The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-20 05:36:14

รายงานประจำปี2557

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

อู่ทอง 5153 330 4823 3511 72.79
เดิมบำงฯ 3499 465 3034 2401 79.13
สำมชกุ 2341 22 2145 2013 93.84
ศรีประจนั ต์ 2544 37 2507 2143 85.46
ดอนเจดีย์ 1642 18 1624 1358 83.62
บำงปลำม้ำ 2643 32 2611 1363 52.20
หนองหญ้ำไซ 1706 10 1696 1078 63.56
ด่ำนชำ้ ง 3239 235 3004 1691 56.31

รวม 38247 3053 35194 25406 72.19

จากตารางที่ 7 เปน็ ข้อมลู ทแ่ี สดงถึงจานวนผู้ป่วยเบาหวาน ที่ไดร้ บั การตรวจคัดกรองจอประสาทตา
ซึ่งในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองจอประสาทตา ร้อยละ
72.19 ซึ่งใช้ระบบการส่งตรวจข้ามหน่วยงาน การให้รพ.เอกชนเข้ามามีส่วนร่วม และการตรวจด้วย
Fundus camera ได้เองในบางหน่วยงาน โดยอาเภอที่มีผลการดาเนินงานคัดกรองสูงสุด ได้แก่ อาเภอ
สามชกุ รองลงมา ไดแ้ ก่ อาเภอศรปี ระจันต์ และอาเภอดอนเจดีย์ คิดเป็นร้อยละ 93.84 , 85.46 และ 83.62
ตามลาดับ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 191

ตารางที่ 8 แสดงจานวนผปู้ ว่ ยเบาหวานทไี่ ดร้ ับการตรวจคัดกรองไต ปี 57 (ต.ค56 - ก.ย 57 )

จานวนผู้ป่วย เหลือเปา้ หมายการ

อาเภอ DM* จานวนผูป้ ว่ ย DM ตรวจ ผลการดาเนนิ งาน
(จานวนผปู้ ว่ ย DM
ทง้ั หมด (คน) ทมี่ ีภาวะแทรกซ้อน คดั กรองไต
ปี 57 (คน ) ท่ไี ด้รบั การตรวจไต)
ทางไตแล้ว ทั้งหมด

(DM, DM&HT) (คน)

(เปา้ หมายร้อยละ 60) คน ร้อยละ

เมอื งสุพรรณบรุ ี 11694 2045 9649 6256 64.83

สองพน่ี ้อง 3960 378 3582 2904 81.07
อู่ทอง 5153 460 4693 3457 73.66
เดมิ บางนางบวช 3499 222 3277 2492 76.04

สามชุก 2341 649 1300 1510 64.54
ศรปี ระจนั ต์ 2544 456 2088 1673 80.12
ดอนเจดยี ์ 1642 120 1522 1181 77.59
บางปลาม้า 2643 478 2165 1166 53.85

หนองหญ้าไซ 1706 98 1608 1102 68.53
ด่านช้าง 3239 220 3019 2745 90.92

รวม 38247 5126 32903 24486 73.11

จากตารางที่ 8 เป็นข้อมูลที่แสดงถึงจานวนผู้ป่วยเบาหวาน ที่ได้รับการตรวจคัดกรอง
ภาวะแทรกซ้อนทางไตซ่ึงในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรอง
ภาวะแทรกซ้อนทางไต ร้อยละ 73.11 โดยอาเภอท่ีมีผลการดาเนินงานคัดกรองสูงสุด ได้แก่ อาเภอด่านช้าง
รองลงมาได้แก่อาเภอ สองพ่ีน้อง และอาเภอศรีประจันต์คิดเป็นร้อยละ 90.92 , 81.07 และ 80.12
ตามลาดบั

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 192

อาเภอ จานวนผู้ป่วย จานวนผู้ป่วย DM เหลอื เปา้ หมายการตรวจ ผลการดาเนินงาน
DM* ทีม่ ไี ดร้ ับการตดั เทา้ คัดกรองเทา้ (จำนวนผู้ปว่ ย DM
เมอื งสุพรรณบุรี /มีแผลท่ีเทา้ ท้งั หมด
สองพี่น้อง ทัง้ หมด (คน) ปี 57 (คน ) ทไี่ ดร้ บั กำรตรวจเท้ำ)
อ่ทู อง (คน) (เป้าหมายร้อยละ 60) คน รอ้ ยละ
เดิมบำงนำงบวช (DM, DM&HT) 1247 10.72
สำมชกุ 68 11626 1240 21.47
ศรปี ระจนั ต์ 11694 20 3940 2811 55.03
ดอนเจดีย์ 3960 45 5108 2220 63.59
บำงปลำมำ้ 5153 8 3491 2050 94.95
3499 8 2159 1109 43.90
2167 18 2526 979 60.50
2544 24 1618 1189 54.24
1642 15 2628
2643

ตำรำงท่ี 9 แสดงจานวนผปู้ ว่ ยเบาหวานทีไ่ ด้รับการตรวจคัดกรองเทา้ อย่างละเอียด ปี57 (ต.ค56- ก.ย 57 )

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 193

หนองหญำ้ ไซ 1706 6 1700 1636 96.23

ด่ำนช้ำง 3239 14 3225 1015 31.47

รวม 38247 226 38021 15496 40.75

จากตารางที่ 9 เป็นข้อมูลท่ีแสดงถึงจานวนผู้ป่วยเบาหวาน ท่ีได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน

ทางเท้าอย่างละเอียด ซึ่งในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรอง

ภาวะแทรกซ้อนทางเท้าอย่างละเอียด ร้อยละ 40.75 โดยอาเภอที่มีผลการดาเนินงานคัดกรองสูงสุด ได้แก่

อาเภ อหนองหญ้ าไซ รองลงมาได้แก่อาเภอสามชุก และอาเภ อเดิมบางนางบวช คิดเป็นร้อย

ละ 96.23, 94.95 และ 63.59 ตามลาดับ

ตารางที่ 10 จานวนผ้ปู ่วยเบาหวานของจงั หวัดสุพรรณบุรี ท่ไี ด้รบั คดั กรอง CVD RISK โดยใช้ Color chart
ผลงาน (ต.ค56- ก.ย 57 )

ขอ้ รายงาน กลมุ่ อาย<ุ 40ปี ผลงาน รวมทัง้ หมด
กลุ่มอายตุ งั้ แต่
กลุม่ ผู้ปว่ ย DM /DM-HT จานวน ร้อย 40ปขี ้นึ ไป* จานวน ร้อย
1 จานวนผูป้ ว่ ย DM /DM-HT ทัง้ หมด..... คน (คน) ละ จานวน รอ้ ย (คน) ละ
2 จานวนผูป้ ว่ ย DM /DM-HT ที่ไม่ได้รับการวนิ จิ ฉัยว่า มเี ป็น (คน) ละ
4111 - 38247 -
โรคหัวใจและหลอดเลอื ดร่วมดว้ ย ..... คน 4111 - 34136 - 35039 91.61
30928 -
3 จานวนผปู้ ว่ ย DM /DM-HT ในขอ้ 2 ได้รบั การคัดกรอง 3960 96.33 33108 94.09
CVD RISK ........ คน 29148 94.24

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 194

4 ผลการคดั กรอง CVD RISK และการใหค้ าแนะนาตามความ 3960 100 29148 100 33108 100

เส่ียง.....คน

- ความเสจ่ยี างนตว่านผปู้ ่วย <10% .......... คน เ3ห7ล2อื3เปา้ หม9า4ย.0ก2าร 16804 57.65 20527 62
6.15
อาเภอ - ความเสีย่ งปาHนTกลาง 10-<2จ0า%นว..น...ผ...ูป้..ว่ คยน HT 122 ตรวจ3.09 316592361545(ผจลำกน12าว612รน.ด5..42ผ7า20ู้ปเน่วนิ ย2663งา4530Hน2387T256 10.04
- คคววาามมเเทสสี่ยย่ีั้งหงงสสมูงงู ดมา(กคน) 302-0<ท-34ี่ม00ภี%%าว......ะ....แ......ท.... รคคกนนซอ้ น 6307คดั กรอง001ไ...ต945324 630ท่ไี ดร้ บั 2ก.1ำ6รตรวจไต) 19.85
- 18ปี 57 (คน ) 1.96
- ความเสี่ยงสูงอนั ตราย ท>4า0ง%ไตแ...ล...ว้ ....ทค้ังนหมด

(คน)

ตารางที่ 10 พบว่าจานวนผู้ปว่ ยเบาหวานที่มอี ายุ 40 ปี ขึ้นไป ท่ีไมไ่ ด้รับการวินจิ ฉยั วา่ เปน็ โรคหัวใจ
และหลอดเลือดรว่ มด้วยมีทัง้ หมด 30928 คน ไดร้ ับคดั กรอง CVD RISK โดยใช้เกณฑ์ตาม Color chart
จานวน 29148 คน (คดิ เปน็ รอ้ ยละ 94.24 ) และจากผลการคัดกรองพบว่า ผู้ปว่ ยเบาหวานทมี่ อี ายุ 40 ปี ขึน้
ไป ที่มคี วามเส่ยี ง CVD อยูใ่ นระดบั ต่า จานวน 16804 คน (ร้อยละ 57.65 ) มคี วามเสี่ยงปานกลางจานวน
1914 คน (รอ้ ยละ6.57 ) มคี วามเสี่ยงสูง จานวน 3265 คน (รอ้ ยละ 11.20 ) มีความเสี่ยงสูงมาก จานวน
6535 คน (ร้อยละ 22.42 ) และมคี วามเสย่ี งสงู อันตราย จานวน 630 คน (รอ้ ยละ 2.16)

* หมายเหตุ : การวิเคราะห์ข้อมูลความเส่ียงในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ตาม Color chart จะนาผล
การคัดกรองผมู้ คี วามเส่ียงต้งั แต่ อายุ 40 ปี ขึ้นไปมาวิเคราะห์

ตำรำงที่ 11 แสดงจานวนผู้ป่วยความดนั โลหติ สงู ทไ่ี ดร้ ับการตรวจคัดกรองไต ปี 57 (ต.ค56-ก.ย 57 )

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 195

เมืองสุพรรณบุรี 14270 (เป้าหมายร้อยละ 60) คน ร้อยละ
สองพ่นี อ้ ง 5628 2332 11938 3304 27.67
อู่ทอง 7785 987 4641 1393 30.01
เดิมบำงนำงบวช 5452 607 7178 5239 72.98
สำมชกุ 2626 184 5268 4020 76.30
ศรปี ระจันต์ 4298 394 1643 1827 69.57
ดอนเจดยี ์ 2265 373 3925 1954 49.78
บำงปลำมำ้ 5623 250 2015 1339 66.45
หนองหญ้ำไซ 3426 545 5078 3102 61.08
ดำ่ นชำ้ ง 4321 25 3401 1754 51.57
55694 161 4160 3015 72.47
รวม 5858 49836 26947 54.07

จากตารางท่ี 11 เป็นขอ้ มูลท่ีแสดงถงึ จานวนผปู้ ว่ ยเบาหวาน ท่ไี ด้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซอ้ น
ทางไต ซ่ึงในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่ามีผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน
ทางไต ร้อยละ 54.07 โดยอาเภอที่มีผลการดาเนินงานคัดกรองสูงสุด ได้แก่ อาเภอเดิมบางนางบวช
รองลงมาไดแ้ ก่ อาเภออู่ทอง และอาเภอดา่ นชา้ ง คดิ เป็นร้อยละ 76.30, 72.98 และ72.47 ตามลาดับ
ตารางท่ี 12 จานวนผปู้ ว่ ยความดนั โลหติ สูงทไี่ ดร้ บั คัดกรอง CVD RISK โดยใช้ Color chart(ต.ค56- ก.ย 57 )

ข้อ รำยงำน กลุ่มอำย<ุ 40ปี ผลงำน รวมทั้งหมด
กลุ่มผปู้ ่วยHT กลุ่มอำยตุ ง้ั แต่ 40
จำนวน ร้อย จำนวน ร้อย
(คน) ละ ปีขึน้ ไป* (คน) ละ
จำนวน รอ้ ย
(คน) ละ

1 จานวนผปู้ ว่ ย HT ท้ังหมด..... คน 5865 - 49829 - 55694 -

2 จานวนผปู้ ่วย HT ที่ไม่ไดร้ บั การวนิ ิจฉัยว่า มี 5865 100 48046 96.4 53911 96.79

เป็นโรคหัวใจและหลอดเลอื ดร่วมดว้ ย ............

คน

3 จานวนผปู้ ่วย HT ในขอ้ 2 ไดร้ บั การคดั 5865 100 47006 97.83 52871 98.07

กรอง CVD RISK ........ คน

4 ผลการคัดกรอง CVD RISK และการให้

คาแนะนาตามความเสยี่ ง.....คน 5865 100 47006 100 52871 100

- ความเสยี่ งต่า <10%..... 5549 94.61 27736 59 33285 62.96

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 196

คน 68 1.15 3028 6.44 3096 5.86
118 2.01 5298 11.27 5416 10.24
- ความเสยี่ งปานกลาง 10-<20% 88 1.50 10356 22.04 10444 19.74
42 0.73 588 1.25 630 1.2
.... คน

- ความเสยี่ งสงู 20-

30%.. คน

- ความเสยี่ งสูงมาก 30-

<40%.... คน

- ความเสย่ี งสูงอนั ตราย >40%

.... คน

ตารางท่ี 12 พบว่าจานวนผู้ป่วยความดันโลหิตสงู ทมี่ ีอายุ 40 ปี ขึ้นไป ท่ไี มไ่ ดร้ บั การวินิจฉัยวา่ เป็น

โรคหวั ใจและหลอดเลอื ดร่วมดว้ ยมที ั้งหมด 48046 คน ได้รับคัดกรอง CVD RISK โดยใชเ้ กณฑ์ตาม Color

chart จานวน 47006 (คดิ เป็น ร้อยละ 97.83 )และจากผลการคัดกรองพบวา่ ผ้ปู ่วยความดนั โลหิตสงู ที่มีอายุ

40 ปี ขึ้นไป ทีม่ คี วามเส่ยี ง CVD อยู่ในระดับต่า จานวน 27736 คน (ร้อยละ 59 ) มีความเสย่ี งปานกลาง

จานวน 3028 คน (ร้อยละ6.44 ) มีความเส่ียงสงู จานวน 5298คน (ร้อยละ 11.27 ) มคี วามเส่ยี งสงู มาก

จานวน 10356 คน (ร้อยละ 22.04 ) และมคี วามเส่ียงสูงอนั ตราย จานวน 588 คน (ร้อยละ1.25 )

* หมายเหตุ : การวิเคราะห์ข้อมูลความเส่ียงในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ตาม Color chart จะนาผล
การคัดกรองผมู้ คี วามเสี่ยง ต้งั แต่ อายุ 40 ปี ขึ้นไปมาวิเคราะห์

ตำรำงท่ี 13 แสดงจานวนผ้ปู ว่ ยเบาหวาน ความดันโลหิตสงู ที่ควบคุมระดบั นา้ ตาลในเลอื ด และระดบั ความ
ดนั โลหติ ได้ดี ปี 57 (ต.ค56 - ก.ย 57 )

หน่วยงาน/อาเภอ ผลการดาเนินงาน

เมืองสุพรรณบุรี ผูป้ ว่ ย DM คุม FBS ได้ดี (ร้อยละ) ผู้ปว่ ย HT คุม BP ได้ดี (รอ้ ยละ)
เดิมบางนางบวช 38.15 50.25
ดา่ นช้าง 44.24 43.25
บางปลาม้า 46.89 46.51
ศรีประจันต์ 45.97 38.43
ดอนเจดีย์ 48.94 41.10
40.34 35.20

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 197

สองพน่ี ้อง 28.29 39.15
สามชุก 56.21 53
อ่ทู อง 40.56 40.50
หนองหญ้าไซ 43.37 38.6
40.48 43.73
รวมท้ังจังหวัด

จากตารางท่ี 13 เป็นขอ้ มลู ท่ีแสดงถึงการควบคมุ ระดับน้าตาลในเลือดของผปู้ ว่ ยเบาหวาน ทสี่ ามารถ
ควบคุมไดด้ ี โดยมีระดบั HbA1C ครัง้ สุดท้ายน้อยกว่ารอ้ ยละ 7 หรือ FBS ≥70 และ <130 มก./ดล. 3 คร้งั
ติดต่อกัน ซงึ่ ในภาพรวมของผ้ปู ่วยเบาหวานจงั หวดั สพุ รรณบรุ ีมีการควบคมุ ระดบั น้าตาลในเลอื ดได้ดี อยู่ทีร่ ้อย
ละ 40.48 โดยอาเภอที่มผี ู้ปว่ ยเบาหวานควบคมุ ระดบั น้าตาลในเลือดได้ดตี ามเกณฑ์ มากทส่ี ุด คอื อาเภอ
สามชุก รองลงมาคือศรีประจนั ต์ และอาเภอดา่ นชา้ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 56.21, 48.94 และ 46.89 ตามลาดับ
สว่ นผลการควบคุมระดบั ความดนั โลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหติ สงู ทีส่ ามารถควบคุมไดด้ ี โดยมคี ่าระดับ
ความดันโลหติ <140/90 mmHg สว่ นผูป้ ว่ ยเบาหวาน/ผูป้ ่วยโรคไตผปู้ ่วยหลังกลา้ มเนอ้ื หัวใจตาย/หลังเปน็
อมั พฤกษ์อัมพาต BP<130/80 mmHg ซ่งึ ในภาพรวมของผู้ป่วยโรคความดนั โลหติ สูงของจงั หวัดสุพรรณบุรีมี
การควบคุมระดับความดนั โลหติ ไดต้ ามเกณฑ์ อยทู่ ่ีร้อยละ 43.73 โดยอาเภอที่มีผปู้ ่วยโรคความดนั โลหิตสงู
ควบคุมระดับความดนั โลหิตไดต้ ามเกณฑ์ มากทส่ี ุด คือ อาเภอดา่ นช้าง รองลงมาคืออาเภอเดิมบางนางบวช
และอาเภอศรีประจันต์ คิดเป็นรอ้ ยละ 46.51, 43.25 และ 41.10 ตามลาดับ

