The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phatthanaporn, 2019-03-24 22:24:25

แฟ้มสะสมผลงานครู2/2561

๖๕

แบบประเมินผลการเรยี นร้กู ่อนเรียน/หลงั เรียน

จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องที่สุด

๑. วตั ถุประสงคห์ ลกั ของทกุ ศาสนาทเ่ี หมอื นกนั คอื สง่ิ ใด

ก. เพอ่ื ประเทศชาตมิ คี วามมนั่ คง เขม้ แขง็

ข. เพอ่ื สรา้ งฐานอานาจ พลงั และความเป็นผนู้ า

ค. สง่ เสรมิ ความเขา้ ใจอนั ดี มสี นั ติ ขจดั ความแตกรา้ วระหวา่ งมนุษยชาติ

ง. สง่ เสรมิ หลกั ประชาธปิ ไตย สทิ ธิ เสรภี าพ

จ. สรา้ งศรทั ธาใหไ้ ดม้ ากทส่ี ดุ

๒. ขอ้ ใดใหค้ วามหมายของคาวา่ “ศาสนา” ไมถ่ กู ต้อง

ก. ลทั ธคิ วามเช่อื ของมนุษย์ ข. คาสอน ขอ้ บงั คบั

ค. ความเป็นใหญ่ในแผ่นดนิ ง. บญุ บาป ปรมตั ถ์

จ. ชวี ติ หลงั ความตาย

๓. ขอ้ ใดกลา่ วถงึ กาเนดิ ของศาสนาไมถ่ กู ต้อง

ก. ความเชอ่ื เร่อื งผี วญิ ญาณ ข. ความเชอ่ื เร่อื งไสยศาสตร์ การบชู ายญั

ค. ความแปรผนั ของธรรมชาติ ง. ความตอ้ งการเป็นผนู้ าในสงั คม

จ. ความเชอ่ื ของบรรพบรุ ษุ

๔. จากคากลา่ วทว่ี ่า “ผใู้ ดทาชวั่ ในทแ่ี จง้ จะถกู มนุษยล์ งโทษ ผใู้ ดทาชวั่ ในทล่ี บั จะถูกเทวดาลงโทษ” ไม่มี

ความเกย่ี วขอ้ งกบั ความเชอ่ื เร่อื งใด

ก. นรก–สวรรค์ ข. บุญ–บาป
ง. ภพปจั จบุ นั –ภพในชาตหิ น้า
ค. เทวดา–ซาตาน

จ. ไสยศาสตร-์ คาถาอาคม

๕. “สงั คมไทยเป็นสงั คมแหง่ เมอื งพทุ ธ” จากคากล่าว น้แี สดงถงึ ความสาคญั ของศาสนาประการใด

ก. เป็นสงิ่ ยดึ เหน่ยี วจติ ใจ ข. เป็นเคร่อื งมอื สรา้ งความสามคั คี

ค. เป็นมรดกของสงั คม ง. เป็นเครอ่ื งหมายของสงั คม

จ. เป็นวฒั นธรรม

๖. การทาบุญตกั บาตร ไหวพ้ ระ บรรพชา อุปสมบทเป็นตวั อยา่ งของความสาคญั ทางศาสนาในแงใ่ ด

ก. เป็นบรรทดั ฐานของสงั คม

ข. เป็นพน้ื ฐานของขนบธรรมเนยี มประเพณี

ค. เป็นมรดกของสงั คม

ง. เป็นเคร่อื งขดั เกลาสมาชกิ ของสงั คม

จ. เป็นพธิ กี รรม

๖๖

๗. ศาสนามอี ทิ ธพิ ลในการก่อกาเนิดสง่ิ ใด

ก. พธิ กี รรม ข. ศลิ ปกรรม

ค. ประเพณี ง. วฒั นธรรม

จ. ถูกทกุ ขอ้

๘. ศาสนาใดเป็นศาสนาประเภทเทวนิยม

ก. ศาสนาพทุ ธ ครสิ ต์ ชนิ โต ข. ศาสนาพุทธ พราหมณ์-ฮนิ ดู

ค. ศาสนาพุทธ ครสิ ต์ ยวิ ง. ศาสนาครสิ ต์ อสิ ลาม พราหมณ์-ฮนิ ดู

จ. ถูกทกุ ขอ้

๙. ศาสนาใดเป็นศาสนาอเทวนิยม

ก. ศาสนาเชน ศาสนาพทุ ธ ข. ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู

ค. ศาสนาเชน ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู ง. ศาสนาพทุ ธ ครสิ ต์

