The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-30 23:16:01

รายงานประจำปี2559

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

กลุ่มงานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

ปัจจุบนั จังหวัดสพุ รรณบรุ ีมีโครงการทีด่ าเนนิ การกับเยาวชนมากมายหลายหน่วยงานและมีงบประมาณของ
สสส..ลงในพืน้ ที่ แตเ่ รอื่ งของพฤติกรรมท่ีไม่ปลอดภัยกลับสูงขึ้น ความรู้เรื่องโรคเอดส์ในทุกกลุ่มนักเรียนยังคงไม่ถึง
ร้อยละ 80 ดังนั้นในฐานะที่งานควบคุมโรคเอดส์และกามโรค เป็นหน่วยงานหลักของพฤติกรรมเหล่านี้ และเป็น
งานท่ีท้าทายในเรื่องพฤติกรรมของคน จึงควรกลับมามองและทบทวนว่ากระบวนใดท่ียังคงเป็นจุดอ่อนและ
กระบวนการใดหรือตรงจุดใดที่จะทาให้พฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยดีขึ้น นักเรียนมีความตระหนักในการปูองกัน
โรคมากขึ้นและส่งผลไปถึงการมีความรู้ในเรื่องของการปูองกันโรคเอดส์สูงข้ึนด้วยและยุค คสช.กฎหมายค้ามนุษย์
และค้าประเวณีมีความรุนแรงทาให้การเข้าถึงพนักงานบริการเข้าถึงยากมาก อาชีพเหล่านี้พลันตัวไปค้าบริการใน
รูปแบบอืน่ ๆ เช่นไลน์ เฟรชบุค๊ คาราโอเกะ ขายตรง เป็นต้น

กล่มุ งานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

สรปุ ผลการดาเนินงาน

การควบคุมและป้องกันวัณโรค

วิเคราะหส์ ถานการณ์ สภาพปญั หาของพื้นท่ี

วัณโรคเป็นโรคติดต่อท่ีเป็นปัญหาสาคัญของจังหวัดสุพรรณบุรี จากปัญหาการแพร่ระบาดซ่ึงมีแนวโน้ม
เพ่มิ สงู ข้ึนในแต่ละปี ในขณะทผี่ ลการดาเนนิ งานความสาเรจ็ ในการรักษาค่อนข้างต่า ผู้ปุวยบางส่วนในชุมชนยังไม่ได้
รับการวินิจฉัย มารับการรักษาล่าช้า มาโรงพยาบาลเม่ืออาการเป็นมากแล้ว บางรายมารักษาด้วยโรคอื่นๆ ทาให้
เสียชวี ิตกอ่ นการรกั ษาครบ บางรายรักษาไมต่ อ่ เน่อื งขาดการรักษา ทาใหเ้ กดิ การด้อื ยาและแพร่กระจายเช้ือวัณโรค
ในชมุ ชน สาหรบั การประเมนิ ผลงานรอบปี ๒๕๕๘ (ประเมนิ ผลงานจากผู้ปุวยวัณโรคท่ีข้ึนทะเบียนในปีงบประมาณ
๒๕๕๘) พบว่าจากข้อมูลภาพรวม มีผปู้ วุ ยวัณโรคทกุ ประเภท ๘๘๘ ราย เป็นผู้ปุวยวัณโรครายใหม่ (เสมหะพบเชื้อ
เสมหะไม่พบเช้ือ และวัณโรคนอกปอด) จานวน ๗๖๗ ราย ผู้ปุวยวัณโรคกลับเป็นซ้า (เสมหะพบเชื้อ เสมหะไม่พบ
เช้ือ และวัณโรคนอกปอด) ๑๘ ราย และผู้ปุวย วัณโรคที่เคยรักษามาก่อนไม่รวมกลับเป็นซ้าจานวน ๑๐๓ ราย
นอกจากน้ี ยังพบวา่ มผี ู้ปุวยวณั โรคเชอ้ื ดอื้ ยาหลายขนาน รวมทัง้ ส้ิน ๑ ราย
ตารางที่ ๑ การเปรียบเทียบผลการดาเนินงานอตั ราความสาเร็จของการรกั ษาในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘

ผลการดาเนินงาน ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ
๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘
๑. ความสาเรจ็ ของการรกั ษา
๒. ผปู้ ว่ ยเสียชีวิต จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ
๓. ผู้ปว่ ยขาดยา
๔. การรกั ษาล้มเหลว ๓๗๓ ๘๓.๘๒ 353 85.27 661 84.20

๔๕ ๑๐.๑๑ 45 10.87 71 9.04

๑๓ ๒.๙๒ 3 0.72 21 2.68

๗ ๑.๕๗ 10 2.42 12 15.29

กลุ่มงานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

จากตารางพบว่า การเสียชวี ติ ของผูป้ ุวยวณั โรคยงั คงเป็นปญั หาสาคัญของจังหวัดสุพรรณบุรี จะเห็นได้ว่ายัง
ไม่บรรลเุ ปาู หมายของตัวช้ีวดั จากการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ปุวยวัณโรคพบว่า ผู้ปุวยเข้าสู่ระบบการรักษาล่าช้า เป็น
ผู้ปุวยสูงอายุ มาโรงพยาบาลเม่ือมีอาการมากแล้ว ผู้ปุวยติดเชื้อเอดส์ร่วมด้วย บางรายมีโรคเรื้อรังประจาตัว หรือ
ผู้ปุวยท่ีมีอาการหนักมาโรงพยาบาลด้วยโรคอื่นๆ แต่ตรวจพบว่าเป็นวัณโรคด้วย ส่วนอัตราความสาเร็จการรักษา
(Success Rate) ก็ยังไม่บรรลุเปูาหมายของตัวชี้วัดเช่นกัน นอกจากนี้ยังพบว่าอัตราการขาดยาเพิ่มขึ้น และอัตรา
การล้มเหลวในการรกั ษามีแนวโนม้ เพ่ิมสูงข้ึน ทั้งนี้จะต้องหามาตรการแกไ้ ขต่อไป

ตารางที่ ๒ แสดงผลงานวัณโรค ปงี บประมาณ ๒๕๕๘

ลา ผลสาเร็จ/ตัวชว้ี ัด เมอื ง สองพ่ี เดมิ สามชกุ ศรี บาง อู่ทอง ดอน ด่าน หนอง รวม

ดบั น้อง บางฯ ประจันต์ ปลาม้า เจดยี ์ ช้าง หญา้ ไซ

1 Success rate เป้าหมาย 196 146 66 33 42 33 115 37 93 24 785

ร้อยละ ๙๐ ผลงาน 171 118 61 30 38 25 96 32 71 19 661

รอ้ ยละ 87.24 80.82 92.94 90.90 90.48 75.76 83.48 86.49 76.34 79.17 84.20

2 Death rate น้อย เป้าหมาย 171 118 61 30 38 25 96 32 71 19 661
กวา่ ร้อยละ ๓ ผลงาน 8 18 4 2 1 5 13 4 12 4 71

รอ้ ยละ 4.08 12.33 6.06 6.06 2.38 15.15 11.30 10.81 12.90 16.67 9.04

3 Default rate เปา้ หมาย 171 118 61 30 38 25 96 32 71 19 661
ขาดยาเป็น ๐ ผลงาน 3 6 0 0 0 1 1 0 9 1 21

ร้อยละ 1.53 4.11 0 0 0 3.03 0.87 0 9.68 4.17 2.68

4 Failure rate เปา้ หมาย 171 118 61 30 38 25 96 32 71 19 661

ผลงาน 6 2 0 0 2 0 1 1 0 0 12

รอ้ ยละ 3.06 1.37 0 0 4.76 0 0.87 2.70 0 0 15.29

หมายเหตุ : การจดั เก็บขอ้ มลู จากระบบรายงาน รายงาน TB ๐๗ รายงาน TB ๐๗/๑ และ รายงาน TB ๐๘

กลมุ่ งานโรคติดต่อและควบคุมโรค

เมื่อประเมินผลการดาเนินงานรายอาเภอ พบว่า อาเภอท่ีมีผลสาเร็จของการรักษามากกว่าร้อยละ ๙๐ มี
จานวน ๓ อาเภอ ได้แก่ อาเภอเดิมบางนางบวช (๙๒.๙๔%) อาเภอสามชุก (๙๐.๙๐%) และอาเภอศรีประจันต์
(๙๐.๔๘%) ส่วนอัตราการเสียชีวิตพบสูงสุดในอาเภอหนองหญ้าไซ (16.67%) รองลงมาอาเภอบางปลาม้า
(15.15%) และอาเภอด่านช้าง (๑๒.๙๐%)
มาตรการสาคัญและกลวิธีดาเนนิ งาน

1.การค้นหาเชงิ รุกในกลุ่มเสย่ี ง ไดแ้ ก่ ผู้ปุวยทีต่ อ้ งขังออกมาจากเรือนจา ผู้สัมผัสวัณโรคโรคร่วมบ้าน ผู้ปุวย
โรคเบาหวาน ผู้ปวุ ย COPD ผู้สงู อายุ และแรงงานต่างด้าว ฯลฯ

2.การพฒั นาคณุ ภาพการตรวจหาเชอ้ื วัณโรคดอ้ื ยาทางห้องปฏบิ ตั ิการ
2.1 การประกันคุณภาพการวินจิ ฉยั วัณโรค (Exernal Quality Assurrance) ของโรงพยาบาล
2.2 การส่งเสมหะเพื่อทดสอบความไวต่อยาวัณโรค ผู้ปุวยวัณโรครายใหม่เน้นในกลุ่มผู้เคยถูกต้องขัง ผู้

ติดเช้ือเอชไอวี ผู้ปุวยเบาหวาน บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ปุวยเป็นวัณโรค และผู้มีประวัติสัมผัสวัณ
โรคเชอ้ื ดอ้ื ยาหลายขนาน ส่วนผู้ปุวยท่ีมีประวัติการเคยเป็นวัณโรคมาก่อนส่งตรวจทดสอบความไวต่อยาวัณโรคทุก
ราย

3. การพัฒนาคุณภาพการดูแลการรกั ษาวัณโรค เนน้ ใช้ยาทมี่ ีคณุ ภาพและมาตรฐานร่วมกับ
3.1 การควบคมุ กากบั การกินยาแบบมพี ี่เล้ยี ง
3.2 Patient-center appoach ใหผ้ ู้ปวุ ยมีส่วนรว่ มในการรกั ษาและชมุ ชนชว่ ยสนบั สนุน
3.3 โรงพยาบาลพฒั นาตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพการดูแลรกั ษาวณั โรค

4. สง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนและภาคประชาสงั คมและการดาเนินงานอาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งด้าน
วัณโรค

5. การพฒั นาศกั ยภาพการดูแลรกั ษาผปู้ ุวยวัณโรคและวัณโรคเช้ือดื้อยาหลายขนาน(MDR-TB) แก่บุคลากร
สาธารณสขุ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บา้ น

กลุ่มงานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

ปญั หาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ

๑. อัตราผู้ปุวยเสียชีวิตสูง อัตราการขาดยาสูง และการรักษาที่ล้มเหลว ทาให้อัตราความสาเร็จต่าลงไป
ด้วย จึงไม่บรรลุตามเปูาหมาย จึงควรมีการ ศึกษาสาเหตุการเสียชีวิตและสาเหตุของการขาดยา อย่างจริงจังใน
รูปแบบงานวิจยั หรอื เก็บสถิติขอ้ มลู อย่างชดั เจน เพอื่ นามาใช้อ้างองิ และวิเคราะหป์ ัญหาของพื้นที่และนามาปรับปรุง
พัฒนาแกไ้ ขต่อไป ซึ่งขณะนก้ี าลังดาเนนิ การอยู่ รวมทง้ั ควรมกี ารติดตามกากับและประเมินผลการดาเนินกิจกรรมดูแล
ผู้ปุวยเป็นระยะๆ เช่น การเป็นพ่ีเล้ียงกากับการกินยา การเย่ียมติดตามผู้ปุวยของโรงพยาบาล/ โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบลที่ดูแลผู้ปุวย อย่างเข้มงวดและต่อเน่ือง เพื่อปูองกันการขาดการรักษาซ่ึงจะส่งผลให้อัตราความสาเร็จ
ตา่ ลงไปดว้ ย

๒. ผู้ปุวยเข้าสู่ระบบการรักษาล่าช้า แนวทางการแก้ปัญหาของจังหวัดสุพรรณบุรี ยังต้องเน้นการเร่งรัด
ค้นหาเชิงรุกเพิ่มมากข้ึน/คัดกรองผู้มีอาการสงสัยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงต่างๆ ได้แก่ ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน ผู้ติดเชื้อ/
ผู้ปุวยเอดส์ ผู้สูงอายุ ผู้ปุวยโรคเรื้อรัง ผู้ต้องขังเรือนจา ฯลฯ ในชุมชนและสถานบริการอย่างต่อเน่ือง การส่ง
เสมหะเพาะเชื้อที่รวดเร็ว การเก็บเสมหะอย่างมีคุณภาพ และมีระบบรายงานผลการตรวจเสมหะที่รวดเร็ว เพ่ือให้
แพทย์สามารถวนิ ิจฉัยและใชเ้ ป็นแนวทางการรักษาทม่ี ปี ระสิทธิภาพต่อไป

๓. ปัญหาในการนาระบบฐานข้อมูลวัณโรคอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบออนล์ (TBCM online) มาใช้ในทุก
โรงพยาบาล ดังนั้นจึงต้องทาการเร่งรัดการพัฒนาบุคลากรในการบันทึกข้อมูลในโปรแกรม ท้ังในหน่วยบริการของ
โรงพยาบาล และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลน้ัน ได้ดาเนินการครอบคลุมทุกพ้ืนที่แล้ว แต่ยังคงมีปัญหาใน
ระบบของหน่วยบรกิ ารบางแห่ง ซึ่งได้นเิ ทศตดิ ตามแกไ้ ขเป็นระยะ เพื่อใหส้ ามารถนาข้อมูลจากโปรแกรมมาใช้ในการ
ควบคุมกากบั และประมวลผล ทาให้การติดตามผู้ปุวยในชุมชนรวดเร็วข้ึน ผู้ปุวยขาดยาน้อยลง การนิเทศติดตามทุก
ระดับ/ทุกไตรมาสอย่างเข้มข้น การประชุมติดตามความ ก้าวหน้าทุกไตรมาสเพื่อวิเคราะห์ปัญหาท่ีแท้จริงในเชิงลึก
แลว้ นามาปรบั ปรงุ พัฒนาแก้ไขในพ้ืนที่ตอ่ ไป

ผู้รบั ผิดชอบงาน ชญั ญาภรณ์ โชตทิ ววี ฒั น์ ตาแหน่งนักวชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ

กลุ่มงานโรคติดต่อและควบคุมโรค

สรุปผลการดาเนินงาน

งานสร้างเสริมภูมิคุม้ กันโรค

1.วิเคราะหส์ ถานการณ์ สภาพปญั หาของพน้ื ที่

สถานการณ์ปัญหาระดบั จังหวดั
จากข้อมลู การเฝูาระวงั โรคที่ปูองกนั ด้วยวัคซนี ตั้งแต่วันท่ี 1 มกราคม 2559 – 8 สิงหาคม 2559

พบวา่ มผี ปู้ ุวย โรคตบั อักเสบบี จานวน 55 คน คิดเป็น 6.48 ตอ่ แสนประชากร ไมม่ ีผเู้ สยี ชีวติ ผปู้ วุ ยโรคหัด
จานวน 2 ราย คดิ เปน็ 0.24 ต่อแสนประชากร ไมม่ ผี เู้ สียชวี ติ และ ผ้ปู วุ ยโรคคางทมู จานวน 5 ราย คิดเปน็
0.59 ต่อแสนประชากร ไม่มีผูเ้ สียชวี ิต

ตารางท่ี 1 แสดงผลการดาเนินงานสรา้ งเสริมภมู คิ มุ้ กันโรคในเด็กแรกเกดิ – 5 ปี ( 3 ปยี ้อนหลัง )

ประเด็น/ตวั ช้ีวัด ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558

ผลงาน ร้อยละ ผลงาน ร้อยละ ผลงาน รอ้ ยละ

เด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รบั วัคซีนปูองกนั โรค 5,504 85.51 5,903 89.75 5,616 83.62
หดั ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 95

เด็กอายุ 1 ปี ที่ไดร้ ับวคั ซีน BCG 5,852 98.83 6,471 98.39 6,451 96.05
ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 90

เด็กอายุ 1 ปี ทไี่ ด้รับวคั ซนี DTP-HB3 5,617 95.30 6,204 94.33 5,893 87.75
ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 90

เด็กอายุ 1 ปี ที่ไดร้ บั วัคซีนOPV3 5,616 95.28 6,209 94.33 5,945 88.52
ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 90

เด็กอายุ 2 ปี ทีไ่ ดร้ ับวัคซีน DTP4 5,680 93.30 6,635 91.69 6,042 85.45
ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 90

เดก็ อายุ 2 ปี ที่ไดร้ ับวัคซีน OPV4 5,680 93.30 6,623 91.65 6,041 85.43
ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 90

เดก็ อายุ 2 ปี ที่ไดร้ บั วคั ซีน JE2 5,305 87.14 6,231 86.11 5,995 84.78
ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 90

กลุม่ งานโรคติดต่อและควบคุมโรค

เดก็ อายุ 3 ปี ที่ได้รบั วัคซีน JE3 5,739 84.37 5,920 82.39 5,768 76.32
ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 90 6,948 94.91 7}334 91.64 6,641 85.82
6,944 94.85 7,325 91.53 6,632 85.71
เด็กอายุ 5 ปี ทไ่ี ด้รับวัคซีน DTP5
ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 90

เด็กอายุ 5 ปี ที่ไดร้ บั วคั ซนี OPV5
ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 90

จากตารางแสดงผลการดาเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันในเด็กแรกเกิด - 5 ปี ( 3 ปีย้อนหลัง ) พบว่า

ความครอบคลุมของกลุ่มเปูาหมายท่ไี ดร้ บั วัคซนี ชนิดตา่ ง ๆ มคี วามครอบคลุมเพมิ่ ข้ึน แตย่ ังไม่สามารถดาเนินงานได้

ตามตัวชี้วัดทก่ี าหนดไว้

2.วิเคราะห์การบรหิ ารจัดการ
แผนงาน โครงการ มาตรการ กลยทุ ธ์ กิจกรรม การใช้งบประมาณ ท่ีสาคญั ทไ่ี ดด้ าเนินการในปี 2559 (มีไว้

เพ่อื ตรวจสอบวา่ สอดคล้องกับปัญหาหรอื ไม่ มกี ิจกรรมไหนทที่ าแลว้ ไมป่ ระสบความสาเรจ็ ต้องปรับเปล่ยี น กิจกรรม
ไหนทาแล้วส่งผลในการแกป้ ัญหาต้องทาต่อ

1.โครงการปอู งกันและควบคุมโรคตดิ ต่อในกลุม่ เด็กเลก็ และ เดก็ วยั เรยี น จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2559
2.มาตรการ

มาตรการท่ี ๑สนับสนุนการดาเนนิ งานการบริหารจัดการงานสร้างเสริมภูมคิ ุ้มกันโรค
มาตรการท่ี ๒พัฒนาบคุ ลากรทีป่ ฏบิ ัตงิ านสรา้ งเสรมิ ภูมคิ ุ้มกนั โรค
มาตรการท่ี ๓นิเทศ กากับ ติดตาม การดาเนนิ งานสร้างเสริมภูมคิ ุ้มกนั โรค
3.กลยทุ ธ์
พฒั นาเครือขา่ ยในการดแู ลสุขภาพประชาชนแบบบรู ณาการท่ีเชื่อมโยง
4.กิจกรรม
1. สนบั สนุนการดาเนนิ งานการบริหารจดั การงานสรา้ งเสริมภูมิคมุ้ กนั โรค
2.พฒั นาบุคลากรท่ีปฏิบตั ิงานสรา้ งเสรมิ ภมู ิคมุ้ กันโรค
3.นเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม การดาเนินงานสร้างเสรมิ ภูมคิ ุ้มกนั โรค

กลุ่มงานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

3.วิเคราะห์ผลการดาเนินงานในเชิงปริมาณ (Output) และเชิงคุณภาพ (Outcome/Impact) ปงี บประมาณ
2559

การดาเนินงาน

ตัวชว้ี ดั เกณฑ์ เปาู หมาย ผลงาน รอ้ ยละ

เดก็ อายุ 1 ปี ท่ไี ดร้ บั วคั ซนี ปอู งกันโรคหัด ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 95 5,855 5,345 91.29
เด็กอายุ 1 ปี ท่ไี ดร้ ับวคั ซีน BCG ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 90 5,855 5,643 96.38
เด็กอายุ 1 ปี ทไ่ี ดร้ ับวคั ซีน DTP-HB3 ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 90 5,855 5,662 96.70
เดก็ อายุ 1 ปี ทีไ่ ด้รับวคั ซนี OPV3 ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 90 5,855 5,665 96.75
เด็กอายุ 2 ปี ทไ่ี ด้รับวคั ซนี DTP4 ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 90 6,312 5,649 89.50
เด็กอายุ 2 ปี ทไ่ี ดร้ ับวคั ซีน OPV4 ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 90 6,312 5,647 89.46
เดก็ อายุ 2 ปี ทไ่ี ดร้ บั วคั ซีน JE2 / LAJE1 ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 90 6,312 5,177 82.02
เดก็ อายุ 3 ปี ท่ไี ดร้ ับวคั ซีน JE3 / LAJE2 ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 90 6,684 5,152 77.08
เด็กอายุ 5 ปี ทีไ่ ด้รับวคั ซีน DTP5 ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 90 6,943 6,045 87.07
เดก็ อายุ 5 ปี ที่ไดร้ บั วัคซีน OPV5 ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 90 6,943 6,020 86.71
นกั เรยี นชั้น ป.1 ที่ได้รบั วคั ซีน MMR ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 95 9,340 2,710 29.01
นกั เรยี นช้ัน ป.6 ทีไ่ ดร้ ับวัคซีน dT ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 95 9,534 3,634 38.11
หญิงตัง้ ครรภ์ ไดร้ ับวคั ซนี dT ครบชดุ ตามเกณฑ์ 5,554 4,698 84.58
ไม่นอ้ ยกว่า รอ้ ยละ
100

จากตารางจดั เกบ็ ผลการดาเนนิ งานเชงิ ปริมาณ พบวา่ การดาเนนิ งานสร้างเสริมภูมิคมุ้ กนั โรคในเด็กแรกเกิด
– 5 ปี ยังไม่สามารถดาเนินงานได้ตามตัวชี้วัดที่กาหนดครบทุกตัวชี้วัด มีวัคซีน BCG , DTPHB3 และ OPV3 ที่
ดาเนินงานไดต้ ามตวั ชวี้ ัด คือ ร้อยละ 96.38 , 96.70 และ 96.75 ตามลาดับ

การดาเนนิ งานสรา้ งเสริมภูมิค้มุ กนั โรคในกลุม่ วัยเรยี น พบวา่ ผลงานไม่ได้ตามตัวช้ีวดั ที่กาหนด เน่ืองจาก มี
การรณรงค์ให้วัคซีนหัดตามโครงการเฉลิม พระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาส
ฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 ในเด็กที่เกิดช่วงวันท่ี 1 มิถุนายน 2551 - 31 มกราคม 2555
ซ่ึงเด็กที่เกิดในช่วงน้ีบางส่วนเป็นเด็กนักเรียน ป.1 จึงได้รับวัคซีนจากการรณรงค์ในครั้งนี้แล้ว ทาให้ผลการ
ดาเนนิ งานในนกั เรียน ป.1 ไมไ่ ดต้ ามเปูาหมาย และในเดก็ ป.6 อยใู่ นชว่ งดาเนนิ งาน เนอื่ งจากวัคซนี มาลา่ ช้า

การดาเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในหญิงต้ังครรภ์ พบว่า ผลงานไม่ได้ตามตัวช้ีวัด เนื่องจาก ไม่ได้
ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนทีเ่ คยไดร้ บั แลว้ จึงเร่มิ ใหว้ คั ซีนใหม่

ผลลพั ธจ์ ากการดาเนินงานเปรียบเทยี บกบั ค่าเปาู หมาย (ผลงาน 2559)

ลาดับ รายการ/ตัวชี้วดั เดิม

เมือง บาง ดา่ น บาง
นาง ช้าง ปลาม

บวช

เด็กอายุ 1 ปี เปูาหมาย 1,119 465 623 488
ที่ไดร้ บั วัคซนี

1 ปอู งกนั โรคหัด ผลงาน 1,026 446 559 418

ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 91.69 95.91 89.73 85.6
รอ้ ยละ 95

เดก็ อายุ 1 ปี เปาู หมาย 1,119 465 623 488
ทไ่ี ด้รับวคั ซีน

2 BCG ผลงาน 1,095 454 598 465

ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 97.86 97.63 95.99 95.2
ร้อยละ 90

เด็กอายุ 1 ปี เปูาหมาย 1,119 465 623 488
ทไี่ ดร้ ับวคั ซีน

3 DTP-HB3 ผลงาน 1,096 455 595 458

ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 97.94 97.85 95.51 93.8
ร้อยละ 90

กลุ่มงานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

อาเภอ

ง ศรี ดอน สองพี่ สามชกุ อูท่ อง หนอง รวม
มา้ ประจันต์ เจดยี ์ น้อง หญ้าไซ

8 393 303 914 294 869 387 5,855
8 334 288 848 273 801 352 5,345
66 84.99 95.05 92.78 92.86 92.17 90.96 91.29
8 393 303 914 294 869 387 5,855
5 348 279 913 289 827 375 5,643
29 88.55 92.08 99.89 98.30 95.17 96.90 96.38
8 393 303 914 294 869 387 5,855
8 371 294 898 289 838 368 5,662
85 94.40 97.03 98.25 98.30 96.43 95.09 96.70

ลาดบั รายการ/ตัวชวี้ ดั เดิม

เมือง บาง ดา่ น บ
นาง ช้าง ปล

บวช

เดก็ อายุ 1 ปที ไ่ี ดร้ บั เปูาหมาย 1,119 465 623 4

4 วัคซนี OPV3 ผลงาน 1,096 455 598 4
ไมน่ อ้ ยกว่า

รอ้ ยละ 90 ร้อยละ 97.94 97.85 95.99 9

เดก็ อายุ 2 ปีที่ได้รบั เปาู หมาย 1,193 467 592 5

5 วัคซนี DTP4 ผลงาน 1,079 428 531 4
ไมน่ อ้ ยกว่า

ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 90.44 91.65 89.70 8

เดก็ อายุ 2 ปี ท่ไี ด้รบั เปูาหมาย 1,193 467 592 5

6 วคั ซนี OPV4 ผลงาน 1,081 428 529 4
ไมน่ ้อยกว่า

ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 90.61 91.65 89.36 8

กลุม่ งานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

อาเภอ

บาง ศรี ดอน สองพี่ สามชกุ อทู่ อง หนอง รวม
ลาม้า ประจันต์ เจดยี ์ น้อง หญา้ ไซ

488 393 303 914 294 869 387 5,855
463 372 293 898 288 836 366 5,665
94.88 94.66 96.70 98.25 97.96 96.20 94.57 96.75
546 417 356 1,037 374 952 378 6,312
463 355 340 888 354 859 352 5,649
84.80 85.13 95.51 85.63 94.65 90.23 93.12 89.50
546 417 356 1,037 374 952 378 6,312
464 354 340 887 354 858 352 5,647
84.98 84.49 95.51 85.54 94.65 90.13 93.12 89.46

ลาดับ รายการ/ตัวช้วี ดั เมอื ง เดิมบาง ดา่ น
นางบวช ชา้ ง
เดก็ อายุ 2 ปี ที่ไดร้ บั
7 วัคซีน JE2 ไมน่ อ้ ย เปาู หมาย 1,193 467 592

กว่ารอ้ ยละ 90 ผลงาน 984 399 480

เด็กอายุ 3 ปี ท่ีได้รับ รอ้ ยละ 82.48 85.44 81.08
8 วคั ซีน JE3 ไมน่ ้อย
เปูาหมาย 1,246 538 604
กว่ารอ้ ยละ 90
ผลงาน 946 457 495
เดก็ อายุ 5 ปที ไ่ี ด้รบั
9 วคั ซนี DTP5 ไมน่ อ้ ย ร้อยละ 75.92 84.64 81.95

กวา่ รอ้ ยละ 90 เปูาหมาย 1,202 559 584

เดก็ อายุ 5 ปี ทไ่ี ดร้ ับ ผลงาน 1,020 486 516
10 วัคซนี OPV5 ไมน่ ้อย
ร้อยละ 84.86 86.94 88.36
กว่า ร้อยละ 90
เปาู หมาย 1,202 559 584

ผลงาน 1,020 481 514

ร้อยละ 84.86 86.05 88.01

กลมุ่ งานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

อาเภอ สองพี่ สามชุก อทู่ อง หนอง รวม
น้อง หญา้ ไซ
บาง ศรี ดอน
ปลาม้า ประจันต์ เจดีย์

546 417 356 1,037 374 952 378 6,312

444 320 316 833 308 787 306 5,177

8 81.32 76.74 88.76 80.33 82.35 82.67 80.95 82.02

514 488 400 1,095 357 1,025 417 6,684

402 340 327 809 289 741 346 5,152

5 78.21 69.67 81.75 73.88 80.95 72.29 82.97 77.08

589 521 424 1,300 334 1,004 426 6,943

452 425 402 1,120 320 916 388 6,045

6 76.74 81.57 94.81 86.15 95.81 91.24 91.08 87.07

589 521 424 1,300 334 1,004 426 6,943

452 423 401 1,107 319 915 388 6,020

1 76.74 81.19 94.58 85.15 95.51 91.14 91.08 86.71

ลาดับ รายการ/ตวั ชีว้ ัด เดิม

เมอื ง บาง ดา่ นช้าง
นาง

บวช

นกั เรยี นชั้น ป.1 ที่ เปาู หมาย 2,334 590 901

11 ได้รบั วัคซีน MMR ผลงาน 218 128 550
ไม่น้อยกว่า

ร้อยละ 95 รอ้ ยละ 9.34 21.69 61.04

นักเรียนช้นั ป.6 เปาู หมาย 2,401 598 798
ผลงาน 565 169 404
12 ทีไ่ ด้รบั วคั ซีน dT รอ้ ยละ 23.53 28.26 50.63
ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ

95

หญิงตงั้ ครรภ์ ได้รับ เปูาหมาย 2,304 128 624
วคั ซนี dT ครบชดุ ตาม

13 เกณฑ์ ผลงาน 2,304 128 352

ไมน่ อ้ ยกว่า รอ้ ยละ รอ้ ยละ 100 100 56.41
100

กลุม่ งานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

อาเภอ

บาง ศรี ดอน สองพ่ี สามชุก อู่ทอง หนอง รวม
ปลาม้า ประจนั ต์ เจดีย์ น้อง หญ้าไซ

575 499 650 1,390 541 1,451 409 9,340
226 49 25 213 242 1,017 42 2,710
39.30 9.82 3.85 15.32 44.73 70.09 10.27 29.01
637 567 620 1,340 552 1,543 478 9,534
186 150 417 26 261 1,311 145 3,634
29.20 26.46 67.26 1.94 47.28 84.96 30.33 38.11
125 216 130 1,156 184 638 49 5,554
125 216 130 686 184 524 49 4,698
100 100 100 59.34 100 82.13 100 84.58

สรุปประเดน็ ปัญหา ( ปี 2559 ) กลมุ่ งานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค
ปญั หา ปัจจยั (กลุ่มของสาเหตุ)
สาเหตุของปัญหา
ความครอบคลมุ ไม่ได้ ดา้ นความรู้ 1.เจา้ หน้าท่ๆี รบั งานใหมม่ ีความรไู้ ม่เพียงพอต่อการให้บริการ
ตามตัวชีว้ ดั 2.เจ้าหนา้ ทใี่ น รพ.สต. ที่ไม่ได้รับงานสรา้ งเสริมภูมคิ มุ้ กนั โรค มี
ความรูไ้ มเ่ พียงพอต่อการให้บรกิ าร ไม่สามารถตอบคาถามเรื่อง
ด้านบรหิ ารจัดการ การใหบ้ รกิ ารวคั ซีนแต่ละชนิดได้

ด้านการจดั เก็บข้อมูล วคั ซนี ไม่พอต่อจานวนเด็ก เน่ืองจาก
1.ไมไ่ ดจ้ ดั ทาทะเบยี นนัด
ด้านการตดิ ตาม 2. ไม่ได้จดั ทาทะเบียนรับ – จา่ ย
1.ไม่บันทึกวคั ซีนทไ่ี ดร้ บั จากทอ่ี ่นื
2.บนั ทกึ การวนิ ิจฉัยผิดพลาด ใสร่ หัสไมถ่ ูกต้อง
3.ไม่บนั ทึก lot วนั หมดอายุ และ วันนดั ครง้ั ต่อไป
4.ไมม่ กี ารตรวจสอบขอ้ มลู ก่อนสง่ ออก 43 แฟมู
ไมม่ ีการติดตามเดก็ ทกุ ล่มุ วยั และหญิงตั้งครรภ์ในพ้นื ท่ี มารับ
วคั ซนี ตามนดั ตามเกณฑ์

กลุ่มงานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

สรุปผลการดาเนนิ งาน

โรงเรยี นอนุบาล , โรงเรยี นปลอดโรค

1.วิเคราะห์สถานการณ์ สภาพปญั หาของพน้ื ท่ี
สถานการณร์ ะดบั จงั หวดั (อาจประเมนิ โดยใช้ Level Trend และ Compare)
สรุปรายงานสถานการณ์โรค Hand,foot and mouth disease ระหว่างวันที่ 1 มกราคม

2559ถึงวันท่ี 6 กันยายน 2559ได้รับรายงานผู้ปุวยโรค Hand,foot and mouth disease จานวน
ทงั้ ส้ิน 545 ราย คิดเปน็ อัตราปวุ ย 64.24 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ปุวยเสียชีวิตพบผู้ปุวยเพศ
ชายมากกว่าเพศหญิง โดยพบเพศชาย 313 ราย เพศหญิง 232 ราย อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิง
เทา่ กบั 1.35 : 1

สรุปรายงานสถานการณ์โรค Food Poisoningระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2559 ถึงวันท่ี6
กันยายน 2559 ได้รับรายงานผู้ปุวยโรค Food Poisoning จานวนท้ังสิ้น 905 ราย คิดเป็นอัตราปุวย
106.67 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ปุวยเสียชีวิตพบผู้ปุวยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยพบเพศ
หญงิ 564 ราย เพศชาย 341 ราย อตั ราส่วนเพศหญงิ ต่อเพศชาย เทา่ กับ 1.65 : 1

สรุปรายงานสถานการณ์โรค Diarrhoeaระหว่างวันท่ี 1 มกราคม 2559 ถึงวันที่ 6 กันยายน
2559 ได้รับรายงานผู้ปุวยโรค Diarrhoeaจานวนทั้งส้ิน 8,446 ราย คิดเป็นอัตราปุวย 995.52 ต่อ
ประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ปุวยเสียชีวิต พบผู้ปุวยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยพบเพศหญิง
5,086 ราย เพศชาย 3,360 ราย อัตราส่วนเพศหญิงตอ่ เพศชาย เทา่ กบั 1.51 : 1

