The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-30 23:16:01

รายงานประจำปี2559

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

กล่มุ งานโรคไมต่ ิดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

ขอ้ มูลการเขา้ ถงึ บริการผู้ปวุ ยโรคซมึ เศร

รา้ จากฐานข้อมูล โรงพยาบาลพระศรกมี ลหมุ่ างโาพนธโริ์ คไมต่ ดิ ต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด
ตก. 1

กล่มุ งานโรคไมต่ ดิ ต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
6) การป้องกันการเสียชวี ิตจากการจมนา้ กลุ่มเดก็ วัยเรยี นอายุต่ากว่า 15 ปี

: ปูองกันการเสยี ชวี ติ ของเด็ก (อายุต่ากว่า 15 ปี) จากการจมน้า
- นโยบายปีงบประมาณ 2559 ลดอัตราการเสียชีวติ จากการจมนา้ ของเดก็ อายุตา่ กว่า 15

ปี เหลือนอ้ ยกว่า 5 ต่อประชากรเด็กแสนคน

- เปูาหมายปี 2559 (ระดับเขต) จานวนและอตั ราการเสียชีวิตตอ่ ประชากรเดก็ 100,000

คน ปี 2557 และคา่ เปาู หมายปี พ.ศ.2559 จาแนกตามรายเขตสุขภาพ

เขต Base line ปี พ.ศ.2557 เปาู หมายปี พ.ศ.2559

จานวน(คน) อัตราตายต่อประชากรเดก็ แสนคน (อัตราตายต่อประชากรเด็กแสนคน)

5 80 8.7 6.9

- เปาู หมายการลดการเสยี ชีวิตจากการจมน้าของเดก็ อายุต่ากวา่ 15 ปี จาแนกพื้นทเี่ สยี่ ง

ต่างๆและเปูาหมายการสรา้ งทีมผกู้ ่อการดี(ใหม่) จาแนกรายจังหวัดเขตสขุ ภาพที่ 5 (base line : จานวน

ผ้เู สียชวี ติ ปี 2557,ทมี ผกู้ อ่ การดี ปี 2558)

เปูาหมายปี59 จานวน เปูาหมาย

จานวน ประชากร อตั รา (ไมเ่ กิน) ทีม จานวน ป5ี 9
ผ้กู ่อการ
จังหวดั ตายป5ี 7 เด็ก จานวน อัตรา ดีป5ี 8 อาเภอ ผู้ก่อการดี
(คน) (คน) (ทีม) (แห่ง) ทีมใหม่
(ทมี )

กาญจนบุรี 18 162,743 11.1 14 8.6 0 13 7

สมทุ รสงคราม 2 30,139 6.6 1 3.3 0 3 1

ประจวบครี ขี ันธ์ 12 99,608 12.0 10 10.0 1 8 4

เพชรบรุ ี 11 82,018 13.4 9 11.0 1 8 4

สพุ รรณบรุ ี 14 144,344 9.7 11 7.6 0 10 5

กล่มุ งานโรคไมต่ ิดต่อ สขุ ภาพจิตและยาเสพติด

สมุทรสาคร 4 98,574 4.1 3 3.0 0 3 1

ราชบุรี 12 148,933 8.1 10 6.7 0 10 5

นครปฐม 7 155,084 4.5 6 3.9 0 7 1

มาตรการสาคัญ : การดาเนินงาน”ผ้กู ่อการดี(Merit Maker ) ปูองกันการจมน้า /การสือ่ สาร
ประชาสัมพนั ธ์ และการเฝาู ระวงั ติดตามประเมินผล

กลไกลการดาเนินงานและการบริหารจัดการ : ผ่านกลยุทธ์ “ผูก้ อ่ การดี(Merit Maker ) ปอู งกนั การ
จมนา้ และ”อาเภอควบคุมโรคเข้มแขง็
แนวทางการดาเนนิ งาน

1) ผลักดนั และสนับสนนุ ให้เกดิ ทีมเครือข่ายผกู้ ่อการดี(Merit Maker ) : จัดประชมุ ชีแ้ จงแนว
ทางการดาเนินงานใหห้ นว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้องในพืน้ ท่เี ขา้ ใจแนวทางการดาเนินงานเพื่อการยอมรับและตอบ
รับเขา้ รว่ มกจิ กรรมสร้างทมี ผู้กอ่ การดโี ดยชมุ ชนเมอ่ื เดือนมีนาคม 2559

2) ดาเนินงานรว่ มกับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ/ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก : ในการจดั อบรมฝึกทกั ษะการ
ว่ายนา้ เอาชวี ติ รอด และหลักการ ตะโกน โยน ยน่ื

3) สอบสวนและรายงานการจมน้าเสียชวี ติ ของเดก็ ทุกราย(one page) และมีการนาข้อมุลไปใช้
ประโยชน์ : ใชท้ ีม SRRT ของแตล่ ะพ้ืนทีด่ าเนินการสอบสวนและรายงาน
ขอ้ มลู แสดงผลการดาเนนิ งาน

รายงานผลการดาเนนิ งาน

ลาดับ ประเด็นการประเมินผล ผลการดาเนินงาน ปญั หาอุปสรรค

1 มกี ารสร้างทมี ผู้ก่อการดี เปูาหมายคอื ทาทกุ อาเภอ อาเภอละอย่างน้อย 1 ทีม การสอ่ื สารและ
ประชาสมั พันธ์ ยัง
(ทีมใหม่) ท่ีสมัครใจ  มี  ไมม่ ี ไม่ทั่วถงึ ท้องถนิ่
ดาเนนิ งานปูองกัน

การจมน้า (อย่างนอ้ ย จานวน 11 ทมี ไดแ้ ก่ (ระบุรายชอื่ ทมี )

อาเภอละ 1 ทีม) 1. ทมี วังนา้ ซับ (ต.วงั น้าซบั อ.ศรีประจนั ต)์

2. ทมี โพธิ์พระยา (ต.โพธ์ิพระยา อ.เมอื งฯ)

3. ทมี เขาพระ (ต.เขาพระ อ.เดมิ บางฯ)

4. ทีมนคิ มกระเสยี ว (ต.นคิ มกระเสียว อ.ดา่ นช้าง)

กลมุ่ งานโรคไม่ติดต่อ สขุ ภาพจิตและยาเสพติด

ลาดับ ประเด็นการประเมินผล ผลการดาเนนิ งาน ปัญหาอุปสรรค

5. ทีมหว้ ยขม้นิ (ต.หว้ ยขมิ้น อ.ด่านชา้ ง)

6. ทมี บ้านสระ (ต.บา้ นสระ อ.สามชุก)

7. ทีมบอ่ สพุ รรณ (ต.บ่อสพุ รรณ อ.สองพ่นี อ้ ง)

8. ทมี เทศบาลตาบลดอนเจดีย์ (ต.ดอนเจดีย์ อ.ดอนเจดยี )์

9. ทีมจระเขส้ ามพัน (ต.จระเขส้ ามพนั อ.อู่ทอง)

10. ทมี หนองโพธิ์ (ต.หนองโพธิ์ อ.หนองหญ้าไซ )

11. ทีมโคกคราม (ต.โคกคราม อ.บางปลามา้ )

2 มกี ารดาเนินงาน ทีมผูก้ อ่ การดี มีการดาเนนิ งานองคป์ ระกอบใดบ้าง จังหวัดร่วมกบั ทีม

อย่างนอ้ ย 3 องคป์ ระกอบ องค์ประกอบ จานวน (ทมี ) สคร. กาหนดลง
11 พ้ืนที่ติดตาม 8
จาก 6 องค์ประกอบ 1 สถานการณ์และข้อมลู อาเภอทเ่ี หลือใน

หมายเหตุ เน่ืองจากแตล่ ะ 3 วันที่ 21-22 ก.ค.59
พื้นทมี่ ีความพร้อมไมเ่ ท่ากัน 2 การจัดการแหล่งนา้ เสี่ยง

ดงั น้ัน 3 องคป์ ระกอบแรกที่ 3 การดาเนนิ การในศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก 11

พน้ื ที่จะเลอื กดาเนนิ การ 4 การให้ความร้ใู นสถานบรกิ ารสาธารณสขุ / 11
จึงขนึ้ อยู่กับความพร้อม ชมุ ชน
ของพืน้ ท่ี

5 การเรียนการสอนหลักสูตรว่ายน้า 2 ทีม

เพ่ือเอาชีวติ รอด (ดา่ นชา้ ง/บางปลาม้า)

6 การสื่อสารประชาสมั พนั ธ์ 11

3 มกี ารดาเนินงาน ทมี ผกู้ อ่ การดี ทมี่ กี ารดาเนินงานครบทัง้ 6 องค์ประกอบ

ครบท้ัง 6 องค์ประกอบ จานวน ๑ ทีม ไดแ้ ก่ ทีมวังน้าซับ อาเภอศรีประจันต์

กลุ่มงานโรคไม่ตดิ ต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

แสดงขอ้ มูลเชิงปรมิ าณ เดก็ จมน้า
ลาดับ ตัวชี้วัด อาเภอ เปาู หมาย เสยี ชีวิต อัตรา

ปชก.กลางปี ปีงบ59(คน)

1 อตั ราการเสยี ชวี ิตจากการจมน้าของเดก็ อายุ เมอื ง 22,762 0 0.00

ต่ากว่า 15 ปี ไมเ่ กิน 6.5 ตอ่ แสนประชากร เดิมบางฯ 9,266 1 10.79

ดา่ นชา้ ง 10,363 1 9.65

(ตวั ชี้วัดจงั หวัดไมเ่ กิน 11 คน อตั รา 9.37 บางปลาม้า 10,127 0 0.00

ต่อแสนประชากรเด็กเป้าหมาย) ศรีประจันต์ 8,037 0 0.00

ดอนเจดยี ์ 6,745 0 0.00

สองพ่นี ้อง 20,600 0 0.00

สามชุก 6,752 0 0.00

อู่ทอง 17,453 0 0.00

หนองหญา้ ไซ 7,117 0 0.00

รวมจังหวดั 119,222 2 1.68

แหล่งข้อมลู : ระบบรายงาน

จากตารางจะเหน็ วา่ หากเปรียบเทยี บเปาู หมายตัวช้ีวัด การเสียชวี ิตของเด็กอายตุ ่ากว่า 15 ปี ยงั ไม่
เกนิ เกณฑ์ อาจมีผลจากปนี ี้ปญั หาภัยแลง้ ทาให้ปริมาณน้าในแหลง่ น้าตา่ งๆมีน้อย แต่ท้ังน้ี พ้นื ท่ตี ้องเฝาู ระวงั
แหล่งนา้ อนื่ ๆด้วย เนอ่ื งจากเดก็ ท่เี สียชีวิตของอาเภอเดิมบางนางบวช จุดเกิดเหตุเปน็ ร่องนา้ ปลูกผกั

กลุ่มงานโรคไม่ตดิ ต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

 แสดงการเสยี ชวี ติ จากการจมน้าของเด็กอายตุ ่ากวา่ 15 ปี เปรยี บเทียบเปูาหมายเกณฑช์ ้ีวัดระดบั

จงั หวดั (กระทรวงกาหนด)

กระทรวงกาหนดเกณฑ์ชี้วัดจังหวัดปี59 สถานการณก์ ารเสยี ชีวติ จากการจมน้า

ของเด็กอายตุ า่ กวา่ 15 ปี

ตัวชวี้ ดั เปูาหมายตวั ชี้วัด อตั รา จานวนเสียชีวิต อตั รา

จังหวัด (คน)

จานวนการเสยี ชีวิตจากการจมน้าของ 11 คน 9.7 2 1.68
เดก็ อายุต่ากวา่ 15 ปี

ความสาเร็จจากการตดิ ตาม
- ความรว่ มมือของหน่วยงานระดับจังหวดั ใหค้ วามสนใจและประสานงาน ใหก้ ารสนับสนุนหนว่ ยงาน

ในกากับระดบั ท้องถิ่นเข้ามามีส่วนรว่ มและดาเนนิ กิจกรรมสร้างทมี ผกู้ ่อการดีใหม้ ีความชัดเจนย่งิ ขนึ้
- ความร่วมมือของผูน้ าท้องถ่ิน ให้ความสาคัญและสนับสนุนงบประมาณในการดาเนินงาน

ปญั หา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ

ปัญหา/อุปสรรค/ปจั จัยท่ีทาใหก้ าร ข้อเสนอแนะ
ดาเนินงานไมบ่ รรลุวัตถุประสงค์

-การสอ่ื สารและประชาสมั พันธย์ ัง การดาเนินงานดังกลา่ วหนว่ ยงานหลกั ท่เี ก่ียวข้องต้องเข้ามามี

ไม่ทวั่ ถงึ ในชมุ ชน บทบาทบูรณาการบทบาทหน้าทรี่ ่วมกัน เพ่ือผลกั ดันใหท้ ้องถ่ิน

ขาดการประสานงาน/ความต่อเนอื่ ง ชุมชนจดั กจิ กรรม/สรา้ งทีมเฝูาระวงั ปอู งกนั ให้เปน็ รูปธรรม มีความ

ระหวา่ งหนว่ ยงานที่เก่ยี วข้อง เขม้ แข็งดาเนินการโดยชุมชน

ข้อเสนอแนะ

1) ระดับนโยบายส่วนกลางควรมีการประสานงานกับหนว่ ยงานท่คี วบคมุ กากับท้องถิน่ ให้เข้ามามี

บทบาทในการบริการจดั การสนบั สนนุ งบประมาณในการฝึกอบรมหลกั สูตรสอนว่ายน้า

2) ขอให้สนบั สนนุ งบประมาณในการดาเนินงาน เชน่ ค่าใชจ้ ่ายในการจัดอบรมหลักสตู รสอนวา่ ยนา้

การจัดหาสระว่ายนา้ เคล่ือนที่ ให้พ้ืนที่ โดยใช้งบท้องถ่นิ

6.นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง (ถา้ มี)

กลมุ่ งานโรคไม่ติดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

7) งานคดั กรอง Blinding Cataract ในผูส้ ูงอายุ

: กลุ่มผู้สูงอายุ : ไดร้ บั การคัดกรองวดั สายตา และผูป้ ุวย Blinding Cataract ไดร้ ับการผา่ ตัดตอ้ กระจกภายใน
30 วนั
สถานการณ์ : ปี 2558 จังหวัดสุพรรณบุรี มีประชากรผู้สูงอายุ 154,889 ราย ได้รับการคัดกรองสายตา
จานวน 107,412 ราย คดิ เป็นร้อยละ 96.35 มีโรงพยาบาล 3 แหง่ ที่ผ่าตดั ตอ้ กระจก ได้แก่ รพ.เจ้าพระยายม
ราช รพ.สมเด็จฯ และ รพ.เดิมบางนางบวช และมีผู้ปุวย Blinding Cataract ได้รับการผ่าตัดต้อกระจก
ภายใน 30 วัน ผลงาน 3 โรงพยาบาล ดังนี้ รพ.เจ้าพระยายมราช ร้อยละ 83.91 รพ.สมเด็จฯ ร้อยละ 88.89
และรพ.เดมิ บางฯ รอ้ ยละ 92.05 ดังน้ัน การพัฒนางานให้มปี ระสทิ ธิภาพยิง่ ข้ึน

มุ่งเน้นกระบวนการคัดกรองสายตาและส่งต่อผู้ปุวยBlinding Cataract ได้รับการผ่าตัดต้อ
กระจกภายใน 30 วัน ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 100 และลดอตั ราการตาบอดจากตาต้อกระจกให้ตา่ กว่ารอ้ ยละ 0.5

เปา้ หมาย : ผู้สูงอายุ 60 ปขี ึน้ ไปไดร้ บั การคัดกรองวดั สายตา และ ผปู้ ุวย Blinding
Cataract ไดร้ บั การผา่ ตดั ต้อกระจกภายใน 30 วัน ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 100 ( 1,800 ราย)
มาตรการ/เปา้ หมายความสาเร็จของงานในแตล่ ะระยะการติดตาม/ประเมนิ (Small Success)

มาตรการ เปาู หมาย 3 ด. เปาู หมาย 6 ด. เปูาหมาย 9 ด. เปูาหมาย 12 ด.