ตารางท่ี 14 ผลการประเมินตนเองของหน่วยงาน ตามเกณฑ์ คลินกิ NCD คณุ ภาพ

องค์ประกอบท่ี 1 องค์ประกอบท่ี 2 องคป์ ระกอบหลัก

องคป์ ระกอบท่ี 3 องค์ประกอบท่ี 4 องคป์ ระกอบท่ี 5 องค์ประกอบท่ี 6

โรงพยาบาล ก ข ค ง ก ข ค ง ก ข ค ง กข ค ง กข ค ง กข ค ง

เจำ้ พระยำยมรำช ง ง งง งง
สมเดจ็ ง
พระสงั ฆรำชฯ ง งง งง

อู่ทอง ค ค ค คคค

เดมิ บำงนำงบวช ค ค ค คคค

สำมชกุ ค ค ค คคค

ศรีประจันต์ ง ง งค งง
ดอนเจดีย์ ค
ค ค คคค

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 198

บำงปลำมำ้ ค ค ค คคค
หนองหญำ้ ไซ
ด่ำนช้ำง ค ค ค คคค

รวม ค ค ค ค คค

73 73 73 82 73 73

คลนิ ิก NCD ในโรงพยาบาลมีการเชื่อมโยงการบริหารจดั การและดาเนินการทางคลนิ กิ ใหเ้ กดิ
กระบวนการ ป้องกนั ควบคุมและดแู ลจดั การโรคเร้ือรังแก่บุคคลทเ่ี ข้ามารับการวนิ จิ ฉยั โรคกลุ่มเสี่ยงสูงมาก
และกลุ่มปว่ ยเพื่อการดแู ลลดปัจจยั เสยี่ ง/โอกาสเสยี่ ง รกั ษา ควบคุมความรนุ แรงของโรค เพม่ิ ความสามารถ
การจัดการตนเอง และส่งต่อการรกั ษาดแู ลทจี่ าเป็นในระหว่างทีมใน/ระหวา่ งทมี และเครือข่ายการบรกิ าร ซึง่
การดาเนนิ งานในส่วนนี้ อยูภ่ ายใตก้ ารบริหารจดั การระบบของ คณะกรรมการ NCD board ระดบั อาเภอ
และ จากตารางที่ 15 ซ่งึ เป็นผลการประเมนิ ตนเองของหนว่ ยงาน ตามเกณฑ์ คลนิ กิ NCD คุณภาพพบว่า มี
หนว่ ยบรกิ ารผา่ นเกณฑ์ ตัง้ แต่ระดบั ค ขนึ้ ไป ทั้งหมด 10 แห่ง และจากผลการประเมินรบั รองคลินิก NCD
คณุ ภาพจาก สานกั ควบคมุ โรคท่ี 4 จังหวดั ราชบุรี ไดม้ าทาการตรวจประเมนิ คลนิ ิก NCD ของจงั หวัด
สุพรรณบุรี เมือ่ วนั ท่ี 6-7 พฤษภาคม 2557 จานวน 4 แหง่ ได้แก่ รพ.เจา้ พระยายมราช (ผลการประเมนิ =
112 คะแนน) รพ.สมเด็จพระสังฆราชฯ (ผลการประเมิน = 108 คะแนน) รพ. อู่ทอง (ผลการประเมิน = 109
คะแนน) และ รพ.ด่านช้าง (ผลการประเมนิ = 109 คะแนน) พบวา่ ผา่ นเกณฑร์ ะดับดีเยย่ี ม (มีคะแนน
ประเมิน>96 ขึ้นไป ) ทั้ง 4 แห่ง

ปจั จยั สำคญั ท่ีทำใหก้ ำรดำเนินงำนสำเร็จ (กรณีท่บี รรลุเปา้ หมาย)

1.มีคณะกรรม NCD board ทง้ั ในระดับจังหวดั และระดับอาเภอ ขับเคล่ือนการดาเนินงาน
2. มีการติดตามและนิเทศงานอย่างต่อเนื่อง ปีละ 2 ครั้ง ในระดับจังหวัดและในระดับอาเภอ มีการ
ตดิ ตามในที่ประชมุ ประจาเดอื นเปน็ ระยะๆ
3. มีการอบรมฟื้นฟูความรู้ในเร่ืองการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3อ.2ส.) ให้แก่โรงพยาบาลทุก
แห่ง และ รพ.สต.ทุกแหง่ ในต้นปี 2556
4. มีการติดตามและนิเทศงานในคลินิก DPAC อย่างต่อเน่ือง ปีละ 2 คร้ัง ในระดับจังหวัดและใน
ระดับอาเภอ มกี ารตดิ ตามในทีป่ ระชมุ ประจาเดอื นเปน็ ระยะๆ
5. ใช้การกระตุ้นผลงานทุก 3 เดือน ด้วยแบบรายงานของกองสุขศึกษา (แบบติดตามการดาเนินงาน
ปรับเปล่ียนพฤตกิ รรม 3อ.2ส. และลดเสี่ยงฯในระดับพ้ืนท)ี่

6.กำรลดปจั จัยเสย่ี งในประชำกรและชมุ ชน มกี ารขยายเครอื ข่ายโดยรบั สมัครองค์กรในพืน้ ที่ ทุกปี
และองคก์ รไรพ้ ุงตน้ แบบที่ดาเนินงานในปที ่ผี า่ นมาแตย่ ังไม่ผา่ นการประเมินรับรองเป็นศูนย์การเรยี นรู้ ก็
สามารถดาเนินงานต่อเน่ืองเม่ือ องค์กร หนว่ ยงาน มคี วามพร้อมตามเกณฑอ์ งคป์ ระกอบก็สามารถให้ได้รับ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 199

การประเมนิ ได้อกี ในส่วนทเ่ี ป็นศนู ย์การเรียนรูเ้ ดมิ จังหวัดให้มีการตดิ ตามผลลพั ธท์ างดา้ นสขุ ภาพ และ
สนับสนุนสอ่ื ทางวชิ าการอย่างตอ่ เน่ือง

7.กำรลดปัจจัยเสยี่ งในประชำกรและชมุ ชน มกี ารขยายระยะเวลาในการดาเนินงานในรอบปี
เพ่ือใหม้ เี วลาในการดาเนนิ งาน โดยทีมประเมินในระดับจงั หวดั จะตดิ ตามความกา้ วหน้าพร้อมกับเกบ็ ผลงาน
เปน็ องค์กรไร้พุงต้นแบบ เพ่ือมอบโล่รางวลั และเงินรางวัล ภายใตก้ ารดาเนนิ งานโครงการ ในแผนสขุ ภาพ
จังหวดั ท้งั นีเ้ พือ่ เป็นการคัดเลือกองค์กรเพ่ือพฒั นาสู่ศูนยก์ ารเรยี นรอู้ งค์กรไร้พุงตน้ แบบ ก่อนรับการประเมนิ
รบั รอง

ปจั จัยสำคัญที่ทำให้เกิดกำรดำเนินงำนไมบ่ รรลุเป้ำหมำย (กรณที ่ไี มบ่ รรลเุ ปา้ หมาย)
และขอ้ เสนอแนะท่ใี ห้ตอ่ หนว่ ยรับตรวจ

งำนปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมสขุ ภำพ

ปญั หำ/อุปสรรค/ปัจจัยท่ีทำใหก้ ำรดำเนนิ งำน ข้อเสนอแนะทีใ่ ห้ตอ่ หน่วยรับตรวจ
ไมบ่ รรลเุ ปำ้ หมำย/ควำมเสี่ยงฯ

1. กลุ่มเป้าหมายในพนื้ ที่ ไมค่ งทโี่ ดยเฉพาะกลุ่มเสยี่ ง 1. ปี 2556 ได้ชแ้ี จงผรู้ บั ผดิ ชอบทั้ง รพ. และ รพ.สต.

ใช้เกณฑต์ ่างกนั โดยเลอื กเฉพาะกลุ่มที่เสีย่ งสูงกอ่ น

2. การดาเนนิ งานคัดกรอง และปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรม 2.จะปรับแผนการดาเนินงานในปี 2558 โดยจะคัด

สขุ ภาพ ค่อนข้างล่าช้าเลก็ น้อย กรอง ร้อยละ 90 ในไตรมาสแรก และปรบั เปลย่ี น

พฤติกรรมในไตรมาส 2-3

3. การปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมสขุ ภาพ เปน็ งานท่เี ห็น 3. การตดิ ตาม/ประเมนิ อย่างตอ่ เนือ่ ง และสร้างความ

ผลช้า และไมค่ งที่ (ขน้ึ ๆลงๆ) ตระหนกั ถึงภาวะสขุ ภาพที่ตามมา

ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบำยในเรือ่ งกำรลดปจั จัยเสีย่ งในประชำกรและชมุ ชน

1.นโยบายมีความทับซ้อนที่ต้องดาเนินงานในลักษณะงาน และผู้ปฏิบัติงาน ทาให้การเช่ือมต่องานมี

เป้าหมายคนละกลุ่มและทาเป็นบางพ้ืนท่ี ระดับกรมควรมีการบูรณาการตามแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิต

ไทยทตี่ อ่ เนอ่ื งชัดเจน

2.การดาเนินงานโครงการตามนโยบายเร่งรัดของกระทรวงสาธารณสุขซ่ึงมีระยะเวลาในการ
ดาเนินงานจากัดในระยะเวลาอันสั้นทาให้ไม่เกิดประสิทธิผล และประสิทธิภาพของงานเท่าที่ควรดังน้ันเพื่อ
ตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหาหรือความต้องการของประชาชนในแต่ละพ้ืนที่จึงควรมีโครงการที่สามารถ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนทั้งจากการศึกษาทางระบาดวิทยาหรือจากการเฝ้าระวังปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมลดโรค

นวตั กรรมท่สี ำมำรถเปน็ แบบอยำ่ ง

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 200

สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี รว่ มกบั โรงพยาบาลสามชุก ในการพัฒนาระบบการคดั กรอง
ความเส่ยี งในการเกิดโรคหวั ใจและหลอดเลือด ซึงการพฒั นาดังกลา่ วสามารถนารปู แบบการดาเนนิ งาน
เดียวกนั มาใช้ในหน่วยบริการได้ทง้ั จงั หวดั โดยนาเกณฑ์การประเมนิ ความเสย่ี งโดยใชต้ ารางสี (Color Chart)
ซง่ึ เป็นเกณฑ์ ของ WHO/ISH Risk Prediction Chart for SEAR B,2007 นามาออกแบบเพื่อการใชง้ านที่
สะดวกเพิ่มมากข้นึ ท้งั ในสว่ นการแจ้งผลความเส่ียงต่อผู้รับบรกิ าร การดูแลรักษา การรายงานผลในภาพรวม
และการจัดการข้อมลู โดยมรี ูปแบบการพฒั นาตามรายละเอยี ดดา้ นลา่ ง ดังนี้

การพฒั นาระบบการคัดกรอง ความเสี่ยงในการเกดิ โรคหัวใจและหลอดเลือด
ปี งบ 2557 จังหวดั สุพรรณบุรี

กระบวนการดาเนินงานการพฒั นาระบบ นาเกณฑข์ องส่วนกลางมาปรับใหเ้ ขา้ กบั ระบบงาน
การคดั กรอง CVD risk จงั หวดั สุพรรณบุรี เดิม

จนท.บนั ทึกขอ้ มูลเหมือนเดิมในโปรแกรม Hos-XP

ผรู้ ับบริการมาที่หน่วยบริการและไดร้ ับการ ออกแบบระบบการดึงขอ้ มูลและระบบรายงานใหม่
ซกั ประวตั ิใน Hos-XP ( ตามขอ้ มูล 1-6 )
ตามแบบ POP
UP*

จนท.แจง้ ผลการประเมินความเส่ียง และให้ Page 201
คาแนะนา / แพทยใ์ หก้ ารรักษาตามความเสี่ยง

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗

แสดงผลเป็นกราฟ (รายบุคคล) เพื่อเห็นแนวโนม้
และระดบั ความเสี่ยง (อยใู่ นข้นั กาลงั พฒั นาต่อ)

ประมวลผลตามรูปแบบ และเกณฑท์ ่ีนามาจาก
ส่วนกลาง โดยแยกรายงานเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มอายุ

นอ้ ยกวา่ 40ปี และ กลุ่มอายุ <40ปี

รวบรวมรายงานในภาพรวมของ อาเภอ/ จงั หวดั

นาขอ้ มูลที่ได้ มาวเิ คราะห์เพ่ือหาโอกาสพฒั นา

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 202

ตัวอย่าง รูปแบบกรอบการพฒั นารายงาน จาก Color

กล่มุ ผู้เป็ น
กลุ่มที่ 1 ความเส่ียงต่า (สีเขียว) หมายถึงกลมุ่ ที่มีโอกาสเสี่ยง <10% ท่ีจะเป็ นโรคกลา้ มเน้ือหวั ใจ

ผปู้ ่ วย DM / DM

ทราบผล Cholesteral ช่วงอายุ SBP,Chol
ช่วงอายุ SBP,Chol
ไมส่ ุบบุหรี่
ชาย

สุบบุหร่ี

หญิง ไมส่ ุบบุหรี่ ช่วงอายุ

สุบบุหร่ี ช่วงอายุ SBP,Chol
SBP,Chol

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗

Chart เพื่อให้เข้ากบั ฐานข้อมูลในโปรแกรม Hos-XP

นเบาหวาน
จตาย (MI) และโรคอมั พฤกษอ์ มั พาต (stroke:fatal, non-fatal) ในอีก10 ปี ขา้ งหนา้

M-HT

ไม่ทราบผล Cholesteral

ไม่สุบบุหร่ี ช่วงอายุ SBP

ชาย

สุบบุหร่ี ช่วงอายุ SBP

หญิง ไม่สุบบุหรี่ ช่วงอายุ SBP
SBP
สุบบุหร่ี ช่วงอายุ

Page 203

ตัวอย่างรายงานทแ่ี สดงผลการป

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗

ประเมิน CVD RISK เป็ นบุคคล

Page 204

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗

Page 205

ผลกำรดำเนนิ งำนยำเสพตดิ ประจำปีงบประมำณ 2557
สถำนกำรณ์

จากการดาเนินงานป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ในปี 2557 พบว่า สถานการณข์ อง
ปัญหายาเสพตดิ ในพืน้ ที่ ยังคงความรุนแรงอย่างตอ่ เนอ่ื ง ยาบา้ ยังคงเปน็ ยาเสพติด ทพ่ี บมีการแพรร่ ะบาดมากทส่ี ุด ผ้เู สพราย
ใหมใ่ นพื้นทมี่ จี านวนเพ่มิ มากขนึ้ ผ้เู สพรายเก่าทีเ่ ป็นเด็กและเยาวชนไดผ้ ันตัวไปเปน็ ผู้ค้ารายย่อยในพื้นที่ ซึง่ มีจานวนเพิ่มขึน้
อย่างต่อเนอื่ ง ทง้ั น้ี คนในชุมชนสว่ นใหญย่ งั เหน็ ว่า ผู้เสพ/ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ในชุมชน เปน็ ปญั หาเฉพาะของแตล่ ะครอบครวั
มากกว่า เป็นปัญหาของชุมชน อาจกล่าวไดว้ า่ ความรุนแรงของสถานการณ์ปัญหายาเสพตดิ ยงั คงเกี่ยวกบั สภาพแวดล้อม
ภายในชุมชน เชน่ อาชพี ของประชากรในพ้ืนท่ี ความเป็นอยใู่ นชมุ ชน โดยจากการสอบถามประชาชน พบวา่ ปัญหาม่วั สมุ่
ของกลมุ่ วยั รนุ่ เป็นปญั หาสร้างความเดอื ดร้อนใหแ้ ก่คนในชมุ ชนหรอื หมูบ่ า้ นมากทสี่ ดุ

ในปีงบประมาณ 2557 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี กาหนด เป้าหมายการดาเนินงานบาบดั รกั ษาฯ
ผู้ป่วยยาเสพตดิ ระบบสมคั รใจ จานวน 130 ราย , บาบดั รกั ษาฯ ผู้ปว่ ยยาเสพตดิ ระบบบังคับบาบัด จานวน 670 ราย
, ตดิ ตาม/ดแู ล ผปู้ ่วยยาเสพติดที่ผา่ นการบาบดั รกั ษาฯ จานวน 2,406 ราย และพัฒนาระบบงานยาเสพตดิ ตามเกณฑ์
มาตรฐาน พบยส. ประกอบด้วย หน่วยงาน สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี , สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอทกุ แห่ง ,
โรงพยาบาลทุกแหง่ และโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพระดับตาบลทกุ แห่ง รวมจานวนท้ังส้ิน 195 แหง่
สรปุ ผลกำรดำเนนิ งำน

ผลการดาเนินงานการบาบดั รักษาและฟน้ื ฟูสมรรถภาพผู้เสพยาเสพตดิ ทเี่ ขา้ รบั การบาบัดรกั ษา ทโ่ี รงพยาบาลใน
สงั กดั สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี ทั้ง 10 แหง่ ในระบบสมัครใจ และระบบบังคบั บาบดั แบบไมค่ วบคุมตวั ซง่ึ
สานกั งานคุมประพฤตจิ ังหวดั สพุ รรณบรุ ี ไดส้ ง่ ผปู้ ว่ ยยาเสพติด ตามพระราชบญั ญตั ิฟนื้ ฟสู มรรถภาพผปู้ ่วยยาเสพตดิ พ.ศ.
2545 เขา้ รบั การบาบดั รกั ษา หลักสตู ร 4 เดือน (Matrix Program) จานวนผู้ปว่ ยยาเสพตดิ ทเ่ี ขา้ รับการบาบดั รักษาฯ
ท้งั 2 ระบบ รวมท้ังสิ้น จานวน 469 คน (ข้อมลู ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2557)

