The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phatthanaporn, 2019-03-24 22:24:25

แฟ้มสะสมผลงานครู2/2561

11

แผนการจดั การเรียนรู้
รหสั วชิ า 2000 1507 ชื่อวิชาประวตั ิศาสตร์

ภาคเรยี นท่ี 2 ประจาปีการศกึ ษา 2561

จดั ทาโดย
นางสาวพัฒนาภรณ์ พระสุนิน

กลุ่มสาระสังคมศกึ ษา

วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง
สานักงานคณะกรรมการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

12

แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่ 1 หนว่ ยท่ี 1

รหัสวิชา 2000-1507 สอนคร้งั ท่ี 1

ช่อื หน่วย ปฐมนเิ ทศ + กระบวนการทางประวัติศาสตร์ จานวน 1 ช่ัวโมง

แนวคดิ

ประวัติศาสตรช์ ่วยใหม้ นุษยร์ ู้และเข้าใจเหตุการณ์หรือเรือ่ งราวของสังคมมนษุ ย์ในอดีต โดยศึกษาจาก

หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์อักษรด้วยความรอบคอบระมัดระวังและใช้วิธีการทาง

ประวัติศาสตร์ จึงทาให้สามารถรวบรวมข้อมูล สังเคราะห์ วิเคราะห์ ตีความและประเมินคุณค่าหลักฐานทาง

ประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบตามขั้นตอน ทั้งนี้ความเข้าใจกรอบความคิดที่เกี่ยวข้องกับหลักฐานทาง

ประวัติศาสตร์ท่ีบอกถึงเวลา สถานที่ ทาให้สามารถลาดับเร่ืองราวและเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ได้ถูกต้อง

ชัดเจนขน้ึ

โครงงานทางประวัติศาสตร์เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งฝึกฝนทักษะวิธีการทางประวัติศาสตร์หรือ

วิธีการสืบค้นเร่ืองราวที่เกี่ยวข้องกับสังคมมนุษย์ จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์และด้วยวิธีการอย่างเป็น

ระบบ

ผลการเรยี นร้ทู ค่ี าดหวัง

1.อธิบายความหมายและประโยชนข์ องประวัตศิ าสตร์ได้
2.อธิบายวิธีการทางประวัตศิ าสตรใ์ นประเทศไทยได้
3.อธิบายวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ได้
4.สามารถเขียนโครงงานทางประวตั ศิ าสตร์ได้
สมรรถนะรายวชิ า
1.แสดงความรูเ้ กยี่ วกับกระบวนการทางประวตั ิศาสตร์
2.เปรียบเทยี บการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรมของประวัตศิ าสตร์ชาติไทย
สาระการเรยี นรู้
หน่วยที่ 1 กระบวนการทางประวตั ศิ าสตร์

1.บทนา

2.ความหมายของประวัติศาสตร์

3.ประโยชน์ของประวัติศาสตร์

4.การศกึ ษาประวัติศาสตรใ์ นประเทศไทย

5.วิธกี ารทางประวัติศาสตร์

6.โครงงานทางประวัตศิ าสตร์

13

(ปฐมนเิ ทศ)
1.ครูแนะนาตวั เอง และให้ผเู้ รียนแนะนา ด้วยข้อมลู ง่ายๆ เช่น ช่ือ-นามสกลุ , ชอ่ื เล่น เปน็ ต้น
2.ครูช้ีแจงจุดประสงค์รายวชิ า มาตรฐานรายวิชา และสมรรถนะรายวชิ า แนวทางการวดั ผลและการ
ประเมินผลการเรียนรู้ ตลอดจนกฎกตกิ าในการเรียน
ข้นั นาเข้าสู่การเรยี น
1.ครูแสดงภาพให้นักเรียนดูและถามนักเรียนว่าเกีย่ วข้องกับประวตั ศิ าสตร์อย่างไร

2.ครูถามนักเรยี นว่าเม่ือพูดถงึ ประวตั ศิ าสตร์ นักเรียนคิดถงึ อะไร ครูสุม่ ให้นักเรยี นแสดงความคดิ เห็น
ขน้ั สอน

3.ครสู นทนากบั นักเรยี นเรื่องความหมายของประวตั ศิ าสตร์

14

4.ครูถามนักเรยี นว่าเรยี นประวัติศาสตร์แลว้ ได้อะไรบ้าง จากนนั้ ให้นกั เรยี นจับกลุม่ กัน 3 คน เขียน
ประโยชน์ของประวตั ิศาสตร์ และออกมานาเสนอหน้าชัน้ จากน้ันครูอธิบายเพม่ิ เตมิ
5.ครใู ห้นกั เรียนดูภาพ และถามว่าบุคคลในภาพคือใคร (กรมพระยาดารงราชานภุ าพ : พระบิดาแห่ง
ประวัตศิ าสตร์ไทย)

จากนั้นครูสนทนากับนักเรยี นเรอ่ื งการศึกษาประวตั ิศาสตรใ์ นประเทศไทย
6.ครแู บง่ นักเรียนออกเป็น 5 กลมุ่ ตามวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ดงั นี้
-การกาหนดประเดน็
-การรวบรวมขอ้ มูลจากหลกั ฐาน
-การตรวจสอบ วิเคราะหห์ ลักฐานและการตีความ
-การสังเคราะห์ข้อมลู
-การนาเสนอผลงาน
จากนนั้ ให้นกั เรยี นอภิปรายและออกมานาเสนอองค์ความรู้ และครอู ธบิ ายเพ่มิ เตมิ

15

7.ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ เขียนตวั อยา่ งโครงงานทางประวัติศาสตร์จากนนั้ ออกมานาเสนอ และครูให้
ขอ้ คิดเหน็
ข้นั สรุปและประยกุ ต์

8.ครใู หน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบท้ายหนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1

สอื่ และแหล่งเรยี นรู้
1.หนังสอื เรียนวชิ าประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย
2.กจิ กรรมการเรียนการสอน
3.ภาพประกอบ
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของครู
2.ใบเชค็ รายชื่อ
3.แผนการจัดการเรียนรู้

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วิธวี ัดผล
1.ประเมินผลความก้าวหน้าของตนเอง
2.สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
3.ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
4.การสงั เกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอันพึง

ประสงค์
เครอื่ งมอื วดั ผล
1.แบบประเมนิ ผลความก้าวหนา้ ของตนเอง
2.สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
3.ประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
4.การสังเกตและประเมินผลพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ

ประสงค์

16

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1.แบบประเมนิ ผลความกา้ วหน้าของตนเอง เกณฑ์ผา่ น 50% ขนึ้ ไป
2.เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มชี ่องปรับปรุง
3.เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขนึ้ ไป)
4.การสงั เกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพงึ
ประสงค์ คะแนนข้นึ อยู่กบั การประเมนิ ตามสภาพจริง
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ครใู ห้นักศึกษาทาโครงงานทางประวตั ศิ าสตร์

17

แผนการจดั การเรยี นรูแ้ บบบรู ณาการท่ี 2 หน่วยท่ี 2

รหสั วชิ า 2000-1507 สอนคร้งั ท่ี 2

ชอ่ื หน่วย ประวัติศาสตร์ชาติไทยสมัยสโุ ขทัย จานวน 1 ชว่ั โมง

แนวคิด

อาณาจักรสโุ ขทัยสถาปนาข้ึนราวกลางพุทธศตวรรษท่ี 18 ภายใต้การนาของพ่อขุนผาเมืองและพอ่ ขุน

บางกลางหาว พ่อขุนบางกลางหาวได้รับการอภิเษกข้ึนเป็นกษัตริย์ ทรงพระนามว่า พ่อขุนศรีอินทราทิตย์

อาณาจักรสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรืองหลายด้านและขยายอาณาเขตอย่างกว้างขวางในสมัยพ่อขุนรามคาแหง

มหาราช สมัยนี้เป็นช่วงที่อาณาจักรสุโขทัยมีความมั่นคงเข้มแข็งและเป็นพันธมิตรกับอาณาจักรสาคัญต่างๆ

โดยสง่ ราชทูตไปเจรญิ สัมพนั ธไมตรีกับจีนและเร่ิมคา้ ขายแบบรัฐบรรณาการระหวา่ งกัน ต่อมาอาณาจักรอยธุ ยา

ได้แผ่ขยายอิทธิพลทางการเมือง ส่งผลให้อาณาจักรสุโขทัยเสื่อมอานาจลงและถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของ

อยุธยาอย่างสมบรู ณ์ในต้นพทุ ธศตวรรษท่ี 21

ผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวัง

1.บอกการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยได้
2.บอกพฒั นาการทางการเมืองการปกครองของอาณาจักรสุโขทยั ได้
3.บอกความสมั พันธ์ระหวา่ งอาณาจักรสุโขทัยกับอาณาจกั รต่างๆได้
สมรรถนะรายวชิ า
1.แสดงความรู้เกยี่ วกับกระบวนการทางประวัตศิ าสตร์
2.เปรยี บเทยี บการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรมของประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย
สาระการเรียนรู้
หนว่ ยที่ 2 ประวัติศาสตรช์ าติไทยสมัยสุโขทัย

1.การสถาปนาอาณาจักรสโุ ขทยั

2.พัฒนาการทางการเมอื งการปกครองของอาณาจักรสโุ ขทัย

3.ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งอาณาจักรสุโขทัยกบั อาณาจักรตา่ งๆ

ขัน้ นาเข้าสู่การเรียน

1.ครถู ามนักเรียนวา่ รูปทีเ่ ห็นนา่ จะหมายถึงบคุ คลใด (พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช)

18

2.ครูถามนักเรยี นว่าเพราะเหตุใดนักเรยี นจึงคดิ ว่าเปน็ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ใหน้ ักเรียนชว่ ยกันแสดง
เหตผุ ล จากนัน้ ครูเขยี นเป็นผังมโนทศั น์

ข้นั สอน
3.ครูอธิบายเรอ่ื งการสถาปนาอาณาจักรสุโขทยั จากนั้นแบง่ นกั เรยี นออกเป็น 2 กลมุ่ คือ

