The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-20 05:36:14

รายงานประจำปี2557

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

งบลงทนุ ๑,๑๐๐,๐๐๐.๐๐ ๑,๑๐๐,๐๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๐
รวม ๑๐,๕๒๕,๙๖๐.๐๐
๒๔๕,๑๖๘,๔๘๑.๔๑ ๑๐,๒๗๓,๒๘๑.๔๗ ๙๗.๖๐ ๒๕๒,๖๗๘.๕๓
รวมทง้ั จงั หวัด
๑๓๘,๘๓๔,๕๕๗.๘๑ ๕๖.๖๓ ๑๐๖,๓๓๓,๙๒๓.๖๐

ท่มี า : งานการเงิน สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

กำรควบคมุ ภำยใน
สถำนกำรณ์

ตามท่ีสานักงานตรวจเงินแผ่นดินได้ออกระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกาหนดมาตรฐานการควบคุม
ภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ เพ่ือให้หน่วยงานภาครัฐนามาตรฐานการควบคุมภายในท่ีกาหนดไปใช้เป็นแนวทางในการจัดวางระบบ
การควบคุมภายใน และปฏบิ ัติตามระบบการควบคมุ ภายในทวี่ างไวเ้ พือ่ ให้หนว่ ยงานบรรลวุ ตั ถุประสงคข์ องการควบคุมภายใน
ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดาเนินงานนัน้

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีได้ดาเนินการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานท่ีคณะกรรมการ
ตรวจเงินแผ่นดินกาหนดโดยกาหนดหน่วยรับตรวจเป็น ๑๑ แห่ง คือ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี จานวน ๑
แห่ง (รวมสานักงานสาธารณสุขอาเภอและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล) และโรงพยาบาล จานวน ๑๐ แห่ง
หน่วยรับตรวจทกุ แห่งจะดาเนินการจดั วางระบบการควบคุมภายใน โดยมีการวิเคราะหแ์ ละคน้ หาความเสี่ยงจากการประเมิน
กระบวนการปฏิบัตงิ านของสว่ นงานย่อยทุกด้าน ทั้งความเสี่ยงด้านการดาเนินงาน ความเสยี่ งดา้ นการเงนิ และความ
เสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ ท่ีอาจส่งผลกระทบต่อความสาเร็จหรือการบรรลุเป้าหมายของการดาเนินงาน
รวมท้ังความเสี่ยงท่ีพบจากการตรวจสอบของหนว่ ยงานภายนอกท่ีเข้ามาตรวจสอบ แล้วนาความเสยี่ งดังกล่าวมาจัดทาแผน
ปรับปรุงการควบคุมภายใน และมีการติดตามความก้าวหน้าของการดาเนินงานปีละ ๒ คร้ัง คือ งวดสิ้นสุดวันที่ ๓๑
มีนาคม กับงวดส้ินสุดวันที่ ๓๐กันยายน และมีการสอบทานการดาเนินงานโดยเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายในที่ได้รับแต่งต้ังจาก
สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ปี ลี ะ ๑ ครง้ั
กำรบรหิ ำรจดั กำร

๑. ผ้บู ริหารในทุกระดบั ใหค้ วามสาคัญเรอื่ งการควบคมุ ภายในและถ่ายทอดนโยบายให้เจ้าหนา้ ท่ี
ผู้ปฏิบัติงานดาเนนิ การอย่างจริงจงั และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน

๒. กลุ่มงานบรหิ ารท่วั ไป ได้ตัง้ งานควบคุมภายในและตรวจสอบภายในเพิม่ อกี หน่งึ งานโดยมอบหมายให้มเี จา้ หน้าท่ี
ผ้รู บั ผิดชอบงานเฉพาะเรอื่ งนโี้ ดยตรง

๓. การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ทุกสาขาวิชาชีพที่เก่ียวข้อง โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคี
เครือข่ายระดับจังหวัดเพื่อติดตามผลการดาเนินงาน มีการประชุมร่วมกันอย่างน้อย ๓คร้ังต่อปี เพื่อวางแผนการดาเนินงาน
รวบรวมปญั หาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะเพือ่ พัฒนาปรับปรุงแกไ้ ขปัญหาต่าง ๆ ร่วมกนั

๔. จัดทาโครงการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการระบบควบคุมภายใน สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี
ปงี บประมาณ ๒๕๕๗ วงเงนิ งบประมาณ ๑๑๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งแสนหนงึ่ หม่นื บาทถว้ น) ประกอบด้วย

- จดั ประชุมเพือ่ พฒั นาศกั ยภาพทมี งานบริหารท่วั ไป ของหน่วยงานในสังกัด

- จดั อบรมสมั มนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจระบบควบคมุ ภายใน ใหก้ บั หน่วยงานและหน่วยงานในสงั กดั จานวน
๔ ร่นุ โดยเชิญวิทยากรจาก หัวหนา้ กลมุ่ ตรวจสอบภายใน สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 41

๕. จัดทาโครงการพัฒนาระบบควบคุมภายในท่ีนาสู่การปฏิบัติจริงให้กับหน่วยงานในสังกัดทุกระดับ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
สพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ วงเงินงบประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท (สองแสนบาทถ้วน) ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกลุ่มตรวจสอบ
ภายใน สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ โดยมีวัตถุประสงคเ์ พือ่ สร้างองค์ความรใู้ นเร่ืองควบคุมภายใน การเงนิ การบัญชี การพัสดุ ยานพาหนะ
แผนบริหารปี ๒๕๕๘ ใหก้ ับหน่วยงานในสงั กดั เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนการพฒั นาระบบควบคุมภายใน ปี ๒๕๕๘

ผลกำรดำเนินงำน

ในปีงบประมาณ๒๕๕๗ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี ได้มกี ารแตง่ ตง้ั คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคี
เครอื ขา่ ยระดับจงั หวัด เพือ่ ทาการตรวจสอบภายในตามนโยบายสานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข ภายในระยะเวลา ๕ ปี
(ปี ๒๕๕๗– ๒๕๖๑) ทุกหนว่ ยงานภายในสังกดั ได้รับการตรวจสอบภายในครอบคลุมทุกระดบั สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
สุพรรณบุรีมีหน่วยรับตรวจทั้งส้ิน ๑๗๔ แห่ง ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗มกี ารตรวจสอบภายใน จานวน๕๙ แห่ง (ร้อยละ
๓๐.๒๖) ได้แก่ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลชุมชน สานักงาน
สาธารณสขุ อาเภอ จานวน ๒๑ แห่ง (ร้อยละ ๑๐๐) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล จานวน ๓๘ แห่ง (ร้อยละ
๒๐) ในการตรวจสอบดงั กลา่ วมีการสอบทานระบบควบคมุ ภายในตามระเบียบ สตง. ดา้ นควบคุมภายใน การเงนิ การบญั ชี
และงบการเงิน การบริหารพัสดุ และยังมีการเพิ่มเติมในส่วนของเวชภัณฑ์ และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้วย ผลการ
ตรวจสอบภายในภาพรวมของจังหวัดได้รายงานต่อกลุ่มตรวจสอบภายใน สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และเขต
บริการสุขภาพที่ ๕ แลว้ โดยหน่วยรบั ตรวจทกุ แห่งได้นาข้อทกั ท้วง และความเสี่ยงจากการประเมินกระบวนการปฏบิ ัติงาน
ของ สว่ นงานยอ่ ยทกุ ดา้ นมาจัดทาแผนปรับปรงุ การควบคมุ ภายใน และจะมกี ารติดตามประเมนิ ผลการดาเนินงาน ตามแผน
ทีจ่ ดั ทาไว้ ๒ ครั้ง ในงวดส้นิ สดุ วนั ที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๗ และงวดสิ้นสุดวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๗

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 42

กลมุ่ งำนพฒั นำคณุ ภำพบรกิ ำร สสจ.สพุ รรณบรุ ี

กำรพฒั นำระบบบริกำรสุขภำพ (Service Plan) สำขำปฐมภูมิ ทตุ ิยภมู ิ และสขุ ภำพองค์รวม

จังหวดั สพุ รรณบรุ ี มหี น่วยบริการปฐมภมู ิ ๑๗๙ แหง่ จาแนกเปน็ ศสม. จานวน ๕ แห่ง เปน็ รพ.สต. จานวน ๑๗๔

แห่ง (รพ.สต..ทว่ั ไป ๑๖๖ แห่ง, รพ.สต.ขนาดใหญ่ ๘ แหง่ ) ดังตารางที่ ๑

รพ.สต. ขนำดใหญ่ จานวน ๘ แหง่ ได้แก่

๑. รพ.สต.ร้วั ใหญ่ ต.ร้ัวใหญ่ อ.เมอื งสุพรรณบรุ ี

๒. รพ.สต.สระแก้ว ต.สระแก้ว อ.เมอื งสุพรรณบรุ ี

๓. รพ.สต.สนามชัย ต.สนามชัย อ.เมืองสพุ รรณบรุ ี

๔. รพ.สต.เฉลมิ พระเกียรติ ฯ บ่อสุพรรณ ต.บ่อสพุ รรณ อ.สองพน่ี ้อง

๕. รพ.สต.บ้านหวั วงั ต.บอ่ สพุ รรณ อ.สองพ่ีน้อง

๖. รพ.สต.นางบวช ต.นางบวช อ.เดิมบางนางบวช

๗. รพ.สต.บางปลาม้า ต.บางปลามา้ อ.บางปลามา้

๘. รพ.สต.บา้ นกร่าง ต.บา้ นกร่าง อ.ศรีประจนั ต์

ศนู ยส์ ขุ ภำพชุมชนเมือง (ศสม.) ๕ แหง่ ไดแ้ ก่

๑. ศสม. สวุ รรณภมู ิ ต.ท่าพีเ่ ลีย้ ง อ.เมอื งสุพรรณบรุ ี

๒. ศสม. ปราสาททอง ต.ท่าพี่เลีย้ ง อ.เมืองสพุ รรณบรุ ี

๓. ศสม. ประตูสาร ต.ท่าพเ่ี ลย้ี ง อ.เมืองสพุ รรณบรุ ี

๔. ศสม. บางลี่ ต.สองพ่นี ้อง อ.สองพนี่ อ้ ง

๕. ศสม. คลองมะดัน ต.สองพนี่ อ้ ง อ.สองพ่นี อ้ ง

ตำรำงท่ี ๑ จานวนสถานบรกิ ารสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี จาแนกตามระดบั สถานบริการ

ลำดบั อำเภอ ตำบล รพศ. รพท. รพช. ศสม. รพ.สต. ขนำดใหญ่ รพ.สต.
ท่ี (ระดบั ) (ระดบั ) (ระดับ) (>๘,๐๐๐ คน) ทั่วไป

๑. เมืองสพุ รรณบรุ ี ๒๐ A ‫ ־ ־‬๓ ๓ ๒๖

๒. เดิมบางนางบวช ๑๔ ‫ ־ ־‬F๒ ‫ ־‬๑ ๑๙

๓. ด่านช้าง ๗ ‫ ־ ־‬F๑ ‫־‬ ‫ ־‬๑๖

๔. บางปลามา้ ๑๔ ‫ ־ ־‬F๒ ‫ ־‬๑ ๑๖

๕. ศรีประจนั ต์ ๙ ‫ ־ ־‬F๒ ‫־‬ ๑ ๑๓

๖. ดอนเจดีย์ ๕ ‫ ־ ־‬F๒ ‫ ־ ־‬๙

๗. สองพนี่ อ้ ง ๑๕ ‫ ־‬M๑ ‫־‬ ๒ ๒ ๒๓

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 43

๘. สามชุก ๗‫־‬ ‫ ־‬F๒ ‫־‬ ‫ ־‬๑๓
๙. อทู่ อง ๑๓ ‫־‬ ‫ ־‬M๒ ‫־‬ ‫ ־‬๒๒
๑๐. หนองหญ้าไซ ๖‫־‬ ‫ ־‬F๒ ‫־‬ ‫־‬๙

รวม ๑๑๐ ๑ ๑๘ ๘ ๑๖๖

กำรบรหิ ำรจัดกำรแผนงำน / โครงกำร
จัดทาแผนพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพ Service Plan สาขาบริการปฐมภูมิ ทุตภิ ูมิ และสขุ ภาพองค์รวม จังหวดั

สุพรรณบรุ ี ปี ๒๕๕๗
เป้ำประสงค์ (ผลลพั ธท์ ่ีต้องกำร)
๑. ภาคเี ครือขา่ ยทุกภาคส่วนในอาเภอเข้ามามีส่วนรว่ ม ในการพฒั นาระบบบริการสุขภาพภายในอาเภออย่างมี

คณุ ภาพ และประสิทธภิ าพ
๒. พฒั นาศักยภาพบริการด้านเวชศาสตร์ครอบครัว และบรกิ ารหลัก (Core Package) ทสี่ าคัญ ๕ งาน ไดแ้ ก่ NCD

(HT / DM), พฒั นาการสมวัย, ทันตสาธารณสุข, เวชศาสตร์ฟื้นฟู และแพทยแ์ ผนไทย / แพทย์ทางเลือก
ตวั ชี้วดั และเปำ้ หมำย
๑. รอ้ ยละของจงั หวัดท่ีมี ศสม.ในเขตเมอื งครอบคลุมจานวนประชากรทั้งหมด ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๗๐
๒. ร้อยละของรพ.สต.ขนาดใหญ/่ ศสม.ท่ีมีการจดั บรกิ ารหลัก(corepackage)ครบ๕งานไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ๓๐
๓. ร้อยละของ รพ.สต./ศสม. มีการจดั บริการโรคเรือ้ รังรปู แบบ Psychosocial clinic / เวชศาสตรค์ รอบครวั ไม่

นอ้ ยกว่า ร้อยละ ๕๐
๔. รอ้ ยละของอาเภอที่ใชเ้ ครือข่ายสขุ ภาพอาเภอ (DHS) ขบั เคลื่อนการจัดบริการ และแกไ้ ขปัญหาสุขภาพ รอ้ ยละ

๑๐๐
๕. จดั ให้มีศนู ย์เรยี นร้เู วชศาสตรค์ รอบครวั และชุมชน จานวน ๑ แหง่
๖. ผู้ป่วย HT/DM ไดร้ ับบรกิ ารที่ ศสม./รพ.สต. ไม่ต่ากวา่ ร้อยละ ๕๐

กลยุทธ์ : สรา้ งเครอื ขา่ ยการพฒั นาระบบสขุ ภาพระดับอาเภอทกุ อาเภอ
มำตรกำร

๑. พฒั นาศกั ยภาพ ศสม. ในเขตเทศบาลเมืองใหไ้ ด้ตามเกณฑ์
๒. พฒั นาศักยภาพบริการด้านเวชศาสตรค์ รอบครวั
๓. ผลกั ดนั การขับเคลือ่ นนโยบาย DHS ตาม ๕ ประเดน็ หลัก ด้วยกลไก ๓ ประการ ได้แก่ Single Plan, Single
Financial, และ Single Primary Care Network
โครงกำรพัฒนำระบบบริกำรสุขภำพปฐมภมู ิ ทตุ ยิ ภูมิและสุขภำพองค์รวม จังหวัดสพุ รรณบรุ ี
กิจกรรมระดบั จงั หวดั
๑. พฒั นา ศสม. ใหไ้ ดต้ ามเกณฑ์มาตรฐาน จานวน ๕ แห่ง
๒. จัดตง้ั ศนู ยเ์ รยี นร้เู วชศาสตร์ครอบครัวระดบั จงั หวัด ๑ แหง่ ที่งานพัฒนาคณุ ภาพบรกิ าร
๓. พฒั นาศกั ยภาพบรกิ ารในภาพเครอื ข่ายบรกิ ารปฐมภูมิ (Primary Care Network) ที่เชื่อมโยงกบั โรงพยาบาลแม่
ขา่ ยใน ๕ งานหลกั ได้แก่ NCD (HT/DM), พฒั นาการสมวัย, ทันตสาธารณสขุ , เวชศาสตรฟ์ ืน้ ฟู และแพทย์แผนไทย/แพทย์
ทางเลือก
๔. ทบทวน และจดั ทาคาส่งั คณะทางานพฒั นาระบบบริการปฐมภูมิ ทุตยิ ภูมิ และสขุ ภาพองคร์ วม จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 44

๕. ประชุมคณะทางาน ระดับจงั หวดั
- มกี ารกาหนดบทบาทหนา้ ทช่ี ดั เจน
- มกี ารประชุม สม่าเสมอ / ครบตามสดั ส่วนองคป์ ระกอบ อยา่ งนอ้ ย ๔ คร้ัง / ปี
- มบี นั ทึกรายงานการประชุม

๖. ประชุมช้แี จงแนวทางการดาเนนิ งานแก่ผเู้ ก่ยี วข้อง
๗. เยีย่ มนเิ ทศ ตดิ ตามการทางาน DHS ในระดับอาเภอ ๒ คร้ัง (ครั้งท่ี ๑ วนั ท่ี ๑๗ เม.ย.-๑ พ.ค.๕๗ คร้งั ท่ี ๒ วันท่ี
๒๔ มิ.ย.-๙ ก.ค.๕๗)

- สนบั สนนุ การขบั เคลอ่ื น DHS ในระดับอาเภอ
- ติดตามความกา้ วหน้าของการพฒั นาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพระดบั อาเภอ โดยใชเ้ กณฑ์บนั ได ๕ ขน้ั และ
ใช้กรอบแนวคดิ PCA เปน็ เคร่ืองมอื ในการประเมินความก้าวหนา้ ในการจัดการปญั หาสุขภาพระดบั อาเภอ
(ตอ้ งเพิ่มขน้ึ อยา่ งนอ้ ย ๑ ขัน้ ใน ๕ ประเด็นตามเกณฑ์บันได ๕ ข้นั )
๘. มีการจดั เวทแี ลกเปล่ียนเรยี นรู้ ในระดับจังหวดั (Case Conference / KM / CBL / ODOP) ๑ ครัง้ วันที่ ๑๖ มถิ ุนายน
๒๕๕๗ ณ หอ้ งประชมุ ช้นั ๑๐ รพ.เจา้ พระยายมราช
๙. มตี ้นแบบ DHS ระดับจังหวัด อย่างน้อย ๑ แหง่ ได้แก่ อ.หนองหญ้าไซ
๑๐. จัดประกวดนวัตกรรม ๑ ครั้ง วันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ณ หอ้ งประชมุ ช้ัน ๑๐ รพ.เจา้ พระยายมราช
กจิ กรรมระดบั อำเภอ
๑. พัฒนา ศสม. ๕ แห่ง ตามเกณฑ์ ใน อ.เมืองฯ และ อ.สองพีน่ อ้ ง
๒. พัฒนาศักยภาพบริการในภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Network) ท่ีเชื่อมโยงกับโรงพยาบาล
แม่ข่ายใน ๕ งานหลัก ไดแ้ ก่ NCD (HT/DM), พัฒนาการสมวัย, ทันตสาธารณสุข, เวชศาสตร์ฟื้นฟู และแพทย์แผนไทย/แพทย์
ทางเลือก
๓. แต่งตั้งคณะทางาน DHS ระดับอาเภอ
- ครบองค์ประกอบ ทกุ ภาคส่วน
- มกี ารกาหนดบทบาทหน้าทีช่ ดั เจน
- มกี ารประชุม สมา่ เสมอ/ครบตามสัดส่วนองคป์ ระกอบ อยา่ งน้อย ๔ ครงั้ /ปี
- มีบนั ทกึ รายงานการประชุม
๔. เยีย่ มนเิ ทศ ตดิ ตามการทางาน ระดบั พ้ืนที่ ๒ คร้ัง/ปี
- ติดตามโครงการ/แผนปฏิบัตกิ าร ตามประเด็น ODOP
- ตดิ ตามการนาแผนสูก่ ารปฏิบตั ิ/ผลการดาเนินงาน
- ติดตามความกา้ วหนา้ ในการพฒั นาระบบบรกิ ารเครือขา่ ยสขุ ภาพระดบั อาเภอ
๕. มีการจดั เวทีแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ในระดบั อาเภอ (Case Conference / KM / CBL) อย่างนอ้ ย ๒ ครัง้ / ปี
๖. กาหนดประเด็น ODOP ระดบั อาเภอ ๒ เรอื่ ง ได้แก่
๖.๑ HT / DM
๖.๒ ปัญหาของพ้ืนท่ี

- ODOP ขอ้ ๖.๑ และ ข้อ ๖.๒ สามารถเปน็ เรอื่ งเดยี วกันได้ โดยใช้กรอบแนวคิด PCA เป็นเครอ่ื งมอื ใน
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการตามประเด็นปญั หาสุขภาพของพน้ื ทอ่ี าเภอ

๗. จดั Training ทมี สุขภาพใน รพ.สต. / ศสม. สว่ นขาด อยา่ งน้อย ๑ ครั้ง / ปี
๘. มีการคัดเลอื กตาบลต้นแบบ ๑ แห่ง

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 45

๙. ใช้เกณฑ์บนั ได ๕ ข้ัน เป็นตัวขับเคลอ่ื นการพัฒนาการมสี ่วนรว่ ม ตามประเด็นปัญหาระบบสขุ ภาพอาเภอ โดย

ใชก้ รอบแนวคดิ PCA เปน็ เครอื่ งมือในการพัฒนาคณุ ภาพระบบบริการตามประเดน็ ปัญหาสุขภาพของพ้ืนท่ี (ตอ้ งเพ่ิมขึน้ อยา่ ง

น้อย ๑ ขน้ั ใน ๕ ประเด็นตามเกณฑบ์ ันได ๕ ขน้ั )

กจิ กรรมระดบั ตำบล

๑. พัฒนาศกั ยภาพบรกิ าร ตามบรบิ ททจ่ี าเป็นโดยเน้นงาน ๕ Core Package หลกั ในภาพเครือขา่ ยทเี่ ชือ่ มโยงกนั

ทั้งโรงพยาบาล, รพ.สต.และภาคเี ครือขา่ ยในพน้ื ที่ ได้แก่

๑.๑ NCD (HT / DM)

๑.๒ พัฒนาการสมวยั

๑.๓ ทนั ตสาธารณสุข

๑.๔ เวชศาสตรฟ์ ื้นฟู

๑.๕ แพทย์แผนไทย / แพทยท์ างเลือก

๒. สง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมของภาคเี ครือขา่ ย เชน่ อปท., กศน., ชมรม ฯลฯ

๓. จดั บริการโรคเร้ือรงั รปู แบบ Psychosocial clinic ตามหลักเวชศาสตรค์ รอบครัว

ผลกำรดำเนนิ งำน

กำรพัฒนำเครือข่ำยสขุ ภำพระดบั อำเภอ (DHS)

ผลการดาเนินงาน การพฒั นาเครือข่ายสขุ ภาพระดับอาเภอ (DHS) จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ปี ๒๕๕๗ พบวา่ ผ่านเกณฑ์

๙ อาเภอ จากทัง้ หมด ๑๐ อาเภอ คดิ เปน็ ร้อยละ ๙๐ ดงั ตารางที่ ๒ และ ๓

ตำรำงท่ี ๒ ผลการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอาเภอ (DHS)ตามระดบั ข้นั การพัฒนา (บันได ๕ ข้นั )

จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ปี ๒๕๕๗

ท่ี อำเภอ Unity Community Appreciation Resource / Essential
development care

๑. เมืองสุพรรณบรุ ี ๓ ๓ ๓ ๓๓

๒. เดิมบางนางบวช ๓ ๓ ๓ ๓๓

๓. ด่านชา้ ง ๓ ๓ ๓ ๓๓

๔. บางปลาม้า ๓ ๓ ๓ ๓ ๓

๕. ศรีประจันต์ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓

๖. ดอนเจดยี ์ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓

๗. สองพน่ี อ้ ง ๒ ๒ ๒ ๒ ๒

๘. สามชุก ๓ ๓ ๓ ๓๓

๙. อทู่ อง ๓ ๓ ๓ ๓๓

๑๐. หนองหญา้ ไซ ๓ ๓ ๓ ๓๓

ตำรำงท่ี ๓ ผลการดาเนนิ งาน การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอาเภอ (DHS) จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี ๒๕๕๗

