The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-30 23:16:01

รายงานประจำปี2559

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

กลุ่มงานโรคไมต่ ดิ ต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

สมุทรสงคราม 6.2 0 3.2

เพชรบรุ ี 4.8 0 2.5

ท่มี า : สานักงานสถิติแหง่ ชาติ พ.ศ. 2554

จากการสารวจของสานักงานสถติ แิ ห่งชาติ พบว่าจงั หวัดสพุ รรณบุรีมีอัตราความชุกของนัก
ด่ืมชายร้อยละ 9.2 อตั ราความชุกนักดม่ื หญงิ ร้อยละ 0.6 รวม รอ้ ยละ 5.0

ตารางที่ 2 : แสดงอัตราการสูบบุหร่ี ในประชากรวัยรุ่น(อายุ 15-19 ปี) ในเขตพ้ืนท่ี สคร.๔

ราชบุรี จาแนกรายจงั หวดั

จังหวดั อตั ราการสบู บุหร่ี (รอ้ ยละ)
ประชาการอายุ 15-18 ปี ประชากรอายุ 15 ปขี ้นึ ไป

ประจวบครี ขี นั ธ์ 9.87 26.04

สมุทรสาคร 6.81 16.96

สุพรรณบรุ ี 6.74 16.65

นครปฐม 6.4 16.00

ราชบุรี 6.31 19.18

สมุทรสงคราม 5.66 18.32

กาญจนบุรี 5.36 26.64

เพชรบรุ ี 3.91 20.83

ท่มี า : จากขอ้ มูลสถานการณแ์ ละแนวโนม้ การบรโิ ภคยาสบู ของประชากรไทย พ.ศ .2534-2554

โดยสานักควบคมุ การบรโิ ภคยาสูบ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

อัตราการสูบบุหร่ี ประชากรอายุ 15-18 ปี ค่าเฉล่ียปี 2554 ระดับประเทศ =9.2 เปูาหมายปี

2557-2558 ไม่เกินร้อยละ 10 อัตราการสูบบุหรี่ในประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป ค่าเฉล่ียปี 2554

ระดับประเทศ =21.4

แนวทางการดาเนินงาน ปี 2559

กิจกรรมหลกั ผลการดาเนินงาน

1.ออกตรวจเตือน ประชาสัมพันธ์ ร้านค้าจาหน่ายเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์และบุหร่ี พบเข้าข่ายกระทาผิดกาหมาย แต่ยังไม่มี

ชว่ งเทศกาลปีใหม่ (วันที่ 29 ธันวาคม 58-4 มกราคม 59) จานวน 33 ร้าน ได้แก่ การกระทาผดิ จานวน 1 ราย

ร้านค้า/ร้านสะดวกซอื้

2.ออกตรวจเตือน ประชาสัมพันธ์ ร้านค้าจาหน่ายเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์และบุหรี่ พบเข้าข่ายกระทาผิดกาหมาย แต่ยังไม่มี

ช่วงเทศกาลสงกรานต์ (วันที่ 11เมษายน 59) จานวน 30 ร้าน ได้แก่ ป๊ัมน้ามัน/ การกระทาผิด จานวน 3 ราย

รา้ นขาย ของชา/รา้ นสะดวกซอ้ื

3.ลงพ้นื ที่ประเมินคัดเลือกสถานศึกษาปลอดบุหรี่และเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ดีเด่น โรงเรยี นตลิง่ ชันวิทยา ไดร้ บั รางวัลรองชนะเลศิ


กลุม่ งานโรคไม่ตดิ ต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

ระดับเขต ปี 2559 ระหว่างวันท่ี 23-24 พฤษภาคม 2559 ณ โรงเรียนตลิ่งชัน อนั ดับ 2 ระดับเขตบรกิ ารสุขภาพ

วทิ ยาโรงเรียนบ่อกรุวิทยา และโรงเรียนธรรมโชติศึกษาลยั ท่ี 5

4.ติดตามการดาเนินงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในและรอบสถานศึกษา ใน วิทยาลัยได้มีการสารวจ เฝูาระวังการ

วันที่ 19 สิงหาคม 2559 ณ วิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี และวิทยาลัย ประเมินผลพฤติกรรมการบริโภคแอลกอฮอล์

อาชวี ศกึ ษาสุพรรณบุรี ของนกั เรียนเปน็ ระยะ

5.จัดกจิ กรรม “งดดม่ื สุราแหง่ ชาติ ทาความดีถวายในหลวง” ในช่วงเข้าพรรษา ปี มผี ูเ้ ขา้ รว่ มลงนามปฏิญาณตน จานวน 34,508

2559 ราย

การเปรยี บเทยี บปรบั ปี 2559
ท้งั หมด จานวน 30 ราย ได้แก่ (ตารวจภธู รอ่ทู อง) รายละเอยี ดดงั นี้
- ขายเครื่องดม่ื แอลกอฮอลใ์ นสถานท่ีหา้ มขาย (ปมั๊ หลอด) จานวน 2 ราย
- ขายเครื่องดื่มแอลกอฮอลใ์ นสถานทีห่ า้ มขาย (ในบรเิ วณโรงเรยี น) จานวน 1 ราย
- ขายเครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์นอกเวลาทก่ี ฎหมายกาหนด จานวน 4 ราย
- ดม่ื เครือ่ งดม่ื แอลกอฮอลใ์ นสถานทห่ี ้ามดื่ม (ในวัด) จานวน 9 ราย
- ดมื่ เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอลใ์ นสถานท่ีหา้ มดื่ม (บนรถยนต์) จานวน 12 ราย
- ขายเครอื่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในวันที่หา้ มขาย (วนั ออกพรรษา) จารวน 1 ราย
- ขายเครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์ในเด็กอายุต่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์ จานวน 1 ราย

ปัญหาอปุ สรรค
1. ปัจจุบันการเข้าถึงเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์และยาสูบสามารถทาได้ง่ายและสะดวกยากต่อการ
ควบคุม
2. ผูป้ ระกอบการร้านคา้ จาหน่ายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ยาสบู บางรายยงั มีการฝาุ ฝืนกฎหมาย
4. สถานประกอบการและสถานท่ีท่ีเกีย่ วข้องบางแหง่ ยังไม่ให้ความรว่ มมอื และไม่ให้ความสาคัญใน
การปฏิบตั ติ ามพระราชบญั ญัติควบคุมเครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอลแ์ ละยาสูบ

***************************************


กลมุ่ งานโรคไม่ติดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

2)งานป้องกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพติด

สถานการณ์ของปัญหายาเสพติดในพนื้ ท่ี ของจังหวดั สุพรรณบรุ ี ยังคงความรุนแรงอยา่ งต่อเน่ือง
ยาบ้ามีการแพร่ระบาดอย่างมากและต่อเน่ือง ขณะเดียวกัน ยาเสพติดชนิดใหม่ ได้แก่ ไอซ์ เริ่มมีการแพร่
ระบาดเข้ามาในพื้นที่ ส่งผลให้กลุ่มผู้เสพยาเสพติดเข้าถึงตัวยาได้ง่าย การดาเนินงานการปูองกันและแก้ไข
ปัญหายาเสพตดิ ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ดาเนินงาน 3 ด้าน คอื

ด้านการปอู งกนั ปัญหายาเสพติด ของจังหวดั สพุ รรณบรุ ี ไดน้ อ้ มนาแนวทางของโครงการ TO BE
NUMBER ONE มาเป็นแนวทางในการดาเนินงาน โดยบรู ณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้อง
ท้ังภาครัฐ เอกชน และประชาชน มาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2545 จนถึงปัจจุบัน ยึดยุทธศาสตร์หลักของ
โครงการ TO BE NUMBER ONE ท้ัง 3 ยุทธศาสตร์ 1 โครงการ มาเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการ
ดาเนินงานที่เป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง ใช้กระบวนการ TO BE NUMBER ONE การรณรงค์ปูองกันและ
แก้ไขปัญหายาเสพติด ภายใต้คาขวัญว่า “เป็นหนึ่งโดยไม่พ่ึงยาเสพติด” เสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจใน
กลุ่มเยาวชน ไม่ให้ยุ่งเก่ียวกับยาเสพติด เสริมสร้างทักษะในการใช้ชีวิต และได้จัดทาประกาศจังหวัด
สุพรรณบุรี เรื่อง นโยบายปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จังหวัดสุพรรณบุรีภายใต้โครงการรณรงค์
ปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE กาหนดให้ทุกวันพฤหัสบดี เป็นวัน TO BE
NUMBER ONE ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ีและทุกหนว่ ยงานสวมเสื้อ TO BE NUMBER ONE สุพรรณบุรีและมี
เพลง TO BE NUMBER ONE SUPHANBURI ซึ่งเป็นเพลงประจาจังหวัดสุพรรณบุรีเพื่อใช้ประชาสัมพันธ์
และรณรงคก์ ิจกรรมต่างๆของ TO BE NUMBER ONE

ในปีงบประมาณ 2559 จังหวัดสุพรรณบุรี เข้าร่วมกิจกรรม การประกวดจังหวัด/ชมรม TO BE
NUMBER ONE ระดับภาคกลางและตะวันออก ปาระจาปี 2559 เม่ือวันท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2559 ณ
โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ ซีตี้ จอมเทยี นพทั ยา จงั หวัดชลบรุ ี โดยส่งทมี เข้าร่วมการประกวด 4 ประเภท คือ

1.จังหวัด TO BE NUMBER ONE สพุ รรณบรุ ี
2.ชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศกึ ษา คอื โรงเรยี นบางแม่หมา้ นรัฐราษฎร์รงั สฤษฏ์
อาเภอบางปลามา้ จังหวัดสุพรรณบรุ ี
3.ชมรม TO BE NUMBER ONE ในชมุ ชน คือชุมชนบ้านบางแมห่ ม้าย หมูท่ ่ี 4 ตาบลบางใหญ่
อาเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี
4.ชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการ คอื บริษัท เอก-ชยั ดสิ ทริ บิวชนั่ (เทสโก้
โลตสั สพุ รรณบรุ ี)
จากการเขา้ รว่ มกจิ กรรมในครั้งน้ี จังหวัดสพุ รรณบุรี ไดร้ ับรางวัล ดีเด่น จานวน 3 ประเภท คอื
จังหวัด TO BE NUMBER ONE ดีเด่น “จังหวัด TO BE NUMBER ONE สุพรรณบุรี” ชมรม TO BE
NUMBER ONE ในสถานศึกษา ดเี ดน่ และชมรม TO BE NUMBER ONE ในชมุ ชน ดีเด่น


กลมุ่ งานโรคไม่ติดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

- วนั ที่ 29 สงิ หาคม 2559 ทลู กระหมอ่ มหญงิ อุบลรัตนราชกญั ญา สิรวิ ัฒนาพรรณวดี
พระราชทานวโรกาสเสด็จพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี โดยทรงเปิดศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE และ
เยี่ยมชมกิจกรรมของชมรม TO BE NUMBER ONE ท่ีโรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย อาเภอเมือง จังหวัด
สุพรรณบรุ ี
ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การรณรงค์ปลกุ จิตสานกึ และสรา้ งกระแสนิยมทเี่ ออ้ื ตอ่ การปอ้ งกนั และแก้ไข

ปัญหายาเสพติด
- จดั กิจกรรมรณรงค์และสร้างกระแสนิยมในกลุ่มเยาวชนไม่ยุ่งให้ยงุ่ เกี่ยวกับยาเสพติด อย่าง
ต่อเน่ือง ในปี พ.ศ. 2559 จังหวัดสุพรรณบุรี ได้รับเกียรติจากการกีฬาแห่งประเทศไทย กระทรวงการ
ท่องเท่ียวและกีฬา ให้เป็นเจ้าภาพการจัดการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ คร้ังท่ี 32 (พ.ศ. 2559)
“สุพรรณบุรีเกมส์” ระหวา่ งวนั ท่ี 9 – 19 มนี าคม 2559 มีเยาวชนท่ีเป็นนักกีฬาของจังหวัดต่างๆ มาร่วม
การแข่งขันกีฬา เป็นกิจกรรมและเวทีการแสดงออกซึ่งศักยภาพและความสามารถของเยาวชน ท้ังของ
จงั หวดั สุพรรณบุรีและจังหวัดอ่นื ๆ เกดิ การสรา้ งกระแสการรณรงคต์ ามโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง เห็นได้จาก
ประชาชนและหน่วยงานทกุ ภาคสว่ นรับรู้ และสวมเสอื้ TO BE NUMBER ONE สพุ รรณบุรี ทุกวันพฤหัสบดี
และในการจดั กจิ กรรมต่างๆของหน่วยงาน เช่น การดาเนินงานโครงการปฏิบัติการเพ่ือให้บริการประชาชน
ประจาปี 2559 ผู้ร่วมงานตามโครงการฯ ดังกล่าว สวมเสื้อ TO BE NUMBER ONE สุพรรณบุรี และ
ประชาชนทุกภาคสว่ นสวมเสอ้ื TO BE NUMBER ONE สพุ รรณบรุ ี ทกุ วนั พฤหสั บดี
จากการดาเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ สง่ ผลให้มสี มาชิก TO BE NUMBER ONE เพ่ิมขึน้ ปจั จบุ นั มีปจั จุบัน
มีประชาชนอายุ 10 - 24 ปี จานวน 171,556 คน เปน็ สมาชิก TO BE NUMBER ONE จานวน 160,803
คน คดิ เป็นร้อยละ 93.7 มีชมรม TO BE NUMBER ONE จานวนรวมทั้งสิ้น 768 ชมรม ศูนย์เพ่ือน
ใจ TO BE NUMBER ONE จานวน 35 แหง่
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การสร้างภมู คิ มุ้ กนั ทางจติ ใจใหแ้ กเ่ ยาวชน
2.1 การจดั กิจกรรมเสริมสร้างภูมคิ ้มุ กนั ทางจติ ใจให้แก่เยาวชน
2.2 จัดต้ังศูนย์เพอ่ื นใจ TO BE NUMBER ONE (TO BE NUMBER ONE FRIEN CORNER)
- กิจกรรมของโครงการสง่ เสรมิ กิจกรรมเดก็ และเยาวชน อบจ.สพุ รรณบรุ ี “Smart Kids Show
Season 3 ” มีการอบรมค่ายทักษะต่างๆ ให้กับเด็กและเยาวชนที่ร่วมกิจกรรม Smart Kids Show
ส่งเสริมให้เยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้แข่งขันในเวทีระดับชาติ ท้ังนี้ เยาวชนของโรงเรียนกีฬาจังหวัด
สุพรรณบุรี เป็นตัวแทนของประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขัน ASIAN HIP HOP 2016 @ HONGKONG
เม่ือวันที่ 13 – 16 พฤษภาคม 2559 ท่ีประเทศฮ่องกง มีจานวน 20 ทีม จาก 8 ประเทศ เข้าร่วมการ
แขง่ ขนั
- สง่ เสริมใหเ้ ยาวชนทเ่ี ปน็ ตวั แทนองจงั หวดั สพุ รรณบุรี เข้าร่วมกจิ กรรมการประกวดเยาวชน
ต้นแบบเก่งและดี TO BE NUMBER ONE (TO BE NUMBER ONE IDOL) รุ่นที่ 16 ประจาปี 2559
และส่งเยาวชนท่ีเป็นสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE ของ โรงเรียนบางแม่หม้ายรัฐราษฎร์รังสฤษด์ิ