-ปัจจัยภายนอก
-ปจั จัยภายใน
จากนั้นให้นักเรยี นอภิปรายว่าปัจจัยข้างต้นเกยี่ วข้องกบั การสถาปนาอาณาจกั รอยา่ งไร
4.ครใู หน้ ักเรียนสังเกตพระนามของกษัตริย์ในสมยั สุโขทยั จากนนั้ อภิปรายวา่ พระนามของกษัตริย์สมัยสุโขทยั มี
ความแตกต่างกันอย่างไร ให้นักเรียนออกมานาเสนอ
5.ครสู นทนากับนักเรยี นเรอื่ งพัฒนาการทางการเมืองการปกครองของอาณาจักรสุโขทยั
6.ครูแบ่งนกั เรยี นออกเป็น 5 กลุม่ ดังน้ี
-ลา้ นนา
-มอญ
-อยุธยา
-ลังกา
-จีน
จากนั้นเลน่ บทบาทสมมติเป็นคนชาตติ า่ งๆ ออกมาพดู เก่ยี วกบั ความสัมพนั ธร์ ะหว่างอาณาจักรสุโขทยั กับ
อาณาจักรของตน
7.ครูอธบิ ายเพิ่มเตมิ

19

ขั้นสรุปและประยุกต์
8.ครูใหน้ ักเรียนกลุ่มอื่นๆสรุปเร่ืองความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสุโขทัยกับชาติต่างๆท่ไี ม่ใช่กลุม่ ท่ตี วั เอง
ไดร้ บั มอบหมาย
9.ครใู ห้นกั เรียนทาแบบทดสอบท้ายหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4

ส่ือและแหล่งเรียนรู้
1.หนังสือเรยี นวิชาประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทย
2.กิจกรรมการเรียนการสอน
3.ภาพประกอบ
หลักฐาน
1.บันทกึ การสอนของครู
2.ใบเชค็ รายชอื่
3.แผนการจดั การเรยี นรู้
การวัดผลและการประเมินผล
วธิ วี ดั ผล
1.ประเมนิ ผลความก้าวหนา้ ของตนเอง
2.สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
3.ประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุม่
4.การสงั เกตและประเมินผลพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
เครอ่ื งมอื วัดผล
1.แบบประเมินผลความกา้ วหน้าของตนเอง
2.สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
3.ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ
4.การสงั เกตและประเมินผลพฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอันพึง
ประสงค์
เกณฑก์ ารประเมินผล
1.แบบประเมนิ ผลความกา้ วหนา้ ของตนเอง เกณฑ์ผ่าน 50% ขนึ้ ไป

20

2.เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มีชอ่ งปรับปรุง
3.เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุม่ คือ ปานกลาง (50% ขนึ้ ไป)
4.การสังเกตและประเมินผลพฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ
ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กบั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ครูใหน้ ักเรยี นจดั บอรด์ เร่อื งความสัมพันธร์ ะหวา่ งอาณาจักรสุโขทัยกบั อาณาจักรต่างๆ

21

แผนการจัดการเรยี นร้แู บบบูรณาการที่ 3 หนว่ ยที่ 3

รหสั วิชา 2000-1507 สอนครัง้ ท่ี 3

ชอื่ หน่วย เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และภมู ิปัญญา สมยั สโุ ขทยั จานวน 1 ชัว่ โมง

แนวคิด

เศรษฐกิจของสุโขทัยข้ึนอยู่กับการเกษตรกรรม อุตสาหกรรมและการค้าขาย สังคมสมัยสุโขทัยเป็น

สงั คมเกษตรกรรม โดยแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ๆ คือชนชนั้ ปกครอง ได้แก่ พระมหากษตั ริย์ เจ้านาย ขุนนาง

และชนช้ันผู้ถูกปกครอง ได้แก่ ไพร่หรือไพร่ฟ้า โดยมีพระสงฆ์ทาหน้าท่ีทางศาสนาและเป็นตัวกลางประสาน

กลุ่มคนในสังคมเข้าด้วยกัน การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย ได้แก่ การสร้างทานบที่เรียกตามจารึกว่า

“สรีดภงส์” เพ่ือบังคับน้าจากคลองผ่านเข้าไปในกาแพงเมืองแล้วลงไปในตระพังขนาดใหญ่กลางเมือง รวมถึง

เครื่องปั้นดินเผาท่ีเรียกว่า เครื่องสังคโลก นอกจากน้ียังมีการนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาสร้างเป็น

วรรณกรรม ไตรภูมิพระร่วง เนื้อหาสาคัญคือการให้ยึดม่ันในการทาความดี นอกจากนี้ยังมีการประดิษฐ์

อักษรไทย ประติมากรรม คือการหล่อพระพุทธรูปที่ได้ชื่อว่าเป็นเอกลักษณ์และสถาปัตยกรรม คือ เจดีย์ทรง

ดอกบวั ตมู หรือพุม่ ข้าวบณิ ฑ์

ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวัง
1.บอกเศรษฐกจิ ของอาณาจกั รสุโขทยั ได้
2.บอกลักษณะทางสังคมไทยสมัยสโุ ขทัยได้
3.บอกวฒั นธรรมและการสร้างสรรค์ภูมปิ ญั ญาสมัยสุโขทยั ได้
4.บอกประวัตแิ ละผลงานของบุคคลสาคัญสมยั สุโขทยั ได้
5.บอกถึงการลม่ สลายของอาณาจกั รสโุ ขทยั ได้
สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงความรเู้ ก่ียวกับกระบวนการทางประวตั ศิ าสตร์
2.เปรยี บเทยี บการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรมของประวตั ิศาสตร์ชาติไทย
สาระการเรยี นรู้
หน่วยที่ 3 เศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรมและภูมิปัญญาสมัยสุโขทยั

1.เศรษฐกจิ ของอาณาจักรสโุ ขทยั

2.ลกั ษณะทางสงั คมสมัยสุโขทัย

3.วฒั นธรรมและการสร้างสรรค์ภูมปิ ัญญาสมัยสุโขทัย

ขน้ั นาเข้าสกู่ ารเรียน

22

1.ครูถามนักเรยี นวา่ ดนิ แดนของสโุ ขทัยอย่บู ริเวณลุ่มแมน่ ้าใด (แม่นา้ ยม)
2.ครถู ามนักเรียนวา่ ดนิ แดนท่ีอย่รู มิ แม่น้า สามารถใข้ประโยชน์ของแมน่ า้ เพ่ือทาการใดไดบ้ ้าง
3.ครูใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันยกตัวอย่างและแสดงเหตุผล

ขัน้ สอน
4.ครแู บง่ นักเรยี นออกเป็น 3 กลมุ่ คอื เกษตรกรรม อุตสาหกรรม คา้ ขาย จากนัน้ ให้นักเรยี นอภิปรายเรื่อง
เศรษฐกจิ ของอาณาจักรสโุ ขทัย จากน้นั ออกมานาเสนอ
5.ครูให้ขอ้ คดิ เห็นเพ่มิ เติม
6.ครูสนทนากับนักเรยี นเรื่องลกั ษณะทางสงั คมสมัยสโุ ขทยั จากนั้นครูใหห้ ัวข้ออภปิ รายเรอ่ื ง “ศาสนาพทุ ธกับ
สังคมสมยั สโุ ขทัย” และใหน้ ักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็น
7.ครถู ามนักเรียนว่าคาวา่ ภูมิปญั ญาหมายความวา่ อยา่ งไร จากนนั้ ให้นักเรียนชว่ ยกนั ยกตัวอย่าง
8.ครูให้นักเรียนดูภาพแล้วทายวา่ ภาพใดบา้ งเป็นภมู ปิ ัญญาในสมัยสุโขทัย

สนทนากับนกั เรยี นเรื่องภมู ปิ ัญญาในสมยั สุโขทยั
ข้ันสรปุ และประยกุ ต์
9.ครูสรุปร่วมกับนกั เรยี นเกี่ยวกับวัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาสมัยสโุ ขทัย

ส่ือและแหล่งเรียนรู้
1.หนังสือเรียนวชิ าประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทย

23

2.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
3.ภาพประกอบ
หลกั ฐาน
1.บนั ทกึ การสอนของครู
2.ใบเชค็ รายช่ือ
3.แผนการจดั การเรียนรู้
การวดั ผลและการประเมินผล
วธิ ีวัดผล
1.ประเมนิ ผลความก้าวหน้าของตนเอง
2.สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
3.ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ
4.การสงั เกตและประเมินผลพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ
ประสงค์

เคร่ืองมือวัดผล
1.แบบประเมนิ ผลความกา้ วหนา้ ของตนเอง
2.สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
3.ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
4.การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอันพึง

ประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
1.แบบประเมินผลความกา้ วหน้าของตนเอง เกณฑผ์ ่าน 50% ขึน้ ไป
2.เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มชี อ่ งปรบั ปรุง
3.เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขึน้ ไป)
4.การสังเกตและประเมนิ ผลพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์ คะแนนข้นึ อยู่กับการประเมนิ ตามสภาพจริง
กิจกรรมเสนอแนะ

1.ครใู ห้นกั เรยี นทารายงานเรื่องวฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาสมยั สุโขทัย

24

แผนการจดั การเรียนรู้แบบบรู ณาการท่ี 4 หน่วยที่ 3

รหสั วชิ า 2000-1507 สอนครัง้ ที่ 4

ชอ่ื หน่วย เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม และภมู ิปัญญา สมยั สุโขทยั จานวน 1 ช่วั โมง

แนวคดิ

เศรษฐกิจของสุโขทัยขึ้นอยู่กับการเกษตรกรรม อุตสาหกรรมและการค้าขาย สังคมสมัยสุโขทัยเป็น

สงั คมเกษตรกรรม โดยแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ๆ คือชนชัน้ ปกครอง ได้แก่ พระมหากษตั ริย์ เจ้านาย ขุนนาง

และชนช้ันผู้ถูกปกครอง ได้แก่ ไพร่หรือไพร่ฟ้า โดยมีพระสงฆ์ทาหน้าที่ทางศาสนาและเป็นตัวกลางประสาน

กลุ่มคนในสังคมเข้าด้วยกัน การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย ได้แก่ การสร้างทานบที่เรียกตามจารึกว่า

“สรีดภงส์” เพื่อบังคับน้าจากคลองผ่านเข้าไปในกาแพงเมืองแล้วลงไปในตระพังขนาดใหญ่กลางเมือง รวมถึง

เคร่ืองป้ันดินเผาท่ีเรียกว่า เคร่ืองสังคโลก นอกจากน้ียังมีการนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาสร้างเป็น

วรรณกรรม ไตรภูมิพระร่วง เนื้อหาสาคัญคือการให้ยึดม่ันในการทาความดี นอกจากนี้ยังมีการประดิษฐ์

อักษรไทย ประติมากรรม คือการหล่อพระพุทธรูปท่ีได้ช่ือว่าเป็นเอกลักษณ์และสถาปัตยกรรม คือ เจดีย์ทรง

