The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-30 23:16:01

รายงานประจำปี2559

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

กลุ่มงานทนั ตสาธารณสขุ

รพ.สต.จัดบริการสุขภาพช่องปาก มีผลงานบริการสุขภาพช่องปาก มากกว่า 200 ครั้งต่อ 1,000

ประชากร (ร้อยละ 20) จา้ นวน 114 แหง่ หรือร้อยละ 65.5 โดย อ.สามชุก รพ.สต.ทุกแห่ง (13 แห่ง มีทันตาภิบาล

ประจ้า 7 แห่ง) สามารถจัดบริการสุขภาพช่องปากได้ตามเกณฑ์ร้อยละ 100 รองลงมาคือ อ.ดอนเจดีย์ร้อยละ

88.8 และอ้าเภอท่ี รพสต.มีผลงานจัดบริการได้ตามเกณฑ์ได้น้อยท่ีสุดคือ อ.เมือง จ้านวน 8 แห่ง คิดเป็นร้อยละ

27.5 (รพ.สต.มีทันตาภบิ าลประจ้า 17 แห่ง)

4.2 ประชาชนทกุ กลุ่มวัยในทกุ เครือข่ายบริการเข้าถงึ บริการสขุ ภาพช่องปาก ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 30

CUP ระดบั หนว่ ย จา้ นวนประชากร ผลงานบรกิ าร ร้อยละ
บริการ (คน) (คน)

รพ.เจ้าพระยายมราช A 143,088 32,131 22.5

รพ.สมเดจ็ พระสงั ฆราช องคท์ ี่ 17 M1 108,382 36,003 33.2

รพ.อทู่ อง M2 111,815 30,661 27.4

รพ.ดา่ นชา้ ง F1 54,218 18,053 33.3

รพ.เดมิ บางนางบวช F2 61,805 17,570 28.4

รพ.บางปลามา้ F2 67,460 15,992 23.7

รพ.ศรปี ระจันต์ F2 56,158 13,092 23.3

รพ.ดอนเจดีย์ F2 41,258 10,946 26.5

รพ.สามชกุ F2 47,556 14,138 29.7

รพ.หนองหญา้ ไซ F2 41,299 12,262 29.7

รวม 733,039 200,848 27.4

หมายเหตุ : ข้อมลู จากรายงาน HDC ปีงบประมาณ 2559 (ณ วนั ท่ี 10 พฤศจิกายน 2559)

รูปท่ี 4 การเข้าถึงบริการสุขภาพชอ่ งปาก (คน) ของประชาชนทุกกลุ่มวัยในเครือขา่ ยบริการ

ร้อยละ

50 เกณฑร์ อ้ ยละ 30

40 33.3 33.2
28.4 29.7 27.4 29.7
30 27.4 26.5
22.5 23.7 23.3

20

10

จงั หวดั เมอื ง เดิมบาง ดา่ นช้าง บางปลามา้ ศรีประจันต์ ดอนเจดีย์ สองพ่นี ้อง สามชุก อ่ทู อง หนองหญา้ ไซ

อัตราการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากในเครือข่ายบริการ ของประชาชนทุกลุ่มวัย (ความ
ครอบคลุม) จังหวัดสุพรรณบุรี ด้าเนินการได้ร้อยละ 27.4 ยังไม่ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 30) มีเพียง 2 อ้าเภอท่ี
สามารถด้าเนินการได้ผ่านเกณฑ์ คือ อ.ด่านช้าง ร้อยละ 33.3 และ อ.สองพ่ีน้อง ร้อยละ 33.2 อ้าเภอที่ผลงาน

กล่มุ งานทันตสาธารณสขุ

น้อยทีส่ ดุ คอื อ.เมอื ง รอ้ ยละ 22.5

6. ปัญหาอุปสรรคการดาเนินงาน
6.1 รพ.สต.ท่มี ีการจัดบรกิ ารสุขภาพช่องปาก ไมล่ งรายงานหรอื ลงรายงานแตไ่ ม่ครบถ้วนในบางกิจกรรม
ในโปรแกรม HosXP_PCU ท้าให้ตัวเลขผลงานที่ประมวลผลในระบบ HDC ได้น้อยกว่าผลการ
ปฏิบัติงานจรงิ
6.2 รพสต.ท่มี ที นั ตาภิบาล ส่วนใหญ่ไม่มีผชู้ ว่ ยข้างเก้าอ้ีทา้ ให้บริการไมส่ ะดวกและไม่ไดค้ ุณภาพเท่าท่ีควร
6.3 การใหบ้ ริการหมุนเวียนของทันตาภิบาลใน รพสต.ขา้ งเคยี ง มีปญั หาเรอื่ งผชู้ ว่ ย ยานพาหนะ และค่า
ตอบแทน ตลอดจนการบรหิ ารจัดการงานสขุ ภาพช่องปากระดับอ้าเภอ CUP ไมส่ ามารถก้ากบั ตดิ ตาม
ให้ รพสต.ทุกแหง่ ในเครือข่ายด้าเนินงานได้ตามเปา้ หมาย

กลุม่ งานอนามยั ส่ิงแวดลอ้ มและอาชวี อนามยั

สรปุ ผลการดาเนนิ งานด้านสุขาภบิ าลอาหาร ปงี บประมาณ 2559
สถานการณ์/สภาพปัญหา

อาหารเป็นปจั จยั สาคญั ต่อการดารงชพี ของมนุษย์ ร่างกายของมนษุ ยจ์ ะเจรญิ เติบโตเมื่อได้รบั อาหาร
ที่เพียงพอ ครบถ้วน และสะอาดปลอดภยั จากสรปุ ผลการเฝา้ ระวังดา้ นสขุ าภิบาลอาหารและนา้ ในพืน้ ที่
จงั หวดั สพุ รรณบุรี เม่ือวนั ท่ี 2-6 มนี าคม 2558 โดยกลมุ่ พฒั นาระบบเฝา้ ระวังสุขาภิบาลอาหารและน้า
สานกั สุขาภิบาลอาหารและน้า สรปุ ไดด้ ังน้ี

1.รา้ นอาหาร จานวน 27 ร้าน พบว่า ด้านกายภาพ ผ่านเกณฑฯ์ จานวน 7 รา้ น (รอ้ ยละ 25.93)
ส่วนดา้ นแบคทเี รยี จานวน 208 ตัวอย่าง พบเชอ้ื โคลิฟอร์มแบคทเี รีย จานวน 83 ตวั อย่าง (รอ้ ยละ 39.90)

2.แผงลอยจาหน่ายอาหาร จานวน 25 แผง พบว่าด้านกายภาพ ผ่านเกณฑ์ฯ จานวน 11 แผง
(รอ้ ยละ 44.00) สว่ นดา้ นแบคทเี รยี จานวน 122 ตัวอย่าง พบเชอื้ 49 ตวั อย่าง (ร้อยละ40.16

3. ตลาดนดั สุ่มเฝา้ ระวงั จานวน 5 แห่ง โดยตรวจทางด้านกายภาพและดา้ นแบคทเี รยี พบว่า ดา้ น
กายภาพ ไมผ่ า่ นข้อกาหนดสุขาภิบาลอาหารตลาดนัด ท้ัง 5 ตลาด(รอ้ ยละ 100) สว่ นดา้ นแบคทีเรยี สุม่ ตรวจ
จานวน 28 ตัวอย่าง พบเช้ือ 12 ตวั อย่าง (ร้อยละ 42.86)

สรุปผลการดาเนนิ งาน

ผลการดาเนินงานด้านสุขาภบิ าลอาหารของจงั หวัดสพุ รรณบุรี สรุปไดด้ ังนี้
1.ร้านอาหาร จานวน 309 รา้ น ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานร้านอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (CFGT)
จานวน 281 ร้าน (ร้อยละ 90.94)
2.แผงลอยจาหนา่ ยอาหาร จานวน 1,263 แผง ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานรา้ นอาหารสะอาด รสชาติ
อร่อย (CFGT) จานวน 1,126 แผง (รอ้ ยละ 98.15)
3.ตลาดสด 13 แหง่ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ตลาดน่าซื้อ 13 แหง่ (ร้อยละ 100) โดยผา่ นเกณฑ์
ตลาดสดน่าซ้ือระดบั ดี (3 ดาว) จานวน ๑๑ แห่ง และตลาดน่าซ้อื ระดบั ดมี าก (5 ดาว) จานวน 2 แห่ง ไดแ้ ก่
ตลาดสดเมอื งทอง อาเภอดอนเจดยี ์ และตลาดสดยายจู อาเภอสามชกุ
4.ตลาดนัด 102 แหง่ ได้รบั การประเมนิ 102 แห่ง (รอ้ ยละ 100)
5.มีตลาดนดั นา่ ซือ้ ตน้ แบบอาเภอละ ๑ แหง่ จานวน ๑๐ แหง่ และทกุ แหง่ ได้รับการตรวจประเมิน
ตามเกณฑม์ าตรฐานครบทุกแห่ง ๑๐๐%
6.สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี และหนว่ ยงานในสงั กัดฯ ได้รับการยกย่องเชิดชเู กยี รตใิ ห้
เป็น “องค์กรตน้ แบบปลอดภาชนะโฟมบรรจอุ าหาร 100 %” ได้แก่ โรงพยาบาลของรัฐในจงั หวัดสพุ รรณบุรี
ทัง้ หมด 10 แห่ง สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอดา่ นช้าง สานักงานสาธารณสุขอาเภออู่ทอง และสานักงาน
สาธารณสุขอาเภอบางปลามา้

สรปุ ผลงานเดน่ : สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี ไดร้ บั คัดเลอื กจากศนู ยอ์ นามยั ท่ี 5 ราชบุรี ใหเ้ ป็น
“จังหวดั ต้นแบบการดาเนินงานดา้ นสขุ าภบิ าลอาหาร”

กลมุ่ งานอนามัยส่ิงแวดลอ้ มและอาชวี อนามัย

สรปุ ผลการดาเนินงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอ้ มจงั หวดั สพุ รรณบุรีปี ๒๕๕๙

วิเคราะห์สถานการณ์ และสภาพปัญหา
จังหวดั สุพรรณบรุ ี เป็นเมืองเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร มีอาชีพทานา ทาไร่ ทาสวน
มีพน้ื ท่ีปลูกขา้ วประมาณ ๒,๔๘๘,๐๖๖ ไร่ มีจานวนเกษตรกรท้ังหมด ๓๐๔,๑๗๐ คน (เกษตรกรรม การ
ล่าสัตว์และการปา่ ไม้) แบ่งเปน็ กลุ่มแรงงานในระบบ จานวน ๑๖๗,๕๐๘ คน และกลมุ่ แรงงานนอกระบบ
จานวน ๓๕๖,๔๔๕ คน ดังนน้ั แรงงานภาคเกษตรกรรมจึงถือวา่ เป็นกาลงั แรงงานที่มสี ดั ส่วนสูงที่สุดของ
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี และเปน็ อาชพี ที่มเี ส่ียงตอ่ การเกิดอันตรายจากการใชส้ ารเคมีกาจดั ศัตรูพืช และพบวา่
สภาพปัญหาแวดล้อมในการทางานไม่เหมาะสม เช่น เสียงดังจากเครือ่ งยนต์ ความรอ้ นจากแสงแดด และ
ทา่ ทางการทางานทไี่ มเ่ หมาะสม ส่วนภาคอตุ สาหกรรม มีโรงงาน ๑,๑๔๕ แห่ง จานวนคนงาน ๓๑,๐๙๓
คน สว่ นใหญเ่ ปน็ อตุ สาหกรรมการเกษตร และอุตสาหกรรมอาหาร ปัญหาส่วนใหญพ่ บว่าทา่ ทางการ
ทางานที่ไม่เหมาะสม สภาพอากาศร้อน แสงสว่างไม่เพียงพอ และเสียงดังเกินค่ามาตรฐานที่กาหนด
สรปุ ผลการดาเนินงานโรคจากการประกอบอาชพี และสงิ่ แวดล้อมดงั นี้

๑.หน่วยบริการปฐมภูมมิ ีการจัดบริการอาชวี อนามยั ใหแ้ รงงานในชุมชน จานวน ๖๘ แหง่ (ยอด
สะสมปี ๒๕๕๙ จานวน ๒๖ แห่ง) คิดเป็นร้อยละ ๓๙.๑ ผ่านเกณฑร์ ะดบั เรม่ิ ต้น ๒๕ แห่ง คดิ เป็น ร้อยละ
๙๖.๑ มากที่สดุ และผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับดีมาก ๑ แห่ง คือ สถานอี นามัยเฉลิมพระเกียรติ ๖๐
พรรษานวมนิ ทราชนิ ี ตาบลบอ่ สพุ รรณคดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓.๘ และกลุ่มแรงงานนอกระบบภาคเกษตรและ
ประชาชนไดร้ บั การตรวจคัดกรองความเส่ยี งจากการสมั ผสั สารเคมกี าจัดศตั รพู ชื โดยใชก้ ระดาษทดสอบ
โคลนี เอสเตอเรส จานวน ๓,๗๘๔ ราย พบว่ามรี ะดบั สารเคมตี กค้างในเลอื ดอยใู่ นระดับเสย่ี งและไม่
ปลอดภยั จานวน ๑,๕๖๖ ราย คิดเปน็ ร้อยละ ๔๑.๑

๒. โครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภยั กายใจเปน็ สขุ มสี ถานประกอบการเขา้ รว่ ม
จานวน ๑๘ แหง่ (ยอดสะสม ปี ๒๕๕๙ จานวน ๕ แหง่ ) ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินเป็นสถานประกอบการ
ปลอดโรคปลอดภัยกายใจเป็นสขุ จานวน ๑แห่ง คอื บริษัทเจอาร์แพคจากัดได้รับรางวัลใบประกาศ
เกียรตคิ ณุ ระดับจังหวัด ระดับดเี ดน่ และดาเนนิ การจดั บริการอาชวี อนามยั ครบวงจรในสถานประกอบการ
กลมุ่ เส่ยี ง เรอ่ื งเสียง แสง และความร้อน จานวน ๑ แห่ง คือ รา้ นเดมิ บางผ้าไทย อาเภอเดิมบางนางบวช
และมีสถานประกอบการรับรู้และเข้าถึงข้อมลู โครงการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเปน็ สุข ร้อยละ ๕
จานวน ๙๑ แหง่

๓. โรงพยาบาลประเมินความเส่ยี งบุคลากรในโรงพยาบาล และยกระดับจากเดมิ อยา่ งนอ้ ย ๑
ระดบั จานวน ๒แห่ง ประกอบดว้ ยโรงพยาบาลเดมิ บางนางบวช ผา่ นการรบั รองผลการประเมินความ
เส่ยี งบุคลากรในโรงพยาบาล ระดบั ๔ และโรงพยาบาลด่านชา้ งผ่านการรบั รองผลการประเมนิ ความเส่ียง
บุคลากรในโรงพยาบาลระดับ ๓ และโรงพยาบาลศรปี ระจันต์ ผา่ นการตรวจประเมนิ ตามมาตรฐานการ
จดั บริการอาชีวอนามัย สาหรับโรงพยาบาลชุมชน ที่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดบั ๕ ครบ ๓ ปี ผ่าน
มาตรฐานในระดบั ดี

กลุ่มงานอนามยั สิง่ แวดลอ้ มและอาชีวอนามัย

สรปุ ผลการดาเนนิ งาอนามัยสงิ่ แวดล้อม ประจาปี ๒๕๕9

ผรู้ ับผดิ ชอบงาน

1.นายเฉลมิ พล กาละพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ

2.นางสาวศิรพิ ร สกลุ พราหมณ์ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ

การวิเคราะห์สถานการณ์ สภาพปัญหาของพนื้ ที่

กระทรวงสาธารณสุขเป็นหน่วยงานหนง่ึ ท่ดี แู ลรบั ผดิ ชอบ ด้านการส่งเสรมิ สขุ ภาพ และการ

จดั การส่ิงแวดล้อมทีเ่ อื้อต่อการมีสขุ ภาพดีของประชาชน ทั้งนเ้ี นื่องจากสิ่งแวดล้อมมีผลต่อสุขภาพของ

ประชาชน กลา่ วคือ บคุ คลท่ีอยูใ่ นสิง่ แวดลอ้ มทดี่ ียอ่ มสง่ ผลใหบ้ คุ คลน้นั มสี ขุ ภาพดี มีความสุขใจในการ

ดารงชพี ในทางตรงข้าม ถ้าสิง่ แวดล้อมไมด่ ี มสี ่ิงที่เป็นภัยและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ อาจมีผลทาให้

บคุ คลน้ันไมส่ บายกาย ไม่สบายใจ และอาจก่อใหเ้ กิดโรคได้ ดังนัน้ สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี

จงึ มบี ทบาทเขา้ มาส่งเสริมสนบั สนุนและพัฒนาองค์กรภาคเี ครือข่ายต่างๆ เชน่ องคก์ รปกครองส่วน

ท้องถ่ิน ผ้นู าทอ้ งถ่นิ อาสาสมัครสาธารณสุข รวมถึงภาคประชาชนและผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสยี ให้มีความ

เขม้ แขง็ และดาเนินงานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ในการร่วมกันดูแลสขุ ภาพของประชาชน ในเร่ืองของการ