สรุปผลการดาเนนิ งานการบาบัดรกั ษาผปู้ ่วยยาเสพตดิ ท่โี รงพยาบาล ในสงั กัดสานักงาน
สาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี (หลกั สตู ร 4 เดอื น) ในปงี บประมาณ 2557 จานวนรวมท้ังสน้ิ 469 คน
เปน็ เพศชาย 444 คน เพศหญิง 25 คน อายตุ า่ ทสี่ ดุ 14 ปี อายมุ ากทีส่ ุด 75 ปี ส่วนมากประกอบอาชพี รบั จ้าง
และเกษตรกร ยาเสพติดท่ีใช้คร้ังสดุ ทา้ ยกอ่ นมาเขา้ รบั การบาบดั รกั ษาฯ ได้แก่ ยาบ้า ไอซ์ และกญั ชา สาเหตุทีใ่ ช้ยาเสพติด
อยากลอง (281) , เพือ่ นชวน (121) และช่วยในการประกอบอาชีพ อายทุ ่ใี ชย้ าเสพติด คร้ังแรกต่าสุด 10 ปี ชนดิ ของยา
เสพติดท่ใี ช้ครัง้ แรก ยาบา้ , กญั ชา และ ไอซ์
ตารางท่ี 1 สรปุ ผลการบาบดั รกั ษาฯ ผปู้ ่วยยาเสพตดิ จาแนกตามหนว่ ยบริการ

ลาดบั ที่ หนว่ ยบริการ จานวน (คน) หมายเหตุ

1 รพศ.เจ้าพระยายมราช 99

2 รพช.เดมิ บางนางบวช 21

3 รพช.ดา่ นชา้ ง 49

4 รพช.บางปลามา้ 28

5 รพช.ศรีประจันต์ 31

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 206

6 รพช.ดอนเจดีย์ 46
7 รพช.สามชกุ 41
8 รพท.สมเด็จพระสงั ฆราชองคท์ ี่ 17 100
9 รพช.อู่ทอง 27
10 รพช.หนองหญ้าไซ 27
469
รวม

ทมี่ า : รายงานระบบการบาบดั รกั ษาและฟื้นฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ (บสต. 3 – 5 )
(Http.//antidrug.moph.go.th) ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2557

ตารางท่ี 2 สรปุ ผลการบาบดั รกั ษาฯ ผู้ป่วยยาเสพตดิ จาแนกกลมุ่ อายุ (ป)ี

กลุ่มอายุ (ป)ี จานวน (คน) หมายเหตุ

14 – 20 ปี 88 ช่วงกลุ่มอายุ 14 - 25 ปี

21 – 25 ปี 86 เข้ารบั การบาบดั มากทสี่ ุด

26 – 30 ปี 68

31 – 35 ปี 74

36 – 40 ปี 70

มากกวา่ 40 ปี 83

รวม 469

ผลการดาเนินการตดิ ตาม ดแู ล ช่วยเหลือผูผ้ ่านการบาบดั กลุ่มผู้ป่วยยาเสพติดที่ผา่ นการบาบดั รกั ษาฯ ในระบบ

สมัครใจ และคา่ ยปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรม มผี ู้ปว่ ยยาเสพตดิ ทไี่ ดร้ บั การติดตามครบตามเกณฑ์และสนิ้ สดุ การตดิ ตาม จานวน

696 คน พบว่า เลกิ เสพยาเสพตดิ ไดจ้ านวน 123 คน กลบั ไปเสพซ้า จานวน 14 คน ติดตามไม่พบ จานวน 48 คน ถกู

จับ จานวน 5 คน (ขอ้ มลู ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2557 จากระบบรายงาน บสต.5)

ทมี่ า : ระบบรายงาน ระบบติดตาม และเฝา้ ระวังปญั หายาเสพตดิ (บสต. 3 – 5 ) กระทรวงสาธารณสุข
(http://antidrug.moph.go.th) ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2556 – 30 กนั ยายน 2557)

ปีงบประมาณ 2557 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ไดส้ นบั สนุนชดุ ตรวจปสั สาวะเพอื่ หาสารเสพตดิ
เบอื้ งตน้ แก่หนว่ ยงานทม่ี าขอรบั การสนบั สนุนและหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง จานวนท้ังสิน้ 26,450 ชดุ จานวนเงนิ ท่จี ัดซอื้
410,000 บาท (สีแ่ สนหน่ึงหมื่นบาทถว้ น)
ตารางที่ 3 สรปุ จานวนเงนิ ที่ใช้ในการจัดซื้อชุดตรวจปสั สาวะเพ่อื หาสารเสพตดิ เบอ้ื งตน้

แหลง่ เงนิ งบประมาณ จานวนเงิน (บาท) หมายเหตุ

ศนู ย์อานวยการพลงั แผ่นดนิ เอาชนะยาเสพติด จงั หวดั สุพรรณบรุ ี 100,000

เงินงบประมาณ ของสานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี 310,000

รวม 410,000

ปงี บประมาณ 2557 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี จา่ ยเงินให้ ศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 207

ท่ี 5 สมุทรสงคราม เปน็ ค่าตรวจวิเคราะหต์ วั อย่างปสั สาวะเพ่อื ยนื ยนั สารเสพตดิ “ ตรวจพสิ ูจนส์ ารเสพติด (Confirm test)
” โดยใช้ เทคนคิ การตรวจวเิ คราะห์ Chemical test TLC (Methamphetamine) กรณีไมเ่ ขา้ เกณฑ์พระราชบัญญัติ
ฟนื้ ฟสู มรรถภาพผูป้ ่วยยาเสพตดิ พ.ศ. 2545
ตารางท่ี 4 สรปุ จานวนตัวอย่างปัสสาวะทต่ี รวจวเิ คราะห์เพ่ือยนื ยนั สารเสพตดิ ในกรณไี มเ่ ข้าเกณฑ์

พระราชบัญญัติฟื้นฟสู มรรถภาพผู้ป่วยยาเสพตดิ พ.ศ. 2545

ลาดบั ท่ี เดือน จานวนตัวอย่างปัสสาวะ จานวนเงนิ (บาท) หมายเหตุ

1 ตุลาคม 2556 142 99,400 700บาท/ตัวอย่าง

2 พฤศจกิ ายน 2556 79 55,300 700บาท/ตวั อย่าง

3 ธนั วาคม 2556 89 62,300 700บาท/ตัวอยา่ ง

4 มกราคม 2557 56 14,00 250บาท/ตัวอย่าง

5 กมุ ภาพันธ์ 2557 50 12,500 250บาท/ตัวอย่าง

6 มีนาคม 2557 73 18,250 250บาท/ตัวอย่าง

7 เมษายน 2557 126 31,500 250บาท/ตัวอย่าง

8 พฤษภาคม 2557 178 44,500 250บาท/ตัวอย่าง

9 มิถนุ ายน 2557 178 44,500 250บาท/ตวั อย่าง

10 กรกฎาคม 2557 187 46,750 250บาท/ตัวอยา่ ง

11 สงิ หาคม 2557 165 41,250 250บาท/ตัวอยา่ ง

12 กนั ยายน 2557 63 15,750 250บาท/ตวั อย่าง

รวม 1,386 486,000

สรปุ กำรวิเครำะห์ผลกำรดำเนินงำน (เชิงคณุ ภำพ)

การดาเนนิ งานด้านการป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ของจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี พบว่า ผลการดาเนนิ งานด้านการ

บาบดั รกั ษาผปู้ ่วยยาเสพตดิ ไมค่ รบตามจานวนเปา้ หมายทีก่ าหนด ในระบบสมคั รใจ พบว่าผปู้ ว่ ยยาเสพติดไมเ่ ขา้ รบั การ

บาบดั รกั ษาฯ เพราะคิดว่าตนเองสามารถเลกิ เสพยาเสพตดิ ได้เอง (ไมย่ าเสพตดิ เสพ กส็ ามารถอยู่ได้) และการดาเนินงานของ

เจ้าหนา้ ที่ตารวจ พบวา่ มีการดาเนนิ การจับกุมผ้ตู อ้ งหาในคดีขับเสพ และ ผู้ต้องหาคนฯ ดังกลา่ ว จะถกู

ดาเนินคดตี ามพระราชบญั ญตั กิ ารจราจร (ไมถ่ ูกดาเนินคดใี นข้อหาเสพยาเสพตดิ ไม่เข้าพระราชบญั ญตั ิฟ้ืนฟูสมรรถภาพผ้ปู ว่ ย

ยาเสพตดิ พ.ศ. 2545) สง่ ผลให้ ผู้เขา้ รบั การบาบดั รักษาฯ ในระบบบงั คบั บาบัด มจี านวนลดนอ้ ยลง นอกจากนี้ พบว่า

ผปู้ ว่ ยยาเสพตดิ ทผ่ี ่านกระบวนการบาบดั รกั ษาฯ ไดร้ ับการติดตามไมค่ รบตามเกณฑม์ าตรฐานทก่ี าหนด เน่ืองจาก ผปู้ ่วยฯ

ดงั กลา่ ว ไม่อยู่ในพนื้ ที่ และตดิ ตามตวั ไม่พบ และ ผปู้ ว่ ยยาเสพตดิ ท่ีผ่านกระบวนการบาบดั รกั ษาฯ กลบั ไปเสพยาเสพติดซา้

เพราะกลบั ไปอยู่ในสภาพแวดล้อมเดมิ ท่ีสามารถหาซ้ือยาเสพติดได้งา่ ย และมสี ภาพจติ ใจทไี่ มเ่ ข้มแข็งพอ ที่จะปฏเิ สธการใช้

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 208

ยาเสพตดิ ประกอบกบั ตัวยาเสพตดิ ไดแ้ ก่ ยาบ้า มกี ารแพรร่ ะบาดอยา่ งมากและต่อเนอื่ ง ขณะเดยี วกันยาเสพติดชนิดใหม่
ได้แก่ ไอซ์ เริ่มมกี ารแพรร่ ะบาดเขา้ มาในพืน้ ท่ี ส่งผลใหผ้ ูเ้ สพยาเสพตดิ เขา้ ถงึ ตวั ยาไดง้ ่าย

รำยงำนประจำปี แอลกอฮอล์และยำสูบ 2557

สถำนกำรณ์แอลกอฮอล์
การบริโภคเคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ของประเทศไทย เปน็ ปัจจัยเส่ียงทางสุขภาพลาดับทหี่ นึง่ โดย

กอ่ ภาระโรคคิดเป็นรอ้ ยละ 15.7 ของภาระโรคท้ังหมด ซงึ่ สงู กว่าคา่ เฉล่ียนานาชาติอยา่ งชดั เจนและกว่าร้อยละ
70 ของอุบัติเหตุบนท้องถนนเกิดจากเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ จากการสารวจของสานักงานสถิติแห่งชาติในปี
2554 พบว่าปริมาณการบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ของประชากรไทยโดยเฉลี่ยคิดเป็น 52 ลิตร/คน/ปี หรือ
ร้อยละ 31.5 และความชุกของนักนักด่ืมในประชากรวัยรุ่น (อายุ 15-19 ปี) คิดเป็นร้อยละ 14 อายุเฉล่ียการ
บรโิ ภคเคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ในกลุม่ เยาวชนทงั้ เพศชายและเพศหญิงมีอายุเฉล่ียท่ีเริ่มด่ืมเร็วขึน้ โดยอายุเฉลยี่ ที่
เพศชายจะเริ่มด่ืมท่ีอายุเฉล่ีย 19.4 ปี เพศหญิงเริ่มดื่มที่อายุเฉล่ีย 24.5 ปี ในจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า
ประชากรวยั รุ่นมคี วามชกุ ของนักดมื่ ร้อยละ 5.0

พฤติกรรมการด่ืม จากการสารวจของสานักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า ในประชากรผู้ใหญ่
จงั หวัดสุพรรณบุรีมพี ฤตกิ รรมการดื่มเป็นประจา มีความชุก รอ้ ยละ 45.4 และดื่มหนัก รอ้ ยละ 5.6 ผดู้ ื่มสุรา
ในท่ีสาธารณะ ร้อยละ 58.6 และผู้ด่ืมสุราแล้วขับรถ ร้อยละ 35.0 ผลกระทบจากการบริโภคเคร่ืองด่ืม
แอลกอฮอล์เหล่านส้ี ามารถป้องกนั และหลีกเลี่ยงได้ด้วยการมีนโยบายแอลกอฮอล์ที่มีประสิทธผิ ลและการนาไป
ปฏิบัตอิ ย่างจริงจัง

ขอ้ มูลเชงิ ปริมำณ

ตำรำง แสดงความชกุ ของนกั ด่ืมในประชากรวยั ร่นุ (อายุ 15-19 ปี) ปี 2554

ประชำกร ชำย (ร้อยละ) หญงิ (ร้อยละ) รวม (รอ้ ยละ
5.0
อายุ 15-19 ปี 9.2 0.6

ทีม่ า : สานกั งานสถติ ิแห่งชาติ พ.ศ.2554
จากการสารวจของสานักงานสถิติแหง่ ชาติ พบว่าอัตราความชุกของนกั ดื่มชาย ร้อยละ 9.2
อตั ราความชกุ นักด่ืมหญิง ร้อยละ 0.6 รวม ร้อยละ 5.0

จงั หวดั สพุ รรณบุรี มีการจัดประชมุ คณะกรรมการควบคมุ เครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์ คร้งั ท่ี 1 เมือ่ วันที่
20 ธนั วาคม 2556 ที่ผ่านมา โดยในท่ีประชุมได้เน้นเรอ่ื งการจาหน่ายเคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์บรเิ วณรอบ
สถานศึกษา และมีแผนการออกตรวจรา้ นชว่ งก่อนเทศกาลและวนั สาคญั ทางศาสนาต่างๆ ผลการดาเนนิ งาน
ตรวจเตือน ประชาสมั พันธ์กฎหมาย เฝ้าระวงั และบังคบั ใช้กฎหมายควบคุมเครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ในช่วง
เทศกาลสงกรานต์ ปี ๒๕๕๕๖ ของจงั หวดั สุพรรณบรุ ี เป้าหมายการดาเนนิ งาน ได้แก่สถานประกอบการ
ร้านค้าในเขตจังหวัดสพุ รรณบุรี ทั้ง ๑๐ อาเภอ จานวน ๑๗๕ ร้าน และออกดาเนนิ การตรวจเตอื น
ประชาสมั พนั ธ์ ร่วมกบั สานักงานคณะกรรมการควบคมุ เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ในวนั ท่ี ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๖

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 209

(วันอาสาฬหบูชา) รวมท้งั ส้ิน ๖ ราย ไม่พบการกระทาความผิด จานวน ๖ ราย และพบการกระทาความผิด
จานวน ๒ ราย สภ.สามชกุ ได้ดาเนนิ การจับกมุ ผู้กระทาความผิดตามพระราชบญั ญตั คิ วบคมุ เครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์ พ.ศ.๒๕๕๑ ฐานความผดิ คอื บริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลใ์ นสวนสาธารณะของทางราชการทจ่ี ัด
ไวเ้ พอื่ พักผอ่ นของประชาชนทว่ั ไป จานวน ๔ ราย เป็นเงนิ ๑๒,๐๐๐ บาท สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั
สุพรรณบุรีได้ดาเนนิ การตามระเบียบกรมควบคุมโรคว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายเงินสนิ บน
รางวัลและค่าใช้จา่ ยในการดาเนินงานตามพระราชบญั ญัตคิ วบคมุ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ พ.ศ.๒๕๕๑ เรยี บร้อย
แลว้ และสานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี วางแผนออกตรวจกระเชา้ ปีใหม่ ในวันท่ี ๒๓ ธนั วาคม
๒๕๕๖ เนอ่ื งจากในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายน-เดอื นกุมภาพันธ์ ของทุกปี เป็นช่วงเทศกาลปใี หม่ จะพบการ
ฝ่าฝืนตาม พรบ.ควบคุมเคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ พ.ศ.๒๕๕๑

สถำนกำรณย์ ำสบู
การบริโภคยาสูบในประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ.2534-2556 พบว่า ในช่วงแรก (ปี พ.ศ.

