The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-30 23:16:01

รายงานประจำปี2559

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

สาเหตกุ ารปว่ ย

จากการเก็บข้อมูลกลุ่มผู้ป่วยนอก ประมวลผลจากคลังข้อมูลสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีใน
รอบ 3 ปีท่ผี า่ นมา พบว่า 5 ลาดับแรกของกลุม่ โรคทเ่ี ป็นสาเหตุการเจ็บป่วยที่สาคัญของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี
คือ โรคระบบไหลเวียนเลือด โรคเก่ียวกับต่อมไร้ท่อโภชนาการและเมตะบอลิซึม โรคระบบกล้ามเน้ือรวมโครงร่าง
และเน้ือยึดเสริม โรคระบบย่อยอาหาร รวมโรคในช่องปาก กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจและอาการ,อาการแสดง
และสงิ่ ผิดปกตทิ ี่พบได้จากการตรวจทางคลินิกและทางห้องปฏิบัติการฯ (ตารางท่ี 13)

ตารางท่ี 13 จานวนและอตั ราป่วยต่อประชากร 1,000 คน ของผปู้ ่วยนอก จาแนกตามกลุ่มสาเหตุการปว่ ย

จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ.2557-2559

กลมุ่ สาเหตุ พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559

โรค จานวน อัตรา จานวน อตั รา จานวน อตั รา

1 โรคตดิ เช้อื และปรสติ 93,693 107.9 96,574 113.74 79,993 94.14

2 เน้ืองอก (รวมมะเรง็ ) 28,908 33.3 32,672 38.48 24,643 29.00

3 โรคเลอื ดและอวัยวะสรา้ งเลือด และความ 26,985 31.1 28,290 33.32 25,283 29.76
ผิดปกตเิ กีย่ วกบั ภมู ิคุ้มกัน

4 โรคเกีย่ วกบั ตอ่ มไร้ท่อ โภชนาการ และ 620,714 715.0(2) 643,186 757.53(2) 532,273 626.43(2)
เมตะบอลซิ มึ

5 ภาวะแปรปรวนทางจติ และพฤติกรรม 66,546 76.7 71,172 83.83 59,000 69.44

6 โรคระบบประสาท 71,882 82.8 72,545 85.44 59,767 70.34

7 โรคตารวมสว่ นประกอบของตา 91,734 105.7 89,648 105.59 78,291 92.14

8 โรคหแู ละปมุ่ กกหู 23,244 26.8 26,281 30.95 23,040 27.12
9 โรคระบบไหลเวยี นเลือด 635,186 731.7(1) 661,285 778.85(1) 568,108 668.60(1)
10 โรคระบบหายใจ 384,409 442.8(5) 364,088 428.82(5) 334,907
11 โรคระบบยอ่ ยอาหาร รวมโรคในชอ่ งปาก 390,194 449.5(4) 460,347 542.19(4) 445,233 394.15
523.99(3)

12 โรคผวิ หนงั และเนอ้ื เยื้อใตผ้ ิวหนงั 112,167 129.2 109,588 129.07 93,009 109.46

13 โรคระบบกล้ามเน้ือ รวมโครงร่าง และเนอ้ื 524,398 604.1(3) 520,530 613.07(3) 422,955 497.77(4)
ยึดเสริม

114 โรคระบบสบื พนั ธุ์ รวมทางเดนิ ปสั สาวะ 132,177 152.3 157,549 185.56 150,681 177.33

15 ภาวะแทรกในการต้งั ครรภ์ การคลอด 14,783 17.0 14,210 16.74 10,481 12.33
และระยะหลังคลอด

16 ภาวะผดิ ปกตขิ องทารกที่เกดิ ข้นึ ในระยะ

ปริกาเนิด (อายคุ รรภ์ 22 สปั ดาห์ข้ึนไป 3,584 4.1 3,833 4.51 2,694 3.17

จนถงึ 7วันหลงั คลอด)

17 รูปร่างผดิ ปกติแต่กาเนิด การพกิ ารจนผดิ 2,432 2.8 2,752 3.24 1,958 2.30
รปู แต่กาเนดิ และโครโมโซม ผิดปกติ

18 อาการ, อาการแสดงและส่งิ ผดิ ปกตทิ ีพ่ บ 384,432 442.8(5) 368,922 434.51(5) 312,472 367.74(5)
ได้จากการตรวจทางคลินกิ และทาง

ห้องปฏิบตั ิการฯ

19 การเปน็ พิษและผลทีต่ ามมา 828 1.0 827 0.97 585 0.69

20 อุบัตเิ หตุจากการขนส่งและผลทีต่ ามมา 16,154 18.6 16,868 19.87 14,739 17.35

21 สาเหตจุ ากภายนอกอน่ื ๆ ท่ีทาใหป้ ว่ ยหรือตาย 56,447 65.0 58,213 68.56 48,723 57.34

ที่มา : คลังขอ้ มูลสานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี (Data Center) ณ วันท่ี 7 มกราคม 2560

สาหรบั กลุ่มผ้ปู ่วยใน กลุ่มสาเหตุการเจบ็ ป่วยทสี่ าคญั 10 ลาดับแรกในปี พ.ศ.2559 ได้แก่ กลุ่มโรคความ
ผิดปกติของต่อมไร้ท่อโภชนาการและเมตะบอลซิ ึม ,โรคความดนั โลหิตสงู , โรคเบาหวาน, โรคเลอื ดและอวยั วะสร้าง
เลอื ด ,โรคตาและสว่ นผนวก ,โรคอื่นๆของระบบย่อยอาหาร ,โรคอนื่ ๆของระบบหายใจ ,โรคตดิ เชอ้ื อ่นื ๆของลาไส้ ,
โรคหวั ใจและโรคของการไหลเวยี นเลอื ดผ่านปอดความผิดปกตอิ ่นื ๆท่เี กิดข้นึ ในระยะปริกาเนิด อื่นๆ (ตารางที่ 14
รูปที่ 6)

ตารางที่ 14 สาเหตุการปว่ ยของกลมุ่ ผู้ป่วยในต่อประชากร 100,000 คน จงั หวดั สุพรรณบรุ ี พ.ศ. 2557-2559

กลมุ่ โรค สาเหตุการปว่ ย พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559

2 โรคตดิ เชอ้ื อน่ื ๆของลาไส้ อตั รา อตั รา อัตรา
15 โรคเลอื ด,อวัยวะสรา้ งเลอื ดและความผิดปกตบิ างชนดิ ทเ่ี ก่ียวกบั 82.96(8) 702.08(8) 753.91(8)
1587.38(3) 1109.94(4) 1154.53(4)
ระบบภมู ิคมุ้ กนั
18 โรคเบาหวาน 1410.90(4) 1167.42(3) 1253.15(3)
19 ความผดิ ปกติเกีย่ วกบั ตอ่ มไรท้ อ่ โภชนาการและเมตะบอลซิ มึ อนื่ ๆ 4595.91(1) 3302.86(1) 3169.83(1)
28 โรคตาและสว่ นผนวก 1278.31(5) 968.02(5) 951.51(5)
32 โรคความดนั โลหิตสูง 2318.29(2) 1933.92(2) 2049.90(2)
34 โรคหวั ใจและโรคของการไหลเวยี นเลอื ดผา่ นปอดอืน่ ๆ 792.19(10) 626.46(9) 668.59(9)
42 โรคอนื่ ๆของระบบหายใจ 934.34(7) 713.38(7) 757.687)
50 โรคอ่นื ๆของระบบย่อยอาหาร 1067.62(6) 853.89(6) 852.54(6)
65 ความผิดปกติอ่นื ๆที่เกดิ ข้นึ ในระยะปรกิ าเนดิ 834.70(9) 560.62(10) 532.19(10)

หมายเหตุ ไมน่ ากลุ่มโรคท่ี 62, 63 และ 67 มาจดั ลาดบั ใน 10 ลาดับแรก
ทม่ี า : คลังขอ้ มูลสานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี (Data Center) ณ วันที่ 7 มกราคม 2560

ความผดิ ปกตเิ กยี่ วกบั ตอ่ มไรท้ อ่ โภชนาการและเม 3169.83
ตะบอลซิ มึ อน่ื ๆ
โรคความดนั โลหติ สงู 1 2049.90
1253.15
โรคเบาหวาน 1154.53
951.51
โรคเลอื ด,อวยั วะสรา้ งเลอื ดและความผดิ ปกตบิ าง 852.54
ชนดิ ทเ่ี กย่ี วกบั ระบบภมู คิ มุ ้ กนั 757.68
โรคตาและสว่ นผนวก 753.91
668.59
โรคอน่ื ๆของระบบยอ่ ยอาหาร 532.19

โรคอนื่ ๆของระบบหายใจ

โรคตดิ เชอื้ อนื่ ๆของลาไส ้

โรคหวั ใจและโรคของการไหลเวยี นเลอื ดผา่ นปอด
อนื่ ๆ
ความผดิ ปกตอิ นื่ ๆทเี่ กดิ ขน้ึ ในระยะปรกิ าเนดิ

รูปท่ี 6 ลาดับอัตราผู้ป่วยในต่อประชากร 100,000 คน 10 ลาดับแรก จังหวัดสุพรรณบุรี ปี พ.ศ.2559

ภาวะการเจ็บป่วยจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ไตวายเร้ือรัง โรคหลอด
เลือดสมองใหญ่ โรคหัวใจขาดเลือดและมะเร็งรวม จังหวัดสุพรรณบุรีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ต้ังแต่ พ.ศ.
2549 – 2557 แต่ในพ.ศ.2558 มีแนวโน้มลดลงทั้ง ๕ โรคเม่ือเปรียบเทียบปีพ.ศ.2557 ส่วนในปีพ.ศ.2559 มี
แนวโน้มเพม่ิ ขนึ้ โดยเฉพาะไตวายเรื้อรังท่มี แี นวโน้มเพิ่มข้ึนมากอย่างต่อเน่ือง ยกเว้น โรคหัวใจขาดเลือดท่ีมีแนวโน้ม
ลดลงเม่ือเปรยี บเทยี บปีพ.ศ.2558 (ตารางท่ี 15,รปู ท่ี 7)

ตารางท่ี 15 อตั ราปว่ ยต่อประชากร 100,000 คน ของผู้ป่วยในกลุ่มโรคไมต่ ิดตอ่ ทส่ี าคัญ จังหวดั สุพรรณบรุ ี

ปี พ.ศ. 2549 – 2559

กล่มุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559

โรคเบาหวาน 876.1 1025.8 1031.0 1070.5 1187.6 1076.9 1018.9 1163.3 1410.90. 1167.42 1253.15

โรคความดนั โลหิตสงู 1094.2 1411.6 1443.0 1509.4 1775.7 1691.9 1636.2 1868.5 2318.29 1933.92 2049.90

โรคหัวใจขาดเลอื ด 326.7 455.9 457.0 463.4 485.3 468.0 438.1 449.5 487.96 430.01 410.97

โรคหลอดเลอื ดสมองใหญ่ 318.1 374.0 365.0 368.2 421.9 383.1 334.6 394.5 528.86 414.58 440.74

ไตวายเรื้อรัง 230.7 262.4 318.0 358.8 393.1 386.6 348.8 414.9 570.44 564.28 611.04
มะเร็งรวม 162.46 184.29 191.53 201.77 189.44 156.21 122.45 175.51 154.83 121.90 148.29

อตั ราต่อแสนปชก.

2500 ความดนั โลหิตสงู เบาหวาน
หัวใจขาดเลือด หลอดเลือดสมองใหญ่
มะเรง็ รวม
2000 ไตวายเรือ้ รงั

1500

1000

500

0
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559

รปู ที่ 7 อัตราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผ้ปู ่วยในด้วยโรคความดนั โลหติ สงู โรคเบาหวาน
โรคหวั ใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมองใหญ่ ไตวายเรื้อรัง และมะเรง็ รวม จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปพี .ศ. 2549– 2559

ทมี่ า : 1) รายงานผปู้ ่วยใน รง.505 จังหวัดสพุ รรณบุรี พ.ศ. 2549 – 2559
2) ประมวลผลจากระบบ Data Center ของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี พ.ศ.2554 - 2559

เมื่อพจิ ารณาการป่วยดว้ ยกลุ่มโรคไมต่ ดิ ต่อ ในกลมุ่ เนือ้ งอกรา้ ยในอวยั วะต่าง ๆ และโรคตับจากแอลกอฮอล์
พบวา่ โรคตับจากแอลกอฮอล์ กลมุ่ โรคเน้ืองอกรา้ ยท่ีปอด ตับ มแี นวโนม้ เพิม่ ขน้ึ อย่างตอ่ เน่ืองต้งั แต่ปี พ.ศ. 2549
เป็นต้นมา จนถงึ ปีพ.ศ..2558 และพ.ศ.2559 มอี ัตราปว่ ยผ้ปู ่วยในลดลงอย่างต่อเนื่อง ในขณะท่กี ลมุ่ โรคเนื้องอกรา้ ย
ทเี่ ต้านมและปากมดลูกมีแนวโน้มลดลงอยา่ งต่อเนือ่ งต้ังแต่ปพี .ศ.2557 (รปู ท่ี 8)

อัตราต่อแสนปชก.

300 มะเร็งปากมดลกู
มะเร็งเต้านม

250 มะเร็งตบั
มะเร็งปอด

200 โรคตบั จากแอลกอฮอล์

150

100

50

0

รูปท่ี 8 อตั ราปว่ ยต่อประชากร 100,000 คน ของผปู้ ว่ ยในดว้ ยโรคตบั จากแอลกอฮอล์
เนื้องอกรา้ ยท่ีปอด เน้ืองอกร้ายท่ตี บั เนื้องอกร้ายทีเ่ ต้านม เนื้องอกรา้ ยทปี่ ากมดลูก จงั หวดั สพุ รรณบุรี
ปี พ.ศ. 2549-2559

ทม่ี า : 1) รายงานผปู้ ่วยใน รง.505 จังหวดั สพุ รรณบุรี พ.ศ. 2549 – 2559
2) ประมวลผลจากระบบ Data Center ของสานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.2554 - 2559

สถานการณก์ ารเจ็บปว่ ยดว้ ยกลมุ่ โรคติดต่อทสี่ าคัญ

การเจ็บป่วยด้วยกลุ่มโรคติดต่อท่ีสาคัญของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า กลุ่มโรคติดต่อที่มีแนวโน้ม
สูงข้นึ อย่างต่อเน่ืองต้งั แต่ ปี พ.ศ.2549-พ.ศ.2553 คือกลุ่มโรคติดเช้ืออื่นๆของลาไส้, โรคติดเช้ือและปรสิตอ่ืนๆและมี
แนวโน้มเพ่ิมขึ้นคงท่ีและลดลง ปี พ.ศ.2554-พ.ศ.2558 ส่วนในปี พ.ศ.2559 มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนเล็กน้อยเม่ือ
เปรียบเทยี บกบั ปี พ.ศ.2558(รปู ท่ี 9)

สาหรับกลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ โรคปอดอักเสบมีแนวโน้มสูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง ในขณะท่ีกลุ่มโรค
ระบบหายใจส่วนบนติดเช้ือเฉียบพลันและโรคอ่ืน ๆ ของระบบหายใจส่วนบน และไข้หวัดใหญ่ มีอัตราป่วยผู้ป่วยใน

เพิ่มขึ้นเล็กน้อย โรคเรื้อรังของระบบหายใจส่วนล่างมีอัตราป่วยผู้ป่วยในลดลงในปีพ.ศ 2559 เม่ือเปรียบเทียบกับปีพ.ศ.
2558 (รูปที่ 10)

กล่มุ โรคไข้เลอื ดออกจากเชอ้ื เดง็ ก่ี และไข้เลือดออกจากเชื้อไวรัส มีการระบาดตามฤดูกาลซึ่งมีอัตราป่วยสูงใน
ปี พ.ศ.2551 และ 2554 และมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนในปีพ.ศ.2559 เม่ือเปรียบเทียบกับปีพ.ศ.2558 ในขณะท่ีโรควัณโรคมี
อัตราปว่ ยในผูป้ ว่ ยในค่อนข้างคงที่ (รปู ท่ี 11)

สาหรับโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องจากเช้ือไวรัส (เอชไอวี) มีแนวโน้มลดลง โรคมาลาเรีย มีอัตราป่วยในผู้ป่วยใน
คอ่ นขา้ งคงที่และลดลง โรคตบั อักเสบจากเช้ือไวรัสและไขห้ วัดใหญ่มีแนวโน้มมีอตั ราผปู้ ่วยในค่อนขา้ งเพ่ิมข้ึน (รูปที่ 12)

1200 อัตราตอ่ แสน โรคติดเชือ้ อ่ืนๆของลาไส้ 800 อัตราต่อแสน ปอดอกั เสบ
โรคติดเชือ้ และปรสิตอ่ืนๆ 700 ระบบหายใจส่วนบนติดเชอ้ื เฉยี บพลันฯ
1000 600 โรคเร้ือรังของระบบหายใจสว่ นลา่ ง
500 ไขห้ วดั ใหญ่
800

600 400

400 300

200

200 100

0 พ.ศ. 0 พ.ศ
.
รูปที่ 9 อัตราป่วยตอ่ ประชากร 100,000 คน ดว้ ยโรคตดิ เช้อื อ่นื ๆ
ของลาไส้ และโรคตดิ เช้อื และปรสิตอื่นๆ ในกลมุ่ ผปู้ ่วยใน รปู ที่ 10 อัตราปว่ ยต่อประชากร 100,000 คน ด้วยโรคปอดอกั เสบ
จงั หวัดสุพรรณบุรี ปี 2549 -2559
ระบบหายใจสว่ นบนตเิ ชื้อเฉียบพลนั ,โรคเร้อื รงั ของระบบหายใจ

สว่ นลา่ ง และไข้หวัดใหญ่ จังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2549 - 2559

350 อตั ราตอ่ แสน วณั โรค 200 อัตราต่อแสน ตบั อกั เสบจากเชอ้ื ไวรัส
300 ไข้เลอื ดออก 150 มาลาเรยี
250 ไขห้ วดั ใหญ่
200 เอชไอวี
150
100 100
50
50
0
พ.ศ
รปู ท่ี 11 อัตราปว่ ยต่อประชากร 100,000 คน ด้วยวัณโรค และโรค
ไข้เลอื ดออก ในกลุ่มผู้ป่วยใน จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2549 – พ0
2559 .ศ
.