กล่มุ งานโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจติ และยาเสพติด

เข้าร่วมกิจกรรมค่ายพัฒนาสมาชิก TO BE NUMBER ONE สู่ความเป็นหน่ึง (TO BE NUMBER ONE
CAMP) รนุ่ ท่ี 17

- ดาเนินการเฝาู ระวังปัญหายาเสพตดิ กบั ทุกหน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง ได้แก่ สานักงานเขตพืน้ ท่ี
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 , 2 และ 3
เจ้าหนา้ ท่ีตารวจในสงั กัดตารวจภธู รจังหวัดสุพรรณบรุ ี เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในสังกัดสานักงานสาธารณสุข
จังหวัดสุพรรณบุรี แรงงานจังหวัดสุพรรณบุรี สานักงานสวัสดิการและแรงงานจังหวัดสุพรรณบุรี และ
เจ้าหนา้ ทีจ่ ากฝุายปกครอง ร่วมกัน

- วางแผนและดาเนินงาน เฝาู ระวังปญั หายาเสพติด ในโรงเรียน ในสถานประกอบการ
นอกจากน้ี ได้ดาเนินงาน โครงการเยาวชนคนดีศรีสุพรรณบุรี อย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้เด็กและเยาวชนเป็นผู้มี
ศีลธรรม จริยธรรม วฒั นธรรมทดี่ ีงาม เป็นผ้มู วี ินัย สานึกในการเคารพและปฎิบัติตามกฎหมาย รู้จักผิดชอบ
ชั่วดี กลั่นกรองวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารอย่างมีเหตุผล เลือกปฎิบัติในทางท่ีถูกต้องเหมาะสมกับชุมชนและ
สงั คม ไม่พัวพันสง่ิ เสพตดิ
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การสร้างและพฒั นาเครอื ขา่ ยการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

- สร้างและขยายเครือข่ายเพ่ือการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ทั้งในและนอกพืน้ ที่ ของ
จังหวัดสพุ รรณบุรี อยา่ งต่อเนอ่ื ง

- ด้านการสง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพสมาชกิ TO BE NUMBER ONE สคู่ วาม “เป็นหน่ึงโดยไม่
พ่ึงยาเสพติด” สมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษา ในชุมชน ไปศึกษาดูงานท่ี ชมรม TO
BE NUMBER ONE และศูนยเ์ พือ่ นใจ TO BE NUMBER ONE ที่ จังหวัดนนทบรุ ี และจังหวดั ราชบรุ ี

- ด้านการสง่ เสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชมรม TO BE NUMBER ONE ชมรม TO BE NUMBER
ONE ในสถานศึกษาในชุมชน ไปศึกษาดูงานที่ ชมรม TO BE NUMBER ONE และศูนย์เพ่ือนใจ TO BE
NUMBER ONE จังหวัดนนทบรุ ี และจังหวัดราชบรุ ี

- ด้านการขยายและพฒั นาชมรม TO BE NUMBER ONE สร้างและขยายเครอื ข่ายในชุมชน
อยา่ งต่อเนอ่ื ง ดาเนินงานตามโครงการคนดศี รีสพุ รรณ ซึ่งมงุ่ หมายทีจ่ ะพัฒนาเด็ก เยาวชน และประชาชน
ใหม้ ีส่วนรว่ มในการเสริมสร้างสงั คมสพุ รรณบรุ ี ให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ผู้คนเป็นคนดี และมีวิถีชีวิตที่
พอเพยี ง โดยกล่มุ เปูาหมายนาร่องการพฒั นา คือกล่มุ เด็กและเยาวชน และในชมุ ชน ของจังหวัดสุพรรณบุรี
จานวน 2 ชมุ ชน คอื ชมุ ชนวดั จาปี (บา้ นรางมดแดง) หมทู่ ่ี 2 ตาบลสนามคลี อาเภอเมืองสุพรรณบุรี และ
ชมุ ชน บา้ นหนองบอน ตาบลโคกโคเฒา่ อาเภอเมือง จังหวดั สพุ รรณบุรี จัดทาสารคดี (สกูป๊ พิเศษ) ตอน
การแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยกลไกประชารัฐ ออกอากาศผ่านรายการเรื่องเล่าจากชุมชน ทางสถานีวิทยุ
โทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง NBT โดยใช้กระบวนการ 9 ขั้นตอน ในการสร้างชุมชนเข็มแข็งต่อต้านยา
เสพติด โดยสานักงานปอู งกันและปราบปรามยาเสพตดิ ภาค 7

- โครงการ การบาบัดรักษาและฟ้ืนฟจู ิตใจเยาวชนสมาชกิ ใครตดิ ยายกมือข้นึ ตามแนวทาง
พระราชดารโิ ครงการ TO BE NUMBER ONE ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณ
วดี


กล่มุ งานโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

- จังหวัดสพุ รรณบุรี มสี ถานบรกิ ารในสงั กดั สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี โรงพยาบาล
จานวน 10 แห่ง เพ่ือบาบัดรักษาและฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ปุวยยาเสพติด และมีศูนย์บาบัดฟื้นฟูสมรรถภาพ
แบบสมัครใจ จังหวัดสุพรรณบุรี (ค่ายท้าวอู่ทอง) ต้ังอยู่ที่ หมู่ท่ี 5 ตาบลอู่ทอง อาเภออู่ทอง จังหวัด
สุพรรณบุรี เป็นสถานพยาบาลตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ประเภทสถานฟ้ืนฟู
สมรรถภาพ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงเป็นสถานที่บาบัดรักษาและฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ปุวยยา
เสพตดิ

- ผลการดาเนินงานตามโครงการ การบาบัดรกั ษาและฟืน้ ฟจู ติ ใจเยาวชน สมาชิกใครติดยายก
มือข้ึน โดยบูรณาการความร่วมมือกับทุกหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อ ปัจจุบันมีกลุ่มเยาวชน ท่ีเข้ารับการ
บาบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ปุวยยาเสพติด ในโรงพยาบาล สังกัดสานักงานสาธารณสุขจังหวัด
สุพรรณบุรี มีจานวน 236 คน (รวมนักเรียนที่เข้ารับการบาบัดรักษาฯ ตามโครงการฯ จานวน 18 คน)
และเยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดสุพรรณบุรี จานวน 46 คน รวมจานวน
สมาชิกใครติดยายกมือข้ึนจานวน 282 คน เลิกเสพยาเสพติดได้ จานวน 228 คน และประกอบอาชีพ
จานวน 139 คน

- ดา้ นการปราบปรามยาเสพตดิ ของตารวจภธู รจังหวดั สพุ รรณบุรี พบวา่ สถติ ดิ า้ นการจบั กุม
ผู้ต้องหาคดียาเสพติด พบว่า ในช่วงเวลา 1 ปีที่ผ่านมา (ต้ังแต่เดือน ตุลาคม 2558 ถึง เดือนเมษายน
2559) ผลการจบั กมุ ผูค้ ้ายาเสพติด มีปริมาณของกลางเพ่ิมมากข้นึ

- มีผู้ตอ้ งหาถกู จับกมุ จานวน 3,364 คดี เปน็ ผตู้ ้องหาจานวน 3,410 คน
- ข้อหาผลิตยาเสพติด (กัญชา , พืชกระทอ่ ม) จานวน 10 คดี ผู้ตอ้ งหาจานวน 10 คน
- ขอ้ หาจาหนา่ ย จานวน 272 คดี ผตู้ อ้ งหาจานวน 297 คน
- ขอ้ หาครอบครองเพอ่ื จาหนา่ ย จานวน 297 คดี ผตู้ ้องหาจานวน 315 คน
- ขอ้ หาครอบครองยาเสพติด จานวน 714 คดี ผู้ต้องหาจานวน 716 คน
- ข้อหาเสพยาเสพติด จานวน 640 คดี ผ้ตู ้องหาจานวน 640 คน
- ข้อหาขบั เสพ จานวน 1,429 คดี ผู้ต้องหาจานวน 1,430 คน
- ข้อหาสบคบ , สนับสนุน จานวน 2 คดี ผู้ตอ้ งหา 2 คน
- ของกลาง จาแนกเปน็ ยาบา้ จานวน 156,261 เมด็ , ไอซ์ จานวน 1,026.67 กรัม, ยาอี 2

เม็ด, ฝนิ่ 3 กรัม, กัญชา 4.54 กโิ ลกรัม และพืชกระท่อม 41.57 กโิ ลกรัม
- ข้อมูลจากพิสูจน์หลักฐานจังหวัดสุพรรณบุรี พบสถานการณ์การแพร่ระบาดของตัวยาเสพติด

จาแนกตามหัวตอก
- กลมุ่ G1 พบแพร่ระบาดประมาณ 92 % พบทกุ พ้นื ทใี่ นจังหวัดสพุ รรณบรุ ี

สสี ้ม มเี มทแอมเฟตามนี ระหว่าง 9 – 17 % สีเขียว มีเมทแอมเฟตามีน ต่ากว่า 10 %
- กลุ่ม G23 พบแพร่ระบาดประมาณ 6 % พบในพื้นที่อาเภออู่ทอง , อาเภอสองพี่น้อง ,

อาเภอด่านช้าง และอาเภอบางปลามา้ มีเมทแอมเฟตามนี ระหว่าง 9 – 19 %


กลุม่ งานโรคไม่ติดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

- กลุ่ม G24 พบแพร่ระบาดประมาณ 2 % พบในพ้ืนท่ีอาเภอดอนเจดีย์ และอาเภออู่ทอง
มีเมทแอมเฟตามีน ระหวา่ ง 14 – 21 %

- ด้านการบาบัดรักษาผู้ปุวยยาเสพติด ของจังหวัดสพุ รรณบุรี ในปงี บประมาณ 2559 (เดอื น
ตุลาคม 2558 – 30 กันยายน 2559) มีผู้ปุวยยาเสพติดเข้ารับการบาบัดรักษาฯ หลักสูตร 4 เดือน ใน
โรงพยาบาลทั้ง 10 แห่ง ในสังกัดสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า จานวนรวมทั้งส้ิน 534
คน เป็นเพศชาย 493 คน เพศหญิง 41 คน อายุต่าท่ีสุดท่ีเข้ารับการบาบัดรักษาฯ 13 ปี อายุ
มากท่สี ุดท่เี ข้ารับการบาบัดรักษาฯ 61 ปี ส่วนมากประกอบอาชีพ รับจ้าง และเกษตรกรรม ยาเสพติด
ที่ใชค้ รั้งสุดทา้ ยก่อนมาเข้ารับการบาบัดรกั ษาฯ ได้แก่ ยาบ้า ไอซ์ กัญชาและสารระเหย สาเหตุท่ีใช้ยาเสพ
ติด อยากลอง , เพ่อื นชวน และช่วยในการประกอบอาชพี อายทุ ีใ่ ช้ยาเสพตดิ คร้ังแรกต่าสุด 10 ปี ชนิด
ของยาเสพติดที่ใช้คร้ังแรก ยาบา้ , กัญชา และ ไอซ์ (ผู้เข้ารบั การบาบัดรักษาฯ ในกลุ่มเด็กนักเรียน พบใช่
ยาเสพตดิ รว่ มกบั บหุ รี)่

- ผูเ้ สพรายใหมใ่ นพน้ื ทม่ี จี านวนเพ่มิ มากขนึ้ ผูเ้ สพรายเกา่ ทีเ่ ปน็ เด็กและเยาวชนไดผ้ นั ตวั ไป
เปน็ ผูค้ ้ารายย่อยในพ้ืนท่ี ซ่ึงมีจานวนเพมิ่ ข้นึ อย่างตอ่ เนือ่ ง ท้งั น้ี คนในชุมชนส่วนใหญ่ยังเห็นว่า ผู้เสพ/ผู้ติด
ยาเสพติด ในชมุ ชน เป็นปัญหาเฉพาะของแต่ละครอบครัวมากกว่าเป็นปัญหาของชุมชน นอกจากน้ี พบว่า
ปัญหามั่วสุ่มของกลุ่มวัยรุ่น เป็นปัญหาสร้างความเดือดร้อนให้แก่คนในชุมชนหรือหมู่บ้านมากที่สุด ใน
ปีงบประมาณ 2559 สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กาหนดมาตรการ ด้านการปูองกันปัญหายา
เสพตดิ ในเยาวชนกล่มุ เส่ียง พัฒนาศักยภาพและรปู แบบการปูองกันเชิงรุก ด้านการบาบัดรักษาผู้เสพผู้ติด
ยาเสพติด เพม่ิ การเข้าถึงและคณุ ภาพดา้ นการบาบดั รกั ษา โดยกาหนดเปูาหมาย ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดท่ีเข้า
รับการบาบัดรักษา ระบบสมัครใจ ที่โรงพยาบาลทุกแห่งในสังกัดสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี
และพัฒนาระบบฐานข้อมลู การทดสอบทางวิทยาศาสตร์เพ่ือการเฝูาระวังและระบบสนับสนุนท่ีเอื้อต่อการ
ทางาน
ชือ่ ตัวชวี้ ดั ; ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติด ที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจาหน่ายจากการบาบัดรักษา
(3 Month remission rate) รอ้ ยละ 92

- ปงี บประมาณ 2559 จงั หวัดสุพรรณบุรี มีผปู้ วุ ยยาเสพตดิ ทผี่ ่านกระบวนการบาบัดรกั ษา
จานวน 340 คน และหยุดเสพยาเสพติดต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจาหน่ายจากการบาบัดรักษาจานวน 317
คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 93.2 ท่ีมา : ระบบรายงาน ระบบติดตามและเฝูาระวงั ปญั หายาเสพตดิ (บสต. 3 – 5)
ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2559

- การดาเนินงานตามประกาศ คสช. 108/2557
จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ไดด้ าเนนิ งานตามนโยบายของ ประกาศคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ ฉบบั ท่ี
108/2557 เรื่อง การปฏิบัติต่อผู้ต้องสงสัยว่ากระทาผิดตามกฎหมายเก่ียวกับยาเสพติดเพื่อเข้าสู่การบาบัด
ฟื้นฟูและการดูแลผู้ผ่านการบาบัดฟ้ืนฟู มีการบูรณาการดาเนินงานการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
กับหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้อง ได้แก่ ศูนยอ์ านวยการปูองกนั และปราบปรามยาเสพตดิ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี


กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจติ และยาเสพติด

ตารวจภูธรจังหวัดสุพรรณบุรี ฝุายปกครองจังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าหน้าท่ีฝุายทหาร สานักงานคุมประพฤติ
จงั หวัดสุพรรณบุรี สถานพนิ ิจและคมุ้ ครองเด็กและเยาวชนจงั หวดั สุพรรณบุรี เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขในสังกัด
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบูรณาการดาเนินงานร่วมกัน ตั้งแต่ การ
ค้นหา คัดกรอง ผู้ต้องสงสัย เพื่อเข้าสู่กระบวนการบาบัดรักษาและฟ้ืนฟูสมรรถภาพ และนโยบายของ
กระทรวงสาธารณสุข ให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ดาเนินงานตามคาส่ังศูนย์อานวยการ
ปูองกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ ท่ี 4/2558 ลงวันท่ี 15 กรกฎาคม 2558 เรื่อง แนวทางการ
แก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติดแบบบูรณาการระดับพ้ืนท่ี โดยมีเปูาหมายเพื่อลดระดับปัญหาการ
แพรร่ ะบาดยาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชน ให้ปรากฏผลชัดเจนเป็นรูปธรรม โดยให้ความสาคัญเป็นลาดับแรก
ต่อการลดผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชน ด้วยกระบวนการบาบัดรักษา ฟ้ืนฟูและการติดตาม
ชว่ ยเหลือแบบครบวงจร ดังน้ี

1. ศูนยเ์ พือ่ การคดั กรองผเู้ ขา้ รบั การบาบดั ฟืน้ ฟูสมรรถภาพผู้ปวุ ยยาเสพตดิ ใหต้ ้งั อยู่ท่ี
โรงพยาบาลทกุ แห่ง ในสังกดั สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

- ในเวลาราชการ วนั จนั ทร์ – วันศกุ ร์ ตัง้ แต่ 08.30 น . – 16.30 น.ทค่ี ลินิกยาเสพติด
ของโรงพยาบาลทุกแห่ง

- นอกเวลาราชการ วันเสาร์ – วันอาทิตย์ และวนั หยุดราชการ ดาเนนิ การที่ห้องฉุกเฉิน
ของโรงพยาบาลทกุ แห่ง
2. กรณที ี่ไม่มกี ารเปิดค่ายบาบดั ฟนื้ ฟสู มรรถภาพผปู้ ุวยยาเสพติด

- ให้เจา้ หนา้ ท่ีตารวจ , เจ้าหนา้ ท่ีฝาุ ยปกครอง และเจ้าหนา้ ท่ที หาร นาตัวผตู้ อ้ งสงสยั มาทีศ่ นู ย์
เพื่อการ คดั กรอง ทีโ่ รงพยาบาล พร้อม แบบ บนั ทกึ ผลการตรวจปัสสาวะ (บ.108-2557-1) ลงรายละเอียด
ตามแบบฯ ดังกล่าว และแบบ การยินยอมเข้ารับการบาบัดฟ้ืนฟูฯ (บ.108-2557-2) ลงรายละเอียดตาม
แบบฯ ดังกล่าว และตัวอย่างปัสสาวะของผู้ต้องสงสัย พร้อมหนังสือนาส่ง จากหน่วยงาน มาส่งที่ศูนย์
เพ่ือการคัดกรองท่โี รงพยาบาลทกุ แห่ง โดย “ เรยี น ผอู้ านวยการโรงพยาบาล ”

- ใหเ้ จ้าหนา้ ทขี่ องศนู ยเ์ พอื่ การคดั กรองที่โรงพยาบาล ดาเนินการ เกบ็ ตัวอยา่ งปัสสาวะของผู้ต้อง
สงสัยและดาเนินการคัดกรองผู้เสพ/ผู้ปุวยยาเสพติด โดยใช้ แบบคัดกรองและส่งต่อผู้ปุวยที่ใช้ยาและสาร
เสพตดิ เพอื่ เขา้ รับการบาบัดรกั ษา กระทรวงสาธารณสุข บคก.สธ. (V.2) และจัดทาใบนัด ให้ผู้เสพ/ผู้ติดยา
เสพติด เพอื่ เข้ารบั การบาบดั และฟ้ืนฟูสมรรถภาพผูป้ ุวยยาเสพติด

- ให้เจา้ หนา้ ทข่ี องศนู ย์เพอ่ื การคดั กรองทโี่ รงพยาบาล นาเอกสารของผู้ต้องสงสัย ไปใหเ้ จา้ หนา้ ท่ี
ของท่ีวา่ การอาเภอ ตรวจสอบข้อมูล และบันทกึ ขอ้ มูล ในระบบ NISPA

3. กรณีท่มี กี ารเปดิ ค่ายบาบัดฟืน้ ฟูสมรรถภาพผูป้ วุ ยยาเสพติด
- ให้เจ้าหน้าทีต่ ารวจ , เจ้าหนา้ ทีฝ่ ุายปกครอง และเจ้าหน้าที่ทหาร นาตวั ผู้ต้องสงสยั ไปยงั
สถานทีด่ าเนนิ การค่ายบาบดั ฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ปุวยยาเสพติด พร้อมแบบบันทึกผลการตรวจปัสสาวะ (บ.
108-2557-1) ลงรายละเอียดตามแบบฯ ดังกลา่ ว และแบบการยนิ ยอมเขา้ รบั การบาบัดฟื้นฟูฯ (บ.108-


กลมุ่ งานโรคไม่ตดิ ต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

2557-2) ลงรายละเอียดตามแบบฯ ดังกล่าว ไม่ต้องนาตัวอย่างปัสสาวะของผู้ต้องสงสัยมาส่งที่ค่าย ซ่ึง
เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข จะดาเนินการคัดกรอง ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ท่ีค่ายบาบัดฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ปุวยยา
เสพตดิ
หมายเหตุ

1. ผเู้ สพยาเสพตดิ ท่ีมอี ายตุ า่ กวา่ 18 ปี และเปน็ นกั เรียน ไมน่ าตวั เข้าบาบัดรกั ษาฯ ในคา่ ย
ปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรม ให้สง่ ตวั เข้ารบั การบาบัดรักษา ทีโ่ รงพยาบาลที่ใกลบ้ า้ น

2. ผู้เสพยาเสพตดิ ทม่ี คี ดตี ิดตัว ไมน่ าตวั เขา้ บาบัดรกั ษาฯ ในคา่ ยปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรม ใหส้ ง่
ข้อมูลไปท่ีตารวจภูธรจังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อสืบค้นข้อมูลและดาเนินการคดี ให้เสร็จส้ินก่อน จึงนาตัวเข้า
รับการบาบัดรักษาและฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ต่อไป และเมื่อดาเนินการบาบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ปุวย
ยาเสพติดครบตามกระบวนการ จะดาเนินการส่งข้อมูลของผู้ที่ผ่านการบาบัดรักษาฯ ไปที่ศูนย์อานวยการ
ปอู งกันและปราบปรามยาเสพตดิ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ซึง่ เปน็ ศนู ยป์ ระสานการดแู ลช่วยเหลือผู้ผ่านการบาบัด
ฟื้นฟูจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นศูนย์กลางช่วยเหลือผู้ผ่านการบาบัดฟ้ืนฟู ท่ีประสงค์ขอรับความช่วยเหลือจาก
ศูนย์ฯ อาเภอ และรายงานผลการติดตาม ดูแล ช่วยเหลือผู้ผ่านการบาบัดฟ้ืนฟู ทั้งนี้ ให้ดาเนินการติดตาม
อย่างน้อย 4 คร้ังระยะเวลา 1 ปี เน้นการสนับสนุนการช่วยเหลือผู้ผ่านการบาบัด โดยดูจากข้อมูลสรุปผล
การติดตามผู้ผ่านการบาบัด พัฒนาระบบการให้ความช่วยเหลือสาหรับผู้ผ่านการบาบัดฟื้นฟูท่ีประสงค์รับ
ความช่วยเหลือ โดยการเพิ่มช่องทางการเข้าถึงบริการของหน่วยงานรัฐท่ีเก่ียวข้อง เช่น การศึกษา การฝึก
อาชีพ การจัดหางานหรือทุนสงเคราะห์ รวมท้ังการสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการรับผู้ผ่านการบาบัด
ฟื้นฟูเข้าทางานในสถานประกอบกิจการ และดาเนนิ การประสานหน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้อง ได้แก่ สถาบันพัฒนา
ฝีมอื แรงงาน

จังหวัดสพุ รรณบุรี , สานกั งานแรงงานจังหวดั สพุ รรณบุรี องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ เพื่อใหก้ าร
สนับสนุน ช่วยเหลอื ผผู้ ่านการบาบัดรกั ษาฯ

- การดาเนนิ งานตามแผนพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) สาขาสุขภาพจิต จติ เวชและยา
เสพติด (ตาม 6 Building Blocks) ในปีงบประมาณ 2559 โรงพยาบาลทุกแห่งในสังกัดสานักงาน
สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีดาเนินงานตามแผนพัฒนาระบบบริการ สาขาสุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพ
ติด ท้ัง 10 แห่ง ได้มีการวางแผนด้านการพัฒนาบุคลากร ที่ปฏิบัติงานด้านการบาบัดรักษาและฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ปุวยยาเสพตดิ เพิ่มข้ึน เพอื่ รองรับการดาเนินงานตามนโยบายของรฐั บาล ตอ่ ไป

- การพัฒนาคณุ ภาพสถานพยาบาล
ในปงี บประมาณ 2559 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี กาหนดเปาู หมายการ

พัฒนาคุณภาพสถานพยาบาล โดยกาหนดให้ โรงพยาบาลทุกแห่งในสังกัดสานักงานสาธารณสุขจังหวัด
สุพรรณบุรี ทั้ง 10 แห่ง ดาเนินการพัฒนาหน่วยบริการ/พัฒนางานตามมาตรฐาน HA ยาเสพติด ทั้งน้ี มี
โรงพยาบาลในสังกัดสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีได้รับการตรวจประเมินและรับรองคุณภาพ
สถานพยาบาลยาเสพติด จากสถาบันบาบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี จานวน 3
แห่ง คือ โรงพยาบาลศนู ย์เจา้ พระยายมราช โรงพยาบาลดอนเจดยี ์ และโรงพยาบาลบางปลามา้


กลุ่มงานโรคไมต่ ิดต่อ สุขภาพจติ และยาเสพติด

- สรปุ ประเด็นสาคญั ท่เี ป็นความเสีย่ งต่อการทาให้การขับเคลื่อนนโยบายหรือการดาเนินงานไม่ประสบ
ความสาเรจ็ (Key Risk Area/ Key Risk Factor)

1.ตัวยาเสพติด ยาบา้ และไอซม์ ีการแพร่ระบาดอย่างมากในพ้ืนท่ี ส่งผลให้กลมุ่ ผูเ้ สพยาเสพติด
เข้าถึงตวั ยาได้ง่าย

2.ผู้ทเี่ สพยา ไม่มีความต้องการทจ่ี ะเข้ารับการบาบัดรักษาฯ ถ้าไมถ่ ูกจบั หรือถูกบังคับใหบ้ าบดั รักษาฯ
โดยมีเง่อื นไขไม่ต้องถูกดาเนินคดีถ้ายินยอมเข้ารับการบาบัดรักษาฯ

3.การดาเนินงานยาเสพตดิ ตอ้ งมีการบูรณาการจากทุกหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้องอย่างจริงจังเป็นรูปธรรม
และต่อเนื่อง ตั้งแต่ ระดับครอบครัว หมู่บ้าน/ชุมชน ประชาชนในพื้นที่ ผู้นาชุมชน และเจ้าหน้าท่ีภาครัฐทุก
หน่วยงาน ทั้งระบบ ต้ังแต่ การค้นหาผู้ที่เก่ียวข้องกับยาเสพติด การคัดกรอง การบาบัดรักษาฯ และการติดตาม
ทตี่ ่อเนื่อง

4.การคดั กรองและจาแนกผู้เสพ/ผตู้ ิดยาเสพติด เพ่ือเข้ารับการบาบดั รักษาและฟื้นฟสู มรรถภาพ
ไมส่ ามารถ จาแนกได้ตรงกับสภาพและอาการของผู้เสพ เนื่องจากผู้เสพและผู้ติดยาเสพติดไม่บอกความจริง
กับเจ้าหน้าท่ีผู้ท่ีดาเนินการคัดกรอง และประกอบกับจานวนเปูาหมายในการดาเนินงาน (กรณีค่าย
ปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรม) ท่ีกาหนดไว้เป็นจานวนมาก (รุ่นละ 100 คน) ส่งผลให้ผู้เข้ารับการบาบัดรักษาและ
ฟ้ืนฟูสมรรถภาพในค่ายปรับเปล่ียนพฤติกรรม มีกลุ่มของผู้ติดยาเสพติดระดับรุนแรง เข้ามารับการบาบัดฯ
ดว้ ย

5.ผปู้ วุ ยยาเสพติด เข้ารบั การบาบัดรกั ษาไมค่ รบตามหลักสูตรทก่ี าหนด เน่ืองจากตอ้ งไปประกอบ
อาชีพ ไม่อยูใ่ นพ้ืนที่ และไมอ่ ยากเข้ารบั การบาบดั รักษา

6.การติดตามผู้ปุวยยาเสพตดิ ทผี่ า่ นการบาบดั รักษา ดาเนินการได้ไม่ครบตามจานวนครั้งท่ีกาหนด
เนื่องจาก ต้องไปประกอบอาชีพ และไมอ่ ยใู่ นพน้ื ท่ี

7.โรงพยาบาลทุกแห่ง ที่บาบดั รกั ษาฯ ผปู้ ุวยยาเสพตดิ มีบคุ ลากรไม่เพยี งพอ และมีภาระงานที่
รับผิดชอบมาก อีกท้ังมีข้อจากัดให้บริการได้เฉพาะเวลาราชการเท่าน้ัน ส่งผลให้การบูรณาการดาเนินงาน
กบั หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้องขาดความตอ่ เนื่อง

8.การดาเนินงานด้านการแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ควรมีการขบั เคลื่อนงานในระดับประเทศ เพราะ
ภาครัฐยังมี