ดอกบัวตมู หรือพมุ่ ขา้ วบิณฑ์

ผลการเรียนรทู้ ค่ี าดหวงั

1.บอกเศรษฐกจิ ของอาณาจักรสโุ ขทยั ได้
2.บอกลักษณะทางสังคมไทยสมัยสโุ ขทัยได้
3.บอกวฒั นธรรมและการสร้างสรรคภ์ มู ปิ ัญญาสมยั สโุ ขทัยได้
4.บอกประวตั ิและผลงานของบุคคลสาคัญสมยั สโุ ขทยั ได้
5.บอกถงึ การล่มสลายของอาณาจักรสุโขทยั ได้
สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงความรู้เก่ียวกับกระบวนการทางประวัติศาสตร์
2.เปรยี บเทยี บการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรมของประวตั ิศาสตรช์ าติไทย
สาระการเรียนรู้
หนว่ ยท่ี 3 เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและภมู ิปัญญาสมัยสโุ ขทัย

4.ประวตั แิ ละผลงานของบุคคลสาคัญสมยั สโุ ขทยั

5.การล่มสลายของอาณาจกั รสุโขทัย

ขั้นนาเขา้ สู่การเรียน

1.ครูถามนักเรยี นวา่ ภมู ปิ ัญญาสมัยสุโขทยั มีอะไรบา้ ง ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั ยกตวั อยา่ ง

25

2.ครถู ามนักเรยี นเกย่ี วกับพระนามของกษตั รยิ ์สุโขทัย และใหน้ กั เรียนช่วยกันยกตวั อย่าง
ขนั้ สอน

3.ครูแบง่ นกั เรยี นออกเปน็ 3 กลุ่ม คอื พอ่ ขนุ ศรีอนิ ทราทติ ย์ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระมหาธรรมราชาท่ี
1 จากนนั้ ให้นักเรยี นอภิปรายเร่อื งผลงานและประวตั ิ

4.ครูให้อธบิ ายเพิ่มเติม
5.ครูสนทนากับนักเรียนเรอ่ื งการล่มสลายของอาณาจกั รสโุ ขทยั
6.ครใู ห้นักเรยี นอภิปรายว่า จากท่คี รูอธบิ ายเร่อื งการลม่ สลายของอาณาจักรสุโขทัย อะไรบา้ งที่เปน็ ปจั จัยความ
เสื่อมและการล่มสลายของสโุ ขทัย จากนนั้ ให้ออกมานาเสนอ และครูอธบิ ายเพ่มิ เตมิ
7.ครรู ว่ มกนั เขยี นผงั มโนทัศนเ์ รือ่ งปัจจยั ความเส่ือมของสุโขทยั ร่วมกบั นกั เรยี น
ขั้นสรปุ และประยุกต์
8.ครใู ห้นักเรยี นทาแบบทดสอบท้ายหนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 5

สื่อและแหล่งเรยี นรู้
1.หนงั สือเรยี นวชิ าประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย
2.กิจกรรมการเรียนการสอน
3.ภาพประกอบ
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของครู
2.ใบเช็ครายชอ่ื
3.แผนการจดั การเรยี นรู้
การวัดผลและการประเมินผล
วธิ ีวัดผล
1.ประเมินผลความก้าวหน้าของตนเอง
2.สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
3.ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
4.การสังเกตและประเมนิ ผลพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ
ประสงค์

26

เครือ่ งมือวัดผล
1.แบบประเมินผลความกา้ วหนา้ ของตนเอง
2.สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
3.ประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1.แบบประเมินผลความก้าวหน้าของตนเอง เกณฑผ์ ่าน 50% ขน้ึ ไป
2.เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไมม่ ชี ่องปรับปรุง
3.เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (50% ข้นึ ไป)

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ครูใหน้ ักเรยี นทารายงานเรื่องวฒั นธรรมและภูมิปญั ญาสมัยสโุ ขทัย

27

แผนการจัดการเรียนรูแ้ บบบูรณาการที่ 5 หน่วยที่ 4

รหัสวิชา 2000-1507 สอนครงั้ ที่ 5

ช่ือหน่วยประวตั ิศาสตรช์ าติไทยสมยั อยุธยา จานวน 1 ช่วั โมง

แนวคิด

อาณาจักรอยุธยาสถาปนาข้ึนในบริเวณท่ีมีสภาพภูมิศาสตร์เหมาะสมต่อการตั้งถิ่นฐานและการติดต่อ

กับดินแดนภายนอกได้อย่างสะดวก ปัจจัยพ้ืนฐานทางด้านสังคมและวัฒนธรรม ประกอบกับการมี

พระมหากษัตริย์ท่ีมีพระปรีชาสามารถทางด้านการขยายอานาจทางการเมือง ความสัมพันธ์กับนานาประเทศ

การจัดระเบียบการปกครองและการควบคุมกาลังไพร่พลอย่างมีประสิทธิภาพ นับเป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลให้

พัฒนาการทางการเมืองการปกครองของอาณาจักรอยุธยามีความม่ันคงสืบต่อกันมาถึง 417 ปี ความเจริญ

รุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยาและการจัดการปกครองยังคงมีอิทธิพลสืบต่อมาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์

ตอนตน้

ผลการเรยี นร้ทู ีค่ าดหวงั

1.บอกดนิ แดนไทยก่อนการสถาปนากรงุ ศรอี ยธุ ยาเปน็ ราชธานีได้
2.บอกการสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยาได้
3.บอกพระนามพระมหากษตั รยิ ์ไทยสมัยอยุธยาได้
4.อธิบายวิธกี ารสร้างความม่นั คงและความรงุ่ เรอื งของอาณาจักรอยุธยาได้
สมรรถนะรายวชิ า
1.แสดงความรเู้ กยี่ วกับกระบวนการทางประวตั ิศาสตร์
2.เปรยี บเทยี บการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรมของประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย
สาระการเรยี นรู้
หนว่ ยท่ี 4 ประวัตศิ าสตรช์ าติไทยสมัยอยธุ ยา

1.ดินแดนไทยกอ่ นการสถาปนากรงุ ศรีอยธุ ยาเป็นราชธานี

2.การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา

3.พระมหากษัตรยิ ์ไทยสมยั อยุธยา

4.การสรา้ งความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรอื งของอาณาจักรอยุธยา

5.พฒั นาการทางการเมืองการปกครองสมัยอยธุ ยา

ข้ันนาเขา้ ส่กู ารเรยี น

1.ครถู ามนักเรยี นวา่ ใครเคยไปชมเมอื งเก่าทจี่ ังหวัดอยุธยาบ้าง

2.ครูเกรน่ิ นาเร่อื งความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยธุ ยา

28

ข้นั สอน
3.ครใู ห้นักเรยี นดูแผนท่ีอยุธยา จากนัน้ ทบทวนเนื้อหาเรือ่ งรัฐโบราณในดินแดนไทย และเชอ่ื มโยงเร่อื งดินแดน
ไทยก่อนการสถาปนากรงุ ศรีอยธุ ยาเป็นราชธานี
4.ครสู นทนากบั นักเรยี นเรือ่ งการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา จากนัน้ ให้นักเรยี นแบ่งออกเปน็ 2 กลุม่ คอื ปจั จัย
ภายนอก กบั ปจั จยั ภายใน ให้นกั เรียนอภิปรายเกยี่ วกบั ปัจจัยในการสถาปนาอาณาจักร และออกมานาเสนอ
แลว้ เขยี นผังมโนทศั น์
5.ครูให้นกั เรียนปดิ หนงั สือและแขง่ ขนั กนั พดู พระนามพระมหากษัตริย์ไทยสมัยอยุธยา โดยยกตวั อย่างทีละคน
ใครสามารถพูดได้เปน็ คนสดุ ท้ายชนะ
6.ครอู ธิบายเร่ืองพระมหากษัตริย์อยุธยาและราชวงศต์ ่างๆ
7.ครูแบ่งนกั เรยี นออกเป็น 4 กลมุ่ คือ

-สถาบันพระมหากษตั ริย์
-การขยายอานาจทางการเมือง
-การเจรญิ สมั พันธไมตรนี านาชาติ
-การจดั ระเบยี บการปกครองและควบคุมกาลงั ไพร่พล
อภิปรายการสร้างความมน่ั คงและความเจริญรุ่งเรอื งของอาณาจกั รอยธุ ยา
8.ครูสนทนากับนักเรียนเรื่องพัฒนาการทางการเมืองการปกครองสมยั อยุธยา จากนน้ั แบ่งนกั เรยี นออกเป็น 3
กลมุ่ คือ
-กรงุ ศรอี ยธุ ยาตอนตน้
-ยคุ ปฏิรปู (สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ)
-กรุงศรอี ยุธยาตอนปลาย
สบื คน้ ขอ้ มลู เพมิ่ เติมเพื่อจัดบอร์ดใหค้ วามรู้หลังห้อง
ขน้ั สรุปและประยุกต์
9.ครูใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรียนรู้ที่ 6
สือ่ และแหล่งเรยี นรู้
1.หนงั สอื เรยี นวชิ าประวตั ศิ าสตรช์ าติไทย
2.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
3.ภาพประกอบ
หลกั ฐาน

29

1.บนั ทึกการสอนของครู
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนการจัดการเรียนรู้
การวดั ผลและการประเมินผล
วิธวี ดั ผล
1.ประเมนิ ผลความก้าวหน้าของตนเอง
2.สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
3.ประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
4.การสงั เกตและประเมินผลพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอันพงึ
ประสงค์
เครอื่ งมือวดั ผล
1.แบบประเมินผลความกา้ วหน้าของตนเอง
2.สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
3.ประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
4.การสังเกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
1.แบบประเมินผลความก้าวหนา้ ของตนเอง เกณฑผ์ ่าน 50% ข้นึ ไป
2.เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไม่มีช่องปรับปรงุ
3.เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป)
4.การสังเกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ คะแนนขึน้ อยู่กบั การประเมนิ ตามสภาพจริง
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ครูให้นักเรียนจัดบอรด์ หลงั หอ้ งเร่ืองพัฒนาการทางการเมอื งการปกครองสมยั อยุธยา 3 กลุ่มคือ
-กรงุ ศรีอยธุ ยาตอนตน้
-ยคุ ปฏริ ูป (สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ)
-กรุงศรอี ยุธยาตอนปลาย