1) การคดั กรองสายตาโดย อส 1) กลมุ่ เปาู หมาย 1) กลมุ่ เปาู หมายไดร้ บั 1) กลุม่ เปูาหมายได้รับ 1) กลุ่มเปูาหมายไดร้ บั
ม.วัดนับน้ิว 3 เมตร เพือ่ คน้ หา ได้รบั การคดั กรอง การคดั กรองสายตาไม่ การคดั กรองสายตาไม่ การคัดกรองสายตาไม่
Blinding cataract ครอบคลมุ สายตาไม่นอ้ ยกว่า นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 นอ้ ยกว่าร้อยละ80 นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ100
ทุกพ้นื ท่ี ร้อยละ 40
2) ร้อยละ 70 ของ 2) ร้อยละ 90 ของ 2) ร้อยละ 100 ของ
2) การพัฒนาศักยภาพ 2) ร้อยละ 50 ของ กลุม่ เปูาหมาย ได้รับ กลมุ่ เปาู หมาย ได้รับ กลุม่ เปาู หมาย ไดร้ ับการ
การผา่ ตัด Blinding การผ่าตดั Blinding ผา่ ตัด Blinding
บุคลากรสาธารณสุขใน รพ. / กลมุ่ เปาู หมาย ไดร้ บั cataract ไม่เกนิ 30 cataract ไมเ่ กนิ 30 cataract ไมเ่ กิน 30 วัน
วัน วัน
รพ.สต. ในการตรวจยนื ยันการ การผา่ ตดั Blinding

คัดกรองสายตา วดั VA ด้วย cataract

snellen chart ไมเ่ กิน 30 วนั

3) Blinding cataract ทกุ ราย

ได้รบั การผา่ ตัดตอ้ กระจก ใน

รพศ. /รพท. และรพ.เดมิ บางฯ

มากกวา่ 1,800 ราย

กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

แนวทางการตดิ ตามประเมนิ ผล

ตวั ชวี้ ดั มาตรการ วธิ ีการวัด/จดั เกบ็ เครอื่ งมือ ความถี่การเกบ็ ผ้รู บั ผิดชอบ
ข้อมูล

ร้อยละของกลมุ่ เปูาหมาย จานวนผ้สู งู อายุ 60 ปี รายงานโปรแกรม ทกุ ไตรมาส สสจ. /รพ./สสอ./
ได้รบั การคดั กรองสายตา ขน้ึ ไป ท่ไี ด้รบั การคดั รพ.สต.
ครอบคลมุ ทกพนื้ ท่ี กรองสายตาตาม WWW.vision2020thailand.org
แนวทางที่กาหนด

ร้อยละของกลมุ่ เปาู หมาย จานวนผูป้ ุวย Blinding รายงานโปรแกรม ทกุ ไตรมาส สสจ. /service
ไดร้ บั การผา่ ตดั ต้อกระจก cataract ไดร้ บั การ plan ตา สพุ รรณฯ
Blinding cataract ตาม ผ่าตดั ต้อกระจกภายใน WWW.vision2020thailand.org และเขต 5
ระยะเวลาทีก่ าหนด 30 วัน

ขอ้ มูลแสดงผลการดาเนนิ งาน
ตารางแสดงผลงานตามตวั ช้ีวดั จาแนกรายอาเภอ

ลาดบั ตัวชว้ี ัด อาเภอ เปูาหมาย ผลงาน รอ้ ยละ

1 ผูส้ ูงอาย6ุ 0 ปขี ึ้นไป ไดร้ บั การคดั กรองวัดสายตา เมอื ง 33828 20031 59.21

โดย อสม. เดิมบางฯ 22796 14227 62.41

ดา่ นชา้ ง 9134 6119 66.99

บางปลามา้ 15624 12023 76.95

ศรปี ระจนั ต์ 13046 9565 73.32

ดอนเจดีย์ 8482 6221 73.34

สองพน่ี ้อง 19120 17237 90.15

สามชกุ 10458 8291 79.28

กลมุ่ งานโรคไมต่ ิดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

อูท่ อง 22028 18681 84.81

หนองหญา้ ไซ 8754 6618 75.60

รวม 163270 119013 72.89

แหลง่ ข้อมลู รายงานโปรแกรม WWW.vision2020thailand.org วันท่ี 17 ตลุ าคม 2559

จากตารางข้างต้น จะเห็นว่า ผลงานการคดั กรองวัดสายตาเบอ้ื งต้น โดย อสม. ในรอบ 7
เดือน ภาพรวมจังหวัดรอ้ ยละ 72.89 ซง่ึ เปูาหมาย Small Success รอบ 6 เดอื น

อาเภอที่มีผลงานสูงสดุ 3 อันดับ ได้แก่ อาเภอสองพีน่ ้อง ร้อยละ 90.15 อาเภออทู่ อง ร้อยละ
84.81 และอาเภอสามชกุ รอ้ ยละ 79.28 ตามลาดบั
ตารางที่ 2 ผลงานตามตวั ชว้ี ัดจาแนกรายอาเภอ

ผลงานคดั กรองวดั สายตา

ลาดบั ตวั ช้ีวดั อาเภอ เปูาหมาย สงสัย ตรวจยืนยัน ตรวจยนื ยัน

ตาบอด โดย จนท. โดยทมี จักษุ
(โดย อสม.) รพ.สต./รพ.

2 ผลการคดั กรองวัด เมือง 20031 1551 66 184

วัดสายตาเบ้อื งตน้ เดิมบางฯ 14227 916 316 443

โดย อสม. ด่านช้าง 6119 688 170 91

บางปลาม้า 12023 1164 37 76

ศรปี ระจันต์ 9565 929 37 116

ดอนเจดยี ์ 6221 522 230 57

สองพี่น้อง 17237 1106 509 239

สามชุก 8291 563 12 131

กล่มุ งานโรคไม่ตดิ ต่อ สขุ ภาพจิตและยาเสพติด

อทู่ อง 18681 1557 258 150

หนองหญ้าไซ 6618 1089 102 123

รวม 119013 10085 1737 1610

แหลง่ ขอ้ มูลรายงานโปรแกรม WWW.vision2020thailand.org วันที่ 17 ตุลาคม 2559

จากตารางจะเห็นวา่ การดาเนินงานมกี ระบวนการขน้ั ตอนของการปฏบิ ตั ทิ ่ีชดั เจน เป็นระบบ
ผลการคัดกรองวัดสายตาเบ้ืองตน้ กลุม่ ท่ี อสม.ตรวจวดั สายตาสงสัยตาบอด จะถกู สง่ ไปตรวจยนื ยนั โดยจนท.
ของ รพ.สต. และ รพ. และส่งตอ่ ใหท้ ีมจกั ษุตรวจยืนยันวินจิ ฉยั รักษา

ตารางท่ี 3 : กลุม่ เปาู หมายได้รบั การผ่าตัดตอ้ กระจก Blinding cataract ตามระยะเวลาที่กาหนด

(ระยะเวลารอคอยคิวผ่าตดั )

กจิ กรรม รายละเอยี ด โรงพยาบาลท่ีผา่ ตดั

เจา้ พระยาฯ สมเดจ็ ฯ เดิมบางฯ อทู่ อง ศภุ มติ ร

Blinding cataract 512 138 671 9 95

ผ่าตัด(ราย) Severe LV 63 2 238 4 71

อ่ืนๆ 965 30 1291 30 641

รวม 1540 170 2200 43 807

เวลารอคอย ทัง้ หมด 29 16 15 41 1

เฉลย่ี ผ่าตดั (วัน) Blinding cataract 19.61 15.79 14.92 36.11 1.74

Non Blinding 32.85 15.81 15.88 42.97 1.49

% Blinding cataract 79.69 97.1 91.65 55.56 98.95

เกณฑช์ ้ีวดั ท่ีผา่ ใน 30 วัน

กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ สขุ ภาพจิตและยาเสพติด

% LV ทีผ่ ่าใน 90 วนั 87.56 96.67 99.3 100 100

แหล่งขอ้ มลู รายงานโปรแกรม WWW.vision2020thailand.org วนั ท่ี 17 ตลุ าคม 2559

จากตารางจะเหน็ ว่า ผลงานกลุม่ เปาู หมายไดร้ ับการผ่าตดั ต้อกระจก Blinding cataract
ตามระยะเวลาทีก่ าหนด (เปาู หมาย Small Success รอบ 6 เดือน ร้อยละ 70 ไดร้ บั การผา่ ตดั Blinding
cataract ไม่เกนิ 30 วัน) พบว่า ผลงานการผา่ ตดั ผา่ นเกณฑ์ท่ีกาหนด ผลงานสูงสุด ไดแ้ ก่ รพ.สมเด็จ ฯ
ร้อยละ 97.1 รพ.เดิมบางฯ ร้อยละ 91.65 รพ.เจ้าพระยาฯ ร้อยละ 79.69 และ รพ.ศุภมติ ร(เอกชน) ร้อย
ละ 98.95
ความสาเร็จ (Key Risk Area/ Key Risk Factor)

- การบรหิ ารจัดการเชิงระบบท่มี ีความต่อเน่ือง ชัดเจน
- บคุ ลากรท่รี บั ผิดชอบในระดับการคัดกรองฯส่งต่อเพื่อการวินจิ ฉัยรักษา มคี วามรู้ ความเข้าใจ และมี
ศักยภาพในการดาเนนิ งาน
- ทมี จกั ษุแพทย์มีการประสานการทางานเป็นโซนทีช่ ดั เจน

กลุ่มงานโรคไมต่ ิดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

8) งานป้องกันอุบตั เิ หตจุ ากการจราจร

ตวั ชวี้ ดั อตั ราตายจากอุบัตเิ หตุทางถนน ไม่เกนิ 16 ตอ่ ประชากรแสนคน
จังหวัดดาเนินการภายใต้มาตรการสาคัญ 3 มาตรการ ดังน้ี

1. มาตรการการบรหิ ารจัดการข้อมูลและการสอบสวนอุบัตเิ หตุ
1.1 การบรหิ ารจัดการข้อมลู และบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน ได้แก่ (ตารวจ บรษิ ัทกลาง และ

สาธารณสุข) ได้ชุดข้อมลู ทจ่ี าเปน็ (Core data set) ตอ่ การนาไปใช้ประโยชน์ เชอื่ มโยงเข้าสู่ Web EOC ใน
ส่วนกลาง

1.2 การจดั การและวเิ คราะหข์ ้อมูลจดุ เสย่ี ง/จดุ อันตราย เพื่อเสนอต่อศูนย์ความปลอดภยั ทางถนน
ระดบั จงั หวัด/อาเภอ/ท้องถิน่ หรอื เวทีอ่นื ๆ เพือ่ นาไปสูข่ ้อเสนอการแก้ไขจดุ เส่ยี ง อยา่ งน้อย 5 จุด/จังหวดั /ไตร
มาส

2. มาตรการชุมชน/ดา่ นชมุ ชน
2.1 สนับสนนุ การดาเนินการ ด้านวิชาการ รว่ มคิด ร่วมดาเนนิ มาตรการชุมชน และ “ด่านชมุ ชน”

ใหบ้ ุคลากรสาธารณสขุ /อสม. มีสว่ นร่วมดำเนนิ กำรอย่ำงจริงจงั
2.2 ขบั เคลอ่ื นการดาเนนิ งานปอ้ งกนั อุบตั เิ หตุทางถนน ผ่าน DHS/DC

3. มาตรการองคก์ ร
3.1 ดาเนนิ การมาตรการองค์กรตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ โดยปี 2559 เนน้ และมี

มาตรการความปลอดภัยของรถพยาบาลและรถยนตร์ าชการ และการสวมหมวกนริ ภัย

3. ผลการดาเนินงาน

ลาดับ ประเดน็ การประเมินผล ผลการดาเนินงาน ปญั หาอปุ สรรค

1. มกี ารบรหิ ารจดั การขอ้ มลู มีการบรู ณาการข้อมลู 3 ฐานหรอื ไม่ ผลเป็นการบรู ณาการอยา่ งไร และ

และบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน การนาไปใช้ประโยชน์อย่างไร

และนาเสนอตอ่ ศูนย์  ไมม่ ี  มี
อานวยการความปลอดภยั ศปถ.จ.สพ. โดย ปภ.สพ. (ฝุายเลขาฯ) รวบรวมขอ้ มลู จาก ๓ หน่วยงาน
ทางถนนจังหวดั /อาเภอ มาวิเคราะห์ สรปุ เปน็ ขอ้ มลู จังหวดั นาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการวางแผน
ปูองกนั และแกไ้ ขปัญหา เช่น การจัดต้ังจุดตรวจบรู ณาการ การจดั ทา

โครงการแกไ้ ขปัญหาในพน้ื ที่ การแกไ้ ขจดุ เสี่ยง ฯลฯ

กลุ่มงานโรคไมต่ ิดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

ลาดบั ประเด็นการประเมินผล ผลการดาเนนิ งาน ปัญหาอปุ สรรค

2. จงั หวดั มกี ารดาเนนิ การ 2.1 มกี ารวเิ คราะห์สถานการณ/์ ปจั จัยเสย่ี ง/จุดเสยี่ ง การเกิดอบุ ตั ิเหตุทาง

แกไ้ ขจุดเสี่ยง อยา่ งนอ้ ย 5 ถนนในระดบั จังหวัดทุกไตรมาส
จุด/จงั หวัด/ไตรมาส  ไมม่ ี  มี (ถา้ มี) ๒๑ จุด

2.2 มีการดาเนินการแกไ้ ขจดุ เสย่ี ง อยา่ งไรบ้าง

ดาเนินการโดย คณะกรรมการ ศปถ.อ. นาข้อมูลจุดเกดิ อุบตั ิเหตุ มา

พจิ ารณา ทปี่ ระชมุ เห็นชอบ จึงแจ้งประสานหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้อง

ดาเนินการ

3. สนับสนุนการดาเนินการ 3.1 มกี ารตั้งด่านชมุ ชน ๕๑ แหง่ ในพ้นื ที่ ๑๐ อาเภอ

ดา้ นวชิ าการ ร่วมคดิ ร่วม

ดาเนินมาตรการชุมชน และ

“ด่านชุมชน” ให้

บคุ ลากรสาธารณสุข/

อสม. มสี ว่ นร่วมดาเนินการ

อย่างจรงิ จัง

4. มกี ารดาเนนิ งานปอู งกนั 4.1 จานวนอาเภอทีม่ กี ารดาเนนิ งานปอู งกนั อบุ ัติเหตุทางถนนผา่ น

อบุ ัติเหตทุ างถนนในระดับ DHS/DC ระบุ ......... อาเภอ อยา่ งไรบา้ ง

อาเภอ ผ่านระบบสุขภาพ อาเภอทม่ี กี ารดาเนินงานปูองกนั อุบตั ิเหตุทางถนน ผ่าน DHS/DC จานวน
อาเภอ (DHS/DC) และ ๑๐ อาเภอ โดยประยุกตใ์ ชก้ ลยทุ ธ์ ๕ ส. (ส่วนรว่ ม, สหสาขาวิชาชพี
ประยุกต์ใชก้ ลยุทธ์ 5 ส. สารสนเทศ,สุดเสย่ี ง,สดุ คมุ้ (ผา่ น ศปถ.อาเภอ)