จัดการ/พัฒนาสิ่งแวดลอ้ มที่เออ้ื ตอ่ การมีสุขภาพดี ได้แก่ การพฒั นาส้วมมาตรฐาน HAS, การเฝ้าระวัง

คณุ ภาพน้าประปา, การจัดกิจกรรมเพอ่ื ลดภาวะโลกรอ้ นด้วยกลวิธี GREEN, การจัดการมลู ฝอยติดเชือ้ ใน

สถานบรกิ ารสาธารณสขุ , การสนบั สนนุ การใช้ พรบ.การสาธารณสขุ พ.ศ. 2535 การตรวจสอบเหตุ

ร้องเรยี น การดาเนนิ งานพฒั นาสถานท่ีทางานนา่ อยูน่ า่ ทางาน และรวมถึงการดาเนนิ งานด้านอาชีวอนา

มยั ท้ังนเ้ี พือ่ ให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยทดี่ สี ามารถพึ่งพาตนเองดา้ นสขุ ภาพได้อยา่ งยั่งยนื

จากการนิเทศตดิ ตามการดาเนินงานท่ีผ่านมา พบวา่ การพัฒนาส้วมสาธารณะมาตรฐาน HAS,

การเฝ้าระวังคุณภาพนา้ ประปา, การจดั กจิ กรรมเพอ่ื ลดภาวะโลกรอ้ นด้วยกลวธิ ี GREEN, การจัดการมลู ฝอย

ตดิ เชอ้ื ในสถานบริการสาธารณสุข, การสนบั สนนุ การใช้ พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 การตรวจสอบ

เหตรุ อ้ งเรยี น การดาเนินงานพฒั นาสถานทที่ างานน่าอยู่น่าทางาน ซงึ่ พบปญั หาอุปสรรคต่าง ๆ ในการ

ดาเนินงาน เช่น การขาดความรู้ความเขา้ ใจ และความร่วมมือของบคุ ลากร, องคก์ รภาคีเครือขา่ ยท่ี

เกยี่ วข้อง, ปัญหาเรื่องงบประมาณซึง่ มีค่อนข้างจากัด, ภาระงานทร่ี ับผิดชอบอยู่นน้ั มีค่อนข้างมาก, การ

ดาเนนิ งานต่างๆ มุ่งให้ความสาคญั ไปทป่ี ญั หาที่มีผลกระทบต่อตัวบุคคลก่อน ทจ่ี ะคานึงถงึ ปัญหาหรอื งาน

ดา้ นสง่ิ แวดล้อม, เกณฑก์ ารประเมนิ รบั รองมาตรฐาน เช่น เกณฑ์การประเมินสถานท่ีทางานน่าอยู่ นา่

ทางาน เปน็ เกณฑท์ ใ่ี ชป้ ระเมนิ รวมทกุ ประเภทกจิ การ ซึง่ อาจทาให้สับสนหรือเข้าใจผดิ ในการประเมนิ ได้,

การได้รบั สนบั สนนุ เอกสารวชิ าการ/แผ่นพับ/โปสเตอร์ ป้ายรณรงค์ในบางกิจกรรม บางงาน ยงั มไี ม่

เพียงพอ บางทที่ ่ีมีอยกู่ ็ชารดุ สภาพเกา่ บางสิง่ ใช้แล้วหมดไป เป็นตน้

การทีจ่ ะพัฒนางานส่งิ แวดลอ้ มทีเ่ อื้อต่อสุขภาพได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ นน้ั ตอ้ งอาศัยความ

รว่ มมอื จากทุกภาคส่วน ท้งั ภาครัฐและเอกชน องค์กรภาคีเครอื ข่ายตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สานักงาน

สาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี จึงไดจ้ ัดทา “โครงการพัฒนาระบบการจัดการสงิ่ แวดล้อม จังหวัด

สพุ รรณบุรี ปี ๒๕๕9” เพอ่ื สรา้ งความเข้มแข็ง ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ให้แก่ภาคีเครอื ข่ายให้สามารถ

กลมุ่ งานอนามัยสิง่ แวดล้อมและอาชวี อนามยั

ดาเนนิ งานในเรอื่ งของการจัดการ/พัฒนาสงิ่ แวดล้อมทเี่ อือ้ ต่อการมีสุขภาพท่ดี ี ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ,
เพอื่ ใหเ้ กิดการประสานความร่วมมอื กับภาคเี ครือข่ายในทุกระดบั ตง้ั แต่ระดบั นโยบายถึงระดับปฏิบัติงาน
ทัง้ นี้ เพอื่ ให้ประชาชนมคี วามเข้มแข็งเข้าถงึ สิทธิประโยชนด์ า้ นสขุ ภาพของตนเองตามรัฐธรรมนญู และ
กฎหมายทเี่ ก่ียวขอ้ งเพอื่ เป็นการส่งเสรมิ สนับสนนุ ติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนร้ขู องภาคเี ครอื ข่ายชมรม
ที่เก่ยี วขอ้ งกับงานดา้ นอนามัยส่ิงแวดล้อม (ส้วม นา้ ประปา ขยะ สถานทีท่ างานนา่ อยูน่ า่ ทางาน การ
แกไ้ ขเร่อื งร้องเรยี นเหตุราคาญ การรณรงค์ลดโลกรอ้ น ฯลฯ) ใหม้ ีความเข้มแขง็ ตั้งแต่ระดับพืน้ ที่ อาเภอ
จงั หวัด และระดบั เขต ซึ่งจะสง่ ผลช่วยในการดูแลสุขภาพของประชาชน โดยมีมาตรการ และกิจกรรมดังนี้

มาตรการท่ี 1 พัฒนาศักยภาพภาคเี ครือข่ายในการจัดการสิ่งแวดล้อมทีเ่ อ้อื ต่อสุขภาพ
กิจกรรม

1. จดั อบรมเพื่อพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ที่องคก์ ารปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีเครอื ขา่ ยแบบ
บรู ณาการ (การบรกิ ารอนามัยส่ิงแวดล้อมขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ (EHA), ลดโลกรอ้ น, สว้ ม
สาธารณะ, นา้ บรโิ ภค, ขยะและขยะติดเช้ือ, สถานที่ทางานนา่ อยู่ นา่ ทางาน, การประเมินความเสี่ยงด้าน
อนามยั สิ่งแวดล้อมทม่ี ีผลกระทบต่อสขุ ภาพ การจดั การเหตุรอ้ งเรยี น โประแกรมระบบการจัดการเหตุ
ร้องเรียน)

๒. สนบั สนนุ ติดตาม ตรวจเย่ียมให้คาแนะนา การจดั บริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของภาคี
เครือขา่ ยต่างๆ ท่เี ก่ยี วข้อง

มาตรการที่ 2 กลไกการเฝ้าระวังและการจดั การปัญหาด้านสิง่ แวดลอ้ ม
กจิ กรรม นิเทศ/ติดตามสนบั สนุนการดาเนนิ งานขององค์กรภาคเี ครือข่าย ฯ (รพ./รพ.สต./อปท.)

เนอื่ งจากงบประมาณทไี่ ด้รับสรร ไมส่ ามารถจะดาเนนิ การไดท้ ุกกิจกรรม ซึ่งงานอนามัย
สงิ่ แวดล้อม มกี จิ กรรมท่จี ะดาเนนิ งานในเรือ่ งตา่ งๆ หลายกิจกรรม ได้แก่ การจดั อบรมเพ่อื พัฒนาศกั ยภาพ
ด้านอนามยั สิง่ แวดลอ้ มในบุคลากรของหน่วยบรกิ ารสาธารณสขุ ระดับตาบลอาเภอ และจงั หวัด การ
จัดซ้อื วสั ดเุ พื่อใช้สนบั สนุนในการดาเนินงานของภาคีเครอื ข่าย รวมถึงการแก้ไขปัญหาด้านอนามัย
สิ่งแวดล้อมที่เกิดข้นึ และการนเิ ทศตดิ ตามใหก้ ารสนบั สนุนในการดาเนนิ งานขององค์กรภาคเี ครือข่าย เพอื่
สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ และผลักดันใหเ้ กดิ แผนปฏิบัติงาน/แผนการใชง้ บประมาณ (Action Plan) ใน
ระดบั พ้นื ท่ี โดยใหค้ วามสาคัญกบั งานอนามัยสิ่งแวดล้อม เพือ่ ขับเคลื่อนการดาเนนิ งานอนามยั
สิ่งแวดล้อม ท่ีเอ้ือตอ่ สุขภาพให้มปี ระสทิ ธผิ ลบรรลตุ ามเกณฑ์ช้ีวัดที่ตงั้ ไวไ้ ด้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

กลุม่ งานอนามัยสง่ิ แวดลอ้ มและอาชีวอนามัย

สรุปผลผลการดาเนินงาน
ตารางท่ี 1 แสดงผลการดาเนินงานอนามัยสงิ่ แวดล้อม
ลาดบั รายการข้อมูล ข้อมูล
๑. โครงการพฒั นาระบบการจดั การอนามัยส่ิงแวดล้อม จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปี ๒๕๕9

๑. การพัฒนาส้วมมาตรฐาน HAS
- รพ. มีส้วมผา่ นเกณฑ์ HAS จานวน 10 แห่ง ร้อยละ 100.00
- รพ.สต. (174 แหง่ ) มสี ้วมผ่านเกณฑ์ HAS จานวน 14๕ แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ 8๓.๓0
- โรงเรยี นสังกดั สพฐ. (4๗4 แห่ง) มีส้วมผ่านเกณฑ์ HAS จานวน 263 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ ๕๕.๔๘
- วัด (วัดส่งเสริมสุขภาพ 28 แห่ง) มสี ้วมผ่านเกณฑ์ HAS จานวน 20 แห่ง เป็นรอ้ ยละ 71.00
- ร้านอาหารที่ผา่ น CFGT จานวน ๒๘๑ ผา่ นเกณฑ์ HAS จานวน 259 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 92.17
- สถานขี นสง่ ผู้โดยสารจังหวัดสุพรรณบุรี จานวน 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100.00
2. การเฝา้ ระวังพัฒนาคุณภาพนา้ ประปา
- ระบบประปาภูมิภาค/เทศบาล ไดร้ บั การตรวจสอบและดาเนนิ การเฝ้าระวังตรวจหาคลอรีนตกค้างใน
น้าประปา/ เกบ็ ตวั อยา่ งนา้ ส่งตรวจโดยศนู ยอ์ นามยั ที่ ๕ ราชบุรี จานวน 20 ตวั อยา่ ง ผลการตรวจผ่าน
18 ตวั อยา่ ง คดิ เปน็ ร้อยละ 90.00
- ยกระดับคุณภาพน้าประปาทีเ่ ข้ารว่ มโครงการ “น้าประปาด่มื ได้” (ตามความสมคั รใจ) ดาเนนิ การ
ตอ่ เน่อื ง จานวน 4 แห่ง ไดแ้ ก่ ประปาภูมภิ าคสาขาด่านชา้ ง ,สาขาเดิมบางนางบวช, สาขาอ่ทู องและ
สาขาสพุ รรณบุรี,ประปาเทศบาลเมอื งสองพน่ี ้อง
- ยกระดับคุณภาพน้าประปาโรงพยาบาล ท่เี ข้าร่วมโครงการนา้ ประปาดื่มได้ และไดร้ ับการรับรองจาก
กรมอนามัย จานวน 4 แห่งไดแ้ ก่ โรงพยาบาลสมเด็จพระสงั ฆราชองคท์ ี่ ๑๗, โรงพยาบาลบาง-ปลามา้ ,
โรงพยาบาลสามชกุ และโรงพยาบาลเดมิ บางนางบวช
3. การสง่ เสริมสนบั สนุนกจิ กรรมรณรงค์ลดโลกร้อน
- ดาเนนิ การรณรงค์ให้โรงพยาบาลเข้าร่วมโครงการและไดร้ ับเลือกให้เป็นโรงพยาบาลตน้ แบบในการ
รณรงค์ลดโลกรอ้ น ได้แก่

3.1 โรงพยาบาลสมเด็จพระสงั ฆราชองคท์ ี่ ๑๗
3.2 โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช
3.3 โรงพยาบาลศรปี ระจันต์
๔. การจดั การมลู ฝอยติดเชื้อในสถานบริการสาธารณสุข
- รพ. มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน

จานวน 10 แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 100.0

กลุม่ งานอนามยั สิง่ แวดล้อมและอาชีวอนามยั

ตารางที่ 1 แสดงผลการดาเนินงานอนามัยสิง่ แวดล้อม (ต่อ)

ลาดับ รายการข้อมูล ขอ้ มูล

๑. โครงการพัฒนาระบบการจัดการอนามยั ส่ิงแวดล้อม จังหวัดสพุ รรณบุรี ปี ๒๕๕9 (ต่อ) -

รพ.สต. มีการจดั การมลู ฝอยติดเช้ือได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน

จานวน 174 แห่ง ผา่ น 170 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 97.70

-โรงพยาบาลเอกชน มีการจัดการมูลฝอยติดเช้อื ได้ตามเกณฑ์

มาตรฐาน จานวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

๕. การพฒั นาสถานที่ทางานน่าอยู่ นา่ ทางาน

- รพ. (10 แหง่ ) ผา่ นเกณฑ์

ระดบั ดีเดน่ 3 แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ 30.๐

ระดบั ดีมาก 2 แห่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 2๐.๐

ระดบั ดี 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 5๐.๐

- รพ.สต. (174 แหง่ ) ผ่านเกณฑ์

ระดับดีมาก ๓6 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ ๒0.69

ระดับดี 49 แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 28.16

ระดับพนื้ ฐาน 89 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 51.15

- สถานพนิ จิ และคุ้มครองเด็ก และเยาวชนจังหวัดสุพรรณบรุ ี

ระดับดีมาก 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100.00

๖. การพฒั นาร้านแตง่ ผม-เสริมสวย

- รา้ นแต่งผม-เสริมสวย ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน

ระดบั ดีมาก จานวน 36 แห่ง

ระดบั ดี จานวน 78 แหง่

ระดับพ้ืนฐาน จานวน 23 แห่ง

รวมจานวนทั้งหมด 137 แห่ง

ปัญหาและอปุ สรรค
๑. งบประมาณที่ไดร้ ับจัดสรร ไมส่ ามารถดาเนินการได้ครอบคลุมทกุ กิจกรรม เพราะผบู้ ริหารไม่

ความสาคัญ
๒. องคก์ รภาคเี ครือขา่ ย (ภาครัฐ/เอกชน) บางแห่ง ยงั ไม่ไดใ้ ห้ความสาคัญกับการดาเนนิ งาน

อนามยั ส่ิงแวดล้อม จึงทาให้ขาดความรูค้ วามเขา้ ใจ และความรว่ มมือของบคุ ลากรในการดาเนนิ งานท่ี
เก่ยี วข้อง, การดาเนินงานและงบประมาณตา่ งๆ มุ่งใหค้ วามสาคัญไปที่ปัญหาที่มีผลกระทบตอ่ ตัวบคุ คล
กอ่ น ทีจ่ ะคานึงถึงปญั หาหรืองานด้านส่ิงแวดล้อม

กลุ่มงานอนามยั สง่ิ แวดลอ้ มและอาชีวอนามยั

3. เจา้ หน้าท่ีในพนื้ ที่ มีหนา้ ท่รี ับผิดชอบงานหลายงาน
4. การประสานงานของเจา้ หน้าทส่ี าธารณสุขกบั องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ บางอาเภอยังมีน้อย

ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไข
๑. ปรบั กลวธิ ีดาเนินงาน โดยใช้การนิเทศตดิ ตาม ใหก้ ารสนับสนุนในการดาเนนิ งานขององค์กร

ภาคีเครอื ข่าย โดยสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ ในการกาหนดตวั ชีว้ ัดของการดาเนนิ งานฯ และผลกั ดันให้
เกิด แผนปฏบิ ัติงาน/แผนการใชง้ บประมาณ (Action Plan) ในระดบั พน้ื ที่ ทใ่ี ห้ความสาคญั กับงานตา่ ง ๆ
ดา้ นสิ่งแวดล้อม เพ่ือขับเคลื่อนการดาเนนิ งานสิ่งแวดล้อมท่เี อ้ือตอ่ สุขภาพให้มีประสิทธผิ ลบรรลตุ าม
เกณฑ์ชว้ี ดั ทีต่ ้งั ไว้

2. การดาเนนิ งาน และการประเมินรับรองมาตรฐานของงานต่าง ๆ อาทิเช่น สว้ มมาตรฐาน
HAS, สถานที่ทางานน่าอย่นู ่าทางาน, สถานบรกิ ารแตง่ ผม-เสรมิ สวย ควรปรับตามความเหมาะสมในบรบิ ท
ของพ้นื ทีห่ รอื สถานทน่ี ั้นๆ

๓. สรา้ งแรงจูงใจ และความตระหนกั ใหผ้ ูร้ ับผดิ ชอบงานเห็นความสาคญั ของการพัฒนางาน
อนามยั สิ่งแวดล้อม