30

แผนการจัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการท่ี 6 หน่วยที่ 5

รหัสวิชา 2000-1507 สอนครัง้ ท่ี 6

ชือ่ หน่วย เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ ภมู ิปัญญาสมัยอยธุ ยา จานวน 1 ชัว่ โมง

แนวคิด

สังคมในสมัยอยุธยาเป็นสังคมเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบาชีพทานา เพราะปลูกพืชไร่

พืชสวน และการแลกเปล่ียนค้าขาย ซึ่งส่งผลให้รัฐมีรายได้จากการเก็บภาษีอากรท่ีมาจากการประกอบอาชีพ

ของประชาชน ส่วนเศรษฐกิจของอาณาจักรอยุธยาเจริญรุ่งเรืองจากการค้ากับต่างประเทศในลักษณะการค้า

ผูกขาดโดยพระคลงั สินคา้

โดยโครงสร้างสังคมสมัยอยุธยาเป็นสังคมชนชั้นที่แบ่งชนช้ันปกครอง ประกอบด้วยพระมหากษัตริย์

พระราชวงศ์ ขุนนางและชนชั้นผู้ถูกปกครอง ประกบด้วยไพร่ท่ีเป็นประชากรส่วนใหญ่ของสังคม และทาสชน

ช้ันปกครองและชนช้ันผู้ถูกปกครองมีความสัมพันธ์ในระบบอุปถัมภ์และกฎหมายจัดระเบียบสังคมที่เรียกว่า

ศักดินา ซ่ึงทาให้สังคมสมัยอยุธยาดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพตลอดระยะเวลาที่อยุธยาดารงความเป็น

อาณาจักรท่ียิง่ ใหญ่ไดย้ าวนานถึง 417 ปี

วัฒนธรรมไทยในสมัยอยุธยา ถือเป็นภูมิปัญญาไทยที่ได้สะสมสืบทอดต่อมาจนถึงปัจจุบัน ภูมิปัญญา

ไทยสมัยอยุธยามีหลายด้านที่สาคัญ เช่น การเมืองการปกครองของพระมหากษัตริย์สมัยอยุธยา ศิลปกรรม

ภาษาและวรรณกรรมทมี่ ีลกั ษณะผสมผสานวัฒนธรรมตะวันตกและตะวนั ออกเขา้ ด้วยกัน

บรรพบุรุษไทยในสมัยอยุธยาได้ปกป้องบ้านเมืองและสร้างสรรค์สิงที่มีประโยชน์ต่อชาติบ้านเมือง

หลายดา้ นซ่ึงวรี กรรมเหล่านเ้ี ยาวชนไทยควรระลกึ ถงึ คุณความดีและยึดถือเป็นแบบอยา่ ง

ผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวัง

1.บอกปจั จยั ที่สง่ เสริมพัฒนาการทางด้านเศรษฐกจิ และสังคมของอาณาจักรอยุธยาได้
2.บอกเศรษฐกิจสมยั อยธุ ยาได้
3.บอกสงั คมสมัยอยุธยาได้
4.บอกถึงวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยสมยั อยุธยาได้
5.บอกถงึ ประวตั บิ ุคคลสาคัญสมยั อยุธยาได้
6.บอกถงึ การส้ินสุดของอาณาจกั รอยุธยาได้
สมรรถนะรายวชิ า
1.แสดงความรู้เก่ียวกับกระบวนการทางประวตั ิศาสตร์
2.เปรียบเทยี บการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมของประวัตศิ าสตร์ชาติไทย
สาระการเรียนรู้

31

หน่วยที่ 5 เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรมและภมู ิปัญญาสมัยอยุธยา
1.ปัจจัยท่ีสง่ เสรมิ พฒั นาการทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของอาณาจักรอยธุ ยา
2.เศรษฐกิจสมัยอยุธยา
3.สังคมสมัยอยุธยา
4.วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาสมยั อยุธยา
ขั้นนาเข้าส่กู ารเรียน
1.ครถู ามนักเรียนวา่ โบราณสถานทีจ่ งั หวัดพระนครศรอี ยุธยามีอะไรบา้ ง ใหน้ กั เรยี นช่วยกันยกตวั อยา่ ง
2.ครเู กรนิ่ นาเร่ืองความเจริญรุง่ เรืองทางวฒั นธรรมในสมัยอยธุ ยา

ขนั้ สอน
3.ครแู บง่ นกั เรยี นออกเปน็ 3 กลุ่ม อภิปรายปัจจัยที่สง่ เสรมิ พัฒนาการทางด้านเศรษฐกจิ และสงั คมของ
อาณาจักรอยุธยา ดงั นี้

-สภาพภูมิประเทศ
-ทาเลทตี่ ั้ง
-นโยบาย
4.ครใู หน้ กั เรยี นออกมานาเสนอผลการอภปิ ราย
5.ครใู ห้นกั เรียนยกตัวอยา่ งเศรษฐกิจสมยั อยุธยาว่าน่าจะมีอะไรบา้ ง
6.ครสู นทนาเร่อื งการทาการเกษตรสมัยอยธุ ยา
7.ครใู ห้นกั เรยี นช่วยกันสืบคน้ เก่ียวกับการคา้ ในสมยั อยุธยา จากนน้ั ออกมานาเสนอ
8.ครเู ขยี นคาว่า “ภาษีในสมยั อยุธยา” จากนนั้ ให้นักเรียนชว่ ยกนั อธบิ ายวา่ มอี ะไรบา้ ง ครเู ขียนเป็นผงั มโนทศั น์
9.ครใู หน้ กั เรยี นดูภาพ จากนั้นถามนักเรยี นวา่ นา่ จะเป็นบุคคลในชนช้นั ใด (ทาส)

32

10.ครสู นทนากบั นักเรยี นเรือ่ งสงั คมในสมยั อยธุ ยา
11.ครูแบง่ นักเรยี นออกเปน็ 4 กลุ่ม ดังนี้

-การเมอื งการปกครองของกษัตรยิ ์สมยั อยธุ ยา
-ศิลปกรรม
-นาฏศลิ ป์และดรุ ิยางคศลิ ป์
-ภาษาและวรรณกรรม
12.ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มคิดคาถาม และให้อีก 3 กลุ่มเวียนกันตอบ กลุม่ ละ 10 คาถาม
13.ครูอธบิ ายเพ่ิมเติม
ข้ันสรปุ และประยุกต์
14.ครแู บ่งนกั เรียนออกเป็น 6 กลุ่ม แสดงบทบาทสมมตใิ นหวั ขอ้ “ขา้ คอื ...” โดยให้จับสลากใหห้ ัวขอ้ ต่อไปน้ี
-พระมหากษตั ริย์
-พระบรมวงศานวุ งศ์
-ขุนนาง
-ไพร่
-ทาส
-ชาวตา่ งชาติ
15.ครใู ห้นกั เรียนออกมาแสดงบทบาทสมมติว่าตนเปน็ ใคร มสี ถานะและบทบาทหน้าท่ีในสงั คมอยา่ งไร คนละ
2 นาที

33

สื่อและแหล่งเรียนรู้
1.หนงั สอื เรียนวิชาประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย
2.กิจกรรมการเรยี นการสอน
3.ภาพประกอบ
หลกั ฐาน
1.บนั ทกึ การสอนของครู
2.ใบเชค็ รายชือ่
3.แผนการจดั การเรยี นรู้
การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วิธวี ัดผล
1.ประเมินผลความกา้ วหน้าของตนเอง
2.สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
3.ประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
4.การสังเกตและประเมนิ ผลพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ
ประสงค์
เครือ่ งมอื วัดผล
1.แบบประเมนิ ผลความกา้ วหนา้ ของตนเอง
2.สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
3.ประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4.การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
เกณฑก์ ารประเมินผล
1.แบบประเมนิ ผลความก้าวหน้าของตนเอง เกณฑ์ผา่ น 50% ขึน้ ไป
2.เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มชี ่องปรับปรงุ
3.เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (50% ข้ึนไป)
4.การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอันพึง
ประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กบั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

34

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ใหน้ กั เรยี นแบง่ ออกเปน็ 4-5 กล่มุ จัดบอรด์ เกย่ี วกบั เศรษฐกิจสมัยอยุธยา
2.ใหน้ กั เรยี นแบง่ ออกเป็น 6 กลุม่ ทารายงานเร่ืองสงั คมไทยในสมัยอยธุ ยา

35

แผนการจัดการเรียนรแู้ บบบรู ณาการท่ี 7 หน่วยที่ 5

รหสั วิชา 2000-1507 สอนครัง้ ท่ี 7

ช่ือหน่วย เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ ภมู ปิ ัญญาสมัยอยุธยา จานวน 1 ชัว่ โมง

แนวคิด

สังคมในสมัยอยุธยาเป็นสังคมเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบาชีพทานา เพราะปลูก

พืชไร่ พืชสวน และการแลกเปล่ียนค้าขาย ซึ่งส่งผลให้รัฐมีรายได้จากการเก็บภาษีอากรท่ีมาจากการประกอบ

อาชีพของประชาชน ส่วนเศรษฐกิจของอาณาจักรอยุธยาเจริญรุ่งเรืองจากการค้ากับต่างประเทศในลัก ษณะ

การค้าผูกขาดโดยพระคลังสนิ คา้

โดยโครงสร้างสังคมสมัยอยุธยาเป็นสังคมชนชั้นท่ีแบ่งชนช้ันปกครอง ประกอบด้วยพระมหากษัตริย์

พระราชวงศ์ ขุนนางและชนชั้นผู้ถูกปกครอง ประกบด้วยไพร่ท่ีเป็นประชากรส่วนใหญ่ของสังคม และทาสชน

ชั้นปกครองและชนชั้นผู้ถูกปกครองมีความสัมพันธ์ในระบบอุปถัมภ์และกฎหมายจัดระเบียบสังคมท่ีเรียกว่า

ศักดินา ซึ่งทาให้สังคมสมัยอยุธยาดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพตลอดระยะเวลาท่ีอยุธยาดารงความเป็น

อาณาจักรทยี่ ่งิ ใหญ่ได้ยาวนานถึง 417 ปี

วัฒนธรรมไทยในสมัยอยุธยา ถือเป็นภูมิปัญญาไทยท่ีได้สะสมสืบทอดต่อมาจนถึงปัจจุบัน ภูมิปัญญา

ไทยสมัยอยุธยามีหลายด้านที่สาคัญ เช่น การเมืองการปกครองของพระมหากษัตริย์สมัยอยุธยา ศิลปกรรม

