The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-20 05:36:14

รายงานประจำปี2557

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

นับต้ังแตว่ ันที่ 1 มกราคม 2557 ถึงวันท่ี 30 กันยายน 2557 สสจ.สุพรรณบุรี ได้รับรายงานผูป้ ่วยโรค
H.conjunctivitis จานวนทั้งสิ้น 1265 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 149.10 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงาน
ผู้ป่วยเสยี ชวี ติ

พบผู้ป่วยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยพบเพศหญิง 721 ราย เพศชาย 544 ราย อัตราส่วนเพศ
หญิงตอ่ เพศชาย เทา่ กบั 1.33 : 1

กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 5 - 9 ปี อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนเท่ากับ 422.24 ราย
รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 0 - 4 ปี, 10 - 14 ปี, 15 - 24 ปี, 35 - 44 ปี, 25 - 34 ปี, 55 - 64 ปี, 45 - 54 ปี, 65
ปี ขึ้นไป อัตราป่วยเท่ากับ 354.22, 285.4, 128.77, 119.22, 107.97, 107.71, 95.44 และ 73.35 ราย
ตามลาดับ

อาเภอท่ีมีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคืออาเภอเมือง อัตราป่วยเท่ากับ 229.33 ต่อ
ประชากรแสนคน รองลงมาคือ อาเภอศรีประจันต์, อาเภอดอนเจดีย์, อาเภอสองพ่ีน้อง, อาเภอบางปลาม้า,
อาเภอเดิมบางนางบวช, อาเภอสามชุก, อาเภออู่ทอง, อาเภอหนองหญ้าไซ และ อาเภอด่านช้าง, อัตราป่วย
เทา่ กับ 221.3, 187.1, 139.16, 122.98, 111.45, 107.67, 107.2, 102.32 และ 84.51 ตามลาดับ
โรคสุกใส (Chickenpox)

อตั ราป่ วยตอ่ ประชากรแสนคน ด้วยโรค H.conjunctivitis จาแนกตามพนื ้ ที่

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ระหวา่ งวนั ที่ 1 มกราคม 2557 ถงึ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2557

250 229.33 221.3

200 187.1

อัตรา ่ปวย/แสน 150 111.45 122.98 139.16
100 84.51 107.67 107.2 102.32

50

0
เมอื ง เดิมบางนาง ดา่ นช้าง บางปลาม้า ศรีประจนั ต์ ดอนเจดีย์ สองพ่นี ้อง สามชกุ อ่ทู อง หนองหญ้าไซ
บวช

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 141

จานวนผ้ปู ่วย(ราย)

800
700

600 จานวนผ้ปู ่ วยด้วยโรค H.conjunctivitis จาแนกรายเดือน จ.สพุ รรณบรุ ี
500 เปรียบเทียบข้อมลู ปี 2557 กบั คา่ มธั ยฐาน 5 ปี ย้อนหลงั

400
300
200
100

0
Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec
เดือน

Median 2557

นับตงั้ แตว่ นั ท่ี 1 มกราคม 2557 ถึงวนั ท่ี 30 กันยายน 2557 สสจ.สพุ รรณบรุ ี ไดร้ ับรายงานผูป้ ว่ ยโรค
Chickenpox จานวนทั้งสิ้น 894 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 105.37 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วย
เสียชีวติ

พบผู้ป่วยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยพบเพศหญิง 483 ราย เพศชาย 411 ราย อัตราส่วนเพศ
หญงิ ต่อเพศชาย เท่ากบั 1.18 : 1

กลุ่มอายุท่ีพบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 5 - 9 ปี อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนเท่ากับ 416 ราย รองลงมา
คือ กลุ่มอายุ 0 - 4 ปี, 10 - 14 ปี, 15 - 24 ปี, 25 - 34 ปี, 35 - 44 ปี, 45 - 54 ปี, 55 - 64 ปี, 65 ปี ขึ้นไป
อัตราป่วยเท่ากับ 358.6, 243.55, 153.86, 94.57, 45.17, 17.29, 4.44 และ 3.33 ราย ตามลาดบั

อาเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคืออาเภออู่ทอง อัตราป่วยเท่ากับ 217.68 ต่อ
ประชากรแสนคน รองลงมาคือ อาเภอเมือง, อาเภอศรีประจันต์, อาเภอด่านช้าง, อาเภอดอนเจดีย์, อาเภอ
สามชกุ , อาเภอเดิมบางนางบวช, อาเภอบางปลาม้า, อาเภอสองพน่ี ้อง, อาเภอหนองหญ้าไซ อัตราป่วยเท่ากับ
106.2, 89.8, 89.03, 86.87, 81.68, 81.55, 80.71, 78.18 และ 52.21 ราย ตามลาดบั

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 142

อตั ราป่ วยตอ่ ประชากรแสนคน ด้วยโรค Chickenpox จาแนกตามพนื ้ ที่ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

250 ระหวา่ งวนั ที่ 1 มกราคม 2557 ถงึ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2557 217.68

200

อัตรา ่ปวย/แสน 150 106.2 81.55 89.03 80.71 89.8 86.87 78.18 81.68
100
52.21
50

0

เมือง เดิมบางนาง ดา่ นช้าง บางปลาม้า ศรีประจนั ต์ ดอนเจดีย์ สองพ่ีน้อง สามชกุ อทู่ อง หนองหญ้าไซ
บวช

จานวนผ้ปู ่ วย(ราย) จานวนผ้ปู ่ วยด้วยโรค Chickenpox จาแนกรายเดือน จ.สุพรรณบุรี
400 เปรียบเทยี บข้อมลู ปี 2557 กับค่ามธั ยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง

300

200

100

0

Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec

Median 2557

โรคอำหำรเปน็ พษิ (Food Poisoning)
นบั ต้ังแตว่ ันท่ี 1 มกราคม 2557 ถึงวนั ท่ี 30 กันยายน 2557 สสจ.สพุ รรณบุรี ไดร้ ับรายงานผปู้ ว่ ยโรค

Food Poisoning จานวนท้ังส้ิน 759 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 89.46 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วย
เสยี ชีวติ

พบผ้ปู ่วยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยพบเพศหญิง 443 ราย เพศชาย 316 ราย อัตราส่วนเพศหญิง
ต่อเพศชาย เทา่ กบั 1.40 : 1

กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 0 - 4 ปี อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนเท่ากับ 227.4 ราย รองลงมา
คือ กลุ่มอายุ 5 - 9 ปี, 55 - 64 ปี, 65 ปี ข้ึนไป, 10 - 14 ปี, 45 - 54 ปี, 35 - 44 ปี, 25 - 34 ปี, 15 - 24 ปี
อตั ราป่วยเท่ากบั 137.28, 117.71, 111.14, 98.94, 69.14, 68.12, 58.83 และ 56.86 ราย ตามลาดับ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 143

อาเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคืออาเภอด่านช้าง อัตราป่วยเท่ากับ 303.31 ต่อ
ประชากรแสนคน รองลงมาคือ อาเภอบางปลาม้า, อาเภอดอนเจดีย์, อาเภอเมือง, อาเภอสองพี่น้อง, อาเภอ
เดมิ บางนางบวช, อาเภออู่ทอง, อาเภอศรีประจันต์, อาเภอสามชกุ และ อาเภอหนองหญา้ ไซ อัตราปว่ ยเท่ากับ
151.16, 144.78, 88.7, 53.16, 53.01, 51.55, 38.49, 33.41 และ 22.97 ราย ตามลาดับ

อตั ราป่วยตอ่ ประชากรแสนคน ด้วยโรค Food Poisoning จาแนกตามพืน้ ที่
400 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ระหวา่ งวนั ที่ 1 มกราคม 2557 ถึงวนั ท่ี 30 กนั ยายน 2557

303.31
300

อัตรา ่ปวย/แสน200 151.16 144.78
100 88.7 53.01
38.49 53.16 33.41 51.55 22.97

0

เมอื ง เดมิ บางนาง ดา่ นช้าง บางปลาม้า ศรีประจนั ต์ ดอนเจดีย์ สองพี่น้อง สามชกุ อทู่ อง หนองหญ้า

บวช ไซ

จานวนผ้ปู ่ วย(ราย) จานวนผ้ปู ่ วยด้วยโรค Food Poisoning จาแนกรายเดอื น จ.สพุ รรณบรุ ี
200 เปรียบเทียบข้อมลู ปี 2557 กบั คา่ มธั ยฐาน 5 ปี ย้อนหลงั

150

100

50

0

Jan Feb Mar Apr May Jun เดือน Jul Aug Sep Oct Nov Dec

Median 2557

โรคมอื เท้ำปำก (Hand foot and mouth disease)
นับต้ังแตว่ ันที่ 1 มกราคม 2557 ถึงวันท่ี 30 กันยายน 2557 สสจ.สพุ รรณบุรี ได้รบั รายงานผู้ป่วยโรค

Hand foot and mouth disease จานวนทัง้ ส้นิ 490 ราย คิดเป็นอตั ราป่วย 57.76 ต่อประชากรแสนคน ไม่
มีรายงานผูป้ ่วยเสยี ชีวิต

พบผ้ปู ่วยเพศชายมากกว่าเพศหญิง โดยพบเพศชาย 264 ราย เพศหญิง 226 ราย อัตราส่วนเพศชาย
ตอ่ เพศหญงิ เทา่ กับ 1.17 : 1

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 144

กลุ่มอายุท่ีพบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 0 - 4 ปี อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนเท่ากับ 981.76 ราย
รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 5 - 9 ปี, 10 - 14 ปี, 15 - 24 ปี และ 25 - 34 ปี อัตราป่วยเท่ากับ 68.64, 11.42,
0.84 และ 0.74 ตามลาดับ

อาเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคืออาเภอสองพี่น้อง อัตราป่วยเท่ากับ 75.05 ต่อ
ประชากรแสนคน รองลงมาคืออาเภออู่ทอง, อาเภอ เมือง, อาเภอศรีประจันต์, อาเภอดอนเจดีย์, อาเภอบาง
ปลาม้า, อาเภอเดิมบางนางบวช, อาเภอหนองหญ้าไซ, อาเภอด่านช้าง และ อาเภอสามชุก อัตราป่วยเท่ากับ
71.19, 70.02, 59.33, 57.91, 53.8, 50.29, 29.23, 28.67 และ 22.28 ตามลาดับ

อตั ราป่ วยต่อประชากรแสนคน ด้วยโรค Hand,foot and mouth disease จาแนกตาม

80 พืน้ ท่ี จังหวัด สุพรรณบุรี ระหว่างวันท่ี 1 มกราคม 255775.0ถ5งึ วนั ท่ี 30 กันยายน 2557

70.02 71.19

60 50.29 53.8 59.33 57.91

อัตรา ่ปวย/แสน 40 28.67 29.23
20 22.28

0
เมอื ง เดิมบางนาง ดา่ นช้าง บางปลาม้า ศรีประจนั ต์ ดอนเจดยี ์ สองพี่น้อง สามชกุ อทู่ อง หนองหญ้า
บวช ไซ

จานวนผ้ปู ่ วย(ราย) จานวนผู้ป่ วยด้วยโรค Hand,foot and mouth disease จาแนกรายเดอื น จ.สุพรรณบุรี
150 เปรียบเทยี บข้อมูลปี 2557 กบั ค่ามธั ยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง

100

50

0

Jan Feb Mar Apr May Jun เดอื นJul Aug Sep Oct Nov Dec

Median 2557

โรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza)
นับตั้งแต่วันท่ี 1 มกราคม 2557 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2557 สสจ.สุพรรณบุรี ได้รับรายงานผู้ป่วย

โรค Influenza จานวนทั้งส้ิน 365 ราย คิดเป็นอัตราปว่ ย 43.02 ตอ่ ประชากรแสนคน ไมม่ รี ายงานผู้ป่วย
เสียชวี ิต

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 145

พบผปู้ ว่ ยเพศหญิงมากกวา่ เพศชาย โดยพบเพศหญงิ 190 ราย เพศชาย 175 ราย อตั ราส่วนเพศหญิงต่อ
เพศชาย เท่ากับ 1.09 : 1

กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 0 - 4 ปี อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนเท่ากับ 163.99 ราย รองลงมา
คือ กลุ่มอายุ 5 - 9 ปี, 10 - 14 ปี, 65 ปี ข้ึนไป, 15 - 24 ปี, 35 - 44 ปี, 25 - 34 ปี, 55 - 64 ปี, 45 - 54 ปี
อตั ราป่วยเท่ากบั 137.28, 97.04, 31.12, 25.92, 24.44, 23.83, 23.32 และ 21.04 ตามลาดบั

อาเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคืออาเภอศรีประจันต์ อัตราป่วยเท่ากับ 97.82 ต่อ
ประชากรแสนคน รองลงมาคืออาเภอเดิมบางนางบวช, อาเภอเมือง, อาเภอสามชุก, อาเภอบางปลาม้า,
อาเภอหนองหญ้าไซ, อาเภอดอนเจดีย์, อาเภอสองพ่ีน้อง, อาเภออู่ทอง และ อาเภอดา่ นชา้ ง อัตราปว่ ยเท่ากับ
70.68, 67.11, 55.69, 55.08, 35.5, 31.18, 12.51, 9.82 และ 7.55 ตามลาดบั

อตั ราป่ วยต่อประชากรแสนคน ด้วยโรค Influenza จาแนกตามพนื้ ท่ี จังหวัด

120 สุพรรณบุรี ระหว่างวันท่ี 1 มกราคม 2557 ถงึ วนั ท่ี 30 กันยายน 2557
100
97.82

อัตรา ่ปวย/แสน 80 67.11 70.68 55.08 55.69
60
40 31.18 35.5

20 7.55 12.51 9.82

0

เมือง เดมิ บางนาง ดา่ นช้าง บางปลาม้า ศรีประจนั ต์ ดอนเจดีย์ สองพี่น้อง สามชกุ อทู่ อง หนองหญ้า

บวช ไซ

จานวนผ้ปู ่ วย(ราย) จานวนผ้ปู ่ วยด้วยโรค Influenza จาแนกรายเดือน จ.สุพรรณบุรี
เปรียบเทยี บข้อมูลปี 2557 กบั ค่ามธั ยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง
150

100

50

0

Jan Feb Mar Apr May Jun เดือนJul Aug Sep Oct Nov Dec

Median 2557

จากสถานการณ์โรคในขา่ ยงานระบาดวิทยา 10 อันดบั แรก ตัง้ แต่วันท่ี 1 มกราคม 2557 ถงึ วันท่ี 30
กันยายน 2557 พบว่านอกจากโรคไข้เลือดออกท่ีเป็นนโยบายของจังหวัดสุพรรณบุรีที่ต้องดาเนินการอย่าง

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 146

ตอ่ เนือ่ งแล้วนั้น ยังมีโรคติดต่อท่ีเป็นปัญหาและมแี นวโน้มการระบาดในปีงบประมาณ 2557 ที่ต้องดาเนินการ
วางแผนแก้ไขดังนี้ โรคปอดบวม (Pneumonia) โรคตาแดง (H.conjunctivitis) โรคสุกใส (Chickenpox) โร
คอหาหารเป็นพิษ (Food Poisoning) โรคมือเท้าปาก (Hand foot and mouth disease) และโรคไข้หวัด
ใหญ่ (Influenza) ซ่ึงกลุ่มโรคดังกล่าวมีจานวนผู้ป่วยสูงกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง (2552-2556) แตกต่าง
กนั ไปในแต่ละชว่ งเวลา ดงั นัน้ จงึ ควรทจี่ ะมแี ผนงานโครงการไวร้ องรับสถานการณ์โรคทีจ่ ะเกิดข้ึน

นอกจากสถานการณ์โรคต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในจังหวัดสุพรรณบุรีแล้ว ยังคงต้องพิจารณาโรคต่างๆ ท่ี
เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นในประเทศตามภูมิภาคต่าง ๆ แล้วน้ัน ยังมีโรคท่ีเกิดข้ึนในประเทศอื่น ๆ ท่ัวโลก อย่างเช่น
โรคติดเชอื้ ไวรัสอีโบลา โรคซาร์ โรคโคโรนา่ ไวรสั เป็นตน้ ท่ีเกดิ ในประเทศตา่ ง ๆ ซงึ่ ในสว่ นของหน่วยงานทีด่ แู ล
ดา้ นสขุ ภาพทุกระดับ ต้องมีการเตรียมความพรอ้ มเพื่อรองรับสถานการณ์ ในการป้องกันควบคมุ โรค การส่งต่อ
ผู้ป่วย การดูแลรักษาพยาบาลและกระบวนการประสานงานเพื่อเชื่อมโยงหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องให้สามารถ
ดาเนินงานได้อย่างสอดคล้องสนับสนนุ กันเป็นเครือข่ายในการดูแลสุขภาพของประชาชน

กิจกรรมกำรดำเนินงำน
จัดทาแผนรองรับในกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยสุขภาพในภาพรวมจังหวัด โดยเชิญ

ผู้เก่ียวข้องในระดับโรงพยาบาลและสานักงานสาธารณสุขอาเภอประชุมเพื่อจัดทาแผนในภาพรวมของจังหวัด
ไปเป็นแนวทางการดาเนนิ งานของอาเภอ จานวน 2 ครงั้

คร้ังแรกในวันที่ 26 มิถุนายน 2557 เพื่อทบทวน ความรู้ หลักการ แนวทางการจัดทา
โครงสร้าง บทบาทหนา้ ที่ของศูนยต์ อบโตภ้ าวะฉุกเฉิน