กลุ่มงานอนามัยสิง่ แวดลอ้ มและอาชวี อนามัย

งานด้านกฎหมายสาธารณสุข (สนบั สนนุ อปท.ในการมีและบังคับใช้ พรบ.การสาธารณสขุ พ.ศ. 2535)

ความเปน็ มา และการวเิ คราะหส์ ถานการณ/์ สภาพปัญหาของพืน้ ท่ี
ด้วยสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงไป จนส่งผลกระทบต่อสุขภาพและ

ความเป็นอยู่ของประชาชน ราชการส่วนท้องถ่ินถือว่าเป็นหน่วยงานท่ีมีบทบาทสาคัญในการดูแลชีวิตความ
เป็นอยู่ของประชาชนในพ้ืนที่ โดยเฉพาะการจัดการปัญหาด้านอนามัยส่ิงแวดล้อม ซึ่งอาศัยพระราชบัญญัติ
การสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕ ในการออกข้อกาหนดท้องถิ่น เพื่อใช้บังคับในการตรวจสอบ ควบคุมดูแล รวมถึง
การดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้บรรลุเจตนารมณ์และเป็นไปตามขอบเขตของกฎหมาย จากการสารวจ
สถานการณ์การดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขของราชการส่วนท้องถิ่น ยังพบปัญหาด้าน
คุณภาพในการบังคับใช้กฎหมาย อีกทั้งท้องถ่ินในแต่ละแห่งจะมีความแตกต่างกันท้ังลักษณะพ้ืนท่ี ประชากร
เศรษฐกิจ รายได้ สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการกาหนดขนาดขอบเขตหน้าท่ีรวมถึง
ศักยภาพการดาเนนิ งานดา้ นต่าง ๆ ด้วย ดังน้นั คณะอนกุ รรมการสาธารณสุข จึงได้มีมติเห็นชอบ แนวทางการ
พัฒนารูปแบบการดาเนินงานบังคับใช้กฎหมายระดับพ้ืนท่ี เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการ
ดาเนินงานมากยิง่ ขึน้ โดยอาศัยอานาจตามมาตรา ๑๖ แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด
ตามคาส่ังคณะกรรมการสาธารณสุขที่ ๑/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๕๗ โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น
ประธานคณะอนกุ รรมการฯ มีหวั หนา้ สว่ นราชการจงั หวัดทร่ี บั ผดิ ชอบดแู ลงานด้านการจัดการส่ิงแวดล้อม การ
อานวยความยุติธรรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเป็นกรรมการ และมีนายแพทย์สาธารณสุข
จังหวัด และเจ้าหน้าทผ่ี ้รู ับผิดชอบงานอนามยั สง่ิ แวดลอ้ มเป็นฝา่ ยเลขานุการ

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
การที่จะดาเนินงานต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ นั้น ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ท้ัง

ภาครัฐและเอกชน องค์กรภาคเี ครอื ข่ายตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี จึงได้จัดทา
โครงการพัฒนาศกั ยภาพและกลไกการบงั คับใช้กฎหมายสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี ปี 255๙ งบประมาณ
๑๖๘,๒๒๕ บาท (หน่ึงแสนหกหมื่นแปดพันสองร้อยยี่สิบห้าบาทถ้วน) โดยมี ๒ มาตรการ คือมาตรการท่ี ๑
เพ่ิมประสิทธิภาพและกลไกการบังคับใช้กฎหมาย (การดาเนินงานคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด :
อสธจ.) และมาตรการท่ี ๒ พัฒนาศักยภาพการจัดการเหตุราคาญและระบบข้อมูล และมีผลการดาเนินงาน
ต่างๆ ดงั นี้

๑. จดั ประชมุ คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (เป้าหมาย จานวน ๓ คร้ัง)
ผลงาน ๓ ครง้ั คิดเป็น รอ้ ยละ ๑๐๐.๐
- มีมติของ อสธจ. ท่ีเกิดข้ึนเร่งรัดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินดาเนินการออกข้อกาหนดท้องถิ่น
ใน ๔ เรื่องที่สาคัญ ไดแ้ ก่ ๑.การกาจดั สง่ิ ปฏิกูลและมูลฝอย ๒.กจิ การทเี่ ป็นอันตรายตอ่ สุขภาพ ๓.ตลาดและ
สถานท่สี ะสมอาหาร ๔.การจาหน่ายสินค้าในทีห่ รอื ทางสาธารณะ
- กาหนดให้ แต่งต้ังคณะทางานศึกษาวิเคราะห์หาแนวทางการออกข้อกาหนดท้องถิ่น จังหวัด
สุพรรณบุรี ประกอบด้วยบุคลากรจากหน่วยงานต่างๆที่เก่ียวข้อง และมีผู้ทรงคุณวุฒิด้านการสาธารณสุขและ
อนามยั ส่งิ แวดลอ้ มเป็นประธานคณะทางานฯ

๒. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการด้านกฎหมายฯ แบบบูรณาการ ให้กับท้องถิ่นและ
เจ้าหน้าที่ผู้เก่ียวข้อง (พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕/งานHIA/การจัดการเหตุ
ราคาญ/โปรแกรมระบบข้อมลู การจัดการเหตุราคาญ) จานวน ๑๐ ครั้ง (รายอาเภอ ๑๐
อาเภอ ผูเ้ ข้ารว่ มประชุม จานวน ๓๒๒ คน

กลุม่ งานอนามัยสิง่ แวดลอ้ มและอาชีวอนามยั

๓. การติดตามส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานของภาคีเครือข่ายฯ และร่วม
ตรวจสอบเหตุร้องเรียนในพื้นท่ี จานวน ๑๔ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ สาหรับผลการ
ออกข้อกาหนดท้องถิ่น พบว่า เทศบาล/อบต.มีการออกข้อกาหนดตาม พรบ. การ
สาธารณสุข พ.ศ. 2535 ร้อยละ ๑๐๐.๐/๗๗.๗ แต่พบว่ายังขาดครอบคลุม จึงมีผลใน
การนากฎหมายไปบังคบั ใชก้ รณีแก้ไขเหตุร้องเรียนเปน็ ตน้
ปญั หาและอุปสรรคในการดาเนนิ งาน
ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงาน พบว่า เทศบาล/อบต. บางแห่งออกข้อกาหนดท้องถ่ินยังไม่
ครอบคลุม/ และการไม่บังคับใช้กฎหมาย, เจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้อง/ผู้ประกอบการบางรายยังขาดองค์ความรู้
ความเข้าใจ และเทคนิคบางประการ ในการท่ีจะแก้ไขปัญหาเหตุราคาญต่าง ๆ ท่ีเกิดจากการประกอบกิจการ
เปน็ ต้น รวมถึงการขาดอปุ กรณต์ ่าง ๆ ในการดาเนินงานตรวจสอบฯ
ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข
ควรใช้การดาเนินงานคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด เป็นกลไกในการขับเคลื่อนการออก
ข้อกาหนดท้องถ่ิน และการบังคับใช้กฎหมายของ อปท. ตลอดจนพัฒนาศักยภาพ และองค์ความรู้ต่างๆ ท่ี
เกี่ยวข้องให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ในการดาเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในระดับพื้นที่ และคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพให้กับ
ประชาชนตอ่ ไป

: ภาพการประชุมคณะอนุกรรมการสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ ๒๕๕๙

กลุ่มงานอนามยั ส่งิ แวดลอ้ มและอาชวี อนามยั

: ภาพตัวอยา่ งการตรวจสอบเหตรุ อ้ งเรียน ปงี บประมาณ ๒๕๕๙

******************

กลมุ่ งานพัฒนาทรัพยากรบุคลากร

การพฒั นาบุคลากรสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

สถานการณ์การบริหารจัดการการพฒั นาบคุ ลากรของจังหวดั

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี กาหนดนโยบายการพัฒนาทรัพยากรบุคคลคือ
มุ่งเน้นการสร้างเสริมศักยภาพบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และมีความสุข โดยมี
บุคลากรปฏิบัติงานท้ังหมด 5,164 คน คน แบ่งเป็น ข้าราชการท้ังหมด 2,541 คน คิดเป็นร้อยละ 49.21
พนักงานกระทรวงสาธารณสุข/ลูกจ้างช่ัวคราว (สายนักเรียนทุนฯ) จานวน 567 คน คิดเป็นร้อยละ 10.98
พนกั งานราชการ จานวน 95 คน ร้อยละ 1.84 และกลุ่มลูกจ้างประจา+ลูกจ้างชั่วคราว(สานสนับสนุนท่ัวไป)
จานวน 1,961 คน คิดเปน็ ร้อยละ 37.17

ระดับการศึกษาของผู้ปฏิบัติงาน กรณีเฉพาะข้าราชการ+ลูกจ้างชั่วคราว(สายนักเรียนทุน/
พนกั งานกระทรวง+พนกั งานราชการ พบว่าสว่ นใหญจ่ บการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี ร้อยละ 66.75 รองลงมา
ระดบั ต่ากว่าปรญิ ญาตรี รอ้ ยละ 10.99 นอ้ ยท่ีสดุ เป็นระดับปริญญาเอก รอ้ ยละ 0.12 ดงั ตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 จานวนบุคลากรในสังกัดสังกัดสานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี

ต่ากว่าปริญญา

ท่ี ตาแหนง่ จานวน ตรี
บคุ ลากร
กลุ่มข้าราชการ ทั้งหมด จานวน รอ้ ย จ
1 แพทย์ ละ
2 ทันตแพทย์
3 เภสัชกร 214 0 0.00
4 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน 69 0 0.00
5 นกั จดั การงานทั่วไป 108 0 0.00
6 พยาบาลวิชาชีพ 7 0 0.00
7 พยาบาลเทคนคิ 13 0 0.00
8 นกั วิชาการสาธารณสขุ 1,198 0 0.00
9 นักกายภาพบาบัด 27 24 88.89
10 นักกจิ กรรมบาบดั 358 0 0.00
11 นักเทคนิคและนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ 22 0 0.00
12 นกั รงั สีการแพทย์ 4 0 0.00
13 นักวิชาการการเงนิ และบัญชี 41 0 0.00
14 นกั โภชนาการ 12 0 0.00
6 0 0.00
2 0 0.00

กล่มุ งานพัฒนาทรัพยากรบุคลากร

จาแนกรายตาแหน่ง และระดับการศึกษา

ปริญญาตรี ป.บัณฑติ ปรญิ ญาโท วฒุ บิ ัตร ปริญญาเอก

จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ย จานวน รอ้ ย จานวน รอ้ ย จานวน ร้อย
ละ ละ ละ ละ

69 32.24 0 0.00 3 1.40 142 66.36 0 0.00
37 53.62 6 8.70 13 18.84 13 18.84 0 0.00
79 73.15 0 0.00 28 25.93 0 0.00 1 0.93
3 42.86 0 0.00 3 42.86 0 0.00 1 14.29
8 61.54 0 0.00 5 38.46 0 0.00 0 0.00
828 69.12 214 17.86 152 12.69 4 0.33 0 0.00
3 11.11 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
252 70.39 1 0.28 103 28.77 0 0.00 2 0.56
22 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
4 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
40 97.56 0 0.00 1 2.44 0 0.00 0 0.00
11 91.67 0 0.00 1 8.33 0 0.00 0 0.00
4 66.67 0 0.00 2 33.33 0 0.00 0 0.00
2 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00

ขอ้ มูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2558

ตารางท่ี 1 จานวนบคุ ลากรในสังกัดสังกัดสานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี

ตา่ กว่าปรญิ ญา

ที่ ตาแหน่ง จานวน ตรี

กลุ่มข้าราชการ บคุ ลากร จานวน ร้อยละ
15 นักทรัพยากรบุคคล ทงั้ หมด
16 นกั โภชนาการ/กาหนดอาหาร/โภชนากร
17 นกั สงั คมสงเคราะห์ 11 0 0.00
18 นักเวชศาสตรก์ ารสื่อความหมาย 3 0 0.00
19 เจ้าพนกั งานทันตสาธารณสขุ 3 0 0.00
20 เจา้ พนักงานเภสัชกรรม 1 0 0.00
21 เจา้ พนักงานสาธารณสขุ 57 22 38.60
22 เจ้าพนักงานสาธารณสขุ (เวชกิจฉุกเฉนิ ) 44 25 56.82
23 เจ้าพนกั งานวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 178 35 19.66
24 เจ้าพนักงานรังสี 3 3 100.00
25 เจ้าพนักงานสาธารณสขุ (แพทยแ์ ผนไทย) 30 13 43.33
26 เจ้าพนกั งานเวชสถิติ 15 9 60.00
ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2558 9 3 33.33
17 4 23.53

กล่มุ งานพฒั นาทรัพยากรบุคลากร

จาแนกรายตาแหน่ง และระดบั การศึกษา (ต่อ)

ปรญิ ญาตรี ป.บณั ฑิต ปริญญาโท วุฒิบัตร ปริญญาเอก

จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ย จานวน ร้อย
ละ ละ

11 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
3 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
3 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
1 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
31 54.39 0 0.00 4 7.02 0 0.00 0 0.00
19 43.18 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
137 76.97 0 0.00 6 3.37 0 0.00 0 0.00
0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
17 56.67 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
6 40.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
6 66.67 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
13 76.47 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00

ตารางที่ 1 จานวนบคุ ลากรในสงั กัดสังกดั สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี

ต่ากว่าปริญญา

ที่ ตาแหน่ง จานวน ตรี

บุคลากร จานวน ร้อยละ
ท้ังหมด

กลมุ่ ข้าราชการ

27 เจ้าพนกั งานโสตทศั นศึกษา 6 3 50.00

28 เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 24 10 41.67

29 เจา้ พนกั งานธุรการ 26 6 23.08

30 เจา้ พนกั งานพัสดุ 7 1 14.29

31 ตาแหนง่ อืน่ ๆ 26 8 30.77

รวม 2,541 166 6.53

กลุ่มลกู จ้างช่ัวคราว/พนักงานกระทรวงฯ (สายนักเรยี นทุน)

1 นกั วชิ าการสาธารณสขุ 28 1 3.57

2 พยาบาลวิชาชพี 276 0 0.00

3 เจ้าพนักงานสาธารณสขุ 119 83 69.75

4 เจา้ พนักงานเภสัชกรรม 42 37 88.10
5 เจ้าพนกั งานทันตสาธารณสุข 48 33 68.75
6 เจ้าพนักงานเวชสถติ ิ 12 10 83.33

กลมุ่ งานพัฒนาทรัพยากรบุคลากร

จาแนกรายตาแหนง่ และระดบั การศึกษา (ตอ่ )

ปรญิ ญาตรี ป.บณั ฑิต ปริญญาโท วุฒบิ ัตร ปริญญาเอก

จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อย จานวน ร้อย จานวน รอ้ ย จานวน รอ้ ย
ละ ละ ละ ละ

3 50.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
10 41.67 0 0.00 4 16.67 0 0.00 0 0.00
19 73.08 0 0.00 1 3.85 0 0.00 0 0.00
6 85.71 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
17 65.38 0 0.00 0 0.00 1 3.85 0 0.00
1,664 65.49 221 8.70 326 12.83 160 6.30 4 0.16

27 96.43 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
276 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
36 30.25 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00

5 11.90 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
15 31.25 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
2 16.67 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00

ข้อมลู ณ วันที่ 30 กันยายน 2558

ตารางท่ี 1 จานวนบคุ ลากรในสงั กดั สังกัดสานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี

จานวน ตา่ กวา่ ปริญญาตรี ป

ที่ ตาแหนง่ บคุ ลากร จานวน รอ้ ยละ จาน
ท้งั หมด

7 เจ้าพนักงานโสตฯ 3 2 66.67 1

8 เจา้ พนักงานวิทยาศาสตร์ 6 6 100.00 0
การแพทย์

9 ตาแหนง่ อน่ื ๆ 33 4 12.12 29

รวม 567 176 31.04 39

กล่มุ พนกั งานราชการ

1 นักวิชาการการเงนิ และบญั ชี 26 0 0.00 25

2 นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน 7 0 0.00 6

3 นักวชิ าการคอมพวิ เตอร์ 8 0 0.00 8

4 ตาแหนง่ อื่น ๆ 54 10 18.52 44

รวม 95 10 10.53 83

รวม (ขา้ ราชการ+พกส./ลกู จา้ ง 3,203 352 10.99 2,1
ชวั่ คราวสาย น.ร.ทุน+พนักงาน
ราชการ)

ข้อมลู ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2558

กลมุ่ งานพัฒนาทรัพยากรบคุ ลากร

จาแนกรายตาแหน่ง และระดับการศึกษา (ต่อ)

ปริญญาตรี ป.บัณฑิต ปรญิ ญาโท วฒุ บิ ัตร ปรญิ ญาเอก

นวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อย
ละ

1 33.33 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00

0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00

9 87.88 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
91 68.96 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00

5 96.15 0 0.00 1 3.85 0 0.00 0 0.00
6 85.71 0 0.00 1 14.29 0 0.00 0 0.00
8 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
4 81.48 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
3 87.37 0 0.00 2 2.11 0 0.00 0 0.00
138 66.75 221 6.90 328 10.24 160 5.00 4 0.12

ตารางที่ 1 จานวนบุคลากรในสงั กดั สังกดั สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี

จานวน ต่ากว่าปริญญาตรี ป

ท่ี ตาแหนง่ บุคลากร จานวน รอ้ ยละ จาน
1 ลูกจา้ งประจา ท้ังหมด 223 83.83 42
266

2 ลกู จ้างชวั่ คราว/พกส. (ไม่ใช่ 1,695 1,425 84.07 26
สายนกั เรียนทุน) 1,961 1,648 84.04 30
5,164 2,000 38.73 2,4
รวม

รวมทั้งหมด

ขอ้ มูล ณ วันท่ี 30 กันยายน 2558

กลมุ่ งานพฒั นาทรพั ยากรบุคลากร

จาแนกรายตาแหน่ง และระดับการศกึ ษา (ตอ่ )

ปรญิ ญาตรี ป.บัณฑติ ปรญิ ญาโท วฒุ บิ ัตร ปริญญาเอก

นวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อย
ละ

2 15.79 0 0.00 1 0.38 0 0.00 0 0.00

67 15.75 0 0.00 3 0.18 0 0.00 0 0.00

09 15.76 0 0.00 4 0.20 0 0.00 0 0.00
447 47.39 221 4.28 332 6.43 160 3.10 4 0.08

กลมุ่ งานพัฒนาทรพั ยากรบุคลากร

แนวทางการการจดั ทาแผนพฒั นาบุคลากรโดยการมีสว่ นรว่ มจากพ้ืนที่
1.1 องค์ประกอบของคณะกรรมการครอบคลุม ( ผู้บรหิ ารทกุ ระดับ,กลุ่มยทุ ธศาสตร์ระดับจังหวดั ,
ผ้รู ับผิดชอบการพฒั นาบุคลากรของหน่วยงานทุกระดับ}ผ้แู ทนวชิ าชีพ,หน่วยวิชาการ ไดแ้ ก่
สถานศกึ ษาตา่ งๆ /วิทยาลยั ในสังกดั สบช. และผู้มสี ว่ นเก่ยี วข้อง)

ผลการวเิ คราะหจ์ ดุ ออ่ นจดุ แขง็ ของการบรหิ ารจัดการการพัฒนาบคุ ลากร(SWOT Analysis) มี
องค์ประกอบต่างๆ

นโยบายดา้ น HRD ของ เขตสขุ ภาพท่ี 5 / สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี กาหนดเป็นนโยบายด้านกาลังคนอย่างชัดเจน คือมุ่งเน้น

การสร้างเสริมศักยภาพบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และมีความสุข โดยจัดทา
วิสัยทัศน์ “สาธารณสุขสุพรรณบุรี เป็นเครือข่ายช้ันนาในการดูแลประชาชนให้มีสุขภาพดี ในปี 2562”และ
กาหนด กลยุทธ์ท่ีเก่ยี วขอ้ ง ดงั น้ี
กลยุทธ์ 5.สรา้ งบุคลากรให้มีความเปน็ เลิศทางดา้ นวชิ าการ บริหาร บริการ นวตั กรรม คุณธรรม จริยธรรมและ
กลยุทธ์ 6 พัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรให้เออื้ ต่อการปฏิบัตงิ านอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

ขัน้ ตอนการจัดทาแผนพัฒนากาลงั คนโดยเน้นการมสี ่วนรว่ มของผู้เกยี่ วขอ้ ง

ขั้นตอนที่ 1 SWAT Analysis การดาเนินงานท่ีผ่านมา โดยคณะกรรมการจัดทาแผนยุทธศาสตร์จังหวัดสุพรรณบุรี
ประกอบดว้ ย ผ้รู ับผิดชอบงานกาลังคนทั้งระดับจงั หวัด อาเภอ ตาบล แล้วกาหนดวสิ ยั ทัศน์ เปูาประสงค์ และกลยทุ ธ์
ขนั้ ตอนที่ 2 นาเปาู ประสงค์ กลยทุ ธ์ มากาหนดเป็นแผนงานหลัก แผนปฏิบัติการ นาเสนอต่อคณะกรรมการบริหารฯ
สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั และ คณะทางานกาลังคนระดบั อาเภอ เพื่อร่วมกันจัดทาแผนงาน/โครงการ ปี 2559 (จัด
ประชมุ รว่ มกันในกล่มุ งานสนับสนนุ ฯ)
ข้ันตอนที่ 3 นาเสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากสานักงานสาธารณสุขจังหวัดฯ ผ่านทางคณะ
กรรมการบริหารฯ ,คณะทางาน Service Plan จงั หวัดสุพรรณบุรี และคณะทางาน พบส. 2 (หัวหน้ากลุ่มการพยาบาล
โรงพยาบาลทกุ แห่ง)
ขั้นตอนท่ี 4 ขออนุมัติโครงการ เพือ่ ดาเนนิ การต่อไป
แผนงานทไี่ ด้รับอนุมตั แิ ลว้ ดังน้ี

กลมุ่ งานพฒั นาทรัพยากรบุคลากร

แผนงาน/โครงการกลมุ่ งานพฒั นาทรพั ยากรบุคคล

1. กรณเี งนิ Non-UC

จานวนหนว่ ยนับ ระยะเวลาดาเนนิ การ/งบประมาณ งบประมา หม
ณรวมทงั้ าย
แผนงาน/โครงการ/ วัตถปุ ระสงค์ พนื้ ที่ กลุม่ เปาู ห ต.ค. ม.ค. เม.ย - ก.ค. - เห
มาตรการ/กิจกรรม เปาู หมาย มาย -- มิ.ย ก.ย. สิน้ ตุ
ธ.ค. มี.ค 155,380

โครงการอบรม เพื่อเสรมิ สรา้ งความรู้ สสจ. บุคลากร 155380 187000
116200
ปฐมนเิ ทศบคุ ลากร ความเขา้ ใจเรอื่ งนโยบาย สุพรรณบุรี สาธารณ-
63,500
สาธารณสขุ บรรจุใหม่ แนวทางการดาเนินงาน สขุ บรรจุ 16,000

วินัย คุณธรรม ใหม่ 150

จรยิ ธรรม คน

แผนงานประชุมวิชาการ - สง่ เสริมใหม้ ีเวที

สาธารณสุขโครงการ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้

ประชุมวิชาการ - ส่งเสริมให้เกดิ บคุ ลากร
ในสังกดั
สาธารณสุข แบ่งเป็น 2 ความคดิ รเิ รม่ิ สสจ.
จานวน
ระยะ สรา้ งสรรค์ 300 คน

- สร้างขวญั และกาลังใจ

แกบ่ คุ ลากร

- ประกาศเกยี รตคิ ุณ

ความดงี ามของ

บคุ ลากร

1. กจิ กรรม ประกวด

ผลงานวชิ าการ/

นวตั กรรม 187000
116200
2. กจิ กรรมประกาศ

เกียรติคณุ

โครงการ พฒั นาสมรรถนะและสง่ เสรมิ คณุ ธรรม

จริยธรรม ในบุคลากรสาธารณสุข ประจาปี

2559

กจิ กรรมที่ 1 สสจ. - เพอื่ เสรมิ สร้างและ

คณุ ธรรม พัฒนา ด้านวินยั บุคลากร
คุณธรรม จรยิ ธรรม และ สนง.สสจ.
ปอู งกนั การกระทาผดิ สสจ. จานวน 31,5 17,0 15,000
ในบุคลากรทกุ ระดับ สพุ รรณบุรี 100 คน 00 00
ของ สนง.สาธารณสุข

จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

กจิ กรรมที่ 2 ส่งเสริม -เพ่อื ใหบ้ คุ ลากรใน สสจ. บคุ ลากร 16,000

กลุม่ งานพฒั นาทรพั ยากรบคุ ลากร

ความสามคั คีของ สานกั งานสาธารณสขุ สพุ รรณบุรี สนง.สสจ.
บุคลากร จงั หวดั สุพรรณบรุ ีเกิด จานวน
ความสามคั คีและมี 100 คน
ปฏสิ มั พันธ์กันมากขน้ึ

กล่มุ งานพัฒนาทรพั ยากรบุคลากร

1. กรณีเงิน Non-UC (ตอ่ )

จานวนหน่วยนบั ระยะเวลาดาเนนิ การ/งบประมาณ งบประม หมา
ต.ค. - ม.ค. - เม.ย - ก.ค. - าณ ย
แผนงาน/โครงการ/ วัตถุประสงค์ พ้นื ท่ี กลมุ่ เ ธ.ค. ม.ี ค มิ.ย ก.ย. รวมทั้ง เหตุ
มาตรการ/กจิ กรรม เปาู หมาย ปูาหม สน้ิ
าย 10500
10500
โครงการประชุมแนว เพ่ือสรา้ งความเข้าใจ สสจ. คณะ 20150
ทางการบริหารความ และร่วมกนั วางแผน 20150
เพยี งพอบุคลากรสาย บุคลากรสายขาด สุพรรณบรุ ี ทางา 75000
ขาดแคลน แคลน 75000
โครงการประเมนิ ประเมินแรงจูงใจ น 31,500 122,650 426,630 116,200
แรงจูงใจ ขวญั กาลังใจ ขวญั กาลงั ใจความพงึ 696,980
ความพึงพอใจของ พอใจของบุคลากร สสจ. กล่มุ
เจา้ หน้าท่ี สพุ รรณบรุ ี ตวั อย่

โครงการจดั หาของที่ เพอ่ื สรา้ งขวัญกาลังใจ าง
1550
ระลกึ ผู้เกษียณอายุ และความพึงพอใจของ คน
สสจ. 30 คน
สุพรรณบุรี

ราชการปี 2559 ผู้เกษียณ

รวมเงิน

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ได้กาหนดการพัฒนาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ ดังน้ี
1. โรงพยาบาลระดับ a จานวน 1 แห่ง (โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช) ,มแี ผนการพฒั นา

บรกิ ารสาขาเช่ยี วชาญระดบั 1 สาขาโรคหวั ใจ ในปี 2561 , เปน็ หนว่ ยบรกิ ารสาขา
เชยี่ วชาญระดบั 3 สาขาทารกแรกเกดิ , สาขามะเร็ง และสาขาอบุ ัติเหตุ
2. โรงพยาบาลระดบั M1 จานวน 1 แหง่ (โรงพยาบาลสมเด็จพระสงั ฆราช องค์ที่ 17) มี 4
สาขา ได้แกส่ าขาทารกแรกเกิด, สาขาอุบตั ิเหตุ, สาขาอายุรกรรม และสาขา สูตกิ รรม มี
แผนการขยายเตยี งแผนก NICU เพม่ิ ขึ้น จานวน 2 เตยี ง ในปีงบประมาณ 2559
3. โรงพยาบาลระดับ M2 จานวน 1 แหง่ (โรงพยาบาลอู่ทอง) มีแผนพฒั นาสาขาทารก
แรกเกดิ เปดิ แผนก NICU ในปีงบประมาณ 2560
4. โรงพยาบาลระดบั F1 จานวน 1 แหง่ (โรงพยาบาลด่านชา้ ง)
5. F2 จานวน 6 แห่ง (โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช , สามชกุ , ศรีประจันต์, ดอนเจดีย์ ,
บางปลามา้ และหนองหญา้ ไซ)

กล่มุ งานพฒั นาทรัพยากรบุคลากร

มาตรการ/แผนงาน โครงการ กจิ กรรมท่สี าคญั

กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรมหลัก งบประมาณ
(ระบุแหลง่ เงินและจานวน)
กลยทุ ธท์ ่ี 2 พฒั นาเครอื ขา่ ยในการ
ดูแลสุขภาพประชาชนแบบบูรณา 1. โครงการอบรมหลกั สูตรเฉพาะทาง ปี 2558-59 งบอุดหนุนฯ 725,000 บาท
การทีเ่ ชื่อมโยงกนั ในทกุ ระดบั (4 เดอื น) ปี 2558-59 งบอุดหนนุ ฯ 145,000 บาท

กลยุทธ์ท่ี 5 สรา้ งบคุ ลากรให้มคี วาม 2. โครงการพฒั นาศกั ยภาพพยาบาล
เปน็ เลศิ ทางดา้ นวิชาการ บรหิ าร ใน รพ.สต.ฯ
บริการ นวัตกรรม คณุ ธรรม
จรยิ ธรรม 1. โครงการปฐมนิเทศบคุ ลกรจบใหม่ งบ non-uc เปน็ เงนิ 155,380 บาท
ปี 2559 งบ non-uc เป็นเงนิ 303,200 บาท
งบ non-uc เป็นเงนิ 79,500 บาท
2. โครงการประชมุ วิชาการ
สาธารณสุข ปี 2559 งบ non-uc เปน็ เงนิ 10,500 บาท
งบ non-uc เปน็ เงิน 20,150 บาท
3. โครงการ พัฒนาสมรรถนะและ งบ non-uc เป็นเงิน 75,000 บาท
ส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม ใน ใชเ้ งนิ ตน้ สังกดั
บุคลากรสาธารณสขุ ประจาปี
2559

4. โครงการประชมุ แนวทางการ
บรหิ ารความเพียงพอบุคลากรสาย
ขาดแคลน

5. โครงการประเมินแรงจงู ใจ ขวัญ
กาลังใจ ความพึงพอใจของ
เจา้ หนา้ ท่ี

6. โครงการจดั หาของทีร่ ะลกึ ผู้
เกษยี ณอายรุ าชการปี 255

7. โครงการพัฒนาศักยภาพผบู้ ริหาร
(นบส,ผบก,ผบต)

กิจกรรมดาเนินการ และผลลพั ธ์

1. โครงการปฐมนเิ ทศบุคลากรสาธารณสขุ บรรจุใหม่ 2559
ประเด็นยุทธศาสตร์ : พฒั นาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขใหม้ ีคณุ ภาพ
กิจกรรมที่ 1
1.โครงการปฐมนเิ ทศบุคลากรบรรจุใหม่ ประจาปี 2559

กลมุ่ งานพฒั นาทรพั ยากรบุคลากร

สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี ได้จดั อบรมปฐมนิเทศบคุ ลากรบรรจุใหม่ ประจาปี
2559 วันท่ี 6-8 กรกฎาคม 2559 ณ สถานีพัฒนาทด่ี ินสพุ รรณบรุ ี โดยวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อพัฒนาศกั ยภาพ
บคุ ลากรให้สามารถปฏบิ ัติงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพย่ิงข้ึน รับทราบแนวทางในการปฏบิ ตั ิ ระเบยี บวนิ ยั
รวมทัง้ สทิ ธิประโยชน์ สวสั ดกิ าร และพัฒนาตนในการทางานได้อยา่ งเหมาะสม และมีความเจริญกา้ วหน้า มี
ความภาคภูมใิ จในองค์กร ตลอดจน.เพื่อให้บุคลากรเสรมิ สรา้ งจรยิ ธรรม เจตคตทิ ี่ดีในการางานเกดิ ความผูกพัน
ตอ่ องค์กร ผเู้ ข้ารบั การอบรมฯ จานวน 131 คน ส่วนใหญเ่ ป็นเพศหญงิ ร้อยละ 83.97 (110 คน) ตาแหน่ง
พยาบาลวิชาชพี รอ้ ยละ 79.41 (108 คน) รองลงมาเปน็ เจ้าพนักงานเภสัชกรรม รอ้ ยละ 5.88 (8 คน) น้อย
ทีส่ ุดเปน็ แพทย์ ,นกั จิตวิทยาคลินิก และเจ้าพนักงานสาธารณสขุ ปฏบิ ัติการ รอ้ ยละ 0.74 (อย่างละ 1 คน)

ผลการประเมินความพึงพอใจด้านตา่ ง ๆ ของการจดั อบรมฯ

ด้านวิทยากร (สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี)

1.วิทยากร (นางสาวยพุ ิน ภาตะนันท)์

การถ่ายทอดของวิทยากร อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 68.70 ในส่วนของเนื้อหาในการ
บรรยายมีความเหมาะสม อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 60.30 ระยะเวลาที่ใช้บรรยายเหมาะสม อยู่ใน
ระดับดมี าก คดิ เปน็ ร้อยละ 55.72 ไดค้ วามรูจ้ ากการบรรยายเพม่ิ ขึ้น อยใู่ นระดบั ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 59.54
และสามารถนาความไปใช้ประโยชน์ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 55.72 โดยภาพรวมความพึงพอใจต่อ
วิทยากรอยู่ในระดับดีมาก แต่ความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาความรู้ไปใช้ โดยในปี 2558 ได้
คะแนนภาพรวม อยู่ในระดบั ดมี าก คิดเป็นร้อยละ 65.36 รองลงมาอยูใ่ นระดบั ดมี ากที่สดุ รอ้ ยละ 27.12

2.วิทยากร (นางทพิ วรรณ ประกอบทรพั ย์)

การถ่ายทอดของวิทยากร อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 54.19 ในส่วนของเน้ือหาในการ
บรรยายมีความเหมาะสม อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 53.43 ระยะเวลาท่ีใช้บรรยายเหมาะสม อยู่ใน
ระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 56.48 ได้ความรู้จากการบรรยายเพ่ิมข้ึน อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 54.96
และสามารถนาความไปใช้ประโยชน์ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 55.72 โดยภาพรวมความพึงพอใจต่อ
วิทยากรอยู่ในระดับดีมาก แต่ความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาความรู้ไปใช้ โดยในปี 2558 ได้
คะแนนภาพรวม อยใู่ นระดบั ดมี าก คิดเปน็ ร้อยละ 69.29 รองลงมาอยู่ในระดับดมี ากท่ีสุด ร้อยละ 26.79