รูปท่ี 12 อัตราปว่ ยต่อประชากร 100,000 คน ด้วย ตบั อักเสบจากเช้ือ
ไวรัส มาลาเรยี ไข้หวัดใหญ่และเอชไอวี ในกลุ่มผูป้ ่วยใน
จงั หวัดสุพรรณบุรี ปี 2549 – 2559

สถานการณ์การเจบ็ ป่วยดว้ ยกลุ่มโรคท่ีตอ้ งเฝา้ ระวังทางระบาดวทิ ยา

การเจ็บป่วยด้วยกลุ่มโรคท่ีต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี 10 ลาดับแรกของ
ในปี พ.ศ.2559 ได้แก่ Diarrhoea, Pyrexia, Pneumonia, Food Poisoning, Influenza ,Hand foot mouth
disease ,H.conjunctivitis, Chickenpox, D.H.F Total และ Sexual transmitted ตามลาดับ จากการ
พิจารณา 10 ลาดับโรคทางระบาดวิทยา พบว่า โรคอุจจาระร่วง มีอัตราป่วยต่อแสนประชากรสูงสุดอย่างต่อเน่ือง
เป็นลาดับ 1 ต้ังแต่ พ.ศ. 2553 – 2559 และในปี พ.ศ.2559 Influenza มีการระบาดเพ่ิมขึ้น โดยมีอัตราป่วย
เทา่ กับ 98.07 ตอ่ แสนประชากร (ตารางท่ี 16)

ตารางที่ 16 จานวนและอัตราปว่ ย ด้วยโรคที่ตอ้ งเฝา้ ระวังทางระบาดวิทยา 10 ลาดับแรก
ของปี พ.ศ. 2558 - 2559 จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

ลา โรคเฝ้าระวังทาง พ.ศ. 2558 ลา โรคเฝ้าระวังทาง พ.ศ. 2559
จานวนป่วย อัตราปว่ ย/
ดบั ระบาดวิทยา จานวนป่วย อัตราปว่ ย/ ดบั ระบาดวิทยา
(ราย) แสน
(ราย) แสน
9765 1,150.99
1. Diarrhoea 9,067 1,068.72 1. Diarrhoea
3114 367.04
2. Pyrexia 3,332 392.74 2. Pyrexia
1884 222.07
3. Pneumonia 1,676 197.55 3. Pneumonia
1056 124.47
4. Food Poisoning 982 115.75 4. Food poisoning 832 98.07
697 82.15
5. D.H.F,Total 705 83.10 5. Influenza 440 51.86
397 46.79
6. H.conjunctivitis 511 60.23 6. Hand foot mouth 265 31.24
171 20.16
7. Chickenpox 501 59.05 7. H.conjunctivitis

8. D.H.F, 402 47.38 8. Chickenpox

9. Influenza 379 44.67 9.. D.H.F,Total

10. Hand foot mouth 377 44.44 10. Sexual transmitted

ทม่ี า : รายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2558- 2559

สาเหตุการตาย

การตายของประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2558 มีจานวนประมาณ 7,112 คนต่อปี เม่ือจาแนกตามเพศพบว่า
จานวนและอัตราตายของเพศชายสูงกว่าเพศหญิงมาตลอด โดยสัดส่วนเพศชายคิดเป็นร้อยละ 53.97 และเพศหญิงคิด
เปน็ รอ้ ยละ 46.03 ของจานวนการตายทั้งหมด (รูปที่ 13 - 14)

คน พ.ศ.

8,000
7,000
6,000
5,000
4,000
3,000
2,000
1,000

-
2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ชาย หญิง รวม

รูปท่ี 13 จานวนการตายของประชากร จาแนกตามเพศ จงั หวดั สุพรรณบุรี
ปี พ.ศ. 2550-2558

อตั รา/แสนปชก.

1000 806.1 815.2 754.3 911.9 885.6 863.7 855.9 912.7 905.0 913.8 906.0 897.4 933.9
900 813.7 781.4 766.3 781.9 769.1 830.2 791.6 803.2 803.4 790.3 879367..26
800 706.9 690.5
704.7 708.7 672.6 699.3
700 688.5 752.3 ชาย
600 687.3 684.9 หญิง
500 720.8 683.0 704.6 รวม

608.4 608.0 595.4 615.0 พ.ศ.

400

300

200

100

0

รปู ท่ี 14 อตั ราตายต่อประชากร 100,000 คนของประชากร จาแนกตามเพศ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี
ปี พ.ศ. 2545 - 2558

ตารางท่ี 17 จานวนและอัตราตายตอ่ ประชากรแสนคน จาแนกตามกลมุ่ สาเหตุการต

ICD-10 สาเหตุการตาย 2552 2553
จานวน อตั รา จานวน อตั ร
R00-R99 อาการ อาการแสดง และความผดิ ปกตทิ พ่ี บจากกา 3002 355.44 3000 354.6
ตรวจทางคลินกิ และทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารมไิ ด้จาแนกไว้
V01-Y89 736 87.14 690 81.57
C00-D48 สาเหตุภายนอกของการเจบ็ ปว่ ยและการตาย 697 82.53 753 89.02
มะเรง็

I00-I99 โรคของระบบไหลเวยี นโลหิต 587 69.50 755 89.26

A00-B99 โรคติดเช้อื และโรคปรสิตบางโรค 519 61.45 630 74.48
J00-J98 โรคของระบบหายใจ 395 46.77 538 63.60
K00-K92 175 20.72 212 25.06
N00-N98 โรคของระบบย่อยอาหาร 156 18.47 152 17.97
E00-E88 โรคของระบบสบื พันธแ์ุ ละระบบปสั สาวะ 81 9.59 110 13.00
G00-G98 โรคของตอ่ มไรท้ ่อ โภชนาการ และเมตะบอลซิ มึ 78 9.24 85 10.05
L00-L98 19 2.25 17 2.01
P00-P96 โรคของระบบประสาท 19 2.25 33 3.90
Q00-Q99 โรคของผวิ หนงั และเน้ือเยือ่ ใต้ผิวหนงั 15 1.78 11 1.30
ภาวะบางอยา่ งทเี่ รมิ่ ตน้ ในระยะปริกาเนิด
M00-M99 รูปผดิ ปกติแตก่ าเนิด รปู พิการ และความผดิ ปกติของ 6 0.71 19 2.25
F01-F99 5 0.59 6 0.71
D50-D89 โครโมโซม 4 0.47 10 1.18
โรคของระบบกล้ามเนอ้ื โครงร่าง และเนอื้ เยือ่ เกย่ี วพัน
O00-O99 2 0.237 1 0.12
ความผิดปกติทางจติ และพฤติกรรม 6496 769.13 7022 830
โรคของเลือดและอวัยวะสร้างเลือดและความผดิ ปกติ

ของภมู ิคมุ้ กัน
การต้งั ครรภ์ การคลอด และระยะหลงั คลอด

ท่ีมา : ขอ้ มูลการตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2552 - 2558

ตาย ของประชากรจงั หวัดสุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2552 - 2558 2558
จานวน อัตรา
2554 2555 2556 2557 1991 234.50
รา จานวน อัตรา จานวน อตั รา จานวน อตั รา จานวน อตั รา
67 2866 338.75 2839 334.92 2850 336.94 2298 271.68

7 740 87.46 725 85.53 675 79.80 584 69.04 639 75.26(4)
2 745 88.06 757 89.31 842 99.54 938 110.89 1007 118.60(2)

6 706 83.45 715 84.35 784 92.69 894 105.69 1124 132.38(1)

8 566 66.90 608 71.73 623 73.65 601 71.05 608 71.61(5)
0 466 55.08 506 59.69 573 67.74 606 71.64 627 73.85(3)
6 169 19.98 197 23.24 234 27.66 216 25.54 266 31.33(7)
7 176 20.80 171 20.17 207 24.47 199 23.53 243 28.62(8)
0 89 10.52 120 14.16 132 15.61 165 19.51 274 32.27(6)
5 70 8.27 54 6.37 56 6.62 250 29.56 194 22.85(9)
1 27 3.19 29 3.42 35 4.14 30 3.55) 35 4.12(10

0 27 3.19 37 4.36 20 2.36 22 2.60 23 2.71

0 22 2.60 21 2.48 17 0.24 20 0.24 18 2.12

5 3 0.35 13 1.53 16 1.89 19 2.25 34 4.00
1 8 0.95 2 0.23 9 1.06 6 0.71 17 2.00
8 17 2.01 11 1.30 8 0.95 11 1.30 10 1.18

2 0 0.00 1 0.11 2 0.24 2 0.24 2 0.24
0.17 6697 791.55 6806 802.92 7083 837.38 6861 811.14 7112 840.81

เม่ือพิจารณาสาเหตุการตายของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี ในปีพ.ศ.2558 จะพบว่ากลุ่มโรคที่เป็น
สาเหตุการตายที่สาคัญโดยไม่นับการตายที่ระบุว่าชราภาพหรือไม่ทราบสาเหตุ ได้แก่ 1.กลุ่มโรคระบบไหลเวียน
โลหิต(Diseases of the circulatory system) 2. กลุ่มโรคมะเร็ง(Neoplasms) 3.กลุ่มการตายจากสาเหตุ
ภายนอก(External causes of morbidity and mortality) 4.กลุ่มโรคติดเชื้อและปรสิต(Certain infectious
and parasitic diseases) และ5.กลุ่มโรคของระบบทางเดินหายใจ (Diseases of the respiratory system)
(ตารางที่ 24, รูปท่ี 15)

อัตรา/100,000

150 Diseases of the circulatory system

Neoplasms
External causes of morbidity and mortality
Certain infectious and parasitic diseases

100 Diseases of the respiratory system

50

0 พ.ศ.
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

รูปที่ 15 อัตราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร กลุ่มโรคทเ่ี ป็นสาเหตกุ ารตายท่ีสาคัญโดยไม่นบั การตาย
ทรี่ ะบวุ ่าชราภาพหรือไม่ทราบสาเหตุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2549 – 2558

ส่วนสาเหตกุ ารตายทส่ี าคญั ของกลมุ่ โรคไม่ตดิ ต่อทสี่ าคญั ได้แก่ 1. Cerebrovascular diseases 2.Ischaemic heart
diseases 3.Diabetes mellitus 4.Hypertensive diseases (รปู ท่ี 16)

อัตรา/100,000

80
Diabetes mellitus

70 Hypertensive diseases
60 Ischaemic heart diseases

Cerebrovascular diseases
50
40
30
20
10

0 พ.ศ.

2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

รปู ที่ 16 อัตราตายตอ่ ประชากร 100,000 คน ดว้ ยกลุ่มโรคไมต่ ดิ ต่อท่ีสาคญั จงั หวัดสุพรรณบุรี ปี 2549- 2558

การตายด้วยกลุ่มโรคเนื้องอกและมะเร็ง
เมอื่ จาแนกสาเหตกุ ารตายตามกล่มุ โรคเนื้องอกและมะเร็ง พบว่ากล่มุ โรคเน้ืองอกรา้ ยที่ตับ และท่อนา้ ดีใน

ตับ (Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile ducts) แนวโนม้ เพิม่ ขึ้นอยา่ งต่อเนื่อง กลุม่ โรค
เนอื้ งอกร้ายท่ีหลอดคอ หลอดลมใหญ่ และปอด (Malignant neoplasm of trachea, bronchus and lung)
แนวโนม้ เพ่มิ ขน้ึ เม่อื เปรยี บเทียบระหวา่ งพ.ศ.2557 ถงึ พ.ศ.2558 กลุ่มโรคเน้อื งอกร้ายที่ลาไส้ ลาไส้ใหญ่และทวาร
หนัก(Malignant neoplasm of colon, rectum and anus) แนวโน้มเพม่ิ ขน้ึ อย่างต่อเนือ่ ง แต่ลดลงในปีพ.ศ.
2558 และกลุ่มโรคเน้อื งอกร้ายท่ีตับอ่อน แนวโน้มลดลงเมื่อเปรียบเทียบระหวา่ งปีพ.ศ.2557 และพ.ศ.2558(รปู ที่
19) กลุ่มโรคเนื้องอกร้ายทีเ่ ต้านม(Malignant neoplasm of breast )แนวโน้มเพิม่ ข้นึ มากเม่ือเปรียบเทียบพ.ศ.2545
สว่ นกลุ่มโรคเน้ืองอกรา้ ยที่ปากมดลูก(Malignant neoplasm of cervix uteri) และกลมุ่ โรคเน้ืองอกร้ายเม็ด
เลอื ดขาว(Leukemia) มีแนวโนม้ คงที่และลดลง (รูปท่ี 20)

อตั รา/100,000 Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile ducts
25 Malignant neoplasm of trachea, bronchus and lung
20 Malignant neoplasm of colon, rectum and anus
15 Malignant neoplasm of pancreas

10

5

พ.ศ.
0

2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

รปู ท่ี 17 อตั ราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร ดว้ ยโรคกลุ่มเนือ้ งอกรา้ ยที่ตบั และท่อน้าดี
ในตับ และกล่มุ โรคเน้ืองอกร้ายที่หลอดคอ หลอดลมใหญ่ และปอด จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2549 – 2558

อตั รา/100,000 2550 2551 Malignant neoplasm of cervix uteri 2557 พ.ศ.
6 Malignant neoplasm of breast 2558
Leukaemia
5
2552 2553 2554 2555 2556
4

3

2

1

0
2549

รูปที่ 18 อตั ราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร ด้วยกลมุ่ โรค โรค Malignant neoplasm of
cervix uteri, breast , Leukaemia จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2549 – 2558

ท่ีมา : ข้อมูลการตายจากมรณะบัตร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2549 -2558

สาหรบั การตายจากสาเหตภุ ายนอก พบว่าการตายจากอุบัติเหตุจราจร อุบัติเหตุจมน้าและจมน้า การสัมผัส
กบั ควันไฟและเปลวไฟ การตกจากท่ีสูง การทาร้ายตนเอง ยังเป็นสาเหตุการตายที่สาคัญจังหวัดสุพรรณบุรี(รูปท่ี 21)
ส่วนการตายด้วยกลุ่มโรคติดต่อพบว่าการตายด้วยปอดอักเสบ ปี 2552–2553 มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน แต่ในปี 2554-2555
มีแนวโนม้ ลดลง ปี 2554-2558 มแี นวโนม้ เพิ่มขึ้น โรคเอดส์มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง ตั้งแตป่ ี 2552-2558
วัณโรคในระบบทางเดินหายใจมีอัตราตายมีแนวโน้มเพ่ิมสูงข้ึนตัง้ แต่ ปี 2552–2558 (รปู ที่ 22)

อตั รา/100,000 Transport accidents
Assault
40 Falls
Accidental drowning and submersion
30 Exposure to smoke, fire and flames

20

10

0 พ.ศ.
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557
2558
รปู ที่ 19 อัตราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร ดว้ ย Transport accidents , Assault
,Falls,Accidental drowning and submersion,Exposure to smoke,fire and flame
จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2549 – 2558

อตั รา/100,000

60

Respiratory tuberculosis

50 Human immunodeficiency virus [HIV] disease

Pneumonia

40

30

20

10 พ.ศ.

0

2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

รปู ที่ 20 อตั ราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร ด้วยโรคปอดอกั เสบ เอดส์ และวณั โรคปอด
จังหวัดสพุ รรณบุรี ปี พ.ศ. 2549 -2558

ท่ีมา : ขอ้ มลู การตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2549 –2558

สาเหตกุ ารตายที่สาคญั จาแนกตาม 5 กลุม่ วยั

สรุปสาเหตุการตายที่สาคัญจาแนกตาม 5 กลุ่มวัย(ตารางที่ 18) กลุ่มเด็กอายุต่ากว่า 1 ปีในเพศชาย ได้แก่ 1.ภาวะ
บางอยา่ งที่เรม่ิ ตน้ ในระยะปริกาเนิด 2.รปู ผดิ ปกตแิ ต่กาเนิด รุปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซม และ 3.ปอดปวม ส่วนใน
เพศหญิง ได้แก่ 1.ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกาเนิด 2.รูปผิดปกติแต่กาเนิด รุปพิการและความผิดปกติของโครโมโซม
และ 3.โลหติ จาง กลุ่มเด็กอายุ 1-4 ปี ในเพศชาย ไดแ้ ก่ 1.อบุ ัตเิ หตุจากการจมน้า 2.ทกุ สาเหตภุ ายนอกอ่ืน ๆ และ 3.การติดเช้ือ
ในกระแสโลหิต ส่วนในเพศหญิง ได้แก่ 1.ปอดบวม 2.ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกาเนิด และ 3.การติดเช้ือในกระแส
โลหติ กลุม่ เดก็ อายุ 5-14 ปี ในเพศชาย ไดแ้ ก่ 1.อุบัติเหตุจากการขนส่ง 2.อุบัตเิ หตุจากการจมน้า และ 3.ทุกสาเหตุภายนอกอื่น
ๆ ส่วนในเพศหญิง ได้แก่ 1.อุบัติเหตุจากการขนส่ง 2.โรคปอดบวม และ 3.อุบัติเหตุจากการจมน้า กลุ่มอายุ 15-59 ปี ในเพศ
ชาย ได้แก่ 1.โรคหลอดเลือดสมอง 2.โรคตับ และ 3.โรคหัวใจขาดเลือด ส่วนในเพศหญิง ได้แก่ 1. โรคหลอดเลือดสมอง 2.การ
ตดิ เชอ้ื ในกระแสโลหติ และ 3.มะเรง็ เตา้ นม กลมุ่ อายุ 60 ปขี ้นึ ไป ในเพศชาย ได้แก่ 1.โรคหลอดเลือดสมอง 2.โรคปอดบวม และ
3.มะเร็งไมร่ ะบตุ า่ แหนง่ ในเพศหญิง ไดแ้ ก่ 1.โรคหลอดเลอื ดสมอง 2.โรคปอดบวม และ 3.Septicaemia

