/324
9 35.86 %
-การใหก้ ารรกั ษาผู้ป่วย STEMI ไดต้ ามมาตรฐานเวลาที่กำหนด > ร้อยละ 50 104/290 ราย
86.23 %
39 ผู้ปว่ ยต้อกระจกชนดิ บอด (Blinding Cataract) ไดร้ ับผา่ ตัดภายใน 30 วนั 958/1,111 ราย
เกณฑ์ ร้อยละ 85
0.06 %
40 อตั ราสว่ นของจำนวนผยู้ นิ ยอมบรจิ าคอวยั วะจากผปู้ ่วยสมองตายตอ่ จำนวน 1/1,707 ราย
ผูป้ ว่ ยเสียชีวติ ใน รพ.
เกณฑ์ 0.9 : 100 (ยอดบรจิ าคอวยั วะ ปี 2563 จาก ผปู้ ว่ ยสมองตาย ปี 2562) 100 %
9/9 แห่ง
43 รพ. ระดบั M และ F ท่ใี หก้ ารบรบิ าลฟ้นื สภาพระยะกลางแบบผู้ปว่ ยใน 94.12 %
(intermediate bed/ward) เกณฑ์ 50 % 192/204 ราย
-ผปู้ ว่ ย Stroke, Traumatic Brain Injury และ Spinal Cord Injury ทีร่ อด 99.20 %
ชีวิตและมคี ะแนน Barthel index <15 ได้รบั การบริบาลฟนื้ สภาพระยะกลาง 374/377 ราย
และตดิ ตาม จนครบ 6 เดอื น หรอื จน Barthel index = 20 เกณฑ์ 60 %

44 รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยทีเ่ ขา้ รับการผา่ ตดั แบบ One Day Surgery เกณฑเ์ ปา้ หมาย
25 %

สรปุ ผลการดำเนนิ งาน

1. มีแผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ร่วมกันทั้งระดับจังหวัด มีการใช้
งบประมาณเป็นไปตามแผนที่วางไว้ และมีระบบรายงานที่ชัดเจนสามารถรวบรวมวิเคราะห์ และ
นำไปใชใ้ นการวางแผนพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ ให้เกดิ ประโยชนก์ ับประชาชน

2. เครือข่ายพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 20 สาขา มีส่วนร่วมและบทบาทใน
การร่วมคิด ร่วมทำ วิเคราะห์ แก้ปัญหา และพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีมาตรฐานสอดคล้องกับ
ปัญหาสขุ ภาพท่สี ำคญั และบริบทของจังหวัดสพุ รรณบรุ ี

3. มกี ารบริหารจดั การระบบการเขา้ ถึง Fast Track พัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลทุกระดับ
-สาขาหัวใจพัฒนาศักยภาพศูนย์เชี่ยวชาญโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช เป็นศูนย์เชี่ยวชาญ
ระดับ 2 โรงพยาบาลชมุ ชนทุกแหง่ มศี กั ยภาพใหย้ าละลายล่ิมเลอื ดได้
-สาขาโรคหลอดเลือดสมอง พัฒนาการเข้าถึงบริการ Stroke Unit รองรบั ผปู้ ่วย โรงพยาบาล
เจ้าพระยายมราช 12 เตียง และมีทีมที่มีศักยภาพประเมินโรคหลอดเลือดสมองได้รวดเร็ว รวมท้ัง
พฒั นาโรงพยาบาลชุมชนที่มีพืน้ ท่หี ่างไกล โรงพยาบาลดา่ นชา้ งมีความพร้อมในการประเมินผู้ป่วยและ
ให้ยา rt-PA

204 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


บทท่ี 4

People Excellence


บทที่ 4 People Excellence

พฒั นาเครอื ขา่ ยกำลังคนดา้ นสุขภาพ เพอ่ื คุณภาพชีวิตของประชาชน

1. เพื่อเตรียมความพร้อม สมรรถนะบคุ ลากรให้เหมาะสมกับตำแหน่งและมีศักยภาพพร้อมใน
การปฏิบัตหิ นา้ ทตี่ ามสายงาน

2. เพื่อให้บุคลากรบรรจุใหม่ได้รับทราบถึงวัฒนธรรมองค์กร ระเบียบปฏิบัติ โครงสร้างและ
ภารกิจขององค์กร

3. เพื่อพัฒนาสรรถนะบุคลากรด้านความรู้ แนวคิดหลักทฤษฎีใหม่ ฟื้นฟูองค์ความรู้ให้
เหมาะสมกบั ตำแหนง่ ทันต่อเหตกุ ารณ์

4. เพอ่ื ส่งเสริมความพร้อมขององค์กร ใหเ้ ป็นแหล่งศกึ ษาดูงาน ฝึกปฏบิ ตั งิ านที่มีคณุ ภาพ
5. เพ่ือส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ ม MOPH ภายในองคก์ ร

สนับสนุนการดำเนินงานวิจยั และจริยธรรมการวจิ ยั ในมนษุ ย์
1. เพ่อื สนบั สนุนการดำเนินงานวิจยั ในการแก้ไขปัญหาของพนื้ ที่
2. เพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการ และการใช้องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยในการ

พฒั นาความเปน็ อยู่ที่ดีของอาสาสมัครและประชาชน (พฒั นาด้านการรักษา คน้ พบข้อมลู ใหม่เก่ียวกับ
ความเป็นอยูท่ ี่ดี หรือความพงึ พอใจในการเสริมสรา้ งสังคมผา่ นการวิจัยฯลฯ)

3. เพ่อื ใหเ้ กิดความม่นั ใจว่าศักดิ์ศรี สิทธิ ความปลอดภัย และความเปน็ อยู่ท่ีดีของอาสาสมัคร
ในงานวิจยั ได้รับการคมุ้ ครอง และผลการศึกษาวจิ ัยเชือ่ ถือได้

ตวั ช้ีวัดท่ตี อบสนอง

1. ร้อยละของบคุ ลกรด้านสุขภาพไดร้ ับการพฒั นาตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 85
2. ร้อยละของบคุ ลากรบรรจุใหมไ่ ดร้ บั การพัฒนาก่อนประจำการตามหลักสตู รและผ่านเกณฑ์
มาตรฐานทกี่ ำหนด รอ้ ยละ 100
3. ระดับความสำเร็จของจงั หวดั สพุ รรณบุรีในการจดั การระบบการผลติ และพฒั นากำลังคนได้
ตามเกณฑ์

แผนงานกิจกรรมการดำเนินงาน ปงี บประมาณ 2563

ลำดับ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนนิ การ กลมุ่ เป้าหมาย
แพทย,์ ทนั ตแพทย์, เภสัชกร
กิจกรรมที่ 1 พัฒนาบคุ ลากรกอ่ นประจำการ

1 ปฐมนิเทศบุคลากรบรรจใุ หม่ เมษายน – มถิ ุนายน

(แพทย์, ทันตแพทย์, เภสชั กร) 2563

2 ส่งบคุ ลากรเขา้ รับการปฐมนเิ ทศบุคลากร เมษายน – มถิ ุนายน บุคลากรบรรจุใหม่ (ทกุ สาย
บรรจุใหม่ (ทุกสายงาน) หลกั สตู รการเปน็ 2563 งาน)
ขา้ ราชการท่ีดี

3 ปฐมนิเทศบุคลากรจบใหม่ (ทุกสายงาน) เมษายน – มิถนุ ายน บคุ ลากรจบใหม่
2563 (ทกุ สายงาน)

206 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


People Excellence บบทททที่ 4ี่ 1

ลำดับ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนนิ การ กลมุ่ เป้าหมาย

กจิ กรรมที่ 2 พัฒนาบุคลากรระหว่างประจำการ

๑ พัฒนาบุคลากรดา้ นการบรหิ าร ตุลาคม 2561 – ผบต. / ผบก.

(ผบต., ผบก., นบส., อ่ืน ๆ) กนั ยายน 2562 ผู้อำนวยการโรงพยาบาล

สาธารณสุขอำเภอ

ผูช้ ว่ ยสาธารณสขุ อำเภอ

กจิ กรรมที่ 3 พัฒนาบุคลากรก่อนเกษยี ณอายรุ าชการ

1 ส่งบคุ ลากรเขา้ ร่วมงานเกษยี ณอายุ กรกฎาคม – กนั ยายน ผเู้ กษียณราชการ

ราชการระดบั เขต ระดับภาค 2563

ระดบั ประเทศ)

กจิ กรรมท่ี 4 สนบั สนนุ การศกึ ษาดูงาน ฝกึ งานนักศึกษาทกุ หลกั สูตร

1 สนับสนุนนกั ศกึ ษาแพทย์ ฝกึ ปฏิบัตงิ าน มกราคม – มนี าคม นักศกึ ษาแพทย์

เวชศาสตร์ชุมชน 2563

2 รับนักศึกษาหลกั สูตรต่างๆ ท่ีขอฝึก ตุลาคม 2562 – นักศึกษาทุกหลกั สูตร

ปฏบิ ตั งิ านตามความเหมาะสม กนั ยายน 2563

กจิ กรรมท่ี 5 ส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ ม MOPH

1 จัดประกวด คนดีศรสี าธารณสขุ เร่ืองเล่า มกราคม – มนี าคม เจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ

และหน่วยงานดีเด่น 2563

2 ดำเนินงานชมรมจริยธรรมเพ่ือพฒั นา เมษายน – มถิ ุนายน เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุขใน

หนว่ ยงานคณุ ธรรม 2563 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั

สุพรรณบรุ ี

สนบั สนนุ การดำเนินงานวจิ ัยและจริยธรรมการวจิ ัยในมนุษย์

1 จัดระบบการให้คำแนะนำโดยระบบพี่ ตลุ าคม 2562 – เจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสขุ

เลี้ยง (Mentoring System) แก่ผู้ขอรับ กันยายน 2563

การพิจารณาจริยธรรมวิจัยในมนุษย์ ใน

รปู แบบคณะกรรมการ

2 ประชุมคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรม ตุลาคม 2562 – คณะกรรมการฯ

เพื่อพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัย กนั ยายน 2563

(4 ครัง้ )

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 207


บทท่ี 4 People Excellence

ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2563

1. พัฒนาบุคลากรกอ่ นประจำการ

กิจกรรม ปฐมนเิ ทศบคุ ลากรบรรจุใหม่ ( แพทย์,ทันตแพทย์ )

ผลการดำเนินงาน ดำเนินการผ่านระบบ Teleconference ในวันที่ 18 พฤษภาคม 2563

กลุ่มเป้าหมายจำนวน 38 คน ผ้เู ข้าร่วมฯ จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ประกอบดว้ ย

- แพทย์ จำนวน 33 คน

- ทันตแพทย์ จำนวน 5 คน

กิจกรรม สง่ บคุ ลากรเขา้ รับการปฐมนิเทศบุคลากรบรรจุใหม่ (ทุกสายงาน) หลกั สตู รการเป็น