3.วิทยากร (นางสาวอรพนิ ท์ รตั โนภาส)

กลุ่มงานพัฒนาทรพั ยากรบคุ ลากร

การถ่ายทอดของวิทยากร อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 54.96 ในส่วนของเนื้อหาในการ
บรรยายมีความเหมาะสม อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 48.85 ระยะเวลาที่ใช้บรรยายเหมาะสม อยู่ใน
ระดบั ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 53.43 ได้ความรู้จากการบรรยายเพิ่มขึ้น อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 49.61
และสามารถนาความไปใช้ประโยชน์ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 51.90 โดยภาพรวมความพึงพอใจต่อ
วิทยากรอยู่ในระดับดีมาก แต่ความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาความรู้ไปใช้ โดยในปี 2558 ได้
คะแนนภาพรวม อยใู่ นระดับดมี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 57.86 รองลงมาอยใู่ นระดับดีมากที่สดุ รอ้ ยละ 38.57

4.วทิ ยากร (นางถนอม คาพงพ)ี

การถ่ายทอดของวิทยากร อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 42.71 ส่วนเนื้อหาในการบรรยายมี
ความเหมาะสม อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 45.80 ระยะเวลาท่ีใช้บรรยายเหมาะสม อยู่ในระดับดีมาก
คิดเป็นร้อยละ 51.14 ได้ความรู้จากการบรรยายเพิ่มขึ้น อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 45.80 และ
สามารถนาความไปใช้ประโยชน์ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 51.90 โดยภาพรวมความพึงพอใจต่อ
วิทยากรอยู่ในระดับดีมาก แต่ความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาความรู้ไปใช้ โดยในปี 2558 ได้
คะแนนภาพรวม อยใู่ นระดบั ดีมาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 64.42 รองลงมาอยใู่ นระดบั ดมี ากทส่ี ุด รอ้ ยละ 25.09

ดา้ นสถานท่ี /ระยะเวลา /อาหาร

ดา้ นสถานทม่ี ีความสะอาดและความเหมาะสม อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 41.98 รองลงมาอยู่
ในระดบั ดีมากทสี่ ุด คิดเปน็ ร้อยละ 35.11 เครื่องอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์มีความพร้อม อยู่ในระดับดีมาก คิด
เป็นรอ้ ยละ 44.27 รองลงมาอยใู่ นระดบั ดมี ากท่ีสดุ คดิ เปน็ ร้อยละ 33.58 ระยะเวลาในการอบรม/เหมาะสม
อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 47.32 รองลงมาอยู่ในระดับดีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 33.58 ส่วนด้าน
อาหารเหมาะสม อยู่ในเกณฑ์ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 44.27 รองลงมาอยู่ในระดับดีมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ
34.35 โดยภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก แต่ความพึงพอใจ โดยในปี 2558 ได้คะแนนภาพรวม
อย่ใู นระดับดีมาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 61.16 รองลงมาอยูใ่ นระดบั ดีมากทีส่ ดุ ร้อยละ 30.36

ด้านการใหบ้ รกิ ารของเจา้ หนา้ ที่

การบริการของเจ้าหน้าท่ีในหน่วยงาน อยู่ในเกณฑ์ระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 51.90
รองลงมาอยู่ในระดับดีมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 37.40 และการประสานงานของเจ้าหน้าท่ีโครงการ อยู่ใน
เกณฑ์ระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 42.74 รองลงมาอยู่ในระดับดีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 41.98 การอานวย
ความสะดวกของเจ้าหน้าท่ี อยู่ในเกณฑ์ระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 52.67 รองลงมาอยู่ในระดับดีมากท่ีสุด

กลุม่ งานพัฒนาทรัพยากรบุคลากร

คิดเป็นร้อยละ 35.87 โดยภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก แต่ความพึงพอใจ โดยในปี 2558 ได้
คะแนนภาพรวม อยใู่ นระดบั ดมี าก คิดเป็นรอ้ ยละ 52.68 รองลงมาอยใู่ นระดับดีมากทส่ี ุด ร้อยละ 33.82

ข้อเสนอแนะในการปฐมนิเทศฯ

- ปรับปรุง เรื่องความก้าวหน้าของบุคลากรสาธารณสุขและระเบียบการลา ค่าตอบแทนและ
สวัสดิการต่าง ๆ ซ่ึงมีเน้ือหามากและมีความน่าสนใจ ระยะเวลาน้อยควรจะเพิ่มเวลาเป็น 2 ชม.
ซึง่ น่าจะทาให้เกดิ ความเขา้ ใจในเรือ่ งดงั กลา่ วมากขนึ้

- สถานที่ และโต๊ะ จดบันทึก ไม่สะดวกและไม่เหมาะสม
- แนะนาให้เพ่มิ เวลามากกวา่ เดมิ
ขอ้ ดีในการปฐมนิเทศฯ

- การจดั ประชุมดีมาก
- เจา้ หน้าที่เอาใจใส่ พดู แนะนาใหค้ วามรูไ้ ด้ดีเยย่ี ม
- จัดกิจกรรมไดด้ ี

ด้านวทิ ยากร (เอกชน) เรื่อง การเรยี นร้ตู ามรอยพระยุคลบาท : คณุ ธรรม จริยธรรม “สาหรับการเปน็

ข้าราชการที่ดี”

1.วทิ ยากร (พล.อ.ต.บุญเลิศ จลุ เกยี รติ)

การถ่ายทอดความร้ขู องวทิ ยากร อยใู่ นเกณฑ์ระดบั ดมี ากทีส่ ดุ คดิ เป็นรอ้ ยละ 54.19 รองลงมาอยู่ใน
ระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 38.93 เนื้อหาและความรใู้ นการบรรยายไดเ้ หมาะสม อยู่ในเกณฑ์ระดับดีมากที่สุด
คิดเป็นร้อยละ 48.09 รองลงมาอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 43.51 ด้านระยะเวลาในการบรรยาย
เหมาะสม อยู่ในเกณฑ์ระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 45.03 รองลงมาอยู่ในระดับดีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ
43.51 ได้ความรูจ้ ากการบรรยายเพิ่มขึ้น อยู่ในเกณฑ์ระดับดีมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 48.85 รองลงมาอยู่ใน
ระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 41.22 และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ อยู่ในเกณฑ์ระดับดีมากท่ีสุด คิดเป็นร้อย
ละ 52.67รองลงมาอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 41.98 โดยภาพรวมความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ
และการนาความรู้ไปใช้ อยู่ในระดับดมี ากที่สดุ

ดา้ นวทิ ยากร (เอกชน) เรือ่ ง การพัฒนาความคดิ สร้างสรรค์กากรทางานรว่ มกบั ผู้อืน่ อย่างมีความสุขและ

กิจกรรมกลุ่มสัมพนั ธ์

กลุ่มงานพัฒนาทรพั ยากรบคุ ลากร

2.วทิ ยากร (ผศ.ดร.อนุชติ ร แท้สูงเนนิ และคณะ)

การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร อยู่ในเกณฑ์ระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 52.67 รองลงมาอยู่ใน
ระดบั ดมี ากทีส่ ุด คดิ เป็นร้อยละ 42.74 เนอื้ หาและความร้ใู นการบรรยายไดเ้ หมาะสม อยู่ในเกณฑ์ระดับดีมาก
คิดเป็นร้อยละ 50.38 รองลงมาอยู่ในระดับดีมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 43.51 ด้านระยะเวลาในการบรรยาย
เหมาะสม อยู่ในเกณฑ์ระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 45.80 รองลงมาอยู่ในระดับดีมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ
43.51 ได้ความรู้จากการบรรยายเพ่ิมข้ึน อยู่ในเกณฑ์ระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 50.38 รองลงมาอยู่ใน
ระดับดีมากทีส่ ดุ คดิ เปน็ ร้อยละ 41.98 และสามารถนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ อยใู่ นเกณฑร์ ะดับดีมาก

คิดเป็นร้อยละ 47.32รองลงมาอยู่ในระดับดีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 45.03 โดยภาพรวมความพึงพอใจ/
ความรู้ความเข้าใจ และการนาความรู้ไปใช้ อยูใ่ นระดบั ดมี าก

กลุ่มงานพฒั นาทรพั ยากรบคุ ลากร

ข้อเสนอแนะในการปฐมนเิ ทศฯ ของวิทยากร เอกชน

- พล.อ.ต.บญุ เลศิ จลุ เกยี รติ มีการบรรยายแนวคดิ ดี และสอนในการปฏบิ ตั งิ าน การวางตัว
- ใหเ้ ชิญอาจารยท์ ้ัง 2 ท่าน มาบรรยายอกี เพราะไดค้ วามรู้เพ่มิ ข้ึนและไดเ้ รียนรู้อะไรใหม่
- ชอบอาจารย์ทั้ง 2 ทา่ น
- การจดั ประชุมมีความพร้อม พี่ๆทุกคนดูแลนอ้ งเป็นอย่างดี

กจิ กรรมท่ี 2 ปฐมนิเทศแพทย์เพม่ิ พูนทกั ษะ (กรณีหน่วยงานจัด)

จัดปฐมนิเทศบุคลากรสาธารณสุขบรรจุใหม่ กลุ่มเปูาหมายแพทย์สุพรรณบุรี ,แพทย์ฝากฝึกจาก
จังหวัดนครปฐม จานวน 44 คน วัตถุประสงค์เพื่อให้แพทย์ทราบนโยบายการดาเนินงานสาธารณสุข
สวัสดิการ ระเบียบ วินัยข้าราชการ ระหว่างวันที่ 16 พฤษภาคม 2559 ณ ห้องประชุมชั้น 2 สานักงาน
สาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี

กิจกรรมที่ 3 โครงการอบรมปฐมนิเทศข้าราชการใหม่ สายนักเรียนทุนรัฐบาล (แพทย์ ทันตแพทย์
เภสัชกร) ร่วมกิจกรรมปฐมนเิ ทศขา้ ราชการใหม่ “หลกั สูตรการเป็นขา้ ราชการทีด่ ี” เขตบริการสุขภาพท่ี 5

สานักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต สุขภาพท่ี 5 มอบให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
นครปฐม และวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินทรจังหวัดสุพรรณบุรี จัดอบรมปฐมนิเทศข้าราชการใหม่ สาย
นักเรียนทนุ รฐั บาล (แพทย์ ทนั ตแพทย์ เภสชั กร) หลกั สูตรการเป็นขา้ ราชการที่ดี ประจาปงี บประมาณ 2559
เพื่อให้เป็นไปตามกฎ ก.พ. พ.ศ.2553 ท่ีกาหนดให้ข้าราชการบรรจุใหม่ทุกคนต้องผ่านการอบรมสัมมนา
รว่ มกนั ในหลักสูตร

กิจกรรมต่าง ๆ ท่ีกาหนดข้ึนระหว่างการอบรม มีวัตถุประสงค์ เพ่ือการพัฒนาข้าราชการท่ีได้รับการ
แต่งต้งั ใหม่ ในทกั ษะด้านตา่ ง ๆ เสริมสร้างการเรียนร้รู ่วมกนั และรว่ มกนั ทางานเป็นทมี ในการปฏบิ ตั ิงาน

จานวนแพทย์ท่ีเข้ารับการอบรมหลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี ปี 2559 จังหวัดสุพรรณบุรี มี
ทง้ั หมด 44 คน

1.แพทย์ 36 คน

2.ทนั ตแพทย์ 4 คน

3.เภสัชกร 4 คน

แพทย์ ทงั้ หมด 36 คน ดังนี้

กลุ่มงานพฒั นาทรัพยากรบุคลากร

1.1 โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช มแี พทย์ 28 คน

1.2 โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองคท์ ่ี 17 มีแพทย์ 8 คน

ทันตแพทย์ ปี 2559 มี 4 คน ดงั น้ี

1.โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช ทันตแพทย์ 2 คน

2.โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสังฆราชองคท์ ี่ 17 ทนั ตแพทย์ 2 คน

เภสชั กร ปี 2559 มี 4 คน ดังนี้

1.โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช เภสชั กร 2 คน

2.โรงพยาบาลดา่ นช้าง เภสชั กร 2 คน

ได้อบรมในระหว่างวันท่ี 23-30 พฤษภาคม 2559 ณ โรงแรมชวาลนั รีสอร์ท อาเภอดอนตูม จังหวัด
นครปฐม

การวดั และประเมินผล

การวัดและประเมินผลการอบรม แบ่งเป็นด้านวชิ าการและพฤติกรรม ดงั นี้

ด้านวิชาการ 50 คะแนน พิจารณาจาก

1.รายงานการสรปุ สาระการเรียนรปู้ ระจาวันรายบุคคล 20 คะแนน

2.รายงานสรุปผลการเรียนรู้ของกลุ่ม 30 คะแนน

ด้านพฤติกรรม 50 คะแนน พิจารณาจาก

1.การมีส่วนร่วมในกระบวนการกลุ่ม 25 คะแนน

2.พฤติกรรมรายบุคคล 25 คะแนน

ทั้งนี้ ผ้เู ข้าการอบรมต้องได้คะแนนด้านวชิ าการและพฤติกรรมรว่ มกันไมต่ ่ากว่าร้อยละ 60
สรุปผลการปฐมนเิ ทศขา้ ราชการใหม่ สายนักเรยี นทนุ รัฐบาล (แพทย์ ทนั ตแพทย์ เภสชั กร)

กลุ่มงานพฒั นาทรัพยากรบคุ ลากร

แพทย์ ทันตแพทย์ เภสชั กร ทง้ั หมด 44 คน ไดผ้ า่ นการอบรม ท้งั ด้านวชิ าการและพฤตกิ รรม ครบทั้งหมด
ร้อยละ 80 ข้ึนไป

กิจกรรมที่ 4 โครงการอบรมปฐมนิเทศขา้ ราชการใหม่ “หลักสูตรการเป็นข้าราชการทีด่ ี” ประจาปี 2559
หนว่ ยงานท่รี บั ผดิ ชอบ สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั กาญจนบรุ ี ร่วมกบั วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั
หลกั การและเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติระเบียบขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ.2551 มาตรา 59 บัญญัติว่า ผู้ได้รับบรรจุแต่งต้ัง
ให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา 53 วรรคหน่ึง หรือมาตรา 55 และข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถ่ินที่โอนมา
บรรจุเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ตามมาตรา 64 ในระหว่างท่ียังทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ ให้ทดลอง
ปฏิบตั ิหนา้ ทรี่ าชการและให้ได้รับการพัฒนาเพ่ือให้รู้ระเบียบแบบแผนของทางราชการและการเป็นข้าราชการ
ที่ดี ตามที่กาหนดในกฎ ก.พ. ซ่ึงเป็นการกาหนดให้ส่วนราชการต้องดาเนินการพัฒนาผู้ท่ีอยู่ระหว่างทดลอง
ปฏิบัติหน้าที่ราชการ ซึ่งในฐานะที่สานักงาน ก.พ.เป็นองค์กรกลางด้านการบริหารงานบุคคลภาครัฐ เพื่อ
ปลูกฝังการเป็นข้าราชการที่ดี
กล่มุ เป้าหมาย

ข้าราชการบรรจใุ หม่ (ยกเวน้ นกั เรียนทุน 3 สายงาน คือแพทย์ ทนั ตแพทย์ เภสชั กร) ของเครือข่าย
บรกิ ารสขุ ภาพท่ี 5 แบง่ เปน็ ๆรนุ่ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี มีจานวน 167 คน
ระยะเวลา

รุ่นท่ี 1 วันที่ 6 -13 กุมภาพันธ์ 2559 อบรม 40 คน
อบรม ณ โรงแรมพาวเี ลีย่ น ริมแควรีสอรท์ /ค่ายสุรสหี ์ จงั หวดั ทหารบกกาญจนบรุ ี

รนุ่ ท่ี 2 วันท่ี 12-19 มนี าคม 2559 อบรม 40 คน
อบรม ณ โรงแรมพาวีเลยี่ น รมิ แควรสี อร์ท/ค่ายสรุ สหี ์ จังหวัดทหารบกกาญจนบรุ ี

กลมุ่ งานพัฒนาทรัพยากรบคุ ลากร

รนุ่ ที่ 3 วันที่ 7- 14 พฤษภาคม 2559 อบรม 41 คน เพมิ่ เตมิ อบรม 27 คน

อบรม ณ โรงแรมพาวเี ลี่ยน ริมแควรีสอร์ท/ค่ายสุรสีห์ จังหวัดทหารบกกาญจนบุรี

รุ่นท่ี 4 วันท่ี 13 - 20 สงิ หาคม 2559 อบรม 19 คน

อบรม ณ โรงแรมพาวเี ลี่ยน รมิ แควรสี อรท์ /คา่ ยสุรสีห์ จังหวัดทหารบกกาญจนบรุ ี

สรปุ ผลการประเมนิ ผลการอบรม

ผลลัพธ์ตามตัวชว้ี ัดความสาเรจ็

ร้อยละตัวช้วี ัดทบ่ี รรลุ ผลประเมิน
เปาู หมาย
วัตถปุ ระสงค์โครงการ

เพอ่ื พฒั นาขา้ ราชการพลเรอื นบรรจุใหมใ่ ห้มีความรคู้ วามสามารถมจี ติ สานกึ ในการ 100 บรรลุ
ปฏิบตั งิ านเพ่อื ราชการมสี มรรถนะและจรรยาทเี่ หมาะสมในการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ 100 บรรลุ