บทบาทสาคัญและเป็นหลัก สว่ นภาคประชาชนและชมุ ชน ในฐานะพลงั แผ่นดนิ ทแ่ี ท้จรงิ ยงั มี
บทบาท ไม่สมดุลกับภาครัฐ ซึ่งการดาเนินงานที่ผ่านมา หากภาครัฐขับเคล่ือนงานยาเสพติด ปัญหาก็จะ
เบาบางลง แตเ่ ม่ือภาครัฐคลายตวั ในด้านน้ี ปญั หากพ็ ลิกฟืน้ กลบั มาอกี

*******************************************


กลมุ่ งานโรคไม่ติดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

3) งานพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ผู้พิการ

จังหวดั สพุ รรณบุรี มคี นพิการทงั้ หมดจานวน 18,971 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.76 ของประชาชน

ท้งั หมด จาแนกตามประเภทของความพกิ าร เปน็ คนพิการทางการเคล่ือนไหวหรือร่างกาย จานวน 10,148

คน คนพิการทางการได้ยนิ หรือสื่อความหมาย จานวน 3,219 คน คนพิการทางสติปัญญา จานวน 1,296

คน คนพิการทางการมองเห็น จานวน 1,518 คน คนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม จานวน 1,153 คน

คนพกิ ารออทิสติก จานวน 99 คน และพิการทางการเรียนรู้ จานวน 55 คน พิการซ้าซ้อน 1,470 คน

(ขอ้ มูลจากสานกั งานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ จงั หวัดสพุ รรณบุรี ณ วันท่ี 23 พฤศจิกายน

2559)

ในปีงบประมาณ 2559 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ดาเนินงานการจัดบรกิ าร

สขุ ภาพ ตาม core package หลัก 6 ด้าน (กลุ่มวยั ทางาน) ดังน้ี

1. ดาเนินงาน การคัดกรองโรคข้อเข่าเสือ่ ม ประชาชนกลุ่มวัยทางาน (อายุ 35 – 59 ปี)

- ในกลุ่มประชาชนวัยทางาน (อายุ 35 – 59 ป)ี ดาเนนิ งานการคัดกรอง โรคข้อเขา่ เสอ่ื ม

ประชาชนกล่มุ วัยทางาน กาหนดคัดกรองเฉพาะผทู้ ี่มี BMI มากกวา่ 30 โดยใช้แบบคดั กรองข้อเข่าเส่ือม

(กรมการแพทย์) ซง่ึ การดาเนินงานในส่วนน้ยี ังไมช่ ดั เจน

2. การใหบ้ ริการ คนพกิ ารขาขาด ไดร้ ับขาเทียม ได้รับบริการครบถว้ น ภายใน 3 ปี (2558 –

2560) ตัวชว้ี ัดคือ คนพิการทางการเคล่อื นไหว (ขาขาด) ได้รับบรกิ ารครบถ้วน รอ้ ยละ 90

ตารางที่ 1 สรุปจานวนคนพิการ (ขาขาด) จาแนกรายอาเภอ

อาเภอ ผ้พู ิการขาขาด ผู้พกิ ารขา รวมพิการขา มขี าเทยี ม ไม่มีขาเทียม

รายเก่า ขาดรายใหม่ ขาดท้งั หมด (สารวจจรงิ ) (สารวจจรงิ )

เมอื งสุพรรณบรุ ี 74 0 74 51 13

เดมิ บางนางบวช 52 0 52 43 9

ด่านชา้ ง 24 0 24 22 2

บางปลาม้า 39 0 39 36 3

ศรปี ระจนั ต์ 42 0 42 32 10

ดอนเจดีย์ 21 0 21 18 3


กล่มุ งานโรคไม่ติดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

สองพี่น้อง 62 0 62 45 18
สามชกุ
อ่ทู อง 23 0 23 15 8
หนองหญ้าไซ
รวม 44 0 44 33 11

15 0 15 11 4

396 7 396 303 76.52

ตารางที่ 2 สรปุ จานวนคนพิการ (ขาขาด) ที่ได้รบั การบรกิ าร

ผลสาเรจ็ /ตวั ชี้วัด อาเภอ ผู้พิการขาขาดจาแนก

ผู้พิการ มีขา รอ้ ยละ ไมม่ ีขาแตม่ ี รวมได้รบั รออุปกรณ์ชว่ ย
ทัง้ หมด เทยี ม
อปุ กรณ์อน่ื / การดแู ล /ขาเทียม
ไมต่ ้องการ ร้อยละ
ขาเทียม

คนพกิ ารทางการ เมอื ง 74 51 68.91 13 86.50 0

สุพรรณบุรี

เคล่ือนไหว (ขา เดมิ บางนาง 52 43 82.69 5 92.3 0
ขาด) บวช

ได้รับบริการ ดา่ นช้าง 24 22 91.66 2 100 0
ครบถ้วน

ร้อยละ 90 บางปลาม้า 39 33 84.61 3 92.3 0

ศรปี ระจนั ต์ 42 32 76.19 9 97.6 0

ดอนเจดีย์ 21 18 85.71 3 100 0

สองพน่ี ้อง 62 45 50.00 15 96.8 0


กล่มุ งานโรคไม่ตดิ ต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

สามชกุ 23 15 72.58 8 100 0
0
อทู่ อง 44 33 75 8 93.2 0
0
หนองหญ้าไซ 15 11 73.33 4 100

รวม 396 303 77.59 70 94.58

แหล่งขอ้ มูล จากการสารวจในพน้ื ท่แี ละตรวจสอบตามรายชื่อผูพ้ ิการ

จะเห็นว่า ผู้พิการขาขาดท้ังหมด 396 ราย ได้รับขาเทียมและอุปกรณ์ช่วยเคลื่อนไหว จานวน
373 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 94.19 (ไมต่ อ้ งการขาเทียม) จานวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.50

4. ตัวชี้วัด ร้อยละ 100 ของสถานบริการเปูาหมาย มีการปรับสภาพแวดล้อม จัดส่ิงอานวยความ

สะดวก อยา่ งนอ้ ยในระดับ 4

ตารางที่ 3 สรุปจานวนเปาู หมายหน่วยบรกิ ารมีการปรบั สภาพแวดลอ้ มจดั ส่ิงอานวยความสะดวก

ผลสาเรจ็ /ตวั ชี้วัด อาเภอ เปา้ หมาย ผลงาน รอ้ ยละ

ร้อยละ 100 เมืองสุพรรณบุรี 1 53 84.12

ของสถานบรกิ าร เดิมบางนางบวช -- -

เปูาหมาย มกี ารปรบั ดา่ นช้าง -- -

สภาพแวดล้อม บางปลามา้ -- -

จดั สิ่งอานวยความ ศรปี ระจันต์ -- -

สะดวก อยา่ งน้อย ดอนเจดยี ์ -- -

อยใู่ นระดบั 4 สองพ่นี ้อง 1 52 82.54

ภายในปี 2558 สามชกุ 1 57 90.47

คะแนนเต็มรอ้ ยละ 100 อู่ทอง -- -

หนองหญา้ ไซ -- -


กลุ่มงานโรคไม่ตดิ ต่อ สุขภาพจติ และยาเสพติด

รวม 2- -

จากขอ้ มูลพบว่าเปูาหมาย 2 แหง่ ได้แก่ โรงพยาบาลศูนยเ์ จ้าพระยายมราช และโรงพยาบาล
ทวั่ ไปสมเด็จพระสังฆราชองค์ท่ี 17 ผา่ นเกณฑ์

5. ตัวชีว้ ดั ร้อยละ 80 ของคนพกิ ารมีคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ีขน้ึ

ตารางที่ 4 สรปุ จานวนคนพิการทกุ ประเภท

ผลสาเรจ็ /ตวั ช้วี ดั อาเภอ เปูาหมาย ผลงาน ร้อยละ

รอ้ ยละ 80 เมอื งสุพรรณบรุ ี 2,971 1,869 62.90

ของคนพิการ เดิมบางนางบวช 2,181 1,321 60.56

มคี ุณภาพชีวติ ทีด่ ีขึ้น ดา่ นช้าง 1,354 786 58.05

บางปลามา้ 1,930 1,100 56.99

ศรปี ระจันต์ 1,468 889 60.55

ดอนเจดีย์ 875 490 67.42

สองพ่ีน้อง 2,985 1,740 58.29

สามชุก 1,882 1,144 60.78

อู่ทอง 2,139 1,420 66.38

หนองหญ้าไซ 1,186 676 56.99

รวม 18,971 11,435 60.27

สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ไดด้ าเนินการจดั ประชุมช้ีแจงแนวทางการ
ดาเนินงานด้านการฟนื้ ฟสู มรรถภาพด้านการแพทย์ ในกลมุ่ ผ้สู งู อายุ (ติดเตียง) และคนพิการ ให้ดาเนินงาน
ฟื้นฟูสมรรถภาพ ตามสภาพความพิการของแต่ละประเภทความพิการ โดยมีนักกายภาพบาบัดทุก
โรงพยาบาล เปน็ ท่ปี รึกษาและให้คาแนะนาในการดาเนนิ การฟนื้ ฟสู มรรถภาพของคนพิการในแต่ประเภท

จากผลการตรวจตดิ ตามการดาเนนิ งาน พบว่า


กล่มุ งานโรคไมต่ ดิ ต่อ สุขภาพจติ และยาเสพติด

1) ฐานขอ้ มูลคนพิการแตล่ ะหนว่ ยงานไมต่ รงกัน
2) คนพิการ ยงั ไมไ่ ด้รับบริการทางการแพทย์ทีเ่ หมาะสม เน่ืองจาก คนพิการไมส่ ะดวกในการ
เดินทางมารับบริการ
3) ระบบการดูแลคนพิการ ยังขาดความเช่ือมโยงประสานงานของภาคีเครือข่ายระดับอาเภอ ทาให้
การดแู ลคนพกิ ารไมเ่ ปน็ ไปอย่างต่อเนื่อง
4. แนวทางแก้ไขความเสย่ี ง/กระบวนการทางาน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินงานการให้บริการทางการแพทย์แก่คนพิการ
ดังนี้
1. ประชุมคณะทางานการดาเนินงานฟน้ื ฟสู มรรถภาพคนพิการทางการแพทย์ เพ่อื ขบั เคลื่อนการ
ดาเนินงานให้เปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั
2. พัฒนาระบบฐานข้อมูลคนพิการดา้ นสุขภาพและสาธารณสขุ ระดบั จงั หวดั
3. พฒั นาการจัดส่งิ อานวยความสะดวกของหน่วยบริการ เพื่อให้คนพิการสามารถเขา้ ถึงบริการ
4. พัฒนาศกั ยภาพ/องคค์ วามรู้เจ้าหน้าท่ีในการให้บรกิ ารดูแลผ้พู กิ าร
5.พัฒนาเครือขา่ ยทั้งภาครฐั และเอกชน/ท้องถน่ิ เขา้ มามสี ่วนร่วมในการทางานแบบบูรณาการ
ใหเ้ กิดความยั่งยนื

*******************************************


กล่มุ งานโรคไมต่ ิดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

4) งานเฝ้าระวังป้องกนั โรคมะเรง็ ปากมดลูก มะเร็งเต้านม และมะเร็งลาไส้

จากการดาเนนิ งานคดั กรองมะเรง็ ปากมดลูกและมะเรง็ เต้านม จังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2558 มุง่ เน้น
มาตรการ การสร้างความตระหนักให้ประชาชน ใสใ่ จในการดูแลสขุ ภาพใหป้ ลอดภยั จากโรคมะเร็งท่ีสามารถ
ปูองกันและรักษาได้ในระยะเร่ิมแรก ดาเนินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยวิธี Pap smear ( เชิง
ปริมาณ+คุณภาพ) ผลงานภาพรวมจังหวัดได้ร้อยละ 25.77 (เปูาหมายตัวชี้วัดร้อยละ 20 ) และคัดกรอง
มะเร็งเต้านม โดยสตรีกลุ่มเปูาหมายตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจาทุกเดือน (เชิงปริมาณ) ผลงาน
ภาพรวมจังหวัดได้ร้อยละ 88.76 (จากระบบรายงาน) และร้อยละ 42.35 (จากรายงาน HDC) ได้รับการ
ตรวจเตา้ นมโดยเจา้ หน้าทสี่ าธารณสขุ

ปี 2559 มุ่งเน้นการพัฒนากระบวนการคัดกรองเชิงคุณภาพเพ่ือให้สอดคล้องกับแผนพัฒนา
Service plan สาขามะเรง็ กาหนดมาตรการ ดงั นี้
1) พัฒนารูปแบบ/แนวทางการสร้างความตระหนัก ให้ประชาชนใส่ใจในการดูแลตนเองให้ปลอดภัย

จากโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และมะเร็งลาไส้ ทุกพื้นท่ีมีกิจกรรม รณรงค์/ให้
ความรใู้ นรูปแบบต่างๆ อย่างตอ่ เน่ือง
2) พฒั นาการบริหารจดั การเชิงระบบของผู้รับผิดชอบงานในแต่ละระดับให้มีประสิทธิภาพสอดคล้อง
กับ Service plan สาขามะเร็ง ทบทวน/ทาความเข้าใจ ระหว่าง PM จังหวัด/อาเภอ และ
Service plan ให้เข้าใจการพฒั นางานไปในทิศทางเดยี วกนั
3) พัฒนาระบบสารสนเทศงานมะเร็งระดับรพ. /ระดับชุมชน และระดับจังหวัดให้มีประสิทธิภาพ
นาไปใช้วางแผนแก้ไขและพัฒนางาน การทาทะเบียนมะเร็ง ระดับ รพ. และระดับชมุ ชน
4) พัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนในการดูแลผู้ปุวยมะเร็งระยะสุดท้าย พัฒนา
แนวทางการดแู ลผูป้ ุวยแบบประคับประคองระหวา่ ง รพ.และชุมชนใหเ้ ปน็ ระบบ เชือ่ มโยงกับ DHS

 งานคดั กรองมะเรง็ ปากมดลูก Pap smear

ตารางที่ 1 แสดงผลการตรวจคัดกรอง pap smear ปี 2559 จาแนกรายอาเภอ

ผลงานตรวจคัดกรองมะเรง็ ปากมดลูก Pap smear

อาเภอ(CUP) ปี 58-59

เปา้ หมาย ผลงาน 58 ผลงาน 59 รวม รอ้ ยละ

เมือง 32532 9830 2232 12062 37.08
1275 3760 30.38
เดมิ บางนางบวช 12377 2485 988 4418 38.95

ด่านช้าง 11346 3430


กลุม่ งานโรคไม่ตดิ ต่อ สขุ ภาพจิตและยาเสพติด

บางปลาม้า 13612 4296 1401 5697 41.85
ศรีประจันต์ 12351 3396 1975 5371 43.49
ดอนเจดีย์ 9281 2395 1099 3494 37.65
สองพ่นี ้อง 24930 7209 3010 10219 40.99
สามชุก 10960 4783 655 5438 49.62
อทู่ อง 24401 8253 2674 10927 44.78
หนองหญา้ ไซ 9369 1618 1721 3339 35.64
161159 47695 17030 64725 40.16
รวม

