The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-30 23:16:01

รายงานประจำปี2559

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

กลุ่มงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

ดาเนินงานการอนามัยเจรญิ พันธุ์ ทมี อี าเภอท่ีผา่ นเกณฑ์อาเภออนามยั การเจรญิ พันธ์ุ ทง้ั 10 อาเภอ มีความพรอ้ มใน
การดาเนินงานอย่ใู นระดับดจี นสามารถ ผา่ นการประเมินอาเภออนามัยการเจริญพนั ธุ์ จากสานกั อนามยั การเจรญิ
พันธ์ุ กรมอนามยั และศูนยอ์ นามัยท่ี 4 ราชบรุ ี ในปี 2557-2558 และยังคงสภาพการดาเนินงานทด่ี ีและต่อเน่ืองได้
อยา่ งสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของพื้นที่ ได้รับการสนับสนนุ งบประมาณจาก อปท.ในการดาเนินงานท้งั 10 อาเภอ
ความภาคภมู ิใจในการทางานวัยรุ่น

ได้รับเกยี รติจากสานกั อนามัยการเจริญพนั ธุ์ในการถ่ายทาสารคดสี ั้น “การขบั เคล่ือนการป้องกันและการ
แก้ไขปญั หาการต้ังครรภใ์ นวัยรนุ่ ระดับท้องถ่ิน.”ในพ้นื ที่สุพรรณบุรเี ม่อื วันที่ 9-10 กุมภาพนั ธ์ 2559 และ
ออกอากาศทางสถานีโทรทศั นก์ องทพั บกช่อง5 รายการแฮปปีโ้ ซไซต้ี เมื่อวันท่ี 1 มนี าคม 2559

ได้รับความภาคภูมิใจในการทางานได้ต้อนรบั ทีมสาธารณสุขจากสานักงานสาธารณสขุ อาเภอเมืองกระบี่
มาศกึ ษาดงู านอนามัยการเจริญพันธ์เุ พื่อการแลกเปลีย่ นเรยี นรกู้ ารขับเคล่ือนนโยบายส่กู ารปฏบิ ัติ ในวนั ท่ี 18
กมุ ภาพนั ธ์ 2559 จานวน 70 คน

ไดร้ ับเกียรติจากสานักอนามัยการเจริญพนั ธใ์ุ หไ้ ปนาเสนอบูทนิทรรศการ 1 โรงพยาบาล1โรงเรียน OHOS
ระดับประเทศในเดือน กรกฎาคม 2559 (13-15 กค 59)โรงแรมแอมบาสวาเดอร์ สขุ มุ วิท 11 กรุงเทพฯ

ไดร้ บั เกียรติจากเขตสขุ ภาพท่ี๕ ราชบรุ ี ไดน้ าเสนอบทู นิทรรศการ ๑ โรงพยาบาล๑โรงเรียน OHOS ของ
โรงเรยี นบอ่ สพุ รรณวิทยา ไปจดั มหกรรมณณรงค์แลกเปล่ียนเรยี นรู้ “วยั เกรยี น สดุ ฟิน”ในวันท่ี ๒๒เดือน กรกฎาคม
๒๕๕๙ โรงแรมโกลเดน้ ท์ซิตี้ อาเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบรุ ี

ไดร้ ับความภาคภมู ิใจในการทางานไดต้ ้อนรบั ทีมสาธารณสุขจากสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดเพชรบรุ ี มา
ศกึ ษาดงู านอนามัยการเจรญิ พนั ธุ์เพ่ือการแลกเปลย่ี นเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายสกู่ ารปฏบิ ัติ ในวันที่ 21 กันยายน
2559 จานวน 40 คน