ตารางท่ี 18 สรปุ สาเหตกุ ารตายจาแนกตาม 5 กลุ่มวัยทีส่ าคัญ ประจาปีพ.ศ.2554-พ.ศ.2558

สรุป ตา่ กวา่ 1ปีเพศชาย สรปุ ต่ากวา่ 1ปีเพศหญิง

1.Certain conditions orginating in the perinatal 1.Certain conditions orginating in the
period perinatal period
2.Congenital malformations, deformations and 2.Congenital malformations, deformations
chromosomal abnormalities and chromosomal abnormalities
3.Pneumonia 3.Anaemias

สรปุ 1-4ปีเพศชาย สรุป 1-4ปีเพศหญงิ

1.Accidental drowning and submersion 1.Pneumonia
2.All other external causes 2.Certain conditions orginating in the
3.Septicaemia perinatal period
3.Septicaemia
สรปุ 5-14ปีเพศชาย
1.Transport accidents สรุป 5-14ปีเพศหญิง
2.Accidental drowning and submersion 1.Transport accidents
3.All other external causes
4.Congenital malformations, deformations and 2.Pneumonia
chromosomal abnormalities
3.Accidental drowning and submersion
4.Congenital malformations, deformations
and chromosomal abnormalities

สรปุ 15-59ปเี พศชาย สรุป 15-59ปีเพศหญงิ

1.Cerebrovascular diseases 1.Cerebrovascular diseases

2.Diseases of the liver 2.Septicaemia

3.Ischaemic heart diseases 3.Malignant neoplasm of breast
4. Pneumonia 4.Septicaemia
5..Intentional self-harm 5. .Pneumonia
6.Malignant neoplasm of liver and intrahepatic 6. Diabetes mellitus
bile ducts 7.Remainder of diseases of the
7.Human immunodeficiency virus [HIV] disease genitourinary system
8.Respiratory tuberculosis 8.Ischaemic heart diseases
9. Malignant neoplasm of trachea, bronchus 9.Human immunodeficiency virus [HIV]
disease
and lung 10.Diseases of the liver
10.Septicaemia
สรุป 60ปีข้ึนไปเพศหญิง
สรุป 60ปีข้ึนไปเพศชาย
1.Cerebrovascular diseases
1.Cerebrovascular diseases
2.Pneumonia
2.Pneumonia
3.Septicaemia
3.Remainder of malignant neoplasms
4.Remainder of malignant neoplasms
4.Ischaemic heart diseases 5.Diabetes mellitus
5.Chronic lower respiratory diseases 6.Remainder of diseases of the
6.Hypertensive diseases genitourinary system
7.Diabetes mellitus 7.Hypertensive diseases
8.Remainder of diseases of the genitourinary 8.Remainder of diseases of the nervous
system system
9.Malignant neoplasm of trachea, bronchus 9.Ischaemic heart diseases
and lung 10.Malignant neoplasm of trachea, bronchus
10.Malignant neoplasm of liver and intrahepatic and lung
bile ducts

ที่มา:ขอ้ มลู การตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2554 –2558

กลมุ่ งานบรหิ ารทว่ั ไป

กลมุ่ งานบรหิ ารทวั่ ไป
การบรหิ ารการเงินการคลัง

สถานการณ์
สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี ดาเนินการบริหารงบประมาณงบเหมาจ่ายรายหัวประชากร

จากการเฝ้าระวังติดตามข้อมูลสถานการณ์การเงนิ การคลัง รายรับรายจ่ายของโรงพยาบาลเป็นรายเดือน ราย
ไตรมาส และรายปี ซ่ึงให้ความสาคัญกับระบบบัญชีท่ีเป็นเคร่ืองมือทาให้การบริหารทรัพยากรอย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยเร่ิมจัดทาระบบบัญชีเกณฑ์คงค้างและพัฒนางานอย่างต่อเน่ืองมาตั้งแต่ปีงบประมาณ
๒๕๔๖ จนถงึ ปัจจบุ นั กาหนดให้หนว่ ยบรกิ ารทุกระดับบันทึกบัญชีลงในโปรแกรมทุกแห่งตั้งแต่ระดับ รพ.สต.
สสอ. รพช. รพท. รพศ.และ สสจ. และนาส่งข้ึนเว็บไซต์เป็นรายหน่วยงาน มุ่งเน้นการตรวจสอบข้อมูลให้มี
คุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา นาข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ เพื่อพิจารณาการจัดสรร/ปรับเกล่ืยงบ
ประมาณเหมาจา่ ยรายหวั ในภาพรวมของจังหวัด ภายใต้หลักการการบริหารงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ
โดยมีวัตถุประสงคเ์ พ่อื ให้โรงพยาบาลทกุ แหง่ ได้รับงบประมาณอยา่ งเพียงพอ มีการกระจายงบประมาณอย่าง
เหมาะสม สามารถจัดบรหิ ารสาธารณสขุ และส่งเสริมใหป้ ระชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างท่ัวถึง เป็น
ธรรม

ปจั จุบนั ข้อมูลไตรมาส ๔/255๙ หนว่ ยบริการระดับโรงพยาบาล 10 แหง่ ในจังหวัดสุพรรณบุรี มี
โรงพยาบาลท่ีประสบภาวะวกิ ฤตสงู สุดอยู่ระดับ ๖ จานวน ๑ แห่ง คือ โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช
การบริหารจัดการ

๑. แตง่ ต้งั คณะกรรมการตา่ งๆ เพือ่ ดาเนินการดงั นี้

๑.๑ คณะกรรมการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลในการสร้างหลักประกันสุขภาพของ
ประชาชนทกุ คนในจังหวัดสุพรรณบุรีมีการประชุมเป็นประจาทุกเดือน โดยผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรีเป็น
ประธาน ต้ังแต่ปีงบประมาณ ๒๕๔๕ จนถึงปัจจุบัน โดยให้ผู้อานวยการโรงพยาบาลทุกแห่งนาเสนอข้อมูล
การเงินการคลังในประเด็นรายรับ-รายจ่าย สถานการณ์เงินบารุงรวมท้ังแผนการใช้จ่ายเงินบารุงของ
โรงพยาบาล มีการวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บการใชจ้ า่ ย ผลการใหบ้ ริการ รวมทั้งการจ่ายค่าตอบแทน

๑.๒ คณะกรรมการการเงินการคลังสุขภาพ(CFO) ระดับจังหวัดและระดับอาเภอ โดยมี
บทบาทหน้าท่ีในการวิเคราะห์และเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลังของหน่วยบริการในแต่ละระดับ
ไม่ให้เกิดภาวะวิกฤติ รวมถึงมีการประชุมร่วมกันเพ่ือรวบรวมปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการพัฒนา
ปรบั ปรุงแกไ้ ขปญั หา ต่าง ๆ รว่ มกัน

๑.๓ คณะกรรมการศนู ยต์ น้ ทุนระดับจงั หวัด ควบคุม กากับ โรงพยาบาลทกุ แหง่ ให้มี

กลุม่ งานบรหิ ารท่ัวไป

การส่งข้อมูลในการประกอบการคานวณต้นทุนอย่างครบถ้วนและเสนอรายงานตน้ ทุนโรงพยาบาลแบบ
Quick method ต่อผูบ้ รหิ ารทุกเดือนพร้อมวิเคราะห์ตน้ ทุนและควบคุมไม่ใหเ้ กินเกณฑ์คา่ กลางของประเทศ

๑.๔ คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด เพ่ือทาหน้าท่ีตรวจสอบ
ภายในหน่วยงานและหน่วยงานในสังกัดทุกระดบั

๒. พัฒนาความรู้ด้านบัญชีระบบเกณฑ์คงค้างทุกระดับ การจัดทา Single cup financial ซักซ้อม
ความเข้าใจประชุมช้ีแจงการจัดทาแผนการเงินการคลัง (Planfin) การประเมินประสิทธิภาพการบริหาร
การเงินการคลัง Financial Administration Index (FAI) จัดทาโครงการเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงิน
การคลังของคณะกรรมการการเงินการคลังสุขภาพ (CFO) ระดับจังหวัด ระดับอาเภอ และคณะทางาน
การเงินการคลงั สขุ ภาพ (CFO) ระดบั จงั หวัด รวมวงเงินงบประมาณทั้งสิ้น ๕๕,๙๐๐ บาท (ห้าหม่ืนห้าพัน
เกา้ รอ้ ยบาทถ้วน)

ผลการดาเนินงาน

๑. ด้านการดาเนินงานการเฝ้าระวังการเงินการคลังจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่าไตรมาส ๔/๒๕๕๙ มี

โรงพยาบาลประสบภาวะวิกฤติระดับ ๖ จานวน ๑ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช ระดับ ๕

จานวน ๑ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลศรีประจันต์ ระดับ ๓ จานวน ๓ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเดิมบาง

นางบวช โรงพยาบาลดอนเจดีย์ โรงพยาบาลอู่ทอง ระดับ ๑ จานวน ๔ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลสมเด็จ

พระสังฆราชองค์ท่ี ๑๗ โรงพยาบาลด่านช้าง โรงพยาบาลบางปลาม้า โรงพยาบาลหนองหญ้าไซ ระดับ ๐

จานวน ๑ แหง่ ได้แก่ โรงพยาบาลสามชุก ดังแสดงในตารางท่ี ๑ ดังน้ี

ตารางท่ี ๑ แสดงระดับภาวะวกิ ฤติทางการเงินของโรงพยาบาลทุกแหง่ ในจังหวดั สุพรรณบุรี ปงี บประมาณ

๒๕๕๙ ไตรมาส ๔ ณ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙ (รายงาน ณ วันที่ ๑๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙)

หน่วยบรกิ าร ระดับวิกฤติ
รพ.เจ้าพระยายมราช ๖

รพ.สมเดจ็ พระสงั ฆราชองคท์ ี่ ๑๗ ๓

รพ.เดมิ บางนางบวช ๑
รพ.ดา่ นช้าง ๕
รพ.บางปลามา้ ๓
รพ.ศรีประจันต์ ๐
รพ.ดอนเจดีย์ ๓
รพ.สามชุก ๑
รพ.อทู่ อง
รพ.หนองหญ้าไซ

กลุ่มงานบรหิ ารท่วั ไป

ที่มา : เว็บไซต์กลมุ่ ประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

๒. รายงานผลการประเมินระดับความสาเร็จการบริหารการเงินการคลัง (FAI) ไตรมาส ๔

ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ในภาพรวมมีค่าระดับความสาเร็จการบริหารการเงินการคลัง (FAI) คะแนนเฉลี่ย

เท่ากับ ๙๔.๖๐ (เกณฑ์ต้องไม่ต่ากว่า ๙๐) และเม่ือพิจารณารายละเอียด พบว่า หน่วยบริการท่ีมีค่า (FAI)

สูงสุด คือ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ ๑๗ มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๑๐๐ อีก ๙ แห่ง มีค่า

คะแนนเฉลี่ยเทา่ กับ ๙๔.๐๐ ดังแสดงในตารางที่ ๒ ดังน้ี

ตารางที่ ๒ แสดงรายงานผลการประเมินระดบั ความสาเร็จการบริหารการเงนิ การคลัง (FAI) ไตรมาส ๔

ปงี บประมาณ ๒๕๕๙

ตัวชว้ี ดั ท่ี ๑การ ตัวชีว้ ดั ที่ ๒การ ตวั ชวี้ ัดที่ ๓การ ตวั ชว้ี ัดท่ี ๔การ

ควบคมุ พัฒนา บริหาร พฒั นาต้นทนุ

ภายใน เกณฑ์คงคา้ ง การเงินการคลงั บรกิ าร Unit Cost คะแนน
ระดับ ระดบั ระดับ
ลาดบั รหัส รพ ชือ่ รพ FAI=(x1*20)+(x2*20)+(x3*30)+(x4*30)

ระดบั /5

ความสาเรจ็ น้าหนกั ความสาเร็จ นา้ หนักความสาเร็จ น้าหนกั ความสาเรจ็ นา้ หนกั

(x1) (x2) (x3) (x4)

เจ้าพระยา ๙๔.๐๐
๑ ๑๐๖๗๘ ยมราช,รพ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๔ ๑๒๐

ศ.

สมเด็จ ๑๐๐.๐๐
พระสังฆราช
๒ ๑๐๗๓๓ องค์ท1ี่ 7, ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๕ ๑๕๐

รพท.

๓ ๑๑๒๘๙ เดิมบางนาง ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๔ ๑๒๐ ๙๔.๐๐
บวช,รพช.

ด่านช้าง ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๔ ๑๒๐ ๙๔.๐๐
๔ ๑๑๒๙๐ ,รพช.

๕ ๑๑๒๙๑ บางปลาม้า ๔ ๘๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๔ ๑๒๐ ๙๔.๐๐
,รพช.

๖ ๑๑๒๙๒ ศรีประจนั ต์ ๔ ๘๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๔ ๑๒๐ ๙๔.๐๐

กลุ่มงานบริหารทว่ั ไป

ตัวช้วี ัดที่ ๑การ ตัวช้วี ัดที่ ๒การ ตัวชี้วัดที่ ๓การ ตัวช้ีวดั ที่ ๔การ

ควบคุม พฒั นา บริหาร พฒั นาตน้ ทนุ

ภายใน เกณฑค์ งค้าง การเงนิ การคลงั บริการ Unit Cost คะแนน

ลาดับ รหสั รพ ชือ่ รพ FAI=(x1*20)+(x2*20)+(x3*30)+(x4*30)

ระดับ ระดับ ระดบั ระดับ /5

ความสาเร็จ น้าหนัก ความสาเรจ็ นา้ หนักความสาเร็จ น้าหนักความสาเรจ็ น้าหนัก

(x1) (x2) (x3) (x4)

,รพช.

๗ ๑๑๒๙๓ ดอนเจดยี ์ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๔ ๑๒๐ ๙๔.๐๐
,รพช.

สามชุก ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๔ ๑๒๐ ๙๔.๐๐
๘ ๑๑๒๙๔ ,รพช.

๙ ๑๑๒๙๕ อู่ทอง,รพช. ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๔ ๑๒๐ ๙๔.๐๐

หนองหญา้ ๙๔.๐๐
๑๐ ๑๑๒๙๖ ไซ,รพช. ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๔ ๑๒๐

คะแนนเฉลยี่ ๙๔.๖๐

๓. แผนควบคุมค่าใช้จ่ายผันแปรระดับจังหวัด ประจาปี ๒๕๕๙ ไตรมาส ๔ พบว่าแผนประมาณ
การคา่ ใช้จา่ ยผนั แปรเปรียบเทยี บกับคา่ ใช้จา่ ยผันแปรทเี่ กิดข้นึ จริง พบว่า หน่วยบริการทม่ี สี ่วนต่างเกินร้อยละ
๑๐ จานวน ๑ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลดอนเจดีย์ (แต่เป็นด้านดีเพราะค่าใช้จ่ายลดลงจากแผนประมาณการ
และเป็นโรงพยาบาลท่ีทา LOI ) ท่ีเหลืออีก ๙ แห่ง มีส่วนต่างค่าใช้จ่ายผันแปรต่ากว่าแผนไม่เกินร้อยละ ๑๐
จานวน ๔ แห่ง ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลสมเด็จพระสงั ฆราชองค์ท่ี ๑๗ โรงพยาบาลด่านช้าง โรงพยาบาลศรีประจันต์
โรงพยาบาลอู่ทอง (เป็นโรงพยาบาลทที่ า LOI) และโรงพยาบาลที่มสี ่วนต่างค่าใช้จ่ายผันแปรสูงกว่าแผนไม่เกิน
รอ้ ยละ ๑๐ จานวน ๕ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช โรงพยาบาล
บางปลาม้า โรงพยาบาลสามชุกและโรงพยาบาลหนองหญ้าไซ ภาพรวมทั้งจังหวัดค่าใช้จ่ายผันแปรสูงกว่า
ประมาณการรอ้ ยละ ๐.๗๗

ตารางที่ ๓ แสดงภาพรวมแผนประมาณการค่าใชจ้ ่ายผันแปรระดบั จงั หวดั ประจาปี ๒๕๕๙ ไตรมาส ๔
ปีงบประมาณ ๒๕๕๙

กลุม่ งานบรหิ ารท่วั ไป

หนว่ ยบริการ แผน ค่าใช้จ่ายจรงิ รอ้ ยละท่ลี ดลง/
ประมาณการ เพิ่มขน้ึ จากแผน

รพ.เจ้าพระยายมราช ๖๕๑,๕๓๒,๖๖๐.๐๐ ๖๗๐,๓๙๔,๓๕๑.๓๕ + ๒.๘๙

รพ.สมเด็จพระสงั ฆราชองคท์ ี่ 17 ๑๙๙,๓๖๓,๐๐๐.๐๐ ๑๙๗,๗๐๙,๕๔๕.๕๙ - ๐.๘๒

รพ.เดมิ บางนางบวช ๗๘,๑๙๑,๐๐๐.๐๐ ๘๒,๔๙๓,๑๑๒.๑๓ + ๕.๕๐

รพ.ดา่ นช้าง ๖๐,๔๐๐,๐๐๐.๐๐ ๕๕,๔๙๔,๒๖๓.๖๐ - ๘.๑๒

รพ.บางปลามา้ ๔๕,๐๗๓,๐๐๐.๐๐ ๔๕,๓๑๓,๓๔๗.๐๒ + ๐.๕๓

รพ.ศรีประจันต์ ๔๕,๓๕๕,๐๐๐.๐๐ ๔๓,๕๙๑,๓๗๙.๑๕ - ๓.๘๘

รพ.ดอนเจดีย์ ๓๓,๑๑๐,๐๐๐.๐๐ ๒๙,๖๘๔,๙๐๖.๕๐ - ๑๐.๓๔

รพ.สามชุก ๕๒,๔๑๔,๓๔๑.๕๖ ๕๔,๐๔๘,๑๘๒.๗๔ + ๓.๑๑

รพ.อทู่ อง ๑๐๓,๑๐๐,๐๐๐.๐๐ ๙๙,๖๗๑,๗๔๖.๙๕ - ๓.๓๒

รพ.หนองหญา้ ไซ ๒๔,๑๒๘,๐๐๐.๐๐ ๒๔,๓๓๒,๘๖๖.๖๓ + ๐.๘๔

รวม ๑,๒๙๒,๖๖๗,๐๐๑.๕๖ ๑,๓๐๒,๗๓๓,๗๐๑.๖๖ + ๐.๗๗

หมายเหตุ รายการค่าใช้จา่ ยผนั แปร ไดแ้ ก่ ตน้ ทุนยา ตน้ ทนุ เวชภัณฑ์มิใช่ยาและวัสดกุ ารแพทย์