ภาษาและวรรณกรรมท่มี ลี กั ษณะผสมผสานวัฒนธรรมตะวนั ตกและตะวนั ออกเขา้ ดว้ ยกัน

บรรพบุรุษไทยในสมัยอยุธยาได้ปกป้องบ้านเมืองและสร้างสรรค์สิงที่มีประโยชน์ต่อชาติบ้านเมือง

หลายด้านซ่งึ วรี กรรมเหล่านเ้ี ยาวชนไทยควรระลกึ ถงึ คุณความดแี ละยึดถือเป็นแบบอย่าง

ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง

1.บอกปัจจยั ทส่ี ง่ เสริมพฒั นาการทางดา้ นเศรษฐกจิ และสังคมของอาณาจักรอยธุ ยาได้
2.บอกเศรษฐกจิ สมัยอยธุ ยาได้
3.บอกสังคมสมัยอยุธยาได้
4.บอกถึงวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทยสมยั อยธุ ยาได้
5.บอกถงึ ประวตั ิบุคคลสาคัญสมัยอยธุ ยาได้
6.บอกถึงการส้ินสุดของอาณาจักรอยธุ ยาได้
สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงความรเู้ กี่ยวกับกระบวนการทางประวัติศาสตร์
2.เปรียบเทียบการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรมของประวัตศิ าสตร์ชาติไทย
สาระการเรยี นรู้

36

หน่วยท่ี 5 เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและภูมิปัญญาสมัยอยธุ ยา
5.บุคคลสาคัญสมยั อยธุ ยา
6.การสนิ้ สดุ ของอาณาจกั รอยุธยา
ขนั้ นาเข้าส่กู ารเรยี น
1.ครูถามนักเรียนวา่ บคุ คลสาคญั ในสมยั อยธุ ยามใี ครบ้างให้นักเรียนช่วยกนั ยกตวั อย่าง
2.ครูใหน้ ักเรยี นดภู าพ จากน้ันถามวาเกยี่ วข้องกับบคุ คลใดในสมยั อยธุ ยา (สมเด็จพระนเรศวรมหาราช)

ขัน้ สอน
3.ครูแบ่งนกั เรียนออกเปน็ 3 กลุ่มสบื คน้ ข้อมลู บุคคลสาคญั ตอไปนี้

-สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช
-สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
-ชาวบา้ นบางระจนั
4.ครูให้นักเรียนออกมานาเสนอกลุม่ ละ 5 นาที
5.ครใู ห้กลุ่มท่ีนาเสนอจากน้ันถามคาถามเกยี่ วกบั กลุ่มของตนเอง 10 ข้อ และส่มุ ใหเ้ พอื่ นตอบ
6.ครแู บง่ นกั เรยี นออกเป็น 2 กลุ่มอภปิ รายปัจจัยภายในและปจั จัยภายนอกทท่ี าใหอ้ าณาจกั รอยุธยาล้มสลาย
7.ครใู ห้นักเรยี นออกมาแสดงความคดิ เหน็
ขน้ั สรุปและประยกุ ต์
8.ครูให้นักเรยี นทาคาถามท้ายหน่วยการเรียนรหู้ น่วยที่ 7

37

สื่อและแหล่งเรียนรู้
1.หนงั สอื เรียนวิชาประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย
2.กิจกรรมการเรยี นการสอน
3.ภาพประกอบ
หลกั ฐาน
1.บนั ทกึ การสอนของครู
2.ใบเชค็ รายชือ่
3.แผนการจดั การเรยี นรู้

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วิธวี ัดผล
1.ประเมินผลความกา้ วหน้าของตนเอง
2.สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
3.ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4.การสังเกตและประเมนิ ผลพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ

ประสงค์
เครือ่ งมอื วัดผล
1.แบบประเมนิ ผลความกา้ วหนา้ ของตนเอง
2.สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
3.ประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4.การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์
เกณฑก์ ารประเมินผล
1.แบบประเมนิ ผลความก้าวหน้าของตนเอง เกณฑ์ผา่ น 50% ขึน้ ไป
2.เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มชี ่องปรับปรงุ
3.เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (50% ข้ึนไป)
4.การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอันพึง

ประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กบั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

38

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ให้นกั เรียนจดั บอร์ดหรือทาโปสเตอร์เกีย่ วกับอตุ ชวี ประวตั บิ ุคคลสาคญั เพิ่มเตมิ จากที่ไดเ้ รยี น

39

แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่ 8 หน่วยที่ -

รหัสวิชา 2000-1507 สอนครง้ั ท่ี -

ชือ่ หน่วย สอบกลางภาค จานวน 1

ช่วั โมง

แนวคิด

การสอบกลางภาคเปน็ การวัดความรู้และความเข้าใจในหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1-5

40

แผนการจัดการเรยี นร้แู บบบรู ณาการท่ี 9 หนว่ ยท่ี 6

รหสั วิชา 2000-1507 สอนครัง้ ท่ี 8

ชื่อหน่วย ประวตั ศิ าสตร์ชาติไทยสมัยธนบุรี จานวน 1 ชัว่ โมง

แนวคดิ

หลังการลมสลายของอาณาจักรอยุธยาใน พ.ศ.2310 พระยาตาก (สิน) เป็นผู้นาที่สามารถกอบกู้เอก

ราชของชาติและสร้างราชธานีที่กรุงธนบุรีเป็นศูนย์อานาจทางการเมืองการปกครองไทย อาณาจักรธนบุรีมี

ช่วงเวลาเพียง 15 ปี (พ.ศ.2310-2325) สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีหรือสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้

รวบรวมอาณาจักรไทยใหเ้ ป็นปึกแผ่นและฟื้นฟูศลิ ปวทิ ยาการทางด้านต่างๆสืบต่อมาถึงสมัยรตั นโกสินทร์

ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั

1.อธิบายเหตุการณก์ ่อนการสถาปนาอาณาจักรสโุ ขทัยได้
2.อธิบายการสถาปนากรุงธนบรุ เี ป็นราชธานีได้
3.บอกพระราชประวัตขิ องสมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราชได้
4.อธบิ ายการเมืองการปกครองของอาณาจกั รธนบุรไี ด้
5.อธบิ ายเศรษฐกจิ และสงั คมสมัยธนบุรีได้
6.บอกความสัมพันธก์ ับตา่ งประเทศในสมัยธนบรุ ีได้
7.บอกภมู ปิ ญั ญาไทยสมยั ธนบรุ ีได้
8.บอกถงึ การสิน้ สุดสมัยธนบุรีได้
สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงความรู้เกี่ยวกับกระบวนการทางประวตั ศิ าสตร์
2.เปรียบเทยี บการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรมของประวตั ิศาสตร์ชาติไทย
สาระการเรียนรู้
หน่วยท่ี 6 ประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทยสมัยธนบุรี

1.ก่อนการสถาปนาอาณาจักรสโุ ขทยั

2.การสถาปนากรุงธนบุรีเปน็ ราชธานี

3.พระมหากษตั รยิ ส์ มัยธนบรุ ี

4.การเมืองการปกครองของอาณาจักรธนบุรี

5.เศรษฐกิจและสังคมสมยั ธนบรุ ี

6.ความสัมพนั ธก์ ับตา่ งประเทศในสมยั ธนบรุ ี

7.ภมู ิปญั ญาไทยสมยั ธนบุรี

8.การสนิ้ สดุ สมัยธนบุรี

41

ขัน้ นาเขา้ สู่การเรยี น
1.ครถู ามนักเรยี นว่าปัจจยั ทีทาใหก้ รุงศรีอยธุ ยาล่มสลายมะไรบ้าง ครเู ขยี นเป็นผังมโนทศั น์ จากนัน้ ครเุ น้นย้า
เร่ืองความสามคั คี
2.ครใู ห้นักเรยี นดภู าพ จากน้ันถามว่าเก่ียวข้องกบั บุคคลใด และสถานท่ีนี้อยทู่ ี่ใด (พระบรมราชานุสาวรีย์
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช อยทู่ ่วี งเวยี นใหญ่ )

ขนั้ สอน
3.ครูให้นักเรียนลองจนิ ตนาการแลว้ เขยี นบรรยายภาพก่อนการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย จากน้นั ครูสุ่มเลือก
ให้นักเรียนแสดงความคดิ เหน็ และครอู ธิบายเพิ่มเติม
4.ครสู นทนากับนักเรียนเร่อื งการสถาปนากรงุ ธนบุรีเป็นราชธานี
5.ครแู บ่งนักเรยี นอกเป็น 3 กล่มุ ใหเ้ วลา 5 นาที ศกึ ษาพระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั รยิ ์สมัยธนบุรี
จากน้นั ออกมานาเสนอและครูอธิบายเพ่มิ เตมิ
6.ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกบั การเมืองการปกครองของอาณาจักรธนบรุ ี และเปรียบเทยี บกับอยธุ ยาว่ามี
ความเหมืนกนั อยา่ งไร และเป็นเพราะเหตุใด
7.ครแู บ่งนกั เรียนออกเป็น 2 กล่มุ ศกึ ษาเศรษฐกจิ และสังคมสมัยธนบรุ ี แล้วออกมานาเสนอและครูอธิบาย
เพ่มิ เติม
8.ครสู นทนากบั นักเรียนเรอื่ งความสัมพันธ์กับตา่ งประเทศในสมยั ธนบุรี

42

9.ครใู ห้เวลานักเรียน 3 นาทศี ึกษาเรื่องภูมปิ ัญญาไทยสมัยธนบุรี จากนน้ั ครถู ามคาถามและใหน้ ักเรยี นตอบ ครู
อธบิ ายเพ่มิ เตมิ
10.ครสู นทนากบั นักเรยี นเรอื่ งการส้นิ สุดสมยั ธนบุรี
ขน้ั สรปุ และประยกุ ต์
11.ครใู ห้นักเรียนทาคาถามท้ายหนว่ ยการเรียนรหู้ นว่ ยที่ 8
สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้

1.หนงั สือเรยี นวชิ าประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย
2.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
3.ภาพประกอบ
หลกั ฐาน
1.บันทึกการสอนของครู
2.ใบเช็ครายชือ่
3.แผนการจดั การเรยี นรู้
การวดั ผลและการประเมินผล
วธิ ีวดั ผล
1.ประเมนิ ผลความก้าวหนา้ ของตนเอง
2.สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
3.ประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
4.การสงั เกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอันพึง
ประสงค์
เครื่องมือวัดผล
1.แบบประเมินผลความก้าวหน้าของตนเอง
2.สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
3.ประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4.การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพงึ
ประสงค์
เกณฑ์การประเมนิ ผล
1.แบบประเมินผลความกา้ วหนา้ ของตนเอง เกณฑ์ผา่ น 50% ขึน้ ไป