จ. ถูกทกุ ขอ้

๑๐. ใครใชห้ ลกั การของศาสนาในการดาเนินชวี ติ ไดด้ ที ส่ี ดุ

ก. โสภาแบง่ เงนิ สว่ นหน่งึ จากคา่ ขนมหยอดใสก่ ระปกุ ทุกวนั

ข. โสภณบรจิ าคเงนิ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบอุทกภยั

ค. โสพศิ โตเ้ ถยี งกบั เพอ่ื นร่วมงานทต่ี กั เตอื นเรอ่ื งทเ่ี ธอมาทางานสาย

ง. โสฬสแบ่งอาหารใสป่ ่ินโตไปกนิ ทท่ี างาน

จ. โสภลี างานเพ่อื ไปทาบญุ ทว่ี ดั

เฉลยแบบประเมินผลการเรียนรกู้ ่อนเรียน/หลงั เรยี น

๑ ค๓ ง ๕ ง ๗ จ ๙ก
๒ ค ๔ ง ๖ ข ๘ ง ๑๐ ข

๖๗

บตั รคาถาม

๑. อธบิ ายความหมายของคาว่า “ศาสนา”

๒. ขณะน้ีทา่ นนบั ถอื ศาสนาใดอยู่ และทา่ นคดิ ว่าทา่ นเป็นศาสนิกชนทส่ี มบรู ณ์หรอื ไม่ เพราะเหตุใด

๓. ศรทั ธา หมายถงึ อะไร

๔. ศาสนาทน่ี บั ถอื เทวนิยมเป็นอยา่ งไร

๕. อรยิ สจั ๔ ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง

เฉลยบตั รคาถาม

เฉลยบตั รที่ ๑ : ลทั ธคิ วามเชอ่ื ของมนุษยอ์ นั มหี ลกั คอื แสดงกาเนดิ และความสน้ิ สดุ ของโลก
เป็นตน้ อนั เป็นไปในฝา่ ยปรมตั ถป์ ระการหน่ึง แสดงหลกั ธรรมเกย่ี วกบั บญุ บาป อนั เป็นไปใน
เฉลยบตั รท่ี ๒ ฝา่ ยศลี ธรรมประการหน่งึ พรอ้ มทงั้ ลทั ธพิ ธิ ที ก่ี ระทาตามความเหน็ หรอื ตามคาสอนในความ
เฉลยบตั รท่ี ๓
เฉลยบตั รท่ี ๔ เช่อื ถอื นนั้
เฉลยบตั รท่ี ๕
: คาตอบขน้ึ อย่กู บั ดุลพนิ จิ ของผสู้ อน

: ความเช่อื ความเชอ่ื ทป่ี ระกอบดว้ ยเหตุผล หรอื ความเช่อื ในสง่ิ ทค่ี วรเชอ่ื

: ศาสนาทน่ี บั ถอื เทวนยิ มเป็นศาสนาทน่ี บั ถอื เทพเจา้ ว่าเป็นผสู้ รา้ งโลกและสรรพสงิ่

: ๑. ทุกข์ ๒. สมทุ ยั ๓. นโิ รธ ๔. มรรค

๖๘

๖๙

๗๐

๗๑

๗๒

บนั ทึกหลงั การสอน

ขอ้ สรปุ หลงั การสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปัญหาท่ีพบ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ัญหา
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

๗๓

แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบูรณาการท่ี ๙ หน่วยที่ ๘
สอนครงั้ ท่ี ๑๗-๑๘
รหสั วิชา ๒๐๐๐–๑๕๐๑ วิชา หน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม จานวน ๒ ชวั่ โมง
ชื่อหน่วย/เรอื่ ง พุทธประวตั ิ วนั สาคญั องคป์ ระกอบ
ทางพระพุทธศาสนา และเรอ่ื งน่ารจู้ ากพระไตรปิฎก

จดุ ประสงคร์ ายวิชา

๑. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั สถาบนั ครอบครวั และสถาบนั ทางสงั คม สทิ ธหิ น้าทข่ี องพลเมอื งดี
และหลกั ธรรมของศาสนา

๓. ปฏบิ ตั ติ นเป็นศาสนิกชนทด่ี ตี ามหลกั ธรรมของศาสนาทต่ี นนบั ถอื
๔. ตระหนกั ถงึ การดารงชวี ติ ทถ่ี กู ตอ้ งดงี ามในฐานะศาสนิกชนและพลเมอื งดี

สมรรถนะรายวิชา

๑. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั สถาบนั ครอบครวั และสถาบนั ทางสงั คม สทิ ธหิ น้าทพ่ี ลเมอื งดี และหลกั ธรรม
ของศาสนา

๓. นาหลกั ศาสนา หลกั ธรรม และหลกั กฎหมาย มาประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื การเป็นพลเมอื งดี

