The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-20 05:36:14

รายงานประจำปี2557

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

ต.หนองมะคา่ โมง ระดบั ดี

ต.องค์พระ ระดับพฒั นา

๑๐.หนองหญา้ ไซ ต.ทัพหลวง ระดบั ดเี ยยี่ ม ไม้กวาด กระปุกออมสนิ รับโล่รางวัลดเี ยี่ยม
ต.หนองราชวตั ร ระดบั ดี รับโลร่ างวลั ดมี าก
ต.หนองขาม ระดับดีมาก

๑.๔ กิจกรรมพัฒนาศักยภาพและสนับสนุนการดาเนินงาน อสม.เช่ียวชาญโดยใช้คู่มือ อสม.
เชี่ยวชาญ ปี ๒๕๕๔ และแนวทางการดาเนินงานโดย อสม. โครงการสนองน้าพระราชหฤทัยในหลวงทรง
ห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ โดยเน้นฟื้นฟูความรู้ ในเรื่อง การสร้างและใช้แผนสุขภาพตาบล ในการ
แก้ปัญหาสาธารณสขุ ของตนเอง รวมท้ังการทาแผนงาน/โครงการเพื่อเสนอขอเงินสนับสนุนจากแหล่งต่าง
ๆ เช่น กองทุนหลกั ประกันสุขภาพตาบล องคก์ ารบริหารส่วนทอ้ งถิ่น รพ.สต. หรือ อืน่ ๆ ฯลฯ บทบาท
อสม.ในการทางานเชิงรุก โดยการเป็นผู้นาทางความคิดและผู้นาทางสุขภาพในระดับชุมชนเพ่ือ การแก้ไข
ป้องกันสาธารณสขุ ท่สี าคญั และหลกั สูตร อสม.เช่ียวชาญทท่ี างฝ่ายต่างๆของสานักงานสาธารณสุขจังหวัด
สุพรรณบุรีได้จัดทาข้ึน (งบประมาณกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โอนให้จังหวัดสุพรรณบุรี รวม
๖๖๙,๐๗๐ บาท) พร้อมออกติดตามนิเทศงานการ อบรม อสม.เชี่ยวชาญในอาเภอต่างๆ ซ่ึงจังหวัด
สุพรรณบรุ ี มี อสม.ทผ่ี ่านการอบรม อสม.เชี่ยวชาญแล้วทง้ั สนิ้ ๑๒,๑๙๔ คน

๒. งำนบริหำรงบประมำณ ทส่ี นบั สนนุ กำรดำเนนิ งำนอำสำสมัครสำรณสุขประจำหม่บู ำ้ น
๒.๑ โครงการสนับสนนุ การปฏิบัตงิ าน อสม. เชงิ รุก

ต้นปีงบประมาณ ๒๕๕๗ มคี าส่งั ให้ปฏิบัตงิ านเชงิ รุก จานวน ๑๕,๒๔๒ คน
ได้รับงบประมาณ ๑๕,๒๔๒ คน เปน็ เงิน ๑๐๙,๗๔๒,๔๐๐ บาท

๒.๑.๑ ตรวจสอบหลักฐานการเบิก-จ่าย งบประมาณ ค่าป่วยการให้อาสาสมัครสาธารณสุข
ประจาหมู่บา้ น (อสม.) ๑๐ อาเภอ ณ สิ้นเดือนกันยายน ๒๕๕๗ อสม.ได้รับคา่ ปว่ ยการ ๑๕,๒๔๒ คน

๒.๒ ตรวจสอบใบสาคัญรับเงินของ อสม.ให้ครบตามจานวนเงินโอนของสานักงานสาธารณสุข
จังหวัดที่โอนให้สานักงานสาธารณสุขอาเภอทุกอาเภอ(งานการเงิน เป็นผู้โอนเงินให้ทุกเดือน) พร้อมท้ัง
ตรวจสอบเอกสารการคืนเงินของ อสม.ที่พ้นสภาพ ทุกกรณี ให้ถูกต้องครบถ้วน นาส่งคืนงานการเงิน
สสจ.สพุ รรณบรุ ี และคัดลายช่ือออกจากทะเบยี นจังหวดั เพอื่ ให้ตรงกับทะเบียน อสม.ของอาเภอ

๒.๓ ตดิ ตามหลกั ฐานใบสาคัญรับเงนิ ค่าปว่ ยการ อสม. อาเภอท่สี ง่ กลับ ลา่ ชา้ ไมท่ ันตามกาหนด
ทุกเดอื น

๒.๔ รายงานผลการดาเนนิ งานตามโครงการส่งเสริมการมสี ขุ ภาพดีของประชาชน แบบ อ.๑ และ
แบบ อ.๒

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 238

๓. สนับสนุนกำรดำเนนิ งำนโรงพยำบำลส่งเสรมิ สขุ ภำพตำบล (รพ.สต.)
๓.๑ ดาเนนิ การจดั ทาบัตรประจาตวั อสม. แทนบัตรเกา่ ท่หี มดอายุ ให้กบั อสม.
๓.๒ ดาเนินการจดั ทาใบประกาศให้กบั อสม.ท่ผี า่ นการอบรม ใหม่ และทดแทน ปี ๒๕๕๗

๔. งำนภำคีเครือขำ่ ยด้ำนสุขภำพและสมัชชำสขุ ภำพ
๔.๑ ข้อมูลภาคีเครือข่ายในจานวน ๑๐ อาเภอ ๑๐โรงพยาบาล และกลุ่มงาน/งาน ในสานักงาน

สาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี (ข้อมูล ณ ๑๐ กนั ยายน ๒๕๕๖ ) ประกอบดว้ ยภาคเี ครอื ข่ายสุขภาพ ดังนี้
๑) ภาคีเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข๑๘๔ภาคี ๒)ภาคีเครือข่ายแกนนาหมู่บ้านด้านสุขภาพ๑๘๔

ภาคี
๓) ภาคีเครือข่ายดา้ นสขุ ภาพในโรงเรียน ๑๘๔ ภาคี ๔) ภาคีเครือข่ายผดู้ ูแลศูนยเ์ ด็กเล็ก ๗๓ ภาคี
๕) ภาคเี ครือขา่ ยผปู้ ระกอบการรา้ นอาหารและแผงลอย ๓๕ ภาคี ๖) ภาคเี ครอื ข่ายเกษตรกร ๒๒ ภาคี
๗) ภาคเี ครือขา่ ยองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ๑๒ภาคี ๘) ภาคีเครอื ข่ายผู้ประกอบการโรงงาน๑๒๘ ภาคี
ผลการประสานงานพบว่า ภาคีเครือข่ายส่วนใหญ่ ดังกล่าวข้างต้น ให้ความร่วมมือในการดาเนินงาน

ดา้ นสุขภาพ โดยเฉพาะ ดา้ นวางแผนและจัดกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ยกเวน้ ภาคีเครือขา่ ยเกษตรกรและ
ภาคีเครือข่ายผู้ประกอบการโรงงาน เน่ืองจาก สมาชิกภาคีเครือข่าย นั้นๆ ไม่ค่อยมีเวลาในการเข้าร่วม
กจิ กรรม

๕. งำนนเิ ทศ ตดิ ตำม และประเมนิ ผล
๕.๑ ติดตามรองรับการประเมินตาบล/หมู่บ้านจัดการสุขภาพ จานวน ๓๐ ตาบล และการ

ดาเนินงาน หมูบ่ ้านจัดการสุขภาพ จานวน ๑๐ อาเภอ
๕.๒ ติดตามการอบรมความรู้และประเมินความสามารถและทักษะ อสม.เชี่ยวชาญ การจัดทา

หลักสูตรโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน จานวน ๑๐ แห่ง ๑๐ อาเภอ ตามโครงการเสริมสร้างบทบาท
ภาคเี ครอื ขา่ ยสขุ ภาพภาคประชาชน จังหวัดสพุ รรณบุรี

๖. งำนวจิ ัยงำนสขุ ภำพภำคประชำชน
รว่ มคณะทางานวจิ ยั ของสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

๗. ผ้ปู ระสำนแผน/ประสำนงำนสขุ ภำพภำคประชำชน
ประสานงานความร่วมมือในการจัดทาแผนงาน/โครงการตามยุทธศาสตร์ระหว่างอาเภอ/ตาบล โดย

ให้มีการดาเนินงานจัดการสุขภาพทุกหมู่บ้าน ตาบล และติดตาม รพ.สต.จัดทาแผนสุขภาพชุมชน/ตาบล
พร้อมหลักสูตรโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนและร่วมดาเนินการประสานความร่วมมือในการอบรม
ฟน้ื ฟู อสม. และ อสม.ใหม่

๘. สนบั สนุนชมรมอำสำสมัครสำธำรณสขุ ระดับจงั หวดั /อำเภอ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 239

ให้คาปรึกษา ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขในการจัดกิจกรรมของชมรมระดบั จังหวัด เช่น การประชุม
วาระของคณะกรรมการชมรมฯ การจดั กจิ กรรมประจาปวี นั อาสาสมคั รสาธารณสุขแห่งชาติ ๕ ครงั้

๙. งำนกำรศึกษำดูงำนสุขภำพภำคประชำชน ประสาน และรับการศึกษาดูงานสุขภาพภาคประชาชน
จาก จังหวดั ตา่ งๆ จานวน ๖ คณะ ๖๕๐ คน

๑๐. งำนโครงกำรนำรอ่ งเพือ่ สร้ำงกระแสกำรพฒั นำคนและสงั คม ในระดับจุลภำค (คพส.)
หมู่บ้ำนคนดศี รสี ุพรรณ
เป็นวิทยากรประจาโครงการคนดีศรีสุพรรณ ให้ความรู้แก่ผ้เู กี่ยวข้องหม่บู ้านคนดีศรีสุพรรณ เป็น

คณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์โครงการคนดีศรีสุพรรณ คณะกรรมการฝ่ายพัฒนาหลักสูตร เยาวชน
คนดีศรีสุพรรณและหมู่บ้าน/ตาบลคนดศี รสี ุพรรณ เป็นคณะกรรมการฯ ตัดสินการประกวดตาบลคนดีศรี
สุพรรณของจังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งผู้รับผิดชอบ เป้าหมายท่ี ๑ การดูแลความสะอาดร่างกาย บ้านเรือน
และชุมชน ในจานวน ๑๑ เป้าหมาย

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 240

สถำนกำรณ์
การดาเนินงานพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ จังหวัด

สุพรรณบุรี มีหน่วยบริการด้านแพทย์แผนไทยท้ังหมด ๑๘๔ แห่งให้บริการรักษาพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ
ป้องกันโรคและฟ้ืนฟูสภาพครบทุกแห่ง คือมีโรงพยาบาล ๑๐ แห่ง และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
๑๗๔ แห่ง แต่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลมีการจัดบริการนวด ท้ังหมด ๑๒๕ แห่ง คิดเป็นร้อยละ
๗๓.๓๖ โรงพยาบาลทีใ่ ห้บรกิ ารฝังเขม็ มที ้ังหมด ๕ แหง่ ได้แก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช โรงพยาบาลเดิม
บางนางบวช โรงพยาบาลบางปลาม้า โรงพยาบาลศรีประจันต์และ โรงพยาบาลด่านช้าง ในโรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตาบลมีแพทย์แผนไทย ๖ แห่ง คือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลจระเข้สามพัน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลยางนอน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลวังน้าเย็น โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบลเฉลิมพระเกียรติบ่อสุพรรณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลเนินพระปรางค์ และโรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตาบลเฉลิมพระเกียรติบ้านดอนไร่ ตัวช้ีวัดปีงบประมาณ๒๕๕๗ กาหนดให้ร้อยละของผู้ป่วย
นอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกท่ีได้มาตรฐานร้อยละ ๑๖ จังหวัดสุพรรณบุรี
ดาเนนิ การได้ร้อยละ ๑๕.๐๔

๑. โครงกำรประเมนิ มำตรฐำนงำนบริกำรกำรแพทย์แผนไทยและกำรแพทยท์ ำงเลือก
จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปี ๒๕๕๗
หลกั กำรและเหตผุ ล
สถานบริการสาธารณสุขของรัฐท่ีมีการให้บริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

ท้ังในระดับโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
ควรพัฒนาปรับปรุงให้มีการจัดบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกให้ได้มาตรฐาน มี
ประสิทธิภาพ และมีความปลอดภัยแก่ประชาชนผู้รับบริการ เน้นการพัฒนามาตรฐานของกรมพัฒนา
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โดยการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและ
สนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน (รพ.สส.พท.) ท้ัง ๕ ด้าน ได้แก่ ด้านสถานที่
เคร่อื งมอื เครอื่ งใชแ้ ละส่งิ แวดลอ้ ม ดา้ นบคุ ลากร ด้านการปฏิบัตงิ าน ด้านการควบคุมคณุ ภาพและด้านการ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 241

จดั บริการ เพราะมาตรฐานในแต่ละดา้ นมคี วามเชือ่ มโยงสมั พนั ธก์ ัน กค็ วรพฒั นาปรบั ปรุงใหม้ ีการจัดบริการ
ใหไ้ ด้ตามเกณฑม์ าตรฐานต่อไป

แนวทำงกำรดำเนินงำน
๑. ประชุมคณะกรรมการและผู้ทเ่ี กย่ี วข้อง
๒. จัดทาแผนการติดตามและแจง้ ผู้เก่ียวข้อง
๓. คณะกรรมการทาการประเมนิ มาตรฐานงานบริการการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก

ตามเกณฑก์ ารประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลสง่ เสรมิ และสนบั สนุนการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์
ผสมผสาน (รพ.สส.พท.)

๔. ตดิ ตามหลังการประเมินมาตรฐานฯ และติดตามการพัฒนางานการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์
ทางเลอื ก

๕. สรปุ และประเมนิ ผลการติดตาม พรอ้ มทง้ั ปัญหา อปุ สรรค ข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข
นาเสนอผู้บรหิ าร
ผลกำรดำเนนิ งำน

๑. คปสอ.ประเมนิ มาตรฐานฯ รพ.สต.ทกุ แหง่ ภายในอาเภอ
๒. สสจ.สุ่มประเมินมาตรฐานฯ ตามเกณฑ์ของกรมฯ พร้อมท้ังให้รพ.สต.พัฒนางานให้ได้ตามเกณฑ์
มาตรฐาน

๑) โรงพยาบาล จานวน ๑๐ แหง่
๒) รพ.สต. จานวน ๔๐ แห่ง
๓. สสจ.ตดิ ตามผลการพัฒนางานของรพ.สต. จานวน ๒๐ แหง่

งบประมำณ
- งบประมาณที่ไดร้ บั จากเงนิ NON UC จานวน ๕๐,๐๐๐ บาท

- งบประมาณที่ใช้ จานวน ๕๐,๐๐๐ บาท

- งบประมาณคงเหลือ จานวน - บาท
ปญั หำอุปสรรค

๑. รพ.สต.บางแหง่ ยงั ประเมินให้คะแนนตนเองไม่ถูกต้อง และในเล่มประเมนิ มาตรฐานของกรมฯ มี