ลำดับ อำเภอ ประเดน็ สุขภำพ (ODOP) ผลกำรประเมิน บันได
ที่ ๕ ข้ัน

๑. เมืองสพุ รรณบรุ ี การดแู ลผ้ปู ่วยโรคเร้อื รัง (HT,DM) ผ่านเกณฑ์

๒. เดิมบางนางบวช การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (HT,DM) / การดูแลผู้ป่วยติดบ้านติด ผา่ นเกณฑ์

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 46

เตยี ง

๓. ดา่ นชา้ ง การดูแลผปู้ ว่ ยโรคเรื้อรัง (HT,DM) / อนามยั แม่และเดก็ ผ่านเกณฑ์
๔. บางปลาม้า
๕. ศรีประจันต์ การดูแลผู้ปว่ ยโรคเรอ้ื รัง (HT,DM) / อนามยั แม่และเด็ก ผ่านเกณฑ์
๖. ดอนเจดยี ์
๗. สองพี่น้อง การดูแลผู้ปว่ ยโรคเรือ้ รงั (HT,DM) ผ่านเกณฑ์
๘. สามชุก
๙. อู่ทอง การดูแลผูป้ ว่ ยโรคเรอ้ื รงั (HT,DM) ผา่ นเกณฑ์
๑๐. หนองหญา้ ไซ
การดูแลผู้ปว่ ยโรคเร้ือรงั (HT,DM) ไมผ่ า่ นเกณฑ์

การดูแลผู้ปว่ ยโรคเรอ้ื รงั (HT,DM) ผา่ นเกณฑ์

การดูแลผู้ป่วยโรคเร้ือรัง (HT,DM) ผา่ นเกณฑ์

การดูแลผ้ปู ่วยโรคเรื้อรงั (HT,DM) ผ่านเกณฑ์

รวม ผำ่ นเกณฑ์ ๙ อำเภอ (ร้อยละ ๙๐)

ผลกำรดำเนนิ งำน ตำมตัวช้ีวัด
ผลการดาเนินงาน ตามตัวชีว้ ดั รายอาเภอ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ในปี ๒๕๕๗ พบวา่ ผา่ นเกณฑ์ จานวน ๕ ตัวช้ีวัด ไม่

ผ่าน จานวน ๑ ตวั ชี้วัด ไดแ้ ก่ ตวั ชว้ี ดั ที่ ๖ รอ้ ยละของผ้ปู ่วย HT/DM ไดร้ ับบรกิ ารท่ี ศสม./รพ.สต. มีผลงานเพยี ง รอ้ ยละ
๓๖.๙๘ ตา่ กวา่ เป้าหมายทกี่ าหนดไว้ ร้อยละ ๕๐ รายละเอยี ดดังตารางที่ ๔

ตำรำงที่ ๔ ผลการดาเนินงาน ตามตัวชีว้ ัด รายอาเภอ จังหวัดสุพรรณบุรี ปี ๒๕๕๗

ตัวชี้วัด เกณฑ์ ลาดับ อาเภอ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ

๑. ร้อยละของจังหวดั ท่มี ี ศสม. ไมน่ ้อยกวา่ ๑. เมอื งสุพรรณบรุ ี ๓ ๓ ๑๐๐

ในเขตเมอื งครอบคลมุ จานวน ร้อยละ ๗๐ ๒. สองพีน่ ้อง ๒ ๒ ๑๐๐
ประชากรทงั้ หมด

รวม ๕ ๕ ๑๐๐

๒. รอ้ ยละของ รพ.สต.ขนาด ไมน่ ้อยกวา่ ๑. เมอื งสพุ รรณบรุ ี ๓/๓ ๒/๑ ๕๐

ใหญ/่ ศสม. ทม่ี กี ารจดั บริการ ร้อยละ ๓๐ ๒. เดมิ บางนางบวช ๑/- ๑/- ๑๐๐
หลัก(core package) ครบ ๕ ๓. บางปลาม้า ๑/- ๑/- ๑๐๐
งาน

๔. ศรีประจนั ต์ ๑/- ๑/- ๑๐๐

๕. สองพน่ี ้อง ๒/๒ ๒/๐ ๕๐

รวม ๘/๕ ๗/๑ ๖๑.๕๔

ตำรำงท่ี ๔ ผลการดาเนนิ งาน ตามตวั ชี้วดั รายอาเภอ จังหวัดสุพรรณบุรี ปี ๒๕๕๗ ตอ่

ตวั ชว้ี ดั เกณฑ์ ลา อาเภอ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ
ดบั

๓. ร้อยละของ รพ. ไมน่ ้อยกวา่ ๑. เมืองสุพรรณบรุ ี ๒๙/๓ จัดอบรมพัฒนาศกั ยภาพ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 47

สต./ศสม. มกี าร รอ้ ยละ ๕๐ ๒. เดมิ บางนางบวช ๒๐/- บุคลากรดา้ นเวชศาสตร์
จัดบรกิ ารโรคเร้ือรงั ๓. ดา่ นช้าง ครอบครัว ใน รพ./ศสม./รพ.
รปู แบบ ๔. บางปลามา้ ๑๖/- สต.ครบทุกแห่ง เม่ือ
Psychosocial clinic/ ๕. ศรปี ระจันต์
เวชศาสตรค์ รอบครัว ๑๗/- วันที่ ๑๖ มิถนุ ายน ๒๕๕๗

๑๔/-

๖. ดอนเจดีย์ ๙/-

๗. สองพี่น้อง ๒๕/๒

๘. สามชุก ๑๓/-

๙. อู่ทอง ๒๒/-

๑๐. หนองหญ้าไซ ๙/-

รวม ๑๗๔/๕

๔. รอ้ ยละของ รอ้ ยละ ๑๐๐ ๑. เมอื งสพุ รรณบรุ ี ๑ ๑ ๑๐๐
อาเภอที่ใช้เครอื ข่าย ๒. เดมิ บางนางบวช ๑ ๑ ๑๐๐
สขุ ภาพอาเภอ ๓. ดา่ นชา้ ง ๑ ๑ ๑๐๐
(DHS) ขับเคล่ือน ๔. บางปลามา้ ๑ ๑ ๑๐๐
การจดั บริการและ ๕. ศรปี ระจนั ต์ ๑ ๑ ๑๐๐
แกไ้ ขปัญหาสขุ ภาพ

๖. ดอนเจดีย์ ๑ ๑ ๑๐๐

๗. สองพี่นอ้ ง ๑ ๑ ๑๐๐

๘. สามชุก ๑ ๑ ๑๐๐

๙. อู่ทอง ๑ ๑ ๑๐๐

๑๐. หนองหญ้าไซ ๑ ๑ ๑๐๐

รวม ๑๐ ๑๐ ๑๐๐

๕. จัดให้มีศนู ย์ จงั หวัดละ ๑. งานพฒั นาคณุ ภาพ ๑ ๑ ๑๐๐

เรยี นรเู้ วชศาสตร์ ๑ แหง่ บริการ สสจ.

ครอบครัว สพุ รรณบุรี

รวม ๑ ๑ ๑๐๐

ตำรำงท่ี ๔ ผลการดาเนนิ งาน ตามตัวชีว้ ัด รายอาเภอ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปี ๒๕๕๗ ตอ่

ตัวช้วี ัด เกณฑ์ ลาดบั อาเภอ เปา้ หมาย ผลงาน รอ้ ยละ

๖. รอ้ ยละของ ไมต่ า่ กวา่ รอ้ ย ๑. เมอื งสุพรรณบรุ ี ๖๑,๑๑๗ ๒๖,๓๖๓ ๔๓.๑๔
ผู้ปว่ ย HT/DM ละ ๕๐ ๒,๕๑๕ ๒๓.๗๒
ไดร้ ับบรกิ ารที่ ๒. เดิมบางนางบวช ๑๐,๖๐๒ ๑,๘๖๔ ๓๔.๓๘

๓. ด่านช้าง ๕,๔๒๒

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 48

ศสม./รพ.สต. ๔. บางปลามา้ ๙,๖๔๘ ๒,๖๗๖ ๒๗.๗๔
(OP Visit HT/DM) ๕. ศรปี ระจนั ต์ ๗,๔๕๐ ๑,๖๑๕ ๒๑.๖๘
๖. ดอนเจดีย์ ๖,๔๐๕ ๒,๔๔๔ ๓๘.๑๖
๗. สองพ่ีนอ้ ง ๑๕,๗๔๔ ๘,๓๕๘ ๕๓.๐๙
๘. สามชุก ๗,๕๙๐ ๑,๘๘๐ ๒๔.๗๗
๙. อ่ทู อง ๑๓,๖๑๔ ๓,๙๕๓ ๒๙.๐๔
๑๐. หนองหญา้ ไซ ๗,๑๘๐ ๑,๘๖๖ ๒๕.๙๙
รวม ๑๔๔,๗๗๒ ๕๓,๕๓๔ ๓๖.๙๘

กำรจัดบริกำร 5 Core Package ในหนว่ ยบริกำรปฐมภูมิ

1. ดำ้ นทันตสขุ ภำพในหน่วยบรกิ ำรปฐมภมู ิ

กำรจัดบริกำร

1. ผสู้ ูงอายไุ ดร้ ับการตรวจคัดกรองสขุ ภาพช่องปาก ทุกแหง่ 100 %

2. เดก็ 0 - 2 ปี ไดร้ ับการตรวจคดั กรองสุขภาพช่องปาก และไดร้ ับการทาฟลอู อไรด์วานชิ จานวน 149 แหง่ เทา่ กับ 89.7%

ตำรำงท่ี 5 จานวนและรอ้ ยละ ของ ศสม. / รพ.สต.ขนาดใหญ่/รพ.สต.ท่วั ไป ทจี่ ดั บรกิ ารดา้ นทันตสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี ปี 2557

ท้งั หมด ผลงำน ร้อยละ

ที่ อำเภอ ศสม รพ.สต. รพ.สต. ศสม. รพ.สต. รพ.สต. ศสม รพ.สต. รพ.สต.
ขนำดใหญ่ ทวั่ ไป ขนำดใหญ่ ท่ัวไป ขนำดใหญ่ ท่ัวไป

1. เมอื งสุพรรณบรุ ี 3 3 26 1 2 10 33.3 66.6 38.4

2. เดิมบางนางบวช 1 19 1 18 100 94.7

3. ด่านชา้ ง 16 16 100

4. บางปลาม้า 1 16 1 15 100 93.7

5. ศรีประจันต์ 1 13 1 12 100 92.3

6. ดอนเจดยี ์ 9 9 100

7. สองพน่ี ้อง 2 2 23 - 2 23 - 100 100

8. สามชกุ 13 13 100

9. อู่ทอง 22 22 100

10. หนองหญา้ ไซ 9 9 100

รวม 5 8 166 1 7 149 20.0 87.5 89.7

รวมทงั้ สน้ิ 179 157 87.7

ปญั หำอุปสรรค
การดาเนนิ งานในเดก็ ยังไมค่ รอบคลมุ เน่อื งจากการตรวจสุขภาพชอ่ งปาก และการทาฟลูออไรด์วานิชในเดก็ เพื่อ
ป้องกนั ฟันผุ จะใหบ้ ริการโดยทันตบคุ ลากรเทา่ นั้น และมที นั ตาภิบาลปฏิบตั ิงานประจาใน รพ.สต. เพียง 37 แห่ง (รอ้ ยละ
22.1) จาก รพ.สต. ทงั้ ส้ิน 174 แหง่
2. ดำ้ นแพทย์แผนไทยในหน่วยบริกำรปฐมภูมิ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 49

กำรจัดบริกำร

1. จ่ายยาสมนุ ไพร ทุกแห่ง จานวน 179 แหง่

2. นวดไทย จานวน 125 แห่ง

ตำรำงท่ี 6 จานวนและรอ้ ยละของโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลท่ีจัดบรกิ ารนวดไทย จังหวดั สพุ รรณบุรี ปี 2557

ท้ังหมด ผลงาน

ที่ อาเภอ รพ.สต. รพ.สต. รวม รพ.สต. รพ.สต. รวม ร้อยละ
ขนาดใหญ่ ท่วั ไป ขนาดใหญ่ ทั่วไป

1. เมืองสพุ รรณบรุ ี 3 26 29 3 10 13 44.82

2. เดิมบางนางบวช 1 19 20 0 10 10 50.00

3. ดา่ นช้าง 16 16 14 14 87.50

4. บางปลามา้ 1 16 17 0 12 12 70.58

5. ศรปี ระจนั ต์ 1 13 14 0 7 7 50.00

6. ดอนเจดีย์ 99 6 6 66.66

7. สองพี่น้อง 2 23 25 1 22 23 92.00

8. สามชกุ 13 13 13 13 100

9. อู่ทอง 22 22 22 22 100

10. หนองหญา้ ไซ 99 5 5 55.55

รวม 8 166 174 4 121 125 71.83

ปญั หำอุปสรรค
1. แพทยแ์ ผนไทยในโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพมนี ้อย (5 คน)
2. ผ้ชู ่วยแพทยแ์ ผนไทยมกี ารลาออกบอ่ ย
3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบางแห่งมีสถานะเงินบารงุ นอ้ ย
4. แพทย์แผนปัจจุบันขาดความเชื่อมน่ั ในการใช้ยาสมนุ ไพร
5. ราคายาสมุนไพรแพง
3. ด้ำนพฒั นำกำรเดก็ ในหน่วยบริกำรปฐมภมู ิ
กำรจัดบรกิ ำร
เฝ้าระวังและสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ 0-5 ปี ทกุ แหง่ (100 %)
ตำรำงที่ 7 จานวนและร้อยละของ ศสม./รพ.สต.ขนาดใหญ่/รพ.สต.ท่ัวไป ท่ีจดั บริการดา้ นพฒั นาการเด็ก จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี
2557

ท้งั หมด ผลงำน ร้อยละ

ที่ อำเภอ ศสม รพ.สต. รพ.สต. ศสม. รพ.สต. รพ.สต. ศสม รพ.สต. รพ.สต.
ขนาดใหญ่ ทว่ั ไป ขนาดใหญ่ ท่ัวไป ขนาดใหญ่ ทว่ั ไป

1 เมอื งสพุ รรณบรุ ี 3 3 26 3 3 26 100 100 100
2 เดมิ บางนางบวช
1 19 1 19 100 100

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 50

3 ดา่ นชา้ ง 16 16 100
4 บางปลามา้
5 ศรปี ระจันต์ 1 16 1 16 100 100
6 ดอนเจดีย์
7 สองพน่ี อ้ ง 1 13 1 13 100 100
8 สามชกุ
9 อทู่ อง 9 9 100
10 หนองหญา้ ไซ
2 2 23 2 2 23 100 100 100
รวม
รวมท้งั สิ้น 13 13 100

22 22 100

9 9 100

5 8 166 5 8 166 100 100 100

179 179 100

ปัญหำอุปสรรค
พบว่า เดก็ มพี ัฒนาการสมวัยสูงกว่ารอ้ ยละ 90 ซึ่งสงู กวา่ เป้าหมาย ทกี่ าหนดให้ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 85

แนวทำงกำรดำเนินงำน
1. จดั อบรมพฒั นาศักยภาพบุคลากรด้านการตรวจคัดกรองพฒั นาการเด็กด้วย อนามัย 55, TDSI และนเิ ทศติดตาม
2. ทาแผนจดั ซื้ออุปกรณ์เพม่ิ
3. พฒั นาระบบบริการและรวบรวมขอ้ มลู

4. ดำ้ นกำรดแู ลผ้ปู ว่ ย NCD ในหนว่ ยบริกำรปฐมภมู ิ
กำรจดั บรกิ ำร
1. คัดกรองความเส่ียงตอ่ โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน
2. คดั กรองภาวะแทรกซอ้ นในกลมุ่ ผปู้ ่วยในชมุ ชน
3. ให้การดูแล – รกั ษาเบาหวานและความดันโลหิตสงู ในรายทคี่ วบคมุ ได้
4. สง่ ตอ่ ผู้ปว่ ยไปยังโรงพยาบาลแมข่ า่ ยเพือ่ การรกั ษา
5. พฒั นาพฤตกิ รรมสุขภาพตามบริบทของกลมุ่ เป้าหมายน้ัน ๆ

ตำรำงที่ 8 จานวนและร้อยละของ ศสม. / รพ.สต.ขนาดใหญ่/รพ.สต.ทัว่ ไป ท่ีจดั บรกิ ารดา้ นการดูแลผปู้ ่วย NCD ในหนว่ ยบริการ

ปฐมภมู ิ จังหวัดสพุ รรณบุรี ปี 2557

ทั้งหมด ผลงำน รอ้ ยละ

ที่ อำเภอ ศสม รพ.สต. รพ.สต. ศสม. รพ.สต. รพ.สต. ศสม รพ.สต. รพ.สต.
ขนาด ทั่วไป ขนาด ทัว่ ไป ขนาด ทวั่ ไป
1 เมอื งสุพรรณบรุ ี ใหญ่ ใหญ่ ใหญ่
2 เดิมบางนางบวช
3 ดา่ นชา้ ง 3 3 26 3 3 26 100 100 100
4 บางปลามา้
5 ศรปี ระจันต์ 1 19 1 19 100 100
6 ดอนเจดีย์
16 16 100

1 16 1 16 100 100

1 13 1 13 100 100

9 9 100

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 51

7 สองพีน่ ้อง 2 2 23 2 2 23 100 100 100
8 สามชุก 13 13 100
9 อทู่ อง 22 22 100
10 หนองหญ้าไซ 9 9 100

รวม 5 8 166 5 8 166 100 100 100
รวมท้ังสน้ิ 179 179 100

ปัญหำ อปุ สรรค
1. กลุม่ เปา้ หมายในพ้ืนท่ี ไม่คงท่ีโดยเฉพาะกลมุ่ เสี่ยงใชเ้ กณฑ์ตา่ งกนั
2. การดาเนินงานคัดกรอง และปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ คอ่ นข้างลา่ ชา้ เล็กน้อย
3. การปรับเปลย่ี นพฤติกรรมสุขภาพ เปน็ งานท่ีเหน็ ผลชา้ และไมค่ งท่ี (ข้ึนๆลงๆ)

5. ดำ้ นกำยภำพบำบัดในหนว่ ยบรกิ ำรปฐมภูมิ

กลุ่มเปำ้ หมำย

ฟ้ืนฟูสภาพผสู้ ูงอายุ ผ้พู กิ าร วยั ทางาน ทีม่ ภี าวะปวดคอ ไหลห่ ลัง เข่า

กำรจดั บริกำร

1. ประเมนิ สขุ ภาวะด้านการเคล่อื นไหวเบอ้ื งต้น

2. บรรเทา ฟ้ืนฟู สุขภาพ

3. ใหค้ าแนะนา

4. รับ – ส่งตอ่

5. ตดิ ตาม และรายงานผล

ตำรำงท่ี 9 จานวนและร้อยละของ ศสม. / รพ.สต.ขนาดใหญ่/รพ.สต.ท่ัวไป ที่จัดบริการด้านกายภาพบาบัด จังหวัด

สุพรรณบรุ ี ปี 2557

ทง้ั หมด ผลงำน รอ้ ยละ

ท่ี อำเภอ ศสม รพ.สต. รพ.สต. ศสม รพ.สต. รพ.สต. ศสม รพ.สต. รพ.สต.
ขนาดใหญ่ ทว่ั ไป ขนาดใหญ่ ท่ัวไป ขนาดใหญ่ ทวั่ ไป

1 เมอื งสุพรรณบรุ ี 3 3 26 0 1 26 0 33.33 100

2 เดิมบางนางบวช 1 19 0 19 0 100

3 ดา่ นชา้ ง 16 16 100

4 บางปลาม้า 1 16 0 16 0 100

5 ศรปี ระจนั ต์ 1 13 0 13 0 100

6 ดอนเจดีย์ 9 9 100

7 สองพนี่ ้อง 2 2 23 2 0 23 100 0 100

8 สามชกุ 13 13 100

9 อู่ทอง 22 22 100

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 52

10 หนองหญ้าไซ 9 9 100
รวม 5 8 166 2 1 166 40 12.5 100

รวมท้งั สนิ้ 179 169 94.41

ตำรำงท่ี 10 จานวนบคุ ลากรด้านเวชศาสตร์ฟน้ื ฟูในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของจังหวดั สพุ รรณบุรี

โรงพยำบำล รพ.สต.

อันดบั อำเภอ แพทยเ์ วช นักกำยภำพบำบัด นกั กจิ กรรมบำบดั นักกำยภำพบำบัด
ศำสตรฟ์ ้นื ฟู
1 (สระแก้ว)
1 เมอื ง 2 11 - -
-
2 เดมิ บางนางบวช - 3 - -
-
3 ด่านช้าง -2 - -
-
4 บางปลาม้า - 2 - -
-
5 ศรีประจันต์ - 2 - -
1
6 ดอนเจดยี ์ - 1 -

7 สองพี่น้อง 1 5 2

8 สามชุก -2 -

9 อูท่ อง -5 -

10 หนองหญ้าไซ - 1 -

รวม 3 34 2

กำรดำเนินงำน
1. รว่ มกันทางานในภาพเครอื ข่าย ระดบั อาเภอ / จงั หวัด
2. โรงพยาบาลแม่ขา่ ยใหบ้ รกิ ารโดยทีมสหวชิ าชพี
3. อบรมพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าทสี่ าธารณสขุ / อสม. / Care Giver
ปัญหำ อปุ สรรค
- ขาดแคลนบุคลากร / วัสดุอุปกรณ์

ผลกำรตรวจประเมนิ คณุ ภำพหน่วยบริกำรปฐมภมู ิ ตำมเกณฑ์ PCA

ปจั จบุ นั มี รพ.สต. / ศสม. ทผี่ ่านเกณฑ์มาตรฐาน PCA ขน้ั ท่ี 3 แล้ว จานวน 76 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 42.46 ทเี่ หลืออกี 103

แหง่ ผ่านเกณฑ์ PCA ขั้นท่ี 2 คิดเป็นรอ้ ยละ 57.54 ดงั ตาราง

ตำรำงท่ี 11 ผลการพัฒนาคณุ ภาพหน่วยบรกิ ารปฐมภมู ิ ตามมาตรฐาน PCA จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2557

ลำดบั อำเภอ ท้ังหมด จำนวน รพ.สต./ศสม. ร้อยละ
ที่ ผำ่ นเกณฑ์ ขั้นที่ 2 ผ่ำนเกณฑ์ ขัน้ ที่ 3

1. เมอื งสพุ รรณบรุ ี 29/3 19/3 10 31.25

2. เดมิ บางนางบวช 20 12 8 40.00

3. ด่านชา้ ง 16 10 6 37.50

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 53

4. บางปลามา้ 17 10 7 41.18
5. ศรปี ระจนั ต์ 14 8 6 42.86
6. ดอนเจดีย์ 9 3 6 66.67
7. สองพน่ี อ้ ง 25/2 17/2 8 29.63
8. สามชกุ 13 5 8 61.54
9. อู่ทอง 22 13 9 40.91
10. หนองหญ้าไซ 9 1 8 88.89
174/5 98/5 76 42.46
รวม

ผลกำรประกวดนวตั กรรมปฐมภมู ิดีเด่น จงั หวัดสพุ รรณบุรี ปี 2557 มดี งั นี้

รางวลั ชนะเลศิ ได้แก่

- รพ.สต.หนองมะคา่ โมง อ.ด่านชา้ ง เรื่อง ใกลบ้ า้ น ถึงตวั เคาะประตู ชูตะกรา้
รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั 1 ไดแ้ ก่
- รพ.สต.บ้านชา้ ง อ.สองพน่ี ้อง เร่ือง รูปแบบการดแู ลและจัดการแผลทีเ่ ทา้ ผ้ปู ว่ ยเบาหวานดว้ ยภูมปิ ญั ญาไทยและสมุนไพร

พืน้ นบา้ น
รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 มี 2 แหง่ ไดแ้ ก่
- รพ.สต.บ้านเขาทอก ต.พลับพลาไชย อ.อูท่ อง เรือ่ ง พระฉิมแผลงฤทธ์ิ
- รพ.สต.สนามคลี อ.เมอื งสพุ รรณบรุ ี เรือ่ ง กองทนุ วัณโรคสนามคลี มิตรทดี่ ีของผ้ปู ว่ ย
รางวัล ชมเชย ได้แก่
- รพ.สต.หนองโพธิ์ อ.หนองหญ้าไซ เร่อื ง หนึ่งดวงใจ (การดแู ลผปู้ ว่ ยโรคเบาหวานดว้ ยหวั ใจความเปน็ มนุษย)์
- รพ.สต.หนองสงั ขท์ อง อ.สามชุก เรอื่ ง GOOD HEALTH WELL COLORS "สุขภาพดสี ีบอกได"้
- รพ.สต.ไรร่ ถ อ.ดอนเจดยี ์ เร่ือง ส่อื รักสัมผสั หวั ใจ ใสใ่ จสตรตี รวจมะเร็งปากมดลกู
- รพ.สต.มดแดง อ.ศรปี ระจนั ต์ เร่อื ง รองเท้ามหัศจรรย์
- รพ.สต.บ้านดอนขาด อ.บางปลามา้ เรื่อง กระดาษนอ้ ยช่วยเตือนความจา
- รพ.สต.ปากนา้ อ.เดิมบางนางบวช เร่อื ง แขนโดเรมอน

ผลกำรสำรวจควำมพงึ พอใจของผูร้ ับบรกิ ำร ใน รพ.สต. / ศสม.