สาระสาคญั

พระพุทธประวตั ิในหน่วยน้ีเป็นการแสดงให้เหน็ ถึงพระประวตั ิของพระพุทธเจา้ ตงั้ แต่ประสตู ิ จนถึง
ปรนิ ิพพาน แสดงให้เหน็ ว่าตลอดพระชนม์ชพี พระพุทธเจ้าได้ทรงสรา้ งคุณูปการต่างๆ ให้กบั มนุษยชาติ และ
หลักธรรมท่ีทรงแสดงไว้เป็นเวลานานกว่า ๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว ยังคงทันสมัยมาจนทุกวันน้ี วันสาคัญทาง
พระพทุ ธศาสนาคอื วนั สาคญั ในพทุ ธประวตั ิ

องคป์ ระกอบของพระพุทธศาสนามี ๓ ประการ คอื พระพุทธคุณ ๙ พระธรรมคุณ ๖ และพระสงั ฆคุณ ๙
เร่อื งน่ารจู้ ากพระไตรปิฎก ในทน่ี ้คี อื พทุ ธพยากรณ์ ๑๘ ประการ

ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั

๑. อธบิ ายพทุ ธประวตั ไิ ด้

๒. อธบิ ายวนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนาได้

๓. บอกองคป์ ระกอบของพระพุทธศาสนาได้

๔. บอกคมั ภรี ส์ าคญั และเรอ่ื งน่ารจู้ ากพระไตรปิฎกได้

๕. มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง

๑. ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ ๒. ความมวี นิ ยั

๓. ความรบั ผดิ ชอบ ๔. ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ

๕. ความเช่อื มนั่ ในตนเอง ๖. การประหยดั
๗. ความสนใจใฝร่ ู้ ๘. การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั

๙. ความรกั สามคั คี ๑๐. ความกตญั ญกู ตเวที

๗๔

สาระการเรยี นรู้

๑. พระพทุ ธประวตั โิ ดยสงั เขป
๒. ศกึ ษาพทุ ธประวตั จิ ากพระพทุ ธรปู ปางต่างๆ
๓. วนั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา
๔. องคป์ ระกอบของพระพทุ ธศาสนา
๕. คมั ภรี ส์ าคญั ทางพระพทุ ธศาสนา
๖. เรอ่ื งน่ารจู้ ากพระไตรปิฎก

กิจกรรมการเรยี นรู้

ขนั้ นาเข้าสบู่ ทเรยี น (การสรา้ งศรทั ธา)
๑. ครสู นทนากบั นกั เรยี นเกย่ี วกบั พุทธประวตั ิ
๒. ครถู ามนกั เรยี นถงึ ศาสนาทน่ี กั เรยี นนบั ถอื โดยการสมุ่
๓. ครเู น้นใหน้ ักเรยี นใหค้ วามสาคญั กบั คาสอนซง่ึ เป็นหวั ใจของพระพุทธศาสนา คอื การไมท่ าชวั่ ทงั้ ปวง
ทาแต่ความดี และทาจติ ใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ การจะเป็นคนดไี ดน้ นั้ กจ็ ะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามหลกั คาสงั่ สอน และหลกั ธรรมสาคญั
ของพระพุทธศาสนาซง่ึ ปรากฏอยใู่ นพระไตรปิฎก เชน่ ความเช่อื เร่อื งกรรม อรยิ สจั ๔ ไตรลกั ษณ์ เป็นตน้

ขนั้ สอน
๔. ครูอธิบายเก่ยี วกบั การตรสั รู้และการก่อตัวพระพุทธศาสนาในชมพูทวปี หลกั ธรรมสาคญั ของ
พระพทุ ธศาสนา วนั สาคญั ใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นรเู้ พอ่ื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั
๕. นกั เรยี นทาใบงาน
๖. ครสู มุ่ ถามนกั เรยี นเกย่ี วกบั พระพุทธรปู ประจาวนั เกดิ ของตน
๗. ครอู ธบิ ายถงึ คมั ภรี ส์ าคญั ทางพระพทุ ธศาสนา
๘. ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาเร่อื งน่ารจู้ ากพระไตรปิฎก
๙. ครูสุ่มถามนักเรียนเก่ยี วกบั ความเห็นจากการศกึ ษาเร่อื งน่ารู้จากพระไตรปิฎก ว่าสมั พันธ์กับ
เหตุการณ์ในสงั คมปจั จุบนั หรอื ไมอ่ ย่างไร

ขนั้ สรปุ และการประยุกต์
๑๐. นกั เรยี นบนั ทกึ ความดี และนาผลการบนั ทกึ ความดไี ปพลอ็ ตกราฟ เพ่อื ดพู ฒั นาการความดตี ่อไป

สื่อและแหล่งการเรียนรู้

๑. หนงั สอื เรยี น วชิ าหน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม ของบรษิ ทั สานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ จากดั
๒. กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้
๓. แบบประเมนิ ผล

๗๕

๔. ใบงาน
๕. บนั ทกึ ความดี
๖. แบบประเมนิ ตนเอง
๗. สอ่ื PowerPoint วชิ าหน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม

หลกั ฐาน

๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม
๒. การเชค็ ชอ่ื เขา้ เรยี น
๓. บนั ทกึ ความดี
๔. บนั ทกึ พฒั นาการความดี

การวดั ผลและการประเมินผล

วิธีวดั ผล
๑. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
๒. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่
๓. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่
๔. ตรวจคาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นร/ู้ ใบงาน
๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๖. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๗. ตรวจบนั ทกึ ความดี

เครอื่ งมอื วดั ผล
๑. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
๒. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่ (โดยคร)ู
๓. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ (โดยนกั เรยี น)
๔. คาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นร/ู้ ใบงาน จากหนังสอื เรยี นวชิ าหน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๖. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและนักเรยี น

รว่ มกนั ประเมนิ
๗. บนั ทกึ ความดี

เกณฑก์ ารประเมินผล
๑. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ตอ้ งไมม่ ชี ่องปรบั ปรงุ
๒. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ คอื ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๓. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๔. ตอบคาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นรแู้ ละทาใบงานไดท้ ุกใบงานจงึ จะถอื ว่าผ่านการประเมนิ
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เกณฑผ์ ่าน คอื พอใช้ (๕๐ % ขน้ึ ไป)

๗๖

๖. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อย่กู บั การประเมนิ
ตามสภาพจรงิ

๗. การบนั ทกึ ความดไี ม่มเี กณฑ์ ให้นักเรยี นบนั ทึกตามสภาพจรงิ แต่นักเรียนจะสามารถทราบ
ผลการบนั ทกึ ความดดี ว้ ยการนาขอ้ มูลบนั ทกึ ความดใี นแต่ละครงั้ มาเขยี นกราฟแสดงจะเหน็
พฒั นาการความดขี องตนเองลงในแบบพฒั นาความดที อ่ี ยดู่ า้ นหลงั ของหน้าปกหนงั สอื เรยี น

กิจกรรมเสนอแนะ

ใหน้ กั เรยี นทาบนั ทกึ ความดแี ละนาผลไปลงในแผนพฒั นาการความดี

๗๗

แบบประเมินผลการเรียนร้กู ่อนเรียน/หลงั เรียน

จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องท่ีสุด

๑. สงิ่ ทท่ี าใหพ้ ระพทุ ธเจา้ ตดั สนิ ใจเสดจ็ ออกผนวชคอื อะไร

ก. พญามาร ข. เทวทตู ๔

ค. ความทุกขข์ องประชาชน ง. ความขดั แยง้ ในหม่พู ระญาติ

จ. ทรงตอ้ งการสละความสขุ สบาย

๒. ในทางพระพุทธศาสนาความทุกขข์ องมนุษยค์ อื อะไร

ก. ความจน ข. การไมม่ ลี าภ ไม่มยี ศ

ค. การไม่มคี นคบหาสมาคม ง. การเกดิ แก่ เจบ็ ตาย

จ. อปุ สรรคต่างๆ

๓. พระธรรมกณั ฑแ์ รกหรอื ปฐมเทศนามชี ่อื ว่าอะไร

ก. โอวาทปาฏโิ มกข์ ข. ธมั มจกั กปั ปวตั ตนสตู ร

ค. อรยิ สจั ๔ ง. กาลามสตู ร

จ. ปฐมยาม

๔. ขอ้ ใดคอื กามสขุ ลั ลกิ านุโยค

ก. แนวทางปฏบิ ตั ทิ ส่ี รา้ งความบบี คนั้ ข. การปฏบิ ตั สิ ดุ โต่ง

ค. การยดึ ตดิ ในความหรหู รา ง. กดดนั ตนเอง

จ. การปฏบิ ตั เิ พอ่ื หลุดพน้
๕. ในกลุ่มปญั จวคั คยี ใ์ ครไดด้ วงตาเหน็ ธรรมเป็นคนแรก

ก. โกณฑญั ญะ ข. วปั ปะ

ค. ภทั ทยิ ะ ง. มหามานะ

จ. อสั สชิ

๖. ขอ้ ใดไมใ่ ชใ่ จความของโอวาทปาฏโิ มกข์

ก. การไมท่ าความชวั่ ทงั้ ปวง

ข. การทาความดใี หถ้ งึ พรอ้ ม

ค. การทาจติ ใจของตนใหบ้ รสิ ทุ ธผิ์ ุดผอ่ งอย่เู สมอ

ง. การรกั เพ่อื นมนุษย์

จ. ขอ้ ข. และ ง. ถูก

๗. พระพทุ ธรปู ประทบั นงั่ ในท่าสมาธโิ ดยพระหตั ถข์ วาวางบนพระเพลา น้วิ พระหตั ถช์ ล้ี งพน้ื ดนิ พระหตั ถซ์ า้ ย
หงาย ฝา่ พระหตั ถว์ างไวบ้ นพระเพลาคอื พระพุทธรปู ปางอะไร