ได้มีโอกาสเข้าร่วมงานเป็นทมี นเิ ทศบูรณาการงานวยั ร่นุ ในอาเภอสองพ่นี ้อง,ด่านช้าง,ศรีประจันต์ และ
เมอื งในเดือน เมษายน-พฤษภาคม๒๕๕๙ เพอื่ ต่อยอดงานในเชิงระบบกลา่ วคือการพฒั นางาน ศูนยบ์ รกิ ารทีเ่ ป็นมติ ร
สาหรบั วับรนุ่ และเยาวชนในคลนิ กิ ระดบั โรงพยาบาล ท้งั ๑๐ แหง่ ให้สามารถเป็นแมข่ ่ายทดี่ ีในการช่วยเหลอื ลูกขา่ ย
ในรพ.สต.ทัง้ ๑๗๔ แหง่ ดาเนินงานโดยมีภาคเี ครือข่ายทง้ั อปท,อบต,สถานศึกษา,วัด,พมจ ,วฒั นธรรม,ตารวจ,
ผ้ใู หญบ่ ้าน,กานนั , เครือขา่ ย NGO,อสม,แกนนานักเรียนตลอดจนสภาเด็ก ในการขบั เคลื่อนงานป้องกนั และแกไ้ ข
ปัญหาตงั้ ครรภไ์ ม่พร้อมในวัยรนุ่ จงั หวัดสุพรรณบุรี ให้เชอื่ มโยงงานอย่างไร้รอยต่อ และสามารถประเมนิ ตนเองใน
ตวั ช้ีวัด QOF ในองคป์ ระกอบ UC CARE โดยไมต่ ้องสร้างเกณฑ์การประเมนิ ใหม่
4. แนวทางแก้ไขความเสี่ยง/กระบวนการทางาน

1 เพ่ิมการเข้าถงึ กลมุ่ เปา้ หมายและการสง่ ต่อชว่ ยเหลอื กลมุ่ ที่มปี ัญหาโดยสรา้ งแนวทางการดาเนนิ งาน ๑
โรงพยาบาล ๑ โรงเรียนคเู่ ครือขา่ ย ให้ครบท้งั 32 ในปี 2560-2561

2 ส่งเสรมิ ให้โรงเรียนมีการจดั การสอนเพศศึกษารอบด้าน,งานอนามัยการเจริญพันธ์ุ,โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธ์
โดยจดั อบรมแกนนานักเรยี น ใหค้ รบทง้ั 32 ในปี 2560-2561

3 สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของชุมชนโดยการนเิ ทศและประเมินมาตรฐานบริการที่เปน็ มิตรสาหรบั วยั รุ่นและเยาวชน
ในระดบั อาเภอทั้ง 10 อาเภอ โดยให้อาเภอคัดเลือก รพ.สต.อยา่ งน้อย 2 แห่งเขา้ รบั การประเมนิ พรอ้ มมรี างวัลใน


กลุ่มงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

การดาเนนิ งาน (โดยไม่ซา้ รพ.สต.เดมิ ท่เี คยผ่านเกณฑ์การประเมนิ แลว้ ในปี 2557-2558)
4 สร้างความตระหนักให้สังคมและสอื่ มวลชนเหน็ ความสาคัญของวยั รุ่นและสือ่ สารข้อมูลทางบวกสสู่ าธารณะ

โดยร่วมมอื กับวัฒนธรรม,พมจ,อปท,ตารวจ ในการตรวจรา้ นเกมส,์ การสรา้ งพื้นที่สรา้ งสรรคข์ องวยั รุน่
5 เปดิ โอกาสใหว้ ยั รนุ่ ไดม้ ีพ้ืนท่ีในการแสดงศักยภาพของตนเอง กิจกรรมในทูบีนมั เบอร์วัน,การแสดงเพลงฉ่อย /

อแี ซวพืน้ บ้านในการรณรงคส์ อนนอ้ งทาดี,ทักษะชีวติ ,โรคติดต่อทางเพศสัมพนั ธ์
6 ส่งเสรมิ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ให้มีสว่ นรว่ มในการส่งเสริมการเข้าถงึ ถงุ ยางอนามัยในพื้นท่ี โดยจัดอบรม

ใหค้ วามร้แู ก่ อปท.เกีย่ วกับพระราชบญั ญตั ิ “การปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาการตง้ั ครรภใ์ นวยั รุ่น.” ในปี 2560-2561
เพือ่ ให้อปท.สามารถสนบั สนุนงบประมาณในการจัดซอื้ ถงุ ยางอนามัยโดยไมข่ ัดต่อระเบียบตามมาตรา 5-9 อย่างไร

7.พัฒนา PM ระดบั อาเภอให้ดาเนนิ งานนิเทศติดตามกับ รพ.สต.ที่รับผดิ ชอบ
- ทกุ สถานบรกิ ารควรมกี ารรวบรวมขอ้ มลู เด็กและเยาวชนตง้ั ครรภใ์ นกลุม่ อายุตา่ งๆ ได้แก่ ชว่ งอายุ 10-14