สรปุ รายงานสถานการณ์โรค Chickenpoxระหว่างวันท่ี 1 มกราคม 2559 ถึงวันที่ 6 กันยายน
2559 ได้รับรายงานผู้ปุวยโรค Chickenpox จานวนทั้งสิ้น 356 ราย คิดเป็นอัตราปุวย 41.96 ต่อ
ประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ปุวยเสียชีวิต พบผู้ปุวยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยพบเพศหญิง 194
ราย เพศชาย 162 ราย อตั ราสว่ นเพศหญงิ ต่อเพศชาย เทา่ กับ 1.20 :1

จากการวิเคราะห์สถานการณ์โรคท่ีเกิดข้ึนทั้งในระดับประเทศและจังหวัด ซ่ึงโรคเหล่าน้ีสามารถ
เกิดข้ึนได้ในศูนย์เล็กเล็กและโรงเรียน เพราะเป็นสถานท่ีที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจานวนมาก ทาให้เช้ือโรค
สามารถแพร่กระจายและติดต่อระหว่างกันได้ง่าย ซ่ึงการเจ็บปุวยในวัยนี้อาจส่งผลต่อพัฒนาการและ
สุขภาพโดยรวมของเด็ก ถ้าไม่ได้รับการดูแลรักษาต้ังแต่เร่ิมปุวยอาจทาให้การเจ็บปุวยมีอาการหรือ
ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงถึงเสียชีวิตได้ นอกจากนี้เมื่อเด็กเกิดเจ็บปุวยยังส่งผลกระทบต่อผู้ปกครองท่ีต้อง
หยดุ งานเพ่อื ให้การดแู ลเดก็ ทาใหข้ าดรายได้ และเสียค่าใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาล

กลมุ่ งานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

วิเคราะห์ผลการดาเนนิ งานในเชิงปริมาณ (Output) และเชงิ คณุ ภาพ (Outcome/Impact)

ตัวชี้วดั เกณฑ์ การดาเนนิ งาน

เปา้ หมาย ผลงาน รอ้ ยละ

โรงเรยี นอนบุ าลเข้ารว่ มโครงการ ฯ ร้อยละ 30 412 49 11.89
49 36 73.46
โรงเรยี นอนบุ าลทเี่ ข้ารว่ มโครงการ ฯ ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 50
10 39
ประเมนิ

โรงเรียนท่เี ข้ารว่ มโครงการโรงเรยี นปลอดโรค ผ่าน 1 อาเภอ 1 โรงเรียน

เกณฑ์ประเมนิ 1 อาเภอ 1 โรงเรยี น

*** หมายเหตุ การดาเนินงานใชผ้ ลงาน 3 ปี ( 2557 – 2559 )

จากตารางจดั เกบ็ ผลการดาเนินงานเชงิ ปริมาณตามแผนงานโครงการ พบว่า การดาเนนิ งาน
โรงเรยี นอนุบาลปลอดโรค ในสว่ นของการเข้าร่วมโครงการยังไมส่ ามารถดาเนนิ งานไดต้ ามตวั ชี้วดั แตใ่ น
สว่ นของโรงเรยี นอนบุ าลท่เี ข้ารว่ มโครงการ ฯ ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน ร้อยละ 73.46

การดาเนนิ งานโรงเรยี นปลอดโรค ตามเกณฑ์ 1 อาเภอ 1 โรงเรยี น มีโรงเรียนทีเ่ ข้าร่วมจานวน
39โรงเรยี น ซ่งึ มากกว่า 1 อาเภอ 1 โรงเรียน ( เปาู หมาย 10 โรงเรยี น )

2. วเิ คราะหก์ ารบรหิ ารจัดการ
แผนงาน โครงการ มาตรการ กลยุทธ์ กิจกรรม การใช้งบประมาณ ท่ีสาคัญท่ีได้ดาเนินการในปี

2559 (มีไว้เพอ่ื ตรวจสอบว่าสอดคล้องกับปญั หาหรือไม่ มีกิจกรรมไหนท่ีทาแล้วไม่ประสบความสาเร็จต้อง
ปรบั เปลย่ี น กิจกรรมไหนทาแล้วส่งผลในการแกป้ ัญหาต้องทาตอ่

1. ชือ่ โครงการ ป้องกนั และควบคุมโรคติดตอ่ ในกลุม่ เด็กเลก็ และ เด็กวยั เรียน
จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปี 2559

2. มาตรการ

มาตรการท่ี ๑ สรา้ งเครือขา่ ยศูนยเ์ ดก็ เลก็ โรงเรยี นอนุบาลและโรงเรยี นดาเนนิ งานการปูองกันควบคุมโรคตดิ ต่อ

มาตรการท่ี ๒ พัฒนาบุคลากรในศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาลและโรงเรยี น

มาตรการที่ ๓ นเิ ทศ ติดตาม กากบั การดาเนินงานศนู ยเ์ ดก็ เลก็ โรงเรยี นอนบุ าลและโรงเรยี น

3. กลยทุ ธ์

เสรมิ สร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือขา่ ยเพอื่ การดาเนนิ งานด้านสขุ ภาพ

4. กิจกรรม

๑.สร้างเครอื ข่ายศนู ยเ์ ดก็ เลก็ โรงเรียนอนบุ าลและโรงเรยี นดาเนนิ งานการปูองกนั ควบคมุ โรคตดิ ต่อ

กลมุ่ งานโรคติดต่อและควบคุมโรค

- จัดทาหนังสือชแ้ี จงการดาเนินงานศนู ยเ์ ด็กเล็ก โรงเรยี นอนุบาล และโรงเรยี นปลอดโรค
และเชิญชวนให้ร่วมสมัครเข้าโครงการ ฯ ให้กับ เทศบาลตาบล องค์การบรหิ ารส่วนตาบล สานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานสพฐ. ) และ โรงเรยี นในสงั กดั สพฐ.

๒.พฒั นาบุคลากรในศูนย์เดก็ เลก็ โรงเรยี นอนบุ าลและโรงเรยี น

- จัดอบรมการดาเนินงานและการควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล และ
โรงเรียนปลอดโรค ใหก้ บั ครผู ดู้ ูแลเดก็ และครอู นามัยโรงเรียน

๓.นิเทศ ติดตาม กากับการดาเนนิ งานศูนยเ์ ดก็ เล็ก โรงเรียนอนุบาลและโรงเรียน

- ควบคุม กากับ ติดตาม นิเทศงานและประเมินผลตามเกณฑ์โรงเรียนอนุบาลปลอดโรค
และ โรงเรียนปลอดโรค ปลี ะ 2 คร้ัง

4. ผลลพั ธ์จากการดาเนินงานเปรียบเทียบกบั คา่ เป้าหมาย (ผลงาน 2559)

ลา รายการ/ตวั ช้ีวดั เมอื ง สองพ่ี อ่ทู อง
ดบั นอ้ ง

เปาู หมาย 63 55 54

1 โรงเรยี นอนบุ าลเข้ารว่ ม ผลงาน 2 22 5
โครงการ ฯ รอ้ ยละ 20 ร้อยละ 3.17 40.00 0.09

เปูาหมาย 2 22 5

โรงเรียนอนบุ าลทเี่ ขา้ รว่ ม ผลงาน 2 17 4
2 โครงการ ฯ ผ่านเกณฑป์ ระเมิน

รอ้ ยละ 50 ร้อยละ 100 77.27 80

โรงเรียนท่ีเข้ารว่ มโครงการ เปูาหมาย 1 1 1
3 โรงเรยี นปลอดโรค ผา่ นเกณฑ์ ผลงาน 2 22 1

ประเมิน 1 อาเภอ 1 โรงเรียน

หมายเหตุ : ผลงานรวมจากปี 2557-2559

กลุ่มงานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

อาเภอ

บางปลา ศรี ดอน สามชกุ เดมิ บาง ดา่ น หนอง รวม
มา้ ประจันต์ เจดยี ์ นางบวช ช้าง หญ้าไซ

50 33 28 26 44 36 24 412

3 0 9 3 1 3 1 49

6.00 0 32.14 11.53 2.27 8.33 4.17 11.8
9

3 0 9 3 1 3 1 49

1 0 7 1 0 3 1 36

33.33 0 77.77 33.33 0 100 100 73.4
6

1 1 1 1 1 1 1 10

2 2 5 1 1 1 1 39

สรปุ ประเด็นปัญหา(ปี 2559)

ปัญหา สาเหตขุ องปญั หา
ผลการดาเนินงานไม่ไดต้ ามตัวชี้วัด 1.โรงเรียนอนุบาลไม่สามารถทาตามเกณฑ์ได้ ในหัวข้อสถานที่และบุคลากร

จึงไม่สมัครเขา้ ร่วมโครงการฯ

2. ผบู้ ริหาร และ ครู ยงั ไมเ่ ข้าใจเกณฑ์การประเมิน จึงไม่สามารถทาตามเกณฑ์
ท่กี าหนดได้

กลุม่ งานส่งเสรมิ สขุ ภาพ

งานแมแ่ ละเด็ก และเดก็ ปฐมวัย

แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 11 ในขอ้ 4 นโยบายสงั คมและคณุ ภาพชีวติ และข้อ 2
นโยบายความม่ันคงของชีวิตและสังคม เน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนตั้งแต่ในช่วงต้ังครรภ์ วัยเด็ก วัย
เจริญพันธ์ุ วัยบรรลุนิติภาวะ วัยชรา และผู้พิการ โดยส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เติบโตเป็นพลเมืองท่ีมี
คุณภาพ ด้วยการพัฒนาเด็กต้ังแต่อยู่ในครรภ์มารดา เด็กแรกเกิดเด็กก่อนวัยเรียนและเยาวชนทุกช่วงวัย ให้มี
ความรู้คู่จริยธรรม ให้ความสาคัญในการเล้ียงลูกด้วยนมแม่ในช่วง 6 เดือนแรกสนับสนุนให้มีศูนย์เล้ียงเด็กก่อนวัย
เรียนที่มีคุณภาพ และในส่วนเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนให้สามารถมีคุณภาพชีวิตท่ีดี ที่จะอยู่อาศัยใน
ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพได้อย่างเท่าเทียมกันและอยู่ร่วมกันกับ ครูผู้ดูแลเด็ก และเพ่ือนๆ อย่างสงบสุข มีความ
สะดวกสบาย สะอาด ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัย ได้รับการส่งเสริม พัฒนาการ และความคิดสร้างสรรค์อย่าง
เหมาะสม

จากการวเิ คราะหส์ ถานการณ์งานอนามยั แมแ่ ละเด็กของจังหวัดสุพรรณบุรีใน ปี 2559 (HDC) อตั ราการ
ฝากครรภ์กอ่ น 12 สัปดาห์ จานวนหญงิ ตั้งครรภ์ทม่ี าคลอด 7,710 คน ฝากครรภ์คร้ังแรก ≤ 12 สัปดาห์ จานวน 4,558
คน ร้อยละ 59.12 (เป้าหมายร้อยละ 60) อัตราการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ จานวนหญิงคลอดท้ังหมด
4,953 คน ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ 2,825 คน ร้อยละ 57.04 (เป้าหมาย ร้อยละ 60) การ
ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน จานวนหญิงตั้งครรภ์มารับบริการ 7,521 คน จานวนหญิงตั้งครรภ์ท่ีได้รับยาเม็ดเสริม
ไอโอดีน จานวน 6,119 ร้อยละ 81.36 เยี่ยมหลังคลอดครบ 3 คร้ังตามเกณฑ์ จานวนหญิงที่คลอดในเขตรับผิดชอบ
จานวน 2,624 คน จานวนหญิงไทยท่ีรับการดูแลหลังคลอด 2,018 คน ร้อยละ 76.91 (เป้าหมายร้อยละ 65)
(manual) เด็กเกิดมีชีพ จานวน7,433 คน เป็นทารกแรกเกิดน้าหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม จานวน 630 คน ร้อยละ
8.48 (เป้าหมาย ร้อยละ 7) อัตราตายทารก จานวน 33 คน อัตรา 4.43 : 1,000 , (ไม่เกิน 9: 1,000 การเกิดท้ังหมด)
ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน จานวน 119 คนอัตรา 16.01 : 1,000 (ไม่เกิน 25: 1,000 การเกิดมีชีพ) มารดาเสียชีวิต 4
คน อัตราส่วนมารดาตาย 53.81 : 100,000 การเกิดมีชีพ (ไม่เกิน 15 ต่อพันการเกิดมีชีพแสนคน) มารดาหลัง
คลอด จานวน 7,405 คน ตกเลือดหลังคลอด จานวน 90 คน ร้อยละ 1.21 (ไม่เกินร้อยละ 5 ) ภาวะโลหิตจางใน
หญิงต้ังครรภ์ จากการเจาะเลือดตรวจหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ (Hematocrit<33%) ท่ีมาฝากครรภ์คร้ัง
แรก จานวน 7,341 คน พบ Hematocrit<33% จานวน 1,284 คน ร้อยละ 17.49 (ไม่เกินร้อยละ 10) คร้ังที่ 2
จานวน 923 คน ร้อยละ 12.57 สัดส่วนหญิงต้ังครรภ์ท่ีขาดสารไอโอดีน (ระดับไอโอดีนในปัสสาวะ < 150
ไมโครกรัม/ลติ ร ในหญิงตงั้ ครรภ์ท่ีมาฝากครรภ์ครงั้ แรก ร้อยละ 60.07 (ไม่เกนิ ร้อยละ 50)

การคดั กรองความเสยี่ งโรคธาลัสซเี มยี ในหญงิ ต้ังครรภ์ มีการคัดกรองหญิงต้ังครรภ์รายใหม่ท่มี าฝากครรภ์
จานวน 6,180 ราย ตรวจคัดกรอง OF/MCV/ MCH/ DCIP จานวน 6,180 ราย ร้อยละ 100 (ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80)
หญิงตงั้ ครรภท์ ่มี ีผลคดั กรองผิดปกติ รอ้ ยละ 31.86 คสู่ มรสเสยี่ งธาลสั ซีเมียไดร้ บั การตรวจคัดกรอง จานวน 1,602
ราย รอ้ ยละ 81.36 (ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 72) สามีพบผล Positive 555 ราย รอ้ ยละ 34.64 มีคสู่ มรสเสี่ยงส่งตรวจ

Hb Typing 473 คู่ ร้อยละ 97.33 คสู่ มรสเสีย่ งไดร้ ับการสง่ ตรวจ DNA analysis (PCR 1 และ PCR β) 155 คู่
ร้อยละ 32.77 คูส่ มรสเส่ยี งทม่ี ีโอกาสให้กาเนดิ บุตรทเ่ี ป็นโรคธาลสั ซเี มยี ชนดิ รุนแรง 18 คู่ รอ้ ยละ 11.61 เปน็ ß-

กลมุ่ งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

thalassemia / Hb. E 11 ราย Hb.Bart's hydrop fetalis 6 ราย รอผล Hb typing 1 ราย สง่ ไปปรึกษาที่
รพ.ศริ ริ าช 16 ราย ไม่สมคั รใจไป 1 ราย ไม่ได้สง่ 1 รายเน่ืองจาก Late ANC อายุครรภ์มากแล้ว (26 wks) ใน
จานวน 16 ราย ไม่ยนิ ยอมเจาะน้าครา่ 5 ราย ยินยอมทา PND 11 ราย มผี ล PND เสยี่ งเป็นโรคชนิดรนุ แรงจานวน
5 ราย ตดั สินใจยุตกิ ารตั้งครรภ์ 4 ราย เป็น Hb.Bart's hydrop fetalis 2 ราย ß-thalassemia / Hb. E 1 ราย
ß-thalassemia /Hb. E อกี 2 ราย ปฏเิ สธการยุตกิ ารตง้ั ครรภ์ ขอ ANC ตอ่ ท่ี รพ.บา้ นโปง่ 1 ราย ส่วนอีกรายยตุ ิ
การตงั้ ครรภภ์ ายหลงั จาก Molar pregnancy 1 ราย

หญิงคลอดท้ังหมด (รายงาน PHIMS) จานวน 7,119 ราย ฝากครรภ์ 7,060 ราย ผลเลอื ด เอช ไอ วี บวก
38 ราย ไมฝ่ ากครรภ์ 59 ราย ผลเลอื ด เอช ไอ วี บวก จานวน 4 ราย ไดต้ รวจ CD4 จานวน 35 ราย ไมไ่ ด้ตรวจ
CD4 จานวน 7 ราย ได้รบั ยาต้านไวรสั สูตร HAART เม่ือมอี าการหรอื CD4 เข้าเกณฑ์การรักษา จานวน 19 ราย
ได้รับยาต้านไวรสั สูตร HAART เมื่อยงั ไม่เข้าเกณฑ์การรักษา/ไม่ทราบผล CD4 จานวน 16 ราย รายได้รับยา AZT
ตวั เดยี วระยะต้งั ครรภแ์ ละ/หรือรว่ มกบั single-dose NVP จานวน 4 ราย ไดร้ ับยาสูตรอนื่ ๆ ระยะตัง้ ครรภ/์ หรอื
ระยะคลอด 3 ราย เด็กเกิดมีชพี 42 ราย ไดร้ บั ยาทุกราย เปน็ ยา AZT อยา่ งเดยี ว 29 ราย ได้รบั ยาตา้ นไวรัสทมี่ ฤี ทธิ์
สงู (HARRT) 12 ราย ไดร้ ับยาตา้ นไวรัสสตู รอน่ื ๆ 1 ราย ไม่พบการถา่ ยทอดเชื้อจากมารดาสู่บตุ ร การตรวจซฟิ ิลสิ
หญงิ คลอดทง้ั หมด 7,119 ราย ผลซิฟิลสิ (VDRL) บวก 2 ราย ผลซิฟิลิส (VDRL) ลบ 7,117 ราย ทง้ั มารดาและบุตร
ไดร้ ับการรักษาซิฟิลิสและติดตามอย่างต่อเน่ือง

ภาวะ Down syndrome มีแมอ่ ยใู่ นเกณฑ์เสย่ี ง จานวน 579 ราย ร้อยละ 9.47 ไดร้ ับการให้คาปรึกษา
577 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.65 ไมพ่ บการยตุ ิการต้งั ครรภ์

กลุ่มเดก็ ปฐมวัย เดก็ 0-5 ปี มพี ฒั นาการสมวยั (จาก HDC) จานวน 46,546 ราย พฒั นาการวมวยั จานวน
46,212 ราย ร้อยละ 99.28

สาหรบั สถานการณ์ด้านโภชนาการเก่ียวกับดูแลเด็กปฐมวัยในเขตพื้นที่ของจังหวัดสุพรรณบุรีที่ผ่านมาในปี
2559 พบวา่ (รายงาน WM สสจ.)