ก. พระพทุ ธรปู ปางถวายเนตร ข. พระพุทธรปู ปางไสยาสน์
ง. พระพุทธรปู ปางปา่ เลไลย์
ค. พระพุทธรปู ปางมารวชิ ยั

จ. พระพุทธรปู ปางสมาธิ

๗๘

๘. อนิมสิ เจดยี ์ เกย่ี วขอ้ งกบั พระพุทธรปู ปางใด

ก. ปางถวายเนตร ข. ปางหา้ มญาติ

ค. ปางไสยาสน์ ง. ปางอุม้ บาตร

จ. ปางแสดงพระธรรมเทศนา

๙. พทุ ธพยากรณ์ ๑๖ ประการ มคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั ใคร

ก. พระเจา้ พมิ พสิ าร ข. พระเจา้ อชาตศตั รู

ค. พระเจา้ อโศกมหาราช ง. พระเจา้ ปเสนทโิ กศล

จ. พระยาลไิ ทย

๑๐. พฤตกิ รรม “ชงิ สกุ กอ่ นห่าม” เกดิ ขน้ึ ตรงกบั สบุ นิ นมิ ติ ใด

ก. ลกู โคซง่ึ เพง่ิ เกดิ กาลงั ยนื ใหแ้ มโ่ คกนิ นม

ข. มา้ มี ๒ ปาก และใชป้ ากทงั้ สองเคย้ี วหญา้

ค. กอ้ นหนิ ใหญ่ลอยน้าไดเ้ หมอื นเรอื

ง. ตน้ ไมเ้ ลก็ ๆ และพุม่ ไมผ้ ุดขน้ึ มาจากแผน่ ดนิ สงู เพยี งคบื เพยี งศอก แต่ผลดิ อกออกผล

จ. แกะไลต่ ามจบั เสอื เหลอื งกนิ

เฉลยแบบประเมินผลการเรียนรกู้ ่อนเรยี น/หลงั เรียน

๑ ข๓ ข ๕ ง ๗จ ๙ ง
๒ ง ๔ ง ๖ จ ๘ ก ๑๐ ง

๗๙

๘๐

๘๑

๘๒

๘๓

บนั ทึกหลงั การสอน

ข้อสรปุ หลงั การสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

เอกสารอ้างองิ 3.4

การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าหน้าท่พี ลเมืองและศีลธรรม
ของนักเรียนระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันปี ที่ 2/1
สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง
โดยใช้แบบฝึ กทักษะทางการเรียน

พฒั นาภรณ์ พระสุนิน

วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง
สังกดั สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ

ช่ือเรื่อง (ก)

ผศู้ ึกษาคน้ ควา้ การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าหนา้ ท่ีพลเมืองและศีลธรรม
ปี การศึกษา ของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ที่ 2/1
สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง
โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะทางการเรียน
นางสาวพฒั นาภรณ์ พระสุนิน

2562

บทคดั ยอ่

การวิจยั คร้ังน้ีมีวตั ถุประสงค์ เพ่ือสร้างแบบฝึ กทกั ษะทางการเรียนวิชาหน้าท่ีพลเมืองและ
ศีลธรรม เรื่อง มารยาทชาวพุทธ ของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั ปี ที่ 2 ท่ีมีประสิทธิภาพ
ตามเกณฑ์ 80 / 80 และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนและหลงั เรียนด้วยแบบฝึ ก
ทกั ษะการเรียน สาหรับนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ที่ 2

ประชากรท่ี ใช้ในการวิจัย เป็ นนักเรี ยนระดับประกาศนี ยบัตรวิชาชี พช้ันปี ที่ 2
ภาคเรียนท่ี 2 / 2562 วิทยาลยั เทคนิคระยอง จานวน 30 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการรวบรวมขอ้ มูล
ไดแ้ ก่ แบบฝึกทกั ษะการเรียน สถิติท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ไดแ้ ก่ ค่าร้อยละและค่าเฉล่ีย

ผลการวจิ ยั พบวา่

1.แบบฝึกทกั ษะทางการเรียนวชิ าหนา้ ท่ีพลเมืองและศีลธรรม เรื่อง มารยาทชาวพทุ ธ ของ
นกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ที่ 2/1 ที่ผวู้ จิ ยั สร้างข้ึนมีประสิทธิภาพ 86.98 / 87.00 ซ่ึง
เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80

2.ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง มารยาทชาวพทุ ธ ของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ
ช้นั ปี ท่ี 2/1 สูงข้ึนร้อยละ 87.14 ซ่ึงเป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80

(ข)