ปี ,15-19 ปี และ 20-24 ปี มกี ารวิเคราะห์ขอ้ มูล เพ่ือสะท้อนภาพปัญหาองค์รวม (ย้อนหลัง 3 ปี )
- ทกุ สถานบริการต้องพฒั นามาตรฐานบริการท่เี ปน็ มติ รกับวยั รุ่นในระดบั โรงพยาบาลให้ผา่ นเกณฑ์

ระดบั 3 ในปี 2559 และระดบั รพ. สต. ทงั้ 174 แหง่ ตอ้ งผ่านเกณฑ์ระดับ 2
- PM ควรมีการติดตามประเมินผลสถานบรกิ ารที่รบั ผดิ ชอบ ปี ละ 2 คร้งั ในระดบั อาเภอ และรายงานผล

การตดิ ตามให้ กลมุ่ งานสง่ เสริมสขุ ภาพ ทราบอยา่ งน้อย 6 เดอื นครัง้

ประเด็นการตรวจราชการท่ีมงุ่ เนน้
1.ทมี นกั จดั การสุขภาพวัยร่นุ (Teen Manager) PM หลักงาน CD งบ สสส
2.ระบบเชอื่ มโยงการดแู ลช่วยเหลือนักเรียน (OHOS) PM หลกั งาน NCD
3.การป้องกนั การต้ังครรภ์ในวัยรนุ่ และการตั้งครรภซ์ า้ PM หลักงาน ส่งเสรมิ
4.การปอ้ งกนั การด่ืมเครื่องดืม่ แอลกอฮอลใ์ นวัยรนุ่ PM หลกั งาน NCD


กลุ่มงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

กลมุ่ วัยผูส้ ูงอายุ

ข้อมลู สถานการณ์ปงี บประมาณ พ.ศ. 2559
ข้อมลู ทวั่ ไป (ณ วันทีร่ ายงาน) จานวนประชากรรวม 701,239 คน จานวนผู้สูงอายุท่ีอาศัยอยู่จริงในพ้ืนท่ี 153,283
คน คดิ เป็น ร้อยละ 21.85

ตารางที่ 1 จานวนผูส้ ูงอายุรายอาเภอ จาแนกตาม ADL index

อาเภอ DB POP ผสู้ ูงอายทุ ี่ได้รับการ กล่มุ 1 (ติดสังคม) กลุ่ม 2 (ติดบ้าน) กลุ่ม 3 (ตดิ เตยี ง)
ประเมิน ADL
เมอื งสุพรรณบรุ ี ปี 59 จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ
เดมิ บางนางบวช 30,172 รอ้ ยละ รอ้ ยละ 27,343 96.06 717 2.52 427 1.50
ด่านช้าง 16,209 12,028 95.24 428 3.39 173 1.37
บางปลาม้า 8,937 28,464 94.34 7,064 95.05 261 3.51 107 1.44
ศรีประจนั ต์ 15,609 12,629 77.91 13,027 94.00 617 4.45 214 1.54
ดอนเจดยี ์ 12,702 7,432 83.16 8,937 91.85 651 6.69 142 1.46
สองพน่ี ้อง 8,263 13,858 88.78 6,593 94.69 318 4.56 52 0.75
สามชุก 19,766 9,730 76.6.0 16,197 90.51 1,518 8.48 180 1.00
อู่ทอง 11,072 6,963 84.27 10,589 95.67 404 3.65 75 0.68
หนองหญ้าไซ 21,876 17,895 90.53 16,691 92.99 1,064 5.93 194 1.08
รวม 8,677 11,068 99.96 7,660 95.93 259 3.24 66 0.83
153,283 17,949 82.05 126,129 94.15 6,237 4.66 1,630 1.22
7,985 92.02
133,973 87.40

ประเดน็ ตรวจราชการที่มุ่งเนน้ :

การบรหิ ารจัดการดแู ลผู้สูงอายแุ ละฐานข้อมลู

จานวน Ageing Manager (ผปู้ ระสานแผนงานยทุ ธศาสตร์ฯกลุ่มวัยผสู้ งู อาย)ุ ในระดบั อาเภอ