เน้ือหามาก อ่านแล้วค่อนข้างสบั สน

๒. รพ. และ รพ.สต. สว่ นใหญ่ คิดการสรุปคะแนนไม่ถูกต้อง ทาใหส้ รุปผลการประเมนิ วา่ อยใู่ น

ระดับใดไม่ถูกต้องหรอิ ไม่ทราบวา่ ตนเองอยู่ในระดับใด

๓. การ Key ข้อมูลในโปรแกรมการรักษาไมถ่ ูกตอ้ ง

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 242

๔. ไม่มีการ Key ขอ้ มูลการใชแ้ พทย์ทางเลอื กหรอื การสง่ เสริมสุขภาพปอ้ งกนั โรคในโปรแกรม หรอื มี

การ Key จานวนน้อย

๕. การจา่ ยสมุนไพรควบคู่กับยาแผนปัจจุบัน มกี ารออกฤทธิช์ นดิ เดยี วกันในกลุ่มโรคหรืออาการ

เดยี วกัน ซงึ่ ไมส่ ามารถทาได้

๖. เจา้ หน้าทีท่ ่ีใหก้ ารตรวจรกั ษาทางแพทย์แผนไทยบางคนยังไมผ่ า่ นการอบรม “หลกั สูตรการรักษา

ทางการแพทย์แผนไทยสาหรับเจ้าหน้าทส่ี ถานีอนามัย” ทาให้ไม่ได้ตามเกณฑม์ าตรฐาน

ข้อเสนอแนะ

๑. ผ้ปู ระเมินควรทาแบบเกณฑป์ ระเมินใหใ้ หม่ เป็นแบบที่เข้าใจงา่ ย แยกข้อและอธบิ ายหลกั การให้

คะแนนที่ชัดเจน พรอ้ มทัง้ สรุปผลการประเมินว่าอยู่ในระดับใด

๒. มกี ารทบทวนสอนคิดการสรปุ คะแนน รวมทง้ั การแปรผลการประเมนิ มาตรฐานฯวา่ อยใู่ นระดับใด

๓. ควรสอนการ Key ขอ้ มูลในโปรแกรมการรักษา และส่งเสรมิ ปอ้ งกนั ทีถ่ ูกต้อง

๔. ควรสอนและใหค้ วามรู้ทักษะการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยควบคู่กบั การรักษาดว้ ยการแพทย์

แผนปจั จบุ ัน

๕. ควรจัดอบรม “หลกั สูตรการรักษาทางการแพทย์แผนไทยสาหรบั เจา้ หน้าที่สถานีอนามัย”

๖. ควรนิเทศตดิ ตามเปน็ ระยะๆ

๒. โครงกำร สง่ เสริมกำรดำเนินงำนแพทย์แผนไทยและกำรใช้ยำสมุนไพรในสถำนบริกำรสำธำรณสขุ
ประจำปี ๒๕๕๗
หลกั กำรและเหตุผล

ปจั จุบันได้มีการผลกั ดันในการจัดทาบัญชยี าจากสมนุ ไพร ปี ๒๕๕๕ โดยมงุ่ คัดเลือกยาจากสมนุ ไพรท่ี
มขี ้อบ่งใช้ชัดเจนในการแกป้ ญั หาสุขภาพ สาหรับป้องกันโรหรอื รกั ษาผูป้ ่วยของแพทย์แผนไทย หรือใช้เป็น
ทางเลอื กในการป้องกันหรอื รักษาผู้ป่วยรว่ มกับแนวทางการรกั ษาแบบตะวนั ตกในสถานบริการ และกรม
พัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มนี โยบายให้ประชาชนเขา้ ถงึ บรกิ ารแพทย์แผนไทยและ
แพทย์ทางเลอื กท่ีได้มาตรฐาน รอ้ ยละ ๑๖ จงึ ได้จัดทาโครงการส่งเสรมิ การดาเนนิ งานแพทย์แผนไทยและ
การใช้ยาสมนุ ไพรในสถานบริการสาธารณสขุ เพื่อให้เจา้ หน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลและโรงพยาบาล
สง่ เสริมสขุ ภาพตาบลมีความเชือ่ ม่ันในการใช้ยาสมุนไพร
แนวทำงกำรดำเนนิ งำน

๑. ประสานงานผเู้ กี่ยวข้อง

๒. จัดอบรมเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุข

๓. ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนินงาน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 243

ผลกำรดำเนนิ งำน
๑. จานวนผูเ้ ขา้ รับการอบรม จานวน ๒๐๒ คน จากเป้าหมาย ๒๑๐ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๙

๒. ประเมินความพงึ พอใจจากแบบสอบถามจานวน ๑๔๘ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๗๓.๒๖ เปน็ เพศ

หญิงจานวน ๑๒๑ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘๑.๘ เพศชายจานวน ๒๗ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๘.๒

๓. ความพึงพอใจที่ไดเ้ ขา้ รว่ มการอบรม ผเู้ ข้ารับการอบรมมคี วามพึงพอใจในระดบั มาก และมาก

ทส่ี ดุ จานวน ๑๓๒ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๘๙.๒

๔. จานวนผ้รู บั บรกิ ารแพทย์แผนไทยและแพทยท์ างเลอื ก ปี ๒๕๕๖ จานวน ๕๒๕,๔๖๔ ครง้ั

ผู้ปว่ ยนอก ๓,๕๖๗,๗๘๗ ครงั้ คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๗๓ ปี๒๕๕๗ จานวน ๕๖๘,๑๘๖ ครัง้
ผูป้ ว่ ยนอก ๓,๗๗๘,๖๒๓ คร้ัง คิดเปน็ ร้อยละ ๑๕.๐๔
งบประมำณ
งบประมาณท่ีได้รบั จานวน ๑๑๓,๒๕๐ บาท
งบประมาณทท่ี ี่ใช้ จานวน ๑๑๓,๒๕๐ บาท
ปญั หำอุปสรรค
ไม่มี
ขอ้ เสนอแนะ
เจ้าหน้าทีส่ าธารณสขุ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลสามารถออกใบเสร็จรับเงินให้
ข้าราชการเบิกค่ายาสมนุ ไพรได้
๓.โครงกำรพฒั นำศักยภำพสถำนบริกำรดำ้ นกำรแพทย์แผนไทยและกำรแพทย์ทำงเลือก
จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี ๒๕๕๗

หลกั กำรและเหตุผล

ตามท่ีกระทรวงสาธารณสุข โดยกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้สนอง
นโยบายของรัฐตามแผนยุทธศาสตร์ชาติในการส่งเสริมสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก
เข้าสู่ระบบบริการสาธารณสุขและขยายความคุ้มครองสิทธิประโยชน์ ในโครงการหลักประกันสุขภาพถึงการ
ให้บริการรักษาพยาบาลและฟ้ืนฟูด้วยการแพทย์แผนไทย เป็นความสนองความต้องการของประชาชนในการ
เลือกใช้บริการ ดังน้ันเพ่ือให้ระบบบริการด้านการแพทย์แผนไทย ในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ จังหวัด
สุพรรณบุรี ได้ตามมาตรฐานสนองตอบความต้องการของประชาชนได้ท่ัวถึงและมีคุณภาพ และเป็นการ
ดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒
พฒั นาการบรหิ ารจดั การวิชาการ และบริการให้มีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ ๑ ระบบบริการมีประสิทธิภาพ
จึงได้จัดทาโครงการพัฒนาศักยภาพบุคคลากรการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปี ๒๕๕๗ เพ่ือ
พัฒนางานให้ไดต้ ามเกณฑม์ าตรฐาน และบรกิ ารประชาชนอย่างมีประสทิ ธิภาพและท่วั ถงึ ตอ่ ไป
แนวทำงกำรดำเนนิ งำน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 244