คร้ังที่สองในวันท่ี 26 มิถุนายน 2557 เพ่ือร่วมจัดทาโครงสร้างและบทบาทหน้าท่ีการตอบโต้
ภาวะฉุกเฉินทางดา้ นสาธารณสขุ ของศนู ย์ปฏิบตั ิการตอบโต้ภาวะฉกุ เฉินดา้ นสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรแี ละ
ระดับอาเภอ จัดทาข้ึนเพ่ือเป็นแนวทางให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องในการดาเนินการตอบโต้เหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่
เกิดขึ้นทั้งภัยพิบัติหรือโรคระบาดต่างๆ ทางด้านสาธารณสุข ให้หน่วยงานสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องสามารถ
นาไปใช้เป็นแนวทางในการประสานงาน ดาเนินการกับหน่วยงานในสังกัดเดียวกันและต่างสังกัดได้ โดยต้อง
นาไปเสนอ แก่ผู้บังคับบัญชา ในสายงานและนาเสนอต่อผู้บัญชาการเหตุการณ์และคณะ เพื่อพิจารณา
โครงสร้างและบทบาท ท่ีกาหนด สามารถปรับเปลยี่ นโครงสร้างและบทบาทหนา้ ท่ีดงั กล่าวได้ตามบริบทของแต่
ละพ้นื ทีต่ ามความเหมาะสมและความเห็นชอบของคณะกรรมการท่จี ัดตั้งขึน้

แนวทางปฏิบัติตามเอกสารนี้กาหนดขึ้นเพ่ือให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องโดยเฉพาะหน่วยงานสาธารณสุข
ในทุกระดบั ไดร้ บั ทราบและเตรยี มความพร้อมตามบทบาทหนา้ ทที่ หี่ น่วยงานนั้นเกย่ี วข้อง สามารถประสานงาน
ดาเนินการตอบโตภ้ าวะการณ์ท่ีเกดิ ขนึ้ ได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพเป็นไปในแนวทางเดียวกัน อย่างไร
ก็ตามโครงสร้างและบทบาทหน้าท่ีฯ ดังกล่าวนั้นต้องนาไปสู่การฝึกซ้อม ทั้งการฝึกปฏิบัติการตามบทบาท
หน้าที่ (Functional exercise) หรือการฝึกซ้อมแบบฝึกปฏิบัติการภาคสนาม (Field exercise) เพื่อทดสอบ
ระบบทงั้ บุคลากรและแนวการปฏิบัติ ใหไ้ ด้มาซึ่งความพร้อมมากทส่ี ดุ เพ่ือทาให้เกดิ การสญู เสยี นอ้ ยที่สุด

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 147

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้จัดทาคู่มือโครงสร้างและบทบาทหน้าที่การตอบโต้ภาวะ
ฉุกเฉนิ ทางด้านสาธารณสขุ ของศูนยป์ ฏิบัตกิ ารตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ แี ละระดับ
อาเภอ แจกจ่ายให้กับหนว่ ยงานในสงั กดั ทกุ แหง่ ประกอบการดาเนินงาน

สรุปกำรซ้อมปฏิบตั ิกำรเตรียมควำมพรอ้ มด้ำนกำรแพทย์และสำธำรณสุขในสถำนกำรณ์สำธำรณภัย
จงั หวดั สุพรรณบรุ กี รณกี ำรระบำดของโรคติดตอ่ (โรคติดเชื้อไวรสั อีโบลำ)

จังหวัดสุพรรณบุรีดาเนินการเตรียมความพร้อมด้านการแพทย์และสาธารณสุขในสถานการณ์สาธารณ
ภยั จังหวดั สพุ รรณบรุ ี กรณกี ารระบาดของโรคตดิ ต่อ (โรคติดเชอ้ื ไวรัสอโี บลา) โดยมีลาดบั การดาเนนิ งานดงั น้ี

๑. ประชุมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมด้านการแพทย์และสาธารณสุขในสถานการณ์สาธารณภัย
จังหวัดสุพรรณบุรี กรณีการระบาดของโรคติดต่อ (โรคติดเช้ือไวรัสอีโบลา) วันท่ี ๑๕ กันยายน ๒๕๕๗ ณ
หอ้ งประชุมโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช (Table Top Exercise)

2. นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีได้กาหนดให้มีการฝึกซ้อมแผน เพื่อกาหนดแนวทางการ
ปฏบิ ัตงิ าน

3. ฝึกปฏิบัติการตามบทบาทหน้าที่ (Functional exercise) หรือการฝึกซ้อมแบบฝึกปฏิบัติการ
ภาคสนาม (Field exercise) เพื่อทดสอบระบบท้ังบุคลากรและแนวการปฏิบัติ ให้ได้มาซึ่งความพร้อมมาก
ทสี่ ุดในวนั ที่ ๑๙ กันยายน ๕๗ ณ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช โรงพยาบาลศภุ มิตร และชมุ ชน

ภาคเช้า ปฏบิ ัตกิ ารภาคสนาม (Field Exercise)
ภาคบา่ ย สรปุ ผลการซ้อมแผน หอ้ งประชุมชั้น ๑๐ โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช
ปัญหำพืน้ ทเ่ี ชิงคณุ ภำพ (สำเหตุ/ปจั จัยทเ่ี ก่ยี วข้อง)
ปัญหา-อุปสรรคของการดาเนินงานท่ผี ่านมา
๑. ขาดการทบทวนการสรา้ งองค์ความร้สู าหรบั การดาเนินงานตอบโตภ้ าวะฉุกเฉนิ ด้านโรค
และภยั สุขภาพให้กบั เจา้ หน้าทีท่ ีเกย่ี วข้องในแตล่ ะระดบั
๒. ขาดการทบทวนสร้างกลไกการเตรียมความพรอ้ มและตอบโตภ้ าวะฉุกเฉนิ ด้านโรคและภยั
สุขภาพของหนว่ ยงานในสงั กัด
3. ขาดการฝึกซ้อมแผนเตรยี มความพร้อมและตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉนิ ด้านโรคและภัยสขุ ภาพ
ของหน่วยงานในสังกัด
มำตรกำรทส่ี ำคญั ในปงี บประมำณ 2558
๑. มาตรการสร้างองค์ความรู้สาหรับการดาเนนิ งานตอบโต้ภาวะฉกุ เฉินดา้ นโรคและภัยสุขภาพ
๒. มาตรการสรา้ งกลไกการเตรยี มความพรอ้ มและตอบโต้ภาวะฉกุ เฉนิ ดา้ นโรคและภยั สุขภาพ
3. มาตรการฝกึ ซ้อมแผนเตรียมความพร้อมและตอบโต้ภาวะฉกุ เฉนิ ด้านโรคและภัยสขุ ภาพ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 148

รำยงำนสถำนกำรณก์ ำรเฝ้ำระวงั โรคติดตอ่

จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ประจำปี 2557

โดย งานควบคมุ โรคติดต่อ สสจ.สุพรรณบุรี
ท่ีมา : รง 506 ( 1 มกราคม ถึง 31 ธนั วาคม 2557)
1. รำยงำนเรยี งอันดับอัตรำปว่ ยในระบบเฝ้ำระวังโรคตดิ ต่อ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

สถำนกำรณ์จงั หวัดสพุ รรณบุรี

ลำดับ โรค จำนวนป่วย จำนวนตำย อตั รำปว่ ย

1 Acute diarrhoea 11600 0 (ต่อประชำกรแสนคน)
2 PUO
3 Pneumonia 1,367.28
4 Haemorrhagic conjunctivitis
5 Chickenpox 3760 0 443.19
6 Food poisoning
7 Hand,foot and mouth disease 2034 0 239.75
8 Influenza
9 D.H.F.-total 1991 0 234.68
10 Sexual transmitted infection
11 Tuberculosis-total 975 0 114.92
12 Hepatitis-total
13 Hepatitis B 923 0 108.79
14 Herpes zoster
15 Dysentery-total 611 0 72.02
16 Mumps
483 0 56.93

300 0 35.36

133 0 15.68

119 0 14.03

66 0 7.78

61 0 7.19

31 0 3.65

22 0 2.59

19 0 2.24

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 149

17 Mushroom poisoning 80 0.94
18 Meningitis,uns. 80 0.94
19 Measles-total 40 0.47
20 Enteric fever-total 40 0.47
21 Encephalitis-total 30 0.35
22 Malaria 20 0.24
23 Hepatitis A 20 0.24
24 Scarlet fever 20 0.24
25 Pestiide poisoning 20 0.24
26 Tetanus-total 10 0.12
27 Hepatitis E 10 0.12
28 Leptospirosis 10 0.12
29 Scrub Typhus 10 0.12

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 150

รำยงำนสรปุ ผลกำรดำเนนิ งำน ทีมเฝำ้ ระวังสอบสวนเคลื่อนที่เรว็
(Surveillance and Rapid Response Team : SRRT)
จังหวัดสุพรรณบรุ ี ประจำปีงบประมำณ ๒๕๕๗

หนว่ ยงำน : ระบาดวิทยา งานควบคมุ โรคติดตอ่ สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี

ผรู้ ับผดิ ชอบ : ๑. นางจุฑามาศ โกมลศริ สิ ขุ หัวหนา้ งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่

๒. นายสญั ญา สขุ ขา นักวชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ

๑.วเิ ครำะหส์ ถำนกำรณ์ สภำพปญั หำของพื้นที่

ทีมเฝ้าระวงั สอบสวนเคลอ่ื นทีเ่ รว็ (Surveillance and Rapid Response Team : SRRT) เป็ น ก ล ไก

สาคัญในการรับมือกับโรคและภัยคุกคามท่ีเป็นปัญหาต่อสุขภาพของประชาชนปี พ.ศ. ๒๕๔๘ เริ่มมีการจัดต้ังทีม SRRT

ระดับอาเภอ จังหวัด เขต และส่วนกลาง จานวน ๑,๐๓๐ ทีม และในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ กรมควบคมุ โรค ได้กาหนด

นโยบายอาเภอควบคมุ โรคเขม้ แข็งแบบยัง่ ยืนจัดใหม้ ีระบบการเฝ้าระวังเหตกุ ารณ์สาหรับ SRRT เครอื ข่ายระดบั ตาบล จานวน

๒,๗๗๕ ทีมและขยายผลเต็มพื้นท่ีในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ภารกิจสาคัญของทีม SRRT คือการป้องกันควบคุมโรค เน้น

การเฝ้าระวังหยุดหรือจากัดการแพร่ระบาดของโรคโดยเร็ว มีความหลากหลายของหน่วยงาน ได้แก่ ทีม SRRT ระดับตาบล/

ทอ้ งถน่ิ อาเภอ จงั หวัดเขต และส่วนกลาง ความแตกต่างของหน่วยงาน ทาให้จาเป็นต้องมมี าตรฐาน ทีมเพ่ือเปน็ กรอบในการ

พัฒนา และเป็นแนวทางการปฏบิ ตั งิ านเป็นไปตามมาตรฐานเดียวกัน สอดคล้องกับกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International

Health Regulation, IHR๒๐๐๕) และนโยบายอาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบย่ังยืนผลักดันให้การพัฒนาทีม SRRT ต่อไป

ในอนาคตจาเปน็ ต้องเน้นคุณภาพและมคี วามเป็นมืออาชพี มากยง่ิ ขึ้น

เพ่ือให้การดาเนินการเป็นไปอยา่ งต่อเนือ่ ง ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ จังหวัดสุพรรณบุรี จึงต้องสนับสนุนเครอื ข่าย

ทั้งในระดับอาเภอและเครือข่ายในระดับตาบลทุกพื้นท่ี ในการพัฒนา ติดตาม ประเมินผล รวมท้ังได้เพิ่มเติมเข้าเป็น

ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาดา้ นสาธารณสุขอีกประการหนง่ึ สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรี จึงจดั ทาโครงการพฒั นาทกั ษะ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 151

และความพร้อมของทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลอื่ นที่เร็ว (SRRT) ในจงั หวัดสพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ขน้ึ โดยมีกจิ กรรม
การสนับสนุนการดาเนินงานของทีมเฝ้าระวังสอบเคลื่อนท่ีเร็ว ระดับจังหวัดและอาเภอให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทีมเฝ้าระวัง
สอบสวนเคลือ่ นที่เร็ว และมีการดาเนินงานอย่างตอ่ เน่ือง และมีตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ คือ ทีมสอบสวนเคลื่อนท่ีเร็ว
ระดับอาเภอ ผา่ นเกณฑม์ าตรฐานทมี สอบสวนเคล่ือนท่ีเรว็ อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของอาเภอทง้ั หมด (๘ อาเภอ) เพอ่ื ให้บรรลุ
การพฒั นาระบบบริการสุขภาพ การจดั การด้านการแพทย์และสาธารณสขุ ฉุกเฉิน โดยให้ทีม SRRT สามารถตอบสนองตอ่ โรค
และภัยทเ่ี ปน็ ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency) อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ มีการประเมินมาตรฐานทีมสอบสวนเคลือ่ นที่เร็ว (SRRT) ๓ อาเภอ คือ อาเภอเมืองฯ, อาเภอ
ศรปี ระจนั ต์ และ อาเภอสามชกุ ทัง้ ๓ อาเภอผา่ นระดับพืน้ ฐาน สะสม ๓ ปี จานวน๓ อาเภอ คิดเป็นร้อยละ ๓๐

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ มีการประเมินมาตรฐานทีมสอบสวนเคล่ือนท่ีเร็ว (SRRT) ๓ อาเภอ คือ อาเภอเมืองฯ ผ่าน
ระดบั พื้นฐาน, อาเภอสองพีน่ ้องและอาเภอศรีประจันต์ ผ่านระดับดี สะสม ๓ ปี จานวน ๔ อาเภอ คดิ เป็นร้อยละ ๔๐

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ จังหวัดสุพรรณบุรี มีการประเมินมาตรฐานทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) จานวน ๖ อาเภอ
ได้แก่ อาเภอเดิมบางนางบวช, อาเภอบางปลาม้า, อาเภอดอนเจดีย์, อาเภออู่ทอง, อาเภอด่านช้าง และ อาเภอหนองหญ้าไซ
ทง้ั ๖ อาเภอผ่านระดับพื้นฐาน สะสม ๓ ปี จานวน ๑๐ อาเภอ คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ จังหวัดสุพรรณบุรี มีการประเมินมาตรฐานทีมสอบสวนเคลื่อนท่ีเร็ว (SRRT) จานวน ๑ อาเภอ
ไดแ้ ก่ อาเภอสามชุก ผ่านระดบั พน้ื ฐาน สะสม ๓ ปี จานวน ๑๐ อาเภอ คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ จังหวัดสุพรรณบุรี มีการประเมินมาตรฐานทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) จานวน ๑ อาเภอ
ได้แก่ อาเภอเมือง ผ่านระดับพ้ืนฐาน สะสม ๓ ปี จานวน ๑๐ อาเภอ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ (ท่ีมา:กลุ่มงานระบาดวิทยาและ
ข่าวกรอง สคร.๔)

สรปุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ีมีการประเมินรับรองผา่ นเกณฑ์ทัง้ สนิ้ ๑๐ อาเภอ คดิ เป็น รอ้ ยละ ๑๐๐ ที่ยังมีอายกุ ารรับรอง
มาตรฐานใช้ได้ ๓ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ทตี่ อ้ งประเมนิ รบั รองใหม่ ๒ อาเภอ คอื อาเภอศรีประจันตแ์ ละอาเภอสองพีน่ ้อง

ส่ิงที่ต้องปรับปรุงในลักษณะเดียวกันกล่าวคือในหลาย ๆ การซ้อมการปฏิบัติงานของทีม SRRT ในทุกระดับซึ่งบาง
อาเภอสามารถทาได้ด้วยตวั เองและให้ความสาคัญตอ่ การซ้อม ดงั น้นั เพือ่ เป็นการเตรยี มพร้อมของทีม SRRT ให้สามารถรบั มือ
ได้กับโรคและภัยท่ีเกิดข้ึนจึงควรที่จะจัดทาแผนงาน/โครงการซ้อมของทีม SRRT ดังกล่าวข้ึน ซ่ึงเป็นการให้คาตอบเรื่องการ
จัดการความรู้ด้านระบาดวิทยาได้อีกด้วย และนโยบายการขยายผลการดาเนินงานเฝ้าระวังเหตุการณ์ของ SRRT เครือข่าย
ระดบั ตาบล ตลอดจนการยกระดับมาตรฐานทมี ไปสูร่ ะดับดตี อ่ ไป

๒. วิเครำะห์กำรบรหิ ำรจัดกำร (ยุทธศำสตร์ แผนงำน/โครงกำร/กิจกรรมทีด่ ำเนนิ กำร/ทรัพยำกร)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดมีบทบาทหน้าท่ีในการสนับสนุน ติดตามการดาเนินงานของอาเภอ และเป็นพ่ีเล้ียงใน

การเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา แผนงานทีจ่ ะดาเนินการในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ คือโครงการพัฒนาศักยภาพทีมเฝา้ ระวัง
สอบสวนเคล่ือนท่เี ร็ว (SRRT) ในจังหวัดสพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ ๒๕๕๘ มีวตั ถุประสงค์เพ่ือใหบ้ รรลุการพัฒนาระบบบริการ
สุขภาพ การจัดการด้านการแพทย์และสาธารณสุขฉุกเฉิน โดยให้ทีม SRRT สามารถตอบสนองต่อโรคและภัยที่เป็นภาวะ
ฉกุ เฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency) อย่างมีประสิทธภิ าพ พัฒนาศักยภาพเครือข่ายทีมสอบสวนเคล่อื นทเ่ี รว็
(SRRT) ระดบั จงั หวัด และอาเภอ และดาเนนิ การเฝ้าระวังทางระบาดวทิ ยา