กติ ตกิ รรมประกาศ

การวจิ ยั ในช้นั เรียน วชิ าหนา้ ที่พลเมืองและศีลธรรม เรื่อง มารยาทชาวพทุ ธ ของนกั เรียน
ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ที่ 2/1 วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง โดยใช้ แบบฝึกทกั ษะทางการเรียน
สาเร็จสมบูรณ์ไดโ้ ดยความกรุณาเป็ นอยา่ งยงิ่ จาก

ขอขอบพระคุณ ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั เทคนิคระยอง ที่ใหค้ วามอนุเคราะห์องคค์ วามรู้ท่ีเป็น

ประโยชนใ์ นการจดั ทาการวิจยั ในช้นั เรียนคร้ังน้ี
ขอขอบคุณของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ที่ 2/1 วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง

จานวน 30 คน ที่ใหค้ วามร่วมมือในการศึกษาคน้ ควา้ และทดลองคร้ังน้ี
สุดทา้ ยน้ี ผศู้ ึกษาขอขอบพระคุณทุกทา่ นที่ไม่ไดเ้ อย่ นาม และมีส่วนช่วยในการวจิ ยั ฉบบั น้ี

พฒั นาภรณ์ พระสุนิน

สารบญั (ค)

บทท่ี หน้า

บทคดั ยอ่ (ก)
กิตติกรรมประกาศ (ข)
สารบญั (ค)
สารบญั ตาราง (จ)

1. บทนา 1
ภมู ิหลงั 3
วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 3
สมมุติฐานของการวจิ ยั 3
ความสาคญั ของการวจิ ยั 3
ของเขตของการวจิ ยั 3
เน้ือหา 3
ประชากร/กลุ่มตวั อยา่ 4
ตวั แปรท่ีใชใ้ นการวจิ ยั 4
นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
6
2. เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วข้อง 11
หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 11
ความหมายของแบบฝึกทกั ษะ 15
แนวคิด/ทฤษฎีในเรื่องแบบฝึ กทกั ษะ 17
ความสาคญั ของแบบฝึกทกั ษะ 24
องคป์ ระกอบของแบบฝึกทกั ษะ
งานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง

สารบัญ (ต่อ) (ง)

บทที่ หน้า

3. วธิ ีการดาเนินการวจิ ัย 27
กลุ่มเป้ าหมาย 27
เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศึกษา 29
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 29
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 30
สถิติท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
31
4. ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 31
สญั ลกั ษณ์ที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 31
ลาดบั ข้นั ตอนในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 35
35
5. สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 36
วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 36
ขอบเขตของการวจิ ยั 37
เคร่ืองมือที่ใชใ้ นของการวจิ ยั 38
สรุปผลการวจิ ยั
อภิปรายผลการวจิ ยั 39
ขอ้ เสนอแนะ

บรรณานุกรม

ภาคผนวก
ภาคผนวก ก รายนามผเู้ ช่ียวชาญในการตรวจคุณภาพเครื่องมือ
ภาคผนวก ข เคร่ืองมือในการศึกษา

(จ)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า

1. คา่ เฉล่ีย และร้อยละ ของแบบทดสอบก่อนเรียน หลงั เรียน 32
และคะแนนแบบฝึกทกั ษะทางการเรียน เรื่อง ภมู ิศาสตร์ 34

2. ค่าเฉล่ีย และร้อยละ ของคะแนนแบบฝึกทกั ษะทางการเรียน เรื่อง ภมู ิศาสตร์

บทท่ี 1

บทนา

ภูมหิ ลงั

พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ได้บญั ญตั ิในเรื่องแนวทางการจดั การศึกษา
หมวด 4 ตามมาตรา 22 ไวว้ า่ การจดั การศึกษาตอ้ งยึดหลกั วา่ ผเู้ รียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ
พฒั นาตนเองไดแ้ ละถือวา่ ผูเ้ รียนมีความสาคญั ที่สุดในกระบวนการเรียนรู้ ตอ้ งจดั เน้ือหาสาระและ
กิจกรรมให้สอดคลอ้ งกบั ความสนใจและความถนดั ของผูเ้ รียนคานึงถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคล
จดั ให้ผูเ้ รียนเรียนรู้ด้วยวิธีต่าง ๆตามสติปัญญาและความสามารถของตนการจดั การศึกษามุ่งเน้น
ความสาคญั ท้งั ดา้ นความรู้ ความคิด ความสามารถ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และความรับผดิ ชอบ
ตอ่ สังคม เพ่อื พฒั นาคนให้มีความสมดุล โดยยดึ หลกั ผเู้ รียนสาคญั ท่ีสุด ( กระทรวงศึกษาธิการ.2542
: 23 )