ข้าราชการทีด่ ี

ผลการดำเนินงาน ส่งบุคลากรเข้ารับการปฐมนิเทศบุคลากรบรรจุใหม่ หลักสูตรการเป็น

ข้าราชการท่ีดี ดังนี้

1. โครงการปฐมนิเทศข้าราชการใหม่เขตสุขภาพที่ 5 “หลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี”

ประจำปงี บประมาณ 2563 (ทกุ สายงาน)

รุ่นที่ 1 วันที่ 16 – 23 พฤศจิกายน 2562 ณ โรงแรมพาวีเลี่ยน ริมแคว รีสอร์ท

กาญจนบุรี กลุ่มเป้าหมายจำนวน 30 คน ผู้เข้าร่วมฯ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ประกอบด้วย

- พยาบาลวิชาชพี จำนวน 29 คน

- เจา้ พนกั งานพสั ดปุ ฏบิ ัติงาน จำนวน 1 คน

รุ่นที่ 1 วันที่ 14 – 21 ธันวาคม 2562 ณ โรงแรมพาวีเลี่ยน ริมแคว รีสอร์ท

กาญจนบุรี กลุ่มเป้าหมายจำนวน 23 คน ผู้เข้าร่วมฯ จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ประกอบดว้ ย

- พยาบาลวิชาชพี จำนวน 21 คน

- เจ้าพนกั งานทันตสาธารณสขุ ปฏิบตั ิงาน จำนวน 1 คน

- เจา้ พนักงานเภสชั กรรมปฏิบตั งิ าน จำนวน 1 คน

2. โครงการปฐมนิเทศข้าราชการใหม่เขตสุขภาพที่ 5 “หลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี”

ประจำปีงบประมาณ 2563 (กรณพี ิเศษ รนุ่ โควิด)

รุ่นท่ี 1 วันที่ 7 – 11 กันยายน 2563 ณ โรงแรมพาวีเลี่ยน ริมแคว รีสอร์ท

กาญจนบุรี กลุ่มเป้าหมายจำนวน 17 คน ผู้เข้าร่วมฯ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ประกอบด้วย

- เจา้ พนกั งานเภสัชกรรมปฏบิ ัตงิ าน จำนวน 2 คน

- พยาบาลวชิ าชีพปฏิบัตกิ าร จำนวน 11 คน

- เจา้ พนักงานสาธารณสุขปฏบิ ตั ิงาน จำนวน 2 คน

- นกั วิชาการสาธารณสุขปฏบิ ัตกิ าร จำนวน 2 คน

208 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


People Excellence บบทททที่ 4่ี 1

รุ่นที่ 2 วันที่ 14 – 18 กันยายน 2563 ณ โรงแรมพาวีเลี่ยน ริมแคว รีสอร์ท

กาญจนบุรี กลุ่มเป้าหมายจำนวน 72 คน ผู้เข้าร่วมฯ จำนวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ประกอบดว้ ย

- พยาบาลวิชาชพี ปฏิบัตกิ าร จำนวน 39 คน

- เจ้าพนักงานเวชกิจฉกุ เฉนิ ปฏิบัติงาน จำนวน 1 คน

- เจ้าพนักงานเภสชั กรรมปฏบิ ัติงาน จำนวน 12 คน

- นักเทคนคิ การแพทยป์ ฏิบตั ิการ จำนวน 5 คน

- นกั วิชาการสาธารณสุขปฏบิ ตั กิ าร จำนวน 12 คน

- เภสชั กรปฏบิ ตั ิการ จำนวน 2 คน

- นายแพทยป์ ฏบิ ตั กิ าร จำนวน 1 คน

รุ่นที่ 3 วันที่ 21 – 25 กันยายน 2563 ณ โรงแรมพาวีเลี่ยน ริมแคว รีสอร์ท

กาญจนบุรี กลุ่มเป้าหมายจำนวน 62 คน ผู้เข้าร่วมฯ จำนวน 62 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ประกอบด้วย

- พยาบาลวชิ าชีพปฏบิ ัติการ จำนวน 40 คน

- นักวชิ าการสาธารณสุขปฏิบัติการ จำนวน 15 คน

- นักเทคนคิ การแพทย์ปฏิบตั ิการ จำนวน 2 คน

- เจ้าพนกั งานสาธารณสขุ ปฏิบตั ิงาน จำนวน 1 คน

- เจา้ พนักงานเภสชั กรรมปฏบิ ัติงาน จำนวน 4 คน

กิจกรรม ปฐมนเิ ทศบุคลากรจบใหม่ ( ทกุ สายงาน )

ผลการดำเนินงาน ดำเนินการในวนั ท่ี 5 – 6 สิงหาคม 2563 ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

สพุ รรณบุรี กลุ่มเป้าหมาย 112 คน ผู้เข้าร่วม 112 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 ประกอบด้วย

- นกั วิชาการสาธารณสุข จำนวน 40 คน

- พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 53 คน

- เภสชั กร จำนวน 3 คน

- แพทยแ์ ผนไทย จำนวน 3 คน

- นกั กายภาพบำบดั จำนวน 4 คน

- เจา้ พนกั งานเภสชั กรรม จำนวน 2 คน

- นักโภชนาการ จำนวน 1 คน

- นักวชิ าการพสั ดุ/พนักงานพัสดุ จำนวน 2 คน

- นกั จิตวิทยา จำนวน 1 คน

- เจา้ พนักงานสาธารณสขุ เวชกจิ ฉุกเฉิน จำนวน 1 คน

- วิศวกร จำนวน ๒ คน

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 209


บทที่ 4 People Excellence

กิจกรรมที่ 2 พัฒนาบคุ ลากรระหวา่ งประจำการ
กจิ กรรม พฒั นาบุคลากรดา้ นการบริหาร (ผบต., ผบก. , นบส. , อ่นื ๆ)
ผลการดำเนนิ งาน
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แจ้งยกเลิกการจัดอบรมฯ ตามหนังสือสำนักงาน
กระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ ๐๒๔๖/ว๘๓๒ ลงวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๖๓ เรื่องแจ้งยกเลิกการจัด
อบรมหลักสูตรทางการบริหาร ประจำปีงบประมาณ 2563 เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อและการ
แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา2019 โดยยกเลกิ การอบรมหลักสตู รทางการบริหารดงั น้ี
1. หลักสตู รผบู้ ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง
2. หลกั สตู รผู้บรหิ ารการสาธารณสุขระดับตน้
3. หลกั สูตรเตรียมนักบริหารการพยาบาล
4. หลักสูตรปฐมนเิ ทศผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาลชุมชนและสาธารณสขุ อำเภอ
5. หลักสูตรพัฒนาผู้บรหิ ารสำหรบั สาธารณสุขอำเภอ
6. หลักสูตรพัฒนาผชู้ ว่ ยสาธารณสุขอำเภอ
7. หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชน
8. หลกั สูตรพัฒนาศักยภาพหัวหน้ากลมุ่ งานบรหิ ารทัว่ ไปโรงพยาบาลชมุ ชน
กจิ กรรมท่ี 3 พฒั นาบคุ ลากรก่อนเกษียณอายุราชการ
กจิ กรรม ส่งบคุ ลากรเขา้ ร่วมงานเกษียณอายรุ าชการระดับเขต ระดับภาค ระดับประเทศ)
ผลการดำเนนิ งาน
ตามหนังสือกระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ ๐๒๐๕/ว๒๐๓๑ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๓ เรื่อง
ขอเชิญเขา้ รว่ มการประชมุ วิชาการเขตสุขภาพท่ี 5 ประจำปี 2563 วันท่ี 24 – 25 กนั ยายน 2563 ณ
โรงเรียนนายร้อยตำรวจ อำเภอสามพราน จงั หวัดนครปฐม มผี ูเ้ ขา้ ร่วม จำนวน 20 คน
กิจกรรมท่ี 4 สนับสนนุ การศกึ ษาดงู าน ฝึกงานนกั ศึกษาทุกหลักสตู ร
กิจกรรม สนับสนนุ นกั ศกึ ษาแพทยฝ์ กึ ปฏิบตั ิงานเวชศาสตร์ชมุ ชน
ผลการดำเนนิ งาน
สนับสนุนนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 ดำเนินการบรรยายโครงสร้างการดำเนินงานของ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ให้กับนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 4 ฝึกปฏิบัติงานเวชศาสตร์
ในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ห้องประชุมการบูร 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี
มผี เู้ ข้ารว่ มฟังการ บรรยาย จำนวน 35 คน โดยเบิกจากงบประมาณ Non UC แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์
สร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี ผลผลิต : พัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิและเครือข่ายระบบสุขภาพ
ระดับอำเภอ (รหัสผลผลิต ๒๑๐๐๒๓๕๐๙๕๐๐๐๐๐๐) กิจกรรม : พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิให้มี
คุณภาพมาตรฐาน (รหัสกจิ กรรม ๒๑๐๐๒๗๒๐๐N๔๕๒๖)
กิจกรรม รบั นกั ศกึ ษาหลักสูตรตา่ งๆ ทขี่ อฝึกปฏิบัติงานตามความเหมาะสม
ผลการดำเนินงาน ดำเนินการทำหนังสอื แจ้งสถานบรกิ ารท่ีรบั ฝึกฯ
กจิ กรรมที่ 5 ส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ ม MOPH
กิจกรรม จัดกิจกรรมประกวด คนดีศรีสาธารณสุข เรื่องเล่า และหน่วยงานดีเด่น ดำเนินการ
ในวนั ที่ 8 พฤษภาคม 2563 กลมุ่ เป้าหมาย 40 คน ผู้เขา้ ร่วม 44 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 110 และมอบโล่/

210 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


People Excellence บบทททท่ี 4่ี 1

ประกาศนียบตั ร ในวันประชุมวชิ าการสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี วนั ที่ 25 กนั ยายน 2563 จำนวน
35 รางวัล โดยเบิกจากงบประมาณ Non UC แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี
ผลผลิต : พัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิและเครือข่ายระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รหัสผลผลิต
๒๑๐๐๒๓๒๗๙๕๐๐๐๐๐๐) กิจกรรม : พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิให้มีคุณภาพมาตรฐาน (รหัส
กิจกรรม ๒๑๐๐๒๗๒๐๐O๓๑๑๔) จำนวน 15,550 บาท

ผลการดำเนินงาน ดำเนนิ การจัดประกวด 3 ประเภท ดังน้ี
คนดีศรีสาธารณสุข มีผู้เข้าร่วมประกวด จำนวน 25 คน โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท

คือ ประเภทข้าราชการ จำนวน 20 คน และ ประเภทพนักงานราชการ/ลูกจ้างประจำ/พนักงาน
กระทรวงสาธารณสขุ /ลกู จ้างชว่ั คราว จำนวน 5 คน ซง่ึ ผลการคัดเลอื ก ดังน้ี