ต้นทุนวสั ดุวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ค่าใชส้ อย คา่ สาธารณปู โภค วสั ดใุ ชไ้ ป

๔. หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุน OPD/IPD ต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉล่ียกลุ่มระดับบริการ (เกณฑ์ไม่
เกนิ ร้อยละ ๒๐) ผ่านเกณฑท์ ุกแห่ง

ตารางที่ ๔ หน่วยบริการในพื้นท่ีมตี ้นทุนตอ่ หนว่ ยไม่เกินเกณฑเ์ ฉล่ยี กลุ่มระดับบริการ

หน่วยบริการ Unit Cost Unit Cost RW Mean+1SD ผลการประเมิน
OPD Unit Cost OPD Unit Cost RW
รพ.เจ้าพระยาฯ OPD I รวม ผา่ น/ไม่ผา่ น
รพ.สมเด็จฯ ๗๒๒.๕๑ ๑๔,๓๔๖.๖๘ ๑,๓๑๐.๗๐ ๑๖,๓๕๗.๔๐ P เกณฑ์
รพ.เดิมบางฯ ๗๔๙.๖๓ ๑๓,๗๑๘.๒๒ ๘๘๕.๐๖ ๒๐,๙๓๑.๑๖ D
รพ.ด่านชา้ ง ๔๘๔.๑๑ ๑๔,๒๗๖.๒๐ ๗๖๖.๘๑ ๑๗,๐๙๙.๗๙ ผ่าน
รพ.บางปลาม้า ๖๓๓.๗๒ ๑๒,๓๙๓.๕๓ ๗๓๔.๕๑ ๑๗,๔๒๐.๙๓ ๑ ๑๒ ผา่ น
รพ.ศรีประจันต์ ๖๗๘.๕๙ ๑๑,๗๒๑.๗๐ ๗๒๔.๓๓ ๑๖,๒๒๐.๖๒ ๑ ๑๒ ผ่าน
รพ.ดอนเจดีย์ ๗๑๓.๒๖ ๑๑,๘๐๗.๙๐ ๗๓๘.๗๔ ๑๖,๓๒๐.๖๒ ๑ ๑๒ ผา่ น
รพ.สามชุก ๕๙๗.๓๓ ๑๓,๖๗๘.๔๖ ๗๕๔.๐๔ ๑๗,๘๒๑.๕๔ ๑ ๑๒ ผา่ น
รพ.อู่ทอง ๖๗๒.๖๓ ๑๒,๙๙๙.๕๗ ๘๑๘.๗๙ ๑๘,๒๑๒.๗๗ ๑ ๑๒ ผ่าน
รพ.หนองหญา้ ไซ ๖๕๕.๓๐ ๑๔,๘๗๐.๙๕ ๖๙๘.๒๑ ๑๔,๙๕๓.๖๗ ๑ ๑๒ ผา่ น
๕๑๒.๖๖ ๑๔,๘๖๗.๔๕ ๘๐๖.๗๑ ๒๐,๖๒๖.๑๒ ๑ ๑๒ ผา่ น
๑ ๑๒ ผ่าน
๑ ๑๒ ผ่าน
๑ ๑๒

กลุ่มงานบริหารท่วั ไป

ที่มา : ข้อมลู จาก เวบ็ ไซด์กลุ่มประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ http://hfo.cfo.in.th ณ สิ้นไตรมาส
๔/๒๕๕๙ (คา่ กลางใชข้ ้อมูลจากไตรมาส ๓/๒๕๕๙ เป็นเกณฑใ์ นการวดั )

๕. คะแนนคุณภาพบญั ชี โรงพยาบาลทุกแห่งในจงั หวดั สุพรรณบรุ ีไตรมาส ๔/๒๕๕๙ คะแนน
คุณภาพบญั ชเี ต็ม ๑๐๐ คะแนนทกุ แหง่

กลุ่มงานบริหารทว่ั ไป

การบริหารจดั การ (ประสิทธภิ าพการจดั ซ้อื จดั จ้างและการเบิกจา่ ยงบประมาณ)

สถานการณ์
ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี (ไมร่ วม รพศ. และ รพท.)

ได้รบั การจัดสรรงบประมาณ ๑๐๒,๐๕๕,๒๕๙.๐๐ บาท โดยแบ่งเป็นงบดาเนินงาน ๕๓,๖๘๖,๖๕๐.๐๐
บาท งบลงทุน ๔๗,๒๕๘,๖๐๙.๐๐ บาท และงบอุดหนนุ ๑.๑๑๐,๐๐๐.๐๐ บาท เมื่อเปรียบเทียบกับ
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ๗๘,๔๗๑,๑๑๘.๐๐ บาท โดยแบ่งเป็นงบ
ดาเนินงาน ๕๗,๑๕๖,๑๔๘.๐๐ บาท งบลงทุน ๒๐,๘๗๔,๙๗๐.๐๐ บาท และงบอุดหนุน ๔๔๐,๐๐๐
บาท พบว่าในภาพรวมการจัดสรรงบประมาณเพิ่มขึ้น ๒๓,๕๘๔,๑๔๑ บาท (ร้อยละ ๓๐.๐๕) โดย
แบ่งเป็นงบดาเนินงานลดลง ๓,๔๖๙,๔๙๘ บาท (ร้อยละ ๖.๐๗) งบลงทุนเพ่ิมขึ้น ๒๖,๓๘๓,๖๓๙ บาท
(รอ้ ยละ ๑๒๖.๓๘) ส่วนงบอดุ หนุนเพิ่มขนึ้ ๖๗๐,๐๐๐ บาท (ร้อยละ ๑๕๒.๒๗)
การบรหิ ารจดั การ

กล่มุ งานบรหิ ารท่ัวไป ได้มกี ารจดั ทาโครงการเพอื่ เพม่ิ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการงานสาธารณสุข
จานวน ๑ โครงการ คือ

โครงการพัฒนาและสนับสนุนการบริหารจัดการงานสาธารณสุข สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ วงเงนิ งบประมาณ ๒,๗๓๓,๓๐๐ บาท (สองล้านเจ็ดแสนสามหม่ืนสาม
พนั สามร้อยบาทถว้ น)

ผลการดาเนินงาน

๑. ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้ดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัด

สพุ รรณบุรแี ละหนว่ ยงานในสงั กัดแล้วเสร็จ ถกู ต้อง ครบถ้วน และทนั เวลา ดงั รายละเอยี ดต่อไปนี้

๑. วิธตี กลงราคา จานวน ๔๑๖ เรื่อง จานวนเงิน ๔,๕๒๓,๓๘๔.๔๕ บาท

๒. วธิ ีสอบราคา จานวน ๔ เรอ่ื ง จานวนเงิน ๔,๑๓๐,๐๐๐.๐๐ บาท

๓. วธิ ี e-bidding จานวน ๗ เรอื่ ง จานวนเงิน ๘๙,๑๒๙,๖๕๐.๐๐ บาท

๔. วิธพี เิ ศษ จานวน ๓ เร่อื ง จานวนเงนิ ๒,๗๑๘,๐๐๐.๐๐ บาท

๕. วิธีกรณพี เิ ศษ จานวน ๑ เร่อื ง จานวนเงนิ ๔๒๖,๓๘๔.๐๐ บาท

๒. การเบกิ จ่ายงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
จานวน ๑๐๒,๐๕๕,๒๕๙.๐๐ บาท โดยแบ่งเป็นงบดาเนินงาน ๕๓,๖๘๖,๖๕๐.๐๐ บาท งบลงทุน
๔๗,๒๕๘,๖๐๙.๐๐ บาท และงบอุดหนุน ๑.๑๑๐,๐๐๐.๐๐ บาท ดาเนินการเบิกจ่ายภาพรวม
๘๒,๖๔๒,๖๔๐.๐๘ คิดเป็นร้อยละ ๘๐.๙๗ โดยแบ่งเป็นงบดาเนินงาน ๕๓,๖๘๕,๗๖๑.๕๘ บาท คงเหลือ

กล่มุ งานบรหิ ารทั่วไป

๘๘๘.๔๒ บาท และงบอุดหนุน ๑,๑๐๙,๙๖๙.๕๐ บาท เงินคงเหลือ ๓๐.๕๐ บาท คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๙๙
และงบลงทุน ๒๗,๘๔๖,๙๐๙.๐๐ บาท คิดเป็นร้อยละ ๕๘.๙๒ คงเหลือเป็นงบผูกพันข้ามปี
๑๙,๔๑๑,๗๐๐.๐๐ บาท

ตารางที่ ๔ แสดงผลการดาเนนิ การเบิกจา่ ยงบประมาณในภาพรวมปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙

ผลผลิต/กจิ กรรม ได้รับจัดสรร ผลการดาเนนิ งาน(บาท) คงเหลือ หมายเหตุ

เบกิ จ่ายระบบ GFMIS รอ้ ยละ (บาท)

สสจ.สุพรรณบรุ ี

งบดาเนนิ งาน ๕๓,๖๘๖,๖๕๐.๐๐ ๕๓,๖๘๕,๗๖๑.๕๘ ๙๙.๙๙ ๘๘๘.๔๒

งบลงทนุ ๔๗,๒๕๘,๖๐๙.๐๐ ๒๗,๘๔๖,๙๐๙.๐๐ ๕๘.๙๒ ๑๙,๔๑๑,๗๐๐.๐๐

งบอดุ หนนุ ๑.๑๑๐,๐๐๐.๐๐ ๑,๑๐๙,๙๖๙.๕๐ ๙๙.๙๙ ๓๐.๕๐

รวม ๑๐๒,๐๕๕,๒๕๙.๐๐ ๘๒,๖๔๒,๖๔๐.๐๘ ๘๐.๙๗ ๑๙,๔๑๒,๖๑๘.๙๒

กล่มุ งานบริหารท่วั ไป

ควบคุมภายใน ตรวจสอบภายใน การประเมินระดบั คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการ

ดาเนินงานภาครัฐ (ITA)

สถานการณ์
สานักงานตรวจเงินแผ่นดินได้ออกระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกาหนด

มาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนามาตรฐานการควบคุมภายในท่ีกาหนด
ไปใช้เป็นแนวทางในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน และปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในท่ีวางไว้
เพื่อให้หน่วยงานบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ
ดาเนินงาน

สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กาหนดให้หน่วยงานภายในสังกัดได้รับการตรวจสอบภายใน
ครอบคลุมทุกระดับ โดยมีประเด็นการตรวจราชการท่ีมุ่งเน้น คือ ๑) แผนการตรวจสอบภายในและการ
ดาเนินการตรวจสอบภายในของทุกหน่วยงานภายในจังหวัด อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ๒) การแจ้งผล
ตรวจสอบภายในกลับใหห้ น่วยงานรับตรวจทราบภายหลงั การตรวจ และมกี ารแก้ไขปรับปรุงตามประเด็นและ
ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจสอบภายใน ๓) การปรับปรุงและวิเคราะห์ปัญหาเพื่อวางระบบแก้ไขปัญหาใน
ภาพรวมจงั หวัด

ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข (ศปท.) ได้ดาเนินกิจกรรมภายใต้
โครงการส่งเสริมสนับสนุนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
(Integrity & Transparency Assessment : ITA) กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๙ เพ่ือยกระดับดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปช่ัน (CPI) ของกระทรวงสาธารณสุขและประเทศไทยมีระดับดี
ขึ้น ทั้งนี้ สานักงาน ป.ป.ท. ได้แจ้งให้หน่วยงานบริหารราชการส่วนภูมิภาค ได้แก่ สานักงานจังหวัด
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด และสานักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจังหวัด เปน็ หน่วยงานนาร่อง
ในการเข้ารว่ มการประเมินดังกลา่ ว

การบรหิ ารจัดการ
๑. ผู้บริหารในทุกระดับใหค้ วามสาคัญเรอื่ งการควบคุมภายใน ตรวจสอบภายใน และการ

ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานภาครัฐ และถ่ายทอดนโยบายให้เจ้าหน้าที่
ผู้ปฏบิ ัตงิ านดาเนนิ การอยา่ งจรงิ จงั และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน

๒. การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ทุกสาขาวิชาชีพที่เก่ียวข้อง โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ
ตรวจสอบภายในภาคีเครือข่ายหน่วยงานในสังกัดสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี เพ่ือทาหน้าที่
ตรวจสอบภายในตามแผนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ จานวน ๑ ครั้ง และมีการประชุมร่วมกัน
อย่างน้อย ๒ คร้ังต่อปี เพ่ือวางแผนการดาเนินงาน รวบรวมปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนา
ปรบั ปรุงแกไ้ ขปัญหาต่าง ๆ รว่ มกนั

กลุ่มงานบรหิ ารท่ัวไป

๓. การแต่งต้ังคณะกรรมการขับเคล่ือนและติดตามผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ว่าด้วยการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริต สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อทาหน้าที่กาหนดนโยบาย
ทิศทาง ให้การสนับสนุน กากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ฯ โดยมี
คณะทางานในการจัดทาแผน กาหนดกิจกรรม และจัดทารายงานผลการดาเนินการท่ีเกย่ี วข้อง

๔. การจัดทาโครงการเพ่มิ ประสิทธิภาพการดาเนินงานด้านงานบริหารทั่วไป จังหวัดสุพรรณบุรี

ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ วงเงินงบประมาณ ๓๔๐,๗๐๐ บาท (สามแสนส่ีหม่ืนเจ็ดร้อยบาทถ้วน) และ

โครงการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ วงเงินงบประมาณ ๓๒,๐๐๐ บาท เพ่ือสนับสนุนการดาเนินงานด้านควบคุม

ภายใน ตรวจสอบภายใน และการประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงาน

ภาครฐั (ITA) ของหนว่ ยงาน

ผลการดาเนนิ งาน
ตารางที่ ๑ แสดงการจัดสง่ รายงานควบคุมภายใน ตามระเบียบ คตง. ของหนว่ ยรบั ตรวจในสังกดั

สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙

ลาดับ หน่วยรับตรวจ การจดั สง่ รายงานควบคุมภายใน ตามระเบียบ คตง.

๑ สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ปี ๒๕๕๙
๒ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
๓ โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสังฆราชองค์ที่ 17   อยรู่ ะหว่างดาเนนิ การ
๔ โรงพยาบาลอู่ทอง
๕ โรงพยาบาลเดมิ บางนางบวช   อยู่ระหว่างดาเนินการ
๖ โรงพยาบาลด่านชา้ ง
๗ โรงพยาบาลบางปลาม้า   อยรู่ ะหวา่ งดาเนนิ การ
๘ โรงพยาบาลศรีประจันต์
๙ โรงพยาบาลสามชุก  
๑๐ โรงพยาบาลดอนเจดยี ์
๑๑ โรงพยาบาลหนองหญ้าไซ   อยู่ระหวา่ งดาเนินการ

  อยู่ระหวา่ งดาเนนิ การ

  อยูร่ ะหวา่ งดาเนนิ การ

  อยรู่ ะหวา่ งดาเนนิ การ

  อยรู่ ะหวา่ งดาเนนิ การ

  อย่รู ะหว่างดาเนนิ การ

  อยู่ระหว่างดาเนนิ การ

หมายเหตุ ๑. ข้อมลู ณ วนั ท่ี ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙
๒. การจดั ส่งรายงานควบคุมภายในตามระเบยี บ คตง. ภายใน ๙๐ วนั ของปงี บประมาณถดั ไป

กล่มุ งานบริหารทวั่ ไป

จากตารางที่ ๑ แสดงการจัดส่งรายงานควบคุมภายใน ตามระเบียบ คตง. ของหน่วยรับตรวจ

ในสังกัดสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ พบว่า

หน่วยรับตรวจในสังกดั สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี มีจานวน ๑๑ หน่วยรับตรวจ ประกอบด้วย

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี และโรงพยาบาลในสังกัด จานวน ๑๐ แห่ง โดยในปีงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๕๗ และปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ หน่วยรับตรวจท้ัง ๑๑ แห่ง มีการจัดส่งรายงานควบคุม

ภายในตามระเบียบ คตง. ครบทุกแห่ง ส่วนในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ข้อมูล ณ วันที่ ๑๘

พฤศจิกายน ๒๕๕๙ มีหน่วยรับตรวจที่จัดส่งรายงานควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. แล้ว ๑ แห่ง คือ

โรงพยาบาล อู่ทอง สว่ นทเ่ี หลอื อกี ๑๐ แห่ง อยู่ระหวา่ งดาเนนิ การ ซ่งึ ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน

๙๐ วันของปีงบประมาณถัดไป

ตารางที่ ๒ แสดงแผนและผลการตรวจสอบภายใน สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙

ลาดับ หน่วยรบั ตรวจ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ปี ๒๕๕๙

แผน ผล แผน ผล แผน ผล

๑ สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

๒ คปสอ. เมอื งสพุ รรณบุรี ๘ ๘ ๘ ๘ ๓๑ ๓๑

๓ คปสอ. สองพ่นี ้อง ๗ ๗ ๗ ๗ ๒๗ ๒๗

๔ คปสอ. อู่ทอง ๗ ๗ ๗ ๗ ๒๔ ๒๔

๕ คปสอ. เดิมบางนางบวช ๖ ๖ ๖ ๖ ๒๒ ๒๒

๖ คปสอ. บางปลามา้ ๖ ๖ ๖ ๖ ๑๙ ๑๙

๗ คปสอ. ดา่ นช้าง ๖ ๖ ๕ ๕ ๑๘ ๑๘

๘ คปสอ. ศรปี ระจันต์ ๕ ๕ ๕ ๕ ๑๖ ๑๖

๙ คปสอ. สามชกุ ๕ ๕ ๕ ๕ ๑๕ ๑๕

๑๐ คปสอ. ดอนเจดีย์ ๔ ๔ ๔ ๔ ๑๑ ๑๑

๑๑ คปสอ. หนองหญ้าไซ ๔ ๔ ๔ ๔ ๑๑ ๑๑

รวม ๕๙ ๕๙ ๕๘ ๕๘ ๑๙๕ ๑๙๕

จานวนหนว่ ยรับตรวจทัง้ หมด ๑๙๕ ๑๙๕ ๑๙๕ ๑๙๕ ๑๙๕ ๑๙๕

คิดเปน็ ร้อยละ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๑๐๐ ๑๐๐

หมายเหตุ คปสอ. หมายความถงึ หนว่ ยงานในระดบั โรงพยาบาล , สานักงานสาธารณสขุ อาเภอและโรงพยาบาลส่งเสรมิ