เพื่อปลกู ฝังค่านยิ มและปรชั ญาการเป็นข้าราชการท่ีดใี หแ้ กข่ า้ ราชการรุ่นใหม่

เพ่อื ใหข้ ้าราชการพลเรอื นบรรจุใหม่รรู้ ะเบยี บแบบแผนมคี า่ นยิ มสร้างสรรค์และมี 100 บรรลุ
พฤติกรรมสอดคล้องกบั การปฏิบตั ิหนา้ ท่รี าชการยุดใหม่
100 บรรลุ
เพื่อพฒั นาขา้ ราชการพลเรือนบรรลุใหมใ่ หม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในเรื่องระบบ 100 บรรลุ
บริการสุขภาพ (service plan)

เพือ่ สร้างเครอื ข่ายขา้ ราชการรุ่นใหมใ่ นการทางานแบบบูรณาการ

ผลลพั ธต์ ามตวั ชีว้ ดั ความสาเรจ็ ตามโครงการ ฯ คิดเปน็ ร้อยละ 100 ตามวตั ถุประสงค์

สรปุ /ขอ้ เสนอแนะ

ข้าราชการบรรจใุ หม่ มีทง้ั โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช โรงพยาบาลสมเด็จพระสงั ฆราชองค์ท่ี ๑๗
โรงพยาบาลทกุ แหง่ และสาธารณสุขอาเภอทุกอาเภอ มีขา้ ราชการบรรจใุ หม่ทั้งส้ินจานวน 167 ราย ตอ้ งมีการ
อบรม “หลกั สตู รขา้ ราชการที่ดี” ในระดบั กระทรวง ซ่ึงเป็นกจิ กรรมหน่งึ และตอ้ งมีหนา้ ทศี่ ึกษาในระบบ
E-Learning หลกั สตู รอบรม ของข้าราชการ สานักงาน ก.พ กาหนดไว้ ใหผ้ ่านทกุ ชดุ วิชาภายในระยะเวลา ๖
เดอื น นนั้

กลมุ่ งานพฒั นาทรพั ยากรบคุ ลากร

ปญั หา/อุปสรรค

กจิ กรรมที่ตอ้ งศึกษาในระบบ E-Learning ท่ตี ้องผ่านเกณฑ์ทุกชุดวิชาภายในระยะเวลา ๖ เดือน น้นั
มีขา้ ราชการบรรจุใหม่ 2 ราย ไม่ผา่ นเกณฑ์ตามระยะเวลาที่กาหนด เนือ่ งจาก

1.ความเขา้ ใจคลาดเคล่ือน ทาใหไ้ ม่สาเร็จการศึกษาตามเวลาทก่ี าหนด

2.ชว่ งระยะเวลาดังกลา่ วติดภารกิจเร่งด่วน ทาให้ไม่สาเร็จการศกึ ษาตามกาหนด

สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี ประสานขอความอนเุ คราะหข์ ยายระยะเวลาการฝกึ อบรมหลักสูตร
ข้าราชการใหม่ ปจั จุบนั ข้าราชการบรรจุใหมท่ ้ัง 2 ราย ผ่านเกณฑ์การศึกษาในระบบ E -Learning เป็นที่
เรียบรอ้ ยแลว้

2. โครงการประชุมวิชาการสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ระยะท่ี 1 ปงี บประมาณ 2559
วนั ที่ 25 – 26 กรกฎาคม 2559 ณ โรงแรมสองพนั บรุ ี อาเภอเมืองสุพรรณบรุ ี จังหวดั สพุ รรณบรุ ี

โครงการประชมุ วชิ าการสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี ระยะท่ี 1 ประจาปี 2559 มกี าร
ดาเนนิ การในรูปการประกวดผลงานดา้ นนวัตกรรม/ด้านวชิ าการ มีผสู้ ่งผลงานเขา้ รว่ มประกวดจานวน ๒๑
เรือ่ ง เป็น ผปู้ ฏิบตั งิ านของโรงพยาบาล จานวน 11 เร่อื ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล 10 เรือ่ ง
โดยรว่ มกบั กลมุ่ งานสขุ ศึกษาและสขุ ภาพภาคประชาชน ประกวดตาบลจดั การสุขภาพแบบบรู ณาการ (8
ประเดน็ ) มีผูเ้ ขา้ ร่วมประชุมทั้งส้นิ จานวน 500 คน ใชง้ บประมาณทงั้ สิ้น 214,900 บาท (สองแสนหนงึ่
หม่ืนส่ีพันเก้าร้อยบาทถว้ น)
ผลการประกวดผลงานด้านนวตั กรรมของโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล จานวน 10 เรอ่ื ง
รางวัลชนะเลิศ เร่อื ง ยางรองขบ รพ.สต.สนามคลี สสอ.เมืองสพุ รรณบุรี

-รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดบั หน่งึ เร่ือง กระแตเวียน รพ.สต.ตาบลหนองโอ่ง สสอ.อู่ทอง
-รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับสอง เร่อื ง หว้ ยมา้ ลอยสานฝนั แบง่ ปนั ความสุข ดแู ลผู้สูงอายุแบบยง่ั ยืน
รพ.สต.บา้ นหว้ ยมา้ ลอย สสอ.ดอนเจดยี ์
-รางวัลรองชนะเลิศอนั ดบั สอง เร่ือง ทัพหลวงโมเดล ชมุ ชนรว่ มใจดูแลสขุ ภาพ ดว้ ยพระบารมี
รพ.สต.ตาบลทัพหลวง สสอ.หนองหญา้ ไซ
ผรู้ ่วมนาเสนอ –ปน่ั เพาะรักษ์ รพ.สต.วงั ยาง สสอ.ศรีประจันต์

- โครงการทตู น้อยบา้ นทา่ ไชย รพ.สต.บ้านทา่ ไชย สสอ.สองพน่ี ้อง
- ฉนั ไม่ใชห่ ว่ งยางแตฉ่ ันหว่ งเธอ รพ.สต.บ้านหนองสงั ขท์ อง สสอ.สามชุก
- การดูแลผปู้ วุ ยหอบหืดแบบองค์รวม รพ.สต.วงั ยาว สสอ.ด่านชา้ ง
- ยาชดุ สมนุ ไพรดแู ลรักษาโรคข้อเสื่อม รพ.สต.ยางนอน สสอ.เดมิ บางนางบวช

กลมุ่ งานพฒั นาทรัพยากรบุคลากร

- ก้าวใหม่ หัวใจสู้ รพ.สต.บา้ นแหลม สสอ.บางปลามา้

ผลการประกวดด้านวิชาการโรงพยาบาล จานวน 11 เร่อื ง

-รางวัลชนะเลิศ เร่อื ง ผลการบาบดั เพ่ือเสรมิ สรา้ งแรงจงู ใจโดยครอบครัวตอ่ พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์
การรกั ษาของผปู้ ุวยจติ เภทในชุมชน รพ.สามชกุ
-รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั หน่ึง เรื่อง โปรแกรมการบูรณาการการประเมินความเส่ียงในผู้ปุวยโรคเร้อื รัง
รพ.ศรีประจันต์
-รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับสอง เรอื่ งLean Management กับการลดต้นทุนงานจา่ ยกลาง รพ.หนองหญ้าไซ

ผรู้ ่วมนาเสนอ – ชดุ ห่อตวั เด็กสาหรบั การพน่ ยา(Baby wrap for nebulizer) นวัตกรรมสิง่ ประดษิ ฐ์
รพ.บางปลาม้า
- ผลของการใช้ “Monkey s bar Exercise”ชว่ ยปอู งกนั การเกิดแผลกดทัพ
รพ.สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17
- การศึกษาอบุ ตั ิการณแ์ ละสาเหตกุ ารเลื่อนหลดุ ของท่อช่วยหายใจของผ้ปู ุวยทีเ่ ข้ารับบรกิ ารของหอ
ผู้ปวุ ยอายรุ กรรม รพ.เดิมบางนางบวช

– การพฒั นาคุณภาพการดูแลผูป้ วุ ยภาวะ Sepsis รพ.ดา่ นช้าง
- สขุ ภาพดี คณุ ภาพชวี ิตดี ชาวดอนเจดยี ์ ไรค้ วนั รพ.ดอนเจดยี ์
- ข้อต่อไรฝ้ นุ ง่ายๆแตจ่ ดุ ประกายความคิด รพ. อู่ทอง
- อุบตั ิการณแ์ ละปัจจยั ที่เก่ียวข้องกบั การไดร้ ับยาแก้ปวดของผู้ปุวยผ่าตัดชอ่ งท้องในห้องพักฟนื้
รพ.เจา้ พระยายมราช
- การสือ่ สารอย่างมปี ระสทิ ธิภาพตอ่ การเพ่ิมจานวนผ้ปู วุ ย Good death ในผู้ปุวยระยะสดุ ทา้ ย
รพ.สมเดจ็ พระสงั ฆราชองค์ท่ี 17

การประกวดตาบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ ๘ ประเด็น 4. การดูแลผสู้ งู อายุแบบครบวงจร
1. วณั โรค 2. หอ้ งขนุ ศรีวิชัย 3. พฒั นาการสมวยั 8. สรา้ งพอ่ แม่คุณภาพ/ฝากครรภ์ไว
5. ไขเ้ ลือดออก 6. CVD Risk 7. ตัง้ ครรภซ์ ้าในวยั รนุ่

ปัญหา แนวทางแก้ไข

1.จานวนห้องการประกวดวนั ละ 5 หอ้ งอุปกรณไ์ ม่เพียงพอ 1.ทาเร่อื งยืมหน่วยงานอ่ืน

2.ผมู้ าร่วมกิจประกวดหาหอ้ งไม่เจอ 2.ทาปูายไวนลิ รวมหน้าหอ้ งลงทะเบียน/ทาปูายไวนลิ แยก

กล่มุ งานพฒั นาทรพั ยากรบคุ ลากร

แต่ละหอ้ งของการประกวด

3.หนว่ ยงานบางแหง่ แจ้งวา่ ไม่ได้รับหนังสอื แจ้งผเู้ ข้าร่วม 3..ติดตามทางไลนห์ ลงั สง่ หนังสอื ให้หน่วยงานท่ีไดร้ บั
ประกวด หนังสือตอบกลับ

4.ผรู้ ว่ มประกวดทน่ี าเสนอเสร็จก่อนจะกลบั โดยไม่ได้อยฟู่ ัง 4.เชญิ ชวนใหอ้ ย่รู ับฟงั จนหมดเวลานาเสนอผล
คนตอ่ ๆไป

5.ห้องนาเสนอมหี ลายห้องผู้สนใจไมส่ ามารถดูได้ทั่วถงึ 5.หนว่ ยงานเดยี วกนั แบง่ บคุ ลากรมาสงั เกตุการณ์

3. โครงการ พฒั นาสมรรถนะและสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม ในบคุ ลากรสาธารณสขุ ประจาปี 2559

3.1 หน่วยงานคุณธรรม

4.
5.

การดาเนินงานของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี มีการสนับสนุนการจัดกิจกรรม เพื่อให้
บุคลากรได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน สร้างความสามัคคี และทาให้บุคลากรรู้สึกผูกพันและรักในองค์กร
มาอย่างต่อเนอ่ื ง เพื่อเปน็ การเชดิ ชเู กยี รติให้กับบุคลากรท่ีมีคุณสมบัติดีเด่นในด้านต่าง ๆ จัดทาโครงการอบรม
ปฐมนิเทศบุคลากรบรรจุใหม่ การจัดสถานที่และอุปกรณ์ออกกาลังกายเพื่อให้บุคลากรท่ีว่างจากการทางาน
ออกกาลังกาย การจัดต้ังชมรมกีฬา กิจกรรมการออกกาลังกายของบุคคลากรสาธารณสุขระดับจังหวัด เพื่อ
สร้างความสามัคคีในองค์กรและพัฒนาบุคลากรสู่ความเป็นเลิศ และได้วางนโยบายให้หน่วยงานในสังกัด คือ
โรงพยาบาล สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลและสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ
ทุกแห่ง การดาเนินงานด้านการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของหน่วยงานตามเกณฑ์ โรงพยาบาลคุณธรรม/
หน่วยงานคุณธรรม ในปีงบประมาณ 2559 ผลการดาเนินงานหน่วยงานคุณธรรม ในปีงบประมาณ 2559
ดังน้ี

1. โรงพยาบาลศนู ย์เจา้ พระยายมราช ไดผ้ ่านระดับความสาเร็จโรงพยาบาลคณุ ธรรม ในระดบั ที่ 5
2. โรงพยาบาลสมเด็จพระสงั ฆราช องคท์ ี่ 17 ได้ผา่ นระดับความสาเร็จโรงพยาบาลคุณธรรม ใน
ระดบั ที่ 5
3. โรงพยาบาลอู่ทอง ได้ผา่ นระดบั ความสาเรจ็ โรงพยาบาลคณุ ธรรม ในระดับที่ 3

กลมุ่ งานพัฒนาทรัพยากรบคุ ลากร

ขอ้ มูลแสดงผลการดาเนนิ งาน

6.

จานวนหน่วยบรกิ ารทง้ั หมด / จานวนหน่วยบรกิ ารที่เป็นหน่วยงานหรือโรงพยาบาลคุณธรรม

อาเภอ อาเภอ อาเภอ อาเภอ อาเภอ อาเภอ อาเภอ อาเภอ อาเภอ อาเภอ รวม

(แหง่ ) เมอื งฯ สองพน่ี อ้ ง อทู่ อง ดา่ นชา้ ง ดอน หนองหญ้าฯ เดิมบางฯ ศรี บางปลา สามชกุ

เจดีย์ ประจนั ต์ มา้

สสจ. 1/1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1/1

รพศ. 1/1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1/1

รพท. 0 1/1 0 0 0 0 0 0 0 0 1/1

รพช. 0 0 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 8/8

สสอ. 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 10/10

รพ.สต. 29/29 24/24 22/22 16/16 9/9 9/9 20/20 14/14 17/17 12/12 172/172

สอน. 0 1/1 0 0 0 0 0 0 0 1/1 2/2

รวม 32/32 27/27 24/24 18/18 11/11 11/11 22/22 16/16 19/19 15/15 195/195

7.