๑. จัดทาโครงการฯเพอื่ ขออนุมัติ
๒. จัดทาคาสั่งแต่งตง้ั ทมี วิทยากรในการฝกึ อบรม
๓. จัดทาตารางการอบรม
๔. แจ้งโครงการฯใหโ้ รงพยาบาลทุกแห่งและสานักงานสาธารณสุขอาเภอทกุ แห่งจดั สง่ บุคลากรอบรม
๕. ประสานงานวิทยากรและพเ่ี ล้ยี งเพื่อจดั เตรยี มอบรมภาคทฤษฎี และฝึกภาคปฏบิ ัติ
๖. ดาเนินการอบรมท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติตามกาหนดตามตาราง โดยยึดหลักสูตรจากกรม
พัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก

ผลกำรดำเนินงำน

๑. จัดอบรมฟืน้ ฟผู ู้ชว่ ยแพทย์แผนไทยทปี่ ฏบิ ัติงานที่ รพ./รพ.สต. ของรัฐ จานวน ๑๕๒ คน
๒. ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ๓๓๐, ๓๗๒ ช่ัวโมงปฏิบัติงานท่ีสถานบริการสาธารณสุขของรัฐมีความรู้
ความสามารถเพ่มิ มากขน้ึ
๓. สถานบริการสาธารณสุขสามารถให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยอย่างมีประสิทธิภาพและได้
มาตรฐาน
๔.ประชาชนไดร้ บั บริการด้านการแพทยแ์ ผนไทยในการนวดไทยเพื่อบาบัดรักษาและฟน้ื ฟทู ี่มี

ประสทิ ธิภาพ ได้มาตรฐานและทั่วถึง

งบประมาณ

- งบประมาณ จาก สปสช. เขต ๕ ราชบุรโี ครงการจงั หวดั ตน้ แบบแพทยแ์ ผนไทย จานวน ๑๙๙,๖๔๐ บาท

- งบประมาณทใี่ ช้ จานวน ๑๙๗,๙๖๐ บาท

- งบประมาณคงเหลือ จานวน ๑,๖๘๐ บาท

ปัญหำอปุ สรรค

๑. ปญั หาดา้ นวิทยากร การจัดสรรเวลาในการจดั ฝกึ อบรมเน่ืองจากบุคลากรด้านการแพทยแ์ ผนไทยมนี ้อย

๒. ความพรอ้ มของสถานท่ีๆใช้ในการฝึกอบรม

๓. ผเู้ ข้ารับการอบรมไม้พร้อมเขา้ อบรมเน่อื งจากต้นสังกัดไมส่ ่งตวั มา

๔. ขาดงบประมาณ

ข้อเสนอแนะ

๑. ควรจัดสรรใหม้ ตี าแหน่งแพทย์แผนไทยมากข้นึ

๒. ตน้ สังกดั ควรเหน็ ความสาคญั ในเรอ่ื งการบริการดา้ นการแพทยแ์ ผนไทยมากข้นึ

๓. งบสนบั สนนุ ดา้ นการอบรมเพอ่ื พัฒนาศักยภาพบุคลากรควรมที กุ ปี

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 245

๔. โครงกำรจัดตงั้ กลุ่มเครือขำ่ ยแพทย์แผนไทย จงั หวัดสุพรรณบุรี ปี ๒๕๕๖
หลักการและเหตุผล
ภูมิปัญญาการแพทย์พ้ืนบา้ นไทย เป็นการดูแลสุขภาพในชุมชนแบบพื้นบ้านด้ังเดิมที่มีคูม่ ากับ

ประเทศไทยก่อนสมัยกรุงสุโขทัย ซ่ึงมีความหลากหลายเป็นเอกลักษณ์ทแี่ ตกต่างกันไปแต่ละสงั คม วัฒนธรรม
และกลุ่มชาติพันธุ์ รูปแบบการรักษามีทั้งการใช้ยาสมุนไพร การนวด การผดุงครรภ์ ตลอดจนการรักษา
ทางจิตใจ โดยใช้พิธีกรรมหรือคาถาต่างๆ สามารถตอบสนองต่อความต้องการทางด้านการรักษาสุขภาพ
และความเจ็บป่วยของประชาชนได้เป็นอย่างดี จากทฤษฎีการแพทย์แผนไทย ที่ต้องการให้คนมีสุขภาพดี
อย่างองค์รวม ท้ังด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟ้ืนฟูสภาพ ดูแล
สุขภาพท้ังกาย จิต สังคม และส่ิงแวดล้อม เพ่ือเสริมสร้างพัฒนาศักยภาพภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ ภายใน
ชุมชนโดยเน้นการถ่ายทอดและนาภูมิปัญญาท้องถ่ินมาใช้ประโยชน์ต้ังแต่การวิจัยพัฒนาต่อยอดและการผลิต
แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์โดยการสืบหาพัฒนาระบบการจัดเก็บเพ่ือรวบรวมและจัดทาเป็นฐานข้อมูลทางความรู้
ตลอดจนสรา้ งหลกั ประกันดา้ นสังคม

องค์ความรู้ของการแพทย์พ้ืนบ้านไทย ทั้งท่ีเป็น ตัวหมอพื้นบ้าน ตารา พันธ์ุพืชที่ใช้เป็นยา
สมนุ ไพร วธิ กี ารรักษาโรค ตลอดจน สงั คมวฒั นธรรม และประเพณี วิถชี ีวิต ฯลฯ มีความสาคญั และเป็นสง่ิ ล้า
ค่าที่ควรจะเก็บรวบรวม อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู ภูมิปัญญาการแพทย์พ้ืนบ้านไทยให้อยู่คู่กับประเทศไทยเพ่ือเป็น
มรดกต่อลูกหลานในการสืบทอดองค์ความรู้ ในปัจจุบันนี้ในชุมชนของแต่ละท้องถ่ินยังขาดแหล่งที่เป็น
ศูนย์กลางในการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ การถ่ายทอด และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ขององค์ความรู้
การแพทย์พื้นบ้านไทย การเก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบ รวมท้ังยังขาดผู้ที่รับผิดชอบในการดาเนินงานการ
ให้บรกิ ารในการดูแลสุขภาพดว้ ยภูมิปญั ญาการแพทย์พื้นบา้ นไทย

ดังน้ัน เพ่ือให้ชุมชนได้มีศูนย์การเรียนรู้การแพทย์แผนไทย หรือแพทย์พื้นบ้านไทย เพื่อศึกษา
และค้นหาหมอพ้ืนบ้าน เครือข่ายหมอพื้นบ้าน องค์กร หน่วยงานในชุมชนท่ีมีการใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผน
ไทย(การแพทย์พื้นบ้านไทย)ในการดูแลสุขภาพของชุมชนและเป็นที่ยอมรับของชุมชน สามารถให้ประชาชน
ทวั่ ไปไดม้ ีสถานที่ใช้ในการเรียนรู้ และรวมกลุ่มเพอ่ื ทากิจกรรมด้านการแพทย์แผนไทย สานักงานสาธารณสุข
จังหวัดสุพรรณบุรี โดยงานพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก จงึ ไดจ้ ัดทาโครงการ จดั ตั้งกลุ่ม
เครือขา่ ยแพทยแ์ ผนไทย จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ปี ๒๕๕๖

แนวทำงกำรดำเนนิ งำน

๑. ประชุมชแ้ี จงเพอื่ การจัดตั้งกลมุ่ เครือให้ผ้รู ับผิดชอบงานแพทย์แผนไทยใน รพ./สสอ.ทุกแหง่ ทราบ
๒. จดั เตรียมเอกสารพรอ้ มใบสมคั รเพื่อเป็นสามาชิกกลุ่มเครือข่าย