5 มาตรการองค์กร 5.1 มกี ารดาเนนิ งานขับเคลอ่ื นใหห้ น่วยงาน/องคก์ รอน่ื ๆ มมี าตรการ/

ดาเนนิ การมาตรการองค์กร กจิ กรรมเก่ียวข้องกับความปลอดภยั ทางถนน

ตามประกาศกระทรวง  ไม่มี  มี
สาธารณสขุ โดยปี 2559

เน้น และมมี าตรการความ 5.2 ผลการดาเนินการตามมาตรการองค์กร โดยปี 2559 เน้นความ

ปลอดภยั ของรถพยาบาล ปลอดภัยของรถพยาบาลและรถยนต์ราชการ และการสวมหมวกนริ ภัย

และรถยนตร์ าชการและการ เป็นอยา่ งไร ดาเนนิ การ สถานบรกิ ารสาธารณสขุ เป็นเขตสวมหมวกนิรภัย

สวมหมวกนริ ภัย ความปลอดภยั ของรถพยาบาลและรถราชการ ดาเนนิ การพฒั นา
ศกั ยภาพผู้ขบั รถพยาบาลและรถราชการ ในการขับขปี่ ลอดภยั และรถ

ราชการมีเขม็ ขดั นริ ภยั และใช้ความเร็วไมเ่ กินกฎหมายกาหนด

กลุ่มงานโรคไมต่ ดิ ต่อ สุขภาพจติ และยาเสพติด

แสดงข้อมูลเชิงปริมาณ
เปา้ หมาย : อตั ราการตายจากอบุ ัติเหตุทางถนน ไมเ่ กิน 16 ต่อแสนประชากรแสนคน

2559 Quick Win)

มาตรการจดั การ มาตรการป้องกนั มาตรการบริหารจดั การ/โครงสร้าง มาตรการรักษาพยาบาล
ขอ้ มลู 1.ไตรมาส1-2 ดาเนินการแกไ้ ขปัญหาจดุ 1.รพ.เจา้ พยายมราช จัดต้งั ศูนย์ 1.รพ.เจา้ พระยายมราช มรี ะบบ Trauma
เสี่ยงระดับจังหวดั เรยี บรอ้ ยแล้ว 11 จุด บรหิ ารงานอุบตั ิเหตุและฉุกเฉิน (Trauma Fast Track
1.มีการบูรณาการ 2. ไตรมาสที่ 1-เม.ย.59 อบุ ตั ิเหตุในจดุ Emergency Admin unit) 2.จัดทาแนวทางการป ิบัติการดแู ลรักษา
ข้อมูลการตาย 3 ฐาน เส่ียงระดับจังหวดั 11 จุด (เกิดอุบตั ิเหตุ 2. สสจ.จัดตั้งศนู ย์ EOC ตอบโต้ทกุ ภัย ผปู้ ่วยบาดเจ็บช่องท้องสาหรับ รพช.ใน
(ตร./สธ./บ.กลาง) 61 ครัง้ ) ลดลงร้อยละ 100 3. ทกุ อาเภอมโี ครงสร้างระบบบัญชาการ เครอื ขา่ ยจังหวดั สุพรรณบรุ ี
โดย ปภจ.เปน็ 3. จุดตรวจหลกั /จดุ บรกิ ารรว่ มปีใหม่ เหตุการณก์ ารเตรียมความพร้อมและตอบ 3.จดั ทา Trauma auditในผู้บาดเจ็บท่ี
เจ้าภาพหลกั โตส้ าธารณภัยด้านการแพทย์และการ เสียชีวติ Ps > 0.75 ผลงาน ร้อยละ 100
2.อัตราตาย ....... ต่อ ท้ังส้ิน 21 จดุ สาธารณสุขและผูร้ บั ผดิ ชอบท่ชี ดั เจน 4. ทุกรพ.ประเมนิ ตนเองตามเกณฑ์ ER
แสน ปชก. -จุดตรวจตกั เตือนประจาชุมชน/หมบู่ ้าน 4. ทุกอาเภอมคี ู่มอื ป ิบัติงาน SOP เตรียม คุณภาพ ภาพรวมทง้ั จังหวัด รอ้ ยละ 100
3.สอบสวนสาเหตุการ ด่านชุมชน ปีใหม่ทง้ั ส้ิน 51 จุด ความพร้อมและตอบโต้สาธารณภยั การ 5. การนาสง่ ผู้ป่วยอบุ ตั ิเหตุทางถนน
ตายระดับจังหวัด -จดุ ตรวจหลกั /จุดบรกิ ารร่วมสงกรานต์ บริหารจัดการระบบ ICS ด้านการแพทย์ ด้วยระบบ EMS /1669 ร้อยละ 96
และอาเภอสอบสวน ทั้งส้ิน 21 จุด และสาธารณสขุ 6. ผู้บาดเจ็บวกิ ฤต (สีแดง) จากอุบตั เิ หตุ
ทกุ ราย มกี ารประชมุ -จุดตรวจตกั เตือนประจาชมุ ชน/หมู่บ้าน 5.มกี ารซอ้ มแผนบนโต๊ะ table top ทางถนน นาส่งโดยรถพยาบาล ALS
เพือ่ กาหนดแนวทาง ดา่ นชมุ ชนสงกรานต์ ทง้ั สิน้ 57 จดุ exercise(TTX) รว่ มกนั ทง้ั จงั หวัดและ ร้อยละ 28.49
และทมี เมื่อวนั ท่ี 6 4.ทกุ หน่วยงานในสังกัด สธ. จานวน 20 ซอ้ มจรงิ ฯ 1 คร้ัง( ต. สวนแตง 21 มีค.59 7. ทุกโรงพยาบาล สง่ ตอ่ ผ้ปู ่วยในจังหวัด
มิย. 59 แห่ง ดาเนินการมาตรการองคก์ ร (การ 6. ติดตามกากบั การดาเนินงานในระดับ สุพรรณบรุ ี ตามระบบท่ีกาหนด
4.นาเสนอขอ้ มูล สวมหมวกนริ ภยั ) จงั หวัดผา่ นเวที กวป.ทกุ เดือน
ศปถ.จงั หวัด/อาเภอ 5.มีอบุ ัตเิ หตุของรถพยาบาล 2 ครั้ง 7. ทุกอาเภอใช้กระบวนการ DHS ในระดบั
สะทอ้ นปัญหาช้เี ปา้ 6.พนกั งานขับรถ EMS/Ambulance ของ อาเภอ และให้ สสอ.เป็นเลขานกุ ารร่วมกบั
สู่การแก้ไขจุดเสย่ี งทกุ โรงพยาบาลทุกแห่ง จานวน 71 คน ผ่าน ฝ่ายปกครองในศปถ.อาเภอ นาเสนอการ
เดือน การฝกอบรม Ambulance safety จดั การข้อมลู รวมทั้งติดตามการทางาน
54 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 76.06

มกี ารประสาน ้อมูล
ระหวา่ งหนว่ ยงาน ละ
คืน ้อมูล หห้ น่วยงานท่ี
เก่ียว ้องไปวเิ คราะห์
วาง ผน ก้ไ ดยผา่ น
ศปถ อาเภอ ทุกเดือน

:

กลมุ่ งานโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจติ และยาเสพติด

12000
10000

8000
6000
4000
2000

0

: 19

2500
2000
1500
1000

500
0

Admit

: 19

กลมุ่ งานโรคไม่ตดิ ต่อ สุขภาพจติ และยาเสพติด

-- 2559

อาเภอ จดุ เส่ียง วธิ ีการ ก้ไ

) ตดิ ป้ ายเตอื น ไ ส่องสว่าง สตกิ เกอร์ ทงั นี
) ซ่อมผิวจราจร สญั ญาณไ กระพริบ ล การ ก้ไ จุด
) ซ่อมผิวจราจร ตดิ ป้ ายเตอื น เส่ยี ง น ต่ละ
- ย้ายจุดกลับรถไป เมตร พนื ท่ี คณะ
-ตดิ ตงั สญั ญาณไ กระพริบ ไ ส่องสว่าง กรรมการ
- ตดิ ป้ ายเตอื น ระดบั อาเภอ มี
การประชุม
- ตดั ก่งิ ไม้ อานวยการจราจร จดั อปพร วาง ผน ก้ไ
ปัญหา น ต่ละ
- ยายสะพาน ้ามคลอง ห้กว้าง นึ จุด ละ
- ตดิ ไ กระพริบ ป้ ายเตอื น นาเสนอ ้อมูล
ระดบั จงั หวัด
น ต่ละเดอื น

ความสาเร็จจากการตดิ ตาม
ศูนยอ์ านวยการความปลอดภัยทางถนนจงั หวัดและอาเภอ ใหค้ วามสาคัญและการมีสว่ นร่วม

ดาเนนิ การอย่างต่อเนือ่ ง ศปถ.จ.สพ. มีแผนการดาเนนิ งานปอู งกนั และลดอบุ ตั ิเหตุทางถนน โดยกาหนดการ
ดาเนนิ งานใน ๕ มาตรการ

๑.ด้านการบริหารจัดการ ได้จดั ตัง้ คณะกรรมการ ศปถ.จ.สพ./อาเภอ , ชดุ ผสมบรู ณาการเฉพาะกิจ
ตง้ั จดุ
ตรวจ, ทีมสบื สวนอุบตั ิเหตทุ างถนนจังหวดั สุพรรณบรุ ี กาหนดการประชมุ คณะกรรมการระดบั อาเภอ/จงั หวัด
เดือนละครั้ง
๒.ด้านถนนและการสัญจรอย่างปลอดภยั แขวงทางหลวงสุพรรณบรุ ี แขวงทางหลวงชนบท อบจ./
อปท.
การรถไฟฯ มีแผนดาเนนิ การซ่อมบารุง ท้ังสายหลักและสายรอง ปรับปรุงแกไ้ ขจุดเสย่ี ง จดุ อันตราย (ในปี ๕๘
วิเคราะหจ์ ุดเส่ียงจานวน ๗๕ จดุ แกไ้ ขไปแล้ว ๕๔ จุด คงเหลอื ยกมาดาเนินการในปี ๕๙ จานวน ๒๑ จุด)
๓.ด้านยานพาหนะที่ปลอดภยั สนง.ขนสง่ จ.สพ. ดาเนนิ การควบคมุ คณุ ภาพรถโดยสารสาธารณะ
มาตรการคนขับรถโดยสารสาธารณะ แอลกอฮอลต์ อ้ งเป็นศูนย์
๔.ด้านผูใ้ ชร้ ถใช้ถนนอย่างปลอดภยั ดาเนนิ การเขม้ งวดตรวจสอบรถทมี่ ีความเส่ียงสูง เนน้ หนกั
พฤติกรรมเสย่ี ง ๓ เร่อื งหลัก (ความเร็ว เมาสรุ า ไม่สวมหมวกนิรภัย) จดั กจิ กรรมปลูกจติ สานึกใหม้ ีความ
ตระหนกั ในการระมัดระวังปูองกันอุบัติเหตุ ผ่านโครงการเยาวชนคนดีศรสี พุ รรณ และประชาสัมพนั ธ์
มาตรการบงั คบั ใชก้ ฎหมาย

กลมุ่ งานโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

๕.ด้านการตอบสนองหลงั การเกดิ อุบตั ิเหตุ เตรียมความพร้อมและพฒั นาศักยภาพหนว่ ยบริการ
แพทยฉ์ ุกเฉิน และโรงพยาบาล (คณุ ภาพบริการ)

กลุ่มงานโรคไมต่ ิดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

9) งานป้องกนั ควบคุมโรคเบาหวานและความดนั โลหิตสูง

อตั ราตาย จากโรคหลอดเลอื ดหวั ใจลดลง ร้อยละ 10 ภายในระยะ 5 ปี (2558 - 2562)

เปา้ ประสงค์
1.เครือข่ายสุขภาพมีการดาเนินงานทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ
2.ยกระดบั และพฒั นาองค์กรให้ผา่ นเกณฑ์คณุ ภาพได้มาตรฐานและสอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาระบบ

บรกิ าร(Service Plan)
3.ระบบสนับสนนุ มีประสทิ ธภิ าพ
4.ประชาชนทุกกลมุ่ วัยมสี ุขภาพดี เหมาะสมตามวยั

ผลลพั ธ์ทต่ี ้องการ
1.การคัดกรองHT/DM ในประชากรอายุ 35 ปีขน้ึ ไป(ร้อยละ 90 )
2.ร้อยละของผปู้ วุ ยเบาหวานทค่ี วบคุมระดบั น้าตาลในเลอื ดไดด้ ี (ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 40)
3.ร้อยละผปู้ ุวยความดันโลหติ สูงท่ีควบคุมความดันโลหิตได้ดี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50)
4.ผู้ปวุ ยDM HT ได้รบั การประเมินภาวะแทรกซ้อน (CVD CKD ตา เท้า ร้อยละ 60)
5. กลมุ่ เสย่ี ง CVD (≥ 30%) ได้รับการปรับเปล่ยี นพฤติกรรมอยา่ งเขม้ ขน้ และ/หรือไดร้ บั ยาในการ

รกั ษาเพอ่ื ลดความเสี่ยงร้อยละ 50
6. คลนิ กิ NCD คณุ ภาพ ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 70

มาตรการสาคัญ

1.สง่ เสรมิ การเฝาู ระวงั การปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุ่มปกติ กลุม่ เสีย่ ง กลุม่ ปุวย
2.เสรมิ สรา้ งศักยภาพในการจัดการเชงิ ระบบ System Manager,Case Manager และMini Case
Manager
3.พัฒนาระบบบริการ NCD คุณภาพของโรงพยาบาลและรพ.สต.
แผนงาน/โครงการท่ีดาเนนิ การในปี 2559

โครงการ/กจิ กรรม ผลลัพธ์ท่ีต้องการ Small Success/ Quick Win
3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน

มาตรการท่ี1.ส่งเสรมิ การเฝาู ระวัง การ -ประชาชนกลุม่ วยั ทางาน ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ
ปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมสขุ ภาพ ในกลุ่ม อายุ 35 ปีขึ้นไป ไดร้ ับการ 60 70 80 90

กลุม่ งานโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

ปกติ กลุ่มเส่ยี ง กลุ่มปุวย ตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน 45.32/ 66.82/ 78/ 83.20/
และโรคความดันโลหติ สงู 46.36 66.56 83.29 87.58

กิจกรรม 94.04 93.24 92.60 93.82

- พฒั นาศักยภาพ ครู ก.ในการ -ผปู้ ุวยโรคเบาหวานและโรค

ปรับเปลยี่ นพฤติกรรมสขุ ภาพ ความดันโลหิตสูง ได้รับการ

ประเมนิ CVD Risk รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ
-พัฒนาศักยภาพ อสม.สาขาโรคเร้ือรัง
เพอื่ ช่วยดาเนินการการปรบั เปลี่ยน -กลุ่มปวุ ยDM/HT 50 50 50 50
75.50 77.84 95.13 95.10
พฤติกรรมสขุ ภาพในชุมชน
ท่ีมี CVD Risk≥30%ได้รับ

การปรบั เปล่ียนพฤติกรรม

อยา่ งเข้มข้น

-สนับสนนุ การดาเนนิ งานองค์กร/ ไม่มีตัวช้วี ดั แต่ดาเนนิ การ
หน่วยงาน/ชมุ ชนต้นแบบไร้พุง -สมัครเขา้ ร่วมโครงการฯ
-ดาเนนิ การในองค์กร

-ประเมินรบั รองศูนย์การเรียนรอู้ งค์กร (ไม่ไดด้ าเนินการเนือ่ งจาก รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ
ต้นแบบไร้พุง ไมม่ ตี วั ชว้ี ดั ) 100 100 100 100