เด็กอายุ 0-2 ปี ภาวะโภชนาการ จากการช่ังน้าหนักเด็กทั้งหมด 23,968 คน เด็กท่ีช่ังน้าหนัก จานวน
22,124 คน ร้อยละ 92.30 มีรูปร่างดี สมส่วน จานวน 19,437 คน ร้อยละ 87.85 อ้วน จานวน 967 ร้อยละ
4.37 ผอม จานวน 1,145 คน รอ้ ยละ 5.17

เดก็ อายุ 3-5 ปี จานวนทง้ั หมด 21,921 คน ช่ังน้าหนัก 19,527 คน ร้อยละ 89.07 มีส่วนสูงระดับดีรูปร่าง
สมส่วน จานวน 18,033 คน ร้อยละ 92.34 อ้วน จานวน 636 ร้อยละ 3.25 ผอม จานวน 812 คน รอ้ ยละ 4.15

เด็ก 0-5 ปี มีรปู ร่างดสี ูงสมสว่ น จากการชั่งนา้ หนักเด็กท้ังหมด 41,649 คน มีรูปร่างสมส่วน จานวน
37,467 คน รอ้ ยละ 89.95 มภี าวะผอม จานวน 1,957 คน ร้อยละ 4.69 อว้ น จานวน 1,603 คน ร้อยละ 3.84 มี
ภาวะเตย้ี จานวน 1,979 คน รอ้ ยละ 4.75

การคัดกรองพัฒนาการสมวัยในช่วง 4 กลุ่มอายุ (รง. Manual) คือ 9,18,30,42 เดือน มีเด็กจานวน
24,600 คน เปน็ เดก็ ทแ่ี พทย์วนิ ิจฉยั โรคทางจติ เวช, MR, Autistic, LD, ADHD, DS โรคอ่ืนๆ 67 คน เด็กที่พบ Red
Flag จานวน 21 คน รวม 88 คน เหลือเด็กทั้งหมดในพื้นท่ีท่ีต้องได้รับการประเมิน 24,512 คน เด็กท่ีได้รับการ
ประเมินพัฒนาการ จานวน 22,491 คน ร้อยละ 91.75 มีพัฒนาการสมวัย จานวน 16,753 คน ร้อยละ 74.49 พบ

กลมุ่ งานสง่ เสริมสขุ ภาพ

เด็กที่มีปัญหาพัฒนาการสงสัยล้าช้า จานวน 5,707 ราย ร้อยละ 25.37 เด็กท่ีสงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้น
พฒั นาการ ร้อยละ 100 เดก็ ท่มี พี ฒั นาการลา่ ช้าไดร้ ับการติดตาม 96.39 ราย เด็กท่ีสงสัยล่าช้าในรับการกระตุ้นซ้า
1 เดือน จานวน 5,501 คน สมวัยหลังได้รับการกระตุ้น จานวน 5,298 คน ร้อยละ 96.30 ไม่สมวัยหลังกระตุ้น 1
เดือน ร้อยละ 3.54 ส่งเสริมพัฒนาการต่อด้วย TEDA4I (3 เดือน) จานวน 26 คน ร้อยละ 13.31 ส่งต่อเพ่ือตรวจ
วนิ ิจฉัยดว้ ย DSI อกี จานวน 23 คน ร้อยละ 11.79 เด็กท่ขี าดการติดตามและติดตามไม่ได้ จานวน 227 คน ร้อยละ
4.12 สาเหตจุ าก ภาระงานของเจ้าหนา้ ทม่ี มี ากทาใหก้ ารติดตามตรวจพัฒนาการเด็กขาดความสม่าเสมอ ไม่ต่อเน่ือง
และไม่ครอบคลมุ อกี ท้งั อาชีพส่วนใหญข่ องคนในชมุ ชนเป็นอาชีพรับจ้าง พ่อแม่ไม่มีเวลาท่ีจะพาเด็กมารับการตรวจ
พัฒนาการตามที่เจา้ หน้าท่ีนดั หมาย

เด็กแรกเกดิ - ต่ากวา่ 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดยี ว จานวน 9,520 เดก็ แรกเกิด – ตา่ กว่า 6 เดอื นที่แม่
หรอื ผู้เลย้ี งดไู ด้ถกู สอบถามท้งั หมดในช่วงเวลาเดยี วกนั จานวน 8,222 ร้อยละ 86.37

ดงั รายละเอยี ดการดาเนนิ งานตามข้อมูลอนามัยแม่และเด็กปี 2553-2559 เปรยี บเทียบเปา้ หมาย (รายงาน
แม่และเด็กไทย) ตามตารางด้านลา่ งน้ี

ตารางท่ี 1 ข้อมลู อนามยั แม่และเด็กปี 2553-2559 เปรยี บเทียบเปา้ หมาย (รายงานแม่และเด็กไทย)

ตัวช้วี ดั KPI เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน
2553 2554 2555 2556 2557
2558 2559

กลุ่มหญงิ ตั้งครรภ์

1.อตั ราตายมารดา ไมเ่ กนิ 15 ต่อการเกดิ มี ไมเ่ กิน18:แสน 11.38 00.00 12.26 23.87 12.41/8097 0.00/7,920 53.81

ชพี แสนคน การเกดิ มีชีพ (4/7433)

2.หญิงต้งั ครรภ์รายใหมท่ ีไ่ ดร้ บั การตรวจ ไม่น้อยกวา่ ร้อย 100 100 100 99.42 100 (9,929) 94.77 100

คัดกรองธาลสั ซีเมยี ละ 80 (3895/4110)

3.คูส่ มรสเสี่ยงธาลสั ซเี มยี ไดต้ รวจคดั กรอง ไม่น้อยกวา่ ร้อย 37.5 22.38 40.76 19.76 77.87 86.36 81.36

ละ 72 (2,154) (1045/1210)

4.หญิงมคี รรภม์ ีภาวะโลหิตจางจากการขาด ไมเ่ กินรอ้ ยละ 10 20.1 18.73 20.83 17.52 29.20 16.46 17.49

ธาตุเหล็ก (ครัง้ ที่ 1) (2,229/7,633) (1291/7840)

5.หญงิ มีครรภม์ ภี าวะโลหติ จางจากการขาด ไมเ่ กินร้อยละ 10 NA NA 6.14 7.38 8.78 7.65 12.57

ธาตุเหลก็ (ครัง้ ที่ 2) (670/7,633) (600/7840)

6.หญงิ ตั้งครรภ์ไดร้ บั ยาเม็ดเสริมไอโอดนี ร้อยละ 100 100 100 100 100 100 89.63 98.96

(8,097) (7099/7920)

7.สัดสว่ นหญงิ ตงั้ ครรภม์ ไี อโอดนี ในปัสสาวะ ไม่เกนิ ร้อยละ 50 56.6 42.52 62.67 71.00 60.07 59.00 รอผล

น้อยกวา่ 150 ไมโครกรมั /ลิตร

8.อตั ราหญงิ ตั้งครรภฝ์ ากครรภค์ ร้ังแรกกอ่ น ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ย 50.96 51.06 62.67 51.47 56.34 53.70 57.70
อายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ละ 60 (4,365/7,633 (4253/7920) (4051/74
0)
05)

9.อตั ราการฝากครรภ์ครบ 5 ครัง้ ตามเกณฑ์ ไมน่ ้อยกวา่ 80.76 51.47 50.01 45.64 39.06

60% (3,874/7,633) (3615/7920) (2893/74

05)

กลมุ่ งานสง่ เสริมสขุ ภาพ

ตารางที่ 2 ข้อมลู อนามัยแม่และเด็กปี 2553-2559 เปรียบเทียบเป้าหมาย (ตอ่ )

ตัวชวี้ ดั KPI เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน
รอ้ ยละ 100
10.มารดาที่เสยี ชีวิต ไดร้ บั การ 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559
ตรวจสอบความถกู ต้องของข้อมลู ไม่น้อยกวา่ 90 100
และดาเนินการแก้ไขสาเหตุ โดย ครัวเรือน 100 100 100 100 100 10/10
MCH Board ของจงั หวดั 88.32 =100
11.ใช้เกลอื เสริมไอโอดนี ทีม่ ี 1 แห่ง
คุณภาพ (ปรมิ าณไอโอดนี มากกวา่ 10 ชมรม - 79.48 91.84 93.73 64.03 58.80 73.27
20-40 ppm) 10 (2596(4415) 5062/
กลุม่ แม่ ไม่นอ้ ยกวา่ 60.37 3709
1.พัฒนาชุมชนตน้ แบบแมแ่ ละเด็ก 60
2.มีชมรมสุขภาพอนามยั แม่และ 100 - 11 4 10 10
เด็กในโรงพยาบาลทกุ แห่ง ไม่นอ้ ยกวา่ 65% 10 10 10 10 10 10
3.อตั ราการเลี้ยงลกู ดว้ ยนมแม่ 10
อยา่ งเดียว 6 เดือน (HDC ปี 10 คน 52.28 54.13 22.84 45.2 44.2 86.52
59=30%) 2.41: (1786/4045) (8462/978
4.หญงิ หลังคลอดและทารกไดร้ ับ ไม่เกนิ 16.7 : พัน 1,000 (1819/4021)
การเย่ยี มหลังคลอดครบ 3 ครง้ั การเกิดท้ังหมด 5.83: 65.57 0
ตามเกณฑ์ ไมเ่ กิน 9 : พนั การ 1,000 100 93.10 50.17 74.84 (1436/2190 78.3
5.พัฒนามิสนมแมค่ ุณภาพ รพ.ละ เกิดทั้งหมด 17.34 (2906/371
1 คน ไม่เกนิ 25 : พัน การ 8.59 3,560/4,757 10 3)
กลุม่ เด็ก เกิดมชี พี 10
1.อตั ราการเกดิ ไรช้ ีพ ไม่เกนิ รอ้ ยละ 7 10 10 10 10

2.อัตราตายปรกิ าเนิดของทารก 3.53: 3.70: 4.06: 4.48 3.29 3.90
1,000 1,000 1,000 (36/8,060) (26/7911) (29/7433)
3.ทารกแรกเกดิ ขาดออกซเิ จน 7.37: 6.20: 5.58:
1,000 1,000 1,000 6.47 4.17 6.32
4.ทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม 16.05 15.03 14.32 (52/8060) (33/7911) (47/7433)

8.55 8.27 9.14 15.01 11.50 3.90
121/8,060 91/7911 (119/7433)
8.4(8630/7
8.93 9.37
(420/8,060) (741/7911) 433)

โรคจากภาวะครรภ์เส่ียง ไมเ่ กินรอ้ ยละ 0.65 0.61 0.69 0.61 0.57 0.59
(55/89 (58/83 (50/8136) (43/7,533) (42/7,119)
1.อตั ราการหญิงตง้ั ครรภต์ ดิ เช้อื 47) 79)
เอชไอวี 94.55 98.28 100
(52/55 (57/58 (50/50)
2.หญงิ ตั้งครรภ์ทีต่ ิดเชอ้ื เอช ไอ วี ร้อยละ 98 95.34 100/7119/
ไดร้ บั ยาต้านไวรสั เอดส์ )) 4.35 (41/43) 7119)
0.00 2.22 (2/46)
3.อตั ราถ่ายทอดเช้อื เอช ไอ วี ไม่เกนิ รอ้ ยละ 2 (0/37) (1/45) 1.92 0
จากแม่ส่ลู กู (1/52) (0/7119)

กลุ่มงานส่งเสรมิ สขุ ภาพ

ตารางท่ี 2 ข้อมูลอนามัยแม่และเด็กปี 2553-2559 เปรียบเทียบเป้าหมาย (ตอ่ )

ตวั ชวี้ ัด KPI ผลการดาเนนิ งาน
เป้าหมาย 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559

เดก็ ปฐมวยั

1.เดก็ 0-5 ปี มพี ัฒนาสมวัย >รอ้ ยละ 85 94.91 91.14 99.56 99.5 89.78 99.28
68.97 (16,395/ (46,546/
2.เดก็ 0-5 ปี ไดร้ บั การตรวจ ไมน่ อ้ ยกวา่ 80 54.24 53.76 21.74w 52.03 HDC 18,262) 46,212
พฒั นาการ 9,18,30,42 เดือน รง. รง. m 4.64 77.30 91.75
4.54 (25,455/ (24,512/
3.ทารกแรกเกิด-6 เดอื น กินนมแม่ >ร้อยละ 30 71.60 71.50 32,932) 22,495
อย่างเดยี ว 6 เดอื น 2.94 77.08 86.37
2.96 (6341/82,2 (9,520/
4.เดก็ 0-5 ปี มีภาวะเต้ยี ไมเ่ กินรอ้ ยละ 10 27)HDC 8,222

5.เดก็ 0-5 ปี มภี าวะผอม ไมเ่ กินร้อยละ 2 5.49 4.75
(2,471/ (41,649/
6.เด็ก 0-5 ปี มีส่วนสงู ระดบั ดี >รอ้ ยละ 65 44,993) 1979
และรูปร่าง สมสว่ น 4.75
(2,138/ 4.69
7.เดก็ พัฒนาการสงสัยลา่ ช้าได้รบั รอ้ ยละ 100 2.73 2.61 - 44,931) (41,649/
การกระตุน้ อัตรา 3000: 1 ราย 70.00 1,975
8.เดก็ แรกเกดิ อายุ 2 วันขน้ึ ไป (31,617/ 89.95
ไดร้ บั การเจาะหาปริมาณ TSH 45,198 (41,649/
ทารกที่มีระดับ THS ≥25 mU/L 99.68(185 37,467
8/1864
2.31 100

2.77

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ได้มกี ารประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก ระดับทอง
ในปีงบประมาณ 2551-2559 ซึ่งโรงพยาบาลของรัฐทุกแห่งผ่านเกณฑ์มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก ระดับทอง
และผ่านเกณฑป์ ระเมินซา้ ระดับทองทกุ 3 ปี จานวน 10 แหง่ ผ่านเกณฑ์ฯ ระดบั ทองทงั้ 10 แหง่

การประเมนิ ANC/LR/WCC คณุ ภาพ โรงพยาบาลในจังหวัดสพุ รรณบรุ ี ตง้ั แต่ ปี 2556 – 2559 ผา่ นการประเมนิ
คุณภาพทั้ง ๑๐ แหง่

การประเมินผ่านเกณฑม์ าตรฐานระดับเขต/จังหวัด ของตาบลพัฒนาการดีเริ่มที่นมแม่ /รพ.สต. ผ่านเกณฑ์
มาตรฐานงานอนามยั แม่และเด็ก ในจังหวดั สุพรรณบุรี ตั้งแต่ ปี 2555 – 2559 ดงั นี้ ปี 2555 ผ่านเกณฑ์ 1 ตาบล /
รพ.สต. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานงานอนามยั แม่และเดก็ คือ ตาบล พหิ ารแดง อ.เมืองฯ จ.สพุ รรณบรุ ีปี 2557 ผา่ นเกณฑ์
4 ตาบล/รพ.สต. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานงานอนามยั แม่และเดก็ ปี 2558 ผ่านเกณฑ์ อาเภอละ ๒ ตาบล รวม ๒๐
ตาบล ปี 2559 ผ่านเกณฑ์ อาเภอละ ๑ ตาบล รวม ๑๐ ตาบล

กลุม่ งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

ตารางท่ี 3 แสดงผลการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานระดับเขต/จงั หวัด ของตาบลพัฒนาการดเี ร่มิ ท่ีนมแม่

ศนู ย์พัฒนาการเด็กเล็กในตาบลพฒั นาการดเี ร่มิ ท่นี มแม่ โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพผา่ น

เกณฑ์มาตรฐานงานอนามยั แม่และเดก็ ในจงั หวัดสุพรรณบุรี ตง้ั แต่ ปี 2555 - 2559

ลาดบั อาเภอ ตาบล ปีท่ี ปี พ.ศ. ประเมินผ่าน ช่อื ศพด. ช่ือรพ.สต. ปที ่ี ปี พ.ศ. ประเมินผ่าน
ประเมิน ประเมิน
พหิ ารแดง ครง้ั แรก 55 56 57 58 59
ครั้งแรก 55 56 57 58 59
2555 
1 เมอื ง พิหารแดง 2555 