จากข้อมูล พบวา่ ผลงาน ปี 58-59 ภาพรวมจงั หวัดร้อยละ 40.16 ไดต้ ามเปูาหมาย แต่ยังไม่ผ่าน

เกณฑ์จังหวัดที่ตงั้ เปาู ร้อยละ 40 และอาเภอท่ีมผี ลงานต่าได้แก่ อาเภอเดิมบางนางบวช อาเภอดา่ นช้าง

อาเภอดอนเจดีย์ และอาเภอหนองหญา้ ไซ

o งานคัดกรองมะเรง็ เตา้ นม

ตารางที่ 2 : แสดงผลการดาเนินงาน Brest cancer ของสาขาService plan

ปีงบประมาณ Stage 1-2 Stage 3-4

2555 74.14% 22.86%

2556 80.0% 20.0%

2557 85.34% 14.66%

2558 81.4% 18.6%

2559 (9เดือน) 57.5% 42.5%

จากตารางจะเหน็ วา่ พบผปู้ วุ ยมะเร็งเต้านมระยะ 1 – 2 มากกวา่ ระยะ 3 – 4

ตารางที่ 3 แสดงผลการตรวจคัดกรองมะเร็งเตา้ นมโดยการตรวจเต้านมดว้ ยตนเอง ปี 2559

ผลงานตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี 59

อาเภอ (CUP) เปา้ หมาย ผลงา59 รอ้ ยละ

เมอื ง 40757 12844 31.51

เดมิ บางนางบวช 16675 13683 82.06

ดา่ นช้าง 13766 8109 58.91

บางปลาม้า 17449 12774 73.21


กลุ่มงานโรคไมต่ ิดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

ศรีประจันต์ 15678 12980 82.79
ดอนเจดีย์ 11525 9817 85.18
สองพน่ี ้อง 30268 22008 72.71
สามชกุ 14042 10776 76.74
74อูท่ อง 30029 20023 66.68
หนองหญ้าไซ 11728 6208 52.93
201917 129018 64.00
รวม

จากขอ้ มลู พบวา่ ผลงาน ปี 2559 ภาพรวมจังหวัดร้อยละ 64.00 ไม่ได้ตามเปูาหมาย ร้อยละ 80

อาเภอทไี่ ดต้ ามเปูาหมายมี 3 อาเภอ คอื อาเภอ เดมิ บางนางบวช อาเภอศรีประจันต์ และอาเภอดอนเจดยี ์

ผลการจัดกจิ กรรมโครงการคัดกรองมะเรง็ เต้านมเคลอื่ นทเี่ ฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระบรมโอรสาธิ

ราชสยามมกฎุ ราชกุมารวันท่ี 2-3 ธนั วาคม 2558 ณ อาเภอเมอื ง และอาเภอศรีประจนั ต์

 กลมุ่ เป้าหมายรวมท้ังสนิ้ 800 คน

 พนื้ ที่จัดกจิ กรรม : ณ อาเภอเมืองและอาเภอศรปี ระจนั ต์

 กจิ กรรมประกอบด้วย

1. โซนใหบ้ รกิ ารตรวจคดั กรองมะเรง็ เตา้ นม ใหค้ วามร้แู ละสอนการตรวจเตา้ นมดว้ ย

ตนเอง

2. โซนรถบริการเคลื่อนทข่ี องมลู นธิ ิ 3 คนั ประกอบด้วย รถใหบ้ รกิ ารตรวจ

Mammogram รถสาธติ และตรวจมะเร็งเต้านม และรถนิทรรศการและให้ความรมู้ ะเร็งเต้านม

3. กจิ กรรมบนเวทีเพื่อทาพิธีเปิดโครงการฯ ร่วมบนั ทกึ ลงนามขอ้ ตกลง

4. ใหก้ ารสนบั สนนุ การจดั บริการ

1) จานวนผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม รวมท้ังส้นิ 800 คน

2) จานวนผมู้ าตรวจคัดกรอง รวมทัง้ ส้ิน 618 คน

3) ได้รบั การตรวจเตา้ นมโดยศัลยแพทย์ รวมทัง้ สน้ิ 121 คน
4) กลมุ่ เปูาหมายท่ีผิดปกติไดร้ บั คดั เลือกเขา้ รับการตรวจ MMG 53 คน

ผล MMG พบ

Stage I จานวน 7 ราย

Stage II จานวน 10 ราย


กลุ่มงานโรคไม่ตดิ ต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

Stage III จานวน 5 ราย
Stage IV จานวน 5 ราย
Stage V จานวน 2 ราย
ส่งตอ่ จานวน 8 ราย

5) สรปุ : การให้บริการตรวจคัดกรองผ้ทู ผ่ี ิดปกตแิ ละตรวจวนิ จิ ฉัยรักษา
โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช โดยทีมศัลยแพทย์และพยาบาล ได้นัดหมายผู้รับบริการเข้าระบบ
การรกั ษาของโรงพยาบาลตอ่ ไป

6) ประเดน็ เสนอแนะ
- ทกุ พน้ื ท่ีตอ้ งมกี ิจกรรมประชาสัมพันธ์ ใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจ กบั ประชาชนในการ
เฝาู ระวังปอู งกนั โรคมะเร้งเต้านมอย่างต่อเน่ือง
- ทุกพื้นท่ตี ้องมกี ิจกรรมค้นหากลุ่มเปาู หมายทีม่ คี วามผิดปกติของเต้านมอย่าง
ต่อเนอื่ ง เพอ่ื ให้เข้ารับการตรวจวนิ ิจและรักษาทร่ี วดเรว็ จะทาให้พบมะเรง็ ระยะเริ่มตน้ เพมิ่ ข้นึ
จังหวัดสุพรรณบุรีได้รับการสุ่มตัวอย่างในเขตอาเภอสองพี่น้องจาก ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
จานวนและร้อยละของสตรีโดยท่ีตรวจเต้านมตนเองและถูกต้อง ท้ังหมด 400 ราย ตรวจด้วยตนเอง 368
(92.0) ตรวจถกู ต้อง 167 (41.7)



 งานคดั กรองมะเร็งลาไส้

การตรวจคัดกรองมะเร็งลาไส้ใหญ่

โรคมะเร็งลาไส้ใหญ่เป็นโรคมะเร็งท่ีพบได้บ่อยเป็นอันดับต้นๆในคนไทย และอุบัติการณ์
เพิ่มขึ้นเร่ือยๆ ในปัจจุบัน การตรวจคัดกรอง โรคมะเร็งลาไส้ใหญ่อย่างสม่าเสมอ และการตรวจหาความ
ผิดปกติท่ีลาไส้ได้ตั้งแต่ในระยะเริ่มแรก พบว่าสามารถลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งลาไส้ได้อย่าง
ชดั เจน ดังนนั้ บคุ คลทม่ี อี ายมุ ากกวา่ 50 ปี และบุคคลท่ีมี พ่อ แม่ พ่ี น้องลูกปุวยด้วยโรคมะเร็งลาไส้ใหญ่จึง
ควรได้รบั การสอ่ งกล้องตรวจลาไส้ใหญอ่ ย่างสมา่ เสมอ
บุคคลทม่ี ีความเส่ยี งสงู ที่จะเป็นมะเร็งลาไสใ้ หญ่
- โรคมะเร็งลาไส้ใหญ่พบได้ในทุกอายุ แต่อัตราเสี่ยงของการเกิดมะเร็งลาไส้ใหญ่ จะสูงข้ึนในผู้สูงอายุ โดย
จะพบได้มากหลงั อายุ 50 ปี แต่โอกาสเกิดโรคจะมีการเพมิ่ สูงขึ้นเป็นลาดบั หลังอายุ 40 ปี เป็นต้นไป
- บุคคลท่ีมีญาติใกล้ชิดเป็นโรคมะเร็งลาไส้ใหญ่, หรือผู้ท่ีมีความเจ็บปุวยเรื้อรังของลาไส้บางอย่าง จะมี
ความเสย่ี งทีจ่ ะเปน็ โรคมะเรง็ ลาไสใ้ หญส่ ูงกว่าคนท่วั ไป (Crohn’s disease และ Ulcerative colitis)
- ผู้ชายและผ้หู ญงิ มโี อกาสเกิดใกล้เคยี งกนั มีอาการท้องผูกเปน็ ประจา ทานเนือ้ สัตว์ จานวนมาก
- ทานผักน้อย ไม่ออกกาลังกาย


กล่มุ งานโรคไมต่ ดิ ต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

จงั หวัดสพุ รรณบุรีได้รบั งบประมาณจาก สปสช.เขต 5ราชบุรี ในการดาเนินงานคัดกรองมะเรง็ ลาไส้
เปูาหมาย 3000 ราย

ผลการคัดกรองมะเรง็ ลาไส้ จังหวัดสุพรรณบรุ ี แยกรายอาเภอ

อาเภอ จานวนท่คี ดั กรอง ผล Negative ผล Positive ยงั ไม่มาส่องกล้อง
(ราย) (ราย) (ราย) (ราย)

เมืองสุพรรณบุรี 500 427 73 21 (28.8%)
318 32 5 (15.6%)
เดิมบางนางบวช 350 191 10 2 (20%)
ด่านช้าง 200 329 21 2 (9.5%)
186 15 3 (20%)
บางปลาม้า 350 192 8 1 (12.5%)
371 29 13 (44.8%)
ศรีประจันต์ 200 187 13 1 (7.7%)
ดอนเจดยี ์ 200 375 25 4 (16%)
สองพ่นี ้อง 400 196 5 1 (20%)
สามชุก 200 2,769 231 53 (22.9%)
อ่ทู อง 400

หนองหญ้าไซ 200

รวม 3,000

ผลการทา Colonoscope

ผลการส่องกล้อง จานวน (ราย)

ผลตรวจอจุ จาระเปน็ บวก 231

มาส่องกล้องแลว้ 179


ผลปกติ กล่มุ งานโรคไม่ตดิ ต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด
95

พบเปน็ Mass (สง่ ตรวจชนิ้ เน้ือทั้งหมด) 5

Polyp (ยมราช ส่งตรวจช้นิ เนื้อ=58 70
ราย,สังฆราชส่งตรวจ= 9ราย) 4

Diverticulum

Colitis 3

แนวทางการนัดสอ่ งกล้อง
• ผู้รบั ผิดชอบแต่ละพนื้ ทตี่ ดิ ตาม คนที่มีผลตรวจอจุ จาระเป็นบวกท่เี หลอื ตามรายช่ือ แต่ละอาเภอ
เพอ่ื มารบั การส่องกล้อง
• โดยใหน้ าใบนาส่ง +ใบผลการตรวจอจุ จาระมาพรอ้ มใบส่งตัวจาก รพ. ชุมชน
• ไปหอ้ งตรวจเบอร์ 24 ตึกอานวยการช้ัน 2 รพ. เจ้าพระยายมราช ไดท้ กุ วันราชการ จันทร์-ศุกร์
(เวลา 8.00-16.00น.) เพื่อพบแพทย์ศัลยกรรมนดั วันส่องกล้อง
• กรณไี ม่สมคั รใจส่องกล้อง ใหเ้ ซน็ “ใบแสดงความประสงค์ไมส่ ่องกล้องตรวจลาไสใ้ หญ่” ทกุ ราย
และรวบรวมส่งที่ สสจ.สพุ รรณบุรี


กล่มุ งานโรคไมต่ ิดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด


กลุม่ งานโรคไม่ติดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

5) งานสุขภาพจติ และจิตเวช

สถานการณ์และปัญหา
จากการสารวจสถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยของกรมอนามัย พบว่าเด็กแรกเกิด-5 ปีมี

พฒั นาการสมวัยลดลงจากร้อยละ 71.7 ใน พ.ศ. 2542เป็นร้อยละ 67.3 ใน พ.ศ. 2553และเพิ่มข้ึนเป็นร้อย
ละ 72.5 ในปี2557 กลุ่มเด็กวัยเรียน(5–14ปี) พบว่าเด็กใน จ.สุพรรณมี IQ เฉล่ีย 98.50 (ค่ากลาง ร้อยละ
98.59) และมีมี IQ ต่ากว่าปกติร้อยละ 27.1(ค่ากลาง ร้อยละ25.6) นอกจากนี้เด็กไทยอายุ 6 - 11 ปี มี
ความฉลาดทางอารมณ์เท่ากับ 45.12 ซึ่งจัดอยู่ ในระดับต่ากว่าเกณฑ์ปกติ (50 - 100) กลุ่มเด็กวัยรุ่น (15
– 21 ปี) พบปัญหาการด่มื แอลกอฮอลใ์ นวยั รุ่น 15 - 24 ปี เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 21.6 ในพ.ศ. 2554 เป็นร้อย
ละ23.7 ความชกุ ของการสูบบหุ รีข่ องวัยรุ่นเป็นร้อยละ 22.4 มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นโดยพบว่า
อายุเฉล่ียของ การมีเพศสัมพันธ์คร้ังแรกมีอายุน้อยลงกลุ่มวัยทางาน (15 – 59 ปี) มีปัญหาเครียด ซึมเศร้า
โรคเรือ้ รงั เพ่ิมมากข้นึ โดยพบวา่ ร้อยละ 38 ของผู้ปวุ ยโรคซึมเศร้าเปน็ กลมุ่ วัยทางาน และพบว่าผู้ปุวยโรค
ซึมเศร้า มีปัญหาการกลับเป็นซ้า ร้อยละ 38.41 นอกจากนี้ข้อมูลการฆ่าตัวตายสาเร็จในปี 58 ของจังหวัด
สุพรรณบุรี ถึงร้อยละ 7.15 กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มคนพิการพบว่าปัญหาทางสุขภาพจิตที่ทาให้สูญเสียปี
สุขภาวะเปน็ 1 ใน5 อันดับแรก คือ สมองเส่ือมและโรคซมึ เศร้า นอกจากนี้พบว่า ร้อยละ 62 ของผู้ปุวยโรค
ซึมเศร้า เป็นผู้สูงอายุและพบว่าผู้ปุวยโรคซึมเศร้ามีปัญหาการกลับเป็นซ้า ร้อยละ 38.41 นอกจากนี้ข้อมูล
การฆา่ ตัวตายสาเร็จในปี 58 ของจังหวดั สุพรรณบรุ ี ถึงร้อยละ 8.82 จากขอ้ มูลปี 58 พบว่าจังหวัดสุพรรณมี
ผู้ปุวยโรคซึมเศร้าจานวน7453 ราย ( ร้อยละ 56) และพบมีปัญหาการกลับเป็นซ้า ร้อยละ 38.41
นอกจากนี้พบข้อมูลการฆ่าตัวตายสาเร็จในปี 2558 ภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี ถึงร้อยละ 8.82 (
เปูาหมายไม่เกินร้อยละ 6.5) และเมื่อพิจารณาเป็นรายอาเภอ พบอาเภอท่ีมีอัตราการฆ่าตัวตายสาเร็จ
สูงสุด 3 ลาดับ ได้แก่ อาเภอด่านช้าง อาเภอเดิมบางนางบวช และอาเภอเมืองสุพรรณบุรี คิดเป็นร้อยละ
19.25, 13.45 และ 9.52 ตามลาดับ โดยผู้ที่ฆ่าตัวตาย ส่วนใหญ่มีภาวะซึมเศร้าร่วมด้วย และสถานการณ์
ปัจจุบันพบว่ามีเหตุวิกฤตต่างๆ ท่ีเกิดขึ้น เช่นภัยธรรมชาติ อุบัติเหตุหมู่ ซึ่งจาเป็นต้องมีทีมที่เข้าไปดูแล
เยยี วยาจติ ใจเพ่มิ มากข้นึ เพอื่ เป็นการปอู งกนั ปัญหาสขุ ภาพจิตทร่ี ุนแรงต่อไปในอนาคต

