The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-20 05:36:14

รายงานประจำปี2557

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

4.ส่งเสรมิ สนับสนุนและเพ่ิมศักยภาพให้องคก์ ารบริการสว่ นท้องถนิ่ หน่วยงานของรัฐ ทุกระดับ มี
สว่ นร่วมในการสร้างสขุ ภาพ
ข้อมูลเชงิ ปริมำณ

ศนู ยก์ ารเรียนรอู้ งคก์ รต้นแบบไร้พงุ จังหวดั สุพรรณบุรี
ผลกำรดำเนนิ งำน

ผลงานปีพ.ศ. ชอื่ ศูนยก์ ารเรยี นร้อู งค์กรไรพ้ ุงต้นแบบ
2544 1.องค์การบริหารสว่ นจงั หวัดสุพรรณบุรี

2.องค์การบริหารสว่ นตาบลหนองสาหรา่ ย อ.ดอนเจดยี ์
3.องค์การบรหิ ารส่วนตาบลท่าเสดจ็ อ. เมอื ง
2555 1.องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลบ้านกร่าง อ.ศรีประจนั ต์
2.องค์การบริหารส่วนตาบลสาลี อ.บางปลามา้
3.องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลบางใหญ่ อ.บางปลาม้า
2556 1.โรงเรยี นอนุบาลพระบรมราชานสุ รณด์ อนเจดีย์ อ.ดอนเจดีย์
2.โรงเรยี นวดั เถรพลาย อ.ศรีประจันต์
3.โรงเรยี นเทศบาล 1 (พานิชอทุ ิศ) อ.สองพ่นี ้อง
2557 1.โรงพยาบาลสามชุก
2.โรงพยาบาลดอนเจดยี ์

ข้อมลู เชงิ คณุ ภำพ

1. การขับเคลื่อนและผลักดันให้เกิดศูนย์การเรียนรู้องค์กรไร้พุงต้นแบบ องค์กร ภาคี เครือข่าย

ในจังหวัดสุพรรณบุรีจานวน 21 องค์กร โดยสามารถพัฒนาเป็นศูนย์การเรียนรู้องค์กรไร้พุงต้นแบบ

ตามคุณลักษณะ 7 ประการของกรมอนามัยจานวน 2 แห่งใหม่ ซ่ึงพบว่าผลลัพธ์รอบเอวประชาชน

อายุ 15 ปีข้ึนไปในองค์กรมีรอบเอวปกติมากกว่าร้อยละ 60 ครอบคลุมร้อยละ 80 ของสมาชิกในองค์กร

แต่ในบางองค์กรท่ียังไม่สามารถดาเนินงานให้เป็นต้นแบบได้ เพราะยังขาดความต่อเน่ืองในการทากิจกรรม

และขับเคลื่อนในองค์กรโดยผู้บรหิ ารในองค์กร ข้อตกลง มาตรการขององคก์ รยังเป็นนโยบายกว้างๆ มิได้เป็น

ข้อตกลงในองค์กรที่เห็นแบบชัดเจนเพ่ือลงสู่การปฏิบัติ แต่ผลลัพธ์ทางสุขภาพ รอบเอวและน้าหนักที่ลดลงใน

ระยะเวลาอันส้ันทาให้ไม่เห็นการเปล่ียนแปลงเท่าท่ีควร ซึ่งองค์ประกอบในการประเมินในด้านผลลัพธ์ข้อนี้ไม่

ผา่ นเกณฑ์ ยงั เปน็ ขอ้ จากดั หลายองคก์ รท่ียังไม่สามารถผา่ นการประเมินรบั รองเปน็ ศูนย์การเรียนรไู้ ด้

2. สรา้ งความสมั พนั ธ์ (customer relation management) กับหัวหนา้ หนว่ ยงาน ผู้

ประสานงานในระดับท้องถิ่น โดยทีมพ่ีเล้ียงในระดับตาบล สามารถดาเนินงานให้สาเร็จได้ เพราะสามารถ

เข้าถึงผู้บริหารของอปท. ให้เห็นถึงความสาคัญ และลงมือทา ประกอบกับ อปท.มีความสนใจที่จะจัดการใน

ด้านสุขภาพอนามัยในการใช้เงินในกองทุนสุขภาพตาบล และมีเจ้าหน้าท่ีในส่วนกองสาธารณสุขเป็นผู้

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 91

ดาเนินงาน สาหรบั หน่วยบริการสาธารณสุขมีการจดั กิจกรรม โดยใช้กระบวนการองค์กร/ชุมชน ไร้พุง โดยยึด
หลัก 3อ. ในระดับบุคคลประกอบกับการผสมผสานงานในหน้าที่รับผิดชอบ เช่น การเปิดคลินิก DPAC แล้ว
ทาไปด้วยกัน มีทีมงานที่ดี มีการกาหนดมาตรการ ข้อตกลง ในองค์กร เพ่ือการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ
และจดั สง่ิ แวดลอ้ มท่เี ออื้ ตอ่ การควบคมุ ภาวะอว้ นลงพงุ ในองคก์ รให้เหมาะสมไดเ้ ป็นรูปธรรม

3. การรณรงค์และการสร้างกระแสสื่อวงกว้าง (Air war) โดยการจัดสภาพแวดล้อม การจัดมุม
บอร์ดนิทรรศการ ในสถานท่ีทางาน ป้ายประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ ในรูปแบบต่างๆ เช่นการส่ือสารแบบเสียง
ตามสาย วารสารขององค์กร บุคคลต้นแบบในองค์กร ท่ีสามารถจัดการน้าหนักและเป็นแบบอย่างที่ดีได้ส่วน
กจิ กรรมภายนอกองค์กร/ชมุ ชน มีกิจกรรมออกกาลังกาย แข่งขันกีฬาท้ังภายในองค์กรประจาปี และในชุมชน
ซง่ึ แตล่ ะองคก์ รจดั ตาม รปู แบบ ความสนใจของคนในองคก์ ร

ปัจจยั สำคญั ท่ีทำใหก้ ำรดำเนินงำนสำเรจ็
1.ขยายเครือข่ายโดยรับสมัครองค์กรในพื้นท่ี ทุกปี และองค์กรไร้พุงต้นแบบที่ดาเนินงานในปีท่ีผ่าน

มาแต่ยงั ไมผ่ ่านการประเมนิ รับรองเปน็ ศูนย์การเรียนรู้ กส็ ามารถดาเนินงานตอ่ เน่ืองเมอ่ื องค์กร หน่วยงาน มี
ความพร้อมตามเกณฑ์องค์ประกอบก็สามารถให้ได้รับการประเมินได้อีก ในส่วนที่เป็น ศูนย์การเรียนรู้เดิม
จงั หวดั ให้มกี ารติดตามผลลัพธท์ างดา้ นสุขภาพ และสนบั สนนุ สอื่ ทางวิชาการอย่างต่อเนอื่ ง

2.ขยายระยะเวลาในการดาเนินงานในรอบปี เพื่อให้มีเวลาในการดาเนินงาน โดยทีมประเมินใน
ระดบั จังหวัดจะติดตามความก้าวหนา้ พรอ้ มกบั เกบ็ ผลงานเป็นองค์กรไร้พุงต้นแบบ เพ่ือมอบโล่รางวัล และเงิน
รางวัล ภายใต้การดาเนินงานโครงการ ในแผนสุขภาพจังหวัด ทั้งนี้เพ่ือเป็นการคัดเลือกองค์กรเพ่ือพัฒนาสู่
ศนู ยก์ ารเรียนรอู้ งคก์ รไร้พงุ ต้นแบบ กอ่ นรับการประเมนิ รบั รอง

ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบำย
1.นโยบายมีความทับซอ้ นท่ีต้องดาเนินงานในลักษณะงาน และผู้ปฏิบัติงาน ทาใหก้ ารเช่ือมต่องานมี

เป้าหมายคนละกลุ่มและทาเป็นบางพื้นที่ ระดับกรมควรมีการบูรณาการตามแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิต
ไทยท่ีตอ่ เนื่องชดั เจน

2.การดาเนินงานโครงการตามนโยบายเร่งรัดของกระทรวงสาธารณสุขซึ่งมีระยะเวลาในการ
ดาเนินงานจากัดในระยะเวลาอันสั้นทาให้ไม่เกิดประสิทธิผล และประสิทธิภาพของงานเท่าที่ควรดังนั้นเพื่อ
ตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหาหรือความต้องการของประชาชนในแต่ละพื้นที่จึงควรมีโครงการท่ีสามารถ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนท้ังจากการศึกษาทางระบาดวิทยาหรือจากการเฝ้าระวังปรับเปลี่ยน
พฤตกิ รรมลดโรค

งำนส่งเสริมสุขภำพผู้สูงอำยุ ปงี บประมำณ 2557
สถานการณ์ผ้สู งู อายุในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จงั หวัดสุพรรณบุรีมีจานวนและสัดสว่ นเพม่ิ มากขึน้ อยา่ ง

รวดเร็ว ในปี 2555 ผ้สู ูงอายุจังหวัดสพุ รรณบุรี มีจานวน 124,276 คน จากประชากรทั้งหมด 846,057คน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 92

เท่ากับ 14.68 % รอ้ ยละ 15.10 ในปี 2556 และในปี 2557 ประชากรผู้สงู อายุมีจานวน 135,195 คน จาก
ประชากรท้ังหมด 868,098 คน คิดเปน็ ร้อยละ 15.57 จะเหน็ ได้ว่ามีแนวโนม้ เพ่มิ ขนึ้ อย่างต่อเน่ือง การ
เปล่ยี นแปลงของโครงสรา้ งประชากรจังหวดั สุพรรณบรุ ี ขณะนี้เข้าสู่สงั คมผ้สู ูงอายุ (Aging Society) โดย
ผู้สงู อายุมีปัญหาสุขภาพมากขึ้นตามวัย มีการเจ็บป่วยด้วยโรคไรเ้ ชื้อและมีภาวะซึมเศร้ามากข้นึ ซ่ึงสง่ ผลต่อการ
ดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั ของผสู้ ูงอายุ ที่มีภาวะพงึ พาตอ้ งการคนดแู ลอย่างต่อเน่ือง เป็นภาระของครอบครวั และ
เพิม่ คา่ ใชจ่ ่ายในด้านสขุ ภาพในภาพรวมของประเทศ ในขณะท่ีแนวโน้มของผู้สูงอายุอยู่คนเดยี วมีเพ่ิมมากขึ้น
สง่ ผลใหผ้ ู้สูงอายเุ ขา้ ถึงบริการสขุ ภาพได้น้อย ไม่สะดวก เน่ืองมาจากปัญหาสุขภาพและขาดผูด้ แู ล หรือผู้ทจี่ ะพา
มารบั บริการ จากการวิเคราะห์ปัญหาผสู้ งู อายุ พบวา่ การคดั กรองและดูแลผูส้ ูงอายุท่มี ปี ัญหาสขุ ภาพยังไม่
ครอบคลุม ตลอดจนระบบการดแู ลผู้สูงอายหุ ลังการคัดกรองยังขาดความเชื่อมโยงในแต่ละระดบั ผู้สูงอายุที่
ผ่านการคดั กรองยังไม่ไดร้ บั การดูแลอย่างเหมาะสมครบถ้วนตามสภาพปัญหา ผู้สูงอายุขาดผดู้ ูแลและสว่ น
ใหญ่ยังไมส่ ามารถดูแลตนเองให้มสี ขุ ภาพดตี ามมาตรฐานที่พึงประสงค์ การมีส่วนรว่ มของท้องถิน่ และภาคี
เครือข่ายยังขาดความชัดเจนและต่อเน่ือง

สถำนกำรณผ์ สู้ ูงอำยตุ ำมกลุ่มศกั ยภำพ
โดยจาแนกผู้สูงอายุตามความสามารถในการดาเนินชีวิตประจาวัน(ดัชนีบาร์เธลเอดีแอล) เป็น 3 กลุ่ม
ได้แก่ กลุ่ม 1 (ติดสังคม) ร้อยละ 85.95 กลุ่ม 2 (ติดบ้าน) ร้อยละ 12.14 และกลุ่ม 3 (ติดเตียง) ร้อยละ
1.14 ตามตารางท่ี 1
ตารางท1่ี จานวนผสู้ ูงอายุรายอาเภอ จาแนกตาม ADL index

อาเภอ ผู้สงู อายุ60 ปี กลุ่ม 1 (ตดิ สังคม) กลมุ่ 2 (ติดบ้าน) กลมุ่ 3 (ตดิ เตยี ง)

เมืองสพุ รรณบุรี จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
เดิมบางนางบวช 27,138 13.43 1,922 7.08 264 0.97
ด่านช้าง 13,758 19.64 24,952 91.94 888 6.45 148 1.08
บางปลามา้ 8,026 12.39 336 4.19 51 0.64
ศรปี ระจนั ต์ 13,201 18.11 12,722 92.47 1,337 10.13 227 1.72
ดอนเจดยี ์ 11,545 20.03 1,578 13.67 135 1.17
สองพี่น้อง 7,186 16.34 7,639 95.18 812 11.30 52 0.72
สามชุก 18,418 13.72 11,337 85.88 3,328 18.07 219 1.19
อทู่ อง 10,151 19.55 9,094 78.77 1,027 10.12 125 1.23
หนองหญา้ ไซ 18,142 14.55 3,850 21.22 232 1.28
7,630 16.54 6,322 87.98 1,340 17.56 86 1.13
รวม
135,195 15.57 14,871 80.74 16,418 12.14 1,539 1.14

8,999 88.65

14,060 77.50

6,204 81.31

116,200 85.95

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 93

มำตรกำรท่ีนำมำใชใ้ นกำรแก้ไขปัญหำในปงี บประมำณ 2557 คือ
1) พัฒนาระบบคดั กรองสุขภาพผสู้ ูงอายุ 6 โรค ได้แก่ เบาหวาน ,ความดันโลหิตสงู , ซึมเศร้า,ขอ้

เข่าเส่ือม ,ตาตอ้ กระจก ,วณั โรค ,สขุ ภาพชอ่ งปาก และประเมินสภาวะ ADL
2) สง่ เสรมิ สุขภาพผสู้ ูงอายุใหม้ ีสุขภาพดีท้งั ร่างกายและจติ ใจ
3) พฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพท่มี ีคุณภาพเชอื่ มโยงจากสถานบรกิ ารสชู่ มุ ชน
4) สร้างความเข้มแข็งของการมีส่วนร่วมของท้องถ่ินในการส่งเสริมสุขภาพ และดูแลผู้สูงอายุใน

ชุมชน

วิเครำะห์ผลกำรดำเนนิ งำนในเชงิ ปริมำณและเชิงคณุ ภำพ
ตัวชว้ี ัด 1) ร้อยละ 60 ของตำบลมีกระบวนกำรดแู ลสุขภำพผู้สงู อำยุระยะยำว
2) ร้อยละ 20 ของตำบลผ่ำนเกณฑ์มำตรฐำนกำรดแู ลสุขภำพผู้สูงอำยรุ ะยะยำว
3) ร้อยละ 60 ของชมรมผสู้ ูงอำยุผำ่ นเกณฑ์ชมรมคณุ ภำพ

ตารางท่ี 2 การดาเนนิ งานตามกระบวนการตาบลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพผ้สู งู อายุระยะยาว
( Long Term Care : LTC ) และชมรมผูส้ งู อายุคุณภาพ มีผลการดาเนินงาน ดงั นี้

อาเภอ จานวนตาบลต้นแบบ LTCตั้งแต่ เริ่ม ผ่านเกณฑ์ จานวนชมรม จานวนชมรม
ดาเนินการ ปี 2555 – 2557 (ตาบล) LTC ผู้สงู อายุ ผู้สงู อายคุ ุณภาพ
ปี 53 – 56 ปี 57 รวม (ตาบล) (ชมรม)
(ชมรม)
เมอื ง 10 ตาบล 1 11 10 ตาบล 70
บางปลามา้ 7 ตาบล 1 8 7 ตาบล 54 49
สองพนี่ ้อง 8 ตาบล 1 9 8 ตาบล 44 23
ศรีประจันต์ 5 ตาบล 1 6 5 ตาบล 65 27
ดอนเจดีย์ 3 ตาบล 2 5 3 ตาบล 14 40
สามชกุ 5 ตาบล 1 6 5 ตาบล 14 14
หนองหญ้าไซ 3 ตาบล 1 4 3 ตาบล 13 14
อ่ทู อง 8 ตาบล 1 9 8 ตาบล 28 13
เดิมบางนางบวช 7 ตาบล 1 8 7 ตาบล 66 26
ด่านช้าง 7 ตาบล 7 7 ตาบล 59 28
63 ตาบล ครบทกุ ตาบล 73 63 ตาบล 417 59
รวม 293
10

จากตารางท่ี 2 พบว่าตาบลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวซึ่งมีตาบลนาร่อง คือ ตาบลหัวโพธ์ิ
อาเภอสองพี่น้องดาเนินการปี 2553 และท่ีตาบลต้นคราม อาเภอบางปลาม้า ดาเนินการในปี 2554 ซึ่งใน
ปีงบประมาณ 2555 ตาบลต้นแบบด้านการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวดาเนินการครอบคลุมเต็มพ้ืนท่ี ท้ัง 10 อาเภอ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 94

รวมเป็น 12 ตาบล ในปี 2556 ตาบลต้นแบบฯ ดาเนินการเพ่ิมอีก 51 ตาบล คิดเป็นร้อยละ 57.27 และในปี
2557 ตาบลต้นแบบดาเนินการเพ่ิมอีกจานวน 10 ตาบล ตาบลต้นแบบซ่ึงดาเนินการตั้งแต่ปี2553 – 2557
จานวน 73 ตาบล ผ่านเกณฑต์ าบลตน้ แบบฯ 73 ตาบล คดิ เป็นรอ้ ยละ 100
และในปี 2557 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้มีการจัดประกวดตาบลต้นแบบด้านการดูแลผู้สูงอายุ
ระยะยาวดเี ด่น โดยมีผลการประกวด ดังตาราง

ลาดบั อาเภอ ตาบลทเ่ี ขา้ ประกวด ผลการประกวด
1 เดิมบางนางบวช ตาบลเดิมบาง ชนะเลศิ
2 บางปลามา้ ตาบลวดั ดาว รองชนะเลิศอันดบั หนึ่ง
3 ดอนเจดีย์ ตาบลไร่รถ รองชนะเลศิ อนั ดบั สอง
4 สองพนี่ ้อง ตาบลบ้านกมุ่ ชมเชย
5 เมืองสุพรรณบุรี ตาบลพิหารแดง
6 อู่ทอง ตาบลจรเขส้ ามพนั
7 สามชุก ตาบลวงั ลึก
8 หนองหญา้ ไซ ทัพหลวง
9 ดา่ นช้าง ตาบลวังคนั
10 ศรีประจนั ต์ ตาบลดอนปรู

จานวนชมรมผู้สูงอายุคุณภาพมีจานวน 293 ชมรมจาก จานวนชมรมผู้สูงอายุท้ังหมด 417 ชมรม ผ่าน
เกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 293 ชมรม คิดเป็นร้อยละ 70.26 โดยทุกชมรมมีการดาเนินกิจกรรมส่งเสริม
สุขภาพอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เช่น การออกกาลังกาย การให้ความรู้ ในการดูแลสุขภาพโดย เจ้าหน้าที่
สาธารณสุข การตรวจคัดกรองสุขภาพเบ้ืองต้น การออกกาลังกายที่เหมาะสมการส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก
การเย่ียมบ้านโดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วม ในการสนับสนุนงบประมาณในการจัดกิจกรรม
สง่ เสรมิ สุขภาพผ้สู งู อายุ

ตวั ชีว้ ัด 1) รอ้ ยละ 60 ของผู้สงู อำยุไดร้ ับกำรคัดกรองเบำหวำนและควำมดันโลหติ สูง Page 95
2) ร้อยละ 60 ของผู้สูงอำยไุ ด้รับกำรคัดกรองภำวะซมึ เศร้ำ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗

ตารางท่ี 3 รายงานประชากรอายุ 60ปีขึ้นไปได้รับคดั กรองเบาหวาน ความดนั โลหิตสูง และซึมเศร้าของจังหวัด
สพุ รรณบรุ ี

อาเภอ จานวนผ้สู ูงอายุท้งั หมด ผสู้ งู ร้อย ปกติ เบาหวาน (คน) จานวนประชากรอาย6ุ 0ปีขึ้นไปไดร้ ับคัดกรองโรค ซึมเศรา้ (คน)
อายทุ ่ี ละ เสยี่ ง ปว่ ย ความดนั โลหิตสงู (คน) ปกติ ป่วย ส่งตอ่
เมืองฯ เปา้ หมาย ได้รับ
เดมิ บางฯ DB Pop สารวจ การคัด สง่ ต่อ ปกติ เสี่ยง ป่วย ส่งตอ่
ด่านชา้ ง กรอง
บางปลาม้า
ศรีประจันต์ 28,478 27,138 16,241 59.85 11,525 1,844 2,872 37 8,916 2,379 4,946 50 15,966 275 8
ดอนเจดีย์
สองพี่น้อง 14,273 13,758 8,572 62.31 6,410 1,086 1,076 3 4,556 1,682 2,334 5 8,511 61 3
สามชุก
อู่ทอง 9,000 8,026 5,557 69.24 4,019 842 696 18 3,182 927 1,448 17 5,352 205 32
หนองหญ้าไซ
14,181 13,201 8,614 65.25 6,216 1,682 716 129 4,688 2,350 1,576 257 8,474 140 68
รวม
11,262 11,545 7,829 67.81 4,492 2,231 1,106 46 3,787 2,553 1,486 256 7,684 145 5

7,282 7,186 4,601 64.03 3,133 869 599 0 2,292 907 1,402 0 4,424 177 2

19,500 18,418 16,131 87.58 11,159 2,996 1,976 30 8,085 4,026 4,020 47 15,887 244 25

10,151 10,151 7,714 67.72 6,538 586 590 4 5,764 669 1,281 0 7,684 30 2

19,683 18,142 11,157 61.50 5,932 3,786 1,439 55 5,097 3,254 2,806 120 10,994 163 53