วิเครำะห์กำรดำเนนิ งำนตำมมำตรฐำนทีม ตัวชี้วดั และตวั ชว้ี ดั ยอ่ ย
๒.๑ มำตรฐำนทมี SRRT มี ๔ องคป์ ระกอบ ได้แก่

องคป์ ระกอบที่ ๑ ทมี มคี วามเป็นทมี ชดั เจนและมีศักยภาพในการปฏิบตั งิ าน
องค์ประกอบท่ี ๒ ทีมมีความพร้อมในการปฏิบตั งิ านเมอ่ื เกดิ ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 152

องคป์ ระกอบท่ี ๓ ทีมมีความสามารถหลกั ตามข้อกาหนดในกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR2005)

องค์ประกอบที่ ๔ ทมี มผี ลงานทีม่ คี ุณภาพ

๒.๒ ตัวช้วี ดั (Indicator) มจี านวน ๑๗ ตวั ช้ีวดั จาแนกแตล่ ะองคป์ ระกอบ ดังนี้

องค์ประกอบ/ตวั ชวี้ ัด/ตัวชว้ี ัดยอ่ ย ปญั หำ/อุปสรรค

องค์ประกอบดำ้ นควำมเปน็ ทีม

1. กำรจดั ตั้งทีม SRRT

1) มีคาส่งั แตง่ ต้ังทีม ทม่ี รี ายช่ือเป็นปัจจุบันรอ้ ยละ 80 ๑) บางอาเภอขาดการทบทวนคาส่งั ที่เปน็ ปจั จบุ ัน

ข้นึ ไป และไม่มีการแบ่งผปู้ ฏิบตั ิงานเปน็ อยา่ งนอ้ ย ๓

2) สมาชกิ ทมี มีจานวนตั้งแต่ 4 คนขึ้นไป ประกอบด้วย ดา้ นอยา่ งถูกต้อง
๒) มีสมาชกิ ทีมท่มี คี วามรดู้ ้านอนามัยสงิ่ แวดล้อม แต่
ผู้ปฏบิ ตั งิ านไม่น้อยกวา่ 3 ดา้ น
ขาดหลักฐาน เชน่ ใบประกาศแสดง
3) แกนหลักของทมี เปน็ ผูป้ ฏบิ ัติงานระบาดวทิ ยา (เฝา้
ระวงั , สอบสวนโรค) และสมาชิกทีมอยา่ งน้อย 1 คนมี ขอ้ เสนอแนะ
ทบทวนเอกสารใหเ้ ปน็ ปัจจุบันและให้ตรงตาม
ความรพู้ ้ืนฐานดา้ นอนามยั ส่ิงแวดล้อม
ข้อกาหนด
4) หัวหนา้ ทีมเปน็ แพทย์ หรือหวั หนา้ หน่วยงาน

5) หน่วยงานมกี ารระบโุ ครงสร้างภายในท่ชี ดั เจน เพื่อ

เปน็ หน่วยรบั ผดิ ชอบการจัดตั้งและเป็นแกน

ดาเนนิ งานของทมี SRRT

2. ทมี มีศกั ยภำพทำงวชิ ำกำร

1) ทีมมีแผนงาน/โครงการพัฒนาบุคลากรและ/หรอื ๑) สมาชกิ ทีมขาดโอกาสในการเขา้ รว่ มประชุมเชิง

การจดั การความรอู้ ยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครั้ง ปฏิบัติการ ฟืน้ ฟูความรู้ เน่ืองดว้ ยในการจดั
2) สมาชิกทีมรอ้ ยละ 80 ข้ึนไป ไดร้ บั การฝึกอบรมด้าน ประชมุ แตล่ ะครง้ั แต่ละระดบั รบั จานวนจากัด
ข้อเสนอแนะ
การเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมการระบาด ตาม จัดการประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ าร ฟนื้ ฟูความรู้ หรือ
หลักสูตรก่อนปฏิบัติการทางระบาดวทิ ยาหรือ สมั มนาวิชาการดา้ นการเฝา้ ระวัง สอบสวนและควบคุม
เทียบเท่า การระบาด
3) สมาชกิ ทีมรอ้ ยละ 50 ข้ึนไป ได้เขา้ ร่วมประชุมเชิง

ปฏบิ ัติการ ฟ้ืนฟูความรู้ หรอื สัมมนาวิชาการดา้ น

การเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคมุ การระบาด ใน

ระยะเวลา 3 ปี

4) หัวหนา้ ทีมหรอื แกนหลกั ของทมี อยา่ งน้อย 1 คน

ไดร้ ับการฝกึ อบรมด้านปฏบิ ัตกิ ารหรอื มี

ประสบการณ์ท่ีแสดงถึงความชานาญดา้ นปฏบิ ตั กิ าร

ภาคสนาม

3. ทมี มีศักยภำพดำ้ นกำรบรหิ ำรทมี งำน

1) กาหนดหน้าที่ความรับผดิ ชอบของสมาชิกทมี อย่าง ๑) บางอาเภอขาดการประชุมทมี อยา่ งสมา่ เสมอและ

ชัดเจน ทั้งขณะปกตแิ ละกรณีทตี่ ้องออกสอบสวนโรค เป็นรูปธรรม โดยส่วนใหญใ่ ช้เวทีการประชุมของ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 153

องค์ประกอบ/ตวั ชวี้ ัด/ตัวชวี้ ัดย่อย ปญั หำ/อปุ สรรค

หรอื ตอบโต้ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข สานักงานทาใหไ้ มไ่ ด้แสดงถงึ บทบาทเฉพาะ

2) จัดประชมุ ทีมอย่างน้อย 2 ครง้ั ต่อปี ๒) ขาดกจิ กรรมหรอื สิ่งสนบั สนนุ เพื่อขวญั กาลังใจ

3) หัวหนา้ ทีมมีสว่ นรว่ มในการบริหารจดั การทีม ข้อเสนอแนะ

4) สมาชกิ ทีมไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 เคยเขา้ ร่วม กาหนดเป็นนโยบายทส่ี าคญั ในการประชุมทบทวน

ปฏิบัตงิ านกรณที ีต่ อ้ งออกสอบสวนโรคหรอื ตอบโต้ ทมี SRRT โดย สสจ.เป็นตน้ แบบ และคิดผลงานการ
ดาเนินงานของอาเภอเปน็ ผลงานดีเดน่ ในการประกวด
ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสขุ ในระยะเวลา 3 ปี
5) จดั กิจกรรมหรอื สง่ิ สนบั สนุนทส่ี ร้างขวญั กาลังใจใหก้ ับ ในเวทตี า่ งๆ เชน่ ประกวด คปสอ. เปน็ ตน้

สมาชกิ ทีมท่ีออกปฏิบัตงิ าน

องคป์ ระกอบด้ำนควำมพร้อม

4. ทมี มคี วำมพร้อมในกำรปฏิบตั ิงำน

1) มีผูป้ ระสานงานทมี ตลอดเวลา เพ่ือรบั สง่ ข่าวสารหรือ สว่ นใหญม่ ีความครบถว้ น แต่บางส่วนขาดการเก็บ

ปฏบิ ัติงานกรณีเร่งดว่ น รวบรวมเอกสารหลกั ฐาน

2) มีหมายเลขโทรศพั ทห์ รือการสอ่ื สารอ่ืนที่สามารถ ข้อเสนอแนะ
ตดิ ต่อสมาชกิ ทีมท้ังหมดได้ตลอดเวลา เน้นการเก็บรวบรวมเอกสารหลักฐานเพื่อการ

3) มียานพาหนะทสี่ ามารถนาออกปฏบิ ัตงิ านไดท้ นั ที ประเมิน

4) มีแบบพมิ พ์, วัสดอุ ุปกรณ์, เวชภณั ฑ์ และอุปกรณ์

ป้องกันตนเอง (PPE) ทีพ่ รอ้ ม ใช้ ตามเกณฑท์ ่ีกาหนด

5) มีคมู่ อื แนวทางปฏบิ ตั ิงาน เพ่ือการสอบสวนและ

ควบคมุ โรคตามเกณฑ์ท่ีกาหนด

6) มีการจัดงบประมาณท่เี พียงพอ เพอื่ ใช้ในการสอบสวน

ควบคุมโรค ส่งวัตถตุ ัวอยา่ ง การสื่อสาร

คา่ ตอบแทนปฏบิ ตั งิ านนอกเวลาราชการ และการ

ซ้อมแผน

5. ทีมมีแผนปฏิบตั กิ ำรกรณีเรง่ ดว่ นและกำรฝกึ ซอ้ ม

1) มแี ผนการฝึกซ้อมทีมประจาปี ๑) หลายอาเภอขาดการฝกึ ซอ้ มแผน และการจดั เกบ็

2) มีการฝึกซอ้ มตามแผนฝึกซ้อมประจาปี เอกสารของการฝึกซ้อมแผน

3) มีแผนปฏบิ ตั กิ ารกรณีเรง่ ดว่ น/ภาวะฉุกเฉินฯ ขอ้ เสนอแนะ
4) มีการฝึกซ้อมแผนปฏบิ ตั กิ ารเรง่ ดว่ นฯ หรอื นาแผนไป ในปี ๒๕๕๗-๒๕๕๘ มีการฝึกซอ้ มแผนการรับมือ

ใช้จริงกับเหตุการณ์อ่ืนที่ใกลเ้ คียง กรณโี รคตดิ เชอ้ื ไวรสั อีโบลาเป็นสว่ นใหญ่ อาจจะชว่ ย
5) ได้ร่วมซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสขุ ให้มีการดาเนนิ งานในสว่ นนี้ แตค่ วรรวบรวมเอกสาร
หลกั ฐานใหค้ รบถว้ น
กับหนว่ ยงานอื่น

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 154

องค์ประกอบ/ตัวชีว้ ัด/ตวั ช้วี ัดยอ่ ย ปญั หำ/อุปสรรค

องคป์ ระกอบด้ำนกำรปฏบิ ตั งิ ำน

6. กำรเฝำ้ ระวงั และเตือนภยั

1) มีการกาหนดรายชื่อโรคหรือภัยทเ่ี ป็นปญั หาสาคัญใน เป็นกจิ กรรมทีต่ ้องดาเนนิ การอยแู่ ลว้ ทุกแห่งมกี าร

พ้ืนท่รี ับผิดชอบของทีม (Priority diseases) และ ดาเนินการ แต่อาจขาดความครบถ้วน และการเก็บ

ควรมีนยิ ามผู้ป่วยครบทุกโรค รวบรวมเอกสารหลกั ฐาน

2) มีการจดั ทาทะเบยี นรับแจ้งขา่ ว หรอื รับรายงานการเกิด ข้อเสนอแนะ

โรค/ภยั ทเี่ ป็นปัญหาสาคัญ เน้นการเกบ็ รวบรวมเอกสารหลกั ฐานเพ่ือการ

3) มีการแจ้งเตอื นภยั การส่งขา่ ว หรือรายงานเบื้องต้น ประเมิน ให้ถกู ตอ้ งครบถ้วน

4) มีการกรองข่าวเพื่อแยกข่าวไมม่ ีมูลและหาสัญญาณ

ภยั (signals)

5) มกี ารสรา้ งเครอื ข่ายแหล่งข้อมลู ขา่ วสารท้งั ในเขต

รบั ผดิ ชอบ พื้นท่ีใกลเ้ คยี ง และพื้นที่อนื่ ทเี่ กีย่ วข้อง

7. กำรประเมินสถำนกำรณ์และรำยงำน

1) มีการตรวจสอบยืนยนั โดยใช้เครื่องมือส่ือสาร เปน็ กิจกรรมทีต่ ้องดาเนินการอยู่แลว้ ทุกแหง่ มีการ

2) มกี ารรายงานต่อรวมถึงการแจ้งกลับ ดาเนินการ แต่อาจขาดความครบถ้วน และการเก็บ

3) มกี ารตรวจสอบยนื ยันโดยทีม SRRT รวบรวมเอกสารหลกั ฐาน

4) มีการประเมนิ สถานการณ์โดยใชเ้ ครอ่ื งมือประเมนิ ขอ้ เสนอแนะ

5) มีการร่วมพิจารณาประเมนิ โดยที่ปรกึ ษา ผู้เชยี่ วชาญ เน้นการเก็บรวบรวมเอกสารหลักฐานเพ่ือการ

หรอื คณะกรรมการ ประเมิน ให้ถูกต้องครบถว้ น

8. กำรสอบสวนโรคและภยั สุขภำพ

1) มีการกาหนดเกณฑข์ องทมี ในการออกสอบสวนโรค เป็นกจิ กรรมที่ต้องดาเนินการอยูแ่ ลว้ ทุกแหง่ มกี าร

ควบคุมการระบาดหรอื ตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉนิ ทาง ดาเนินการ แต่อาจขาดความครบถ้วน และการเก็บ

สาธารณสขุ รวบรวมเอกสารหลกั ฐาน

2) มกี ารรวบรวมขอ้ มลู ทางระบาดวิทยาของผู้ปว่ ยได้ ขอ้ เสนอแนะ

ถกู ต้องครบถ้วน เน้นการเก็บรวบรวมเอกสารหลักฐานเพ่ือการ

3) มีการเกบ็ และนาส่งวตั ถุตวั อย่างได้ถูกต้องและ ประเมิน ใหถ้ กู ต้องครบถว้ น

เหมาะสม

4) มีการกาหนดนิยามผู้ป่วย และผู้สัมผสั ได้อยา่ งถูกต้อง

5) มกี ารเลือกใช้วิธกี ารศกึ ษาทางระบาดวิทยาที่

เหมาะสมกับเหตุการณ์

6) มกี ารใชส้ ถิติ รวมถึงการนาเสนอขอ้ มูลและการแปล

ผลทถี่ กู ตอ้ ง

9. กำรควบคุมโรคข้ันต้น

1) ป้องกันตนเองจากการตดิ เช้ือและ/หรอื อันตราย เป็นกิจกรรมท่ีต้องดาเนินการอยู่แล้ว ทุกแห่งมี

ขณะสอบสวนโรค และควบคมุ การแพรก่ ระจาย การดาเนินการ แต่อาจขาดความครบถ้วน และการ

เชื้อจากผู้ปว่ ยและพาหะในชุมชนได้ เกบ็ รวบรวมเอกสารหลักฐาน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 155

องค์ประกอบ/ตัวชีว้ ัด/ตัวชวี้ ัดยอ่ ย ปญั หำ/อปุ สรรค

2) บอกไดถ้ ึงสิ่งที่เกินขีดความสามารถและขอรบั การ ขอ้ เสนอแนะ

สนบั สนุนจากหน่วยงานเฉพาะด้านหรือทมี ท่ี เน้นการเก็บรวบรวมเอกสารหลักฐานเพื่อการ

เช่ียวชาญกวา่ ประเมิน ใหถ้ กู ตอ้ งครบถ้วน

3) จัดการดา้ นอนามยั สง่ิ แวดล้อมเบ้อื งตน้ หรือสารวจ

ความเสย่ี งดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมขณะควบคุมโรค

ได้

4) ควบคุมการระบาดจากแหลง่ โรครว่ มได้

5) ดาเนนิ การป้องกนั กลุ่มเสย่ี งสงู ขณะที่มีการระบาด

ไดอ้ ย่างเหมาะสม

6) สือ่ สารใหช้ ุมชนเขา้ ใจสถานการณ์ และรว่ มมอื

ควบคมุ การระบาดได้

10. กำรสนบั สนนุ มำตรกำรดำ้ นอนำมยั ส่ิงแวดลอ้ ม

1) ประเมนิ สถานการณด์ ้านอนามยั สงิ่ แวดล้อมขณะมี ไม่ตอ้ งประเมนิ

การระบาดหรือเม่อื เกดิ ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

ได้

2) ให้คาแนะนาและความรู้ดา้ นสุขาภิบาลแก่

ผู้รบั ผิดชอบพ้ืนที่หรือท้องถิ่นได้

3) ประสานผเู้ ก่ยี วข้องเพ่ือรว่ มดาเนินการดา้ นอนามยั

ส่ิงแวดล้อมได้

4) ปฏิบตั งิ านทตี่ อ้ งการความชานาญดา้ นอนามยั

สิ่งแวดล้อมได้

5) ตดิ ตามประเมินผลการดาเนินงานด้านอนามยั

สงิ่ แวดล้อมได้

11. กำรสนับสนุนมำตรกำรด้ำนควบคมุ โรคและ

ตอบสนองทำงสำธำรณสุข

1) เป็นทีม SRRT ทม่ี คี วามชานาญและพร้อมรว่ ม ไมต่ อ้ งประเมนิ

ปฏบิ ตั ิการสนบั สนุน

2) เป็นสื่อกลางในการตดิ ต่อขอความเหน็ ชอบจาก

ผ้บู ริหารระดบั สูง และประสานงานกับหน่วยงานท้ัง

ภาครัฐและเอกชน องค์กรอาสาสมคั ร สถาน

ประกอบการ และทกุ ภาคสว่ น

3) สนับสนุนและประสานงานในการนาวตั ถตุ วั อยา่ งส่ง

ตรวจและตดิ ตามผล

4) มกี ารสารองสิง่ สนับสนุน และตรวจสอบวสั ดคุ งคลัง

ทงั้ ปรมิ าณและคณุ ภาพอย่างสม่าเสมอ รวมถึงมี

แผนการจดั หาวัสดุอุปกรณ์ เวชภัณฑ์ กรณีฉกุ เฉินฯ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 156

องค์ประกอบ/ตัวช้ีวัด/ตัวชว้ี ัดย่อย ปัญหำ/อุปสรรค

5) มีการสนับสนุนและประสานงานในการขอคาปรกึ ษา เป็นกิจกรรมท่ีต้องดาเนินการอยู่แล้ว ทุกแห่งมี
จากผู้เชย่ี วชาญ หรือความช่วยเหลอื ดา้ นปฏบิ ตั ิการ การดาเนินการ แต่อาจขาดความครบถ้วน และการ
จากทีมเชย่ี วชาญเฉพาะทาง ให้กับทีม SRRT ระดบั เกบ็ รวบรวมเอกสารหลกั ฐาน
รอง ข้อเสนอแนะ