สขุ ภาพตาบลของแตล่ ะอาเภอ

จากตารางที่ ๒ แสดงแผนและผลการตรวจสอบภายใน สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ พบว่า สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรีซึ่งเป็นหน่วยรบั ตรวจและมีหน่วย

รับตรวจในสงั กดั ประกอบด้วย โรงพยาบาล จานวน ๑๐ แห่ง สานกั งานสาธารณสุขอาเภอ ๑๐ อาเภอ และโรงพยาบาล

กลมุ่ งานบริหารทว่ั ไป

ส่งเสริมสุขภาพตาบล จานวน ๑๗๔ แห่ง รวมท้ังส้ิน ๑๙๕ แห่ง โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ และปีงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๕๘ มแี ผนและผลการตรวจสอบภายใน จานวน ๕๙ แห่ง และ ๕๘ แห่ง ตามลาดับ คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ส่วนใน

ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ มแี ผนละผลการตรวจสอบภายใน จานวน ๑๙๕ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของหน่วยรับตรวจ

ทัง้ หมด

ตารางท่ี ๓ แสดงผลคะแนนการประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ

หน่วยงานภาครฐั (ITA) สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๕๙

แบบประเมิน คะแนนการประเมนิ ITA (ร้อยละ)

ปี ๒๕๕๘ ปี ๒๕๕๙

ผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสียของหน่วยงาน (External) - ๘๒.๖๖

บุคลากรภายในหนว่ ยงาน (Internal) - ๖๘.๙๘

หลักฐานเชิงประจกั ษ์ (Evidence-Based) ๖๐.๗๑ ๙๐.๗๐

คะแนนรวม ๗๔.๗๘ ๘๓.๗๑

จากตารางที่ ๓ แสดงผลคะแนนการประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ

หน่วยงานภาครัฐ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๕๙ พบว่า

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี มีคะแนนรวม ITA ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ และ

ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ค่าคะแนนร้อยละ ๗๔.๗๘ และร้อยละ ๘๓.๗๑ เพิ่มข้ึนร้อยละ ๘.๙๓

คะแนนจากแบบประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ และ

ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ค่าคะแนนร้อยละ ๖๐.๗๑ และร้อยละ ๙๐.๗๐ เพ่ิมขึ้นร้อยละ ๒๙.๙๙

สว่ นคะแนนจากผ้มู ีส่วนไดส้ ว่ นเสีย (External) และบุคลากรภายในหน่วยงาน (Internal) ในปีงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๕๘ ไม่ทราบผล ในขณะท่ีในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ มีค่าคะแนน ร้อยละ ๘๒.๖๖ และ

รอ้ ยละ ๖๘.๙๘ ตามลาดับ

กล่มุ งานบรหิ ารทว่ั ไป

ITA 5

100 90.7 90.7 81.76 90.7 86.05
90 83.71 83.45 76.74 80.82 79.64
80
70 77.8 77.1 72.9 74.42
60 73.49 69.77
50
40 Evidence-Based
30
20
10
0

แผนภาพที่ ๑ ผลการประเมิน ITA เขตสุขภาพที่ ๕
จากแผนภาพที่ ๑ ผลการประเมิน ITA เขตสุขภาพท่ี ๕ พบว่า สานักงานสาธารณสุขจังหวัด

สุพรรณบรุ มี ีผลการประเมิน ITA ในภาพรวม สูงเป็นลาดับที่ ๑ ค่าคะแนน ๘๓.๗๑ รองลงมาลาดับท่ี ๒
จังหวัดเพชรบุรี ค่าคะแนน ๘๓.๔๕ ลาดับท่ี ๓ จังหวัดกาญจนบุรี ค่าคะแนน ๘๑.๗๖ ลาดับที่ ๔
จงั หวัดราชบุรี ค่าคะแนน ๘๐.๘๒ ลาดบั ที่ ๕ จังหวัดนครปฐม ค่าคะแนน ๗๙.๖๔ ลาดับท่ี ๖ จังหวัด
สมุทรสาคร ค่าคะแนน ๗๗.๘๐ ลาดับท่ี ๗ จังหวัดสมุทรสงคราม ค่าคะแนน ๗๗.๑๐ และลาดับท่ี ๘
จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ ค่าคะแนน ๗๒.๙๐ ในขณะที่ผลการประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์สูงสุดลาดับที่ ๑
ค่าคะแนน ๙๐.๗๐ จานวน ๓ จังหวัด คือ จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดราชบุรี
รองลงมาลาดับท่ี ๒ จังหวัดนครปฐม ค่าคะแนน ๘๖.๐๕ ลาดับที่ ๓ จังหวัดกาญจนบุรี ค่าคะแนน
๗๖.๗๔ ลาดับท่ี ๔ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ค่าคะแนน ๗๔.๔๒ ลาดับที่ ๕ จังหวัดสมุทรสาคร
คา่ คะแนน ๗๓.๔๙ และลาดับที่ ๖ จังหวดั สมุทรสงคราม คา่ คะแนน ๖๙.๗๗

กล่มุ งานบรหิ ารทั่วไป

ITA
4
1

Internal 73.24 68.98
External 85.22 82.66
Evidence-Based 86.05 90.70
85.27 83.71

แผนภาพที่ ๒ ผลการประเมิน ITA ระดบั สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั เปรียบเทียบระดับประเทศ

จากแผนภาพท่ี ๒ ผลการประเมิน ITA ระดับสานักงานสาธารณสุขจังหวัด เปรียบเทียบ
ระดับประเทศ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีมีผลการประเมินฯ สูงเป็นลาดับท่ี ๔ ของประเทศ
เมื่อเปรียบเทียบกับสานักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทองที่มีผลการประเมินฯ สูงสุดเป็นลาดับที่ ๑ ของ
ระดับประเทศ พบวา่ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทองมีผลการประเมิน Internal และ External สูง
กว่าสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ที่ค่าคะแนน ๗๓.๒๔ / ๖๘.๙๘ และ ๘๕.๒๒ / ๘๒.๖๖
ในขณะที่ผลการประเมิน Evidence Based สานักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทองมีผลการประเมินต่ากว่า
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ที่ค่าคะแนน ๘๖.๐๕ และ ๙๐.๗๐ ส่งผลให้ผลการประเมินใน
ภาพรวมสานักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทองสูงกว่าสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ท่ี ค่าคะแนน
๘๕.๒๗ และ ๘๓.๗๑

กล่มุ งานบรหิ ารทั่วไป

ITA
1

3

Internal 85.98 77.55 68.98
External 83.16 73.99 82.66
Evidence-Based 76.74 84.88 90.70
87.92 84.73 83.71

แผนภาพท่ี ๔ ผลการประเมิน ITA ระดบั จังหวดั เปรยี บเทยี บกับ ๓ หนว่ ยงานนารอ่ งระดับจงั หวัด

จากแผนภาพที่ ๔ ผลการประเมิน ITA ระดับจังหวัด จังหวัดสุพรรณบุรีมีผลการประเมิน
คะแนนสูงสุดเป็นลาดับที่ ๑ ของประเทศ เม่ือเปรียบเทียบข้อมูลกับ ๓ หน่วยงานนาร่องระดับจังหวัดใน
การเข้าร่วมโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐในระดับจังหวัดสุพรรณบุรี
จานวน ๓ หน่วยงาน ประกอบด้วย หน่วยงานสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สานักงาน
จังหวัดสุพรรณบุรี และสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม มีผลการประเมินภาพรวมสูงสุดเป็นลาดับที่ ๑ ที่ค่าคะแนน ๘๗.๙๒ รองลงมาลาดับท่ี ๒
สานักงานจังหวัดสุพรรณบุรี ค่าคะแนน ๘๔.๗๓ และลาดับที่ ๓ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี
คา่ คะแนน ๘๓.๗๑

กลุ่มงานนติ กิ ร

กลุ่มงานนติ ิการ

งานให้คาปรกึ ษาและความเห็นทางกฎหมาย

ลาดับ กิจกรรม จานวน

ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559

1. ให้คาปรกึ ษาและความเหน็ ทางด้านกฎหมาย กฎ เกือบทุก เกือบทุก เกอื บทกุ เกือบทกุ

ระเบยี บ ข้อบังคับ คาสัง่ และประกาศแก่บุคคล วันทาการ วนั ทาการ วนั ทาการ วันทาการ

และสว่ นราชการ

2. ตีความวนิ ิจฉัยทางด้านกฎหมาย กฎ ระเบียบ - - 5 เรื่อง 4 เรื่อง

ขอ้ บงั คับ คาสัง่ และประกาศแกบ่ คุ คลและส่วน

ราชการ

3. ใหค้ วามเหน็ เกี่ยวกับรา่ งกฎหมายและระเบียบ - - 4 ฉบบั -

ผลการปฏิบัติงานด้านให้คาปรึกษาและให้ความเห็นทางกฎหมาย พบว่าบุคลากรด้าน

สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานอยู่ในสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีและหน่วยงานในสังกัด ขอรับคาปรึกษา

และความเห็นจากนิติกรเก่ียวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ คาส่ังและประกาศต่างๆท่ีเก่ียวกับการ

ปฏบิ ัตงิ านเกือบทุกวันทาการ ผู้ขอรับคาปรึกษามีทั้งผู้บริหารและเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงาน การขอคาปรึกษาส่วน

ใหญจ่ ะตดิ ต่อทางโทรศพั ท์และมาขอคาปรึกษาดว้ ยตนเอง

สาหรบั การตคี วามวนิ ิจฉยั ทางด้านกฎหมายมจี านวน 4 เรอ่ื ง ดงั นี้

1. การจัดซื้อประเป๋าเยี่ยมบ้านพร้อมวัสดุอุปกรณ์ตามโครงการมหกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

และสนับสนุนการปฏบิ ัติงานวนั อสม. แหง่ ชาติ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2559

2. การเบิกขอเงินตามข้อตกลงเพื่อปฏิบัติงานโครงการขับเคล่ือนนโยบายสาธารณะเพื่อ

สุขภาพ จงั หวัดสพุ รรณบุรี

3. ตามขอ้ หารือคาส่ังมอบอานาจของผวู้ า่ ราชการจงั หวัดสุพรรณบรุ ี

4. การดาเนนิ การตามกฎหมายกบั ผทู้ ่นี า่ เช่ือว่ามีความผิดปกตทิ างจิต

กลมุ่ งานนติ ิกร

งานนติ กิ รรมและสญั ญา

ลาดับ กจิ กรรม จานวน

ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559

1. จัดทานิติกรรมและสัญญาตา่ ง ๆ ของสานกั งาน 55 ฉบบั 55 ฉบับ 88 ฉบบั 96 ฉบบั

สาธารณสุขจงั หวัดหรือหนว่ ยงานในสังกดั

2. ตรวจสอบนิตกิ รรมและสัญญาต่าง ๆ ของ 303 ครั้ง 168 ครั้ง 272 ครงั้ 160 ครงั้

สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั และหนว่ ยงานใน

สงั กดั

3. คดิ คานวณคา่ เสยี หายและคา่ ปรบั กบั ผผู้ ิดสัญญา 1 ราย 9 ราย - 8 ราย

4. เรยี กชดใชค้ า่ เสียหายและค่าปรบั กับผู้ผดิ สญั ญา 1 ราย 9 ราย - 8 ราย

5. ทาสญั ญาเงนิ เพม่ิ พิเศษสาหรบั แพทย์ ทนั ตแพทย์ 174 ราย 187 ราย 181 ราย 216 ราย

และเภสชั กร ทีไ่ ม่ทาเวชปฏิบัติส่วนตัว

ปีงบประมาณ 2559 กล่มุ งานนิตกิ าร สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ได้จัดทาสัญญา

รับทุนการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตตามโครงการผลิตพยาบาลโดยใช้เงินบารุงเป็นทุนการศึกษา

จานวน 96 ราย และจดั ทาสัญญาขอรับเงินเพ่ิมพิเศษสาหรับแพทย์ ทันตแพทย์และเภสัชกรท่ีไม่ทาเวชปฏิบัติ

ส่วนตัว จานวน 216 ราย ส่วนการตรวจสอบนติ ิกรรม/สัญญาเก่ียวกบั การจัดซอ้ื จัดจา้ ง จานวน 160 คร้ัง

งานการดาเนนิ การทางวนิ ัย

ลาดับ กิจกรรม จานวน

ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559

1. สบื สวน สอบสวน และดาเนินการทางวินัยแก่ 1 ราย 4 ราย 4 เรื่อง 4 เรอ่ื ง

ขา้ ราชการ พนักงานราชการ และลกู จา้ ง ซง่ึ มี

กรณีถูกกล่าวหาวา่ กระทาความผิดทางวนิ ยั

2. ตรวจสอบและช้ีแจงข้อเท็จจริงกรณีร้องเรียน 13 เร่ือง 9 เรอื่ ง 7 เรอื่ ง 5 เร่ือง

3. สรุปและวเิ คราะห์ข้อมูลขอ้ ร้องเรยี นของ 4 คร้งั 4 ครั้ง 4 ครั้ง 4 ครงั้

หน่วยงานในสงั กดั 153 เร่ือง 112 เรอ่ื ง 110 เรอ่ื ง 83 เรอื่ ง

4. เผยแพร่ เสริมสร้าง พัฒนาความรู้ทางด้านวินยั 3 ครัง้ 1 ครั้ง 2 คร้งั 1 ครง้ั

และการป้องกนั การทจุ ริตคอรร์ ปั ชัน่

ปีงบประมาณ 2559 มีการสืบสวน สอบสวน และดาเนินการทางวินัยกับเจ้าหน้าท่ีในสังกัด

จานวน 4 เร่ือง เป็นกรณีพนักงานกระทรวงสาธารณสุขกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง ฐานละท้ิงหน้าที่

ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่าสิบห้าวันโดยไม่มีเหตุอันสมควร หรือโดยมีพฤติการณ์อัน

แสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ จังหวัดสุพรรณบุรีจึงได้มีคาส่ังลงโทษไล่ออกจาก

ราชการ 3 ราย และกรณีพนักงานกระทรวงสาธารณสุขกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงฐานไม่รักษาชี่อเสียง

กลมุ่ งานนติ กิ ร

ของตน และไม่รักษาเกียรติศักดิ์ของตาแหน่งหน้าที่ราชการมิให้เสื่อมเสียโดยกระทาการใด ๆ อันเป็นการ
ประพฤตชิ ่วั จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ได้มีคาส่ังตดั คา่ จ้างจานวน 5 % เปน็ เวลา 3 เดอื น

การตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริงกรณอี ่ืนๆ มีรายละเอยี ดดังน้ี
1. กรณรี อ้ งเรียนว่าพยาบาลในโรงพยาบาลมภี าวะควบคุมอารมณข์ องตนเองไม่ได้
2. กรณีร้องเรียนว่าสาธารณสุขอาเภอปฏิบัติหน้าที่ไม่โปร่งใส ทุจริต ตรวจสอบและชี้แจง
ข้อเทจ็ จรงิ
3. กรณีร้องเรียนว่าผู้บริหารของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี มีพฤติกรรมไม่
เหมาะสม เร่ืองการใช้เงินสวสั ดกิ ารและอนื่ ๆ รวม 6 ประเดน็
4. ตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีร้องเรียนกล่าวหาว่ามีการส่ังให้สาธารณสุขอาเภอจัดซ้ือ
ครุภัณฑ์ด้วยวิธีตกลงราคา เป็นการแบ่งซือ้ แบ่งจา้ ง
5. ตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีมีผู้ร้องเรียนกล่าวหาเจ้าหน้าท่ีสานักงานสาธารณสุขอาเภอ
บางปลาม้า วา่ มีการทุจรติ นาเงินไปปลกู บ้านและซอื้ รถ

ตารางแสดงจานวนข้อรอ้ งเรียน ปีงบประมาณ 2556 - 2559

ลาดบั ประเภทขอ้ ร้องเรยี น จานวน
ปี 2557 ปี 2558
ปี 2556 ปี 2559
34 33 16
1. ดา้ นพฤติกรรมบริการ 47 16 24 40
20 21 13
4. ด้านคุม้ ครองผูบ้ ริโภค 12 30 20 20
68 3
3. ด้านอนามยั สิง่ แวดล้อมและการควบคุมโรค 30 44 2
2- 2
2. ด้านการรักษาพยาบาลและระบบบริการ 42 112 110 96

5. ดา้ นอนื่ ๆ 8

6. ด้านสิทธกิ ารรักษา 9

7. ด้านการบริหารงานบุคคล 5

รวมทั้งสิ้น 153

กลุ่มงานนิติกร

ดาเนนิ คดีอาญา คดแี พง่ คดีปกครอง คดีตามกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข

ลาดับ กจิ กรรม จานวน

ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559
-
1. วเิ คราะห์ ตรวจสอบ รวบรวมหลักฐานสง่ เอกสาร 1 คดี - 1 คดี
1 คดี
ใหก้ ับพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ เพื่อ 3 ครั้ง