1. ประเภทขา้ ราชการ
นายรัฐพล เวทสรณสธุ ี
ตำแหน่ง นายแพทย์เชยี่ วชาญ (ดา้ นเวชกรรมป้องกัน)
สถานทป่ี ฏบิ ัติงาน สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี

2. ประเภทพนักงานราชการ/ลูกจ้างประจำ/พนักงานกระทรวงสาธารณสุข/ลูกจ้างชั่วคราว
นางสาวสริ ินรภทั ร โกมนิ
ตำแหนง่ ผู้ช่วยพยาบาล
สถานท่ปี ฏบิ ตั ิงาน โรงพยาบาลดอนเจดยี ์

เรื่องเล่า “รวมพลังจิตอาสา พัฒนาสังคมไทย เทิดไท้องค์ราชัน” มีผู้เข้าร่วมประกวด

จำนวน 5 คน ซึ่งผลการคัดเลือกเรื่องเล่าระดับจังหวัด คือ นายเศรษฐพงศ์ ดอกลำใย ตำแหน่ง

นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สถานที่ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลองค์พระ

สำนักงานสาธารณสขุ อำเภอด่านชา้ ง

หน่วยงานคุณธรรม มีหน่วยงานที่เข้าร่วมประกวด จำนวน 3 หน่วยงาน ซึ่งผลการ

คดั เลอื กหนว่ ยงานดเี ดน่ ระดับจงั หวัด คือ โรงพยาบาลศรปี ระจันต์

สนบั สนุนการดำเนนิ งานวิจยั และจริยธรรมการวจิ ัยในมนุษย์

กจิ กรรม จัดระบบการใหค้ ำแนะนำโดยระบบพีเ่ ลย้ี ง (Mentoring System) แกผ่ ูข้ อรับการ

พิจารณาจรยิ ธรรมวิจัยในมนุษย์ ในรูปแบบคณะกรรมการ

กิจกรรม ประชุมคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรม เพื่อพิจารณาข้อเสนอโครงการวจิ ัย

ผลการดำเนินงาน จดั การประชมุ คณะกรรมการฯเพื่อพจิ ารณาวจิ ัยและจริยธรรมการวิจยั ใน

มนุษย์ จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้

ครง้ั ท่ี 1 วันที่ 14 มกราคม 2563

ครง้ั ที่ 2 วนั ท่ี 18 มถิ นุ ายน 2563

คร้งั ท่ี 3 วันท่ี 2 กรกฎาคม 2563

คร้งั ท่ี 4 วันท่ี 8 กันยายน 2563

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 211


บทที่ 4 People Excellence

งานอน่ื ๆ
-จดั ทำหนงั สอื แจ้งพ้นื ท่ีทีเ่ กย่ี วขอ้ งของนักศึกษาฝึกปฏบิ ตั งิ าน
-ประชาสัมพันธ์แจ้งหน่วยงานต่างๆ ในสงั กัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวดั
สพุ รรณบรุ ี (สสจ./รพ./สสอ.)
-จดั ทำหนงั สอื อนุมัติใหบ้ ุคลากรสาธารณสขุ เข้าร่วมประชมุ อบรมทุกหลกั สตู ร
พรอ้ มทัง้ ส่งรายชอ่ื
-ประชาสมั พันธ์ข้อมูลข่าวสาร เรือ่ งอบรม/ประชุม/สัมมนา ทางเวบ็ ไซต์งาน
พัฒนาบคุ ลากร
-สัญญาลาศึกษาต่อทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ
-จัดทำแผนปฏิบัติงาน และติดตามประเมินผลด้านกำลังคน ตามความต้องการ
และสอดคลอ้ งกับ Service plan

กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบคุ คล

กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี มีภารกิจ
ในการวางแผนกำลังคน การสรรหาและแต่งตั้ง ทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ งาน
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ งานประเมินคุณสมบัติบุคคลและผลงานขึ้นดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น และ
งานประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการ ฯ ในปงี บประมาณ 2563 มีผลการดำเนินงานดา้ นบคุ ลากร ดังน้ี

1. การปรับกรอบอัตรากำลังหน่วยงานในราชการบริหารส่วนภูมิภาค สังกัด
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

สำนักงานเขตสุขภาพที่ 5 ได้มีมติอนุมัติให้ปรับกรอบอัตรากำลงั ในสายงานทีเ่ ปน็ ไป
ตามหลักเกณฑห์ นงั สือ สป. ดว่ นท่ีสุด ที่ สธ.0201.032/ว1707 ลงวันที่ 14 มถิ นุ ายน 2560 สำนกั งาน
สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดำเนินการประชมุ คณะกรรมการพิจารณาการปรับกรอบอัตรากำลงั
ดังนี้

1.1 ดำเนินการประชุมอนุกรรมการคณะทำงานบริหารและพัฒนากำลังคนด้าน
สุขภาพในสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ เพื่อพิจารณาการปรับกรอบอัตรากำลังของสำนักงาน
สาธารณสุขอำเภอและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล/สถานอนามัยเฉลิมพระเกียรติในสังกัดเม่ือ
วันท่ี 11 สงิ หาคม 2563

1.2 ดำเนินการประชุมอนุกรรมการคณะทำงานบริหารและพัฒนากำลังคนด้าน
สุขภาพภาพในโรงพยาบาลชุมชน เพื่อพิจารณาการปรับกรอบอัตรากำลังของโรงพยาบาลชุมชน
จำนวน 8 แห่ง วนั ท่ี 14 สงิ หาคม 2563

1.3 ดำเนินการประชุมคณะกรรมการบรหิ ารและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพของ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งประกอบด้วย ผู้บริหาร ผู้แทนโรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

212 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


People Excellence บบทททที่ 4่ี 1

ตำบล/สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติที่เป็นกรรมการ เพื่อพิจารณาการปรับกรอบอัตรากำลังของ
สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี เม่อื วันที่ 17 สงิ หาคม 2563

โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ส่งเรื่องขออนุมัติการปรับกรอบ
อัตรากำลังท่ีเป็นไปตามหลักเกณฑ์และที่ไมเ่ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ไปยังสำนักงานเขตสุขภาพที่ 5 เพื่อ
ส่งให้สำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุขเพอ่ื พจิ ารณาอนุมัตติ อ่ ไป

2. การคัดเลือกเพื่อบรรจุบุคคลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานใน
สถานการณร์ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เขา้ รับราชการเปน็ กรณีพเิ ศษ บรรจุจำนวน
288 อัตรา

ระยะที่ 1 บรรจุเมื่อวนั ที่ 29 มิถุนายน 2563 ประกอบด้วย จำนวน 13 สายงาน
ได้แก่ นายแพทย์ปฏิบัติการ เภสัชกรปฏิบัติการ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ นักรังสีการแพทย์
ปฏิบัติการ นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ นักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอกปฏิบัติการ นักวิชาการ
สาธารณสุขปฏิบัติการ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติการ เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์ปฏิบัติงาน
เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานเภสัชกรรมปฏิบัติงาน และเจ้าพนักงาน
สาธารณสขุ ปฏิบตั งิ าน จำนวน 100 ราย

ระยะที่ 2 บรรจุเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2563 ประกอบด้วย จำนวน 3 สายงาน
ได้แก่ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ นักโภชนาการปฏิบัติการ นักกายภาพบำบัดปฏิบัติการ
จำนวน 23 ราย

ระยะที่ 1 และ 2 (เพิ่มเติม) บรรจุเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2563 จำนวน 1 สาย
งาน ไดแ้ ก่ นักวชิ าการคอมพิวเตอร์ปฏบิ ตั ิการ จำนวน 8 ราย

ระยะที่ 3 บรรจุเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2563 จำนวน 10 สายงาน ได้แก่
ตำแหน่งเภสัชกรปฏิบัติการ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ นักวิชาการ
สาธารณสุขปฏิบัติการ นักกายภาพบำบัดปฏิบัติการ นักจิตวิทยาปฏิบัติการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 213


บทที่ 4 People Excellence

ปฏิบัติการ เจ้าพนักงานเภสัชกรรมปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน และเจ้าพนักงาน
ทนั ตสาธารณสขุ ปฏิบัติงาน จำนวน 146 ราย

และตำแหน่งแพทย์แผนไทย บรรจุเมือ่ วันท่ี 24 สงิ หาคม 2563 จำนวน 11 ราย

3. การคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งระดับเชี่ยวชาญ และระดับ
ชำนาญการพเิ ศษ

งานทีด่ ำเนนิ การแลว้ ใน ปี 2563 จำนวน

3.1 ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาล 1

3.2 สาธารณสขุ อำเภอ (นักวิชาการสาธารณสุข) 5

3.3 หวั หนา้ พยาบาล (พยาบาลวชิ าชีพ) 2

3.4 นกั วชิ าการสาธารณสุข 1

3.5 นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน 2

3.6 นักจดั การงานท่ัวไป 1

3.7 นติ กิ ร 1

รวม 13

214 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


People Excellence บบทททที่ 4่ี 1

4. การคัดเลือกบคุ คลเพ่ือมอบหมายใหป้ ฏิบัติหนา้ ที่ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอ

ผลการดำเนนิ งาน จำนวน (ตำแหนง่ )

4.1 อำเภอศรปี ระจนั ต์ 1

4.2 อำเภอสองพี่น้อง 1

รวม 2

5. การเลอื่ นระดบั สูงขนึ้

ผลการดำเนินงาน จำนวน (ตำแหนง่ )

5.1 ระดบั ชำนาญการพิเศษ 5

5.2 ระดบั ชำนาญการ 28

5.3 ระดบั ชำนาญงาน 21

5.4 ใหไ้ ด้รับเงินประจำตำแหน่ง 16

5.4 ระดับควบ (แพทย์และทันตแพทย์) 18

รวม 88

6. การคัดเลือกและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริม
สขุ ภาพตำบล

ผลการดำเนนิ งาน จำนวน (ตำแหน่ง)

6.1 ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบล (นักวชิ าการสาธารณสุข) 2

6.2 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (เจา้ พนักงาน 1
สาธารณสขุ )

รวม 3

7. การปรบั ปรงุ กำหนดตำแหน่งสงู ข้ึน ระดับชำนาญการพิเศษ
สำนักงานสาธารณจังหวดั สุพรรณบรุ ี ไดด้ ำเนินการจัดสง่ เร่ืองขอปรับปรุงกำหนด

ตำแหนง่ กลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ.สุพรรณบรุ ี กล่มุ งานปฐมภูมิและองคร์ วม ในโรงพยาบาลชุมชน
จำนวน 6 อัตรา รพ.สต./สอน. สาธารณสขุ อำเภอละ 1 แหง่ รวม 10 อตั รา