Aging Manager อาเภอ

จานวน (อาเภอ) 10

คา่ เป้าหมาย 10

ผลการดาเนินงาน 20

การบรกิ ารสร้างเสรมิ สุขภาพและปอ้ งกนั โรคในผู้สงู อายุ

แบบสรปุ รายงาน

1. ร้อยละของผูส้ ูงอายุไดร้ บั การคัดกรอง/ประเมนิ สุขภาพท้ังร่างกายและจิตใจ

การประเมินความสามารถในการทากิจวัตรประจาวนั (ADL)

อาเภอ DB POP ผสู้ งู อายทุ ่ไี ดร้ บั การ กล่มุ 1 (ติดสงั คม) กลมุ่ 2 (ติดบ้าน) กลุ่ม 3 (ติดเตยี ง)
ประเมนิ ADL


กลุ่มงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

ปี 59 ร้อยละ รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ
1.50
เมอื งสพุ รรณบรุ ี 30,172 28,464 94.34 27,343 96.06 717 2.52 427 1.37
1.44
เดิมบางนางบวช 16,209 12,629 77.91 12,028 95.24 428 3.39 173 1.54
1.46
ดา่ นชา้ ง 8,937 7,432 83.16 7,064 95.05 261 3.51 107 0.75
1.00
บางปลาม้า 15,609 13,858 88.78 13,027 94.00 617 4.45 214 0.68
1.08
ศรีประจันต์ 12,702 9,730 76.6.0 8,937 91.85 651 6.69 142 0.83
1.22
ดอนเจดีย์ 8,263 6,963 84.27 6,593 94.69 318 4.56 52

สองพ่นี ้อง 19,766 17,895 90.53 16,197 90.51 1,518 8.48 180

สามชุก 11,072 11,068 99.96 10,589 95.67 404 3.65 75

อ่ทู อง 21,876 17,949 82.05 16,691 92.99 1,064 5.93 194

หนองหญ้าไซ 8,677 7,985 92.02 7,660 95.93 259 3.24 66

รวม 153,283 133,973 87.40 126,129 94.15 6,237 4.66 1,630

2.รอ้ ยละของผู้สูงอายุทตี่ ้องการความช่วยเหลือในการดาเนนิ กจิ วัตรประจาวันพืน้ ฐาน

ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 15 ของประชากรสูงอายุ (กล่มุ 2 + กลุ่ม 3)

อาเภอ เปา้ หมาย ผลงาน รอ้ ยละ

เมอื งสุพรรณบรุ ี 28,482 1,630 5.72
4.76
เดิมบางนางบวช 12,629 601 4.95
5.99
ด่านช้าง 7,432 368 8.15
5.31
บางปลามา้ 13,858 831 9.48

ศรีประจนั ต์ 9,730 793 4.32
7.00
ดอนเจดีย์ 6,963 370 3.95
6.22
สองพ่ีน้อง 17,895 1,698

สามชุก 11,068 479

อูท่ อง 17,949 1,258

หนองหญ้าไซ 8,235 325

รวม 134,241 8353

รายละเอียดรายงานการคดั กรองผ้สู ูงอายโุ รคทเี่ ปน็ ปัญหา

อาเภอ เบาหวาน ความดนั CVD RISK ตา
ปกติ เส่ยี ง/ปว่ ย ปกติ เสี่ยง/ปว่ ย ปกติ เสี่ยง/ป่วย ปกติ เสยี่ ง/ปว่ ย
เมืองฯ 15242 4443 13332 7878 13507 2919 15274 1833
เดิมบางฯ 6837 2349 5293 4274 7566 1205 9556 547
ด่านชา้ ง 6183 1249 5014 2418 6976 228 7195 237
บางปลามา้ 10227 1662 7018 4472 9091 1871 10830 340


กลมุ่ งานส่งเสริมสขุ ภาพ

ศรีประจนั ต์ 8968 1541 8661 2076 8365 778 9697 33
ดอนเจดยี ์ 3879 813 4111 1948 4219 423 4475 255
สองพี่นอ้ ง 10174 3170 8774 4919 8110 2636 12766 1143
สามชกุ 5838 639 4735 1700 6195 221 6396 12
อทู่ อง 9585 4271 7993 6282 10641 2442 11937 1322
หนองหญ้าไซ 5371 1875 3956 3290 5577 1177 6445 785
รวม 82304 22012 68887 39257 80247 13900 94571 6507