2534-2550) อัตราการสูบบหุ ร่ีมีแนวโนม้ ลดลงอย่างต่อเน่ือง จากอัตราผู้สูบบหุ ร่ี ร้อยละ 32.0 ในปี พ.ศ.2534
เป็น ร้อยละ 21.22 ในปี พ.ศ.2550 โดยมีอัตราการเปล่ียนแปลงเฉลี่ยลดลง ร้อยละ 2.50 ต่อปี ช่วงหลัง (ปี
พ.ศ.2550-2556) อัตราการสูบบุหร่ีมีแนวโน้มค่อนข้างคงท่ี จากเดิม (พ.ศ.2550) ลดลงเป็น ร้อยละ 20.70
ในปี พ.ศ.2552 และกลับเพ่ิมข้ึนเป็น รอ้ ยละ 21.36 ในปี พ.ศ.2554 และลดลงในปีปัจจุบัน (พ.ศ.2556) ร้อย
ละ 19.94 โดยมอี ัตราการเปลีย่ นแปลงเฉลี่ยลดลง รอ้ ยละ 0.97 ต่อปี

จากการสารวจสถานการณ์การบริโภคยาสูบคร้ังล่าสุด (ปี 2556) พบว่าประชากรไทยอายุ
ตั้งแต่ 15 ปีข้ึนไป ใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบปัจจุบันชนิดมีควัน คิดเป็นร้อยละ 19.94 จาแนกเป็น เพศชายคิดเป็น
ร้อยละ 39.0 และเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 2.05 โดยเพศชายมาสัดส่วนการใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบชนิดมีควันสูง
กว่าเพศหญิงเทา่ กับ 68.4 : 1

อตั ราการสูบบุหร่ีของประชากรรวม ในจังหวัดสุพรรณบุรี ปี พ.ศ.2554 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 16.65
และปรมิ าณการสูบบหุ รขี่ องผสู้ ูบบหุ รป่ี จั จบุ ัน (มวนตอ่ คนตอ่ วัน) ปี พ.ศ.2554 คิดเป็นร้อยละ 9.74

2.ขอ้ มลู แสดงผลการดาเนนิ งานหรอื การบรรลเุ ป้าหมาย (ข้อมูลเชิงปรมิ าณ/ข้อมลู เชงิ คุณภาพ)

ขอ้ มูลเชิงปริมำณ
ตำรำง อัตราการสบู บุหรีแ่ ละปรมิ าณการสบู บหุ รี่ของผสู้ บู บุหรี่ปัจจบุ ันของประชากรรวม อายุ 15 ปขี น้ึ ไป ปี
2544,2550 และ 2554

จงั หวดั อตั รำกำรสูบบหุ ร่ีปัจจุบนั (ร้อยละ ปริมำณกำรสูบบุหร่ีของผ้สู ูบบุหรป่ี จั จุบัน
สพุ รรณบุรี (มวนต่อคนต่อวนั )
ปี 2544 ปี 2550 ปี 2554
20.19 15.68 16.65 ปี 2544 ปี 2550 ปี 2554
14.17 12.07 9.74

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 210

ทมี่ า : จากข้อมลู สถานการณ์และแนวโน้มการบริโภคยาสูบของประชากรไทย พ.ศ.2534-2554 โดย
สานักควบคมุ การบรโิ ภคยาสูบ กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข

จังหวัดสพุ รรณบุรี ไดบ้ รูณาการงานควบคมุ ยาสบู รว่ มกับงานควบคุมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ โดยได้
มีการจดั ประชมุ คณะกรรมการควบคมุ เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์และยาสูบ คร้งั ท่ี 1 เมือ่ วนั ท่ี 20 ธันวาคม 2556 ที่
ผ่านมา โดยในท่ปี ระชมุ ไดเ้ น้นเรื่องการจาหน่ายเคร่ืองดืม่ แอลกอฮอล์และบุหรบี่ รเิ วณรอบสถานศกึ ษา และมี
แผนการออกตรวจร้านจาหน่ายเคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์และบุหร่ี ในปี 2557 ทงั้ 10 อาเภอ ซงึ่ เป็นแผนงานที่
ดาเนินการเปน็ ประจาทุกปี ผลการดาเนนิ งานตรวจเตอื น ประชาสมั พันธ์กฎหมาย เฝา้ ระวงั และบังคับใช้
กฎหมายควบคุมเครอื่ งดืม่ แอลกอฮอลแ์ ละบหุ รี่ ปี ๒๕๕๕๖ ของจังหวัดสุพรรณบุรี เป้าหมายการดาเนินงาน
ไดแ้ กส่ ถานประกอบการรา้ นคา้ ในเขตจังหวัดสุพรรณบุรี ท้ัง ๑๐ อาเภอ จานวน ๑๗๕ รา้ น

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 211

งำนทันตสำธำรณสุข จงั หวดั สุพรรณบุรีปีงบประมำณ 2557
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี ไดด้ าเนินงานสรา้ งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก

แก่ประชาชนในทุกกลุ่มวัย กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ หญิงต้ังครรภ์ เด็กปฐมวัย เด็กวัยเรียน และผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายรองได้แก่ กลุ่มเยาวชนและวัยรุ่น และอ่ืนๆ โดยได้ดาเนินงานท้ังด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษา
และฟื้นฟูสภาพ โดยการรวบรวมข้อมูลสภาวะทันตสุขภาพในกลุ่มอายุสาคัญ ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ ข้อมูล
การได้รับบริการทันตกรรม ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานในปีท่ีผ่านมา เพื่อประกอบการจัดทา
แผนงานเชิงบูรณาการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากตามกลุ่มวัย โดยได้ดาเนินการตามแผนงาน/โครงการ
ส่งเสริมปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาสุขภาพชอ่ งปากตามกลุ่มวัย ดงั น้ี

1. กลมุ่ หญิงต้ังครรภ์

โรคในช่องปากที่พบมากคือ โรคเหงอื กอักเสบและโรคฟันผุ หญิงต้ังครรภ์มีปัญหาสขุ ภาพช่องปาก

สูง โดยเฉพาะโรคเหงือกอักเสบเน่ืองจากการเปล่ียนแปลงของฮอร์โมน ซึ่งเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ จึงต้องเน้น

การสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองของหญิงตั้งครรภ์ ได้จัดให้มีบริการตรวจสุขภาพช่อง

ปาก ให้คาแนะนาและให้ความรู้ ย้อมสีฟันและฝึกทักษะการแปรงฟัน ให้บริการขูดหินปูน ขัดทาความสะอาด

ฟัน แก่หญิงต้ังครรภ์รายใหม่ หากพบว่ามีฟันผุจะได้รบั คาแนะนาให้เข้ารับบริการรกั ษาทางทันตกรรมตามความ

จาเป็น ท้ังน้ี เพ่ือให้การดาเนินงานมีความครอบคลุมมากย่ิงข้ึน จึง ให้ อสม.มีสว่ นร่วมในการค้นหาติดตาม หญิง

ตงั้ ครรภ์รายใหม่ในชุมชนให้มารับบริการตรวจสุขภาพช่องปากและรับบริการสง่ เสริมป้องกันทางทันตกรรม มีผล

การดาเนนิ งานดังนี้

ตำรำงท่ี 1 หญงิ ตงั้ ครรภไ์ ดร้ ับกำรตรวจสุขภำพชอ่ งปำกและได้รับคำแนะนำทำงทนั ตสขุ ภำพ

ปงี บประมำณ 2557

จานวนหญงิ

ตวั ชี้วดั เกณฑ์ อาเภอ ตงั้ ครรภ์ ผลงาน ร้อยละ

(คน)

รอ้ ยละหญิงต้งั ครรภ์ ไมน่ อ้ ยกวา่ เมืองสพุ รรณบรุ ี 1,607 1,498 93.2

รายใหมไ่ ด้รบั การ 70 เดิมบางนางบวช 559 493 88.2

ตรวจสขุ ภาพช่องปากและ ด่านชา้ ง 650 573 88.1
ได้รบั คาแนะนา บางปลาม้า 598 335 56.0
ทางทันตสขุ ภาพ ศรีประจนั ต์ 495 270 54.6

ดอนเจดีย์ 415 310 74.7

สองพีน่ อ้ ง 1,312 1,038 79.1

สามชกุ 434 243 56.0

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 212

อู่ทอง 1,186 835 70.4
หนองหญา้ ไซ 471 119 25.3
7,727 5,714 73.94
รวมทง้ั สิ้น

รปู ที่ 1 หญิงต้งั ครรภ์ได้รับกำรตรวจสขุ ภำพช่องปำกและได้รับคำแนะนำ ปงี บประมำณ 2557

ร้อยละ 93.2 88.2 88.1 เกณฑ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70
100
80 75.9 74.7 79.1 70.4

60 56 54.6 56

40 25.3
20

0

หญิงต้ังครรภ์รายใหม่ ปีงบประมาณ 2557 ได้รับการตรวจสุขภาพชอ่ งปากร้อยละ 73.9 ผ่านเกณฑ์ของสานัก
ทันตสาธารณสุข (ร้อยละ 70) มีหลายอาเภอสามารถดาเนินการได้ผ่านเกณฑ์ คือ อ.เมือง อ.เดิมบางนางบวช อ.ด่าน
ช้าง อ.ดอนเจดีย์ อ.สองพ่ีน้อง อ.อู่ทอง อาเภอดาเนินงานยังไมผ่ ่านเกณฑ์มี 4 อาเภอคือ อ.บางปลามา้ อ.สามชกุ อ.ศรปี ระจนั ต์
และ อ.หนองหญ้าไซ ร้อยละ 55.6, 55.6, 54.6 และ 25.3 ตามลาดับ ทั้งน้ี อาจเน่ืองจากมีปัญหาจากการติดตาม และระบบ
บริการการส่งต่อหญิงตัง้ ครรภ์จากคลินิก ANC มารับบรกิ ารตรวจสุขภาพช่องปาก ซึ่งต้องมีการบริหารจัดการและปรับระบบ
บริการฝากครรภ์ใหเ้ อ้ือตอ่ หญิงตัง้ ครรภ์ในการเข้าถึงบริการสุขภาพชอ่ งปาก

2. กลมุ่ เด็กปฐมวยั (0-5 ปี)
ปัญหาสุขภาพช่องปากโดยเฉพาะปัญหาฟันผุในเด็กเป็นปัญหาระดับสูง ที่กระทรวงสาธารณสุขให้ความสาคัญ

และกาหนดเป็นเป้าหมายสาคญั ท่ีต้องแก้ปัญหาฟนั ผุในเดก็ กลุ่มอายุ 3 ปี ในแผนงาน (Service plan) ของประเทศและหน่วย
บริการต้องจัดบริการส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปากให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการครอบคลุม ท้ังงานบริการในหน่วยบริการและ
บรกิ ารเชิงรุก

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี โดยกลุ่มงานทันตสาธารณสุข ได้สารวจสภาวะสุขภาพช่องปาก
ประชาชนเป็นประจาทุกปี พบว่า โรคฟันผุในฟันน้านมของเด็กปฐมวัยอยู่ในสถานการณ์ท่ีน่าเป็นห่วง เน่ืองจากพบว่า การเกิด
โรคฟนั ผใุ นเด็กเร่มิ ตงั้ แต่อายุนอ้ ยมาก และลักษณะการเกดิ โรคในช่องปากจะอยู่ในภาวะท่ลี ุกลาม พบว่า มีเดก็ อายุ 18 เดือน ท่ีมี
ฟันน้านมผุถึง ร้อยละ 10 (ปี 2556) อัตราการเกิดโรคฟันผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในเด็กอายุ 3 ปี พบเป็นโรคฟันผุในฟันน้านม
รอ้ ยละ 53.7 ท้ังน้ีเด็กอายุ 18 เดือน บริโภคนมหวานรอ้ ยละ 24.8 ด่ืมเคร่ืองดมื่ รสหวานร้อยละ 34.6 และผู้ปกครองแปรงฟนั ให้
เด็กทุกวันก่อนนอนเพียง ร้อยละ 67.9 จึงจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องเร่งรัด กระตุ้น และสนับสนุนให้มีการดาเนินงานจัดบริการ
สรา้ งเสริมสขุ ภาพและป้องกนั โรคในชอ่ งปากเดก็ ปฐมวยั อยา่ งจริงจงั และครอบคลุมเพ่อื ควบคมุ ให้อตั ราการเกดิ โรคฟนั ผลุ ดลง

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 213

2.1) เด็กอำยุ 0-2 ปี (เดก็ อายตุ า่ กวา่ 3 ปี)
การดาเนินการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในเด็กกลมุ่ นี้ เน้นการมสี ว่ นร่วมของผู้ปกครองโดยจัดให้มีบริการ

ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก ฝึกทกั ษะผู้ดแู ลเด็กแปรงฟันให้เด็ก ให้ความรู้แนะนาการดูแลสุขภาพชอ่ งปากเด็กและทาฟลูออไรด์วา
นิชเพ่ือป้องกันฟันผุในกลุ่มเสี่ยง รณรงค์สร้างกระแส “ลูกรักฟันดี เริ่มที่ซ่ีแรก” เพ่ือสร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครองและผู้มี
สว่ นเก่ียวข้องให้เห็นความสาคัญของการดูแลฟันน้านมและการดูแลสขุ ภาพช่องปากเด็ก เผยแพร่ความรู้และสร้างกระแสสังคม
ผ่านสื่อต่างๆให้ตระหนักในการดูแลฟันน้านมตั้งแต่เริ่มขึ้นซ่ีแรก เพ่ิมการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูมิ
(ศสม./รพ.สต.) โดย คปสอ./CUP ร่วมกันบริหารจัดการ จัดระบบบริการส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปากในระดับปฐมภูมิให้
ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ท้ังงานบริการในหน่วยบริการและเพ่ิมการทางานเชิงรุกในชุมชนและพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าท่ี
สาธารณสุขรว่ มจดั บรกิ าร ผลการดาเนนิ งานดังน้ี

ตำรำงที่ 2 เด็กอำยุต่ำกว่ำ 3 ปี ได้รบั กำรตรวจสุขภำพชอ่ งปำก และผู้ดูแลเดก็ ไดร้ บั กำรฝกึ ทักษะ

กำรแปรงฟนั ปงี บประมำณ 2557

ตวั ช้วี ดั จานวน ตรวจสุขภาพ ฝึกทกั ษะ

เกณฑ์ อาเภอ ท้ังหมด ช่องปากเดก็ ผดู้ แู ลเดก็ แปรงฟัน

คน ผลงาน รอ้ ยละ ผลงาน ร้อยละ

เดก็ อายุต่ากวา่ ไมน่ อ้ ยกวา่ เมอื งสุพรรณบรุ ี 5,380 6,768 125.8 4,558 84.72

3 ปไี ด้รบั การตรวจ รอ้ ยละ 70 เดมิ บางนางบวช 1,974 1,535 77.76 1,235 62.56

สขุ ภาพช่องปาก ด่านช้าง 2,401 1,037 43.19 2,571 107.08

และผดู้ แู ลเดก็ อายุ บางปลาม้า 2,118 1,008 47.59 998 47.12

ไดร้ ับการฝกึ ทักษะ ศรีประจนั ต์ 1,707 1,084 63.5 938 54.95

การแปรงฟัน ดอนเจดยี ์ 1,416 1,337 94.42 1,232 87.01

สองพี่นอ้ ง 4,663 5,263 112.87 4,962 106.41

สามชุก 1,448 1,736 119.89 1,475 101.86

อูท่ อง 3,928 3,453 87.91 2,774 70.62

หนองหญา้ ไซ 1,513 1,523 100.66 1,536 101.52

รวมทั้งสน้ิ 26,548 24,744 93.2 22,279 83.92

รปู ท่ี 2 เด็กอำยุต่ำกวำ่ 3 ปี ไดร้ ับกำรตรวจสุขภำพช่องปำก และผ้ดู แู ลเดก็ ได้รบั กำรฝึกทกั ษะกำร

แปรงฟนั ปีงบประมำณ 2557 เกณฑร์ อ้ ยละ 70 ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก

รอ้ ยละ ผู้ดูแลเด็กไดร้ บั การฝกึ ทกั ษะแปรง
ฟัน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 214

140 93.2
120 83.9
100
80 125.8
60 84.7
40 77.7
20 62.5
43.1
0
107.1
47.5
47.1

63.5
54.9

94.4
87

112.8
106.4

119.8
101.8
87.9
70.6
100.6
101.5

เด็กอายุต่ากว่า 3 ปี จังหวัดสุพรรณบุรี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากร้อยละ 93.2 และผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึก
ทกั ษะการแปรงฟันใหเ้ ด็ก รอ้ ยละ 83.9 ซง่ึ ผา่ นเกณฑ์ (ร้อยละ 70) อาเภอทด่ี าเนนิ การไม่ผ่านเกณฑ์ได้แก่

 เด็กอายตุ ่ากว่า 3 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ไม่ผา่ นเกณฑค์ ือ อ.ศรีประจันต์ รอ้ ยละ 63.5 อ.บางปลาม้า
ร้อยละ 47.5 และ อ.ดา่ นชา้ ง รอ้ ยละ 43.1

 ผู้ดูแลเด็กอายุต่ากว่า 3 ปี ได้รบั การฝึกทักษะการแปรงฟนั ไม่ผ่านเกณฑ์คือ อ.เดิมบางนางบวช รอ้ ยละ 62.5 อ.ศรี
ประจนั ต์ รอ้ ยละ 54.9 และ อ.บางปลาม้า ร้อยละ 47.1

ตำรำงท่ี 3 เดก็ อำยุตำ่ กวำ่ 3 ปี ไดร้ บั กำรทำ Fluoride vanish ปงี บประมำณ 2557

ตวั ชีว้ ัด เกณฑ์ อาเภอ จานวนท้งั หมด ผลงาน รอ้ ยละ
(คน)
1,583 29.42
ผู้ดูแลเด็กอายุ ตา่ กวา่ ไม่นอ้ ยกวา่ เมอื งสพุ รรณบรุ ี 5,380 926 46.91
1,108 46.15
3 ปี ไดร้ ับการทา ร้อยละ 50 เดิมบางนางบวช 1,974 671 31.68
533 31.22
Fluoride vanish ดา่ นชา้ ง 2,401 827 58.40
3,113 66.76
บางปลาม้า 2,118 1,093 75.48
2,428 61.81
ศรปี ระจนั ต์ 1,707 1,001 66.16
13,283 50.03
ดอนเจดยี ์ 1,416

สองพนี่ อ้ ง 4,663

สามชุก 1,448

อทู่ อง 3,928

หนองหญ้าไซ 1,513

รวมท้ังสนิ้ 26,548

รปู ที่ 3 เดก็ อำยุต่ำกวำ่ 3 ปี ได้รับกำรทำ Fluoride vanish ปงี บประมำณ 2556

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 215

ร้อยละ เกณฑ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 75.4

80 66.7 61.8 66.1
70 58.4

60 50 46.9 46.1

50 29.4 31.6 31.2
40
30
20
10

0

เด็กอายุต่ากว่า 3 ปี จังหวัดสุพรรณบุรี ได้รับการทา Fluoride vanish ร้อยละ 50.0 ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 50) อาเภอท่ีสามารถ
ดาเนินการได้ผ่านเกณฑ์ 5 อาเภอ เรียงลาดบั ตามผลการดาเนนิ งานคือ อ.สามชุก ร้อยละ 75.4 อาเภอสองพ่ีน้อง รอ้ ยละ 66.7
อ.อู่ทอง ร้อยละ 61.8 อ.หนองหญ้าไซ รอ้ ยละ 66.1 และ อ.ดอนเจดีย์ ร้อยละ 58.4 มีอาเภอดาเนนิ การไม่ผา่ นเกณฑ์ 5 อาเภอ
คือ อ.เดมิ บางนางบวช อ.ด่านช้าง อ.บางปลามา้ อ.ศรีประจนั ต์ และ อ.เมอื ง

2.2) เด็กอำยุ 3-5 ปี
เด็กกลุ่มน้ีส่วนใหญ่อยู่ในสถานศึกษาคือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียนท่ีมีชั้นอนุบาล ได้จัดให้มีการ

ดาเนินงานส่งเสริมป้องกันทนั ตสุขภาพในสถานศึกษาดังกล่าว เพ่ือควบคุมและลดอัตราการเกิดโรคฟันผุ โดยสนับสนุนกิจกรรม
การตรวจสุขภาพช่องปากเด็กโดยผู้ดูแลเด็กและครู ให้ความรู้แก่เด็กและฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี สนับสนุนการจัด
กิจกรรมการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์หลังอาหารกลางวันทุกวัน สนับสนุนให้มีการจัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมี
สุขภาพช่องปากที่ดี ทาฟลูออไรด์วานิชป้องกันฟันผุ สนับสนุนให้มีการจัดระบบส่งต่อและให้บริการทันตกรรมตามความจาเป็น
ตลอดจนเฝ้าระวัง