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 246

๓. จดั ต้ังกลมุ่ เครอื ในระดบั อาเภอๆละ อย่างน้อย ๑ กลมุ่ เครือข่าย

๔. จดั แผนประชุมกลมุ่ เครอื ข่ายพรอ้ มสาธิตการแปรรปู ผลิตภัณฑจ์ ากสมนุ ไพรเพื่อใช้ในครัวเรือน

๕. สารวจสมุนไพรในพน้ื ทเี่ พ่อื หาวตั ถดุ ิบในการผลิตเพ่ือลดต้นทุน

๖. จดั หาและสนบั สนนุ สารเคมแี ละสารสกดั ทีจ่ าเปน็ ในการแปรรปู สมุนไพร

ผลการดาเนนิ งาน

๑. จัดตงั้ กลมุ่ เครอื ข่ายแพทย์แผนไทยจังหวัดสุพรรณบุรี จานวน ๑๐ กลุ่มเครือข่าย โดยดาเนนิ การจั้ง

ตั้งอาเภอละ ๑ กลมุ่ เครือข่าย

๒. ออกสาธติ และประชุมกลุ่มเครอื ข่าย กลุ่มละ ๔ ครง้ั

๓. นาผลติ ภณั ฑข์ องกลมุ่ เครือขา่ ยออกแสดงให้ประชาชนทั่วไปไดเ้ รยี นรู้

งบประมำณ

-งบประมาณ Non - Uc (เงนิ จัดสรรเบ้อื งตน้ ) จานวน ๑๐,๐๐๐ บาท

-งบประมาณทใ่ี ช้ไป จานวน ๑๐,๐๐๐ บาท

-งบประมาณคงเหลือ -

ปัญหำอปุ สรรค

๑. งบประมาณไม่เพยี งพอในการดาเนินงาน ทาให้ขาดวสั ดุและอปุ กรณ์ที่จาเป็นในการดาเนินงาน

๒. ประชาชนยงั ขาดความรเู้ รื่องสมนุ ไพร จงึ ไมเ่ ห็นความสาคญั ในการใช้สมนุ ไพร

๓. องคก์ รของรัฐยงั ไมส่ นับสนนุ ในการใชส้ มุนไพรเทา่ ที่ควร

ขอ้ เสนอแนะ

ของบประมาณในการดาเนนิ งานให้เพียงพอ เพื่อจะได้ดาเนินการได้อยา่ งต่อเน่ืองและครอบคลมุ ได้ทุกพนื้ ท่ี

องค์กรของรฐั ควรเหน็ ความสาคญั

๕. โครงกำรประเมนิ รับรองมำตรฐำนกำรนวดไทยในสถำนบรกิ ำรสำธำรณสขุ ของรฐั และ
สถำนพยำบำลเอกชน จังหวัดสุพรรณบุรี ปี ๒๕๕๗
หลกั กำรและเหตผุ ล

ตามท่ี กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้ดาเนินการจัดทามาตรฐานการ
นวดไทย พรอ้ มสัญลกั ษณ์การรับรองมาตรฐานการนวดไทย เพอื่ ใช้ประเมนิ และรบั รองมาตรฐานการนวดไทย
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการนวดไทยเพื่อสร้างภาพลักษณ์การนวดไทยใหม่

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 247

(Rebranding) ภายใต้อัตลักษณ์ไทย ภูมิปัญญาไทย โดยมุ่งสร้างการนวดไทยให้มีมาตรฐานและมีคุณค่าท่ี
ได้รบั การยอมรบั ทัว่ โลก

ดังนั้น เพ่ือให้การนวดไทย ในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐและสถานพยาบาลเอกชน ใน
จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ไดม้ ีมาตรฐานด้านการปฏบิ ตั ิงาน และด้านควบคุมคุณภาพทเ่ี ก่ียวข้องกับการให้บริการนวด
ไทยโดยยึดตามแนวทางของมาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน และด้านการควบคุมคุณภาพ ตามมาตรฐาน รพ.
สส.พท.ของกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เพื่อสนองตอบความต้องการของ
ประชาชนได้ทั่วถึงและมีคุณภาพ และเป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์ของกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย เพื่อ
ยกระดับมาตรฐานการนวดไทยให้ผ่านตามเกณฑ์ท่ีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยกาหนด เพ่ือพัฒนาสถาน
บริการสาธารณสขุ ของในภาครฐั และเอกชนใหไ้ ดต้ ามเกณฑ์มาตรฐานและมคี ุณภาพต่อไป

แนวทำงกำรดำเนนิ งำน

๑. ประชุมช้ีแจงแนวทางและรายละเอียดการประเมินมาตรฐานการนวดไทยในสถานบริการ
สาธารณสุขทุกแห่ง และสถานพยาบาลเอกชน

๒. สถานบริการสาธารณสุขของรัฐทุกแห่ง ทาการประเมินมาตรฐานการนวดไทย ตามแบบรายงาน
การประเมนิ โดยประเมนิ ตนเอง แลว้ รายงานผลให้สานกั งานสาธารณสุขอาเภอทุก (ตามแบบรายงาน)

๓. ผู้รับผิดชอบงานระดับอาเภอสรุปผลการประเมิน ส่งงานพัฒนาการแพทย์แผนไทยสานักงาน
สาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

๔. ผู้รับผิดชอบงานพัฒนาการแพทย์แผนไทย ระดับจังหวัดร่วมกับระดับอาเภอ ออกติดตาม
ประเมินผลมาตรฐานการนวดไทยใน สถานบริการสาธารณสขุ ของรฐั และเอกชน

๕. สรุปผล ระดับจังหวดั รายงานผลการประเมนิ มาตรฐานการนวดไทยสง่ สถาบันการแพทยแ์ ผนไทย
๖. ประสานงานกบั สถาบนั การแพทย์แผนไทย ในการออกใบรับรองมาตรฐานการนวดไทย
๗. ดาเนนิ การแจกใบรับรองมาตรฐานการนวดไทยให้แก่สถานบรกิ ารทีผ่ า่ นการรบั รองมาตรฐาน
ผลการดาเนินงาน

๑. สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ/เอกชน ให้บริการด้านการนวดไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพและผ่าน
ตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีกรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยกาหนด

๒.ประชาชนได้รับบริการด้านการนวดไทย เพื่อการรักษาส่งเสริมและฟื้นฟูสภาพ ได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ และไดม้ าตรฐาน
งบประมำณ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 248

-งบประมาณที่ได้รับเบิกแทนกันของกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ในระบบ

GFMIS เลขท่ี ๒๐๐๐๐๕๐๗๘๙ แผนงาน:รองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ผลผลิต : การพัฒนาศักยภาพ

วัตถุดิบสมุนไพรให้ได้มาตรฐาน เพ่ือยกระดับการผลิตสมุนไพร(๒๑๐๐๒๙๑๗๑๐๐๐๙๐๐๐)กิจกรรมหลัก

(๒๑๐๐๒XXXX๙๙๙๙๙)แหลง่ ของเงินงบงาน งบดาเนนิ งาน (๕๗๑๑๒XX) จานวนเงนิ ๑๐,๐๐๐ บาท

-งบประมาณท่ีใช้ จานวนเงิน ๑๐,๐๐๐ บาท

ปญั หาอุปสรรค

๑.ระยะเวลาในการออกประมาณ น้อยไม่มแี ผนล่วงหน้า

๒.งบประมาณใช้ในการติดตามงานลา่ ชา้

๓.ผู้รบั ผิดชอบงานในระดบั อาเภอยงั ไม่เขา้ ใจแบบการประเมนิ ฯ

ขอ้ เสนอแนะ

ขอโครงการและแผนการประเมินล่วงหน้าต้นปีงบประมาณ และแจ้งงบประมาณหรือแจ้งการโอนเงิน
เพื่อตามงานให้ทันเวลาในการตดิ ตามงาน