จากปัญหา และความสาคัญดังกล่าวข้างต้น งานสุขภาพจิต และจิตเวชจึงวางมาตรการในการ
ดาเนินงานเพ่ือสง่ เสริม และปูองกันปญั หาดงั กลา่ ว ดงั นี้

มาตรการในการดาเนินงาน
มาตรการ ที่ 1 พัฒนางานสง่ เสริมสขุ ภาพจิตทุกช่วงวัย
มาตรการ ที่ 2 บูรณาการงานการส่งเสรมิ สขุ ภาพจิตทุกช่วงวยั ในระบบ THS /DHS
มาตรการ ท่ี 3 พัฒนาระบบบรกิ ารสขุ ภาพจิตและจิตเวช(การดแู ลด้านจิต สงั คม ในรพ.สต /ทีม MCATT
มาตรการ ที่ 4 พฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ /การประเมนิ ผลการดาเนินงาน


กลุ่มงานโรคไม่ตดิ ต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

สรปุ ผลการดาเนินงานตามประเด็น ดังนี้
1.งานสุขภาพจิตกลุ่มวยั
2.การขับเคลื่อนและการบังคับใช้ พ.ร.บ สุขภาพจติ พ.ศ 2551
3.งานวกิ ฤตสขุ ภาพจิต : ทีม MCATT
4.ระบบสุขภาพอาเภอ (DHS) และตาบล (THS)
5.การพัฒนาระบบบริการจาก Primary care เช่อื มโยง กบั service plan
1.งานสขุ ภาพจิตกลุ่มวัย
ผลการประเมินตนเองเพื่อพัฒนามาตรฐานการส่งเสริม และปอู งกนั ปญั หาสขุ ภาพจิตทุกชว่ งวัย ปี 58-59


กลมุ่ งานโรคไมต่ ิดต่อ สขุ ภาพจิตและยาเสพติด

ผลการประเมินตนเองของหน่วยงานส่วนใหญ่ ในประเด็นการส่งเสริมสุขภาพจิตตามกลุ่มวยั น้ัน
ผ่านเกณฑ์ระดับ 1 โดยในแต่ละอาเภอทราบถึงสว่ นขาดทค่ี วรได้รบั การพฒั นาหรือต่อยอดระบบงานซ่ึงถือ
เปน็ โอกาสในการพัฒนาต่อไป


กล่มุ งานโรคไมต่ ิดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด


กลมุ่ งานโรคไม่ติดต่อ สขุ ภาพจิตและยาเสพติด

ผลการดาเนินงานสุขภาพจติ ตามกลมุ่ วัย จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ประจาปีงบประมาณ 2559
กลุ่มสตรแี ละปฐมวยั

กลุม่ สตรี: มีการคัดกรองปัญหาสขุ ภาพจติ ในกลุ่มหญงิ ตั้งครรภ์

รายการข้อมลู ปี 2559 (ราย)
1.จานวนหญงิ ตง้ั ครรภ์(ท้งั หมด) 4313
2.ผลการคดั กรองความเครียด(ST5) 4313
3923
2.1ปกติ 365
2.2เครยี ดน้อย 25
2.3เครยี ดปานกลาง 0
2.4เครียดสูง 4313
3.ผลการคดั กรองปัญหาการดื่มสรุ าและสารเสพติด 0
3.1 มี 4313
3.2 ไม่มี 4313
4.การบริการ 3918
4.1 สง่ เสรมิ สุขภาพจิต 390
4.2การให้คาปรกึ ษา 5
4.3ยารักษา 0
4.4สง่ ตอ่


กลุม่ งานโรคไมต่ ดิ ต่อ สขุ ภาพจิตและยาเสพติด

กลุ่มเด็กปฐมวัย มีการคัดกรองEQ(15ขอ้ ) 3-5 ปี ตามแนวทางฯ และสขุ ภาพจิตครูผู้ดูแล / ลงตรวจเยย่ี มศนู ย์
เด็กเล็กในระดับอาเภอมรี ายละเอียด ผลการคดั กรอง EQ เดก็ 3-5 ปี ในศนู ย์เด็กเล็กท้ัง 10 อาเภอ ดังนี้

เดก็ เลก็ 0-5 ปี 2559 (ราย)

1. เด็ก 3-5 ทง้ั หมด.... คน 10,914

2. เด็ก 3-5 ทไี่ ด้รับการคัดกรอง EQ ดว้ ยแบบ 15 ขอ้ ทั้งหมด.... คน 1,350 (เทา่ ทไี ด้รับ
ขอ้ มูล)

2.1 คะแนนตา่ กว่า 41 คะแนน ( EQอยใู่ นเกณฑต์ ่ากว่าปกต)ิ ... คน 8

2.2 คะแนนรวม ชว่ ง 41-57 คะแนน ( EQอยูใ่ นเกณฑป์ านกลาง/ปกติ ).... คน 1,297

2.3 คะแนนรวม มากกวา่ 57 คะแนน (EQ อยู่ในเกณฑ์สูงกวา่ ปกติ)..... คน 45

3.ครผู ู้ดแู ลเด็กในศนู ยเ์ ดก็ เล็กได้รบั การประเมินความเครยี ด (20 ขอ้ ) อย่างน้อย 12.73
90 %

3.1 ครผู ู้ดูแลในศนู ย์เด็กเล็ก .............. คน 683

3.2 ครูผดู้ ูแลในศูนยเ์ ด็กเลก็ ท่ีได้รบั การประเมนิ ความเครียด .............. คน 87(เทา่ ทีไดร้ ับข้อมูล)

3.2.1 มีความเครยี ดน้อย (0-24 คะแนน) ..... คน 87

3.2.2 มคี วามเครียดปานกลาง (25-42 คะแนน) ..... คน 0

3.2.3 มคี วามเครียดสูง (43-62 คะแนน) ..... คน 0

3.2.4 มคี วามเครยี ดรุนแรง (63 คะแนน ขึ้นไป) ..... คน 0


กลมุ่ งานโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจติ และยาเสพติด

กลมุ่ วยั เรียน

การดาเนินงานระบบการเฝูาระวังปญั หาพฤตกิ รรมอารมณ์/ การเรียนรู้ ในเดก็ วัยเรียน ประจาปี 2559

กจิ กรรม เปาู หมาย (กล่มุ เปาู หมาย, จานวนครั้ง/ จานวนคน)

1. การวางแผนร่วมกบั โรงเรียน ครู / งานวัยเรียน/งานสุขภาพจติ ใน รพ. รวม 20
คน ( ธ.ค58 / ส.ค 59 (แลกเปลย่ี น) )

2. การคดั กรองนกั เรียนชัน้ ป. 1 ในโรงเรยี น เด็กนกั เรยี น ชน้ั ป1 . ทกุ ราย ( รร.เปูาหมาย ใน
จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปี 59 )

3. การชว่ ยเหลือเด็กกลุ่มเสีย่ ง/ มปี ัญหา โดยโรงเรยี น เด็กกลุ่มเสย่ี ง/ มปี ัญหา ตามผลการประเมนิ ทีไ่ ด้

และ โรงพยาบาล. ระบุ (เชน่ การประชมุ ผูป้ กครอง, ( ทาCase Conference ดาเนินการในเดอื น

Case Conference เปน็ ต้น) สิงหาคม 59)

4. กิจกรรมอืน่ ๆ ได้แก่ การจัดทาทาเนยี บเครือขา่ ย ครู / งานวยั เรยี น/งานสุขภาพจิต ใน รพ.
การดูแลเด็กวยั เรียน (รร/ สธ./ศูนยเ์ ขต/สถาบันฯ) รวม 20 คน
การตงั้ line กลุม่ /ขยายเครือข่ายและสรา้ งความ
เขม้ แข็ง

โรงพยาบาล โรงเรยี นสง่ เสริมสุขภาพเปาู หมายดาเนินงาน
รพ.เจา้ พระยายมราช โรงเรยี นวัดไชนาวาส
รพ.สมเดจ็ พระสังฆราช องคท์ ี่ 17 โรงเรียนวัดโพธิ์อน้
รพ. อู่ทอง โรงเรียนวดั ช่องลม
รพ.สามชกุ โรงเรียนวดั สามชกุ
รพ.ดอนเจดีย์ โรงเรยี นอนุบาลพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์


รพ.หนองหญา้ ไซ กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด
รพ.เดมิ บางนางบวช
รพ.บางปลาม้า โรงเรียนหนองโก
รพ.ศรปี ระจันต์ โรงเรียนวัดเขาพระ
รพ.ด่านชา้ ง โรงเรียนวัดเสาธง
โรงเรยี นวดั ไก่เตย้ี
โรงเรียนวัดด่านช้าง

จานวนนักเรียนชัน้ ป.1 ในโรงเรียนนารอ่ งที่ไดร้ ับการคดั กรอง EQ และปญั หาการเรยี น ทงั้ หมด 298
ราย พบเด็กกล่มุ เส่ียงจานวน 24 ราย (ร้อยละ8.04) เด็กกลุม่ เสี่ยงได้รับการดูแลโดยครู 23 ราย และส่งต่อพบ
แพทย์ 1 ราย จากการแลกเปลีย่ นเรยี นรผู้ ลการดาเนินงานภายในจงั หวดั ในเรอื่ งการคัดกรอง EQ และปญั หา
การเรยี นนั้น พบวา่ บทบาทในการดาเนนิ งานของครมู ีประเด็นทีส่ าคัญดังนี้

1.คดั กรองความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) และปญั หาการเรียนรูใ้ นเด็กนักเรียนช้ัน ป.1 เพ่ือค้นหาเด็กท่ีมี
ความเสยี่ งในการเกดิ ปญั หาทางการเรียนรู้ให้ไดร้ ับการดูแลตั้งแตใ่ นระยะแรกๆตามแนวทาง

2.ปรบั วธิ กี ระบวนการสอนเด็กที่มีปญั หาการเรียนรู้โดยใหเ้ ด็กเรยี นเพมิ่ เติมรายบคุ คล และใหพ้ ่อแม่
ผปู้ กครองมสี ่วนร่วมในการดแู ล โดยครมู อบหมายงาน/กจิ กรรม ให้ตามปญั หาทีพ่ บของเดก็ นักเรียนแตล่ ะคน

3.ดูแลเรื่องการกินยาของเดก็ (กรณีไดร้ ับการรกั ษาจากแพทย)์ พร้อมสง่ ตอ่ ขอ้ มลู ผลการประเมินอาการ
ของเด็กให้แพทย์รับทราบเพ่ือประกอบการรักษา

4.มกี ารสง่ ต่อข้อมลู ของเดก็ นกั เรียน จากครู ชั้น ป.1 ถึง ครู ชน้ั ป.2 เพื่อการดแู ลท่ีตอ่ เน่ือง
กลุม่ วัยรุ่น

1.จัดหลักสูตรอบรมการใหค้ าปรึกษาปรกึ ษาวยั ร่นุ และดาเนนิ การพัฒนา ครู ก เพ่ือให้คาปรกึ ษาแบบองคร์ วม
เชิงรุกในพืน้ ท่ี

ผลจากการบรู ณาการแผนงานรว่ มกัน ทาใหเ้ กดิ ความรว่ มมือในการพฒั นาระบบงาน โดยในปี 2559 น้ี
งานสขุ ภาพจติ และงานกลุ่มวัยร่นุ ไดจ้ ัดให้มีการพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าทีใ่ นระดับ รพ.สต ในอาเภอทกุ แหง่ ๆ
ละ 4-5 คน เพื่อสามารถใหบ้ รกิ ารให้คาปรึกษาและดูแลแก้ไขปญั หาเร่อื งสุขภาพในวยั รุ่นแบบเชิงรกุ ในชุมชน
โดยนากรอบเน้ือหา เร่ือง การใหค้ าปรกึ ษาวัยรุน่ ( online training) ของ พญ.ดุษฎี จึงศริ กลุ วิทย์ กรม
สขุ ภาพจติ มาปรบั ใช้และเปน็ แนวทางในการพัฒนาหลักสูตร ทง้ั หมด จานวน 3 วัน เน้ือหาหลกั สตู รครอบคลมุ
ในเร่ือง 1.เปูาหมายของการใหค้ าปรกึ ษา 2.ความเขา้ ใจในวยั ร่นุ 3.การชว่ ยวยั รุ่นตัดสินใจ 4.การปูองกันและ
แก้ไขปญั หาการตงั้ ครรภใ์ นวยั รุ่น และ5.การให้คาปรึกษาครอบครัว)
2.มกี ารสรปุ บทเรยี นผลการดาเนนิ งานการแก้ไขปัญหาวัยรุ่น ทผ่ี า่ นมาเพอ่ื ดาเนนิ การวางแผน /แกไ้ ขในส่วนที่

ตอ้ งพฒั นาหรอื เป็นส่วนขาด


กลมุ่ งานโรคไม่ตดิ ต่อ สขุ ภาพจิตและยาเสพติด

ปจั จยั นาเข้า และกระบวนการทางานเพื่อปอ้ งกนั และแก้ไขการต้ังครรภใ์ นวยั รนุ่ ของปีทผ่ี ่านมา

ปัจจยั นาเข้า

คน กระบวนการ ทรพั ยากร การบรหิ ารจัดการ

มีการพัฒนาศักยภาพ 1. มี ก า ร ป ร ะ ชุ ม มี ก า ร น า 1.มีการมอบนโยบายการ

บุคลากร ใน 10 อาเภอ ค ณ ะ ท า ง า น ฯ เ พื่ อ งบประมาณ ท่ีได้จาก ทางานโดยท่านผู้วา่ ราชการ