ปญั หา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ

- ปัญหา/อุปสรรค/ปจั จัยทท่ี าใหก้ ารดาเนินงานไม่บรรลุวตั ถุประสงค์

1. ขาดแคลนงบประมาณในการดาเนินงาน

2. การดาเนนิ งานส่วนใหญ่เป็นเรื่องของพฤติกรรม ทัศนคติของบุคคล อาจต้องใช้
เวลาในการดาเนนิ งาน ประกอบกบั พฤติกรรม ทัศนคติ ของบุคคลมีการเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา จากส่งิ
เรา้ ทม่ี ากระทบ ย่อมส่งผลต่อจิตสานึกที่ดขี องบคุ คล

3. การปรบั ทัศนคตแิ ละการเขา้ ร่วมกจิ กรรมของคนกลุ่มใหญ่ เป็นเรอ่ื งท่ตี ้องใชก้ ล
ยุทธท์ ี่หลากหลาย ประกอบกับในวนั จัดกิจกรรมแตล่ ะฝุายมแี ผนการดาเนนิ งานประจาอยู่ อาจกระทบต่อ
จานวนผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม

กลุม่ งานพฒั นาทรัพยากรบคุ ลากร

3.1 การประกวดคนดีศรีสาธารณสขุ และหนว่ ยงานดี ศรสี าธารณสุข

สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ไดร้ บั มอบหมายจากกระทรวงสาธารณสขุ ให้พจิ ารณา

คดั เลือกคนดีศรสี าธารณสุข หน่วยงานดเี ดน่ และเร่ืองเลา่ ประจาปี ๒๕๕๙ โดยกาหนดให้หน่วยงานตา่ งๆ ใน

สงั กดั สง่ ข้าราชการ จานวน ๒ คน/คปสอ. ลูกจ้างประจา จานวน ๑ คน/คปสอ. และเปดิ รับสมัครให้

หน่วยงานในสงั กัดสง่ ผลงานคนดศี รสี าธารณสขุ หน่วยงานคุณธรรม และเร่อื งเลา่ (ไมจ่ ากดั จานวนเรือ่ ง)

ระหว่างวันที่ ๑๘ มีนาคม – ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ประกวดคนดีศรีสาธารณสขุ หน่วยงานดเี ด่น และเร่อื ง

เล่า ในวันท่ี ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ โดยมีหนว่ ยงานต่าง ๆ ส่งบุคลากร หน่วยงาน และเรอ่ื งเลา่ เข้าประกวด

ดังน้ี

๑. คนดี ศรีสาธารณสขุ จานวน ๑๒ คน แบ่งเป็น

๑.๑ ประเภทข้าราชการ จานวน ๑๑ คน

๑.๒ ประเภทลกู จ้างประจา จานวน ๑ คน

๒. หน่วยงานดเี ด่น จานวน ๑ หน่วยงาน

๓. เรอื่ งเลา่ จานวน ๑ เรอ่ื ง

บดั นก้ี ารพิจารณาคดั เลอื กไดเ้ สรจ็ สนิ้ แลว้ มผี ลการประกวด ดงั น้ี
๑. คนดี ศรสี าธารณสุข
๑.๑ ประเภทข้าราชการ :
นายศราวฒุ ิ ทองไพวรรณ เจ้าพนกั งานทันตสาธารณสขุ ชานาญงาน
โรงพยาบาลบางปลามา้
๑.๒ ประเภทลูกจ้างประจา :
นางสายสนุ ยี ์ โรจน์ชาญชัย พนักงานช่วยเหลือคนไข้ ส.๑
โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
๑.๓ หนว่ ยงานดเี ด่น : โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสังฆราช องคท์ ่ี ๑๗
๑.๔ เรอ่ื งเล่า : คณุ ณาตยา ขนุนทอง และทีมงาน
โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช

กลมุ่ งานพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

งานพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปี ๒๕๕๙

สถานการณ์

ในปงี บประมาณ ๒๕๕๙ จังหวัดสพุ รรณบุรี มีหน่วยบรกิ ารด้านแพทย์แผนไทยทั้งหมด ๑๘๔ แห่งให้บริการ

รกั ษาพยาบาล สง่ เสรมิ สุขภาพ ปอู งกันโรคและฟื้นฟูสภาพครบทุกแหง่ มโี รงพยาบาล ๑๐ แห่ง และ

โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบล ๑๗๔ แหง่ ท้ังนี้โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลมีการจัดบรกิ ารนวด ทง้ั หมด

๑๑๐ แหง่ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๖๓.๒๒ ในโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลมีแพทย์แผนไทย ๖ แหง่ คือ

โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลจระเข้สามพนั โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลยางนอน โรงพยาบาล

ส่งเสริมสขุ ภาพตาบลวังน้าเย็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลเฉลิมพระเกยี รตฯิ บ่อสุพรรณ โรงพยาบาล

สง่ เสริมสุขภาพตาบลเฉลิมพระเกยี รตฯิ บ้านดอนไร่ และโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลบ้านกร่าง

โรงพยาบาลทใี่ ห้บริการฝังเขม็ มที งั้ หมด ๔ แห่ง ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช โรงพยาบาลบางปลามา้

โรงพยาบาลศรีประจันต์และโรงพยาบาลดา่ นชา้ ง จากการประเมนิ มาตรฐานโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพและ

สนบั สนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน ทง้ั หมด ๑๗๔ แหง่ ได้ผลการประเมินเปน็ ดังน้ี ระดับดี

เยี่ยม ๖๙ แหง่ ระดบั ดมี าก ๔๙ แห่ง ระดับดี ๓๖ แหง่ ระดบั พ้นื ฐาน ๒๐ แห่ง ผลการประเมินรบั รอง

มาตรฐานการนวดไทย ปี ๒๕๕๙ โรงพยาบาล ๑๐ แห่ง ไดร้ ะดับดีเยยี่ ม 10 แหง่ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพ

ตาบลจดั บรกิ ารนวด ๑๑๐ แหง่ ระดับดีเยยี่ ม 104 แห่ง ระดบั มาตรฐาน 6 แห่ง ผลงานตามตวั ชว้ี ัด

ปงี บประมาณ ๒๕๕๙ (ต.ค.๕๘-ก.ย.๕๙) กาหนดให้รอ้ ยละของผปู้ วุ ยนอกได้รบั บรกิ ารการแพทยแ์ ผนไทยและ

การแพทย์ทางเลือกทไ่ี ด้มาตรฐานรอ้ ยละ ๑๘ จงั หวดั สุพรรณบุรี ดาเนินการได้ ร้อยละ 13.15 โรงพยาบาล

ทีจ่ ัดบริการ OPD คขู่ นาน จานวน ๗ โรงพยาบาล ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลสมเด็จพระสงั ฆราชองค์ท่ี ๑๗

โรงพยาบาลอทู่ อง โรงพยาบาลบางปลามา้ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช

โรงพยาบาลดา่ นชา้ ง และโรงพยาบาลหนองหญ้าไซ คิดเป็นร้อยละ ๗๐ (เปูาหมายรอ้ ยละ ๗๐) มลู ค่าการใช้

ยาสมุนไพรเพมิ่ ขึ้น คิดเปน็ รอ้ ยละ -3.5 (เปาู หมายร้อยละ ๑๐) มโี รงพยาบาลอูท่ องผลิตยาสมุนไพร

และกระจายยาสมุนไพรให้กบั โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลทุกแห่ง

ตารางท่ี ๑ แสดงจานวนบคุ ลากรแพทย์แผนไทยจาแนกรายสานักงานสาธารณสุขอาเภอ ปี ๒๕๕๙

หน่วยบรกิ าร จานวนสถานบริการท้งั หมด จานวนผู้ชว่ ยแพทยแ์ ผนไทย คดิ เป็นร้อยละ แพทย์แผนไทย

สสอ.เมืองสุพรรณบุรี ๒๙ ๑๐ ๓๔.๔๘ ๐
สสอ.สองพน่ี ้อง ๒๕
สสอ.เดิมบางนางบวช ๒๐ ๒๐ ๘๐ ๑
สสอ.อู่ทอง ๒๒
สสอ.ดา่ นชา้ ง ๑๖ ๘ ๔๐.๐๐ ๑
สสอ.บางปลามา้ ๑๗
สสอ.ศรีประจนั ต์ ๑๔ ๒๑ ๘๕.๔๕ ๑
สสอ.สามชุก ๑๓
สสอ.ดอนเจดยี ์ ๙ ๑๑ ๖๘.๗๕ ๐
สสอ.หนองหญา้ ไซ ๙
๑๗๔ ๑๒ ๗๐.๕๙ ๑
รวม
๕ ๓๕.๗๑ ๑

๑๒ ๙๒.๓๑ ๑

๗ ๗๗.๗๘ ๐

๔ ๔๔.๔๔ ๐

๑๑๐ ๖๓.๒๒ ๖

กลมุ่ งานพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก

แผนงาน/โครงการ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีมีการดาเนินงานตามนโยบายและสภาพปัญหาของพื้นท่ีและ

มีกลยทุ ธ์ตามแผนยุทธศาสตรส์ ุขภาพ ดงั นี้
มาตรการที่ ๑ พัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

กิจกรรมที่ ๑. ประเมนิ มาตรฐานการบริการการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก
กิจกรรมที่ ๒. สนบั สนนุ การใชย้ าสมุนไพรในสถานบริการ
มาตรการที่ ๒ พัฒนาศักยภาพบคุ ลากร
กิจกรรมที่ ๑ พัฒนาศกั ยภาพพยาบาลคัดกรอง OPD คขู่ นาน
กิจกรรมที่ ๒ อบรมทางไกลถา่ ยทอดความรู้ ประสบการณเ์ วชปฏิบัติแพทย์แผนไทย
กจิ กรรมที่ ๓ พฒั นาศกั ยภาพแพทยแ์ ผนไทยการตรวจรกั ษาวนิ ิจฉยั โรคเร้อื รัง
มาตรการท่ี ๓ การพฒั นาฐานระบบข้อมูล
กิจกรรมท่ี ๑.พัฒนาบุคลากรสาธารณสุขให้มีความรู้และทักษะการใช้งานระบบฐานข้อมูลแพทย์แผน
ไทยฯ
มาตรการท่ี ๔ ส่งเสรมิ การดูแลสขุ ภาพด้วยสาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก
กจิ กรรมที่ ๑ ขยายสมาธิบาบัดลงสู่รพ.สต./ชมุ ชน
กิจกรรมที่ ๒ อบรมกดจดุ สะท้อนเท้า
กิจกรรมที่ ๓ ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกผ่านการจัด
กจิ กรรมแลกเปล่ียนเรียนร้สู ู่การปฏิบตั ิ
มาตรการท่ี ๕ ส่งเสรมิ และคุ้มครองภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทย
มาตรการที่ ๖ พัฒนางานวิชาการและงานวิจัย
กจิ กรรมที่ ๑ ประเมนิ มาตรฐานการบรกิ ารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก

๑. ติดตามประเมินสถานบริการของรัฐท้งั ๑๐ อาเภอ
กิจกรรมท่ี ๒ สนับสนุนการใช้ยาสมุนไพรในสถานบริการ

๑.สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สนบั สนุนยาสมนุ ไพรใหก้ ับโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลทุกแหง่
๒.อบรมเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขการใช้ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ จานวน ๘๐ คน งบประมาณ
๒๑,๑๐๐ บาท
๓.ติดตามและประเมินผลการดาเนนิ งาน
กจิ กรรม ๓ จดั อบรมพยาบาลตรวจคดั กรอง

1. จดั อบรมความรพู้ ยาบาลท่ที าหน้าที่ตรวจคัดกรองในแผนก OPD ผปู้ วุ ยนอก จานวน 1 วนั
กล่มุ เปาู หมาย คือพยาบาลทุกโรงพยาบาล จานวน 10 แห่ง วิทยากร จาก กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทย
งบประมาณ 12,600 บาท

กิจกรรมท่ี ๔ อบรมทางไกลถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์เวชปฏิบัติแผนไทยสู่แพทย์แผนไทย และบุคลากร
สาธารณสขุ ในสถานบริการสาธารณสขุ ของรัฐ จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี ๒๕๕๙

แนวทางการดาเนนิ งาน

กลุ่มงานพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก

จัดการอบรมทางไกลถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์เวชปฏิบัติแผนไทยสู่แพทย์แผนไทย และบุคลากร
สาธารณสขุ ในสถานบริการสาธารณสุขของรฐั เดือนละ ๑ ครั้ง ทงั้ หมด ๑๒ ครง้ั

งบประมาณ

จากกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๒๗,๐๐๐ บาท ในส่วนการสนับสนุนนาย
ทะเบียนจงั หวัดปงี บประมาณ ๒๕๕๙ (ท่โี อนใหจ้ านวน ๑๖๐,๐๐๐ บาท)

- งบทใี่ ช้ ๒๗,๐๐๐ บาท

กจิ กรรมท่ี ๕ จัดอบรมแพทยแ์ ผนไทยการตรวจรักษาโรคเรอ้ื รงั
1. จัดอบรมความรู้ โรคเรอื้ งรัง ตามศาสตรแ์ พทย์แผนไทย กล่มุ เปาู หมาย คือ แพทย์แผนไทย

พยาบาล ผู้ปฏิบัติงาน ในโรงพยาบาลทุกแหง่ จานวน 40 คน จานวน 5 วัน งบประมาณ ทง้ั หมด 74620
บาท

การจดั บรกิ ารทบั หม้อเกลือ
จังหวัดสพุ รรณบรุ ี มีหน่วยบริการด้านแพทย์แผนไทยท้ังหมด ๑๘๔ แห่ง เปิดให้บริการทับหม้อเกลือ

ได้เฉพาะสถานบรกิ ารทีม่ แี พทยแ์ ผนไทยปฏิบัติงาน ดังนี้ โรงพยาบาล ๘ แห่ง และ โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบล ๔ แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ ๖.๕๒ โดยมีการนิเทศติดตามการปฏิบัติงานการทับหม้อเกลือบูรณา
การไปกับการประเมนิ มาตรฐานโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ผสมผสาน(รพ.สส.พท.) และการประเมนิ มาตรฐานการนวดไทยในทุกแห่งท่ีเปิดให้บรกิ ารทับหม้อเกลือ

กิจกรรม
๑. นเิ ทศตดิ ตามรพ.และรพ.สต.ท่ีเปดิ ใหบ้ รกิ าร(บรู ณาการไปกับการประเมนิ มาตรฐานบริการ)
๒. ประชาสมั พนั ธ์ประโยชน์ของการทับหม้อเกลือแกป่ ระชาชน
๓. ประสานกับหอ้ งคลอดเพ่อื นดั วันรับบริการ
๔. ขยายพ้นื ท่บี รกิ ารในรพ.และรพ.สต.ทมี่ แี พทย์แผนไทยมาปฏิบัตงิ านเพ่ิม
๕. สมัครการเปิดให้บริการทับหม้อเกลือไปยังสปสช.เขต สาหรับสถานบริการที่มีแพทย์แผนไทยมา
ปฏบิ ตั งิ านใหม่ เพอื่ ขอรบั เงิน On Top
ปัญหาอุปสรรค
๑. การให้บรกิ ารต้องใช้เวลานาน ทาให้ผ้มู ารับบรกิ ารเสียเวลานานเกนิ ไป จึงไมอ่ ยากมารบั บรกิ าร
๒. มารดาหลังคลอดอยู่ไกล ไม่สะดวกมารับบริการ
๓. ไมม่ คี นช่วยดแู ลบุตร
๔. บางพื้นท่ียังขาดการประชาสัมพันธ์
๕. หญิงหลังคลอดบางคนไม่ศรทั ธา
๖. มาขอรับบริการหลังจากคลอดแลว้ ๓ เดือน ซึ่งเกินเวลาทจ่ี ะทบั หมอ้ เกลอื ได้

ขอ้ เสนอแนะ
๑. ควรใหม้ ีการทับหม้อเกลือแก่หญงิ หลังคลอดทุกราย โดยรพ.ทกุ แห่งมกี ารประสานกับหอ้ งคลอดเพื่อ
นดั วนั

กลุ่มงานพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

๒. ควรเผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์และสรา้ งความม่นั ใจในประโยชน์ของการทบั หม้อเกลือแก่ประชาชน
๓. ขยายพน้ื ท่บี ริการในรพ.และรพ.สต.ท่ีมแี พทยแ์ ผนไทยมาปฏบิ ัตงิ านเพ่มิ
กจิ กรรมที่ ๖ พัฒนาระบบข้อมลู แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ปี ๒๕๕๙
๑.จดั ประชุมระบบการคยี ข์ ้อมลู
๒.นเิ ทศตดิ ตามผลการดาเนินงานการคีย์ขอ้ มูล
๓.ประเมนิ ผลการดาเนินงาน
ผลการดาเนินงาน
จดั อบรมการคยี ข์ อ้ มูลใหก้ ับผู้รบั ผิดชอบงานแพทย์แผนไทย ผ้รู บั ผิดชอบงานไอทีของโรง
พยาบาลและของสานกั งานสาธารณสุขอาเภอ ตวั แทนรพ.สต.อาเภอละ ๒ คน แพทย์แผนไทยในรพ.
สต.ทกุ แห่ง
ทง้ั หมด ๖๐ คน
งบประมาณ ๙,๐๐๐ บาท
กจิ กรรมที่ ๗ สง่ เสริมสขุ ภาพผ้สู งู อายดุ ว้ ยการแพทย์แผนไทยและการผสมผสาน

กระทรวงสาธารณสขุ ได้อนมุ ัติให้กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทย และการแพทย์ทางเลอื ก จัดทา
โครงการส่งเสรมิ สขุ ภาพผู้สูงอายุดว้ ยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน ซงึ่ มกี ิจกรรมทีส่ นบั สนุน
งบประมาณใหส้ ่วนภมู ิภาคจงั หวัดละ ๒๐,๐๐๐ บาท เพื่อขับเคลื่อนการดาเนินงานของโครงการ เชน่ การจัด
อบรมให้กบั อาสาสมคั รสาธารณสขุ ในจังหวัด ในการดูแลสขุ ภาพผูส้ ูงอายุดว้ ยการแพทยแ์ ผนไทย และการแพทย์
ผสมผสาน

กิจกรรมที่ ๑ อบรมอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
๑. บรู ณาการอบรมรว่ มกบั งานสุขภาพภาคประชาชน

๒. สถานบริการสาธารณสขุ ของรฐั ทุกแหง่ จดั สง่ อสม.เข้ารับการอบรมอย่างน้อยแห่งละ 3 คน

กจิ กรรมที่ ๒ นเิ ทศตดิ ตาม

๑. จดั ทาแผนการนิเทศตดิ ตาม

๒. สสจ.ออกนเิ ทศติดตามหลงั การอบรมฯ และติดตามการจัดบริการดูแลสขุ ภาพแก่ผ้สู ูงอายดุ ้วย

ศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทยผ์ สมผสานในสถานบรกิ ารสาธารณสุขของรัฐ

ผลการดาเนนิ งาน

๑. อบรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ (อสม.) ท่ปี ฏบิ ัตงิ านในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐทุกแห่งๆละ 3

คน

๑.๑ เพ่ือพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ให้มีความรู้ความสามารถในการดูแลรักษาผู้สูงอายุที่
เปน็ โรคข้อเข่าเส่ือม (จับโปงน้า จบั โปงแหง้ )

๑.๒ ส่งเสริมให้มีการจัดบริการดูแลสุขภาพแก่ผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ผสมผสานในสถานบริการสาธารณสขุ ของรัฐ

๒. การดาเนนิ งานโรงพยาบาลและโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบล

กลุม่ งานพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก

๒.๑ จัดคลนิ กิ ใหบ้ รกิ ารผู้สูงอายุโรคข้อเขา่ เสื่อมดว้ ยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ผสมผสาน(ตามความเหมาะสมของบริบทของชุมชน/รพ.สต.)