๖.โครงกำรประชมุ แลกเปลี่ยนเรยี นรรู้ ะหว่ำงเครือข่ำยแพทยแ์ ผนไทยจังหวดั สุพรรณบุรี ปี ๒๕๕๗

หลกั การและเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๑๓

กาหนดให้นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเป็นนายทะเบียนจังหวัด ซึ่งกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และ
วิธีการสรรหากรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ พ.ศ.๒๕๔๖ ข้อ ๔ กาหนดให้นายทะเบียนกลางและนายทะเบยี นจงั หวัด
ร่วมกันจัดทาทะเบียนข้อมูลของกลุ่มผู้ประกอบโรคศิลปะ และกลุ่มผู้ซึ่งมีความรู้ความสามารถหรือ
ประสบการณ์ทางด้านการแพทย์แผนไทย ๕ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มหมอพ้ืนบ้าน กลุ่มองค์กรเอกชนพัฒนาด้าน
การแพทย์แผนไทย กลุ่มนักวิชาการ กลุ่มผู้ผลิตหรือจาหน่ายยาแผนไทย และการปลูกหรือแปรรูปสมุนไพร
เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการดาเนินการสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิ
ปัญญาการแพทย์แผนไทยของกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยกระทรวงสาธารณสุข โดยกาหนดนโยบายให้มี
การเสริมสร้างเครือข่ายภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยการแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกของเครือข่ายใน
ระดับภูมิภาคและระดับจังหวัด ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก พ.ศ ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ ในประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี๒ เสริมสร้างความเข้มแข็งภาคเครือข่าย ภาครัฐ
ภาคเอกชนและภาคประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดสุพรรณบุรี ข้อท่ี ๑ พัฒนาบุคลากรให้มีขีด
สมรรถนะและสร้างผลงานสูง เป้าประสงค์ท่ี ๑ บุคลากรสาธารณสขุ มีประทธิภาพและสร้างผลงานสูง กลยทุ ธ์
ท่ี ๑ เสริมสร้างและพัฒนาสมรรถนะบุคลากรสาธารณสุขให้มีขีดสมรรถนะเพียงพอต่อการปฏิบัติงานอย่างมี
ประสิทธิและตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ จึงได้จัดทาโครงการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่ายแพทย์
แผนไทยจังหวัดสุพรรณบุรี ปี ๒๕๕๗ เพ่ือเป็นการแลกเปล่ียนความรู้ประสบการณ์ของเครือข่ายแพทย์แผน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 249

ไทยและบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยในจังหวัดสุพรรณบุรี รองรับการสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และ
การดาเนนิ งานอ่ืนในสว่ นทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

แนวทางการดาเนินงาน

๑. เขยี นโครงการเพ่ือขออนุมัตโิ ครงการฯ

๒. ประสานงานเจา้ หนา้ ท่ีทเี่ กี่ยวขอ้ ง เครือขา่ ยภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทย

๓. จดั ประชุมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้

๔. สาธิตการแปรรูปสมนุ ไพรแกบ่ ุคลากรของสานกั งานสาธารณสขุ

๕ .สาธิตการแปรรูปสมุนไพรและแจกจา่ ยแก่กลุ่มเครือขา่ ยแพทย์แผนไทย/ประชาชน/ในงาน

มหกรรมเฉลมิ พระเกียรตสิ าธารณสขุ สุพรรณบุรรี ่วมใจ สรา้ งสขุ ภาพเพ่ือแม่

๖. พัฒนาฐานขอ้ มลู เครือข่ายแพทยแ์ ผนไทยให้มีประสทิ ธิภาพ

ผลการดาเนนิ งาน

๑. จัดประชมุ แลกเปลยี่ นระหว่างบุคลากร/เครือขา่ ยภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยในจงั หวัด

สพุ รรณบรุ ี จานวน ๗๕ คน

๒. สาธิตการแปรรปู สมนุ ไพรและแจกจ่ายแก่บุคลากรสานักงานสาธารณสุขจังหวัด

สุพรรณบุรี๑๖๐ คน

๓. สาธติ การแปรรปู สมุนไพรและแจกจา่ ยแก่กลมุ่ เครือขา่ ยแพทยแ์ ผนไทย/ประชาชน/ในงาน

มหกรรมเฉลมิ พระเกียรติสาธารณสุขสพุ รรณบรุ ีรว่ มใจ สร้างสขุ ภาพเพ่ือแมจ่ านวน ๓๐๐คน

งบประมาณ

-งบประมาณทไี่ ด้รับ (non UC ) จานวน ๔๗,๘๕๑.๐๐บาท

-งบประมาณที่ใช้ไป จานวน ๔๗,๘๕๑.๐๐บาท

ปญั หาอุปสรรค
กลมุ่ เครือข่ายตา่ งๆในจงั หวัดยังใหค้ วามสนใจและเขา้ ร่วมกิจกรรมน้อย และปญั หา
การเดินทางเข้ารว่ มประชุม
ช่วงเวลาของการประชุมเจ้าหนา้ ทท่ี ่เี ก่ียวข้องมภี ารกจิ งานด้านอกี ด้วย

ข้อเสนอแนะ

สนบั สนุนให้มกี ารจดั ต้ังเครือข่ายฯ ของอาเภอทกุ อาเภอ
สนับสนนุ ใหเ้ ครอื ข่ายมีความเข้มแข็ง และผลกั ดนั ให้มีการเผยแพร่ภมู ปิ ญั ญาในพนื้ ที่

๗. ช่อื โครงกำร สขุ ภำพดมี ีทำงเลือก จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปี ๒๕๕๗

หลักกำรและเหตุผล

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 250

การวิวฒั นาการทางการแพทยแ์ ผนปัจจบุ ันไดม้ ีการพฒั นานาเทคโนโลยีอนั ทนั สมยั ต่าง ๆ มากมาย
มาเข้าชว่ ยในด้านการดูแลรกั ษาฟนื้ ฟู สง่ เสริม และป้องกนั โรค การบาบัดฟ้นื ฟสู ุขภาพ โดยการนาศาสตร์
แพทย์ทางเลือก “การนวดกดจุดสะท้อนเทา้ ” จงึ ถือเป็นศาสตร์การแพทย์ทีช่ ่วยฟน้ื ฟสู ่งเสรมิ สขุ ภาพตลอดจน
เสรมิ สร้างพลังใจให้แกผ่ ูป้ ่วยทั้งประเภทผ้ปู ว่ ยเรือ้ รัง หรือผู้ปว่ ยโรคท่ัวไปใหก้ ลับมสี ุขภาพทีด่ ี ลดระยะเวลา
การนอนโรงพยาบาล ฟน้ื ตัวของโรคได้เร็ว มคี ณุ ภาพชวี ิตที่ดขี น้ึ ได้ การนวดกดจดุ สะท้อนเทา้ เพื่อสุขภาพ
(มาตรฐาน) เป็นศาสตร์ทอ่ี าศัยทฤษฎจี นี เปน็ พ้นื ฐานของคาอธบิ ายกลไกทง้ั หมดมีขบวนการ ขน้ั ตอนที่เปน็
มาตรฐาน นอกจากน้ยี ังมีงานวิจยั มากมายทั้งในและตา่ งประเทศ
การนาศาสตรแ์ พทย์ทางเลอื ก “การนวดกดจดุ สะทอ้ นเท้า”มาใช้ในการดูแลสุขภาพ จงึ ถอื เป็นทางเลอื กใหม่
ในสงั คมของทมี สุขภาพ ทจี่ ะนาศาสตร์ดงั กลา่ วมาช่วยฟ้ืนฟสู ขุ ภาพ และเสริมสร้างพลังใจใหแ้ ก่ผปู้ ่วยและ
บุคลากรในหนว่ ยงานในสังกดั