จากการสารวจความพงึ พอใจของผู้มารบั บรกิ ารท่ีหน่วยบรกิ ารปฐมภมู ทิ กุ แห่ง ของจังหวดั สพุ รรณบรุ ี ใน

ภาพรวม ปีงบประมาณ 2557 พบว่า ผูม้ ารับบริการ มีความพงึ พอใจ ร้อยละ 92.49 สงู กว่าเปา้ หมายทก่ี าหนดไว้ (ร้อยละ 87)

ดงั ตาราง

ตำรำงแสดง ผลการสารวจความพึงพอใจของผู้มารับบรกิ ารในหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิ จาแนกรายอาเภอ จังหวดั สุพรรณบรุ ี

ลำดบั ท่ี อำเภอ จำนวนผตู้ อบแบบสอบถำม ร้อยละ

1. เมือง 2,400 92.70

2. เดิมบางนางบวช 2,000 91.73

3. ด่านช้าง 1,600 92.99

4. บางปลามา้ 1,695 88.97

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 54

5. ศรปี ระจนั ต์ 1,399 90.77
6. ดอนเจดยี ์ 900 96.72
7. สองพ่นี ้อง 2,500 93.28
8. สามชกุ 1,300 93.66
9. อ่ทู อง 2,237 93.47
10. หนองหญ้าไซ 900 94.15
11. ศสม. (รพ.เจา้ พระยายมราช) 294 86.78
12. ศสม. (รพ.สมเด็จพระสังฆราช) 100 89.88
17,325 92.49
ภำพรวม

ประเด็นที่มคี วำมพึงพอใจนอ้ ยที่สดุ 3 อันดับแรก ได้แก่
1. ความสะอาดของหอ้ งนา้ (4.54)
2. มปี ้ายประชาสมั พันธง์ านตา่ ง ๆ ของหน่วยบรกิ ารปฐมภมู ิชดั เจน (4.50)
3. มปี ้ายบอกแผนกตา่ ง ๆ ชดั เจน (4.51)

ประเดน็ ทม่ี ีควำมพงึ พอใจมำกท่ีสดุ 3 อนั ดับแรก ได้แก่
1. ระดบั ความพงึ พอใจในการให้บริการของเจ้าหนา้ ที่ (4.69)
2. มกี ารใหบ้ ริการเปน็ ไปตามลาดบั กอ่ น - หลงั อย่างยุติธรรม (4.68)
3. ใหก้ ารต้อนรับดว้ ยอธั ยาศัยท่ีดี สภุ าพ ย้ิมแย้มแจม่ ใส และกระตอื รอื รน้ (4.66)
4.เจา้ หน้าทม่ี คี วามรู้ ความสามารถ และเชยี่ วชาญ (4.66)
5.มคี วามปลอดภยั ภายในสถานบริการ (4.66)
6.คาแนะนาการใช้ยาจากเจ้าหน้าท่ี (4.66)

กำรพัฒนำคุณภำพบริกำรโรงพยำบำลตำมมำตรฐำน HA / HPH จงั หวัดสพุ รรณบุรี

จงั หวดั สพุ รรณบุรี มโี รงพยาบาลผา่ นการรบั รองคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน HA จานวน 5 แห่ง ไดแ้ ก่ โรงพยาบาล

เจ้าพระยายมราช, โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17, โรงพยาบาลอู่ทอง, โรงพยาบาลสามชุก และโรงพยาบาล ศรี

ประจันต์ ดงั ตารางท่ี 1

ตำรำงท่ี 1 สถานการณ์การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล จังหวัดสุพรรณบุรี ณ กันยายน 2557

ลำดบั โรงพยำบำล ข้นั 2 HA วดป.หมดอำยุ HPH
ท่ี ขน้ั 3

1. เจา้ พระยายมราช 26 ก.ย.54 (Re–ac1) 25 ก.ย.57 26 ก.ย.54

2. สมเดจ็ พระสงั ฆราช องคท์ ่ี 17 29 พ.ย.56 (Re–ac1) 28 พ.ย.59 29 พ.ย.56

3. อู่ทอง 17 พ.ค.56 (Re–ac1) 16 พ.ค.59 17 พ.ค.56

4. สามชุก 22 มี.ค.56 (Ac) 21 มี.ค.58 22 มี.ค.56

5. ศรปี ระจันต์ 27 ก.ย.56 (Ac) 26 ก.ย.58 27 ก.ย.56

6. เดิมบางนางบวช 10 ม.ิ ย.57 9 ม.ิ ย.58 8 ก.ค.57

7. ดา่ นช้าง 10 มิ.ย.57 9 มิ.ย.58 30 ก.ย.53

8. บางปลามา้ 10 มิ.ย.57 9 มิ.ย.58 10 ก.ค.57

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 55

9. ดอนเจดยี ์ 10 มิ.ย.57 9 ม.ิ ย.58 4 ก.ค.57
10. หนองหญา้ ไซ 10 ม.ิ ย.57 9 มิ.ย.58 2 ก.ค.57

รวม 5 5 10

ปัญหำพน้ื ท่ีเชิงคณุ ภำพ (สำเหตุ / ปจั จัยทเี่ กยี่ วข้อง)
- นโยบายผู้บริหาร

ข้อมลู หรือปัญหำของกระบวนกำรทำงำน
- เจ้าหนา้ มีภาระงานมาก
- โรงพยาบาลสว่ นใหญไ่ ม่มศี นู ยค์ ณุ ภาพ หรอื ผูร้ บั ผิดชอบงานพัฒนาคุณภาพโดยตรง

สรุปปญั หำท่ีสำคญั
- โรงพยาบาลบางแหง่ ขาดทมี นาคณุ ภาพทเี่ ข้มแขง็
- เจา้ หน้าทม่ี ภี าระงานมาก
- โรงพยาบาลสว่ นใหญไ่ มม่ ีศนู ยค์ ณุ ภาพ หรือผูร้ บั ผดิ ชอบงานพฒั นาคุณภาพโดยตรง

กำรบริหำรจัดกำร
จดั ทำโครงกำรพัฒนำคณุ ภำพโรงพยำบำล ตำมมำตรฐำน HA, HPH เครอื ข่ำยจงั หวดั สพุ รรณบุรี ปี 2557

เป้ำประสงค์ (ผลลพั ธท์ ต่ี ้องกำร)
1. ประชาชนไดร้ ับบรกิ ารทมี่ คี ณุ ภาพ ไดม้ าตรฐาน
2. ผ้มู ารบั บรกิ ารมีความพึงพอใจ
3. ลดระยะเวลาการรอคอย

ตวั ชี้วัดและเป้ำหมำย
1. โรงพยาบาลผา่ นการรบั รองคณุ ภาพตามมาตรฐาน HA รอ้ ยละ 70
2. โรงพยาบาลผ่านการรับรองคณุ ภาพตามมาตรฐาน HA ร้อยละ 100
3. ผู้มารับบริการมีความพึงพอใจ รอ้ ยละ 87
4. ร้อยละของระยะเวลาการรอคอยเฉล่ียของผมู้ ารบั บริการทแี่ ผนกผู้ป่วยนอก, รพศ., รพท., รพช., ลดลงจากปี
2556 รอ้ ยละ ๑๐
5. โรงพยาบาล 5 แหง่ ไดแ้ ก่ เดิมบางนางบวช, ด่านชา้ ง, บางปลามา้ , ดอนเจดีย์ และหนองหญา้ ไซ ผา่ นการ Re-

accredit HPH รอ้ ยละ 100

กลยทุ ธ์
สง่ เสริมและสนับสนนุ ใหโ้ รงพยาบาลทุกแห่งมกี ารพัฒนาคณุ ภาพบริการ ตามมาตรฐานท่ีกาหนด

มำตรกำร
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลทกุ แหง่ ตามมาตรฐาน HA, HPHNQC

โครงกำรพัฒนำคณุ ภำพโรงพยำบำลตำมมำตรฐำน HA, HPHNQC เครอื ข่ำยจงั หวัดสุพรรณบุรี ปี 2557
กิจกรรมระดับจังหวัด
1. จดั ประชมุ คณะกรรมการพัฒนาคณุ ภาพโรงพยาบาลทุก 2 เดือน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 56

2. ทบทวนวเิ คราะหแ์ ละจดั ทาแผนพฒั นาคณุ ภาพโรงพยาบาล
3. จดั อบรมพฒั นาศักยภาพทมี พ่เี ลยี้ งสง่ เสรมิ การพฒั นาคณุ ภาพโรงพยาบาลในเครือขา่ ย 10 คน
4. จัดเวที Spa In Action การพฒั นาคุณภาพโรงพยาบาลตามมาตรฐาน HA จานวน 200 คน
5. จัดเวทแี ลกเปล่ยี นเรียนรกู้ ารพฒั นาคุณภาพโรงพยาบาลในเครอื ขา่ ย ดว้ ยระบบพีเ่ ล้ียง QLN จานวน 150 คน
6. ทีมพ่เี ล้ียงและคณะกรรมการพฒั นาคุณภาพโรงพยาบาล ลงเยยี่ มสารวจโรงพยาบาล 4 แหง่ ได้แก่ โรงพยาบาลด่าน
ชา้ ง, โรงพยาบาลดอนเจดยี ,์ โรงพยาบาลบางปลามา้ และโรงพยาบาลหนองหญ้าไซ
7. โรงพยาบาลขอรบั การตรวจประเมนิ HPH 5 แห่ง (๓-๑๐ กรกฏาคม ๒๕๕๗)
8. โรงพยาบาลขอรับการตรวจประเมิน HA 2 แหง่ (ได้แก่ รพ.ดา่ นช้าง และ รพ.ดอนเจดยี )์
9. จัดประกวดนวตั กรรม / CQI ของหน่วยงานในโรงพยาบาลทกุ แหง่
10. สารวจความพึงพอใจของผูร้ บั บรกิ าร ปีละ ๑ ครัง้ เดอื นสงิ หาคม ๒๕๕๗
11. สรปุ ผลการดาเนนิ งาน/เสนอผู้บรหิ าร

กจิ กรรมระดับอำเภอ
1. โรงพยาบาลทุกแหง่ มีการจดั ทาแผนพัฒนาคณุ ภาพบรกิ าร ตามบริบทของแต่ละโรงพยาบาล
2. โรงพยาบาลทุกแห่งจัดใหม้ ีเวทแี ลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ่วมกนั ภายในหนว่ ยงานและระหว่างหน่วยงาน
3. โรงพยาบาลสามารถนาหลักการ SPA in Action ไปสู่การปฏิบตั ิ และร่วมกิจกรรมโครงการ SPA in Action เพอ่ื

ธารง HA ขนั้ 2
4. โรงพยาบาลรว่ มจัดกจิ กรรมการพัฒนาคุณภาพสถานบรกิ ารด้วยระบบพ่ีเล้ียง (Quality Learning Network)

ระหวา่ งหน่วยงานในโรงพยาบาล
5. โรงพยาบาลมกี ารพัฒนาคณุ ภาพอย่างต่อเนือ่ งเพ่อื รับการตรวจเยย่ี ม และรบั การรับรองคณุ ภาพ

ผลกำรสำรวจควำมพงึ พอใจของผู้มำรับบรกิ ำรในโรงพยำบำล

ที่แผนกผู้ปว่ ยนอก
จากการสารวจความพึงพอใจของผ้มู ารบั บรกิ ารในโรงพยาบาล ท่ีแผนกผู้ป่วยนอก จังหวดั สพุ รรณบรุ ี

ปีงบประมาณ 2557 พบว่า ผมู้ ารบั บริการ มคี วามพงึ พอใจ ร้อยละ 83.10 ตา่ กว่าเปา้ หมายท่ีกาหนดไวเ้ ลก็ นอ้ ย (รอ้ ยละ 87)
ดงั ตารางที่ 2

ตำรำงที่ 2 ผลการสารวจความพึงพอใจของผมู้ ารับบริการในโรงพยาบาล ที่แผนกผูป้ ว่ ยนอก จังหวัดสพุ รรณบรุ ี

ลำดับที่ โรงพยำบำล จำนวนผตู้ อบแบบสอบถำม รอ้ ยละของควำมพึงพอใจ

1. เจ้าพระยายมราช 200 86.21

2. สมเดจ็ พระสังฆราชองคท์ ่1ี 7 194 74.67

3. เดิมบางนางบวช 315 83.83

4. ดา่ นชา้ ง 200 77.92

5. บางปลามา้ 287 82.28

6. ศรปี ระจันต์ 275 84.35

7. ดอนเจดยี ์ 200 77.62

8. สามชกุ 200 87.82

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 57

9. อทู่ อง 200 82.00

10. หนองหญ้าไซ 200 89.62

รวม 2,271 83.10

ประเด็นที่มคี วำมพึงพอใจนอ้ ยที่สุด 3 อันดบั แรก ได้แก่

1. ระยะเวลาในการรอรับบรกิ าร (รอ้ ยละ 3.75)

2. ระยะเวลาทไี่ ดร้ บั การตรวจจากแพทย์ (รอ้ ยละ 3.92)

3. ความรวดเรว็ ในการใหบ้ รกิ าร (ร้อยละ 3.95)

ประเด็นทม่ี ีควำมพึงพอใจมำกที่สุด 3 อนั ดบั แรก ได้แก่

1. ความซื่อสัตยส์ จุ ริตในการปฏบิ ตั หิ น้าท่ี เชน่ ไม่ขอส่ิงตอบแทน ไมร่ บั สนิ บน ไมห่ าประโยชน์ในทางมชิ อบ (ร้อย

ละ 4.44)

2. ความเหมาะสมในการแตง่ กาย บคุ ลกิ ลักษณะทา่ ทาง ของผูใ้ หบ้ ริการ (รอ้ ยละ 4.39)

3. การใหบ้ ริการเหมือนกันทกุ รายโดยไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ (ร้อยละ 4.30)

ที่แผนกผปู้ ว่ ยใน

จากการสารวจความพึงพอใจของผู้มารับบริการในโรงพยาบาล ท่ีแผนกผูป้ ่วยใน จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ

๒๕๕๗ พบว่า ผมู้ ารบั บริการ มคี วามพงึ พอใจ รอ้ ยละ 85.67 ต่ากวา่ เปา้ หมายทีก่ าหนดไวเ้ ลก็ น้อย (รอ้ ยละ 87) ดงั ตารางที่ 3

ตำรำงท่ี 3 ผลการสารวจความพงึ พอใจของผู้มารับบรกิ ารในโรงพยาบาล ท่แี ผนกผูป้ ว่ ยใน จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ ๒๕๕๗

ลำดบั ท่ี โรงพยำบำล จำนวนผ้ตู อบแบบสอบถำม ร้อยละของควำมพึงพอใจ

1. เจา้ พระยายมราช 100 90.06

2. สมเดจ็ พระสงั ฆราชองค์ท่ี17 178 84.00

3. เดิมบางนางบวช 120 89.62

4. ด่านช้าง 172 84.54

5. บางปลาม้า 197 86.61

6. ศรีประจันต์ 160 84.71

7. ดอนเจดยี ์ 100 84.28

8. สามชกุ 100 85.17

9. อทู่ อง 100 90.91

10. หนองหญา้ ไซ 100 87.19

รวม 1,328 85.67

ประเดน็ ทม่ี ีควำมพงึ พอใจน้อยท่สี ุด 3 อันดับแรก ได้แก่
1. คาแนะนาเกย่ี วกบั ระเบยี บของหอผู้ปว่ ย (รอ้ ยะ 3.93)
2. ความเพยี งพอของสถานทจี่ อดรถสาหรับญาตแิ ละคนไข้ (ร้อยละ 4.01)
3. ความสะอาดของห้องนา้ (รอ้ ยละ 4.11)

ประเดน็ ท่ีมีควำมพึงพอใจมำกท่สี ุด 3 อันดบั แรก ได้แก่
1. กิริยามารยาท และการดแู ลเอาใจใส่ จากเจ้าหนา้ ท/ี่ พยาบาล (รอ้ ยละ 4.53)
2. กริ ิยามารยาท และการดแู ลเอาใจใส่ จากแพทย์ (ร้อยละ 4.51)
3. คาแนะนาเก่ียวกับอาการเจบ็ ป่วย และการปฏิบตั ติ วั จากเจ้าหนา้ ท/ี่ พยาบาล (ร้อยละ 4.46)

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 58

กำรพฒั นำระบบบรกิ ำรห้องปฏิบัติกำรชนั สูตรสำธำรณสุข
จังหวัดสุพรรณบุรี มีโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จานวน ๑๐ แห่ง เป็นโรงพยาบาลศูนย์ (A)
จานวน ๑ แห่ง โรงพยาบาลทั่วไประดับ (M1) จานวน ๑ แห่ง โรงพยาบาลชุมชนแม่ข่าย (M2) จานวน ๑ แห่ง โรงพยาบาล
ชุมชนขนาดใหญ่ ถึง กลาง (F1 -F2) จานวน ๗ แห่ง และมีหน่วยบริการปฐมภูมิ จานวน ๑๗๙ แห่ง โรงพยาบาลเอกชนและ
ห้องปฏบิ ัติการของเอกชน จานวน ๕ และ ๙ แห่ง ตามลาดับ การดาเนินการพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการชันสูตรให้เกิดการ
เช่ือมโยงในทุกระดับได้เริ่มดาเนินการในปี ๒๕๕๕ เป็นปีแรก มีกลยุทธการดาเนินการโดยสานักงานสาธารณสุขจังหวัดเป็นผู้
ประสานงานหลักในระดับจังหวัดให้สถานบริการทุกระดับมีกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพรวมตามแผนพัฒนาระบบบริการ
สุขภาพโรงพยาบาลทุกแห่งต้องเข้ามามีบทบาทเป็นผู้ให้การสนับสนุนด้านวิชาการแก่หน่ วยบริการปฐมภูมิเพ่ือให้สามารถ
ดาเนินการได้อย่างมีคุณภาพสานักงานสาธารณสุขจังหวัดร่วมกับโรงพยาบาลแม่ข่ายพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรในหน่วย
บริการปฐมภูมิทุกแห่งเรื่องการพัฒนาคุณภาพงานชันสูตรในหน่วยบริการปฐมภูมิผลการดาเนินงานท่ีผ่านมาในปี ๒๕๕๕ -
๒๕๕๗ มีหน่วยบริการปฐมภูมิเข้ารับการพัฒนาท้ังหมด ๑๗๙ แห่ง (ร้อยละ๑๐๐) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ฯ ได้จัดส่ง
ตวั อยา่ งเพอื่ ทดสอบ ประเมนิ คณุ ภาพงานชันสูตรสง่ ใหห้ น่วยบริการปฐมภมู ิ จานวน ๑๓๖ แห่ง พบวา่ ผลการประเมินคณุ ภาพ
ออกนอกชว่ งท่ียอมรับได้สูงสุด คือ การหาปริมาณเม็ดเลือดแดงอัดแน่น (จานวน ๕ แหง่ ) รองลงมาเป็น การหาระดบั น้าตาล
ในเลือด (จานวน ๓ แห่ง) จึงเห็นควรนามาเป็นประเด็นในการพัฒนาให้ดีขึ้น ผลการตรวจติดตามภายในการพัฒนาคุณภาพ
งานห้องปฏิบัติการชันสูตรในหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามเกณฑ์มาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ผลการตรวจประเมินผ่าเกณฑ์
๘๖ แห่งคดิ เป็นร้อยละ ๔๘.๐๕ ซ่งึ ต้องดาเนินการพัฒนาต่อไป สาหรบั เร่อื งการพฒั นาคุณภาพห้องปฏิบัติการในสถานบรกิ าร
ระดับทุติยภูมิและตติยภมู ิ ในปี ๒๕๕๗ พบวา่ มรี พ.ทผ่ี ่าน LA เพมิ่ ขน้ึ จานวน ๓ แห่ง สาหรับการพฒั นาคุณภาพระบบบริการ
ห้องปฏบิ ตั กิ ารชันสูตร ปี ๒๕๕๗ กระทรวงสาธารณสขุ ให้ความสาคญั ในเร่อื งการบรหิ ารจัดการเพือ่ เพิ่มประสิทธิภาพลดต้นทนุ
โดยให้คานึงถึงความคุ้มคา่ และไม่ซา้ ซอ้ น

ปัจจัยสำคัญทท่ี ำใหก้ ำรดำเนนิ งำนสำเรจ็

1. รพ.แม่ขา่ ยเข้มแข็ง ผ่านการอบรม และมีประสบการณด์ า้ นระบบมาตรฐาน/คณุ ภาพ สามารถให้การสนบั สนนุ

ดา้ นวิชาการแกล่ ูกขา่ ยเป็นอยา่ งดี

2. มีการประชุมเพอ่ื การประสานงานภายในเครือข่ายทกุ เดือน

3. งานพัฒนาคณุ ภาพบรกิ าร สสจ.สุพรรณบรุ ี ให้ความสาคญั ชว่ ยผลักดัน จดั สรรงบประมาณประสานงาน

สนบั สนนุ ใหน้ ักเทคนิคการแพทยท์ มี่ าชว่ ยราชการเป็นผู้รบั ผิดชอบ แผนงาน โครงการพัฒนาคณุ ภาพห้องปฏิบตั กิ ารชันสูตร

โดยให้ความชว่ ยเหลอื จดั วางระบบ/ติดตามงานอยา่ งตอ่ เน่ือง

ปจั จยั สำคัญท่ที ำใหก้ ำรดำเนนิ งำนไมบ่ รรลเุ ปำ้ หมำย

ปญั หำ/อปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะทใี่ หต้ ่อหน่วยรบั ตรวจ

ดา้ นพฒั นาคุณภาพ

๑.ภาระงานประจาของหอ้ งปฏิบตั กิ ารมมี ากเกอื บทกุ แหง่ ๑. จัดหาบคุ ลากรเพ่ิมใหส้ อดคลอ้ งกับภาระงาน

ดา้ นงบประมาณ

๒.ยงั ไม่ไดร้ ับการสนบั สนุนครภุ ัณฑ/์ เคร่ืองมือพื้นฐานท่จี าเปน็ เช่น ๒. จัดทาแผนใหช้ ัดเจน จดั หาโดยงบประมาณอื่น เช่น

Biosafty Cabinet Class II, Serofuge , Deep เงนิ บรจิ าค

Freezer , ตูเ้ ก็บเกลด็ เลือด เปน็ ตน้

ดา้ นบริการ

๓. ระบบการสง่ ตอ่ ส่ิงสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการไมไ่ ด้รบั ความ ๓. จา้ งเหมาเจา้ หนา้ ท่ีจดั เก็บสงิ่ สง่ ตรวจเป็นการ

สะดวก เน่ืองจากหนว่ ยบรกิ ารตง้ั อยใู่ นสภาพภมู ศิ าสตร์ที่ เฉพาะ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 59

หา่ งไกลกัน

๔. ระบบสารสนเทศไม่สามารถตอบสนองความต้องการในใช้งาน ๔. นาเสนอความตอ้ งการใหผ้ ้บู รหิ าร และผูเ้ ก่ยี วข้อง

ไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ รับทราบ

ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบำย
1. ควรมกี ารสนบั สนนุ งบประมาณในการพัฒนาคุณภาพงานทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ในรพ.สต
2. ควรมกี ารสนบั สนนุ การรวมศนู ย์เพื่อเปิดบรกิ ารรายการตรวจทต่ี ้องส่งออก เพื่อประหยดั ค่าใช้จา่ ย

นวัตกรรมท่ีสำมำรถเป็นแบบอยำ่ ง
พัฒนาแนวทางการลดค่าใช้จ่ายในการจัดซ้ือวสั ดุวทิ ยาศาสตรโ์ ดยการจัดซ้ือรว่ มระดับจงั หวัด

ตำรำงท่ี ๑ ผลการดาเนินงาน ตามตัวชวี้ ัด รายอาเภอ จังหวัดสุพรรณบุรี ปี ๒๕๕๗

ตวั ช้วี ัด เกณฑ์ ลาดับ โรงพยาบาล เปา้ หมาย ผลงาน รอ้ ยละ

๑.รอ้ ยละของ รอ้ ยละ ๑๐๐ ๑. เจา้ พระยายมราช ๑ ๑ ๑๐๐
หอ้ งปฏบิ ตั ิการ ๒. สมเดจ็ ฯ ๑ ๑ ๑๐๐
ชนั สตู รใน รพ. มี ๓. เดมิ บางนางบวช ๑ ๑ ๑๐๐
การพฒั นา ๔. ดา่ นชา้ ง ๑ ๑ ๑๐๐
คุณภาพอยา่ ง ๕. บางปลามา้ ๑ ๑ ๑๐๐
ตอ่ เนื่อง ๖. ศรีประจนั ต์ ๑ ๑ ๑๐๐
๗. ดอนเจดีย์ ๑ ๑ ๑๐๐
๘. สามชุก ๑ ๑ ๑๐๐
๙. อทู่ อง ๑ ๑ ๑๐๐
๑๐. หนองหญา้ ไซ ๑ ๑ ๑๐๐
๑๐๐
รวม ๑๐ ๑๐

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 60

ตำรำงท่ี ๑ ผลการดาเนินงาน ตามตวั ชว้ี ดั รายอาเภอ จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี ๒๕๕๗ ต่อ

ตัวชว้ี ดั เกณฑ์ ลา โรงพยาบาล เปา้ หมาย ผลงาน รอ้ ยละ
ดบั ๑๐๐
๑๐๐
๒. ร้อยละของ รอ้ ยละ ๑๐๐ ๐
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ๑๐๐
ชนั สูตรใน รพ. ๑. เจา้ พระยายมราช สธ. ผา่ นเกณฑ์ ๑๐๐
ผา่ นเกณฑ์ ๒. สมเด็จ ฯ LA/สธ. ผา่ นรับรอง
มาตรฐาน สภา ๓. เดมิ บางนางบวช LA/สธ. ไม่ผา่ นเกณฑ์
เทคนิคการแพทย์ ๔. ด่านชา้ ง LA/สธ. ผ่านเกณฑ์
(LA )หรือ ผ่าน ๕. บางปลาม้า LA/สธ. ผ่านรับรอง
เกณฑม์ าตรฐาน
งาน
ห้องปฏบิ ตั ิการ
ทางการแพทย์
กระทรวง
สาธารณสุข(สส.)