สุขภาพช่องปากและปัจจัยเสย่ี งสาคัญโดยการสารวจสภาวะช่องปากและพฤตกิ รรมเด็ก รณรงค์สรา้ งกระแสใหผ้ ูป้ กครองตระหนัก
และก่อใหเ้ กิดพฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพช่องปากเด็ก โดยจัดงานรณรงค์ “5 ปสี ู่ฝนั หนนู ้อยฟนั ไมผ่ ุ” เพื่อเปน็ การยกย่องเชิด
ชเู กียรติเปน็ ขวัญกาลังใจใหก้ ับผปู้ กครองและตัวเดก็ ท่ีสามารถดูแลทนั ตสขุ ภาพได้เปน็ อย่างดี เดก็ อายุ 5 ปี (นบั ตาม พ.ศ.เกิด) ที่มี
สุขภาพช่องปากดี (ไม่มีฟันผุ ฟันถอน และฟันอุด) และผ่านเกณฑ์การคัดเลือกจากทันตบุคลากรจะได้รับเกียรติบัตรและของ
รางวลั และการประกวดศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ ดีเด่นด้านสง่ เสริมทันตสขุ ภาพ ระดับจงั หวัด ดงั น้ี

รางวลั ชนะเลศิ ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บา้ นนา้ พุ อาเภอเดมิ บางนางบวช
รางวัลรองชนะเลศิ อันดับ ๑ ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ วัดนางพิมพ์ อาเภอสามชุก
รางวัลรองชนะเลศิ อันดบั ๒ ศูนย์พัฒนาเดก็ เล็กบ้านมาบพะยอม อาเภอหนองหญ้าไซ

3. กลุ่มเด็กวยั เรยี น
เดก็ อายุ 12 ปี มีอตั ราการเกดิ โรคฟนั ผุในฟนั แท้ รอ้ ยละ 38.0 (สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี, 2557)

นับว่าผ่านเกณฑ์ระดับประเทศ ร้อยละ 45 (สานักทันตสาธารณสุข, 2557) ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุดในฟันแท้ (DMFT) 0.9 ซี่/คน
และพบฟันตกกระ ร้อยละ 4.9 (สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี, 2557) ดงั นั้น จึงจดั ใหม้ ีการดาเนินงานส่งเสรมิ ป้องกัน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 216

โรคควบคู่กับการรักษาในทุกอาเภอ มีการดาเนินงานเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากในโรงเรียนประถมศึกษา โครงการ
ส่งเสริมสุขภาพและป้องกนั โรคด้านทันตกรรมสาหรบั เด็ก “ยิม้ สดใส เด็กไทยฟันดี” โครงการแลกเปล่ียนเรียนรู้เครือข่ายโรงเรียน
เด็กไทยฟันดี เน้นบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพ สร้างการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพ
เด็ก จัดให้มีการดาเนินกิจกรรมโรงเรียนในฝันด้านทันตสุขภาพ โดยการพัฒนาคุณภาพการดาเนินงานทันตสาธารณสุขในโรงเรียน
ตามเกณฑม์ าตรฐานทกี่ าหนด การประกวดโรงเรียนดีเด่นด้านส่งเสรมิ ทันตสขุ ภาพ ระดับจังหวัด ตลอดจนเฝา้ ระวังสถานการณ์โดย
การสารวจสภาวะช่องปากและพฤติกรรมในเด็กประถมศึกษา (อายุ 12 ปี) และสารวจกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน
ดาเนินนโยบายโรงเรียนปลอดน้าอดั ลมในโรงเรยี นประถมศึกษา และเฝ้าระวงั ปริมาณฟลูออไรด์ในน้าบริโภคชมุ ชนสูงกว่าเกณฑ์
มาตรฐาน

3.1) ส่งเสริมสขุ ภำพและป้องกนั โรคด้ำนทันตกรรมสำหรับเดก็ “ย้ิมสดใส เด็กไทยฟนั ดี”
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินงานส่งเสรมิ สุขภาพและป้องกันโรค เพ่ือสนับสนุนให้เด็ก

วัยเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาได้รับการดูแลทันตสุขภาพอย่างเหมาะสม มุ่งเน้นบริการส่งเสริมป้องกันที่มีคุณภาพและ
ครอบคลุม ร่วมกับการพัฒนาศักยภาพของเด็กในการดูแลอนามัยช่องปากตนเอง โดยให้โรงพยาบาล (CUP) รับผิดชอบบริหาร
จัดการ ดาเนินการตรวจสุขภาพช่องปากอย่างละเอียดและวางแผน การรักษาอย่างสมบูรณ์และลงบันทึกในฐานข้อมูล จัดบริการ
เคลือบหลุมร่องฟันเพ่ือป้องกันฟันผุในฟันกรามแท้ซี่ที่ 1 และบริการทันตสาธารณสุขผสมผสาน (Comprehensive care) แก่
นักเรียนช้ัน ป.1 โดยสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ควบคุมคุณภาพบริการโดยการสุ่มตรวจสอบการติดแน่นของสาร
เคลอื บหลุมรอ่ งฟันในนักเรียนชนั้ ป.1 ท่ไี ดร้ ับบริการเคลอื บหลมุ ร่องฟนั

ตำรำงท่ี 4 ผลกำรให้บริกำรตรวจสุขภำพช่องปำกและบริกำรเคลือบหลมุ รอ่ งฟนั ปกี ำรศกึ ษำ 2556

จานวน ตรวจสขุ ภาพ เคลอื บหลุม

ตัวชวี้ ดั เกณฑ์ อาเภอ ทัง้ หมด ช่องปาก ร่องฟนั

(คน) ผลงาน ร้อยละ ผลงาน รอ้ ยละ

รอ้ ยละเด็กประถม 1 ไม่นอ้ ยกวา่ เมืองสพุ รรณบรุ ี 2,120 2,061 97.2 1,147 54.1

ได้รับการตรวจ 85 เดิมบางนางบวช 815 788 96.7 433 53.1

สุขภาพช่องปาก ด่านชา้ ง 1,044 928 88.9 517 49.5

บางปลามา้ 609 558 91.6 277 45.5

ร้อยละเดก็ ประถม 1 ไม่น้อยกวา่ ศรีประจันต์ 587 554 94.4 297 50.6

ไดร้ ับบริการ 50 ดอนเจดยี ์ 621 608 97.9 391 63.0

เคลือบหลุมรอ่ งฟัน สองพ่นี ้อง 1,619 1,502 92.8 499 30.8

สามชุก 631 635 100.3 366 58.0

อทู่ อง 1,675 1,581 94.4 961 57.4

หนองหญ้าไซ 445 386 86.7 247 55.5

รวมท้ังส้ิน 10,166 9,601 94.4 5,135 50.5

รูปท่ี 4 นกั เรยี นชนั้ ป.1 ไดร้ บั กำรตรวจสขุ ภำพช่องปำก ปีกำรศึกษำ2556

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 217

105 เกณฑ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85

100 97.2 97.9 100.3
94.4 94.4
96.7 94.4
95
88.9 91.6 92.8
90
86.4
85

80

รปู ที่ 5 นกั เรียนช้นั ป.1 ไดร้ บั กำรเคลอื บหลมุ รอ่ งฟัน (Sealant) ปกี ำรศกึ ษำ2556

เกณฑ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50
70 63.6
50.6 58 57.4 55.5
60 50.5 54.1 53.7 49.5

50 45.5

40 30.8

30

20

10

นักเรียนชั้น ป.1 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากร้อยละ 94.4 (เกณฑ์ร้อยละ 85) และบริการเคลือบหลุมร่องฟัน ร้อยละ 50.05

(เกณฑ์รอ้ ยละ 50) ซ่ึงทุกอาเภอสามารถดาเนินการไดผ้ า่ นเกณฑต์ ัวช้ีวัด แตใ่ นตวั ชี้วัดการใหบ้ รกิ ารเคลือบหลุมร่องฟันมี 3 อาเภอ

ท่ไี ม่ผา่ นเกณฑ์ ได้แก่ อ.ดา่ นช้าง รอ้ ยละ 49.5 อ.บางปลาม้า ร้อยละ 45.5 และ อ.สองพี่น้อง มีผลงานนอ้ ยท่สี ุด ร้อยละ 30.8

ตำรำงท่ี 5 ผลงำนกำรให้บรกิ ำร Comprehensive care ปงี บประมำณ 2557 (ปกี ารศกึ ษา 2556)

ตวั ช้วี ัด เกณฑ์ อาเภอ นักเรยี น ป.1 (คน) ผลงาน รอ้ ยละ

ร้อยละเด็กประถม 1 ไม่นอ้ ยกว่า เมอื งสพุ รรณบรุ ี 2,120 553 26.1

ไดร้ บั บรกิ าร 17 เดมิ บางนางบวช 815 149 18.3

Comprehensive care ดา่ นชา้ ง 1,044 45 4.3

บางปลาม้า 609 27 4.4

ศรปี ระจนั ต์ 587 163 27.8

ดอนเจดยี ์ 621 79 12.7

สองพีน่ อ้ ง 1,619 41 2.5

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 218

สามชุก 631 226 35.8
อูท่ อง 1,675 132 7.9
หนองหญา้ ไซ 445 34 7.6
รวมทั้งส้ิน 10,166 1,449 14.2
หมำยเหตุ : ร้อยละ 17 ของนักเรยี นประถมชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1

รปู ท่ี 6 นักเรียนช้ัน ป.1 ได้รับบริกำร Comprehensive care ปีงบประมำณ 2557 (ปกี ารศึกษา 2556)

เกณฑ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 17

40 35.8

35 27.8

30 26.1

25 18.3 12.7 7.9 7.6
20 4.3 4.4 2.5

15 14.2

10
5

0

สานักงานสาธารณ สุขจังหวัดสุพรรณ บุรี ได้จัดให้มีดาเนินการให้บริการทันตกรรมแบบผสมผสาน

(Comprehrnsive care) แก่นักเรียนชั้น ป.1 ในทุกอาเภอ ซึ่งดาเนินการได้ ร้อยละ 14.2 ไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด (ร้อยละ 17) มี

อาเภอท่ีสามารถดาเนินการได้ผ่านเกณฑ์คือ อ.สามชุก อ.ศรีประจันต์ อ.เมือง และ อ.เดิมบางนางบวช ร้อยละ 35.8, 27.8, 26.7

และ 18.3 ตามลาดบั อาเภอที่มีผลงานน้อยที่สุดคอื อ.สองพนี่ อ้ ง ร้อยละ 2.5

ตำรำงที่ 6 ผลกำรตรวจสอบคณุ ภำพบริกำรกำรยึดติดของสำรเคลือบหลุมร่องฟัน ปงี บประมำณ 2557

(ปีการศกึ ษา 2556)

ตัวชวี้ ัด เกณฑ์ อาเภอ จานวนท่ีสุ่มตรวจ คณุ ภาพการยดึ ติด
ซี่ ซี่ รอ้ ยละ

ร้อยละ การยึดตดิ ของ ไม่นอ้ ยกว่า เมอื งสุพรรณบรุ ี 754 461 61.1

สารเคลือบหลุมรอ่ งฟัน 80 เดมิ บางนางบวช 181 132 72.9

ของนกั เรียนประถม 1 ดา่ นช้าง 236 169 71.6

ที่ได้รับบริการเคลอื บ บางปลาม้า 208 158 76.0

หลุมรอ่ งฟัน ศรีประจนั ต์ 116 103 88.8

ดอนเจดยี ์ 177 152 85.9

สองพ่นี ้อง 205 165 70.4

สามชุก 224 169 75.4

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 219

อ่ทู อง 188 156 83.0
58.3
หนองหญา้ ไซ 96 56 72.2

รวมท้ังส้นิ 2,385 1,721

หมำยเหตุ : ส่มุ สารวจจานวนร้อยละ 10 ของนักเรยี นชน้ั ป.1 ทไี่ ดร้ บั บรกิ ารเคลอื บหลุมรอ่ งฟนั

รูปท่ี 7 คุณภำพบริกำรกำรยดึ ติดของสำรเคลอื บหลุมรอ่ งฟัน ปีงบประมำณ 2557 (ปกี ารศกึ ษา 2556)

120 เกณฑ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80

100 72.2 72.9 71.6 76 88.8 85.9 80.5 75.4 83
61.1
80 58.3

60

40

20

0

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้จัดระบบตรวจสอบคุณภาพบริการเคลือบหลุมร่องฟันที่เด็กได้รับอย่าง
สม่าเสมอเปน็ ประจาทกุ ปี โดยตรวจสอบคณุ ภาพบริการการยึดติดของสารเคลือบหลมุ รอ่ งฟัน (Sealant) ในนักเรียนช้ัน ป.1
ท่ีได้รับบริการเคลือบหลุมร่องฟันแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน พบว่า มีคุณภาพการยึดติดร้อยละ 72.2 ไม่ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 80)
อาเภอที่มีคุณภาพบริการผ่านเกณฑ์เรียงตามลาดับการยึดติดคือ อ.ศรีประจันต์ อ.ดอนเจดีย์ อู่ทอง และ อ.สองพี่น้อง ร้อยละ
88.8, 85.9, 83.0 และ 80.5 มีอาเภอท่ีไมผ่ ่านเกณฑ์ 6 อาเภอ คือ อ.บางปลาม้า อ.สามชุก อ.เดิมบางนางบวช อ.ดา่ นช้าง อ.
เมือง และ อ.หนองหญา้ ไซ คุณภาพบรกิ ารนอ้ ยที่สุดคือ ร้อยละ 58.3 โดยพบว่า อตั ราการยดึ ติดของสารเคลือบหลุมร่องฟนั ท่ี
ใหบ้ ริการโดยทันตาภบิ าลใน รพ.สต. มีอัตราการยึดติดต่ากวา่ การให้บรกิ ารในโรงพยาบาล เนื่องมาจากการให้บริการเคลอื บหลุม
รอ่ งฟันใน รพ.สต.ทันตาภิบาลเป็นผู้ให้บริการเพียงคนเดียว ไม่มีผู้ช่วยในการให้บริการ ทาให้การดาเนินงานมีความเสี่ยงต่อการ
ยึดติดของสารเคลือบหลุมร่องฟันได้ หากระหว่างการทามีการปนเป้ือนน้าลายและความชื้น ท้ังน้ีจังหวัด ได้แจ้งผลการ
ตรวจสอบคุณภาพให้หน่วยบริการทุกแห่งที่ให้บริการเคลือบหลุมร่องฟันรับทราบ หากพบว่าหลุดหรือไม่ยึดติดจะต้อง
ดาเนินการซอ่ มแซมให้เรยี บร้อย

3.2) พฒั นำเครือข่ำยโรงเรยี นเครอื ขำ่ ยเด็กไทยฟันดี จงั หวดั สุพรรณบรุ ี
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินการพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี เพื่อพัฒนา

แนวทางการสร้างเครอื ข่ายเด็กไทยฟันดีเพื่อขยายผลสู่การดาเนนิ งานส่งเสริมสุขภาพอยา่ งยั่งยืนจากการทางานในรูปแบบของ
เครือข่ายทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นการส่งเสริมสุขภาพจากโรงเรียนหนึ่งสู่โรงเรียนอื่น โดยมีแนวทางและ
วธิ กี ารทแ่ี ต่ละโรงเรียนให้ความสนใจโดยครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบกจิ กรรมและดาเนนิ การตามความพรอ้ มของโรงเรียน
ซ่ึงส่งผลดีต่อสุขภาพ กระตุ้นให้เกิดความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชน เกิดเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี จานวน 4
เครือข่าย รวมท้ังส้ิน 54 โรงเรียน คือ อ.สามชุก 26 โรงเรียน อ.หนองหญ้าไซ 10 โรงเรียน อ.ศรีประจันต์ 10 โรงเรียน และ อ.