8. การขอพระราชทานเครื่องราชอิสรยิ าภรณ์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดำเนินการเสนอขอ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2564 ดังนี้ ชั้นสายสะพายและชั้นต่ำกว่าสายสะพาย
จำนวน 174 ราย และขอพระราชเหรยี ญจักรพรรดมิ าลา จำนวน 63 ราย

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 215


บทที่ 4 People Excellence

9. ขอรับเงนิ บำเหนจ็ ตกทอด/ขอรับเงนิ บำนาญเพ่มิ /ขอรบั เงินบำเหน็จดำรงชีพ
- ขอรับเงนิ บำเหน็จตกทอด กรณีเสยี ชวี ิต จำนวน 5 ราย

- ขอรบั เงนิ บำเหนจ็ ดำรงชีพ 65 ปี จำนวน 7 ราย

- ขอรับเงินบำนาญเพม่ิ จำนวน 26 ราย
10. งานด้านสวัสดิการและสิทธปิ ระโยชน์

- จัดทำบตั รเจ้าหนา้ ทขี่ องรฐั จำนวน 229 ราย

- จัดทำข้อมูลและขออนุมัติเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษของ
ผู้ปฏิบตั งิ านดา้ นการสาธารณสุข (พ.ต.ส.) จำนวน 979 ราย

- จัดส่งเรือ่ งการเบิกจา่ ยเงินเพิ่มสำหรับบุคลากรสาธารณสุขผู้ปฏบิ ัติงานใน
สถานการณ์ระบาดโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ไปยังสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน
3,200 ราย

11. การบรรจุ และจดั จา้ งตำแหนง่ ประเภทต่างๆ

- ข้าราชการ จำนวน 321 ราย

- ลูกจา้ งประจำ จำนวน 0 ราย

- พนักงานราชการ จำนวน 10 ราย

- พนักงานกระทรวงสาธารณสขุ จำนวน 163 ราย

- ลูกจา้ งชวั่ คราว จำนวน 8 ราย

รวมทงั้ สน้ิ จำนวน 502 ราย
12. การลาออกจากราชการ จำนวน 18 ราย

- ขา้ ราชการ

- ลกู จ้างประจำ จำนวน 3 ราย

- พนกั งานราชการ จำนวน 7 ราย

- พนกั งานกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 333 ราย

- ลกู จา้ งช่ัวคราว จำนวน 110 ราย

รวมทง้ั สิน้ จำนวน 471 ราย

(รวมท้งั บคุ ลากรทลี่ าออกเพื่อไปบรรจุราชการ กรณีพิเศษ)

13. การโอน/ย้าย
13.1 จดั ทำคำส่ังใหข้ า้ ราชการปฏิบตั ริ าชการ ภายในจังหวดั จำนวน 40 ราย

13.2 ข้าราชการขอย้ายนอกเขตจังหวัด จำนวน 5 ราย และข้าราชการขอ

ยา้ ยเขา้ มาในเขตจงั หวดั จำนวน 6 ราย
13.3 ข้าราชการขอโอน จำนวน 6 ราย และรบั โอนขา้ ราชการ จำนวน 6 ราย

13.4 การยมื ตวั ขา้ ราชการ จำนวน 4 ราย

13.5 การย้ายหมุนเวียนแพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกรกร ปี 2563
ขา้ ราชการขอย้าย จำนวน 3 ราย และรับยา้ ยข้าราชการ จำนวน 9 ราย

13.6 จัดทำคำสั่งย้ายข้าราชการ (การตัดโอนตำแหน่งและอัตราเงินเดือน)

จำนวน 80 ราย

216 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


People Excellence บบทททที่ 4่ี 1

13.7 จดั ทำคำสัง่ ให้ข้าราชการรักษาการในตำแหน่ง ประเภทวชิ าการ และ
ประเภทท่วั ไป จำนวน 23 ราย

14. ผลการดำเนนิ งานตวั ช้ีวัด
14.1 การบริหารกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ ในปีงบประมาณ 2563 สำนักงาน

ปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้หน่วยงานในสังกัดมีการบริหารจัดการกำลังคนให้มีการ

ดำเนินงานจัดทำแผนบรหิ ารตำแหน่ง และดำเนนิ การตามแผนบรหิ ารตำแหน่งวา่ ง เพอ่ื ใหส้ ว่ นราชการ

มีตำแหน่งว่างในเขตสุขภาพไม่เกินร้อยละ 4 ในไตรมาสที่ 4 และในปีงบประมาณ 2563 สำนักงาน

สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้แผนบริหารตำแหน่งว่าง และมีผลการบริหารตำแหน่งว่างคงเหลือ

ร้อยละ 2.92 (ไม่รวมตำแหน่งที่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขสงวนไว้ และตำแหน่งที่การ

ดำเนินงานเป็นอำนาจของสำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข)

14.2 องค์กรแหง่ ความสุข ทผี่ ่านเกณฑม์ าตรฐาน

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดตัวชี้วัด จำนวนองค์กรแห่ง

ความสุข ที่มีคุณภาพมาตรฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป้าหมายให้หน่วยงานในสังกัด

จะต้องผ่านการประเมินตาม เกณฑ์ประเมิน HPI ที่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขกำหนด อย่าง

น้อยร้อยละ 10 และมีหน่วยงานในสังกัดส่งข้อมูลและผลการดำเนินงานมายังสำนักงานสาธารณสุข

จังหวัดสพุ รรณบุรี โดยสำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี ไดส้ ่งรายชื่อและผลการดำเนินงานของ

หน่วยงานทผี่ ่านไปยงั สำนักงานเขตสขุ ภาพ ท่ี 5 จำนวน 3 แหง่ (คดิ เปน็ รอ้ ยละ 16.67) ดังน้ี

(1) โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
(2) สำนักงานสาธารณสขุ อำเภอสองพน่ี อ้ ง
(3) โรงพยาบาลสามชกุ

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 217


บทท่ี 5

Governance Excellence


Governance Excellence บบทททที่ 5่ี 1

การบริหารการเงนิ การคลัง

สถานการณ์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ดำเนินการบริหารงบประมาณงบเหมาจ่ายรายหัว

ประชากร จากการเฝ้าระวังติดตามข้อมูลสถานการณ์การเงินการคลัง รายรบั รายจา่ ยของโรงพยาบาล
เป็นรายเดอื น รายไตรมาส และรายปี ซ่งึ ใหค้ วามสำคญั กับระบบบญั ชีท่ีเปน็ เครื่องมือทำให้การบริหาร
ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเริ่มจัดทำระบบบัญชีเกณฑ์คงค้างและพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง
มาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2546 จนถึงปัจจุบัน กำหนดให้หน่วยบริการทุกระดับบันทึกบัญชีลงใน
โปรแกรมทุกแห่งตั้งแต่ระดับ รพ.สต. รพช. รพท. รพศ. และนำส่งขึ้นเว็บไซต์เป็นรายหน่วยงาน
มุ่งเนน้ การตรวจสอบข้อมลู ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วน ทนั เวลา นำข้อมลู ดังกลา่ วมาวิเคราะห์ เพ่ือ
พิจารณาการจัดสรร/ปรับเกลี่ยเงินงบประมาณเหมาจ่ายรายหัวในภาพรวมของจังหวัด ภายใต้
หลักการ การบริหารงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้โรงพยาบาลทุกแห่ง
ได้รับงบประมาณอย่างเพียงพอ มีการกระจายงบประมาณอย่างเหมาะสม สามารถจัดบริการ
สาธารณสุขและส่งเสริมใหป้ ระชาชนเข้าถงึ บริการสาธารณสขุ ไดอ้ ยา่ งทั่วถึง เป็นธรรม

ปัจจุบัน ข้อมูลไตรมาส 4/2563 หน่วยบริการระดับโรงพยาบาล 10 แห่ง ในจังหวัด
สุพรรณบุรี มีโรงพยาบาลที่ประสบภาวะวิกฤติสูงสุดอยู่ระดับ 7 จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาล
อทู่ อง ระดับ 3 จำนวน 2 แหง่ ได้แก่ โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช และโรงพยาบาลเดมิ บางนางบวช
ระดับ 1 จำนวน 3 แห่ง ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลศรปี ระจนั ต์ โรงพยาบาลสามชกุ และโรงพยาบาล หนอง
หญ้าไซ ระดับ 0 จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 โรงพยาบาล ดอน
เจดีย์ โรงพยาบาลด่านชา้ ง โรงพยาบาลบางปลาม้า และมรี ายได้ทั้งปนี ้อยกว่าคา่ ใช้จา่ ยจำนวน 5 แห่ง
ได้แก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช โรงพยาบาลอู่ทอง โรงพยาบาลสามชุก โรงพยาบาล ศรี
ประจันต์ และโรงพยาบาลหนองหญ้าไซ NWC ติดลบ และ EBITDA ติดลบ จำนวน 1 แห่ง ได้แก่
โรงพยาบาลอู่ทอง เงนิ บำรงุ คงเหลอื หลังหกั หนสี้ นิ (HMBRD) ตดิ ลบจำนวน 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาล
เจ้าพระยายมราช โรงพยาบาลเดมิ บางนางบวช และโรงพยาบาลอูท่ อง

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 219


บทที่ 5 Governance Excellence

การบรหิ ารจัดการ

1. แตง่ ต้งั คณะกรรมการตา่ ง ๆ เพอ่ื ดำเนนิ การดงั น้ี
1.1 จังหวัดสุพรรณบุรี มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารการเงินการคลัง (CFO) มีการเฝ้า
ระวังสถานะการเงินการคลังทุกเดือน มีการคำนวณระดับวิกฤติทางการเงินของแต่ละโรงพยาบาล
ทุกเดือนและนำเสนอผู้บริหารในการประชุม กวป. ทุกเดือน ติดตามต้นทุน Quick method หน่วย
บริการทุกไตรมาสทั้ง OP/IP ไม่ให้เกินค่ากลางของประเทศ รวมทั้งตรวจสอบติดตามการนำส่งข้อมูล
บริการของโรงพยาบาลทกุ แหง่ ให้ครบถว้ น ถูกต้อง ตดิ ตามคะแนนคณุ ภาพบัญชีกอ่ นสิน้ เดอื นทกุ เดือน
1.2 ปีงบประมาณ 2563 ให้โรงพยาบาลทุกแห่งจัดทำแผนปรับประสิทธิภาพทางการเงิน
การคลัง (LOI) แต่โรงพยาบาลอู่ทองให้จัดทำและส่งเขตสุขภาพที่ 5 ด้วยเนื่องจากมีแนวโน้มที่จะ
วิกฤตสิ งู
1.3 มกี ารตดิ ตามแผนรายไดค้ า่ ใชจ้ ่าย (Planfin)ทกุ เดอื นเพื่อเฝา้ ระวงั ไม่ใหเ้ กินแผนรอ้ ยละ๕
1.4 คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด เพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบ
ภายในหน่วยงานในสงั กัดทุกระดบั ทำหนา้ ทต่ี รวจทานความถกู ต้อง ครบถว้ น ของการจัดทำบัญชีและ
ดา้ นการเบิกจา่ ยเงินใหถ้ กู ตอ้ งตามระเบยี บ และเป็นไปตามนโยบายบัญชที ่กี ำหนด