๖. ศรีประจันต์ LA/สธ. ผ่านรบั รอง ๑๐๐

๗. ดอนเจดีย์ LA/สธ. ผ่านรับรอง ๑๐๐

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 61

๘. สามชกุ สธ. ผ่านเกณฑ์ ๑๐๐
๙. อู่ทอง
๑๐. หนองหญา้ ไซ สธ. ผ่านเกณฑ์ ๑๐๐
รวม
LA/สธ. ผา่ นรับรอง ๑๐๐

๑๐ ๙ ๙๐

ตำรำงที่ ๑ ผลการดาเนนิ งาน ตามตวั ชวี้ ดั รายอาเภอ จังหวัดสุพรรณบุรี ปี ๒๕๕๗ ตอ่

ตัวช้วี ดั เกณฑ์ ลา อาเภอ เป้าหมาย ผลงาน รอ้ ยละ
ดับ
๒๙/๓ ๑๐๐/๑๐๐
๓.ร้อยละของ รอ้ ยละ ๑๐๐ ๑. เมอื งสุพรรณบรุ ี ๒๙/๓ ๒๐/- ๑๐๐/-
หอ้ งปฏิบตั ิการ ๒. เดมิ บางนางบวช ๒๐/- ๑๖/- ๑๐๐/-
ชนั สตู รใน รพ. ๓. ดา่ นชา้ ง ๑๖/- ๑๗/- ๑๐๐/-
สต./ศสม. มกี าร ๔. บางปลาม้า ๑๗/- ๑๔/- ๑๐๐/-
พัฒนาคณุ ภาพ ๕. ศรีประจนั ต์ ๑๔/- ๙/- ๑๐๐/-
อยา่ งต่อเนอื่ ง ๖. ดอนเจดีย์ ๙/- ๒๕/๒
๗. สองพีน่ อ้ ง ๒๕/๒ ๑๓/- ๑๐๐/๑๐๐
๑๓/- ๒๒/- ๑๐๐/-
๘. สามชุก ๒๒/- ๙/- ๑๐๐/-
๙/- ๑๗๔/๕ ๑๐๐/-
๙. อ่ทู อง ๑๗๔/๕
๑๐. หนองหญ้าไซ ๔/๒ ๑๐๐/๑๐๐
รวม ๒๙/๓ ๕
๒๐/- ๑๖ ๑๓.๗/๖๖.๗
๔. ร้อยละของ ร้อยละ ๑๐๐ ๑. เมืองสุพรรณบรุ ี ๑๖/- ๒๕
ห้องปฏิบัตกิ าร ๑๐๐
ชันสตู รใน รพ.สต./ ๒. เดิมบางนางบวช
ศสม. ผา่ นเกณฑ์ ๓. ดา่ นช้าง Page 62

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗

๔. บางปลามา้ ๑๗/- ๓ ๔๘.๐๘
๕. ศรปี ระจันต์
๖. ดอนเจดีย์ ๑๔/- ๑๔ ๑๐๐
๗. สองพีน่ ้อง
๘. สามชกุ ๙/- ๙ ๑๐๐
๙. อูท่ อง
๑๐. หนองหญ้าไซ ๒๕/๒ ๙/๑ ๓๖/๕๐
รวม
๑๓/- ๑๓ ๑๐๐

๒๒/- ๕ ๒๒.๗๓

๙/- ๕ ๕๕.๕๖
๑๗๔/๕ ๘๓/๓ ๔๗.๗/๖๐.๐

กำรพฒั นำระบบบริกำรห้องปฏิบัติกำรรงั สวี ินิจฉยั โรงพยำบำล
จังหวัดสุพรรณบุรี มีโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จานวน ๑๐ แห่ง เป็นโรงพยาบาลศูนย์ (A)
จานวน ๑ แห่ง โรงพยาบาลท่ัวไประดับ (M1) จานวน ๑ แห่ง โรงพยาบาลชุมชนแม่ข่าย (M2) จานวน ๑ แห่ง โรงพยาบาล
ชุมชนขนาดใหญ่ ถึง กลาง (F1 -F2) จานวน ๗ แห่ง ดาเนินการพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัยให้เกิดการเชื่อมโยงใน
ทกุ ระดบั ได้เร่ิมดาเนินการในปี ๒๕๕๖ เปน็ ปแี รก มีกลยุทธการดาเนินการโดยสานักงานสาธารณสุขจังหวดั เปน็ ผู้ประสานงานหลัก
ในระดับจังหวัดใหส้ ถานบริการทุกระดับมีกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพรวมตามแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพโรงพยาบาลทุกแห่ง
ต้องเข้ามามีบทบาทเป็นผู้ให้การสนับสนุนด้านวิชาการซ่ึงกันและกันเพ่ือให้สามารถดาเนินการได้อย่างมีคุณภาพปัจจุบัน
หอ้ งปฏิบตั ิการรังสีวินจิ ฉัย เครือข่ายจังหวดั สุพรรณบุรี มกี ารพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ / แนวทางการพัฒนางานรังสีวินจิ ฉัย ของ
สานักรังสีและเคร่ืองมือแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข โดยผลการประเมินในรอบปีท่ีผ่านมา พบว่า มีโรงพยาบาลอยู่ในระดับดีเด่น
และผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จานวน ๕ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช, โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ท่ี ๑๗,
โรงพยาบาลบางปลาม้า, โรงพยาบาลดอนเจดีย์ และโรงพยาบาลสามชุก อยู่ในระดับดี จานวน ๕ แห่ง ได้แก่ , โรงพยาบาลอู่ทอง,
โรงพยาบาลด่านช้างโรงพยาบาลศรีประจันต์ , โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช และ โรงพยาบาลหนองหญ้าไซ ดังนั้น เพ่ือให้
ห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย เครือข่ายจังหวัดสุพรรณบุรี มีการพัฒนาคุณภาพบริการอย่างมีประสิทธิภาพ มีความต่อเน่ืองในภาพ
เครือข่าย ตามแนวคิดและทิศทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
สพุ รรณบรุ ีจึงได้จดั ทาโครงการพัฒนาคณุ ภาพห้องปฏิบตั กิ ารรังสีวนิ จิ ฉยั เครอื ข่ายจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี ๒๕๕๗ ขน้ึ
ปัจจัยสำคัญที่ทำใหก้ ำรดำเนนิ งำนสำเร็จ
1. รพ.แม่ข่ายเขม้ แขง็ ผา่ นการอบรม และมปี ระสบการณด์ ้านระบบมาตรฐาน/คณุ ภาพ สามารถให้การสนบั สนุน
ด้านวชิ าการแก่ลกู ข่ายเป็นอย่างดี
2. มกี ารประชมุ เพ่ือการประสานงานภายในเครอื ข่ายทุก ๓ เดอื น
3. งานพัฒนาคุณภาพบรกิ าร สสจ.สุพรรณบุรี ให้ความสาคญั ช่วยผลักดนั จัดสรรงบประมาณประสานงานสนับสนุน
ใหน้ กั เทคนิคการแพทยท์ ีม่ าช่วยราชการใหค้ วามชว่ ยเหลือจดั วางระบบ/ติดตามงานอยา่ งตอ่ เนื่อง

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 63

ปัจจัยสำคญั ทท่ี ำใหก้ ำรดำเนนิ งำนไม่บรรลุเป้ำหมำย

ปัญหำ/อปุ สรรค ข้อเสนอแนะที่ใหต้ ่อหน่วยรบั ตรวจ

ดา้ นพฒั นาคุณภาพ

๑.ภาระงานประจาของห้องปฏิบตั กิ ารรงั สีวนิ จิ ฉัยมมี ากทกุ แหง่ ๑. จัดหาบคุ ลากรเพ่ิมใหส้ อดคล้องกับภาระงาน

ดา้ นงบประมาณ

๒. ยังไมไ่ ดร้ บั การสนับสนุนเคร่อื งมอื พ้นื ฐานท่ีจาเปน็ เช่น Mobile ๒. จดั ทาแผนใหช้ ดั เจน จดั หาโดยงบประมาณอ่ืน เชน่

X-Ray Unit เงินบรจิ าค

ด้านบริการ

๓. ระบบสารสนเทศ ยงั ไมส่ ามารถตอบสนองความตอ้ งการในใช้งาน ๓. นาเสนอความตอ้ งการใหผ้ บู้ ริหารและผเู้ กยี่ วข้องรับทราบ

ได้อยา่ งสมบรู ณ์

ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบำย
1. ควรมกี ารสนับสนุนงบประมาณในการพฒั นาคุณภาพงานทางห้องปฏบิ ัตกิ ารรังสวี นิ จิ ฉยั
2. พัฒนาแนวทางการลดคา่ ใช้จา่ ยในการจัดซอื้ วสั ดงุ านรังสโี ดยการจดั ซอื้ รว่ มระดบั จังหวัด

นวัตกรรมทีส่ ำมำรถเป็นแบบอยำ่ ง
จดั ทาแนวทางการใช้ระบบ IT เขา้ มาช่วยงานบริการเพื่อลดคา่ ใชจ้ า่ ย และความสะดวกในงานบรกิ ารงานรังสี

วินจิ ฉยั
ตำรำงที่ ๑ ผลการดาเนินงาน ตามตวั ช้วี ดั รายอาเภอ จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี ๒๕๕๗

ตวั ช้ีวัด เกณฑ์ ลา โรงพยาบาล เป้าหมาย ผลงาน รอ้ ยละ
ดบั

๑.รอ้ ยละของ รอ้ ยละ ๑๐๐ ๑. เจ้าพระยายมราช ๑ ๑ ๑๐๐
หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ๒. สมเดจ็ ฯ ๑ ๑ ๑๐๐
รังสวี นิ ิจฉยั ใน รพ. ๓. เดมิ บางนางบวช ๑ ๑ ๑๐๐
มกี ารพัฒนา ๔. ด่านช้าง ๑ ๑ ๑๐๐
คณุ ภาพอยา่ ง ๑๐๐
๑๐๐
ต่อเนอื่ ง ๕. บางปลาม้า ๑๑ ๑๐๐
๑๐๐
๖. ศรปี ระจันต์ ๑๑ ๑๐๐
๑๐๐
๗. ดอนเจดีย์ ๑๑ ๑๐๐

๘. สามชุก ๑๑ ๑๐๐

๙. อู่ทอง ๑๑

๑๐. หนองหญา้ ไซ ๑๑

รวม ๑๐ ๑๐

๒. ร้อยละของ ร้อยละ ๑๐๐ ๑. เจา้ พระยายมราช ๑ ๑

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 64

หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ๒. สมเด็จ ฯ ๑๑ ๑๐๐
รงั สีวินิจฉยั ใน รพ. ๐
ผ่านการรบั รอง ๓. เดิมบางนางบวช ๑ ๐ ๐
๑๐๐
๔. ด่านชา้ ง ๑๐ ๐
๑๐๐
๕. บางปลามา้ ๑๑ ๑๐๐

๖. ศรปี ระจันต์ ๑๐ ๐
๕๐
๗. ดอนเจดยี ์ ๑๑

๘. สามชุก ๑๑

๙. อู่ทอง ๑๐

๑๐. หนองหญา้ ไซ ๑๐

รวม ๑๐ ๕

กำรรักษำมำตรฐำนระยะเวลำกำรให้บรกิ ำรแผนกผปู้ ่วยนอก จังหวดั สพุ รรณบุรี

จังหวัดสุพรรณบรุ ี มีโรงพยาบาลทงั้ หมด 10 แห่ง ได้แก่

1. โรงพยาบาลศนู ยเ์ จา้ พระยายมราช (โรงพยาบาลศนู ย์ ระดับ A)

2. โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 (โรงพยาบาลท่วั ไปขนาดเลก็ ระดบั M1)

3. โรงพยาบาลอทู่ อง (โรงพยาบาลชุมชนแม่ข่าย ระดบั M2)

4. โรงพยาบาลดา่ นช้าง (โรงพยาบาลชมุ ชนขนาดใหญ่ ระดบั F1)

5. โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช (โรงพยาบาลชุมชน ระดับ F2)

6. โรงพยาบาลบางปลามา้ (โรงพยาบาลชุมชน ระดับ F2)

7. โรงพยาบาลศรีประจนั ต์ (โรงพยาบาลชมุ ชน ระดบั F2)

8. โรงพยาบาลดอนเจดีย์ (โรงพยาบาลชมุ ชน ระดับ F2)

9.โรงพยาบาลสามชุก (โรงพยาบาลชมุ ชน ระดบั F2)

10.โรงพยาบาลหนองหญา้ ไซ (โรงพยาบาลชมุ ชน ระดบั F2)

ตำรำงท่ี 1 ระยะเวลารอคอยในการรบั บรกิ ารสขุ ภาพแผนกผู้ปว่ ยนอก โรงพยาบาลในจังหวดั สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2555 -

2557

ระยะเวลารอคอยเฉล่ยี ระยะเวลารอคอย

ลาดบั ที่ โรงพยาบาล แผนกผปู้ ่วยนอก (นาที ) ลดลง (เปา้ หมายปี
2555 2556 2557 57 ลดลงจากปี 55

รอ้ ยละ25)

1. เจ้าพระยายมราช 78 86 87.71 เพิ่มขนึ้ 12.45

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 65

2. สมเดจ็ พระสงั ฆราช องค์ที่ 17 73.54 72.17 108 เพ่ิมข้ึน 46.86
3. อทู่ อง 75 51 52 ลดลง 30.67
4. ด่านชา้ ง 75 61 75.12 เพิม่ ข้นึ 0.16
5. เดิมบางนางบวช 93 91 100 เพม่ิ ขึ้น 7.52
6. บางปลามา้ 106 90 111 เพ่มิ ขนึ้ 4.72
7. ศรปี ระจันต์ 68 55 50 ลดลง 26.47
8. ดอนเจดีย์ 60 47 40.37 ลดลง 32.71
9. สามชุก 57 38 34 ลดลง 40.35
10. หนองหญา้ ไซ 124 125 100 ลดลง 19.35
80.954 71.617 75.82 ลดลง 6.34
ภาพรวม

ตามเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสขุ ท่ีกาหนดใหร้ อ้ ยละของระยะเวลารอคอยเฉลยี่ ของผรู้ บั บรกิ ารผ้ปู ่วย
นอกใน รพศ./รพท./รพช. ในปี 2557 ลดลงจาก ปี 2555 ร้อยละ 25 น้นั พบว่า จ.สพุ รรณบรุ ี

มโี รงพยาบาลทผี่ ่านเกณฑเ์ ป้าหมาย จานวน 4 แหง่ คดิ เป็น รอ้ ยละ 40 ไดแ้ ก่
-รพ.อทู่ อง, รพ.ศรปี ระจันต,์ รพ.ดอนเจดยี ์ และ รพ.สามชุก
สว่ นโรงพยาบาลทไี่ มผ่ า่ นเกณฑเ์ ปา้ หมาย มีจานวน 6 แห่ง คดิ เป็น รอ้ ยละ 60 ได้แก่
-รพ.เจา้ พระยายมราช, รพ.เดิมบางนางบวช รพ.สมเด็จพระสงั ฆราช องคท์ ่ี 17,
รพ.ดา่ นชา้ ง, รพ.หนองหญา้ ไซ และ รพ.บางปลาม้า

และตามเกณฑ์ของ กพร. กาหนดใหม้ กี ารลดระยะเวลารอคอยให้ใชเ้ วลาน้อยทสี่ ดุ เท่าที่จะทาได้ โดยกาหนด
ระยะเวลาการบรกิ ารทแี่ ผนกผู้ปว่ ยนอก เฉพาะผู้ป่วยไมม่ ีภาวะแทรกซอ้ น ไม่ควรเกนิ 90 นาที จากตารางจะเห็นว่า ปี 57 มี
โรงพยาบาลทใ่ี หบ้ รกิ ารไมเ่ กิน 80 นาที จานวน 5 โรงพยาบาล คดิ เปน็ ร้อยละ 50 แตใ่ นภาพรวมของจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ยังอยู่
ในเกณฑม์ าตรฐานที่กาหนดไว้

ปัญหำพน้ื ท่ปี ญั หำพ้ืนท่เี ชงิ คณุ ภำพ (สำเหตุ / ปจั จัยที่เกย่ี วข้อง)
- สว่ นมากผู้ป่วยมารับบรกิ ารในช่วงเช้า ทาใหเ้ กดิ ความแออดั และมรี ะยะเวลาในการรอคอยท่นี าน
- ผู้มารบั บรกิ ารสว่ นใหญม่ คี วามเช่อื มั่น / ศรทั ธา ในโรงพยาบาลมากกว่า รพ.สต.

กำรบรหิ ำรจัดกำร
ปรบั ปรงุ กระบวนงานรักษาระยะเวลามาตรฐาน และยกระดับการใหบ้ ริการ
มนี โยบายของกระทรวงสาธารณสขุ “The better service” ช่วยผลกั ดนั การลดระยะเวลารอคอย

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 66

สรปุ ผลกำรดำเนินงำนอนำมยั ส่งิ แวดลอ้ มและอำชวี อนำมยั ประจำปี ๒๕๕๗

ข้อมูลทว่ั ไป ของสถานการณ์ดา้ นการเฝา้ ระวงั และพัฒนาอนามยั สิ่งแวดลอ้ ม ของจังหวัดสุพรรณบรุ ี
พบว่า จงั หวดั สุพรรณบรุ มี จี านวนหลังคาเรอื นทัง้ หมด ๒๖๘,๐๙๔ หลังคาเรอื น มีสว้ มใช้ทกุ หลงั คาเรือน ใช้น้าอุปโภคและ
บริโภค โดยใชน้ า้ ประปารอ้ ยละ ๗๑ นา้ บาดาลและน้าฝนรอ้ ยละ ๑๙ และท่เี หลือจะเปน็ บ่อนา้ ตืน้ นา้ บรรจุเสรจ็ และนา้
แม่นา้ รอ้ ยละ๑๐ ของครวั เรอื นมกี ารกาจดั ขยะ โดยวธิ กี ารเผารอ้ ยละ ๑๔ หมกั ทาปุ๋ยร้อยละ๑๙ สง่ ไปกาจัดทีอ่ ่นื ร้อยละ
๑๔ ครัวเรือนมีการกาจดั น้าเสยี ในบ้านรอ้ ยละ๔๗ และครัวเรอื นมีการใช้สารปรงุ แตง่ ในครัวร้อยละ ๔๓ มีโรงงาน
อตุ สาหกรรม ๙๐๐ แหง่ ตลาดสด ๑๒ แหง่ ตลาดนดั จานวน ๙๐ แห่ง ฟาร์มสตั วป์ กี ๒๕๐ แหง่ ฟารม์ สกุ ร ๑๕๐ แหง่ มีบ่อ
กาจดั น้าเสียในชุมชน ๙๙๗ แหง่ และมสี ถานทีฝ่ ังกลบขยะจานวน ๒๑ แห่ง แหลง่ ท่องเท่ียวกรมอทุ ยานแห่งชาติ จานวน ๒
แหง่ สถานบี ริการนา้ มนั เชือ้ เพลงิ จานวน ๖๐ แหง่ ร้านอาหาร จานวน ๒๙๔ แห่ง โรงพยาบาลของรัฐ จานวน ๑๐ แห่ง
โรงพยาบาลเอกชน จานวน ๕ แหง่ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบล จานวน ๑๗๔ แหง่ สถานท่ีราชการ จานวน ๔๒ แหง่
สถานขี นส่งจานวน ๓ แห่ง โรงเรียนสังกัด สพฐ. จานวน ๔๗๔ แหง่ วัดส่งเสรมิ สขุ ภาพ จานวน ๓๙ วดั หา้ งสรรพสินค้า
จานวน ๕ แหง่ และสถาบนั อาชีวศกึ ษา จานวน ๕ แห่ง จากสถานการณ์ขอ้ มลู ขา้ งต้นจะเหน็ ได้ว่าการดาเนนิ งานดา้ นอนามยั
สิง่ แวดล้อมนั้นยังไมส่ ามารถท่จี ะดาเนนิ การให้เปน็ ระบบได้

ในปี 2557 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ไี ดเ้ ก็บรวบรวมข้อมลู จากเทศบาลจานวน ๔๒ แห่ง และองคก์ ารบรหิ ารส่วน
ตาบลจานวน ๘๕ แหง่ พบว่า เทศบาลร้อยละ 50 มบี รกิ ารเกบ็ ขนขยะมลู ฝอย โดยเทศบาลเองเปน็ สว่ นใหญ่ และมวี ิธกี าร

กาจดั ขยะหลายวิธผี สมกนั แตพ่ บวา่ มี เทศบาลเพยี ง 1 แหง่ ท่กี าจัดขยะไดถ้ ูกสุขลักษณะ โดยวธิ ฝี ังกลบท่ถี กู วธิ ี ส่วนเทศบาล
ทเ่ี หลือจะมที ดี่ ินสาหรับท้ิงขยะโดยเฉพาะ แต่มีการฝังกลบไมถ่ กู สขุ ลกั ษณะ บางสว่ นก็มกี ารเผากลางแจ้งบ้างในบางแห่ง มี
การคดั แยกขยะของชาวบ้านที่อาศยั อยูใ่ กลเ้ คยี งกบั พื้นท่ที ที่ ิ้งขยะ ทาให้เกิดปัญหาในด้านสถานทกี่ าจัด เทคโนโลยี และ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 67