-ดาเนนิ กิจกรรมในหม่บู า้ นต้นแบบ 4 หมบู่ า้ น
ปรับเปลย่ี นพฤติกรรม

มาตรการท่ี 2. - พัฒนาระบบการใช้ข้อมูล -มีการปรับระบบข้อมลู การประเมินเป็น Thai
การประเมิน Thai CV Risk CV risk score โดยใช้ข้อมูลเดมิ จากData
-เสรมิ สร้างศักยภาพในการจดั การเชิง Score ให้เหมาะสมกับ Center มาปรบั ใช้ใหเ้ กิดความสะดวก
ระบบ System manager,Case บริบทและเป็นแนวทาง รวดเร็ว และสามารถนาผลการประเมินไป

Manager และMini Case

กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

Manager เดยี วกนั ดาเนนิ การปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพใน
กิจกรรม กลุ่มเส่ยี งสูงมากและสงู อนั ตรายได้

-ประชมุ ทมี ระดับจังหวดั - การเกดิ นวตั กรรมที่ -มีการประชมุ คณะกรรมการ NCD Board
สามารถเปน็ แบบอยา่ งและ ร่วมกับService Plan สาขาโรคไม่ติดต่อ
เพ่อื พัฒนาการใชร้ ะบบข้อมูลตาม time นาไปใช้เพ่ือเพม่ิ เร้อื รงั และทีมงานสารสนเทศ เพื่อพัฒนา
line การดาเนนิ งาน ประสทิ ธิภาพในการ ระบบงาน รวม 2 คร้งั
ดาเนนิ งาน
-ออกนิเทศติดตามผลการดาเนนิ งาน
รว่ มกบั ทมี Service Plan

-การประกวดผลการดาเนินงาน “Best
Practice” ร่วมกับDHS/THS

โครงการ/กิจกรรม ผลลัพธ์ทต่ี ้องการ Small Success/ Quick Win
3 เดอื น 6 เดอื น 9 เดอื น 12 เดอื น
มาตรการที่3. - โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์
พัฒนาระบบบริการ NCD คลนิ ิก NCD คุณภาพ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ
คณุ ภาพของโรงพยาบาล 100 100 100
และรพ.สต. -รพ.สต.ผา่ นเกณฑค์ ลนิ ิก นารอ่ ง 0 0 0
NCD คณุ ภาพ 1 แหง่ /
อาเภอ
กิจกรรม
10/0 10/0 10/0
-ตดิ ตามการประเมนิ ตนเอง คลินกิ NCD
คุณภาพ ของรพ.และ รพ.สต.

กลุ่มงานโรคไมต่ ดิ ต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตนเองคลนิ ิก NCD คุณภาพ จงั หวดั สุพรรณบุรี ปี 2559

โรงพยาบาล ไม่ผ่าน ผ่าน รอ้ ยละ

เจ้าพระยายมราช / 100.00

เดมิ บางนางบวช / 100.00

ดา่ นชา้ ง / 100.00

บางปลามา้ / 100.00

ศรีประจนั ต์ / 100.00

ดอนเจดีย์ / 100.00

สมเดจ็ พระสงั ฆราชองค์ท่ี 17 / 100.00

สามชุก / 100.00

อ่ทู อง / 100.00

หนองหญ้าไซ / 100.00

รวม 10 100.00

ผลการประเมนิ ตนเองคลินิก NCD คุณภาพ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2559 ผา่ นเกณฑ์ทกุ โรงพยาบาล

กลุ่มงานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

สรุปผลการดาเนินงาน

อาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยงั่ ยืน

ส่วนท่ี 1

1.สถานการณ์ปัญหา

1.1 Base line data
กระทรวงสาธารณสุข ได้ตระหนักถึงภาวะคุกคามจากโรคและภัยสุขภาพต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพ

ชีวิตของประชาชน ซึ่งมีแนวคิดการดาเนินงานแบบบูรณาการ โดยให้ “อาเภอ”เป็นพื้นที่เปูาหมายในการสนับสนุน
การดาเนินงานในพ้ืนท่ี ให้สามารถรองรับนโยบายและการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการเฝูาระวัง
ปูองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพรวมถึงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขท่ีเหมาะสมกับ
บริบทของพ้ืนที โดยมุง่ เนน้ ผลักดนั ให้อาเภอพัฒนาตามคุณลักษณะของ “อาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบย่ังยืน” ซ่ึง
มีแนวทางการขับเคลอ่ื น 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) การขบั เคล่ือนเชิงนโยบาย 2) การพัฒนา/สนับสนุนด้านวิชาการ และ 3)
การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การดาเนินงานอาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน (Disease Control Competent
District: DCCD) ของจังหวดั สพุ รรณบรุ ี ทเี่ ขา้ สู่ปีทห่ี ก มกี ารดาเนินงานต่อเน่ืองสู่การพัฒนาให้เกิดความเข้มแข็งของ
ระบบการดาเนนิ งานเฝาู ระวงั ปอู งกันควบคุมโรค โดยในการดาเนินงานที่ผ่านมา ได้ใช้กรอบแนวคิด 5 คุณลักษณะ
ได้แก่ 1) มีคณะกรรมการปูองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 2) มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอาเภอ 3) มีการ
วางแผน กากับติดตามและประเมินผลการปูองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 4.) มีการระดมทรัพยากรหรือการ
สนบั สนนุ งบประมาณจากหน่วยงานที่เก่ียวข้องเป็นรูปธรรม และ 5) มีผลสาเร็จของการควบคุมปูองกันโรคท่ีสาคัญ
ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและเป็นปัญหาในพื้นท่ี โดยในสามปีท่ีผ่านมากระทรวงสาธารณสุขได้มีการปรับ
โครงสร้างและได้มีนโยบายการดาเนินงานเครือข่ายสุขภาพระดับอาเภอ หรือ District Health System: DHS ซ่ึง
เป็นการพัฒนางานระบบสุขภาพแบบบูรณาการที่ผสมผสานงานส่งเสริม ปูองกัน รักษาและฟื้นฟู เน้นการทางาน
ร่วมกันทั้งภาคีเครือข่ายในระดับอาเภอ โดยมีเปูาหมายให้เกิดอาเภอสุขภาวะ นั่นคือ สถานะสุขภาพของประชาชน
ในอาเภอดีขึ้น ประชาชนดูแลตนเองได้และทีมสุขภาพอาเภอมีความเข้มแข็ง พร้อมรับมือปัญหาสุขภาพท่ี
เปล่ียนแปลงไป โดยมีแนวทางในการพัฒนา ด้วยกลไกบันได 5 ข้ัน และให้มีโครงการแก้ไขปัญหาตามบริบทท่ี
เรียกว่า การดาเนินงานหน่ึงอาเภอหน่ึงประเด็นสุขภาพ (One District One Project: ODOP) ซ่ึงการดาเนินงาน
ของ DHS มสี ่วนคล้ายคลึงกับการดาเนินงานอาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบย่ังยืนในปีที่ผ่านๆ มา ดังนั้นเพื่อการบูร
ณาการงานดังกล่าวร่วมกับ DHS ในปี 2559 นี้จึงใช้กรอบแนวคิดในการดาเนินงานตามคุณลักษณะเช่นเดิม แต่ใช้
กรอบแนวคิดในการประเมินผลเพียง 2 คุณลักษณะเท่าน้ัน ได้แก่ 1) มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอาเภอ และ
2) มีผลสาเร็จของการควบคุมปูองกันโรคท่ีสาคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและเป็นปัญหาในพ้ืนที่ โดยให้
อาเภอดาเนนิ การกิจกรรมและประเมนิ ตนเอง โดยใชก้ รอบแนวคิดระบบสขุ ภาพอาเภอ (DHS) 5 ด้าน 5 ระดับ และ
ให้สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั ประเมินอาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยนื โดยใช้กรอบแนวคิดคุณลักษณะ 2 ด้าน
ที่กรมควบคุมโรคกาหนด แล้ว สคร.ดาเนินการประเมินอาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนระดับดี เพ่ือคัดเลือก
อาเภอที่มีผลงานดีเย่ียมเป็นตัวแทนเขต และกรมควบคุมโรคจะมีการมอบรางวัลและเชิดชูเกียรติอาเภอควบคุมโรค
เขม้ แขง็ แบบยง่ั ยนื ต่อไป

จังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบด้วย อาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบย่ังยืน ภายใต้ระบบสุขภาพอาเภอ ระดับ
จงั หวดั จานวน 1 แหง่ และระดับอาเภอ จานวน 10 แหง่

กลุ่มงานโรคติดต่อและควบคุมโรค

ผลงานปี 2554 -2557
จงั หวดั สพุ รรณบุรี ประเมนิ อาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบย่ังยืน โดยทีมประเมินระดับเขต ต้ังแต่ ปี 2554
ถึงปี 2557 ดงั นี้
ปี 2554 มอี าเภอทเี่ ขา้ รบั การเมินฯ จานวน 2 อาเภอ ได้แก่ อาเภอสองพ่ีน้องและอาเภอศรีประจันต์ โดย
ไม่ผา่ นการประเมนิ ฯ ตามเกณฑ์
ปี 2555 มีอาเภอท่ีเข้ารับการเมินฯ จานวน 2 แห่ง ได้แก่ อาเภอเดิมบางนางบวชและอาเภอ ด่านช้าง
พบวา่ ทกุ แหง่ ผา่ นการประเมินตามเกณฑ์ คดิ เป็นร้อยละ 20 ของอาเภอทัง้ หมดสะสมในระยะเวลา 3 ปี
ปี 2556 มีอาเภอท่ีเข้ารับการเมินฯ จานวน 4 แห่ง ได้แก่ อาเภอดอนเจดีย์ อาเภอสามชุก อาเภอ อู่ทอง
และอาเภอหนองหญ้าไซ ผลการประเมนิ ตามเกณฑ์ฯ พบวา่ ผา่ นจานวน 3 อาเภอ ได้แก่ อาเภอ ดอนเจดีย์ อาเภอ
สามชกุ และอาเภอหนองหญา้ ไซ คิดเป็นรอ้ ยละ 50 ของอาเภอทั้งหมดสะสมในระยะเวลา 3 ปี
ปี 2557 มีอาเภอท่ีเข้ารับการเมินฯ จานวน 3 แห่ง ได้แก่ อาเภอเมือง อาเภอบางปลาม้า และอาเภออู่
ทอง พบวา่ ทกุ แห่งผา่ นการประเมินตามเกณฑ์ คิดเปน็ ร้อยละ 80 ของอาเภอท้ังหมดสะสมในระยะเวลา 3 ปี
ปี 2558 มีอาเภอทีเ่ ข้ารบั การเมนิ ฯ จานวน 4 แหง่ ไดแ้ ก่ อาเภอสองพ่นี ้อง อาเภอศรปี ระจนั ต์ อาเภอเดมิ
บางนางบวช และอาเภอดา่ นช้าง พบวา่ ทกุ แหง่ ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 100 ของอาเภอทง้ั หมด
สะสมในระยะเวลา 3 ปี

ตารางที่ 1 อาเภอของจังหวัดสุพรรณบรุ ี ที่ผา่ นการประเมินอาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบย่ังยืน โดยสานักงาน

ปูองกันควบคมุ โรคท่ี ๔ จังหวัดราชบุรี ปี 2554-2557

อาเภอ ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558

ประเมนิ ผลการ ประเมนิ ผลการ ประเมนิ ผลการ ประเมิน ผลการ ประเมิน ผลการ

ประเมิน ประเมิน ประเมนิ ประเมิน ประเมนิ

เมอื ง  ผ่าน

สพุ รรณบรุ ี

เดมิ บางนาง  ผ่าน  ผ่าน

บวช

ดา่ นชา้ ง  ผา่ น  ผ่าน

บางปลาม้า  ผา่ น

ศรีประจนั ต์  ไม่ผา่ น  ผา่ น

ดอนเจดีย์  ผ่าน

สองพี่น้อง  ไมผ่ า่ น  ผา่ น

สามชุก  ผา่ น

อู่ทอง  ไมผ่ า่ น  ผา่ น

หนองหญ้า  ผา่ น

ไซ

รวมอาเภอ 0 2 5 8 10

ทผี่ ่านฯ

สะสม 3 ปี

ร้อยละ 0 20 50 80 100

กล่มุ งานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

ผลงานปี 2559

- ประชากรเปา้ หมาย ปี 2559
เปาู หมาย ระดับเขต
1. อาเภอสามชุก อาเภอหนองหญา้ ไซ รวม 2 แหง่

- ข้อมูลตามเปา้ หมาย
ในปี 2559 พบว่า การดาเนินงานของจังหวัดสุพรรณบุรี ผ่านเกณฑ์อาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ดงั ตารางท่ี 3 - 6
ตารางที่ 2 ผลการดาเนินงานตามตัวช้วี ดั ในปี 2559

ตวั ช้วี ัด การดาเนนิ งาน
เกณฑ์ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ

1) อาเภอผ่านเกณฑ์คุณภาพเบื้องตน้ ไม่นอ้ ยกว่า 10 10 100
การบรหิ ารจัดการและขบั เคล่ือนการ รอ้ ยละ 90
ปูองกัน ควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพท่ี
เข้มแข็งแบบยง่ั ยนื

ในปี 2559 พบวา่ การดาเนนิ งานของจังหวัดสพุ รรณบรุ ี ผ่านเกณฑค์ ุณภาพเบ้อื งตน้ การบรหิ ารจัดการและ
ขบั เคลอ่ื นการปูองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพท่ีเข้มแขง้ แบบย่งั ยืน คิดเป็นรอ้ ยละ 100

การดาเนินงานของอาเภอทั้งหมดของจังหวัดสุพรรณบุรี รวม 10 อาเภอ ผ่านเกณฑ์คุณภาพเบ้ืองต้นการ
บริหารจัดการและขับเคลื่อนการปูองกัน ควบคมุ โรคและภัยสุขภาพที่เขม้ แข้งแบบย่ังยนื คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

กลมุ่ งานโรคติดต่อและควบคุมโรค

ตารางที่ 3 ผลลัพธจ์ ากการดาเนินงานเปรียบเทียบกบั คา่ เปูาหมาย (ผลงาน 2559)

การดาเนินงาน

เกณฑ์ อาเภอ

ตัวชว้ี ัด

อาเภอผ่าน เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ
1 1 100
เกณฑ์คณุ ภาพ ไม่น้อยกวา่ 1.เมือง 1 1 100
1 1 100
เบ้ืองต้นการ ร้อยละ 100 2.เดิมบางนางบวช 1 1 100
1 1 100
บริหารจัดการ 3.ดา่ นช้าง 1 1 100
1 1 100
และขบั เคลอื่ น 4.บางปลาม้า 1 1 100
1 1 100
การปูองกนั 5.ศรีประจันต์ 1 1 100
10 10 100
ควบคมุ โรคและ 6.ดอนเจดีย์

ภัยสุขภาพท่ี 7.สองพ่ีนอ้ ง

เข้มแข็งแบบ 8.สามชกุ

ยัง่ ยืน 9.อทู่ อง

10.หนองหญา้ ไซ

รวมจงั หวัด

1.2 ปญั หาพืน้ ทเี่ ชงิ คณุ ภาพ
ไมม่ ี

กลุ่มงานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

1.3 ข้อมูล หรอื ปัญหาของกระบวนการทางาน
สรปุ ประเด็นปญั หา
ตารางท่ี 4 สรปุ ประเด็นปญั หา (ปี 2559)