7,753 7,630 4,665 61.14 3,725 527 413 1 3,007 730 928 0 4,664 10

141,563 135,195 91,081 67.37 63,149 16,449 11,483 323 49,347 19,477 22,230 752 89,640 1,441 198

จากตารางที่ 3 พบว่า ผลการดาเนินงานคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และภาวะซึมเศร้า ใน
หน่วยงานของรัฐของจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินการอย่างต่อเน่ืองโดยดาเนินการในผู้ป่วยท่ีมารับบริการใน
โรงพยาบาลและเชิงรุกในพื้นที่จากผลการดาเนินงานการคัดกรองโรคเบาหวาน มีผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง
โรคเบาหวาน จานวน 91,081 คน คิดเป็นร้อยละ 67.37 ผลการคัดกรองปกติ ร้อยละ 69.33 มีภาวะเส่ียง
รอ้ ยละ 18.05 พบเป็นโรคเบาหวาน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.60 และมีการสง่ ตอ่ ผปู้ ่วย ร้อยละ 0.35

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 96

ผลการดาเนินงานการคัดกรองความดันโลหิตสูง จานวน 91,081 คน คิดเป็นร้อยละ 67.37 ผลการคัด
กรองปกติ ร้อยละ 54.17 มีภาวะเสี่ยง ร้อยละ 21.38 พบเป็นโรคความดันโลหิตสูง คิดเป็นร้อยละ
24.40 และมีการสง่ ต่อผปู้ ่วย ร้อยละ 0.82

ผลการดาเนินงานการคัดกรองภาวะซึมเศร้า จานวน 91,081 คน คิดเป็นร้อยละ 67.37 ผลการคัด
กรองพบว่าปกติ คิดเป็นร้อยละ 98.41 พบภาวะซึมเศร้า 1,441 คน คิดเป็นร้อยละ 1.58 และมีการ
สง่ ตอ่ ผู้ปว่ ย จานวน 198 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.21

ตัวช้วี ัด. 1) รอ้ ยละ 60 ของผสู้ ูงอำยุไดร้ บั กำรคัดกรองข้อเขำ่ เสื่อม

2) รอ้ ยละ 60 ของผสู้ ูงอำยไุ ด้รับกำรคัดกรองโรคตำต้อกระจก

ตารางที่ 4 รายงานประชากรอายุ 60ปขี นึ้ ไป ได้รบั คดั กรองขอ้ เขา่ เส่อื ม ตาต้อกระจก ของจังหวัดสุพรรณบรุ ี

จานวนผสู้ ูงอายทุ ้ังหมด ผสู้ งู ร้อย จานวนประชากรอาย6ุ 0ปีขึน้ ไปไดร้ บั คัดกรองโรค
เปา้ หมาย อายทุ ่ี ละ
ได้รบั
อาเภอ DB Pop สารวจ การคดั ขอ้ เข่าเสือ่ ม(คน) ตาต้อกระจก(คน)
เมืองฯ กรอง
ปกติ ขอ้ เข่า ส่งตอ่ ได้รบั การ ปกติ ผิดปก สง่ ตอ่ ไดร้ ับการ
14,004 ผ่าตัด
เส่ือม ผ่าตดั ติ
180
28,478 27,138 16,241 59.85 2,237 186 35 15,215 1,026 260

เดิมบางฯ 14,273 13,758 8,572 62.31 7,163 1,409 0 0 7,749 823 211 43

ดา่ นชา้ ง 9,000 8,026 5,557 69.24 4,258 1259 186 11 4,968 589 130 63

บางปลามา้ 14,181 13,201 8,614 65.25 6,728 1,886 74 20 7,763 851 218 218

ศรปี ระจนั ต์ 11,262 11,545 7,829 67.81 6,728 1,101 12 8 6,826 1,003 89 69

ดอนเจดีย์ 7,282 7,186 4,601 64.03 3,308 1,293 0 18 3,652 949 1 71

สองพ่นี อ้ ง 19,500 18,418 16,131 87.58 12,898 3,233 220 19 13,918 2,213 183 180

สามชุก 10,151 10,151 7,714 67.72 6,458 1,256 139 6 7,186 528 16 100

อู่ทอง 19,683 18,142 11,157 61.50 8,878 2,279 390 9 9,891 1,266 310 22

หนองหญ้า 7,753 7,630 4,665 61.14 4,372 293 66 2 4,108 557 32 32
ไซ

รวม 141,563 135,195 91,081 67.37 74,835 16,246 1,273 128 81,276 9,805 1,450 978

จากตารางที่ 4 พบว่า ผลการดาเนินงานการคัดกรองข้อเข่าเสื่อม จานวน 91,081 คน คิดเป็นร้อยละ
67.37 ผลการคัดกรองพบปกติ จานวน 74,835 คน คิดเป็นร้อยละ 82.16 มีภาวะข้อเข่าเสื่อม

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 97

16,246 คน คดิ เป็นร้อยละ 17.83 มีการส่งต่อผู้ปว่ ย จานวน 1,273 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.59และผ้ปู ่วยข้อ
เขา่ เส่ือมได้รับการผา่ ตดั จานวน 128 คน คิดเปน็ ร้อยละ 8.82

ผลการดาเนินงานคัดกรองตาต้อกระจก จานวน 91,081 คน คิดเป็นร้อยละ 67.37 ผลปกติร้อย
ละ 89.23 ผิดปกติ 9,805 คน คิดเป็นร้อยละ 10.76 มีการส่งต่อผู้ป่วย จานวน 1,450 คน คิด
เป็นร้อยละ 1.59และผปู้ ่วยตาต้อกระจกไดร้ ับการผา่ ตัด 978 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 67.44

ในการดาเนินงานคัดกรองข้อเข่าเส่ือมและตาต้อกระจก ของจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินการในผู้ป่วย
ที่มารับบริการในโรงพยาบาลและเชิงรุกในพ้ืนท่ีโดยได้มีการดาเนินงานแบบการบูรณาการ และมีการ
ประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสนับสนุนงบประมาณด้านการคัดกรองโดยในบางอาเภอได้มี
การจ้างบริษัทมาให้บริการคัดกรองโดยใช้รถเคล่ือนท่ีในการคัดกรองต้อกระจก และโรงพยาบาลท้ังภาครัฐและ
เอกชนให้บริการด้านการผ่าตัดตาต้อกระจกเพ่ือลดระยะการรอคอย โดยมีดาเนินงานโดยการแบ่งเขตการดูแล
รักษา และตามความสะดวกของผู้ป่วยในการเลือกรับบริการ โดยในจังหวัดสุพรรณบุรีมีโรงพยาบาลของ
รัฐบาลท่ีมีจักษุแพทย์สามารถให้บริการด้านการผ่าตัดตาต้อกระจกได้ 3 แห่ง และโรงพยาบาลเอกชน 1
แห่ง ในส่วนของการผ่าตัดข้อเข่าเสื่อมก็มีการดาเนินงานเช่นเดียวกันโดยมีการประสานงานกับโรงพยาบาลท้ัง
ภาครฐั และภาคเอกชนในการให้บริการผู้ปว่ ยข้อเข่าเสื่อม
ตวั ชีว้ ดั 1) รอ้ ยละ 60 ของผ้สู ูงอำยุไดร้ ับกำรคัดกรองวัณโรค

2) รอ้ ยละ 60 ของผู้สงู อำยุไดร้ ับกำรคัดกรองสุขภำพชอ่ งปำก

ตารางท่ี 5 รายงานประชากรอายุ 60ปีข้ึนไป ได้รับคัดกรอง วัณโรค และสุขภาพช่องปาก ของจังหวัด

สพุ รรณบรุ ี

จานวนผสู้ งู อายุท้ังหมด ผสู้ งู ร้อย จานวนประชากรอาย6ุ 0ปขี น้ึ ไปได้รับคดั กรองโรค
อายุที่ ละ

เป้าหมาย ไดร้ บั วณั โรค(คน) สุขภาพชอ่ งปาก(คน)

อาเภอ การคดั

DB Pop สารวจ กรอง ปกติ ผิดปกติ ส่ง ได้รบั การวินิจฉยั ไมม่ ี มีปญั หา สง่ ต่อ
ตอ่ เป็นวัณโรค ปัญหา

เมืองฯ 28,478 27,138 16,241 59.85 16,214 27 15 11 13,168 3,073 329

เดิมบางฯ 14,273 13,758 8,572 62.31 8,554 18 14 1 6,726 1,846 99

ดา่ นช้าง 9,000 8,026 5,557 69.24 5,503 54 5 5 4,147 1,410 4

บางปลาม้า 14,181 13,201 8,614 65.25 8,401 213 68 31 5,930 2,684 62

ศรปี ระจนั ต์ 11,262 11,545 7,829 67.81 7,792 37 11 3 5,293 2,536 378

ดอนเจดยี ์ 7,282 7,186 4,601 64.03 4,534 22 22 - 2,562 2,039 0

สองพีน่ ้อง 19,500 18,418 16,131 87.58 16,094 37 37 4 12,521 3,610 227

สามชกุ 10,151 10,151 7,714 67.72 7,713 0 0 0 989 291 0

อทู่ อง 19,683 18,142 11,157 61.50 11,139 18 15 11 8,378 2,779 739

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 98

หนองหญ้าไซ 7,753 7,630 4,665 61.14 4,658 7 7 0 3,248 1,417 42

รวม 141,563 135,195 91,081 67.37 90,602 479 195 67 68,363 22,718 2,084

จากตารางที่ 5 พบว่า ผลการดาเนินงานการคัดกรองวัณโรค จานวน 91,081 คน คิดเป็นร้อยละ 67.37
ผลการคัดกรองพบปกติ จานวน 90,602 คน คิดเป็นร้อยละ 99.47 พบผลผิดปกติ 479 คน คิด
เป็นรอ้ ยละ 0.52 มีการส่งต่อผู้ป่วย จานวน 195 คน คิดเป็นร้อยละ 40.70 และไดร้ ับการวินิจฉัยวา่ เป็นวัณ
โรคจานวน 67 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 34.35

ผลการดาเนินงานคัดกรองสุขภาพช่องปาก จานวน 91,081 คน คิดเป็นร้อยละ 67.37 คิดเป็นร้อย
ละ 66.75พบผู้สูงอายไุ ม่มปี ัญหาสุขภาพช่องปากจานวน 68,363 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 75.05 มีปัญหาสุขภาพ
ชอ่ งปาก 22,718 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 24.94 มกี ารสง่ ต่อผู้ปว่ ย จานวน 2,084 คน คิดเปน็ ร้อยละ 2.28

ผลการดาเนินงานคัดกรองวัณโรคและสุขภาพช่องปาก จังหวัดสุพรรณบุรี ได้มีการดาเนินการบูรณา
การกับงานควบคุมโรคติดต่อและงานทันตสาธารณสุขอย่างต่อเนื่องโดยได้ดาเนินการที่มารับบริการในสถาน
บริการและเชิงรุกในพ้ืนท่ีในการให้บริการด้านทันตสุขภาพน้ัน บุคลากรด้านทันตฯ ได้ให้การดูแลผู้มารับบริการ
แบบแบ่งเขต อาเภอที่มีการดาเนินงานด้านทันตสาธารณสุขได้อย่างครอบคลุมและมีประสิทธิภาพได้แก่อาเภอ
สามชุก และอาเภอศรีประจันต์
ตัวชวี้ ดั 1) รอ้ ยละ 20 ของวดั ท่ีเขำ้ รว่ มโครงกำรวดั ส่งเสริมสุขภำพ

ตารางท่ี 6 รายงานผลการดาเนนิ งานวดั ส่งเสรมิ สขุ ภาพจงั หวัดสุพรรณบรุ ี

ลาดับ หนว่ ยงาน วัดทั้งหมด วัดส่งเสริมปี วดั ที่ รวมวัด ผ่านขั้น ผา่ นขั้นดีเด่น

2549-2555 ดาเนนิ การใน ส่งเสริม พ้นื ฐาน

ปี 2556 สุขภาพ

1 สสอ.เมืองฯ 86 6 12 18 5 1

2 สสอ.ศรีประจันต์ 32 10 - 10 9 1

3 สสอ.ดอนเจดยี ์ 27 3 3 62 1

4 สสอ.บางปลาม้า 66 1 18 19 1 -

5 สสอ.สามชุก 31 - 18 18 - -

6 สสอ.หนองหญา้ ไซ 26 1 5 61 -

7 สสอ.อู่ทอง 69 - 14 14 - -

8 สสอ.สองพีน่ ้อง 57 2 10 12 1 1

9 สสอ.เดิมบางฯ 56 2 17 19 2 -

10 สสอ.ดา่ นชา้ ง 64 3 14 17 2 1

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 99

11 รพ.เจ้าพระยาฯ 10 3 - 32 1
12 รพ.สมเดจ็ ฯ 3 - 1 1- -
13 รพ.อ่ทู อง 6 2 - 21 1
14 รพ.บางปลาม้า 8 1 1 21
15 รพ.ดอนเจดยี ์ 5 1 - 1- 1
16 รพ.ศรีประจันต์ 6 1 12 1
17 รพ.สามชุก 5 2 - 22 -
18 รพ.เดมิ บางฯ 5 1 - 11 -
19 รพ.ด่านช้าง 6 1 1 2- -
20 รพ.หนองหญ้าไซ 9 1 1 21 -
578 41 116 157 148 9
รวม

จากตารางที่ 6 การดาเนินงานวัดส่งเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี มีการดาเนินการมา
อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2549 จนถึงปัจจุบัน วัดท้ังหมดในจังหวัดสุพรรณบุรีมีจานวนทั้งส้ิน 578 วัด เข้าร่วม
โครงการวัดส่งเสริมสุขภาพ จานวน 157 วัด คิดเป็นร้อยละ 27.16 จากการประเมนิ วัดส่งเสริมสุขภาพ ผลการ

ประเมินฯวดั ผา่ นเกณฑข์ ้ันดีเด่นจานวน 9 วดั ผา่ นเกณฑข์ ้นั พนื้ ฐาน จานวน 148 วดั

และในปี 2557 ได้มีการผลักดันวัดส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ขั้นพื้นฐานในทุกอาเภอ ให้มีการพัฒนา
เป็นวัดส่งเสริมสุขภาพขั้นดีเด่น 10 อาเภอ/10 วัด ซ่ึงอยู่ระหว่างดาเนินการ ซึ่งมีผลการประเมินวัดส่งเสริม

สขุ ภาพ โดยแบ่งระดับการประเมินเปน็ ขัน้ พ้นื ฐาน , ก้าวหนา้ และยง่ั ยนื ดงั ตาราง

ลาดับ อาเภอ ช่อื วดั สง่ เสรมิ สุขภาพ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ ผลการประเมนิ

รพสต./รพ ขนั้ พนื้ ฐาน ขนั้ ก้าวหน้า ข้นั ยั่งยนื

๑ เมอื งสุพรรณบรุ ี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร รพ.เจา้ พระยายมราช /

๒ ดอนเจดีย์ วดั เขาพระ รพสต.สระกระโจม /

๓ บางปลาม้า วดั ดาว รพสต.วดั ดาว /

๔ ดา่ นช้าง วัดทบั ผง้ึ นอ้ ย รพสตบ้านวังคนั /

๕ อูท่ อง วดั เขาถ้าเสอื รพสต.จรเขส้ ามพนั /

๖ หนองหญ้าไซ วัดหนองกระถนิ รพสต.ทพั หลวง /

๗ เดิมบางนางบวช วัดเดิมบาง รพสต.เดิมบาง /

๘ สองพีน่ ้อง วัดอมั พวัน รพ.สมเด็จพระสงั ฆราช /

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 100

๙ สามชกุ วัดทุง่ แฝก รพสต.บ้านดอนสัญชัย /
๑๐ ศรปี ระจันต์
ตาบลวังลกึ

ไม่ส่งรับการประเมนิ ฯ -

ตวั ชวี้ ัด 1) ร้อยละของโรงพยำบำล 120เตียงข้นึ ไป มีคลนิ ิกผูส้ ูงอำยุคุณภำพไมน่ อ้ ยกว่ำรอ้ ยละ 70

ตารางท่ี 7 การดาเนินงานคลนิ กิ ผู้สงู อายคุ ุณภาพในโรงพยาบาลที่มีขนาด 120 เตียงข้นึ ไป

ลาดับ โรงพยาบาลขนาด 120 เตยี งขึ้นไป ผลการประเมนิ คลินิก

ผู้สูงอายคุ ุณภาพ

1 รพ.เจ้าพระยายมราช ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดับดีมาก

2 รพ.สมเด็จพระสังฆราชองคท์ ี่ 17 ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดับดี

3 รพ.เดิมบางนางบวช ผ่านเกณฑ์การประเมิน

4 รพ.อู่ทอง ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ

จากตารางท่ี 7 การดาเนินงานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพจังหวัดสุพรรณบุรี มีโรงพยาบาลขนาด 120 เตียง
จานวน 4 แห่ง เข้าร่วมโครงการครบท้ัง 4 แห่ง ทั้งนี้โรงพยาบาลทั้ง 4 แห่ง ได้ดาเนินการตามนโยบาย ซ่ึงจาก
การประเมินคลินกิ ผสู้ งู อายคุ ุณภาพผ่านเกณฑ์การประเมนิ 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

รำงวลั /ประกำศเกยี รติคุณท่เี คยได้รับ/ควำมภำคภูมใิ จในกำรดำเนนิ งำน
1. ชมรมผู้สงู อายดุ ีเด่นได้รับโล่จากกรมอนามยั จานวน 7 ชมรม ต้ังแต่ปี 2548 – ปัจจบุ นั
2. ชมรมผู้สงู อายุอาเภอเดิมบางนางบวช ได้รบั รางวัลชนะเลศิ ระดับประเทศ(ของภาคกลาง)ในการ
ประกวดชมรมผสู้ ูงอายดุ ีเดน่ ท่บี าเพญ็ ประโยชน์ต่อส่วนรวม จดั โดยกระทรวงพัฒนาสงั คมและความ
มั่นคงของมนุษย์ ซึง่ ฯพณฯท่าน นายกรฐั มนตรี นางสาวย่งิ ลกั ษณ์ ชินวตั ร เปน็ ผูม้ อบโลเ่ ชิดชูเกยี รติ
ใน ปี 2555
3. ตาบลต้นแบบด้านการดูแลผ้สู งู อายุระยะยาวตาบลหัวโพธ์ิ ได้รบั รางวัลผลการดาเนินงานตาบล

ตน้ แบบด้านการดูแลผสู้ ูงอายุระยะยาวดเี ด่น จากกรมอนามัย ในปี 2555 ตาบลตน้ คราม อาเภอ

บางปลาม้า ปี 2556

4. โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช ได้รับคดั เลอื กเปน็ โรงพยาบาลต้นแบบและเป็นสถานทศี่ ึกษาดงู าน

ตามโครงการพัฒนาระบบการดูแลรกั ษาผู้สงู อายใุ นโรงพยาบาลและเครือขา่ ยคลินิกผูส้ ูงอายุ โดย

สถาบนั เวชศาสตร์สมเดจ็ พระสังฆราชญาณสงั วรเพื่อผสู้ ูงอายุ กรมการแพทย์ คณะศึกษาดงู าน

ได้แกเ่ จ้าหน้าที่โรงพยาบาลและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล จากทุกจังหวัดของประเทศไทย

เม่อื วนั ที่ 27 มิถนุ ายน 2555

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 101

5. ชมรมผ้สู ูงอายใุ นระดับตาบล , อาเภอ และระดบั จังหวัด ของจงั หวดั สุพรรณบรุ ี มผี ลงานเชิงประจกั ษ์

ซึง่ ไดใ้ ห้การต้อนรับผู้มาศึกษาดงู าน โดยมกี ารศึกษาดูงานภายในอาเภอและจังหวัดเดยี วกนั

ตลอดจนคณะศึกษาดูงานจากต่างจังหวัดอยา่ งต่อเน่ือง

6. ผสู้ ูงอายใุ นชมรมผู้สูงอายุของจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นผูม้ ีความรู้ ความสามารถ และผลงานเชิงประจกั ษ์

สง่ ผลใหไ้ ด้รบั รางวัลจากกระทรวงสาธารณสุขและหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้องอย่างต่อเน่อื ง

7. ประธานสาขาสภาผู้สูงอายแุ ห่งประเทศไทยประจาจังหวัดสุพรรณบรุ ี นายบรรจง มาแสง ได้รบั
รางวัลอาสาสมัครดีเดน่ ประจาปี 2554 จากกระทรวงพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์

8. โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราชไดร้ บั รางวัลเชิดชเู กียรติคลินิกผสู้ งู อายุคุณภาพ ระดบั ดีมาก และ
โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสงั ฆราชองค์ที่ 17 ผา่ นการประเมินฯ ในระดบั ดี จากกรมการแพทย์ ใน
ปีงบประมาณ 2556

9. อาเภอสองพี่น้อง ได้รับคัดเลอื กในการดาเนนิ งานตามโครงการอาเภอสขุ ภาพดี 80 ปยี ังแจว๋ ดเี ด่น
ระดับเขต ได้รับโล่จากกรมอนามยั ในปี 2556 และอาเภอดอนเจดยี ไ์ ดร้ บั การคัดเลือกอาเภอสุขภาพดี
80 ปยี ังแจว๋ ดเี ด่นระดบั เขต ไดร้ บั โลจ่ ากศนู ย์อนามัยท่ี 4 ในปี 2557

10. โรงพยาบาลบางปลาม้า และรพสต.หวั โพธ์ิ ได้รับรางวัลและได้รบั การคดั เลือกจากเขตในการนาเสนอนว
ตกรรมเกี่ยวกบั การสง่ เสริมสขุ ภาพผูส้ งู อายุ ในการประชมุ วชิ าการสง่ เสริมสขุ ภาพและสง่ิ แวดล้อมในปี
2556 และปี 2557