ดาเนนิ การฟ้องคดี แกต้ ่าง คดีอาญา คดแี พง่ -

คดปี กครอง และคดตี ามกฎหมายคุม้ ครองผู้บรโิ ภค

ด้านสาธารณสขุ เช่น กฎหมายว่าด้วยอาหาร

เครอ่ื งสาอาง วัตถุอันตราย และยา

2. ดาเนินการฟ้องและแก้ตา่ งคดีปกครองตามท่ี 1 คดี 1 คดี 1 คดี

ผู้ฟ้องคดหี รือผ้ถู ูกฟ้องคดีมอบหมาย 1 ครงั้ 2 ครัง้ 2 ครง้ั

3. เป็นผ้แู ทนในการประสานคดีกบั พนักงานสอบสวน 1 คดี 1 คดี 1 คดี

พนกั งานอัยการ ศาลในคดอี าญา คดแี พง่ 3 คร้ัง 2 คร้ัง 1 ครง้ั

คดีปกครอง และคดตี ามกฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค

ด้านสาธารณสขุ เช่น กฎหมายวา่ ดว้ ยอาหาร

เครื่องสาอาง วัตถอุ นั ตรายและยา เป็นตน้

ปงี บประมาณ 2559 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรีได้ดาเนินการแก้ต่างคดี โดยจัดทา
รายละเอียดข้อเทจ็ จรงิ ประกอบคาให้การในคดหี มายเลขดาท่ี บ. 183/2558 จานวน 3 คร้งั

งานเผยแพร่ความรูด้ ้านกฎหมาย ปี 2556 จานวน ปี 2559
ลาดับ กจิ กรรม 6 คร้ัง ปี 2557 ปี 2558 9 ครง้ั
4 ครง้ั 4 ครั้ง
1. ประชาสัมพันธ์ เผยแพรก่ ฎหมาย ระเบยี บ คาสั่ง 3 ครั้ง 1 ครั้ง
มติคณะรฐั มนตรแี ละประกาศต่าง ๆ 190 คน 1 ครั้ง 2 ครงั้ 136 คน
170 คน 173 คน
2. เป็นวิทยากรบรรยายความรู้ทางดา้ นกฎหมาย - 1 คร้ัง 1 ครง้ั -
120 คน
3. จัดประชุม อบรม สมั มนาความรู้ทางกฎหมายใหแ้ ก่
นติ กิ ร ผู้ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีนติ กิ ร และฝ่ายบริหาร
โรงพยาบาลในเขตสุขภาพที่ 4-6

กลุ่มงานนิตกิ ร

ปีงบประมาณ 2559 กลุ่มงานนิติการ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นวิทยากร

บรรยายให้ความรดู้ ้านกฎหมายตามโครงการปฐมนิเทศข้าราชการท่ีบรรจุและปฏิบัติงานใหม่ จานวน 1 ครั้ง มี

ผู้เข้ารว่ มปฐมนิเทศ จานวน 136 คน

งานบงั คบั คดตี ามคาพพิ ากษาหรอื คาส่งั

ลาดบั กจิ กรรม จานวน

ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559

1. สบื หาหลักทรัพยล์ กู หนต้ี ามคาพิพากษา 6 คร้งั 1 ครั้ง 6 ครง้ั 9 ครั้ง

96 ราย 33 ราย 79 ราย 78 ราย

2. ประสานเจ้าพนักงานบังคับคดีเพอื่ อายัดหรือ - - - -

ยดึ ทรพั ย์

3. นาเจ้าพนกั งานบงั คบั คดีอายัด หรือยึดทรัพย์ - - - -

งานดาเนนิ มาตรการทางปกครอง ปี 2556 จานวน ปี 2559
ลาดับ กิจกรรม - ปี 2557 ปี 2558 -
- -
1. ดาเนนิ การเตรียมคาสงั่ ทางปกครอง - -- -
2. ดาเนนิ การพจิ ารณาคาส่ังทางปกครอง - 1- -
3. ดาเนินการออกคาส่งั ทางปกครอง --
4. ดาเนินการพิจารณา หรอื กาหนดมาตรการ --

บงั คับทางปกครองตามมาตรา 57 แหง่ -1- -
พระราชบญั ญตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ.
2539
5. เพิกถอนคาสั่งทางปกครอง

งานดาเนินเปรยี บเทยี บคดี ปี 2556 จานวน ปี 2559
ลาดับ กจิ กรรม 28 คดี ปี 2557 ปี 2558 49 คดี
20 คดี 45 คดี
1. เปรียบเทียบปรับหรอื เปรยี บเทยี บคดีตามกฎหมาย
วา่ ด้วยยา อาหารเครื่องมอื แพทย์ เครือ่ งสาอาง
วตั ถุอนั ตราย สถานพยาบาล และพระราชบัญญตั ิ
การสาธารณสขุ พ.ศ. 2535

ปีงบประมาณ 2559 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินการเปรียบเทียบคดี
ผู้กระทาผิดกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข จานวน 49 คดี แยกเป็นผู้กระทาความผิดตาม

กลุ่มงานนติ ิกร

พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 จานวน 25 คดี ผู้กระทาผิดพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 จานวน 22 คดี

และผูก้ ระทาผดิ พระราชบญั ญตั สิ ถานพยาบาล พ.ศ. 2541 จานวน 2 คดี

โดยผู้ท่ีกระทาผิดตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ส่วนใหญ่กระทาผิดในข้อหาผลิตเพ่ือ

จาหน่ายอาหารผิดมาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ 68 รองลงมาคือข้อหาผลิตเพ่ือจาหน่ายอาหารฝ่าฝืนประกาศ

กระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื งมาตรฐาน GMP คิดเป็นรอ้ ยละ 32

สาหรับผู้ท่ีกระทาผิดตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ส่วนใหญ่กระทาผิดในข้อหาไม่จัดให้มี

ฉลากยาตามท่ีข้ึนทะเบียนฯ และข้อหาไม่ใช้ฉลากยาตามท่ีข้ึนทะเบียน คิดเป็นร้อยละ 27.27 เท่ากันทั้ง

2 ข้อหา รองลงมาคือข้อหาไม่จัดทาบัญชียาฯ และข้อหาไม่ควบคุมการจัดทาบัญชียาท่ีซื้อและขาย คิดเป็น

ร้อยละ 18.18 เท่ากนั ทัง้ 2 ขอ้ หา

งานไกล่เกลย่ี ขอ้ พพิ าท

ลาดบั กิจกรรม จานวน

ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559

1. งานระงบั ข้อพิพาทโดยการเจรจาไกลเ่ กลีย่ - - 1 เรื่อง 2 เร่อื ง

งานความรับผิดทางละเมดิ จานวน
ลาดับ กิจกรรม ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559
1 เรอ่ื ง - 1 เร่ือง -
1. ดาเนนิ การเกีย่ วกบั การสอบข้อเทจ็ จริงความ
รับผดิ ทางละเมิด - 1 เรอื่ ง - -

2. ดาเนนิ การเรยี กให้ผู้กระทาละเมดิ ชดใช้ 1 เรื่อง 1 เรือ่ ง - 3 เรื่อง
ค่าเสยี หาย

3. สอบหาข้อเท็จจริงในเบ้ืองต้น

ปีงบประมาณ 2559 มีการสอบหาขอ้ เทจ็ จริงในเบือ้ งตน้ จานวน 3 เรื่อง ดงั น้ี
1. กรณีผู้ป่วยตั้งครรภ์ต่อมามีอากาไอเป็นเลือดเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ต่อมามีอาการ
วกิ ฤตผู้ปว่ ยและทารกเสยี ชีวิต
2. กรณีคลอดบุตรออกมาแล้วมีอาการปกติ ต่อมาเด็กมีอาการชกั เกรง็ และหยดุ หายใจ
3. กรณพี นักงานขบั รถยนต์ ขับรถไปส่งผู้เสยี ชีวิตขากลับประสบอุบตั เิ หตรุ ถตกลงไปในคลอง

กลมุ่ งานนติ ิกร

งานด้านกฎหมายทั่วไปหรืองานอืน่ ๆ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ปี 2556 จานวน ปี 2559
ลาดบั กิจกรรม 2 ครงั้ ปี 2557 ปี 2558 1 ครง้ั
43 ราย 2 ครงั้ 2 ครัง้ 28 ราย
1. ดาเนนิ การจดั ทาคาส่ังเก่ยี วกับการชนั สูตรพลกิ ศพ 2 คร้ัง 249 ราย 255 ราย 2 คร้งั
1 คร้งั 1 คร้ัง 2 ครง้ั 1 ครง้ั
2. งานดา้ นการควบคมุ ภายใน 1 ราย
3. ดาเนนิ การเกย่ี วกบั ศพไม่มญี าติ 3 ครง้ั - 1ครั้ง
4 ราย 1 ราย -
4. ดาเนินการเกีย่ วกบั การขอรบั คา่ ตอบแทนของ 1 ครั้ง
เจ้าหน้าท่ี 3 ครัง้ 4 ครงั้ 2 ครัง้ 1 ครงั้
5 ราย 2 ราย -
5. ดาเนนิ การจดั ทาคาส่งั มอบอานาจ - 2 คร้ัง 3 คร้ัง
6. รว่ มเป็นคณะกรรมการอนุรักษแ์ ละพฒั นาบ้าน 3 ครัง้ 1 ครั้ง -

ยะมะรัชโช (ของโรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช) 2 เรือ่ ง 1 เรอื่ ง
7. หารอื ข้อกฎหมายไปยงั หน่วยงานท่เี ก่ยี วข้อง

ปีงบประมาณ 2559 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีได้จัดทาคาส่ังแต่งตั้งแพทย์ให้
ปฏิบตั ิหนา้ ที่ชนั สูตรพลกิ ศพ 1 คร้งั จานวน 28 ราย

ปีงบประมาณ 2559 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีได้จัดทาคาสั่งมอบอานาจ
จานวน 1 ครง้ั ดงั น้ี

1. คาสงั่ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ท่ี 92/2559 ลงวนั ที่ 7 ตลุ าคม พ.ศ. 2559

กลุ่มงานพฒั นาคุณภาพบริการ

 สรุปผลการดาเนินงานการพัฒนาคุณภาพบริการ จังหวัดสพุ รรณบุรี ปี 2559

1. ด้านโครงสรา้ ง

จังหวัดสุพรรณบุรี มีโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จานวน 10 แห่งประกอบด้วย

โรงพยาบาลศูนย์ (ระดับ A) จานวน 1 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป (ระดับ M1) จานวน 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน

แม่ข่าย (ระดับ M2) จานวน 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ (ระดับ F1) จานวน 1 แห่ง โรงพยาบาล

ชุมชนขนาดกลาง (ระดบั F2) จานวน 6 แห่ง รายละเอียดดังตาราง

ตารางแสดง จานวนโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดสพุ รรณบุรี

ลาดับ โรงพยาบาล การจดั ระดับศกั ยภาพบรกิ าร เพื่อรองรับการส่งต่อ
ที่

1. เจา้ พระยายมราช ระดบั A รพ.ศูนย์

2. สมเดจ็ พระสังฆราช องค์ที่17 ระดบั M1 รพ.ทวั่ ไปขนาดเล็ก

3. อทู่ อง ระดบั M2 รพ.ชมุ ชนแม่ข่าย

4. ด่านชา้ ง ระดบั F1 รพ.ชมุ ชนขนาดใหญ่

5. เดิมบาง ระดับ F2 รพ.ชมุ ชนขนาดกลาง

6. บางปลาม้า ระดบั F2 รพ.ชมุ ชนขนาดกลาง

7. ดอนเจดีย์ ระดบั F2 รพ.ชมุ ชนขนาดกลาง

8. ศรปี ระจนั ต์ ระดับ F2 รพ.ชุมชนขนาดกลาง

9. สามชุก ระดับ F2 รพ.ชุมชนขนาดกลาง

10. หนองหญา้ ไซ ระดับ F2 รพ.ชมุ ชนขนาดกลาง

2. ด้านการพฒั นาคณุ ภาพ
จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินการส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงพยาบาลทุกระดับมีการพัฒนา

คุณภาพ ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข โดยโรงพยาบาลทุกแห่งมีการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานท่ี
กาหนดอย่างเป็นรปู ธรรม ได้แก่ การพฒั นาระบบบรหิ ารคุณภาพโรงพยาบาลมาตรฐาน HA ของสถาบันรับรอง
คุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
แห่งชาติ (HPHNQC) การพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ซ่ึงประกอบด้วย งานห้องปฏิบัติการ
ชันสูตรสาธารณสุข และงานห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย ซึ่งงานห้องปฏิบัติการชันสูตรโรงพยาบาลมีการพัฒนา
คุณภาพตามมาตรฐาน LA ของสภาเทคนิคการแพทย์ และตามมาตรฐานห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ของ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข งานห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัยมีการพัฒนาคุณภาพตาม
เกณฑ์และแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพงานรังสีวินิจฉยั ของกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ

กลุ่มงานพฒั นาคณุ ภาพบรกิ าร

การดาเนนิ งาน

กิจกรรมหลัก การดาเนินงานปี 2559

กิจกรรมหลัก 1 การพัฒนา 1. ทบทวนและจดั ทาคาส่งั คณะกรรมการฯ HA ระดับจงั หวัด

คุณภาพบริการตามมาตรฐาน 2. ทบทวนและจดั ทาคาสงั่ คณะกรรมการฯ HPHNQC ระดับจงั หวัด

HA/HPHNQC 3. มแี ผนงานโครงการพฒั นาคุณภาพบริการตามมาตรฐาน HA, HPHNQC

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี 2559

4. จดั ประชมุ คณะกรรมการฯ HA 1

- ประชุมครัง้ ที่ 1/59 วันที่ 23 มกราคม 2559

- ประชมุ คร้ังท่ี 2/59 วนั ท่ี 17 สิงหาคม 2559

5. รพ.บางปลามา้ ผ่าน HA ข้ัน 3 เมอ่ื วันท่ี 26 ม.ค. 59

6. รพ.เดมิ บางนางบวช ขอประเมนิ HA ขัน้ 3 รบั การประเมินเม่ือวันที่

31 ม.ี ค. - 1 เม.ย. 59

7. พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรในรพ.หนองหญ้าไซ ดว้ ยระบบพี่

เลี้ยงคณุ ภาพโดยทีม QLN จ.สพุ รรณบรุ ีวนั ท่ี 18-19 เม.ย. 59

8. รพ.อทู่ อง ขอ Re – ac ครง้ั ที่ 2 รบั การประเมินจากสรพ.

เม่ือวนั ที่ 18 – 19 พฤษภาคม 2559 รอผลการประเมนิ จากสรพ.

9. รพ.เดิมบางนางบวช ผ่าน HA ข้นั 3 เมื่อวนั ท่ี 31 พ.ค. 59

10. ทีมพ่เี ลีย้ ง QLN เข้านิเทศ รพ.หนองหญ้าไซ เม่ือวนั ที่ 27 ม.ิ ย. 59

11.รพ.หนองหญ้าไซ ขอธารงสภาพข้นั 2 วนั ท่ี 29 ม.ิ ย. 59

12.รพ.อูท่ องขอ Re-ac รพ.สง่ เสริมสขุ ภาพแห่งชาติ (HPHNQC)

เมอ่ื วันที่ 26 ก.ค.59 และผ่านการรบั รองตามเกณฑ์ระดบั ดีมาก

13. รพ.ศรีประจันต์ขอ Re-ac รพ.ส่งเสรมิ สุขภาพ (HPHNQC)

เม่อื วนั ที่ 26 ส.ค.59 และผา่ นการรับรองตามเกณฑร์ ะดับดีมาก

14. ให้รพ.ทุกแหง่ รายงานผลระยะเวลาการรอคอยของผมู้ ารับ

บริการท่ีแผนกผู้ปว่ ยนอก 2 รอบ คือ เดือนมนี าคม และเดือนกนั ยายน 2559

15. สารวจความพงึ พอใจของผูร้ ับบริการ ปลี ะ 1 ครัง้

กิจ ก รร ม หลั ก 2 กา ร พัฒ น า 1.ทบทวนและจดั ทาคาส่ังคณะทางานฯวนั ที่ 11 ก.พ. 59

คุณภาพเครือข่ายห้องปฏิบัติการ 2. จัดประชุมคณะทางานฯ Lab

ชนั สูตร (Lab) - ประชุมคร้ังท่ี 1/59 วันที่ 18 พ.ย. 59

- ประชมุ ครงั้ ที่ 2/59 วนั ท่ี 6 ม.ค. 59

- ประชุมครง้ั ท่ี 3/59 วนั ที่ 5 เม.ย. 59

- ประชุมครง้ั ท่ี 4/59 วันท่ี 1 ส.ค. 59

- ประชุมครง้ั ท่ี 5/59 วันที่ 10 ส.ค. 59

3.งานห้องปฏบิ ัตกิ ารชนั สูตรโรงพยาบาลทุกแหง่ ผ่านการรับรองธารง

สภาพ ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

กลมุ่ งานพฒั นาคณุ ภาพบรกิ าร

กิจกรรมหลกั การดาเนินงานปี 2559

กิ จ ก ร ร ม ห ลั ก 3 ก า ร พั ฒ น า 1 . ท บ ท ว น แ ล ะ แ ต่ ง ตั้ ง ค ณ ะ ท า ง า น ฯ วั น ที่ 1 1 ก . พ . 5 9

คุณภาพเครือข่ายห้องปฏิบัติการ 2. ประชุมคณะกรรมการ เครอื ข่ายรังสี จ.สุพรรณบรุ ี

รงั สีวทิ ยา - ประชมุ ครงั้ ท่ี 1/59 วันท่ี 21 พ.ค. 59

- ประชมุ ครง้ั ที่ 2/59 วนั ท่ี 5 ส.ค. 59

3.งานห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัยโรงพยาบาลทุกแห่งผ่านการรับรองธารง

สภาพต า ม เ ก ณ ฑ์ ม า ต ร ฐ า น ง า น รั ง สี วิ นิ จ ฉั ย โรงพยาบาลของ

กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

3. สรปุ ผลการดาเนินงานตามตวั ช้ีวดั
3.1 ดา้ นการพฒั นาคุณภาพโรงพยาบาลตามมาตรฐาน HA/HPHNQC
พบว่า โรงพยาบาลท้ังหมด จานวน 10 แห่ง มีโรงพยาบาลที่ผ่านการรับรอง คุณภาพตามมาตรฐาน