ดังนั้น สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี จึงได้จัดทาโครงการ เผยแพร่องค์ความร้ศู าสตร์
การแพทย์ทางเลือก “การนวดกดจุดสะทอ้ นเทา้ ”ข้นึ เพื่อเผยแพร่องค์ความรกู้ ารนวดจุดสะทอ้ นเทา้ โดยการ
บรรยายวิชาการและการสาธิต รวมท้ังจดั บูธนิทรรศการให้ความรู้ ใหก้ ับประชาชน และบุคลากรในสังกดั เพอื่
เป็นแนวทางในการนาศาสตร์ดงั กลา่ วมาใชใ้ นสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ในจงั หวัดสุพรรณบุรีในโอกาสต่อไป
วัตถุประสงค์

๑. เพ่ือเผยแพร่องคค์ วามรู้ศาสตรก์ ารแพทยท์ างเลือก “การนวดกดจุดสะท้อนเท้า”ให้กับหน่วยงาน
สาธารณสุขในจังหวดั สพุ รรณบรุ ี

๒. เพอื่ ใหส้ ถานบรกิ ารสาธารณสขุ ในจังหวัดสพุ รรณบรุ ี นาศาสตรก์ ารแพทย์ทางเลือก “การนวดกด
จดุ สะทอ้ นเท้า” เขา้ ไปใช้ในระบบบริการสาธารณสุข ประชาชนมคี วามรู้ในการดแู ลตนเองดว้ ยศาสตร์
การแพทย์ทางเลือก

กลมุ่ เปำ้ หมำย
บุคลากรสาธารณสขุ เครือขา่ ยแกนนาสขุ ภาพ ประชาชน จานวน ๒๐๐ คน ผลการดาเนินงานมี

ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม/โครงการฯ จานวน ๒๐๐ คน

เงินงบประมำณโครงกำร : ๗๐,๐๐๐ บำท (เจด็ หมนื่ บำทถ้วน) แหล่งเงนิ งบประมาณ เงนิ Non Uc
ใชไ้ ป ๗๐,๐๐๐ คงเหลอื - บาท

กำหนดกำร ๒๖ มถิ ุนายน ๒๕๕๗

สถำนทีด่ ำเนินกำร ณ ศาลาการเปรยี ญวัดราษฎร์สามัคคี ต.ทับตีเหลก็ อ.เมืองสพุ รรณบุรี

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 251

ผลลัพธ์โครงกำร ประชาชนและผปู้ ่วยในจังหวดั สพุ รรณบุรี มีทางเลอื กในการดแู ลสุขภาพตนเองดว้ ยศาสตร์
การแพทยท์ างเลือก “การนวดกดจดุ สะทอ้ นเท้า”ในการสง่ เสริมสุขภาพ บาบัดรกั ษาสขุ ภาพ ป้องกันและฟ้นื ฟู
สภาพ

กำรประเมนิ ผล สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ในจังหวัดสพุ รรณบรุ ี มกี ารนาศาสตรก์ ารแพทย์ทางเลือก“การนวด
กดจดุ สะท้อนเท้า”มาใชใ้ นสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ในชมุ ชน

๘. ชือ่ โครงกำร สุขภำพดมี ีทำงเลือก “กดจดุ สะท้อนเท้ำ” ปี ๒๕๕๗
หลกั กำรและเหตผุ ล

การวิวัฒนาการทางการแพทย์แผนปัจจุบนั ไดม้ ีการพัฒนานาเทคโนโลยีอันทนั สมัยต่าง ๆ มากมาย
มาเขา้ ช่วยในดา้ นการดแู ลรกั ษาฟื้นฟู ส่งเสรมิ และป้องกนั โรค การบาบัดฟ้ืนฟูสขุ ภาพ โดยการนาศาสตร์
แพทย์ทางเลือก “การนวดกดจดุ สะท้อนเท้า” จงึ ถือเป็นศาสตรก์ ารแพทย์ที่ชว่ ยฟ้นื ฟสู ่งเสรมิ สขุ ภาพตลอดจน
เสรมิ สร้างพลังใจให้แกผ่ ปู้ ว่ ยทง้ั ประเภทผปู้ ่วยเรือ้ รัง หรือผปู้ ่วยโรคทั่วไปให้กลับมสี ุขภาพทีด่ ี ลดระยะเวลา
การนอนโรงพยาบาล ฟน้ื ตัวของโรคได้เรว็ มีคุณภาพชวี ติ ท่ีดขี น้ึ ได้ การนวดกดจุดสะทอ้ นเท้าเพ่ือสุขภาพ
(มาตรฐาน) เป็นศาสตร์ท่ีอาศยั ทฤษฎจี นี เปน็ พน้ื ฐานของคาอธบิ ายกลไกทั้งหมดมีขบวนการ ขน้ั ตอนท่ีเปน็
มาตรฐาน นอกจากน้ียังมงี านวิจัยมากมายท้ังในและต่างประเทศ การนาศาสตรแ์ พทย์ทางเลือก “การนวดกด
จุดสะทอ้ นเท้า”มาใชใ้ นการดูแลสขุ ภาพ จึงถือเปน็ ทางเลอื กใหม่ในสังคมของทีมสุขภาพ ทจี่ ะนาศาสตร์
ดงั กล่าวมาชว่ ยฟื้นฟสู ุขภาพ และเสริมสร้างพลังใจให้แก่ผู้ป่วยและบุคลากรในหนว่ ยงานในสงั กัด

ดงั นั้น สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี จึงได้จดั ทาโครงการสขุ ภาพดีมีทางเลือก “กดจดุ
สะท้อนเทา้ ” ปี ๒๕๕๗ เพื่อเผยแพรอ่ งค์ความรู้ศาสตรก์ ารแพทย์ทางเลือก “การนวดกดจุดสะท้อนเทา้ ”ขนึ้
ใหก้ บั บุคลากรสาธารณสุข แกนนาสขุ ภาพ ผู้สนใจทว่ั ไป โดยการจดั ฝกึ อบรมหลักสตู ร ๖ วัน เพอื่ เป็นแนวทาง
ในการนาศาสตร์ดงั กล่าวมาใช้ในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ หรือในชุมชน ของจังหวัดสพุ รรณบรุ ี
วตั ถปุ ระสงค์

๑. เพื่อเผยแพร่องค์ความรูศ้ าสตร์การแพทย์ทางเลอื ก “การนวดกดจดุ สะท้อนเทา้ ” ให้กบั บคุ ลากร
สาธารณสขุ แกนนาสุขภาพ ประชาชนผูส้ นใจ

๒. เพอื่ ให้สถานบรกิ ารสาธารณสุขในจังหวัดสพุ รรณบุรี นาศาสตร์การแพทย์ทางเลือก “การนวดกด
จุดสะท้อนเท้า” เขา้ ไปใช้ในระบบบรกิ ารสาธารณสุข ในชมุ ชน และครอบครวั
กลุ่มเปำ้ หมำยกำรดำเนินงำน

บคุ ลากรสาธารณสขุ แกนนาสขุ ภาพ ผ้สู นใจทวั่ ไป จานวน ๓๐ คน ผลการดาเนนิ งานมีผู้เขา้ รับการ
อบรมจานวน ๒๖ คน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 252