องคค์ วามรู้ และมเี ทศบาลเพียง ๑ แห่ง ท่ีทาการส่งเสรมิ ใหม้ กี ารคัดแยกขยะอันตรายออกจากขยะทว่ั ไป แลว้ เก็บไว้ใน
สถานท่จี ดั เตรียมไวเ้ ปน็ ห้องเพ่อื รอการกาจดั ตอ่ ไป ท้งั นี้ มีเทศบาลร้อยละ ๑๐ มีกิจกรรมสง่ เสรมิ หรอื สนบั สนนุ การลด
ปริมาณขยะ โดยเทศบาลเมอื ง ทั้ง ๒ แห่งมกี ิจกรรมส่งเสรมิ ฯอยูเ่ ป็นประจา ในขณะท่ีเทศบาลตาบลมกี จิ กรรมส่งเสริมบ้าง
สาหรบั องค์การบรหิ ารส่วนตาบลส่วนมากยงั ไมม่ บี ริการเกบ็ ขนขยะมูลฝอยดงั กลา่ ว

เทศบาลมีการดาเนินการจดั การมูลฝอยติดเชื้อ เพียง1 แห่ง ทาการกาจัดมูลฝอยติดเช้ือเองโดยใช้เตาเผา
ขยะติดเช้ือของตนเอง ปัจจุบันยังใช้เตาเผาขยะติดเชื้ออยู่ ซ่ึงสภาพของเตาเผาท่ีชารุด ราคาน้ามันที่เพ่ิมสูงข้ึน การต้องใช้
ผู้ดูแลระบบเตาเผาที่มีความรู้และทักษะเฉพาะ การร้องเรียนจากประชาชน การควบคุมและตรวจวัดมาตรฐานอากาศเสีย
จากปล่องควัน ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพแวดล้อมและองค์การบริหารส่วนตาบลก็ยังไม่มีการ
ดาเนนิ การในเรื่องนี้

เทศบาลเพียง ๔ แห่งที่ให้บริการรถสูบส่ิงปฏิกูลโดยเทศบาลดาเนินการเอง และมีการอนุญาตให้เอกชน
ดาเนินการสูบสิ่งปฏิกูล ๓ ราย แต่มีเพียง ๑ เทศบาลเท่านั้นท่ีมีระบบติดตามควบคุมกากับการนาสิ่งปฏิกูลไปกาจดั มกี าร
นาส่ิงปฏิกูลจากรถสูบส้วมไปกาจัดอย่างถูกต้องในระบบบาบัดส่ิงปฏิกูล โดยสิ่งปฏิกูลท่ีกาจัดไม่ถูกต้องนั้นจากรถสูบส้วมที่
ไมไ่ ดร้ ับอนญุ าตจะถูกนาไปทงิ้ ในพนื้ ทีก่ าจดั มลู ฝอยท่ัวไปของเทศบาล ในสวน ไร่ นา ปา่ ที่สาธารณะ และทีส่ ว่ นบคุ คลช้ีใหเ้ รา
เห็นถึงการปนเป้ือนของส่ิงปฏิกูลจานวนมากทส่ี ูบจากถังเกรอะ แล้วไม่ได้ถูกนาไปบาบัดให้ปลอดเช้ือโรค และไขห่ นอนพยาธิ
แต่ถูกนาไปท้ิงลงสูพ่ ืน้ ท่ีสาธารณะ หรอื ส่วนบุคคล กองขยะ คลอง และแหลง่ น้า ทีส่ ร้างความเส่ียงทงั้ โดยตรงและโดยอ้อมต่อ
สขุ ภาพประชาชน ระบบนิเวศน์ และ สภาพสงิ่ แวดล้อม สาหรบั องค์การบรหิ ารส่วนตาบลก็ยงั ไม่มบี รกิ ารรถสูบสง่ิ ปฏิกูลและ
นาไปกาจดั อย่างถกู ต้องดงั กล่าว

เทศบาลส่วนใหญ่ใชบ้ ริการประปาสว่ นภมู ภิ าครอ้ ยละ ๕๐ รองลงมารอ้ ยละ ๔๕ ใชบ้ ริการจากการประปา
หมู่บา้ น และรอ้ ยละ5 ให้บริการประปาของเทศบาลเอง โดยเทศบาลท่ีให้บรกิ ารประปาเองมีการควบคุมดูแลคณุ ภาพน้าดว้ ย
การตรวจปริมาณคลอรีนคงเหลอื ในนา้ ประปาทกุ วันเพียงร้อยละ ๕๐ และผ่านเกณฑ์มาตรฐานประปาดื่มไดข้ องกรมอนามัยมี

เพยี ง 1 แห่งได้แก่ระบบประปาเทศบาลเมืองสองพ่ีน้อง ในขณะท่ีประปาหม่บู า้ นมีการควบคุมดแู ลคณุ ภาพน้าดว้ ยการตรวจ
ปริมาณคลอรีนคงเหลอื ในนา้ ประปาทุกวันเพยี งร้อยละ 10 และผ่านเกณฑ์มาตรฐานประปาด่ืมได้ของกรมอนามัยมรี ้อยละ
7 สาหรับองค์การบริหารส่วนตาบลมี 4 แห่งที่มีการพัฒนาคุณภาพน้าประปาผ่านเกณฑ์มาตรฐานประปาดื่มได้ของกรม
อนามัยได้แก่ ระบบประปาบ้านยางไทย หมู่ 3 ตาบลบ้านดอน ระบบประปาบ้านวัดขวาง หมู่ 1 ตาบลโคกคราม อาเภอบาง
ปลามา้ ระบบประปาหมบู่ า้ นคลองโมงหมู่ 6 ตาบลองครักษ์ อาเภอบางปลาม้า และระบบประปาหมู่บ้านเย็นศริ ะ ตาบลโพธ์ิ

พระยา อาเภอเมือง สาหรับการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพน้าประปาของโรงพยาบาลในเขตจังหวัดสุพรรณบุรี โดยมี

เปา้ หมาย รอ้ ยละ 20 ของโรงพยาบาลท้ังหมด ซงึ่ ผลการดาเนนิ งานสามารถรับรองคุณภาพนา้ ประปาของโรงพยาบาลพัฒนา
ให้เป็นน้าประปาดื่มได้จานวน 2 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลบางปลาม้า และโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 อาเภอ

สองพ่ีนอ้ ง
กำรพัฒนำส้วมสำธำรณะในเขตพื้นที่ของจังหวัดสุพรรณบุรี มีการดาเนินงานผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน

ส้วมสาธารณะมากขึ้นกว่าร้อยละ ๖๐ ในปี ๒๕๕๗ โดยประเภทส้วมในโรงพยาบาลมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์ HAS ครบทุก

แห่ง แตส่ ว้ มสาธารณะประเภทท่ีมกี ารพัฒนาผ่านเกณฑไ์ ดน้ อ้ ยที่สดุ ได้แก่ โรงเรียน(สพฐ) ร้อยละ ๕๕.๔ วัดสง่ เสรมิ สุขภาพ
ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๖๔.๓ อย่างไรก็ตามยังคงต้องเร่งรัดการพัฒนาส้วมสาธารณะให้ได้มาตรฐานครอบคลุมข้ึน ตาม

แผนพัฒนาส้วมสาธารณะระยะท่ี 3 ที่ต้ังเป้าหมายให้มีส้วมสาธารณะไดม้ าตรฐานภายในปี 2558 เท่ากับร้อยละ 80 พร้อมมี

การคดั เลือกส้วมส่งเขา้ ประกวดการคัดสรรสดุ ยอดสว้ มแหง่ ปี ๒๕๕๗ ระดบั เขต ซงึ่ ในปีน้ี ไดร้ บั รางวัลรองชนะเลิศสดุ ยอดส้วม

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 68

แห่งปีระดับเขต ปี 2557 ประเภทโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตาบล ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลมดแดง

อาเภอศรปี ระจนั ต์ จังหวัดสุพรรณบุรี

กำรรณรงค์ลดโลกร้อนด้วยกิจกรรมด้วยกำรสุขำภิบำลส่ิงแวดล้อมที่ย่ังยืน(GREEN & CLEAN) มี

โรงพยาบาลเข้าร่วมโครงการ จานวน ๑๐ แห่ง สามารถพัฒนาตามโครงการจนได้รับโล่รางวัลโรงพยาบาลต้นแบบในการ

รณรงค์ลดโลกร้อนด้วยกิจกรรมด้วยการสุขาภิบาลส่ิงแวดล้อมที่ยั่งยืน (GREEN & CLEAN) จานวน ๒ แห่ง ได้แก่

โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ท่ี ๑๗ อาเภอสองพี่น้อง และโรงพยาบาลศรีประจันต์ อาเภอศรีประจันต์ และยังได้รับ

การคัดเลือกให้เป็นโรงพยาบาลดีเด่นด้านการจัดการอนามัยส่ิงแวดล้อมระดับประเทศและระดับเขตในปี 2557สาหรับ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลสมัครเข้าร่วมโครงการจานวน ๓๓ แห่ง ร้อยละ ๑๘.๙ ยังไม่ครบตามเป้าหมายที่กาหนดไว้

จึงต้องติดตามให้มีการดาเนินการสมัครให้ครบทุกแห่งพร้อมทั้งดาเนินกิจกรรม GREEN & CLEAN ต่อไป อาเภอศรี

ประจันต์ ได้รับการคัดเลือกจากกองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขและคณะสาธารณสุข
ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น จงั หวัดขอนแก่น ได้คัดเลือกให้เปน็ สถานที่ศึกษาวจิ ัย โครงการพัฒนาแนวทางการเฝา้ ระวังและ
การปรับตัวด้านอนามัยส่ิงแวดล้อม รองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซ่ึงอยู่ระหว่างศึกษาจนถึงสิ้นสุดโครงการเดือน
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

กำรดำเนินงำนสถำนทท่ี ำงำนน่ำอยู่ น่ำทำงำน เป็นการจัดการสถานท่ีทางาน ใหเ้ ออ้ื อานวยต่อคนทางาน
ทุกคน เกดิ ความสขุ กาย สบายใจในการทางาน โดยมุ่งหวงั เพ่อื ใหอ้ งค์กร เห็นความสาคญั ของการสง่ เสริมสขุ ภาพคนทางาน
โดยกาหนดเปน็ นโยบายขององค์กร ก่อให้เกดิ การมีสว่ นร่วมของคนทางานทกุ คน ในพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง ใหส้ ถานทที่ างาน
เปน็ สถานที่ทางานนา่ อยู่ น่าทางาน มสี ภาพแวดล้อมในการทางานทีเ่ หมาะสม และปลอดภยั ซงึ่ แนวคิดในเรือ่ ง สถานที่

ทางานนา่ อยู่ นา่ ทางาน (Healthy Workplace) ของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ คอื การได้ทางานใน

สภาพแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัย สิ่งแวดล้อมดี มีชวี ิตชีวา เป็นพน้ื ฐานสาคญั ทจี่ ะนาไปสูก่ ารมีสขุ ภาพดี มีความปลอดภยั
ในการทางาน สามารถดาเนินชวี ติ โดยท่ัวไปได้อย่างมีความสขุ และมคี ณุ ภาพชีวิตทีด่ ี หรือกลา่ วโดยสรุป คอื การปรบั ปรงุ
สภาพแวดลอ้ มการทางานอยา่ งตอ่ เน่ือง ช่วยส่งเสรมิ ใหค้ นทางานทุกคนมสี ขุ ภาพท่ีดี มีความปลอดภัยในการทางาน และไม่
กอ่ เหตเุ ดือดรอ้ นราคาญต่อชมุ ชน, สง่ เสรมิ สุขภาพท้ังทางกาย และใจของคนทางาน เปน็ พ้นื ฐานสาคญั ทจี่ ะนาไปส่กู ารมี
สุขภาพด,ี สุขภาพของคนทางาน มผี ลกระทบโดยตรงตอ่ ครอบครวั ชุมชน และสิ่งแวดลอ้ มโดยรวม จากแนวคิดดงั กล่าว
สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ซ่งึ เปน็ หนว่ ยงานทีส่ ง่ เสริมและสนบั สนนุ ด้านการส่งเสรมิ สขุ ภาพ และการจัด
สิ่งแวดล้อมท่ีเออื้ ต่อการมสี ุขภาพดี ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ในการคมุ้ ครองสุขภาพของประชาชนวยั ทางาน จงึ ไดน้ าแนวคิด

ในเรอื่ ง สถานที่ทางานน่าอยู่ นา่ ทางาน (Healthy Workplace) มาดาเนินการในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ในทุกระดับ

ไม่ว่าจะเปน็ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี สานักงานสาธารณสขุ อาเภอ โรงพยาบาล และโรงพยาบาลส่งเสริม
สขุ ภาพตาบล ซ่ึงเป็นหนว่ ยงานหลักในการดูแลสุขภาพของประชาชน จงึ จาเป็นอย่างย่งิ ทจ่ี ะตอ้ งเป็นแบบอย่างทด่ี ี ในการ
เปน็ สถานที่ทางานน่าอยู่ นา่ ทางาน

ผลการดาเนนิ งานในปัจจบุ ัน สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี มีสถานบริการ
สาธารณสุขในพ้นื ท่ี ดงั นี้ สานักงานสาธารณสขุ อาเภอ จานวน ๑๐ แหง่ โรงพยาบาลทวั่ ไป / ชุมชน
จานวน ๑๐ แหง่ และโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบล จานวน ๑๗๔ แหง่ และสถานบริการ
สาธารณสุขทุกแห่งดังกล่าว ได้เขา้ รว่ มโครงการสถานทที่ างานน่าอยู่ น่าทางาน (Healthy Workplace) ดัง
มผี ลการดาเนินงานผา่ นเกณฑร์ บั รองมาตรฐานสถานท่ีทางานนา่ อยู่ นา่ ทางาน ของกรมอนามยั กระทรวง
สาธารณสขุ ดังน้ี

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 69

โรงพยาบาลทวั่ ไป/ชมุ ชนมีจานวน ๑๐แห่ง ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ รบั รองมาตรฐาน จานวน
๙ แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ ๙๐

โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบล มจี านวน ๑๗๔ แห่ง ผ่านเกณฑ์การประเมนิ รบั รอง
มาตรฐาน จานวน ๑๓๓ แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ ๗๖.๔๔

งำนสนับสนนุ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ในกำรใช้ พรบ.กำรสำธำรณสุข พ.ศ. 2535
เปำ้ หมำย/ตัวชว้ี ัด

๑.เทศบาล/อบต.มกี ารออกขอ้ กาหนดตาม พรบ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 รอ้ ยละ 80/15
๒.เหตุรอ้ งเรยี นไดร้ ับการตรวจสอบ/แกไ้ ข ร้อยละ 100

กจิ กรรมกำรดำเนนิ งำน

ในปีงบประมาณ 2557 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ีได้ดาเนนิ งานด้านกฎหมายสาธารณสขุ ในส่วนที่เกี่ยวข้องตา่ ง ๆ

มีรายละเอียด ดงั น้ี

1. จัดเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู้ (แบบบูรณาการ) (เจา้ หน้าท่สี าธารณสุขของ สอ., สสอ., รพ.,
องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ) จานวน ๑ ครงั้ ใช้งบประมาณ 54,600 บาท

2. การดาเนินการแกไ้ ขเหตรุ อ้ งเรยี น-เหตุราคาญ
- ได้รับเร่ืองร้องเรียนจานวน 17 เรื่อง ซึ่งส่วนใหญ่ร้องเรียนเก่ียวกับเรื่อง กล่ินเหม็น ร้อยละ 58.8, ฝุ่น
ควนั ร้อยละ 29.4 และเกยี่ วกบั สัตวแ์ ละแมลงนาโรค และนา้ ประปา ร้อยละ 5.9 เทา่ กนั
- ดาเนนิ การตรวจสอบ และแกไ้ ขสาเรจ็ (ในระดบั หนง่ึ ) จานวน 17 เรือ่ ง คดิ เปน็ ร้อยละ 100.0
3. ติดตาม สนับสนุน และสารวจขอ้ มูลการออกขอ้ กาหนดของเทศบาล และ อบต. ในเขตพน้ื ที่
เทศบาล จานวน 35 แห่ง , อบต. จานวน 91 แห่ง คิดเป็น รอ้ ยละ 100
4. การดาเนินงานคณะอนุกรรมการสาธารณสขุ จงั หวัด โดยการจดั ประชุม จานวน 3 คร้งั

สรปุ ผลกำรดำเนนิ งำน
สรุปผลการดาเนินงานสนับสนุนองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ในการใช้ พรบ.การสาธารณสขุ พ.ศ. 2535

ของจงั หวัดสุพรรณบุรี ปงี บประมาณ 2557 ดังนี้
1. เทศบาล/อบต.มีการออกขอ้ กาหนดตาม พรบ. การสาธารณสขุ พ.ศ. 2535 รอ้ ยละ 91/62
2. เหตุรอ้ งเรยี นไดร้ ับการตรวจสอบ/แก้ไข ร้อยละ 100

ปญั หำและอุปสรรค

๑. เทศบาล/อบต. บางแห่งออกขอ้ กาหนดทอ้ งถิ่นยงั ไม่ครอบคลุม/ และการไมบ่ ังคบั ใช้กฏหมาย
๒. เจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้อง/ผูป้ ระกอบการบางรายยังขาดองคค์ วามรู้ ความเขา้ ใจ และเทคนิคบางประการ

เช่นเทคนคิ การไกล่เกลยี่ ในการท่จี ะแกไ้ ขปญั หาเหตรุ าคาญตา่ ง ๆ ทเี่ กดิ จากการประกอบกิจการ เป็นต้น รวมถงึ การขาด
อปุ กรณต์ า่ ง ๆ ในการดาเนินงานตรวจสอบฯ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 70

ขอ้ เสนอแนะ
1. จดั อบรมให้ความรู้ และสนบั สนนุ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ออกเทศบัญญตั ิ หรือข้อบญั ญตั ิให้

ครอบคลมุ อย่างตอ่ เน่ือง และนามาบังคับใชอ้ ย่างเป็นรูปธรรมในการแก้ไขปญั หาที่เกิดข้ึน
2. การแกไ้ ขปัญหาเรอ่ื งร้องเรยี นต่าง ๆ จาเปน็ ตอ้ งใชม้ าตรการทางกฎหมาย รวมถงึ ใชเ้ ทคนิคตา่ งๆเขา้

มาแก้ไขสถานการณ์ ดังนั้น ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน หรอื ผเู้ กย่ี วข้อง จาเป็นตอ้ งมคี วามรู้ ความเข้าใจ มศี าสตรแ์ ละศลิ ป์ในการ
ดาเนินงาน ซง่ึ ตอ้ งอาศัยประสบการณ์ และความรทู้ ไ่ี ดร้ ับจากการอบรม หรือจากการศึกษาหาความรเู้ พ่ิมเตมิ เปน็ ตน้

3. การดาเนนิ งานคณะอนกุ รรมการสาธารณสขุ จังหวดั เปน็ กลไกในการขับเคลอื่ นการออกขอ้ กาหนด
ท้องถ่ิน และการบงั คบั ใช้กฎหมายของ อปท.

งำนจดั กำรมูลฝอยตดิ เชื้อในสถำนประกอบกำรสำธำรณสขุ

เป้ำหมำย/ตวั ชี้วดั

1. โรงพยาบาลของรฐั มีการจดั การมลู ฝอยตดิ เชื้อไดต้ ามเกณฑม์ าตรฐานฯ ร้อยละ 100
2. สถานีอนามยั มีการจดั การมูลฝอยตดิ เชอ้ื ไดต้ ามเกณฑม์ าตรฐาน ร้อยละ 20

กิจกรรมกำรดำเนนิ งำน

ในปงี บประมาณ 2557 จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ไดด้ าเนนิ การจดั การมลู ฝอยตดิ เชอ้ื ในสว่ นทีเ่ กีย่ วขอ้ ง มี

รายละเอยี ดดงั น้ี
1. ติดตามสนบั สนนุ การดาเนินงานจดั การมลู ฝอยติดเชอ้ื ในรงพยาบาลทุกแห่ง และสถานีอนามัย

2. ตดิ ตามประเมนิ การจดั การขยะตดิ เช้อื ในโรงพยาบาล 10 แหง่ พบว่า ในระดับโรงพยาบาล ส่วน
ใหญม่ กี ารกาจัดขยะตดิ เชือ้ ไดต้ ามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100 แต่ในระดับสถานอี นามัย พบว่า บางแห่งไมม่ ีและไมไ่ ด้แตง่ ตั้ง

ผู้ควบคุม กากับ ดแู ล เคลอื่ นย้าย และกาจดั ตามมาตรฐาน, สอ. บางแหง่ มกี ารกาจดั ขยะตดิ เช้อื ไม่ถกู ตอ้ ง และไมไ่ ด้
มาตรฐานตามท่กี ระทรวงกาหนด (มกี ารเผารวมกับขยะท่วั ไป, และเผากลางแจ้งซึง่ ส่งผลเสียถือเปน็ การแพร่กระจายเชื้อได้),

ผ้ปู ฏิบตั งิ านบางราย (ผคู้ วบคมุ , กากบั , เคลอื่ นยา้ ย, กาจดั ) ขาดความรู้ ทักษะ และไม่ไดร้ ับการอบรมฯ และรูปแบบ – แนว

ทางการปฏิบัตใิ นระดับอาเภอยังไมช่ ดั เจน

สรุปผลกำรดำเนินงำน

1. โรงพยาบาลของรัฐมกี ารจดั การมลู ฝอยติดเช้ือได้ตามเกณฑม์ าตรฐานฯ ร้อยละ 100
2. สถานอี นามัยมีการจดั การมลู ฝอยตดิ เช้ือได้ตามเกณฑม์ าตรฐาน รอ้ ยละ 23.0

ปัญหำและอปุ สรรค

จากการวเิ คราะหส์ ถานการณ์ขา้ งตน้ พบว่ามีปญั หาในการดาเนินงาน ดังน้ี
1. ผู้ปฏิบตั งิ านบางราย ขาดความรู้ ทักษะ และไมไ่ ด้รบั การอบรมฯ

2. มรี ปู แบบ – แนวทางการปฏบิ ัติชัดเจน แตพ่ บวา่ ยงั ไม่ดาเนินการเป็นรูปธรรม มีสถานอี นามยั บางแหง่

กาจดั ขยะตดิ เช้อื ไม่ถกู ตอ้ ง และไม่ได้มาตรฐาน (มกี ารเผารวมกบั ขยะท่วั ไป, และเผากลางแจ้ง ซง่ึ ส่งผลเสยี ถอื เป็นการ
แพร่กระจายเชอื้ ได)้

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 71

ข้อเสนอแนะ

1. ควรจัดอบรมใหค้ วามร้กู ารจดั การมูลฝอยติดเชื้อให้กับเจา้ หนา้ ทีผ่ ้ปู ฏบิ ัติงาน และสนับสนนุ การ

ดาเนนิ การจดั การขยะตดิ เชื้อของสถานอี นามยั

2. ควรมีแนวทางการดาเนนิ การจดั การขยะมลู ฝอยตดิ เชือ้ ทชี่ ดั เจนในระดับอาเภอ (คปสอ.) ซ่ึงควร

ถกู ต้องตามหลกั การกาจดั ขยะตดิ เชอ้ื ทก่ี ระทรวงกาหนดไว้

กำรดำเนินงำนด้ำนสุขำภิบำลอำหำร จังหวัดสุพรรณบุรี มตี ลาดสดประเภท ๑ จานวน ๑๒
แห่ง ตลาดสดประเภทที่ ๒ ที่ได้รับการประเมินตามเกณฑ์จานวน ๙๐ แห่ง ร้านอาหาร ๒๙๔ ร้าน แผงลอย
จาหนา่ ยอาหาร ๑,๒๐๑ แผง รวม ๑,๔๙๔ แห่ง โรงครวั ของโรงพยาบาลจานวน ๑๐ แห่ง ร้านอาหารและแผง
ลอยจาหน่ายอาหารในโรงพยาบาลจานวน ๑๔ แห่ง ระบบประปาโรงพยาบาล ๑๐ แห่ง การดาเนินงานตาม
โครงการอาหารปลอดภัย จังหวัดสุพรรณบุรี นั้น ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เก่ียวข้องและ
ผู้ประกอบการได้แก่ ชมรมร้านอาหาร/แผงลอย ชมรมตลาดสดน่าซ้ือ ซ่ึงมีอยู่ในทุกอาเภอในการพัฒนาให้ได้
มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสขุ กาหนด

จากข้อมูลการดาเนินงานท่ีผ่านมาพบว่าตลาดสดประเภทที่ ๑ ร้านอาหารและแผงลอยที่ผ่านเกณฑ์