ปัญหา ปจั จยั (กล่มุ ของ สาเหตุของปัญหา
ในชว่ งไตรมาสที่ 3 น้ันกจิ กรรมการดาเนินงานของ
สาเหตุ) จังหวดั มมี ีภาระงาน ประกอบกบั ผรู้ บั ผิดชอบงาน
ในระดับพื้นทีห่ รืออาเภอ ก็มีงานทีต่ อ้ งดาเนนิ การ
1. ในองค์ประกอบท่ี 3 ดา้ นการบรหิ าร เรง่ ด่วนเชน่ กัน ทาใหไ้ ม่สามารถดาเนนิ การได้ตาม
แผนงาน
จังหวดั ต้องมีระบบการ จัดการ
ขาดการประชุมช้ีแจงเกณฑ์ การกาหนดนโยบาย
ตดิ ตามความกา้ วหนา้ และ ใหผ้ ู้บริหาร คณะกรรมการ และผูป้ ฏบิ ัตงิ านได้
ทราบอย่างชัดเจน
ผลสาเร็จ พรอ้ มสรุปผลการ
ขาดการประชมุ และเปลี่ยนเรยี นรู้ วิเคราะห์สถานการณ์
ดาเนินงาน ปัญหา/อุปสรรค เพ่ือการพัฒนางานให้บรรลุตามเปูาหมายและ
จดุ ประสงค์
และข้อเสนอแนะ เพื่อ

สนับสนนุ การพัฒนาให้เกิด"

อาเภอควบคมุ โรคเข้มแข็ง

แบบย่งั ยืน"

พบว่าจังหวดั สพุ รรณบุรมี ี

การนิเทศ กากับ ตดิ ตามผล

การดาเนินงานของอาเภอ

อย่างน้อย 2 คร้งั ตอ่ ปีในแต่

ไม่ตรงตาม ไตรมาส 2 และ

3

2. ผู้บริหารระดับอาเภอ ดา้ นนโยบาย และ

และผู้ปฏบิ ตั ิงานยังขาด การบริหารจดั การ

ความเขา้ ใจในนโยบาย และ

ประโยชน์ ตลอดจน

กระบวนการดาเนินงาน

อาเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง

แบบยง่ั ยนื

3. ผปู้ ฏิบัติงานและ ด้านบุคลากร

เครือข่ายขาดการ

แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ และ

วเิ คราะหส์ ถานการณ์การ

ดาเนนิ งาน

กลุ่มงานโรคติดต่อและควบคุมโรค

2.สรุปปัญหาที่สาคญั
2.1 การพัฒนาระบบเฝาู ระวงั 5 มิติ
2.2 การสง่ เสรมิ และสนับสนนุ อาเภอ
2.3 การติดตามความก้าวหน้าและผลสาเร็จ
2.4 การเฝาู ระวัง สอบสวน ปอู งกัน และควบคุมโรค

3.เปา้ ประสงค์
3.1 เพือ่ ผลักดันและสนับสนุนการดาเนินงานของอาเภอให้ผ่านเกณฑต์ ามคุณลกั ษณะของอาเภอควบคมุ

โรคเขม้ แข็ง และมีการดาเนินงานอยา่ งต่อเนื่อง

4.ตัวชีว้ ัดและเป้าหมาย
4.1 ตวั ชว้ี ดั ที่ 2 รอ้ ยละ 100 ของอาเภอท่ีเข้ารบั การประเมินโดย สคร.5 ราชบุรี ผา่ นเกณฑ์คุณภาพ

เบื้องตน้ การบรหิ ารจัดการและขับเคล่อื นการปูองกนั ควบคุมโรคและภยั สุขภาพท่เี ขม้ แข็งแบบยั่งยนื
เปาู หมาย อาเภอสามชกุ และอาเภอหนองหญ้าไซ จานวน 2 อาเภอ

4.2 ตวั ชวี้ ัดท่ี 3 ร้อยละ 100 ของอาเภอทเี่ ข้ารบั การประเมนิ โดย สสจ.สพุ รรณบุรี ผ่านเกณฑ์คณุ ภาพ
เบื้องต้นการบริหารจดั การและขับเคลื่อนการปูองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพทเ่ี ข้มแขง็ แบบยง่ั ยนื

เปาู หมาย ทุกอาเภอ รวม 10 อาเภอ

กลมุ่ งานโรคติดต่อและควบคุมโรค

สรปุ ผลการดาเนินงาน

ระบบระบาดวทิ ยา

สว่ นท่ี 1

1.สถานการณ์ปญั หา

1.1 Base line data
ทมี เฝาู ระวังสอบสวนเคล่ือนที่เร็ว (Surveillance and Rapid Response Team : SRRT) เป็นกลไกสาคัญ

ในการรับมือกับโรคและภัยคุกคามที่เป็นปัญหาต่อสุขภาพของประชาชน ปี พ.ศ. 2548 เร่ิมมีการจัดตั้งทีม SRRT
ระดับอาเภอ จังหวัด เขต และส่วนกลาง จานวน 1,030 ทีม และในปี พ.ศ. 2554 กรมควบคุมโรค ได้กาหนด
นโยบายอาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน จัดให้มีระบบการเฝูาระวังเหตุการณ์สาหรับ SRRT เครือข่ายระดับ
ตาบล จานวน 2,775 ทีมและขยายผลเต็มพ้ืนท่ีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ภารกิจสาคัญของทีม SRRT คือการ
ปอู งกันควบคุมโรค เนน้ การเฝาู ระวงั หยุดหรอื จากัดการแพรร่ ะบาดของโรคโดยเร็ว มีความหลากหลายของหน่วยงาน
ได้แก่ ทีม SRRT ระดับตาบล/ท้องถ่ิน อาเภอ จังหวัดเขต และส่วนกลาง ความแตกต่างของหน่วยงาน ทาให้
จาเปน็ ตอ้ งมีมาตรฐาน ทีมเพือ่ เปน็ กรอบในการพฒั นา และเป็นแนวทางการปฏิบัติงานเป็นไปตามมาตรฐานเดียวกัน
สอดคล้องกับกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulation, IHR2005) และนโยบายอาเภอ
ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบย่ังยืน ผลักดันให้การพัฒนาทีม SRRT ต่อไป ในอนาคตจาเป็นต้องเน้นคุณภาพและมีความ
เป็นมอื อาชพี มากย่ิงขนึ้

เพ่ือให้การดาเนินการเป็นไปอย่างต่อเน่ือง จังหวัดสุพรรณบุรี จึงต้องสนับสนุนเครือข่ายท้ังในระดับอาเภอ
และเครือข่ายในระดับตาบลทุกพื้นที่ ในการพัฒนา ติดตาม ประเมินผล รวมทั้งได้เพ่ิมเติมเข้าเป็นยุทธศาสตร์การ
พัฒนาด้านสาธารณสุขอีกประการหนึ่ง เพ่ือให้บรรลุการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ การจัดการด้านการแพทย์และ
สาธารณสุขฉุกเฉิน โดยให้ทีม SRRT สามารถตอบสนองต่อโรคและภัยท่ีเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public
Health Emergency) อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

จังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบด้วยทีมสอบสวนเคลื่อนท่ีเร็ว (SRRT) ระดับจังหวัด จานวน 1 ทีม และระดับ
อาเภอ จานวน 10 ทีม รวมทัง้ สิ้น 11 ทมี

ผลงานปี 2554 -2557
การประเมินมาตรฐานทีมสอบสวนเคล่ือนที่เร็ว (SRRT) ระดับจังหวัดและระดับอาเภอ โดยทีมสานักงาน
ปอู งกันควบคมุ โรคท่ี 4 จังหวัดราชบรุ ี ต้งั แต่ ปี 2554 ถงึ ปี 2557 ดังนี้
ปี 2554 มอี าเภอท่เี ข้ารับการเมนิ ฯ จานวน 2 อาเภอ ได้แก่ อาเภอสองพ่ีนอ้ ง และอาเภอศรีประจันต์ โดย
ผา่ นการประเมนิ ระดบั ดี สะสม 3 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 18.18
ปี 2555 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ีไดเ้ ข้ารับการประเมิน และผ่านการประเมินระดับพ้ืนฐาน
และมีอาเภอที่เข้ารับการเมินฯ จานวน 6 แห่ง ได้แก่ อาเภอเดิมบางนางบวช อาเภอด่านช้าง อาเภอบางปลาม้า
อาเภอดอนเจดีย์ อาเภออู่ทอง และอาเภอหนองหญ้าไซ พบว่า ทุกแห่งผ่านการประเมินระดับพ้ืนฐาน สะสม 3 ปี
คดิ เป็นรอ้ ยละ 81.81
ปี 2556 มีอาเภอท่ีเข้ารับการเมินฯ จานวน 1 แห่ง ได้แก่ อาเภอสามชุก ผ่านการประเมินระดับพื้นฐาน
สะสม 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 90.91

กลมุ่ งานโรคติดต่อและควบคุมโรค

ปี 2557 มีอาเภอท่ีเข้ารับการเมินฯ จานวน 1 แห่ง ได้แก่ อาเภอเมืองสุพรรณบุรี ผ่านการประเมิน
ระดบั พนื้ ฐาน สะสม 3 ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100

ปี 2558 มีอาเภอท่ีเข้ารับการเมินฯ จานวน 2 แห่ง ได้แก่ อาเภอศรีประจันต์และอาเภอสองพี่น้อง ผ่าน
การประเมินระดับพ้นื ฐาน สะสม 3 ปี คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ดงั ตารางท่ี 1

ดงั ตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 ผลการประเมินมาตรฐานทมี สอบสวนเคลือ่ นที่เร็ว โดยสานักงานปูองกันควบคุมโรคที่ ๔ จงั หวัดราชบรุ ี
ปี 2554-2558

หน่วยงาน ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558

สสจ. ประเมิน ผลการ ประเมิน ประเมนิ ประเมนิ ผลการ ประเมิน ผลการ ประเมนิ ผลการ
สุพรรณบุรี ประเมิน  ประเมนิ  ประเมิน ประเมิน
เมอื ง  ผ่าน
สุพรรณบรุ ี  ผา่ น   11 ระดับพื้นฐาน  ผา่ น
เดมิ บาง ระดับดี  100 ระดบั พน้ื ฐาน
นางบวช  ผา่ น 11
ด่านช้าง  ผา่ น ระดบั พน้ื ฐาน 100  ผา่ น
บางปลา ระดบั ดี  10 ระดบั พื้นฐาน
มา้ 90.91
ศรี 2  11
ประจนั ต์ 
ดอนเจดยี ์ 18.18 100
สองพน่ี อ้ ง 9

สามชุก 81.81

อู่ทอง
หนองหญา้
ไซ
รวม
หนว่ ยงาน
ทีผ่ ่านฯ
สะสม 3
ปี
ร้อยละ

(ที่มา:กลมุ่ งานระบาดวทิ ยาและขา่ วกรอง สคร.5)

กลมุ่ งานโรคติดต่อและควบคุมโรค

ผลงานปี 2559

- ประชากรเป้าหมาย ปี 2559
เปูาหมาย ระดบั เขต
2. ทมี SRRT อาเภอดา่ นช้าง 1 ทีม
3. ทีม SRRT อาเภอหนองหญา้ ไซ 1 ทมี
4. ทมี SRRT อาเภอดอนเจดีย์ 1 ทมี
5. ทีม SRRT อาเภอเดมิ บางนางบวช 1 ทมี
6. ทมี SRRT อาเภออู่ทอง 1 ทีม
7. ทีม SRRT อาเภอบางปลามา้ 1 ทมี
8. ทมี SRRT จงั หวัดสพุ รรณบุรี 1 ทีม

เปูาหมาย ระดับจังหวดั
1. ทีม SRRT ทกุ อาเภอๆ ละ 1 ทีม รวม 10 ทมี

- ข้อมูลตามเป้าหมาย
ในปี 2559 พบว่า การดาเนินงานของจังหวัดสุพรรณบุรี ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทีมสอบสวนเคล่ือนที่เร็ว

(SRRT) ระดบั อาเภอและระดับตาบล คิดเป็นร้อยละ 100 ดงั ตารางที่ 2 – 6

ตารางที่ 2 ผลการดาเนนิ งานตามตัวชวี้ ดั ในปี 2559

ตัวช้วี ัด เกณฑ์ การดาเนินงาน รอ้ ยละ
เปา้ หมาย ผลงาน 100
1) รอ้ ยละของอาเภอ ที่มีทีม SRRT ไมน่ อ้ ยกว่า 100
คุณภาพ ระดับอาเภอ ร้อยละ 80 10 10
2) รอ้ ยละของอาเภอ ที่มที มี SRRT ไมน่ ้อยกวา่
คุณภาพ ระดบั จงั หวดั ร้อยละ 100 11
1 ตาบล/อาเภอ

กลุ่มงานโรคติดต่อและควบคุมโรค

ตารางที่ 3 ผลการประเมินมาตรฐานทีมสอบสวนเคล่ือนที่เร็ว โดยสานักงานปูองกันควบคุมโรคท่ี ๔ จังหวัดราชบุรี
ปี 2559

หนว่ ยงาน ปี 2559

สสจ.สุพรรณบรุ ี ประเมนิ ผลการประเมิน
เมืองสุพรรณบรุ ี
เดมิ บางนางบวช  ผ่านระดับดี
ดา่ นช้าง
บางปลาม้า  ผา่ นระดบั ดี
ศรปี ระจนั ต์  ผ่านระดบั พืน้ ฐาน
ดอนเจดีย์  ผา่ นระดบั พ้ืนฐาน
สองพน่ี ้อง
สามชุก  ผ่านระดบั ดี
อทู่ อง
หนองหญา้ ไซ  ผ่านระดับดี
รวมหน่วยงานทผี่ ่านฯ สะสม 3 ปี  ผ่านระดบั ดี
รอ้ ยละ
11

100

ตารางที่ 4 ผลลพั ธจ์ ากการดาเนนิ งานเปรียบเทียบกับค่าเปูาหมาย (ผลงาน 2559) รอ้ ยละของอาเภอ ที่มีทีม
SRRT คุณภาพ ระดบั อาเภอ

ตัวชี้วัด เกณฑ์ อาเภอ เป้าหมาย การดาเนนิ งาน รอ้ ยละ
1 ผลงาน 100
1) ร้อยละของ ไมน่ ้อยกว่า 1.เมอื ง 1 1 100
อาเภอ ที่มที มี รอ้ ยละ 80 2.เดิมบางนางบวช 1 1 100
SRRT คณุ ภาพ 3.ด่านชา้ ง 1 1 100
ระดบั อาเภอ รวมจังหวัด 4.บางปลาม้า 1 1 100
5.ศรีประจันต์ 1 1 100
6.ดอนเจดยี ์ 1 1 100
7.สองพ่นี อ้ ง 1 1 100
8.สามชกุ 1 1 100
9.อทู่ อง 1 1 100
10.หนองหญ้าไซ 10 1 100
10

กลุ่มงานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

1.2 ปัญหาพนื้ ทเี่ ชิงคณุ ภาพ
ไม่มี

1.3 ข้อมลู หรือปญั หาของกระบวนการทางาน ปญั หา/อุปสรรค
ตารางท่ี 5 สรุปประเดน็ ปญั หา

องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด/ตัวชวี้ ัดย่อย

องค์ประกอบด้านความเป็นทมี

1. การจัดตัง้ ทีม SRRT

1) มคี าสัง่ แต่งต้ังทีม ท่ีมรี ายชอ่ื เป็นปัจจุบันร้อยละ 80 ข้ึน 1) บางอาเภอขาดการทบทวนคาส่งั ท่ีเปน็
ไป ปัจจุบัน และไม่มกี ารแบง่ ผปู้ ฏิบตั ิงานเปน็
อย่างน้อย 3 ด้านอย่างถกู ต้อง
ข้อเสนอแนะ
ทบทวนเอกสารใหเ้ ปน็ ปจั จบุ ันและใหต้ รงตาม
ข้อกาหนด