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 220

เมืองสุพรรณบุรี 8 โรงเรียน จัดให้มีการประชุมเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดีเพ่ือส่งเสริมให้เกิดการสร้างเครือข่ายและ
สนบั สนนุ การดาเนินงานส่งเสริมสขุ ภาพของโรงเรยี นประถมศึกษา

3.3) พัฒนำเชงิ รุกโรงเรยี นในฝันดำ้ นทนั ตสุขภำพ และประกวดโรงเรยี นดเี ดน่ ดำ้ นสง่ เสรมิ
ทนั ตสขุ ภำพระดับจังหวดั
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินการพัฒนาเชิงรุกโรงเรียนในฝันด้านทันตสุขภาพ

เป้าหมายคือโรงเรียนประถมศึกษาในทุกอาเภอท่ีเข้าร่วมโครงการฯ โดยโรงเรียนจะต้องมีการพัฒนา ปรับปรุงการดาเนิน
กิจกรรมตามเกณฑ์มาตรฐานการดาเนนิ กิจกรรมในโรงเรยี นทกี่ าหนด ใน 4 หมวดคือ การตรวจสุขภาพชอ่ งปากนักเรยี น การ
ให้ทันตสุขศึกษา การแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพและการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม โดยคณะกรรมการระดับจังหวัด
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี จะติดตามและประเมินผลการดาเนินกิจกรรมของโรงเรียน ซ่ึงโรงเรียนที่สามารถ
ดาเนินกิจกรรมผ่านเกณฑ์โรงเรียนในฝันด้านทันตสุขภาพ จะเข้าร่วมประกวดโรงเรียนดีเด่นด้านส่งเสริมทันตสุขภาพ ระดับ
จงั หวัด ในปี 2557 ผลการประกวด ดงั น้ี

รางวัลชนะเลิศ โรงเรยี นบา้ นดงกระเชา อาเภอดอนเจดยี ์
รางวลั รองชนะเลศิ อันดับ ๑ โรงเรยี นวัดปา่ สะแก อาเภอเดิมบางนางบวช
รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ ๒ โรงเรียนวดั สามคั คธี รรม อาเภอเมอื งสุพรรณบุรี

3.4) เฝำ้ ระวงั สภำวะฟันตกกระและกำรแก้ไขปญั หำฟลอู อไรดส์ งู ในนำ้ บรโิ ภคชุมชน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้เก็บรวบรวมตัวอย่างน้าบริโภคชุมชนในพื้นที่ของทุกอาเภอใน

จังหวัดสุพรรณบุรี และส่งตัวอย่างน้าเพื่อตรวจวิเคราะห์ปริมาณฟลูออไรด์ ตามโครงการเฝ้าระวังฟันตกกระและปริมาณ
ฟลูออไรด์ในน้าบริโภคชุมชน เพ่ือเป็นการเฝ้าระวังฟันตกกระและการแก้ไขปัญหาฟลูออไรด์สงู ในน้าบรโิ ภค จานวนทั้งส้ิน 666
ตัวอย่าง ผลการตรวจวิเคราะห์พบว่า หลายพื้นท่ีมีปริมาณฟลูออไรด์ในน้าตัวอย่างเกินมาตรฐาน ท้ังนี้ ผู้บริโภคน้าที่มีปริมาณ
ฟลูออไรด์เกินมาตรฐาน 0.7 มิลิลกรัม/ลิตร (เกินมาตรฐานน้าประปาด่ืมได้ กรมอนามัย) ติดต่อกันเป็นเวลานานอาจเกิดฟันตก
กระได้ และพบน้าบรโิ ภคที่มีปริมาณฟลูออไรดม์ ากกว่า 4.0 มลิ ลิกรัม/ลิตร จานวน 8 ตัวอยา่ ง ซ่ึง องค์การอนามัยโลกระบุว่า
อาจทาให้เกิดอาการฟลูออไรด์เป็นพิษที่กระดูกได้ และเพ่ือเป็นการเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์ฟันตกกระและแก้ไขปัญหา
ฟลูออไรด์สูงในน้าบริโภคชุมชน สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมกับ สานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย โดยกลุ่ม
พัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านทันตสุขภาพ ได้ลงพ้ืนท่ีติดตามสถานการณ์สภาพปัญหา ให้ข้อมูลทางวิชาการแก่พื้นที่เพื่อหาแนว
ทางแก้ไขปญั หาร่วมกันกับชมุ ชน และบทบาทขององคก์ ารปกครองสว่ นท้องถน่ิ กับการสง่ เสรมิ สุขภาพและการจดั การส่งิ แวดล้อมการ
แก้ไขปัญหาฟลูออไรด์สูงในน้าบริโภคชุมชนในพ้ืนที่ ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยผู้เกี่ยวข้องในพ้ืนท่ี ได้แก่ องค์การบริหารส่วน
ตาบล โรงเรยี น โรงพยาบาล สานักงานสาธารณสขุ อาเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล อาสาสมคั รสาธารณสุข และผู้นา
ชมุ ชน โดยดาเนินการในพนื้ ท่ี 2 อาเภอคือ

- อ.ศรปี ระจนั ต์ วันท่ี 25 มิถนุ ายน 2557 ณ โรงเรยี นวัดวังพลับใต้
- อ.ดอนเจดีย์ วนั ที่ 26 มถิ นุ ายน 2557 ณ โรงเรยี นบ้านนเรศ

4) กลุ่มผู้สูงอำยุ
ผู้สูงอายุจานวนมากยังคงมีปัญหาสุขภาพช่องปากในหลายๆ ประเด็น เช่น การสูญเสียฟันจนไม่สามารถใช้

เค้ียวอาหารได้ ฟันผุและรากฟันผุ ปริทันต์ ภาวะน้าลายแห้ง ปัญหาเหล่าน้ียังสัมพันธ์กับโรคเร้ืองรังทางร่างกาย โดยการมี

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 221

ปจั จยั เสี่ยงรว่ มกัน ที่พบบอ่ ยเช่น เบาหวาน โรคหัวใจ และหลอดเลือด โรคของระบบทางเดินหายใจ เป็นต้น จึงทาใหก้ ารดแู ล
สุขภาพช่องปากมีความยุ่งยากและซับซ้อนกว่ากลุ่มอายุอื่น จากการสารวจสภาวะสุขภาพช่องปากจังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2557
พบวา่ ผู้สูงอายุมีคู่สบฟันหลังใช้งานไดท้ ้ังฟันแท้และ/หรอื ฟันเทียมอย่างน้อย 4 คู่ ร้อยละ 44.2 (เกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 55)
ได้กาหนดแนวทาง การแก้ไขปัญหาเพื่อลดการสูญเสียฟันและคงสภาพ การใช้งานให้นานที่สุด โดยมุ่งหวังว่าผู้สูงอายุจะสามารถ
ดูแลสุขภาพช่องปากได้ด้วยตนเอง และพ่ึงพาบริการทันตสุขภาพด้านการป้องกันความเส่ียงจากการเกิดโรคในช่องปากและรับ
บรกิ ารรกั ษาโรคในช่องปากตามความจาเป็น ทาใหม้ ีฟันใชเ้ คี้ยวอาหารไดโ้ ดยปราศจากความเจบ็ ปวด สง่ ผลต่อสุขภาพและคุณภาพ
ชีวิตท่ีดี โดยจัดให้มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุเกิดพฤติกรรมดูแลสุขภาพช่องปากพ้ืนฐานท่ีถูกต้องด้วยตนเอง การ
จัดบริการป้องกัน รักษาฟ้ืนฟูให้ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงบริการท่ีจาเป็นได้ทันเวลา รวมทั้งการส่งต่อและรับกลับดูแลต่อเนื่อง เน้น
การให้บริการในสถานบริการใกล้บ้าน จัดบริการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากตามชุดสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม จัดให้มีการ
ดาเนินกิจกรรมสง่ เสริมสขุ ภาพชอ่ งปากในชมรมผูส้ ูงอายุ จัดระบบส่งตอ่ ผู้สงู อายุเข้ารับบริการใสฟ่ ันเทียม ตลอดจนเฝ้าระวังสุขภาพ
ช่องปากและปัจจัยเส่ยี งสาคัญโดยการสารวจพฤติกรรมและสภาวะช่องปากผูส้ ูงอายุ

4.1) โครงกำรฟันเทยี มพระรำชทำนและกำรส่งเสริมสขุ ภำพช่องปำกผู้สงู อำยุ

ตำรำงที่ 7 ผสู้ ูงอำยไุ ด้รบั บรกิ ำรใสฟ่ นั เทียมในโครงกำรฟนั เทียมพระรำชทำน ปงี บประมำณ 2557

ตวั ช้วี ัด เกณฑ์ อำเภอ ฟันเทียมพระรำชทำน TP บัตรทอง <16 ซี่

เป้ำหมำย ผลงำน รอ้ ยละ เป้ำหมำย ผลงำน ร้อยละ

รอ้ ยละของ รอ้ ยละ เมอื งสุพรรณบรุ ี 100 92 92.0 40 29 72.5

ผ้สู ูงอายุ 100 เดิมบางนางบวช 40 43 107.5 21 13 61.9

เป้าหมาย ด่านชา้ ง 50 58 116.0 13 5 38.5

ไดร้ ับบริการ บางปลามา้ 60 60 100.7 22 20 90.9

ใสฟ่ ันเทยี ม ศรีประจนั ต์ 45 56 124.4 17 6 35.5

ดอนเจดยี ์ 35 51 145.7 10 6 60.0

สองพนี่ ้อง 72 93 129.2 27 28 103.7

สามชุก 45 61 135.6 15 4 26.7

อูท่ อง 50 62 124.0 28 17 60.7

หนองหญ้าไซ 35 42 120.0 11 11 100

รวมท้งั ส้ิน 532 618 116.2 204 139 68.1

ผู้สูงอายุทสี่ ูญเสยี ฟัน การใสฟ่ ันเทียมทดแทนฟันท่ีสูญเสียไปจะเป็นการฟ้นื ฟูหน้าที่ของฟันให้สามารถทาหน้าที่ในการ
บดเค้ียว พูดจา เสริมสมดุล ช่วยภาพลักษณ์ของใบหน้าและทาให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผลการดาเนินงานให้บริการใส่ฟันเทียม
ผสู้ ูงอายุในโครงการฟันเทียมพระราชทานโดยการใส่ฟันเทียม ทั้งปากหรือ 16 ซีข่ ้ึนไป สามารถดาเนินการไดผ้ ่านเกณฑ์ ร้อยละ
116.2 (เกณฑ์ร้อยละ 100) อ.ดอนเจดีย์ สามารถดาเนินการได้มากท่ีสุดคือ รอ้ ยละ 145.7 รองลงมาคอื อ.สามชุกร้อยละ 135.6
อาเภอที่มีผลงานน้อยที่สุดและดาเนินการไม่ได้ตามเป้าหมายคือ อ.เมอื ง ร้อยละ 92.0 สาหรับผู้สงู อายุรับบรกิ ารใส่ฟันเทียมน้อย
กว่า 16 ซี่ (สทิ ธิบัตรทอง) สามารถดาเนินการไดร้ ้อยละ 68.1 ไม่ไดต้ ามเปา้ หมายเนอ่ื งจากไม่มีผ้ปู ว่ ยมาขอใช้สทิ ธริ บั บริการ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 222

4.2) โครงกำรรำกฟันเทียมเฉลิมพระเกียรตฯิ
โครงการรากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หัว เน่ืองในโอกาสพระราชพิธีมหา

มงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 เพ่ือให้บริการผู้สูงอายุท่ีมีปัญหาการใส่ฟันเทียมท้ังปาก เป้าหมาย 50
ราย (ปี 2556-2557) โดยฝังรากฟนั เทียมสองตวั ช่วยยึดฟันเทยี มทง้ั ปากช้นิ ลา่ ง เพอื่ เพ่มิ ประสิทธิภาพการบดเคยี้ ว

ตำรำงที่ 8 ผสู้ งู อำยไุ ดร้ ับบรกิ ำรฝังรำกฟนั เทยี ม ปี 2556-2557

ตวั ชีว้ ดั เกณฑ์ อำเภอ ปี 2556-2557 ร้อยละ
เป้ำหมำย ผลงำน 55.5
รอ้ ยละของผสู้ งู อายุเปา้ หมาย ร้อยละ 100 เมอื งสุพรรณบรุ ี 0
ไดร้ ับบริการฝงั รากฟันเทียม เดมิ บางนางบวช 95 0
ดา่ นช้าง 50 0
รวมทั้งสิน้ บางปลาม้า 40 0
ศรีประจันต์ 50 0
ดอนเจดีย์ 40 0
สองพี่นอ้ ง 30 0
สามชกุ 60 85.7
อ่ทู อง 40 0
หนองหญ้าไซ 76 22.0
30
50 11

การให้บริการฝังรากฟันเทียม ดาเนินการได้เพียงร้อยละ 22.0 ไม่ได้ตามเป้าหมาย เน่ืองจากผู้สูงอายุให้ความ
สนใจน้อย ขาดความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคตทิ ด่ี ีตอ่ การฝังรากฟันเทียม และผมู้ ีคณุ สมบัตสิ ามารถเขา้ รับบรกิ ารได้ส่วนใหญ่
ไม่เห็นความจาเปน็ ในการฝังรากฟันเทียม ประกอบกับมีข้อจากดั คือ จะต้องเป็นผู้สงู อายุท่ีมีสุขภาพร่างกายแขง็ แรงดสี ามารถ
ผา่ ตัดไดแ้ ละไม่พบกรณตี อ้ งห้าม

4.3) ชมรมผสู้ งู อำยดุ ำ้ นกำรสง่ เสรมิ สุขภำพชอ่ งปำก
การสูญเสียฟันในวัยสูงอายุ เน่ืองมาจากการสะสมจนเป็นโรคเร้ือรังเพิ่มสูงขึ้นเม่ืออายุมากข้ึน ทาให้

เค้ียวอาหารได้ไม่ดี และทาให้เกิดปัญหาในการเข้าสังคมของผู้มีการสูญเสียฟัน การส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ เน้นการ
คงสภาพและลดการสูญเสียฟันด้วยการดูแลอนามัยช่องปากด้วยตนเองของผู้สงู อายุ ได้จัดให้มีการบูรณาการกิจกรรมส่งเสริม
สุขภาพช่องปากในชมรมผู้สงู อายุ อาเภอละ 1 ชมรม มชี มรมผู้สูงอายเุ ขา้ ร่วมโครงการส่งเสริมสขุ ภาพช่องปากผสู้ ูงอายุจงั หวดั
สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2557 จานวน 8 ชมรม ดาเนินกจิ กรรมการให้ทนั ตสุขศึกษา ตรวจสขุ ภาพช่องปาก การจัดการเรยี นรู้

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 223

ในชมรมผู้สูงอายุ ฝึกทกั ษะการทาความสะอาดช่องปาก การจัดสรรวสั ดุอุปกรณ์การทาความสะอาดช่องปาก การประสานความ

ร่วมมือกับองค์ปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้การสนับสนุน และพัฒนาศักยภาพเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุ โดยจัดการอบรมการ

ส่งเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันโรคแก่แกนนาผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการฯ วันท่ี 29 เมษายน 2557 ณ ห้องประชุม

โรงพยาบาลสามชุก และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดาเนินงานในชมรมผู้สงู อาย/ุ จดั การประกวดผลงานการส่งเสริมสุขภาพ

ช่องปากของชมรมผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2557 วันท่ี 19 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมสานักงานสาธารณสุขจังหวัด

สุพรรณบุรี ผลการประกวด ดงั น้ี

รางวัลชนะเลิศ ชมรมผ้สู ูงอายตุ าบลหนองกระทุ่ม อาเภอเดิมบางนางบวช

รางวลั รองชนะเลิศ อันดบั 1 ชมรมผู้สูงอายวุ ังศิลา อาเภอสามชุก

รางวลั รองชนะเลิศ อันดับ 2 ชมรมผู้สูงอายบุ า้ นลาดปลาเค้า อาเภอศรปี ระจันต์

รางวลั ชมเชย ชมรมผู้สงู อายุตาบลตะค่า อาเภอบางปลามา้

กล่มุ งำนนติ กิ ำร จำนวน ปี 2557
ปี 2555 ปี 2556 เกอื บทุก
งำนใหค้ ำปรึกษำและควำมเห็นทำงกฎหมำย ด้วยวาจา เกือบทกุ วนั ทาการ
ลำดับ กจิ กรรม ทกุ วนั ทา วนั ทาการ
-
ปี 2554 การ
1. ให้คาปรกึ ษาและความเหน็ ทางดา้ นกฎหมาย กฎ 196 ครง้ั 1 เรอื่ ง -

ระเบียบ ข้อบังคบั คาสง่ั และประกาศแกบ่ ุคคล
และสว่ นราชการ
2. ตีความวินิจฉัยทางด้านกฎหมาย กฎ ระเบียบ 2 เร่ือง
ข้อบังคบั คาสั่งและประกาศแก่บคุ คลและส่วน
ราชการ

ผลการปฏิบัติงานด้านให้คาปรึกษาและให้ความเห็นทางกฎหมาย พบว่าบุคลากรด้าน

สาธารณสุขท่ีปฏิบัติงานอยู่ในสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีและหน่วยงานในสังกัด ขอรับคาปรึกษา

และความเห็นจากนิติกรเก่ียวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่งและประกาศต่างๆที่เกี่ยวกับการ

ปฏิบัติงานเกือบทุกวนั ทาการ ผูข้ อรับคาปรึกษามีทั้งผู้บรหิ ารและเจา้ หน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน การขอคาปรึกษาส่วน

ใหญ่จะตดิ ต่อทางโทรศพั ท์หรอื มาขอคาปรึกษาด้วยตนเอง

งำนนติ ิกรรมและสัญญำ

ลำดับ กิจกรรม จำนวน

ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557

1. จดั ทานติ กิ รรมและสัญญาตา่ ง ๆ ของสานักงาน 41 ฉบบั 65 ฉบับ 55 ฉบบั 55 ฉบบั

สาธารณสุขจังหวดั หรอื หนว่ ยงานในสงั กดั

2. ตรวจสอบนิติกรรมและสญั ญาต่าง ๆ ของ 291 คร้ัง 196 ครัง้ 303 คร้งั 168 ครัง้

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 224

สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั และหนว่ ยงานใน
สงั กัด
3. คิดคานวณคา่ เสียหายและค่าปรบั กับผูผ้ ดิ สญั ญา 1 ราย 5 ราย 1 ราย 9 ราย
4. เรียกชดใชค้ า่ เสียหายและคา่ ปรับกับผผู้ ิดสญั ญา 1 ราย 5 ราย 1 ราย 9 ราย
5. ทาสญั ญาเงนิ เพม่ิ พิเศษสาหรับแพทย์ ทันตแพทย์ 111 ราย 148 ราย 174 ราย 187 ราย
และเภสชั กร ท่ีไม่ทาเวชปฏบิ ัติส่วนตัว

ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มงานนิติการ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้จัดทาสัญญา
รับทุนการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตตามโครงการผลิตพยาบาลโดยใช้เงินบารุงเป็นทุนการศึกษา
จานวน 55 ราย และจัดทาสัญญาขอรับเงนิ เพิ่มพิเศษสาหรับแพทย์ ทนั ตแพทย์และเภสชั กรท่ีไมท่ าเวชปฏิบัติ
ส่วนตัวจานวน 187 ราย ส่วนการตรวจสอบนิติกรรม/สัญญาเก่ียวกับการจัดซ้ือจัดจ้างมีจานวนลดลงจาก
ปีงบประมาณ 2556 คิดเป็นรอ้ ยละ 44.55

ปีงบประมาณ 2557 มีบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุขผิดสัญญาชดใช้ทุน โดยลาออก

จากราชการในขณะชดใช้ทุนไม่ครบตามสัญญา จานวน 9 ราย ผู้ผิดสัญญาส่วนใหญ่เป็นแพทย์ โดยมีผู้ผิด

สัญญารับทุนการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตตามโครงการผลิตพยาบาลโดยใช้เงินบารุงเป็น

ทุนการศึกษา จานวน 1 ราย ขอผ่อนผันให้นับเวลาท่ีกลับเข้ารับราชการในตาแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข

(ปฏิบัติหน้าท่ีพยาบาลวิชาชีพ) ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลหนองหว้า สานักงานสาธารณสุขอาเภอ

กุมภวาปี จังหวดั อุดรธานี เปน็ ระยะเวลารบั ราชการชดใช้ทุนตามสัญญาฯ สว่ นผูผ้ ิดสัญญาฯ รายอ่ืนสานักงาน

สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีได้คานวณค่าปรับและเรียกให้ผู้ผิดสัญญาฯ นาเงินมาชาระครบถ้วนตาม

ระยะเวลาทกี่ าหนดแล้ว

งำนกำรดำเนินกำรทำงวินยั

ลำดบั กิจกรรม จำนวน

ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557

1. สบื สวน สอบสวน และดาเนินการทางวนิ ยั แก่ 1 ราย - 1 ราย 4 ราย

ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ซงึ่ มี

กรณถี ูกกลา่ วหาวา่ กระทาความผดิ ทางวินัย

2. ตรวจสอบและชี้แจงข้อเท็จจริงกรณรี ้องเรียน 25 เรอื่ ง 18 เร่ือง 13 เรอ่ื ง 9 เรื่อง

3. สรุปและวเิ คราะห์ข้อมูลข้อร้องเรยี นของหน่วยงาน 4 คร้งั 4 คร้งั 4 ครั้ง 4 คร้งั

ในสังกดั 108 เรื่อง 111 เร่อื ง 153 เรอ่ื ง 112 เรือ่ ง

4. เผยแพร่ เสริมสร้าง พัฒนาความรูท้ างด้านวินยั และ 4 ครัง้ 12 ครั้ง 3 ครั้ง 1 ครง้ั

การป้องกันการทุจรติ คอรร์ ปั ชัน่

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 225

ปีงบประมาณ 2557 มีการสืบสวน สอบสวน และดาเนินการทางวินัยกับเจ้าหน้าท่ีในสังกัด

จานวน 1 ราย เป็นกรณพี นักงานกระทรวงสาธารณสุขกระทาผดิ วนิ ัยอยา่ งร้ายแรง ฐานละท้งิ หน้าท่รี าชการ

ติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่าสิบห้าวันโดยไม่มีเหตุอันสมควร หรือโดยมีพฤติการณ์อันแสดงถึง

ความจงใจไม่ปฏิบัตติ ามระเบยี บของทางราชการ จงั หวดั สุพรรณบุรจี งึ ไดม้ ีคาสงั่ ลงโทษไล่ออกจากราชการ

การตรวจสอบขอ้ เท็จจริงกรณอี นื่ ๆ มีรายละเอียดดังน้ี

1. กรณีสานักงานตรวจเงินแผ่นดินตั้งข้อสังเกตว่าเจ้าหน้าที่พัสดุของสานักงานสาธารณสุข

จงั หวดั สุพรรณบุรีไม่ปฏบิ ตั ติ ามระเบียบ จานวน 1 ราย

2. กรณีข้าราชการถกู กล่าวหาว่ามีปัญหาในการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีราชการ จานวน 1 ราย

3. กรณีลูกจา้ งประจามีปัญหาเรื่องวนั เกษียณอายรุ าชการ เน่ืองจากวันเดือนปีเกิดที่ระบุใน

หลกั ฐานของทางราชการไม่ตรงกับวนั เดือนปเี กิดที่แทจ้ รงิ จานวน 1 ราย

สาหรับข้อร้องเรียนท่ีประชาชนและผู้รับบริการร้องเรียนหน่วยงานในสังกัดสานักงาน

สาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ในปีงบประมาณ 2557 มีทั้งส้นิ 112 เร่ือง สว่ นใหญ่เป็นเร่ืองพฤติกรรมบรกิ าร

คิดเป็นรอ้ ยละ 30.36 รองลงมาคอื เรือ่ งการรกั ษาพยาบาลและระบบบริการ คิดเป็นรอ้ ยละ 26.79

ตำรำง แสดงจำนวนข้อรอ้ งเรียน ปงี บประมำณ 2554 - 2557

ลำดบั ประเภทขอ้ ร้องเรียน จำนวน

ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557

1. ดา้ นพฤติกรรมบริการ 14 25 47 34

2. ดา้ นการรักษาพยาบาลและระบบบรกิ าร 25 32 42 30

3. ดา้ นอนามัยส่ิงแวดล้อม 12 18 30 20

4. ดา้ นคุม้ ครองผู้บรโิ ภค 31 8 12 16

5. ดา้ นอนื่ ๆ 6886

6. ดา้ นสิทธิการรกั ษา 18 17 9 4

7. ดา้ นการบริหารงานบุคคล 2352

รวมท้ังส้นิ 108 111 153 112

ดำเนินคดอี ำญำ คดีแพ่งคดีปกครอง คดตี ำมกฎหมำยคุ้มครองผู้บรโิ ภคดำ้ นสำธำรณสุข

ลำดับ กจิ กรรม จำนวน

ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557

1. วิเคราะห์ ตรวจสอบ รวบรวมหลักฐานส่งเอกสาร 1 คดี - 1 คดี -

ให้กบั พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ เพ่ือ

ดาเนินการฟ้องคดี แกต้ า่ ง คดีอาญา คดแี พง่

คดปี กครอง และคดีตามกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค

ดา้ นสาธารณสขุ เช่น กฎหมายวา่ ด้วยอาหาร

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 226

เคร่ืองสาอาง วตั ถอุ นั ตราย และยา

2. ดาเนินการฟ้องและแก้ตา่ งคดีปกครองตามที่ 1 คดี 1 คดี 1 คดี 1 คดี

ผฟู้ ้องคดหี รือผูถ้ ูกฟอ้ งคดีมอบหมาย 2 คร้งั 4 คร้ัง 1 ครง้ั 2 ครั้ง

3. เปน็ ผู้แทนในการประสานคดีกับพนักงานสอบสวน - - 1 คดี 1 คดี

พนักงานอัยการ ศาลในคดีอาญา คดแี พง่ 3 คร้งั 2 คร้ัง

คดปี กครอง และคดีตามกฎหมายคุ้มครองผบู้ รโิ ภค

ดา้ นสาธารณสุข เช่น กฎหมายว่าด้วยอาหาร

เคร่ืองสาอาง วตั ถอุ นั ตรายและยา เป็นต้น

ปีงบประมาณ 2557 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีได้จัดทารายละเอียดข้อเท็จจริง

ประกอบคาแก้คาแก้อุทธรณ์ของสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในคดีหมายเลขดาท่ี อ. 1539/2556

จานวน 2 ครง้ั เน่ืองจากผฟู้ ้องคดแี กค้ าแก้อทุ ธรณค์ าพิพากษาของศาลปกครอง

งำนเผยแพร่ควำมรดู้ ำ้ นกฎหมำย

ลำดับ กจิ กรรม จำนวน

ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557

1. ประชาสัมพนั ธ์ เผยแพร่กฎหมาย ระเบยี บ คาสั่ง 13 ครั้ง 4 ครงั้ 6 ครัง้ 4 ครั้ง

มติคณะรฐั มนตรแี ละประกาศตา่ ง ๆ

2. เป็นวทิ ยากรบรรยายความรู้ทางด้านกฎหมาย 5 คร้งั 3 คร้งั 3 คร้ัง 1 ครงั้

311 ราย 160 ราย 190 คน 170 คน

3. ร่วมจดั ประชุม อบรม สัมมนาความรูท้ างกฎหมาย - - - 1 ครงั้

กบั กล่มุ เสริมสรา้ งวินยั และระบบคณุ ธรรม

ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มงานนิติการ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้เผยแพร่

ความรู้ด้านกฎหมาย ระเบียบ คาส่ัง มติคณะรัฐมนตรีและประกาศต่างๆ ให้หน่วยงานในสังกัดได้รับทราบ

จานวน 4 ครั้ง และเป็นวิทยากรบรรยายให้ความรูด้ ้านกฎหมายตามโครงการปฐมนิเทศข้าราชการท่บี รรจแุ ละ

ปฏบิ ตั งิ านใหม่ จานวน 1 ครั้ง มีผเู้ ขา้ ร่วมปฐมนิเทศ จานวน 170 คน

งำนบังคบั คดตี ำมคำพิพำกษำหรือคำส่งั

ลำดับ กจิ กรรม จำนวน

ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557

1. สบื หาหลักทรพั ยล์ กู หน้ตี ามคาพพิ ากษา 7 คร้งั 7 คร้งั 6 ครงั้ 1 ครัง้

68 ราย 96 ราย 96 ราย 33 ราย

2. ประสานเจา้ พนักงานบงั คบั คดเี พอื่ อายัดหรือ - - - -

ยึดทรัพย์

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 227

3. นาเจ้าพนักงานบังคับคดีอายัด หรือยึดทรัพย์ - - - -

งำนดำเนินมำตรกำรทำงปกครอง ปี 2554 จำนวน ปี 2557
ลำดับ กจิ กรรม - ปี 2555 ปี 2556 -
- 1
1. ดาเนนิ การเตรยี มคาสัง่ ทางปกครอง - -- -
2. ดาเนินการพจิ ารณาคาส่งั ทางปกครอง - -- -
3. ดาเนนิ การออกคาสั่งทางปกครอง --
4. ดาเนินการพจิ ารณา หรอื กาหนดมาตรการ --

บงั คบั ทางปกครองตามมาตรา 57 แห่ง - - -1
พระราชบญั ญตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ.
2539
5. เพิกถอนคาสัง่ ทางปกครอง

ปีงบประมาณ 2557 ผู้ตรวจสอบภายในของจังหวัดสุพรรณบุรี ได้เข้าตรวจสอบภายใน

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ตามแผนการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ และพบว่าสานักงาน

สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้อนุมัติให้ข้าราชการในสังกัดเบิกค่าเช่าบ้านเกินสิทธิ ตั้งแต่วันท่ี 1 มีนาคม

2553 จานวน 1 ราย ซ่ึงเป็นคาสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

จึงได้เพิกถอนคาส่ังทางปกครองดังกล่าวเพียงบางส่วนเฉพาะส่วนที่อนุมัติให้ได้รับค่าเช่าบ้านเกินสิทธิโดยให้มี

ผลย้อนหลังไปตั้งแต่เร่ิมได้รับสิทธินั้นและให้คืนเงินค่าเช่าบ้านที่เบิกเกินสิทธิ จานวน 67,366.51 บาท (หก

หม่ืนเจ็ดพันสามร้อยหกสิบหกบาทห้าสิบเอ็ดสตางค์) แก่ทางราชการ ปัจจุบันผู้ท่ีได้รับค่าเช่าบ้านเกินสิทธิยัง

ไม่ได้คืนเงินแก่ทางราชการเน่ืองจากขอผ่อนชาระเป็นรายเดือน โดยจานวนเงินที่ขอผ่อนชาระไม่อยู่ใน

หลักเกณฑท์ ี่จังหวดั สุพรรณบุรีจะอนุมตั ิได้ จงึ ตอ้ งขอความเห็นชอบไปยังกระทรวงการคลัง

งำนดำเนินเปรยี บเทยี บคดี

ลำดับ กจิ กรรม จำนวน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 228

ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557
1. เปรียบเทียบปรบั หรือเปรียบเทยี บคดีตามกฎหมาย 36 ราย 61 ราย 28 ราย 20 ราย

วา่ ดว้ ยยา อาหารเครื่องมือแพทย์ เครื่องสาอาง
วัตถุอันตราย สถานพยาบาล และพระราชบัญญัติ
การสาธารณสขุ พ.ศ. 2535

ปีงบประมาณ 2557 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินการเปรียบเทียบคดี

ผู้กระทาผิดกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข จานวน 20 ราย แยกเป็นผู้กระทาความผิดตาม

พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 จานวน 18 ราย และผู้กระทาผิดพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 จานวน 2

ราย

ตารางแสดงข้อหาในการกระทาผิดตาม พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522

ขอ้ หำ จำนวน

ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557

ข้อหาผลิตเพ่ือจาหนา่ ยอาหารผิดมาตรฐาน 10 11 15 12

ขอ้ หาผลิตเพ่ือจาหน่ายอาหารฝ่าฝืนประกาศฯ เรอื่ งฉลาก 4325

ขอ้ หาผลติ เพ่ือจาหนา่ ยอาหารฝา่ ฝืนประกาศฯ เร่ืองมาตรฐาน 21 4 4 1

GMP

ขอ้ หาผลติ เพื่อจาหน่ายอาหารฝา่ ฝนื ประกาศฯ เรอ่ื งวตั ถเุ จือปน 1 1 1 -

สาหรับผู้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ขอ้ หาทีก่ ระทาผิดมากท่ีสดุ คือ
ข้อหาผลิตเพ่ือจาหน่ายอาหารผิดมาตรฐาน จานวน 12 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 66.67 รองลงมาคือข้อหาผลิตเพื่อ
จาหนา่ ยอาหารฝ่าฝืนประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรือ่ งฉลาก จานวน 5 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 27.78 และข้อหา
ผลิตเพื่อจาหน่ายอาหารฝ่าฝนื ประกาศฯ เรื่องมาตรฐาน GMP จานวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.56 ตามลาดับ
สรปุ ข้อหาในการกระทาผดิ ต้ังแตป่ ี 2554 - 2557 เปน็ ดงั น้ี

แผนภมู ิที่ 1 แสดงจำนวนผู้กระทำผดิ ตำม พ.ร.บ. อำหำร พ.ศ. 2522 จำแนกตำมข้อหำ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 229

ผิดมาตรฐาน
เร่ืองฉลาก
มาตรฐาน GMP
เร่ืองวตั ถเุ จือปน

จากแผนภูมิแสดงให้เห็นว่า ปีงบประมาณ 2557 มีผู้กระทาผิดข้อหาผลิตเพื่อจาหน่ายอาหาร
ผิดมาตรฐานมากท่ีสุด และสูงเป็นลาดับแรกเกือบทุกปี ส่วนข้อหาผลิตเพื่อจาหน่ายอาหารฝ่าฝืนประกาศฯ
เรอื่ งมาตรฐาน GMP และข้อหาผลติ เพอื่ จาหนา่ ยอาหารฝา่ ฝนื ประกาศฯ เรื่องวัตถุเจือปน มแี นวโน้มลดลง

งำนไกล่เกลี่ยข้อพิพำท จำนวน
ลำดับ กจิ กรรม ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557

1. งานระงับขอ้ พพิ าทโดยการเจรจาไกลเ่ กลี่ย - 1 เร่อื ง -

งำนควำมรบั ผดิ ทำงละเมิด จำนวน
ลำดับ กิจกรรม ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557
1 เร่อื ง - 1 เรอ่ื ง -
1. ดาเนนิ การเกยี่ วกับการสอบข้อเทจ็ จริงความ
รับผดิ ทางละเมิด 2 เรื่อง 3 เร่อื ง - 1 เร่ือง

2. ดาเนินการเรยี กใหผ้ ู้กระทาละเมดิ ชดใช้ 1 เรอื่ ง - 1 เรื่อง -
ค่าเสยี หาย

3. สอบหาข้อเทจ็ จริงในเบื้องต้น

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 230

ปีงบประมาณ 2557 สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน สานักตรวจสอบพิเศษภาค 3 ได้เข้ามา
ตรวจสอบงานจ้างก่อสร้างสถานีอนามัยในสังกัดสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีข้อสังเกตว่า
คณะกรรมการกาหนดราคากลางคานวณราคากลางไม่ถูกต้อง และกรรมการตรวจการจ้างมีมติให้ผู้รับจ้าง
ก่อสร้างไม่ถกู ต้องตามสญั ญา ทาให้ราชการไดร้ ับความเสียหายให้คืนเงนิ แก่ทางราชการ สานักงานสาธารณสุข
จงั หวัดสุพรรณบุรีจึงแจ้งให้ผเู้ กี่ยวข้องคืนเงินแก่ทางราชการครบถ้วนตามจานวนท่ีสานักงานตรวจเงินแผ่นดิน
แจ้ง โดยมไิ ดด้ าเนินการสอบข้อเทจ็ จรงิ ความรบั ผิดทางละเมิด

งำนด้ำนกฎหมำยทั่วไปหรืองำนอ่ืน ๆ ท่ไี ด้รับมอบหมำย ปี 2554 จำนวน ปี 2557
ลำดบั กิจกรรม 4 ครงั้ ปี 2555 ปี 2556 2 คร้งั
198 ราย 3 ครง้ั 2 ครั้ง 249 ราย
1. ดาเนนิ การจัดทาคาสง่ั เก่ยี วกับการชันสูตรพลิกศพ 2 ครง้ั 41 ราย 43 ราย 1 ครั้ง
1 คร้ัง 2 ครงั้ 2 คร้งั
2. งานด้านการควบคุมภายใน 3 คร้งั 1 คร้ัง 1 ครง้ั -
3. ดาเนินการเกีย่ วกบั ศพไมม่ ีญาติ 3 ราย 4 ครัง้
4. ดาเนนิ การเก่ยี วกบั การขอรับค่าตอบแทนของ 1 คร้ัง - 3 ครงั้ 5 ราย
4 ราย 2 ครงั้
เจ้าหน้าที่ - 3 ครัง้
5. ดาเนินการจดั ทาคาส่งั มอบอานาจ - 1 ครง้ั
6. ร่วมเปน็ คณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนาบา้ น 5 คร้งั 3 ครง้ั 2 เร่ือง

ยะมะรัชโช (ของโรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช) --
7. หารอื ขอ้ กฎหมายไปยังหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง

ปีงบประมาณ 2557 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีได้จัดทาคาส่ังแต่งต้ังแพทย์ให้
ปฏิบัติหน้าที่ชันสูตรพลิกศพ (เพิ่มเติม) จานวน 249 ราย และจัดทาคาสั่งมอบอานาจหน้าท่ีของนายแพทย์
สาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ีให้ขา้ ราชการปฏิบัตริ าชการแทน จานวน 1 ครั้ง

ปีงบประมาณ 2557 หน่วยงานในสังกัดเสนอขอปรับเพิ่มค่าตอบแทนให้กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขซึ่ง
สาเร็จการศึกษาในระดับที่สูงข้ึนและหน่วยงานมีคาส่ังมอบหมายให้ปฏิบัติงานในหน้าที่ตาม วุฒิการศึกษา
จงึ ขออนุมัตปิ รบั เพ่ิมค่าตอบแทนให้กับเจ้าหนา้ ท่ีดงั กลา่ ว จานวน 5 ราย