มาตรฐาน อาหารสะอาด รสชาตอิ ร่อย(CFGT) นั้น มักจะอยู่ในพนื้ ท่ีที่เปน็ ชุมชนเมืองมากกวา่ ชนบท สว่ นตลาดสดประเภทท่ี

๒ มกั จะอย่ใู นชนบทมากกว่าชุมชนเมอื ง รา้ นอาหารและแผงลอยจาหนา่ ยอาหารรวมท้งั โรงครวั ในโรงพยาบาลได้รบั การพัฒนา
ตามเกณฑ์ และจากการนิเทศงานแบบบูรณาการของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า อสม.และตัวแทน
ประชาชนทร่ี บั การนิเทศตอ้ งการใหม้ กี ารดแู ลผปู้ ระกอบการโตะ๊ จีนซงึ่ มีอยูเ่ ป็นจานวนมาก

การท่ีจะพัฒนาสถานประกอบการจาหนา่ ยอาหาร ตลาดสดประเภท ๑ และ ๒ ให้ไดม้ าตรฐานฯ น้นั ต้อง
อาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐและเอกชน สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี จึงได้จัดทา “โครงการ

สุพรรณบุรี อาหารดีมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๗” งบประมาณจาก Non – UC จานวน ๒๘๑,๗๐๐ บาท เป็นการ

ส่งเสรมิ สนบั สนุน ตดิ ตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของภาคเี ครอื ขา่ ยชมรมทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั อาหารท้งั หมด ให้มคี วามเขม้ แขง็ ต้ังแต่
ระดับอาเภอ ระดับจังหวัดและระดับเขต ซ่ึงจะส่งผลช่วยในการดูแลสุขภาพของประชาชน โดยมีมาตรการในการดาเนินงาน
ดงั น้ี

มาตรการท่ี ๑.พฒั นาศักยภาพภาคีเครือข่ายชมรมผู้ประกอบการจาหน่ายอาหาร/ตลาดสด/ตลาดนัด/อส
ม. ร่วมกับชมรมผู้ประกอบการจาหน่ายอาหาร ตลาดสด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยการ
ประชุมสัญจรตดิ ตาม เย่ยี มเยียนผปู้ ระกอบการฯ ทกุ อาเภอ รว่ มตรวจเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารในพ้นื ท่ี

มาตรการที่ ๒.พัฒนาศักยภาพผู้บริโภค กระจายความรู้ และสร้างระบบการเข้าถึงข้อมูลท่ีจาเป็น การ
ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในระดับหมู่บ้านได้รู้จักป้ายสัญลักษณ์ต่างๆของกรมอนามยั รวมทั้งการให้ประชาชนได้รับความรู้
ในเร่ืองการเลอื กซือ้ อาหารดิบ อาหารปรุงสาเร็จ พฤตกิ รรมตา่ งๆทีเ่ กย่ี วข้องกับการบริโภค สุขวิทยาส่วนบคุ คล

มาตรการท่ี ๓. พฒั นากลไกการเฝ้าระวงั และจัดการปัญหา โดยการจัดประชมุ สัญจรภาคีเครือข่ายใน
ทุกอาเภอ จัดอบรมเจ้าหน้าที่ จัดทาคู่มือให้ความรู้กับผู้ประกอบการ ให้ความรู้กับประชาชนท่ัวไปโดยใช้สื่อประชาสัมพันธ์
และอสม. นิเทศตดิ ตามให้การสนบั สนุนภาคีเครือขา่ ยพัฒนามาตรฐานร้านอาหาร/แผงลอย/ตลาดสด/ตลาดนดั /โต๊ะจีน

เน่ืองจากงบประมาณที่ได้รับ ไม่สามารถจะดาเนินการได้ทุกกิจกรรม งานอนามัยส่ิงแวดล้อมและอาชีวอ
นามัยจึงได้กาหนดกิจกรรมที่ดาเนินการคือ การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรขู้ องผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในด้านอาหาร การนาความรู้

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 72

ขา่ วสารทไ่ี ด้จากการจดั เวทฯี เผยแพรใ่ ห้กับประชาชน การนเิ ทศตดิ ตามการดาเนินงาน การจดั อบรมเจ้าหน้าที่แบบบูรณาการ
ทุกงานเข้าด้วยกันได้แก่ งานสุขาภิบาลอาหาร ตลาดสด ตลาดนัด โต๊ะจีน ส่ิงแวดล้อม ลดโลกร้อน สถานท่ีทางานน่าอยู่น่า
ทางานและงาน พรบ.สาธารณสุข และนาชมรมผู้ประกอบการไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดาเนินงานกับชมรมผู้ประกอบการ
จงั หวัดกระบี่ ภเู ก็ต พงั งาและประจวบคีรขี ันธ์

ปจั จัยสำคัญทท่ี ำให้กำรดำเนนิ งำนสำเร็จ (กรณที ่ีบรรลเุ ป้าหมาย)

- การกาหนดแนวทางการปฏิบตั ิงาน/การมอบหมายงาน/การวเิ คราะหป์ ญั หาและการจดั ทาแผนชัดเจน

- การดาเนินงานตา่ งๆ ไดร้ ับความร่วมมอื จากหน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

- การส่ือสารและประสานที่ดีทาใหไ้ ดร้ บั ความร่วมมอื จากผเู้ ก่ียวขอ้ ง

- การได้รบั งบประมาณสนบั สนุนในการดาเนินงาน

ตารางจดั เกบ็ ผลการดาเนนิ งานเชงิ ปริมาณ

ลาดับท่ี รายการขอ้ มลู ข้อมูล

๑. โครงการสุพรรณบุรี อาหารดี ๑.ตลาดประเภทท่ี ๑ ผ่านมาตรฐานระดับ ดี และ ดีมาก จานวน

มีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ๑๒ แห่ง ร้อยละ ๑๐๐

๒.ตลาดประเภทท่ี ๒ ผ่านมาตรฐานตลาดนัดน่าซื้อ ๒ แห่ง (ตลาด

นัดมะขามล้มและตลาดนัดสหกรณ์การเกษตรอาเภอศรีประจันต์)

รอ้ ยละ ๒๐

๓.ร้านอาหารและแผงลอยฯ ผ่านเกณฑ์ CFGT จานวน ๑,๓๓๓

แหง่ ร้อยละ ๘๙.๑๖

๔.โรงครัวโรงพยาบาล ผ่านมาตรฐาน CFGT จานวน ๑๐ แห่ง

รอ้ ยละ ๑๐๐

๕.ร้านอาหารและแผงลอยจาหน่ายอาหารในโรงพยาบาล ผ่าน

มาตรฐาน CFGT ๑๔ แหง่ รอ้ ยละ ๑๐๐

๖.ระบบประปาโรงพยาบาล ได้รับการรับรองเป็นน้าประปาดื่มได้

๒ แห่ง ร้อยละ ๒๐ (โรงพยาบาลบางปลาม้าและโรงพยาบาล

สมเดจ็ พระสงั ฆราชองค์ที่ ๑๗)

ตารางแสดงผลการดาเนนิ งาน จาแนกรายอาเภอ

ลาดั ผลสาเร็จ/ อาเภอ อาเภอ อาเภอ อาเภอ อาเภอ อาเภอ อาเภอ อาเภอ อาเภอ อาเภอ รวม

บ ตวั ชีว้ ดั เมือง เดมิ ด่าน บาง ศรี ดอน สองพี่ สามชุ อูท่ อง หนอง

บาง ชา้ ง ปลา ประจั เจดยี ์ น้อง ก หญ้า

มา้ นต์ ไซ

1 รอ้ ยละ เปา้ หมาย ๒ 2 1 0 0 3 2 0 1 1 ๑๒

๘๕ ของ ผลงาน 2 2 1 0 0 3 2 0 1 1 ๑๒
ตลาดสด ร้อยละ
ประเภทท่ี 100 100 100 - - 100 100 - 100 100 100

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 73

๑ผ่าน

มาตรฐาน

ตลาดสด

นา่ ซ้ือ

ระดับดี

และดมี าก

๒ ร้อยละ๘๕ เป้ำหมำ 423 182 77 57 188 141 215 97 71 44 1,49

ของ ย 5
ร้านอาหา ผลงำน 378 159 73 56 137 118 212 86 66 39 1,33
ร/แผงลอย
ผา่ นเกณฑ์ 3
91.49 87.3 94.8 98.2 72.8 83.6 98.6 88.6 92.9 88.6 89.1
CFGT รอ้ ยละ
6157906646

3 รอ้ ยละ เป้ำหมำย ๑ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10

๑๐๐ของ ผลงำน 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10
โรงครวั ร้อยละ 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100
โรงพยาบา

ลผา่ น

เกณฑ์

CFGT

4 ร้อยละ เปำ้ หมำย 0 1 0 0 1 0 62 0 4 14
62 0 4 14
๑๐๐ของ ผลงำน 0 1 0 0 1 0 100 100 - 100 100
แผงลอย ร้อยละ
จาหน่าย - 100 - - 100 -

อาหารใน

โรงพยาบา



ผ่านเกณฑ์

CFGT

5 ร้อยละ๑๐ เป้ำหมำย ๑ 1 11 1 1 1 1 1 1 10
01 0 0 10 002
ของระบบ ผลงำน 0 0 - 100 - - 100 - - - 20
ประปา รอ้ ยละ
โรงพยาบา -- Page 74

ลไดร้ ับการ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗

รับรอง
เปน็
น้าประปา
ด่มื ได้

ปจั จัยสำคัญทีท่ ำให้กำรดำเนนิ งำนไมบ่ รรลเุ ปำ้ หมำย และข้อเสนอแนะ
๑.งบประมาณทไี่ ดร้ บั จัดสรร ไมส่ ามารถดาเนนิ การได้ครอบคลมุ ทุกกจิ กรรม
๒.ผู้บรหิ ารองคก์ รสว่ นท้องถ่นิ บางแห่ง ยังไมส่ นับสนนุ ให้มีการดาเนนิ งานอาหารปลอดภัยในพืน้ ที่ เช่นการ

จดั มหกรรมอาหาร การมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน รวมท้ังการมอบหมายให้เจา้ หน้าทเี่ ข้ารว่ มประชุม
๓.ส่ิงสนับสนนุ จากสว่ นกลาง เช่น ผา้ กนั เปื้อนประชาสมั พันธไ์ มเ่ พยี งพอที่จะใช้สนบั สนุนในการจดั

มหกรรมอาหารแตล่ ะแหง่

งำนโรคจำกกำรประกอบอำชพี จงั หวัดสุพรรณบุรี

จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นเมืองเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร มีอาชีพทานา ทาไร่ มีพื้นท่ี

ปลกู ขา้ วประมาณ ๑,๕๐๐,๐๐๐ ไร่ ปลูกมากในทุกพืน้ ทีข่ องจังหวัด (ยกเว้นอาเภอดา่ นช้างท่ีเป็นพ้ืนทีภ่ ูเขา) แยกเป็นขา้ วนา

ปี และข้าวนาปรัง ปัจจุบันเกษตรกรจะทานาตลอดปีข้ึนอยกู่ ับสภาพน้าชลประทานบางพ้ืนท่ีสามารถปลูกข้าวได้ถึง ปีละ

๓ ครั้ง หรือ ๒ ปี ๕ คร้ัง มีจานวนเกษตรกรท้ังหมด ๓๐๔,๑๗๐ คน (เกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการปา่ ไม้) ส่วนกลุ่มวัย
แรงงาน จานวน ๕๕๓,๙๕๐ คน แบ่งเป็นกลุ่มแรงงานในระบบ จานวน ๑๖๗,๕๐๘ คน และกลุ่มแรงงานนอกระบบ จานวน
๓๘๖,๔๔๒ คน ดังน้ัน แรงงานภาคเกษตรกรรมจึงถือว่าเป็นกาลังแรงงานท่ีมีสัดส่วนสูงท่ีสุดของจังหวัดสุพรรณบุรี ซ่ึงส่วน

ใหญ่เป็นแรงงานนอกระบบประกันสังคม ไมไ่ ด้ใช้สทิ ธิค์ ุ้มครองสขุ ภาพตามกฎหมายแรงงาน และเป็นอาชพี ท่เี ส่ียงตอ่ การเกิด
อันตรายจากการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืช ส่วนภาคบริการมีโรงพยาบาลศูนย์ ๑ แห่ง โรงพยาบาลท่ัวไป ๑ แห่ง

โรงพยาบาลชุมชน ๘ แห่ง มโี รงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบล จานวน ๑๗๔ แหง่ ส่วนภาคอตุ สาหกรรม มโี รงงาน ๑,๑๐๗
แห่ง จานวนคนงาน ๓๑,๐๙๓ คน เข้าร่วมเป็นเครือข่ายคลินิกโรคจากการทางาน จานวน ๑๒ แห่ง และมีสถาน

ประกอบการโม่ บด ยอ่ ย หิน จานวน ๑๑ แหง่ ผลการดาเนนิ งานสานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี ดังน้ี

กจิ กรรมงำนอำชีวอนำมัยของจังหวดั สพุ รรณบุรี ไดแ้ ก่

1. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ แรงงานนอกระบบ ประเมินความเสีย่ งจากการทางาน
2. ส่งเสรมิ การเฝ้าระวงั โรคจากการประกอบอาชีพ
3. เฝ้าระวังและสง่ เสรมิ สขุ ภาพเกษตรกร
๔. ส่งเสรมิ ให้สถานบรกิ ารสาธารณสุขให้บริการด้านอาชีวอนามัยและส่ิงแวดล้อม ท้งั เชิงรบั
และเชิงรุก

๕. ประเมินความเสย่ี งจากการทางานของบคุ ลากรในโรงพยาบาล

ผลกำรดำเนนิ งำน

๑. ส่งเสริมให้สถานบริการสาธารณสขุ ให้บรกิ ารด้านอาชวี อนามัยและส่งิ แวดล้อม ทงั้ เชิงรบั
และเชงิ รุก

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 75

- เจา้ หน้าทร่ี ะดบั รพ.สต., รพ. ไดร้ ับการพฒั นาองคค์ วามรเู้ ร่ืองการจัดบรกิ ารอาชีวอนามัย ท้งั เชิงรุก
และรบั (คลนิ กิ สุขภาพเกษตรกร) จานวน ๒๖ แหง่ จานวน ๔๐ คน

- รอ้ ยละ ๑๕ ของโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลเขา้ ร่วมดาเนนิ งานคลนิ ิกสขุ ภาพเกษตรกร

จานวน ๒๖ แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๕ ประกอบด้วย

๑. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลดอนมะนาว

๒. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบา้ นกมุ่
๓. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลไผโ่ รงววั
๔. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบอ่ สพุ รรณ
๕. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลหนองบอ่
๖. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลมดแดง
๗. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลวงั ยาง
๘. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลสนามชัย
๙. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลดอนมะสงั ข์
๑๐. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลบ้านตะวนั ออกโพธิ์
๑๑. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลสระแก้ว
๑๒. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลบา้ นหนองหัวรัง
๑๓. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบ้านสระ
๑๔. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลหนองมะค่าโมง
๑๕. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลหนองอุโลก
๑๖. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลนางบวช
๑๗. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลเดมิ บาง
๑๘. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลหัวเขา
๑๙. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลบ้านแหลม
๒๐. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลตะค่า
๒๑. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลไผก่ องดนิ
๒๒. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลพลับพลาไชย
๒๓. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบ้านดอน
๒๔. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลเจดยี ์
๒๕. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลบา้ นหว้ ยมา้ ลอย
๒๖. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบา้ นสามัคคธี รรม

2. สง่ เสริมสนับสนนุ แรงงานนอกระบบ ประเมนิ ความเสี่ยงจากการทางาน

- ร้อยละ ๓๐ ของกลมุ่ แรงงานนอกระบบภาคเกษตรและประชาชนไดร้ บั การดแู ลสุขภาพท้ังเชงิ รุกและ

เชงิ รบั เป้าหมาย 1๖,๑๔๒ คน ผลงาน ๕,๔๖๘ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๓
3. ส่งเสริมการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 76

- สถานประกอบการ เขา้ รว่ มโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสขุ จังหวดั ละ
๑๐ แหง่ และผ่านเกณฑ์การประเมนิ เป็นสถานประกอบการต้นแบบ ๑ แห่ง คือ ได้รบั โลร่ างวัลระดับประเทศ ระดบั ทอง คอื
บรษิ ัทไทยเอ็นเนอรย์ ค่ี อนเซอร์เวชัน่ จากัด

4. การประเมนิ ความเสยี่ งจากการทางานของบคุ ลากรในโรงพยาบาล

- โรงพยาบาลในจังหวัดสุพรรณบรุ ีตอ้ งประเมนิ ความเสี่ยงบุคลากร และยกระดบั จากเดมิ อย่างนอ้ ย ๑
ระดบั (ระดับ ๔ มผี ลลพั ธท์ ่ีดีในทกุ กจิ กรรมทส่ี าคัญ พฒั นายกระดบั ระดบั ๕ มกี ารดาเนนิ งานผลลพั ธด์ มี าก) จานวน ๓

แห่ง ประกอบด้วย โรงพยาบาลอทู่ อง โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสงั ฆราชองคท์ ่ี 17 และ โรงพยาบาลสามชุก

ปัญหำกำรดำเนนิ งำนและขอ้ เสนอแนะ
๑. ต้องผลักดันให้เป็นนโยบายการมีพฤติกรรมการทางานกับสารเคมีอย่างปลอดภัย และการประสาน

ความร่วมมอื กับองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ ในการสนบั สนุนการดาเนนิ งาน รวมทั้งการสร้างกระแสใหเ้ กดิ ความตระหนกั ท้ังใน
กล่มุ เกษตรกรและกลมุ่ ผบู้ ริโภคใหเ้ ห็นความสาคัญในการป้องกนั อันตรายจากสารเคมกี าจดั ศตั รพู ืช

๒. การส่งเสรมิ การดาเนนิ การตา่ ง ๆ การจัดบริการเชิงรับและเชงิ รกุ ในกับเกษตรกรและผู้บริโภค/แรงงาน
นอกระบบใหก้ ับกลมุ่ เป้าหมาย รวมท้ังการพัฒนาเครือ่ งมอื ต่าง ๆ ตอ้ งทาอยา่ งตอ่ เน่ือง

๓. ต้องพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสาธารณสุข องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในการดาเนนิ งาน และถา่ ยทอดความร้ใู ห้แก่เกษตรกร/แรงงานนอกระบบกลมุ่ เปา้ หมาย

๔. การสร้างเสริมศักยภาพให้เกษตรกร/แรงงานนอกระบบสามารถดูแลตนเอง และการเสริมสร้าง
พฤติกรรมการป้องกันการใช้สารเคมอี ย่างปลอดภยั รวมทั้งมรี ะบบเฝา้ ระวงั และการรายงานการเจ็บปว่ ยด้วยโรคพษิ สารกาจัด
ศัตรูพชื

๕. ความร่วมมือจากสถานประกอบการ ต้องให้เจ้าหน้าที่ทุกอาเภอมีส่วนร่วมในการชักชวนเข้าร่วม
โครงการสถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภยั กายใจเป็นสขุ

๖. การประเมินความเสี่ยงบุคลากร ผรู้ บั ผดิ ชอบงานในแตล่ ะโรงพยาบาลตอ้ งสรา้ งคณะทางานและร่วมกัน
พฒั นาระดบั ความเสี่ยง

กำรดำเนินงำนเฝ้ำระวงั ป้องกันและแกไ้ ขปัญหำสำรหนูในพื้นทีเ่ สย่ี ง (อำเภอด่ำนช้ำง จงั หวัดสุพรรณบรุ )ี

จากการศึกษาสถานการณ์การปนเป้ือนสารหนูในแหล่งน้าธรรมชาติของประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ.

2518-2544 โดยสานักทรัพยากรแร่ กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พบว่า จังหวัด
สุพรรณบุรี เป็น 1 ใน 25 จังหวัด ที่พบว่ามีปริมาณสารหนูในตะกอนธารน้าสูงเกินค่าเฉลี่ย 3 เท่าขึ้นไป จากผลการตรวจ
วิเคราะห์คุณภาพน้าในพื้นที่ตาบลองค์พระ และตาบลวังคัน อาเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2551-2๕๕4 พบว่า

ปริมาณสารหนูเกินเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จากผลการตรวจวิเคราะห์ปริมาณสารหนูใน

ปสั สาวะของประชาชน ปี 2551-2555 พบวา่ เกนิ เกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 11.73 - 71.17 และจากผลการสุ่มวดั ระดับความรู้

เกี่ยวกบั สารหนูของประชาชน ปี 2557 พบว่า ส่วนใหญ่มีความรู้ระดับต่า (ร้อยละ 45.00) รองลงมาคือ ระดับปานกลาง

(ร้อยละ 34.00) งานอนามัยส่ิงแวดล้อมและอาชีวอนามัย สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี จงึ ได้จัดทาโครงการเฝ้า

ระวงั ป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาสารหนูในพืน้ ทเ่ี สี่ยง อาเภอด่านช้าง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี โดยมกี ิจกรรมดงั น้ี

แผนงำน/กิจกรรมดำเนนิ กำร

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 77

1. วเิ คราะหส์ ถานการณ์ กาหนดแนวทางการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาสารหนูในพนื้ ทเี่ สย่ี งตอ่ การปนเปอื้ นสารหนู
ในส่ิงแวดลอ้ ม (ตาบลองคพ์ ระ และตาบลวงั คนั ) อาเภอดา่ นชา้ ง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี

2. จัดประชมุ คณะกรรมการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาสารหนูในพน้ื ท่ีเส่ยี งฯ เพอ่ื ร่วมกาหนดแนวทางการควบคุม
ป้องกนั และแก้ไขปัญหาสารหนูในพ้ืนทอี่ าเภอดา่ นช้าง จงั หวัดสพุ รรณบุรี

3. จัดอบรมให้ความรู้เกย่ี วกบั สารหนู และปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมสขุ ภาพในการป้องกนั สารหนมู ิให้เข้าสรู่ ่างกายแก่
ประชาชน

4. เฝา้ ระวงั คณุ ภาพนา้ ที่ปนเปื้อนสารหนจู ากสงิ่ แวดลอ้ ม

5. สารวจสภาวะสุขภาพของประชาชน
6. รวบรวม สรปุ และวิเคราะหข์ อ้ มูลผลการดาเนนิ งาน
7. จดั ประชมุ คนื ข้อมลู ใหก้ บั ประชาชนและผู้ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

ผลกำรดำเนินงำน
1. คณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปญั หาสารหนูในพืน้ ทเี่ สย่ี งอาเภอด่านชา้ ง จังหวัดสุพรรณบรุ ี และภาคี

เครือขา่ ยท่ีเกีย่ วข้อง มีแผนงานและแนวทางการป้องกันและควบคมุ ปัญหาสารหนใู นพ้นื ที่อาเภอดา่ นชา้ ง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

2. ประชาชนมีความรูเ้ กี่ยวกับสารหนูและมีพฤตกิ รรมการปอ้ งกนั สารหนมู ใิ ห้เข้าสรู่ ่างกาย อยใู่ นระดบั ปานกลาง

(ร้อยละ 49.39 และ 87.42 ตามลาดับ)

3. ผลการตรวจวเิ คราะห์คณุ ภาพจากการเกบ็ ตวั อยา่ งน้าในพน้ื ทต่ี าบลองค์พระและตาบลวังคัน อาเภอด่านช้าง

จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2557 จานวน 1 ครง้ั ๆ ละ 100 ตวั อยา่ ง สรปุ ไดว้ ่าไมพ่ บปริมาณ สารหนปู นเปอื้ นในตัวอย่าง
นา้ ทสี่ ่งตรวจวิเคราะห์

4. เก็บตวั อย่างปสั สาวะสง่ ตรวจวิเคราะห์หาปรมิ าณสารหนู จานวน 2 คร้งั ๆละ 100 ตัวอยา่ ง พบว่า ครง้ั ที่ 1
ปริมาณสารหนูในปัสสาวะเกนิ เกณฑม์ าตรฐานฯ ร้อยละ 68.00 ครัง้ ที่ 2 ปรมิ าณสารหนใู นปสั สาวะเกินเกณฑม์ าตรฐานฯ
รอ้ ยละ 42.00