2. ทมี มศี กั ยภาพทางวชิ าการ

1) ทมี มแี ผนงาน/โครงการพัฒนาบุคลากรและ/หรอื การ 1) สมาชกิ ทมี ขาดโอกาสในการเข้ารว่ มประชุม
เชิงปฏิบัตกิ าร ฟ้นื ฟูความรู้ เนื่องดว้ ยในการ
จัดการความรู้อยา่ งน้อยปีละ 1 ครัง้ จดั ประชุมแต่ละครั้งแตล่ ะระดบั รับจานวน
จากัด
2) สมาชิกทีมร้อยละ 80 ขึ้นไป ไดร้ ับการฝึกอบรมด้านการ ขอ้ เสนอแนะ
เฝูาระวัง สอบสวนและควบคุมการระบาด ตามหลักสตู ร

ก่อนปฏบิ ตั กิ ารทางระบาดวิทยาหรือเทียบเท่า จดั การประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ าร ฟนื้ ฟคู วามรู้

3) สมาชิกทีมร้อยละ 50 ข้ึนไป ได้เข้าร่วมประชมุ เชงิ หรือสัมมนาวชิ าการดา้ นการเฝูาระวัง สอบสวนและ
ปฏบิ ตั ิการ ฟื้นฟูความรู้ หรือสัมมนาวิชาการด้านการเฝูา ควบคุมการระบาด

ระวังสอบสวนและควบคุมการระบาดในระยะเวลา 3 ปี

3. ทีมมีศักยภาพดา้ นการบริหารทีมงาน

1) กาหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของสมาชิกทีมอย่าง 1) บางอาเภอขาดการประชมุ ทีมอย่างสมา่ เสมอ
และเป็นรูปธรรม โดยสว่ นใหญ่ใช้เวทีการ
ชดั เจน ทั้งขณะปกติและกรณีที่ต้องออกสอบสวนโรค ประชุมของสานักงานทาให้ไม่ได้แสดงถึง
หรือตอบโตภ้ าวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข บทบาทเฉพาะ
2) จัดประชุมทีมอย่างน้อย 2 คร้ังต่อปี 2) ขาดกจิ กรรมหรอื สิ่งสนบั สนุนเพื่อขวัญ

3) หวั หน้าทีมมีสว่ นรว่ มในการบรหิ ารจัดการทีม กาลังใจ

4) สมาชิกทีมไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 เคยเข้าร่วมปฏิบัติงาน 3) สมาชิกทีมน้อยกว่าร้อยละ 80 เคยเข้ารว่ ม
ปฏบิ ตั ิงานกรณที ่ีต้องออกสอบสวนโรคหรือตอบ
กรณที ต่ี ้องออกสอบสวนโรคหรือตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทาง โตภ้ าวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ในระยะเวลา 3
สาธารณสุข ในระยะเวลา 3 ปี ปี

องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด/ตัวชี้วัดย่อย กลมุ่ งานโรคติดต่อและควบคุมโรค
ปัญหา/อุปสรรค

5) จดั กิจกรรมหรือส่ิงสนับสนุนทีส่ ร้างขวัญกาลงั ใจให้กับ ขอ้ เสนอแนะ
สมาชกิ ทีมที่ออกปฏบิ ตั งิ าน กาหนดเปน็ นโยบายทสี่ าคัญในการประชุม

5. ทีมมีแผนปฏิบตั กิ ารกรณีเรง่ ด่วนและการฝึกซ้อม ทบทวนทีม SRRT โดย สสจ.เปน็ ต้นแบบ และคิด
1) มีแผนการฝึกซ้อมทีมประจาปี ผลงานการดาเนนิ งานของอาเภอเปน็ ผลงาน
2) มีการฝึกซ้อมตามแผนฝึกซ้อมประจาปี ดีเด่นในการประกวดในเวทีตา่ งๆ เช่นประกวด
3) มีแผนปฏิบตั ิการกรณีเร่งดว่ น/ภาวะฉุกเฉินฯ คปสอ. เป็นตน้
4) มีการฝึกซ้อมแผนปฏิบัติการเร่งด่วนฯ หรือนาแผนไปใช้
จริงกับเหตุการณ์อ่ืนที่ใกลเ้ คียง และสนับสนนุ การดาเนินการออกสอบสวน
5) ไดร้ ่วมซ้อมแผนตอบโตภ้ าวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขกับ โรค
หนว่ ยงานอ่นื 1) หลายอาเภอขาดการฝกึ ซ้อมแผน และการ
องคป์ ระกอบด้านผลงาน
จัดเกบ็ เอกสารของการฝกึ ซ้อมแผน
13. ผลงานด้านความครบถ้วนของการสอบสวนโรค ข้อเสนอแนะ
มีการสอบสวนโรคครบถว้ น
1) มรี ายงานสอบสวนโรคครบถว้ น ไมต่ ่ากว่า ร้อยละ 40 ควรมีการฝึกซอ้ มแผนการรบั มอื และรวบรวม
2) มรี ายงานสอบสวนโรคครบถ้วน ร้อยละ 60 – 79 เอกสารหลักฐานให้ครบถว้ น
3) มีรายงานสอบสวนโรคครบถ้วน ร้อยละ 80 ข้ึนไป
ขาดการเขียนรายงานสอบสวนโรค โดยไม่
ครบตามเกณฑ์ทีก่ าหนด
ข้อเสนอแนะ

กาหนดเป็นมาตรการในการเขียนรายงาน
สอบสวนโรค และมเี วทีในการนาเสนอในท่ี
ประชุม อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครงั้

14. ผลงานด้านคณุ ภาพการสอบสวนและควบคุมโรค การดาเนนิ งานสอบสวนโรคโดยส่วนใหญ่มี
มีการสอบสวนและควบคุมโรคทีม่ ีคุณภาพ ตามเกณฑ์ท่ี คุณภาพตามเกณฑ์ แต่ขาดการเขียนรายงาน
กาหนด ข้อเสนอแนะ
1) มรี ายงานสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ ไม่ต่ากว่า ร้อยละ
40 จัดการอบรมทบทวนการสอบสวนโรคและ
2) มรี ายงานสอบสวนโรคทม่ี ีคุณภาพ ร้อยละ 60 - 79 การเขียนรายงาน และมีเวทีในการนาเสนอในท่ี
3) มรี ายงานสอบสวนโรคทม่ี ีคุณภาพ ร้อยละ 80 ข้นึ ไป ประชมุ อยา่ งนอ้ ยไตรมาสละ 1 ครง้ั

องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด/ตัวช้ีวัดย่อย กลมุ่ งานโรคติดต่อและควบคุมโรค
ปญั หา/อุปสรรค

16. ผลงานดา้ นคณุ ภาพการเขียนรายงานสอบสวนโรค

มกี ารเขยี นรายงานสอบสวนการระบาดท่ีมคี ณุ ภาพตาม ขาดการเขียนรายงานสอบสวนโรคท่ีมี
เกณฑ์ท่ีกาหนด คุณภาพตามเกณฑ์ โดยไม่ครบตามเกณฑ์ที่
1) มีการเขยี นรายงานสอบสวนโรคทม่ี ีคุณภาพ ไม่ต่ากวา่ กาหนด
รอ้ ยละ 40 ขอ้ เสนอแนะ
2) มีการเขียนรายงานสอบสวนโรคทีม่ ีคุณภาพ ร้อยละ 60 กาหนดเป็นมาตรการในการเขียนรายงาน
- 79 สอบสวนโรค อบรมทบทวนการเขียนรายงาน
3) มีการเขยี นรายงานสอบสวนโรคทมี่ ีคุณภาพ ร้อยละ 80 และมีเวทีในการนาเสนอในที่ประชุม อย่างน้อย
ขนึ้ ไป ไตรมาสละ 1 ครงั้

2.สรุปปญั หาท่ีสาคัญ
2.1 ขาดการพฒั นาระบบฐานข้อมลู ทางระบาดที่ครอบคลุม ตามนโยบาย 5 กลุ่มโรค 5 มิติ ขาดการจัดทา

ระบบรายงานและการแจ้งเตือนข่าวเกิดโรค/ภัยหรือประเมินสถานการณ์และรายงานเหตุการณ์ที่มีประสิทธิภาพ
และดาเนนิ การสอบสวนและจัดทารายงานสอบสวนโรคท่ีมคี ณุ ภาพและมีการเผยแพรข่ ้อมูล

2.2 ขาดการพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ให้ครอบคลุมทุกระดับ การทบทวน และ
จัดทาคาสง่ั ทมี SRRT ให้เป็นปัจจบุ ัน

2.3 ขาดการพัฒนาบุคลากรและการจัดการความรู้ /หลักสูตรก่อนปฏิบัติการทางระบาดวิทยา /ฟ้ืน ฟู
ความรู้ หรือสัมมนาวชิ าการด้านการเฝาู ระวงั สอบสวนและควบคมุ การระบาด และประชุมทีม SRRT

2.4 ขาดการสนับสนุนการเตรียมความพร้อมและความสามารถในการปฏิบัติงาน ได้แก่ ยานพาหนะ
เอกสาร แบบฟอร์ม วัสดุอุปกรณ์ เวชภัณฑ์ อุปกรณ์ปูองกันตนเอง (PPE) คู่มือ แนวทางปฏิบัติงาน มาตรการ
งบประมาณที่เพียงพอ เพื่อใช้ในการสอบสวนควบคุมโรค ส่งวัตถุตัวอย่าง การส่ือสาร ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอก
เวลาราชการ และการซอ้ มแผน

3.เปา้ ประสงค์
3.1 เพอ่ื การดาเนินงานเฝูาระวงั ทางระบาดวทิ ยา อยา่ งมีประสิทธิภาพ
3.2 เพ่ือจัดหาและสนบั สนุนทรพั ยากรท่จี าเป็นในการ ปูองกันและควบคุมโรคตดิ ต่อทส่ี าคัญ
3.3 เพอื่ พัฒนาศักยภาพเครือขา่ ยทีมสอบสวนเคลื่อนทเี่ ร็ว (SRRT) ระดับจงั หวดั และอาเภอ
3.4 เพอ่ื พฒั นาบุคลากรผปู้ ฏบิ ตั งิ านในทีมสอบสวนเคลือ่ นท่ีเรว็ (SRRT) ระดบั จงั หวัด และอาเภอ

กล่มุ งานโรคติดต่อและควบคุมโรค

4.ตัวชี้วดั และเป้าหมาย
4.1 ตวั ชี้วดั ที่ 1 รอ้ ยละ 100 ของจังหวดั ท่ีมีทีม SRRT คณุ ภาพ ระดับจงั หวดั
เปูาหมาย ทมี SRRT สสจ.สพุ รรณบรุ ี จานวน 1 ทมี
4.2 ตัวชวี้ ดั ท่ี 2 ร้อยละ 100 ของอาเภอ ทม่ี ีทมี SRRT คุณภาพ ระดับอาเภอ
เปูาหมาย ทีม SRRT ระดบั อาเภอ จานวน 10 ทีม
ประกอบด้วย 1) อาเภอท่ผี า่ นการประเมินแล้ว ได้รับรองคณุ ภาพ 3 ปี และยงั อยใู่ นทมี SRRT
คณุ ภาพ ไดแ้ ก่ อาเภอเมอื งสพุ รรณบุรี อาเภอสามชกุ อาเภอสองพี่น้อง และอาเภอศรปี ระจันต์
2) อาเภอที่ต้องประเมินโดยเขตในปี 2559 ประกอบด้วย เดิมบางนางบวช
ดา่ นช้าง บางปลาม้า ดอนเจดยี ์ อู่ทอง หนองหญา้ ไซ

กลมุ่ งานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

สรปุ ผลการดาเนินงาน

การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาเอดส์ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี

ปีงบประมาณ 2559

สภาพปัญหาเอดส์

จังหวัดสุพรรณบุรี พบผู้ปุวยรายแรกของเชื้อเอชไอวี ในปี พ.ศ. 2533 และได้มีการติดเชื้ออชไอวี
เร่ือยมาจนถึงปัจจุบันรวมเป็นระยะเวลา ประมาณ 26 ปี โดยเร่ิมพบการแพร่ระบาดในกลุ่มผู้ติดยาเสพติดก่อน
หลังจากนั้นประมาณ 1 ปี พบการแพร่ระบาดของเช้ือเอชไอวีในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ในปัจจุบันสถานการณ์การติด
เชื้อเอชไอวี/เอดส์เปลี่ยนไปพบการติดเช้ือสูงขึ้นในกลุ่มของชายท่ีมีเพศสัมพันธ์กับชาย และสถานการณ์การติดเช้ือ
ดังนี้

1. สถานการณ์การเจ็บปว่ ยด้วยโรคเอดส์

จงั หวดั สพุ รรณบุรี พบผปู้ ว่ ยเอดส์รายแรก ปี พ.ศ. 2533 จนถงึ ปจั จบุ นั (30 กันยายน
2559 ) พบผู้ปว่ ยเอดส์ จานวน 5,819 ราย เสียชวี ติ ไปแลว้ 1,741 ราย ผตู้ ิดเชอื้ ปรากฏอาการ 1,735
ราย เสยี ชวี ติ 403 ราย (ตารางที่ 1) ร้อยละ 82.4 ตดิ เชื้อจากการมเี พศสมั พันธก์ ับผู้ทม่ี ีเชอ้ื เอดสโ์ ดยไมไ่ ด้
ปอ้ งกนั กลมุ่ อายทุ ป่ี ว่ ยมากทสี่ ุด ได้แก่กลมุ่ อายุ 25-34 ปี (ร้อยละ 43.0) และสว่ นใหญม่ อี าชีพรับจ้าง
(รอ้ ยละ 56.1 ) (ตารางท่ี 2,3,4,5) อตั ราสว่ นระหว่างเพศ ชายตอ่ เพศหญงิ เท่ากบั 2.1:1

อาเภอท่ีมีอัตราปุวยต่อประชากรแสนคนสูงสุดในปี พ.ศ. 2558 3 อันดับแรก คืออาเภอสามชุก
อัตราปุวยเท่ากับ 10.9 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาได้แก่ อาเภอ เมือง (7.40 ต่อแสนประชากร) และ อ.ด่าน
ชา้ ง (6.2 ต่อแสนประชากร) รูปที่ 1

โรคติดเชื้อฉวยโอกาสในผู้ปุวยเอดส์ ต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2533 จนถึง 30 กันยายน 2559 ที่ได้รับ
รายงาน มากท่ีสุด 5 อันดับแรกคือ Mycobacterium tuberculosis, Pulmonary or extrapulmonary
2,014 ราย ( ร้อยละ 34.6 ) รองลงมาคือ โรคปอดบวมจากเชื้อ Penicillium carinii 981 ราย ( ร้อยละ 16.7
) โรค Wasting syndrome 855 ราย ( ร้อยละ 14.7) โรค Cryptococcosis 792 ราย ( ร้อยละ 13.6),โรค
Candidiasis ของหลอดอาหารหลอดลม หรือปอด 283 ราย (ร้อยละ 4.9) และโรค Pneumonia recurrent(
Bacteria) มากกว่า 1 ครง้ั ใน 1 ปี 228 ราย ( ร้อยละ 3.9 ) ตามลาดับ

กลมุ่ งานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

ตารางท่ี 1จานวนผู้ปวุ ยเอดสแ์ ละผูต้ ิดเชอ้ื เอดสป์ รากฏอาการ จาแนกตามสภาพผู้ปุวยขณะรายงาน ตั้งแต่