11. สานักฝกึ อบรมปฐมพยาบาล สภากาชาดไทย คัดเลือกจังหวัดสพุ รรณบุรี เปน็ จงั หวัดนาร่องตน้ แบบ
จงั หวัดแรก ในการดาเนนิ งานโครงการผู้สูงอายุ 2 หลกั สตู รได้แก่หลักสูตรการดแู ลตนเองของผสู้ ูงอายุ
และหลักสูตรการดูแลผู้สงู อายุโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชมุ ชน โดยมีการดาเนินงานระหวา่ ง
ปี 2554 – 2556

12. ผรู้ ับผิดชอบงานระดับจังหวดั ได้รบั เชญิ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและภาคเี ครอื ข่าย เป็น
วทิ ยากรในการให้ความรู้และร่วมกิจกรรมทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการดาเนนิ งานส่งเสรมิ สุขภาพผูส้ งู อายุและ
ชมรมผสู้ ูงอายุมาอยา่ งต่อเน่ือง

13. สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี ได้รบั คัดเลอื กจากกรมอนามยั มอบโลเ่ ชิดชเู กยี รตใิ นการ

ดาเนนิ งานส่งเสริมสขุ ภาพผสู้ ูงอายุ 2 ปตี ่อเนอื่ ง คือในปี 2555 และ ปี2556 ดังนี้

- ปี 2555 โล่เชิดชเู กียรตอิ งค์กรภาครฐั ต้นแบบด้านการสง่ เสริมสุขภาพผู้สงู อายุ ระดับเขต

- ปี 2556 โลเ่ ชิดชูเกยี รติจังหวดั ตน้ แบบดา้ นการสง่ เสริมสุขภาพผูส้ ูงอายุ ระดับเขต

ปัญหำอุปสรรคในกำรดำเนนิ งำน
1. การคัดกรองและดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพยังไม่ครอบคลุม เนื่องจากข้อคาถามในแบบคัดกรองมี

จานวนมาก และเจ้าหน้าทมี่ ภี าระงานมาก ประกอบกบั ปี 2557 เรม่ิ คดั กรองล่าช้า
2. บทบาทหนา้ ที่การคดั กรอง/ดูแลและ สง่ ต่อผสู้ ูงอายุยงั ไมช่ ดั เจน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 102

3. การรวบรวมรายงานยังเป็นแบบ Manual ซึ่งส่งผลให้การรวบรวมรายงานเป็นไปอย่างล่าช้า และอาจ
เกิดข้อผิดพลาดได้ และในระดับเขต กรม กอง ยังไม่มีการดาเนินการในเร่ืองการรวบรายงานโดยใช้ระบบ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ

4. การมีสว่ นรว่ มของท้องถ่นิ และภาคเี ครอื ข่ายยังขาดการบูรณาการและขาดความต่อเน่ือง
5. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานระดับจังหวัด เป็น Focal point ในการดาเนินงานผู้สูงอายุระดับเขต ซึ่งใน
การวางแผน ควบคุม กากับ ควรเปน็ หน้าทข่ี องศูนย์อนามัย เน่ืองจากศักยภาพในแต่ละจังหวัดมีความใกล้เคียง
กัน และส่งผลให้ผู้รับผิดชอบงานของจังหวัดสุพรรณบุรีไม่สามารถดาเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในพ้ืนท่ี
จังหวดั สพุ รรณบุรีได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
6. นโยบาย และตัวชี้วัด ในแต่ละกรม กอง ยังขาดการบูรณาการ , ไม่มีความชัดเจน และล่าช้า ส่งผลให้
การดาเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในระดับล่างเป็นไปอย่างค่อนข้างยากลาบากและไม่มีแนวทางท่ีชัดเจน

ชื่อผรู้ บั ผดิ ชอบงำน นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ งานสง่ เสริมสขุ ภาพฯ
1.นางดวงขวญั อนิ ทรพ์ ุก

กำรเฝำ้ ระวังและดแู ลสตรไี ทยใหป้ ลอดภยั จำกโรคมะเร็งปำกมดลูก และโรคมะเร็งเต้ำนม
จังหวัดสพุ รรณบุรี ปี 2557

การเฝ้าระวงั และดูแลสตรีไทยให้ปลอดภัยจากโรคมะเร็งปากมดลกู

ประชากรวัยทางานในประเทศไทย ซึ่งอยู่ในช่วงอายรุ ะหว่าง 15-59 ปี จดั เปน็ ประชากรกล่มุ
ใหญ่ของประเทศ คือประมาณ 2 ใน 3 ของประชากรท้ังหมด (ล้านคน) หรือประมาณ 43 ล้านคน จาก
ประชากรทงั้ หมดท่วั ประเทศ 64 ลา้ นคน (ขอ้ มลู จาก: สถาบนั วิจยั ประชากรและสังคม 2555 ) ในช่วงอายขุ องวัยทางาน
โดยเฉพาะสตรีประกอบดว้ ยช่วงวัยเจรญิ พนั ธุ์ และช่วงวยั ทองในแต่ละช่วงวยั จะมีการเปล่ยี นแปลงของสภาพ
ร่างกาย และวิถีการดาเนนิ ชวี ติ ทแ่ี ตกตา่ งกันในแตล่ ะชว่ งวัยเจริญพันธุ์ จากการเปลี่ยนแปลงตามวัยและ
สภาพแวดล้อมสตรีไทยจงึ จาเป็นต้องได้รบั การป้องกันและการสรา้ งเสริมสุขภาพ ใหส้ ามารถลดพฤติกรรมเสยี่ ง
และลดภาวะเสี่ยงต่างๆ โดยเฉพาะมะเร็งเต้านมและมะเรง็ ปากมดลกู ซึ่งมีอัตราการเกิดโรคสงู เปน็ อันดบั หนง่ึ
และสอง และพบได้มากในสตรีชว่ งวยั ดังกลา่ ว การบรกิ ารทคี่ รอบคลมุ สขุ ภาพและเน้นการคัดกรองโรคที่เกดิ
กบั สตรีจงึ มคี วามสาคญั และคาดหวังว่าจะทาให้สตรมี ีการดารงชีวติ ในช่วงวัยนีอ้ ยา่ งเปน็ สขุ จากสถานการณ์
ดงั กล่าว จงั หวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินการมาอยา่ งตอ่ เน่ืองและพฒั นากระบวนการดาเนินงานตามสภาพปัญหา
ในพ้นื ท่ีและสอดคลอ้ งกับนโยบาย

ปี 2557 เป็นปีสุดท้ายของโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลกู 76 จงั หวัดครบ 5 ปี ทีเ่ ร่ิม

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 103

ตงั้ แต่ปี 2553-2557 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ตงั้ เปา้ หมายจะต้องได้ผลงานตามตัวช้วี ดั ท่ี
กาหนด ดังนัน้ จึงไดจ้ ดั ทาแผนเรง่ รัดสตรอี ายุ 30-60 ปีรายใหม่ท่เี หลือใหเ้ ข้ารบั การตรวจ Pap smear ไมน่ ้อย
กวา่ รอ้ ยละ 80 กาหนดมาตรการสารวจกล่มุ เป้าหมายทุกพืน้ ท่ี ค้นหา/จงู ใจให้รบั การตรวจ Pap smear ทุก
รายกาหนดแนวทางการเก็บความครอบคลมุ และตดิ ตามการบนั ทกึ ผลงานลงโปรแกรมฯอยา่ งต่อเนื่อง ผทู้ มี่ ี
ผลผิดปกติและเป็นมะเร็ง ต้องไดร้ ับการดแู ลรกั ษาทุกรายและการรกั ษาต้องมีประสทิ ธผิ ลสงู หวั ใจสาคญั คือ
การพัฒนากระบวนการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดประสทิ ธภิ าพสงู สุด มุ่งเนน้ องค์ความร้แู ละทักษะผู้
ให้บริการ ระบบบริการมีคุณภาพได้มาตรฐาน และความรว่ มมือของภาคีเครือข่ายชุมชนในการเผยแพร่และ
กระตุ้นเตือนสตรใี ห้ตระหนักในการดูแลตนเองอย่างต่อเนื่องจะส่งผลให้เกิดเป็นวถิ ชี วี ติ ในการเฝ้าระวังและดูแล
สขุ ภาพตนเองใหป้ ลอดภยั จากโรคมะเร็งปากมดลกู ได้อยา่ งยง่ั ยืน

การเฝา้ ระวงั และดูแลสตรีไทยใหป้ ลอดภัยจากโรคมะเร็งเต้านม
มะเรง็ เต้านมเปน็ สาเหตุการป่วย และตายอนั ดบั 1 ของสตรไี ทย อตั ราการป่วยและตายมี

แนวโน้มสงู ขน้ึ ทกุ ปี จากข้อมูลของสานกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข ต้ังแตป่ ี 2550 ถงึ ปี
2554 พบวา่ อัตราตาย(ต่อแสนประชากร) 6.8 , 7.3 , 7.3 7.7 และ 8.4 ตามลาดบั สาหรบั อตั ราป่วย 37.9 ,
40.6,38.4 55.9 และ 40.84 ตามลาดับ สาเหตุของโรคนี้ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่สตรีทุกคนมีความเสีย่ ง
โดยเฉพาะสตรีท่มี ีอายุมากกว่า 30 ปีข้นึ ไป มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งทีส่ ามารถตรวจค้นหาความผิดปกติไดด้ ้วย
ตนเอง เพราะการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องเป็นประจาน้ัน จะทาให้ทราบถึงสภาพทป่ี กติของเต้านม
หากเกิดความผดิ ปกติของเต้านมจะสามารถพบได้ต้ังแต่เนนิ่ ๆคอื สามารถคลาพบก้อนได้ขนาดทเ่ี ลก็ กวา่ 2 ซม.
ซึง่ หากได้รับการวินจิ ฉยั และรักษาอยา่ งรวดเร็ว จะลดความรุนแรงของการเปน็ มะเรง็ เต้านมได้

ในปี 2557 จังหวัดสุพรรณบุรี ไดต้ ระหนักถึงการพัฒนากระบวนการดาเนนิ งานให้มี
ประสิทธภิ าพยง่ิ ข้ึน เพอ่ื ส่งเสริมการดูแลและเฝ้าระวงั อุบัติการณเ์ กดิ โรคมะเรง็ เตา้ นมใหล้ ดลง การดาเนิน
โครงการการดูแลและเฝา้ ระวังสตรีไทยจากมะเร็งเตา้ นม มงุ่ เน้น ใหส้ ตรที ุกคนมีการดูแลและเฝ้าระวงั ตนเอง
การพฒั นาคณุ ภาพผู้ให้บรกิ าร ระบบบริการของหน่วยบริการสาธารณสุข ให้มีระบบบริการทไี่ ด้มาตรฐานและ
มคี ุณภาพ พัฒนาระบบสารสนเทศและพัฒนาศักยภาพภาคเี ครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสขุ หรอื แกนนาสตรี
ในชุมชนให้มคี วามรู้ และทักษะในการดูแลและเฝา้ ระวังมะเรง็ เต้านม เพื่อชว่ ยเผยแพร่และกระตนุ้ เตือนสตรใี น
ชมุ ชนใหเ้ กดิ ความตระหนักในการดูแลตนเอง ซงึ่ จะสง่ ผลให้สตรีจังหวดั สพุ รรณบุรีมีสุขภาพดีและดาเนนิ วถิ ี
ชวี ิตให้มีความสขุ ตลอดไป
เปำ้ ประสงค์ : ( goal)

เพือ่ ใหป้ ระชาชนกลมุ่ เป้าหมายมีความร้ทู ่ีถูกต้อง ตระหนัก และใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเองให้
ปลอดภยั จากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ตวั ช้วี ดั :

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 104

1. สตรีกลมุ่ อายุ30-60ป(ี รายใหม่) เขา้ รับการตรวจคดั กรองPap smearไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80
(ผลงานสะสมรายใหม่จากปี 2553-2557)
2. สตรกี ลมุ่ อายุ30-70ปี มกี ารตรวจเตา้ นมด้วยตนเองท่ีถูกต้องเปน็ ประจาทกุ เดือน ไมน่ ้อย
กวา่ ร้อยละ 80
3. สัดส่วนของผู้ปว่ ยมะเร็งเตา้ นมและมะเรง็ ปากมดลูกระยะท่ี 1 และ 2 เขา้ รับการรักษา
ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 70
กจิ กรรมทส่ี นับสนนุ กำรดำเนนิ งำน :

มำตรกำรที่ 1: เรง่ รดั การใหบ้ รกิ ารตรวจคดั กรอง Pap smear ในกลุ่มเปา้ หมายที่เหลือปี 2557
มาตรการที่ 2 : กาหนดแนวทางการติดตามกล่มุ ทีผ่ ลผดิ ปกติและเปน็ มะเรง็ ให้เขา้ รบั การดูแลรกั ษาทุกราย

และมีประสิทธภิ าพ
มาตรการท่ี 3 : ควบคุมคุณภาพการตรวจเตา้ นมดว้ ยตนเองที่ถูกตอ้ งเป็นประจาทุกเดอื นในกลมุ่ เปา้ หมาย

ผลกำรดำเนินงำน

ตำรำงท่ี 1 : แสดงขอ้ มลู ประชากรเปา้ หมายปี 2557

อำเภอ มะเรง็ ปำกมดลกู มะเรง็ เต้ำนม

ทะเบยี น สำรวจจริง ทะเบยี น

เมอื ง 53143 38268 59682

เดมิ บางนางบวช 17264 15396 21095

ดา่ นชา้ ง 15050 15257 17182

บางปลามา้ 17130 14513 20572

ศรีประจนั ต์ 14292 18009 17305

ดอนเจดีย์ 10698 10917 12676

สองพนี่ อ้ ง 32644 29084 37116

สามชกุ 13101 12540 15802

อูท่ อง 30173 28770 35024

หนองหญ้าไซ 11396 11992 13388

จังหวดั 214891 194746 249842

จากตาราง พบวา่ สัดสว่ นประชากรตามทะเบียนมากกวา่ สารวจจริงทีอ่ ยใู่ นพื้นที่ จานวน 20145 ราย

ตำรำงท่ี 2 : แสดงผลการตรวจคดั กรองมะเร็งปากมดลูกดว้ ยวธิ ี Pap smear จาแนกรายอาเภอ

: ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 รายใหม่สะสมปี 2553-2557 ภาพรวมจงั หวดั

อาเภอ เปา้ หมาย ผลงาน ร้อยละ เปรียบเทียบ

ทะเบียน(ราย) สารวจจรงิ (ราย) (ราย) ทะเบยี น สารวจ

เมอื ง 53143 38268 25099 47.23 65.59

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 105

เดิมบางนางบวช 17264 15396 12762 73.92 82.89

ดา่ นช้าง 15050 15257 11132 73.97 72.96

บางปลามา้ 17130 14513 13433 78.42 92.56

ศรปี ระจันต์ 14292 18009 10571 73.96 58.70

ดอนเจดีย์ 10698 10917 8966 83.81 82.13

สองพน่ี ้อง 32644 29084 24463 74.94 84.11

สามชกุ 13101 12540 10272 78.41 81.91

อูท่ อง 30173 28770 30775 100 100

หนองหญ้าไซ 11396 11992 10371 91.01 86.48

จังหวัด 214891 194746 157844 73.45 81.05

แหลง่ ขอ้ มูล : บนั ทึกลงโปรแกรมฯสถาบันมะเรง็ แห่งชาติ

จากตารางจะเห็นว่า การตรวจคดั กรอง Pap smear ในภาพรวมจงั หวดั ผลงาน

157844 ราย เปรยี บเทยี บทะเบียนเป้าหมาย คดิ เปน็ ร้อยละ 73.45 ซ่ึงผลงานยังไม่บรรลตุ ามตัวช้ีวดั แต่

หากเปรยี บเทยี บกบั ประชากรจากการสารวจจริง ได้ผลงาน ร้อยละ 81.05

อาเภอ ( CUP) ท่ีมีผลงานคดั กรองสูงสุด 3 อาเภอแรกไดแ้ ก่ อาเภออูท่ อง ผลงานร้อยละ

100 อาเภอหนองหญ้าไซ ผลงานร้อยละ 91.01 และอาเภอดอนเจดีย์ ผลงานร้อยละ 83.81 ตามลาดบั

ตำรำงที่ 3 : แสดงผลอ่านสไลด์ Pap smear จาแนกรายอาเภอ สะสมปี 2553-2557 ภาพรวมจังหวดั

อำเภอ ผลงำน ผลอ่ำนสไลด์

(รำย) Low Grade High Grade CA รวมผิดปกติ

รำย รอ้ ยละ รำย รอ้ ยละ รำย รอ้ ยละ รำย รอ้ ยละ

เมือง 25099 340 1.35 219 0.87 31 0.12 590 2.35

เดิมบางนางบวช 12762 28 0.22 25 0.20 6 0.05 59 0.46

ดา่ นช้าง 11132 48 0.43 51 0.46 19 0.17 118 10.6

บางปลามา้ 13433 52 0.39 33 0.25 6 0.04 91 0.68

ศรปี ระจันต์ 10571 14 0.13 25 0.24 7 0.07 46 0.44

ดอนเจดีย์ 8966 24 0.27 35 0.39 4 0.04 63 0.70

สองพี่น้อง 24463 136 0.56 57 0.23 7 0.03 200 0.82

สามชุก 10272 24 0.23 17 0.17 4 0.04 45 0.44

อูท่ อง 30775 93 0.30 88 0.29 16 0.05 197 0.64

หนองหญ้าไซ 10371 30 0.29 35 0.34 7 0.07 72 0.69

จังหวดั 157844 789 0.50 585 0.37 107 0.07 1481 0.94

แหลง่ ข้อมูล : จากสถาบันมะเรง็ แหง่ ชาติ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 106

จากตารางผลการอ่านสไลด์พบเซลลผ์ ิดปกตภิ าพรวมจานวน 1481 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ
0.94 อาเภอทีผ่ ลผิดปกตสิ งู สุด 3 อนั ดบั ได้แก่ อาเภอดา่ นช้าง จานวน 118 ราย ร้อยละ 10.6 อาเภอเมือง
จานวน 590 ร้อยละ 2.35 และอาเภอสองพนี่ ้อง จานวน 200 รอ้ ยละ 0.82

ผทู้ ผี่ ลผดิ ปกตแิ ละเปน็ มะเรง็ ไดร้ บั การสง่ ต่อให้เขา้ รับตรวจวนิ จิ ฉัยยนื และและรักษาตาม
ระบบทกุ ราย
สรุป : จากผลการดาเนินงานคัดกรองมะเรง็ ปากมดลูกที่เป็นระบบและมปี ระสิทธิภาพอย่างตอ่ เน่ืองในรอบ 10
ปี ทง้ั แตป่ ี 2548 -2557 ทาใหแ้ นวโนม้ การเกิดมะเร็งปากมดลูกลดลง และพบความผิดปกติระยะเร่มิ แรกเพิม่
มากขึ้น สง่ ผลใหป้ ระชาชนเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพตนเองเพ่ิมขนึ้ เป็นกิจกรรมหนงึ่ ในวถิ ีชีวติ ที่
ตอ้ งได้รบั การตรวจ Pap smear ทกุ ๆ 3 – 5 ปี

ตารางท่ี 4 : ตารางแสดงผลการตรวจคัดกรองมะเรง็ เตา้ นมโดยการตรวจเตา้ นมดว้ ยตนเองอยา่ งถูกต้อง

ผลงำนตรวจคดั กรองมะเรง็ เต้ำนม

อำเภอ เปำ้ หมำย ตรวจเต้ำนมด้วยตนเองทุก มที ักษะถูกต้อง

เดอื น

รำย ร้อยละ รำย ร้อยละ

เมือง 59682 52222 87.50 28946 48.50

เดิมบางนางบวช 21095 19513 92.50 4746 22.50

ด่านช้าง 17182 15722 91.50 7216 42.00

บางปลาม้า 20572 15429 75.00 5863 28.50

ศรีประจันต์ 17305 15055 87.00 6732 38.90

ดอนเจดยี ์ 12676 11915 94.00 4969 39.20

สองพนี่ ้อง 37116 34332 92.50 15403 41.50

สามชุก 15802 15012 95.00 11298 71.50

อทู่ อง 35024 32222 92.00 16111 46.00

หนองหญา้ ไซ 13388 10242 76.50 4150 31.00

จงั หวดั 249842 221664 88.72 105435 42.20

แหล่งข้อมลู : จากแบบสารวจพฤตกิ รรมการตรวจเต้านมดว้ ยตนเองของกรมอนามยั (กล่มุ ตัวอย่างอาเภอละ

200 ราย รวม 2000 ตวั อยา่ ง

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 107

ผลการดาเนนิ งานจากระบบรายงานปกติ กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจเตา้ นมดว้ ย
ตนเองอย่างถูกต้อง ไดผ้ ลงานตามตัวชีว้ ดั ทุกปี ซ่ึงเปน็ ผลงานเชงิ ปรมิ าณ

จากผลการสุม่ ประเมนิ พบว่า สตรีกลุ่มเป้าหมายมพี ฤติกรรมตรวจเตา้ นมด้วยตนเองเป็น
ประจารอ้ ยละ 88.72 แตเ่ มือ่ ประเมนิ ทักษะความถกู ต้องของการตรวจเตา้ นมดว้ ยตนเองพบว่า มีทักษะที่
ถกู ต้องร้อยละ 42.2 ซงึ่ มีผลต่อการดาเนินงานเฝา้ ระวงั ป้องกนั มะเร็งเตา้ นมทย่ี ังไมม่ ปี ระสิทธภิ าพ

ดงั น้ัน การให้ความร้อู ย่างต่อเนอ่ื งและสอนทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองให้ถกู ต้อง
อาจจะช่วยใหก้ ารคดั กรองมะเรง็ เตา้ นมเบื้องต้นมีประสทิ ธิภาพเพมิ่ ข้ึน ซ่ึงจะไดน้ าผลการวิเคราะหไ์ ปวางแผน
แกไ้ ขปัญหาในปี 2558 ต่อไป

