The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-20 05:36:14

รายงานประจำปี2557

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

สานกั งานสราาธยารงาณนสสปขุ ร่จวะงั จนหาวปทดั ีพส่ี .พุ2ศ.ร๒ร:๕ณข๕บอ๗ุ้รี มูลทว่ั ไป

[Draw your reader in with an engaging abstract. It is typically a short summary of the document. When
you’re ready to add your content, just click here and start typing.]

ขอ้ มูลทว่ั ไป

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 1

คำ่ นิยมองคก์ ร

1. ทำงำนเป็นทีม
2. บรกิ ำรอย่ำงมคี ุณภำพ
3. เพยี บพร้อมคุณธรรม
4. ผรู้ บั บริกำรเป็นศนู ย์กลำง
5. ผลงำนเกิดจำกเครอื ข่ำย

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 2

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗

Page 3

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗

Page 4

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗

Page 5

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗

Page 6

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗

Page 7

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗

Page 8

แผนท่ีจังหวดั สุพรรณบุรี

อำณำเขต

ทศิ เหนือ ตดิ จังหวัดอุทยั ธานี และจังหวดั ชัยนาท
ทิศตะวนั ออก ตดิ จังหวดั สงิ ห์บรุ ี จงั หวัดอ่างทอง และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทศิ ใต้ ติดจงั หวดั นครปฐม และจังหวัดกาญจนบุรี
ทิศตะวนั ตก ตดิ จังหวดั กาญจนบุรี

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 9

แผนทจี่ งั หวัดสุพรรณบรุ ี

เขตกำรปกครอง

การบริหารราชการสว่ นภมู ิภาคของจังหวดั สุพรรณบุริ แบ่งเขตการปกครองออกเปน็

10 อาเภอ 110 ตาบล 258 ชมุ ชน และ 1,008 หมบู่ ้าน โดยมีอาเภอดังนี้

1. อาเภอเมืองสุพรรณบุรี 2. อาเภอเดมิ บางนางบวช

3. อาเภอด่านช้าง 4. อาเภอบางปลามา้

5. อาเภอศรปี ระจันต์ 6. อาเภอดอนเจดีย์

7. อาเภอสองพ่ีน้อง 8. อาเภอสามชกุ

9. อาเภออู่ทอง 10. อาเภอหนองหญา้ ไซ

การบรหิ ารราชการส่วนท้องถิ่น ประกอบดว้ ย องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด 1 แห่ง เทศบาลเมือง

2 แหง่ เทศบาลตาบล 41 แห่ง และองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล 83 แห่ง (ตารางท่ี 1)

ตารางที่ 1 เขตการปกครอง จงั หวัดสุพรรณบุรี จาแนกรายอาเภอ สาหรบั ใช้กาหนด

เป้าหมายในปีงบประมาณ 2558

เทศบาล จานวนชมุ ชน/หมู่บา้ นตาม

อาเภอ ตาบล เมอื ง ตาบล อบต. เขตการปกครอง(มหาดไทย)

ชุมชน หมบู่ ้าน

เมืองสพุ รรณบรุ ี 20 17 14 72 124

เดมิ บางนางบวช 14 -8 8 42 121

ด่านช้าง 7 -1 7 5 93

บางปลามา้ 14 -7 11 30 127

ศรปี ระจันต์ 9 -4 6 24 64

ดอนเจดยี ์ 5 -2 5 8 50

สองพน่ี ้อง 15 11 14 25 140

สามชกุ 7 -1 6 20 68

อูท่ อง 13 -9 6 30 155

หนองหญ้าไซ 6 -1 6 2 66

รวม 110 2 41 83 258 1,008

ทีม่ า : 1) สานกั งานส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่นิ จงั หวัดสพุ รรณบุรี (ข้อมูล ณ มกราคม 2558)
2) ขอ้ มูลจานวนเทศบาล และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน (อบต.) จากกลุ่มงานอนามยั สิง่ แวดล้อม สสจ.
สุพรรณบรุ ี ณ เดอื นกนั ยายน 2557

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 10

ประชำกรจงั หวดั สพุ รรณบุรี

จานวนประชากรจังหวดั สุพรรณบรุ สี าหรบั ใชก้ าหนดเป้าหมายในปีงบประมาณ 2558 มจี านวน
ท้งั สิ้น 868,098 คน เป็นชาย 418,890 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 48.25 และหญงิ 449,208 คน คดิ เปน็ รอ้ ย
ละ 51.76 อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง เทา่ กบั 1:1.07 อาเภอทมี่ ีสัดส่วนประชากรมากทส่ี ุด 3
ลาดับแรก คอื อาเภอเมอื งสุพรรณบรุ ี รองลงมาคอื และอาเภออู่ทอง อาเภอสองพ่นี ้อง ความหนาแนน่
ของประชากรในภาพรวมท้งั จังหวดั เทา่ กบั 157.91 คนตอ่ ตารางกิโลเมตร (พ้นื ที่จงั หวดั สพุ รรณบุรีมี
ทงั้ หมด 5358.01 ตารางกโิ ลเมตร) มีจานวนหลงั คาเรือนรวมทง้ั ส้นิ 272,653 หลงั คาเรือน (ตารางท่ี 2)

ตารางท่ี 2 จานวนประชากรและหลงั คาเรือน ใชก้ าหนดเปา้ หมายปงี บประมาณ 2558

จาแนกตามเพศและรายอาเภอ จงั หวดั สุพรรณบุรี

อำเภอ ชำย หญิง รวม ร้อยละ อัตรำส่วน หลงั คำเรอื น

ชาย:หญงิ

เมอื ง 96,544 105,451 201,995 23.26 1:1.09 56,355

เดมิ บางนางบวช 33,450 36,580 70,030 8.06 1:1.09 24,668

ดา่ นชา้ ง 31,803 32,955 64,758 7.45 1:1.03 24,076

บางปลามา้ 35,605 37,287 72,892 8.39 1:1.04 24,485

ศรปี ระจนั ต์ 27,478 30,147 57,625 6.63 1:1.09 20,563

ดอนเจดยี ์ 21,428 22,542 43,970 5.06 1:1.05 14,508

สองพน่ี ้อง 64,969 69,208 134,177 15.45 1:1.06 37,776

สามชุก 24,694 27,217 51,911 5.97 1:1.10 19,275

อู่ทอง 60,547 64,079 124,626 19.35 1:1.05 35,420

หนองหญ้าไซ 22,372 23,742 46,114 5.31 1:1.06 15,527

รวม 418,890 449,208 868,098 100.0 1:1.07 272,653

ท่ีมา : 1. ฐานข้อมลู ประชากรหลักประกนั สุขภาพ ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2557
3. ข้อมูลจานวนหลังคาเรอื นจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (http://www.dopa.go.th/stat_m.htm)

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 11

โครงสร้ำงประชำกรตำมกลมุ่ อำยแุ ละเพศ

รปู ที่ 1 ปิรำมิดประชำกร จ.สุพรรณบุรี ปี พ.ศ.2535 รปู ท่ี 2 ปริ ำมดิ ประชำกร จ

ที่มา สานักนโยบายและยทุ ธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข ที่มา สานักนโยบายและยุทธศาส
http://bps.ops.moph.go.th/index.php?mod=bps&doc=5_1 http://bps.ops.moph.go.th/

เมื่อพิจารณาโครงสร้างประชากรตามกลุ่มอายุและเพศของประชากรจังหวดั ส
ทางโครงสร้างกลุ่มอายุท่ชี ัดเจนมาก กลา่ วคือสดั สว่ นของประชากรวยั เด็ก (0-14 ปี) ล
( รูปท่ี 1-3) เมือ่ พจิ ารณาจากจานวนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป 141,166 คน คดิ เปน็
ปกครอง ณ เดือนธันวาคม 2556) น่นั หมายถงึ จงั หวดั สพุ รรณบุรีได้ก้าวสูส่ ังคมผสู้ งู อา
จงั หวดั สุพรรณบรุ ีจะปรับตวั เป็นสังคมผ้สู ูงอายุอยา่ งสมบูรณ์ (Aged Sociely)

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗

จ.สุพรรณบุรี ปี พ.ศ.2545 รปู ที่ 3 ปิรำมิดประชำกร จ.สุพรรณบุรี ปี พ.ศ.2556

สตร์ กระทรวงสาธารณสขุ ที่มา สานกั นโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสขุ
/index.php?mod=bps&doc=5_1 http://bps.ops.moph.go.th/index.php?mod=bps&doc=5_1

สุพรรณบรุ ีในรอบ 22 ปที ผี่ ่านมา (ปี พ.ศ.2535 – 2556) พบวา่ มกี ารเปล่ียนแปลง
ลดลง ในขณะเดียวกันสดั ส่วนประชากรกลุ่มผูส้ งู อายุ (60 ปีขึน้ ไป) เพิ่มมากข้ึน
นร้อยละ 16.64 ของประชากรท้ังหมด (จานวน 848,399 คน ข้อมลู จากกรมการ
ายุ (Ageing Society) และในอนาคตถ้าร้อยละของผู้สูงอายเุ พม่ิ ข้ึนเป็น ร้อยละ 20

Page 12

ขอ้ มูลทรพั ยำกรสำธำรณสุข

สถำนบริกำรสำธำรณสขุ ของรฐั

จงั หวัดสพุ รรณบุรี มีสถานบริการสาธารณสุขของรัฐบาล ดงั นี้ จานวน 1 แห่ง
จานวน 1 แห่ง
โรงพยาบาล ระดบั A (โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช) จานวน 1 แหง่
 โรงพยาบาล ระดบั M1 (โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสงั ฆราชองคท์ ่ี 17) จานวน 1 แหง่
 โรงพยาบาล ระดบั M2 (โรงพยาบาลอู่ทอง) จานวน 6 แห่ง
 โรงพยาบาล ระดบั F1 (โรงพยาบาลด่านชา้ ง)
 โรงพยาบาล ระดบั F2 (โรงพยาบาลสามชุก ,เดมิ บางนางบวช, จานวน 174 แหง่
จานวน 8 แห่ง
ศรปี ระจันต์,ดอนเจดีย์,บางปลามา้ ,หนองหญ้าไซ จานวน 166 แหง่
 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบล จานวน 3 แห่ง
จานวน 5 แห่ง
o โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลขนาดใหญ่
o โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลขนาดเล็ก
 ศนู ย์บรกิ ารสาธารณสขุ ของเทศบาล
 ศนู ย์สุขภาพชมุ ชนเมือง

ตารางที่ 4 จานวนสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั บาล จาแนกรายอาเภอ จังหวัดสุพรรณบรุ ี

โรงพยำบำล โรงพยำบำล ศูนยบ์ รกิ ำร

อำเภอ ประเภท/แหง่ จำนวน จำนวนเตยี ง ส่งเสริมสขุ ภำพ สำธำรณสุข

เตยี ง จริง ตำมกรอบ ตำบล (แหง่ )

เมืองฯ รพ. ระดบั A 1 แหง่ 602 666 29 2
เดิมบางฯ รพ. ระดับ F2 1 แหง่ 104 120 20 -
ดา่ นช้าง รพ. ระดบั F1 1 แหง่ 90 90 16 -
บางปลาม้า รพ. ระดับ F2 1 แห่ง 60 60 17 -
ศรีประจนั ต์ รพ. ระดบั F2 1 แหง่ 74 60 14 -
ดอนเจดยี ์ รพ. ระดับ F2 1 แห่ง 60 60 9 -
สองพน่ี ้อง รพ. ระดบั M1 1 แหง่ 224 210 25 1
สามชกุ รพ. ระดบั F2 1 แห่ง 40 60 13 -
อู่ทอง รพ. ระดบั M2 1 แหง่ 102 150 22 -
หนองหญ้าไซ รพ. ระดับ F2 1 แห่ง 60 60 9 -

รวม 10 1,416 1,506 174 3

ทีม่ า : ขอ้ มลู ทรัพยากรทางการแพทย์ งานพฒั นายทุ ธศาสตรส์ าธารณสุข สสจ.สพุ รรณบรุ ี ข้อมูล ณ เดือนกนั ยายน 2557

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 13

สถำนบรกิ ำรสำธำรณสุขของเอกชน

 สถำนพยำบำลประเภททีร่ ับผปู้ ่วยไวค้ ้ำงคืน จำนวน 5 แห่ง

o โรงพยาบาล จานวน 4 แหง่

o สถานพยาบาล (มีเตยี ง) จานวน 1 แหง่

 สถำนพยำบำลประเภททีไ่ ม่รับผปู้ ่วยไว้คำ้ งคนื จำนวน 228 แหง่

-คลินกิ เวชกรรม/เวชกรรมเฉพาะทาง (คลินิกแพทย)์ จานวน 91 แห่ง

-คลนิ ิกทนั ตกรรม จานวน 26 แหง่

-คลนิ ิกการพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ จานวน 84 แหง่

-คลินกิ เทคนิคการแพทย์ จานวน 7 แหง่

-คลินกิ การแพทย์แผนไทย จานวน 10 แหง่

-สหคลินิก จานวน 5 แห่ง

-คลนิ กิ กายภาพบาบัด จานวน 5 แห่ง

 สถำนประกอบกำรร้ำนขำยยำและผลติ ยำแผนโบรำณ จำนวน 278 แหง่

o รา้ นขายยาแผนปัจจบุ นั จานวน 121 แห่ง

o รา้ นขายยาแผนปัจจบุ ันบรรจุเสรจ็ จานวน 80 แห่ง

o รา้ นขายยาแผนโบราณ จานวน 50 แห่ง

o สถานทผ่ี ลิตยาแผนโบราณ จานวน 16 แหง่

o ร้านขายยาแผนปัจจบุ ันบรรจเุ สรจ็ สาหรับสัตว์ จานวน 11 แห่ง

ทม่ี า : งานคุ้มครองผ้บู รโิ ภค สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ณ วนั ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2557