พ.ศ. 2533 ถึง 30 กนั ยายน 2559 จ. สพุ รรณบุรี

ประเภทผ้ปู ุวย/เสียชีวติ พ.ศ. 2533 2555 2556 2557 2558 2559

- ก.ย.59

เอดส์ /เสียชวี ติ 5819 / 1741 162/5 108/3 48/0 36/0 14/1

ผู้ตดิ เชอื้ ปรากฏอาการ/เสียชวี ิต 1735/ 403 0/5 0/0 0/ 0 0/0 0/0
รวม 7554/ 2144 162/ 5 108 / 3 48 /0 36/0 14 / 1

ทมี่ า รง.506/1 จากโปรแกรม Aids oi V.2

อตั ราปว่ ยต่อแสนประชากร

รปู ที่ 1 อัตราป่วยต่อแสนประชากรดว้ ยเอดส์และผู้ตดิ เชอ้ื เอชไอวีปรากฏอาการ จาแนกตามที่อยู่ปัจจุบัน

จังหวดั สุพรรณบรุ ี พ.ศ. 2555 -2558

การเฝาู ระวงั การติดเช้อื เอชไอวีของจงั หวัดสุพรรณบุรีตัง้ แตเ่ ดือนมิถุนายน 2533 จนถงึ ปัจจบุ นั ( มิถุนายน
2559) ในกลุ่มประชากรทเ่ี ป็นตวั แทนของประชากรวยั เจรญิ พนั ธุ์ 2 กลุม่ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ชายไทยฯ อายุ 21 ปี และ
กลมุ่ หญงิ ตัง้ ครรภ์ดเู ปรียบเทียบ 5 ปียอ้ นหลัง พบว่า กล่มุ หญิงตงั้ ครรภม์ ีแนวโน้มเพิ่มขนึ้ จนถงึ มถิ ุนายน 2559
และในรอบ9 พบว่าอตั ราการตดิ เชอื้ เอชไอวสี ูงขึ้น คอื จาก ร้อยละ 0.6 ปี 2555 เป็นรอ้ ยละ 1.8. ในปี 2559

กลุ่มงานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค
สาหรับความชกุ ของการติดเชือ้ เอชไอวี ชายไทยอายุ 21 ปี มีแนวโน้มลดลงอย่างเห็นได้ชัดเจน เม่ือ
ดเู ปรยี บเทียบ5 ปีย้อนหลงั ในปี 2555 – ปี 2559 พบอัตราการติดเช้ือในกลุ่มน้ีลดลงและเพิ่มขึ้นสลับกันทุกปี ใน
ปี 2559เพ่ิมขึน้ เปน็ ร้อยละ1.6 จากรดงั รูปท่ี 2

ความชกุ (%)

รปู ที่ 2 อัตราความชุกของการตดิ เชอ้ื เอชไอวี กลมุ่ ชายไทย และหญงิ ตง้ั ครรภ์ จงั หวัด สพุ รรณบรุ ี พ.ศ. 2545 - 2559

ประชากรกลมุ่ เส่ียงได้แก่ กลมุ่ หญิงบริการตรง หญงิ บริการแฝง ในช่วง 20 ปที ี่ผ่านมา หญิง
บริการตรง มีแนวโน้มลดลงอยา่ งตอ่ เน่ือง เม่อื มาดูความชุกใน 5 ปี ย้อนหลงั พบว่าปี 2555-2559 พบความชุก
ของการติดเชอ้ื เอชไอวใี นกล่มุ พนักงานบริการตรงมีความชกุ ของการตดิ เชอ้ื เอชไอวีสงู ข้นึ ลดลงสลบั กนั จนถึงปี
ปัจจบุ ัน ดงั น้ี 2.2 6.2 3.3 8.4 5.4 ตามลาดับ และอัตราการใชถ้ ุงยางอนามยั ในกลมุ่ หญงิ ขายบริการตรงมี
แนวโน้มลดลง ปี 2559 อยู่ทร่ี ้อยละ 92.4หญิงบริการแฝง มีแนวโน้มการตดิ เชือ้ เอชไอวีลดลงอยา่ งตอ่ เนื่อง เมอ่ื
มาดคู วามชกุ ใน 5 ปี ย้อนหลังพบว่าปี 2555-2559 พบความชกุ ของการตดิ เชอื้ เอชไอวีในกล่มุ พนกั งานบริการ
ตรงมคี วามชกุ ของการติดเชื้อเอชไอวสี ูงขึน้ ลดลงสลบั กันจนถงึ ปปี ัจจบุ ัน ดงั นี้ 9.2, 6.3, 6.2, 6.0, 5.4 ตามลาดบั
และอตั ราการใช้ถุงยางอนามัยในกลุม่ หญิงขายบรกิ ารตรงมีแนวโน้มลดลง ปี 2559 อยูท่ ่รี อ้ ยละ 70.5 ดงั รูปที่ 3
และ 4

กลมุ่ งานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

ความชกุ (%)

รูปท่ี 3 อัตราความชกุ การตดิ เช้อื เอช็ ไอวี กล่มุ หญิงบรกิ ารตรง หญงิ บริการแฝง จังหวดั สุพรรณบรุ ี พ.ศ.2543 -2559
อตั ราการใช้ถงุ ยางอนามัยในกลุ่มพนกั งานบรกิ ารตรง และกลุม่ พนกั งานบรกิ ารแฝง

ร้อยละ

รปู ท่ี 4 อัตราการใชถ้ ุงยางอนามยั ทกุ คร้งั ในการมเี พศสมั พนั ธ์ในรอบปีของ กล่มุ หญิงบรกิ ารตรงและ
แฝงจงั หวัดสุพรรณบรุ ี พ.ศ.2550 -2559

กลมุ่ งานโรคติดต่อและควบคุมโรค
ประชากรกลุ่มเสี่ยงอีกกลุ่มหน่ึงคือ ผู้ติดยาเสพติด โดยการเปรียบเทียบ 6 ปีย้อนหลัง มีแนวโน้มลดลง
ตั้งแตป่ ี 2552 - 2554 ยกเวน้ ในปี 2555 ถึงปี 2559 มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนในปี จากร้อยละ 0.3,0.8 และร้อยละ
6.2 ตามลาดับ ส่วนกลุ่มชายท่ีมาตรวจกามโรคในคลินิกของโรงพยาบาลมีแนวโน้มคงท่ีและในปี 2557เพ่ิมขึ้น
เป็น ร้อยละ 6.2 และในปี 2558 และ 2559มีแนวโน้มลดลงจาก เหมือนกับกลุ่มชายท่ีมาขอตรวจกามโรค
ตามลาดบั ดงั รปู ท่ี 5

ความชกุ (%)

รูปที่ 5 อตั ราความชุกการตดิ เชอื้ เอ็ชไอวี กลมุ่ ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ และชายทมี่ าตรวจกามโรค จงั หวดั สุพรรณบรุ ี พ.ศ.2534 2559

3. สรปุ สถานการณ์โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์
สถานการณ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของจังหวัดสุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2555 มีอัตราปุวย 7.9 ต่อ
ประชากรแสนคน (ปี พ.ศ. 2556 ผลงาน 9 เดือน ตั้งแต่มกราคม – กันยายน 2556 มีอัตราปุวย 3.8 ต่อ
ประชากรแสนคน) และเมื่อพิจารณาแนวโน้ม 5 ปีย้อนหลัง พบว่า ช่วง ปี 2551-2555 มีแนวโน้มไม่คงที่ คือ
อัตรา 8.4 , 8.0 ,8.0 ,7.7 และ 7.9 ต่อประชากรแสนคน ส่วนในปี 2556 ถึงปี 2559 เม่ือพิจารณาเป็นราย
โรค 5 โรค ได้แก่ ซิฟิลิส ,หนองใน ,แผลริมอ่อน , กามโรคของต่อมและท่อน้าเหลือง และหนองในเทียม พบว่า
โรคหนองในมีอัตราสูงข้ึนจนถึงปัจจบุ ัน รูปท่ี 6

อตั ราตอ่ แสน

รูปท่ี 6 อัตราป่วยต่อแสนประชากร ด้วยโรคกามโรค จาแนกตามชนิด และภาพรวม ปีงบประมาณ
2551 - 2559 จังหวัดสพุ รรณบุรี

กล่มุ งานโรคติดต่อและควบคุมโรค

4.สถานการณด์ า้ นพฤติกรรมทส่ี ัมพนั ธก์ บั การตดิ เชอ้ื เอชไอวี
การเฝูาระวังพฤติกรรมท่ีสัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวีวัยรุ่นจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ.2550 - 2559

ทาการสารวจพฤติกรรม(Cross sectional Survey) ในกลุ่มประชากร 6 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มนักเรียนชายช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มนักเรียนหญิงช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 กลุ่มนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มนักเรียน
หญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5และกลุ่มนักเรียนอาชีวศึกษาชาย(ปวช.ปี 2) กลุ่มนักเรียนอาชีวศึกษาหญิง (ปวช.ปี 2)
การคัดเลือกตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) ในทุกกลุ่มประชากร จานวน
ตวั อย่างอยู่ที่กลุ่มละ 380- 600 ตัวอย่าง ผลการเฝูาระวังพฤติกรรมฯ รอบ 6 ปีที่ผ่านมา (2550 -2556 ) และ
ในปี 2557-2559) จังหวัดสุพรรณบุรีได้ทาการสารวจนักเรียนชาย/หญิง ทุกคนที่กาลังเรียนในระดับชั้นมัธยมปีที่
5 (ชาย 2,203 คน หญิง 2,466คน) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ชั้นปีท่ี 2 (ปวช 2) (ชาย 1,863 คน หญงิ
1,541คน) พบว่า ส่วนในนักเรียนหญิงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ทางสานักระบาดมีการดูแนวโน้มแนวการ
เปล่ียนแปลงในแต่ละปียังคงต่าจึงให้งดดาเนินในระดับชั้นน้ี และให้ทุกจังหวัดถือเป็นมาตรฐานเดียวกันคือนักเรียน
หญิงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 จะทาการสารวจโดยทาปีเว้นปี ผลการสารวจในปี 2559 จังหวัดสุพรรณบุรีพบว่า
นักเรียน การมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกของเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 กลุ่มนักเรียนชายมีแนวโน้มสูงขึ้นจากปี 2558
จากรอ้ ยละ 52.1 เพมิ่ ขน้ึ เป็น ร้อยละ 55.2 ) กล่มุ นกั เรียนหญิงมีแนวโน้มเพ่มิ ข้ึนจากปี2558 ร้อยละ 50.3 เป็น
ร้อยล่ะ 51.0 ในนักเรียนอาชีวศึกษา(ปวช.ปี 2) กลุ่มนักเรียนชายมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี ในปี 2558 – 2559
เพ่ิมขึ้น จากร้อยละ 69.3 เป็น ร้อยละ 71.7 กลุ่มนักเรียนหญิงอาชีวศึกษา(ปวช.ปี 2) กลุ่มนักเรียนหญิงมี
แนวโนม้ ของการมีเพศสัมพันธ์สูงข้ึนเช่นกันถึงปี 2558 ร้อยละ 63.2 และในปี 2559 อยู่ที่ ร้อยละ 67.5 ดังรูป
ที่ 7

อายเุ ฉลย่ี ของการมเี พศสมั พันธ์ครัง้ แรก ในปี 2559 พบว่า นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ชายและ
หญิง อายุเฉล่ยี อยทู่ ่ี อายุ 14 ปี และ นกั เรียนอาชวี ศึกษา ปวช.ปที ่ี 2 เพศชายและกลุ่มนกั เรียนหญิง อยทู่ ่ีอายุ 14
ปี เท่ากับปที ี่ผา่ นมาท้ังสองกลุ่ม ดังรูปที่ 8

รอ้ ยละ

รปู ที่ 7 รอ้ ยละของการมเี พศสัมพนั ธ์คร้ังแรกของกลุ่มนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ชาย /หญิง,นกั เรยี นชั้น

กล่มุ งานโรคติดต่อและควบคุมโรค
มธั ยมศึกษา ปี 5 ชาย/หญิง นักเรียนอาชวี ศึกษา ปวช.2 ชาย/หญงิ จ.สพุ รรณบรุ ี 2552-2557

รอ้ ยละ

รปู ที่ 8 ร้อยละของอายเุ ฉลย่ี การมีเพศสมั พันธ์คร้งั แรกของกลมุ่ นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ชาย /หญิง, นักเรยี นชั้น
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ชาย/หญิง นกั เรยี นอาชวี ศึกษา ปวช.2 ชาย/หญิง จ.สพุ รรณบรุ ี 2554 -2559
คู่นอนในรอบปีท่ีผา่ นมาปี 2559 พบวา่ มากกว่ารอ้ ยละ 60 เปน็ คู่นอนทีเ่ ปน็ แฟนหรือคนรัก

รองลงมาเปน็ หญงิ อนื่ และชายอนื่ นอกจากนั้นยังพบว่าการมีคู่นอนในกล่มุ ชายกับชายและกล่มุ หญิงกับหญิงในทุก
กลมุ่ เฝาู ระวัง โดยเฉพาะในกล่มุ นักเรียนหญงิ ปวช. 2 พบว่าการมคี นู่ อนที่เป็นลกั ษณะของการมเี พศสัมพันธ์กับ
ผู้หญิงสูงข้ึนและผหู้ ญิงไม่พบการใช้ถุงยางอนามัยเม่ือมีเพศสมั พันธก์ ันเอง ดงั รูปที่ 9

ร้อยละ

รูปท่ี 9 ร้อยละของคูน่ อนในการมีเพศ สัมพันธ์ คร้งั แรก นกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ชาย/หญิง นักเรียนอาชีวศึกษา
ปวช.2 ชาย/ หญิง จ.สพุ รรณบุรี ปี 2559

กล่มุ งานโรคติดต่อและควบคุมโรค
อัตราการใช้ถงุ ยางอนามยั ในรอบปีทผ่ี า่ นมา กบั แฟน/คนรักของการสารวจ 7 รอบท่ี พบวา่ อตั ราการ
ใช้ถุงยางอนามัยในรอบปี 2559 ลดลงจากรอบปที ่ีผา่ นมาในนกั เรยี นชายทงั้ สองกลมุ่ สาหรบั ในนกั เรียนหญิงปี
2559 กล็ ดลงทง้ั สองกลมุ่ เช่นกนั และผลการสารวจพบวา่ การมีเพศสัมพนั ธ์ในนักเรียนนิยมใช้ยาเม็ดคุมกาเนิด
ฉุกเฉนิ มากกวา่ ร้อยละ 33.7 รองลงมาใชย้ าคุมกาเนิด12.3 และการฝงั ยาร้อยละ่ 1.4 ดงั รปู ท่ี 10

ร้อยละ

รูปที่ 10 อตั ราการใชถ้ งุ ยางอนามยั กบั แฟนคนรักคร้ังลา่ สุด ของกลุ่มนักเรยี น ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ชาย /หญงิ
นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษา ปี 5 ชาย/หญงิ นักเรียนอาชีวศึกษา ปวช.2 ชาย/หญิง จ.สุพรรณบรุ ี 2554 - 2559

อตั ราการใช้ถงุ ยางอนามยั ในรอบปีที่ผ่านมาครั้งล่าสุดกบั ทุกคู่นอน พบวา่ อัตราการใชถ้ งุ ยางอนามยั
ลดลงในกลมุ่ นักเรยี นทกุ กลุ่มสารวจลดลงอย่าชัดเจน และกลมุ่ นักเรยี นชายชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 ชาย มีอตั ราการใช้
ถงุ ยางอนามัยลดลงจากปที ่ผี ่านมา2558 จากรอ้ ยละ 60.7 เปน็ รอ้ ยละ 56.8 ( 2559) และเปน็ ตัวช้ีวดั ระดบั
กระทรวงในกล่มุ วัยรุ่น(ไมต่ ่ากวา่ รอ้ ยละ 70) ส่วนนักเรียนชายชั้น ปวช.2 เพิม่ ข้ึนจาก ปี 2558 ร้อยละ 74.4
เปน็ รอ้ ยละ 58.3 ในปี 2559 ดังรูปท่ี 11
ร้อยละ