กำรควบคุมและปอ้ งกนั วัณโรค จงั หวดั สพุ รรณบุรี ปีงบประมำณ 2557

๑. วิเครำะหส์ ถำนกำรณ์สภำพปัญหำของพนื้ ท่ี
วัณโรคเป็นโรคติดต่อท่ีเป็นปัญหาสาคัญของจังหวัดสุพรรณบุรี จากปัญหาการแพร่ระบาดซึ่งมี

แนวโน้มเพ่ิมสงู ข้นึ ในแตล่ ะปี ในขณะทผี่ ลการดาเนินงานความสาเร็จในการรักษาค่อนข้างต่า ผู้ป่วยบางส่วนใน
ชุมชนยังไม่ได้รับการวินิจฉัย มารับการรักษาล่าช้า มาโรงพยาบาลเม่ืออาการเป็นมากแล้ว บางรายมารักษา
ด้วยโรคอื่นๆ ทาให้เสียชีวิตก่อนการรักษาครบ บางรายรักษาไม่ต่อเน่ืองขาดการรักษา ทาให้เกิดการดื้อยา
และแพรก่ ระจายเชื้อวณั โรคในชมุ ชน

สาหรับการประเมินผลงานควบคุมวัณโรค ปีงบประมาณ ๒๕๕๔(ประเมินผลงานจาก ผู้ป่วย ๑ ปี
ย้อนหลงั ในช่วงปี ๒๕๕๓) จังหวดั สุพรรณบรุ ีมีผู้ป่วยวณั โรครวมทั้งส้นิ ๗๐๓ ราย คิดเปน็ อตั ราปว่ ย ๘๓.๐๙ต่อ
ประชากรแสนคน จาแนกเป็นผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่เสมหะบวก ๓๘๒ ราย วัณโรคปอดเสมหะลบ
๑๘๔ราย วัณโรคนอกปอด ๑๑๓ราย และวณั โรคกลับเปน็ ซ้าเสมหะบวก ๒๔ ราย

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 108

รอบปีงบประมาณ ๒๕๕๕ (ประเมินผลงานจากผู้ป่วย ๑ ปีย้อนหลังในช่วงปี ๒๕๕๔) พบว่าจาก
ข้อมูลภาพรวมจังหวัดสุพรรณบุรีมีผู้ป่วยวัณโรคทั้งหมด ๖๙๗ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๘๒.๓๘ต่อประชากร
แสนคน เปน็ ผปู้ ่วยวณั โรคปอดรายใหมเ่ สมหะพบเชอ้ื ๓๙๖ ราย ผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะลบ ๑๘๔ ราย ผู้ปว่ ย
วัณโรคนอกปอด ๑๑๓ ราย และผู้ปว่ ยกลับเปน็ ซ้า ๔ รายและการรักษาล้มเหลว ๕ ราย นอกจากนีย้ ังพบวา่ มี
ผู้ป่วยวัณโรคเชื้อด้ือยาหลายขนาน รวมทั้งสิ้น ๖ ราย(รพ.เจ้าพระยายมราชมีจานวน ๔ ราย และ รพ.สมเด็จ
พระสังฆราชองคท์ ่ี ๑๗ มีจานวน ๒ ราย)

สาหรับการประเมินผลงานรอบปีงบประมาณ ๒๕๕๖ (ประเมินผลงานจากผู้ป่วย ๑ ปีย้อนหลัง
ในช่วงปี ๒๕๕๕) พบว่าจากข้อมูลภาพรวม มีผู้ป่วยวัณโรคทั้งหมด ๗๓๙ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๘๗.๑๑ ต่อ
ประชากรแสนคน เป็นผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่เสมหะพบเชื้อ ๔๔๕ ราย ผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะลบ ๑๗๔
ราย ผู้ป่วยวัณโรคนอกปอด ๙๕ ราย และผู้ป่วยกลับเป็นซ้า ๒๕ ราย นอกจากนี้ ยังพบว่ามีผู้ป่วยวัณโรคเช้ือ
ดือ้ ยาหลายขนาน รวมทัง้ สิน้ ๓ ราย

สาหรับการประเมินผลงานรอบปีงบประมาณ ๒๕๕๗ (ประเมินผลงานจากผู้ป่วย ๑ ปีย้อนหลัง
ในช่วงปี ๒๕๕๖) พบว่าจากขอ้ มลู ภาพรวม มีผู้ป่วยวัณโรคท้ังหมด ๗๓๑ ราย เป็นผูป้ ่วยวณั โรคปอดรายใหม่
เสมหะพบเชื้อ๔๑๔ ราย ผู้ปว่ ยวัณโรคปอดเสมหะลบ ๑๘๗ ราย ผู้ปว่ ยวัณโรคนอกปอด ๑๐๒ ราย และผปู้ ่วย
กลับเป็นซ้า ๒๘ ราย นอกจากนี้ ยังพบว่ามีผู้ป่วยวัณโรคเช้ือด้ือยาหลายขนาน รวมทั้งส้ิน ๗ รายจากข้อมูล
ภาพรวมในแตล่ ะปี มีรายละเอียดดังแผนภมู ิ

แผนภมู ิจำนวนผ้ปู ว่ ยวัณโรคแยกตำมประเภทของปีงบประมำณ ๒๕๔๕ – ๒๕๕๗

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 109

ปีงบประมำณ ปงี บประมำณ ปงี บประมำณ ปีงบประมำณ

ผลกำรดำเนนิ งำน ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗

จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ

๑. ควำมสำเร็จของกำรรกั ษำ ๓๕๐ ๘๑.๕๘ ๓๒๒ ๘๑.๓๑ ๓๗๓ ๘๓.๘๒ 353 85.27

๒. ผู้ป่วยเสียชีวิต ๔๓ ๑๐.๐๒ ๔๒ ๑๐.๖๐ ๔๕ ๑๐.๑๑ 45 10.87

๓. ผู้ป่วยขำดยำ ๗ ๑.๖๓ ๖ ๑.๕๑ ๑๓ ๒.๙๒ 3 0.72

๔. กำรรกั ษำล้มเหลว ๒๒ ๕.๑๒ ๑๕ ๓.๗๘ ๗ ๑.๕๗ 10 2.42

กำรเปรยี บเทียบผลกำรดำเนนิ งำนอตั รำควำมสำเรจ็ ของกำรรักษำในแต่ละรอบปงี บประมำณ

โดยเฉล่ีย ๑๐ อาเภอ การเสียชีวิตของผู้ป่วยวัณโรคยังคงเป็นปัญหาสาคัญของจังหวัดสุพรรณบุรี
พบว่ายังไม่บรรลุเปา้ หมายของตัวชว้ี ัด อัตราการเสยี ชีวติ ในผู้ป่วยวัณโรคใกล้เคียงกันและเป็นอัตราตายท่ีสูงใน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 110

ดา้ นอัตราความสาเร็จการรักษา (Success Rate) ทั้ง 4 ปียังไม่บรรลุเป้าหมายของตวั ชี้วัด แต่ในปีงบประมาณ
๒๕๕7 อัตราความสาเร็จการรักษา เพิ่มสูงข้ึนกว่า 3 ปีแรก อัตราการขาดยาลดลงส่วนอัตราการล้มเหลวใน
การรักษากลับเพ่ิมสูงขึ้น สะท้อนให้เห็นถึงปัญหาการวินิจฉัย การตรวจผลทดสอบความไวต่อยาต่อรักษาวัณ
โรคแนวท่ี ๑ (DST) ทผ่ี ลมาค่อนข้างช้าและยงั ไมไ่ ด้ดาเนนิ การสง่ ตรวจดว้ ย รวมท้งั การกินยาของผ้ปู ว่ ยวณั โรค
๒. วเิ ครำะห์กำรบริหำรจัดกำร (ยุทธศำสตร์ แผนงำน/โครงกำร/กจิ กรรมทดี่ ำเนินกำร/ทรัพยำกร)

ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีได้จัดกิจกรรมเร่งรัดการค้นหา
ผปู้ ่วยวัณโรคในกลุม่ ผ้สู ูงอายุโดยดาเนนิ การร่วมกบั งานสร้างเสรมิ สุขภาพ การนิเทศติดตามและประเมินผลการ
ดาเนนิ งานวณั โรคจานวน ๑๐,๐๐๐ บาท ท้งั ๒ กจิ กรรมไดร้ ับงบประมาณสนับสนนุ จากสานักงานสาธารณสุข
จังหวัดสุพรรณบุรี งบประมาณดาเนินงานตามโครงการของกองทุนโลก (SSF) เป็นจานวนเงิน ๑,๑๗๔,๐๐๐
บาท และโครงการวัณโรคงบดาเนินการจากสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นจานวนเงิน
๓,๕๔๗,๔๔๕ บาท (จัดสรรตามผลงานใน ๘ จังหวดั ของเขต ๕ ราชบรุ )ี โดยมกี จิ กรรมหลกั ๆ ดังต่อไปน้ี

๑. การเร่งรัดการค้นหาผมู้ ีอาการสงสยั ใหไ้ ดร้ ับการวนิ จิ ฉัยและรักษาวัณโรคตง้ั แตร่ ะยะแรก
- การเร่งรดั คน้ หาผปู้ ่วยวณั โรคในกล่มุ ที่มคี วามเส่ยี งสูง ได้แกก่ ลุ่มผู้สูงอายจุ านวน ๔๐,๐๐๐ คนในพื้นที่
จังหวัดสพุ รรณบรุ ี (กิจกรรมเร่งรัดการคน้ หาผ้ปู ่วยวัณโรคในผู้สงู อายุ)
- การคดั กรองวณั โรค ได้แก่ ผู้ติดเชื้อเอดส์ ผู้สมั ผสั โรครว่ มบ้าน ผตู้ ้องขงั ในเรอื นจา ผู้สงู อายุและ/หรือ
ผปู้ ่วยท่ีมโี รคเร้ือรัง หรอื ได้รับยากดภูมติ า้ นทานเป็นเวลานานทง้ั ในชุมชน และที่มารบั บริการท่สี ถานบรกิ าร
ต่างๆ

๒. โครงการวณั โรค ปงี บประมาณ ๒๕๕๗ งบดาเนนิ การจากสานักงานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ
- กจิ กรรมการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค วัตถุประสงค์เพ่ือสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ท่ีส่งผลต่อผลลัพธ์การ
รักษา เช่น กิจกรรมติดตามการรักษาผู้ป่วยวัณโรค กิจกรรมการกากับการกินยา กิจกรรมเยี่ยมบ้าน โดย

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 111

จัดสรรงบประมาณโดยตรงแก่หน่วยบริการตามผลลัพธ์การรักษาคือมีผลการรักษาสาเร็จ (ยังได้รับการ
จัดสรรงบประมาณ)
- กิจกรรมการค้นหาผู้สัมผัสและผู้ป่วยวัณโรค วัตถุประสงค์เพ่ือสนับสนุนกิจกรรมการตรวจคัดกรองผู้
สัมผัสร่วมบ้านกับผู้ปว่ ยวัณโรค กจิ กรรมค้นหาผู้ป่วยในกลุ่มเส่ียง โดยจัดสรรงบประมาณโดยตรงแก่หน่วย
บริการตามสัดส่วนจานวนผู้สัมผัสร่วมบ้านและจานวนกลุ่มเส่ียงท่ีได้รับการคัดกรอง (ยังได้รับการจัดสรร
งบประมาณ)

๓. โครงการของกองทนุ โลก (SSF) ปีงบประมาณ ๒๕๕๗
- อบรมผู้เก่ียวข้อง เพื่อชี้แจงการดาเนินงานวัณโรคในชุมชน/ประชุมติดตามงานวัณโรคระดับจังหวัด/
ประชุมเครือข่ายวัณโรคดื้อยาหลายขนานระดับจังหวัด/การประชุมติดตามผลการดาเนินงานวัณโรคใน
ชมุ ชน/ ประชมุ คณะกรรมการชมุ ชนวางแนวทางการทางาน
- การนิเทศตดิ ตามประเมินผลการดาเนินงานวัณโรคทุกไตรมาส/ดาเนนิ การสุ่มตรวจเยี่ยมบ้านตามรอบ
ของการนเิ ทศ
- การติดตามเอกสาร/การเบิกจ่ายค่าตอบแทนต่างๆ แก่เจ้าหน้าที่และผู้ป่วย ตามแนวทางการจัดสรร
งบประมาณของกองทนุ โลก (SSF) ตามทกี่ าหนดไว้ในโครงการ

๔. งบดาเนนิ การจากสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี
- การนิเทศติดตามประเมินผลการดาเนินงานวัณโรคทุกไตรมาส การเก็บทะเบียนรายงาน สาเหตุการ
ตาย
- นเิ ทศงานเพอ่ื สนับสนนุ การดาเนนิ งาน DOTS และพฒั นาระบบสารสนเทศ ดว้ ยโปรแกรม TBCM
- พัฒนาคลินิกวัณโรคให้ผ่านเกณฑ์คลินิกวัณโรคท่ีมีคุณภาพระดับ A ซ่ึง สคร.ประเมินในอาเภอที่เป็น
พ้นื ท่เี ส่ียงสงู ๔ แห่งและส่มุ ประเมนิ ๑๐% (๑ แห่ง) ในพน้ื ท่ีปกตขิ องแต่ละจงั หวัด

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 112

๓. เป้ำหมำยกำรควบคมุ ป้องกันโรควณั โรคปีงบประมำณ ๒๕๕๗
- อัตราความสาเร็จการรกั ษา (Success Rate) มากกวา่ หรอื เท่ากับรอ้ ยละ ๘๗

ผลกำรดำเนนิ งำนปงี บประมำณ ๒๕๕๖

หน่วยงำน/อำเภอ เปำ้ หมำย ผลงำน รอ้ ยละ

เมืองสพุ รรณบุรี 107 96 89.72

สองพีน่ อ้ ง 63 48 76.19

เดมิ บำงนำงบวช 38 33 ๘6.84
สำมชกุ 24 20 83.33

ศรปี ระจนั ต์ 25 22 88.00

บำงปลำมำ้ 22 15 68.18
อทู่ อง 44 41 93.18

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 113

ดอนเจดยี ์ 30 25 83.33

ดำ่ นช้ำง 42 36 85.71

หนองหญำ้ ไซ 19 17 89.47

รวมทง้ั จงั หวดั 414 353 85.27

ระดบั จังหวดั ในปีที่ผ่ำนมำ ๔๔๕ ๓๗๓ ๘๓.๘๒

เมื่อประเมินผลการดาเนินงานรายอาเภอ พบว่า อาเภอท่ีมีผลสาเร็จของการรักษามากกว่าร้อยละ ๘๗มี
จานวน ๔อาเภอ ได้แก่ อาเภออู่ทอง (๙๓.๑๘%) อาเภอเมือง (๘๙.๗๒%) อาเภอหนองหญ้าไซ (๘๙.๔๗%)
และอาเภอศรีประจันต์ (๘๘.๐๐%)แตโ่ ดยเฉล่ยี ๑๐ อาเภอ ในภาพรวมของจังหวัด พบว่ายงั ไม่บรรลุเปา้ หมาย
ของตัวชี้วัดคืออัตราความสาเร็จการรักษา (Success Rate) ร้อยละ ๘๕.๒๗ ซึ่งต้องดาเนินการเพื่อพัฒนา
ปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่างๆ ดังท่ีได้กล่าวมาข้างต้นท่ีส่งผลให้อัตราความสาเร็จการรักษาต่าลงน้ัน เช่น การ
เสียชีวิต การขาดยาในผู้ป่วย ฯ เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายของการดาเนินงานควบคุมป้องกันโรควัณโรค
ตอ่ ไป

๔. วิเครำะหผ์ ลกำรดำเนนิ งำนในเชิงปรมิ ำณ(OUTPUT)และเชิงคุณภำพ(OUTCOME/IMPACT)

ผลกำรดำเนินงำนในเชิงปรมิ ำณ

สาหรบั การประเมนิ ผลงานรอบปีงบประมาณ ๒๕๕๗พบวา่ จากข้อมลู ภาพรวมมีผปู้ ่วยมีผปู้ ว่ ยวัณโรค

ทง้ั หมด ๗๓๑ ราย เปน็ ผ้ปู ่วยวณั โรคปอดรายใหมเ่ สมหะพบเช้ือ๔๑๔ ราย ผปู้ ่วยวณั โรคปอดเสมหะลบ ๑๘๗

ราย ผู้ปว่ ยวัณโรคนอกปอด ๑๐๒ ราย และผู้ป่วยกลับเป็นซา้ ๒๘ ราย นอกจากน้ี ยังพบว่ามีผู้ป่วยวัณโรคเชื้อ

ดื้อยาหลายขนาน รวมทั้งสิ้น ๗ รายจากข้อมูลภาพรวม ในแต่ละปีสาเหตุสาคัญที่ทาให้ผู้ป่วยรักษาไม่สาเร็จมี

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 114

ปัญหาการรักษาล้มเหลว๗ รายโดยแนวโน้มอัตราความสาเร็จการรักษา (Success Rate) เพ่ิมสูงข้ึน อัตราการ
ขาดยาลดลงมากเม่ือเทียบกับผลการดาเนินงานปี ๒๕๕๖ แต่อัตราการรักษาล้มเหลวในผู้ป่วยวัณโรคกลบั เพ่ิม
สงู ขึ้นกว่า ๓ ปีแรก และอัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยวัณโรคใกลเ้ คียงกันและเป็นอัตราตายที่สูงเม่ือเปรียบเทียบ
กับปงี บประมาณ ๒๕๕๖

ส่วนตัวช้ีวัดในด้านอื่นๆ ผู้ติดเชื้อ HIVรายเก่าได้รับการสัมภาษณ์เพื่อคัดกรองวัณโรคคร้ังล่าสุดที่มารับ
บริการ ร้อยละ ๑๐๐ ผู้ป่วยวัณโรครักษาซ้าท่ีได้รับการตรวจหาความไวต่อยาวัณโรคระบบท่ี ๑รอ้ ยละ 62.07มี
ระบบฐานข้อมูลวัณโรคอเิ ล็กทรอนิกส์ทกุ โรงพยาบาล ครอบคลมุ แลว้ ต้ังแต่ปี ๒๕๕๖

ส่วนการดาเนินเร่งรัดการคัดกรองค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มท่ีมีความเสี่ยงสูงในชุมชนและเรือนจา
ภายในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ซ่ึงพบวา่ ในจานวนผู้ต้องขังรายใหม่ท้ังหมดจานวน ๓,๑๑๓ ราย (ชาย ๒,๕๐๐ คน
หญงิ ๖๑๓ คน) มีผู้ท่มี ีอาการสงสัยวัณโรคท่ไี ดร้ ับการคดั กรองสง่ ตรวจเสมหะ ๑๙๐ ราย (ชาย ๑๘๕ คน หญิง
๕ คน) จานวนผู้ทไี่ ด้รับการวินิจฉยั เป็นวัณโรค ๑๕ รายซึง่ เปน็ ในผตู้ ้องขงั ชายท้ังหมดนอกจากนั้นได้ดาเนินการ
อบรมอาสาสมัครในเรอื นจารว่ มกับเรอื นจาจงั หวัดสุพรรณบรุ ี จานวน ๕๐ รายดว้ ย
วเิ ครำะหผ์ ลงำนของจงั หวัดในเชงิ คุณภำพ

เม่ือประเมินผลการดาเนินงานรายอาเภอพบว่า อาเภอที่มีผลสาเร็จของการรักษามากกว่าร้อยละ
๘๗ มีจานวน ๔อาเภอ ได้แก่ อาเภออู่ทอง (๙๓.๑๘%) อาเภอเมือง (๘๙.๗๒%) อาเภอหนองหญ้าไซ
(๘๙.๔๗%) และอาเภอศรีประจนั ต์ (๘๘.๐๐%)ปัญหาสาคัญท่ีทาให้การดาเนนิ งานวัณโรคในหลายอาเภอยงั ไม่
บรรลุเป้าหมายคือ

๑.การเสียชีวิต ผู้ป่วยวัณโรคท่ีเสียชีวิตทั้งหมด ๔๕ ราย สะท้อนให้เห็นว่าผู้ป่วยเข้าสู่ระบบ
การรักษาล่าช้า เป็นผู้ป่วยสูงอายุ มาโรงพยาบาลเม่ือมีอาการมากแล้ว ผู้ป่วยติดเช้ือเอดส์ร่วมด้วย บางรายมี
โรคเรอื้ รังประจาตัว หรอื ผปู้ ่วยที่มอี าการหนักมาโรงพยาบาลด้วยโรคอืน่ ๆ แตต่ รวจพบวา่ เป็นวณั โรคด้วย

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 115

๒.อัตราการขาดยาลดลงแต่ยังไม่บรรลุเป้าหมายของตัวชี้วัด และแสดงให้เห็นถึงปัญหาใน
ด้านการควบคุมกากับติดตามของเจ้าหน้าท่ี TB Clinic และเจ้าหน้าที่ผู้เป็นพ่ีเลี้ยงกากับการรับประทานยาใน
ชุมชน ซึ่งจากการประเมินมาตรฐานในรอบปีงบประมาณ ๒๕๕7 พบว่าผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเช้ือทุกรายที่
ต้องได้รับการกากับการรับประทานยาโดยอย่างน้อยร้อยละ 50 ของพ้ืนที่เป็นเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือ
อาสาสมัครสาธารณสุข หรือแกนนาชุมชนท่ีได้รับการอบรม ยังดาเนินงานได้ไม่ครอบคลุมครบถ้วนตามเกณฑ์
เน่ืองจากมีบคุ ลากรไม่เพียงพอและเจา้ หน้าท่ีมภี าระงานมาก

๓. การรกั ษาล้มเหลวเพ่ิมขึ้นกวา่ ปีทผี่ า่ นมา ซึง่ ปญั หาการรกั ษาลม้ เหลว ๑๐ ราย สาเหตหุ น่ึง
คือการตรวจทางห้องปฏบิ ัติการไม่ตอบสนองแนวทางการรักษา คอื ไดผ้ ลช้าและส่วนใหญ่ผลการเพาะเชือ้ ไมข่ ึ้น
แมจ้ ะเก็บสง่ หลายคร้งั
๕. ปัญหำอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ

๕.๑ อัตราผู้ป่วยเสียชีวิตสูง อัตราการขาดยาสูง และการรักษาท่ีล้มเหลว ทาให้อัตราความสาเร็จ
ต่าลงไปด้วย จึงไม่บรรลุตามเป้าหมาย สาเหตุดังได้กล่าวไว้ข้างต้นในช่วงวิเคราะห์ผลงานของจังหวัดในเชิง
คุณภาพ แต่เนื่องจากเป็นข้อมูลจากการบอกเล่าจากการนิเทศงาน จึงควรมีการศึกษาสาเหตุการเสียชีวิตและ
สาเหตุของการขาดยา อย่างจริงจังในรูปแบบงานวิจัย หรือเกบ็ สถิติข้อมูลอย่างชัดเจน เพื่อนามาใช้อา้ งอิงและ
วิเคราะห์ปัญหาของพ้ืนที่และนามาปรับปรุงพัฒนาแก้ไขต่อไป ซึ่งขณะน้ีกาลังดาเนินการอยู่ รวมท้ังควรมีการ
ติดตามกากับและประเมินผลการดาเนินกิจกรรมดูแลผู้ป่วยเป็นระยะๆ เช่นการเป็นพี่เล้ียงกากับการกินยา การ
เย่ียมติดตามผู้ป่วยของโรงพยาบาล/ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลที่ดูแลผู้ป่วย อย่างเข้มงวดและต่อเน่ือง
เพ่อื ปอ้ งกนั การขาดการรกั ษาซ่ึงจะส่งผลให้อัตราความสาเรจ็ ตา่ ลงไปด้วย

๕.๒ ผู้ป่วยเข้าสู่ระบบการรักษาล่าช้า แนวทางการแก้ปัญหาของจังหวัดสุพรรณบุรียังต้องเน้นการ
เร่งรัดค้นหาเชิงรุกเพ่ิมมากข้ึน/คัดกรองผู้มีอาการสงสัยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงต่างๆได้แก่ ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน ผู้
ตดิ เชือ้ /ผูป้ ว่ ยเอดส์ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรือ้ รงั ผ้ตู ้องขังเรอื นจา ฯลฯ ในชุมชนและสถานบรกิ ารอยา่ งต่อเน่ือง

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 116

การส่งเสมหะเพาะเช้ือท่ีรวดเร็ว การเก็บเสมหะอย่างมีคุณภาพ และมีระบบรายงานผลการตรวจเสมหะที่
รวดเรว็ เพอ่ื ใหแ้ พทยส์ ามารถวนิ ิจฉัยและใช้เป็นแนวทางการรักษาทีม่ ีประสิทธภิ าพต่อไป

๕.๓ ปัญหาในการนาระบบฐานข้อมูลวัณโรคอิเล็กทรอนิกส์ มาใช้ในทุกโรงพยาบาลดังน้ันจึงต้องทา
การเรง่ รัดการพัฒนาบุคลากรในการบันทกึ ข้อมลู ในโปรแกรม TBCM ทั้งในหน่วยบริการของโรงพยาบาล และ
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลนน้ั ไดด้ าเนินการครอบคลุมทกุ พ้ืนทีแ่ ล้ว แต่ยงั คงมีปญั หาในระบบของหน่วย
บริการบางแห่งซ่ึงได้นิเทศติดตามแก้ไขเป็นระยะ เพื่อให้สามารถนาข้อมูลจากโปรแกรมมาใช้ในการควบคุม
กากับและประมวลผล ทาให้การติดตามผู้ป่วยในชุมชนรวดเร็วขึ้น ผู้ป่วยขาดยาน้อยลงการนิเทศติดตามทุก
ระดบั /ทุกไตรมาสอยา่ งเข้มข้น การประชุมตดิ ตามความก้าวหน้าทุกไตรมาสเพ่ือวิเคราะหป์ ัญหาทแี่ ทจ้ ริงในเชิง
ลึกแลว้ นามาปรบั ปรุงพัฒนาแก้ไขในพน้ื ทต่ี ่อไป

การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาเอดส์ จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2557

สภำพปญั หำเอดส์
จังหวัดสุพรรณบรุ ี พบผู้ป่วยรายแรกของเชื้อเอ็ชไอวี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 เรื่อยมาจนถงึ ปัจจุบันรวม

เป็นระยะเวลา ประมาณ 24 ปี โดยเร่ิมพบการแพร่ระบาดในกลุ่มผู้ติดยาเสพติดก่อน หลังจากนั้นประมาณ 1
ปี พบการแพร่ระบาดของเช้ือเอ็ชไอวีในกลุ่มหญิงต้ังครรภ์ ซ่ึงในปัจจุบันสถานการณ์เอดส์เปล่ียนไปและพบ
การตดิ เชื้อสูงข้นึ ในกลุ่มของชายทีม่ ีเพศสัมพันธก์ บั ชาย โดยมสี ถานการณก์ ารติดเช้อื เป็นดงั น้ี

1. สถำนกำรณก์ ำรเจบ็ ปว่ ยดว้ ยโรคเอดส์
จังหวดั สุพรรณบรุ ี พบผปู้ ่วยเอดส์รำยแรก ปี พ.ศ. 2533 จนถงึ ปจั จุบนั (30 กันยำยน

2557 ) พบผู้ป่วยเอดส์ จำนวน 5,630รำย เสียชีวติ ไปแล้ว 1,612 รำย ผู้ตดิ เชอ้ื ปรำกฏอำกำร 1,735
รำย เสยี ชีวิต 403 รำย รอ้ ยละ 81.8 ติดเชื้อจำกกำรมเี พศสมั พนั ธ์กับผู้ที่มีเช้ือเอดส์ กลมุ่ อำยทุ ่ีป่วยมำก
ทีส่ ดุ ไดแ้ กก่ ลุ่มอำยุ 25-34 ปี (ร้อยละ 43.2) และสว่ นใหญม่ ีอำชีพรบั จ้ำง (ร้อยละ 56.0 ) อัตรำส่วน

ระหว่ำงเพศ ชำยต่อเพศหญิง เทำ่ กับ 2.2:1
อาเภอท่มี ีอตั ราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดในปี พ.ศ. 2556 3 อันดบั แรก คืออาเภอ
สามชุก อตั ราปว่ ยเทา่ กบั 23.6 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาได้แก่ อาเภอ หนองหญา้ ไซ 16.5 ต่อแสน
ประชากร) และ อ.เมือง 13.6 ตอ่ แสนประชากร
โรคติดเช้ือฉวยโอกาสในผู้ป่วยเอดส์ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2533 จนถึง 30 กันยายน 2557 ท่ี
ได้ รั บ ร า ย ง า น ม า ก ท่ี สุ ด 5 อั น ดั บ แ ร ก คื อ Mycobacterium tuberculosis, Pulmonary or

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 117

extrapulmonary 1,758 ราย ( ร้อยละ 83.2 ) รองลงมาคือ โรคปอดบวมจากเชื้อ Penicillium carinii

933 ราย ( ร้อยละ 36.7 ) โรค Wasting syndrome 856 ราย ( ร้อยละ 4.1) โรค Cryptococcosis

786 ราย ( รอ้ ยละ 2.4),โรค Candidiasis ของหลอดอาหารหลอดลม หรือปอด 274 ราย (ร้อยละ 0.6) และ

โรค Pneumonia recurrent( Bacteria) มากกวา่ 1 ครงั้ ใน 1 ปี 220 ราย ( รอ้ ยละ 0.4 ) ตามลาดบั

2. สถำนกำรณก์ ำรแพรร่ ะบำดของเช้อื เอ็ชไอวี

จากการเฝา้ ระวังการตดิ เช้ือเอ็ชไอวขี องจังหวัดสุพรรณบรุ ี ตงั้ แต่เดือนมถิ ุนายน 2533 จนถึง

ปัจจบุ ัน (มถิ ุนายน 2557) ในกลมุ่ ประชากรท่ีเป็นตวั แทนของประชากรวัยเจริญพันธ์ุ 2 กล่มุ ไดแ้ ก่ กลุ่ม

หญงิ ต้งั ครรภเ์ ม่ือพจิ ารณา 5 ปีย้อนหลัง พบวา่ การต้งั ครรภ์มแี นวโนม้ สูงข้ึนในชว่ งเดือนมถิ ุนายน 2553-

มิถุนายน 2557 คือ รอ้ ยละ 0.8,0.9,0.6, 1.2 และ 1.3 ตามลาดับ สาหรบั กล่มุ ชายไทยอายุ 21 ปี เมอื่

พิจารณา 5 ปี ย้อนหลัง พบวา่ อัตราความชุกของการติดเช้อื เอ็ชไอวีในช่วงเดือนมถิ นุ ายน 2553-มถิ นุ ายน

2557 ข้นึ ลงไม่คงที่ ดังนี้ 1.1,0.7,2.6,2.6 และ 1.3 ตามลาดบั

ประชากรกลุ่มเสีย่ งได้แก่ กลุ่มพนักงานบริการหญงิ ตรง พนักงานบริการหญิงแฝง เมื่อ

พิจารณา 5 ปีย้อนหลงั พบวา่ ปี 2553-2557 ความชุกของการตดิ เชือ้ เอช็ ไอวีในกลมุ่ พนกั งานบริการหญงิ ตรง

เริม่ มแี นวโน้มสูงขน้ึ คือ 1.82,2.03,6.30,5.70และ 6.42 ตามลาดบั และ ในปี 2557 กล่มุ พนักงานบริการ

หญิงตรง มีการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเม่ือมเี พศสมั พนั ธ์ รอ้ ยละ 98.3 สว่ นกลุม่ พนกั งานบรกิ ารหญงิ แฝง

พบวา่ มีแนวโนม้ ความชุกของการติดเชือ้ เอ็ชไอวีใน 5 ปีย้อนหลังลดลง คือ 3.7,8.0,12.0,9.0 และ 3.3 และ

ในปี 2557 กลุ่มพนักงานบริการหญงิ แฝง มกี ารใช้ถงุ ยางอนามัยทกุ ครัง้ เม่ือมีเพศสัมพันธ์ รอ้ ยละ 86.8

3. สรุปสถำนกำรณโ์ รคติดตอ่ ทำงเพศสัมพนั ธ์

สถานการณ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของจังหวัดสุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2556 มีอัตราป่วย 7.1 ต่อ

ประชากรแสนคน (ปี พ.ศ. 2557 ผลงาน 9 เดือน ตั้งแต่มกราคม – กันยายน 2557 มีอัตราป่วย 6.2 ต่อ

ประชากรแสนคน) และเม่ือพิจารณาแนวโน้ม 5 ปีย้อนหลัง พบว่า ช่วง ปี 2552-2556 มีแนวโน้มลดลง คือ

อัตรา 8.0, 8.0 ,7.7,7.9 และ 7.1 ต่อประชากรแสนคน เม่ือพิจารณาเป็นรายโรค 5 โรค ได้แก่ ซิฟิลิส ,

หนองใน ,แผลริมอ่อน , กามโรคของต่อมและท่อน้าเหลือง และหนองในเทียม พบว่า โรคหนองในมีอัตรา

ลดลงเชน่ กัน คอื อตั รา 5.2 ,4.8 , 5.2 , 6.0 และ 4.1 ต่อประชากรแสนคน ตามตารางที่ 2

ตารางที่ 2 จานวนและอตั ราป่วยต่อแสนประชากร ดว้ ยโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพันธ์ จาแนกตามชนดิ โรค 5

โรค

ปีงบประมาณ 2553-2557 จงั หวดั สพุ รรณบุรี

ปงี บประมาณ

ชนดิ โรคติดตอ่ 2553 2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556 พ.ศ.2557

ทางเพศสัมพันธ์ จานวน อตั รา จานวน อตั รา จานวน อัตรา จานวน อตั รา จานวน อตั รา

หนองใน 44 5.2 41 4.8 44 5.2 51 6.0 35 4.1

ซิฟิลสิ 12 1.4 17 2.0 9 1.1 3 0.4 10 1.2

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 118

หนองในเทยี ม 3 0.3 2 0.2 6 0.7 2 0.2 3 0.4
แผลรมิ ออ่ น 9 1.1 5 0.6 3 0.3 4 0.5 5 0.5
กามโรคของ 0 0 1 0.1 5 0.6 0 0.0 0 0.0
ต่อมต่อม ฯ
68 8.0 66 7.7 66 7.9 60 7.1 53 6.2
รวม

ท่ีมา รง.ก1,ก2 ,จากรายงาน 506 (รายงานเป็นปี พ.ศ.)

4.สถำนกำรณ์ดำ้ นพฤติกรรมทสี่ ัมพันธก์ ับกำรติดเชอื้ เอช็ ไอวี
การเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเช้ือเอชไอวีวัยรุ่นจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ.2551 - 2556

ทาการสารวจพฤติกรรม(Cross sectional Survey) ในกลุ่มประชากร 6 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มนักเรียนชายและ
หญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มนักเรียนชายและหญิงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 และกลุ่มนักเรยี นอาชีวศึกษาชาย
และหญงิ ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชัน้ ปีที่2 (ปวช.2) การคัดเลือกตัวอยา่ งใช้วิธีการสุ่มตัวอยา่ งแบบง่าย (Simple
Random Sampling) ในทุกกลุ่มประชากร จานวนตัวอย่างใช้กลุ่มละ 380- 600 ตัวอย่าง ผลการเฝ้าระวัง
พฤติกรรมฯ รอบ 6 ปีที่ผ่านมา (2551 -2556 ) และในปี 2557จังหวัดสุพรรณบุรีได้ทาการสารวจนักเรียน
ชาย/หญิง ทุกคนท่ีกาลังเรียนในระดับชั้นมัธยมปีที่ 5 (ชาย/หญิงจานวน 4,061คน) และระดับ
ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ ชนั้ ปีท่ี 2 (ปวช 2) (ชาย และหญงิ จานวน 1,254คน) ส่วนในนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปี
ที่ 2ทั้งชายและหญิงไม่ได้สารวจ เนื่องจากมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างต่า จึงทาการสารวจปีเว้นปี
(ข้อมูลจากสานักระบาดวิทยา) ซึ่งผลการสารวจในปี 2557จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า อายุเฉลี่ยของการมี
เพศสัมพันธ์ครั้งแรก ในปี 2557 พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ชายและหญิง อยู่ที่อายุ 15 ปี และ
นกั เรยี นอาชีวศกึ ษา ปวช.ปีที่ 2 ท้ังชายและหญิง อยู่ทอี่ ายุ 14 ปี

ในรอบปี 2557 พบว่า นักเรยี นชายช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 มีการใช้ถงุ ยางอนามยั กับแฟน/คนรกั
ลดลงจากรอบปีที่ผา่ นมา จากร้อยละ 60 เปน็ ร้อยละ 58 และหญิงช้นั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.2) มีการ
ใช้ถงุ ยางอนามยั กับแฟน/คนรักลดลงเชน่ กนั จากร้อยละ50เป็นรอ้ ยละ 48 ส่วนในนกั เรียนหญงิ ชน้ั มธั ยมศกึ ษา
ปีที่ 5 มกี ารใชถ้ ุงยางอนามัยกับแฟน/คนรักสูงข้นึ จากรอ้ ยละ 35 เป็นรอ้ ยละ 47 และชายชน้ั ประกาศนยี บตั ร
วชิ าชีพ(ปวช.2) มีการใช้ถุงยางอนามยั กับแฟน/คนรักเพิ่มสูงขน้ึ เชน่ กัน จากร้อยละ 46 เปน็ รอ้ ยละ 52

อตั ราการใช้ถุงยางอนามัยในรอบปีท่ผี า่ นมาครัง้ ล่าสุดกับทุกคนู่ อน พบว่า นกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปี
ท่ี 5 ท้งั ชายและหญิง มีอตั ราการใช้ถุงยางอนามยั รอ้ ยละ 40.6 สาหรบั นักเรยี นชายชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ซึง่
เปน็ ตัวช้ีวดั มีอัตราการใช้ถุงยางอนามัยคร้งั ล่าสุดกบั ทกุ คู่นอน ร้อยละ 49.4 (ตวั ชีว้ ดั ระดบั กระทรวงในกลุ่ม
วยั รุน่ ไมต่ ่ากว่าร้อยละ 50) ส่วนนักเรียนช้นั ปวช.2 ทั้งชายและหญิง มอี ตั ราการใชถ้ ุงยางอนามยั คร้งั ลา่ สุด
กบั ทุกค่นู อน ร้อยละ 61.4

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 119

ในปี 2557 คาถาม 5 ข้อที่เป็นตัววัดความรู้เร่ืองเอดส์ พบว่าการตอบคาถามถูกต้องครบ 5 ข้อมี
อัตราการตอบถกู สงู ขนึ้ ในจากในปีท่ีผา่ นมาทุกกลุ่มเป้าหมาย แตก่ ็ยังไม่ผา่ นเกณฑ์ของสานักโรคเอดส์ ฯ ที่ต้อง
ตอบถูกต้องทุกข้อไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 โดย นักเรียนชายช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 5 ตอบถูก 5 ข้อ ร้อยละ 41.1,
นักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ตอบถูก 5 ข้อ ร้อยละ 42.8,นักเรียนชายช้ันปวช. 2 ตอบถูก 5 ข้อ ร้อยละ
47.5และนักเรียนหญงิ ชน้ั ปวช. 2 ตอบถกู 5 ขอ้ ร้อยละ 48.2

พฤติกรรมการเขา้ ถึงสื่อลามกอนาจารในกลมุ่ สื่อตา่ งๆ จากการให้ประวัตขิ องนักเรียนท่ีตอบ
แบบสอบถามในทุกกลุม่ จานวน 5,315 ตัวอย่าง โดยสามารถตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ โดย แยกออกตามสื่อตา่ งๆ
ทีเ่ ขา้ ถึงส่อื ท่ีวยั รุ่นในสถานศึกษาทง้ั ชายและหญงิ เข้าได้ง่ายสดุ ในปี 2557 3 อนั ดบั แรก คือ คลป๊ิ มือถือ ร้อย
ละ 89 รองลงมา คอื เวป็ ไซด์ ร้อยละ 83 และวีดีโอ/ซีดี ร้อยละ74 และ พฤตกิ รรมของการใช้สารเสพตดิ
ในกลุ่มนักเรียนทใ่ี ห้ประวัตวิ า่ มีการใชส้ ารเสพตดิ แลว้ จานวน 3,619 คน คิดเปน็ ร้อยละ 68.1 สว่ นใหญ่
เคยใช้มากทีส่ ดุ 3 อันดบั แรก คือ เครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์ ร้อยละ 62.1 รองลงมา คือ บหุ รี่ รอ้ ยละ 37.0
และมีการใช้ยาบา้ รอ้ ยละ 10.7

การเฝ้าระวังในกลุ่มที่เข้าถึงยาก คือพนักงานบริการหญิงตรง และพนักงานบริการหญิงแฝง โดยการ
ตอบแบบสอบถามพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเช้ือเอ็ชไอวีในกลุ่มพนักงานบริการหญิง ปี 2557 ของสานัก
ระบาด กรมควบคุมโรค พบว่า คู่นอนส่วนใหญ่เป็นแขกท่ีมาใช้บริการจร ร้อยละ 100 จานวนคร้ังเฉล่ีย ของ
การรับแขก 4 คร้ัง ต่อคน อายุเฉลี่ยของพนักงานบริการ 22 ปี และอายุเฉลี่ยของการมีเพศสัมพันธ์คร้งั แรก
14 ปี ระยะเวลาของการขายบริการ 4 – 5 ปี ประวัติของการใช้สารเสพติด ร้อยละ 100 มีการใช้ เหล้า
เบียร์ ไวน์ ก่อนการรับแขก มีร้อยละ 79.1 อัตราการใช้ถุงยางอนามัยทุกคร้ังในการมีเพศสัมพันธ์กับทุกคู่นอน
ในกลุ่มพนักงานบริการทั้งตรงและแฝง ร้อยละ 60.1 และ ความรู้และความตระหนักในเรื่องของโรคเอดส์
และโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธ์ จานวน 10 ข้อคาถาม มกี ารตอบถูกทุกขอ้ รอ้ ยละ 34.5

จากสภาพปัญหาเอดส์ การเฝา้ ระวังพฤติกรรม ที่สมั พันธ์กับการตดิ เชอื้ เอช็ ไอวี และการเฝา้ ระวังโรค
เอดสเ์ ฉพาะพื้นท่ี ปี 2557 ทาให้ทราบวา่ ประชากรทุกกล่มุ มพี ฤติกรรมท่ีเสีย่ งต่อการติดเช้ือเอ็ชไอวี โดยเฉพาะ
วัยรุ่นที่มีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย และยังมีการเปล่ียนคู่นอนบ่อยๆ ด้านตัวช้ีวัดของการใช้ถุงยางอนามัย
ในกลุ่มวัยรุ่นโดยใช้นักเรียนชาย ม,5 เป็นตัวแทนเร่ืองของการใช้ถุงยางอนามัยคร้งั ล่าสุดกับทุกคู่นอนในรอบปี
เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 จังหวัดสุพรรณบุรี อยู่ที่ร้อยละ 49.4 ซึ่งสอดคล้องกับปัญหาของการแพร่
ระบาดโรคเอดส์ในปัจจุบนั มีความรเู้ รื่องโรคเอดส์ค่อนข้างตา่ และพบอัตราการต้ังครรภซ์ ้าในวัยรุ่นสูง ถงึ ร้อย
ละ 14.5(เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 10) อัตรา การคลอดบุตรในหญิงอายุ15 – 19 ปี เท่ากับ 54.8 ต่อประชากร
หญิงอายุ 15-19 ปี พันคน(เป้าหมายไม่เกิน 45 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน) นอกจากน้ีปัจจัย
แวดล้อมท่ีทาให้มีอารมณ์ทางเพศได้จากการเข้าถึงสื่อลามกอนาจารของนักเรียนกลุ่มนี้ก็สูงข้ึนด้วยโดยเฉพาะ
การใช้ส่อื สารที่ทันสมยั เช่น โทรศพั ทม์ อื ถอื
5. ผลกำรดำเนนิ งำนกำรดูแลรกั ษำผตู้ ิดเช้ือเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 120