HA จานวน 9 แห่ง คดิ เปน็ ร้อยละ 90 ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช, โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17,
โรงพยาบาลด่านช้าง, โรงพยาบาลศรีประจันต์, โรงพยาบาลดอนเจดีย์, โรงพยาบาลสามชุก, โรงพยาบาลอู่ทอง
โรงพยาบาลบางปลาม้า และโรงพยาบาลเดิมบางนางบวช มีโรงพยาบาลท่ีธารง HA ข้ัน 2 จานวน 1 แห่ง ได้แก่
โรงพยาบาลหนองหญา้ ไซ และมโี รงพยาบาลทขี่ อ Re – ac คร้งั ที่ 2 จานวน 2 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลอู่ทอง (รับ
การประเมินจากสรพ. เมื่อวันท่ี 18 – 19 พฤษภาคม 2559 และ สรพ.จะเข้าเย่ียมเฉพาะเร่ืองวันที่ 25 ตุลาคม
2559 ) และ รพ.สมเดจ็ พระสงั ฆราชองค์ที่ 17 (สรพ.จะเข้าเยีย่ มวนั ท่ี 24 – 25 พฤศจกิ ายน 2559 ) ดังตาราง

ตารางแสดง การพัฒนาคณุ ภาพโรงพยาบาล จงั หวัดสพุ รรณบุรี (ณ 1 พฤศจิกายน 2559)

ลาดับ โรงพยาบาล ข้ัน 2 HA วดป.หมดอายุ
ที่ ขัน้ 3 18 พ.ค.61

1. รพศ.เจ้าพระยายมราช 19 พ.ค.58 (Re–ac2) 30 พ.ค.62
8 ม.ค.60
2. รพท.สมเดจ็ พระสงั ฆราช องค์ท1่ี 7 สรพ.เข้าเยยี่ ม 24 -25 พ.ย.59 25 ม.ค. 61
21 ธ.ค.61
3. รพช.เดมิ บางนางบวช 31พ.ค. 59 26 ก.พ.60
12 ต.ค.61
4. รพช.ด่านชา้ ง 9 ม.ค. 58
28 ม.ิ ย. 60
5. รพช.บางปลาม้า 26 ม.ค. 59

6. รพช.ศรีประจนั ต์ 22 ธ.ค. 58 (Re–ac1)

7. รพช.ดอนเจดยี ์ 27 ก.พ. 58

8. รพช.สามชกุ 13 ต.ค.58 (Re–ac1)

9. รพช.อทู่ อง สรพ.เข้าเยยี่ ม 25 ต.ค. 59

10. รพช.หนองหญา้ ไซ 29 มิ.ย. 59

รวม 1 9

กลมุ่ งานพัฒนาคณุ ภาพบรกิ าร

การพฒั นาคุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC) มีโรงพยาบาล

ผ่านการรับรองคุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ จานวน 10 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 100

3.2 ด้านการพฒั นาคุณภาพหอ้ งปฏิบตั กิ ารชนั สูตร

โรงพยาบาล มีการพัฒนาคุณภาพผ่านการรับรองตามเกณฑ์มาตรฐานของสภาเทคนิคการแพทย์ LAจานวน6แห่ง

คิดเป็นร้อยละ 60 ได้แก่ รพ.สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่17, รพ.ด่านช้าง, รพ.บางปลาม้า, รพ.ศรีประจันต์, รพ.ดอนเจดีย์

และรพ.หนองหญ้าไซ และผ่านการรับรองตามมาตรฐานห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ของ

กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ท้ัง 10 แหง่ คดิ เป็นร้อยละ 100 รายละเอียดดังตาราง

ตารางแสดง ผลการดาเนินงาน ห้องปฏิบตั ิการชนั สูตรในโรงพยาบาลผา่ นเกณฑ์ LA สภาเทคนิคการแพทย์

จาแนกรายโรงพยาบาล จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2559

ลาดับ โรงพยาบาล เป้าหมาย ผลงาน รอ้ ยละ
1. เจา้ พระยายมราช 1 0 0
2. สมเดจ็ พระสงั ฆราชองคท์ ี่ 17 1 1 100

3. เดิมบางนางบวช 100

4. ดา่ นชา้ ง 1 1 100

5. บางปลามา้ 1 1 100
6. ศรปี ระจันต์ 1 1 100

7. ดอนเจดีย์ 1 1 100

8. สามชกุ 100

9. อทู่ อง 100
10. หนองหญ้าไซ 1 1 100

รวม 10 6 60

ตารางแสดง ผลการดาเนินงานห้องปฏบิ ตั ิการชนั สตู รในโรงพยาบาล ผ่านเกณฑ์ ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

จาแนกรายโรงพยาบาล จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2559

ลาดบั โรงพยาบาล เป้าหมาย ผลงาน รอ้ ยละ

1. เจา้ พระยายมราช 1 1 100
1
2. สมเด็จพระสังฆราชองค์ท่ี 17 1 1 100
3. เดิมบางนางบวช 1 100

4. ด่านชา้ ง 1 1 100
5. บางปลามา้ 1 1 100

6. ศรีประจันต์ 1 1 100
7. ดอนเจดีย์ 1 1 100

8. สามชุก 1 1 100

9. อู่ทอง 1 1 100
10. หนองหญา้ ไซ 1 1 100

กลุ่มงานพฒั นาคุณภาพบรกิ าร

รวม 10 10 100

สาหรบั การพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการชันสูตร ใน รพ.สต./ศสม.ทุกแห่ง มีการพัฒนาคุณภาพ

อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ผลการดาเนินงาน พบว่า ผ่านเกณฑ์ (มาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข) จานวนท้ังหมด 79 แห่ง

คิดเป็นร้อยละ 45.40 โดย รพ.สต.ผ่านเกณฑ์ จานวน 76 แหง่ รอ้ ยละ 43.68 และ ศสม. ผ่านเกณฑ์ จานวน 3

แห่ง คดิ เป็นร้อยละ 60 รายละเอยี ดดงั แสดงในตาราง

ตารางแสดง ผลการดาเนินงานห้องปฏิบัติการชันสูตร ใน รพ.สต./ศสม. ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

จาแนกรายอาเภอ จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2559

รพ.สต. ศสม. รวม
ลาดบั อาเภอ เปา้ หมาย ผลงาน ร้อยละ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ เป้าหมาย ผลงาน รอ้ ยละ

1 เมอื ง ฯ 29 4 13.79 3 2 66.66 32 6 18.75
20 4 20
2 เดิมบาง ฯ 20 4 20 16 1 68.75
17 3 17.64
3 ด่านช้าง 16 11 68.75 14 14 100
9 9 100
4 บางปลามา้ 17 3 17.64
2 1 50 27 9 33.33
5 ศรีประจันต์ 14 14 100 13 13 100
22 4 18.18
6 ดอนเจดีย์ 9 9 100 9 6 66.66

7 สองพน่ี ้อง 25 8 32

8 สามชุก 13 13 100

9 อ่ทู อง 22 4 18.18

10 หนองหญ้าไซ 9 6 66.66

รวม 174 76 43.68 5 3 60 179 79 45.40

3.3 ดา้ นการพฒั นาคณุ ภาพหอ้ งปฏบิ ัติการรงั สีวนิ จิ ฉัย
โรงพยาบาล มีการพัฒนาคุณภาพงานรังสีวินิจฉัยมาอย่างต่อเน่ืองท้ัง 3 ด้าน (ด้านความปลอดภัย,

ด้านบริการรังสีวินิจฉัย, ด้านคุณภาพบริการ) โดยผลการประเมิน พบว่า ร้อยละ 100 ของห้องปฏิบัติการรังสี
วินิจฉัยของโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ และตติยภูมิ ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพงานบริการรังสีวินิจฉัย ตาม
เกณฑม์ าตรฐานงานรงั สวี ินจิ ฉยั โรงพยาบาลของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ทั้ง 10 แห่ง
ดงั แสดงในตาราง

กล่มุ งานพัฒนาคุณภาพบริการ

ตารางแสดง ผลการพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏบิ ัติการงานรังสวี ินิจฉัย ตามเกณฑ์มาตรฐานงานรังสวี นิ จิ ฉัย
โรงพยาบาลของกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปี 2559

ลาดบั ท่ี โรงพยาบาล คะแนน ระดับ หมายเหตุ
92.17 ดเี ดน่ ผา่ นเกณฑ์ขัน้ ดเี ดน่
1 รพศ.เจา้ พระยายมราช 94.64 ดเี ดน่ ผ่านเกณฑ์ขนั้ ดเี ดน่
94.74 ดเี ดน่ ผ่านเกณฑ์ขน้ั ดเี ดน่
2 รพท.สมเด็จพระสงั ฆราช ฯ 17 99.48 ดเี ดน่ ผ่านเกณฑ์ข้นั ดเี ดน่
96.80 ดเี ดน่ ผ่านเกณฑ์ขั้นดเี ดน่
3 รพช.เดิมบางนางบวช 87.63 ดเี ดน่ ผ่านเกณฑ์ขั้นดเี ดน่
96.70 ดเี ดน่ ผ่านเกณฑ์ขนั้ ดเี ดน่
4 รพช.ด่านช้าง 96.80 ดเี ดน่ ผ่านเกณฑ์ข้นั ดเี ดน่
91.38 ดีเด่น ผา่ นเกณฑ์ขัน้ ดเี ดน่
5 รพช.บางปลามา้ 90.10 ดเี ดน่ ผา่ นเกณฑ์ขั้นดเี ดน่

6 รพช.ศรปี ระจันต์

7 รพช.ดอนเจดีย์

8 รพช.สามชกุ

9 รพช.อู่ทอง

10 รพช.หนองหญ้าไซ

3.4 การลดระยะเวลาการรอคอยในการรบั บริการสขุ ภาพ

ตามที่กระทรวงสาธารณสุข ได้กาหนดแนวทางในการขับเคลื่อนการปฏิรูปด้านสาธารณสุข เพื่อ

รองรับนโยบายการปฏิรูปประเทศไทย ในปี 2561 – 2565 โดยได้จัดทาแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service

Plan) ที่มีเป้าหมาย ให้ระยะเวลาการรอคอยเฉลี่ยของผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก (non investigate)

ใน รพศ, รพท, รพช ไมเ่ กนิ 120 นาทนี ั้น ผลการดาเนินงานในปี 2559 พบว่า จังหวัดสุพรรณบุรี มีโรงพยาบาล

ทผ่ี ่านเกณฑต์ ามเปา้ หมาย ดงั กลา่ วจานวน 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ได้แก่ โรงพยาบาลสามชุก โรงพยาบาลอู่ทอง,

โรงพยาบาลบางปลาม้า, โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช, โรงพยาบาลหนองหญ้าไซ, โรงพยาบาลดอนเจดีย์,

โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ท่ี 17, โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช, โรงพยาบาลด่านช้าง และ โรงพยาบาล

ศรีประจันต์ โดยในเดือน มีนาคม 2559 มีระยะเวลารอคอยเฉล่ีย(นาที) จากน้อยไปหามากดังน้ี 43, 58.05,

69.08, 75.03, 86.22, 107, 109, 110.17, 112.6 และ 117.63 ตามลาดบั รายละเอียดดงั แสดงในตาราง

ตารางแสดง สรุประยะเวลาการรอคอยของผมู้ ารบั บริการท่ีแผนกผ้ปู ่วยนอก (non investigate โรงพยาบาล

ในจังหวดั สุพรรณบรุ ี เดือนมีนาคม 2559

ระยะเวลา (นาท)ี รวม

ที่ โรงพยาบาล รอ รอ พบ รอตรวจ พบ รอใบสั่ง รอรบั ระยะเวลา
แพทย์ ยา ยา รับบรกิ าร
บตั ร พยาบาล พยาบาล ทง้ั หมด

1. เจ้าพระยายมราช 28.79 17.98 3.23 25.39 8.01 3.63 26.14 110.17

2. สมเดจ็ พระสังฆราชองคท์ ี่ 17 11 18 4 21 22 5 28 109

3. เดมิ บางนางบวช 3.17 31.03 4.07 15.50 2.26 - 19 75.03

4. ดา่ นชา้ ง - 22.8 2.5 49.7 3.8 1 32.8 112.6

5. บางปลาม้า 1.07 24.68 5.21 21.82 4.12 - 12.17 69.08

6. ศรปี ระจนั ต์ 15 36 5.23 47.1 3.30 - 11 117.63

7. ดอนเจดีย์ 1 48 4 47 2 3 2 107

กล่มุ งานพัฒนาคณุ ภาพบรกิ าร

8. สามชกุ 1 12 4 10 2 6 8 43
9. อ่ทู อง 3.7 4.1 3.7 29.1 2.9 1.0 13.55 58.05
10. หนองหญา้ ไซ 0.45 45.20 3.0 22.16 2.15 - 13.26 86.22

สาหรับเดือน กันยายน 2559 ผ่านเกณฑ์ตามเป้าหมาย จานวน 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลสามชกุ , โรงพยาบาลหนองหญา้ ไซ, โรงพยาบาลอู่ทอง, โรงพยาบาลบางปลาม้า, โรงพยาบาลด่าน

ชา้ ง, โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช, โรงพยาบาลดอนเจดีย์, โรงพยาบาลศรีประจันต์ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช

องค์ที่ 17 และ โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช โดยมีระยะเวลารอคอยเฉลี่ย(นาที) จากน้อยไปหามาก ดังนี้ 36, 72.36,

79, 83.03, 104.5, 107.38, 109.19, 110, 117 และ 119.23 ตามลาดบั รายละเอยี ดดังแสดงในตาราง

ตารางแสดง สรุประยะเวลาการรอคอยของผู้มารับบริการท่ีแผนกผู้ป่วยนอก (non investigate โรงพยาบาล

ในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี เดอื นกนั ยายน 2559

ระยะเวลา (นาที) รวม

ท่ี โรงพยาบาล รอ รอ พบ รอตรวจ พบ รอใบสั่ง รอรับ ระยะเวลา
แพทย์ ยา ยา รบั บริการ
บัตร พยาบาล พยาบาล ทั้งหมด

1. เจา้ พระยายมราช 28.24 13.96 3.59 30.84 8.06 3.73 30.81 119.23

2. สมเดจ็ พระสงั ฆราชองคท์ ่ี 17 13 18 4 38 4 7 33 117

3. เดมิ บางนางบวช 1.31 35.03 3.33 39.49 3.16 - 25.06 107.38

4. ดา่ นช้าง - 34.6 2.1 32 4.8 1 30 104.5

5. บางปลามา้ 1.1 33.32 4.54 18.89 5.05 - 20.13 83.03

6. ศรีประจันต์ 10 22 5 55 6 - 12 110

7. ดอนเจดยี ์ 0.35 49.23 5.04 40.10 3.57 - 10.50 109.19

8. สามชุก 13 2 12 3 5 10 36

9. อทู่ อง 3.8 4.85 5.16 48.02 3.24 1.0 12.93 79

10. หนองหญ้าไซ 0.55 33.29 3.28 23.48 3.23 - 8.53 72.36

3.5 ดา้ นความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ าร

จากการสารวจความพงึ พอใจของผู้มารับบริการในโรงพยาบาลท่ีแผนกผู้ป่วยนอก ของจังหวัดสุพรรณบุรี

ในเดือนกมุ ภาพันธ์ –พฤษภาคมปงี บประมาณ2559พบว่าผู้มารบั บรกิ ารมคี วามพงึ พอใจเฉลี่ยในภาพรวม ร้อยละ 85.63 ผ่าน

เกณฑ์เป้าหมายที่กาหนดไว้ (ร้อยละ85) โรงพยาบาลที่มีความพึงพอใจสูงสุด3อันดับแรกได้แก่ รพ.สมเด็จพระสังฆราชองค์ท่ี17

รอ้ ยละ 89.10 รองลงมาคือ รพ.บางปลาม้า ร้อยละ 88.40 และ รพ. เดิมบางนางบวช ร้อยละ 88.25 ตามลาดับ ดังตาราง

ตารางแสดง จานวนและร้อยละความพึงพอใจของผมู้ ารบั บริการในโรงพยาบาล ทแี่ ผนกผปู้ ว่ ยนอกจงั หวดั สุพรรณบุรี ปี 2559

ลาดับที่ โรงพยาบาล จานวนผตู้ อบแบบสอบถาม ร้อยละของความพงึ พอใจ
1. เจา้ พระยายมราช 200 87.13
2. สมเดจ็ พระสังฆราชองคท์ 1ี่ 7 200 89.10
3. เดิมบางนางบวช 240 88.25
4. ดา่ นช้าง 193 80.78
5. บางปลาม้า 335 88.40

กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพบรกิ าร

6. ศรปี ระจันต์ 370 84.17
7. ดอนเจดีย์ 200 83.76
8. สามชกุ 200 84.34
9. อทู่ อง 200 84.36
10. หนองหญา้ ไซ 200 86.05
2,338 85.63
รวม

จากการสารวจความพงึ พอใจของผมู้ ารบั บริการในโรงพยาบาลที่แผนกผู้ป่วยใน ของจังหวัดสุพรรณบุรีใน
เดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม ปีงบประมาณ 2559 พบว่า ผู้มารับบริการ มีความพึงพอใจเฉลี่ยในภาพรวม
ร้อยละ 88.35 สงู กวา่ เป้าหมายทกี่ าหนดไว้ (ร้อยละ 85) โรงพยาบาลที่มีความพึงพอใจสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ รพ.อู่ทอง
ร้อยละ97.45รองลงมาเปน็ รพ.เจา้ พระยายมราช รอ้ ยละ91.05 และรพ.หนองหญา้ ไซร้อยละ90.17ตามลาดบั ดังตาราง
ตารางแสดง จานวนและร้อยละ ความพึงพอใจของผมู้ ารับบริการในโรงพยาบาล ที่แผนกผู้ปว่ ยใน จังหวัดสพุ รรณปี 2559

ลาดบั ท่ี โรงพยาบาล จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม รอ้ ยละของความพงึ พอใจ
1. เจ้าพระยายมราช 100 91.05
2. สมเดจ็ พระสงั ฆราชองคท์ ่1ี 7 103 86.77
3. เดมิ บางนางบวช 100 85.98
4. ดา่ นชา้ ง 128 85.40
5. บางปลามา้ 273 87.38
6. ศรปี ระจันต์ 140 86.74
7. ดอนเจดีย์ 100 90.89
8. สามชกุ 100 81.63
9. อู่ทอง 100 97.45
10. หนองหญา้ ไซ 100 90.17
1,244 88.35
รวม