กลวิธีกำรดำเนนิ งำน
โดยอบรม/เผยแพร่องค์ความร้ศู าสตร์การแพทยท์ างเลือก “การนวดกดจุดสะท้อนเท้า” การอบรมให้

ความรู้ศาสตรก์ ารแพทย์ทางเลอื ก “กดจุดสะท้อนเท้า” เป็นเวลา ๖ วนั การอบรมประกอบดว้ ย การบรรยาย
วิชาการ สาธติ ฝกึ ปฏิบัติจรงิ
เงนิ งบประมำณโครงกำร : แหล่งเงินงบประมาณ เงนิ PP สนับสนุน (ปี ๒๕๕๖)
จานวน ๔๕,๒๒๔ บาท และผู้เข้ารบั การอบรมสมทบ
ใช้ไป ๔๕,๒๒๔ บาท คงเหลือ – บาท
ระยะเวลำกำรอบรม ๖ วนั
สถำนทอ่ี บรม

หอ้ งประชุม องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลทับตีเหลก็ อาเภอเมืองสุพรรณบุรี
ผลลัพธ์โครงกำร

ประชาชนและผ้ปู ่วยในจังหวดั สพุ รรณบุรี มีทางเลอื กในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยศาสตรก์ ารแพทย์
ทางเลือก “การนวดกดจดุ สะทอ้ นเท้า”ในการส่งเสริมสขุ ภาพ บาบดั รกั ษาสขุ ภาพ ปอ้ งกันและฟ้นื ฟูสภาพ
กำรประเมนิ ผล

สถานบรกิ ารสาธารณสุขในจังหวดั สพุ รรณบุรี มกี ารนาศาสตรก์ ารแพทย์ทางเลือก“การนวดกดจุด
สะท้อนเทา้ ”มาใชใ้ นสถานบริการสาธารณสขุ ในชมุ ชน
๙.โครงกำร สารวจภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย บคุ ลากรด้านการแพทย์แผนไทย และพื้นท่ีถน่ิ กาเนดิ

สมุนไพรใน จงั หวัดสพุ รรณบุรี ปี ๒๕๕๗
หลักกำรและเหตผุ ล

ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๕
กาหนดให้อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเป็นนายทะเบียนกลาง และให้
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเป็นนายทะเบียนจังหวัด มีหน้าท่ีในการรวบรวม และจัดทาทะเบียนข้อมูลภูมิ
ปัญญาการแพทย์แผนไทย ตามมาตรา ๑๕ คือตารบั และ ตาราการแพทยแ์ ผนไทย โดยไม่มุ่งหมายจะเปิดเผย
สูตร อันเป็นสิทธิ ส่วนบุคคล เสนอกรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก เพอื่ รวบรวมข้อมูล
และทาการเผยแพร่แก่ประชาชนตามเจตนารมณ์ของกฎหมายต่อไป รวมถึงการสารวจ รวบรวม และจัดทา
ทะเบียนบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทย ๗ กลุ่ม อันได้แก่ กลุ่มหมอพื้นบ้าน กลุ่มผู้แทนองค์การเอกชน
พัฒนาด้านการแพทย์แผนไทย กลุ่มนักวิชาการด้านการแพทย์แผนไทย กลุ่มผู้ปลูกหรือผู้แปรรูปสมุนไพร
กลุ่มผู้ผลิตหรือจาหน่ายยาแผนไทย กลุ่มผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผน
ไทยประยุกต์ ให้เป็นปัจจุบัน ตลอดจนการคุ้มครองสมุนไพรและถ่ินกาเนิดเพื่อสารวจ รวบรวมและจัดทา
ทะเบยี นสมนุ ไพรในพืน้ ทจ่ี งั หวัดสพุ รรณบรุ ี
แนวทำงกำรดำเนนิ งำน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 253

กิจกรรมท่ี ๑ สารวจ ตรวจสอบ รวบรวม และจัดทาทะเบียนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ตารับยา

และตาราการแพทย์แผนไทย) / สารวจ ตรวจสอบ รวบรวม จัดทาทะเบียนข้อมูลบุคลากรด้านการแพทย์แผน

ไทย ๗ กลุ่ม

กจิ กรรมท่ี ๒ จัดอบรมให้ความรู้เรอ่ื งสมุนไพร และสารวจพื้นท่ีป่าที่เป็นพ้ืนที่กาเนิดสมุนไพรในจังหวัด

สุพรรณบุรี เพื่อรวบรวม และจัดทาทะเบียนสมุนไพรท่ีมีค่าต่อการศึกษา หรือวิจัย หรือมีความสาคัญทาง

เศรษฐกิจ หรอื อาจสูญพนั ธุใ์ นจังหวัด

ผลกำรดำเนินงำน

๑. จานวนบคุ ลากรแพทยแ์ ผนไทย ๗ กลุ่ม

-หมอพน้ื บา้ น ๔๑๘ คน (เพิม่ ขึ้น ๗ คน)

-ผมู้ ใี บประกอบโรคศลิ ปะฯ ๑๑๖ คน (เพม่ิ ขึ้น ๔ คน)

-องคก์ รเอกชน ๑ คน

-ผู้ปลกู /แปรรปู สมุนไพร ๒๕ คน (เพ่มิ ข้นึ ๑ คน)

-ผผู้ ลิต/จาหน่ายยาสมนุ ไพร ๔๙ คน (เพม่ิ ข้ึน ๒ คน)

-นักวชิ าการ ๕ คน

๒. ตารบั ยา และตารายาการแพทยแ์ ผนไทย เพิ่มขึ้น

๓. สารวจพนื้ ท่ีท่เี ป็นถิ่นกาเนิดสมุนไพร ๑ พน้ื ที่ (ป่าชมุ ชน ศรีสรรเพชร (วนอุทยานพุม่วง) อ.อทู่ อง)

งบประมำณ

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๑๗,๓๔๐ บาท ในส่วนการสนับสนุนนาย

ทะเบียนจงั หวัดปีงบประมาณ ๒๕๕๗ (ทีโ่ อนให้จานวน ๙๐,๐๐๐ บาท)

- ใชไ้ ป ๙,๗๐๐ บาท

- คงเหลอื ๙,๘๔๐ บาท

ปญั หำอุปสรรค

- การสารวจตารับ ตาราการแพทย์แผนไทย ส่วนมากมักไม่สะดวกในการให้ข้อมูลเพราะ เป็นความรู้ท่ี

ถ่ายทอดในกลมุ่ เฉพาะ เช่น ผู้มอบตวั เป็นศษิ ย์ หรอื จากบรรพบรุ ษุ แก่ลูกหลานเท่านน้ั

- การสารวจบุคลากร ข้อมูลที่ได้มาในแบบสารวจไม่ครบถ้วน ทาให้ไม่สามารถบันทึกในเวปไซด์ของ

กรมแพทยแ์ ผนไทยฯ ได้

- การสารวจป่าทาได้เฉพาะช่วงเท่าน้ัน เพราะสภาพแวดล้อมไม่เอื้ออานวย ทาให้การกาหนดแผนใน

การลงพ้นื ทต่ี อ้ งรอระยะเวลาที่เหมาะสม

ข้อเสนอแนะ

- ทาความเขา้ ใจกบั เจ้าหนา้ ทีเ่ กี่ยวกับวตั ถปุ ระสงค์ในการสารวจ และเคร่อื งมือที่ใชใ้ นการสารวจ

- กาหนดระยะเวลาในการเบิกจ่ายงบฯ ควรมคี วามยืดหยุ่นกับสถานการณ์และสิง่ แวดล้อมในพื้นท่กี าร

ดาเนินงาน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 254

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 255


Click to View FlipBook Version