 กลมุ่ Geriatric syndromes

อาเภอ การกลน้ั ปัสสาวะ ปญั หาการนอน ภาวะหกล้ม ขอ้ เข่าเสอื่ ม

เมอื งฯ ปกติ เสี่ยง/ปว่ ย ปกติ เสี่ยง/ป่วย ปกติ เสีย่ ง/ป่วย ปกติ เส่ียง/ป่วย
เดมิ บางฯ
ดา่ นช้าง 17725 167 16609 1205 16415 996 12251 3205
บางปลาม้า 10910 122 7972 3060 10111 896 7829 1416
ศรปี ระจันต์ 6401 1031 6807 625 7164 268 6633 799
ดอนเจดยี ์ 11580 434 9420 2594 10803 1211 8417 2108
สองพ่นี ้อง 9423 307 9198 532 8032 1729 8498 1232
สามชุก 3666 1064 4112 618 4439 291 3904 832
อูท่ อง 12074 1419 12977 519 11184 2288 10626 2083
หนองหญ้าไซ 6234 263 6312 184 5352 1145 5959 532
รวม 13180 1198 12515 1355 12127 1784 11374 1430
1174 5978 6677 580 6962 297 6523 689
92367 11983 92599 11272 92589 10905 82014 14326

อาเภอ ภาวะสองเสอ่ื ม ภาวะซมึ เศร้า สขุ ภาพชอ่ งปาก ภาวะโภชนาการ
ปกติ เสย่ี ง/ปว่ ย ปกติ เส่ยี ง/ปว่ ย ปกติ เส่ียง/ป่วย ปกติ เสีย่ ง/ปว่ ย
เมืองฯ 17060 695 17438 453 9793 8099 9567 8322
เดมิ บางฯ 10461 282 10268 78 4839 4442 7000 3330
ดา่ นช้าง 7227 205 7394 38 3530 3902 5518 1914
บางปลาม้า 10641 551 11898 116 5217 5953 3828 8186
ศรปี ระจันต์ 9237 493 9632 98 8875 855 9730 304
ดอนเจดยี ์ 4523 207 4581 149 3233 1456 2376 2354
สองพนี่ อ้ ง 12539 447 12855 130 9082 4235 7349 4730
สามชกุ 6418 79 6461 36 5347 1150 5838 659
อทู่ อง 12552 1280 13464 342 8207 4566 7376 6254
หนองหญา้ ไซ 6747 478 7184 48 5002 2802 4609 1106
รวม 97405 4717 101175 1488 63125 37460 63191 37159


กลุม่ งานส่งเสรมิ สขุ ภาพ

การดูแลรกั ษาและฟ้ืนฟูสภาพ

รอ้ ยละของโรงพยาบาลชมุ ชนมหี นว่ ยบริการผู้สูงอายุที่ให้บริการประเมิน/คัดกรองและรกั ษาเบ้อื งตน้

อาเภอ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ

เดมิ บางนางบวช 1 1 100

ด่านชา้ ง 1 1 100

บางปลาม้า 1 1 100

ศรปี ระจนั ต์ 1 1 100

ดอนเจดีย์ 1 1 100

สามชุก 1 1 100

อ่ทู อง 1 1 100

หนองหญา้ ไซ 1 1 100

รวม 8 8 100

รอ้ ยละของโรงพยาบาลศนู ย/์ ท่วั ไป มีหน่วยบริการผู้สงู อายุ

อาเภอ เปา้ หมาย ผลงาน รอ้ ยละ
เมืองสุพรรณบรุ ี (รพศ.) 1 1 100
สองพ่นี ้อง (รพท.) 1 1 100
รวม 1 1 100

ระบบการดแู ลผสู้ งู อายุทอี่ ย่ใู นภาวะพึ่งพงิ แบบระยะยาว (Long term care) โครงการ 1000 ตาบล

แสดงขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณ

4.4.1.1 ผู้สูงอายทุ อ่ี ยู่ในภาวะพึ่งพงิ จานวน 658 คน

4.4.1.2 ตาบลท้ังหมด จานวน 110 ตาบล

4.4.1.3 ตาบลท่ีเขา้ ร่วมโครงการ จานวน 10 ตาบล

แบบสรปุ รายงาน

ตาบลตน้ แบบ Long term care (ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 40)