ผลการดำเนินงาน

1. ด้านการดำเนินงานการเฝ้าระวังการเงินการคลงั จังหวดั สพุ รรณบรุ ี พบวา่ ไตรมาส 4/2563

มีโรงพยาบาลประสบภาวะวิกฤติระดับ 7 จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลอู่ทอง ดังแสดง

รายละเอยี ดในตารางที่ 1 ดังน้ี

ตารางที่ 1 แสดงระดบั ภาวะวิกฤตทิ างการเงิน กำไรสทุ ธิ (NI) ทุนสำรองสทุ ธิ (NWC) ของโรงพยาบาล
ทกุ แห่งในจังหวัดสุพรรณบรุ ี ไตรมาส 4/2563

หนว่ ยบริการ ระดบั วิกฤติ NI NWC

รพ.เจ้าพระยายมราช 3 -17,900,788.76 140,389,383.71

รพ.สมเด็จพระสงั ฆราช องค์ที่ 17 0 3,626,333.27 71,220,738.38

รพ.เดิมบางนางบวช 3 2,006,912.73 4,994,522.93

รพ.ดา่ นชา้ ง 0 17,350,321.05 39,404,682.31

รพ.บางปลามา้ 0 63,342,187.04 27,442,078.11

รพ.ศรีประจนั ต์ 1 -2,778,184.71 37,505,457.03

รพ.ดอนเจดยี ์ 0 12,057,531.81 43,082,410.46

รพ.สามชุก 7 -2,583,967.17 88,971,525.39

รพ.อูท่ อง 7 -10,706,252.99 -7,955,486.19

รพ.หนองหญา้ ไซ 1 -5,466,353.48 26,319,041.87

ท่ีมา : ข้อมูลจาก เว็บไซด์กองเศรษฐกจิ สขุ ภาพและหลกั ประกนั สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

220 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททที่ 5ี่ 1

2. แผนประมาณการรายได้–ค่าใช้จ่าย ประจำปี 2563 ไตรมาส 4 พบว่าแผนประมาณการ

รายได้ หน่วยบริการทีม่ ีส่วนต่างจากแผนที่เปน็ ลบเกนิ ร้อยละ 5 ไม่มี และแผนประมาณการค่าใชจ้ า่ ย

ที่มสี ่วนต่างจากแผนเกนิ ร้อยละ 5 จำนวน 1 แหง่ ได้แก่ โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช

ตารางท่ี 2 แสดงภาพรวมแผนประมาณการรายได้-คา่ ใช้จ่าย ไตรมาส 4/2563

หนว่ ยบริการ แผน รายได้จริง รอ้ ยละที่ลดลง/
ประมาณการ เพมิ่ ขนึ้ จากแผน

รพ.เจา้ พระยายมราช 1,584,760,752.26 1,726,297,736.60 +8.93

รพ.สมเดจ็ พระสงั ฆราช องคท์ ่ี 17 550,838,841.94 523,510,501.81 - 4.96

รพ.เดมิ บางนางบวช 229,301,499.75 244,390,013.76 + 6.58

รพ.ด่านช้าง 209,009,000.00 227,615,739.47 + 8.90

รพ.บางปลามา้ 169,277,000.00 230,731,720.25 + 36.30

รพ.ศรปี ระจันต์ 157,775,566.54 154,188,411.14 - 2.27

รพ.ดอนเจดยี ์ 155,895,349.00 164,010,023.30 + 5.21

รพ.สามชกุ 199,442,276.07 197,768,689.80 - 0.84

รพ.อูท่ อง 335,250,000.00 327,947,401.08 - 2.18

รพ.หนองหญา้ ไซ 106,424,945.29 101,983,929.36 - 4.17

รวม 3,697,975,230.85 3,898,444,166.57 +5.42

หน่วยบรกิ าร แผน คา่ ใชจ้ า่ ยจรงิ รอ้ ยละที่ลดลง/
ประมาณการ เพมิ่ ขน้ึ จากแผน

รพ.เจ้าพระยายมราช 1,668,596,026.64 1,744,198,525.36 + 4.53

รพ.สมเดจ็ พระสงั ฆราช องคท์ ี่ 17 509,150,000.00 519,884,168.54 + 2.11

รพ.เดมิ บางนางบวช 229,623,000.00 242,383,101.03 + 5.56

รพ.ดา่ นช้าง 209,635,000.00 210,265,418.42 +0.30

รพ.บางปลามา้ 165,697,000.00 167,389,533.21 +1.02

รพ.ศรีประจนั ต์ 155,300,000.00 156,966,595.85 + 1.07

รพ.ดอนเจดยี ์ 150,570,000.00 151,952,491.49 + 0.92

รพ.สามชุก 196,647,839.54 200,352,656.97 + 1.88

รพ.อูท่ อง 335,101,000.00 338,653,654.07 +1.06

รพ.หนองหญ้าไซ 106,992,800.00 107,450,282.84 + 0.43

รวม 3,727,312,666.18 3,839,496,427.78 +3.01

ทีม่ า : ข้อมลู จากเว็บไซต์กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข

http://hf063.cfo.in.th ณ ส้ินไตรมาส 4/2563

3. หนว่ ยบริการในพืน้ ที่มตี ้นทุน OPD/IPD ต่อหนว่ ยไมเ่ กินเกณฑเ์ ฉลย่ี กลุ่มระดบั บรกิ าร
(เกณฑ์ไมเ่ กนิ ร้อยละ 20) ผา่ นเกณฑ์ทกุ แห่ง

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 221


บทที่ 5 Governance Excellence

ตารางที่ 3 หน่วยบริการในพื้นที่มีตน้ ทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ ข้อมูลไตรมาส
4/2563

หน่วยบรกิ าร Unit Cost Unit Cost RW Mean+1SD ผลการประเมิน ผ่าน/ไม่
รพ.เจ้าพระยาฯ OPD Unit Cost OPD Unit Cost RW OPD IPD รวม ผา่ นเกณฑ์
15,425.91
958.62 1,382.53 19,964.35 112 ผ่าน

รพ.สมเดจ็ ฯ 841.25 18,453.12 976.24 19,868.17 1 1 2 ผ่าน

รพ.เดมิ บางฯ 857.71 14,367.21 963.34 19,456.64 1 1 2 ผ่าน

รพ.ด่านช้าง 658.68 12,762.43 963.34 19,456.64 1 1 2 ผ่าน

รพ.บางปลามา้ 868.54 15,329.20 1,144.50 21,646.59 1 1 2 ผ่าน

รพ.ศรีประจันต์ 784.18 11,483.14 1,144.50 21,646.59 1 1 2 ผ่าน

รพ.ดอนเจดยี ์ 718.24 14,599.12 1,144.50 21,646.59 1 1 2 ผา่ น

รพ.สามชกุ 911.74 14,879.78 1,144.50 21,646.59 1 1 2 ผ่าน

รพ.อทู่ อง 763.09 17,039.03 928.50 19,450.65 1 1 2 ผ่าน

รพ.หนองหญ้าไซ 687.50 16,587.06 1,226.46 26,166.90 1 1 2 ผ่าน

ที่มา : ขอ้ มลู จาก เวบ็ ไซต์กองเศรษฐกิจสขุ ภาพและหลักประกนั สขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข

http://hf063.cfo.in.th ณ ส้นิ ไตรมาส 4/2563

4. คะแนนคุณภาพบญั ชี โรงพยาบาลทกุ แหง่ ในจงั หวัดสุพรรณบรุ ีไตรมาส 4/2563 คะแนน

คุณภาพบัญชเี ต็ม 100 คะแนนผ่านเกณฑ์ทกุ แห่ง

ตารางที่ 4 ตารางคุณภาพบญั ชีของหน่วยบรกิ ารระดับโรงพยาบาลในพื้นท่ี ณ ไตรมาส 4/2563

หน่วยบริการ ระดบั คะแนน

รพ.เจ้าพระยายมราช 100

รพ.สมเด็จพระสงั ฆราช องคท์ ่ี 17 100

รพ.เดมิ บางนางบวช 100

รพ.ดา่ นช้าง 100

รพ.บางปลาม้า 100

รพ.ศรีประจันต์ 100

รพ.ดอนเจดยี ์ 100

รพ.สามชุก 100

รพ.อู่ทอง 100

รพ.หนองหญา้ ไซ 100

ทม่ี า : ข้อมูลจากเว็บไซด์กองเศรษฐกจิ สุขภาพและหลักประกันสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข
http://hf063.cfo.in.th ณ สิน้ ไตรมาส 4/2563

222 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททที่ 5่ี 1

กลุม่ งานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก

1.1 ตวั ชี้วัด ร้อยละของผูป้ ่วยนอกทัง้ หมดที่ได้รบั บรกิ ารตรวจ วินจิ ฉัย รกั ษาโรค และฟ้ืนฟูสภาพ

ดว้ ยศาสตรก์ ารแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (เป้าหมาย 19.5)

1.2 ตัวชีว้ ัด ร้อยละของผ้ปู ่วยและผสู้ ูงอายุติดเตยี งไดร้ ับการบรกิ ารการแพทย์แผนไทยฯ ไม่นอ้ ยกว่า

รอ้ ยละ 60

สถานการณ์
จังหวัดสพุ รรณบรุ ี มหี น่วยบรกิ ารสาธารณสุขของรัฐท้ังหมด 184 แห่ง โรงพยาบาลศูนย์ 1

แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 8 แห่ง มีการจัดตั้งคลินิกการแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ผสมผสานที่แผนกผู้ป่วยนอก ในโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป/โรงพยาบาลชุมชน/คู่ขนานกับ
แพทย์แผนปัจจุบัน ครบ 10 แห่ง ร้อยละ 100 และโรงพยาบาลอู่ทอง เป็นโรงพยาบาลต้นแบบด้าน
การแพทย์แผนไทย มีการจัดบริการแพทย์แผนไทยแบบ One Stop Service เป็นแหล่งฝึก
ประสบการณว์ ชิ าชีพด้านการแพทย์ แผนไทย ประเภทการแพทยแ์ ผนไทย ศูนย์ต้นแบบการบูรณา
การการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก มีกรอบรายการยาสมุนไพรท่ีใช้สำหรับบริการไม่น้อย
กว่า 84 รายการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 174 แห่ง ให้บริการรักษาพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและฟื้นฟูสภาพครบทุกแห่ง ทั้งนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีการ
จัดบริการนวด ทั้งหมด 94 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 54.02 ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีแพทย์
แผนไทย 11 แห่ง โรงพยาบาลท่ใี หบ้ ริการฝังเข็มมีทงั้ หมด 4 แหง่ ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช
โรงพยาบาลบางปลาม้า โรงพยาบาลศรีประจันต์ และโรงพยาบาลสามชุก สำหรับการประเมิน
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน ผล
การประเมิน ระดับดีเยี่ยม 77 แห่ง ระดับดีมาก 66 แห่ง ระดับดี 29 แห่ง ระดับพื้นฐาน 12 แห่ง ใน
ปีงบประมาณ 2560-2562 ผลการดำเนินงานร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน ผลงานได้ร้อยละ 18.50, 20.75, 18.36 ตามลำดับ โดยท่ี
ปีงบประมาณ 2563 (ผลงาน ตุลาคม 2562-กันยายน 2563) กำหนดที่ ร้อยละ 19.5 (ไม่รวมส่งเสรมิ
สขุ ภาพ) ผลการดำเนินงาน ได้ร้อยละ 19.65 (ตามตารางท่ี 3 )