5. ประชาชนในพนื้ ที่ตาบลองค์พระและอาเภอวงั คัน ไดร้ บั การตรวจสุขภาพจากโรงพยาบาลดา่ นช้าง จานวน 150
คน ผลการตรวจสขุ ภาพ สรุปได้วา่ ไม่พบผปู้ ่วยด้วยโรคพษิ สารหนู

6. จากการจัดประชุมคืนขอ้ มลู ใหป้ ระชาชน ผ้นู าชุมชน และภาคเี ครอื ข่ายท่ีเก่ียวขอ้ ง จานวน 2 ครั้ง คอื ครัง้ ท่ี 1
ตาบลวงั คนั อาเภอด่านช้าง ครัง้ ท่ี 2 ตาบลองค์พระ อาเภอดา่ นชา้ ง พบวา่ ประชาชนมคี วามสนใจขอ้ มลู ข่าวสารเกี่ยวกบั
สถานการณ์การปนเปื้อนสารหนูในส่ิงแวดลอ้ ม ผลการตรวจวเิ คราะหห์ าปรมิ าณสารหนูในตวั อยา่ งนา้ และตวั อย่างปสั สาวะ
ความรู้ทวั่ ไปเก่ยี วกบั สารหนู และแนวทางการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาสารหนู

กำรพัฒนำสขุ ภำพกล่มุ เดก็ อำยุ 0-5 ปี

1. วิเครำะหส์ ถำนกำรณ์ สภำพปัญหำของพื้นท่ี
สถานการณส์ ขุ ภาพเด็ก 0-5 ปี ต้ังแตป่ ี 2554-2556 เด็กอายุ 0-5 ปี มพี ฒั นาการสมวัย คดิ

เปน็ ร้อยละ 94.91, 99.14, 99.56 ตามลาดบั ซ่งึ การประเมนิ คัดกรองพฒั นาการเด็ก ด้วยแบบอนามยั 55
ยังคน้ หาเดก็ พฒั นาการล่าช้าไดน้ อ้ ย และใชว้ ิธีสอบถามจากพ่อแมห่ รือผู้ปกครองเทา่ น้ัน เปา้ หมายเดก็ เขา้ รบั
บริการสม่าเสมอในช่วงอายุขวบปีแรก และการรายงานข้อมลู พัฒนาการเดก็ ยังพบพัฒนาการสมวัยท่ีสงู ส่วน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 78

การจดั บริการตรวจประเมินพัฒนาการทาร่วมกับกจิ กรรมสร้างเสรมิ ภูมิคุ้มกันโรคใน WCC และพื้นที่สาหรบั

การตรวจพฒั นายงั ไม่เหมาะสม ขาดชดุ ประเมนิ พัฒนาการ ทาให้ขาดคุณภาพในการประเมิน สาหรับเด็ก 0- 5

ปี มสี ่วนสูงระดบั ดีและรปู ร่างสมสว่ น จานวน 26,967 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 72.00 สาหรับอัตราการ เล้ียงลูก

ดว้ ยนมแม่อย่างเดยี ว 6 เดือน ต้งั แต่ปี 2554-2556 ร้อยละ 54.24, 53.76 ,30.86 ตามลาดบั จานวน

สถานบริการทีผ่ า่ นเกณฑ์ WCC คณุ ภาพ รอ้ ยละ 100 ศูนย์เดก็ เล็กคุณภาพ (เป้าหมาย ร้อยละ 70)

จงั หวดั สพุ รรณบุรีมศี ูนย์เดก็ เล็ก 274 แหง่ ผา่ นเกณฑศ์ นู ยเ์ ด็กเล็กคุณภาพ จานวน 171 แห่ง ร้อยละ

62.40 ศูนย์เดก็ เล็กทไ่ี มผ่ ่านเกณฑ์ พบว่าไมผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐานดา้ นการเจรญิ เตบิ โต ดา้ นการมีสว่ นร่วม

ด้านการจัดสภาพแวดล้อมและสขุ าภบิ าล (ตารางที่1)

ตำรำงที่ 1 ข้อมลู สถำนกำรณ์งำนสง่ เสริมสุขภำพ ตำม KPI (ผลงำนป2ี 554-2556)

ตัวชี้วดั KPI เป้าหมาย ป2ี 554 ปี2555 ป2ี 556
99.56
2.เดก็ 0-5 ปี มพี ัฒนาการสมวัย ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 85 94.91 99.14 83.79
77.96
3. เดก็ 0-5 ปี มีนา้ หนกั ตามเกณฑอ์ ายุ ไมน่ ้อยกว่า รอ้ ยละ 70 89.39 94.13 82.03
30.86
4.เดก็ 0-5 ปี มนี าหนักตามเกณฑส์ ่วนสูง ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 70 87.60 94.41 75.55
100
5.เด็ก 0-5 ปี มีส่วนสงู ตามเกณฑอ์ ายุ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 70 96.28 96.66 62. 40

6.ร้อยละของเด็ก0-6 เดือน มีคา่ เฉลย่ี กินนมแม่อย่างเดียว ไมน่ ้อยกว่า ร้อยละ 50 54.24 53.76

8.เด็ก 0-5 ปี มสี ว่ นสูงระดบั ดแี ละรปู รา่ งสมส่วน(ดาเนนิ การ ปี 56 ) ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 70 - -

9.ร้อยละของ WCC คุณภาพ(ดาเนนิ การ ปี 56 ) ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 70 - -

10.ร้อยละศูนยเ์ ด็กเล็กคณุ ภาพ(ดาเนินการ ปี 56 ) ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 70 - -

หมำยเหตุ : จดั เก็บข้อมูลจาก* รายงานเด็กปฐมวยั ปีงบประมาณ 2554-2556

จากสถานการณ์สขุ ภาพดังกลา่ ว จงั หวดั สพุ รรณบรุ ไี ด้ดาเนนิ การทบทวนกระบวนการทางาน

และระบบข้อมลู เพ่ือหาแนวทางแก้ไขต่อไปดังนน้ั ตน้ ปี2557 จังหวดั จึงได้เชิญผูร้ บั ผดิ ชอบงานของโรงพยาบาล,

สาธารณสุขอาเภอ, และตวั แทนรพ.สต. ประชุมเพ่อื วิเคราะห์หาปัญหาในการประเมนิ พฒั นาการเด็ก พบว่า

1) จานวนเจ้าหน้าท่ีมีไม่เพียงพอกับจานวนเด็กท่ีมารบั บริการเพราะการประเมนิ พัฒนาการใน WCC ดาเนนิ การวัน
เดยี วกับการให้บรกิ ารวคั ซนี ทาใหข้ าดขั้นตอนการประเมนิ พฒั นาการท่ตี วั เด็ก ไดเ้ พียงการสอบถามพ่อแม่ ผู้เล้ยี งดูเด็ก
2) ขาดแนวทางปฏบิ ัติการประเมินพฒั นาการเดก็ ทช่ี ัดเจนใน แต่ละระดบั ต้ังแต่ รพ.สต./รพช./รพท.

3) ขาดระบบการจัดเก็บข้อมลู และการรายงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกนั จากสถานการณ์และสภาพปญั หาดงั กล่าวสง่ ผลให้
1) การประเมินพัฒนาการเด็กขาดความครอบคลมุ

2) การคัดกรองเพ่ือค้นหาเด็กทม่ี ีพัฒนาการลา่ ช้าพบน้อยกวา่ ท่คี วรจะมคี ือประมาณร้อยละ 10 ของเดก็ ทไ่ี ดร้ ับการ
ประเมินพัฒนาการ

3) เด็กที่มีพฒั นาการล่าชา้ ขาดการกระตุ้น การส่งตอ่ และการติดตาม

4) การวิเคราะห์ผลการดาเนนิ งานขาดข้อมลู สนบั สนุน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 79

กำรดำเนนิ งำนปงี บประมำณ 2557 เพอื่ พัฒนำงำนเดก็ ปฐมวยั ดำเนนิ กำร ดังน้ี

1.บคุ ลำกร

1.1แต่งต้งั คณะกรรมการ MCH Board /CHILD MANAGERระดบั จงั หวัดอาเภอ มีการประชุมวิเคราะห์
ปัญหาวางแผนและนโยบายการดาเนนิ งาน MCH

1.2 แต่งตงั้ CHILD MANAGER ระดบั จังหวัด โดยมีตัวแทนจากโรงพยาบาลทุกแหง่ ๆ ละ๒ คน และ
ตวั แทนจากสานกั งานสาธารณสุขอาเภอทุกอาเภอๆละ 1 คน มกี ารประชมุ วิเคราะห์ปญั หา แก้ไขวางแผน
งาน นานโยบายไปสกู่ ารปฏิบตั ิสรุปผลงาน และ CHILD MANAGER เปน็ ผู้กระตนุ้ ให้มกี ารจดั ตัง้ CHILD
MANAGER ในระดบั อาเภอและประชุมงาน MCH Board ในอาเภออยา่ งต่อเน่ือง

1.3 เพิม่ พูนความร้ขู องบคุ ลากรโดย
- สง่ บุคลากรเข้ารับการอบรมนอกจังหวดั เช่น นักสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวัยหลักสูตรเรง่ รัดประจา
โรงพยาบาลจานวน 1 คน ให้กับโรงพยาบาลทุกแห่ง
- ประชมุ งานวิชาการอนามัยแม่และเดก็ ระดบั จังหวดั ของคณะกรรมการ Service plan สาขากุมาร ใน
เดอื น มีนาคม 2557 โดยมี รพ./รพสต./ศสม. ทุกแหง่
1.4 ประชมุ ชีแ้ จงการเฝ้าระวงั ภาวะโภชนาการและคดั กรองประเมนิ พัฒนาการโดยใช้แบบอนามยั ๕๕ แก่
ครจู ากศูนยเ์ ด็กทุกศูนย์ ร่วมกับงานต่าง ๆ ของสานักงานสาธารณสุขจังหวดั ในระดบั อาเภอทกุ อาเภอ และแจง้
ใหเ้ จ้าหนา้ สาธารณสขุ ในพืน้ ท่ีเปน็ พเ่ี ล้ยี ง
1.5 จดั อบรมการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ดว้ ยอนามัย 55 /TDSI/DSI หลกั สูตร 1สัปดาห์ จดั โดย
เครือข่ายบรกิ ารสขุ ภาพท่ี 5 และจังหวัดสมุทรสาคร วทิ ยากรจากศนู ย์อนามยั ที่ 4 ราชบรุ ี และศูนย์สุขภาพจิต
สถาบันกลั ยา ประกอบด้วยทีม CHILD manager อาเภอละ 3 คน จานวน 30 คน วันท่ี 17-21 มีนาคม
2557 ณ โรงแรมศรีอทู่ องแกรนด์ สพุ รรณบรุ ี
2.อปุ กรณ์
- คปสอ. ทาแผนและจัดซื้ออุปกรณ์ เช่น ชุดคัดกรองประเมินพัฒนาการเด็กอนามัย 55 เครื่องชั่งน้าหนัก
เครอ่ื งวัดสว่ นสงู แบบฟอรม์ ทใ่ี ช้ใหบ้ รกิ ารและเกบ็ รายงาน ในระดบั รพ.สต.
- ประสานแผนเขา้ สู่ อปท. เพอื่ ดาเนนิ การจดั ซอื้ ชุดประเมินพัฒนาการ ในศนู ย์เดก็ เล็ก
3.พัฒนำระบบกำรบรกิ ำร

- เพิ่มจานวนวนั บริการคลินกิ WCC ของโรงพยาบาล /รพ.สต. จากเดมิ เดือนละ 1 ครัง้ เพ่ิมเปน็ 2-3
คร้งั

- ประเมนิ อนามยั 55 ของกรมอนามยั เพ่ือเฝ้าระวงั ติดตามพัฒนาการเด็กและให้คาแนะนาแก่ครอบครวั
ในเรอ่ื ง

การสง่ เสรมิ ให้เด็กมีพัฒนาการสมวยั สาหรับเด็กทมี่ ีพัฒนาการไม่สมวัยไดร้ ับการดแู ลและกระตุน้ อย่าง
ต่อเน่ืองโดยการจัดให้มบี รกิ ารกระตุ้นพฒั นาการคลินิกสุขภาพเด็กดี /คลินกิ กระตุ้นพัฒนาการคัดกรองเด็ก 9

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 80

เดอื น18เดอื น30เดือน และ42เดือนดว้ ยแบบประเมินอนามัย 55 วางแผนและชว่ ยเหลอื เด็กท่ีมีพัฒนาการไม่
สมวัยโดยใช้แบบประเมิน TDSI 70ข้อและ/หรอื DSI 300 ข้อ
-ส่งเสริมให้มี รร. พ่อแม่ และกิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า ท่ีเป็นรูปธรรมและมีการจัดกิจกรรมส่งเสริม
พฒั นาการในคลนิ ิกเดก็ ดี ดังต่อไปนี้
- จดั ใหม้ ีมมุ สง่ เสรมิ โภชนาการและพฒั นาการเด็กปฐมวัยและให้บริการในมุมดงั กลา่ วอย่างตอ่ เนื่องตาม
กิจกรรมการสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ แรกเกดิ –5ปี
- จดั ให้มคี ลังนทิ านในมุมพัฒนาการและส่งเสริมพฒั นาการโดยการเล่านิทาน อา่ นหนงั สือใหเ้ ดก็ ฟัง และเลน่
กบั เดก็ ตามความเหมาะสมทั้งในบ้านและศูนยเ์ ด็กเล็กนา่ อยู่
- ส่งเสริมพฒั นาการโดยการแนะนาผปู้ กครองใหเ้ ล่านิทาน อา่ นหนงั สือให้เด็กฟัง และเล่นกบั เด็กตามความ
เหมาะสมและในศูนยเ์ ด็กเล็กน่าอยผู่ ดู้ ูแลเดก็ ต้องเปน็ ผูด้ าเนนิ การเชน่ กนั
-จัดทาระบบสง่ ต่อเดก็ 0-5 ปี (FLOWCHART) ทมี่ พี ัฒนาการไมส่ มวัย และ ล่าช้า

4. ระบบขอ้ มลู
มีแนวทางกาหนดใหส้ ถานบริการสาธารณสขุ ทุกระดับดาเนินการ ดงั นี้
4.1 จัดทาทะเบยี นประชากรกลุ่มเปา้ หมายจากฐานประชากรจังหวัดและสง่ ใหแ้ ตล่ ะอาเภอ ไปดาเนินการ

คัดกรองตามกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งแต่ละสถานบริการจะต้องมีทะเบียนรายชื่อเด็กตามกลุ่มเป้าหมายที่ต้อง
ดาเนนิ การ โดย

1. จานวนเด็ก 0-5 ปี เป้าหมายในการดาเนนิ งาน ใช้ความครอบคลุมจากฐานข้อมลู ของ DB Pop
2. กาหนดกลมุ่ อายเุ ฉพาะในการประเมินพัฒนาการแบบครบถว้ นสมบรู ณ์ จานวน 4 ครง้ั ทอ่ี ายุ 9
เดอื น, 18เดือน, 30เดอื น และ 42เดือน และกลุม่ อืน่ ๆ เป็นการประเมนิ เพื่อการเฝ้าระวัง
3. แบ่งระดบั ของสถานบรกิ ารเป็น 3 ระดับ คือ

ระดับที่ 1 รพ.สต. ทาหนา้ ที่ประเมินพัฒนาการเพ่ือการเฝ้าระวังด้วยแบบอนามัย 55
ระดับท่ี 2 รพช. ทาหน้าที่ 2 บทบาท คือ

1. ประเมินพฒั นาการเพ่ือการเฝ้าระวังด้วยแบบอนามยั 55 ในรายท่ีมารบั บริการโดยปกติ
ท่ัวไป ใน WCC

2. ประเมนิ พัฒนาการเพื่อการคัดกรองหาความผดิ ปกติ
ระดับท่ี 3 รพท./รพศ. ทาหน้าที่ 2 บทบาท คือ

3.1) ประเมินพัฒนาการด้วยแบบอนามยั ๕๕ ในรายทีม่ ารบั บริการโดยปกติท่วั ไป ใน WCC
3.2) เปน็ ศนู ยร์ ับสง่ ตอ่ เพื่อการวินิจฉัยแยกโรค ให้การรกั ษา และ แก้ไขพฒั นาการ เดก็ ท่มี ี
พฒั นาการผดิ ปกติ จาก WCC ของโรงพยาบาลและท่สี ่งต่อมาจาก รพช.
4.2 ประเมนิ ภาวะโภชนาการและคดั กรองประเมนิ พัฒนาการโดยใชอ้ นามัย 55 และบนั ทึกในสมุดสชี มพู
ประจาตัวเด็ก แบบบันทึกการคัดกรองประเมนิ พฒั นาการอนามัย 55 และ อื่นๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 81

4.3 บันทึกข้อมลู ท่ีเกีย่ วข้องลงในโปรแกรม HOSxP อยา่ งเป็นระบบและสามารถออกรายงานทเี่ กี่ยวข้อง
ได้ซึง่ งานบางส่วนยังอยู่ในระหวา่ งดาเนนิ การ

3. แสดงข้อมูลเชงิ คณุ ภำพ (กำรวเิ ครำะห์ / สงั เครำะห์ ข้อมูลเชิงลึก) ผลกำรดำเนนิ งำนปีงบ 2557

ตำรำงที่ 2. รอ้ ยละของเดก็ 0-5 ปี มีพัฒนำกำรตำมวัย จำแนกรำยอำเภอ

ที่ อำเภอ ประชำกร เด็ก 0-5 มพี ัฒนำกำรตำมวยั
DB pop
1 เมอื ง 11226 ได้รับประเมนิ พฒั นำกำรปกติ รอ้ ยละ
2 เดิมบางนางบวช 4287
3 ดา่ นช้าง 5183 6,671 6,610 99.1
4 บางปลามา้ 4497
5 ศรีประจนั ต์ 3609 3,017 3,006 99.6
6 ดอนเจดีย์ 2983
7 สองพ่ีน้อง 9637 3,656 3,646 99.7
8 สามชกุ 3123
9 อู่ทอง 8255 2,951 2,942 99.7
10 หนองหญ้าไซ 3074
55874 2,587 2,576 99.6
รวม
2,274 2,269 99.8

6,476 6,438 99.4

2,330 2,310 99.1

6,197 6,175 99.6

2,376 2,358 99.2

38,535 38,330 99.5

หมำยเหตุ รายงาน จาก DATA CENTER ผลงาน ตค.-กย.57
ตำรำงที่ 3 ร้อยละของเดก็ 9 เดอื น มพี ฒั นำกำรตำมวัย จำแนกรำยอำเภอ (ตค-กย.57)

ลำ ผลสำเรจ็ / 9 เดือน
ตัวช้ีวดั
ดับ เมอื ง เดมิ บาง ด่าน บาง ศรปี ระ ดอน สองพ่ี สามชุก อทู่ อง หนอง รวม
ช้าง ปลามา้ จันต์ เจดีย์ นอ้ ง หญา้ ไซ

ร้อยละของ เปา้ หมาย 1,128 373 459 402 358 300 909 291 842 339 5,401
เดก็ ทมี่ ี ไดต้ รวจ 1,128 373 459 385 358 131 770 291 827 197 4919

1 พัฒนาการ รอ้ ยละ 100 100 100 95.77 100 43.67 84.71 100 98.22 58.11 91.07

สมวัย ( ไม่ สมวัย 1062 368 446 361 322 116 691 257 748 179 4550
นอ้ ยกวา่ 85 ) รอ้ ยละ 94.14 98.65 97.16 93.77 89.94 88.54 89.74 88.31 90.45 90.86 92.49

รอ้ ยละของ เปา้ หมาย 1062 368 446 361 322 116 691 257 748 179 4550
เด็กทม่ี ี
2 พัฒนาการ ผลงาน 66 5 13 24 36 15 79 34 79 18 369

สงสัยล่าชา้ รอ้ ยละ 6.21 1.35 2.91 6.64 11.18 12.93 11.43 13.22 10.56 10.06 8.10

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 82

หมำยเหตุ รายงานพฒั นาการคุณภาพ ผลงาน ตค.-พค.57

ตำรำงท่ี 4 ร้อยละของเด็ก 18 เดือน มพี ัฒนำกำรตำมวัย จำแนกรำยอำเภอ(ตค-กย.57)

ลำ 18 เดือน
ดับ ผลสำเร็จ/
เมือง เดมิ บาง ด่าน บาง ศรปี ระ ดอน สองพี่ สามชุก อู่ทอง หนอง รวม
ตัวชว้ี ดั ช้าง ปลาม้า จันต์ เจดีย์ นอ้ ง หญ้า
ไซ

รอ้ ยละของ เปา้ หมาย 1,429 533 651 585 428 372 1195 422 1063 407 7085

เดก็ ที่มี ไดต้ รวจ 1429 533 622 574 428 171 906 410 1063 227 6363
พฒั นาการ
1 สมวยั ( ไม่ ร้อยละ 100 100 95.55 98.12 100 45.97 75.82 97.16 100 55.77 89.80

น้อยกวา่ 85 สมวัย 1345 529 603 533 397 157 800 367 931 210 5872

) รอ้ ยละ 94.12 99.40 96.95 92.86 92.75 91.81 88.30 89.51 87.58 92.51 92.28

ร้อยละของ เป้าหมาย 1345 529 603 533 397 157 800 367 931 210 5872
เด็กทม่ี ี
2 พฒั นาการ ผลงาน 84 4 19 41 31 14 106 43 132 17 491

สงสัยลา่ ชา้ ร้อยละ 6.24 0.75 3.15 7.69 7.80 8.91 13.25 11.72 14.17 8.10 8.36

หมำยเหตุ รายงานพฒั นาการคุณภาพ ผลงาน ตค.-กย.57

ตำรำงท่ี 5 รอ้ ยละของเด็ก30เดอื น มพี ัฒนำกำรตำมวยั จำแนกรำยอำเภอ (ตค-กย.57)

ลำ ผลสำเร็จ/ 30 เดอื น
ตัวชว้ี ดั
ดับ เมอื ง เดิมบาง ดา่ น บาง ศรปี ระ ดอน สองพ่ี สามชกุ อ่ทู อง หนอง รวม
ช้าง ปลามา้ จนั ต์ เจดีย์ นอ้ ง หญ้าไซ
9594
ร้อยละของ เป้าหมาย 1,933 745 878 774 628 517 1739 491 1375 514 7410
77.23
เดก็ ท่มี ี ไดต้ รวจ 1933 745 554 547 503 266 1047 348 1332 235 7125
พฒั นาการ 96.15
1 สมวัย ( ไม่ ร้อยละ 100 100 63.10 70.67 80.10 51.45 60.21 70.88 96.87 45.72 7125
385
นอ้ ยกว่า สมวยั 1885 738 539 524 477 245 960 322 1215 220 5.40

85 ) ร้อยละ 97.51 99.08 97.29 95.80 94.83 92.10 91.69 92.53 91.22 93.61

ร้อยละของ เปา้ หมาย 1885 738 539 524 477 245 960 322 1215 220
21
2 เดก็ ท่ีมี ผลงาน 48 7 15 23 26 8.57 87 26 117 15
พัฒนาการ
สงสยั ล่าช้า รอ้ ยละ 2.54 0.94 2.78 4.39 5.45 9.06 8.07 9.63 6.81

หมำยเหตุ รายงานพัฒนาการคณุ ภาพ ผลงาน ตค.-กย.57

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 83

ตำรำงที่ 6 ร้อยละของเด็ก 42 เดือน มพี ฒั นำกำรตำมวยั จำแนกรำยอำเภอ (ตค-กย.57)

ลำ 42 เดอื น
ดับ ผลสำเรจ็ /
เมือง เดิมบาง ด่าน บาง ศรปี ระ ดอน สองพี่ สามชุก อู่ทอง หนอง รวม
ตวั ชว้ี ดั ชา้ ง ปลามา้ จันต์ เจดีย์ นอ้ ง หญ้า
ไซ

รอ้ ยละของ เปา้ หมาย 1,858 717 839 754 608 493 1593 514 1324 498 9198

เด็กท่มี ี ไดต้ รวจ 1858 717 522 537 470 155 955 347 1324 204 7089
พฒั นาการ
1 สมวยั ( ไม่ ร้อยละ 100 100 62.22 71.22 77.30 31.44 59.95 67.51 100 40.96 77.07