องคป์ ระกอบด้ำนผลงำน เน้นการเก็บรวบรวมเอกสารหลักฐานเพ่ือการ
ประเมนิ ให้ถกู ตอ้ งครบถ้วน
12. ผลงำนกำรแจง้ เตอื นและรำยงำนเหตุกำรณท์ ันเวลำ

มีการแจ้งเตอื นข่าวเกิดโรค/ภยั ได้ภายใน 24 ชม. หรอื
ประเมนิ สถานการณแ์ ละรายงานเหตกุ ารณไ์ ดภ้ ายใน 48
ชม.
1) มีการแจ้งเตือนฯและรายงานเหตุการณ์ ไมต่ ่ากวา่
รอ้ ยละ 40
2) มกี ารแจ้งเตอื นฯและรายงานเหตุการณ์ รอ้ ยละ 60 -
79
3) มีการแจ้งเตือนฯและรายงานเหตุการณ์ ร้อยละ 80
ขนึ้ ไป

13. ผลงำนด้ำนควำมครบถว้ นของกำรสอบสวนโรค ขาดการเขียนรายงานสอบสวนโรค โดยไม่ครบ
มกี ารสอบสวนโรคครบถ้วน ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด
1) มรี ายงานสอบสวนโรคครบถว้ น ไมต่ า่ กวา่ ร้อยละ 40 ขอ้ เสนอแนะ
2) มีรายงานสอบสวนโรคครบถ้วน รอ้ ยละ 60 – 79
3) มรี ายงานสอบสวนโรคครบถ้วน ร้อยละ 80 ขึ้นไป กาหนดเปน็ มาตรการในการเขยี นรายงาน
สอบสวนโรค และมีเวทใี นการนาเสนอในท่ปี ระชุม
14. ผลงำนด้ำนคณุ ภำพกำรสอบสวนและควบคมุ โรค อย่างนอ้ ยไตรมาสละ ๑ ครั้ง
มีการสอบสวนและควบคมุ โรคท่ีมคี ุณภาพ ตามเกณฑท์ ่ี
กาหนด การดาเนนิ งานสอบสวนโรคโยสว่ นใหญม่ ี
1) มีรายงานสอบสวนโรคท่ีมีคุณภาพ ไม่ตา่ กว่า รอ้ ยละ คณุ ภาพตามเกณฑ์ แตข่ าดการเขยี นรายงาน
40 ขอ้ เสนอแนะ
2) มรี ายงานสอบสวนโรคที่มคี ณุ ภาพ ร้อยละ 60 - 79
3) มีรายงานสอบสวนโรคทมี่ คี ุณภาพ ร้อยละ 80 ข้ึนไป จัดการอบรมทบทวนการสอบสวนโรคและการ
เขียนรายงาน และมีเวทีในการนาเสนอในที่ประชุม
15. ผลงำนด้ำนควำมรวดเรว็ ในกำรสอบสวนโรค อยา่ งน้อยไตรมาสละ ๑ ครั้ง
(Response time)
มกี ารสอบสวนโรคภายใน 48 ช่ัวโมง ในช่วงเวลาทผี่ ่านมา มกี ารดาเนินงานทดี่ ีในเกือบ
1) มีรายงานสอบสวนโรคจากการสอบสวนทันเวลาไม่ต่า ทุกอาเภอ
กวา่ รอ้ ยละ 40
2) มรี ายงานสอบสวนโรคจากการสอบสวนทันเวลา ร้อย

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 157

องค์ประกอบ/ตวั ชี้วัด/ตัวชีว้ ัดย่อย ปญั หำ/อปุ สรรค

ละ 60 – 79

3) มรี ายงานสอบสวนโรคจากการสอบสวนทันเวลา ร้อย

ละ 80 ขึน้ ไป

16. ผลงำนดำ้ นคณุ ภำพกำรเขยี นรำยงำนสอบสวนโรค

มกี ารเขียนรายงานสอบสวนการระบาดทม่ี ีคณุ ภาพ ขาดการเขียนรายงานสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ

ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ตามเกณฑ์ โดยไม่ครบตามเกณฑท์ กี่ าหนด

1) มกี ารเขยี นรายงานสอบสวนโรคทมี่ คี ุณภาพ ไมต่ ่ากว่า ขอ้ เสนอแนะ

รอ้ ยละ 40 ก า ห น ด เป็ น ม า ต ร ก า ร ใ น ก า ร เขี ย น ร า ย ง า น

2) มกี ารเขียนรายงานสอบสวนโรคท่มี ีคุณภาพ ร้อยละ สอบสวนโรค อบรมทบทวนการเขียนรายงาน และมี

60 - 79 เวทีในการนาเสนอในท่ีประชุม อย่างน้อยไตรมาสละ

3) มกี ารเขียนรายงานสอบสวนโรคทมี่ ีคณุ ภาพ รอ้ ยละ ๑ ครั้ง

80 ข้นึ ไป

17. ผลงำนกำรนำ เสนอควำมรูจ้ ำกกำรสอบสวนโรคหรอื

กำรตอบสนองทำงสำธำรณสุข ท่ีเผยแพร่ในวำรสำร

เวทวี ชิ ำกำรหรือเวบไซต์

มกี ารเผยแพรค่ วามรูท้ เี่ ป็นผลงานวิชาการต่อเนอ่ื งจาก ไมต่ อ้ งประเมิน

การสอบสวนโรคหรอื การตอบสนองทางสาธารณสุข

1) เผยแพร่ในวารสารหรือเวทวี ิชาการระหวา่ งหน่วยงาน

ภายในประเทศ

2) เผยแพร่ในวารสารหรือเวทวี ิชาการระดบั ชาติ

3) เผยแพรใ่ นวารสารหรือเวทวี ิชาการระดับนานาชาติ

๔. ผลลพั ธ์จำกกำรดำเนินงำนเปรยี บเทยี บกับค่ำเปำ้ หมำย

ตัวชวี้ ดั เกณฑ์ อำเภอ กำรดำเนนิ งำน
ผลงำน
ผา่ นเกณฑต์ าม ไมน่ ้อยกว่า ๑.เมอื ง เป้ำหมำย ๑ ร้อยละ
มาตรฐานและ รอ้ ยละ ๗๐ ๒.เดมิ บางนางบวช ๑ ๑ ๑๐๐.๐๐
แนวทาง ๓.ด่านชา้ ง ๑ ๑ ๑๐๐.๐๐
ปฏบิ ตั งิ านทีม ๔.บางปลาม้า ๑ ๑ ๑๐๐.๐๐
เฝ้าระวัง ๕.ศรปี ระจนั ต์ ๑ ๑ ๑๐๐.๐๐
สอบสวน ๖.ดอนเจดยี ์ ๑ ๑ ๑๐๐.๐๐
เคล่อื นที่เร็ว ๗.สองพน่ี ้อง ๑ ๑ ๑๐๐.๐๐
๑ ๑๐๐.๐๐

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 158

(SRRT) ๘.สามชุก ๑ ๑ ๑๐๐.๐๐
๙.อ่ทู อง ๑ ๑ ๑๐๐.๐๐
๑๐.หนองหญ้าไซ ๑ ๑ ๑๐๐.๐๐
๑๐ ๑๐ ๑๐๐.๐๐
รวมจงั หวดั

สรปุ กำรซอ้ มปฏิบัติกำรเตรียมควำมพร้อมด้ำนกำรแพทย์และสำธำรณสุข
ในสถำนกำรณ์สำธำรณภัยจังหวัดสพุ รรณบรุ ี

กรณีกำรระบำดของโรคตดิ ตอ่ (โรคติดเชื้อไวรสั อโี บลำ)

จังหวัดสุพรรณบุรีดาเนินการเตรียมความพร้อมด้านการแพทย์และสาธารณสุขในสถานการณ์
สาธารณภัยจังหวัดสุพรรณบุรี กรณีการระบาดของโรคติดต่อ (โรคติดเช้ือไวรัสอีโบลา) โดยมีลาดับการ
ดาเนนิ งานดงั น้ี

๑. ประชุมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมด้านการแพทย์และสาธารณสุขในสถานการณ์สาธารณภัย
จังหวัดสุพรรณบุรี กรณีการระบาดของโรคติดต่อ (โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา) วันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๗ ณ
ห้องประชมุ โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช โดยมีเน้ือหาวาระการประชุมสรปุ สาระสาคัญ ดงั น้ี

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 159

ระเบียบวำระที่ ๑ เรื่องทปี่ ระธำนแจง้ ใหท้ ี่ประชมุ ทรำบ
๑.๑ รายงานสถานการณก์ ารระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสอโี บลา ในภูมภิ าคแอฟริกาตะวันตก
๑.๒ กระทรวงสาธารณ สุข ได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณ สุข ๔ ฉบับ ตาม

พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๒๓ ซ่ึงมีสาระต่อเนื่องกัน ได้แก่ ๑ ให้โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาเป็น
โรคติดต่อ ๒ ให้โรคติดเช้ือไวรัสอีโบลาเป็นโรคติดต่อที่ต้องแจ้งความ ๓ ให้โรคติดเช้ือไวรัสอีโบลาเป็น
โรคติดต่ออันตราย ๔ กาหนดเขตติดโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ได้แก่ กินี เซียร์ราลีโอน ไลบีเรีย และเมือง
ลากลอสของประเทศไนจีเรยี มผี ลบงั คับใชห้ ลงั จากประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๑๓ สงิ หาคม ๒๕๕๗)

๑.๓ นพ.สสจ.ได้กาหนดให้มีการฝึกซ้อมแผน เพ่อื กาหนดแนวทางการปฏบิ ัติงาน

ระเบียบวำระท่ี ๒ เรื่องกำรรบั รองรำยงำนกำรประชมุ คร้งั ทผ่ี ำ่ นมำ (ไม่มี)

-

ระเบยี บวำระที่ ๓ เร่อื งทเี่ สนอให้ทป่ี ระชมุ ทรำบ
๓.๑ กาหนดการประชุม สถานท่ปี ระชุม ฝึกซ้อมแผนฯ
วันที่ ๑๕ กันยายน ๕๗ ห้องประชุมขนุ แผน โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช

- สถานการณโ์ รคตดิ เชือ้ ไวรสั อโี บลา
- Table Top Exercise
วันท่ี ๑๙ กันยายน ๕๗ ณ โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช โรงพยาบาลศุภมิตร
และชุมชน
ภาคเชา้ ปฏิบตั กิ ารภาคสนาม (Field Exercise)
ภาคบ่าย สรปุ ผลการซอ้ มแผน หอ้ งประชมุ ชั้น ๑๐

โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช

ระเบยี บวำระที่ ๔ เรือ่ งที่เสนอให้ทีป่ ระชุมพจิ ำรณำ
๔.๑ สถานการณส์ มมตุ ิการฝึกซอ้ ม
๔.๒ มอบหมายภารกิจ กาหนดบทบาท หนา้ ท่ี

รูปกำรประชุมในวนั ที่ ๑๕ กันยำยน ๒๕๕๗ ณ ห้องประชมุ โรงพยำบำลเจำ้ พระยำยมรำช

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 160

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 161

กำรซอ้ มจริงในวนั ที่ ๑๙ กนั ยำยน ๕๗
ณ โรงพยำบำลเจ้ำพระยำยมรำช โรงพยำบำลศุภมติ ร

และชมุ ชน

วตั ถุประสงค์ และรูปแบบกำรฝึกซ้อมแผน
 วตั ถุประสงค์กำรฝกึ ซ้อม
เพื่อเตรียมความพร้อมของเจ้าหน้าที่ด้านการแพทย์และสาธารณสุข รวมท้ังหน่วยงานท่ี

เก่ียวขอ้ ง ในกรณีพบผู้ปว่ ยโรคติดเชอื้ ไวรสั อีโบลา
 วตั ถุประสงคเ์ ฉพำะ
เพื่อทดสอบแนวทางปฏิบัติของเจ้าหน้าท่ีด้านการแพทย์และสาธารณสุข รวมท้ังหน่วยงาน

ที่เก่ียวข้อง ในกรณีพบผ้ปู ว่ ยโรคติดเชือ้ ไวรสั อีโบลา ในด้านต่างๆ ดังต่อไปน้ี
1. ด้านการเฝ้าระวัง สอบสวน และตรวจจับการระบาดในพื้นที่ (Surveillance,

investigation and early detection)
2. ด้านขัน้ ตอนการตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการ (Laboratory testing)
3. ด้านระบบการส่งต่อผู้ป่วยให้ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีและเหมาะสม (Referral

system)
4. ด้านการดูแลผู้ป่วยและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล (Case management and

Infection control)
กลมุ่ เปำ้ หมำยผเู้ ขำ้ รว่ มฝกึ ซ้อม

เจ้าหน้าทีด่ า้ นการแพทย์และสาธารณสุข และบุคลากรทเี่ ก่ียวขอ้ ง
๒.๑ ผู้เข้ำฝึกซ้อม ได้แก่ นพ.สสจ.เจ้าหน้าที่ด้านการแพทย์และสาธารณสุขของ รพศ./รพท./
รพ.เอกชน ทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) อาเภอเมืองฯ และระดับจังหวัด คปสอ.ม.เมือง
สุพรรณบุรี รวมทั้งเจา้ หนา้ ทท่ี ่เี กย่ี วข้อง

บทบำทหน้ำที่ : เข้าร่วมการฝกึ ซ้อม สานักงานสาธารณสุขจังหวัดร่วมฝึกซ้อมและสนับสนุน
การฝึกซอ้ มในพ้ืนที่

2.2 ผู้สงั เกตกำรณ์ ได้แก่ โรงพยาบาลทกุ แห่ง สานักงานสาธารณสขุ อาเภอ
บทบำทหนำ้ ท่ี : สังเกตการณ์การฝกึ ซอ้ ม และใหข้ ้อเสนอแนะ

2.3 ผู้ประเมิน ได้แก่ ผู้แทนจากหน่วยงานส่วนกลาง และระดับเขตในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
ทเี่ กยี่ วขอ้ ง

บทบำทหนำ้ ที่ : ประเมินผลการฝกึ ซอ้ ม และสรุปรวบรวมผลการประเมิน
2.4 ทีมผจู้ ดั กำรฝกึ ซอ้ ม (Control team) ประกอบดว้ ย :

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 162

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช โรงพยาบาลสมเด็จ
พระสงั ฆราชองคท์ ่ี ๑๗ และสานักงานสาธารณสุขอาเภอเมืองสุพรรณบรุ เี ป็นแกนหลักในการเตรียมการจดั การ
ฝึกซอ้ มแผนเตรยี มความพรอ้ มตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรณีโรคติดเชื้อไวรสั อีโบลา (Ebola Virus Disease : EVD)
ภาคสาธารณสขุ ระดับจงั หวดั

บทบำทหนำ้ ท่ี : เตรียมการจดั การฝึกซ้อมแผนฯ และสนบั สนุนการฝกึ ซ้อมทง้ั หมด
รปู แบบกำรฝึกซอ้ ม

ชนิดปฏิบัติการภาคสนาม (Field Exercise) โดยประเมินประสิทธิภาพของการปฏบิ ัติในลักษณะท่ีมกี าร
เผชญิ เหตุกับสถานการณ์ท่จี าลองขน้ึ ที่มกี ารปฏิบัตจิ ริงเกือบทุกขนั้ ตอน
สถำนกำรณ์สมมตุ แิ บบ C : พบผู้ปว่ ยโรคติดเชอื้ ไวรัสอโี บลำทีส่ ถำนพยำบำล

วันท่ี ๑๙ กันยายน 2557 พบผู้ป่วยสงสัยชาวกานีเรีย เพศหญิง อายุ 28 ปี มีประวัติเดินทางมาจาก
ประเทศกานีเรีย (ซ่ึงเป็นพ้ืนที่ท่ีพบการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาในปัจจุบัน) เข้ารับการรักษาที่
โรงพยาบาลศุภมิตร จังหวดั สุพรรณบุรี ด้วยอาการไข้ ไอ ท้องเสีย มา 2 วัน แพทย์เจ้าของไข้สงสัยว่าผู้ป่วยจะ
ติดเช้ือไวรัสอีโบลา จึงประสานให้เจ้าหน้าท่ีในโรงพยาบาลศุภมิตรโทรแจ้งไปยังสานักงานสาธารณสุขจังหวัด
สุพรรณบุรีรับทราบ สสจ.ตัดสินใจย้ายผู้ป่วยมารับการรักษาต่อท่ีโรงพยาบาลศูนย์เจ้าพระยายมราช จากน้ัน
รพศ.ได้ส่งรถ Refer มารับตัวผู้ป่วย โดยระหว่างดาเนินการผู้ป่วยมีอาเจียนตลอดเวลา ทีมสอบสวนโรค
เคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ลงพื้นท่ีสอบสวนโรค พบผู้สัมผัสเป็นบุคลากรทางการแพทย์ 8 ราย (เป็นบุคลากรทาง
แพทยท์ ี่รับผปู้ ่วยคร้ังแรกซึ่งไมม่ ีชดุ ป้องกนั ณ โรงพยาบาลเอกชน ๖ ราย และ บุคลากรทางการแพทย์ท่ีผู้ปว่ ย
อาเจียนใส่ชดุ ป้องกัน ขณะลาเลียง และ ใหส้ ารน้าที่โรงพยาบาลศูนย์อีก 2 ราย) และ ผู้สัมผัสในชุมชน ๕ ราย
(เป็นคนในครอบครัวที่อยบู่ ้านเดียวกัน ๔ ราย และเปน็ ผปู้ ่วยทีอ่ ยู่ใกล้กนั ในวันที่มารบั การรกั ษาในโรงพยาบาล
ศุภมิตรอีก ๑ ราย) ณ โรงพยาบาลศูนย์เจ้าพระยายมราช เจ้าหน้าท่ีได้ทาการเก็บตัวอย่างจากผู้ป่วยสงสัยส่ง
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยประสานไปยังศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ในพื้นท่ีมารับตัวอย่างไปตรวจ โดยรับ
แจ้งทางโทรศัพท์ ให้ไปรับและบรรจุตัวอย่างเพื่อตรวจหาอีโบลา ใช้กล่องบรรจุตัวอย่าง และนาส่งตัวอย่างที่
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ นนทบุรี เจ้าหน้าที่ สวส. แบ่ง EDTA 1
หลอด พร้อมประสานสานักระบาดวิทยา ส่งตัวอย่างไปตรวจอีกแห่งหน่ึงท่ีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ผู้ตรวจวิเคราะห์ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขทาการตรวจวิเคราะห์ด้วย RT-PCR
และแจ้งผลการตรวจวิเคราะห์ทันทีทางโทรสารแก่สานักระบาด /สสจ./ รพศ.เจ้าพระยายมราช ผลตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการจากตัวอย่างเลือดของผู้ป่วยให้ผลบวกต่อเชื้อไวรัสอีโบลา ทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT)
จึงติดตามผู้สัมผัสใกล้ชิด และบุคลากรทางการแพทย์ท่ีเก่ียวข้องอย่างต่อเน่ือง จนครบระยะเวลาท่ีกาหนด
และไมพ่ บผูป้ ่วยเพิ่มเติม