อาเภอ เปา้ หมาย ผลงาน ร้อยละ

เมอื งสุพรรณบรุ ี ทา่ พี่เลยี้ ง 5 กค. รอผล

เดิมบางนางบวช เขาพระ 29 มิย. รอผล

ดา่ นช้าง ด่านชา้ ง 30 มยิ . รอผล

บางปลามา้ ตน้ คราม 27 มยิ . รอผล

ศรีประจนั ต์ วังนา้ ซบั 17 มยิ . ผา่ น

ดอนเจดีย์ ไร่รถ 15 มิย. ผา่ น


กล่มุ งานส่งเสรมิ สขุ ภาพ

สองพ่ีน้อง สองพ่นี ้อง 4 กค. รอผล
สามชกุ หนองสะเดา 28 มยิ . รอผล
อทู่ อง เจดยี ์ 1 กค. รอผล
หนองหญ้าไซ หนองหญา้ ไซ 16 มยิ . ผ่าน
รวม 30
10
รอ้ ยละ
ผสู้ ูงอายุไดร้ ับการประเมินและจดั ทาแผนการดแู ลรายบคุ คล 0
0
อาเภอ เปา้ หมาย ผลงาน 0
0
เมืองสุพรรณบุรี 132 ระหวา่ งดาเนนิ การ 0
0
เดมิ บางนางบวช 91 ระหว่างดาเนินการ 0
0
ดา่ นชา้ ง 41 ระหว่างดาเนินการ 0
0
บางปลามา้ 46 ระหว่างดาเนินการ 0

ศรีประจันต์ 65 ระหว่างดาเนนิ การ

ดอนเจดีย์ 58 ระหวา่ งดาเนินการ

สองพีน่ ้อง 95 ระหว่างดาเนนิ การ

สามชกุ 27 ระหว่างดาเนนิ การ

อู่ทอง 50 ระหวา่ งดาเนนิ การ

หนองหญา้ ไซ 26 ระหวา่ งดาเนินการ

รวม 631 ระหวา่ งดาเนนิ การ

จานวน Care giver ผ่านการอบรม

อาเภอ เป้าหมาย ผลงาน รอ้ ยละ
เมืองสุพรรณบรุ ี 13 92 100
เดมิ บางนางบวช 9 15 100
ด่านช้าง 4 00
บางปลาม้า 5 7 100
ศรปี ระจนั ต์ 6 9 100
ดอนเจดยี ์ 6 10 100
สองพ่นี ้อง 10 70 100
สามชุก 3 11 100
อ่ทู อง 8 00
หนองหญ้าไซ 8 30 100
รวม 72 244 100


กลมุ่ งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

ความสาเร็จ (Key Risk Area/ Key Risk Factor) ซ่ึงได้จากการวนิ ิจฉัย ประมวล วิเคราะห์ สังเคราะห์ จากการ
ตรวจติดตาม -ไมม่ ี

ปญั หา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะทใ่ี ห้ สง่ิ ทผี่ ูท้ าหนา้ ท่ีตรวจราชการรับ
ปัญหา/อปุ สรรค/ปัจจัยท่ีทาใหก้ าร ตอ่ หนว่ ยรับตรวจ ไปประสาน หรอื ดาเนนิ การต่อ
ดาเนินงานไม่บรรลุวตั ถุประสงค์

1.การคัดกรอง
-แบบคัดกรองโรคและกลมุ่ อาการ
Geriatric Syndrome
มคี วามหลากหลาย และมรี ายละเอยี ด
มาก และการคัดกรองผสู้ งู อายหุ นึ่งคน
ต้องใชเ้ วลาในการคัดกรองนาน

ปญั หา/อุปสรรค/ปจั จัยท่ีทาให้การ ข้อเสนอแนะทใ่ี ห้ สง่ิ ที่ผู้ทาหนา้ ทีต่ รวจราชการรับ
ดาเนนิ งานไม่บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ ตอ่ หน่วยรับตรวจ ไปประสาน หรอื ดาเนนิ การต่อ