43

2.เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ชี ่องปรับปรุง
3.เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
4.การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอันพงึ
ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กับการประเมินตามสภาพจริง
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ใหน้ กั เรยี นทารายงานเกย่ี วกับพระราชกรณีกิจของสมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราช

44

แผนการจัดการเรียนรแู้ บบบรู ณาการท่ี 10 หน่วยท่ี 7

รหัสวิชา 2000-1507 สอนคร้งั ท่ี 9

ชอ่ื หน่วย ประวิตศิ าสตร์ชาติไทยสมัยรัตนโกสินทร์ จานวน 1 ชว่ั โมง

แนวคิด

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงเลือกพ้ืนที่

บริเวณด้านตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยาเป็นที่ตั้งกรุงเทพมหานครราชธานีแห่งใหม่ เพราะมีความเหมาะสม

ทางยุทธศาสตรแ์ ละสามารถขยายตัวเมืองไดก้ วา้ งขวาง พระมหากษัตริยร์ าชวงศจ์ ักรีทกุ พระองคไ์ ด้ทรงบาเพ็ญ

พระราชกรณยี กิจมากมายหลายประการเพ่ือวางรากฐานบา้ นเมืองให้เป็นปึกแผ่นและเจริญรงุ่ เรือง

ปจั จยั ทางภมู ศิ าสตรส์ ่งผลให้กรุงรัตนโกสนิ ทร์มีความอุดมสมบรู ณ์ เป็นศูนยก์ ลางทางการปกครองและ

ศูนย์กลางทางการค้าในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบกับปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีสาคัญ

ได้แก่ ความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรี ความพร้อมของกาลังไพร่พล การส่งเสริมการค้า

ระหว่างประเทศ รวมทั้งการขยายอานาจทางการเมืองเพื่อเสริมสร้างความมน่ั คงของอาณาจักรและการปฏิรูป

ประเทศให้ทนั สมยั ตามแบบตะวันตก ทาใหร้ ักษาเอกราชของชาติไว้ และมคี วามม่นั คงสบื มา

พัฒนาการทางการเมืองการปกครองในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นยังคงมีรูปแบบการปกครองเหมืน

สมยั อยุธยาซง่ึ ได้มีการปฏิรูปการปกครองครั้งใหญใ่ นสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้ายู่หวั โดยทรงแบ่ง

การปกครองส่วนกลางเป็น 12 กระทรวง ยกเลิกตาแหน่งอัครมหาเสนาบดีและจตุสดมภ์ท้ัง 4 ส่วน การ

ปกครองหัวเมืองได้ทรงจัดการปกครองระบบเทศาภิบาลเป็นมณฑล เมือง ตาบล หมู่บ้าน จนถึงสมัย

เปล่ียนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย การปกครองของไทยจึงแบ่งเป็นการปกครองส่วนกลาง

การปกครองสว่ นภูมิภาค และการปกครองสว่ นท้องถิน่

ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวงั

1.บอกถงึ การสถาปนาราชวงศ์จกั รีได้
2.บอกถึงการสถาปนากรงุ เทพมหานครเป็นราชธานีไทยได้
3.บอกปัจจยั ที่สง่ ผลต่อความมน่ั คงและความเจรญิ รุ่งเรืองของไทยในสมัยรัตนโกสนิ ทร์ได้
4.บอกบทบาทของพระมหากษัตริย์ไทยในราชวงศ์จักรใี นการสรา้ งสรรคค์ วามเจริญและความม่ันคงของชาติได้
5.อธบิ ายการพัฒนาการทางการเมอื งการปกครองสมัยรตั นโกสินทร์ได้
6.สมัยปฏริ ูปบา้ นเมืองให้ทนั สมัยแบบตะวนั ตกได้
7.อธิบายสมัยประชาธปิ ไตยได้
8.อธิบายพฒั นาการของระบอบประชาธปิ ไตยในสังคมไทยได้
สมรรถนะรายวชิ า

45

1.แสดงความรเู้ ก่ียวกับกระบวนการทางประวตั ิศาสตร์
2.เปรียบเทยี บการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรมของประวตั ิศาสตรช์ าติไทย
สาระการเรยี นรู้
หน่วยที่ 7 ประวิตศิ าสตร์ชาตไิ ทยสมัยรัตนโกสนิ ทร์
1.การสถาปนาราชวงศ์จักรี
2.การสถาปนากรุงเทพมหานครเปน็ ราชธานี
3.ปัจจยั ทีส่ ่งผลตอ่ ความมั่นคงและความเจรญิ รุ่งเรืองของไทยในสมยั รัตนโกสนิ ทร์
ขั้นนาเขา้ สูก่ ารเรียน
1.ครถู ามนักเรียนว่าอาณาจกั รธนบุรปี ัจจุบนั คอื ทใ่ี ด
2.ครใู หน้ ักเรียนดภู าพ จากน้ันถามวา่ เกี่ยวข้องกับบคุ คลใด และสถานทีน่ ้ีอยู่ทใ่ี ด (พระบรมราชานสุ าวรยี ์
พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช เชิงสะพานปฐมบรมราชานสุ รณ์ : สะพานพทุ ธฯ)

ขัน้ สอน
1.ครสู นทนากับนักเรยี นเร่อื งการสถาปนาราชวงศ์จักรี
2.ครนู าภาพสญั ลกั ษณร์ าชวงศ์จกั รีใหน้ ักเรียนดูจากนน้ั ถามว่าคอื อะไร (จักรและตรศี ลู )

46

3.ครใู หน้ ักเรียนแบง่ ออกเปน็ 3 กลมุ่ อภปิ รายขอ้ เสียทางชัยภมู ิของอาณาจักรธนบุรี จากน้นั นามาเสนอหนา้ ช้นั
เรียน
4.ครูสนทนากับนักเรียนเรอื่ งการสถาปนากรงุ เทพมหานครเป็นราชธานี
5.ครใู ห้นักเรียนดูภาพจากน้นั ถามว่าทีใ่ ด (พระบรมมหาราชวัง)

6.ครูถามนักเรียนวา่ แม่น้าเจ้าพระยามีความสาคญั กบั อาณาจกั รรัตนโกสนิ ทรอ์ ย่างไร จากน้นั เขียนเปน็ ผงั มโน
ทัศน์ และครูสนทนากับนักเรียนเรือ่ งปัจจยั ทางภูมิศาสตร์ที่สง่ ผลต่อความม่นั คงและความเจริญรงุ่ เรืองของ
รตั นโกสนิ ทร์
7.ครูแบง่ นกั เรียนออกเป็น 3 กลุ่มดังน้ี

-ความมน่ั คงของสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์
-การสง่ เสริมการค้าระหวา่ งประเทศ
-การขยายอานาจทางการเมือง
8.จากนั้นครูใหน้ กั เรียนอกมานาเสนอ แลว้ ช่วยกนั พจิ ารณาว่าปจั จัยใดมคี วามสาคัญทส่ี ุดต่อความเจริญรุ่งเรอื ง
ของรัตนโกสนิ ทร์
ขั้นสรปุ และประยุกต์
9.ครใู ห้นกั เรยี นเขยี นผงั มโนทัศนเ์ รอื่ งปัจจัยความเจริญร่งุ เรืองของรตั นโกสนิ ทร์

47

สอื่ และแหล่งเรียนรู้
1.หนงั สอื เรยี นวชิ าประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย
2.กจิ กรรมการเรียนการสอน
3.ภาพประกอบ

หลกั ฐาน
1.บนั ทกึ การสอนของครู
2.ใบเชค็ รายชอื่
3.แผนการจัดการเรียนรู้

การวัดผลและการประเมินผล
วธิ ีวดั ผล
1.ประเมินผลความกา้ วหนา้ ของตนเอง
2.สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
3.ประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุม่
4.การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอันพงึ

ประสงค์
เคร่อื งมอื วดั ผล
1.แบบประเมนิ ผลความก้าวหน้าของตนเอง
2.สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
3.ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4.การสงั เกตและประเมนิ ผลพฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1.แบบประเมนิ ผลความก้าวหนา้ ของตนเอง เกณฑผ์ ่าน 50% ขึ้นไป
2.เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไมม่ ชี อ่ งปรับปรุง
3.เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
กิจกรรมเสนอแนะ

1.ให้นกั เรยี นทารายงานเร่ืองเที่ยวสถานที่ประวัติศาสตร์บนเกาะรัตนโกสินทร์

48

แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการท่ี 11 หน่วยท่ี 7

รหสั วชิ า 2000-1507 สอนคร้งั ที่ 10

ชอื่ หน่วย ประวตั ศิ าสตรช์ าติไทยสมัยรตั นโกสนิ ทร์ จานวน 1 ชว่ั โมง

แนวคิด

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงเลือกพ้ืนท่ี

บริเวณด้านตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยาเป็นท่ีตัง้ กรุงเทพมหานครราชธานีแห่งใหม่ เพราะมีความเหมาะสม

ทางยทุ ธศาสตร์และสามารถขยายตัวเมืองไดก้ วา้ งขวาง พระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรีทกุ พระองค์ได้ทรงบาเพ็ญ

พระราชกรณียกจิ มากมายหลายประการเพื่อวางรากฐานบา้ นเมอื งใหเ้ ปน็ ปึกแผ่นและเจรญิ รุ่งเรือง

ปัจจยั ทางภมู ศิ าสตร์ส่งผลให้กรุงรตั นโกสินทร์มีความอดุ มสมบรู ณ์ เป็นศูนย์กลางทางการปกครองและ

ศูนย์กลางทางการค้าในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบกับปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมที่สาคัญ

ได้แก่ ความม่ันคงของสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ในราชวงศ์จกั รี ความพร้อมของกาลังไพร่พล การสง่ เสริมการค้า

ระหว่างประเทศ รวมท้ังการขยายอานาจทางการเมืองเพื่อเสริมสร้างความม่ันคงของอาณาจักรและการปฏิรูป

ประเทศใหท้ ันสมยั ตามแบบตะวนั ตก ทาใหร้ ักษาเอกราชของชาติไว้ และมีความม่นั คงสบื มา

พัฒนาการทางการเมืองการปกครองในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นยังคงมีรูปแบบการปกครองเหมืน

สมยั อยุธยาซ่ึงได้มีการปฏิรปู การปกครองคร้ังใหญ่ในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้ายู่หัวโดยทรงแบ่ง