เ พ่ื อ เ ป็ น ค รู ( ก ) / มอบหมายภารกิจ 9 ด้าน สส ส . ม า ใ ช้ร่ ว ม กั บ จังหวัด และได้จดั ตั้ง

ผู้ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ไ ป ใหห้ น่วยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง งบประมาณเดิมของ คณะกรรมการอานวยการ/

ด า เ นิ น ง า น ใ น ร ะ ดั บ 2.มีเครือข่ายการทางาน หน่วยงานที่มีอยู่ (งบ คณะทางานฯ/
ชุ ม ช น โ ด ย ก า ร ส อ น เพื่อปูองกันแก้ไขปัญหาการ Non UC ของ คณะกรรมการประเมนิ ผล

วัยรุ่น/พ่อแม่ ผู้ปกครอง ต้ังครรภ์ในวัยรุ่น ทั้งในและ สาธารณสขุ /งบ อบต. / ในระดับจงั หวดั
ในชมุ ชนให้มีความรู้เรื่อง นอกระบบสาธารณสุข ทา ง บ พ ม จ . / ง บ 2.มกี ารต้ังคณะทางานฯ
เพศ/การปูองกันการ ให้ทราบแผนงาน/แหล่ง วัฒนธรรม) โดยงบของ /คณะกรรมการฯ ในระดบั
ตั้งครรภ์ ซึ่งมีบุคลากรท่ี ง บ ป ร ะ ม า ณ ข อ ง แ ต่ ล ะ สสส.นาไปใช้ในเร่ือง อาเภอ โดยมีนายอาเภอเป็น
ผ่านการอบรม ดงั น้ี หน่วยงาน ช่วยทาให้การบูร ค่ า ต อ บ แ ท น ผู้ ประธานฯ
ประสานงาน /การจัด
1.จนท.สาธารณสุข/ ณ า ก า ร ร ะ บ บ ง า น ท า ไ ด้ ประชุม 3.มองเห็นโอกาสพัฒนา
ค รู / ต า ร ว จ / อ บ ต . สะดวกขึน้ ในการจัดทาแผนแบบบรู ณา

จานวน 140 คน 3. มี ก า ร ด า เ นิ น ง า น การของหน่วยงานทั้งใน

2.จนท.สาธารณสุข ที่ โครงการฯนาร่อง ในพื้นท่ี 3 และนอกระบบสาธารณสุข

เป็น ครู(ก) จานวน 20 อาเภอ (เมือง, สามชุก, เดิม เพื่อการแก้ไขปญหาการ

คน บางฯ) โดยบูรณาการกับ ตง้ั ครรภ์ในวัยรุ่น

3. จ น ท . ใ น ร พ . ส ต งานเดิมทม่ี ีอยู่


กลมุ่ งานโรคไมต่ ิดต่อ สขุ ภาพจิตและยาเสพติด

จานวน 50 คน

จุดแข็ง/จดุ อ่อน/อุปสรรค

จดุ แข็ง
 ทุกหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้องมีศักยภาพในการทางานสูง
 ผนู้ าใหค้ วามสาคญั

จดุ ออ่ น
 จงั หวัดสุพรรณบุรีเปน็ เมืองที่ก่ึงชนบท กงึ่ สังคมเมือง ข่องทางการเข้าถึงขอ้ มูลจาก Social
media มีมาก พ่อแม่สว่ นใหญ่ตอ้ งออกไปทางานนอกบ้าน หรอื ต่างจังหวดั ทาใหเ้ ด็ก/วยั รุน่
สว่ นใหญอ่ าศยั อยกู่ ับปุูยา่ /ตายาย ทาใหเ้ กิดปญั หาเรือ่ งการสอ่ื สารระหว่างวยั ทาใหก้ ารสอนเรอ่ื ง
การสือ่ สารกบั ลูกวัยร่นุ มคี วามยากมากข้นึ

อุปสรรค
 ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน
 ระบบราชการในบางเร่ือง (เชน่ การใชง้ บประมาณ ) ท่ีไม่เอ้อื ต่อการทางาน
 การสื่อสารระหว่างผเู้ กย่ี วขอ้ งยงั ไมช่ ดั เจน

บทสรุปภาพรวมปัญหาที่พบในระดบั พนื้ ที่

1.การขาดความตระหนัก ความเขา้ ใจในความสาคัญของปัญหาวยั รุ่นอย่างแทจ้ ริง ในระดับผบู้ รหิ าร
และผ้ทู ่เี กย่ี วข้องในทุกระดับ ทาใหก้ ารสนบั สนนุ การดาเนนิ งานต่างๆ เป็นไปได้ไมด่ เี ทา่ ท่ีควร

*ผู้ปฏบิ ตั ยิ ังขาดความตระหนัก และความเข้าใจถึงการขับเคลอ่ื นระบบงาน
* ประชาชน/พ่อแม่/ผปู้ กครอง ยังให้ความรว่ มมือในการดาเนนิ งานน้อย
2.ภาคเี ครือข่ายยงั ขาดความเขา้ ใจในบทบาทหนา้ ท่ี ของหน่วยงานตนเอง และหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้อง
อกี ทั้งยังขาดการประชมุ ติดตามปญั หา อุปสรรคในการดาเนินงาน
3.งบประมาณ ท่ีเกิดปญั หาจากการท่มี ีการอนุมัตเิ งินไปแล้วในงานปกติ โดยทไี่ มไ่ ด้นากจิ กรรมตาม
ภารกิจทง้ั 9 ด้าน ท่เี กีย่ วขอ้ งไปใสไ่ วใ้ นระบบงานทาให้ขาดความเชื่อมโยงของการใชง้ บประมาณ และ
กิจกรรมทวี่ างไว้
ขอ้ เสนอแนะจากพื้นที่
ในปี 2559 ควรมีการสร้างกระแสเกี่ยวกับปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น เช่น อาจให้ผู้ว่าราชการ
จงั หวัดประกาศเป็นวาระ /แถลงขา่ ว/ การสร้างกระแส ผ่านคลิปวีดีโอ/คลิปวีดีโอ/คลิปเสียง นอกจากนี้ อาจ
นาบุคคลต้นแบบของเยาวชน ทม่ี ีชอ่ื เสยี งของจงั หวดั /ดารา/นักร้อง เชน่ เปาวลี มาชว่ ยรณรงค์


กลุม่ งานโรคไมต่ ดิ ต่อ สุขภาพจติ และยาเสพติด

กล่มุ วัยทางาน
1.การคัดกรอง 2Q /ความเครยี ดในกล่มุ วยั ทางาน โดยเพ่ิมความครอบคลุมในการคน้ หาผูท้ ่ีมีปญั หา

เครียด ซึมเศร้า ในประชาชนกล่มุ วยั ทางานทั้งในคลินิกโรคเร้อื รงั และในชุมชน ตลอดจนใหค้ าแนะนาตามผล
การคดั กรองความเครยี ดและซึมเศรา้ และ/หรอื ให้การส่งต่องานสุขภาพจิต (ใน รพ.แต่ละอาเภอ) เพ่อื รับ
คาปรึกษา

ผลการคดั กรองปัญหาสุขภาพจติ ได้คัดกรอง 2Q(คน) คิดเป็น(%)
อาเภอ ผู้ปุวยDM/HT 35ปขี ึ้นไป 21,157 89.90
8,089 94.86
เมือง 23,533 5,280 84.17
7,778 88.51
เดิมบางนางบวช 8,527 6,923 97.93
5,738 98.93
ดา่ นชา้ ง 6,273 9,348 94.15
4,978 94.17
บางปลามา้ 8,788 12,336 97.93
5,184 97.85
ศรปี ระจันต์ 7,069 86,811 93.24

ดอนเจดีย์ 5,800

สองพ่ีน้อง 9,929

สามชุก 5,286

อูท่ อง 12,597

หนองหญา้ ไซ 5,298

รวม 93,100

ผลการคดั กรองปัญหาสุขภาพจติ (ตอ่ )


กลุม่ งานโรคไม่ติดต่อ สขุ ภาพจิตและยาเสพติด

กลมุ่ 35ปีขึน้ ไป ปีงบประมาณ 2559

ปชช. กลุม่ ปวุ ยโรคเร้ือรงั ทง้ั หมด (คน) 93100

ปชช. กล่มุ ปวุ ยโรคเรือ้ รงั ได้รบั การคัดกรองภาวะซมึ เศร้า ดว้ ย 2Q....... .คน 86811

ร้อยละของการคัดกรอง 93.24

ผลการคัดกรอง ซมึ เศรา้ ผล 2Q + .......... คน 892

ผล 9Q <7 คะแนน .......... คน 627

ผล 9Q 7-12 คะแนน .......... คน 204

ผล 9Q 13-18 คะแนน .......... คน 46

ผล 9Q >19 คะแนน .......... คน 15

2.สุขภาพจติ ในสถานประกอบการ/ ในชมุ ชนรว่ มกับโครงการของเกษตร
มกี ารจัดอบรมและพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าทีใ่ นระดับอาเภอ ตาบล และสถานประกอบการปลอดโรค

ปลอดภัย กายใจเปน็ สขุ ใหก้ ับพนื้ ที่นาร่องท่ีเขา้ รว่ มโครงการ เพ่อื ขบั เคล่อื นให้เกดิ กจิ กรรมตามเกณฑ์ “กายใจ
เปน็ สุข” ประกอบดว้ ย 3 กจิ กรรม ดงั นี้

1. กิจกรรมนนั ทนาการ เพอื่ ให้พนักงานและสมาชิกวิสาหกิจชมุ ชนผอ่ นคลายความเครียด และสามารถ
สรา้ ง สมั พนั ธภาพที่ดีกับผอู้ ืน่ และรกั ษาสมั พันธภาพน้นั ไวอ้ ยา่ งต่อเน่ือง

2. กิจกรรมสง่ เสรมิ สุขภาพจิตและปูองกันปญั หาสขุ ภาพจิต เพ่ือใหพ้ นักงานและสมาชิกวิสาหกิจชมุ ชน
สามารถปรับตวั ได้กับสภาพสังคมท่ี เปลยี่ นแปลงและสามารถจดั การแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึน้ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
โดยไม่เกิดความขดั แย้งในใจ

3. กิจกรรมการเห็นคุณค่าของพนักงานและครอบครัว เพอ่ื ทาใหเ้ กดิ ความภาคภมู ิใจในตนเองและ
ครอบครวั ทส่ี ามารถทาประโยชน์ให้ผอู้ น่ื ได้ และมคี นยอมรบั


กลมุ่ งานโรคไม่ตดิ ต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

นอกจากน้ยี งั ไดร้ ่วมมือกบั หน่วยงานภาครฐั อน่ื ๆ ในการดแู ลและส่งเสรมิ ดา้ นสขุ ภาพจิตสาหรบั วัย
ทางานทเี่ ปน็ เกษตรกร ในชว่ งเดือนพฤษภาคม 2559 ท่ีผา่ นมา พร้อมกันทั้งจังหวดั ซ่ึงมผี ู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม
ท้ังหมด 645 ราย พบผูท้ ่ีมปี ัญหาทางดา้ นสุขภาพจติ (เครียด/ซึมเศรา้ ) จานวน 6 ราย และได้รบั การสง่ ต่อพบ
แพทย์เพื่อเขา้ รบั การดแู ลรกั ษา

3.ปอู งกนั แกไ้ ขปัญหาการฆ่าตัวตาย
จากการท่พี บปัญหาการฆา่ ตวั ตายในระดับพื้นท่ใี นอัตราทีส่ งู มาก ทาใหท้ ีมงานไดร้ ่วมกันวเิ คราะห์ข้อมลู

เพอ่ื หาแนวทางจดั การ และขบั เคลือ่ นการทางานผา่ นระบบสุขภาพอาเภอ เพื่อให้การดแู ลรักษา สง่ เสรมิ
ปูองกันและฟืน้ ฟสู ุขภาพ ขณะเดยี วกนั กต็ ้องรว่ มมือหรอื เปน็ สว่ นสนับสนนุ กับเครือขา่ ยอืน่ ๆ เพอื่ ให้เกิดการ
ดแู ลกนั และกันของประชาชนในชุมชน โดยกาหนดกระบวนการทางานการแกไ้ ขปัญหา ดังนี้


กลมุ่ งานโรคไมต่ ิดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

เม่อื ไดท้ าการวิเคราะห์ประเด็นปญั หาที่สาคัญว่าเก่ยี วขอ้ งกับประชาชนในวัยใด ใครบ้างท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง
ในการดาเนนิ งาน จงึ ไดม้ กี ารดาเนนิ งานจดั กจิ กรรมสรา้ งการมีส่วนรว่ มที่ตาบลนาร่อง(ดา่ นชา้ ง)และพฒั นา
ชุมชนต้นแบบเพื่อการดูแลสุขภาพจิตในชุมชน กลุ่มเปูาหมายเป็นผู้นาชุมชน/ผู้ใหญ่/กานัน/อบต./อสม./
จนท.สธ/รพ.สต/รพ./สสอ. จานวน 60 คน มีกจิ กรรมดงั น้ี 1 : การสร้างสัมพันธภาพ และกจิ กรรมกลุ่มสัมพันธ์
กิจกรรม ท่ี 2 : คืนข้อมูลปัญหาการฆ่าตัวตาย/การทาร้ายตัวเอง ให้ชุมชนรับทราบ กิจกรรม ท่ี 3 : สร้างพลัง
ชุมชน พกความผูกพัน ฝันถึงอนาคต และกิจกรรม ที่ 4: ร่วมแรง ร่วมใจ สร้างสุขให้ชุมชน (ระดมความคิด
เพ่ือวิเคราะห์ปัญหา/ วิเคราะห์ความสาคัญของปัญหา/ หาวิธีการแก้ไขปัญหา/ วางแผนงานกิจกรรม/ เสริม
พลังเพ่ือการนาแผนงานกิจกรรม สู่การปฏิบัติ) จากกิจกรรมการสร้างการมีส่วนร่วมดังกล่าวได้นากิจกรรมกับ
แผนงานต่างๆ จากความคิดเห็นของคนในชุมชน มาเขียนเป็นกรอบการสร้างชุมชนต้นแบบเพื่อการดูแล
สุขภาพจิตในชมุ ชน(ตาบลหนองมะค่าโมง อาเภอด่านชา้ ง) ไดด้ ังนี้
หมายเหตุ: ในสว่ นของกจิ กรรมการดาเนนิ งานอยใู่ นระหว่างการดาเนนิ งาน
กลมุ่ วัยสูงอายุ