ดา้ นการดำเนนิ งานสง่ เสรมิ คุ้มครองภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย
1. สำรวจและจัดทำทะเบยี นข้อมลู บุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยใหเ้ ปน็ ปัจจุบัน จำนวน
6 กลมุ่ ไดแ้ ก่

1. กลุม่ หมอพ้ืนบ้าน จำนวน 493 คน
2. กลุม่ องคก์ ารเอกชนพฒั นาด้านการแพทย์แผนไทย จำนวน 3 คน
3. กลุ่มนกั วิชาการดา้ นการแพทย์แผนไทย จำนวน 9 คน
4. กลมุ่ ผู้ผลติ หรือจำหน่ายยาแผนไทย จำนวน 62 คน
5. กลุม่ ผู้ปลูกหรอื แปรรปู สมนุ ไพร จำนวน 38 คน
6. กลุม่ ผูป้ ระกอบโรคศลิ ปะด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์
จำนวน 133 คน

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 223


บทท่ี 5 Governance Excellence

2. การจัดทำทะเบียนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ตามมาตร 15 ข้อมูลสะสมรวมทั้งส้ิน

3,298 รายการ เป็นตำรับยาแผนไทย จำนวน 3,265 รายการ และเป็นตำราการแพทย์แผนไทย

จำนวน 33 รายการ

3. ดำเนินการสรรหากรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ (ดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย) ระดับจงั หวัด

4. ดำเนินการรบั รองหมอพ้นื บา้ น

5. การสำรวจพืน้ ท่ีกำเนิดสมุนไพรในจังหวดั สพุ รรณบุรี

1.1 การจัดบริการการแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการสาธารณสุขของรัฐ (รพศ. รพท. รพช. และ

รพ.สต.)

ตารางท่ี 1 แสดงจำนวนการจดั บรกิ ารแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการสาธารณสขุ ของรัฐ (รพศ.รพท.รพช.และ รพ.สต.)

หนว่ ยบริการ จำนวน(แหง่ ) มีบรกิ ารด้าน คิดเป็นรอ้ ยละ
การแพทย์แผนไทย(แห่ง)

รพศ. 1 1 100

รพท. 1 1 100

รพช. 8 8 100

รพ.สต. 174 174 100

รวม 184 184 100

1.2 จำนวนแพทยแ์ ผนไทย ผูช้ ว่ ยแพทยแ์ ผนไทยในหน่วยบริการสาธารณสุขของรัฐ
ตารางท่ี 2 แสดงจำนวนแพทยแ์ ผนไทย ผู้ชว่ ยแพทยแ์ ผนไทยในหนว่ ยบรกิ ารสาธารณสุขของรฐั

อำเภอ แพทยแ์ ผน ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย(คน) รพ.สต.ที่ไมม่ ี อ่นื ๆ
ไทย(คน) ผู้ชว่ ยแพทย์
เมอื ง รพ. รพ.สต. รวม แผนไทย(แหง่ )
เดมิ บางนาง 8 5 21 26
บวช 55 24
ดา่ นชา้ ง 4 10 15
บางปลามา้ 12 4
ศรีประจันต์ 4 10 12 16 4
2 69 22 7
4 15 8

ดอนเจดยี ์ 1 7 12 19 2

สองพนี่ ้อง 4 18 13 31 7

สามชุก 3 10 6 16 3

อทู่ อง 8 17 8 25 5

หนองหญา้ ไซ 1 42 6 5
80
รวม 39 94 92 186

224 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททที่ 5่ี 1

2. ขอ้ มลู ประกอบการวเิ คราะห์/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคัญ

ตารางท่ี 3 แสดงข้อมลู ร้อยละของผูป้ ว่ ยนอกท้งั หมดทไี่ ด้รับบริการตรวจ วนิ จิ ฉยั รกั ษาโรค และฟ้นื ฟู

สภาพดว้ ยศาสตรก์ ารแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (เป้าหมาย 19.5) ไมร่ วมส่งเสริมสุขภาพ

ตวั ชว้ี ัด : ร้อยละของผูป้ ว่ ยนอกได้รับบรกิ ารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือกทีไ่ ด้มาตรฐาน

(รอ้ ยละ 19.5)

ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี เกณฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ข้อมลู (ต.ค.62 -ก.ย.63)
2560 2561 2562 อำเภอ เปา้ หมาย ผลงาน ร้อยละ

ระดบั ประเทศ อ.เมอื งสุพรรณบุรี 465,282 54,192 11.65
146,287 23,486 16.05
19.86 24.70 21.80 อ.เดมิ บางนางบวช 148,352 34,152 23.02
131,111 23,845 18.19
เขต 5 อ.ดา่ นช้าง 113,115 23,903 21.13
99,276 28,399 28.61
8.59 2.46 18.22 อ.บางปลาม้า 264,607 54,571 20.62
128,588 33,624 26.15
จงั หวัดสุพรรณบรุ ี อ.ศรีประจนั ต์ 203,527 58,667 28.83
76,703 14,365 18.73
18.50 20.75 18.36 อ.ดอนเจดีย์ 1,776,848 349,204 19.65

อ.สองพน่ี ้อง

อ.สามชุก

อ.อู่ทอง

อ.หนองหญ้าไซ

รวม

ที่มา : HDC รายงานข้อมลู วนั ที่ 30 กนั ยายน 2563

ตารางท่ี 5 แสดงข้อมลู คลนิ ิกแพทย์แผนไทยทแี่ ผนกผู้ป่วยนอก (OPD คู่ขนาน) เป้าหมาย รพศ.

รพท. และ รพช.

ประเดน็ การตดิ ตาม เปา้ หมาย ผลการดำเนนิ งาน โปรดระบุรายชอ่ื หนว่ ย
บริการ

ทีจ่ ัดบริการ

คลินกิ แพทยแ์ ผนไทยท่ี รพศ. (1 แห่ง) ( 1 แห่ง) ร้อยละ 100 รพศ.เจา้ พระยายมราชฯ

แผนกผูป้ ว่ ยนอก (OPD รพท. (1 แห่ง) ( 1 แห่ง) รอ้ ยละ 100 รพท.สมเด็จพระสังฆราชฯ
คู่ขนาน) เป้าหมาย รพศ. รพช. (8 แห่ง) ( 8 แห่ง)
รพท. และรพช. (A-F3) ร้อยละ 100 รพช.อทู่ อง,เดิมบางนางบวช,
บางปลามา้ , ศรปี ระจนั ต์,
ดอนเจดีย์, หนองหญ้าไซ,

ดา่ นชา้ ง, สามชุก

รวม(10 แห่ง) (10 แหง่ ) ร้อยละ 100 รอ้ ยละ 100

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 225


บทที่ 5 Governance Excellence

ตารางท่ี 6 ตารางแสดงขอ้ มูลคลินิกบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื กแบบครบวงจร

(คลนิ ิก 4 โรค) เปา้ หมาย รพศ. รพท. (เพม่ิ รพช. อูท่ อง เปน็ รพ. ตน้ แบบแพทย์แผนไทย )

ประเดน็ การติดตาม เปา้ หมาย ผลการดำเนินงาน โปรดระบุรายชือ่ หน่วยบรกิ ารที่จัดบริการ

คลินิกบริการการแพทย์ รพศ. (1 แหง่ ) ( 1 แห่ง) ร้อยละ 100 รพ.เจ้าพระยายมราชฯ (โรคอมั พฤกษ์
แผนไทยและการแพทย์ รพท. (1 แหง่ ) ( 1 แห่ง) รอ้ ยละ 100 อัมพาต โรคขอ้ เขา่ เสอ่ื ม โรคไมเกรน โรค
ทางเลือกแบบครบวงจร ร้อยละ 100 ภูมิแพ้ทางเดินหายใจสว่ นต้น)
(คลินิก 4 โรค) ร้อยละ 100 รพ.สมเดจ็ พระสังฆราชฯ (โรคอัมพฤกษ์
เป้าหมาย รพศ. รพท. อัมพาต โรคขอ้ เข่าเสอ่ื ม โรคไมเกรน โรค
ภูมิแพท้ างเดินหายใจสว่ นตน้ )
รพช. (1 แห่ง) ( 1 แหง่ ) รพช.อทู่ อง (รพ.ต้นแบบแพทย์แผนไทย)
(โรคอัมพฤกษ์ อมั พาต โรคขอ้ เขา่ เสอ่ื ม โรค
รวม (3 แห่ง) (3 แหง่ ) ไมเกรน โรคภมู ิแพ้ทางเดินหายใจส่วนตน้ )

รอ้ ยละ 100

จากการวเิ คราะห์ ตารางท่ี 3 ผลการดำเนนิ งานในปี 2560-2562 พบวา่ ผูป้ ว่ ยนอกเขา้ ถึงบรกิ าร
แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกมีแนวโน้มเพมิ่ มากขึ้น ตั้งแตป่ ี 2562 จะตัดผลงานดา้ นส่งเสรมิ
สขุ ภาพ ออกไป ซึ่งเกณฑเ์ ป้าหมาย รอ้ ยละ 18.5 ผลงานร้อยละ 18.36 และในปี 2563 เกณฑ์
เป้าหมาย ร้อยละ 19.5 ผลการดำเนนิ งาน (ตลุ าคม 2562-กันยายน 2563) ผลงานร้อยละ 19.65
และเมื่อแบ่งรายระดบั บริการ ที่แบง่ เกณฑ์ระดบั โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทว่ั ไป โรงพยาบาล
ชุมชนและระดบั โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบล ดงั น้ี