สถำนกำรณ์ปดิ กำรซอ้ มแผน : ควบคุมกำรระบำดของโรคได้แล้ว

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 163

ขณะน้ี สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี แจ้งว่าสามารถควบคุมสถานการณ์การระบาดของโรคตดิ เช้ือ
ไวรัสอีโบลาได้และมีการดาเนนิ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคมุ โรคในพ้นื ที่ ไมพ่ บผู้ปว่ ย โรคตดิ เช้ือไวรัสอีโบลา เพ่มิ เติม

........................................จบสถำนกำรณส์ มมุติ…………………………

ลำดับเหตุกำรณข์ องกำรฝึกซ้อมแผน

ลำดับเหตุกำรณข์ องกำรฝึกซ้อมแผน เพอ่ื เตรยี มควำมพรอ้ มสำหรับกำรระบำด กรณี

โรคติดเช้ือไวรสั อีโบลำ (Ebola Virus Disease : EVD) ภำคสำธำรณสุข ระดับ

จังหวดั ชนดิ ปฏบิ ัตกิ ำรภำคสนำม (Field Exercise) จังหวัดสพุ รรณบรุ ี วนั ท่ี ๑๙

กนั ยำยน ๒๕๕๗ (ภำพรวมทั้งหมด)

เวลำ ลำดบั เหตกุ ำรณ์

08.30–09.00 น. ผ้เู ข้ารว่ มการฝกึ ซ้อมแผนฯ และผสู้ ังเกตการณ์ ลงทะเบียนและเข้าประจาตามท่กี าหนด

09.00–12.00 น. เรมิ่ การฝกึ ซ้อมแผนเพื่อเตรยี มความพร้อมสาหรับการระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั อีโบลา
(Ebola Virus Disease : EVD) ภาคสาธารณสุข ระดบั จังหวดั

 สถำนกำรณ์สมมุติแบบ C : จังหวัดที่ไม่มีด่านอากาศยานหรือด่านเรือระหว่างประเทศ (พบ
ผปู้ ว่ ยทส่ี ถานพยาบาล)
- วันที่ ๑๙ กันยายน 2557 พบผู้ป่วยสงสัยชาวกานีเรีย เพศหญิง อายุ 28 ปี มีประวัติเดินทางมา
จากประเทศกานเี รีย (ซึ่งเปน็ พนื้ ที่ท่พี บการระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสอีโบลาในปัจจุบัน) เข้ารบั การ
รกั ษาทโี่ รงพยาบาลศภุ มิตร จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ดว้ ยอาการไข้ ไอ ท้องเสีย มา 2 วนั แพทยเ์ จา้ ของไข้
สงสัยว่าผู้ป่วยจะติดเชื้อไวรัสอีโบลา จึงประสานให้เจ้าหน้าท่ีในโรงพยาบาลศุภมิตรโทรแจ้งไปยัง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีรับทราบ สสจ. ตัดสินใจย้ายผู้ป่วยมารับการรักษาต่อที่
โรงพยาบาลศูนย์เจ้าพระยายมราช
- จากนั้น รพศ.เจ้าพระยายมราชในพ้ืนท่ีได้ส่งรถ Refer มารับตัวผู้ป่วย โดยระหว่างดาเนินการ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 164

เวลำ ลำดับเหตกุ ำรณ์
ผ้ปู ่วยมอี าเจียนตลอดเวลา
1๒.00–1๓.๐0 น. - ทมี สอบสวนโรคเคลื่อนท่ีเร็ว (SRRT) ลงพ้ืนทสี่ อบสวนโรค พบผู้สัมผสั เป็นบุคลากรทางการแพทย์
1๓.00–1๖.30 น. 8 ราย (เป็นบุคลากรทางแพทย์ท่ีรับผู้ป่วยครงั้ แรกซ่ึงไม่มีชุดป้องกัน ณ โรงพยาบาลศุภมติ ร ๖ ราย
และ บุคลากรทางการแพทย์ท่ีผู้ผู้ป่วยอาเจียนใส่ชุดป้องกัน ขณะลาเลียง และ ให้สารน้าที่
โรงพยาบาลศูนย์เจ้าพระยายมราชอีก 2 ราย) และ ผู้สัมผสั ในชุมชน ๕ ราย (เป็นคนในครอบครัวที่
อยู่บ้านเดยี วกัน ๔ ราย และเปน็ ผู้ป่วยที่อยู่ใกล้กันในวนั ที่มารบั การรักษาในโรงพยาบาลศุภมิตรอีก
๑ ราย)
- โรงพยาบาลศูนย์เจ้าพระยายมราช เจ้าหน้าที่ได้ทาการเก็บตัวอย่างจากผู้ป่วยสงสัยส่งตรวจทาง
ห้องปฏิบตั ิการ โดยประสานไปยังศนู ย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทยใ์ นพื้นท่มี ารบั ตัวอยา่ งไปตรวจ โดยรับ
แจ้งทางโทรศัพท์ ให้ไปรับและบรรจุตัวอย่างเพ่ือตรวจหาอีโบลา ใช้กล่องบรรจุตัวอย่าง และนาส่ง
ตัวอยา่ งที่สถาบันวจิ ัยวิทยาศาสตรส์ าธารณสุข กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ นนทบุรี เจ้าหน้าที่ สวส.
แบ่ง EDTA 1 หลอด พร้อมประสานสานักระบาดวิทยาส่งตัวอย่างไปตรวจอีกแห่งหน่ึงที่คณะ
แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ผตู้ รวจวเิ คราะหข์ องสถาบันวจิ ยั วิทยาศาสตร์สาธารณสุขทา
การตรวจวิเคราะห์ด้วย RT-PCR และแจ้งผลการตรวจวิเคราะห์ทันทีทางโทรสารแกส่ านักระบาด /
สสจ./ รพศ.เจ้าพระยายมราช ผลตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ ารจากตัวอย่างเลือดของผ้ปู ่วยให้ผลบวกต่อ
เช้ือไวรัสอโี บลา
- ทีมสอบสวนโรคเคลื่อนท่ีเร็ว (SRRT) จึงติดตามผู้สัมผัสใกล้ชิด และบุคลากรทางการแพทย์ท่ี
เกยี่ วข้องอย่างตอ่ เนื่อง จนครบระยะเวลาท่ีกาหนด และไมพ่ บผู้ปว่ ยเพ่มิ เติม

 สถำนกำรณส์ มมตุ ปิ ดิ กำรซ้อมแผน : ควบคุมการระบาดของโรคได้แล้ว
พักรบั ประทานอาหารกลางวนั ที่โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช
สรุปและประเมินผลการฝกึ ซ้อมแผน /ประธานกลา่ วขอบคุณและปดิ การฝึกซ้อม

แนวทางการซ้อมแผนเพ่ือเตรียมความพร้อมด้านการแพทย์และสาธารณสขุ กรณโี รคติดเชื้อไวรัสอโี บลา

(Ebola Virus Disease:EVD) ในสถานพยาบาล (รายละเอียดเพ่มิ เติมในส่วนของโรงพยาบาลเจ้าพระยายม

ราช)

ชนิดปฏิบัติการภาคสนาม จังหวดั สุพรรณบุรี วันที่ 19 กนั ยายน 2557

ณ สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี โรงพยาบาลศุภมิตร และโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช

เวลำ/สถำนที่ กิจกรรม ผู้รับผดิ ชอบ

08.00 - 08.30 น. ลงทะเบยี นผู้รว่ มสังเกตการณ์ ทหี่ อผปู้ ่วยบจศ.2 พรส.

รพ.เจา้ พระยายมราช

08.30 - 09.00 น. 1. เจ้าหนา้ ทร่ี ะบาด สสจ.สพ.รับแจ้งเหตุ จากรพ.ศุภมิตร สสจ./

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 165

เวลำ/สถำนที่ กจิ กรรม ผ้รู บั ผิดชอบ

รพ.เจ้าพระยายมราช 2. เจา้ หน้าที่โทรแจง้ นพ.สสจ. รพ.ศภุ มิตร/

3. นพ.สสจ. โทรแจง้ ผอ.รพศ.เจา้ พระยายมราช รพศ.

4. ผอ.รพศ. โทรแจง้ ICN

5. ICN โทรถามรายละอยี ดรพ.ศุภมิตร

6. ICN โทรประสานอายรุ แพทยโ์ รคตดิ เชือ้ / หอผู้ป่วยแยกโรคบจศ.2/

EMS/ Lab/รปภ./หัวหน้ากลมุ่ งานเวชกรรมสังคม/รองผอ.แพทย์/รอง

ผอ.พยาบาล

09.00 - 09.30 น. 1. รถEMS พร้อมดว้ ย พขร./พยาบาล 2 คน/EMT 1 คน แสดงการ ใส่PPE รพ.ศภุ มิตร/

รพ.ศุภมติ ร เตรียมพร้อมไปรับผปู้ ว่ ยท่รี พ.ศุภมิตร EMS

2. พขร.ใส่ surgical mask ทาหนา้ ทขี่ บั รถและสื่อสารทางโทรศัพท์ ให้อยู่

ในรถEMS

3. พยาบาล 1 คนใสช่ ดุ เตรียมพร้อมน่งั ไปกบั คนขบั ไม่ตอ้ งช่วยทีมรอstand

byเมื่อมเี หตุฉกุ เฉนิ

4. พยาบาล1 คน และEMT 1 คน ใส่ PPE ทาหนา้ ทรี่ บั และเขน็ ผปู้ ว่ ยขึ้น

รถ

09.30 – 10.00 น. 1. พขร.โทรแจ้งICN เมอ่ื พร้อมออกเดนิ ทาง รพศ./EMS/

รพ.เจ้าพระยายมราช 2. ICN แจง้ รปภ.จดั การเสน้ ทางจราจรและกดี กนั ผไู้ มเ่ ก่ยี วขอ้ งออกนอก รปภ./บจศ2/

เสน้ ทางลาเลยี งผปู้ ว่ ย แพทย์

3. ICN แจง้ บจศ.2 ให้เตรยี มตัวรับผู้ป่วย บจศ.2 แจ้งเวชระเบยี นทาOPD

card และ Admiited มกี ารจดบนั ทึกผสู้ ัมผสั ทุกคน วนั เวลา และ

กจิ กรรมทีท่ า

4. รถEMS ถงึ รพศ.หน้าหอผปู้ ว่ ยบจศ.2 เปดิ ประตรู ถ ผ้ปู ว่ ยอาเจียนรดใส่

พยาบาล พยาบาลและผชู้ ่วย ใช้ set clean kit เช็ดทาความสะอาด

โดยใชก้ ระดาษทชิ ชูวางซับบนสารคัดหลัง่ ทพี่ นื้ รถและราดนา้ ยา

1%sodium hypochlorite บนกระดาษและคลุมด้วยผ้ายางพลาสตกิ

บนพนื้ ทเี่ ป้ือนเพื่อปอ้ งกันการปนเปอ้ื นขยะเคลื่อนยา้ ย ใช้ผา้ ชบุ น้ายา

1%sodium hypochlorite เช็ดเตียงนอนผปู้ ่วยบริเวณที่เปือ้ นและคลุม

ตวั ผปู้ ว่ ยดว้ ยเส้ือกาวนพ์ ลาสตกิ กันนา้ ป้องกันสง่ิ ปนเปอ้ื นฟงุ้ กระจาย

5. พยาบาล 1 คนใสP่ PE จากดา้ นหนา้ รถลงมาทาหนา้ ทเี่ ขน็ ผปู้ ่วยลงจาก

รถแทนพยาบาลและผชู้ ่วยในรถทอี่ ยกู่ บั ผปู้ ว่ ย ไปส่งที่ บจศ.2

6. รถEMS เขา้ จอดจดุ ที่กาหนด รปภ.ก้นั เขตพ้ืนทีอ่ ันตรายห้ามเขา้

7. พยาบาลและผชู้ ่วย เปิดประตูระบายอากาศ และทาความสะอาดภายใน

รถEMSด้วยนา้ ยา1%sodium hypochlorite

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 166

เวลำ/สถำนท่ี กจิ กรรม ผูร้ ับผดิ ชอบ
8. นาผปู้ ว่ ยเขา้ ห้อง AIIR ในบจศ.2 โดยมีพยาบาลและแพทย์ใส่ PPE รอรบั
10.00 - 10.30 น. แพทย/์ บจศ.
รพศ./บจศ.2 ผปู้ ว่ ย 2 / Lab /
9. พยาบาล EMS เปลีย่ นถงุ มอื ดา้ นนอก ฉดี พ่นนา้ ยา1%sodium ศนู ยว์ ทิ ย์ฯ

hypochlorite บนรถเขน็ และนากลบั มาทีร่ ถ EMS จากนน้ั ถอดPPE ใส่
ถงุ ขยะตดิ เชื้อ ชัน้ ท่1ี ผูกปากถุงด้วยเชอื กพ่นดา้ นนอกด้วยนา้ ยา
1%sodium hypochloriteและใส่ถุงขยะตดิ เช้อื ใบท่ี 2 และทา
เช่นเดยี วกับคร้งั แรกผูกป้ายเตอื นขยะติดเชอ้ื อนั ตรายกอ่ นใสถ่ ังเป็น
ระบบปดิ ส่งกาจัดโดยการเผา และแยกอปุ กรณ์ทใี่ ชซ้ า้ ทาลายเชือ้ ดว้ ย
การพน่ นา้ ยา1%sodium hypochlorite ท้งิ ไว้ 30 นาทกี ่อนนาไปทา
ความสะอาด
10. พยาบาล EMS ผู้ชว่ ยและคนขับรถ อาบนา้ ทาความสะอาดรา่ งกาย
หลังจากเสรจ็ กจิ กรรมดังกลา่ ว
1. พยาบาลวัดสญั ญาณชพี ผู้ปว่ ย แพทยต์ รวจรา่ งกาย ซกั ประวตั ิ ส่ังคาสงั่ การ
รักษา โดยให้ IV Fluid และตรวจเลอื ด
2. แพทยถ์ อด PPE และอาบนา้ ทาความสะอาดรา่ งกายก่อนออกจากบจศ.2
3. ICN แจง้ ประสาน สสจ.และห้อง Lab เรือ่ งการเจาะเลอื ด
4. สสจ.ประสานศนู ยว์ ิทยฯ์ เพ่ือมารบั specimen
5. พยาบาลใหI้ V Fluid ขณะจะใหI้ V ผู้ป่วยอาเจยี นใสพ่ ยาบาล
6. พยาบาล คนท่ี 1 เปลยี่ นเสอื้ กาวนแ์ ละถงุ มือชั้นนอก ใส่เสื้อกาวนแ์ ละถุง
มอื ใหม่ ทาการเชด็ ทาความสะอาด บรเิ วณทเ่ี ปื้อนสารคัดหล่งั ดว้ ยนา้ ยา
1%sodium hypochlorite พืน้ ใหเ้ ทราดบนผา้ หรือกระดาษทชิ ชทู งิ้ ไว้นาน
30 นาที ถ้าเป็นพ้นื บรเิ วณทตี่ ้องทากจิ กรรมใหค้ ลมุ ทับทีป่ นเปื้อนดว้ ยผา้ ยาง
7. พยาบาลคนท่ี 2 ทาการให้ IV Fluid ตอ่ จากครั้งแรก และทาการเจาะเลือด
ใส่tube จานวน 8 tube ที่หอ้ ง Lab เตรยี ม label ช่อื HN ผปู้ ว่ ยปิดทบั
ดว้ ยสติกเกอรใ์ สกนั นา้
8. พยาบาล เปล่ียนถงุ มอื ดา้ นนอก ใช้ parafilm พันปิดฝาจุก specimen และ
เชด็ ดว้ ยสาลีชบุ 70% แอลกอฮอล์ ใสล่ งใน rack ใส่กล่องปดิ ฝา เปลยี่ นถงุ
มอื ดา้ นนอก และนากลอ่ งใส่ specimen ไปยังหอ้ งสะอาดทอ่ี ยู่ตดิ กบั หอ้ ง
ผปู้ ่วย โดยมี เจ้าหน้าท่ี Lab (Mr. Clean) รออยจู่ ากน้ันสาธติ การรับสง่
specimen เพือ่ สง่ ตรวจไปยงั ห้องLab ของรพศ.และศนู ย์วิทยฯ์
9. พยาบาลคนที่ 2 ตรวจประเมนิ ผู้ปว่ ยดูความเรยี บรอ้ ยอกี ครั้ง
10. พยาบาลคนที่ 1 เชด็ ทาความสะอาดบรเิ วณท่ีปนเป้ือนด้วยนา้ ยา1%sodium
hypochloriteตามขอ้ กาหนด
11. พยาบาลคนท่ี 1,2 และเจา้ หน้าท่ี Lab ถอดPPE

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 167

เวลำ/สถำนที่ กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ
10.30 - 11.00 น. 1. เจ้าหนา้ ท่ี Lab รพศ. นากลอ่ ง specimen ส่งหอ้ งตรวจ DRA ทอี่ าคาร Lab รพศ.