สพุ รรณบรุ ี บา้ นโพธ์ิ 2558  วัดโพธท์ิ า่ ทราย

สนามคลี 2558  บา้ นหนองขาม

สวนแตง 2559  สวนแตง

2 สองพ่นี อ้ ง บ่อสุพรรณ 2557  บ้านหนองพนั เทา บ้านหัววงั 2557 

ตน้ ตาล 2558  รร.วดั สองพน่ี ้อง

บางตาเถร 2558  รร.วดั ท่าขา้ ม

ตน้ ตาล 2559 

3 ด่านชา้ ง หนองมะคา่ โมง 2558  บา้ นหนองอุโลก

องคพ์ ระ 2558  เขาธง

วังคนั 2559 

4 ดอนเจดยี ์ ไรร่ ถ 2557  บา้ นหนองแจง ไร่รถ 2557 

สระกระโจม 2558  ทต.สระกระโจม

หนองสาหร่าย 2558  บา้ นท่ากมุ่

ทะเลบก 2559 

5 ศรปี ระจนั ต์ วงั ยาง 2558  บรรไดทอง

บ้านกรา่ ง 2558  ทต.บา้ นกร่าง

บางงาม 2559 

6 สามชกุ กระเสียว 2558  วดั โคกหมอ้

หนองสะเดา 2558  ต.หนองสะเดา

ยา่ นยาว 2559 

7 อทู่ อง จรเขส้ ามพนั 2558  ต.จรเขส้ ามพนั

พลบั พลาไชย 2558  ต.พลับพลาไชย

หนองโอง่ 2559 

กลุ่มงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

ตารางท่ี 3 แสดงผลการประเมินผา่ นเกณฑ์มาตรฐานระดับเขต/จงั หวดั ตาบลพัฒนาการดเี รม่ิ ทน่ี มแม่ ฯ(ต่อ)

ลาดบั อาเภอ ตาบล ปีท่ี ปี พ.ศ. ประเมินผา่ น ช่ือ ศพด. ช่อื รพ.สต. ปีท่ี ปี พ.ศ. ประเมินผ่าน
ประเมิน ประเมนิ 55 56 57 58
ครัง้ แรก 55 56 57 58 59 หนองโพธ์ิ คร้ังแรก 59

8 หนองหญา้ ไซ หนองโพธ์ิ 2557  2557

หนองขาม 2558  อบต.หนองขาม

ทัพหลวง 2558  บ้านหนองกระถิน

แจงงาม 2559 

9 บางปลาม้า จรเข้ใหญ่ 2557  อบต.จรเขใ้ หญ่ จรเข้ใหญ่ 2557 

วดั ดาว 2558  วดั ดาว

บางใหญ่ 2558 บางใหญ่

วงั นา้ เย็น 2559 

10 เดิมบางนาง หวั เขา 2558  บา้ นน้าพุ
บวช เดิมบาง 2558  บ้านคลองระแหง

ปากนา้ 2559 

ตางรางท่ี 4 แสดงผลการประเมินผา่ นเกณฑป์ ระเมนิ ศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ คุณภาพ ระดบั จังหวดั สพุ รรณบุรี ปี 2559

จานวนศูนย์ ผ่านเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ 6 ผลลัพธ์ 4 ด้าน ไมน่ อ้ ยกวา่ ผ่านท้งั เกณฑ์ รอ้ ยละ
เด็กเลก็ 6 ดา้ น ดา้ น< รอ้ ยละ60 ร้อยละ 80 และตวั ชวี้ ดั
ลาดบั ท่ี อาเภอ

ท้งั หมด รอ้ ยละ จานวนศนู ย์ ร้อยละ จานวนศูนย์ ร้อยละ
จานวนศนู ย์

1 เมอื งสพุ รรณบุรี 53 14 26.42 47 88.68 13 24.53

2 สองพน่ี ้อง 45 30 66.67 43 95.56 28 62.22

3 เดิมบางนางบวช 18 5 27.78 10 55.56 5 27.78

4 ด่านชา้ ง 28 18 64.29 25 89.29 18 64.29

5 บางปลามา้ 36 22 61.11 23 63.89 18 50.00

6 ศรีประจันต์ 28 14 50.00 14 50.00 6 21.43

7 ดอนเจดีย์ 16 7 43.75 11 68.75 6 37.50

8 สามชุก 14 10 71.43 9 64.29 9 64.29

9 อทู่ อง 27 18 66.67 23 85.19 16 59.26

10 หนองหญ้าไซ 16 3 18.75 13 81.25 3 18.75

รวม 281 141 50.18 218 77.58 122 43.42

การประเมินผา่ นเกณฑ์ประเมินศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ คณุ ภาพ ระดบั จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปี 2559 จานวน 281

ศนู ย์ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ คุณภาพ จานวน 122 ศูนย์ ร้อยละ 43.42 ยงั ไม่ผ่านเกณฑเ์ ปา้ หมาย (ร้อยละ 60)

กล่มุ งานส่งเสริมสขุ ภาพ

ตางรางที่ 5 แสดงผลการคดั กรองและประเมินพัฒนาการเดก็ ตามช่วงอายุ 9,18,30,42 เดอื น ปี 2559

รายการข้อมลู เมือง สองพี่ อู่ทอง เดมิ บาง ดา่ น บางปลา ศรี ดอน สามชกุ หนอง รวม

Dbpop ทั้งปี น้อง ช้าง มา้ ประจนั ต์ เจดยี ์ หญ้าไซ
1. จานวนเดก็ ท้ังหมดในพนื้ ที่
2. จานวนเดก็ ที่แพทย์วินจิ ฉัยโรคทางจิตเวช, 4,788 4,175 3,640 1,847 2,443 1,967 1,626 1,365 1,352 1,576 24,779
MR, Autistic, LD, ADHD, DS.โรคอ่นื ๆ (คน)
3. จานวนเดก็ ทีไ่ ดร้ ับการประเมนิ (DSPM) 3,906 2,755 2,658 1,449 1,760 1,803 1,295 1,042 1,219 917 18,804

12 - 17 - 7 8 2 - 1 2 49

3,354 2,663 2,528 1,127 1,723 1,595 1,245 1,008 1,065 802 17,110

4. จานวนเดก็ ที่มพี ัฒนาการสมวัย (DSPM) 2,314 2,088 1,536 940 1,453 1,185 923 764 842 599 12,644

5. จานวนเดก็ ท่ีมีพฒั นาการสงสยั ล่าช้า จาแนก 1,040 575 992 187 257 409 322 224 223 200 4,429
รายด้าน (DSPM)

- ดา้ นการเคล่อื นไหว Gross Motor (GM) 201 97 210 45 51 112 33 42 32 53 876

- ด้านการใชก้ ลา้ มเนอ้ื มดั เลก็ และสตปิ ัญญา Fine 470 314 467 75 76 187 185 98 94 67 2,033
Motor (FM)

- ดา้ นการเขา้ ใจภาษา Receptive Language 353 216 407 79 105 134 92 69 42 73 1,570
(RL)

- ดา้ นการใชภ้ าษา Expressive Language (EL) 402 144 326 91 86 106 106 53 28 61 1,403

- ดา้ นการชว่ ยเหลือตวั เองและสังคม Personal 323 118 291 53 46 80 54 47 40 43 1,095
and Social (PS) 1 - - - 21

6. จานวนเดก็ ที่พบ Red Flag (คน) 12 1 4 - 3 -

7. จานวนเดก็ ทส่ี งสัยล่าช้าไดร้ บั การตดิ ตาม (การ 901 461 965 200 250 380 285 204 211 184 4,041
กระตุน้ ดว้ ยเครอ่ื งมือ DSPM ซา้ ) 281 192 210 180 3,901
4 2 - 1 148
8. จานวนเดก็ ทม่ี ีพัฒนาการสมวยั หลงั ไดร้ บั การ 791 439 987 195 246 380 1 2 - - 40
กระตนุ้ 1 เดือน (DSPM)

9. จานวนเดก็ ที่มีพัฒนาการไมส่ มวยั หลงั ไดร้ ับ 103 22 8 2 6 -
การกระตุ้น 1 เดอื น (DSPM)

- ด้านการเคล่อื นไหว Gross Motor (GM) 21 11 3 1 1 -

- ด้านการใชก้ ลา้ มเนอ้ื มดั เล็กและสติปญั ญา Fine 45 9 4- - - 2 2 - - 62
Motor (FM) 1 2 - - 68
4 2 - 2 96
- ดา้ นการเขา้ ใจภาษา Receptive Language 45 13 5 - 2 -
(RL)

- ดา้ นการใช้ภาษา Expressive Language (EL) 67 15 4 1 1 -

- ด้านการชว่ ยเหลอื ตวั เองและสงั คม Personal 30 9 21 - - 2 2 - - 46
and Social (PS) 1 - - 12 182

10. จานวนเดก็ ทข่ี าดการตดิ ตาม/ตดิ ตามไม่ได้ 167 - 1 - 1 -

11. จานวนเดก็ ทไี่ ดร้ บั การส่งเสริมพัฒนาการด้วย 5 5 11 - - 3 2 - - 17
TEDA4I (3เดือน) - - - - 22

12. ได้รับการส่งตอ่ (เพอ่ื ตรวจวนิ ิจฉัย DSI) 22 - - - - -

กลุ่มงานสง่ เสริมสขุ ภาพ

ดังน้ันเพ่ือเป็นการแก้ไขปัญหาให้เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการครบทุกรายและเป็นไปตามมาตรฐาน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีจึงได้มีนโยบายให้เชื่อมโยงเครือข่ายจิตอาสาดูแลพัฒนาการเด็กขึ้น โดยมี
การอบรมให้ความรู้แกก่ ลุ่มจิตอาสาที่พร้อมจะเข้าไปตรวจพัฒนาการเด็กตามชุมชน เป็นการบริการด้านสุขภาพเชิง
รุกโดยชุมชนเพื่อชุมชน เป้าหมายเพ่ือค้นหาเด็กท่ีมีพัฒนาการไม่สมวัยส่งต่อให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการอย่าง
เหมาะสม สง่ ผลให้เด็กในชมุ ชนเติบโตอย่างมคี ุณภาพ มีความฉลาดทัง้ ดา้ นสตปิ ัญญา อารมณ์ สังคม พร้อมที่จะเป็น
กาลังในการพัฒนาชุมชนและประเทศต่อไป

ตางรางที่ 5 สรปุ จานวนมารดา/สาเหตกุ ารตาย ตั้งแตป่ ี 2547 -2559

ข้อมลู มารดาตาย หนว่ ย ปี47 ป4ี 8 ป4ี 9 ป5ี 0 ปี51 ป5ี 2 ปี53 ป5ี 4 ป5ี 5 ป5ี 6 ป5ี 7 ปี58 ป5ี 9
นบั

มารดาตาย

(Maternal

Mortality Rates)ตอ่ 12.34 11.46 12.15 0.00 23.16 22.97 11.38 0.00 12.27 23.87 12.40 0.00 53.60

ทารกเกดิ มชี พี

100,000 คน

จานวนทารกเกิดมชี พี คน 8,104 8,726 8,232 8,622 8,637 8,706 8,785 8,431 8,153 8,379 8,063 7,916 7,462
ท้งั หมด

จานวนมารดาตาย คน 1 1 1 0 2 2 1 0 1 2 1 0 4

สาเหตุ

-postpatum คน 1 12
Hemorrage 1

-pulmonary คน 1
embolism

-Criminal

Abortion and คน 1
22
septic shock

-Amniotic Fluid คน 1
embolism

-Eclamsia คน 1

Indirect caused คน 1
-Infection คน 1
Influenza
คน 1
-AVM
-CHE with PIH
with Severe
Pulmonary edema

กลมุ่ งานส่งเสริมสขุ ภาพ

การเสียชวี ติ ของมารดาและทารกในระยะเจ็บครรภ์คลอด เป็นปัญหาสาคญั สาหรบั ประเทศไทย สาเหตุ
สาคญั ของการตายและความพกิ ารในมารดาและทารก เกิดจากภาวะแทรกซ้อนท่พี บบอ่ ย ได้แก่ ภาวะขาดออกซเิ จน
ในทารกแรกเกิด และภาวะตกเลือดหลังคลอด ส่งผล กระทบตอ่ สภาพจิตใจของบดิ า มารดา ญาติพนี่ ้อง ทาใหเ้ กิด
ความสนิ้ เปลอื งในการรกั ษาพยาบาลและเป็นภาระของครอบครวั สังคม และเศรษฐกิจของประเทศ จากสถติ ิของ
องค์การอนามยั โลก ปี 2556 พบอัตราการตายของมารดาระหว่างคลอด คดิ เปน็ 26 ต่อประชากรแสนคน และ ปี
2555 พบอัตราการเสียชวี ิตของทารกระหว่างคลอด คดิ เปน็ 8 ต่อประชากรแสนคน ซ่ึงในปงี บประมาณ 2557
กระทรวงสาธารณสขุ ได้กาหนดเปา้ หมายการพัฒนาสขุ ภาพกล่มุ เด็ก/สตรีว่า อัตราส่วนมารดาตายไม่เกนิ 15 ตอ่ การ
เกิดมชี ีพแสนคน สาหรับในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ีในปี 2559 พบมารดาตาย จานวน 4 ราย สาเหตุสว่ นใหญเ่ กดิ
Indirect caused ดังนี้ Infection Influenza จานวน 1 ราย, AVM 1 ราย, CHE with PIH with Severe
Pulmonary edema 1 ราย และ Amniotic Fluid embolism จานวน 1 ราย

กลมุ่ งานส่งเสรมิ สขุ ภาพ

กลมุ่ เด็กวัยเรยี น

สถานการณแ์ ละสภาพปัญหา

จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ในภาพรวมปีการศกึ ษา 2558 เทอม 2 จานวนเด็กอายุ 5-14 ปี ได้รับการช่ังน้าหนักวัด
ส่วนสูงทั้งหมด 45,059 คน พบภาวะโภชนาการเร่ิมอ้วน/อ้วน จานวน 6,691 คน คิดเป็นร้อยละ 14.85 ซึ่งสูงกว่า
เกณฑ์ แต่ลดลงจากเทอม 1 ปีการศึกษา2558 (17.80) และลดลงจากปีการศึกษา 2557เทอม 2 (16.24) ทุก
อาเภอมีภาวะอว้ น/เริม่ อว้ นในเดก็ อายุ 5-14 ปีสูงมากกว่าเกณฑ์เรียงตามลาดับดังน้ี อาเภอเดิมบางนางบวช,อาเภอ
บางปลาม้า,อาเภอหนองหญา้ ไซ,อาเภอเมืองสุพรรณบุรี,อาเภอด่านช้าง, อาเภออู่ทอง,อาเภอดอนเจดีย์,อาเภอสอง
พ่ีน้อง,อาเภอศรีประจันต์ และ อาเภอสามชุก (18.52,17.69, 16.70, 15.87, 4.5, 14.25, 13.59, 13.41,11.94
และ 11.64 )

จังหวัดสุพรรณบุรี มีโรงเรียนท้ังหมด 475 โรงเรียน มีโรงเรียนอ้วน/เริ่มอ้วน มากกว่า 10ในปีการศึกษา
2558 จานวน 185 โรงเรียน สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีดาเนินการจัดอบรมนักจัดการน้าหนัก Smart
kids Coacher ให้เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขผู้รับผิดชอบงานทุกเครือข่ายบริการ จานวน 40 คน เม่ือวันที่ 29
ธนั วาคม 2558 และ Smart kids Coacher แตล่ ะเครอื ข่ายบรกิ ารกาลังดาเนินการถ่ายทอดการแก้ไขปัญหาเด็กวัย
เรียนเริ่มอ้วน/อ้วน โดยถ่ายทอดความรู้ SKC สู่ตาบลและโรงเรียน โดยมีจานวน SKC ระดับอาเภอและตาบล รวม
215 คน ส่วน SKL ท้งั หมด 53 โรงเรียน จานวน 155 คน

จากการสารวจสถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยของกรมอนามัย พบว่า กลุ่มเด็กวัยเรียน (5–14ปี)
พบว่าเด็กใน จ.สุพรรณมี IQ เฉลี่ย 98.50 (ค่ากลาง ร้อยละ 98.59) และมีมี IQ ต่ากว่าปกติ ร้อยละ 27.1( ค่า
กลาง รอ้ ยละ25.6 ) นอกจากนี้เด็กไทยอายุ 6 - 11 ปี มีความฉลาดทางอารมณ์เท่ากับ 45.12 ซ่ึงจัดอยู่ ในระดับต่า
กวา่ เกณฑป์ กติ (50 -100)
มาตรการในการดาเนินงาน

1.เฝา้ ระวงั ภาวะการเจรญิ เติบโตเดก็ อายุ 5-14 ปี และกระตุ้นติดตามการจัดกจิ กรรมแก้ไขปญั หาภาวะ
อว้ น(เรม่ิ อ้วน+อ้วน) กับเด็กกล่มุ เปา้ หมายในโรงเรยี น

- การถ่ายทอดโปรแกรมนกั จัดการน้าหนกั เด็กวยั เรยี น (Smart Kids Coacher : SKC สู่โรงเรยี น
เปา้ หมาย/สถานบริการสาธารณสุข)

- การคัดกรอง สง่ ต่อ การจดั การแก้ไขปญั หาและการรายงานผล
2.พัฒนางานสง่ เสรมิ สขุ ภาพจิตวยั เรียน
3.ป้องกนั การเสียชวี ติ ของเด็ก (อายุตา่ กว่า 15 ป)ี จากการจมนา้

กลุ่มงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

การดาเนินงานระบบการเฝ้าระวังปัญหาพฤติกรรมอารมณ์/ การเรยี นรู้ ในเด็กวัยเรียน ประจาปี 2559

กิจกรรม เปา้ หมาย (กลมุ่ เปา้ หมาย, จานวนครงั้ / จานวนคน)

1. การวางแผนรว่ มกบั โรงเรียน ครู / งานวยั เรยี น/งานสุขภาพจติ ใน รพ. รวม 20

คน

( ธ.ค58 / ส.ค 59 (แลกเปลี่ยน) )

2. การคดั กรองนกั เรียนชน้ั ป. 1 ในโรงเรียน เด็กนกั เรยี น ช้นั ป1 . ทุกราย

( รร.เปา้ หมาย ในจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปี 59 )