ตารางที่ 5 จานวนอาสาสมัครสาธารณสุข จาแนกรายอาเภอ จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2557

อาเภอ จานวน อสม. (คน) อัตราสว่ น อสม./ อตั ราสว่ น อสม./หลังคา

ประชากร เรอื น

เมอื งสุพรรณบุรี 2,301 1 : 88 1 : 24

เดมิ บางนางบวช 1,654 1 : 42 1 : 15

ดา่ นชา้ ง 1,178 1 : 28 1 : 20

บางปลาม้า 1,539 1 : 47 1 : 16

ศรีประจนั ต์ 1,277 1 : 45 1 : 16

ดอนเจดีย์ 838 1 : 52 1 : 17

สองพ่นี ้อง 1,602 1 : 84 1 : 24

สามชุก 1,082 1 : 48 1 : 18

อทู่ อง 2,438 1 : 51 1 : 15

หนองหญ้าไซ 1,233 1 : 37 1 : 13

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 14

รวม 15,142 1 : 57 1 : 18

ที่มา : งานสขุ ภาพภาคประชาชน สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ณ วันที่ 30 กันยายน 2556

ขอ้ มลู กำลังคนด้ำนสำธำรณสขุ

ดูรายละเอียด ในประเด็นการบรหิ ารและจัดการทรัพยากรบุคคล แผนงานการพัฒนาระบบ
บริหารจัดการ

กำรบรกิ ำรสุขภำพ

กำรให้บริกำรสุขภำพในระดับโรงพยำบำล

1. ผ้ปู ่วยนอก
การให้บริการผู้ป่วยนอกในระดับโรงพยาบาล จากคลังข้อมูลสานักงานสาธารณสุขจังหวัด

สุพรรณบุรี ในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า ในปีงบประมาณ 2557 จานวนผู้มารับบริการ
ผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลจานวนคนและจานวนครั้งลดลง จากปีงบประมาณ 2556 เม่ือพิจารณา
อัตราส่วนของการมารับบริการ (ครั้งต่อคน) ตามประเภทสิทธิ จะเห็นว่ากลุ่มสิทธิข้าราชการ/
รัฐวิสาหกิจ/เบิกต้นสังกัดมาใช้บริการเฉล่ียจานวนครั้งต่อคนมากกว่ากลุ่มสิทธิอื่นๆ คือ 6.46 คร้ัง/คน
กลุ่มสิทธิ UC และกลุ่มสิทธิประกันสังคม มีอัตราส่วนของการมารับบริการใกล้เคียงกัน คือ 455 และ
4.22 คร้ัง/คน กลุ่มสิทธิแรงงานต่างด้าวมีอัตราส่วนของการมารับบริการต่อคนน้อยท่ีสุดคือ 2.26
ครั้ง/คน โดยค่าเฉลี่ยของการมารับบริการผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลในภาพรวมของประชากรทั้งจังหวัด
เท่ากับ 2.36 ครั้ง/คน/ปี (ตารางท่ี 6) และเมื่อพิจารณาจานวนคร้ังจากปีงบประมาณ 2557 พบลดลง
ทุกกลุ่มสิทธิ พบว่า จานวนคนและจานวนคร้ังลดมากที่สุด ในกลุ่มสิทธิ UC ในขณะท่ีจานวนคร้ังที่มา
รับบริการลดมากท่ีสุดในกลุ่ม UC รองลงมาคือกลุ่มข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ กลุ่มประกันสังคม
ตามลาดบั ในขณะที่กลุ่มแรงงานต่างดา้ วมารับบริการลดลง รายละเอยี ดตามตารางที่ 7

ตารางท่ี 6 จานวนคน/ครง้ั ของผรู้ ับบรกิ ารประเภทผปู้ ว่ ยนอกในระดับโรงพยาบาล จ.สุพรรณบรุ ี

จาแนกตามประเภทสทิ ธิ ปีงบประมาณ 2556 -2557

ประเภทสทิ ธิ ปี 2556 ปี 2557

(ผู้ปว่ ยนอก) คน ครั้ง ครัง้ :คน คน ครง้ั ครง้ั :คน

1.ข้าราชการ/รฐั วสิ าหกิจ/เบกิ ตน้ สังกดั 63,374 426,244 6.73 63,921 412,966 6.46

2.ประกนั สังคม 34,282 148,026 4.32 34,003 143,454 4.22

3.UC บตั รทองไม่มี ท/มี ท 302,080 1,392,038 4.61 289,683 1,317,337 4.55

4.แรงงานต่างดา้ ว 6,573 14,481 2.20 5,241 11,849 2.26

รวมผมู้ ารับบรกิ าร 458,115 2,134,433 4.66 431,976 2,006,175 4.64

ประมาณการอตั ราส่วนการใช้บรกิ าร 2.45 ครง้ั /คน/ปี 2.36 ครงั้ /คน/ปี
ผ้ปู ว่ ยนอก 1 ปี ตอ่ ประชากรทั้งหมด

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 15

ทมี่ ำ : คลังขอ้ มลู สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี (Data Center) ณ วนั ท่ี 6 มกราคม 2558

ตารางท่ี 7 จานวนคน และครงั้ ท่เี พม่ิ ขึ้นหรือลดลงของผ้รู ับบรกิ ารประเภทผู้ป่วยนอกในระดับ

โรงพยาบาล จ.สพุ รรณบุรี จาแนกตามประเภทสิทธิ จากปีงบประมาณ 2556-2557

ประเภทสทิ ธิ ปี 2556 ปี 2557
(ผปู้ ่วยนอก)
จานวนเพ่ิมขึ้น (เพม่ิ จากปี 2555) จานวนเพิม่ ขนึ้ (เพม่ิ จากปี 2556)

คน คร้งั ร้อยละของ คน ครัง้ ร้อยละของ

จานวนคร้ัง จานวนครั้ง

1.ขา้ ราชการ/รฐั วสิ าหกิจ -1,285 818 1.10 547 -13,278

2.ประกนั สงั คม 815 14,271 19.25 -279 -4,572

3.UC บัตรทองไม่มี ท/มี ท 8,191 53,268 71.84 -12,397 -74,701

4.แรงงานตา่ งดา้ ว -594 -2,614 -3.53 -1,332 -2,632

รวมผมู้ ารับบริการ (1-4) 9,412 74,146 100.00 -13,461 -95,183

ทมี่ า : คลงั ขอ้ มลู สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี (Data Center) ณ วนั ท่ี 6 มกราคม 2558

เม่ือจาแนกจานวนผู้มารับบริการผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลของรัฐ จ.สุพรรณบุรี ใน

ปงี บประมาณ 2557 เป็นรายโรงพยาบาล พบวา่ รพศ.เจ้าพระยายมราช มจี านวนผู้ป่วยนอกเฉลีย่ ต่อ

เดือนมากที่สุด รองลงมาคือ รพท.สมเด็จพระสังฆราชฯ รพช.อู่ทอง รพช.เดิมบางนางบวช รพช.

สามชุก รพช. ด่านช้าง รพช.บางปลาม้า รพช.ศรีประจันต์ รพช.ดอนเจดีย์ และรพช.หนองหญ้าไซ

ตามลาดับ ในขณะเดียวกันอัตราส่วนของการมารับบริการผู้ป่วยนอกจานวนคร้ังต่อคนต่อปีของ

รพช.สามชุกสูงกว่าโรงพยาบาลอื่นๆ คือเฉลี่ยเท่ากับ 5.19 ครั้ง/คน/ปี โดยค่าเฉลี่ยท้ังจังหวัดเท่ากับ

4.64 คร้งั /คน/ปี (ตารางที่ 8)

ตารางที่ 8 จานวนคนและครั้งของผรู้ บั บริการประเภทผ้ปู ว่ ยนอก จาแนกตามรายโรงพยาบาล

(รพ.ของรฐั ฯ) จ.สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2556-2557

โรงพยาบาล ปี 2556 ปี 2557

คน คร้งั ครั้ง: ครั้ง:เดอื น คน ครงั้ ครั้ง: ครง้ั :เดอื น

คน คน

รพศ.เจา้ พระยาฯ 128,849 629,894 4.89 52,491 128,539 619,730 4.82 51,644

รพท.สมเด็จฯ 60,086 265,395 4.42 22,116 54,189 238,484 4.40 19,874

รพช.เดิมบางฯ 44,598 206,125 4.62 17,177 39,054 184,865 4.73 15,405

รพช.ด่านชา้ ง 38,250 154,731 4.05 12,894 33,938 141,366 4.17 11,781

รพช.บางปลามา้ 33,105 144,900 4.38 12,075 28,641 130,123 4.54 10,844

รพช.ศรีประจนั ต์ 27,391 131,501 4.80 10,958 26,104 129,711 4.97 10,805

รพช.ดอนเจดยี ์ 26,589 131,585 4.95 10,965 24,099 114,836 4.77 9,570

รพช.สามชุก 26,936 146,437 5.44 12,203 27,606 143,329 5.19 11,944

รพช.อทู่ อง 53,314 231,023 4.33 19,252 52,443 217,011 4.14 18,084

รพช.หนองหญ้าไซ 18,997 92,842 4.89 7,737 17,363 86,720 4.99 7,227

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 16

รวม 458,115 2,134,433 4.66 177,869 431,976 2,006,175 4.64 167,181

ท่ีมา : คลังข้อมลู สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี (Data Center) ณ วันที่ 6 มกราคม 2558

2. ผปู้ ่วยใน

การให้บริการผู้ป่วยในของโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดสุพรรณบุรี จากคลังข้อมูล

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ในภาพรวมของจังหวัด พบว่า ในปีงบประมาณ 2557

จานวนผู้ป่วยในเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปีงบประมาณ 2556 ในกลุ่มสิทธ์ิข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ กลุ่ม

สทิ ธ์ิหลกั ประกันสขุ ภาพ (30 บาท) และกลุ่มแรงงานต่างดา้ วมีจานวนผปู้ ว่ ยในเพิม่ ข้ึนเลก็ นอ้ ย ส่วน

สิทธ์ิประกันสังคม จานวนผู้ป่วยในลดลงเล็กน้อยเมื่อพิจารณาตามจานวนวันนอนพบว่าจานวนวัน

นอนรวมลดลงจากปี 2556 สัมพันธ์กบั จานวนผูป้ ่วยในท่ีลดลง โดยในปี 2557 ผู้ป่วยใน 1 ราย มวี ัน

นอนเฉล่ีย 4.52 วัน เพิ่มข้ึนเล็กน้อยจากปี 2556 ซึ่งมีวันนอนเฉลี่ย 4.50 วัน/ราย จานวนวันนอน

เฉล่ียในปี 2557 เมื่อแยกตามประเภทสิทธิ พบว่าผู้ป่วยสิทธิข้าราชการ มีวันนอนเฉลยี่ สูงกว่าผู้ป่วย

สิทธิอนื่ ๆ คือมีวันนอนเฉล่ยี 5.82 วันตอ่ ผ้ปู ่วยใน 1 ราย ผูป้ ่วยสิทธิประกันสงั คมและผปู้ ่วยแรงงาน

ต่างด้าวมวี ันนอนเฉล่ียใกลเ้ คียงกัน คือ 3.85 และ 3.89 วันต่อผู้ปว่ ยใน 1 ราย ผ้ปู ่วยประกันสังคมมี

วันนอนเฉลยี่ ต่อคนนอ้ ยท่สี ุดคือ 3.85 วนั รายละเอยี ดตามตารางที่ 9

ตารางท่ี 9 จานวนผรู้ บั บริการ จานวนวันนอน และจานวนวันนอนเฉลี่ยของผูป้ ว่ ยใน

จาแนกตามประเภทสิทธิ จ.สพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ 2556 - 2557

ประเภทสทิ ธิ ปงี บประมาณ 2556 ปงี บประมาณ 2557

จานวน(ราย) รวมวนั วันนอน จานวน(ราย) รวมวนั นอน วันนอน

นอน เฉลี่ย/ราย เฉล่ยี /ราย

1.ขา้ ราชการ/รัฐวสิ าหกจิ 10,691 63,756 5.96 10,837 63,041 5.82

2.ประกนั สังคม 4,944 19,143 3.87 4,932 18,967 3.85

3.UC บตั รทองม/ี ไมม่ ี 74,612 324,657 4.35 75,184 328,989 4.38

4.แรงงานตา่ งด้าว 1,617 6,080 3.76 1,665 6,479 3.89

รวมผมู้ ารับบรกิ าร 101,500 456,261 4.50 102,089 461,824 4.52

ท่มี า : คลงั ขอ้ มลู สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรี (Data Center) ณ วันที่ 6 มกราคม 2558

เม่ือจาแนกวันนอนเฉลี่ยผู้ป่วยในตามรายโรงพยาบาล พบว่า รพท.เจ้าพระยายมราช มี
วันนอนเฉล่ียผู้ป่วยในสูงสุด คือ 5.33 วัน/ราย รองลงมาคือ รพท.สมเด็จพระสังฆราชฯ มีวันนอน
เฉลี่ยผู้ป่วยใน 5.31 วัน/ราย ในระดับโรงพยาบาลชุมชนโรงพยาบาลท่ีมีจานวนวันนอนเฉล่ียผู้ป่วยใน
สูงสุดคือ รพช.ด่านช้าง (4.08 วัน/ราย) รองลงมาได้แก่ รพช.อู่ทอง (3.89 วัน/ราย) รพช.หนอง
หญ้าไซ (3.65 วัน/ราย) รพช.บางปลาม้า (3.49 วัน/ราย) รพช.ดอนเจดีย์ (3.44 วัน/ราย) รพช.สามชุก
(3.41 วัน/ราย) รพช.ศรีประจันต์ (3.36 วัน/ราย) รพช.เดิมบางนางบวช (3.27 วัน/ราย) ตามลาดับ
(ตารางท่ี 10)