อบุ ตั ิเหตุ ชัน้ 4
2. เจา้ หนา้ Lab ประจา DRA 2 คน ใส่ PPE รอรับ specimen ในหอ้ ง

ตรวจ Lab (Mr. Clean & Mr. Dirty)
3. เจา้ หน้าที่ Lab ถอด PPE และอาบนา้ ทาความสะอาดร่างกายเมือ่ เสร็จ

กจิ กรรม

กำรประเมนิ ผลและสรุปผลกำรฝึกซอ้ ม

 วัตถปุ ระสงค์ของกำรประเมินผล

เพื่อประเมินความพร้อมของ เจ้าหน้าที่ด้านการแพทย์และสาธารณสุข รวมท้ังหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ใน
กรณีพบผู้ป่วยโรคติดเช้ือไวรัสอีโบลา ขณะฝึกซ้อมแผนฯ ในกระบวนการดาเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ ใน
กรณกี ารตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉินโรคตดิ เชือ้ ไวรสั อโี บล่า ดงั นี้

1. ด้านการเฝ้าระวัง สอบสวน และตรวจจับการระบาดในพื้นท่ี (Surveillance, investigation and
early detection)

2. ดา้ นขน้ั ตอนการตรวจทางห้องปฏิบตั กิ าร (Laboratory testing)
3. ดา้ นระบบการส่งตอ่ ผูป้ ว่ ยให้ได้รบั การรักษาอยา่ งทนั ทว่ งทีและเหมาะสม (Referral system)
4. ด้านการดูแลผู้ป่วยและป้องกันการติดเช้ือในโรงพยาบาล (Case management and Infection
control)

โดยจังหวัดเป้าหมายที่ทาการฝึกซ้อมดาเนินการประเมินผลภาพรวมหลังจากการฝึกซ้อมแผนเสร็จสิ้น
เพื่อนาผลการประเมินดงั กล่าวไปพฒั นาหรอื ปรบั ปรุงแผนเตรยี มความพร้อมของหนว่ ยงานในการตอบสนองต่อ
การระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั อีโบลาทอ่ี าจเกดิ ขึ้นได้ในพื้นทีใ่ หส้ มบรู ณย์ งิ่ ขน้ึ

 ผู้ประเมนิ ผล
ผปู้ ระเมนิ การฝึกซอ้ มประเมินตามแบบการประเมนิ ของสานักโรคติดต่ออบุ ัติใหม่ ซง่ึ ผู้ประมเน ได้แก่
- ทมี ผปู้ ระเมนิ ของโรงพยาบาลจพ้ ระยายมราช
- ทีมผ้ปู ระเมนิ จากสานักงานปอ้ งกันควบคมุ โรคท่ี ๔ จังหวัดราชบุรี

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 168

รูปกำรซอ้ มจรงิ ในวันที่ ๑๙ กนั ยำยน ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมโรงพยำบำลเจำ้ พระยำยมรำช
ผปู้ ว่ ยมารับการรกั ษาท่โี รงพยาบาลศภุ มิตร

ผ้ปู ว่ ยมีอาการไข้ ไอ และมปี ระวัตกิ ารเดินทางจากประเทศท่มี ีการระบาดของโรค โทรแจ้ง สสจ.สุพรรณบุรี

ประสานงานโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราชให้สง่ รถมารบั ผู้ปว่ ยท่โี รงพยาบาลศภุ มิตร

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 169

ประสานงานแจง้ อายรุ แพทย์โรคตดิ เช้อื และประสานงานหอ้ งแยกโรค

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 170

นาผปู้ ่วยเขา้ หอ้ งแยกโรค และมกี ารประสานงานกับศูนยว์ ทิ ยฯ์ ในการเกบ็ เลอื ดส่งตรวจ

การทาลายเชอื้ ทีผ่ ปู้ ่วยอาเจยี นออกมา

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 171

พ.สสจ.เรียกประชมุ war room สั่งการดาเนินงาน SRRT ประชมุ ทมี กอ่ นปฏบิ ตั งิ าน

การทาลายเชอื้ ทโี่ รงพยาบาลศุภมติ ร Page 172

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗

ทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เรว็ (SRRT) สอบสวนโรคทโ่ี รงพยาบาลศุภมติ ร

ทมี สอบสวนโรคเคลอื่ นที่เร็ว (SRRT) สอบสวนโรคในชมุ ชนที่ผปู้ ่วยพกั อาศัย

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 173

ทมี สขุ ศึกษาและประชาสมั พนั ธ์ ให้ความรู้กบั แกนนาหมูบ่ า้ น อสม.ในการทาความเข้าใจกับประชาชนต่อไป
รพ.สต., SRRT อาเภอ ติดตามเฝ้าระวงั ต่อเนอ่ื งจนครบ 21 วัน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 174

สรุปขอ้ เสนอแนะสำหรบั กำรปรบั ปรุงตอ่ ไป
โรงพยำบำลเจำ้ พระยำยมรำช
- zone เคลือ่ นยา้ ยผู้ป่วยให้มีเสน้ ก้นั บริเวณ
- ข้ันตอนการเก็บอาเจียน ให้เช็ดครั้งเดียวแล้วทิ้ง เช็ดให้ทั่ว ใส่ถุงขยะติดเช้ือ แล้วนาไป

ทาลายอยา่ งถกู วิธี
- การใส่ชุด PPE ปฏิบัติดีแล้ว แต่ขั้นตอนการถอดของ Lab ต้องไปถอดอีกห้องหน่ึงจะดีกว่า

การถอดชดุ ตอ้ งคล่องกวา่ น้ี และตอ้ ง Clean มากกว่านี้ ระวังการปนเปือ้ น
- การขนยา้ ยผูป้ ว่ ย จุดเด่นมีการเตรียมคนไขส้ ารอง และตอ้ งมกี ารเตรยี มชอ่ งทางพิเศษดว้ ย
- ผปู้ ว่ ยต้องใส่หนา้ กากอนามยั ดว้ ย
- ควรมหี อ้ งในการถอดชุด PPE
- การนาถงุ ขยะใสถ่ งั ขยะตอ้ งกดเพราะถงั เตม็ ตอ้ งแก้ไข เพราะหา้ มใช้มอื กด
- ตอ้ งฝึกการถอดชุด PPE
- ชอ่ งทางในการเคลอื่ นย้ายผู้ปว่ ย ควรมีชอ่ งทางแยกและสะดวก

โรงพยำบำลศภุ มิตร
- จุดรบั สง่ ผปู้ ่วยมกี ารเตรียมการพร้อมมากเกนิ ไป
- เวรเปลตอ้ งไม่ใสห่ น้ากากอนามยั ให้ผู้ปว่ ย
- ผู้ป่วยควรน่งั อย่ใู นรถเข็น ไม่ควรย้ายทีน่ ง่ั
- ต้องเคลียร์พื้นทแี่ ละช่องทางการเขา้ ออก
- ปญั หาของการใสห่ นา้ กากอนามยั N95 ไมถ่ ูกตอ้ ง
- ตอ้ งใสช่ ดุ PPE ทับรองเท้าบูท
- แมบ่ ้านและเวรเปล ต้องมกี ารซักซอ้ มการปฏิบตั ใิ ห้มาก
- ฝกึ ปฏบิ ตั ิการรวบรวมขยะ และการนาไปทาลายอยา่ งถูกวธิ ี

ทมี สอบสวนโรคเคลอ่ื นที่เรว็ (SRRT)
- สารวจทมี วา่ ใครไปทาลายเชือ้ เพ่ือทจ่ี ะเตรียมขนาดของชดุ ใหพ้ อดี
- กังวลเร่ืองการถ่ายทาภาพเคล่ือนไหว กงั วลเรอื่ งเวลา กิจกรรมจงึ ไม่ครอบคลมุ
- เน้นในสว่ นของการแจง้ เหตุ ต้องมรี ายละเอยี ดผู้ปว่ ยใหช้ ัดเจน
- การตดิ ตาม 21 วนั ใหใ้ ช้การโทรไปกอ่ น ยังไมต่ อ้ งลงพ้นื ท่ี
- ต้องซกั ประวัตกิ ารเดินทาง อาการ และยังอยู่ทีเ่ ดิมหรือไม่
- มีระบบสั่งการ war room ชัดเจน สง่ั การมาจาก สสจ. ถงึ รพ.ศภุ มิตรใช้เวลา 25 นาที
- อุปกรณเ์ ตรยี มไม่ครบ ต้องมี Check list และ ใสช่ ุด PPE ให้เปน็ ขัน้ ตอน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 175

- ขน้ั ตอนการสอบสวนโรคตอ้ งมีข้นั ตอนชดั เจน
- ทมี SRRT ตอ้ งมรี ะดบั จงั หวดั และระดับอาเภอร่วมด้วย
ภำพรวม
- มีเวลาซ้อมน้อย
- ระบบการทางานดี
- SRRT ไมร่ ู้จะเอาอุปกรณไ์ ว้ตรงไหน อุปกรณ์ไมค่ รบ
- ตอ้ งซ้อมการใสช่ ดุ PPE ใหช้ านาญ

กำรดำเนินงำน โรคเร้อื รงั เบำหวำน ควำมดนั โลหิตสูง จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมำณ 2557
วเิ ครำะหส์ ถำนกำรณ์ สภำพปญั หำของพ้ืนที่

ปัญหาโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง เป็นปัญหาสุขภาพท่ีสาคัญ ซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น สร้างภาระ
ค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาและก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจตามมาอย่างมหาศาล จากการสารวจ
สุขภาพประชาชนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปโดยการตรวจร่างกายคร้ังท่ี 4 พ.ศ.2551 – 2552 พบว่า ความชุกของ
โรคเบาหวานเป็นร้อยละ 6.9 ทั้งน้ีพบว่า 1ใน 3 ของผู้ท่ีเป็นเบาหวานไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน
มาก่อนและมีผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานแต่ไม่ได้รับการรักษาร้อยละ 3.3 ความชุกของโรคความดัน
โลหิตสูงเป็นร้อยละ 21.4 โดยพบว่าผู้ป่วยเพศชายร้อยละ 60 และผู้ป่วยเพศหญิงร้อยละ 40 ไม่เคยได้รับการ
วนิ จิ ฉยั มาก่อนและมผี ทู้ ี่ไดร้ บั การวนิ จิ ฉยั วา่ เป็นโรคความดนั โลหิตสงู แตไ่ มไ่ ดร้ บั การรกั ษา รอ้ ยละ 8-9

สาหรับสถานการณ์โรคเร้อื รังของจังหวัดสพุ รรณบุรี พบว่า จานวนผ้ปู ่วยโรคเบาหวานและความดัน
โลหิตสูงมีแนวโน้มท่ีเพิ่มขึ้นในทุกอาเภอ โดยอาเภอท่ีมีผู้ป่วยมากท่ีสุดคือ อาเภอเมืองสุพรรณฯ รองลงมา คือ
อาเภอสองพี่น้อง และอาเภออู่ทอง ตามลาดับ โดยในปี 2557 จังหวัดสุพรรณบุรีมีประชากรทั้งหมด 868098
คน มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน (เบาหวาน 17590 คน เบาหวานร่วมกับความดันโลหิตสูง จานวน 20657 คน )
จานวน 38247 คน ความชุกร้อยละ 4.41 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จานวน 55694 คน ความชุกร้อยละ
6.42 รวมมผี ูป้ ่วยโรคเร้ือเบาหวานความดัน ในปี 2557 ทงั้ จังหวัดจานวน 93941 คน
ขอ้ มูลกำรปว่ ย
ตำรำงท่ี 1 อัตรำปว่ ยต่อประชำกร 100000 คน ของผูป้ ่วยใน ด้วยกลุ่มโรคเร้ือรัง ที่สำคญั ปี 2547-2556

สาเหตุการ อตั ราป่ วยต่อแสนประชากรตามปี พ.ศ.

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 176

ป่ วย 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2555 2557
ความดนั 1143.9 1094.2 1384.7 1449.9 1509.5 1620.6 1678.04 1018.9 2556
โลหิตสูง 714.0
เบาหวาน 862.2 876.1 1009.7 1035.9 1070.6 1084.2 1068.11 1636.2 1163.3
614.7 320.1 326.7 448.1 459.2 463.5 448.6 464.16 438.1 1868.5
หวั ใจขาด 233.4
เลือด 334.8 318.2 366.7 367.8 368.3 373.9 380.02 334.6 449.5
239.1
หลอดเลือด 196.9 230.8 240.0 318.0 358.9 360.8 383.42 348.8 394.5
สมองใหญ่ 131.4
ไตวายเร้ือรัง

กำรบริหำรจดั กำรกระบวนกำร(ยุทธศำสตร/์ แผนงำน/โครงกำร/กิจกรรมท่ีดำเนนิ กำร/ทรพั ยำกร
ผลกำรดำเนนิ งำนแก้ไขปัญหำสำธำรณสุขตำมหัวข้อกำรตรวจรำชกำร หรอื นวัตกรรมเดน่ เพ่ือสนบั สนุนให้
บรรลเุ ปำ้ หมำย )

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี มีนโยบายเน้นหนักในการดาเนินงาน ด้านโรคไม่ติดต่อ ซึ่ง
จัดทาเป็นแผนยุทธศาสตร์สุขภาพของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการ
อานวยการและคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCD Board) จังหวัดสุพรรณบุรีข้ึน เพื่อให้
เกิดการบริหารจัดการ การขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการ ด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อย่างมีระบบ และสอดคล้อง
กับบริบทของพน้ื ที่ โดยมีกลยุทธ์การดาเนนิ งานป้องกันและควบคมุ โรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรงั ดงั นี้

1. ด้านนโยบายและแผนการปฎิบัติงาน สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดและเครือขา่ ยสถานบรกิ ารทกุ
แหง่ มีแผนการปฎิบัติการปอ้ งกันและควบคุมโรคไมต่ ิดต่อเรอ้ื รัง โดยจัดเป็นแผนยุทธศาสตร์แก้ปัญหาโรค
เร้ือรัง ตั้งแตป่ ี 2554 – 2559 (แผน 6ปี) และ มีการพัฒนาระบบฐานข้อมลู กลาง Data Canter โดยมรี ะบบ
รายงานผลการดาเนนิ งานไตรมาสละ 1 คร้งั มีการส่งต่อและติดตามผู้ปว่ ยเป็นรปู แบบเดียวกัน และเชื่อมโยง
ในระดับตาบล อาเภอและจังหวัด

2. การเฝ้าระวังโรคไมต่ ดิ ต่อเร้อื รัง สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดรวบรวมขอ้ มลู สถานการณโ์ รค
ปัจจยั เส่ยี งตอ่ การเกิดโรค และนาข้อมลู มาวเิ คราะห์เพ่อื แก้ปัญหา ในภาพของคณะกรรมการ NCD Board

3. การป้องกันการระบาดของโรคและควบคุมปัจจยั เสี่ยงต่อการเกิดโรคไมต่ ิดต่อเรือ้ รัง มีการ
ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ สร้างความตระหนักในการป้องกนั ควบคุมโรคไมต่ ิดต่อเรื้อรัง สนับสนุนการ
ดาเนินงานบังคับใชต้ ามมาตรการและกฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ ง

4. การควบคุมการระบาดของโรคไมต่ ิดตอ่ เรื้อรงั มีการเฝา้ ระวังการเปลีย่ นแปลงสถานการณ์ของโรค
ประชุมพฒั นาระบบการจัดเกบ็ /วิเคราะห์ขอ้ มลู การจัดทาทะเบียนคัดกรอง ทะเบยี นผู้ปว่ ย การเชือ่ มโยงระบบ
รายงาน ระดบั จงั หวดั /อาเภอ/ตาบล

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 177

นอกจากน้ียังได้มีการแตง่ ต้งั คณะกรรมการปอ้ งกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเร้ือรงั ( NCD Board )
ระดับอาเภอ ข้ึน เพื่อให้การดาเนินงานปอ้ งกนั และควบคุมโรคไมต่ ดิ ต่อเร้อื รงั ของจังหวัดสพุ รรณบรุ ีได้มีการ
พัฒนาการดาเนินงานอยา่ งมีประสทิ ธิภาพและได้มาตรฐาน มากยิง่ ขน้ึ ซ่ึง ( NCD Board ) ระดับอาเภอ มี
บทบาทหนา้ ที่ ดังนี้

1.ดาเนินงานตามนโยบายและแนวทางการป้องกันควบคุมโรคไมต่ ิดต่อของกระทรวงสาธารณสขุ และ
จังหวดั สุพรรณบุรี

2.รว่ มกาหนดแนวทางการปฏิบตั ิการป้องกันควบคุมและรักษาโรคเบาหวาน โรคความดันโลหติ สงู
ของจังหวดั สุพรรณบรุ ี