3. การช่วยเหลือเด็กกลมุ่ เสย่ี ง/ มปี ญั หา โดยโรงเรยี น เด็กกลมุ่ เสยี่ ง/ มปี ัญหา ตามผลการประเมนิ ที่ได้

และ โรงพยาบาล. ระบุ (เช่น การประชมุ ผู้ปกครอง, ( ทาCase Conference ดาเนินการในเดอื น

Case Conference เปน็ ต้น) สงิ หาคม 59)

4. กิจกรรมอ่ืนๆ ได้แก่ การจดั ทาทาเนยี บเครอื ขา่ ยการ ครู / งานวยั เรียน/งานสขุ ภาพจติ ใน รพ. รวม 20

ดแู ลเด็กวยั เรยี น (รร/ สธ./ศนู ย์เขต/สถาบันฯ) การต้งั คน

line กลมุ่ /ขยายเครอื ขา่ ยและสรา้ งความเขม้ แข็ง

โรงพยาบาล โรงเรียนส่งเสรมิ สขุ ภาพเป้าหมายดาเนนิ งาน

รพ.เจ้าพระยายมราช โรงเรยี นวัดไชนาวาส
รพ.สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 โรงเรยี นวดั โพธ์อิ น้
รพ. อู่ทอง โรงเรยี นวดั ชอ่ งลม
รพ.สามชุก โรงเรยี นวัดสามชุก
รพ.ดอนเจดยี ์ โรงเรยี นอนุบาลพระบรมราชานสุ รณด์ อนเจดยี ์
รพ.หนองหญ้าไซ โรงเรยี นหนองโก
รพ.เดิมบางนางบวช โรงเรยี นวัดเขาพระ
รพ.บางปลามา้ โรงเรียนวัดเสาธง
รพ.ศรปี ระจนั ต์ โรงเรยี นวดั ไก่เตยี้
รพ.ด่านชา้ ง โรงเรียนวดั ด่านชา้ ง

จานวนนักเรยี นช้ันป.1 ในโรงเรียนนาร่องที่ได้รับการคัดกรอง EQ และปัญหาการเรียน ทั้งหมด 298 ราย พบเด็ก
กลุ่มเสย่ี งจานวน 24 ราย (ร้อยละ8.04) เดก็ กลมุ่ เส่ียงได้รบั การดูแลโดยครู 23 ราย และสง่ ตอ่ พบแพทย์ 1 ราย จาก
การแลกเปล่ียนเรียนรู้ผลการดาเนินงานภายในจังหวัดในเรื่องการคัดกรอง EQ และปัญหาการเรียนน้ัน พบว่า
บทบาทในการดาเนนิ งานของครูมีประเด็นทีส่ าคัญดงั นี้

1.คัดกรองความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) และปัญหาการเรียนรู้ในเด็กนักเรียนชั้น ป.1 เพื่อค้นหาเด็กที่มี
ความเสี่ยงในการเกดิ ปญั หาทางการเรยี นรใู้ หไ้ ด้รับการดแู ลตง้ั แต่ในระยะแรกๆตามแนวทาง

2.ปรับวิธีกระบวนการสอนเด็กท่ีมีปัญหาการเรียนรู้โดยให้เด็กเรียนเพิ่มเติมรายบุคคล และให้พ่อแม่
ผูป้ กครองมสี ่วนร่วมในการดูแล โดยครูมอบหมายงาน/กิจกรรม ให้ตามปัญหาทพี่ บของเดก็ นกั เรยี นแต่ละคน

3.ดูแลเรื่องการกินยาของเด็ก (กรณีได้รับการรักษาจากแพทย์) พร้อมส่งต่อข้อมูล ผลการประเมินอาการ
ของเดก็ ให้แพทย์รับทราบเพื่อประกอบการรักษา

กลุ่มงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

4.มกี ารส่งต่อข้อมูลของเดก็ นักเรยี น จากครู ชั้น ป.1 ถึง ครู ชนั้ ป.2 เพอ่ื การดแู ลทตี่ ่อเน่อื ง

ร้อยละของเด็กนกั เรียนอายุ 5-14 ปี มีภาวะเรม่ิ อว้ นและอ้วน จงั หวดั สุพรรณบุรี
(ปีการศึกษา 2558 เทอม 1 และเทอม 2) จาแนกรายอาเภอ

อาเภอ ปีการศึกษา 2558 เทอม 1 พค.-กค. ปกี ารศกึ ษา 2558 เทอม 2 ตค.-ธค.

จานวน จานวนเร่ิม อตั รา จานวนทั้งหมด จานวนเรม่ิ อัตรา

ทั้งหมดท่ชี ัง่ / อ้วน/อว้ น (100) ที่ชง่ั /วัดส่วนสูง อ้วน/อ้วน (100)

วดั ส่วนสงู

เมอื งฯ 18,797 4,109 21.86 6,710 1,065 15.87

เดมิ บางนางบวช 4,620 883 19.11 3,656 677 18.52

ด่านช้าง 6,682 1,108 16.58 5,509 799 14.5

บางปลามา้ 4,519 850 18.81 2,775 491 17.69

ศรปี ระจันต์ 3,684 726 19.71 787 94 11.94

ดอนเจดยี ์ 4,109 780 18.98 1,979 269 13.59

สองพี่นอ้ ง 10,988 1,488 13.54 10,521 1411 13.41

สามชุก 4,221 770 18.24 1,452 169 11.64

อ่ทู อง 7,483 920 12.29 9,527 1358 14.25

หนองหญา้ ไซ 3,329 546 16.4 2,143 358 16.70

รวม 68,432 12,180 17.80 45,059 6,691 14.85

ทีม่ า : ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 20 มกราคม 2559 เวลา 16.00 น.

กลุม่ งานส่งเสรมิ สขุ ภาพ

ข้อมลู การดาเนนิ งาน 3 ปีทผ่ี า่ นมา(จากการสารวจ,WM 2015,HDC) (ป2ี 556-2558)

ลาดับ รายการ เกณฑ์ เปา้ หมาย ผลงาน รอ้ ยละ

1. ภาวะโภชนาการในเดก็ วยั เรียน 5-14 ปี ไม่เกิน

ปีการศึกษา 2556 มีภาวะเรมิ่ อว้ นและอว้ น รอ้ ยละ 15

เทอม 1 (จากการสารวจ) 53282 2623 4.92

เทอม 2

- (จากการสารวจ) 51973 2800 5.39

- (จากHDC) 14910 2074 13.91

2. ภาวะโภชนาการในเดก็ วยั เรียน 5-14 ปี ไม่เกนิ

ปกี ารศกึ ษา 2557มีภาวะเรม่ิ อ้วนและอว้ น ร้อยละ 10

เทอม 1

- (จากการสารวจ) 61680 7595 12.31
15.10
- (จากHDC) 39847 6015
11.70
เทอม 2 16.24

- (จากการสารวจ) 64874 7592 11.43
17.80
- (จากHDC) 15594 2533
14.85
3. ภาวะโภชนาการในเดก็ วยั เรียน 5-14 ปี ไมเ่ กิน
.
ปีการศึกษา 2558 มภี าวะเรม่ิ อ้วนและอว้ น ร้อยละ 10 66.86
65.82
เทอม 1
66.69
- (จากการสารวจ) 56799 6493 67.07

- (จากHDC) 68432 12180 72.48
64.59
เทอม 2

- (จากHDC) 45059 6691

เดก็ วยั เรยี น ( 6-14 ปี ) มสี ว่ นสงู ระดับดี รอ้ ยละ 70

4. และรปู รา่ งสมสว่ น ปีการศกึ ษา 2556

เทอม 1 - (จากการสารวจ) 58963 53282

เทอม 2 - (จากการสารวจ) 51973 34211

เด็กวัยเรียน ( 6-14 ปี ) มสี ่วนสูงระดับดี รอ้ ยละ 70

5. และรปู ร่างสมสว่ น ปกี ารศึกษา 2557

เทอม 1(จากการสารวจ) 61411 40958

เทอม 2(จากการสารวจ) 63182 42379

เด็กวยั เรียน ( 6-14 ปี ) มีสว่ นสูงระดับดี

6. และรปู ร่างสมสว่ น ปกี ารศึกษา 2558 รอ้ ยละ 70

เทอม 1(จากการสารวจ) 56799 41168

เทอม 2(จากWM) 56350 36402

กลมุ่ งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

มาตรการ/แผนงาน โครงการ กิจกรรมที่สาคัญ

มาตรการ โครงการ/กิจกรรมหลกั งบประมาณ
(ระบุแหลง่ เงนิ และจานวน)

มาตรการท่ี 1 โครงการเด็กสุพรรณบุรี เติบโตสมวัย มีสติรู้คิด มีทักษะ งบ NON UC
ชีวิตปี 2559 25,350 บาท
เฝ้าระวงั ภาวะการ 1.เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน/คัดกรองเด็กกลุ่ม
เจริญเตบิ โตเดก็ อายุ 5-14 เส่ียงจงั หวดั สุพรรณบรุ ี
ปี และกระตุ้นติดตามการ 1.1จัดประชุมเชิงปฏิบัติการอบรมนักจัดการน้าหนัก
จัดกจิ กรรมแก้ไขปัญหา Smart kids Coacher ให้ทุก คป.สอ. และถ่ายทอดลงสู่
ภาวะอว้ น(เร่มิ อ้วน+อ้วน) พื้นท่ีและโรงเรียนเป้าหมายการแก้ไขเด็กนักเรียนมีภาวะ
กบั เดก็ กล่มุ เป้าหมายใน เริม่ อ้วน/อ้วน
โรงเรียน 1.2 ติดตามชง่ั นา้ หนักเดก็ ทม่ี ีภาวะเร่มิ อ้วน/อว้ น เต้ยี
ผอมทกุ เดอื นจนเขา้ สู่ภาวะปกติ
1.3คดั กรองเด็กนักเรียนกลมุ่ เสีย่ งและสง่ ต่อตามระบบ
2. ประกวดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพดีเด่นเร่ืองการ
แก้ไขปัญหาเด็กเร่ิมอ้วน/อ้วน คป.สอ.ละ 2 โรงเรียน รวม
20 โรงเรียน
2.1 มอบโล่แก่รพ.สต.ท่ีแก้ปัญหาเด็กวัยเรียนอ้วน/อ้วน
ดเี ดน่
3. ทุก คป.สอ. แจกยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กแก่เด็กนักเรียน
ทุกคน
4พฒั นาโรงเรยี นส่งเสรมิ สขุ ภาพ

ผลลพั ธ์ทต่ี ้องการ

1. เดก็ นกั เรียนมภี าวะอว้ น (เร่ิมอว้ นและอว้ น) และฟนั ผลุ ดลง

2. เด็กนักเรยี นมคี วามฉลาดทางสติปัญญาและอารมณ์ไม่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน

3. เด็กนักเรียนได้รบั วัคซีนในการปอ้ งกันควบคุมโรคติดต่อท่ปี ้องกนั ไดต้ ามมาตรฐาน

4. เด็กนกั เรียนมสี ขุ ภาวะทางร่างกายจิตใจสตปิ ญั ญาอารมณส์ งั คมมที กั ษะชวี ติ และพฤตกิ รรมที่เหมาะสม

5. เด็กอายุตา่ กวา่ 15 ปี เสียชีวติ จากการจมนา้ ลดลง

ผลการดาเนินงาน

ภาวะโภชนาการในเดก็ วยั เรยี น

นกั เรียนระดับประถมศึกษาทุกสังกดั มภี าวะเรม่ิ อ้วนและอ้วน ไม่เกนิ ร้อยละ 10

กลุ่มงานสง่ เสริมสขุ ภาพ

นักเรียนระดบั ประถมศึกษาทุกสงั กัดมภี าวะเรมิ่ อว้ นและอ้วนลดลง รอ้ ยละ 0.5 ใน ปี 2559

หนว่ ยงาน/อาเภอ เปา้ หมายระยะ 3 เดือน

อาเภอเมือง เป้าหมายโรงเรียนอนุบาลสุพรรณบุรี เด็กอ้วน+ 1. โรงเรียนลดเวลาเรยี นเพม่ิ เวลารเู้ ปา้ หมาย

เร่ิมอ้วน 283 คน (ร้อยละ 13.02) , โรงเรียนกรรณสูต จานวนเด็ก ทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการพัฒนาสขุ ภาพเดก็ วยั เรียน

ท้งั หมด 2785 คน เดก็ อ้วน+เร่มิ อว้ น 479 (ร้อยละ17.19) จังหวัดสพุ รรณบรุ ี จานวน 51 โรงเรยี น

อาเภอบางปลาม้า เป้าหมายโรงเรียนรร.สุขเกษมเด็กอ้วน+เริ่ม 2. มีการคดั กรองเด็กเด็กกลมุ่ เสี่ยง
ได้รับการตรวจ obesity sign
อว้ น 18 คน (รอ้ ยละ 13.72), โรงเรยี นโรงเรยี นหรรษาสุจิตต์วิทยา 2 1) รอบคอดา 2) นง่ั หลับ
เดก็ อว้ น+เริ่มอว้ น 30 คน (รอ้ ยละ13.52)
3) นอนกรน 4) ประวตั ิเจ็บป่วย

อาเภอสองพ่นี ้อง โรงเรยี นบ้านหนองกระทู้ จังหวดั สุพรรณบรุ ดี าเนนิ

เด็กอ้วน+เร่ิมอ้วน 14 คน (ร้อยละ12.9) ,โรงเรียนบางลี่วิทยา การคดั กรองแลว้ 4 อาเภอคอื
- อาเภอหนองหญ้าไซ
จานวนทง้ั หมด 1125 คน เดก็ อว้ น+เริ่มอ้วน
ท้งั หมด 68 คนสง่ ตอ่ 5 คน
141 คน (รอ้ ยละ . 12.53 ) -อาเภอศรีประจนั ต์

อาเภอเดิมบางนางบวช เป้าหมายโรงเรียน วัด ทั้งหมด 117 คน ไม่มสี ่งต่อ

สาเภาล่มจานวนเด็กท้ังหมด 56 คน เด็กอ้วน+เริ่มอ้วน 13 คน -อาเภอสามชก(รพ.)

(ร้อยละ 23.21),โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 7 จานวนเด็กทั้งหมด ทัง้ หมด 35 คน ไมม่ ีสง่ ตอ่

140 คน เด็กอว้ น+เริม่ อว้ น 28 คน -อาเภอสองพี่น้อง ทั้งหมด 141 คน ส่งต่อ

(ร้อยละ 20) 30 คน

อาเภอศรีประจนั ต์ เปา้ หมายโรงเรียนวดั บ้านกล้วย อกี 7 อาเภออยรู่ ะหว่างการดาเนินงาน
3.การสร้างทีมนกั จัดการนา้ หนกั
จานวนเด็กท้ังหมด 120 คน เด็กอ้วน+เร่ิมอ้วน 15 คน (ร้อยละ (SKC)

12.50), โรงเรียนศรีประจันต์เมธีประมุข เด็กอ้วน+เริ่มอ้วน 130(ร้อย -ทมี ระดบั จงั หวัด 7 คน

ละ 16.82) -ทมี ระดบั อาเภอ 40 คน

ทีมระดบั ตาบล 175 คน

4.การสร้างทีมนักจัดการน้าหนักในโรงเรียน

( SKL )
อาเภอสามชุก เป้าหมายโรงเรียนวัดหนองสะเดาจานวนเด็ก - อาเภอหนองหญ้าไซ
ท้ังหมด 126 คน เด็กอ้วน+เร่ิมอ้วน 20 คน (ร้อยละ 15.87 ) , ทงั้ หมด 12 คน

โรงเรียนสามชุกรัตนโภคาราม จานวนเด็กทั้งหมด 1,783 คน เด็ก -อาเภอศรีประจันต์

อ้วน+เริ่มอ้วน 375 คน ทง้ั หมด 8 คน

(รอ้ ยละ 21.03) -อาเภอสามชกุ (รพ.)