จังหวัดสุพรรณบุรีดาเนินการดูแลรักษาผู้ติดเช้ือเอ็ชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส ภายใต้การ

บริหารจัดการกองทุนเอดส์ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อเนื่องมาโดยตลอด ซ่ึงในปีงบประมาณ

2557 มีผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ลงทะเบียนเข้ารับบริการดูแลรกั ษาในโรงพยาบาล ปีงบประมาณ

2557 จานวน 199 ราย ได้รับการตรวจ CD4คร้ังแรก จานวน 98 ราย คิดเป็นร้อยละ 49.2 เม่ือเปรียบเทียบ

กับระดับเขต และประเทศ พบว่า ผ้ตู ิดเชื้อเอชไอวี/ผ้ปู ่วยเอดส์ได้รับการตรวจ CD4 ครงั้ แรก ตา่ กวา่ ทงั้ ระดับ

เขต และ ระดับประเทศ แต่ได้รับการตรวจ Viral load สูงกวา่ ทัง้ ระดบั เขตและประเทศ ดังตาราง ที1่

ตารางท่ี 1 แสดงจานวนและร้อยละของผู้ติดเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับตรวจCD4 ครั้งแรกและViral load

ระดบั จงั หวัด เขต และประเทศ

ระดบั ผ้ปู ่วยลงทะเบียน ไดร้ ับตรวจ ร้อยละ จานวนผตู้ ิด ได้รับการ รอ้ ยละ

CD4คร้งั แรก เช้ือเอชไอวฯี ตรวจViral

load

ประเทศ 13601 8154 60 15693 12737 81.2

เขต 1293 749 57.9 1305 1103 84.5

จงั หวดั 199 98 49.2 254 231 90.9

สาหรับค่ามัธยฐาน CD4 ของผู้ติดเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสจังหวัดสุพรรณบุรี เท่ากับ
88 เมื่อเปรียบเทยี บกบั ระดับเขตและประเทศ พบว่า ตา่ กวา่ ทง้ั ระดบั เขต (91) และประเทศ (107)

ผตู้ ิดเช้ือเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ที่รบั ประทานยาต้านไวรัสในจังหวดั สุพรรณบุรี ขาดการติดตามการรกั ษา
ร้อยละ 3.8 เม่ือเปรียบเทียบกับระดับเขตและประเทศ พบว่า ต่ากว่าท้ังระดับเขต(4.3) และประเทศ (4.3)
สาหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ท่ีไม่ได้รับประทานยาต้านไวรัสในจังหวัดสุพรรณบุรี ขาดการติดตามการ
รกั ษาร้อยละ 41.4 เม่ือเปรียบเทียบกับระดับเขตและประเทศ พบว่า สูงกว่าทั้งระดับเขต (32.4) และประเทศ
(33.4)

ตารางที่ 2 แสดงคา่ มัธยฐาน CD4 ของผูต้ ิดเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดสท์ ไี่ ด้รับยาต้านไวรัส และการขาดการติดตาม

การรกั ษาในผู้ตดิ เชือ้ เอชไอวที ร่ี บั ยาต้านไวรสั และผู้ตดิ เช้ือเอชไอวีฯทไ่ี มร่ ับยาตา้ นไวรัส ระดบั

จงั หวัด เขต และประเทศ

ระดบั คา่ มัธยฐาน จานวนผทู้ ีร่ ับยาฯ ขาดการ ร้อยละ จานวนผตู้ ดิ ขาดการ รอ้ ยละ

CD4 ติดตามฯ เช้ือท่ีม่ไดร้ บั ตดิ ตาม

ยาฯ

ประเทศ 107 194520 8335 4.3 16427 5483 33.4

เขต 91 16601 721 4.3 1492 484 32.4

จงั หวัด 88 2939 111 3.8 140 58 41.4

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 121

ที่มา : NAP Program
ซึ่งการทางานด้านแก้ไขปญั หาเอดส์ต้องเร่งดาเนินการรณรงค์ประชาสมั พนั ธ์ใหก้ ลุ่มเสยี่ งได้เขา้ ถึง

ระบบบริการดูแลรักษาดว้ ยยาตา้ นไวรสั เอดส์ให้มากยงิ่ ข้ึนและต้องดาเนนิ การอย่างต่อเน่ือง ซง่ึ กลยุทธท์ ี่ทาให้
การเข้าถึงการบริการดูแลรักษาผูต้ ิดเชอ้ื เอ็ชไอวแี ละผู้ปว่ ยเอดส์ คือ การเข้าถึงบริการปรกึ ษาเพื่อการตรวจหา
เชือ้ เอ็ชไอวโี ดยความสมัครใจ(VCT) เพื่อกระตุ้นใหก้ ลุ่มท่ปี ่วยแล้วได้รับการรกั ษาได้เร็วข้ึนและตอนนี้ใหเ้ ร่มิ ยา
ตา้ นไวรัสในผตู้ ดิ เช้ือเอชไอวที ี่มเี ม็ดเลอื ดขาวซดี สี ่ที ุกระดับในอันทจ่ี ะใช้ประโยชนข์ องยาต้านไวรสั ในการ
ป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ ท้ังในระดบั บุคคล และระดบั ชุมชน เพ่ือมงุ่ สู่การยตุ ิปญั หาเอดสข์ องประเทศ ซ่งึ จะทา
ให้ยืดอายยุ นื ยาวข้นึ และกลมุ่ ทย่ี ังไมป่ ว่ ยกจ็ ะไดป้ ้องกนั ไม่ใหเ้ กดิ การติดเชื้อเอ็ชไอวตี ่อไป
6. โครงกำรจัดระบบบรกิ ำรทเ่ี ปน็ มิตรสำหรบั เยำวชน กลุ่มชำยท่มี ีเพศสัมพันธก์ บั ชำย กลุ่มหญิงบริกำร
จังหวัดสุพรรณบุรี

สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี ไดด้ าเนินงานจัดตง้ั ศนู ยบ์ ริการท่ีเปน็ มิตรสาหรับเยาวชน
(Teen Center) ในระดบั โรงพยาบาล 10 แห่ง และโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบล 174 แหง่ คิดเปน็ ร้อย
ละ 100ตั้งแตป่ ีงบประมาณ 2552 มาจนถึงปจั จุบัน โดยใชแ้ นวทางมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสาหรับ
วัยรนุ่ และเยาวชน โดยสานกั อนามัยการเจริญพันธ์ุ กรมอนามยั และแนวทางการจัดบริการทีเ่ ป็นมิตรสาหรับ
เยาวชน พนกั งานบรกิ ารหญิง และชายทีม่ เี พศสัมพันธก์ ับชาย โดยสานักโรคเอดส์ วณั โรคและโรคติดต่อทาง
เพศสมั พันธ์ กรมควบคุมโรค

กำรดำเนนิ งำนโครงกำรขับเคลื่อนงำนดำ้ นกำรปอ้ งกนั เอดสใ์ นสถำนศกึ ษำ

1 อาเภอสามชุก ได้แก่ โรงเรียนสามชุกรตั นโภคาราม, โรงเรียนบรรหารแจม่ ใสวิทยา 6 และ

โรงเรียนทงุ่ แฝกพิทยาคม

2 อาเภอด่านช้าง ได้แก่ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยสี่ พุ รรณบรุ ี

3 อาเภอหนองหญา้ ไซ ไดแ้ ก่ โรงเรียนหนองหญ้าไซวทิ ยา, โรงเรียนวัดหนองทราย และโรงเรียนบา้ น

สระเตย

4. อาเภอเดิมบางนางบวช ได้แก่ โรงเรยี นธรรมโชตศิ กึ ษาลยั

5. อาเภอดอนเจดยี ์ ไดแ้ ก่ โรงเรยี นบรรหารแจ่มใสวิทยา 1

6. อาเภออู่ทอง ได้แก่ โรงเรยี นสระยายโสมวิทยา, โรงเรียนอู่ทอง, โรงเรยี นอทู่ องศึกษาลัย และ

วิทยาลยั การอาชีพอทู่ อง

7. อาเภอเมืองสุพรรณบรุ ี ไดแ้ ก่ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาสุพรรณบุรี

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 122

8. อาเภอสองพีน่ ้อง ไดแ้ ก่ โรงเรียนบ่อสพุ รรณวิทยา, โรงเรยี นบางลี่วทิ ยา, โรงเรียนหนองวัลย์เปรียง
วิทยา, โรงเรียนบรรหารแจม่ ใสวิทยา 5 และ โรงเรียนวัดทองประดษิ ฐ์

9. อาเภอบางปลามา้ ไดแ้ ก่ โรงเรียนหรรษาสุจติ ต์วิทยา 2
10. อาเภอศรีประจันต์ ได้แก่ โรงเรียนวดั ปา่ พระเจา้ , โรงเรียนศรปี ระจนั ต์ "เมธปี ระมุข" และโรงเรยี น
สรวงสุทธาวทิ ยา
ช่องทำงกิจกรรมในกำรกระจำยถุงยำงอนำมัยในกล่มุ เยำวชนอำยุ 10 – 24 ปี ของหน่วยบริกำร
สำธำรณสุขเป็นดงั นค้ี ือ
1. กจิ กรรมการให้ความรแู้ ละคาปรึกษาผ่านเครอื ขา่ ยศูนย์บริการที่เป็นมติ รสาหรบั เยาวชน (Teen
Center) จานวน 11 หน่วยบรกิ าร ได้แก่ โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช, สมเดจ็ พระสังฆราชองค์ที่ 17,
ศรปี ระจันต,์ อทู่ อง, สามชุก, เดิมบางนางบวช, ดอนเจดีย,์ สานักงานสาธารณสขุ อาเภออู่ทอง, ด่านช้าง, เดมิ
บางนางบวช และดอนเจดีย์)
2. กิจกรรมการรณรงคใ์ ห้ข้อมูลความรู้ จานวน 4 หนว่ ยบรกิ าร ได้แก่ โรงพยาบาลบางปลาม้า,
หนองหญ้าไซ, สานักงานสาธารณสุขอาเภอศรปี ระจนั ต์ และสามชุก
3. กจิ กรรมการอบรมโดยตรง จานวน 3 หนว่ ยบรกิ าร ได้แก่ โรงพยาบาลด่านชา้ ง, สานักงาน
สาธารณสุขอาเภอสองพ่ีน้อง และบางปลาม้า
4. กิจกรรมการให้ข้อมลู ความรเู้ ป็นรายบุคคลหรือรายกลมุ่ จานวน 2 หนว่ ยบรกิ าร ไดแ้ ก่สานักงาน
สาธารณสขุ อาเภอเมอื งสพุ รรณบรุ ี และหนองหญ้าไซ
ผลกำรดำเนินงำน
เยาวชนอายุ 10-24 ปี ทเ่ี ข้ามารับบริการในสถานบริการที่มีคลนิ กิ วัยรนุ่ ปีงบประมาณ 2557 จานวน
1,146 ราย
7. โครงการพฒั นากลไกประสานงานระดับจงั หวัด (PCM)รอบผนกึ รวม (SSF) โดย ศนู ย์ประสานประชาคมเอดส์
จังหวัดสพุ รรณบุรี: ศปอจ.สพุ รรณบุรี
เปำ้ หมำยของโครงกำร
1. จดั ประชุมเพื่อวางแผนการทางานดา้ นเอดส์และการดาเนินงานดา้ นอนามยั เจริญพันธ์ุจังหวัด
สพุ รรณบุรี
2. ประชุมประสานแผนการดาเนนิ งานเพอื่ ป้องกันแกไ้ ขปัญหาเอดสแ์ ละการดาเนินงานด้านอนามยั
เจริญพนั ธ์ุจังหวดั สพุ รรณบรุ ี
3. ประชุมเพื่อสร้างความเปน็ เจา้ ของและพฒั นาศักยภาพในการจัดทาแผนเอดสใ์ นท้องถ่นิ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 123

4. ประชุมเพื่อช้แี จงการทางานดา้ นเอดสแ์ ละการดาเนนิ งานด้านอนามัยเจริญพันธจ์ุ ังหวัดสพุ รรณบุรี
5. ประชุมเพ่ือสรุปการทางานของคณะทางานศนู ยป์ ระสานประชาคมและการดาเนนิ งานดา้ นอนามัย
เจริญพันธจ์ุ ังหวดั สพุ รรณบุรี

ตวั ชีว้ ัดโครงกำร
1.จานวนอปท.ในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ีที่รายงานผลการดาเนินงานด้านเอดส์ จานวน 49 แห่ง จากจานวน อปท.
ท้ังหมด 127 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 38.5
2.จานวนโรงเรยี นมัธยมศึกษาในจังหวัดสุพรรณบุรที ่ีสอนเพศศึกษารอบด้าน จานวน 43 แหง่ จากทั้งหมด 96
แห่ง คิดเป็นร้อยละ 44.8
ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบำย

1. มีการประชาสมั พันธ์ในพื้นที่จงั หวดั ว่ามีเครอ่ื งตดิ ตัง้ ถงุ ยางอนามยั อยทู่ ่ีใดบา้ ง เชน่ ป้ายผา้ จุด
condom point เพอ่ื ให้ประชาชนและเยาวชนท่ีมีความต้องการใช้ถงุ ยางอนามยั ทราบ เพือ่ เพิ่มการเข้าถงึ
ถุงยางอนามัย มีการประชาสมั พนั ธ์ผ่านสือ่ ในท้องถน่ิ ของแตล่ ะพื้นท่ี เชน่ วิทยุชุมชน หอกระจายขา่ ว สถานี
วิทยุในพื้นที่ และส่งเสรมิ พัฒนาเครือข่ายของกลุม่ กิจกรรมเยาวชนเพอ่ื สรา้ งความร้คู วามเขา้ ใจในการป้องกัน
และควบคุมโรค โดยการมพี ฤตกิ รรมทป่ี ลอดภยั จากเอดส์และโรคตดิ ต่อทางเพศสัมพันธ์ และทสี่ าคญั ตอ้ ง
ประชาสัมพนั ธ์ให้กลุ่มเปา้ หมายรับทราบศูนย์บริการทีเ่ ป็นมติ รสาหรับเยาวชน (Teen Center) อยูท่ ไี่ หน มี
การใหบ้ ริการอะไรบ้าง ซ่งึ สถานบรกิ ารสาธารณสุขทุกแหง่ ควรมชี ่องทางทีก่ ลุ่มเป้าหมาย สามารถเข้าถงุ ง่าย
สะดวก เปน็ มิตร คดิ บวก ไมต่ ีตรา และเปน็ ความลบั

2. ส่งิ ทีต่ อ้ งเน้นหนกั ในปี 2558 คอื การปรบั เปลยี่ นภาพลักษณ์ถงุ ยางอนามัยและเจตนคติต่อถงุ ยาง
อนามัยใหเ้ ป็นอปุ กรณส์ ขุ อนามัย เพอื่ ความปลอดภยั ต่อสขุ ภาวะทางเพศ

3. การเริ่มยาต้านไวรัสในผู้ติดเช้ือเอชไอวีทม่ี ีเมด็ เลือดขาวซดี สี ท่ี ุกระดับ ในอนั ทีจ่ ะใชป้ ระโยชน์ของ
ยาต้านไวรสั ในการป้องกันการถา่ ยทอดเชอื้ ทัง้ ในระดบั บุคคล และระดับชมุ ชน เพอ่ื มุ่งสูก่ ารยตุ ปิ ญั หาเอดส์ของ
ประเทศ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 124

ควบคมุ โรคไขเ้ ลือดออก จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมำณ 2557

1. สรุปสถำนกำรณ์ก่อนกำรดำเนนิ งำน
นับตั้งแต่วันท่ี ๑ มกราคม ๒๕๕๖ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ จังหวัดสุพรรณบุรี มีผู้ป่วยโรค

ไข้เลือดออกรวม (๒๖,๒๗,๖๖) จานวนท้ังสิ้น ๖๓๒ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๗๔.๔๙ ต่อประชากรแสนคน ไม่มี
รายงานผู้ป่วยเสยี ชีวิต

พบผู้ป่วยเพศชายมากกว่าเพศหญิง โดยพบเพศชาย ๓๒๓ ราย เพศหญิง ๓๐๙ ราย อัตราส่วนเพศ
ชาย ตอ่ เพศหญิง เทา่ กบั ๑.๐๕ : ๑

กลุ่มอายุท่ีพบสูงสุดคือกลุ่มอายุ ๑๐ - ๑๔ ปี อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนเท่ากับ ๒๔๗.๓๕ ราย
รองลงมาคือ กล่มุ อายุ ๕ - ๙ ปี, ๑๕ - ๒๔ ปี, ๒๕ - ๓๔ ป,ี ๐ - ๔ ปี, ๓๕ - ๔๔ ปี, ๔๕ - ๕๔ ป,ี ๖๕ ปี ข้ึนไป
, ๕๕ - ๖๔ ปี อัตราป่วยเท่ากับ ๑๗๔.๗๒, ๑๖๐.๕๔, ๗๘.๑๙, ๖๗.๗๘, ๒๘.๘๘, ๒๒.๕๕, ๑๓.๓๔ และ
๙.๙๙ ราย ตามลาดับ

อาชีพทม่ี ีจานวนผู้ปว่ ยสูงสุดคือนกั เรียน จานวนผู้ป่วยเท่ากับ ๓๓๙ ราย รองลงมาคือ อาชีพรับจ้าง,
อาชีพในปกครอง, อาชีพเกษตร, อาชีพงานบ้าน, อาชีพค้าขาย, อาชีพอ่ืนๆ, อาชีพครู, อาชีพราชการ, อาชีพ
บุคคลากรสาธารณสุข, อาชีพทหาร/ตารวจ, นักบวช, อาชีพประมง จานวนผู้ป่วยเท่ากับ ๑๖๕, ๖๐, ๓๕, ๘,
๘, ๔, ๔, ๓, ๒, ๒, ๑, ๑ ราย ตามลาดับ

พบผปู้ ว่ ยสงู สุดในเดอื น มกราคมจานวนผู้ปว่ ย เท่ากบั ๙๘ ราย จานวนผปู้ ่วยเดือนธนั วาคม นอ้ ยกว่า
เดอื นพฤศจิกายน จานวนผูป้ ว่ ยเดือนธนั วาคม เท่ากับ ๒๐ ราย ส่วนเดอื นพฤศจกิ ายน เทา่ กับ ๖๓ ราย โดยมี
รายงานผู้ป่วยเดือนมกราคม ๙๘ ราย กุมภาพันธ์ ๖๘ ราย มีนาคม ๖๑ ราย เมษายน ๓๗ ราย พฤษภาคม ๒๔
ราย มิถุนายน ๓๕ ราย กรกฎาคม ๔๑ ราย สิงหาคม ๕๗ ราย กันยายน ๗๐ ราย ตุลาคม ๕๘ ราย
พฤศจกิ ายน ๖๓ ราย ธันวาคม ๒๐ ราย

พบผู้ป่วยในเขตเทศบาลเท่ากับ ๘๒ ราย ในเขตองค์การบรหิ ารตาบลเท่ากับ ๕๕๐ ราย พบผู้ป่วยใน
เขตองค์การบริหารส่วนตาบลมากกว่าในเขตเทศบาล โดยจานวนผู้ป่วยในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล
เท่ากับรอ้ ยละ ๘๗.๐๓ สว่ นผู้ป่วยในเขตเทศบาล เทา่ กับรอ้ ยละ ๑๒.๙๗

ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาที่ โรงพยาบาลศูนย์เท่ากับ ๒๑๔ ราย โรงพยาบาลทั่วไป เท่ากับ ๑๙๑ ราย
โรงพยาบาลชมุ ชน เทา่ กบั ๑๖๗ ราย คลนิ ิก โรงพยาบาลเอกชน เท่ากับ ๖๐ ราย

อาเภอท่ีมีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคืออาเภอสองพี่น้อง อัตราป่วยเท่ากับ ๑๓๙.๙๔ ต่อ
ประชากรแสนคน รองลงมาคือ อาเภอเมืองฯ, อาเภอบางปลามา้ , อาเภอศรีประจนั ต์, อาเภอเดิมบางนางบวช,
อาเภอหนองหญ้าไซ, อาเภออู่ทอง, อาเภอดอนเจดีย์, อาเภอด่านช้าง, อาเภอสามชุก, อัตราป่วยเท่ากับ
๑๑๐.๘๘๗, ๗๕.๕๘, ๗๒.๑๖, ๕๕.๗๒, ๔๑.๗๖, ๔๑.๗๓, ๔๐.๐๙, ๓๐.๑๘, ๑๖.๗๑ ราย ตามลาดับ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 125

คา่ มัธยฐานอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไข้เลือดออก ๕ ปี จากอัตราป่วยปี ๒๕๕๑-๒๕๕๕

เท่ากับ ๗๖.๗๔ จากอัตราป่วยในปี ๒๕๕๖ เท่ากับ ๗๔.๔๙ อัตราป่วยลดลงร้อยละ ๒.๙๘ ของค่ามัธยฐาน ๕

ปี เทียบจากอัตราป่วยปี ๒๕๕๑-๒๕๕๕ และอตั ราปว่ ยตายดว้ ยโรคไขเ้ ลือดออก เท่ากบั ร้อยละ ๐.๐๐

จากข้อมูลในอดีต พบว่า จังหวัดสุพรรณบุรีในภาพรวมต้ังแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็นต้นมา แนวโน้มของการเกิด

โรคจะมีอัตราป่วยระดับต่าติดต่อกัน ๒ ปี และสูงข้ึนในปีที่ ๓ สลับกันไป โดยจะเห็นได้ว่าอัตราป่วยในระดับไม่สูงมาก

นักติดต่อกัน ๒ ปีคือ ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๐ และมีอัตราป่วยสูงขึ้นในปีที่ ๓ คือ ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ และลดลงมาโดยมี

อตั ราป่วยน้อยลงตดิ ตอ่ กัน ๒ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ และสูงขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ตอ่ มาลดลงในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ -

๒๕๕๖ จากรปู แบบดงั กล่าวก็มแี นวโนม้ วา่ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ จะมีอัตราป่วยทอ่ี ยใู่ นระดับสงู

2. สรปุ ผลกำรดำเนินงำนในรอบปงี บประมำณ 2557

ท่ี โครงการ กจิ กรรมดาเนินการ ผลลัพธ์จากการ งบประมาณดาเนินงาน/
ดาเนนิ งาน แหล่งงบประมาณ

โครงการป้องกนั ๑. เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค อตั ราป่วย ปี ๒๕๕๗ (1 งบประมาณ PP สนับสนุน

ควบคุมโรค ไขเ้ ลอื ดออกอยา่ งต่อเน่ือง ม.ค.-30 ก.ย. ๕7) เทียบ ส่งเสริมการบริหารจัดการ จาก

ไข้เลือดออกจงั หวัด ม ำ ต ร ก ำ ร เฝ้ า ร ะ วั ง โ ร ค กับค่ามัธยฐาน ๕ ปี สานกั งานสาธารณสุขจังหวัด

สพุ รรณบรุ ี ไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง ดาเนิน ย้อนหลงั (๒๕๕๑-๒๕๕๕) สุพรรณบุรจี านวน ๑๒๐,๕๑๐

ปงี บประมาณ ๒๕๕๗ กิจกรรมดังน้ี จังหวัดสพุ รรณบรุ ี มีผู้ปว่ ย บาท (หนึ่งแสนสองหม่ืนห้ารอ้ ย

๑.พัฒนาระบบรายงานโรคให้มี โรคไขเ้ ลอื ดออก จานวน สบิ บาทถว้ น)

ค วาม ค ร บ ถ้ วน ถู ก ต้ อ งแ ล ะ 185 ราย คิดเป็นอัตรา

ทนั เวลา ปว่ ย 21.81 ต่อแสน

๒.วิเคราะห์สถานการณ์โรคและ ประชากร (ลดลงจากมัธย

รายงานสถานการณ์ โรคและ ฐาน ๕ ปีรอ้ ยละ 71.57)

กาหนดพืน้ ที่เสี่ยงของแตล่ ะอาเภอ ไม่มรี ายงานผเู้ สยี ชีวิต

ตาบล รวมทั้งการวิเคราะห์ข้อมูล

เพื่อใช้ในการควบคุมโรคกรณีเกิด

การระบาด

มำตรกำร รณรงค์กาจัดลูกน้า

ยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

ดาเนินกจิ กรรมดังน้ี

๑ .ป ร ะ ชุ ม ผู้ ป ร ะ ส า น ง า น

โครงการฯระดับอาเภอ

๒ .จั ด ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร ร ว บ ร ว ม

นวัตกรรมในการป้องกันควบคุม

โรคไข้เลือดออก

๓.ติดตามการจัดกิจกรรมรณรงค์

ในพื้นท่รี ะดับอาเภอ/ตาบล

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 126

๔.รวบรวมผลการสารวจค่าดัชนี
ลูกน้า HI CI และวิเคราะห์พ้ืนที่
เสย่ี ง

2. สรุปผลกำรดำเนนิ งำนในรอบปีงบประมำณ 2557 (ต่อ)

ที่ โครงการ กจิ กรรมดาเนนิ การ ผลลพั ธจ์ ากการ งบประมาณดาเนนิ งาน/
ดาเนินงาน แหลง่ งบประมาณ

มำตรกำร ควบคุมการเมื่อเกิดโรค
และเม่ือเกิดการระบาด ดาเนิน
กิจกรรมดังนี้
๑ .พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ อ า เภ อ ให้ มี
ความพรอ้ มในการควบคุมโรค
๒ .ติด ตาม และสนับ สนุ นการ
ดาเนินงานของอาเภ อในการ
ควบคมุ โรคในกรณเี กดิ การระบาด
๓.จัดต้ัง War room ระดบั จงั หวดั
เมื่อเกดิ การระบาดของโรค ต้งั แต่
๒ อาเภอข้นึ ไป และดาเนินการ
ประชมุ คณะกรรมการ War room
บริหารจดั การ ประสานงานในการ
ควบคมุ โรคใหส้ งบโดยเร็ว
๒. กากับตดิ ตามประเมินผลการ
ดาเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออก

สรปุ กำรวเิ ครำะห์ผลกำรดำเนินงำน (เชงิ คุณภำพ)
อัตราป่วย ปี ๒๕๕๗ (1 ม.ค.-30 ก.ย. ๕7) เทียบกับค่ามัธยฐาน ๕ ปี ย้อนหลัง (๒๕๕๑-๒๕๕๕)

จังหวัดสุพรรณบุรี มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จานวน 185 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 21.81 ต่อแสนประชากร
(ลดลงจากมัธยฐาน ๕ ปีร้อยละ 71.57) ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต จาแนกเป็น อาเภอเมืองฯ จานวน 65 ราย
คิดเป็นอัตราป่วย 37.93 ต่อแสนประชากร (ลดลงจากมัธยฐาน ๕ ปี ร้อยละ 75.34) อาเภอเดิมบางนางบวช
จานวน 3 ราย คิดเป็นอตั ราปว่ ย 4.08 ตอ่ แสนประชากร (ลดลงจากมัธยฐาน ๕ ปีร้อยละ 90.90) อาเภอด่าน
ช้างจานวน 7 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 10.56 ต่อแสนประชากร (ลดลงจากมัธยฐาน ๕ ปี ร้อยละ 75.11)
อาเภอบางปลาม้าจานวน 7 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 8.97 ต่อแสนประชากร (ลดลงจากมัธยฐาน ๕ ปีร้อยละ
87.๓3) อาเภอ ศรีประจันต์จานวน ๔9 ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๗8.58 ต่อแสนประชากร (ลดลงจากมัธย

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 127

ฐาน ๕ ปีร้อยละ 22.05) อาเภอดอนเจดีย์จานวน 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 6.68 ต่อแสนประชากร (เพิ่มข้ึน
จากมัธยฐาน ๕ ปีร้อยละ ๗6.๘๙) อาเภอสองพี่น้องจานวน 28 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 2๑.8๙ ต่อแสน
ประชากร (ลดลงจาก มัธยฐาน ๕ ปีร้อยละ 8๑.17) อาเภอสามชุกจานวน 7 ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๑2.99
ต่อแสนประชากร (ลดลงจากมัธยฐาน ๕ ปีร้อยละ ๖4.13) อาเภออู่ทองจานวน ๑0 ราย คิดเป็นอัตราป่วย
8.18 ต่อแสนประชากร (ลดลงจากมัธยฐาน ๕ ปรี ้อยละ ๘๙.๖4) และอาเภอหนองหญ้าไซจานวน 6 ราย คิด
เป็นอัตราป่วย ๑2.53 ตอ่ แสนประชากร (ลดลงจากมัธยฐาน ๕ ปรี อ้ ยละ 76.86)

อตั รำป่วยโรคไขเ้ ลอื ดออก และมัธยฐำน ๕ ปี จำแนกรำยอำเภอ
จงั หวดั สุพรรณบรุ ี พ.ศ. ๒๕๕๖-2557

๒๐๐

๑๕๓.๘๓ ๑๓๙.๙๔

๑๕๐ ๑๑๖.๒๖

๑๑๐.๘๗ ๗๐.๗๗๘๕.๕๑๘๐๐.๘๑๗๒๗.๑๘๖.๕๘ ๗๘.๙๘

๑๐๐ ๗๖๗.๗๔๔.๔๙

๓๗.๙๔๓๔.๘๕๒๕.๗๒๔๒.๔๓๓๐.๑๘ ๕๔.๑๕
๔.๐๘ ๑๐.๕๖ ๒๘.๔๙๐๑.๐๙ ๔๑.๗๓ ๔๑.๗๖
๕๐ ๒๑.๘๑ ๒๑.๘๓๙๖.๒๑๑๑๖๒.๗.๙๑๙
๖.๖๘ ๘.๑๘ ๑๒.๕๓
๘.๙๗



จงั หวดั เมอื ง เดิมบางนาง ดา่ นช้าง บางปลาม้า ศรีประจนั ต์ ดอนเจดีย์ สองพี่น้อง สามชกุ อ่ทู อง หนองหญ้า

บวช มธั ยฐาน 5 ปี 2556 2557 ไซ

แหลง่ ข้อมลู ผูป้ ่วย : งานระบาดวทิ ยา สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี (พ.ศ. 2557 ข้อมลู ณ 30 กนั ยายน 2557)

กำรประเมินตำมตวั ชี้วดั และเปำ้ หมำยกำรดำเนนิ งำนควบคมุ โรคไข้เลอื ดออก ปีงบประมำณ
๒๕๕๗

๑. สานักตรวจราชการเขตบริการสขุ ภาพที่ ๕ มี ๓ ตวั ช้ีวัด คือ
๑.๑ อตั ราป่วยด้วยโรคไขเ้ ลอื ดออกลดลงรอ้ ยละ ๔ เม่ือเทียบกบั มธั ยฐานย้อนหลงั ๕ ปี
๑.๒ อัตราปว่ ยตายด้วยโรคไข้เลอื ดออกไมเ่ กินร้อยละ ๐.๑๑

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 128

๑.๓ ไมม่ กี ารเกิด Generation ท่ี ๒ ของโรคไข้เลือดออกในหม่บู ้าน/ชุมชน เดียวกันไมน่ ้อย
กวา่ ร้อยละ ๙๐ ของหม่บู ้าน/ชุมชนท่พี บผปู้ ว่ ย

๒. เป้าหมายการลดโรคของกรมควบคุมโรค (จงั หวดั สุพรรณบรุ ีเปน็ พนื้ ที่เส่ยี งกลาง:M)
๒.๑ อตั ราป่วยด้วยโรคไขเ้ ลอื ดออกลดลงรอ้ ยละ ๔ เมื่อเทียบกบั มธั ยฐานย้อนหลงั ๕ ปี
๒.๒ อตั ราป่วยตายด้วยโรคไข้เลอื ดออกไม่เกนิ ร้อยละ ๐.๑๑

จังหวดั สุพรรณบุรี มคี า่ มธั ยฐานของอตั ราปว่ ยย้อนหลัง ๕ ปี (๒๕๕๑-๒๕๕๕) เทา่ กบั ๗๖.๗๑ ตอ่
ประชากรแสนคน มีอัตราปว่ ยในปี ๒๕๕๗ เท่ากบั 21.81 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ๑ ม.ค. ถงึ ๓๐ ก.ย.
๕๗) อตั ราป่วยลดลงรอ้ ยละ ๗1.57

จังหวัดสพุ รรณบุรี ไม่มรี ายงานผปู้ ว่ ยตายดว้ ยโรคไข้เลือดออก อตั ราป่วยตายดว้ ยโรคไขเ้ ลือดออกร้อย
ละ ๐.๐๐

จังหวัดสพุ รรณบุรมี กี ารเกดิ Generation ท่ี ๒ ของโรคไขเ้ ลือดออกในหมบู่ ้าน/ชมุ ชน เดยี วกนั เท่ากับ
รอ้ ยละ 4.๖8 ของหมู่บ้าน/ชุมชนท่พี บผ้ปู ่วย (6/1๒8*๑๐๐=4.๖8)

การประเมนิ ตามตวั ช้วี ดั และเปา้ หมายการดาเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ ๒๕๕๗
ณ ไตรมาสท่ี 4 (๓๐ ก.ย. ๕๗) เป็นไปตาม สานักตรวจราชการเขตบริการสุขภาพท่ี ๕ และของกรมควบคุมโรค
กาหนด

กำรประชมุ วชิ ำกำรรวบรวมนวตั กรรมในกำรป้องกนั ควบคุมโรคไขเ้ ลอื ดออกในระดับอำเภอตำมโครงกำร
ป้องกัน ควบคมุ โรคไข้เลอื ดออกจังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมำณ ๒๕๕๗
วันที่ ๖ มีนำคม ๒๕๕๗ ณ โรงแรมสองพันบรุ ี

ผลงานท่ีถกู คดั เลือกไดแ้ ก่ (ไม่เรียงลาดับคะแนน)
๑. คปสอ.สองพน่ี อ้ ง "เชือก ๔ สีพชิ ิตลูกน้ายุงลาย" รพ.สต.บางเลน
๒. คปสอ.สามชกุ "ขวดมหัศจรรย"์ รพ.สต.บา้ นสระ
๓. คปสอ.หนองหญา้ ไซ "ลอนใสชว่ ยป้องกนั โรคไขเ้ ลอื ดออก" รพ.สต.ทพั หลวง

รางวัลเชดิ ชผู ลงานเพม่ิ เติม ๑ รางวัล ไดแ้ ก่ คปสอ.เมืองฯ "เครือ่ งพ่นฝอยละอองจิ๋ว" รพ.สต.บา้ นโพธ์ิ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 129

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 130

งำนสรำ้ งเสรมิ ภมู ิคมุ้ กนั โรค จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมำณ 2557

เปำ้ หมำย
1. ร้อยละความครอบคลมุ ของการไดร้ ับวคั ซีน BCG ในกลุ่มเด็กอายุ 0-1 ปีไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 90
2. รอ้ ยละความครอบคลุมของการไดร้ ับวคั ซนี DTP-HB3 ในกล่มุ เดก็ อายุ 0-1 ปไี ม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 90
3. รอ้ ยละความครอบคลมุ ของการได้รบั วัคซีน OPV3 ในกลมุ่ เด็กอายุ 0-1 ปไี ม่น้อยกว่าร้อยละ 90
4. รอ้ ยละความครอบคลุมของการได้รับวคั ซนี MMR ในกลุ่มเด็กอายุ 0-1 ปไี ม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 95
5. ร้อยละความครอบคลุมของการได้รบั วคั ซีน JE3 ในกล่มุ เดก็ อายุ 1-5 ปีไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 90
6. ร้อยละความครอบคลมุ ของการได้รบั วคั ซีน DTP5 ในกลมุ่ เดก็ อายุ 1-5 ปีไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 90
7. รอ้ ยละความครอบคลมุ ของการได้รบั วคั ซนี OPV5 ในกลุ่มเด็กอายุ 1-5 ปไี ม่น้อยกวา่ ร้อยละ 90

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 131

วเิ ครำะหส์ ถำนกำรณ์ ตำมสำคัญสภำพปัญหำของพ้ืนท่ี นโยบำยท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั ตวั ช้ีวัด

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค นับเป็นวิธีการป้องกันโรคท่ีดี และมีประสิทธิภาพมากท่ีสุดวิธีหนึ่ง

กระทรวงสาธารณสุขได้ขยายงานและผสมผสานบูรณาการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเข้ากับระบบบริการ

สาธารณสุขในพ้ืนที่ ในปี พ.ศ. 2520 ทาให้ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนของประชาชนกลุ่มเป้าหมายเพ่ิม

สูงข้ึน โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่สาคัญๆ ได้แก่ วัณโรค คอตีบ ไอกรน หัด หัดเยอรมัน

ตับอักเสบบี และไข้สมองอักเสบเจอี ลดลงอย่างเหน็ ได้ชดั

วตั ถุประสงค์ของแผนปฏิบัตงิ านโรคติดต่อท่ปี ้องกนั ได้ดว้ ยวัคซีนที่สาคัญคือการกวาดลา้ งโรคโปลิโอให้

หมดไป การกาจัดโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิดให้เหลือไม่เกิน 1 ต่อพันเด็กเกิดมีชีพรายอาเภอ และลด

อัตราป่วยดว้ ยโรคติดต่อทีป่ ้องกันได้ด้วยวัคซีน อาทิ คอตีบ ไอกรน หัดทกุ กลมุ่ อายุ และโรคไขส้ มองอักเสบเจอี

โดยมีกลวิธีหลักคือการรักษาระดับความครอบคลุมการให้วัคซีนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ให้ทุก

หมู่บ้าน/ตาบล การรณ รงค์ให้วัคซีนโปลิโอ การเฝ้าระวังผู้ป่วยกล้ามเน้ืออ่อนแรงเฉียบพลัน

พัฒนาระบบการเฝ้าระวังอาการภายหลังการได้รับวัคซีน การพัฒนาคุณภาพการให้บริการให้ได้มาตรฐาน

และการเฝา้ ระวัง สอบสวนและควบคุมโรคเม่อื มีการระบาด

สาหรับจังหวัดสุพรรณบุรีสามารถรักษาระดับความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในประชาชน

กลุ่มเป้าหมายเกนิ กวา่ ร้อยละ 90 ทุกหมู่บ้าน/ตาบลและเทศบาล มากกว่า 10 ปี จังหวัดสุพรรณบุรีมีรายงาน

ผู้ป่วยโปลิโอรายสุดท้ายในปี พ.ศ. 2535 ท่ีอาเภอดอนเจดีย์ โรคคอตีบรายสุดท้ายพบที่อาเภอเมือง

สุพรรณบุรีปี พ.ศ. 2535 และโรคบาดทะยักในเด็กแรกเกิดมีรายงานครั้งสุดท้ายปี พ.ศ. 2543 ที่อาเภอ

เมอื งสพุ รรณบุรี เชน่ กัน

ปีงบประมาณ 2554 มีผู้ป่วยโรคหัดและหัดท่ีมีโรคแทรก รวมทั้งสนิ้ 18 ราย เป็นหัดท่ีมีโรคแทรก 3

ราย พบสูงสุดในเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี จานวน 10 ราย ไม่มีรายงานโรคไข้สมองอักเสบ ไม่มีรายงานผู้ป่วย

โปลิโอ คอตีบ ไอกรน และบาดทะยักในเด็กแรกเกิด รวมท้ังไม่มีรายงานการระบาดของโรคท่ีป้องกันได้ด้วย

วัคซีนอน่ื ๆ ผู้ปว่ ยกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนดิ เฉียบพลนั 1 ราย

ปีงบประมาณ 2555 ในเด็กอายุต่ากว่า 5 ปีมีผู้ป่วยโรคหัดและหัดท่ีมีโรคแทรก รวมทั้งสิ้น 12 ราย

และเป็นหัดท่ีโรคแทรก 2 ราย ไม่มีรายงานโรคไข้สมองอักเสบ ไม่มีรายงานผู้ป่วยโปลิโอ คอตีบ ไอกรน และ

บาดทะยักในเด็กแรกเกิด รวมทั้งไม่มีรายงานการระบาดของโรคท่ีป้องกันได้ด้วยวัคซีน แต่มีผู้ป่วยกล้ามเน้ือ

อ่อนแรงชนิดเฉียบพลัน 2 ราย ในเด็กอายุต่ากว่า 14 ปี สถานบริการสาธารณสุขดาเนินการเก็บตัวอย่างส่ง

ตรวจ สอบสวนโรคและให้วัคซนี (ORI) ทันตามเวลากาหนดและครบตามเกณฑ์

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 132

ปีงบประมาณ 2556 ไม่มีรายงานผู้ป่วยโรคหัดและหัดท่ีมีโรคแทรก ในเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ไม่มี
รายงานโรคไข้สมองอักเสบ ไม่มีรายงานผ้ปู ่วยโปลิโอ คอตบี ไอกรน และบาดทะยักในเด็กแรกเกิด รวมท้ังไม่มี
รายงานการระบาดของโรคที่ป้องกนั ได้ด้วยวัคซีน

ปีงบประมาณ 2557 ไม่มีรายงานผู้ป่วยโรคหัดและหัดที่มีโรคแทรก ในเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ไม่มี
รายงานโรคไข้สมองอักเสบ ไม่มีรายงานผู้ป่วยโปลิโอ คอตีบ ไอกรน และบาดทะยักในเด็กแรกเกิด รวมทั้งไม่มี
รายงานการระบาดของโรคทป่ี ้องกนั ไดด้ ้วยวัคซีน

ขอ้ มูลกำรดำเนนิ งำนสร้ำงเสรมิ ภูมิคมุ้ กันโรค ปงี บประมำณ 2557 (30กันยำยน 2557)

ตวั ชวี้ ดั KPI เป้ำหมำย ผลงำน รอ้ ยละ
เปำ้ หมำย ผลงำน 89.75
98.39
1. เดก็ อายุ 1 ปที ีไ่ ดร้ บั วคั ซีนป้องกนั โรคหดั ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 95 6,577 5,903 94.33
94.33
2. เดก็ อายุ 1 ปีทีไ่ ด้รบั วัคซนี BCG ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 6,577 6,471 91.69
91.65
3. เดก็ อายุ 1 ปที ไี่ ด้รับวัคซีนDTH-HB3 ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 90 6,577 6,204 86.11
82.39
4. เด็กอายุ 1 ปีที่ไดร้ บั วัคซนี OPV3 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 6,577 6,209 91.64
91.53
5. เดก็ อายุ 2 ปีทไ่ี ดร้ ับวัคซนี DTP4 ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 90 7,236 6,635

6. เด็กอายุ 2 ปีทไ่ี ด้รับวัคซนี OPV4 ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 90 7,236 6,632

7. เด็กอายุ 2 ปที ่ไี ดร้ ับวัคซนี JE2 ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 90 7,236 6,231

8. เดก็ อายุ 3 ปที ีไ่ ดร้ บั วคั ซนี JE3 ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 90 7,185 5,920

9. เดก็ อายุ 5 ปที ี่ไดร้ ับวคั ซนี DTP5 ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 90 8,003 7,334

10. เด็กอายุ 5 ปที ี่ไดร้ ับวคั ซนี OPV5 ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 90 8,003 7,325

ท่มี า : คลังข้อมูลสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี (Data Center)
1. เด็กอายุ 1 ปี เป็นเดก็ ทเ่ี กดิ ระหวา่ ง 1 ตลุ าคม 2555 – 30 กนั ยายน 2556
2. เด็กอายุ 2 ปี เปน็ เด็กทเ่ี กดิ ระหวา่ ง 1 ตุลาคม 2554 – 30 กันยายน 2555
3. เดก็ อายุ 3 ปี เป็นเด็กทเ่ี กดิ ระหวา่ ง 1 ตุลาคม 2553 – 30 กนั ยายน 2554
4. เด็กอายุ 5 ปี เปน็ เด็กที่เกดิ ระหวา่ ง 1 ตลุ าคม 2551 – 30 กนั ยายน 2552