กลุม่ งานทนั ตสาธารณสุข

ผลการดาเนินงานทันตสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2559

1.สถานการณ์และสภาพปญั หาสุขภาพชอ่ งปาก (Base line)

1.1 สถานการณส์ ขุ ภาพชอ่ งปาก

กลุ่มอายุ สภาวะทนั ตสุขภาพ สถานการณส์ ภาวะทนั ตสขุ ภาพ
ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 เกณฑ์เปา้ หมาย

เด็กอายุ ฟนั นา้ นมผุ 8 7.6 7.2 9.9 -

18 เดือน ค่าเฉลีย่ ฟันผุ อดุ ถอน (ซ่/ี คน) - - 1.1 - -

เด็กอายุ ฟนั นา้ นมผุ 63.1 53.7 45.6 49.1 ไม่เกนิ รอ้ ยละ 50

3 ปี ค่าเฉลย่ี ฟันผุ อดุ ถอน (ซี/่ คน) 3.5 2.7 1.9 1.8 -

เดก็ อายุ ฟันแทผ้ ุ 49.2 34.4 38.0 32.0 ไม่เกนิ รอ้ ยละ 50

12 ปี ค่าเฉลีย่ ฟันผุ อดุ ถอน ในฟันแท้ (ซี่/คน) 1.5 0.8 0.9 0.7 -

มีฟันใชง้ านอยา่ งนอ้ ย 20 ซี่ 39.0 45.4 35.5 42.9 -

ผูส้ งู อายุ มฟี ันใช้งานอย่างน้อย 4 คู่สบ (ฟันแท-้ ฟันเทยี ม) 61.0 51.8 44.2 47.2 ร้อยละ 60

มีคสู่ บฟนั หลงั อยา่ น้อย 4 คสู่ บ (ฟันแท้) 33.0 35.3 24.4 27.5 -

1.2. สถานการณ์ทรัพยากรบคุ ล (อตั รากาลังการใหบ้ ริการสุขภาพช่องปาก)

ระดับ ผใู้ ห้ ระดบั ทตุ ภิ ูมิ - ตตยิ ภูมิ ระดับปฐมภูมิ

หนว่ ย บริการ โรงพยาบาล (คน) บริการสขุ ภาพช่องปาก ศสม./รพ.สต. (แหง่ )

CUP บรกิ าร ทงั้ หมด ทันต ทนั ตา รวม ท้ัง ศสม. รพ.สต. หมนุ รวม ร้อยละ
(คน) แพทย์ ภิบาล หมด มที ันตา เวยี น

(02,06) (แห่ง) ภบิ าล บรกิ าร

ประจ้า

รพ.เจ้าพระยายมราช A 43 22 3 25 32 2 17 2 19 59.3

รพ.สมเด็จพระสังฆราช องค์ท่ี17 M1 28 15 2 17 27 - 11 1 12 44.4

รพ.อู่ทอง M2 15 5 3 8 22 - 7 1 8 36.3

รพ.ดา่ นชา้ ง F1 13 4 3 7 16 - 6 5 12 68.7

รพ.เดิมบางนางบวช F2 19 8 3 11 20 - 8 0 8 40.0

รพ.บางปลามา้ F2 17 7 3 10 17 - 7 2 9 52.9

รพ.ศรีประจันต์ F2 13 3 3 6 14 - 7 0 7 50.0

รพ.ดอนเจดีย์ F2 12 4 4 8 9 - 4 0 4 44.4

รพ.สามชกุ F2 14 5 2 7 13 - 7 0 7 53.8

รพ.หนองหญ้าไซ F2 10 4 3 7 9 - 3 2 5 55.5

รวม 184 77 29 106 179 2 77 13 90 50.2

การสารวจสภาวะช่องปากของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2558 พบว่า เด็กอายุ 18 เดือน
มีฟันน้านมผุร้อยละ 9.9 แม้ว่าฟันเพ่ิงขึ้นในช่องปากได้ไม่นานและอัตราการเกิดโรคเพ่ิมสูงข้ึนอย่างรวดเร็วใน

กลุ่มงานทันตสาธารณสุข

เด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้านมผุถึงร้อยละ 49.1 ในกลุ่มน้ีร้อยละ 1.5 เริ่มมีการสูญเสียฟันแล้ว ท้ังท่ีฟันน้านมควร
หลุดตามปกติในช่วงอายุ 6-13 ปี เป้าหมายทันตสุขภาพประเทศไทย ปี 2559 ต้องการให้เด็กอายุ 3 ปี และ
อายุ 12 ปี ปราศจากฟันผุ ร้อยละ 50 จังหวัดสุพรรณบุรี เด็กวัยเรียน (อายุ 12 ปี) มีปัญหาฟันแท้ผุร้อยละ
32 มีค่าเฉล่ียฟันผุ ถอน อุด (DMFT) 0.7 ซี่/คน สาเหตุของการเกิดโรคฟันผุมีความซับซ้อนและมีปัจจัยที่
เกีย่ วขอ้ งหลายปจั จยั รว่ มกัน ทง้ั ปัจจัยทางชวี วทิ ยา ปจั จยั ทางสังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม เช่น พฤติกรรมการเลี้ยงดู
ทีไ่ ม่ถูกต้อง การดดู นมขวดคาปาก การปล่อยให้เด็กหลับคาขวดนมเป็นประจา การไม่ดูดน้าตามหลังดูดนม ทา
ความสะอาดช่องปากไม่สม่าเสมอ การชอบรับประทานของหวาน การแปรงฟันน้อยกว่าวันละ 2 คร้ัง หรือไม่
แปรงฟันเลย และการที่เด็กไม่เคยพบทันตแพทย์ ผลเสียที่เห็นได้ชัดคือหากฟันน้านมผุลุกลาม จนทะลุโพรง
ประสาทฟันอาการปวดทรมาน ทาให้เด็กไม่สามารถเค้ียวอาหารรับประทานอาหารได้น้อยลง จะส่งผลกระทบ
ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของร่างกายและสมองของเด็ก ปัจจัยเส่ียงท่ีพบคือ พฤติกรรมการด่ืมน้าอัดลมและน้าหวาน
ร้อยละ 57.2 และ ร้อยละ 43.9 ตามลาดับ การบริโภคขนมกรุบกรอบซ่ึงมีส่วนผสมของแป้งและน้าตาลสูง
มแี นวโน้มเพ่ิมข้นึ ตามกระแสนิยมและจากส่ือโฆษณา นอกจากจะก่อให้เกิดฟันผุแล้วแล้วยังเป็นสาเหตุของโรค
อ้วนของเด็กในปัจจุบัน ผู้สูงอายุมีจานวนมากข้ึนและมีอัตราการสูญเสียฟันค่อนข้างสูงท่ีต้องพ่ึงพาบริการ
จังหวดั สพุ รรณบุรี มผี ้สู ูงอายุที่มีคู่สบฟันหลังใช้งานได้อย่างเหมาะสมอย่างน้อย 4 คู่สบ (ฟันแท้) เพียงร้อยละ
27.5 (เปา้ หมายประเทศ ปี 2560 ร้อยละ 60)

ส้านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ด้าเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่อง

ปากแก่ประชาชนในทุกกลุ่ม ทั้งด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟ้ืนฟูสภาพ และพัฒนาระบบบริการ

สุขภาพ สาขาสขุ ภาพชอ่ งปากเพื่อลดอตั ราการเกิดโรคฟนั ผแุ ละเพิ่มการเข้าถงึ บริการสขุ ภาพชอ่ งปาก

2. เปา้ ประสงค์ (ผลลพั ธท์ ี่ต้องการ)

2.1 ลดอัตราการเกิดโรคฟนั ผใุ นเด็กอายุ 3 ปี และ 12 ปี (ต้า่ กวา่ ร้อยละ 50)

2.2 ผูส้ งู อายุมคี ูส่ บฟันหลังใช้งานไดอ้ ย่างเหมาะสมอยา่ งนอ้ ย 4 คู่ ไมน่ ้อยกว่า รอ้ ยละ 55

2.3 อัตราการเข้าถึงบริการสขุ ภาพช่องปากของประชาชน เพมิ่ ขนึ้

3. ตวั ช้ีวัดการดาเนนิ งาน ปีงบประมาณ 2559

4.1 ศสม./รพ.สต. ให้บรกิ ารสุขภาพชอ่ งปากที่มีคุณภาพ รอ้ ยละ 50

4.2 ศสม./รพ.สต.จดั บริการสขุ ภาพชอ่ งปากประชาชนทกุ กลุ่มวัย ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 20

4.3 ประชาชนทกุ กลุ่มวยั ในทุกเครือข่ายบริการเข้าถงึ บริการสขุ ภาพชอ่ งปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30

4. ผลการดาเนินงานตามตัวช้ีวัด ปีงบประมาณ 2559

การจดั บรกิ ารสุขภาพช่องปาก จังหวัดสุพรรณบุรี มีการกระจายบริการให้ครอบคลุมทุกหน่วยบริการ

ภายในเครือขา่ ยของ CUP (ศศม./รพ.สต.) เพือ่ ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุ และเพ่ิมอัตราการเข้าถึงเข้าถึงบริการ

สขุ ภาพชอ่ งปาก ดงั นี้

4.1 ศสม./รพ.สต.จัดบรกิ ารสุขภาพช่องปากทมี่ ีคณุ ภาพ ครบ 3 องคป์ ระกอบ

4.1.1 ศสม./รพ.สต. จดั บริการสุขภาพชอ่ งปากไดต้ ามเกณฑ์ (สปั ดาห์ละ 1 วัน)

4.1.2 รพ.สต.ทุกแหง่ จัดจัดบริการสขุ ภาพช่องปากใน 6 กลมุ่ เปา้ หมาย 14 กจิ กรรม

หัตถการ ANC 0-2 ปี 3-5 ปี 6 ปี 6-12 ปี 60 ป+ี เบาหวาน

ตรวจสุขภาพช่องปาก √ √ √√ √√

กลมุ่ งานทนั ตสาธารณสขุ

ฝึกทักษะการแปรงฟนั √√

ทา Fluoride √√

เคลอื บหลุมรอ่ งฟนั √

บรกิ ารทนั ตกรรม (พ้นื ฐาน) √ √ √

4.1.3 รพ.สต.ทุกแหง่ มีการจดั บรกิ ารสุขภาพช่องปากประชาชนทุกกลมุ่ วยั ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 20

4.1.1 ศสม./รพ.สต. จัดบริการสุขภาพชอ่ งปากได้ตามเกณฑ์ (สัปดาห์ละ 1 วนั )

ระดบั ทั้งหมด (แห่ง) บริการสุขภาพช่องปากระดบั ปฐมภูมิ (แห่ง)

CUP หน่วย ศสม. รพ.สต. ศสม. รพ.สต. หมุน รวม ร้อยละ

บริการ (P1) (P2) เวยี น

รพ.เจา้ พระยายมราช A 3 29 2 17 2 19 59.3

รพ.สมเด็จพระสังฆราช องคท์ ่ี 17 M1 2 25 - 11 1 12 44.4

รพ.อู่ทอง M2 - 22 - 7 1 8 36.3

รพ.ดา่ นชา้ ง F1 - 16 - 6 5 12 68.7

รพ.เดิมบางนางบวช F2 - 20 - 8 0 8 40.0

รพ.บางปลามา้ F2 - 17 - 7 2 9 52.9

รพ.ศรปี ระจันต์ F2 - 14 - 7 0 7 50.0

รพ.ดอนเจดยี ์ F2 - 9 - 4 0 4 44.4

รพ.สามชุก F2 - 13 - 7 0 7 53.8

รพ.หนองหญ้าไซ F2 - 9 - 3 2 5 55.5

รวม 5 174 1 77 13 90 50.2

หมายเหตุ : ข้อมลู จากรระบบ HDC ณ วันท่ี 4 พฤศจกิ ายน 2559

รปู ที่ 1 ศสม./รพ.สต. จดั บริการสุขภาพชอ่ งปากไดต้ ามเกณฑ์ (สัปดาหล์ ะ 1 วนั ) ปงี บประมาณ 2559

รอ้ ยละ เกณฑ์รอ้ ยละ 50

80 68.7
70
60 50.2 59.3
50 40 52.9 50 44.4 44.4 53.8
40 36.6
30 29.7

20

10

จงั หวดั เมอื ง เดิมบาง ด่านชา้ ง บางปลาม้า ศรีประจันต์ ดอนเจดยี ์ สองพ่ีน้อง สามชุก อู่ทอง หนองหญ้าไซ

กลมุ่ งานทนั ตสาธารณสุข

จังหวัดสุพรรณบุรี ได้เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากของประชาชน โดยทันตบุคลากรจาก

รพ.หรือ รพ.สต. หมุนเวียนไปจัดบริการสุขภาบริการสุขภาพช่องปากใน ศสม./รพสต.ท่ีไม่มีทันตาภิบาล จ้านวน

13 แห่งคอื ทันตแพทยห์ มุนเวยี นให้บรกิ ารใน ศสม.2 แหง่ ( ศสม.ปราสาททอง/ศสม.ประตูสาร) และทันตบุคลากร

หมุนเวียนใน ศสม./รพ.สต. 11 แห่ง และ รพ.สต.มีทันตาภิบาลประจ้า 77 แห่ง รวมจัดบริการสุขภาพช่องปาก

โดยทันตบุคลากรได้รวมทง้ั ส้นิ 90 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 50.2 ได้ตามเป้าหมาย (รอ้ ยละ 50)

4.1.2) รพ.สต.ทุกแห่ง จดั บริการสุขภาพชอ่ งปากใน 6 กล่มุ เป้าหมาย 14 กจิ กรรม

CUP ระดบั หนว่ ยบรกิ าร รพ.สต.(แห่ง) ผลงาน (แหง่ ) รอ้ ยละ

รพ.เจ้าพระยายมราช A 29 19 65.52

รพ.สมเดจ็ พระสงั ฆราช องคท์ ่ี 17 M1 25 24 96.0

รพ.อทู่ อง M2 22 21 95.45

รพ.ดา่ นชา้ ง F1 16 8 50.0

รพ.เดิมบางนางบวช F2 20 17 85.0

รพ.บางปลามา้ F2 17 15 88.24

รพ.ศรปี ระจันต์ F2 14 10 71.43

รพ.ดอนเจดยี ์ F2 9 8 88.89

รพ.สามชุก F2 13 13 100

รพ.หนองหญ้าไซ F2 9 9 100

รวม 174 144 82.76

หมายเหตุ : - ผลงานนบั จากจ้านวน รพ.สต./ศสม.ทมี่ ีผลงานในขอ้ 16,17,18,19,20,21,23,24,25,26,27,29,30,31,32

(ทุกข้อ) มากกวา่ 0

- ข้อมูลจากรระบบ HDC ณ วันที่ 10 พฤศจกิ ายน 2559

รปู ที่ 2 ศสม./รพ.สต. จดั บรกิ ารสุขภาพช่องปากใน 6 กลุ่มเป้าหมาย 14 กิจกรรม ปีงบประมาณ 2559

รอ้ ยละ

100 85 88.2 88.8 96 100 95.4 100
90 82.7

80 71.4

70 65.5

60 50
50
40

30

20

จังหวดั เมือง เดิมบาง ดา่ นช้าง บางปลาม้า ศรปี ระจันต์ ดอนเจดยี ์ สองพ่ีน้อง สามชุก อู่ทอง หนองหญ้าไซ

กล่มุ งานทันตสาธารณสุข

ศสม./รพ.สต.ทุกแห่ง (179 แห่ง) ร่วมจัดบริการสุขภาพช่องปากใน 6 กลุ่มเป้าหมาย 14 กิจกรรม

จ้านวน 144 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 82.76 โดย รพสต.ของ อ.สามชุก และ อ.หนองหญ้าไซ ร่วมจัดบริการสุขภาพ

ช่องปากทุกแห่ง และได้ตามเกณฑ์ทุกแห่ง (ร้อยละ 100) รองลงมาคือ อ.สองพ่ีน้อง ร้อยละ 96.0 และ อู่ทอง

ร้อยละ 95.4

4.1.3) รพ.สต.จดั บริการสุขภาพช่องปากไม่นอ้ ยกว่า 200 คน ตอ่ 1,000 ประชากร (ร้อยละ 20)

CUP ระดบั รพ.สต. ผลงานจัดบรกิ าร รอ้ ยละ
หนว่ ยบริการ (แห่ง) (แหง่ )

รพ.เจ้าพระยายมราช A 29 8 27.59

รพ.สมเดจ็ พระสงั ฆราช องคท์ ี่ 17 M1 25 21 84.0

รพ.อู่ทอง M2 22 16 72.73

รพ.ดา่ นชา้ ง F1 16 9 56.25

รพ.เดิมบางนางบวช F2 20 15 75.0

รพ.บางปลามา้ F2 17 8 47.06

รพ.ศรีประจนั ต์ F2 14 10 71.43

รพ.ดอนเจดยี ์ F2 9 8 88.89

รพ.สามชุก F2 13 13 100

รพ.หนองหญ้าไซ F2 9 6 66.67

รวม 174 114 65.52

หมายเหตุ : - ข้อมลู จากรายงาน HDC ปีงบประมาณ 2559 (ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2559)

- จ้านวน รพ.สต./ศสม. ทีม่ ีรายงานผลลพั ธบ์ รกิ าร ข้อที่ 1 มีค่ามากกว่า 20

- ข้อ 1 รายงานประชากรในเขตรบั ผดิ ชอบทไ่ี ดร้ บั บริการที่มีรหสั หตั ถการทางทันตกรรม

รปู ที่ 3 รพ.สต.ท่ีมผี ลงานการจดั บรกิ ารสุขภาพชอ่ งปากมากกวา่ 200 คน ต่อ 1,000 ประชากร

(ร้อยละ 20)

รอ้ ยละ 75 88.8 100
100 56.2 84

80 65.5 71.4 72.7
60 66.7

47

40 27.5
20

จงั หวดั เมือง เดมิ บาง ดา่ นช้าง บางปลาม้า ศรปี ระจันต์ ดอนเจดีย์ สองพน่ี อ้ ง สามชุก อู่ทอง หนองหญา้ ไซ


Click to View FlipBook Version