กลุ่มงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

หนว่ ยงาน/อาเภอ เป้าหมายระยะ 3 เดือน

อาเภอดอนเจดีย์ เป้าหมายโรงเรียนโรงเรียนบ้านนเรศ จานวน ท้งั หมด 35 คน

เด็กท้ังหมด 219คน เด็กอ้วน+เริ่มอ้วน 24 คน คิดเป็น (ร้อยละ -อาเภอเมอื ง ทง้ั หมด 24 คน

10.95) ,โรงเรยี นบรรหารแจ่มใสวิทยา1จานวนเด็กท้ังหมด 1935 คน -อาเภอสองพีน่ ้องทัง้ หมด 155 คน
อกี 6 อาเภออยรู่ ะหวา่ งการดาเนินงาน
เดก็ อว้ น+เร่ิมอว้ น 262 คน (ร้อยละ 13.54)

อาเภออู่ทอง เป้าหมายโรงเรียนคีรีรัตนาราม เด็กทั้งหมด 253

คน เดก็ อ้วน+เริ่มอว้ น 36 คน (ร้อยละ 14.22) ,โรงเรียนอู่ทองศึกษา

ลัย เดก็ ทง้ั หมด 790 คน

เดก็ อว้ น+เริม่ อ้วน 131 คน (ร้อยละ 16.58 )

อาเภอหนองหญ้าไซเป้าหมายโรงเรียนวัดหนองทราย เด็ก

ทั้งหมด 257คน เด็กอ้วน+เร่ิมอ้วน 53 คน (ร้อยละ 15.95 ) ,

โรงเรียนหนองหญ้าไซวิทยา เด็กทั้งหมด 1075คน เด็กอ้วน+เริ่ม

อว้ น 142 คน (ร้อยละ 13.21 )

อาเภอดา่ นชา้ ง เปา้ หมายโรงเรยี นบา้ นรางงาม เด็กทั้งหมด 158

คน เด็กอ้วน+เริ่มอ้วน 24 คน (ร้อยละ15.18) ,โรงเรียนบ้านทุ่ง

มะกอก เด็กท้ังหมด 198 คน เด็กอ้วน+เริ่มอ้วน 35 คน (ร้อยละ

17.67)

ผลการดาเนนิ งานโรงเรยี นเป้าหมายในกิจกรรมแก้ปญั หาเรมิ่ อว้ น/อ้วนปีการศึกษา 2558
อาเภอท่ดี าเนินการเรียบร้อยและสรปุ รายงานผลการดาเนนิ งานแลว้ มีดังนี้
-อาเภอศรปี ระจันต์ เป้าหมายโรงเรยี นวัดบ้านกล้วยจานวนเด็กทงั้ หมด 120 คน เดก็ อ้วน+เร่ิมอ้วน 15 คน (ร้อยละ
12.50), โรงเรียนศรีประจันต์เมธีประมุข เด็กอ้วน+เริ่มอ้วน 130(ร้อยละ 16.82) ประเมินผลหลังจัดกิจกรรม
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พบว่าเด็กนักเรียนมีน้าหนักลดลง 43 คน คิดเป็นร้อยละ 29.65 น้าหนักเพิ่มขึ้น จานวน 90
คน คิดเปน็ รอ้ ยร้อยละ 62.07 น้าหนักเท่าเดิม จานวน 12 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 8.28
-อาเภอหนองหญ้าไซ เปา้ หมายโรงเรยี นวัดหนองทราย เด็กท้ังหมด 257 คน เดก็ อว้ น+เริ่มอ้วน 52 คน (ร้อยละ
20.62 ) ,โรงเรียนหนองหญ้าไซวิทยา เด็กทั้งหมด 1075 คน เด็กอ้วน+เริ่มอ้วน 142 คน (ร้อยละ 13.21 )
ประเมินผลหลังจัดกิจกรรม พบว่าเด็กนักเรียนมีน้าหนักลดลง 20 คน คิดเป็นร้อยละ 10.30 น้าหนักเพิ่มขึ้น
จานวน 93 คน คดิ เปน็ รอ้ ยร้อยละ 47.94 นา้ หนักเทา่ เดิม จานวน 81 คน คิดเป็นร้อยละ 41.75

กลมุ่ งานส่งเสริมสขุ ภาพ

-อาเภอสองพ่ีน้องโรงเรียนวัดหนองกระทู้ มีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน/อ้วน จานวน 14
คน ประเมินผลหลังจัดกิจกรรม พบว่าภาวะโภชนาการดีขึ้นจานวน 1ราย ร้อยละ 7.14 น้าหนักเพิ่มข้ึน จานวน13
คนเปน็ ร้อยละ 92.86 โรงเรียนบางลี่วิทยา มีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน/อ้วน จานวน 141
คน ประเมินผลหลังจัดกิจกรรม พบว่าภาวะโภชนาการดีข้ึนจานวน 5 ราย ร้อยละ3.55 น้าหนักเพ่ิมข้ึน จานวน28
คนเปน็ ร้อยละ 19.86

กลุ่มงานส่งเสรมิ สขุ ภาพ

โครงการของขวัญปใี หมต่ ามนโยบายลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้
ในโครงการเด็กไทยสายตาดี เพ่ือเพ่ิมโอกาสเรียนรู้ เพื่อรณรงค์ส่งเสริมการตรวจวัดสายตาเด็กวัยเรียนและ

ดาเนินการแก้ไขอย่างเหมาะสมและทันเวลา ซ่ึงจะส่งผลให้สามารถลดความชุกของสภาวะตาบอดในเด็กไทยได้
รวมทั้งจุดประกายให้โรงเรียนเห็นความสาคัญของการตรวจวัดสายตาเด็กอย่างถูกต้อง และดาเนินงานต่อเนื่อง
รว่ มกนั ระหว่างบคุ ลากรดา้ นการศึกษา บุคลากรด้านสาธารณสุข ผปู้ กครองและชมุ ชน

ทุกโรงเรยี นมีการดาเนนิ กิจกรรมอยา่ งตอ่ เนือ่ งโดยครูประจาช้ัน ป.1 วัดสายตานักเรียน หากพบนักเรียน
สายตาผิดปกติให้รวบรวมรายช่ือนักเรียนส่งให้เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข/พยาบาลเฉพาะทางตา โรงพยาบาลตรวจวัด
สายตาซ้า และขึ้นทะเบียนเพื่อรอรับแว่นตา ภายใต้โครงการเด็กไทยสายตาดี เพ่ือเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ ตาม
นโยบาย ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้
ปญั หา/อุปสรรคทพี่ บและการแก้ไข

ปญั หา/อุปสรรค การแก้ไข

1. การควบคุมการรับประทานอาหาร การออก 1. เพิ่มกิจกรรมใหค้ วามรู้แก่ผู้ปกครอง ในการ
กาลังกาย ในช่วงปิดเทอม เป็นไปได้ยาก เลือกรบั ประทานอาหารและการออกกาลังกาย
ผู้ ป ก ค ร อ ง ข า ด ก า ร ดู แ ล เ ร่ื อ ง ก า ร เ ลื อ ก ของเด็กท่ีมีภาวะเร่ิมอ้วนและอ้วน
รับประทานอาหารและการออกกาลังกายของ
บุตรหลาน

2.PM กลุ่มวัยเรียนเปลี่ยนผู้รับผิดชอบงานและ ตดิ ตามควบคุม กากับให้ผูร้ บั ผดิ ชอบรายงานผล
ขาดการส่งต่อความเข้าใจงานที่ถูกต้องทาให้ การดาเนนิ งานให้คลอบคลุมครบถ้วน ตรงเวลา
ผลงานล่าช้า

ขอ้ เสนอแนะ/สิ่งท่ีขอรบั การสนบั สนนุ
6.1 ขอรับการสนับสนุนแผ่นพับเก่ียวกับการออกกาลังกาย ธงโภชนาการ หนังสือเกี่ยวกับโภชนาการใน

โรงเรยี นฯลฯใหเ้ พียงพอกบั จานวนโรงเรยี นท่ีมีอยู่
6.2 การปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนจากสิ่งที่นักเรียนชอบและทาอยู่เป็นประจา เป็นเร่ืองที่ค่อนข้าง
ยากต้องใช้เวลานาน จึงจะดาเนินการให้ผ่านเกณฑ์ทุกตัวชี้วัด และต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจของทุกฝ่ายท่ี
เกี่ยวข้อง ท่ีสามารถจะผลักดันการดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายได้ และการจัดส่ิงแวดล้อมทั้งในร้ัวและนอกรั้ว
โรงเรยี นด้านคุณภาพของอาหารทน่ี ามาจาหน่ายก็เป็นปัญหาอย่างมากในการแก้ไข

กลุม่ งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

สว่ นท่ี 1 ขอ้ สงั เกตท่ีพบ/ ปัญหา/อปุ สรรค/ข้อเสนอแนะ

ลาดบั ประเดน็ /หวั ข้อ ข้อสงั เกต ปัญหา ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะ
(1) อปุ สรรค ต่อหนว่ ยรับ ตอ่ ส่วนกลาง
(2)
ตรวจ หรือผบู้ ริหาร (4)
(3)

ประเดน็ การตรวจราชการทีม่ ่งุ เนน้ 1. การถา่ ยทอดโปรแกรมนกั จดั การน้าหนักเด็กวยั เรียน (Smart
Kids Coacher:SKC) ส่โู รงเรยี นเป้าหมายและสถานบรกิ ารสาธารณสุข

1 แผนลดปัญหาภาวะเรมิ่ อว้ น ดาเนินการแล้ว
และอว้ น โดย PM จงั หวดั
จานวน 53 โรงเรยี น
2 การถา่ ยทอดโปรแกรม SKC และ 10 สสอ.และ
สโู่ รงเรยี นเปา้ หมายและ 10 รพ.รวม 175 คน
สถานบรกิ ารสาธารณสุข

3 โรงเรียนนาแผนการเรียนรู้ อยูร่ ะหวา่ งการ
เรื่องการจัดการน้าหนักด้าน ดาเนินงาน
โภชนาการและการเคลื่อนไหว -อาเภอเมืองดาเนินการ
รา่ งกาย เช่น Food for fun แลว้ จานวน 13 โรงเรียน
(โภชนาการ) และ Fun for fit -อาเภอหนองหญา้ ไซ
(การเคล่ือนไหวร่างกาย)ไปใช้ใน จานวน 2 รร.
กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ -อาเภอศรปี ระจนั ต์
จานวน 2 รร.
-รพ.สามชกุ 2 รร.
-อาเภอสองพน่ี ้อง 2 รร.

ประเดน็ การตรวจราชการทมี่ ุง่ เนน้ 2. การคัดกรอง ส่งต่อ การจัดการแก้ไขปญั หา และการรายงานผล

1. โรงเรยี นทีม่ ีเด็กภาวะเร่ิมอว้ น จานวน 185 รร.

และอว้ น  ร้อยละ10 (รร.ทง้ั หมด 475 รร.)

คดั กรองและจดั การนา้ หนัก อาเภอท่ีดาเนนิ การแล้ว

- เด็กกลมุ่ เส่ียงไดร้ ับการ ดังนี้

ตรวจ obesity sign - อาเภอหนองหญา้ ไซ

1) รอบคอดา 2) นงั่ หลบั ทง้ั หมด 68 คน

3) นอนกรน 4) ประวัตเิ จ็บป่วย ส่งต่อ 5 คน

ครอบครัว

- การส่งต่อเข้าระบบ

Service plan และคลนิ กิ -อาเภอศรีประจนั ต์

กลุ่มงานสง่ เสริมสขุ ภาพ

ลาดบั ประเดน็ /หวั ข้อ ข้อสังเกต ปัญหา ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะ
(1) อปุ สรรค ตอ่ หนว่ ยรบั ต่อสว่ นกลาง
(2)
ตรวจ หรือผบู้ ริหาร (4)
(3)

DPAC ทง้ั หมด 117 คน

ส่งตอ่ 117คน

-อาเภอสามชก (รพ.)

ทงั้ หมด 35คน

ไม่มสี ง่ ต่อ

-อาเภอสองพนี่ ้อง 141

คนสง่ ต่อ 30 คน

อีก 6 อาเภอ

อย่รู ะหวา่ งการ

2. การตดิ ตามผลการคดั กรองและ 56,799 คน

รายงานผลการ ชัง่ น้าหนัก วัด 45,059 คน

ส่วนสูง ปีละ 2 คร้งั

-ภาคเรียนท่ี 1: พ.ค.-ก.ค.

-ภาคเรียนที่ 2: ต.ค.-ธ.ค.

เน้น 1) ความครอบคลมุ

2) มาตรฐานการใช้

เคร่ืองมือและวธิ ีการ

ประเมิน

กลุม่ งานส่งเสริมสขุ ภาพ

สว่ นท่ี 2 ข้อมลู ตามเป้าหมาย การตรวจตดิ ตาม และ/หรือ ผลลัพธ์ในแนวทางการตรวจราชการ

ลาดับ ผลสาเรจ็ /ตวั ชี้วัด ประเดน็ การ ผลการดาเนินงาน

ประเมนิ ผล

1. แผนลดปญั หาภาวะ 1.ช่ือแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม : ระดับจังหวดั ,

เร่มิ อว้ นและอ้วน ระดบั ติดตามประเมินรพ.สต.ดเี ดน่ ในการทากจิ กรรมแกป้ ญั หาเดก็ วัยเรยี นอ้วน/เรมิ่

จงั หวดั และอาเภอ อว้ นตามโครงการเดก็ สุพรรณบุรีเติบโตสมวัย มีสติรู้คิด มีทักษะชีวิต ปี 255.

ระดบั จังหวดั

พัฒนาศกั ยภาพทมี (SKC) ระดับอาเภอ 40 คน ,

ระดับตาบล 175 คนพฒั นาศักยภาพทีม (SKL) ในโรงเรียน 55 คน

2.กิจกรรมสาคญั /กระบวนการดาเนินงานลดปัญหาภาวะเรมิ่ อว้ น และอ้วน

ระดบั - อาเภอหนองหญ้าไซ ทง้ั หมด 68 คนสง่ ตอ่ 5 คน

-อาเภอศรปี ระจันต์ ท้ังหมด คน สง่ ตอ่ ...คน

-อาเภอสามชก(รพ.) ทง้ั หมด 35 คน ไมม่ ีสง่ ตอ่

-อาเภอสองพีน่ อ้ ง ทัง้ หมด 141 คน สง่ ตอ่ 30 คน

อีก 7 อาเภออย่รู ะหวา่ งการดาเนินงาน

2. จานวนโรงเรยี นและ โรงเรยี น 53 จานวนรร.ทมี่ ภี าวะเรมิ่ อ้วนและอว้ น ร้อยละ 10 จน.185.แห่ง และ

สถานบรกิ ารสาธารณสขุ แห่ง ได้รบั การถ่ายทอดโปรแกรมฯ 33 แห่ง

ทุกระดบั ท่ไี ดร้ บั การ สสอ. 10 จานวนรพศ./รพท.ท่ไี ดร้ ับการถ่ายทอดโปรแกรมฯ....1...แห่ง

ถ่ายทอดโปรแกรม SKC แห่ง จานวนรพช.ที่ได้รบั การถา่ ยทอดโปรแกรมฯ.......9.......แหง่

รพ.10แหง่ จานวนรพ.สต.ทีไ่ ดร้ บั การถ่ายทอดโปรแกรมฯ..10.......แหง่

3. ร้อยละ 70 ของโรงเรียน ดาเนินการ โรงเรียนทมี่ ภี าวะเรมิ่ อ้วนและอ้วน ร้อยละ 10

มีการนาแผนการเรียนรู้ แล้ว 53 รร. มีการนาแผนการเรียนรฯู้ ไปใช้ รอ้ ยละ 17.84

เรื่องการจดั การนา้ หนกั และอยู่

ดา้ นโภชนาการ และการ ระหวา่ ง

เคลือ่ นไหวร่างกายไปใช้ ดาเนนิ การ

4. การคดั กรอง สง่ ต่อเด็ก อยูร่ ะหวา่ ง 1.จานวนโรงเรยี นเปา้ หมายทม่ี ีการคดั กรอง ส่งตอ่ เด็กอ้วน

อว้ น กลมุ่ เส่ยี งจาก ดาเนินการ กลุม่ เสย่ี ง....20..........แห่ง

สถานศกึ ษาเข้าระบบ 2.เด็กอว้ นกลมุ่ เส่ยี งจากโรงเรยี นเป้าหมายทไี่ ดร้ ับการ

Service plan และ คดั กรอง ส่งต่อ รอ้ ยละ..-..จากจานวนเดก็ อ้วนทง้ั หมด..- คน

คลนิ ิก DPAC 3.สถานบริการสาธารณสขุ ทร่ี ับการสง่ ต่อ

รพศ./รพท. รพช. รพ.สต. คลินิกDPAC
....1/1..แห่ง ...8....แหง่ ..175....แหง่ ..145..แหง่

กลุ่มงานสง่ เสริมสขุ ภาพ

ลาดับ ผลสาเรจ็ /ตวั ชวี้ ดั ประเด็นการ ผลการดาเนินงาน
ประเมนิ ผล
5. ภาวะเริ่มอว้ น และ
อว้ น 2 ภาคเรยี น ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558

จานวนนกั เรยี น (คน) จานวนนกั เรียน (คน) ร้อยละ

ทงั้ หมด ทีไ่ ดร้ บั การ ร้อยละ ภาวะเริม่ ภาวะอ้วน 17.80
ชง่ั นน.และวัด อว้ น รอ้ ยละ

สส. 14.85

77524 68432(HDC) 88.27 12180

ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2558

จานวนนกั เรียน (คน) จานวนนกั เรยี น (คน)

ท้งั หมด ท่ไี ดร้ ับการ ร้อยละ ภาวะเริ่ม ภาวะอว้ น
ชงั่ นน.และวดั อ้วน

สส.