นอ้ ยกวา่ สมวยั 1831 710 512 519 452 145 875 320 1,498 201 7063

85 ) รอ้ ยละ 98.54 99.02 98.08 96.65 96.17 93.54 91.62 92.22 91.68 98.53 99.63

รอ้ ยละของ เปา้ หมาย 1831 710 512 519 452 145 875 320 1,498 201 7063
10 18 18 10 80 27 136 3 346
2 เดก็ ทม่ี ี ผลงาน 27 17 1.95 3.47 3.98 6.89 9.14 8.44 9.08 1.49 4.89
พัฒนาการ
สงสยั ล่าชา้ ร้อยละ 1.47 2.39 ผลงาน ตค.-กย.57

หมำยเหตุ รายงานพัฒนาการคณุ ภาพ

ตำรำงที่ 7 รอ้ ยละของเด็กทำรกแรกเกดิ – 6 เดอื น มคี ่ำเฉลีย่ กินนมแม่อย่ำงเดียว จำแนกรำยอำเภอ

ท่ี อำเภอ ทำรกแรกเกิด – 6 เดือน มีค่ำเฉลี่ยกินนมแมอ่ ย่ำงเดยี ว

เปำ้ หมำย ผลงำน ร้อยละ

1 เมือง 795 347 43.6

2 สองพนี่ ้อง 656 146 22.3

3 เดิมบางนางบวช 282 176 62.4

4 ดา่ นชา้ ง 393 233 59.3

5 บางปลามา้ 372 116 38.4

6 ศรปี ระจันต์ 298 137 46

7 ดอนเจดยี ์ 257 149 58

8 สามชกุ 193 119 61.7

9 อ่ทู อง 609 248 40.7

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 84

10 หนองหญ้าไซ 236 148 62.7
45.2
รวม 4021 1819

หมำยเหตุ รายงาน จาก DATA CENTER ผลงานผลงาน ตค.-กย..57

ตำรำงท่ี 8 รอ้ ยละของเดก็ 0-5 ปี มสี ่วนสงู ระดับดีและรูปรำ่ งสมสว่ น จำแนกรำยอำเภอ

ประชำกร เด็ก 0-5 ปี มีส่วนสงู ระดับดีและรปู รำ่ งสมส่วน

ที่ อำเภอ DB pop เดก็ ทช่ี ่งั ผลงำน รอ้ ยละ

นำ้ หนกั ท้งั หมด

1 เมอื ง 11226 8,939 6,123 68.5

2 เดิมบางนางบวช 4287 3,658 2,767 75.6

3 ด่านช้าง 5183 4,425 3,049 68.9

4 บางปลาม้า 4497 3,849 2,332 60.6

5 ศรปี ระจันต์ 3609 3,433 2,492 72.6

6 ดอนเจดยี ์ 2983 2,749 2,003 72.9

7 สองพีน่ ้อง 9637 8,185 6,190 75.6

8 สามชุก 3123 2,787 2,032 72.9

9 อู่ทอง 8255 7,045 5,437 77.2

10 หนองหญา้ ไซ 3074 2,837 1,978 69.7

รวม 55,874 47,907 34,403 71.8

หมำยเหตุ รายงาน จาก DATA CENTER ผลงาน ตค.-กย.57

ตำรำงท่ี 9 ร้อยละของศนู ย์เดก็ เลก็ ผำ่ นเกณฑ์คุณภำพ จำแนกรำยอำเภอ

ที่ อำเภอ ศนู ย์เดก็ เลก็ ระดบั ดแี ละดมี ำก ร้อยละ
ศูนยเ์ ด็กเลก็ ท้ังหมด ผลงำนผ่ำนเกณฑ์ 42.86
21.28
1 เมอื งสองพ่ีน้อง 56 24 15.79
20.00
2 สองพี่น้อง 47 10 44.44

3 เดมิ บางนางบวช 19 3

4 ด่านช้าง 25 5

5 บางปลาม้า 36 16

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 85

6 ศรปี ระจันต์ 28 9 32.14

7 ดอนเจดีย์ 16 3 18.75

8 สามชกุ 15 7 46.67

9 อทู่ อง 25 16 64.00

10 หนองหญา้ ไซ 15 5 33.33

282 98 34.75

หมำยเหตุ รายงาน จาก DATA CENTER ผลงาน ตค.-กย.57

จากตารางท่ี 2-9 แสดงผลงานแยกรายอายุ 0-5 ปี และอายุ 9,18,30,42 เดือน พบว่า ภาพรวม

จังหวัดพบพัฒนาสมวัยสูง กล่าวคือร้อยละ 92.49,92.28,96.15และ 99.63 ตามลาดับ และยังค้นหาเด็กที่มี

พัฒนาการล่าช้าได้น้อยคือร้อยละ 8.10,8.36,5.40และ 4.89 ตามลาดับ จากการออกนิเทศงานรพ.สต.ทุก

อาเภอๆละ 1 แห่งของทีมสานักงานสาธารณสขุ จังหวดั พบว่า การประเมินพฒั นาการเด็ก 0 – 5 ปี ใน คลินิก

WCC ของ โรงพยาบาล / โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล จะประเมนิ ตามสมุดบนั ทึกสขุ ภาพแม่และเด็ก

, อนามัย 55 และ จากการสังเกตและซกั ถามผ้ปู กครอง และยังทาในวันให้บริการวัคซีนเป็นส่วนใหญ่ และการ

บริการ WCC ในรพ.สต.ส่วนใหญ่เปิดให้บริการเพียงเดือนละ 1 คร้ัง ส่วนน้อยท่ีเปิดบริการเดือนละ 2 คร้ังขึ้น

ไป จานวนเดก็ ทรี่ ับบริการมีจานวนมากแต่เจา้ หน้าท่ีประจา รพ.สต.มีจานวนน้อย

- นมแม่ เด็กตั้งแตท่ ารกแรกเกดิ จนถึงอายุตา่ กว่า 6 เดือนแรก มคี ่าเฉลี่ยกินนมแม่อยา่ งเดียว

ปี 2556-2557 พบว่ายังมีอตั ราทีต่ า่ กวา่ เป้าหมาย

- ด้ำนภำวะโภชนำกำรและกำรเจรญิ เติบโต ปี 2557 มเี ดก็ 0-5 ปี จานวน 55,874 คนไดร้ ับการ

ชง่ั น้าหนักและวดั ส่วนสูง จานวน 47,909คน ความครอบคลุมร้อยละ 85.74 ในจานวนนี้มีส่วนสูงระดับดีและ

รูปร่างสมส่วนจานวน 34,403 คน (รอ้ ยละ 71.80) ผา่ นเกณฑ์ภาพรวมจังหวดั (เกณฑ์ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 70)

สำหรับตวั ช้ีวัด ร้อยละของสถานบริการจดั ระบบบรกิ ารคลนิ ิกเด็กดีคณุ ภาพ ( WCC ) มี

เป้าหมายไมน่ อ้ ยกว่า ร้อยละ 70 ซึง่ เปน็ ตวั ช้ีวัดใหมต่ ้งั แตป่ ี ปี 2556 ได้แก่ โรงพยาบาลที่ได้คณุ ภาพผ่านเกณฑ์

การประเมินตามมาตรฐานใหมใ่ นคานยิ าม WCC คณุ ภาพ ท่ีมบี รกิ ารทจี่ ดั ให้เดก็ 0-5 ปี ตามข้อกาหนดของ

กรมอนามยั ท่ีจดั ทาขึน้ โดยข้อเสนอแนะของคณะทางานวิชาการโครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครวั

ใน 10 กจิ กรรมหลัก ซง่ึ ทุกโรงพยาบาลดาเนนิ งานผ่านเกณฑ์คุณภาพ ครบทุกแห่ง รอ้ ยละ 100

ปจั จยั สำคัญทำให้กำรดำเนินงำนสำเร็จ
- ผู้บริหารหนว่ ยงานทกุ ระดับมีนโยบายและสนบั สนนุ การดาเนินงานภายใต้มาตรฐานสายใยรักแหง่ ครอบครวั
- MCH board มคี วามเข้มแข็งในการสนบั สนนุ ด้านวิชาการนเิ ทศติดตามเย่ยี มโรงพยาบาลให้การปรึกษาด้าน
วิชาการและจัดบรกิ ารรวมถึงการรับสง่ ต่อ
- ภาคีเครือขา่ ยในพ้นื ทเ่ี ช่น อปท. ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กโรงเรียนมกี ารพฒั นาคณุ ภาพการจัดบรกิ ารและสนับสนุน
งบประมาณในการดาเนินงาน การดาเนนิ งานให้สาเรจ็ ลลุ ว่ งได้ต้องอาศยั ทัง้ คน งบประมาณ อุปกรณ์ และ

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 86

ระบบงาน ผสมผสานกนั ซึ่งคาดวา่ แนวทางท่ีวางแผนดาเนินงานอย่นู จ้ี ะสามารถทาให้ประเมินพฒั นาการเด็ก
ทมี่ ีพัฒนาการล่าช้าได้ครอบคลมุ มากยง่ิ ขึน้
- บุคลากรได้รบั การพฒั นาศักยภาพในการใชเ้ ครื่องมือในการคัดกรองเชน่ อนามยั 55, TDSI/ Denver II
(เฉพาะในโรงพยาบาลเท่านน้ั )
- มคี ลินกิ กระตนุ้ พฒั นาการเด็กใน รพศ./รพท.ทีม่ กี มุ ารแพทย์

ปญั หำอุปสรรค
1. ระบบการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรม HosXP มีข้อติดขัดทางโปรแกรม ยังใชก้ ารประเมินดว้ ย อนามยั 49
ซง่ึ ตอ้ งรอกรมอนามยั เปลย่ี นมาเป็นอนามัย 55 ทาให้ไมส่ ามารถจัดเกบ็ ข้อมลู ไดต้ ามตวั ชว้ี ัด
2. รายงานการคดั กรองพฒั นาการมีการเปล่ียนแปลงบ่อย และรายงานมีจานวนมาก ทาให้เจา้ หนา้ ทส่ี บั สนและ
รายงานไม่ถกู ต้อง
3.การใช้ข้อมูลจากเดิม 21 แฟม้ มาเป็น 43 แฟ้มเนื่องจากกาลงั พฒั นาการบนั ทึกข้อมลู ยังไม่ครอบคลุมทาใหผ้ ล
งานตา่
4. การสรา้ งเครอื ข่ายการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก (ตาบลนมแม)่ จากสถานบริการสาธารณสขุ สู่ครัวเรอื น
ชมุ ชนและสถานบริการยงั ไม่ครอบคลุมครบ 100 %
5 บคุ ลากรโดย เฉพาะ โรงพยาบาล /รพสต. ยงั ต้องมีการอบรมเชิงปฏบิ ัตติ ามหลักสตู ร ในเรือ่ งการคัดกรอง
อนามยั 55 /TDSI/DSI โดยวทิ ยากรจากตน้ สงั กัด เพราะท่ีผา่ นมาอบรมเพียงทฤษฎี เพียง 1-2 วนั ยงั ขาด
ทักษะ
6. รพ.สต. ทกุ แหง่ ประเมินได้เพยี ง อนามยั 55 การประเมินดว้ ย TDSI 70 ข้อ พรอ้ มทง้ั ชดุ ประเมนิ ดาเนนิ การ
ไดเ้ ฉพาะในโรงพยาบาลเท่าน้ัน(ตอ้ งใชท้ ักษะ)
7. พอ่ แม่ผ้ปู กครองเด็กขาดทักษะการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

แนวทำงแก้ไขปญั หำ

1.ควรมีกิจกรรมสง่ เสริมใหพ้ ่อแม่ผ้ปู กครองเด็กมีความรู้ในการสง่ เสริมพฒั นาการเด็กเชน่ โรงเรียนพ่อแมใ่ น
สถานบริการชมุ ชน
2.จดั ประชมุ ชี้แจงการบันทกึ ข้อมูลและการกากับตดิ ตามโดยนาเสนอข้อมูลในการประชุมผู้บริหารและประสาน
การดาเนนิ การการจัดเกบ็ ข้อมลู ของจังหวดั เพื่อการพฒั นาข้อมูลรายงานโดยมีการเชื่อมต่อกับอาเภอและตาบล
3. บรู ณาการและเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ระบบบริการอนามัยแมแ่ ละเดก็ ในสถานบริการสาธารณสุขครอบครวั
ชุมชนโดยใช้กลไกการดาเนนิ งานโดย MCH BOARD เปน็ ตวั ขบั เคลือ่ น
4. การสนบั สนุนและพัฒนาโครงการในพระราชดาริฯ ดาเนินการขับเคล่ือนไปพร้อมกนั ในพืน้ ทีโ่ ครงการ
สายใยรกั แหง่ ครอบครวั )

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 87

5. สง่ เสริมการดาเนินงานตาบลนมแม่1ตาบล/อาเภอ
6. พัฒนาองคค์ วามรดู้ า้ นอนามยั แมแ่ ละเด็กและระบบบริการแกบ่ ุคลากรอย่างมมี าตรฐานและตอ่ เนื่อง

ส่ิงท่ตี ้องกำรสนบั สนุน/ขอ้ เสนอแนะ
1. วิทยากรการอบรม ในเรอื่ ง TDSI/DSI จากกรมสุขภาพจติ
2. วทิ ยากรดา้ นโภชนาการ/พฒั นาการ จากกรมอนามัย
3. สอ่ื เอกสาร ความรู้ สนบั สนนุ แก่หน่วยบริการสาธารณสุข/ประชาชน

งำนส่งเสรมิ สขุ ภำพกลมุ่ เด็กวยั เรียนและเยำวชน

กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายดาเนนิ งานโครงการโรงเรยี นส่งเสรมิ สขุ ภาพมาต้งั แตป่ งี บประมาณ
๒๕๔๑ โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ใหน้ กั เรยี นทุกคนไดร้ บั บริการสุขภาพ และพัฒนาโรงเรียนตามเกณฑม์ าตรฐานโรงเรยี นส่งเสริม
สขุ ภาพ ซ่ึงมงุ่ เนน้ ใหเ้ ด็กวยั เรยี นและประชาชนในทุกพื้นทีห่ ันมาให้ความสาคญั และรู้จกั ดูแลสุขภาพตนเอง มพี ฤติกรรมสขุ ภาพ
ทีถ่ ูกต้องเหมาะสม สามารถควบคมุ มลู เหตุปัจจัยและสภาวะแวดล้อมท่ีมผี ลตอ่ สุขภาพได้

โครงการโรงเรยี นส่งเสรมิ สุขภาพเป็นกลยทุ ธ์หน่ึงในการสร้างหลกั ประกนั สุขภาพถว้ นหน้า โดยมโี รงเรยี นเปน็
จดุ เรมิ่ ตน้ และศูนย์กลางของการพัฒนาสขุ ภาพอนามยั ภายใต้ความตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของกระบวนการพัฒนาทอ่ี าศัย
ความสมั พันธ์เชิงสรา้ งสรรคร์ ะหวา่ งนักเรยี น ครอบครัว ชมุ ชน สถาบนั ศาสนา โรงเรียน และหน่วยงานตา่ ง ๆ ในพืน้ ที่ ต่อมา
ปีงบประมาณ ๒๕๔๘ กรมอนามัย ได้ดาเนนิ การอย่างตอ่ เนอ่ื งในโครงการเด็กไทยทาไดใ้ นโรงเรยี นสง่ เสริมสุขภาพ โดยมี
จดุ มงุ่ หมายเพ่ือปลูกจติ สานกึ ของเดก็ และเยาวชนในการส่งเสรมิ สขุ ภาพและการดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมใหเ้ อื้อต่อการมสี ขุ ภาพดี
โดยให้ความสาคญั กับการพัฒนาศกั ยภาพเด็กนักเรยี นให้เปน็ แกนนาดา้ นสุขภาพในโรงเรยี นภายใต้ช่อื “ชมรมเด็กไทยทาได”้
ซง่ึ เน้นพฤตกิ รรมสุขภาพใน ๓ ดา้ น ไดแ้ ก่ การดูแลรักษาสุขภาพฟนั ความสะอาดปลอดภัยและคณุ ภาพทางโภชนาการของ
อาหาร การมแี ละใชส้ ว้ มถกู หลักสขุ าภิบาล และในปงี บประมาณ ๒๕๕๒ กรมอนามัย ได้เรมิ่ นโยบายพฒั นาโรงเรยี นสง่ เสรมิ
สขุ ภาพระดับทองสมู่ าตรฐานโรงเรยี นส่งเสรมิ สุขภาพระดับเพชร และดาเนินการอย่างตอ่ เนือ่ งมาจนถึงปัจจุบนั สาหรับ
ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ไดด้ าเนนิ การดงั นี้

๑. อบรมพฒั นาศกั ยภาพทมี ประเมินโรงเรียนสง่ เสรมิ สุขภาพระดบั อาเภอ โรงพยาบาล เทศบาลและตัวแทนโรงเรยี น
สง่ เสรมิ สขุ ภาพระดับทองทพ่ี รอ้ มพัฒนาเป็นโรงเรยี นส่งเสรมิ สขุ ภาพระดับเพชร พร้อมทง้ั ช้ีแจงนโยบายและแนวทางการ
พฒั นาโรงเรยี นส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑม์ าตรฐานของกรมอนามัย,จดั กลุ่มแลกเปล่ยี นเรียนรูก้ ลวิธกี ารพัฒนาเดก็ ไทยให้
สขุ ภาพดอี ยา่ งย่ังยืน ผู้เข้ารบั การอบรมประกอบดว้ ยฝา่ ยสาธารณสขุ ฝา่ ยการศึกษา ทุกอาเภอ

๒. สนบั สนุนและติดตามการพฒั นาโรงเรยี นส่งเสริมสขุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการประเมินโรงเรียนสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
ระดับเพชร จานวน ๓ โรงเรียน ได้แก่

- โรงเรยี นวดั แก้ว อ.เมืองสพุ รรณบรุ ี

- โรงเรยี นวัดสังฆจายเถร อ.เมืองสุพรรณบรุ ี

- โรงเรียนอนุบาลสุพรรณบรุ ี อ.เมอื งสพุ รรณบรุ ี

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 88

๓. สนบั สนุนการพฒั นาโรงเรยี นสง่ เสรมิ สขุ ภาพใหผ้ า่ นเกณฑ์มาตรฐานการประเมินโรงเรยี นส่งเสริมสขุ ภาพระดบั
ทองใหไ้ ดต้ ามเปา้ หมายของกรมอนามัย ซ่ึงจากการสรปุ ผลการดาเนนิ งานพบวา่ โรงเรยี นสง่ เสริมสุขภาพผา่ นเกณฑฯ์ ระดบั
ทองรอ้ ยละ ๕๑.๓๗ เปน็ ไปตามเป้าหมายของกรมอนามัย แตโ่ รงเรยี นเด็กไทยทาไดผ้ า่ นเกณฑฯ์ ร้อยละ ๗๕.๑๑ ยังไม่ได้ตาม
เป้าหมายทกี่ รมอนามยั กาหนด สว่ นหน่งึ อาจมสี าเหตุมาจากการขาดงบประมาณ เพราะโรงเรยี นเดก็ ไทยทาได้มุ่งเนน้ การ
พฒั นาสุขาภบิ าลอาหารและสขุ าในโรงเรยี น ตอ้ งอาศัยงบประมาณในการปรบั ปรุงมากพอสมควร

ตัวชีว้ ดั เป้าหมาย ปี ๒๕๕๕ ผลงาน
ปงี บประมาณ ๒๕๕๖ รอ้ ยละ๑๐๐ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗
๑. โรงเรียนส่งเสรมิ สขุ ภาพ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ๑๐๐ ร้อยละ๑๐๐
มาตรฐานฯ ขน้ั พ้ืนฐาน รอ้ ยละ ๙๐
๒. โรงเรยี นส่งเสริมสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
มาตรฐานฯ ระดบั ทอง รอ้ ยละ ๕๐ ๕๒.๐๑ ๕๒.๐๑ ๕๑.๓๗

๓. โรงเรียนส่งเสรมิ สุขภาพ เขา้ รว่ ม ร้อยละ ๕๐ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ
โครงการเดก็ ไทยทาได้ ๕๘.๖๙ ๕๘.๖๙ ๕๘.๖๙
๔. โรงเรียนเด็กไทยทาได้ ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐
มาตรฐานการประเมนิ ฯ รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ
๕. พฒั นาโรงเรยี นสง่ เสรมิ สุขภาพ ๓ โรงเรียน ๗๕.๑๑ ๗๕.๑๑ ๗๕.๑๑
ระดับทอง กา้ วสเู่ กณฑ์มาตรฐานฯ
ระดับเพชร ๑ ๐ ๒
โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน

จากตารางข้างตน้ จะเหน็ ได้ว่าจังหวัดสพุ รรณบรุ ี มุ่งพฒั นาโรงเรียนสง่ เสรมิ สขุ ภาพระดบั ทองสรู่ ะดับเพชรมาโดย
ตลอด และสามารถพัฒนาใหผ้ ่านเกณฑร์ ะดับเพชรได้ ๑ โรงเรยี นในปี พ.ศ.๒๕๕๕ และในป๒ี ๕๕๖ อยู่ระหวา่ งการปรบั ปรงุ
และพฒั นามาโดยตลอดและสามารถทาให้ประเมนิ ผ่านเกณฑ์โรงเรยี นส่งเสรมิ สุขภาพระดบั เพชรในปี ๒๕๕๗ อกี จานวน ๒
โรงเรยี น ซงึ่ การพฒั นาดังกล่าวไดร้ บั ความรว่ มมือจากผ้บู รหิ ารโรงเรยี นและครใู นโรงเรียนเปน็ อยา่ งมาก

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 89

แผนสขุ ภำพวยั ทำงำนปี 2557

วเิ ครำะห์กำรบริหำรจัดกำร กระบวนกำร (ยุทธศำสตร์ แผนงำน/โครงกำร/กจิ กรรมท่ดี ำเนนิ กำร/
ทรพั ยำกร ผลกำรดำเนินงำนแก้ไขปัญหำสำธำรณสุขตำมหัวข้อกำรตรวจรำชกำร หรือนวัตกรรมเด่นเพ่ือ
สนับสนุนให้บรรลเุ ป้ำหมำย)

การดาเนินงานตั้งแต่ปี 2554-2557 มีศูนย์การเรียนรู้องค์กรไร้พุงต้นแบบจังหวัดสุพรรณบุรี
จานวน 11 แห่ง ซ่ึงดาเนินงานในองค์กร ภาคี เครือข่าย ในจังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบด้วย หน่วยงาน
โรงพยาบาลในสังกัด โรงเรียน อปท./เทศบาล หมู่บ้านและชมรม เข้าร่วมดาเนินงานในรูปแบบองค์กร ไร้พุง
ต้นแบบ ตามคุณลักษณะ 7 ประการของกรมอนามัย จานวน 21 องคก์ ร

กลยุทธใ์ นกำรดำเนนิ งำนปี 2557
สร้างและพัฒนาองค์กร/ชุมชนไร้พุงโดยขยายผลเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้แก่ภาคีเครือข่ายและสร้าง

กิจกรรมโดยใช้กระบวนการองค์กร/ชุมชนไร้พุง การดาเนินงานในระดับชุมชน (Community Approach)
พฒั นาองคก์ ร/หมบู่ ้าน/ชมุ ชน/โรงเรยี นตน้ แบบไร้พุง โดยยดึ หลัก 3อ.

โครงการภาคีรวมใจส่งเสรมิ สุขภาพตามกล่มุ วัยและพัฒนาสู่ศูนย์การเรียนรู้องค์กรตน้ แบบ ไรพ้ ุง
จังหวัดสพุ รรณบุรี ปี 2557

1.เพ่ือสร้างนโยบายสาธารณะท่ีเอื้อต่อสุขภาพ มาตรการ หรือข้อตกลง ท้ังในระดับ องค์กร ชุมชน
ทอ้ งถิ่น

2.เพอ่ื สรา้ งส่ิงแวดล้อมท่ีเอื้อตอ่ การสร้างสุขภาพท้ังในระดับปัจเจกบุคคล ครอบครัว ชมุ ชน โรงเรยี น
3. การสร้างกิจกรรม หมู่บ้าน/ชุมชน องค์กร และโรงเรียน ให้มีความสามารถในการดาเนินงาน
ปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพของสมาชิกในองค์กร จนบรรลุเป้าหมายตามเกณฑ์การพัฒนาสู่ศูนย์การเรียนรู้
องคก์ รต้นแบบไรพ้ ุงให้แก่ภาคีเครือขา่ ยไดด้ าเนนิ งานต่อเนื่องไดเ้ อง

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ Page 90


Click to View FlipBook Version