- ระดบั โรงพยาบาลศูนย/์ โรงพยาบาลทัว่ ไป ร้อยละ 5.38 (เกณฑร์ ้อยละ 11)
- ระดบั โรงพยาบาลชุมชน รอ้ ยละ 13.77 (เกณฑ์ร้อยละ 19)
- ระดับ รพ.สต. ร้อยละ 38.36 (เกณฑ์ร้อยละ 36)
- การให้บริการคลินิกแพทย์แผนไทยที่แผนกผู้ป่วยนอก (OPD คู่ขนาน) เป้าหมาย
รพศ. รพท. และ รพช. เปดิ ให้บริการครบทกุ แห่ง จำนวน 10 แห่ง
- การให้บริการคลินิกการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกแบบครบวงจร
(คลินิก 4 โรค) เปา้ หมาย รพศ. รพท. (เพม่ิ รพช. อู่ทอง เป็น รพ. ตน้ แบบแพทย์แผนไทย) ดำเนินการ
ไดค้ รบทกุ แห่ง

226 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททที่ 5่ี 1

ตารางที่ 7 รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยและผู้สงู อายุติดเตียงได้รับการบรกิ ารการแพทย์แผนไทยฯ ไม่น้อยกว่า
รอ้ ยละ 60

อำเภอ ผมู้ ารับบริการ คดิ เป็นร้อยละ

แผนไทย ท้งั หมด

เมือง 363 331 91.18

สองพนี่ ้อง 231 224 96.96

เดิมบาง 153 140 91.50

อู่ทอง 225 203 90.22

สามชกุ 82 74 90.24

ศรีประจนั ต์ 200 199 99.50

ดอนเจดีย์ 74 69 93.24

ด่านชา้ ง 95 95 100.00

หนองหญ้าไซ 98 92 93.89

บางปลามา้ 217 183 84.33

รวม 1,738 1,610 92.63

ที่มา : ผลการดำเนินงานการดูแลผู้ป่วยติดเตียงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและ

การแพทยท์ างเลือกภาพรวมระดบั CUP

จากตารางที่ 7 ผลการดำเนินงาน ผา่ นเกณฑ์ คือได้ร้อยละ 92.63

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 227


บทท่ี 5 Governance Excellence

3. แผนงาน/โครงการ ปี 2563 ซึ่งมีงบประมาณทดี่ ำเนินการ คือ

1. งบ Non UC สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี จำนวน 38,520 บาท
2. งบกองทนุ ภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย จำนวน 305,400 บาท
ซ่ึงแยกตามกจิ กรรมดังนี้

1. งบ Non UC สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี จำนวน 48,520 บาท

ชื่อโครงการ/กิจกรรม Goal งบประมาณ
(บาท)

1. การดูแลผูป้ ่วยตดิ เตยี งดว้ ย พฒั นาคุณภาพการแพทยแ์ ผนไทยฯ ของสถาน 10,400
ศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยและ บริการของรัฐในจงั หวัดสพุ รรณบรุ สี ามารถ
การแพทยผ์ สมผสาน ใหบ้ รกิ ารด้านการแพทยแ์ ผนไทยฯแก่ประชาชน
อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ปลอดภยั และมีมาตรฐาน

2. พัฒนาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ทใี่ น พฒั นาคุณภาพการแพทยแ์ ผนไทยฯ ของสถาน 14,200
การดำเนนิ การแผนไทย ฯ เรื่อง บรกิ ารของรัฐในจังหวดั สพุ รรณบุรีสามารถ
กญั ชา ให้บริการดา้ นการแพทย์แผนไทยฯแกป่ ระชาชน

อย่างมีประสทิ ธิภาพ ปลอดภยั และมมี าตรฐาน

3. ประเมนิ มาตรฐานการนวด พฒั นาคุณภาพการแพทยแ์ ผนไทยฯ ของสถาน 4,320
ไทย บริการของรฐั ในจังหวดั สพุ รรณบรุ ีสามารถ
ให้บริการดา้ นการแพทยแ์ ผนไทยฯแก่ประชาชน
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ปลอดภยั และมมี าตรฐาน

4. นิเทศงานรวมฝ่าย มีระบบบรกิ ารดา้ นการแพทย์แผนไทยทสี่ อดคล้อง 9,600
ตาม Service plan สาขาการแพทย์แผนไทยและ
การแพทยผ์ สมผสานในหน่วยบรกิ าร

228 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททที่ 5ี่ 1

2. งบกองทนุ ภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย จำนวน 305,400 บาท

โครงการ/กิจกรรม Goal งบประมาณ
(บาท)
1.จัดอบรม service plan 4 ครัง้ สนับสนุนแผนพฒั นาระบบบริการสุขภาพ 28,200
14,700
(Service plan) สาขาแพทย์แผนไทย ฯ ของ
45,300
จงั หวัด 18,000
21,600
2.ประกวดพ้นื ท่ีต้นแบบดีเดน่ ดา้ น มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรูป้ ระสบการณ์การ 7,750

การแพทย์แผนไทยฯ และติดตาม พัฒนาคณุ ภาพด้านการแพทย์แผนไทยฯ ใน 29,500

พ้นื ทตี่ น้ แบบระดบั อำเภอ 10 อำเภอ ระดับจังหวดั ทงั้ ระดบั เจา้ หน้าท่ี และสถาน

บรกิ ารระดบั ต่าง ๆ

3.จดั อบรม IT (10 อำเภอ) บคุ คลากรในหนว่ ยบริการ มคี วามรู้ในระบบ

HDC และลงข้อมลู บริการ/หัตถการงาน

แพทย์แผนไทย ไดอ้ ย่างถูกต้อง

4.นิเทศงาน IT (รพ./รพสต.) บคุ คลากรในหนว่ ยบริการ มคี วามรใู้ นระบบ

HDC และลงข้อมลู บริการ/หัตถการงาน

แพทย์แผนไทย ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง

5.สำรวจและจัดทำทะเบยี นบุคลากร มกี ารจดั ทำและปรับปรุงฐานข้อมลู ต่าง ๆ

ดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย/สมุนไพร/ ของสำนักงานนายทะเบยี นจังหวัดสุพรรณบรุ ี

พนื้ ทกี่ ำเนิดสมนุ ไพร

6.คนื ภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทยให้ เพ่อื สง่ เสรมิ ประชาสมั พนั ธ์ กระตุ้นปลกุ

แผน่ ดิน จติ สำนกึ ใหป้ ระชาชนชาวไทยตระหนกั ใน

คณุ คา่ ของภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย และ

การนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยของชาติ

มามอบใหแ้ ผ่นดินและนำไปใชป้ ระโยชน์ใน

การดูแลตนเองและสงั คม

7.จดั ประชุมคณะกรรมการหมอ เพื่อให้เกิดการดำเนนิ งานด้านงานอนุรักษ์

พ้นื บ้าน คุม้ ครอง สง่ เสรมิ ภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผน

ไทย โดยเฉพาะหมอพ้นื บ้าน จากหนว่ ยงาน

ภาคเี ครือขา่ ยต่าง ๆ

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 229


บทที่ 5 Governance Excellence

โครงการ/กจิ กรรม Goal งบประมาณ
(บาท)
8.จดั ประชมุ คณะอนุกรรมการ พฒั นาเครือข่ายบุคลากรแพทยแ์ ผนไทยให้ 22,250

คุ้มครองและสง่ เสรมิ ภมู ิปญั ญา เกดิ การดำเนนิ งานอนุรักษ์ คุ้มครอง ส่งเสรมิ 9,000
80,100
การแพทยแ์ ผนไทย ภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทยให้เป็นไปอย่าง
9,000
ตอ่ เน่อื ง 20,000

9.จดั ประชุมสรรหากรรมการ ดำเนนิ การสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒดิ า้ น

ผทู้ รงคณุ วฒุ ดิ ้านการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยแ์ ผนไทยเพ่ือแทนกรรมการชดุ เก่าที่

จะหมดวาระ

10.รว่ มประชุมวิชาการ จดั บธู นิทรรศ ร่วมประชุมวชิ าการ และแสดงผลงาน/

การและการแสดงผลงานในงาน นวตั กรรมด้านการแพทย์แผนไทยและ

มหกรรมการแพทย์แผนไทยระดับ การแพทย์พื้นบ้านของจังหวัดสุพรรณบรุ ีใน

ภูมภิ าค และสนับสนนุ การเข้าร่วม งานมหกรรมการแพทยแ์ ผนไทยระดบั ภาค

ประชมุ แลกเปลย่ี นนโยบาย/การ และระดบั ประเทศ เพื่อเผยแพร่

ประชุมระหว่างเครือขา่ ยฯ/การ ประชาสมั พนั ธ์องคค์ วามรดู้ า้ นการแพทย์แผน

พฒั นางานดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย ฯ ไทยสำหรับประชาชนทว่ั ไป

11.จัดประชมุ VDO conference บคุ คลากรในหน่วยบริการ มคี วามรู้ในระบบ

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

12.ค่าใช้สอยอ่ืนๆเพือ่ การขบั เคลือ่ น สนบั สนนุ แผนพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพ

การดำเนินงานแพทย์แผนไทย (Service plan) สาขาแพทย์แผนไทยฯของ

จงั หวัด

4.ผลการดำเนนิ งาน

1) จังหวัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการ (Service plan) แพทย์แผนไทย และ
กำหนดทิศทางและเป้าหมายการดำเนินงานจงั หวัด/แผนยุทธศาสตรจ์ งั หวดั ปี 2563

2) ทุกอำเภอทบทวนบริการและจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการ เพื่อพัฒนางานให้บรรลตุ าม
เป้าหมายทง้ั ในหน่วยบริการและเชิงรุกในชมุ ชน

3) จังหวัด/อำเภอขับเคลื่อนงานผ่านกลไกรูปแบบต่างๆ เช่น คณะกรรมการพัฒนาระบบ
บรกิ าร (Service plan) แพทย์แผนไทย คณะทำงาน คปสอ. เป็นต้น

4) จังหวัดจัดทำข้อมูลบุคลากรและความต้องการของหน่วยบริการทุกระดับ เพื่อวางแผน
ด้านกำลังคน

230 รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททท่ี 5ี่ 1

5) จังหวัดพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการ โดยจัดอบรมแพทย์แผนไทยในเรื่อง การนำเข้าข้อมูล
ผ่านโปรแกรม HDC, การอบรมบุคลากรแพทย์แผนไทย เรื่องกัญชา, การอบรมการดูแล
ผู้สูงอายุ, การอบรมพัฒนาเครือข่าย กลมุ่ บคุ ลากร นกั วิชาการ กลุม่ แกนนำสุขภาพ

6) จงั หวัดกำหนดนโยบายการใชย้ าสมนุ ไพรทดแทนยาแผนปจั จบุ นั จำนวน 7 รายการ คือ ฟา้
ทะลายโจร, ยาขมนิ้ ชันแคปซลู , ยาน้ำธาตอุ บเชย, ยาน้ำแก้ไอผสมมะขามป้อม, ครีมไพลหรือ
นำ้ มนั ไพลหรอื ยาหมอ่ งไพล, ยาผสมเพชรสังฆาตแคปซูล, ครมี พญายอ พร้อมทงั้ มกี รอบ