2.ความล่าช้าและข้อผดิ พลาดในการ
รายงานผลการดาเนนิ งาน เน่ืองจาก
-ฐานขอ้ มลู การคดั กรองโรคผู้สูงอายุ
ใน Data Center มีไม่ครบถ้วน,
การจัดเก็บและรวบรวมรายงานเป็น
แบบ Manual
-ข้อมูลที่ส่วนกลางต้องการจัดเก็บมี

รายละเอยี ดและจานวนมาก

3.ความลา่ ช้าและความไมช่ ดั เจนของ
แผนงานโครงการ จากสว่ นกลาง ส่งผล
ให้การดาเนินงานในพ้นื ทล่ี ่าชา้
ขอ้ เสนอแนะต่อนโยบาย /ตอ่ ส่วนกลาง / ตอ่ ผู้บรหิ าร / ต่อระเบียบ กฎหมาย
ส่วนกลางในระดับกรม กองที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดาเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุควรมีการพูดคุย กาหนด
แนวทางปฏิบัติไปในทิศทางเดยี วกัน และงา่ ยต่อการปฏบิ ตั ิ

นวตั กรรมทส่ี ามารถเป็นแบบอย่าง (ถ้ามี)

- ไม่มี


กลุม่ งานส่งเสริมสขุ ภาพ

กลมุ่ ผพู้ ิการปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

สถานการณ์
จากสถิติข้อมูลผู้พิการจังหวัดสุพรรณบุรีท่ีมีบัตรผู้พิการภาพรวมจังหวัด จานวน 19,412 ราย (แหล่งข้อมูล :

พมจ. ณ วันที่ 19 มกราคม 2559 ) และจากการสารวจข้อมูลของพื้นท่ี พบว่ามีผู้พิการ ในพ้ืนที่รวมท้ังสิ้น
12,601 ราย และมีผู้พิการท่ีจะต้องได้รับการดูแล จานวน 2, 173 ราย และได้รับการดูแลจากทีมหมอครอบครัว
จานวน 2158 ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 99.3

ปี 58-59 มุ่งเน้นการดแู ลคนพิการขาขาดและคนพกิ ารจากกลุ่มโรคหลอดเลือดสมองให้ได้รับกายอุปกรณ์/
เคร่ืองช่วยให้คุณภาพชีวิตดีอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ผลงานปี 58 ผู้พิการขาขาดรายเก่า 393 ราย รายใหม่ 8
ราย รวม 401 ราย ได้รับกายอุปกรณ์ช่วยการเคลื่อนไหว ร้อยละ 96.01 ในส่วนของผู้พิการกลุ่มโรคหลอดเลือด
สมอง และกลมุ่ พกิ ารอืน่ ๆ ได้รบั การดแู ลโดยทีมหมอครอบครัว( FCT)

ปี 59 กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายมอบของขวัญปีใหม่ให้ประชาชนกลุ่มผู้พิการแขนขาดและขาขาดจะ
ได้รับแขนขาเทียม/เคร่ืองช่วยท่ีจาเป็น ซ่ึงจังหวัดสุพรรณบุรีอยู่ในระหว่างการสารวจข้อมูลในพ้ืนที่ให้เป็นปัจจุบัน
และนาขอ้ มลู มาวางแผนดาเนนิ การตอ่ ไป

ขอ้ มลู คนพิการจากฐาน พมจ. สถิติตง้ั แตว่ นั ที่ 1 พย. - 31 ธันวาคม 2558
ประเภทความพกิ าร

ทางการ ทางการ ทางการ ทางจิตใจ/ ทางสติ ทางการ ทางออ พกิ าร ไม่ รวม
เห็น ได้ยนิ เคลอ่ื น พฤติกรรม ปญั ญา เรยี นรู้ ทสิ ติก มากกว่า 1 ระบุ
ไหว ประเภท

1,417 2,815 9,575 1,046 1,202 47 82 1,400 74 17,658

ข้อมูล : สง่ ใหพ้ น้ื ท่ีไปสารวจข้อมลู จริงในพนื้ ท่เี พอ่ื นามาวางแผนดแู ลและแกไ้ ขปญั หาให้ครอบคลมุ ทุกกลุ่ม

โดยการประสานงานกบั หน่วยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

ข้อมูลแสดงผลการดาเนนิ งาน

ผู้พกิ ารขาขาด(คน) ผพู้ ิการแขนขาด(คน)