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 17

เมอ่ื เปรยี บเทยี บวันนอนเฉล่ยี ของผ้ปู ่วยในกับคา่ เฉลยี่ ของประเทศในช่วงเวลาเดยี วกนั คือ
ในปี 2557 จาแนกตามประเภทของโรงพยาบาล จะเห็นว่าวันนอนเฉล่ียของผู้ป่วยในระดับ
โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลท่ัวไป และโรงพยาบาลชุมชน มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ
(ตารางท่ี 10)

อตั ราการครองเตยี ง (อัตราวันนอนผู้ป่วยใน 1 ป)ี ในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี คิด
เป็นร้อยละ 86.42 ซ่ึงถือว่ามีการใช้ประโยชน์จากเตียงผู้ป่วยในอย่างเหมาะสม แต่เมื่อพิจารณาตาม
ประเภทโรงพยาบาล พบว่า อัตราการครองเตียงของโรงพยาบาลทั่วไปสูงที่สุด ร้อยละ 109.66
รองลงมาได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์มีอัตราครองเตียง ร้อยละ 91.70 กลุ่มโรงพยาบาลชุมชน ร้อยละ 73.20
โดยกลุ่ม โรงพยาบาลท่ัวไป มีอัตราครองเตียงสงู กว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ในขณะที่โรงพยาบาลศูนย์ มี
อัตราครองเตียงต่ากว่าคา่ เฉลยี่ ของประเทศ แตย่ งั อยใู่ นเกณฑท์ เี่ หมาะสม (ตารางท่ี 10)

อตั ราการใชเ้ ตียง 1 ปี (Bed Turnover Rate) พบว่า ในระดับโรงพยาบาลศูนย์มีอัตราการ
ใช้เตียง 1 ปี เท่ากับ 62.84 ต่ากว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่มโรงพยาบาลศูนย์ทั่วประเทศในปี 2556 (ค่าเฉล่ีย
ของประเทศเท่ากับ 77.45) โรงพยาบาลท่ัวไปมีอัตราการใช้เตียง 1 ปี เท่ากับ 75.41 ต่ากว่าคา่ เฉลี่ย
เล็กน้อยของกลุ่ม โรงพยาบาลท่ัวไปของประเทศในปี 2556 (ค่าเฉล่ียของประเทศเท่ากับ 75.46)
กลุ่มโรงพยาบาลชุมชนในภาพรวมมีอัตราการใช้เตียง 1 ปี เท่ากับ 74.24 ต่ากว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่ม
โรงพยาบาลชุมชนทั่วประเทศในปี 2556 (ค่าเฉล่ียของประเทศเท่ากับ 100.98) โรงพยาบาลท้ัง ๓
ระดับ มีอัตราการใช้เตียงเฉลี่ยต่ากวา่ คา่ เฉล่ียระดับประเทศ น่นั หมายความว่า อาจมีการใช้เตียงน้อย
หรือการหมุนเวียนเตียงน้อย โรคมีความรุนแรงมากเป็นโรคเร้ือรัง หรือคุณภาพในการให้การรักษา
นอ้ ย ให้วันนอนมากกวา่ ในเกณฑ์เฉลีย่ (ตารางท่ี 10)

ตารางท่ี 10 จานวนผรู้ บั บริการผปู้ ่วยใน จานวนวนั นอน จานวนเตียง อัตราการครองเตียง

อัตราการใชเ้ ตียง 1 ปี ของผูป้ ว่ ยใน จ.สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2557

โรงพยำบำล ผ้ปู ่วยในที่ รวมวนั วนั นอนเฉล่ยี จำนวนเตยี ง อตั รำกำรครองเตยี ง อัตรำกำร
ใช้เตยี ง
จำหน่ำยทัง้ หมด นอน ผ้ปู ว่ ยใน (ตำมจรงิ ) (อัตรำวนั นอนผปู้ ว่ ย 1 ปี
62.84
ใน 1 ปี) 75.41
89.40
รพศ.เจ้าพระยายมราช 37,829 201,506 5.33 602 91.70 77.68
86.13
รพท.สมเดจ็ พระสงั ฆราชฯ 16,893 89,654 5.31 224 109.66 65.77
67.31
รพช.เดิมบางนางบวช 9,298 30,421 3.27 104 80.14 91.05
63.93
รพช.ด่านช้าง 6,991 28,513 4.08 90 86.80 62.88

รพช.บางปลาม้า 5,168 18,023 3.49 60 82.30

รพช.ศรีประจนั ต์ 4,867 16,347 3.36 74 60.52

รพช.ดอนเจดีย์ 4,039 13,900 3.44 60 63.47

รพช.สามชกุ 3,641 12,423 3.41 40 85.09

รพช.อู่ทอง 9,590 37,279 3.89 150 68.09

รพช.หนองหญา้ ไซ 3,773 13,758 3.65 60 62.82

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 18

รวม 102,089 461,824 4.52 1,464 86.42 69.73

สรุปตำมประเภทโรงพยำบำล จ.สุพรรณบรุ ี ปี 2557

รพศ. (1 แห่ง) 37,829 201,506 5.33 602 91.70 62.84
5.31 224 109.66 75.41
รพท. (1 แห่ง) 16,893 89,654 3.60 638 73.29 74.24

รพช. (8 แห่ง) 47,367 170,664 5.09 -
4.42 -
ค่ำเฉลย่ี ระดับประเทศ ปี 2556 3.35 -

รพศ. - - 107.98 77.45
91.29 75.46
รพท.นอ้ ยกว่า 300 เตียง -- 92.59 100.98

รพช. มากกวา่ 30 เตยี ง --

ที่มำ : คลงั ขอ้ มลู สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี (Data Center) ณ วนั ที่ 6 มกราคม 2558

สถำนะสุขภำพ

อำยุคำดเฉลีย่ ตารางที่ 11 อายคุ าดเฉลีย่ ของประชากร จ.สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ.2557

อ ำ ยุ ค ำ ด เฉ ลี่ ย เม่ื อ แ รก เกิ ด กลุ่มอายุ อายุคาดเฉลยี่ (Expectation of Life)
(ความยืนยาวของชีวิตต้ังแต่แรกเกิดจน
ตาย) ของประชากรสุพรรณบุรี ในปี <1 หญิง ชาย รวม
2557 อายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิดแยก 1-4
ตามเพศ พบว่า เพศหญิงมีอายุยืนยาว 5-9 79.69 72.44 74.50
กว่าเพศชาย กล่าวคือ เพศหญิงมีอายุ 10 - 14 79.10 71.85 73.88
คาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิด 79.69 ปี เพศชาย 15 - 19 75.20 67.98 69.99
มีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดสั้นกว่า คือ 20 - 24 70.28 63.11 65.09
72.44 ในภาพรวมทั้ ง 2 เพศมีอายุ 25 - 29 65.39 58.27 60.21
คาดเฉล่ยี เมื่อแรกเกิดเท่ากับ 74.50 ปี 30 - 34 60.67 53.70 55.54
35 - 39 55.84 49.12 50.83
อำยุคำดเฉล่ียเมื่ออำยุ 60 ปี 40 - 44 51.06 44.55 46.12
(อายุที่คาดว่าจะยืนยาวต่อไปหลงั จาก 45 - 49 46.25 40.21 41.54
อายุ 60 ปี) พบว่า เพศหญิงจะมีอายยุ ืน 50 - 54 41.50 36.03 37.08
ยาวต่อไปอีกประมาณ 23.92 ปี ขณะที่ 55 - 59 36.96 32.04 32.75
ผู้ชายจะมีอายยุ นื ยาวหลังอายุ 60 ปี 60 - 64 32.49 28.12 28.49
ตอ่ ไปอีก 20.70 ปี (ตารางท่ี 11) 65 - 69 28.08 24.24 24.39
70 - 74 23.92 20.70 20.50
75 - 79 19.83 17.14 16.81
80 - 84 15.99 13.83 13.38
85 - 89 12.65 11.09 10.00
90 - 94 9.72 8.69 7.45
95 - 99 6.72 6.42 6.61
4.84 5.52 5.06
3.99 4.87 4.28

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 19

อำยุ (ปี) 79.69 อำยุ (ปี) 23.92 22.20
78.80 30 20.70 19.10 หญิง
80 ประเทศ
75 72.44 71.90 หญิง 20
ประเทศ
70 10

65 0
ชาย ชาย
สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี

รปู ที่ 6 อำยคุ ำดเฉลีย่ เมื่อแรกเกดิ ของประชำกรเพศชำย รูปที่ 7 อำยคุ ำดเฉล่ยี เม่ืออำยุ 60 ปี ของประชำกรเพศชำย
จ.สพุ รรณบุรี และ ประเทศไทย พ.ศ. 2557 จ.สุพรรณบรุ ี และ ประเทศไทย พ.ศ. 2557

เมื่อพจิ ารณาอายุคาดเฉล่ยี เม่ือแรกเกิดของประชากรจงั หวดั สพุ รรณบรุ ีเม่ือเทียบกบั ระดบั ประเทศใน

ช่วงเวลาทใ่ี กลเ้ คียงกัน พบว่าอายุคาดเฉล่ยี เม่ือแรกเกิดของประชากรจงั หวัดสุพรรณบุรี สงู กวา่ อายุ

คาดเฉลย่ี ของระดับประเทศทั้งเพศชายและเพศหญงิ ดังรูปที่ 6 และ 7

ทมี่ ำ 1) สถำบนั วิจยั ประชำกรและสังคม มหำวทิ ยำลยั มหดิ ล
2) http://ipsr.mahidol.ac.th/ipsr-th/PublicationGazette.html

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 20

สถติ ิชพี

จงั หวัดสุพรรณบุรี พบการตายของมารดา (การตายเน่ืองจากการคลอดและภาวะแทรกในการมี
ครรภ์และระยะอยู่ไฟ ( ภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด) ในระหว่างปี 2546-2549 ปีละ 1 ราย และในปี
2551-2557 พบมารดาตาย ปีละ 1-3 ราย พบมารดาตาย 3 รายในปี 2552 ทาให้อัตราตายของ
มารดาเพ่ิมเป็น 32.06 ต่อการเกิดมีชีพ 100,000 คน เกินเกณฑ์ท่กี ระทรวงสาธารณสุขกาหนดไว้ คือ
อตั ราตายของมารดาไม่เกิน 18 คนต่อการเกิดมีชีพ 100,000 คน ในปี 2554 ไม่พบมารดาตาย และ
ในปี 2557 พบมารดาตาย 1 ราย คิดเป็นอัตรามารดาตายเท่ากับ 12.35 ต่ากว่าค่าคาดการณ์
ระดับประเทศ สาหรับอัตราทารกตายมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง จาก 7.98 ต่อการเกิดมีชีพ 1,000
คน ในปี 2546 ลดลงเป็น 3.93 ต่อการเกิดมีชีพ 1,000 คน ในปี 2557 (ตารางที่ 12) และเมื่อ
เปรยี บเทียบสถิติชีพของจังหวัดสพุ รรณบรุ กี ับประเทศไทยในช่วงเวลาเดียวกัน พบว่า อัตราทารกตายต่า
กว่าค่าคาดประมาณของระดับประเทศประมาณ 2 เท่า อัตราเพิ่มตามธรรมชาติมีแนวโน้มลดลงอย่าง
ตอ่ เน่ืองและ ตา่ กวา่ ค่าเฉลีย่ ของระดบั ประเทศ (ปี 2556) (ตารางที่ 13)

ตารางท่ี 12 จานวนและอัตรา ของการเกิด การตาย ทารกตาย มารดาตาย และดชั นีชพี

จังหวัดสพุ รรณบุรี พ.ศ. 2546 – 2557

จานวน อตั รา

ปี เกิดมี ตาย ทารก มารดา เกดิ มีชพี ตาย ทารก มารดา อตั ราเพิ่ม ดชั นีชพี
ตาย ตาม
ชพี ตาย ตาย ตาย 148.52
151.03
ธรรมชาติ 133.07
149.61
(รอ้ ยละ) 139.86
137.04
2546 8,898 5,991 71 1 10.24 6.90 7.98 11.24 0.33 143.01
126.62
2547 9,536 6,314 65 1 11.35 7.52 6.82 10.49 .038 137.00
135.86
2548 9,202 6,915 72 1 10.92 8.21 7.82 10.87 .027 126.62
125.12
2549 9,174 6,132 72 1 10.87 7.27 7.85 10.90 0.36

2550 9,333 6,673 66 0 11.08 7.92 7.07 0.00 0.32

2551 9,049 6,603 56 2 10.72 7.82 6.19 22.10 0.29

2552 9,356 6,542 47 3 11.08 7.75 5.02 32.06 0.33

2553 8,891 7,022 54 2 10.51 8.30 6.09 22.99 0.22

2554 9,147 6,697 58 0 10.81 7.92 6.34 0.00 0.29

2555 9,242 6,806 39 1 10.91 8.03 4.22 10.82 0.28

2556 8739 6817 24 2 10.07 7.85 2.75 11.44 0.22

2557 8586 6862 36 1 9.89 7.90 3.93 12.35 0.20

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 20

ทมี่ า : กรมการปกครอง (http://203.113.86.149/xstat/tran/birth51_3.html)
หมายเหตุ:

1. มารดาตาย คือการตายเนอื่ งจากการคลอดและภาวะแทรกในการมคี รรภ์และระยะอยไู่ ฟ ( ภายใน 6 สัปดาห์
หลงั คลอด)

2. อตั ราเกิดมีชีพและตายต่อประชากร 1,000 คน
3. อตั ราทารกตายต่อเกิดมีชพี 1,000 คน และมารดาตายต่อเกิดมชี พี 100,000 คน
4. อตั ราเพ่ิมตามธรรมชาติ (ร้อยละ) : จานวนเกดิ ลบดว้ ย จานวนตาย หารด้วยจานวนประชากรกลางปี

คณู ดว้ ย 100
5. ดัชนีชพี หรือ อตั ราสว่ นเกดิ ตาย เป็นจานวนเกิดมชี พี ต่อตาย 100 คน

ตารางที่ 13 สถิติชพี จ.สุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2557 และ ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2556 ประเทศไทย
สถิติชีพ จ.สุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2556

ปี พ.ศ. 2557

1. อัตราเกิด (ต่อประชากรพันคน) 9.891 11.63
2. อัตราตาย (ต่อประชากรพันคน) 7.901 6.63
3. อตั ราเพ่ิมตามธรรมชาติ (ร้อยละ) 0.201 0.53
4. อัตราทารกตาย (ต่อการเกิดมชี ีพพนั ราย) 3.931 6.43
5. อัตรามารดาตาย (ต่อการเกดิ มีชีพ 100,000 คน) 12.351 22.282
6. อายคุ าดเฉลี่ยเมือ่ แรกเกิด ( จานวนปเี ฉลย่ี ทค่ี าดว่า
71.933
บุคคลทีเ่ กิดมาแลว้ จะมชี ีวิตอยตู่ ่อไปอีกก่ีปี) 78.823

ชาย 72.44 19.103
22.203
หญงิ 79.69
7. อายคุ าดเฉล่ยี ทีอ่ ายุ 60 ปี (จานวนปเี ฉลีย่ ทคี่ าดว่า

ผ้ทู ี่มีอายุ 60 ปี จะมชี วี ิตอยู่ตอ่ ไปอีกก่ีป)ี

ชาย 20.70

หญงิ 23.92

ทมี่ า 1 กลมุ่ งานพัฒนายทุ ธศาสตร์ฯ สสจ.สุพรรณบรุ ี ปี 2557
2 กลุ่มภารกจิ ด้านขอ้ มลู ข่าวสารและสารสนเทศสขุ ภาพ สานกั นโยบายและยุทธศาสตร์
3 สารประชากร สถาบนั วิจัยประชากรและสงั คม มหาลยั มหดิ ล ปี 2555

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 21

สำเหตกุ ำรป่วย

จากการเก็บข้อมูลกลุ่มผู้ปว่ ยนอก ประมวลผลจากคลังข้อมูลสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี
ในรอบ 3 ปีท่ีผ่านมา พบว่า 5 ลาดับแรกของกลุ่มโรคท่ีเป็นสาเหตุการเจ็บป่วยท่ีสาคัญของประชาชนจังหวัด
สพุ รรณบุรี คือ โรคระบบไหลเวียนเลือด โรคเก่ียวกับต่อมไร้ท่อโภชนาการและเมตะบอลิซมึ โรคระบบกลา้ มเนื้อรวม
โครงรา่ งและเน้ือยึดเสริม โรคระบบย่อยอาหาร รวมโรคในชอ่ งปาก กลมุ่ โรคระบบทางเดินหายใจและอาการ,อาการ
แสดงและสงิ่ ผิดปกติท่ีพบไดจ้ ากการตรวจทางคลินกิ และทางห้องปฏบิ ตั ิการฯ (ตารางที่ 14)

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 22

ตารางท่ี 14 จานวนและอัตราปว่ ยต่อประชากร 1,000 คน ของผูป้ ่วยนอก จาแนกตามกลุ่มสาเหตุการป่วย

จังหวดั สุพรรณบุรี พ.ศ. 2555-2557

กลุ่ม สาเหตุ พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557
โรค จานวน อัตรา จานวน อตั รา จานวน อัตรา
1 โรคตดิ เช้อื และปรสติ 111,398 131.3 84,716 100.0 93,693 107.9
2 เนอ้ื งอก (รวมมะเรง็ ) 18,998 22.4 17,030 20.0 28,908 33.3

3 โรคเลอื ดและอวยั วะสร้างเลือด และความ 22,242 26.2 22,902 27.0 26,985 31.1
ผิดปกตเิ ก่ยี วกบั ภมู คิ ้มุ กัน
487,808 575.0(3) 515,875 608.8(2) 620,714 715.0(2)
4 โรคเก่ียวกับตอ่ มไร้ทอ่ โภชนาการ และ
เมตะบอลิซมึ 49,503 58.3 51,414 60.7 66,546 76.7
77,840 91.7 69,354 81.9 71,882 82.8
5 ภาวะแปรปรวนทางจติ และพฤติกรรม
6 โรคระบบประสาท

7 โรคตารวมส่วนประกอบของตา 78,168 92.1 73,551 86.8 91,734 105.7
8 โรคหแู ละป่มุ กกหู 22,469 26.5 18,377 21.7 23,244 26.8
9 โรคระบบไหลเวยี นเลอื ด 494,203 582.5(2) 533,837 630.0(1) 635,186 731.7(1)
10 โรคระบบหายใจ 468,411 552.1(5) 399,375 471.4(5) 384,409 442.8(5)
11 โรคระบบย่อยอาหาร รวมโรคในชอ่ งปาก 348,835 411.2 353,575 417.3 390,194 449.5(4)
12 โรคผิวหนงั และเนือ้ เยือ้ ใต้ผิวหนงั 140,235 165.3 117,394 138.5 112,167 129.2
13 โรคระบบกล้ามเนอื้ รวมโครงรา่ ง และเนอื้ 474,727 559.6(4) 484,514 571.8(3) 524,398 604.1(3)

ยึดเสริม 90,996 107.3 92,478 109.1 132,177 152.3
14 โรคระบบสืบพันธุ์ รวมทางเดินปสั สาวะ

15 ภาวะแทรกในการตั้งครรภ์ การคลอด 11,661 13.7 9,901 116.9 14,783 17.0
และระยะหลงั คลอด 2,680 3.2 2,500 3.0 3,584 4.1

16 ภาวะผดิ ปกติของทารกที่เกดิ ขึน้ ในระยะ 1,805 2.1 1,780 2.1 2,432 2.8
ปรกิ าเนดิ (อายุครรภ์ 22 สัปดาหข์ ้นึ ไป 496,975 585.8(1) 425,562 502.2(4) 384,432 442.8(5)
จนถึง 7วันหลงั คลอด)
983 1.2 694 0.8 828 1.0
17 รูปรา่ งผดิ ปกติแตก่ าเนิด การพกิ ารจนผดิ 14,086 16.6 12,540 14.8 16,154 18.6
รูปแต่กาเนดิ และโครโมโซม ผดิ ปกติ 61,102 72.0 50,994 60.2 56,447 65.0

8 อาการ, อาการแสดงและส่ิงผดิ ปกตทิ พ่ี บ
ได้จากการตรวจทางคลินิกและทาง
หอ้ งปฏิบัติการฯ

19 การเป็นพิษและผลท่ีตามมา
20 อุบตั เิ หตุจากการขนส่งและผลที่ตามมา
21 สาเหตุจากภายนอกอื่นๆ ที่ทาให้ปว่ ยหรอื ตาย

ที่มำ : คลังข้อมลู สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี (Data Center) ณ วันที่ 31 มกราคม 2557

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 23

สาหรบั กล่มุ ผปู้ ่วยใน กลุม่ สาเหตุการเจ็บป่วยท่ีสาคัญ 10 ลาดับแรกในปี พ.ศ.2557
ได้แก่ กลุ่มโรคความผิดปกติของต่อมไร้ท่อโภชนาการและเมตะบอลซิ มึ ,โรคความดันโลหิตสูง, โรคเลือด
และอวยั วะสรา้ งเลือด, โรคเบาหวาน ,โรคตาและสว่ นผนวก ,โรคอื่นๆของระบบย่อยอาหาร ,โรคอื่นๆ
ของระบบหายใจ ,โรคตดิ เช้อื อ่ืนๆของลาไส้ ,ความผิดปกติอ่นื ๆท่ีเกิดขน้ึ ในระยะปริกาเนิด และโรคหวั ใจ
และโรคของการไหลเวียนเลอื ดผ่านปอดอืน่ ๆ (ตารางท่ี 15, รปู ท่ี 8)

ตารางท่ี 15 สาเหตุการป่วยของกลมุ่ ผู้ปว่ ยในตอ่ ประชากร 100,000 คน จ.สุพรรณบุรี พ.ศ. 2557

กลมุ่ โรค สาเหตกุ ารป่วย พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557

อัตรา อตั รา อัตรา

2 โรคตดิ เช้อื อน่ื ๆของลาไส้ 847.83 858.0(7) 882.96(8)

15 โรคเลอื ด,อวยั วะสรา้ งเลือดและความผิดปกติบางชนิดทีเ่ กย่ี วกับ 1102.08(3) 1287.9(3) 1587.38(3)

ระบบภมู คิ ุม้ กนั

18 โรคเบาหวาน 1018.04(4) 1163.3(4) 1410.90(4)
19 ความผิดปกติเกยี่ วกับตอ่ มไรท้ ่อ โภชนาการและเมตะบอลซิ ึมอ่ืนๆ 3105.14(1) 3825.5(1) 4595.91(1)
28 โรคตาและสว่ นผนวก 952.6(5) 1278.31(5)
593.24

32 โรคความดันโลหิตสูง 1634.84(2) 1868.5(2) 2318.29(2)
34 โรคหัวใจและโรคของการไหลเวยี นเลอื ดผ่านปอดอนื่ ๆ 594.41(10) 651.8(10) 792.19(10)

42 โรคอ่นื ๆของระบบหายใจ 666.79(7) 790.7(8) 934.34(7)
50 โรคอื่นๆของระบบยอ่ ยอาหาร 886.61(5) 934.5(6) 1067.62(6)

65 ความผดิ ปกตอิ ื่นๆทเ่ี กดิ ข้ึนในระยะปริกาเนดิ 603.96(9) 674.1(9) 834.70(9)

หมำยเหตุ ไมน่ ากลุ่มโรคท่ี 62, 63 และ 67 มาจดั ลาดับใน 10 ลาดบั แรก
ทีม่ ำ : คลังข้อมลู สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี (Data Center) ณ วนั ท่ี 31 มกราคม 2557

โรคติดเชอื ้ อ่นื ๆของลาไส้ 882.96
โรคอื่นๆของระบบหายใจ 934.34
โรคอืน่ ๆของระบบยอ่ ยอาหาร
อาการ อาการแสดงและสง่ิ ผิดปกตทิ ่ีพบได้จากการตรวจทาง… 1067.62
1173.25
โรคตาและสว่ นผนวก 1278.31
โรคเบาหวาน
1410.90
โรคเลอื ดและอวยั วะสร้างเลือดและความผิดปกติบางชนดิ ท…ี่ 1587.38
โรคแทรกซ้อนในการตงั้ ครรภ์ การเจบ็ ครรภ์ การคลอด ระยะ… 1592.79
2318.29
โรคความดนั โลหิตสงู
ความผิดปกตเิ ก่ียวกบั ตอ่ มไร้ทอ่ โภชนาการและเมตะบอลิซมึ … 4595.91

รูปท่ี 8 ลาดับอัตราผู้ป่วยในต่อประชากร 100,000 คน 10 ลาดับแรก จ.สุพรรณบุรี ปี พ.ศ.2557

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 24

ภำวะกำรเจ็บป่วยจำกกลุม่ โรคไม่ตดิ ต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ไตวายเรื้อรัง
โรคหลอดเลือดสมองใหญ่ และโรคหัวใจขาดเลือด จังหวัดสุพรรณบุรีมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง
ตั้งแต่ พ.ศ.2547 – 2557 โดยเฉพาะโรคเบาหวานท่ีมีอัตราป่วยของผู้ป่วยในเพ่ิมข้ึนถึง 2 เท่า และโรค
ความดนั โลหิตสูงอัตราป่วยของผ้ปู ่วยในเพิ่มข้นึ ถงึ 3 เท่าจากพ.ศ.2547 (ตารางที่ 16,รปู ท่ี 9)

ตารางท่ี 16 อตั ราปว่ ยต่อประชากร 100,000 คน ของผู้ป่วยในกลมุ่ โรคไม่ติดตอ่ จ.สุพรรณบุรี

ปี พ.ศ. 2547 - 2557

กลมุ่ โรคไมต่ ิดตอ่ 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557
โรคเบาหวาน 614.7 862.2 876.1 1025.8 1031.0 1070.5 1187.6 1076.9 1018.9 1163.3 1410.90.