งบประมาณโครงการ

- งบประมาณทีไ่ ดร้ บั งบประมาณเบิกแทนกัน(งบดาเนนิ งาน)กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ

การแพทยท์ างเลือก จานวน ๒๐,๐๐๐ บาท (สองหม่ืนบาทถ้วน)
- งบประมาณท่ีใช้ จานวน ๒๐,๐๐๐ บาท
ปัญหาอุปสรรค

นโยบายไมต่ ่อเนื่อง งบประมาณไม่เพยี งพอ

ขอ้ เสนอแนะ
ภาครัฐควรมนี โยบายท่ีชัดเจน และตอ่ เนื่อง สนับสนนุ งบประมาณให้เพยี งพอ
งานแพทย์ทางเลือก ปี ๒๕๕๙
1. กจิ กรรมสมาธิบาบัด

- ขยายงานสมาธบิ าบัดลงสู่ รพ.สต./ชุมชน

- รพ.มกี ารดาเนนิ งานสมาธิบาบัด

- ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานสมาธบิ าบดั ทัง้ 10 อาเภอ

- ประกาศเกยี รตคิ ุณงานสมาธบิ าบัด โดย ปี 2559 รพ.สต.หนองสาหรา่ ย อ.ดอนเจดีย์ จ.สพุ รรณบรุ ี

ไดร้ บั โล่ประกาศเกียรติคณุ งานสมาธบิ าบัดดีเด่น จากกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์

ทางเลือก

2. โครงการสุขภาพดมี ที างเลือก ปี 2559

กิจกรรมถา่ ยทอดองค์ความรดู้ ว้ ยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย และการแพทยท์ างเลือก ผ่านการจดั

กิจกรรมแลกเปลย่ี นเรียนรสู้ ู่การปฏิบตั เิ น้นการดูแลตนเอง(ตามโอกาสวนั สาคญั ต่างๆ)

- งบประมาณ เงนิ กองทนุ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย จานวน 20,000 บาท

- เปาู หมาย จานวนไม่น้อยกวา่ 4 ครัง้

- ผลการดาเนนิ งาน จานวน 4 ครัง้

3. โครงการฝึกอบรม หลกั สูตร “การนวดกดจุดสะท้อนเท้า”จังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2559

กจิ กรรม อบรมหลกั สตู ร การนวดกดจดุ สะท้อนเท้า (หลกั สตู ร 6 วัน)

- งบประมาณ เงนิ Non UC จานวน 116,300 บาท

- เปูาหมาย จานวน 50 คน

- ผลการดาเนนิ งาน จานวน 56 คน

โครงการ คุ้มครอง ส่งเสริมและอนุรกั ษ์ภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย และสง่ เสริม การดาเนินงานด้าน
การแพทยแ์ ผนไทยในสถานบริการของรฐั จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี ๒๕๕๙

ผลการดาเนินงาน

กลุม่ งานพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก

กิจกรรมที่ ๔ ผลงานทบ่ี ันทึกผ่านโปรแกรมของสานกั คุ้มครองภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทย

๑. จานวนบคุ ลากรแพทย์แผนไทย ๗ กลุ่ม ในจังหวดั สพุ รรณบุรี

-หมอพนื้ บ้าน ๔๓๑ คน

-ผูม้ ีใบประกอบโรคศิลปะฯ ๑๒๒ คน

-องคก์ รเอกชน ๑ คน

-ผู้ปลูก/แปรรปู สมนุ ไพร ๒๙ คน

-ผูผ้ ลิต/จาหนา่ ยยาสมนุ ไพร ๕๕ คน

-นกั วชิ าการ ๖ คน

๒. จานวนตารับยา และตารายาการแพทย์แผนไทย ในจงั หวดั สุพรรณบรุ ี

- ตาราการแพทย์แผนไทย ๓๑ ตารา

- ตารบั ยาแผนไทย ๒,๗๙๓ ตารับ

งบประมาณ เงนิ งบประมาณโครงการ: ๖๘,๘๐๐บาท ( หกหมื่นแปดพันแปดรอ้ ยบาทถ้วน)

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๖๘,๘๐๐บาท ในส่วนการสนับสนุนนาย

ทะเบียนจังหวดั ปีงบประมาณ ๒๕๕๘

- ใช้ไป ๖๓,๒๒๐ บาท

- คงเหลอื ๕,๕๘๐ บาท

ปญั หาอปุ สรรคในการดาเนนิ งาน
๑. การจัดอบรม/ประชุมของจังหวัด ยังไม่ได้รับความสนใจจากเจ้าหน้าท่ีเท่าท่ีควร บางครั้งมีการ

ประชมุ ที่ตรงกันและกลุม่ เปน็ หมายเปน็ กลุม่ เดียวกัน ทาให้เจ้าหนา้ ทไ่ี ม่สามารถมาเข้าร่วมได้
๒. เอกสาร/แนวทางในการดาเนินงาน ท่ีแจกให้กับพื้นท่ี เช่นคู่มือการปฏิบัติงานที่ได้ส่งให้กับพ้ืนท่ีไป

แล้ว เมอ่ื เวลาที่ตอ้ งตดิ ตามการาดาเนินงาน มกั จะไดร้ ับแจ้งว่าไม่มี/ไม่ได้รับ ทาให้ไม่สามารถยึดเป็นแนวทางใน
การปฏบิ ัตงิ านได้

๓. การพัฒนาศักยภาพต่าง ๆ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ควรเป็นหลักใน
การจัดอบรม เช่น หลักสูตรผู้ช่วยแพทย์แผนไทย การพัฒนาศักยภาพแพทย์แผนไทย เพราะบางจังหวัดยังไม่
พรอ้ มดาเนนิ การ

๔. การสารวจตารับ ตาราการแพทยแ์ ผนไทย มักไม่ไดข้ ้อมูล เพราะตารับตาราหายาก ส่วนมากสูญหาย
หรือไม่ได้ถา่ ยทอดแก่ทายาท และเทา่ ท่ีสามารถสารวจได้ก็ไม่สะดวกในการให้ข้อมูลเพราะเป็นความรู้ท่ีถ่ายทอด
ในกลุ่มเฉพาะ เช่น ผู้มอบตัวเป็นศิษย์ หรือจากบรรพบุรุษแก่ลูกหลานเท่าน้ัน และบางตารับตาราบันทึกด้วย
ภาษาโบราณ ไมส่ ามารถแปลได้

๕. การสารวจบุคลากรฯ ข้อมูลท่ีได้มาในแบบสารวจไม่ครบถ้วน ทาให้ไม่สามารถบันทึกในเวปไซด์ของ
กรมแพทยแ์ ผนไทยฯ ได้

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการแก้ปัญหา
๑. มกี ารตรวจสอบความซา้ ซ้อนในการจัดอบรม/ประชุมกับหน่วยงานอืน่
๒. เอกสาร/แนวทางการดาเนนิ งาน ท่ตี อ้ งใหแ้ ก่พน้ื ทน่ี อกจากจะมีการแจกแล้ว มีการลงในหน้าเวปไซด์

ของหนว่ ยงานใหส้ ามารถดาวน์โหลดไปใชไ้ ด้

กลุ่มงานพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก

๓. กิจกรรมการการสารวจบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยและภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ควรทา
ความเข้าใจกับเจ้าหนา้ ท่เี กยี่ วกบั วัตถุประสงค์ในการสารวจ และเครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการสารวจ
โครงการ รวมพลงั การแพทย์แผนไทยและการแพทย์พนื้ บา้ น จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี ๒๕๕๙

แนวทางการดาเนนิ งาน
กิจกรรมท่ี ๑ ร่วมการจัดบูธนิทรรศการและการแสดงผลงานในงานรวมพลังการแพทย์แผนไทยภาค

กลาง(ณ จ.กาญจนบุรี) และนา เจ้าหน้าที่สาธารณสุข แพทย์แผนไทย และเครือข่ายแพทย์แผนไทยจังหวัด
สุพรรณบุรีเข้าร่วมงานฯ เพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พ้ืนบ้าน และ
การแพทย์ทางเลือกในงานรวมพลงั การแพทย์แผนไทยภาคกลาง

กิจกรรมที่ ๒ จัดประชุมเครือข่ายแพทย์แผนไทยเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างเครือข่ายภูมิปัญญา
การแพทย์ แผนไทย สง่ เสรมิ และเผยแพร่ความรสู้ มนุ ไพร /ผกั พน้ื บ้าน

ผลการดาเนนิ งาน
๑. เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก

ระหว่างเครอื ด้านการแพทย์แผนไทยท้ังภายและภายนอกจังหวัดสุพรรณบรุ ี
๒ มีการเผยแพร่ความรู้ให้กับประชาชนที่เข้าร่วมในงานรวมพลังการแพทย์แผนไทยภาคกลาง ณ

จ.กาญจนบรุ ี) โดยได้รบั ความสนใจเปน็ อยา่ งมาก
๓. บุคลากรด้านสาธารณสุข รวมถึงประชาชนมีความเข้าใจแนวทางในการส่งเสริมคุ้มครองและ

อนุรักษ์ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์พ้ืนบ้าน และสามารถนาความรู้ท่ีได้มาปรับใช้ในการดูแล
สุขภาพตนเองและครอบครวั และชุมชนได้

งบประมาณ
กองทุนภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย จานวน ๗๒,๖๘๐ บาท (เจด็ หมื่นสองพนั หกรอ้ ยแปดสิบบาทถ้วน)

ในสว่ นการสนบั สนุนนายทะเบยี นจงั หวัดปงี บประมาณ ๒๕๕๙
- ใชไ้ ป ๕๘,๙๔๔ บาท
- คงเหลือ ๑๓,๗๓๖ บาท

ปัญหาอปุ สรรค
- มปี ระชาชนเขา้ มารว่ มงานค่อนข้างนอ้ ย ส่วนมากจะเป็นกลุ่มท่ีเกณฑม์ ารว่ มงาน(อสม.)

ข้อเสนอแนะ

- อยากให้มีการจัดงานแบบแบ่งเป็นภาคเหมือนเดิม และอยากให้เพ่ิมการประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น
เพื่อประชาชนจะได้ทราบและสนใจที่จะมารว่ มงานมากขึน้ เกดิ ความคุม้ คา่ ในการจัดงาน
โครงการ สรรหากรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ดิ ้านการแพทยแ์ ผนไทยระดับจังหวัด จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปี ๒๕๕๙

ผลการดาเนนิ งาน

มคี ณะกรรมการสรรหาผ้ทู รงคุณวฒุ ริ ะดับจังหวัด(ก.ส.จ.)จงั หวัดสพุ รรณบุรี (ปี ๒๕๕๙)

๑. นายสมควร ศรีสาราญ กรรมการกลุม่ หมอพน้ื บา้ น

๒. นางขนิษฐา หลาโต กรรมการกลมุ่ องคก์ รเอกชนพัฒนาดา้ นแพทย์แผนไทย

๓. นางฉวีวรรณ มว่ งน้อย กรรมการกลมุ่ นักวิชาการ

กลุ่มงานพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

๔. น.ส.บุปผา พงษ์พานชิ กรรมการกลมุ่ ผู้ผลติ หรอื จาหนา่ ย
๕. น.ส.กฎิ าวรรณ สายทอง กรรมการกลุ่มผปู้ ลกู หรอื ผู้แปรรูปสมุนไพรยาแผนไทย

งบประมาณ

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๒๐,๐๐๐ บาท ในส่วนการสนับสนุนนาย

ทะเบยี นจังหวัดปงี บประมาณ ๒๕๕๙

- ใชไ้ ป ๑๕,๐๐๐ บาท

- คงเหลอื ๕,๐๐๐ บาท

ปัญหาอปุ สรรค
- กล่มุ เปาู หมายส่วนมากเปน็ ชาวบา้ น และมักไมใ่ หค้ วามสนใจในการเข้าร่วมการสรรหาฯ

ขอ้ เสนอแนะ
- กรรมการฯ ที่ได้รับการสรรหาตามตามพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์

แผนไทย พ.ศ.๒๕๔๒ มีวาระการดารงตาแหน่งส้ันเกินไป ควรมีการแก้ไขให้มีระยะเวลาการดารงตาแหน่งให้
มากขน้ึ กวา่ เดิม

กลมุ่ งานโรคไมต่ ิดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

รายงานผลการดาเนินงานกลุ่มงานโรคไม่ตดิ ตอ่ สขุ ภาพจิตและยาเสพตดิ ปี 2559

1) งานควบคมุ การบรโิ ภคเคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์และยาสูบ

จากสถานการณ์การบริโภคเครอื่ งดื่มแอลกอฮอลข์ องประเทศไทย เฉล่ยี รอ้ ยละ 15.7 เปน็ ปจั จัย

เส่ียงทางสุขภาพลาดับที่หน่ึง โดยก่อภาระโรคคิดเป็นร้อยละของภาระโรคทั้งหมดซึ่งสูงกว่าค่าเฉล่ีย

นานาชาติอย่างชดั เจนและกวา่ รอ้ ยละ 70 ของอุบัติเหตุบนท้องถนนเกิดจากเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ความชุก

ของนักด่ืมในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี เฉลี่ยร้อยละ 14 และปริมาณการบริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของ

ประชากรไทยโดยเฉลี่ยคิดเป็น 31.5 (เฉลี่ยคดิ เปน็ 52 ลติ ร/คน/ป)ี อายุเฉลยี่ ท่ีเพศชายจะเร่ิมดม่ื ที่อายุเฉล่ีย

19.4 ปี และ เพศหญิงเร่ิมดื่มท่ีอายุเฉลี่ย 24.5 ปี (แหล่งข้อมูล :สคร.4 ราชบุรี :จากการสารวจของ

สานกั งานสถติ ิแหง่ ชาตใิ นปี 2554)

** ในปี 2554 จังหวัดสพุ รรณบุรี พบ ประชากรวัยรุน่ มีความชกุ ของนกั ดืม่ ร้อยละ 5.0

การบรโิ ภคยาสูบในประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ.2534-2556 พบว่า ในช่วงแรก (ปี พ.ศ.2534-2550) อัตรา

การสูบบุหรี่มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง จากอัตราผู้สูบบุหร่ี ร้อยละ 32.0 ในปี พ.ศ.2534 เป็น ร้อยละ

21.22 ในปี พ.ศ.2550 โดยมีอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉล่ียลดลง ร้อยละ 2.50 ต่อปี ช่วงหลัง (ปี พ.ศ.

2550-2556) อัตราการสูบบหุ รี่มีแนวโน้มค่อนขา้ งคงท่ี จากเดิม (พ.ศ.2550) ลดลงเป็น ร้อยละ 20.70 ใน

ปี พ.ศ.2552 และกลบั เพิ่มขนึ้ เปน็ รอ้ ยละ 21.36 ในปี พ.ศ.2554 และลดลงในปีปัจจุบัน (พ.ศ.2556) ร้อย

ละ 19.94 โดยมีอัตราการเปลยี่ นแปลงเฉล่ียลดลง รอ้ ยละ 0.97 ตอ่ ปี

สถานการณ์การบริโภคยาสูบระดับประเทศ ปี 2556 พบประชากรไทยอายตุ ั้งแต่ 15 ปีขึน้ ไป ใช้

ผลิตภณั ฑ์ยาสูบปจั จุบันชนิดมีควัน ร้อยละ 19.94 เป็นเพศชาย 39.0 เพศหญงิ 2.05

จากขอ้ มลู พบว่า เพศชายมสี ดั ส่วนการใชผ้ ลิตภัณฑย์ าสูบชนดิ มีควันสูงกว่าเพศหญิงเท่ากับ 68.4

:1

ปี พ.ศ.2554 อัตราการสูบบุหรี่ของประชากรรวม ในจังหวัดสุพรรณบุรี คิดเป็นร้อยละ

16.65 และปรมิ าณการสบู บุหรี่ของผู้สบู บุหรี่ปจั จุบัน (มวนตอ่ คนต่อวนั ) คดิ เป็นรอ้ ยละ 9.74

ตารางท่ี 1 : แสดงความชุกของนักดื่มในประชากรวัยรุ่น (อายุ 15-19 ปี) ในเขตพื้นที่ สคร.4 ราชบุรี

จาแนก รายจงั หวดั

จงั หวดั ชาย (ร้อยละ) หญิง(ร้อยละ) รวม (ร้อยละ)

สมทุ รสาคร 21.6 0 10.7

ประจวบคีรีขนั ธ์ 19.6 0.7 10.5

กาญจนบรุ ี 18.9 0.8 10.2

นครปฐม 19.7 0.2 9.9

ราชบุรี 9.5 0.8 5.3

สพุ รรณบุรี 9.2 0.6 5.0


Click to View FlipBook Version