รายการ
ยาสมนุ ไพร จำนวน 84 รายการ และหนว่ ยบรกิ ารทุกแห่งจัดซ้ือยาสมนุ ไพรจากโรงผลติ ยา
คอื โรงพยาบาลชุมชนอู่ทอง (โรงพยาบาลตน้ แบบแพทย์แผนไทย )

7) รพ./รพ.สต. สั่งยาสมุนไพรเป็นอันดับแรก ( first line drug ) ได้แก่ ฟ้าทะลายโจรและยา
ขมนิ้ ชัน

8) จังหวัดวิเคราะห์ผลงาน และจัดประชุมผ่านคณะกรรมการ (Service plan) แพทย์แผนไทย
เพ่อื หาแนวทางขบั เคลอ่ื นการดำเนินงาน ใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพ จำนวน 3 เดือน/คร้งั

5. สรุปประเดน็ สำคัญทีเ่ ปน็ ความเส่ียงต่อการทำให้การขับเคลอ่ื นนโยบายหรือการดำเนินงานไม่
ประสบความสำเรจ็

จุดเด่น
1. การสนบั สนุนของผ้บู รหิ าร โดยการตดิ ตามการดำเนนิ งานอยา่ งต่อเนือ่ ง และประกาศ

นโยบายเพิ่มเปา้ หมายการดำเนนิ งาน เพอ่ื สรา้ งพลงั ใจใหเ้ กิดความม่งุ มั่น
2. การตดิ ตาม สนับสนนุ การดำเนินงาน โดยการจัดประชุมแพทย์แผนไทยและผูเ้ กย่ี วข้อง

เพ่อื ประเมินผลงานและแกไ้ ขปญั หาการทำงานสมำ่ เสมอ เชน่ ปัญหาการบันทกึ ข้อมูลผลงานในระบบ
HDC รวมท้ังการติดตามการดำเนินงานถงึ พน้ื ที่

3. รพท. รพช. ทุกแห่งจัดบริการดา้ นการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ในรปู แบบ
ของ OPD คู่ขนาน และ OPD ครบวงจร และใหบ้ ริการในรพ.สต.ทุกแห่ง (การใช้ยา) (รพ.สต.มีแพทย์แผน
ไทย 11 แห่ง และมี ผู้ชว่ ยแพทย์แผนไทย 94 แห่ง)

4. สง่ เสริมการใชย้ าสมุนไพรในสถานบรกิ ารทุกระดับ และจดั ทำบัญชีรายการยาสมนุ ไพร
(จำนวน 84 รายการ)

5. ส่งเสรมิ การใชย้ าสมุนไพร ใน รพศ., รพท., รพช. มากกว่า 30 รายการ และรพ.สต.
มากกว่า 10 รายการและการใช้ยาปรุงเฉพาะรายที่ รพช.อู่ทอง

6. ส่งเสรมิ การใชย้ าสมุนไพรที่ รพช.อู่ทอง ที่ผลิตได้

รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563 231


บทที่ 5 Governance Excellence

ที่ไม่ประสบผลสำเรจ็

1. ตน้ ทุนยาสมุนไพรมีราคาสูง ทำให้ไดร้ บั การสนับสนนุ ในการนำเขา้ โรงพยาบาลนอ้ ย

2. การขาดแคลนบุคลากร แพทยแ์ ผนไทย ในหนว่ ยบรกิ ารสาธารณสุข เนอื่ งจากระบบการจดั
จา้ งตำแหน่งแพทยแ์ ผนไทย ยังคงเปน็ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พ.ก.ส) และลูกจ้าง ขาด
ความกา้ วหน้าความม่นั คง ยังคงเป็นลูกจ้าง ขาดความกา้ วหนา้ ความมนั่ คง ทำให้เกดิ ปญั หาในเรอื่ ง
แรงจงู ใจของคนที่จะเข้ามาทำงานในระบบ จงึ เปน็ เหตใุ ห้ลาออกบ่อย ทำให้การดำเนนิ งานตา่ ง ๆ ไม่
ต่อเนือ่ ง

6. ปญั หา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ

ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนนิ งาน ขอ้ เสนอแนะ

ไม่บรรลุวตั ถุประสงค์

1. ต้นทุนยาสมุนไพรมรี าคาสูง ทำใหไ้ ด้รบั การสนับสนนุ ใน : ผบู้ รหิ ารเล็งเห็นความสำคญั ในการใชย้ าสมุนไพร

การนำเขา้ โรงพยาบาลน้อย เพ่ือลดตน้ ทนุ และเพ่มิ การผลิตในระยะยาว

2.การขาดแคลนบุคลากร แพทยแ์ ผนไทย ในสำนักงาน : เพิ่มกรอบอัตรากำลงั แพทย์แผนไทยใน รพศ. หรือ
สาธารณสุขจงั หวดั และหน่วยบรกิ ารสาธารณสุข เน่อื งจาก รพช.เพม่ิ ขน้ึ
ระบบการจดั จ้างตำแหนง่ แพทย์แผนไทย ยงั คงเปน็ พ.ก.ส.
และลูกจา้ ง ขาดความก้าวหนา้ ความมน่ั คง ทำใหเ้ กดิ ปญั หา : กำหนดกรอบแพทย์แผนไทยใน รพ.สต. และ
ในเร่อื ง แรงจงู ใจของคนที่จะเขา้ มาทำงานในระบบ จึงเปน็ จดั สรรงบประมาณเพ่ือธำรงคนไว้
เหตใุ ห้ ลาออกบ่อย

3 ประชาชนบางกลมุ่ ยงั ไมส่ นใจการ รักษาแบบการแพทย์ - ผลติ ผลงานวิชาการ งานวจิ ยั องค์ ความรสู้ ่ือ

แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สำหรบั เผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์

232 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


Governance Excellence บบทททท่ี 5่ี 1

7.นวัตกรรมท่ีสามารถเป็นแบบอยา่ ง

- ผลงานวิชาการ “เจลสมนุ ไพรฤทธิเ์ ย็น” รักษาอาการปวดขอ้ เข่า สถานีอนามยั เฉลิมพระ
เกียรติ 60 พรรษา ตำบลบ่อสุพรรณ อ.สองพนี่ ้อง (ตามรูปด้านลา่ ง )
- วจิ ัย “ศึกษาประสิทธิผลของครมี สมนุ ไพรฤทธ์เิ ย็นในการรักษาอาการปวดเขา่ กลุ่มผสู้ ูงอายุ”
สถานอี นามยั เฉลมิ พระเกยี รติ 60 พรรษา ตำบลบ่อสพุ รรณ อ.สองพน่ี ้อง

1.3.ประเดน็ : มาตรฐานงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

2.สภาพปัญหาของพนื้ ท่ี

จังหวัดสุพรรณบุรี มีหน่วยบริการสาธารณสุขของรัฐ ทั้งหมด 184 แห่ง คือ โรงพยาบาล
ทั้งหมด 10 แห่งประกอบด้วย โรงพยาบาลศูนย์ 1 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน
8 แห่ง และโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบล จำนวน 174 แหง่ มกี ารจดั ต้งั คลินิกการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ผสมผสาน ที่แผนกผู้ป่วยนอก ในโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป/โรงพยาบาลชุมชน/คู่ขนาน
กับแพทย์แผนปัจจุบัน โดยปีงบประมาณ 2563 มีการเปิดดำเนินการ จำนวน 10 แห่ง โรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 174 แห่ง ให้บริการรักษาพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและ
ฟื้นฟูสภาพครบทุกแห่ง ทั้งนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีการจัดบริการนวดไทย ทั้งหมด 106
แห่ง คิดเป็นร้อยละ 60.92 ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีนักการแพทย์แผนไทย 11 แห่ง
โรงพยาบาลมีการใหบ้ ริการฝังเข็ม ทั้งหมด 5 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช โรงพยาบาล
เดิมบางนางบวช โรงพยาบาลบางปลาม้า โรงพยาบาลศรีประจันต์ และโรงพยาบาลสามชุก สำหรับ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ทั้งหมด ๑๗๔ แห่ง จากการประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพ และสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน ผลการดำเนินงาน ผลการ
ประเมิน ระดับดีเยี่ยม 68 แห่ง ระดับดีมาก 65 แห่ง ระดับดี 29 แห่ง ระดับพื้นฐาน 12 แห่ง และ
โรงพยาบาล 10 แหง่ ระดับดเี ยีย่ ม 9 แหง่ ระดบั ดีมาก 1 แห่ง ส่วนของการประเมนิ มาตรฐานนวดไทย

รายงานประจำปีสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2563 233


บทที่ 5 Governance Excellence

ในโรงพยาบาล จำนวน 10 แห่ง ผลการประเมิน ระดับดีเย่ียม 3 แห่ง ระดับมาตรฐาน 7 แห่ง ส่วนใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ที่มีนักการแพทย์แผนไทยปฏิบัติงาน จำนวน 11 แห่ง
ระดับดีเยยี่ ม 5 แห่ง ระดบั มาตรฐาน 6 แหง่

3. การบรหิ ารจัดการ

ตามที่ กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้จัดทำ
มาตรฐานงานบริการการแพทย์แผนไทย ในสถานบรกิ ารสาธารณสุขของรฐั ตัง้ แตป่ ี 2547 และพัฒนา
อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน มีการใช้มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ผสมผสาน (รพ.สส.พท.) เป็นแนวทางในการประเมินมาตรฐานของสถานบริการ
สาธารณสขุ ของรัฐ โดยกำหนดใหม้ ี การประเมนิ มาตรฐานทุก 2 ปี สว่ นการประเมินมาตรฐานการนวด
ไทยในสถานบรกิ ารสาธารณสุข ทีม่ ีนักการแพทย์แผนไทยปฏบิ ตั งิ าน ทุก 1 ปี

4. ผลการดำเนินงาน

1. มาตรฐานโรงพยาบาลสง่ เสรมิ และสนับสนนุ การแพทย์แผนไทยและการแพทยผ์ สมผสาน (รพ.สส.พท.)

อำเภอ พ้ืนฐาน ดี ดมี าก ดเี ยี่ยม รวม
3 9 18 30
เมอื ง 0 8 3 4 21
2 4 11 17
เดิมบางนางบวช 6 4 10 4 18
3 5 7 15
ด่านช้าง 0 2 1 7 10
6 9 9 26
บางปลาม้า 0 0 9 4 14
1 11 8 23
ศรีประจันต์ 0 0 5 5 10
29 66 77 184
ดอนเจดีย์ 0

สองพน่ี ้อง 2

สามชกุ 1

อู่ทอง 3

หนองหญา้ ไซ 0

รวม 12
หมายเหตุ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 สงิ หาคม 2563

234 รายงานประจำปสี ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2563


Click to View FlipBook Version