โรคความดนั โลหติ สูง 713.9 1143.9 1094.2 1411.6 1443.0 1509.4 1775.7 1691.9 1636.2 1868.5 2318.29
โรคหวั ใจขาดเลือด 233.3 320.0 326.7 455.9 457.0 463.4 485.3 468.0 438.1 449.5 487.96

โรคหลอดเลือดสมองใหญ่ 239.0 334.8 318.1 374.0 365.0 368.2 421.9 383.1 334.6 394.5 528.86

ไตวายเร้ือรงั 131.4 196.9 230.7 262.4 318.0 358.8 393.1 386.6 348.8 414.9 570.44

อัตรำตอ่ แสนปชก. ความดนั โลหิตสงู

2500 เบาหวาน
2000
1500 หวั ใจขาดเลอื ด
1000
หลอดเลอื ดสมอง
500 ใหญ่
0 ไตวายเรือ้ รัง

รปู ท่ี 9 อัตราปว่ ยต่อประชากร 100,000 คน ของผปู้ ว่ ยในด้วยโรคความดนั โลหิตสูง โรคเบาหวาน
โรคหวั ใจขาดเลือด โรคหลอดเลอื ดสมองใหญ่ และไตวายเรื้อรัง จ.สพุ รรณบรุ ี
ปี พ.ศ. 2547 – 2557

ที่มา : 1) รายงานผู้ปว่ ยใน รง.505 จ.สพุ รรณบรุ ี พ.ศ. 2547 – 2557
2) ประมวลผลจากระบบ Data Center ของสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี พ.ศ.2554 - 2557

และเมื่อพจิ ารณาการปว่ ยดว้ ยกลมุ่ โรคไม่ติดต่อ ในกล่มุ เน้ืองอกร้ายในอวยั วะตา่ ง ๆ และโรค
ตบั จากแอลกอฮอล์ พบว่าโรคตับจากแอลกอฮอล์มีแนวโนม้ เพ่ิมขน้ึ อย่างตอ่ เนือ่ งตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546
เปน็ ตน้ มา โดยในปี พ.ศ.2557 มีอตั ราปว่ ยผ้ปู ่วยในลดลงเล็กน้อยจากปี พ.ศ.2556 กลมุ่ โรคเนื้องอก

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 25

รา้ ยทปี่ อด ตับ มีแนวโนม้ เพ่มิ ขึน้ อยา่ งต่อเนื่องในรอบ 12 ปี ในขณะท่กี ล่มุ โรคเนื้องอกรา้ ยที่เต้านมและ
มดลกู มีแนวโน้มลดลงในปีพ.ศ.2557 เมือ่ เทยี บกับปีพ.ศ. 2556 (รปู ที่ 14.1)

300
250 มะเร็งปากมดลกู
200 มะเร็งเต้านม
150 มะเร็งตบั
100 มะเร็งปอด

50 โรคตบั จากแอลกอฮอล์

0

รูปท่ี 10 อตั ราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผู้ป่วยในดว้ ยโรคตับจากแอลกอฮอล์
เนื้องอกรา้ ยทป่ี อด เนอื้ งอกร้ายทต่ี ับ เน้ืองอกร้ายทเี่ ต้านม จ.สุพรรณบรุ ี
ปี พ.ศ. 2546-2557

ทมี่ า : 1) รายงานผปู้ ่วยใน รง.505 จ.สุพรรณบุรี พ.ศ. 2546 – 2557
2) ประมวลผลจากระบบ Data Center ของสานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.2554 - 2557

สถำนกำรณ์กำรเจ็บปว่ ยดว้ ยกลุม่ โรคตดิ ต่อ

การเจ็บป่วยด้วยกลุ่มโรคติดต่อของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า กลุ่มโรคติดต่อท่ีมี
แนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเน่อื งต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2546 เป็นต้นมา คือกลมุ่ โรคตดิ เช้ืออ่ืนๆของลาไส้, โรคติดเช้ือ
และปรสิตอ่ืนๆ (รูปท่ี 11)

สาหรับกลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ โรคปอดอักเสบมีแนวโน้มสูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง ในขณะท่ี
กลุ่มโรคระบบหายใจส่วนบนติดเชื้อเฉียบพลันและโรคอื่น ๆ ของระบบหายใจส่วนบน และไข้หวัดใหญ่ มี
อัตราป่วยผู้ป่วยในเพ่ิมขึ้นเล็กน้อย โรคเร้ือรังของระบบหายใจส่วนล่างมีอัตราป่วยผู้ป่วยในลดลงในปีพ.ศ
2557 เมอื่ เเทียบกับปพี .ศ.2556 (รูปที่ 12)

กลุ่มโรคไข้เลือดออกจากเชื้อเด็งก่ี และไข้เลือดออกจากเชื้อไวรัส มีการระบาดตามฤดูกาลซึ่งมี
อัตราปว่ ยสูงในปี พ.ศ.2551 และ 2554 ในขณะท่โี รคมาลาเรยี มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนือ่ ง (รูปที่ 13)

สาหรับโรคภูมิคุ้มกันบกพรอ่ งจากเชื้อไวรัส (เอชไอวี) มีแนวโน้มลดลง ในขณะท่ีโรควัณโรคมีอัตรา
ปว่ ยในผู้ปว่ ยในค่อนข้างคงที่ (รปู ท่ี 14)

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 26

1200 800 ปอดอกั เสบ
1000 700 ระบบหายใจส่วนบนติดเชอื้ เฉียบพลันฯ
600 โรคเรือ้ รังของระบบหายใจส่วนล่าง
800 500 ไข้หวัดใหญ่
600 400
400 โรคติดเชือ้ อื่นๆของลาไส้ 300
200 โรคติดเชือ้ และปรสติ อื่นๆ
200
0 100

0

รูปที่ 11 อตั ราปว่ ยตอ่ ประชากร 100,000 คน ด้วยโรคติดเชื้ออ่นื ๆ รูปท่ี 12 อัตราป่วยตอ่ ประชากร 100,000 คน ด้วยโรคปอดอกั เสบ
ของลาไส้ และโรคติดเช้ือและปรสิตอื่นๆ ในกลุ่มผปู้ ว่ ยใน ระบบหายใจสว่ นบนตเิ ชอื้ เฉยี บพลัน,โรคเรอื้ รงั ของระบบหายใจ
จ.สุพรรณบุรี ปี 2546 -2557 สว่ นล่าง และไขห้ วดั ใหญ่ จ.สพุ รรณบรุ ี ปี 2546 - 2557

350 160 เอชไอวี
300 ไข้เลือดออก 140 วณั โรค

250 มาลาเรีย 120
200 100

80
150 60
100 40

50 พ20 พ
.
0 .0 ศ
ศ .

รูปที่ 13 อัตราปว่ ยตอ่ ประชากร 100,000 คน ดว้ ยไข้เลอื ดออก มาลาเรยี . รูปที่ 14 อตั ราปว่ ยต่อประชากร 100,000 คน ด้วย HIV วณั โรค

ในกลุ่มผปู้ ่วยใน จ.สุพรรณบรุ ี ปี 2546 - 2557 ในกลุ่มผปู้ ว่ ยใน จ.สพุ รรณบรุ ี ปี 2546 - 2557

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 27

สถำนกำรณ์กำรเจบ็ ป่วยดว้ ยกลุม่ โรคทีต่ ้องเฝ้ำระวงั ทำงระบำดวิทยำ

การเจ็บป่วยด้วยกลุ่มโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี 10
ล า ดั บ ข อ ง ใน ปี พ .ศ . 2 5 5 7 ได้ แ ก่ Diarrhoea, Pyrexia, Pneumonia, H.conjunctivitis ,
Chickenpox, Food Poisoning, Hand foot mouth disease , Influenza ,D.H.F Total, แ ล ะ
Sexual transmitted ตามลาดับ จากการพิจารณา 10 ลาดับโรคทางระบาดวิทยา พบว่า โรคอุจจาระ
ร่วง มีอัตราป่วยต่อแสนประชากร สูงสดุ อย่างต่อเน่ือง เป็นลาดับ 1 ต้ังแต่ พ.ศ. 2553 – 2557 และใน
พ.ศ. 2557 โรคตาแดง มกี ารระบาดเพมิ่ ข้นึ โดยมีอตั ราป่วย เท่ากับ 181.52 ต่อแสนประชากร (ตารางที่
17)

ตำรำงท่ี 17 จำนวน และอัตรำป่วย ด้วยโรคที่ต้องเฝ้ำระวงั ทำงระบำดวิทยำ 10 ลำดบั แรก

ของ ปี พ.ศ. 2556 - 2557 จ.สุพรรณบรุ ี

ลาดบั โรคเฝ้าระวังทาง พ.ศ. 2556 ลาดบั โรคเฝ้าระวังทาง พ.ศ. 2557

ระบาดวทิ ยา จานวน อตั รา ระบาดวิทยา จานวนปว่ ย อตั รา

ปว่ ย ป่วย/ (ราย) ปว่ ย/

(ราย) แสน แสน

1 Diarrhoea 10,776 1,270.16 1 Diarrhoea 9,363 1,103.61

2 Pyrexia 4,697 553.63 2 Pyrexia 3,066 361.39

3 Pneumonia 2,057 242.46 3 Pneumonia 1,617 190.59

4 Food Poisoning 1,147 135.20 4 H.conjunctivitis 1,540 181.52

Hand foot

5 mouth disease 634 74.73

6 D.H.F,Total 632 74.49 5 Chickenpox 903 106.44

6 Food Poisoning 778 91.70

Hand foot

7 H.conjunctivitis 589 69.42 7 mouth disease 504 59.41

8 Chickenpox 455 53.63 8 Influenza 371 43.73

9 Influenza 369 43.49 9 D.H.F,Total 194 22.87

Sexual

10 Herpes zoster 192 22.63 10 transmitted 96 11.32

ทมี่ ำ : รายงาน 506 งานควบคุมโรคติดตอ่ สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2556 - 2557

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 28

สำเหตุกำรตำย

การตายของประชากรจงั หวดั สุพรรณบุรี ปี 2555 มีจานวนประมาณ 6,808 คนต่อปี เม่ือจาแนก
ตามเพศพบว่า จานวนและอัตราตายของเพศชายสูงกว่าเพศหญิงมาตลอด โดยสดั สว่ นเพศชายคิดเป็นร้อยละ
55.28 และเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 44.72 ของจานวนการตายท้ังหมด (รปู ที่ 15 - 16)

พ.ศ.

รูปที่ 15 จานวนการตายของประชากร จาแนกตามเพศ จังหวัดสุพรรณบรุ ี
ปี พ.ศ. 2549-2557

อัตรำ/แสนปชก.

1000 911.9 885.6 863.7 855.9 912.7 905.0 913.8
803.2
900 806.1 815.2 813.7 781.4 766.3 781.9 769.1 830.2 791.6 906.0 897.4
800 754.3 803.4 790.3
706.9 690.5
700 704.7 708.7 672.6 688.5 699.3
600 752.3 ชาย
720.8 683.0 704.6 687.3 หญิง
684.9 รวม

500 608.4 608.0 595.4 615.0 พ.ศ.

400

300

200

100

0

รปู ท่ี 16 อัตราตายต่อประชากร 100,000 คนของประชากร จาแนกตามเพศ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี
ปี พ.ศ. 2545 - 2557

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 29

ตารางท่ี 17 จานวน และอัตราตายตอ่ ประชากรแสนคน จาแนกตามกลุม่ สาเหตุการ

ICD-10 สำเหตกุ ำรตำย 2551 2552

R00-R99 Systems, signs and abnormal clinical and จำนวน อัตรำ จำนวน อตั
laboratory finding,not elsewhere classified 3015 357.02 3002 355.4
V01-Y89 External causes of morbidity and mortality
C00-D48 721 85.38 736 87.1
Neoplasms 682 80.76 697 82.5

I00-I99 Diseases of the circulatory system 607 71.88 587 69.5

A00-B99 Certain infectious and parasitic diseases 542 64.18 519 61.4
J00-J98 Diseases of the respiratory system 384 45.47 395 46.7
K00-K92 Diseases of the digestive system 201 23.80 175 20.7
N00-N98 Diseases of the genitourinary system 153 18.12 156 18.4
E00-E88 110 13.03 81 9.59
G00-G98 Endocrine, nutritional and metabolic diseases 98 11.60 78 9.24
L00-L98 Diseases of the nervous system 14 1.66 19 2.25
P00-P96 39 4.62 19 2.25
Diseases of the skin and subcutaneous tissue
Q00-Q99 Certain conditions orginating in the perinatal 24 2.84 15 1.78

M00-M99 period 4 0.47 6 0.71
Congenital malformations, deformations and
F01-F99 6 0.71 5 0.59
D50-D89 chromosomal abnormalities 2 0.24 4 0.47
Diseases of the musculoskeletal system and
O00-O99 1 0.118 2 0.23
connective tissue 6603 781.88 6496 76
Mental and behavioural disorders
Diseases of the blood and blood-forming
organs and certain disorders involving the

immune mechanism
Pregnancy, childbirth and the puerperium

ท่ีมา ขอ้ มลู การตายจากมรณะบตั ร ของ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗

รตาย ของประชากรจงั หวดั สุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2551 - 2557 2557
จำนวน อตั รำ
2553 2554 2555 2556 2298 271.68
ตรำ จำนวน อัตรำ จำนวน อัตรำ จำนวน อตั รำ จำนวน อัตรำ
44 3000 354.67 2866 338.75 2839 334.92 2850 336.94

14 690 81.57 740 87.46 725 85.53 675 79.80 584 69.04
53 753 89.02 745 88.06 757 89.31 842 99.54 938 110.89

50 755 89.26 706 83.45 715 84.35 784 92.69 894 105.69

45 630 74.48 566 66.90 608 71.73 623 73.65 601 71.05
77 538 63.60 466 55.08 506 59.69 573 67.74 606 71.64
72 212 25.06 169 19.98 197 23.24 234 27.66 216 25.54
47 152 17.97 176 20.80 171 20.17 207 24.47 199 23.53
9 110 13.00 89 10.52 120 14.16 132 15.61 165 19.51
4 85 10.05 70 8.27 54 6.37 56 6.62 250 29.56
5 17 2.01 27 3.19 29 3.42 35 4.14 30 3.55
5 33 3.90 27 3.19 37 4.36 20 2.36 22 2.60