3.พฒั นาศักยภาพเครอื ขา่ ยบริการของแต่ละอาเภอ
4.พัฒนาระบบข้อมูลตลอดจนเฝา้ ระวงั ป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดตอ่ เร้ือรงั
5.สรา้ งนวตกรรมการป้องกนั และควบคุมโรคไมต่ ิดตอ่ เร้ือรังของแตล่ ะอาเภอ

แนวทำงกำรดำเนนิ งำนตำมนโยบำย

1.การลดปัจจัยเสี่ยงในประชากรและชุมชน

1.1ชมุ ชนและองค์กรมีกำรดำเนินงำนสง่ เสริมพฤติกรรมสุขภำพและปรับเปลีย่ นส่ิงแวดล้อมท่ีเออ้ื ต่อ
พฤตกิ รรมลดปัจจัยเส่ียง
หมู่บ้านปรบั เปลยี่ นพฤติกรรม

- มีนโยบายสนบั สนุน รพสต.ดาเนนิ งานพฒั นาชมุ ชนปรับเปลยี่ นพฤติกรรมเพ่อื สุขภาพดีวถิ ชี ีวิตไทย
- สง่ ผูเ้ ขา้ รับการอบรมนกั ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมเพื่อเปน็ ครู ก และจงั หวดั ดาเนนิ การจดั อบรมนัก
ปรับเปลยี่ นพฤติกรรม ใน รพสต. และ ศสม. แห่งละ 1 คน
- รพสต.รว่ มกบั แกนนาหมู่บ้านดาเนินการพฒั นาหมู่บ้านปรบั เปล่ียนพฤติกรรมเพ่ือสขุ ภาพดวี ิถีชวี ิต
ไทยเพ่ิมขึน้
- จังหวดั คัดเลอื ก best practice และจัดเวทกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การทางานระหว่างเครอื ขา่ ย
ตาบลจดั การสขุ ภาพ

1. สนับสนุนการดาเนินงานตาบลจดั การสุขภาพอาเภอละ 2 แหง่
2. จัดอบรมพัฒนาศกั ยภาพอสม.เช่ยี วชาญ/อสม.นกั จัดการสขุ ภาพชุมชน
3. ตดิ ตามและประเมินผลการดาเนนิ งานตาบลจดั การสขุ ภาพในพืน้ ที่
สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเปน็ สุข
1.ประสาน/คดั เลอื กสถานประกอบการดาเนินการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเปน็
สุข อยา่ งน้อย 3setting ภายในจังหวัด (ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และวสิ าหกจิ ชุมชน)
2. ติดตาม ร่วมประเมินการพฒั นาสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเปน็ สขุ
3. สถานบริการสาธารณสขุ และชุมชนมีการสอื่ สารสาธารณะ(3อ 2ส + อ้วน/นา้ หนักเกิน)

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 178

1.2 สถำนบรกิ ำรสำธำรณสุขและชุมชนมกี ำรส่ือสำรสำธำรณะ(3อ 2ส + อ้วน/นำ้ หนกั เกิน)
1.จงั หวดั /อาเภอมีการส่อื สารเพ่ือรว่ มรณรงค์ฯ และสร้างกระแส
2. สถานบรกิ ารสาธารณสุขดาเนินการสอื่ สารความเส่ยี งและประชาสมั พันธเ์ พ่ือป้องกัน ควบคมุ โรค

ไมต่ ดิ ต่อเรื้อรัง โดยยดึ หลัก3อ 2ส. ลดอ้วนและน้าหนกั เกนิ รวมทงั้ รณรงค์เนื่องในวัน/สัปดาห์โรคไมต่ ิดต่อ
และปัจจัยเส่ยี งต่างๆ เชน่ วันหวั ใจโลก วนั เบาหวานโลก งดสูบบุหร่โี ลก เป็นต้น

3. ร่วมมอื กับเครอื ขา่ ยใน /นอก ระบบของสาธารณสุข ในการส่ือสารรณรงค์เพือ่ ป้องกนั ควบคมุ โรค
ไมต่ ิดต่อเรือ้ รังโดยสนับสนุนและ ประสานในเร่ือง วชิ าการ /บคุ ลากร/ส่ือ
1.3 จังหวดั /อำเภอ/ตำบล/ชุมชน ส่งเสริมกำรใช้มำตรกำรทำงกฎหมำย/มำตรกำรทำงสังคมเพ่ือลด
กำรบรโิ ภคยำสูบและแอลกอฮอล์

1.คณะกรรมการควบคมุ เครื่องดม่ื แอลกอฮอลร์ ะดบั จังหวัดมกี ารดาเนนิ การควบคุมเคร่ืองด่มื
แอลกอฮอล์ และยาสูบ
2.โยบายสถานบริการสาธารณสุขและส่งเสรมิ สุขภาพปลอดบหุ ร่ี เป้าหมาย 100%
3.จัดใหส้ ถานที่สาธารณะ (สถานบรกิ ารสาธารณสขุ และโรงเรยี น)เป็นเขตปลอดบุหรสี่ ุราโดยมีการติด
ป้ายประกาศเป็นเขตปลอดบหุ รี่ บริเวณทางเขา้ ออก และบริเวณอน่ื ๆ ทเ่ี ห็นได้ชดั เจน
4.สรา้ งเครอื ข่ายเฝ้าระวงั การกระทาผิดกฎหมาย
5. ส่งเสริมและพัฒนามาตรการทางสังคมในการควบคุมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ เช่นงานบุญ งาน
ประเพณปี ลอดเหลา้

2. การปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมในกล่มุ เสี่ยง ได้แก่ภาวะนา้ หนักเกนิ และอ้วน กลุ่มทม่ี ีปัจจัยเส่ียงกล่มุ เส่ียงสูง

2.1 รพ. และ รพ.สต ร่วมกับชุมชนคน้ หากลุม่ เสย่ี งผทู้ ี่มปี ัจจัยเสย่ี ง และผู้ปว่ ยรายใหมใ่ นประชาชนอายุ
15 ปขี ้ึนไป

1. สารวจ คน้ หาและจดั ทาทะเบียนผู้ทีม่ อี ายุ 15 ขึ้นไป ในพืน้ ท่ที ่ีรับผิดชอบ
2. เตรียมชมุ ชนเพ่ือรับการตรวจสขุ ภาพเชิงรกุ และ/หรอื การบริการทส่ี ถานบริการสาธารณสขุ
3. ดาเนนิ การคดั กรองเบาหวานและความดันโลหิตในประชาชนอายุ 15 ปีขน้ึ ไปตามแนวปฏบิ ัติฯเพ่ือ

การคัดกรอง (ซง่ึ กิจกรรมการดาเนนิ งาน ในกลุ่ม 15-34 ปี จะเน้นผ้ทู ม่ี ีปจั จยั เส่ยี งก่อน เช่น ผทู้ ่ี
อว้ น มีกรรมพนั ธุ์ เป็นต้น )
4. ภายหลงั การคัดกรอง มกี ารแจ้งค่าและอธิบายความหมาย และให้บริการแนะนาการปฏิบตั ติ นที่
เหมาะสมตามสถานะความเส่ียง ปจั จยั เส่ยี ง โอกาสเสี่ยง ระดับความดนั โลหติ และ/หรือระดับ
นา้ ตาลในเลือดท่ีวัดได้
5.ผู้ท่อี ย่ใู นกลุ่มเสย่ี งสงู (Pre-DM, Pre-HT) ประเมนิ ติดตาม และให้คาแนะนาการปรบั เปล่ียน
พฤติกรรม และตรวจระดบั ความดันโลหิต/นา้ ตาลในเลือดเพือ่ ดูการเปลี่ยนแปลง
6.กลมุ่ ผปู้ ว่ ยรายใหม่ - รกั ษาและใหค้ าแนะนาปรบั เปล่ียนพฤติกรรมเพ่อื ลดเส่ียง

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 179

2.2 สถานบรกิ ารสาธารณสุขเสรมิ พลังความสามารถในการปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มท่ีมี
ภาวะอ้วน/นา้ หนักเกนิ กลุม่ เสีย่ งสูง และกลุ่มปว่ ย ภำยใต้ คลนิ กิ DPAC

คลินิก DPAC
1.รพสต.ดาเนินงานคลนิ กิ DPAC ในทกุ อาเภอ ๆละ 4 แหง่ รวม 40 แหง่ และมคี ลนิ ิก DPAC ที่
ผ่านการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์แลว้ จานวน 17 แหง่
2. รพศ., รพท.,รพช.ดาเนนิ งานคลินกิ DPAC ครบทกุ โรงพยาบาล รวม 10 แห่ง และมีคลินิก
DPAC ท่ีผา่ นการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์แลว้ จานวน 5 แหง่
3.มีการพัฒนาครู ก ผ้ใู ห้ความรแู้ ละผบู้ รกิ ารในคลินิก DPAC มาอยา่ งต่อเนื่องทุกปี
กำรควบคมุ โรคเรอ้ื รัง (วยั ทำงำน) โดยกำรลดปัจจัยเส่ียงในประชำกรและชุมชน
(ศนู ย์กำรเรยี นรูอ้ งคก์ รไร้พงุ ตน้ แบบ)
มีการดาเนินงานตั้งแต่ปี 2554-2556 มีศูนย์การเรียนรู้องค์กรไร้พุงต้นแบบจังหวัดสุพรรณบุรี
จานวน 9 แห่ง และ ปี 2557 จานวน 2 แหง่ ใหม่ ซง่ึ ดาเนินงานในองค์กร ภาคี เครอื ข่าย ในจังหวดั สุพรรณบุรี
ประกอบดว้ ย หน่วยงาน โรงพยาบาลในสังกัด โรงเรียน อปท./เทศบาล หมู่บ้านและชมรม เข้าร่วมดาเนินงาน
ในรปู แบบองค์กรไรพ้ ุงต้นแบบ ตามคณุ ลกั ษณะ 7 ประการของกรมอนามัย จานวน 21 องคก์ ร

ขอ้ มูลเชงิ คณุ ภำพ
1. การขับเคลื่อนและผลักดันให้เกิดศูนย์การเรียนรู้องค์กรไร้พุงต้นแบบ องค์กร ภาคี เครือข่าย

ในจังหวัดสุพรรณบุรีจานวน 21 องค์กร โดยสามารถพัฒนาเป็นศูนย์การเรียนรู้องค์กรไร้พุงต้นแบบ
ตามคุณลักษณะ 7 ประการของกรมอนามัยจานวน 2 แห่งใหม่ ซ่ึงพบว่าผลลัพธ์รอบเอวประชาชน
อายุ 15 ปีขึ้นไปในองค์กรมีรอบเอวปกติมากกว่าร้อยละ 60 ครอบคลุมร้อยละ 80 ของสมาชิกในองค์กร
แต่ในบางองค์กรท่ียังไม่สามารถดาเนินงานให้เป็นต้นแบบได้ เพราะยังขาดความต่อเน่ืองในการทากิจกรรม
และขับเคลื่อนในองค์กรโดยผู้บริหารในองค์กร ข้อตกลง มาตรการขององค์กรยังเป็นนโยบายกว้างๆ
มิได้เป็นข้อตกลงในองค์กรที่เห็นแบบชัดเจนเพื่อลงสู่การปฏิบัติ แต่ผลลัพธ์ทางสุขภาพ รอบเอวและน้าหนักท่ี
ลดลงในระยะเวลาอันสั้นทาใหไ้ ม่เห็นการเปลย่ี นแปลงเท่าท่ีควร ซ่ึงองคป์ ระกอบในการประเมินในด้านผลลัพธ์
ขอ้ นไ้ี มผ่ ่านเกณฑ์ ยังเป็นข้อจากัดหลายองค์กรทยี่ งั ไม่สามารถผ่านการประเมินรับรองเป็นศนู ย์การเรยี นรูไ้ ด้

2. สร้างความสัมพันธ์ (customer relation management) กับหัวหน้าหน่วยงาน ผู้ประสานงานใน
ระดับท้องถ่ิน โดยทีมพี่เล้ียงในระดับตาบล สามารถดาเนินงานให้สาเร็จได้ เพราะสามารถเข้าถึงผู้บริหารของ
อปท. ให้เห็นถึงความสาคญั และลงมือทา ประกอบกบั อปท.มคี วามสนใจท่ีจะจดั การในด้านสขุ ภาพอนามัยใน
การใช้เงินในกองทุนสุขภาพตาบล และมีเจ้าหน้าท่ีในส่วนกองสาธารณสุขเป็นผู้ดาเนินงาน ทาให้การ
ดาเนินงานในบางองคป์ ระกอบมี สาหรบั หน่วยบรกิ ารสาธารณสุขมกี ารจัดกิจกรรม โดยใชก้ ระบวนการองค์กร/
ชุมชน ไร้พุง โดยยึดหลัก 3อ. ในระดับบุคคลประกอบกับการผสมผสานงานในหน้าท่ีรับผิดชอบ เช่น การเปิด
คลินิก DPAC แล้วทาไปด้วยกัน มีทีมงานท่ีดี ในการท่ีกาหนดมาตรการ ข้อตกลง ในองค์กร เพื่อการ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 180

ปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพและจัดส่ิงแวดล้อมที่เอ้ือต่อการควบคุมภาวะอ้วนลงพุงในองค์กรให้เหมาะสมได้
เป็นรูปธรรม

3. การรณรงค์และการสร้างกระแสสื่อวงกว้าง (Air war) โดยการจัดสภาพแวดล้อมโดยการจัดมุม
จัดบอร์ดนิทรรศการ ในสถานที่ทางาน ป้ายประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ ในรูปแบบต่างๆ เช่นการสื่อสารแบบ
เสียงตามสาย วารสารขององค์กร บุคคลต้นแบบในองค์กร ที่สามารถจดั การน้าหนักภายนอกองค์กร/ในชุมชน
จดั กจิ กรรมออกกาลังกาย แข่งขนั กฬี าทงั้ ภายในองค์กรประจาปี และภายในชมุ ชน

3.การบริหารจัดการเชิงระบบโดยผ้จู ัดการระบบ(system manager) ระดบั จังหวดั /อาเภอ

จังหวดั /อาเภอมี ผู้จดั การประสานระบบป้องกันควบคมุ โรคไมต่ ดิ ต่อเรอ้ื รงั (system manager)
บรหิ ารจัดการภาพรวม

1.จงั หวัดกาหนดผรู้ ับผิดชอบ/ทมี ในการบริหารจัดการระบบป้องกนั ควบคุมโรคไม่ติดตอ่ เรื้อรัง
ของจงั หวัด/อาเภอ โดยในระดบั จงั หวัด มี system manager ทาหน้าทใี่ นการบรหิ ารจัดการและ
ประสานงาน ส่วนการบริหารจัดการในภาพรวมของอาเภอ จะมี Case Manager เป็นผู้ผ้จู ัดการและ
ประสานระบบป้องกันควบคุมโรคไมต่ ดิ ต่อเร้อื รังในภาพรวมของอาเภอ

2.จดั ทาแผนงานบูรณาการการป้องกันควบคมุ โรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรังโดยมีส่วนรว่ มของภาคเี ครอื ขา่ ย
และอย่บู นหลักฐานข้อเทจ็ จริง

3.ตดิ ตามประเมินผล และปรับปรงุ เพอื่ การพัฒนา

4. คลนิ ิก NCD คุณภาพ

4.1 จังหวัดมีนโยบายสนับสนุนการดาเนินงานคลินิกNCDคุณภาพในรพศ./รพท./รพช. โดยกาหนด
แนวทางในการพัฒนาคลินิก NCD ให้มีคณุ ภาพโดยเพิ่มความต่อเน่อื งของการดูแล โดยในแตล่ ะ CUP ใช้เกณฑ์
การพฒั นาโดยการประเมนิ ตนเองตามเกณฑ์คลนิ ิกNCDคณุ ภาพ

4.2 คลินิกNCDมีการติดตามผลลัพธ์การรักษาดูแลผู้ป่วย DM,HT ติดตามผลการป้องกันและการ
จัดการดูแล ในการลดเสี่ยง/โอกาสเส่ียง ลดโรค โดยการ จัดทาทะเบียนข้อมูลผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิต
สูง , มีนโยบายและแผนการดูแลจัดบริการแก่ผู้ป่วย DM HT (ควบคุมได้ ควบคุมไม่ได้ มีภาวะแทรกซ้อน)
อย่างต่อเนื่อง และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนตามแนวทางที่กาหนดไว้ โดยการดาเนินงานในคลินิกNCD ต้องมี
การจัดการดูแลเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงของผู้ป่วย / การคัดกรองการสูบบุหร่ี ,คัดกรองภาวะซึมเศร้า ประเมิน
ภาวะเครียดและการติดสุรา ,ประเมินความเส่ียงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) ,การควบคุมระดับ
น้าตาล/ระดับความดันโลหิตได้ดี / การคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ,การดูแลรักษา/ส่งต่อผู้ที่มีภาวะแทรกซ้อน
พร้อมท้ัง ประเมินผลและรายงานผลตามตวั ชวี้ ดั ที่กาหนดไว้