การวจิ ยั เป็นเคร่ืองมือสาคญั ประการหน่ึงท่ีจะช่วยใหก้ ารปฏิรูปการเรียนรู้ ประสบความสาเร็จ
ดงั จะเห็นไดจ้ ากพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซ่ึงเป็ นกฎหมายแม่บททางการศึกษา
ของไทย ไดใ้ ห้ความสาคญั กบั การวิจยั และกาหนดมาตรา หลายมาตราท่ีช้ีใหเ้ ห็นวา่ การวิจยั เป็ นส่วน
หน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ กล่าวคือ มาตรา 24 (5) ระบุให้ใช้การวิจัยเป็ นส่วนหน่ึงของ
กระบวนการเรียนรู้ ผูเ้ รียนสามารถใช้การวิจยั เพ่ือศึกษาคน้ ควา้ หาคาตอบหรือแกไ้ ขปัญหาที่เกิดข้ึน
การวิจยั จึงสัมพนั ธ์กบั กระบวนการเรียนรู้ ซ่ึงจะช่วยฝึ ก กระบวนการคิด วิเคราะห์ หาเหตุผลในการ
ตอบปัญหา และแกไ้ ขปัญหา มาตรา 30 ระบุใหค้ รูผสู้ อนทาการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้ใหเ้ หมาะสม
กบั ผเู้ รียน ผสู้ อนนอกจากจดั กระบวนการเรียนการสอนแลว้ ยงั ใชก้ ารวิจยั เพ่ือศึกษาปัญหาหรือสิ่งที่
ตอ้ งการรู้คาตอบ พฒั นาควบคู่กนั ไปอยา่ งต่อเน่ือง โดยบูรณาการกระบวนการจดั การเรียนการสอน
และทาการวจิ ยั ใหเ้ ป็นกระบวนการเดียวกนั

การเรียนการสอนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมในโรงเรียน ส่วนใหญ่จดั
ผเู้ รียนเป็ นห้อง ๆ แต่ละห้องมีผูเ้ รียนจานวนมาก โดยให้ผเู้ รียนเรียนคละกนั ท้งั เก่งและอ่อน ดงั น้ัน
การปลูกฝังความมีระเบียบวนิ ยั คุณธรรม ความซ่ือสัตย์ ความเป็ นมนุษย์ ความกตญั ญู รักเกียรติภูมิ
แห่งตน เห็นแก่ประโยชนส์ ่วนรวม มีความรู้จกั คิดวเิ คราะห์ การทางานเป็นกลุ่ม เคารพสิทธิของผอู้ ่ืน
เสียสละรักประเทศชาติ เห็นคุณค่าอนุรักษ์และพฒั นาศิลปวฒั นธรรมและส่ิงแวดล้อม ศรัทธาใน
ศาสนา จึงพฒั นาให้ผเู้ รียนมีคุณธรรมจริยธรรม และเป็ นมนุษยท์ ี่สมบูรณ์ ไดย้ าก เพราะขดั กบั หลกั
จิตวิทยาและธรรมชาติของการเรียนรู้ เพราะผเู้ รียนแต่ละคนมีความแตกต่างกนั ในด้านสติปัญญา
ความถนดั คุณธรรมจริยธรรม ความสามารถและประสบการณ์ จึงทาให้ผเู้ รียนมีความรู้และความ

2

เขา้ ใจ ในเรื่องที่เรียนแตกต่างกนั ถา้ ครูสอนเร็วผเู้ รียนที่เรียนออ่ นจะตามไม่ทนั ครู สอนซ้า
อธิบายมาก ๆ ผูเ้ รียนก็จะเกิดความเบ่ือหน่ายและถ้าเป็ นผูเ้ รียนท่ียงั เล็กๆ การปลูกฝังคุณธรรม
จริยธรรมจึงเป็นไปไดย้ ากครูผสู้ อนตอ้ งหาวธิ ีการสอนหลายๆอยา่ งเพ่อื ทาใหผ้ เู้ รียนสนใจและมีเจคติที่
ดีต่อกลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาแลวฒั นธรรม ในการแกป้ ัญหาดงั กล่าวน้ีวิธีหน่ึงที่จะช่วยในการ
เรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและยงั ปลูกฝังระเบียบวินัยคุณธรรมจริยธรรม ให้ดีข้ึนได้แก่การ
นาเอาวิธีการสอนมาให้ใชเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะวชิ า กล่าวคือครูจะตอ้ งหาวิธีการสอน ที่ไดผ้ ลมาใช้
กบั นักเรียน ซ่ึงจะเป็ นสิ่งท่ีทาให้การเรียนการสอนดาเนินไปอยา่ ง มีประสิทธิภาพมากข้ึนกว่าเดิม
ปัจจุบนั การเจริญกา้ วหน้าทางวิทยาการดา้ นต่างๆ ของโลกยุคโลกาภิวฒั น์ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคม วฒั นธรรม คุณธรรม จริยธรรม ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ จึงทาให้นักเรียนมี
พฤติกรรมเปล่ียนแปลงไป