8 11 1.30 22 2.60 21 2.48 17 0.24 20 0.24

1 19 2.25 3 0.35 13 1.53 16 1.89 19 2.25

9 6 0.71 8 0.95 2 0.23 9 1.06 6 0.71
7 10 1.18 17 2.01 11 1.30 8 0.95 11 1.30

37 1 0.12 0 0.00 1 0.11 2 0.24 2 0.24
69.13 7022 830.17 6697 791.55 6806 802.92 7083 837.38 6861 811.14

งกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2551 - 2557

Page 30

เม่ือพจิ ารณาสาเหตุการตายของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี จะพบว่ากล่มุ โรคที่เปน็ สาเหตุการตายท่ี
สาคัญโดยไม่นบั การตายท่รี ะบวุ า่ ชราภาพหรือไม่ทราบสาเหตุ ไดแ้ ก่ กลุ่มการตายจากสาเหตภุ ายนอก
(External causes of morbidity and mortality) กล่มุ โรคมะเรง็ (Neoplasms) กลุม่ โรคระบบไหลเวยี น
โลหิต (Diseases of the circulatory system) กลุม่ โรคติดเชอ้ื และปรสิต (Certain infectious and
parasitic diseases) และกลุ่มโรคของระบบทางเดนิ หายใจ (Diseases of the respiratory system)
(ตารางท่ี 17, รูปที่ 18)

120 อตั รำ/100,000

100

80

60

40 Diseases of the circulatory system
Neoplasms

External causes of morbidity and mortality
20 Certain infectious and parasitic diseases

Diseases of the respiratory system

0 พ.ศ.
2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557

รูปท่ี 17 อัตราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร ดว้ ยโรคกลมุ่ การตายจากสาเหตุภายนอก,

กลมุ่ โรคมะเร็ง, กลมุ่ โรคโรคระบบไหลเวยี นโลหติ , กลมุ่ โรคติดเชื้อและปรสิต และกลุ่มโรคของ

ระบบทางเดินหายใจ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2545 - 2557

อตั รำ/100,000 Diabetes mellitus Hypertensive diseases
Ischaemic heart diseases Cerebrovascular diseases
60

50

40

30

20

10

0

2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 พ.ศ.

รปู ท่ี 18 อัตราตายต่อประชากร 100,000 คน ดว้ ยกลมุ่ โรค Cerebrovascular diseases, Ischaemic heart diseases,
Diabetes mellitus และ Hypertensive diseases จ.สุพรรณบรุ ี ปี 2545 - 2557

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 31

กำรตำยดว้ ยกลุ่มโรคเน้ืองอกและมะเรง็
เมอ่ื จาแนกสาเหตุการตายตามกล่มุ โรคเนื้องอกและมะเร็ง พบวา่ กล่มุ โรคที่กาลังมีแนวโนม้ เพม่ิ ขน้ึ

ได้แก่ กลมุ่ โรคเนอ้ื งอกร้ายทต่ี ับ และทอ่ น้าดีในตบั (Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile
ducts) กลุ่มโรคเน้อื งอกร้ายทหี่ ลอดคอ หลอดลมใหญ่ และปอด (Malignant neoplasm of trachea,
bronchus and lung) ,Malignant neoplasm of colon, rectum and anus (รปู ท่ี 19) Malignant
neoplasm of cervix uteri, Malignant neoplasm of breast และ Leukemia (รปู ท่ี 20)

อตั รำ1/8100,000 Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile ducts
Malignant neoplasm of trachea, bronchus and lung
16 Malignant neoplasm of colon, rectum and anus
14 Malignant neoplasm of pancreas

12

10

8

6

4

2

0

2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 พ.ศ.
รปู ที่ 19 อตั ราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร ดว้ ยโรคกลมุ่ เนอ้ื งอกร้ายท่ตี บั และท่อน้าดี

ในตับ และกล่มุ โรคเนื้องอกร้ายทหี่ ลอดคอ หลอดลมใหญ่ และปอด จังหวดั สุพรรณบรุ ี
ปี พ.ศ. 2545 – 2557

อตั6รำ/100,000 Malignant neoplasm of cervix uteri
Malignant neoplasm of breast
5 Leukaemia

4

3

2

1

0 พ.ศ.
2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557

รปู ท่ี 20 อตั ราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร ด้วยกลุ่มโรค โรค Malignant neoplasm of

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 32

cervix uteri, breast , Leukaemia จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2545 - 2557
ทีม่ า ข้อมูลการตายจากมรณะบัตร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2545 -2557

สาหรับการตายจากสาเหตุภายนอก พบว่าการตายจากอุบัติเหตุจราจร อุบัติเหตุจมน้าและจมน้า
การสัมผัสกับควันไฟและเปลวไฟ การตกจากท่ีสูง การทาร้ายตนเอง ยังเป็นสาเหตุการตายท่ีสาคัญจังหวัด
สุพรรณบุรี ส่วนการตายด้วยกลุ่มโรคติดต่อพบว่าการตายด้วยปอดอักเสบ ปี 2552 –2553 มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน แต่
ในปี 2554 - 2555 มีแนวโน้มลดลง ปี 2554-2557 มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น โรคเอดส์มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง ต้ังแต่
ปี 2552 - 2557 วัณโรคในระบบทางเดินหายใจมีอตั ราตายมีแนวโน้มเพิ่มสูงข้ึนต้ังแต่ ปี 2552 – 2556 (รูปท่ี 21
- 22)

อัตรำ/100,000 Transport accidents
Assault
35 Falls
Accidental drowning and submersion
30 Exposure to smoke, fire and flames

25

20

15

10

5

0 พ.ศ.
2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557

รปู ที่ 21 อัตราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร ด้วย Transport accidents , Assault

,Falls,Accidental drowning and submersion,Exposure to smoke,fire and flame

จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2545 – 2557

อัต5ร0ำ/100,000 Respiratory tuberculosis
Human immunodeficiency virus [HIV] disease
45 Pneumonia
40

35

30

25

20

15

10

5

0 พ.ศ.

2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557

รูปท่ี 22 อัตราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร ดว้ ยโรคปอดอักเสบ เอดส์ และวณั โรคปอด
จังหวดั สพุ รรณบุรี ปี พ.ศ. 2545 -2557

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 33

ทีม่ า ข้อมูลการตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2545 –2557

โครงกำรหลกั ประกันสขุ ภำพถว้ นหนำ้ จังหวดั สุพรรณบรุ ี

๑.ควำมครอบคลุมกำรมีหลักประกันสขุ ภำพของประชำชน

ความครอบคลมุ การมีหลกั ประกนั สุขภาพของประชาชน จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๗๒

ของประชากรตามทะเบียนราษฎร์ เมอื่ จาแนกรายละเอยี ดตามประเภทสทิ ธิ พบว่า ประชาชนมสี ทิ ธขิ ้าราชการ/รัฐวสิ าหกจิ

รอ้ ยละ ๖.๓๒ สทิ ธิขา้ ราชการองคก์ ารปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ร้อยละ ๑.๒๐ สิทธิประกันสงั คม ร้อยละ ๑๔.๓๔ สิทธิบตั ร

ประกนั สุขภาพถ้วนหนา้ ร้อยละ ๗๗.๖๒ ไมม่ สี ทิ ธใิ ดๆรอ้ ยละ ๐.๒๘ สทิ ธอิ ืน่ ๆ ๐.๒๔ อาเภอสามชุกมคี รอบคลมุ สูงสดุ รอ้ ย

ละ ๙๙.๘๔ และอาเภอเมอื งสพุ รรณบุรี มีความครอบคลมุ ตา่ สดุ ร้อยละ ๙๙.๕๘ รายละเอยี ดดงั แสดงในตาราง ท่ี ๑

ตำรำงท่ี ๑ แสดงความครอบคลมุ การมีหลักประกันสขุ ภาพ ของประชาชนจังหวดั สุพรรณบรุ ี จาแนกรายอาเภอ ประจาปี

งบประมาณ ๒๕๕๗

อาเภอ ขา้ ราชการ บัตรประกัน

ประชากร องค์การ ประกนั สุขภาพถว้ น ไมม่ ี

ทะเบียน ข้าราชการ ปกครองส่วน สังคม หน้า หลกั ปร อน่ื ๆ ร้อยละ

ราษฎร์ ทอ้ งถิน่ ะกัน

ใดๆ

เมืองฯ ๑๗๘,๑๗๕ ๑๖,๕๙๓ ๓,๐๘๐ ๒๕,๖๗๘ ๑๓๑,๔๐๔ ๗๕๒ ๖๖๘ ๙๙.๕๘

เดมิ บางฯ ๗๓,๔๓๑ ๔,๙๐๙ ๙๓๔ ๑๐,๘๗๙ ๕๖,๓๒๐ ๒๐๗ ๑๘๒ ๙๙.๗๒

ด่านช้าง ๗๗,๓๙๙ ๒,๖๖๕ ๔๒๑ ๘,๐๙๘ ๖๕,๙๖๑ ๒๐๐ ๕๔ ๙๙.๗๔

บางปลาม้า ๗๔,๑๐๘ ๔,๙๑๑ ๘๘๓ ๑๓,๖๙๕ ๕๔,๒๖๔ ๑๗๕ ๑๘๐ ๙๙.๗๖

ศรีประจันต์ ๖๑,๐๓๒ ๔,๗๖๑ ๙๔๒ ๙,๙๕๓ ๔๕,๐๗๘ ๑๓๙ ๑๕๙ ๙๙.๗๗

ดอนเจดีย์ ๔๗,๘๕๗ ๒,๖๔๒ ๔๖๕ ๖,๒๖๓ ๓๘,๒๘๐ ๑๐๔ ๑๐๓ ๙๙.๗๘

สองพ่นี อ้ ง ๑๓๙,๐๙๒ ๖,๑๖๓ ๑,๓๖๗ ๑๘,๐๔๑ ๑๑๒,๙๕๓ ๒๕๘ ๓๑๐ ๙๙.๘๑

สามชกุ ๕๑,๖๒๐ ๓,๗๒๑ ๖๓๔ ๘,๐๖๓ ๓๙,๐๑๖ ๘๑ ๑๐๕ ๙๙.๘๔

อู่ทอง ๑๑๗,๑๖๙ ๖,๐๙๓ ๑,๑๓๐ ๑๖,๒๐๓ ๙๓,๑๙๖ ๓๓๑ ๒๑๖ ๙๙.๗๒

หนองหญ้าไซ ๓๘,๒๙๒ ๑,๘๑๘ ๔๒๒ ๖,๒๑๔ ๒๙,๖๕๔ ๑๒๓ ๖๑ ๙๙.๖๘
รวม ๘๕๘,๑๗๕ ๕๔,๒๗๖ ๑๐,๒๗๘ ๑๒๓,๐๘ ๖๖๖,๑๒๖ ๒,๓๗๐ ๒,๐๓๘ ๙๙.๗๔
๑.๒๐ ๗๗.๖๒ ๐.๒๘ ๐.๒๔ ๑๐๐.๐๐
ร้อยละ ๖.๓๒ ๗

๑๔.๓๔

ทมี่ า: งานประกันสุขภาพ สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ขอ้ มลู เดอื นกนั ยายน ๒๕๕๗

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 34

กลุม่ งานบริหารทัว่ ไป
กำรเงินกำรคลัง

สถำนกำรณ์
สถานการณ์การเงนิ การคลงั ของหน่วยบรกิ ารในจังหวัดสพุ รรณบุรี พบว่า งบประมาณจัดสรร UC หลัง

หักเงินเดอื น ในปงี บประมาณ ๒๕๕๗ ได้รับจัดสรรทงั้ หมด ประมาณ ๘๗๑,๘๐๓,๙๘๐.๐๘ บาท เม่อื เปรยี บเทยี บกับ
ที่ได้รับจัดสรรงบประมาณหลักหักเงินเดือน ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ประมาณ ๘๔๒,๒๐๑,๗๕๘.๓๙ บาท ซึ่งเพ่ิมข้ึน
ประมาณ ๒๙,๖๐๒,๒๒๑.๖๙ บาท (ร้อยละ๓.๓๙) และพบว่าผู้ขึ้นทะเบียนสิทธิ UC ปี ๒๕๕๖ เป็นจานวน
๖๗๔,๔๕๘ คน แต่ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ มีจานวนผ้ขู ึ้นทะเบยี นสทิ ธิ UC จานวน ๖๖๖,๑๒๖ คน ลดลง ๘,๓๓๒
คน (รอ้ ยละ ๑.๒๓)

สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี ดาเนินการบริหารงบประมาณงบเหมาจ่ายรายหวั ประชากร จาก
การเฝ้าระวังติดตามข้อมูลสถานการณ์การเงินการคลัง รายรับรายจ่ายของโรงพยาบาลเป็นรายเดือน รายไตรมาส และ
รายปี ซ่ึงใหค้ วามสาคัญกบั ระบบบัญชที ่ีเป็นเคร่อื งมอื ทาใหก้ ารบรหิ ารทรพั ยากรมีประสิทธิภาพ โดยเรมิ่ จดั ทาระบบบัญชี
เกณฑ์คงค้างและพัฒนางานอย่างต่อเนื่องมาตงั้ แตป่ ีงบประมาณ ๒๕๔๖ จนถึงปจั จุบัน กาหนดให้หนว่ ยบริการทกุ ระดับ
บันทึกบัญชีลงในโปรแกรมทุกแห่งตั้งแตร่ ะดับ รพ.สต. สสอ. รพช. รพท.รพศ.และ สสจ. มุ่งเน้นการตรวจสอบข้อมูลให้มี
คณุ ภาพ และนาข้อมูลดังกลา่ วมาวิเคราะห์ เพ่ือพิจารณาการจัดสรร/ปรบั เกลี่ยงบประมาณเหมาจ่ายรายหัวในภาพรวม
ของจังหวัด ภายใต้หลักการการบริหารงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้โรงพยาบาลทุกแห่ง
ได้รับงบประมาณอยา่ งเพียงพอ มีการกระจายงบประมาณอย่างเหมาะสม สามารถจัดบริหารสาธารณสุขและส่งเสรมิ ให้
ประชาชนเขา้ ถงึ บรกิ ารสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง เปน็ ธรรม