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 181

โดยในปี 2557 ทางจังหวดั สุพรรณบุรี ได้มีการการพัฒนาระบบการคัดกรอง ความเสี่ยงในการเกิด
โรคหวั ใจและหลอดเลือด โดยนาเกณฑก์ ารประเมินความเสยี่ ง โดยใชต้ ารางสี (Color Chart) ซึ่งเปน็ เกณฑ์
ของ WHO/ISH Risk Prediction Chart for SEAR B,2007 นามาออกแบบเพื่อการจดั ระบบการรายงาน
และการแปรผลความเสีย่ ง โดยนาฐานข้อมูลเดมิ ท่ีอยู่ในโปรแกรมการใช้งาน Hos XP มาจดั หมวดหมขู่ ้อมูล
และแสดงผลการคัดกรองความเสีย่ งตอ่ การเกิดโรคหวั ใจและหลอดเลือด เพม่ิ ความสะดวกให้ จนท. ในการ
ปฎบิ ตั งิ าน ซง่ึ สามารถแจ้งผลการประเมนิ ความเสีย่ ง และให้คาแนะนาได้ง่ายข้นึ / แพทยส์ ามารถให้การรกั ษา
ไดต้ ามความเสี่ยง อีกทง้ั การประมวลขอ้ มลู ผลการคัดกรองในภาพรวมและในรายหนว่ ยบริการได้ออกแบบไว้
เพ่อื ใหห้ น่วยบริการแตล่ ะระดับสามารถนาผลการคดั กรองความเสยี่ งในแตล่ ะระดบั นัน้ สามารถไปจัดระบบ
การดแู ลในแต่ละระดบั ความเสีย่ งได้งา่ ย และชดั เจนขึ้น

2. สรปุ ผลกำรดำเนนิ งำนในรอบปงี บประมำณ 2557

ท่ี โครงกำร กิจกรรมดำเนินกำร ผลลพั ธจ์ ำกกำรดำเนนิ งำน งบประมำณ

ดำเนินงำน/

แหลง่

งบประมำณ

1. โครงการคน 1. จดั ทาแผนงาน/ 1. ปชช.อายุ 15 ปขี นึ้ ไป ได้รบั การคัด 249,000 บาท /

สพุ รรณสุขภาพดี โครงการ/ประชุม กรอง เบาหวาน ความดัน ร้อยละ 87.2 กองทนุ โรคเร้อื รัง

วิถไี ทย หา่ งไกล ชี้แจงแนวทาง / 2. กลุ่มผูป้ ว่ ยเบาหวาน สามารถควบคมุ (49000) และ

โรคเรือ้ รัง ปี พฒั นาระบบงาน ระดบั น้าตาลในเลือดได้ รอ้ ยละ 38.45 Non UC

2557 2. เพ่มิ ศักยภาพ ของ 3. ผ้ปู ่วยความดันโลหิตสูง สามารถควบคมุ (200,000 บาท)

Case manger ระดบั ระดบั ความดันโลหติ ให้อยใู่ นเกณฑ์ ที่

อาเภอ กาหนดได้ ร้อยละ 47.56

3. พัฒนา Case 4. คลนิ ิก NCD คณุ ภาพ ที่ให้บริการในทุก

manger ระดับ รพ. อาเภอ ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 100

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 182

สต 5. Case Manager มคี วามรู้

ความสามารถในการบริหารจัดการ

เครอื ข่าย ในระดับอาเภอได้

6. ทกุ รพ.สต มี Case Manager ที่ผ่าน

การอบรมหลักสตู ร 3 วัน ให้การดแู ล

ผ้ปู ว่ ยโรคเรือ้ รัง

2. โครงการ 1.กาหนดประเดน็ 1. ทมี สุขภาพทใ่ี หบ้ ริการดูแลผูป้ ว่ ยความ 76,200

สนับสนุนการ รปู แบบ กจิ กรรม ดนั โลหติ สงู ได้รับการพฒั นาศักยภาพรองรบั บาท/สปสช.

ควบคมุ ป้องกัน ดาเนนิ การ การดแู ลผปู้ ่วยทไ่ี ด้มาตรฐาน

โรคเบาหวาน 2.ประสานงานกบั 2. มีระบบบริการดูแลรกั ษาผปู้ ว่ ยความดัน

และความดัน เครือข่ายบรกิ าร ชแี้ จง โลหติ สูงได้รบั การพัฒนาคณุ ภาพให้เข้าถึง

โลหิตสงู ใน โครงการ และกาหนด ง่ายและมีคณุ ภาพ

เครือข่ายบริการ แนวทางดาเนินงาน 3.ไดร้ ูปแบบการสนับสนนุ การมสี ว่ นรว่ ม

(อาเภอสามชุก ด่านช้าง ของผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชน ในการ

และเดิมบางนางบวช) ดแู ลผ้ปู ว่ ยความดันโลหติ สงู

3. สนบั สนุนการ 4. สามารถขยายผลการดาเนินงานไปยงั

ดาเนินงานให้กับ รพ.ที่ อาเภออนื่ ๆ ได้

เข้าร่วมโครงการฯ

4.ติดตามประเมินผลการ

ดาเนนิ งานตามโครงการฯ

ภำพประกอบกิจกรรมกำรดำเนนิ งำน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 183

ภำพที่ 1 การจดั ทาแผนงาน/ ประชมุ ชี้แจงแนวทาง / พฒั นาระบบงาน ร่วมกันระหว่างคณะกรรมการ NCD
board และ คณะกรรมการ Service plan ท่เี กย่ี วข้อง

ภำพท่ี 2 การอบรมเพื่อพฒั นา Case manger ระดับ รพ.สต เรื่องการดูแลผ้ปู ่วย และแนวคดิ การปรบั เปลย่ี น
พฤติกรรมสขุ ภาพ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 184

ภำพท่ี 3 แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และขยายผลการดาเนนิ งาน โครงการตรวจวดั ความดนั โลหิตด้วยตนเอง

ผลกำรดำเนินงำนในเชิงปรมิ ำณ (Output ) และคณุ ภำพ (Outcome/Impact )
ตารางท่ี 1 ผลการดาเนินงานคดั กรองโรคเบาหวานในประชาชนตง้ั แต่ อายุ 15 ปี ขนึ้ ไป

ปีงบประมาณ 2557 (ต.ค 56 – ก.ย 57 )

หนว่ ยงาน/อาเภอ ผลการดาเนนิ งาน

เมอื งสุพรรณบรุ ี ประชากร ผลงานรวมทงั้ อาเภอ รอ้ ยละ
เดมิ บางนางบวช
ด่านช้าง เป้าหมาย อายุ 15 ปีข้นึ 66.63
บางปลามา้ 94.07
ศรีประจนั ต์ ไป (ตดั ผูป้ ่วยออก) 85.06
ดอนเจดีย์ 87.26
สองพนี่ ้อง 161319 107486 90.20
สามชกุ 89.36
อ่ทู อง 54873 51619 85.75
95.15
48133 40941 79.59

58218 50801

45662 41187

34257 30612

102843 88187

34687 33004

97709 77766

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 185

หนองหญา้ ไซ 36289 23939 65.97
รวมทั้งจงั หวดั 673990 545542 80.94

จากตารางท่ี 1 จงั หวัดสพุ รรณบรุ ีได้เริม่ ดาเนนิ การคดั กรองโรคเบาหวานโดยเนน้
กลุ่มเป้าหมายหลักก่อน คือกลมุ่ อายุ 35 ปี ข้ึนไป ซ่งึ มีผลการคดั กรองในภาพรวม (ต.ค 56 –ก.ย 57 ) ร้อยละ
80.94 อาเภอทีม่ ผี ลการดาเนินงานมากที่สุด คอื อาเภอสามชกุ รองลงมาได้แก่ อาเภอเดมิ บางนางบวช และ
อาเภอศรีประจันต์ คดิ เปน็ ร้อยละ 95.15, 94.07 และ90.20ตามลาดบั

ตำรำงท่ี 2 ข้อมลู ผลกำรคดั กรองเบำหวำน ในกลุม่ ประชำกรอำยุ 15 ปี ข้นึ ไป (ต.ค 56- มิ.ย57)

ขอ้ มูลผลกำรคดั กรองเบำหวำน ในประชำกรอำยุ 15 ปี ข้ึนไป

ผลงาน ผลงานการคัดกรอง(ราย)
การคดั
กรอง ปกติ มีปจั จยั เสยี่ ง ไมม่ ปี ัจจัยเสยี่ ง มปี ัจจัยเสี่ยง
(ไมม่ ปี จั จยั และ และ
(ราย)
อาเภอ เสย่ี ง) ผลเลอื ด และผล FBS ชว่ ง 100- ผล FBS ชว่ ง
107486 66982 FBS<100 125 100-125
เมอื งสุพรรณบรุ ี 51619 33987 2974
เดิมบางนางบวช 40941 26111 36800 730 1332
ด่านชา้ ง 50801 36309 1145
บางปลาม้า 41187 24225 16020 280 2016
ศรปี ระจันต์ 30612 19199 1587
ดอนเจดีย์ 88187 54110 13400 285
สองพี่น้อง 33004 31006 588
สามชุก 77766 57185 12261 215 2320
อู่ทอง 23939 16393 760
หนองหญ้าไซ 545542 365907 14700 275 531
รวมทั้งจังหวัด 566
10585 240 13185

31132 625

9500 237

19800 250

6800 180

162550 3900

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 186

จากตารางท่ี 2 เป็นขอ้ มูลผลการคดั กรองเบาหวาน ในกลมุ่ ประชากรอายุ 15 ปี ขน้ึ ไป ผลการคดั
กรองเบาหวาน ท้งั หมด จานวน 545542 ราย พบว่าเปน็ กลมุ่ ปกติ ไมม่ ีปจั จยั เสี่ยง จานวน 365907 ราย คดิ
เป็นรอ้ ยละ 67.67 เป็นกลุ่มมีปัจจยั เสย่ี ง และผลเลือด FBS<100 Mg% จานวน 162550 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ
29.87 เปน็ กลุ่มไม่มปี จั จัยเส่ียงและผล FBS ชว่ ง 100-125 Mg% จานวน 3900 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.07
และเป็นกลุ่ม มปี จั จยั เส่ยี ง และผล FBS ชว่ ง 100-125 Mg% จานวน 13185 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 2.42

ตำรำงท่ี 3 ผลกำรดำเนนิ งำนคัดกรองโรคควำมดันโลหติ สูงในประชำชนต้งั แต่ อำยุ 15 ปี ข้ึนไป
ปีงบประมำณ 2557 (ต.ค 56 – ก.ย 57 )

หนว่ ยงาน/อาเภอ ประชากร ผลการดาเนินงาน รอ้ ยละ
เปา้ หมาย อายุ 15 ปีขึ้นไป ผลงานรวมทั้งอาเภอ
เมืองสุพรรณบรุ ี 87.65
เดมิ บางนางบวช (ตัดผู้ปว่ ยออก) 139138 95.45
ด่านช้าง 158743 50597 85.06
บางปลาม้า 53009 40021 87.85
ศรปี ระจันต์ 47051 48526 90.28
ดอนเจดีย์ 55238 39640 90.65
สองพนี่ ้อง 43908 29644 88.74
สามชุก 32702 89568 95.15
อูท่ อง 100934 33004 82.05
หนองหญา้ ไซ 34687 78090 68.74
95174 23762 87.19
รวมท้ังจงั หวดั 34569 571990
656015

จากตารางที่ 3 จงั หวัดสุพรรณบุรไี ด้มีการดาเนินการคดั กรองโรคความดันโลหิตสงู ในประชาชนอายุ 15
ปขี ้นึ ไป ซึง่ มีผลการคัดกรองในภาพรวม (ต.ค 56 – ก.ย 57 ) ร้อยละ 87.19 อาเภอทมี่ ีผลการดาเนินงานมาก
ทีส่ ุด คือ อาเภอเดิมบางนางบวช รองลงมาได้แก่อาเภอสามชกุ และอาเภอดอนเจดียแ์ ละอาเภอดอนเจดีย์ คดิ
เป็นร้อยละ 95.45 , 95.15 และ 90.65 ตามลาดับ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 187

ตารางท่ี 4 ขอ้ มลู การคัดกรองความดันโลหติ ในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปี ขน้ึ ไป (ต.ค 56- ก.ย 57 )
ข้อมลู ผลการคัดกรองความดันโลหิต ในประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป

ผลงานการ ปกติ ผลงานการคัดกรอง(ราย) มีปจั จยั เสย่ี ง
คัดกรอง มปี จั จยั เส่ยี ง และ
(ไม่มปี ัจจยั ผล BP
(ราย) เสี่ยง) และ ไม่มปี ัจจัยเสี่ยง
139138 92006 120/80 -
อาเภอ 50597 30080 ผล BP ผล BP 120/80 139/89
เมืองสุพรรณบุรี 40021 22849 <120/80 -139/89 2209
เดมิ บางนางบวช 48526 32831 39767 5155 961
ด่านช้าง 39640 18017 17310 2243 804
บางปลาม้า 29644 16368 14488 1878 735
ศรปี ระจนั ต์ 89568 48430 13241 1716 887
ดอนเจดีย์ 33004 26675 15966 2069 622
สองพ่นี ้อง 78090 52982 11201 1452 1928
สามชกุ 23762 14420 34709 4499 435
อ่ทู อง 571990 393158 2752 1176
หนองหญา้ ไซ 3142 2746 437
รวมทงั้ จงั หวัด 21184 1021 10194
7881 25558
143089

จากตารางท่ี 4 เป็นขอ้ มลู ผลการคัดกรองความดนั โลหิตสงู ในกลุม่ ประชากรอายุ 15 ปี ขึน้ ไป ผล
การคดั กรองความดันโลหิตสงู ทั้งหมด จานวน 571990 ราย พบว่าเป็นกล่มุ ปกติ ไมม่ ปี ัจจยั เสยี่ ง จานวน
393158 ราย (คิดเปน็ รอ้ ยละ 68.74) เปน็ กลุ่มมปี ัจจยั เส่ยี ง และผล BP <120/80 mmhg จานวน 143089
ราย (คิดเปน็ ร้อยละ 25.02) เปน็ กลมุ่ ไม่มปี จั จยั เสีย่ งและผล BP 120/80 -139/89 mmhg จานวน 25558
ราย (คดิ เป็นร้อยละ 4.46 ) และเป็นกล่มุ มปี ัจจยั เส่ยี ง และผล BP 120/80 -139/89 mmhg จานวน
10194 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 1.78

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 188

ตารางที่ 5 แสดงผลการดาเนินงานการปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมของกลุม่ เสี่ยง (ต.ค 56 - ก.ย 57 )

ผลสำเร็จ/ .เมือง . ส อ ง พี่ อู่ทอง เ ดิ ม ด่ ำ น บ ำ ง ศ รี ด อ น สำมชุก หนอง
ตัวช้ีวดั นอ้ ง บำง ช้ำง ปลำม้ำ ประจนั ต์ เจดีย์ หญำ้ ไซ รวม
17,952
ร้อ ย ล ะ ข อ ง เป้ำหมำย 7,868 12,955 13,000 9,007 6,875 9,644 7,556 5,680 7,187 5,706 95,562
ก ลุ่ ม เสี่ ย ง ท่ี ผลงำน 43.83 2,679 43,548
เข้ า รั บ ก า ร ร้อยละ 5,742 5,728 4,442 3,155 4,170 3,718 2,838 3,208 46.95 45.57
ป รับ เป ล่ีย น
พฤติกรรม 44.32 44.05 49.32 45.89 43.24 49.21 49.96 44.64

จากตารางท่ี 5 ในปี 2557 มีกลุ่มเส่ียงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จานวน 95,562 คน ได้รับการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จานวน 43,548 คน คิดเป็นร้อยละ 45.57 จานวนกลุ่มเส่ียงมีแนวโน้มสูงข้ึน จากปี
2556 จานวน 92,233 คน เพม่ิ ขึน้ ประมาณร้อยละ 3.61

ตารางท่ี 6 แสดงจานวนผู้ป่วยโรคเรอ้ื รัง ที่ขึ้นทะเบียนกลาง NCD Online ปงี บประมาณ 2557

ข้นึ ทะเบียนกลาง
NCD Online

ลาดบั ช่อื สถานบริการ DM+DM/HT
172 10678 | รพ.เจา้ พระยายมราช ท้งั หมด HT DM DM&HT
173 10733 | รพ.สมเดจ็ พระสงั ฆราชฯ 25,964 14,270 3,789 7,905 11,694
174 11289 | รพ.เดิมบางนางบวช 9,588 5,628 1,794 2,166 3,960
175 11290 | รพ.ดา่ นช้าง 8,951 5,452 2,871 628 3,499
176 11291 | รพ.บางปลามา้ 7,560 4,321 2,969 270 3,239
177 11292 | รพ.ศรีประจนั ต์ 8,266 5,623 767 1,876 2643
178 11293 | รพ.ดอนเจดีย์ 6,842 4,298 1,688 856 2,544
3,907 2,265 721 921 1642

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 189

179 11294 | รพ.สามชกุ 4,967 2,626 529 1,812 2341

จานวนผปู้ ่วย จานวนผปู้ ่วย DM เหลอื เป้าหมายการ ผลการดาเนินงาน
อาเภอ DM* ที่มภี าวะแทรกซ้อน ตรวจ (เป้าหมายรอ้ ยละ70**)
ทางตาแลว้ ทัง้ หมด (จำนวนผูป้ ว่ ย DM
ทั้งหมด (คน) คัดกรองจอประสาท
(คน) ท่ีได้รับกำรตรวจตำ)
(DM, DM&HT) ตา ปี 57 (คน ) คน รอ้ ยละ
1450 7288 71.15
เมืองพรรณบุรี 11694 454 10244 2560 73
สองพน่ี ้อง 3960 3506

180 11295 | รพ.อทู่ อง 12,938 7,785 1,018 4,135 5,153
181 11296 | รพ.หนองหญ้าไซ 5,132 3,426 1,444 262 1,706
93,941 55,694 17,590 20,657 38,247
รวม

ตำรำงท่ี 7 แสดงจานวนผู้ป่วยเบาหวานทีไ่ ดร้ ับการตรวจคัดกรอง จอประสาทตา ปี 57 (ต.ค56- ก.ย 57 )

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 190


Click to View FlipBook Version