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 231

กลุ่มงำนสขุ ศึกษำประชำสมั พันธ์และสุขภำพภำคประชำชนสรปุ รำยงำนประจำปี พ.ศ. ๒๕๕7

สำนกั งำนสำธำรณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี

๑. การดาเนินงานปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพประชาชน (Diet Physical Activity Clinic, DPAC)

โดยมกี จิ กรรมหลกั ๆ ดังนี้

๑.๑ ตดิ ตามการดาเนนิ งานการพฒั นาคลนิ ิก DPAC ในสถานบริการสาธารณสุข

จานวน 127 แหง่ แยกเปน็

- โรงพยาบาลศูนย/์ ทัว่ ไป/ชุมชน 10 แหง่ (100%)

- สานกั งานสาธารณสุขอาเภอ 10 แห่ง (100%)

- โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบล (รพ.สต.) 105 แห่ง (60.3%)

- ศนู ยส์ ุขภาพชุมชน ๒ แห่ง (40%)

๑.๒ สรุปผลตดิ ตามการดาเนินงานปรบั เปล่ยี นพฤติกรรม ๓อ.๒ส. (DPAC) ในกลุ่มเสย่ี งอ้วนลงพุง/

โรคเบาหวาน/ความดันโลหติ สูง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ ๒๕๕7

ตามแบบฟอรม์ รง.3อ.2ส. /3 (รวบรวมจาก รง.3อ.2ส. /1,2 ในระดับตาบลและอาเภอ)

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 232

๑.๓ ความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ (Health Literacy) จากประชากรกล่มุ เส่ียงอ้วนลงพุง/โรคเบาหวาน/
สงู ทีม่ ีการปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมสุขภาพ ๓อ.๒ส. และลดเสยี่ ง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี ๒๕๕7
จานวน 54,820 คน (ตามแบบรายงาน 3อ.2ส./1,2) และสามารถมพี ฤติกรรมดีขึ้น
30,550 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 55.73

๒. การดาเนินงานสุขบัญญัติแห่งชาติในสถานศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา และโรงเรียนมัธยมศึกษา
ดาเนินงานร่วมกับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งผลการดาเนินงาน มีโรงเรียนท้ังส้ิน ๔๗๓ โรง ผ่าน
เกณฑก์ ารประเมิน ดังน้ี
๒.๑ โรงเรียนสง่ เสริมสุขภาพ ระดบั เพชร ๑ แห่ง ผ่านเกณฑส์ ุขบญั ญัตแิ ห่งชาติ ๑ แหง่
๒.๒ โรงเรยี นส่งเสริมสขุ ภาพ ระดับทอง ๒๔6 แหง่ ผ่านเกณฑ์สขุ บญั ญัตแิ หง่ ชาติ ๒๔6 แห่ง
๒.๓ โรงเรียนสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ระดับเงิน ๑๓๗ แหง่ ผา่ นเกณฑ์สุขบญั ญตั ิแหง่ ชาติ ๑๓๗ แห่ง
๒.๔ โรงเรยี นส่งเสรมิ สุขภาพ ระดับทองแดง ๙๐ แหง่ ผา่ นเกณฑส์ ุขบญั ญัตแิ หง่ ชาติ ๔๕ แหง่
รวมทง้ั สน้ิ ๔๗4 แหง่ ผ่านเกณฑส์ ุขบัญญตั แิ หง่ ชาติ ๔๒9 แหง่
คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๐.50

๓. การดาเนินงานสุขศึกษาเพื่อการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพและการป้องกันโรค จังหวัดสุพรรณบุรี
ปี ๒๕๕7 ดาเนนิ การ ดังน้ี
๓.๑ สัมมนาสื่อมวลชนเพ่อื การสรา้ งเสรมิ พฤติกรรมสุขภาพ จานวน ๖๐ คน
๓.๒ เผยแพร่การสร้างเสรมิ พฤตกิ รรมสขุ ภาพ โดย
- จัดรายการวทิ ยุ - สถานวี ิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดสุพรรณบรุ ี จานวน ๕๒ คร้งั (ทุกวันจันทร์)
- สถานวี ทิ ยวุ ิทยาลัยสารพัดช่าง (R-Radio network) จานวน 52 คร้งั
(ทุกวันพธุ )
- เขียนบทความดา้ นสุขภาพลงในหนงั สอื พิมพท์ ้องถนิ่ จานวน ๒ ฉบับๆละ ๒๔ ครัง้
(เดือนละ ๒ ครัง้ /ฉบบั ) ในหนงั สือพมิ พฅ์ นสพุ รรณ และ เมอื งคนเหนอ่ /ชนบทนิวส์
- เผยแพรแ่ ผ่น CD สขุ ภาพ แก่สถานีวิทยุ ๔๐ แห่ง,สถานบรกิ ารสาธารณสุข ๑๘๔ แห่ง,
องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ๑๔๐ แหง่ ,หอกระจายข่าว ๑๐๕ แห่ง

๔. งานอ่ืนๆทีก่ ระทรวงสาธารณสุขดาเนนิ การและมอบหมายเฉพาะ
๔.๑ งานข้อมลู ขา่ วสาร ตามพระราชบัญญัตขิ อ้ มูลข่าวสาร ปี พ.ศ.๒๕๔๐
๔.๒ มาตรฐานงานสุขศกึ ษา ดาเนินการตามศักยภาพของสถานบริการสาธารณสุข
ในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 233

๔.๓ หมบู่ า้ นปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ เพอื่ พฒั นาใหเ้ ป็นต้นแบบของอาเภอ/จังหวัด
๕. สนับสนนุ กลุ่มงาน/งานอืน่ ๆในสานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

๕.๑ ถ่ายรูปและลงเว็บไซต์ประชาสมั พนั ธ์ใหใ้ นนามสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ีและ
เฟสบคุ๊ ส่อื สร้างสรรคป์ ระชาสมั พนั ธ์สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

๕.๒ เปน็ พิธกี รในฐานะองค์กร และสนบั สนุนกลมุ่ งาน/งานอืน่ ๆ
๕.๓ ร่วมจดั งานรณรงคข์ องฝ่ายอ่นื ๆ ไดแ้ ก่ จัดงานเทิดพระเกียรตวิ ันแม่แหง่ ชาติ , วนั มหดิ ล ,

วัน อสม.แหง่ ชาติ ฯลฯ

แบบติดตำมกำรดำเนินงำนปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภำพ ๓อ.๒ส. (DPAC)
ในกลุ่มเส่ยี งอว้ นลงพงุ เบำหวำน ควำมดันโลหติ สงู ปงี บประมำณ ๒๕๕๗

คำช้ีแจง ใช้สาหรับการดาเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชน (Diet Physical Activity Clinic,
DPAC)

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 234

สาหรับสานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี

๑. สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี

๒. จานวน รพ./รพ.สต. ในความรับผดิ ชอบทัง้ หมด 184 แหง่ เขา้ รว่ มโครงการ ๑๔๕ แห่ง

๓. ประชากรกลุ่มเส่ยี งอายุ ๑๕ ปขี ึน้ ไป จานวนทั้งสน้ิ 203,146 คน

๔. ประชากรทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสุขภาพ จานวนท้งั สิน้ 51,916 คน

๔.๑ ประชากรที่เข้าร่วมโครงการฯ กรณอี ว้ นลงพุง จานวน 14,684 คน

๔.๒ ประชากรท่ีเข้าร่วมโครงการฯ กรณโี รคเบาหวาน จานวน 5,545 คน

๔.๓ ประชากรทเี่ ขา้ รว่ มโครงการฯ กรณีโรคความดันโลหิตสงู จานวน 14,720 คน

๔.๔ ประชากรท่เี ขา้ รว่ มโครงการฯ ทงั้ เบาหวานและความดนั ฯ จานวน 5,139 คน

๔.๕ ประชากรที่เข้ารว่ มโครงการฯ อว้ นและเส่ยี ง เบาหวาน/ความดนั ฯ จานวน 8,196 คน

๔.๖ ประชากรทีเ่ ข้าร่วมโครงการฯ โรคเรื้อรงั อ่นื ๆ จานวน 3,632 คน

หมายเหตุ ข้อ ๔.๑ – ๔.๖ รวมกันแลว้ ให้ได้เทา่ กับ ข้อ ๔

๕. ผลการเข้าร่วมโครงการปรับเปล่ียนพฤติกรรม มผี ลภาวะสุขภาพดขี ึ้น จานวนทง้ั สนิ้ 29,278 คน

๕.๑ ผู้เขา้ ร่วมโครงการตาม ข้อ ๔.๑ ลดอ้วนลงพงุ ได้ จานวน 7,273 คน

๕.๒ ผู้เข้ารว่ มโครงการตาม ขอ้ ๔.๒ ความเส่ยี งเบาหวานลดลงได้ จานวน 3,327 คน

๕.๓ ผู้เขา้ รว่ มโครงการตาม ข้อ ๔.๓ ความเสยี่ งความดนั โลหติ สงู ลดลงได้ จานวน 9,003 คน

๕.๔ ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการตาม ขอ้ ๔.๔ ความเส่ยี งเบาหวาน/ความดนั ฯลดลง จานวน 2,819 คน

๕.๕ ผเู้ ข้าร่วมโครงการตาม ขอ้ ๔.๕ ลดอว้ นเสย่ี งฯ (เบาหวาน/ความดนั ฯ) จานวน 4,484 คน

๕.๖ ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการตาม ข้อ ๔.๖ ลดภาวะโรคเร้อื รังอน่ื ๆ จานวน 2,372 คน

หมายเหตุ ข้อ ๕.๑ – ๕.๖ รวมกันแลว้ ให้ไดเ้ ท่ากบั ข้อ ๕

๖. กิจกรรมตามโครงการปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพท่ีจัดขึ้นในพนื้ ที/่ สถานบริการ มีอะไรบ้าง

๖.๑ ส่วนใหญ่จะมกี จิ กรรมการคดั กรอง และคัดเลือกกลุม่ เส่ยี ง

๖.๒ นาเขา้ สูก่ ระบวนการปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ

๗. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดาเนินงานปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมสุขภาพ

๗.๑ ประชาชนสว่ นใหญ่ยังไม่เหน็ ความสาคญั ไมม่ ีเวลา ขาดความรูใ้ ห้เกดิ กจิ กรรมทีต่ อ่ เน่อื ง

๗.๒ เจ้าหนา้ ท่มี ีบทบาทในการเปน็ ท่ปี รกึ ษาน้อยเกินไป

๘. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไขปญั หา

๘.๑ กิจกรรมตอ้ งเปน็ รปู ธรรมและต่อเนอื่ ง มีการติดตามผลเป็นระยะและต่อเนอ่ื ง

๘.๒ ปรบั เปลย่ี นกจิ กรรมให้เป็นช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมกับวถิ ีชีวิตของประชาชน

สรปุ ผลกำรปฏบิ ตั ิงำนสุขภำพภำคประชำชน สำนักงำนสำธำรณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 235

ปงี บประมำณ ๒๕๕๗

...............................................
๑. สนับสนนุ กำรดำเนินงำนภำคีเครอื ข่ำยสขุ ภำพ

๑.๑ โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. ในงานวนั อสม. แหง่ ชาติ ประจาปี ๒๕๕๗
โดยการคัดเลือก อสม. ดีเด่นระดับตาบล อาเภอ จังหวัด พร้อมประกาศเกียรติคุณ จานวน
๑,๒๑๐ คน และสนับสนุนชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขทุกระดับ จัดกิจกรรมวันอาสาสมัครสาธารณสุข
แห่งชาติ (งบประมาณจากศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน ภาคกลาง ๒๐,๐๐๐ บาท)
ผลการพจิ ารณา อสม. ดเี ด่น ระดับจังหวดั ๑๑ สาขา (ประกาศจงั หวัดสพุ รรณบุร)ี ดงั น้ี
๑. นายดาวเรือง ทองรอด อาเภอสามชุก สาขาการเฝา้ ระวัง ป้องกันและควบคมุ โรคติดต่อ
๒. นางจาปา ปาลพนั ธ์ อาเภออู่ทอง สาขาการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภคดา้ นสุขภาพ
๓. นายบญุ เล้ยี ง ปยุ้ ภู่ อาเภอสองพ่นี ้อง สาขาการจดั การสขุ ภาพชมุ ชน
๔. นางนติ ยา นาคชลธี อาเภอศรปี ระจันต์ สาขาการบริการสขุ ภาพใน ศสมช.
๕. นางสุมนต์ แสงจนั ทร์ อาเภอสองพนี่ ้อง สาขาภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นดา้ นสขุ ภาพ
๖. นางสาวฐิติภรณ์ ทรัพย์อุดมมาก อาเภอสองพ่ีน้อง สาขาการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ใน
ชมุ ชน
๗. นางเสริมศรี ทนั ใจชน อาเภอด่านช้าง สาขาการส่งเสรมิ สขุ ภาพ
๘. นายวิเชษฐ เสาวรส อาเภอเดิมบางนางบวช สาขาการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน
ชุมชน
๙. นางพรศิริ พรมเพยี งช้าง อาเภออู่ทอง สาขาสุขภาพจิตในชมุ ชน
๑๐.นางศิราณี เดชปรารมย์ อาเภออูท่ อง สาขาสายใยรกั แหง่ ครอบครัว
๑.๒ โครงการพัฒนาศกั ยภาพภาคเี ครือข่ายสขุ ภาพภาคประชาชนจังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปี๒๕๕๗

- โดยการจัดประชุม สัญจรแก่ คณะกรรมการชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ระดับจังหวัด
พบปะกบั คณะกรรมการชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ระดับอาเภอ และทปี่ รกึ ษาระดับอาเภอ /ตาบล ใน
ทุกอาเภอรวม ๑๐ อาเภอ และ ๒ เทศบาลได้แก่ เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี เทศบาลเมืองสองพ่ีน้อง (งบ
ชมรม อสม.จังหวัด และชมรม อสม.อาเภอ )

-การประกวดชมรม อสม.ดีเด่นระดับอาเภอ ๑๐ อาเภอ ตามเกณฑ์การตัดสินของสานักงาน
สนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพเขต๕ จงั หวัดราชบุรี ผลการประกวดดงั น้ี

ระดบั จังหวัด
รางวลั ชนะเลิศไดแ้ ก่ ชมรม อสม.อาเภอสองพนี่ อ้ ง
รางวัลรองชนะเลิศ อันดบั ๑ ไดแ้ ก่ ชมรม อสม. อาเภอศรปี ระจันต์
รางวัลรองชนะเลิศ อนั ดบั ๒ ได้แก่ ชมรม อสม. อาเภอหนองหญา้ ไซ
ระดับเขตบรกิ ำรสขุ ภำพท่ี ๕ ( ๘ จงั หวัด )

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 236

รางวัลชนะเลศิ ได้แก่ ชมรม อสม.อาเภอสองพนี่ ้อง

๑.๓ โครงการเสริมสรา้ งบทบาทภาคเี ครอื ข่ายสขุ ภาพภาคประชาชน จังหวดั สุพรรณบุรี ปี ๒๕๕๗

- กิจกรรมพัฒนาศักยภาพและสนับสนุนการดาเนินงานตาบลจัดการสุขภาพ/หมู่บ้านจัดการ

สุขภาพ และติดตามการดาเนินงาน ตาบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนย่ังยืน๑๐ อาเภอๆ ละ ๓

ตาบล ผลการดาเนนิ งานดังนี้

อาเภอ ตาบล ผลการประเมิน วสิ าหกจิ ชุมชน หมายเหตุ

ตาบลจัดการสขุ ภาพ ย่งั ยนื

๑.เมอื งสุพรรณบุรี ต.สนามคลี ระดบั ดเี ยย่ี ม มะม่วงดอง รับโล่รางวัลดเี ยยี่ ม

ต.สระแกว้ ระดบั ดีมาก ขนมหม้อแกง รับโลร่ างวลั ดมี าก

ต.สนามชยั ระดบั ดีมาก นา้ ด่มื รบั โล่รางวลั ดมี าก

๒.เดิมบางนางบวช ต.ปา่ สะแก ระดบั ดี ผกั สวนครัว เยบ็ แห เยบ็ ผา้

ต.บ่อกรุ ระดับดมี าก ทอผ้า รับโล่รางวลั ดีมาก

ต.โคกชา้ ง ระดบั ดมี าก รบั โลร่ างวลั ดมี าก

๓.บางปลามา้ ต.ตะคา่ ระดับดีมาก ขนมไทย รับโล่รางวลั ดมี าก

ต.วัดดาว ระดบั ดีมาก รบั โลร่ างวัลดมี าก

ต.โคกคราม ระดบั พัฒนา

๔.ศรีประจนั ต์ ต.วังยาง ระดบั ดีมาก แปรรปู แหว้ จนี รับโลร่ างวลั ดมี าก

ต.วงั หวา้ ระดบั ดี

ต.ดอนปรู ระดบั ดี

๕.สองพ่ีน้อง ต.บา้ นกลุม่ ระดับดมี าก รบั โลร่ างวัลดมี าก

ต.ตน้ ตาล ระดับดมี าก รบั โลร่ างวัลดมี าก

ต.บางเลน ระดบั ดมี าก รับโล่รางวลั ดมี าก

๖.สามชุก ต.วงั ลึก ระดับดี รอ้ ยพวงมาลัยดอกไม้

ต.สามชุก ระดับดี สานตะกร้าเคร่ืองหวาย

ต.บา้ นสระ ระดับดี

๗.อ่ทู อง ต.บา้ นดอน ระดับดีมาก ทอผ้าไทยทรงดา รบั โลร่ างวลั ดีมาก

ต.ดอนคา ระดับดมี าก ข้าวปลอดสารพิษ รบั โลร่ างวัลดีมาก

ต.เจดยี ์ ระดับดีมาก รบั โลร่ างวลั ดีมาก

๘.ดอนเจดีย์ ต.ไรร่ ถ ระดับดเี ยย่ี ม น้าพรกิ เผา รบั โลร่ างวลั ดีเย่ียม

ต.สระกระโจม ระดบั ดมี าก รับโล่รางวลั ดมี าก

ต.ทะเลบก ระดบั ดี

๙.ด่านชา้ ง ต.นิคมกระเสียว ระดับดี เครื่องถักทอ กล้วยฉาบ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 237


Click to View FlipBook Version