ปัจจุบัน (ข้อมูลไตรมาส ๔/๒๕๕๗) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลจานวน ๑๐ แห่ง ในจังหวัด
สุพรรณบุรี ไมม่ ปี ระสบภาวะวกิ ฤต

กำรบรหิ ำรจัดกำร
๑. แต่งตั้งคณะกรรมการตา่ งๆ เพอ่ื ดาเนนิ การดังน้ี

๑.๑คณะกรรมการการเงินการคลังสขุ ภาพ(CFO) ระดับจังหวัดและระดบั อาเภอ ตามนโยบายรฐั บาลในการ
สร้างหลักประกันสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรีโดยมี ฯพณฯบรรหาร ศิลปอาชา เป็นท่ีปรึกษา ผู้ว่าราชการจังหวัด
สุพรรณบุรีเป็นประธาน จัดประชุมต่อเน่ืองทุกเดือนต้ังแต่ปีงบประมาณ ๒๕๔๕ โดยให้ผู้อานวยการโรงพยาบาลทุกแห่ง
นาเสนอข้อมูลการเงินการคลังในประเด็นรายรับ-รายจ่าย สถานการณ์เงินบารุงรวมทั้งแผนการใช้จ่ายเงินบารุงของ
โรงพยาบาล มีการวเิ คราะห์เปรียบเทยี บการใช้จ่าย ผลการให้บริการ รวมทงั้ การจ่ายค่าตอบแทน

๑.๒คณะกรรมการการเงินการคลังสุขภาพ(CFO) ระดับจังหวัดและระดับอาเภอ โดยมีบทบาทหน้าที่ใน
การวิเคราะห์และเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลังในแต่ละดับไม่ให้เกิดระดับวิกฤต รวมถึงมีการประชุมร่วมกัน
เพ่อื รวบรวมปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการพัฒนาปรับปรงุ แกไ้ ขปญั หาตา่ ง ๆ ร่วมกนั

๑.๓ คณะกรรมการศูนย์ต้นทุนระดับจังหวัด เพื่อกากับ ติดตามการจัดทาต้นทุนบริการ (Unit cost)
ของหนว่ ยบรกิ าร

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 35

๑.๔ คณะทางานจัดทาตน้ ทุนต่อหน่วยผลผลติ ของสานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี เพ่ือกาหนด
กรอบการดาเนนิ งาน ศกึ ษา วิเคราะหส์ ถานการณ์ การจัดทาตน้ ทุนต่อหนว่ ยผลผลติ

๑.๕ คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด เพ่ือทาหน้าที่ตรวจสอบภายใน
หน่วยงานและหน่วยงานในสังกดั ทุกระดบั

๒. จัดทาโครงการเฝา้ ระวงั สถานการณ์ด้านการเงินการคลงั ของคณะกรรมการการเงินการคลังสขุ ภาพ (CFO)
ระดับจังหวัด ระดับอาเภอ และคณะทางานการเงนิ การคลังสุขภาพ (CFO) ระดับจังหวัด วงเงนิ งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐
บาท (หนง่ึ แสนบาทถว้ น)

ผลกำรดำเนนิ งำน
๑. ด้านการดาเนินงานการเฝ้าระวังการเงินการคลังจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า ไม่มีโรงพยาบาลใดประสบภาวะ

วิกฤตในระดับรุนแรง (ระดับ ๗) มีภาวะวิกฤตระดับ ๓ จานวน ๓ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่
๑๗ โรงพยาบาลด่านช้าง และโรงพยาบาลดอนเจดีย์ ระดับ ๒ จานวน ๒ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลศรีประจันต์ และ
โรงพยาบาลอู่ทอง ระดับ ๑ จานวน ๓ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช โรงพยาบาลบางปลาม้า และ
โรงพยาบาลหนองหญ้าไซ และระดบั ๐ จานวน ๒ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช และโรงพยาบาลสามชุก
ดงั แสดงในตารางที่ ๑ ดงั น้ี

ตารางที่ ๑ แสดงระดบั ภาวะวกิ ฤตทางการเงนิ ของโรงพยาบาลทุกแห่ง จงั หวดั สุพรรณบุรี ปงี บประมาณ ๒๕๕๗ไตรมาส

๔ ณ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗ (รายงาน ณ วันที่ ๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗)

โรงพยาบาล ระดบั วิกฤต

เจ้าพระยายมราช ๐

สมเดจ็ พระสงั ฆราชองคท์ ี่ ๑๗ ๓

เดมิ บางนางบวช ๑

ดา่ นช้าง ๓

อ่ทู อง ๒

บางปลามา้ ๑

ศรปี ระจนั ต์ ๒

ดอนเจดีย์ ๓

สามชุก ๐

หนองหญ้าไซ ๑

ท่ีมา : เว็บไซตก์ ลุม่ ประกันสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ

๒. รายงานผลการประเมินระดบั ความสาเร็จการบริหารการเงินการคลงั (FAI) ไตรมาส ๔ ปีงบประมาณ ๒๕๕๗
ในภาพรวมมคี ่าระดับความสาเร็จการบริหารการเงนิ การคลงั (FAI) คะแนนเฉล่ยี เท่ากบั ๘๗.๖๐ และเมื่อพิจารณา
รายละเอยี ด พบว่า หนว่ ยบรกิ ารที่มคี ่า (FAI) สูงสดุ คอื โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสังฆราชองค์ที่ ๑๗ มีคา่ คะแนนเฉลี่ย
เท่ากับ ๑๐๐ รองลงมา คอื โรงพยาบาลเดมิ บางนางบวช มีคา่ คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๙๔.๐๐ โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 36

โรงพยาบาลสามชุก โรงพยาบาลอ่ทู อง มีคา่ คะแนนเฉล่ียเท่ากับ ๙๐.๐๐ โรงพยาบาลดา่ นชา้ ง โรงพยาบาลบางปลาม้า มี
คา่ คะแนนเฉลี่ยเทา่ กับ ๘๖.๐๐ โรงพยาบาลหนองหญา้ ไซ มคี า่ คะแนนเฉลี่ยเทา่ กับ ๘๔.๐๐ โรงพยาบาลดอนเจดีย์ มคี ่า
คะแนนเฉลย่ี เท่ากับ ๘๒.๐๐ และโรงพยาบาลศรปี ระจันต์ มคี ่าคะแนนเฉลยี่ เทา่ กับ ๗๔.๐๐ ดงั แสดงในตารางท่ี ๒ ดงั นี้
ตารางที่ ๒ แสดงรายงานผลการประเมนิ ระดับความสาเรจ็ การบรหิ ารการเงินการคลงั (FAI) ไตรมาส ๔ ปีงบประมาณ ๒๕๕๗

ตวั ชว้ี ัดท่ี ๑การ ตัวช้ีวัดที่ ๒การ ตวั ชีว้ ดั ท่ี ๓การ ตวั ชว้ี ดั ท่ี ๔การ

ลาดับ รหัส รพ ช่ือ รพ ควบคุม พฒั นา บริหาร พัฒนาต้นทนุ คะแนน
ภายใน เกณฑค์ งค้าง การเงนิ การคลัง บริการ Unit Cost FAI=(x1*20)+(x2*20)+(x3*30)+(x4*30)

ระดบั ระดับ ระดบั ระดบั /5
ความสาเรจ็ น้าหนกั ความสาเรจ็ นา้ หนกั ความสาเรจ็ น้าหนัก ความสาเรจ็ นา้ หนัก

(x1) (x2) (x3) (x4)

เจา้ พระยา

๑ ๑๐๖๗๘ ยมราช,รพ ๔ ๘๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๔ ๑๒๐ ๙๐.๐๐

ศ.

สมเดจ็

๒ ๑๐๗๓๓ พระสงั ฆราช ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๕ ๑๕๐ ๑๐๐.๐๐
องค์ท1่ี 7,

รพท.

๓ ๑๑๒๘๙ เดมิ บางนาง ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๔ ๑๒๐ ๙๔.๐๐
บวช,รพช.

๔ ๑๑๒๙๐ ด่านช้าง ๔ ๘๐ ๔ ๘๐ ๔ ๑๒๐ ๕ ๑๕๐ ๘๖.๐๐
,รพช.

๕ ๑๑๒๙๑ บางปลามา้ ๔ ๘๐ ๔ ๘๐ ๔ ๑๒๐ ๕ ๑๕๐ ๘๖.๐๐
,รพช.

๖ ๑๑๒๙๒ ศรปี ระจนั ต์ ๔ ๘๐ ๔ ๘๐ ๔ ๑๒๐ ๓ ๙๐ ๗๔.๐๐
,รพช.

๗ ๑๑๒๙๓ ดอนเจดีย์ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๔ ๑๒๐ ๓ ๙๐ ๘๒.๐๐
,รพช.

๘ ๑๑๒๙๔ สามชุก ๔ ๘๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๔ ๑๒๐ ๙๐.๐๐
,รพช.

๙ ๑๑๒๙๕ อ่ทู อง,รพช. ๕ ๑๐๐ ๔ ๘๐ ๔ ๑๒๐ ๕ ๑๕๐ ๙๐.๐๐

๑๐ ๑๑๒๙๖ หนองหญา้ ๔ ๘๐ ๕ ๑๐๐ ๔ ๑๒๐ ๔ ๑๒๐ ๘๔.๐๐
ไซ,รพช.

คะแนนเฉลยี่ ๘๗.๖๐

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 37

๓. ภาพรวมแผนควบคมุ คา่ ใช้จา่ ยผนั แปรระดบั จังหวดั ประจาปี ๒๕๕๗ ไตรมาส ๔ พบวา่ ในภาพรวมเมอื่
เปรียบเทยี บแผนประมาณการค่าใช้จา่ ยผันแปรกบั คา่ ใช้จ่ายจริง พบว่า มคี ่าใช้จา่ ยจริงลดลงรอ้ ยละ ๐.๓๐ และเม่อื
พจิ ารณารายละเอยี ด พบวา่ หนว่ ยบรกิ ารที่มีคา่ ใช้จ่ายจรงิ ลดลง จานวน ๘ แห่ง ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลดอนเจดีย์มคี า่ ใชจ้ ่าย
จริงลดลงร้อยละ ๑๕.๗๐ รองลงมา คอื โรงพยาบาลหนองหญา้ ไซ มีคา่ ใช้จา่ ยจริงลดลงรอ้ ยละ ๖.๕๕ โรงพยาบาลศรี
ประจันต์ มคี า่ ใช้จ่ายจริงลดลงร้อยละ ๕.๙๘ โรงพยาบาลบางปลามา้ มีคา่ ใชจ้ า่ ยจริงลดลงรอ้ ยละ ๔.๖๒ โรงพยาบาลดา่ น
ชา้ ง มีคา่ ใชจ้ า่ ยจริงลดลงร้อยละ ๑.๘๑ โรงพยาบาลสามชุก มคี ่าใช้จ่ายจริงลดลงร้อยละ ๑.๑๔ โรงพยาบาลอูท่ อง มี
คา่ ใช้จ่ายจริงลดลงรอ้ ยละ ๑.๐๗ และโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช มคี า่ ใชจ้ ่ายจรงิ ลดลงร้อยละ ๐.๑๔ และมีหน่วยบริการ
ที่มีคา่ ใช้จ่ายจรงิ เพิม่ ขนึ้ จานวน ๒ แหง่ ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสังฆราชองค์ที่ ๑๗ มีค่าใช้จา่ ยจรงิ เพมิ่ ขึน้ ร้อยละ
๖.๑๒ และโรงพยาบาลเดิมบางนางบวช มีค่าใชจ้ า่ ยจริงเพ่มิ ขึ้นร้อยละ ๒.๗๒ ดงั แสดงในตารางที่ ๓ ดงั น้ี

ตำรำงท่ี ๓ แสดงภาพรวมแผนควบคุมค่าใชจ้ า่ ยผันแปรระดบั จงั หวดั ประจาปี ๒๕๕๗ ไตรมาส ๔ ปงี บประมาณ ๒๕๕๗

แผนปี ๒๕๕๗ ค่ำใช้จำ่ ยจริง/ร้อยละท่ีลด/เพ่ิมจรงิ

หน่วยบรกิ ำร แผน แผนควบคมุ รอ้ ยละที่ คำ่ ใชจ้ ำ่ ยจรงิ ร้อยละที่ลดลง/
ประมำณกำร ลดลง เพิ่มขึ้น