ได้รับขาขา ไดร้ บั ไดร้ ับ

อาเภอ จานวน เทยี ม/กาย บรกิ าร จานวน แขนเทยี ม/ ร้อยละ

(คน) อุปกรณ์(คน) รอ้ ยละ (คน) อปุ กรณช์ ว่ ย

เมือง 74 64 86.5 - - -

เดมิ บางฯ 52 48 92.3 8 2 25.0

ด่านชา้ ง 24 24 100 - - -

บางปลามา้ 39 36 92.3 - - -

ศรีประจนั ต์ 42 41 97.6 9 2 22.22

ดอนเจดยี ์ 21 21 100 3 0 0


กลุ่มงานส่งเสรมิ สขุ ภาพ

สามชุก 23 23 100 8 2 25.0

สองพ่นี ้อง 62 60 96.8 1 0 0

อู่ทอง 44 41 93.2 16 5 31.25

หนองหญ้าไซ 15 15 100 4 0 0

รวมจงั หวัด 396 373 94.19 49 11 22.45

แหล่งข้อมลู : ระบบรายงานผพู้ กิ ารสารวจในพน้ื ท่ี

จากข้อมลู จะเห็นว่า การดแู ลผ้พู ิการขาขาด จานวน 396 คน ได้รับกายอุปกรณ์ช่วยในการเคลื่อนไหว
ภาพรวมจังหวัด จานวน 373 คน ร้อยละ 94.19 ซ่ึงส่วนท่ีเหลือไม่ต้องการ ท้ังนี้ ในชุมชนมีทีมสุขภาพ ( FCT) ได้
เข้าไปดูแลอย่างต่อเน่ือง และกลุ่มผู้พิการแขนขาด จานวน 49 คน มีแขนเทียม 11 คน คิดเป็นร้อยละ 22.45
เหลอื อีก 38 คน อยใู่ นขัน้ ตอนการจัดทาทะเบียนประวัตสิ ง่ ตอ่ พบแพทย์ท่ี รพ.เจ้าพระยายมราช เพ่ือประเมินการใส่
แขนเทียม และมีบางคนปฏิเสธไม่รับ (มี 3 อาเภอยังไม่ส่งข้อมูล ) ทั้งน้ี จังหวัดจะติดตามการดาเนินงานให้มี
ประสทิ ธิภาพและเปน็ ระบบมากข้ึน โดยนัดประชุมเครือข่าย ทบทวนแนวทางการดาเนินงาน ปัญหา อุปสรรค เพื่อ
รว่ มกันแก้ไขพฒั นางานตอ่ ไป

ประเด็นทยี่ ังขาดและต้องพัฒนาต่อเนอื่ ง
1.การตดิ ตามดูแลผู้พกิ ารทางหลอดเลอื ดสมองเสอื่ มใหเ้ ปน็ ระบบและมปี ระสิทธภิ าพ
2.การพัฒนาการจัดสิ่งอานวยความสะดวกหน่วยบรกิ ารใหผ้ พู้ ิการเขา้ ถึง
3.การพัฒนาระบบฐานขอ้ มลู ผู้พิการดา้ นสขุ ภาพและสาธารณสขุ ระดับจงั หวัด
4.การพฒั นาศักยภาพ/องค์ความร้เู จ้าหน้าที่ในการบริการ/ดแู ลผู้พิการ
5.การพัฒนาเครือข่ายท้ังภาครัฐและเอกชน/ท้องภ่ินเข้ามามีส่วนร่วมในการทางานแบบบูรณาการให้
เกิดความยัง่ ยนื
สรุปประเด็นสาคัญที่เป็นความเสี่ยงต่อการทาให้การขับเคล่ือนนโยบายหรือการดาเนินงานไม่ประสบ
ความสาเร็จ (Key Risk Area/ Key Risk Factor) ซ่ึงได้จากการวินิจฉัย ประมวล วิเคราะห์ สังเคราะห์ จาก
การตรวจติดตาม
- ฐานขอ้ มูลของผู้พิการแต่ละหน่วยงานไม่ตรงกัน
- การบริหารจัดการเชิงระบบของเครือข่ายระดับอาเภอขาดการประสานงานและความต่อเน่ืองในการ
ขบั เคลอื่ นแก้ไขปัญหา


Click to View FlipBook Version