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 133

วเิ ครำะหผ์ ลงำนของจังหวดั เชิงคณุ ภำพ

ท่ีผ่านมา ความครอบคลุมการให้วัคซีนของจังหวัดสุพรรณบุรีในกลุ่มเด็กต่ากว่า 5 ปี ได้จากการ

รายงานความครอบคลุมรายไตรมาส รายงานเป็นรายตาบลทุก 3 เดือนพบว่า ทุกหมู่บ้าน/ตาบลและอาเภอ

สามารถดาเนินงานได้ครอบคลุมตามเป้าหมายเกินกว่าร้อยละ 90 ต้ังแต่ปีงบประมาณ 2553 และได้มีการ

ปรับเปลี่ยนระบบการประเมินผลการดาเนินงาน ด้วยการประมวลผลจากการบันทึกข้อมูล ในโปรแกรม

Hosxp ในปี 2555 เป็นต้นมา ซึง่ พบวา่ ในปนี ้ผี ลการดาเนินงานต่ากวา่ ปที ผ่ี า่ นมา

ปีงบประมาณ 2556 ผลการดาเนินงานวัคซีนป้องกันโรคในเด็กอายุ 1-5 ปี เม่ือดาเนินการครบตาม

ปีงบประมาณผลงานได้ครบตามเกณฑ์ มเี พียง 3 ตวั ชี้วดั ทผ่ี ลการดาเนนิ งานไม่ผ่านเกณฑ์ คือ

- เดก็ อายุ 1 ปีทไ่ี ด้รับวัคซีนปอ้ งกนั โรคหดั เป้าหมาย ร้อยละ 95 ผลงาน ร้อยละ 85.51

- เดก็ อายุ 2 ปีทไ่ี ดร้ ับวคั ซนี JE2 เป้าหมาย ร้อยละ 90 ผลงาน ร้อยละ 87.14

- เดก็ อายุ 3 ปที ีไ่ ดร้ ับวคั ซีน JE3 เป้าหมาย รอ้ ยละ 90 ผลงาน รอ้ ยละ 84.37

ปีงบประมาณ 2557 ผลการดาเนินงานวัคซีนป้องกันโรคในเด็กอายุ 1-5 ปี เมื่อดาเนินการครบตาม

ปีงบประมาณผลงานไดค้ รบตามเกณฑ์ มเี พียง 3 ตัวชว้ี ัดท่ีผลการดาเนนิ งานไมผ่ า่ นเกณฑ์ คอื

- เด็กอายุ 1 ปที ไ่ี ด้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด เปา้ หมาย รอ้ ยละ 95 ผลงาน รอ้ ยละ 89.75

- เด็กอายุ 2 ปที ไ่ี ดร้ บั วัคซีน JE2 เป้าหมาย รอ้ ยละ 90 ผลงาน รอ้ ยละ 86.11

- เดก็ อายุ 3 ปที ี่ได้รบั วคั ซีน JE3 เป้าหมาย รอ้ ยละ 90 ผลงาน ร้อยละ 82.39

กำรประเมนิ มำตรฐำนกำรปฏบิ ตั ิงำนสร้ำงเสริมภมู ิคุ้มกนั โรคในระดบั หน่วยบรกิ ำร
การประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในระดับหน่วยบริการ โดยประเมิน

ในผรู้ ับผิดชอบการบริหารจดั การวัคซีน ผู้ให้บรกิ ารวัคซีน และผู้จดั ทาทะเบยี นรายงาน เน้ือหาประกอบด้วย 3
ตอน ดังตอ่ ไปน้ี

1. การบริหารจัดการวคั ซนี และระบบลกู โซ่ความเยน็
พบว่าขาดการจัดทาแผนเตรียมความพร้อมกรณีฉุกเฉินในระบบลูกโซ่ความเย็น ไม่มีการบันทึก
อุณหภูมิให้ครบถ้วนโดยเว้นวันหยุดราชการไม่ได้ทาการบันทึก และไม่ได้ลงเวลาท่ีบันทึกจริง ส่วนการเก็บ
รักษาวัคซีนยังเก็บได้ไม่ถูกต้อง เช่น MMR ไม่ได้ใส่ซองทึบแสง และเก็บวัคซีน BCG ไว้ใต้ช่องแช่แข็ง
ซึ่งพบเพยี งบางแหง่
2. การให้บริการวคั ซนี

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 134

พบว่าปัญหาท่ีพบในเกือบทุกหน่วยบริการคือ วัคซีนสามารถตรวจสอบได้เพียงร่วม lot no.
สาหรับการร่วมขวดไม่สามารถตรวจสอบได้ หากผู้รับบริการมีอาการแพ้วัคซีนเกิดข้ึน ขาดแผงผังช่วยเหลือ
เบื้องต้นแก่ผู้รับวัคซีน กรณีเกิด Anaphylaxis หรือมีอาการภายหลังได้รับวัคซีนท่ีรุนแรง ขาดแผนผังกากับ
การ สง่ ผปู้ ่วยไปรับการรักษาตอ่ และสามารถส่งต่อผปู้ ่วยไดภ้ ายใน 15 นาทีหลังเรม่ิ มีอาการ และอุปกรณ์การ
กูช้ พี เบ้อื งต้นกรณีฉกุ เฉนิ ไมพ่ ร้อม

3. การบริหารจดั การข้อมลู
พบวา่ ในภาพรวมของจงั หวัดได้คะแนนการประเมินมาตรฐานการปฏิบัตงิ านสร้างเสรมิ ภูมิคุ้มกันโรคคิด
เป็นร้อยละ 91.18 หน่วยบริการของโรงพยาบาลได้คะแนนการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงาน สรา้ ง
เสริมภูมิคุ้มกันโรคคิดเป็นร้อยละ 82.52 และรพ.สต.การประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
โรคคิดเป็นร้อยละ 92.43 คปสอ.ท่ีได้คะแนนสูงสดุ ในการประเมนิ รวมทั้งหน่วยบริการ โรงพยาบาลและรพ.สต.
คืออาเภอสามชุกร้อยละ 97.42 รองลงมาคืออาเภอด่านช้าง ร้อยละ 94.63 และอาเภอเดิมบางนางบวช ร้อย
ละ 94.25 ตามลาดบั

ปัญหำและขอ้ เสนอแนะ
1. รายงานความครอบคลุมวัคซีนที่ประมวลจากโปรแกรม HosXp ที่สถานบริการส่งมาท่ี DATA

CENTER ต่ากว่าร้อยละ 90 เกือบทุกแห่ง บางแห่งผลงานเป็นศูนย์ เมื่อนิเทศติดตามโดย ตรวจสอบข้อมูลของ
โรงพยาบาลและสุ่มรพ.สต.อาเภอละ 1 แห่ง ข้อมูลที่สถานบริการพบว่ามีผลงานมากกวา่ ร้อยละ 90 เกือบทุก
แหง่

2. มีเจ้าหน้าท่ีจบใหม่ให้บริการวัคซีนตามแนวทางเวชปฏิบัติที่เรียนมาแต่ไม่ตรงกับแนวทางของกรม
ควบคุมโรค อาจทาให้การสรา้ งภูมิคุ้มกันโรคได้ไม่เพียงพอ เกิดการแพร่ระบาดของโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ในภายหลัง นอกจากนี้ปจั จุบันมีความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงเรอ่ื งของวัคซีนหลายชนิด ฉะนน้ั ควรมีการ
อบรม/ฟื้นฟูความรแู้ กผ่ ู้ปฏิบัติงานทุกปี

ขอ้ เสนอแนะเพื่อกำรพฒั นำ ปรบั ปรุงแกไ้ ข
1. ควรมีการจัดการอบรมฟื้นฟูความรู้แก่เจ้าหน้าท่ีทุกระดับในมาตรฐานการปฏิบัติ งานสร้างเสริม

ภูมิคุม้ กนั โรคเนอ่ื งจากผู้รับผิดชอบงานในระดับหน่วยบริการ มักมีการเปลย่ี นแปลงอยู่เสมอ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 135

2. ควรจัดระบบการสอบเทียบเครื่องมือให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เช่น มอบหมายโรงพยาบาล
รับผิดชอบและประสานมายัง สาธารณสุขอาเภอเม่ือมีการจัดสอบเทียบเคร่ืองมือ เพื่อให้โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบลนาเคร่ืองมือมาสอบเทยี บพร้อมกนั ทง้ั หมดในแตล่ ะพ้ืนท่ี

3. ควรทาการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในระดับหน่วยบริการทุก 6
เดอื น เพราะเมือ่ ขาดการควบคุมกากบั มกั จะละเลย หรือหลงลมื บางประเด็นทสี่ าคญั

4. ควรเน้นย้าให้ตระหนักถึงความสาคัญในเร่ืองเอกสารร่วมด้วย แผนผังต่าง ๆ ที่เก่ียวเน่ืองกับการ
ให้บริการรวมทั้ง การ print out ทะเบียนการให้บรกิ าร เพือ่ ปอ้ งกันขอ้ มูลสญู หาย

5. การบริหารจัดการข้อมูล การบันทึกข้อมูล ควรดาเนินการด้วยความรอบคอบ เช่น การลงรหัสให้
ถกู ตอ้ ง การกาหนด type area ฯ เพ่ือให้ข้อมูลมีความถูกต้องครบถว้ น

โครงกำรป้องกัน ควบคุมโรคตดิ ต่อท่วั ไป จงั หวัดสุพรรณบรุ ี
ปงี บประมำณ ๒๕๕๗

หลักกำรและเหตุผล
จากการประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการเรื่อง “การจัดทาจุดเนน้ และกรอบการดาเนินงานป้องกันควบคุมโรคและ

ภยั สุขภาพ ๕ ปี (๒๕๕๗-๒๕๖๑) กรมควบคุมโรค ระดับพื้นทเ่ี ขต ระหวา่ งเดือนมีนาคม ถงึ เดือนเมษายน ๒๕๕๖
โดยใช้กระบวนการ/เทคนิคการมีสว่ นรว่ มประกอบกับเกณฑ์การจัดลาดับความสาคัญของปัญหาโรคและภัยสขุ ภาพ
โดยมีกลุ่มเปา้ หมายจานวน ๓๔๔ คน จากทุกกลุ่มงานของสานักงานป้องกนั ควบคมุ โรคท่ี ๑-๑๒ ยกเวน้
ฝ่ายบริหารทวั่ ไป ซ่ึงไดแ้ ก่กลุ่มพฒั นาภาคเี ครือขา่ ย กลุ่มพัฒนาวิชาการ กล่มุ สอ่ื สารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรม
สุขภาพ กลุ่มระบาดวิทยาและขา่ วกรอง กลุ่มแผนงานและประเมนิ ผล กลมุ่ พัฒนาองค์กร กลุ่มตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
ทางดา้ นสาธารณสุข มีผลการสรุปโรคและภยั สขุ ภาพที่สาคัญระดบั พน้ื ที่เขต จาแนกตามสานกั งานป้องกนั ควบคมุ โรค
โดยสานกั งานป้องกันควบคุมโรคที่ ๔ จังหวดั ราชบุรี ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคระบบทางเดินอาหารและน้า โรค
พษิ สนุ ัขบ้า และวัณโรค

ในส่วนของจังหวัดสุพรรณบุรีนอกจากโรคดังกล่าวแล้ว อาจจะมีโรคท่ีเกิดข้ึนโดยไม่เป็นปัญหาใน
ภาพรวมของระดับเขต เช่น โรคมือเท้าปาก โรคไข้หวดั ใหญ่ โรคคอตีบ หรอื โรคติดต่ออุบัติใหม่ เป็นต้น ดังน้ัน
เพอ่ื ให้สามารถตอบสนองต่อการป้องกนั และควบคุมโรคที่เกดิ ขน้ึ โดยไม่สามารถคาดการณไ์ ด้ ตอ้ งมคี วามพรอ้ ม
ในการดาเนินงานตอบโต้ ภาวะโรคและภัยสุขภาพนั้นๆ ได้ จึงจาเป็นต้องมีแผนงาน/โครงการเตรียมพร้อม
รบั มือ รวมทงั้ ซักซ้อมความเขา้ ใจในแนวทางการปฏิบตั ิให้เหมาะสมกับเหตกุ ารณท์ ่เี กิดขน้ึ ในขณะนนั้

โดยสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี จึงได้จัดทาแผนงาน/โครงการป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ
ทวั่ ไปจังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ข้นึ โดยปรับกระบวนทรรศนใ์ นการบริหารจัดการโครงการใหม่

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 136

ตามแนวทางการตรวจราชการเครือข่ายท่ี ๕ ที่เน้นย้าให้แต่ละส่วนได้มีการกาหนดแผนงาน/โครงการ รวมท้ัง
บทบาทท่ีชัดเจนในแต่ละระดับ ซึ่งต้องสอดคล้องประสานกันต้ังแต่ระดับพ้ืนที่จนถึงระดับจังหวัด และให้
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดมีหน้าที่กากับ ติดตามการดาเนินงานของหน่วยงานในระดับอาเภอท่ีบริหาร
จดั การแก้ไขปัญหาในพื้นที่โดยงบประมาณของตนเอง ภายใต้การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง ซ่ึงจะ
ส่งผลให้หยุดยั้ง การแพร่ระบาดและสามารถควบคุมโรและภัยสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธิผลต่อไป
วตั ถุประสงค์

๑. เพื่อจัดทาแผนรองรับการระบาดของโรคติดต่อและภยั สขุ ภาพ ในพื้นทจ่ี ังหวัดสุพรรณบุรี
๒. เพ่อื ปอ้ งกนั และควบคุมโรคติดตอ่ และภัยสุขภาพทจ่ี ะเกิดข้นึ
ตวั ช้วี ดั ควำมสำเร็จของโครงกำร
๑. มีแผนรองรบั การระบาดของโรคติดต่อและภยั สุขภาพ ในพน้ื ที่จังหวัดสพุ รรณบรุ ี
๒. สามารถป้องกนั ควบคมุ โรคติดต่อและภยั สขุ ภาพทเ่ี กดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว

๑. สรปุ สถำนกำรณ์โรค

จำนวนป่วย อัตรำป่วยต่อประชำกรแสนคน จำนวนตำย อัตรำตำยต่อประชำกรแสนคน อตั รำป่วยตำย

ด้วยโรคทต่ี ้องเฝ้ำระวงั ทำงด้ำนระบำดวทิ ยำ

จังหวดั สพุ รรณบุรี ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกรำคม 2557 ถงึ วันที่ 30 กนั ยำยน 2557

อันดบั โรค ป่วย อัตราป่วย ตาย อตั ราตาย อัตราปว่ ยตาย

1 Diarrhoea 9061 1068.01 0 0.00 0.00

2 Pyrexia 2987 352.07 0 0.00 0.00

3 Pneumonia 1561 183.99 0 0.00 0.00

4 H.conjunctivitis 1265 149.10 0 0.00 0.00

5 Chickenpox 894 105.37 0 0.00 0.00

6 Food Poisoning 759 89.46 0 0.00 0.00

7 Hand,foot and mouth disease490 57.76 0 0.00 0.00

8 Influenza 365 43.02 0 0.00 0.00

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 137

9 D.H.F,Total(26,27,66) 185 21.81 0 0.00 0.00
10 Dengue fever 94 11.08 0 0.00 0.00

นับตงั้ แต่วันท่ี 1 มกราคม 2557 ถึงวันท่ี 30 กันยายน 2557 สสจ.สุพรรณบุรไี ด้รับรายงานผปู้ ่วยด้วย
โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางดา้ นระบาดวิทยา 10 อันดบั แรกเรียงตามอัตราป่วยตอ่ ประชากรแสนคน ไดแ้ ก่ อันดบั 1
Diarrhoea 1068.01, อั น ดั บ 2 Pyrexia 352.07, อั น ดั บ 3 Pneumonia 183.99, อั น ดั บ 4
H.conjunctivitis 149.10, อันดับ 5 Chickenpox 105.37, อันดับ 6 Food Poisoning 89.46, อันดับ 7
Hand foot and mouth disease 57.76, อันดับ 8 Influenza 43.02, อันดับ 9 D.H.F,Total (26,27,66)
21.81 และ อันดบั 10 Dengue fever 11.08

โรคอจุ จำระรว่ ง (Diarrhoea)
นับตั้งแต่วันท่ี 1 มกราคม 2557 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2557 สสจ.สุพรรณบุรี ได้รับรายงานผู้ป่วย

โรค Diarrhoea จานวนทั้งสิ้น 9061 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 1068.01 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงาน
ผู้ปว่ ยเสียชวี ิต

พบผู้ป่วยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยพบเพศหญิง 5399 ราย เพศชาย 3662 ราย อัตราส่วน
เพศหญิงตอ่ เพศชาย เท่ากับ 1.47 : 1

กลุ่มอายุท่ีพบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 0 - 4 ปี อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนเท่ากับ 4320.64 ราย
รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 65 ปี ขึน้ ไป, 5 - 9 ปี, 55 - 64 ปี, 15 - 24 ปี, 10 - 14 ปี,45 - 54 ปี, 25 - 34
ป,ี 35 - 44 ปี อัตราปว่ ยเท่ากบั 1528.12, 1206.4, 999.4, 900.55, 736.34, 714.7, 687.29 และ 660.52
ราย ตามลาดบั

อาเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคืออาเภอดอนเจดีย์ อัตราป่วยเท่ากับ 1,670.56 ต่อ
ประชากรแสนคน รองลงมาคือ อาเภอหนองหญ้าไซ, อาเภออู่ทอง, อาเภอศรีประจันต์, อาเภอเมือง, อาเภอ
สามชุก, อาเภอสองพี่น้อง, อาเภอด่านช้าง, อาเภอบางปลาม้า, อาเภอเดิมบางนางบวช, อัตราป่วยเท่ากับ
1430.42 , 1412.44 , 1223.54 , 1100.53 , 1078.54 , 991.33 , 731.88 , 712.25 และ 490.65 ตามลาดบั

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 138

อัตราป่ วยต่อประชากรแสนคน ด้วยโรค Diarrhoea จาแนกตามพนื้ ท่ี จังหวัด

สุพรรณบุรี ระหว่างวันท่ี 1 มกราคม 2557 ถงึ วันท่ี 30 กนั ยายน 2557

1800 1670.56

1600 1412.44 1430.42

1400 1223.54 1078.54 หนองหญ้า
1200 1100.53 ไซ
991.33
1000
อัตรา ่ปวย/แสน 800 731.88 712.25

600 490.65

400

200

0

เมือง เดมิ บางนาง ดา่ นช้าง บางปลาม้า ศรีประจนั ต์ ดอนเจดีย์ สองพี่น้อง สามชกุ อ่ทู อง

บวช

จานวนผ้ปู ่ วย(ราย) จานวนผ้ปู ่ วยด้วยโรค Diarrhoea จาแนกรายเดอื น จ.สุพรรณบุรี
เปรียบเทยี บข้อมลู ปี 2557 กับค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลงั
2500

2000

1500

1000

500

0

Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec

เดือน

Median 2557

โรคปอดบวม (Pneumonia)
นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 ถึงวันท่ี 30 กันยายน 2557 สสจ.สุพรรณบุรี ได้รับรายงานผู้ป่วย

โรค Pneumonia จานวนท้ังสิ้น 1561 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 183.99 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงาน
ผปู้ ่วยเสียชวี ิต

พบผู้ป่วยเพศชายมากกว่าเพศหญิง โดยพบเพศชาย 830 ราย เพศหญิง 731 ราย อัตราส่วนเพศ
ชาย ตอ่ เพศหญิง เท่ากบั 1.14 : 1

กลุ่มอายุท่ีพบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 0 - 4 ปี อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนเท่ากับ 1167.62 ราย
รองลงมาคอื กลมุ่ อายุ 65 ปี ข้นึ ไป, 55 - 64 ปี, 5 - 9 ปี, 45 - 54 ปี, 35 - 44 ปี,10 - 14 ปี, 25 - 34 ปี

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 139

, 15 - 24 ปี อัตราป่วยเท่ากับ 644.59, 127.7, 101.92, 87.93, 54.8, 49.47, 26.06 และ 25.92 ราย
ตามลาดบั

อาเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคืออาเภอบางปลาม้า อัตราป่วยเท่ากับ 243.40 ต่อ
ประชากรแสนคน รองลงมาคือ อาเภอสองพี่น้อง, อาเภอเมือง, อาเภออู่ทอง, อาเภอศรีประจันต์, อาเภอดอน
เจดยี ์, อาเภอเดมิ บางนางบวช, อาเภอหนองหญ้าไซ, อาเภอสามชกุ , อาเภอด่านช้าง อตั ราปว่ ยเทา่ กับ 237.67,
234.58, 218.49, 192.43, 189.33, 122.32, 85.62, 85.39 และ 24.14 ตามลาดบั

อตั ราป่ วยตอ่ ประชากรแสนคน ด้วยโรค Pneumonia จาแนกตามพนื ้ ท่ี จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

ระหวา่ งวนั ที่ 1 มกราคม 2557 ถงึ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2557

300 243.4 237.67 218.49
250 234.58 192.43 189.33

200

อัตรา ่ปวย/แสน 150 122.32 85.39 85.62
100

50 24.14

0
เมือง เดิมบางนาง ดา่ นช้าง บางปลาม้า ศรีประจนั ต์ ดอนเจดีย์ สองพี่น้อง สามชกุ อ่ทู อง หนองหญ้าไซ
บวช

จานวนผ้ปู ่วย(ราย) จานวนผ้ปู ่ วยด้วยโรค Pneumonia จาแนกรายเดอื น จ.สพุ รรณบรุ ี
300 เปรียบเทียบข้อมลู ปี 2557 กบั คา่ มธั ยฐาน 5 ปี ย้อนหลงั

250

200

150

100

50

0

Jan Feb Mar Apr May Jun เดอื นJul Aug Sep Oct Nov Dec

Median 2557

โรคตำแดง (H.conjunctivitis)

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 140


Click to View FlipBook Version