เจา้ พระยายมราช ๕๙๙,๑๘๔,๐๔๒ ๕๗๖,๕๔๕,๕๔๒ -๓.๗๘ ๕๙๘,๓๒๔,๕๘๔.๔๒ -๐.๑๔

สมเด็จพระสังฆราช ๑๕๓,๙๙๒,๑๐๔ ๑๕๓,๕๔๒,๙๐๐ -๐.๒๙ ๑๖๓,๔๒๑,๑๐๕.๕๒ +๖.๑๒

องคท์ ี่ 17

อู่ทอง ๑๐๘,๒๕๖,๐๐๐ ๑๐๗,๖๕๐,๐๐๐ -๐.๕๖ ๑๐๗,๐๙๓,๔๙๔.๕๓ -๑.๐๗

เดิมบางนางบวช ๖๓,๔๘๓,๓๓๓ ๖๒,๘๕๐,๐๐๐ -๑.๐๐ ๖๕,๒๑๓,๒๒๖.๗๕ +๒.๗๒

ด่านชา้ ง ๔๙,๔๕๓,๕๘๖ ๔๙,๑๘๖,๘๒๙ -๐.๕๔ ๔๘,๕๕๗,๕๑๖.๙๘ -๑.๘๑

บางปลามา้ ๔๖,๑๕๙,๑๘๐ ๔๖,๑๔๕,๐๐๐ -๐.๐๓ ๔๔,๐๒๗,๗๑๘.๑๐ -๔.๖๒

สามชุก ๔๖,๑๕๐,๐๐๐ ๔๓,๐๐๐,๐๐๐ -๖.๘๓ ๔๕,๖๒๑,๙๘๒.๓๕ -๑.๑๔

ศรีประจันต์ ๔๐,๗๐๐,๐๐๐ ๔๐,๔๐๐,๐๐๐ -๐.๗๔ ๓๘,๒๖๔,๒๓๗.๐๐ -๕.๙๘

ดอนเจดยี ์ ๓๒,๑๒๐,๐๐๐ ๓๑,๕๒๙,๐๐๐ -๑.๘๔ ๒๗,๐๗๖,๘๙๓.๕๒ -๑๕.๗๐

หนองหญา้ ไซ ๒๕,๒๐๐,๐๐๐ ๒๔,๗๐๐,๐๐๐ -๑.๙๘ ๒๓,๕๔๙,๖๘๕.๗๑ -๖.๕๕

รวม ๑,๑๖๔,๖๙๘,๒๔๕ ๑,๑๓๕,๕๔๙,๒๗๑ -๒.๕๐ ๑,๑๖๑,๑๕๐,๔๔๔.๘๘ -๐.๓๐

หมายเหตุ รายการคา่ ใชจ้ า่ ยผันแปร ไดแ้ ก่ ต้นทนุ ยา ตน้ ทุนเวชภณั ฑ์มใิ ช่ยาและวัสดกุ ารแพทย์
ต้นทนุ วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ คา่ ใชส้ อย คา่ สาธารณปู โภค วัสดใุ ช้ไป

กำรบรหิ ำรจดั กำร(ประสิทธภิ ำพกำรจัดซ้ือจัดจ้ำงและกำรเบิกจำ่ ยงบประมำณ)
สถำนกำรณ์

ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี (ไม่รวม รพศ. และ รพท.) ได้รับการ
จัดสรรงบประมาณ ๖๘,๓๔๐,๒๒๓.๐๐บาท โดยแบ่งเป็นงบดาเนินงาน ๕๖,๖๘๘,๕๒๓.๐๐ บาท งบลงทุน
๑๐,๓๗๖,๗๐๐.๐๐บาท และงบอุดหนุน ๑,๒๗๕,๐๐๐บาทเมื่อเปรียบเทียบกับปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ได้รับจัดสรร
งบประมาณ ๙๐,๙๖๖,๔๗๒.๐๒บาท โดยแบ่งเป็นงบดาเนนิ งาน ๕๔,๑๐๒,๓๒๑.๒๐บาท งบลงทุน ๔,๒๙๒,๐๔๖.๐๐บาท
งบอุดหนุนและงบรายจ่ายอ่ืน ๓๒,๕๗๒,๑๐๔.๘๒ บาท พบว่า ในภาพรวมการจัดสรรงบประมาณ ลดลง

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 38

๒๒,๖๒๖,๒๔๙.๐๒บาท (รอ้ ยละ ๒๔.๘๗) โดยแบ่งเป็นงบดาเนินงานเพ่ิมขึ้น ๒,๕๘๖,๒๐๑.๘๐(ร้อยละ ๔.๗๘) งบลงทุน
เพม่ิ ขึ้น ๖,๐๘๔,๖๕๔.๐๐บาท (ร้อยละ ๔๑.๗๖) ส่วนงบอุดหนนุ /งบรายจ่ายอื่นลดลง ๓๑,๒๙๗,๑๐๔.๘๒บาท (ร้อยละ
๙๖.๐๘)
กำรบริหำรจดั กำร

กลุ่มงานบริหารท่ัวไป ได้มีการจัดทาโครงการเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานสาธารณสุข จานวน ๖
โครงการ คือ

๑. โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการดาเนินงานด้านงานบริหารทั่วไป จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ ๒๕๕๗
วงเงินงบประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท (สองแสนบาทถ้วน) กจิ กรรมประกอบด้วย

- ประชุมช้ีแจงผู้แทนนักบัญชีของหน่วยบริการ เร่ืองการปรับผังบัญชีและกรอบวิธีการบันทึกบัญชีท่ี
ปรับปรุง และพฒั นาคุณภาพการบันทกึ บญั ชีใหม้ ีมาตรฐานของหนว่ ยบรกิ าร และของ CUP

- ตรวจสอบภายในหน่วยงานครอบคลุม สสจ. , สสอ. , รพ. , รพ.สต. ในจังหวัดสุพรรณบุรี จานวน
๕๙ แห่ง

- ประชมุ ช้ีแจงเจา้ หน้าท่กี ลมุ่ งานบริหารทวั่ ไป เพอื่ รับทราบสถานการณด์ ้านสาธารณสุข
- สร้างการมีสว่ นรว่ มโดยการจัดกิจกรรมรณรงค์ทาความสะอาด (Big Cleaning Day)
- จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยเกณฑ์เฉล่ียกลุ่มระดับบริการ โดยวิธี Quick
Method
- จัดอบรมเชิงปฏิบตั ิการหลกั สตู ร “การจัดซอื้ จดั จา้ งภาครัฐดว้ ยวิธีอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ ๒”
สาหรับเจา้ หน้าท่ีผู้ปฏบิ ัติงานดา้ นพัสดขุ องหนว่ ยงานในสงั กดั สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ ๒๕๕๗
- จดั ประชุมชี้แจงแนวทางปฏิบตั ิในการจดั ซอื้ นา้ มันเชื้อเพลิงเพอื่ ใช้ในการปฏิบตั ริ าชการ และแนวทางวธิ ี
ปฏิบัติในการเปิดเผยราคากลางของทางราชการ สาหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุของหน่วยงานในสังกัดสานักงาน
สาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี
๒. โครงการจัดหาและสนับสนุนการดาเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการแก่ประชาชน สานักงาน
สาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ ๒๕๕๗ วงเงนิ งบประมาณ ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท (สามลา้ นบาทถ้วน)
๓. โครงการสนบั สนุนการดาเนินงานเพอ่ื เพิ่มประสิทธิภาพการใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ วงเงินงบประมาณ ๑๔๖,๖๐๐ บาท (หน่ึงแสนสหี่ ม่ืนหก
พนั หกรอ้ ยบาทถ้วน)
๔. โครงการจัดหาคอมพิวเตอรเ์ พ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของกลุ่มงานบรหิ ารท่ัวไป ปีงบประมาณ ๒๕๕๗
วงเงนิ งบประมาณ ๑๕๐,๐๐๐
๕. โครงการพัฒนาและสนับสนุนการบริหารจัดการงานสาธารณสุข สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี
ปีงบประมาณ ๒๕๕๗วงเงินงบประมาณ ๔,๑๐๐,๐๐๐ บาท (ส่ลี า้ นหนงึ่ แสนบาทถว้ น)
๖. โครงการสดุดีเทดิ พระเกยี รติสมเด็จพระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก วันมหดิ ล ประจาปี
๒๕๕๗ วงเงนิ งบประมาณ ๑๘,๐๐๐ บาท (หนงึ่ หม่นื แปดพนั บาทถว้ น)

ผลกำรดำเนนิ งำน

๑. ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ได้ดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีและ

หน่วยงานในสงั กดั แล้วเสรจ็ ถกู ตอ้ ง ครบถ้วน และทนั เวลา ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี

๑. วธิ ีตกลงราคา จานวน ๕๘๑ เร่ือง จานวนเงนิ ๙,๑๙๑,๓๘๓.๕๓ บาท

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 39

๒. วธิ ีสอบราคา จานวน ๒๙ เรอ่ื ง จานวนเงนิ ๒๙,๕๕๐,๙๙๑.๐๐ บาท
๓. วธิ ี e-Auction จานวน ๕ เร่ือง จานวนเงิน ๘,๐๓๔,๐๐๐.๐๐ บาท
๔. วธิ พี ิเศษ จานวน ๘ เรอ่ื ง จานวนเงนิ ๕,๙๔๐,๐๐๐.๐๐ บาท
๕. วธิ กี รณพี ิเศษ จานวน ๒ เรือ่ ง จานวนเงิน ๘๕๐,๕๑๒.๐๐ บาท

๒. การเบิกจา่ ยงบประมาณ ในปงี บประมาณ ๒๕๕๗
ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จานวน

๖๘,๓๔๐,๒๒๓.๐๐ บาท โดยแบ่งเป็นงบดาเนินงาน ๕๖,๖๘๘,๕๒๓.๐๐ บาท งบลงทุน ๑๐,๓๗๖,๗๐๐.๐๐ บาท และ
งบอุดหนนุ ๑,๒๗๕,๐๐๐.๐๐ บาท ดาเนนิ การเบิกจ่าย ๖๘,๓๓๙,๙๖๖.๔๐ บาท เงนิ เหลือจา่ ยส่งคนื ๒๕๖.๖๐ บาท คิด
เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐

โรงพยาบาลศูนย์เจ้าพระยายมราช ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จานวน ๑๖๖,๓๐๒,๒๙๘.๔๑ บาท โดย
แบ่งเป็นงบดาเนินงาน ๒๕,๗๐๖,๐๙๘.๔๑บาท และงบอุดหนุน ๑๓๐,๐๐๐.๐๐ บาท ดาเนินการเบิกจ่าย
๖๐,๒๒๑,๓๐๙.๙๔ บาท เงินเหลอื จ่ายส่งคืน ๕๑๕,๘๓๘.๔๗ บาท คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๗.๙๙ และงบลงทนุ ซึง่ เป็นงบผูกพนั
ข้ามปี ๑๐๕,๕๖๕,๑๕๐.๐๐ บาท ดาเนนิ การเบกิ จา่ ย ๓๔,๙๐๑,๐๕๐.๐๐ บาท คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๘๕

โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ท่ี ๑๗ ได้รบั การจดั สรรงบประมาณ จานวน ๑๐,๕๒๕,๙๖๐.๐๐บาท โดย
แบ่งเป็นงบดาเนินงาน ๙,๔๒๕,๙๖๐.๐๐บาท งบลงทุน ๑,๑๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท ดาเนินการเบิกจ่าย ๑๐,๒๗๓,๒๘๑.๔๗
บาท คิดเป็นร้อยละ ๙๗.๖๐

สรปุ ในภาพรวมทัง้ จังหวัด ได้รบั การจัดสรรงบประมาณ จานวน๒๔๕,๑๖๘,๔๘๑.๔๑ บาท ดาเนนิ การเบิกจ่าย
ในภาพรวมทั้งหมด ๑๓๘,๘๓๔,๕๕๗.๘๑บาท คดิ เป็นร้อยละ ๕๖.๖๓ ดงั แสดงในตาราง ดังน้ี
ตารางท่ี ๔ แสดงผลการดาเนินการเบิกจา่ ยงบประมาณในภาพรวมปงี บประมาณ ๒๕๕๗

ผลผลติ /กจิ กรรม ได้รับจดั สรร ผลกำรดำเนินงำน(บำท) คงเหลือ หมำยเหตุ

เบิกจ่ำยระบบ GFMIS ร้อยละ

สสจ.สพุ รรณบรุ ี

งบดาเนินงาน ๕๖,๖๘๘,๕๒๓.๐๐ ๕๖,๖๘๘,๒๖๖.๔๐ ๑๐๐.๐๐ ๒๕๖.๖๐

งบลงทนุ ๑๐,๓๗๖,๗๐๐.๐๐ ๑๐,๓๗๖,๗๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๐

งบอดุ หนุน ๑,๒๗๕,๐๐๐.๐๐ ๑,๒๗๕,๐๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๐

รวม ๖๘,๓๔๐,๒๒๓.๐๐ ๖๘,๓๓๙,๙๖๖.๔๐ ๑๐๐.๐๐ ๒๕๖.๖๐

รพศ.เจำ้ พระยำยมรำช

งบดาเนินงาน ๒๕,๗๐๖,๐๙๘.๔๑ ๒๕,๑๙๐,๒๕๙.๙๔ ๙๗.๙๙ ๕๑๕,๘๓๘.๔๗

งบลงทนุ ๑๔๐,๔๖๖,๒๐๐.๐๐ ๓๔,๙๐๑,๐๕๐.๐๐ ๒๔.๘๕ ๑๐๕,๕๖๕,๑๕๐.๐๐

งบอุดหนนุ ๑๓๐,๐๐๐.๐๐ ๑๓๐,๐๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๐

รวม ๑๖๖,๓๐๒,๒๙๘.๔๑ ๖๐,๒๒๑,๓๐๙.๙๔ ๓๖.๒๑ ๑๐๖,๐๘๐,๙๘๘.๔๗

รพท.สมเดจ็ พระสงั ฆรำชองค์ท่ี ๑๗

งบดาเนนิ งาน ๙,๔๒๕,๙๖๐.๐๐ ๙,๑๗๓,๒๘๑.๔๗ ๙๗.๓๒ ๒๕๒,๖๗๘.๕๓

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 40


Click to View FlipBook Version