1.การคัดกรอง 2Q /ความเครียดในกล่มุ วัยสงู อายุ โดยเพิม่ ความครอบคลุมในการค้นหาผทู้ ีม่ ีปญั หา
เครยี ด ซมึ เศรา้ ในกล่มุ วยั สูงอายทุ ัง้ ในคลินิกโรคเร้ือรงั และในชุมชน ตลอดจนใหค้ าแนะนาตามผลการคัดกรอง
ความเครยี ด และซึมเศร้า และ/ หรือ ใหก้ ารสง่ ตอ่ งานสุขภาพจิต (ใน รพ.แต่ละอาเภอ) เพ่อื รับคาปรึกษา


กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจติ และยาเสพติด

ผลการคดั กรองปัญหาสขุ ภาพจิต

อาเภอ ผูป้ วุ ยDM/HT 60 ปขี ึน้ ไป ได้คดั กรอง 2Q(คน) คดิ เป็น(%)

(คน)

เมือง 6966 6408 91.99
3558 91.35
เดิมบางนางบวช 3895 1125 82.30
2460 89.20
ดา่ นชา้ ง 1367 2315 90.32
1458 93.46
บางปลาม้า 2758 3920 90.41
1785 93.16
ศรปี ระจนั ต์ 2563 3545 89.36
1530 89.21
ดอนเจดีย์ 1560 28104 90.53

สองพี่น้อง 4336

สามชุก 1916

อทู่ อง 3967

หนองหญา้ ไซ 1715

รวม 31043

กลุม่ 35ปีขึน้ ไป ผลงาน ต.ค 58 – เม.ย 59
ปชช. กลุ่มปวุ ยโรคเรื้อรงั ท้ังหมด (คน) (ยอดสะสม)
31043


กลุ่มงานโรคไม่ตดิ ต่อ สขุ ภาพจิตและยาเสพติด

ปชช. กลมุ่ ปวุ ยโรคเรือ้ รังได้รบั การคัดกรองภาวะซึมเศร้า (2Q)…คน 28104
ร้อยละของการคัดกรอง 90.53
ผลการคัดกรอง ซมึ เศรา้ ผล 2Q + .......... คน 1456
915
ผล 9Q <7 คะแนน .......... คน 465
ผล 9Q 7-12 คะแนน .......... คน 67
ผล 9Q 13-18 คะแนน .......... คน 18
ผล 9Q >19 คะแนน .......... คน

2.มกี ารดาเนนิ งานส่งเสริม ปูองกนั ปัญหาสุขภาพจิต และการดแู ลช่วยเหลือผ้สู ูงอายใุ นชุมชน และผูส้ ูงอายุใน
ชมรมผู้สงู อายุ ในพนื้ ท่ีนาร่อง ( รพ.สต..บ้านท่าช้าง อาเภอเดมิ บางนางบวช จังหวดั สุพรรณบรุ )ี โดยมีกจิ กรรม
การดาเนินงาน ดังนี้

1.วางแผนร่วมกับท้องถ่นิ /ชุมชน
2. การคดั กรอง 2Q,9Q ผู้สงู อายุกลมุ่ ติดบ้าน/ติดเตยี งในชุมชนและในชมรมผ้สู ูงอายุ
3. การส่งเสรมิ ปูองกนั ปญั หาสุขภาพจิตและการดแู ลชว่ ยเหลือ ผูส้ งู อายุกลมุ่ ตดิ บา้ น/ติดเตียงในชุมชนและใน
ชมรมผู้สูงอายุ ไดแ้ ก่ การจัดกิจกรรมสรา้ งสุข 5 มิติ การเยย่ี มบ้าน การใหส้ ุขภาพจิตศกึ ษาแกผ่ ู้สูงอายุและผดู้ ูแล
โดยมแี นวทางตามเอกสารคู่มือการเย่ียมบา้ น

ข้อมูลการใหบ้ รกิ ารดแู ลทางสังคมจิตใจ (Psychosocial Clinic)

การให้บริการดูแลทางสังคมจิตใจเพ่ือการให้คาปรึกษาในประเดน็ สุรา/ยาเสพตดิ การต้งั ครรภใ์ น
วัยรุ่น ความรนุ แรง ส่วนใหญม่ เี จา้ หน้าท่ีให้บริการอยู่ในคลนิ ิกสขุ ภาพจิตของโรงพยาบาลซง่ึ มีเจา้ หนา้ ท่ี 1-3


กลุม่ งานโรคไม่ตดิ ต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

คน การรวบรวมขอ้ มลู รายงานยังเป็นแบบการบันทึกในแบบรายงาน ยังไม่มีระบบขอ้ มลู ในฐานบริการดา้ น
สขุ ภาพทีช่ ่วยทาใหง้ า่ ยต่อการจดั เก็บและการรายงานจงึ ทาให้ยากต่อการคัดแยกรายละเอียดและการรวบรวม
แต่โดยภาพรวมพบขอ้ มลู การให้บริการใน Psychosocial Clinic ดงั น้ี

กิจกรรม จานวนผู้ปวุ ยท่มี ารับบริการในปีงบ 2559 (ราย)

สรุ า/ยาเสพ ตัง้ ครรภใ์ น ความรุนแรง โรคเรอ้ื รงั ผู้ปุวยจติ
ตดิ วัยรุ่น เวช

คดั กรอง/ประเมนิ 16327 65 86811(93.24%)
สุขภาพจิต
ข้อมูลท่ีงาน 65 892(1.03%) ขอ้ มูลที่
ให้คาปรกึ ษา(2Q+) 5 service
729 วัยร่นุ plan
สง่ ต่อ(9Q>7) 729
265(0.3%)

เยีย่ มบา้ น(9Q>7) 60 60 265(0.3%)

(โครงการโทร
ถามตาม
เย่ียม)

2.การขับเคลื่อนการการบังคับใช้ พ.ร.บ.สุขภาพจติ พ.ศ. 2551

ในปี 2559 สานักงานสาธารณสขุ ได้มีการขับเคล่อื นการการบงั คบั ใช้ พ.ร.บ.สุขภาพจติ พ.ศ. 2551
โดยประชาสัมพันธ์แจ้งให้เจ้าหน้าที่ในระดับอาเภอ /ตาบล ได้มีการขึ้นทะเบียนจัดทาบัตร พนักงานเจ้าหน้าท่ี
ตาม พรบ.สุขภาพจติ ปี 2551 เพื่อช่วยใหส้ ามารถนาผปู้ ุวยทม่ี ีอาการทางจิต ที่จาเป็นต้องได้รับการบาบัดรักษา
ได้เขา้ ถงึ บริการเพม่ิ มากขน้ึ


กลุ่มงานโรคไม่ตดิ ต่อ สุขภาพจติ และยาเสพติด
การขบั เคล่อื นการดาเนินงานเพ่อื การบังคบั ใช้ พ.ร.บ สุขภาพจิต พ.ศ 2551 ในเชิงระบบ


กลุม่ งานโรคไม่ตดิ ต่อ สุขภาพจติ และยาเสพติด

ได้มีการจัดประชุมช้ีแจงผู้เกี่ยวไปแล้วเมื่อวันท่ี 27 พฤษภาคม 2559 ซ่ึงคร้ังนี้เป็นการเร่ิมต้นสร้าง
เครือข่ายท้ังใน และนอกระบบสาธารณสุขในการดูแลผู้ที่ปุวยทางจิตในชุมชน ผู้เข้าร่วมประชุมเป็นเครือข่าย
ในระดับอาเภอทั้ง 10 แห่ง โดยแต่ละอาเภอคัดเลือกพื้นที่นาร่องในการดาเนินงานอาเภอละ 1 แห่ง มี
กลุ่มเปูาหมายทีเ่ ข้ารว่ มประชุมได้แก่ 1)พยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชในแต่ละโรงพยาบาล 2)เจ้าหน้าท่ีตารวจ 3)
อบต./เทศบาล 4) เจ้าหน้าท่ีกู้ภัย 5)งานนิติการ ของ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี และ6) ศูนย์ส่ังการ
1669 (การแพทยฉ์ กุ เฉนิ ) จาก รพ.เจ้าพระยายมราช รูปแบบการดาเนินการ ประกอบด้วย การบรรยาย และการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อวางแนวทางการดาเนินงานในแต่ละพ้ืนที่ ทั้งนี้ ได้รับการสนับสนุนวิทยากร จากสถาบัน
กัลยาณ์ราชนครินทร์ / งานสุขภาพจิต รพ.เดิมบางนางบวช /สถานีตารวจทุ่งคลี และตัวแทนกู้ภัยเสมอกันใน
พน้ื ทตี่ าบลทงุ่ คลี
3.การพัฒนาระบบงาน MCATT ( การดูแลเยยี วยาจติ ใจผู้ประสบภัยวิกฤต) ปีงบประมาณ 2559
3.1 มีทีม MCATT ระดับจังหวดั /อาเภอ และบูรณาการแผนงาน / การซอ้ มแผน กับงานการแพทยฉ์ กุ เฉิน/
EMS ในแตล่ ะพืน้ ท่ี โดยการซ้อมแผนรว่ มกนั ในระดบั จังหวดั ได้ดาเนินการไปแลว้ เมื่อวันท่ี 25 มีนาคม 2559


กล่มุ งานโรคไมต่ ดิ ต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

3.2 ออกปฏิบตั งิ านในพ้นื ท่เี มื่อเกดิ เหตุ


3.3 บูรณาการการบรหิ ารจดั การระบบงาน MCATT ก


กลมุ่ งานโรคไมต่ ิดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
กบั ระบบบัญชาเหตุการณด์ ้านสาธารณสุขและสาธารณภยั (ICS)


กลุ่มงานโรคไมต่ ดิ ต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

4.ระบบสุขภาพอาเภอ (DHS) และตาบล (THS)
การดาเนนิ งานเพ่ือขบั เคลือ่ นงานสขุ ภาพจิตและจติ เวช เขา้ สรู่ ะบบสขุ ภาพอาเภอ และตาบล

แบ่งเป็นกลุม่ ปกติ กลุ่มเส่ียง และกลุ่มปว่ ย เพอ่ื ให้ครอบคลมุ ใน 4 มิติ และเปน็ การดูแลแบบบูรณาการ
รว่ มกนั ทั้งงานดูแลฝ่ายกายและงานดูแลฝ่ายจติ ใจ ตามกรอบแนวทางดา้ นล่าง


กล่มุ งานโรคไมต่ ิดต่อ สุขภาพจติ และยาเสพติด

5.การพัฒนาระบบบรกิ ารจาก Primary care เชื่อมโยง กับ service plan
ตามทไี่ ด้มีการพัฒนาระบบบริการด้านสุขภาพจิต และจิตเวช เพ่ือเพิ่มการเข้าถึงของผู้ท่ีมีปัญหาทางด้าน

สุขภาพจิตให้ได้รับการรักษาท่ีเหมาะสม ซ่ึงการดาเนินงานดังกล่าวต้องมีการบูรณาการระบบงานร่วมกัน
ระหว่างหน่วยบริการ (รพศ.เป็นแกนหลัก) กับ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด(ระบบการคัดกรองและการ
สง่ เสรมิ สุขภาพจติ กลุม่ วยั ) โดยในปี 2559 ไดม้ ีการบูรณาการระบบงานร่วมกันมากข้ึน และได้มีการจัดทาร่าง
กรอบการดาเนินงานเพ่ือเชื่อมโยงระบบบริการจาก Primary care กับ service plan เข้าด้วยกัน ซ่ึงจะ
ไดน้ าไปใช้และพฒั นาต่อยอด ในปงี บประมาณ 2560 ต่อไป
ผลลพั ธก์ ารดาเนินงาน

5.1 การเข้าถึงบรกิ ารโรคทางจติ เวชท่ีสาคัญในเดก็ และผใู้ หญ่ (ตามรายงานของ service plan)
5.2 การเขา้ ถงึ บรกิ ารของผปู้ วุ ยโรคซมึ เศรา้


กลมุ่ งานโรคไม่ตดิ ต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

**ข้อมูลจากฐานทะเบียนผู้ปวุ ยโรคซึมเศรา้ ในโรงพยาบาล ณ วนั ท่ี 30 ก.ย พ.ศ 2559

อาเภอ จานวน ปชก. จานวนผ้ปู วุ ยโรค ผลการดาเนินงานการเข้าถึง

อายุ 15ปขี ึ้นไป ซมึ เศรา้ ที่คาด เปาู หมายการเขา้ ถึง บริการของผู้ปุวยโรคซึมเศร้า

(HDC ปี59) ประมาณการณ์ บรกิ ารของผ้ปู วุ ยโรคซึมเศร้า ปี 25(5ป9ี 5(ค9น) )(>=รอ้ ยละ 43
(ร้อยละ 2.4* ของ

ปชก.อายุ 15 ปี ของยอดประมาณ

ขนึ้ ไป ) เพอ่ื ใช้คิด การ )
เปาู หมาย ปี 59

จานวน(คน) ร้อยละของยอด
ประมาณการ

เมืองสพุ รรณบุรี 139494 3348 1440 1217 36.35

เดมิ บางนางบวช 62097 1491 642 440 29.5

ดา่ นช้าง 54246 1302 560 219 16.8

บางปลามา้ 66843 1605 691 437 27.2

ศรปี ระจันต์ 53151 1276 549 489 38.3

ดอนเจดีย์ 38197 917 394 461 50.27

สองพี่น้อง 104799 2516 1082 995 39.54

สามชุก 46782 1123 483 400 35.61

อู่ทอง 100785 2419 1041 1110 45.89

หนองหญ้าไซ 41406 994 428 401 40.34

รวม 707800 16988 7305 6169 36.31


กลุ่มงานโรคไมต่ ิดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพติด

**ข้อมลู จาก HDC ณ วันที่ 4 ตลุ าคม 2559

5.4 อตั ราการฆ่าตัวตายสาเรจ็ ปงี บประมาณ 2559 (เปา้ หมายไม่เกิน 6.5 ตอ่ ปชก.1แสนคน)

อาเภอ ปชก. ทั้งหมด จานวนผพู้ ยายามฆา่ ตัวตาย (คน) อตั ราสาเรจ็ ต่อ
(HDC) รวมทงั้ หมด ไมส่ าเร็จ สาเรจ็ ปชก.1แสนคน

เมืองสพุ รรณบรุ ี 167557 101 88 13 7.75

เดมิ บางนางบวช 73159 26 21 5 6.83

ด่านชา้ ง 67556 27 23 4 5.92

บางปลามา้ 78699 19 15 4 5.08


กลมุ่ งานโรคไม่ติดต่อ สขุ ภาพจิตและยาเสพติด

ศรปี ระจันต์ 62281 33 26 7 11.24
ดอนเจดยี ์ 46112 40 36 4 8.67
สองพ่ีนอ้ ง 128036 56 47 9 7.03
สามชุก 54751 32 28 4 7.31
อู่ทอง 121957 35 30 5 4.09
หนองหญ้าไซ 49448 21 16 5 10.11
849550 390 330 60 7.06
รวม


Click to View FlipBook Version