การปกครองส่วนกลางเป็น 12 กระทรวง ยกเลิกตาแหน่งอัครมหาเสนาบดีและจตุสดมภ์ทั้ง 4 ส่วน การ

ปกครองหัวเมืองได้ทรงจัดการปกครองระบบเทศาภิบาลเป็นมณฑล เมือง ตาบล หมู่บ้าน จนถึงสมัย

เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย การปกครองของไทยจึงแบ่งเป็นการปกครองส่วนกลาง

การปกครองส่วนภมู ิภาค และการปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั

1.บอกถงึ การสถาปนาราชวงศ์จักรีได้
2.บอกถึงการสถาปนากรงุ เทพมหานครเป็นราชธานไี ทยได้
3.บอกปจั จยั ท่ีสง่ ผลต่อความม่นั คงและความเจรญิ รุ่งเรอื งของไทยในสมยั รัตนโกสินทร์ได้
4.บอกบทบาทของพระมหากษัตริยไ์ ทยในราชวงศ์จักรีในการสรา้ งสรรคค์ วามเจริญและความม่ันคงของชาติได้
5.อธิบายการพัฒนาการทางการเมอื งการปกครองสมัยรัตนโกสนิ ทร์ได้
6.สมัยปฏริ ปู บา้ นเมอื งให้ทนั สมัยแบบตะวันตกได้
7.อธบิ ายสมยั ประชาธปิ ไตยได้
8.อธิบายพัฒนาการของระบอบประชาธิปไตยในสังคมไทยได้
สมรรถนะรายวิชา

49

1.แสดงความรู้เกีย่ วกับกระบวนการทางประวัติศาสตร์
2.เปรยี บเทยี บการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรมของประวัตศิ าสตรช์ าติไทย
สาระการเรยี นรู้
หน่วยท่ี 7 ประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยสมัยรัตนโกสินทร์
4.บทบาทของพระมหากษัตริย์ไทยในราชวงศจ์ ักรีในการสร้างสรรคค์ วามเจรญิ และความมน่ั คงของชาติ
5.พัฒนาการทางการเมืองการปกครองสมยั รัตนโกสนิ ทร์
6.สมัยปฏิรปู บ้านเมอื งให้ทนั สมัยแบบตะวันตก
ขั้นนาเข้าสูก่ ารเรียน
1.ครถู ามพระนามพระมหากษตั รยิ ์ทีละพระองค์จากนักเรยี น
2.ครูให้นักเรียนดภู าพ 9 รชั กาล จากน้นั ชี้ท่ภี าพ และให้นักเรยี นบอกพระนาม

ขัน้ สอน
3.ครูแบง่ นักเรยี นอกเปน็ 9 กล่มุ ศึกษาพระราชกรณีกิจพระมหากษัตริย์รชั กาลท่ี 1-9
4.ครใู หน้ ักเรยี นออกมานาเสนอกลุ่มละ 3 นาที และครูอธิบายเพิม่ เติม
5.ครอู ธิบายเรอื่ งพัฒนาการทางการเมืองการปกครองสมยั รัตนโกสนิ ทร์ โดยเขียนเปน็ ผังมโนทัศน์
6.ครใู หน้ ักเรยี นดูภาพต่อไปน้ี จากน้นั ถามวา่ คือภาพอะไร (รถราง)

50

7.ครูถามนักเรยี นวา่ รชั กาลที่ 5 เสดจ็ ประพาสยุโรปเพ่ือการใด จากนนั้ เน้นย้าให้นักเรียนมคี วามสานึกในพระ
มหากรณุ าธิคุณ
8.ครูสนทนากบั นักเรียนเร่ืองสมัยปฏริ ูปบา้ นเมืองให้ทนั สมัยแบบตะวนั ตก
ขัน้ สรปุ และประยกุ ต์
9.ครใู ห้นักเรยี นสบื ค้นการปฏริ ูปบา้ นเมืองใหท้ นั สมยั แบบตะวันตกในสมยั รชั กาลที่ 5
สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้

1.หนังสอื เรียนวิชาประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย
2.กิจกรรมการเรียนการสอน
3.ภาพประกอบ
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของครู
2.ใบเชค็ รายชือ่
3.แผนการจัดการเรียนรู้
การวัดผลและการประเมนิ ผล
วิธีวดั ผล
1.ประเมนิ ผลความกา้ วหน้าของตนเอง
2.สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
3.ประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
4.การสังเกตและประเมนิ ผลพฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ
ประสงค์
เครือ่ งมอื วดั ผล
1.แบบประเมนิ ผลความกา้ วหน้าของตนเอง
2.สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล

51

3.ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4.การสังเกตและประเมินผลพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอันพึง
ประสงค์
เกณฑ์การประเมนิ ผล
1.แบบประเมนิ ผลความกา้ วหน้าของตนเอง เกณฑผ์ ่าน 50% ข้นึ ไป
2.เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไมม่ ชี อ่ งปรับปรงุ
3.เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4.การสังเกตและประเมินผลพฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอันพงึ
ประสงค์ คะแนนข้นึ อยู่กบั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ใหน้ ักเรียนจัดบอรด์ เร่ืองพระราชกรณียกิจ 9 รชั กาล

52

แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการท่ี 12 หนว่ ยท่ี 7

รหสั วชิ า 2000-1507 สอนคร้งั ท่ี 11

ชอื่ หน่วย ประวตั ศิ าสตรช์ าติไทยสมัยรตั นโกสนิ ทร์ จานวน 1 ช่ัวโมง

แนวคิด

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงเลือกพื้นท่ี

บริเวณด้านตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยาเป็นท่ีตัง้ กรุงเทพมหานครราชธานีแห่งใหม่ เพราะมีความเหมาะสม

ทางยทุ ธศาสตร์และสามารถขยายตัวเมืองไดก้ วา้ งขวาง พระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรีทุกพระองค์ได้ทรงบาเพ็ญ

พระราชกรณียกจิ มากมายหลายประการเพื่อวางรากฐานบา้ นเมอื งใหเ้ ปน็ ปกึ แผน่ และเจริญรุ่งเรือง

ปัจจยั ทางภมู ศิ าสตร์ส่งผลให้กรุงรตั นโกสินทร์มีความอดุ มสมบูรณ์ เปน็ ศนู ย์กลางทางการปกครองและ

ศูนย์กลางทางการค้าในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบกับปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมที่สาคัญ

ได้แก่ ความม่ันคงของสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ในราชวงศ์จกั รี ความพร้อมของกาลังไพร่พล การส่งเสริมการค้า

ระหว่างประเทศ รวมท้ังการขยายอานาจทางการเมืองเพื่อเสริมสร้างความม่นั คงของอาณาจักรและการปฏิรูป

ประเทศใหท้ ันสมยั ตามแบบตะวนั ตก ทาใหร้ ักษาเอกราชของชาตไิ ว้ และมคี วามม่นั คงสืบมา

พัฒนาการทางการเมืองการปกครองในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นยังคงมีรูปแบบการปกครองเหมืน

สมยั อยุธยาซ่ึงได้มีการปฏิรปู การปกครองคร้ังใหญ่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้ายู่หวั โดยทรงแบ่ง

การปกครองส่วนกลางเป็น 12 กระทรวง ยกเลิกตาแหน่งอัครมหาเสนาบดีและจตุสดมภ์ทั้ง 4 ส่วน การ

ปกครองหัวเมืองได้ทรงจัดการปกครองระบบเทศาภิบาลเป็นมณฑล เมือง ตาบล หมู่บ้าน จนถึงสมัย

เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย การปกครองของไทยจึงแบ่งเป็นการปกครองส่วนกลาง

การปกครองส่วนภมู ิภาค และการปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั

1.บอกถงึ การสถาปนาราชวงศ์จักรีได้
2.บอกถึงการสถาปนากรงุ เทพมหานครเป็นราชธานีไทยได้
3.บอกปจั จยั ท่ีสง่ ผลต่อความม่นั คงและความเจรญิ รุ่งเรอื งของไทยในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ได้
4.บอกบทบาทของพระมหากษัตริยไ์ ทยในราชวงศ์จักรีในการสรา้ งสรรคค์ วามเจริญและความมัน่ คงของชาติได้
5.อธิบายการพัฒนาการทางการเมอื งการปกครองสมัยรัตนโกสนิ ทร์ได้
6.สมัยปฏริ ปู บา้ นเมอื งให้ทนั สมัยแบบตะวันตกได้
7.อธบิ ายสมยั ประชาธปิ ไตยได้
8.อธิบายพัฒนาการของระบอบประชาธิปไตยในสังคมไทยได้
สมรรถนะรายวิชา

53

1.แสดงความรู้เกีย่ วกับกระบวนการทางประวัติศาสตร์
2.เปรยี บเทยี บการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรมของประวตั ศิ าสตรช์ าติไทย
สาระการเรยี นรู้
หน่วยที่ 7 ประวัตศิ าสตรช์ าติไทยสมัยรตั นโกสนิ ทร์
7.สมัยประชาธิปไตย
8.พฒั นาการของระบอบประชาธปิ ไตยในสงั คมไทย
ขั้นนาเขา้ สกู่ ารเรียน
1.ครถู ามนักเรียนว่าประเทศไทยมกี ารปกครองในรูปแบบใดมาบ้างแล้ว ครูเขียนเปน็ ผังมโนทัศน์
2.ครูให้นักเรยี นดภู าพ แลว้ ถามว่าคือภาพอะไร

ขัน้ สอน
3.ครูสนทนากบั นักเรียนเร่อื งสถานการณช์ ว่ งก่อนการเปลีย่ นแปลงการปกครอง
4.ครูแบ่งนกั เรียนออกเปน็ 3 กลุ่ม สืบค้นปัจจัยท่กี ่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากนน้ั ออกมา
นาเสนอหนา้ ชั้นเรียน
5.ครุอธบิ ายเกีย่ วกบั ผลของการเปล่ียนแปลงการปกครอง
6.ครใู ห้นักเรียนแขง่ ขนั เกมแฟนพนั ธแ์ ท้การเมืองไทย โดยแบ่งนกั เรยี นออกเปน็ 5 กล่มุ จากนั้นครใู ห้นักเรยี น
ดูภาพบคุ คลสาคัญตา่ งๆ จากน้ันให้นักเรยี นตอบว่าเป็นใคร กลมุ่ ใดทตี่ อบได้ ใหค้ รถู ามถงึ ความสาคัญของ
บคุ คลเหล่าน้ัน
7.ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ
8.ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่มศกึ ษาสถานการณ์สาคัญดงั นี้