รปู ที่ 11 อตั ราการใช้ถงุ ยางอนามัยคร้ังลา่ สุดกบั ทุกคนู่ อนในรอบปี ของกลุ่มนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ชาย/หญิง
นักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปี 5 ชาย/หญิง นักเรยี นอาชวี ศกึ ษา ปวช.2 ชาย/หญงิ จ.สพุ รรณบรุ ี 2554-2559

กลุ่มงานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค
ความร้เู รื่องโรคเอดส์ พบวา่ ทุกกลมุ่ ตัวอยา่ งสามารถตอบขอ้ คาถามถูกครบทุกข้อ(6 ข้อ) มสี ดั ส่วน
ในการตอบถูกทุกข้อสูงขึ้นในทุกกลุ่มสารวจเฉลี่ยในทุกลุ่มอายุที่ร้อยละ 55.5 ดังรูปท่ี12 ในปี 2556 มีการ
ปรับปรุงแบบสอบถามข้ึนใหม่ และยังคงใช้คาถามตามหลักสากล (UNGASS) ซึ่งมี 5 ข้อคาถามที่เป็นตัววัดความรู้
เร่ืองเอดส์ในท่ัวโลก พบว่าการตอบคาถามถูกต้องครบ 5 ข้อมีอัตราการตอบถูกสูงขึ้นในจากในปีที่ผ่านมาทุก
กล่มุ เปาู หมาย แต่ก็ยงั ไม่ผ่านเกณฑ์ของสานักนักโรคเอดส์ ที่ต้องตอบถูกต้องทุกข้อไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ดังรูปท่ี
13

รอ้ ยละ

รูปท่ี 12 รอ้ ยละความรูเ้ รือ่ งโรคเอดส์ตอบถูกครบ 5 ขอ้ ของกลุ่มนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ชาย/หญิง นักเรยี น
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ชาย/หญงิ นักเรยี นอาชีวศึกษา ปวช.2 ชาย/หญิง จ.สพุ รรณบรุ ี 2550 -2559

พฤติกรรมการเข้าถึงสอื่ ลามกอนาจารในกลมุ่ ส่ือต่างๆจากการใหป้ ระวตั ิของนักเรียนท่ตี อบ แบบสอบถาม
ในทกุ กลุ่มจานวนมากกว่า 6,000 ตวั อยา่ ง โดยสามารถตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ โดย แยกออกตามสื่อต่างๆทเี่ ข้าถึง
ส่ือท่วี ยั รุ่นในสถานศึกษาทัง้ ชายและหญงิ เข้าได้งา่ ยสุดคือ คลปิ มอื ถือ รอ้ ยละ 92.3 ในปี 2559 รองลงมาคอื เวป็
ไซด์ ร้อยละ 89.0 ดังรูปที่ 14 และ พฤตกิ รรมของการใช้สารเสพตดิ ในกลมุ่ นักเรียนที่ให้ประวัติวา่ มกี ารใชส้ ารเสพ
ตดิ แลว้ น้ัน รอ้ ยละ 79.7 ส่วนใหญ่ เคยใช้ บุหร่ี ร้อยละ 81.4 รองลงมา คอื เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอร์ ร้อยละ 60.2
มกี ารใชย้ าบา้ ร้อยละ 21.7 แต่มีการใช้แอลกอฮอล์ในปี 2559 เพมิ่ ขึน้ จากปีทีผ่ ่านมาถึง ร้อยละ 20 ดังรูปท่ี
15

กล่มุ งานโรคตดิ ต่อและควบคุมโรค

ร้อยละ

รปู ที่ 14 ร้อยละ ของกลุ่มนักเรียนท้ังหมด ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี 5 และนักเรียนอาชีวศึกษา
ชน้ั ปวช.2 ที่พบวา่ เข้าถงึ สื่อลามกอนาจาร ปี 2559
ร้อยละ

รปู ที่ 15 ร้อยละ ของกลมุ่ นกั เรียนทัง้ หมด นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปี 5 และนักเรียน อาชวี ศึกษาปวช.2 ที่ให้ประวตั ิว่า
เคยใช้สารเสพตดิ แลว้ ปี 2555 - 2559

กลมุ่ งานโรคติดต่อและควบคุมโรค

การเฝูาระวังในกลุ่มที่เข้าถึงยาก คือพนักงานบริการหญิง บริการตรง และบริการแฝง โดยการตอบ
แบบสอบถามพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวีในกลุ่มพนักงานบริการหญิง ปี 2559 ของสานักระบาด
กรมควบคุมโรค โดยการตอบแบบสอบถามด้วยตนเองโดยไม่ต้องระบุช่ือและสกุลและร้านท่ีทางานในแบบถาม
ดงั กลา่ วพบวา่ คู่นอนส่วนใหญเ่ ป็นแขกท่มี าใชบ้ ริการจร ร้อยละ 58.7 รองลงมาเป็นแขกประจา ร้อยละ 31.3 และ
ค่นู อนที่เปน็ สามี รอ้ ยละ 10.0 จานวนครั้งเฉล่ีย ของการรับแขก 4 คร้ัง ต่อคน (ต่าสุด 1 สูงสุด 13 คร้ัง) รายได้
เฉล่ียต่อเดือน 20,000 บาท อายุเฉล่ียของพนักงานบริการ 22 ปี (ต่าสุด 17 สูงสุด 46 คน)และอายุเฉล่ีย
ของการมีเพศสัมพันธ์คร้ังแรก 14 ปี ระยะเวลาของการขายบริการ 3 – 5 ปี ประวัติของการใช้สารเสพติด ร้อย
ละ 100 มกี ารใช้ เหลา้ เบียร์ ไวน์ ก่อนการรบั แขก มีร้อยละ 18.4 ใช้บุหร่ีรว่ มดว้ ย และรอ้ ยละ 3.2 มกี ารใช้ยาบ้า
ยาไอซ์ รอ้ ยละ 43.6 ได้รบั การตรวจเลอื ด 4 ครงั้ ต่อปี และได้รับความรู้ในการปูองกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทาง
เพศสัมพนั ธ์ อตั ราการใชถ้ งุ ยางอนามยั ทุกคร้ังในการมีเพศสัมพันธ์กับทุกคู่นอนในกลุ่มพนักงานบริการตรง ร้อยละ
97.7 และพนักงานบริการแฝง ร้อยละ 92.2 ความรู้และความตระหนักในเร่ืองของโรคเอดส์และโรคติดต่อทาง
เพศสัมพันธ์ จานวน 10 ข้อคาถาม มีการตอบถูกทุกข้อ ร้อยละ 20.4 ในกลุ่มพนักงานบริการตรง และในกลุ่ม
พนักงานบริการแฝง ร้อยละ 14.7 ข้อท่ีตอบไม่ถูกต้องมากท่ีสุดคือการร่วมเพศกับแฟน/คนรักท่ีน่าไว้ใจโดยไม่สวม
ถุงยางอนามัยไม่ทาให้ติดเช้ือเอดส์ ตอบถูกเพียง ร้อยละ 47.4 ดังตารางท่ี 4 แสดงข้อคาถามในกลุ่มพนักงาน
บริการปี 2559

ตารางที่ 4 แสดงขอ้ คาถามจานวน 10 ขอ้ ทีใ่ ชว้ ัดความรู้เรื่องของโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มพนักงาน
บรกิ ารทางเพศปี 2559

ขอ้ ที่ คาถาม คาตอบ

1 การใชถ้ งุ ยางอนามยั สามารถป้องกันการติดเชอื้ เอดสไ์ ด้ ใช่หรอื ไม่  1.  2.
2 การมีค่นู อนเพยี งคนเดยี วทีไ่ มม่ ีเช้ือเอดสเ์ ปน็ วธิ หี น่งึ ทีส่ ามารถปอ้ งกันการติดเชอื้ เอดสไ์ ด้ ใช่ ใช่ ไม่ใช่

หรอื ไม่  1.  2.
ใช่ ไมใ่ ช่
3 ยงุ สามารถเปน็ พาหะนาเช้อื เอดส์มาสคู่ นได้ ใชห่ รอื ไม่
4 การกินอาหารร่วมกับผตู้ ิดเชื้อเอดส์สามารถตดิ เชอ้ื เอดส์ได้ ใช่หรอื ไม่  1.  2.
5 คนทีเ่ รามองเหน็ ว่ามสี ขุ ภาพรา่ งกายแขง็ แรงดี อาจจะเปน็ คนทม่ี เี ชอ้ื เอดสไ์ ด้ ใช่หรอื ไม่ ใช่ ไมใ่ ช่
6 ในปัจจบุ ันมียาทีส่ ามารถยบั ยัง้ เชอ้ื เอดส์(ยาต้านไวรัส) ไดใ้ ชห่ รือไม่
7 การสมั ผัสตัวผ้ตู ิดเชอื้ เอดสท์ าให้เปน็ เอดส์ได้ ใชห่ รอื ไม่  1.  2.
8 การรว่ มเพศขณะมีประจาเดือนไมท่ าใหต้ ดิ เอดสไ์ ดใ้ ชห่ รอื ไม่ ใช่ ไม่ใช่
9 การสวนล้างชอ่ งคลอดหลังการมเี พศสัมพันธ์ ป้องกนั การติดเช้ือเอดสไ์ ด้
 1.  2.
ใช่ ไมใ่ ช่

 1.  2.
ใช่ ไมใ่ ช่

 1.  2.
ใช่ ไม่ใช่

 1.  2.
ใช่ ไมใ่ ช่

 1.  2.
ใช่ ไมใ่ ช่

กลุ่มงานโรคติดต่อและควบคุมโรค

10 การร่วมเพศกบั แฟน/คนรักทน่ี า่ ไวว้ างใจโดยไม่สวมถงุ ยางอนามยั ไม่ทาใหต้ ิดเชือ้ เอดส์  1.  2.
ใช่ ไมใ่ ช่

จากสภาพปัญหาเอดส์ การเฝูาระวังพฤติกรรม ทส่ี ัมพันธ์กบั การตดิ เชอ้ื เอชไอวี และการเฝูาระวังโรคเอดส์

เฉพาะพ้นื ท่ี ปี 2559 ทาใหท้ ราบว่าประชากรส่วนหนง่ึ มพี ฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเช้ือเอชไอวี โดยเฉพาะวัยรุ่นที่

มีเพศสัมพันธ์ต้ังแต่อายุยังน้อย และยังมีการเปลี่ยนคู่นอนบ่อยๆโดยเฉพาะในปี 2559 พบว่าในรอบปี ท้ังนักเรียน

หญงิ และนกั เรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5 และระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพ 2 (ปวช.2 ) มีคู่นอนเฉล่ียมากกว่า 4

คน โดยคู่นอนต่าสุด1 คน และสูงสุด 11 คน ในรอบปี ส่วนใหญ่ยังไม่นิยมการใช้ถุงยางอนามัยในกลุ่มแฟนและคน

รัก ส่วนการใชถ้ ุงยางอนามยั กบั หญงิ อนื่ กย็ ังไม่ถึงร้อยละ 80 ส่วนตัวชี้วัดของการใช้ถุงยางอนามัยในกลุ่มวัยรุ่นโดย

ใช้นักเรียนชาย ม,5 เป็นตัวแทนเร่ืองของการใช้ถุงยางอนามัยครั้งล่าสุดกับทุกคู่นอนในรอบปี ต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ

70 จังหวัดสุพรรณบุรี อยู่ที่ร้อยละ 56.4 ซ่ึงสอดคล้องกับปัญหาของการแพร่ระบาดโรคเอดส์ในปัจจุบัน มี

ความรู้เรื่องโรคเอดส์ค่อนข้างดี นอกจากพฤติกรรมเหล่านี้ยังพบวัยรุ่นในกลุ่มนี้ยังคงใช้สารเสพติดร่วมกับการมี

เพศสัมพนั ธ์สงู ถงึ รอ้ ยละ 20.4 และพบอตั ราการตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่นทก่ี าลังศกึ ษาเพิม่ ข้ึน นอกจากน้ีปัจจัยแวดล้อมที่

ทาให้มีอารมณ์ทางเพศได้จากการเข้าถึงสื่อลามกอนาจารของนักเรียนกลุ่มน้ีก็สูงข้ึนด้วยโดยเฉพาะการใช้สื่อสารท่ี

ทนั สมยั เช่น โทรศพั ทม์ ือถอื

การปูองกันและควบคุมโรคเอดส์ในพ้ืนท่ีอีกหน่ึงกลุ่มท่ีต้องดาเนินการอย่างเข้าถึงคือกลุ่มหญิงขายบริการ
ทางเพศ โดยเฉพาะหญิงขายบริการทางเพศแฝง ในปีนี้พบอัตราการติดเช้ือเอ็ชไอวี สูงขึ้น และอัตราการใช้ทุกยาง
อนามัยในกลุ่มนี้ก็ยังคงไม่ถึงร้อยละ 100 (ตามตัวชี้วัด) ดังนั้น จะต้องสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เพราะ
การประเมินความรู้ของกลุ่มน้ีคงยังคอนข้างต่า ไม่ถึงร้อยละ 30 ในการตอบถูกทุกข้อ และอีกลุ่มหนึ่งที่ทาการ
สารวจและเปน็ กลมุ่ ทเี่ ขา้ ถงึ ยากนัน้ คอื กลมุ่ ชายที่มเี พศสัมพนั ธก์ ับชายของจงั หวดั สุพรรณบุรีโดยการทาแบบสอบถาม
พฤตกิ รรมทส่ี ัมพนั ธก์ บั การติดเช้อื เอ็ชไอวีคู่กับการเจาะโลหิตของผู้ที่ให้ประวัติของการมีเพศสัมพันธ์กับเพศเดียวกัน
จังหวัดสุพรรณบุรีปี 2559 พบการติดเช้ือ ร้อยละ 31.6 ซ่ึงการทางานในกลุ่มน้ีถือว่าเป็นกลุ่มที่ท้าทายและเป็น
กล่มุ ท่มี ีการติดต่อของเชื้อได้สูงสุดเพราะการมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนักและทางช่องปากซ่ึงเป็นช่องทางที่มีการฉีก
ขาดไดง้ ่ายและเป็นเนื้อเยือ่ ท่บี าง อกี โรคหน่งึ ทมี่ ีโอกาสเกิดได้คือมะเร็งท่ีปลายลาไสใ้ หญ่ บคุ คลกลุ่มนี้ต้องมีการตรวจ
มะเรง็ ทวารหนกั รว่ มดว้ ยทกุ ครงั้ ท่ีมารับบริการในคลนิ กิ กามโรค

ดังนัน้ ประชาชนทกุ กลุ่มควรไดร้ บั ความรู้และการปูองกันอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นให้มีความรู้เร่ือง
เอดส์ อนามัยการเจริญพันธ์ุ และการไม่มีเพศสัมพันธ์ก่อนถึงวัยอันควร อย่างต่อเนื่อง เพื่อลดปัญหาการตั้งครรภ์ท่ี
ไม่พึงประสงค์ การตั้งครรภ์อายุน้อย การทาแท้งแบบผิดๆ หรือการที่มีสถิติทารกที่คลอดและถูกทอดทิ้งสูงข้ึน
รวมถึง ลดการตดิ โรคติดตอ่ ทางเพศสัมพันธ์และ เอ็ชไอวี ของจังหวัดสพุ รรณบุรี


Click to View FlipBook Version