77524 45059(HDC) 58.12 6691

หมายเหตุ : จานวนนร.ทง้ั หมด หมายถงึ จานวนนกั เรยี นทกุ คนในช้นั เรยี น
: จานวนนร.ทไ่ี ด้รับการชง่ั นา้ หนัก และวดั ส่วนสูง หมายถึง จานวนนร.ท่ไี ด้รับ

การชง่ั นา้ หนัก และวดั ส่วนสงู ณ วนั ที่ชง่ั นา้ หนัก ฯ

6. ภาวะเรมิ่ อ้วนและ ลดลง ตารางเปรยี บเทยี บภาวะเริม่ อ้วนและอว้ น 2 ภาคเรียน ปกี ารศึกษา 2558
อ้วนลดลง 0.5 ร้อยละ
เมือ่ เทยี บกบั 2.95 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2
สถานการณ์เดิม
ในปกี ารศึกษานั้น จานวนนักเรยี น (คน) จานวนนักเรียน
ภาวะเร่ิม ภาวะอ้วน
รอ้ ยละ (คน) ร้อยละ
ภาวะเร่มิ ภาวะ

อว้ น อ้วน อว้ น

12180 17.80 6691 14.85

กลมุ่ งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

สรปุ ภาพรวมวัยร่นุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปี ๒๕๕๙ (7 พฤศจกิ ายน 2559)

วิเคราะห์สถานการณ์ สภาพปญั หาของพืน้ ที่

สถานการณท์ พ่ี บอตั ราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปตี ่อหญงิ อายุ 15-19 ปี 1,000 คน มี

แนวโน้มลดลง โดยพบว่า ปี 2555 = 57.7 , ปี 2556 = 53.4, ปี 2557 = 54.80, ปี 2558 = 53.77 และป2ี 559 =

54.62 รอ้ ยละของการคลอดซ้าในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปใี นช่วง 4ปีหลังมีแนวโน้มสูงขนึ้ จากรอ้ ยละ 11.9 ในปี 2555 ขนึ้ มา

สงู ถงึ ร้อยละ 11.9 , ปี 2556 = 15.9 ปี ,2557 = 14.4, ปี 2558 =16.18 และป2ี 559 = 15.31 ส่วนการคุมกาเนดิ

ในแม่วยั รุ่นหลังออกจากโรงพยาบาล ปี 2557= 59.34 , ปี 2558 =76.81 และป2ี 559 = 85.11

จากการรายงานผลการดาเนนิ งาน ปี พ.ศ. 2559 พบว่ามีอตั ราการคลอดมีชีพในหญงิ อายุ 15-19 ปี

คดิ เปน็ 54.62.รอ้ ยละของการคลอดซา้ ในวัยรนุ่ อายุ 15-19 ปี คิดเปน็ 15.31และและการคุมกาเนดิ หลังคลอดก่อนออก

จากโรงพยาบาล คดิ เป็น ..85.11 การเข้ารับบริการในสถานบรกิ ารทเี่ ปน็ มิตรในจงั หวัดสพุ รรณ โดยภาพรวม พบวา่

กลุม่ วยั รุ่นเขา้ ถงึ บรกิ ารน้อย เนอื่ งจากรปู แบบการใหบ้ รกิ ารในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ขาดบริการเชงิ รุก,การ

ประชาสมั พันธย์ ังน้อยทาให้การเขา้ ถงึ (Approach) วัยร่นุ กลุ่มเส่ียงประกอบกับบคุ ลากรสาธารณสขุ และเครือขา่ ย

ทุกภาคสว่ นทที่ างานเกี่ยวข้องกับวัยรุ่นตอ้ งการการพัฒนางานทีเ่ ปน็ รูปธรรมจบั ต้องได้ และการขบั เคล่ือนงานใน

ระดบั อาเภอ ( PM ) ตอ้ งมีระบบการนเิ ทศตดิ ตามงานใหร้ พ.สตที่รบั ผิดชอบในพ้ืนทีใ่ ห้สามารถรับการสนับสนุนจาก

อปท./อบต.ในพืน้ ที่ได้ทุกแห่งจะเกดิ ภาคีเครือขา่ ยในการทางานอย่างเป็นระบบมีการชว่ ยเหลือกนั ถือวา่ เป็นงานที่

ต้องรบั ผิดชอบร่วมกนั มใิ ช่เป็นงานที่สาธารณสุขทาแตเ่ พยี งกระทรวงเดียว ดังนัน้ การคนื ข้อมูลจึงมีความสาคัญใน

การทางานด้านสขุ ภาพวยั รุน่ อยา่ งมากต้องช้ใี ห้อปท./อบต ทราบถึงปญั หาและรว่ มกันคิดรว่ มสร้างแนวทางในการ

ดาเนินงานปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาการต้งั ครรภใ์ นวัยรนุ่ ในสว่ นการปอ้ งกนั การตงั้ ครรภใ์ นระดับจงั หวดั ได้

ดาเนนิ งานแตง่ ต้ังผรู้ บั ผดิ ชอบงานวางแผนครอบครวั เพื่อให้บริการแก่แมว่ ัยรุ่นก่อนออกโรงพยาบาลและมีการคนื

ขอ้ มลู ไปตามรพ.สตทงั้ 174 แห่งมรี ะบบการติดตาม case คนื ข้อมูลสู่แม่ข่ายทกุ โรงพยาบาลตามบริบทของพื้นท่ี

(ตามคาส่งั ท่ี 19 / 2559 ลงวนั ที่ 18 กุมภาพนั ธ์ 2559)

ตารางที่ 1 แสดงอตั ราการคลอดมชี ีพในหญงิ อายุ 15-19 ปี ต้งั แตป่ ี 2555-2559 แยกเปน็ รายโรงพยาบาล

ลาดับ ผลสาเร็จ/ตัวช้ีวดั โรงพยาบาล ปี 2555 ปี ปี ปี ปี2559

2556 2557 2558

1. อตั ราการคลอดมชี พี ใน เจา้ พระยายมราช 85.3 80.1 71.5 78.69 85.67

หญิงอายุ 15-19 ป(ี ไม่เกิน

50 ต่อประชากรหญงิ อายุ

15-19 ปี 1,000 คน)

เดิมบางนางบวช 32.9 30.5 35.2 23.81 25.54

ด่านช้าง 100.6 117.2 83.5 86.94 65.43

บางปลามา้ 29.2 30.4 21.7 20.47 44.48

ศรีประจนั ต์ 49.8 37.5 35.9 38.29 44.49

ดอนเจดีย์ 50.7 42.5 36.6 33.36 24.72

กลุม่ งานส่งเสรมิ สขุ ภาพ

สมเด็จพระสังฆราช 48.6 64.6 70.6 88.57. 65.61



สามชกุ 53.9 35.0 55.7 40.28 29.31

อู่ทอง 57.5 43.4 55.3 45.41 59.64

หนองหญ้าไซ 18.2 15.9 10.9 10.56 17.40

รวม 57.7 53.4 54.8 53.77 54.62

ทม่ี า : งานส่งเสรมิ สุขภาพและรกั ษาพยาบาล

ตารางท่ี 2 แสดงร้อยละของการต้ังครรภ์ซา้ ในหญงิ อายุ 15-19 ปี ต้งั แตป่ ี 2555-2559 แยกเป็นรายโรงพยาบาล

ลาดบั ผลสาเรจ็ /ตัวชี้วดั โรงพยาบาล ปี ปี 2556 ปี ปี 2558 ปี2559

2555 2557

1. ร้อยละของต้ังครรภ์ซ้าในหญงิ เจา้ พระยายมราช 7.9 12.8 13.9 14.57 13.77

อายุ 15-19 ปี(ไมเ่ กิน ร้อยละ

10)

เดิมบางนางบวช 18.9 26.2 28.0 18.00 15.15

ดา่ นชา้ ง 9.1 16.7 8.7 11.85 16.52

บางปลามา้ 12.8 26.0 5.7 15.91 26.53

ศรปี ระจันต์ 18.4 14.5 15.2 23.53 15.55

ดอนเจดีย์ 20.0 20.0 16.1 14.58 7.89

สมเดจ็ พระสงั ฆราช 16.3 16.9 16.7 16.20 15.12



สามชุก 15.9 12.1 9.9 15.63 12.5

อู่ทอง 9.5 14.5 16.5 17.58 14.18

หนองหญา้ ไซ 13.8 15.4 5.6 6.25 33.33

รวม 11.9 15.9 14.4 16.18 15.31

ทีม่ า : งานสง่ เสรมิ สุขภาพและรักษาพยาบาล

ตารางท่ี 3 แสดงร้อยละของการคุมกาเนิดในหญิงอายุ 15-19 ปี ตัง้ แต่ปี 2557-2559 แยกเปน็ รายโรงพยาบาล

ลา ผลสาเร็จ/ตวั ช้วี ัด โรงพยาบาล ปี ปี ป2ี 559 ชนิดกงึ่ ถาวรไม่น้อยกว่า

ดบั 2557 2558 50

1. รอ้ ยละของแมว่ ยั รุ่นไดรบั เจา้ พระยายมราช 5.63 50.11 73.06 54.09

การคมุ กาเนดิ หลังคลอด

กอ่ นออกจากรพ.(ไมน่ ้อย

กวา่ รอ้ ยละ 80)

กล่มุ งานสง่ เสริมสขุ ภาพ

เดิมบางนางบวช 94.66 96 95.74 85.10

ดา่ นช้าง 98.55 69.81 95.74 31.20

บางปลามา้ 42.3 69.56 91.66 46.66

ศรปี ระจนั ต์ 95.45 100 84.93 67.12

ดอนเจดีย์ 62.5 90.56 88.88 55.55

สมเด็จพระสงั ฆราช 47.27 95.7 93.58 35.09



สามชกุ 59.34 76.81 95.74 46.80

อทู่ อง 75.52 92.43 86.19 24.28

หนองหญ้าไซ 94.44 89.47 92.30 65.38

รวม 55.20 70.23 85.11 44.81

ทมี่ า : งานส่งเสรมิ สุขภาพและรกั ษาพยาบาล

.3 สรุปประเด็นสาคญั ท่เี ป็นความเส่ียงตอ่ การทาให้การขับเคลื่อนนโยบายหรือการดาเนินงานไมป่ ระสบความสาเรจ็

(Key Risk Area/Key Risk Factor) ซึ่งได้จากการวนิ ิจฉยั ประมวล วิเคราะห์ สังเคราะห์ จากการตรวจติดตาม

จากข้อมูลโรงพยาบาล ทงั้ 10 แห่ง ที่พบวา่

1.อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ( ไม่เกิน50ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน )

ปี 2556 คดิ เปน็ 53.4 ( จานวนการคลอดในหญงิ อายุ15-19ปี= 1,552 / จานวนหญิงอาย1ุ 5-19 ปีท้งั หมด

29,088)

ปี 2557 คิดเป็น = 54.8 ปี 2557 ( จานวนการคลอดในหญิงอายุ15-19ปี= 1,594 / จานวนหญิงอาย1ุ 5-19 ปี

ท้ังหมด 29,088)

ปี 2558 คิดเป็น =53.77 ปี 2558 ( จานวนการคลอดในหญงิ อายุ15-19ปี= 1,459 / จานวนหญิงอาย1ุ 5-19 ปี

ทัง้ หมด 27,132)

ปี 2559 คิดเปน็ = 54.62( จานวนการคลอดในหญิงอายุ15-19ปี= 929 / จานวนหญิงอายุ15-19 ปที ้งั หมด

23,324)

และพบวา่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช อบั ดับที่ 1=.85.67,2 โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสังฆราชองค์ท1่ี 7 =65.61,

โรงพยาบาลด่านชา้ ง =65.43..(ต่ากวา่ อตั รา 50/พันประชากร )

2.รอ้ ยละของการต้งั ครรภซ์ ้าในหญิงอายุ15-19 ปี ( ไมเ่ กินร้อยละ 10 ) พบว่าปี2556 จานวนหญิงอายุ 15-19 ปที ่ี

คลอดทัง้ หมด 1,274 คน มกี ารตงั้ ครรภซ์ า้ 213 คิดเปน็ 15.31

ปี2557 จานวนหญงิ อายุ 15-19 ปที ีค่ ลอดทั้งหมด 1,594 คน มีการตง้ั ครรภ์ซา้ 229 คดิ เป็น 14.4

ป2ี 558 จานวนหญิงอายุ 15-19 ปีทค่ี ลอดท้ังหมด 1,459 คน มกี ารต้งั ครรภ์ซา้ 236 คิดเปน็ 16.18

ปี 2559 จานวนหญงิ อายุ 15-19 ปีท่ีคลอดท้ังหมด 1,274 คน มกี ารตงั้ ครรภ์ซ้า 213 คิดเป็น 15.31(สงู กวา่

เปา้ หมาย<10%)

พบว่าโรงพยาบาลหนองหญ้าไซ อนั ดับท่ี 1 = 6 คน (33.33 %)

กลุ่มงานส่งเสริมสขุ ภาพ

อันดับท่ี 2 โรงพยาบาลบางปลาม้า = 13 คน (26.53%) และลาดบั ที่ 3 โรงพยาบาลด่านช้าง = 19 คน(16.52 %)
3.รอ้ ยละของการคุมกาเนิดในหญงิ อายุ 10-19 ป(ี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) พบวา่
ปี 2557 จานวนหญงิ คลอดอายุ 10-19 ปี ทง้ั หมด 1,594 ได้รบั บรกิ ารวางแผนครอบครวั 880 คดิ เป็น 55.20
ปี 2558 จานวนหญงิ คลอดอายุ 10-19 ปี ทง้ั หมด 1,459 ไดร้ ับบรกิ ารวางแผนครอบครัว 1,055 คิดเป็น 70.47
ปี 2559 จานวนหญิงคลอดอายุ 10-19 ปี ทงั้ หมด 1,350 ได้รับบรกิ ารวางแผนครอบครัว 1,149 คดิ เป็น 85.11%
ขอชื่นชมโรงพยาบาลทใี่ หบ้ ริการคุมกาเนิดสูงกว่าร้อยละ 50 ลาดบั ท่ี 1โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช = 85.10
ลาดบั ท่ี 2 โรงพยาบาลศรปี ระจนั ต์ = 67.12 ลาดับที 3 โรงพยาบาลดอนเจดยี ์ =.55.55
และพบวา่ โรงพยาบาลทคี่ ุมกาเนดิ กึง่ ถาวรตา่ กว่ารอ้ ยละ 50 ลาดับท่ี 1 โรงพยาบาลอ่ทู อง=.24.28 ลาดับท่ี 2
โรงพยาบาลด่านชา้ ง = 31.20 ลาดบั ที 3 โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ท่ึ 17 =35.09

ปี2557 มีโรงเรยี นมัธยมท้งั หมด 32 แห่ง พฒั นาให้มีระบบ โรงเรยี นคูเ่ ครือข่าย (OHOS ) ที่มกี ารสอน
เพศศึกษา,ทักษะชวี ิตและการอนามัยเจรญิ พันธ์ุ จานวน 12 แหง่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 37.5

ปี 2558 ได้จัดอบรมแก่โรงเรยี นมธั ยมศึกษา ทั้ง 32 แห่งใหม้ ีความรู้และสามารถใหค้ วามรู้แกน่ ักเรยี นไดเ้ ชน่
โรคติดต่อทางเพศสมั พันธแ์ ละการป้องกัน,การคุมกาเนดิ ของวยั รุน่ จานวน 32 แห่ง คิดเป็น 100%

ปี 2559 มีการยกระดบั การประเมนิ คณุ ภาพ ๑ โรงพยาบาล ๑โรงเรยี นคู่เครือข่าย นาร่องต้บแบบระดบั
อาเภอท้ัง 10 อาเภอ ผลการติดตามงานพบว่าโรงเรียนท่ีเข้ารบั การการประเมินโรงเรยี นคู่เครอื ขา่ ยของโรงพยาบาล
ทงั้ 10 แห่ง สามารถผ่านเกณฑป์ ระเมนิ มาตรฐานบรกิ ารที่เปน็ มติ รสาหรบั วัยรนุ่ และเยาวชนระดับ 2 ได้เป็นอยา่ งดี
และพบว่าโรงเรียนชนะเลศิ การประกวดดีเด่นระดับจังหวดั คือ

รางวัลที่ ๑ โรงเรียนบ่อสุพรรณวทิ ยา ซงึ่ มที ีมสหวิชาชีพของโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ ๑๗
รองอันดับ ๑ โรงเรยี นหนองหญ้าไซวิทยา ซึ่งมีทมี สหวชิ าชพี ของโรงพยาบาลหนองหญา้ ไซ
รองอนั ดบั ๒ โรงเรียนอ่ทู องวทิ ยา ซ่งึ มีทีมสหวิชาชพี ของโรงพยาบาลอูท่ องและ โรงเรยี นป่าพระเจ้า
โรงพยาบาลศรีประจนั ต์
รางวัลชมเชยดีเดน่ ดา้ นการตรวจSDQ ยอดเยี่ยมโรงเรียนสงวนหญงิ ซ่ึงมที มี สหวิชาชพี ของโรงพยาบาลศูนย์
เจ้าพระยายมราช มีการมอบเกียรติบัตรในวนั ทวี่ นั ที่ 16 มิถนุ ายน 2559 และอบรมแกนนานกั เรยี น จานวน 50 คน
ในวนั ท่ี 17 มิถุนายน 2559 เพอื่ เพ่มิ ทักษะการใหค้ าปรึกษาท่ดี แี ก่เพ่ือน,การรทู้ นั สือ่ โซเซล,การคมุ กาเนดิ ในวยั รนุ่ ,
โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธใ์ นวัยรุ่นและระบบการชว่ ยเหลอื เมอ่ื เพื่อนมีปญั หา เพ่ือให้แกนนามที กั ษะและสามารถ
ช่วยเหลือเพ่ือนได้
มีการนิเทศตดิ ตามงานโรงเรียนพอ่ แม่ปยู่ ่าตายาย เพื่อสร้างตน้ แบบให้ชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแล
พัฒนาการเด็กต้ังแตแ่ รกเกิดเปน็ การกระต้นุ ให้พอ่ แมท่ ราบถงึ พัฒนาการลกู และเล้ียงดูได้ถกู ต้องเหมาะสม ตลอดจน
การเมื่อลกู เข้าสู่วยั เรียน,วัยร่นุ ตอ้ งให้ความรเู้ ร่อื งทักษะชีวิต,การปฏิสัมพันธ์,การป้องกันโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธ์,
การคุมกาเนิด เน้นความรักและความผกู พันใหล้ กู สามารถเปิดใจกับพอ่ แม่เร่ืองเพศ โดยมชี มุ ชนนารอ่ ง ทั้ง 10
อาเภอ สามารถถา่ ยทอด เรื่องเทคนคิ การให้คาปรึกษาแก่วัยรนุ่ ไดด้ ีเยีย่ มคือ อาเภอเมือง(สนามคล)ี รองลงมาอาเภอ
ดา่ นช้าง,อาเภอบางปลามา้ ,อาเภอสามชกุ และอาเภอดอนเจดีย์ มีการสาธติ วิธกี ารใสถ่ ุงยางอนามัยท่ถี ูกต้องโดยอสม.
มรี ะบบการดูช่วยเหลือจากแมข่ า่ ยโรงพยาบาลสู่รพ.สต ครอบคลมุ ถงึ หมบู่ า้ น ได้อย่างดี สอดคลอ้ งกบั ผลการ


Click to View FlipBook Version