-ปฏิวตั ิเปลย่ี นแปลงการปกครอง 2475
-14 ตุลาคม 2516
-6 ตุลาคม 2519
-พฤษภาทมิฬ

54

-รัฐประหาร 19 กนั ยายน 2549
-รฐั ประหาร 22 พฤษภาคม 2557
9.ครูให้นกั เรยี นออกมานาเสนอหนา้ ชนั้ จากนน้ั ครูอธบิ ายเพิ่มเติม
ขน้ั สรุปและประยุกต์
10.ครูให้นกั เรยี นทาคาถามท้ายหนว่ ยการเรียนรูห้ นว่ ยที่ 9
สอื่ และแหล่งเรียนรู้
1.หนงั สือเรียนวชิ าประวัตศิ าสตร์ชาติไทย
2.กจิ กรรมการเรียนการสอน
3.ภาพประกอบ
หลกั ฐาน
1.บันทึกการสอนของครู
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนการจดั การเรยี นรู้
การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วธิ วี ัดผล
1.ประเมนิ ผลความกา้ วหน้าของตนเอง
2.สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
3.ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ
4.การสงั เกตและประเมินผลพฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ
ประสงค์
เครอ่ื งมือวัดผล
1.แบบประเมินผลความกา้ วหน้าของตนเอง
2.สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
3.ประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4.การสังเกตและประเมินผลพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอันพึง
ประสงค์
เกณฑ์การประเมนิ ผล
1.แบบประเมินผลความกา้ วหนา้ ของตนเอง เกณฑผ์ า่ น 50% ขึน้ ไป

55

2.เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มชี อ่ งปรบั ปรุง
3.เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกล่มุ คอื ปานกลาง (50% ข้นึ ไป)
4.การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอันพงึ
ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กบั การประเมนิ ตามสภาพจริง
กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ให้นกั เรยี นแบ่งออกเป็น 6 กล่มุ จัดบอร์ดเรื่องดังนี้
-ปฏวิ ัติเปลย่ี นแปลงการปกครอง 2475
-14 ตุลาคม 2516
-6 ตุลาคม 2519
-พฤษภาทมฬิ
-รฐั ประหาร 19 กนั ยายน 2549
-รฐั ประหาร 22 พฤษภาคม 2557

56

แผนการจดั การเรยี นรู้แบบบรู ณาการท่ี 13 หน่วยท่ี 8

รหัสวิชา 2000-1507 สอนครง้ั ที่ 12

ช่ือหน่วย เศรษฐกิจและสังคม สมยั รตั นโกสนิ ทร์ จานวน 1 ช่ัวโมง

แนวคดิ

โครงสร้างเศรษฐกิจสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นยังคงเป็นแบบเดียวกับสมัยอยุธยา และธนบุรี กล่าวคือ

พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจของชาวไทยอยู่ที่เกษตรกรรม โดยมีการทาหัตถกรรมพื้นบ้านและเร่ิมมีการผลิตสินค้า

เกษตรเชิงอุตสาหกรรม เช่น ฝ้าย อ้อย มะพร้าว รายได้หลักของประเทศส่วนใหญ่มาจากการเก็บภาษีอากร

และการค้าระหว่างประเทศ ภายหลังการทาสนธิสัญญาเบาริ่งสมัยรัชกาลท่ี 4 เศรษฐกิจไทยมีการขยายตัว

เพมิ่ ข้ึน ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ทรงปฏิรูปด้านเศรษฐกิจ ปรับปรงุ ระบบเงนิ ตรา และจัดระเบยี บการเงนิ และการ

คลัง ส่งเสริมการปลูกข้าว การอุตสาหกรรม การค้าและการพาณิชย์ และเมื่อประเทศไทยใช้แผนพัฒนา

เศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ.2504-2509) เศรษฐกิจไทยได้มีการเปล่ยี นแปลงอย่างมาก มอี ัตราการเติบโต

ทางด้านการสง่ ออกสินค้าอตุ สาหกรรมและบริหาร มกี ารเปดิ รับการลงทุนในภาคอุตสาหกรรม อสงั หารมิ ทรัพย์

และธุรกิจประเภทต่างๆจากนักลงทุนต่างชาติจนกระทั่งเกิดวิกฤติเศรษฐกิจขึ้นใน พ.ศ.2540 รัฐบาลไทยจึงได้

น้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระร าชทานเป็นแนวทางในการ

พฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ

สังคมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ในอดีตเป็นสังคมเกษตรกรรมที่มีความผูกพันกับธรรมชาติ และรับ

อิทธิพลทางพระพุทธศาสนา ซึ่งสะท้อนอย่างชัดเจนในวิถีการดาเนินชีวิตและขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีเป็น

เอกลกั ษณไ์ ทยและมรดกทางวฒั นธรรมทส่ี บื ต่อมาจนถึงปจั จุบนั

ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวงั

1.อธิบายเศรษฐกจิ สมัยรตั นโกสินทร์ตอนตน้ ได้
2.อธิบายเศรษฐกิจสมยั ปฏริ ูปบ้านเมอื งใหท้ นั สมัยตามแบบตะวันตกได้
3 อธิบายการพัฒนาเศรษฐกจิ สมยั ประชาธิปไตยได้
4.อธิบายสังคมไทยสมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนต้นได้
5 อธบิ ายสงั คมไทยสมยั ปฏริ ปู บ้านเมอื งได้
6.อธบิ ายสังคมไทยสมัยประชาธิปไตยได้
สมรรถนะรายวชิ า
1.แสดงความรูเ้ ก่ยี วกับกระบวนการทางประวตั ศิ าสตร์
2.เปรียบเทยี บการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรมของประวตั ศิ าสตรช์ าติไทย
สาระการเรยี นรู้

57

หน่วยท่ี 8 เศรษฐกิจและสังคม สมัยรตั นโกสนิ ทร์
1.เศรษฐกิจสมยั รัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น
2.เศรษฐกจิ สมัยปฏิรปู บ้านเมืองให้ทนั สมยั ตามแบบตะวนั ตก
3.การพฒั นาเศรษฐกจิ สมัยประชาธิปไตย
4.สงั คมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
5.สังคมไทยสมยั ปฏริ ปู บ้านเมือง
6.สังคมไทยสมยั ประชาธิปไตย
ขนั้ นาเขา้ สู่การเรียน
1.ครูถามนักเรยี นว่าอาชีพหลักของคนไทยคืออะไร และเพราะเหตใุ ด
2.ครใู หน้ ักเรียนดภู าพ แลว้ ถามว่าคนในภาพกาลังทาอะไร (บาตร)

ข้นั สอน
3.ครูสนทนากบั นักเรยี นเกย่ี วกับเศรษฐกจิ สมยั รตั นโกสนิ ทร์ตอนตน้
4.ครูให้นกั เรียนดภู าพดา้ นล่าง จากนนั้ อธบิ ายเกยี่ วกบั การค้ากับต่างประเทศ

58

5.ครูให้นักเรียนแบง่ ออกเปน็ 5 กลมุ่ สมมตติ นเองเป็นกล่มุ คนอาชีพต่างๆในรสมยั รัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น
จากน้ันออกมาบอกเลา่ สภาพวิถีชวี ิตของอาชีพตนเองในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ตอนตน้
6.ครูสนทนากบั นักเรียนเกยี่ วกบั ผลกระทบจากสนธสิ ัญญาเบาร่งิ และเศรษฐกจิ สมัยปฏริ ูปบ้านเมอื งให้ทนั สมัย
ตามแบบตะวนั ตก
7.ครูเขียนคาว่า “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ” จากนน้ั ถามว่าคืออะไร และครูอธบิ ายเร่ืองการ
พฒั นาเศรษฐกจิ สมยั ประชาธิปไตย
8.ครูเขยี นคาวา่ ชนช้นั ปกครองและชนชั้นใต้ปกครองไว้บนกระดาน จากนัน้ ถามนักเรียนว่าแต่ละชนชัน้ มีใคร
บา้ ง ครสู นทนากบั นักเรียนเกี่ยวกับสงั คมไทยสมยั รตั นโกสินทร์ตอนตน้
9.ครนู ักเรียนดูภาพแลว้ ถามว่าภาพน้คี ืออะไร (ภาพตาราแพทยแ์ ผนไทย ทีวัดโพธิ)์

10.ครถู ามนักเรียนว่าทาไมภาพนจ้ี งึ อยู่ที่วัด (เพราะเปน็ สถานศกึ ษา) และปัจจุบนั การศึกษาเปลย่ี นไปอยา่ งไร
11.ครสู นทนากับนักเรียนเรื่องสงั คมไทยสมัยปฏริ ูปบ้านเมือง
12.ครูถามนักเรียนว่าสงั คมไทยสมัยประชาธิปไตยคือสมยั ปัจจบุ ัน มีความเปลย่ี นแปลงจากอดีตอยา่ งไร
จากนั้นครสู รุปเพิ่มเติม
ขน้ั สรปุ และประยกุ ต์

59

13.ครใู ห้นกั เรียนทาคาถามท้ายหน่วยการเรียนรู้หนว่ ยที่ 8
สอื่ และแหล่งเรียนรู้

1.หนังสือเรยี นวชิ าประวัตศิ าสตร์ชาติไทย
2.กิจกรรมการเรียนการสอน
3.ภาพประกอบ
หลกั ฐาน
1.บนั ทึกการสอนของครู
2.ใบเชค็ รายชอ่ื
3.แผนการจัดการเรยี นรู้
การวัดผลและการประเมินผล
วิธวี ดั ผล
1.ประเมนิ ผลความก้าวหนา้ ของตนเอง
2.สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
3.ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ
4.การสังเกตและประเมินผลพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอันพึง
ประสงค์
เครอ่ื งมือวดั ผล
1.แบบประเมินผลความก้าวหนา้ ของตนเอง
2.สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
3.ประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4.การสังเกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ
ประสงค์
เกณฑ์การประเมนิ ผล
1.แบบประเมนิ ผลความก้าวหน้าของตนเอง เกณฑผ์ า่ น 50% ขึ้นไป
2.เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ีชอ่ งปรับปรงุ
3.เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป)
4.การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอันพงึ
ประสงค์ คะแนนขึน้ อยู่กบั การประเมินตามสภาพจริง

60

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ให้นกั เรียนจดั บอร์ด time line การเปล่ียนแปลงของสงั คมไทยจนถงึ ปัจจบุ นั


Click to View FlipBook Version