เม่ือพิจารณาเป้ าหมายประการหน่ึงของการจดั การเรียนรู้ คือ เพ่ือให้ผูเ้ รียนเป็ นมนุษย์ท่ี
สมบูรณ์ ดี เก่ง มีสุข ผสู้ อนจึงมีบทบาทสาคญั ในการสร้างผเู้ รียนใหไ้ ปสู่เป้ าหมายดงั กล่าว โดยจะตอ้ ง
คานึงมาตรฐานคุณภาพการจดั การเรียนรู้และบูรณาการการจดั การเรียนการสอนกบั การวิจยั ให้เป็ น
กระบวนการเดียวกนั นน่ั คือ ผสู้ อนจะตอ้ งจดั กระบวนการเรียนการสอน และใชก้ ารวิจยั เป็ นส่วน
หน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ ทาการวิจยั เพื่อจดั กิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกบั ผูเ้ รียนในแต่ละ
ระดับการศึกษา และนาผลการวิจยั มาใช้ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนบางส่วนของผูเ้ รียน
กระบวนการวิจยั จะเป็ นการส่งเสริมให้ผูเ้ รียนมีเครื่องมือการเรียนรู้ติดตวั ไปตลอดชีวิต เพราะการ
เรียนรู้ดว้ ยกระบวนการวิจยั จะฝึ กให้ผเู้ รียนคน้ ควา้ ทดลองหรือศึกษาหาความรู้อยา่ งมีแผนงานที่เป็ น
ระบบน่าเช่ือถือได้

การศึกษาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมเป็ นการศึกษาเก่ียวกบั วถิ ีชีวิตความเป็ นอยขู่ อง
มนุษย์ ลกั ษณะทางกายภาพและสภาพสิ่งแวดลอ้ มที่อยู่ลอ้ มรอบตวั เรา เป็ นการเรียนรู้ท่ีจะสามารถ
ปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพสังคมปัจจุบนั ไดอ้ ยา่ งมีความสุข นางผสมพร ประจนั ตะเสน ( 2550 )ปัญหาที่
พบในการจดั การเรียนการสอนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เรื่องภูมิศาสตร์ นกั เรียนมี
ความสับสนเรื่องภูมิศาสตร์ในทอ้ งถ่ินภาคต่างๆของประเทศไทย ทาให้นกั เรียนเกิดความเบื่อหน่าย
ทอ้ แท้ ไม่สนใจเรียน ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิในการเรียนไม่ดี ทางผวู้ จิ ยั จึงเห็นสมควรแกป้ ัญหาโดยการ
สร้างชุดฝึกการเรียน ซ่ึงจะส่งผลใหน้ กั เรียนสนใจเรียนมากข้ึนและมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดีข้ึน

3

วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย

1.เพ่ือสร้างแบบฝึกทกั ษะทางการเรียนวชิ าหนา้ ที่พลเมืองและศีลธรรม เร่ือง มารยาทชาวพทุ ธ
ของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ท่ี 2/1 วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง ท่ีมีประสิทธิภาพตาม
เกณฑ์ 80 / 80

2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนและหลงั เรียนดว้ ยแบบฝึกทกั ษะการเรียน
สาหรับนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ท่ี 2/1

สมมตุ ิฐานของการวจิ ยั

นกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ที่ 2/1ที่ไดร้ ับการสอนโดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ
ทางการเรียน มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน

ความสาคญั ของการวจิ ยั

1. นกั เรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าหนา้ ที่พลเมืองและศีลธรรม เรื่อง มารยาทชาวพุทธ
เพ่ิมข้ึน

2. ไดแ้ บบฝึกทกั ษะการเรียนที่ผา่ นการพฒั นาและหาประสิทธิภาพจากผเู้ ช่ียวชาญ
3 โรงเรียนสามารถนาแนวทางน้ีไปส่งเสริมใหค้ รูคนอ่ืน ๆ ไดน้ าไปพฒั นากลุ่มสาระอ่ืนๆได้
ตามมาตรฐานวชิ าชีพ

ขอบเขตของการวจิ ยั

1. เนือ้ หา
การวจิ ยั คร้ังน้ีผวู้ จิ ยั ไดใ้ ชเ้ น้ือหาของกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมของ

นกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ท่ี 2/1 ใน เรื่อง มารยาทชาวพทุ ธ ไดแ้ ก่

1.1การไหว้
1.2 การกราบ
1.3 การนง่ั
1.4 การยนื
1.5 การเดิน

4

2. ประชากร/กล่มุ ตวั อย่าง
ประชากร ที่ใชใ้ นการวจิ ยั ในเร่ืองน้ี ไดแ้ ก่ นกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี

ที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 2 / 2562 วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง อ.เมือง จ.ระยอง จานวน 30 คน
กล่มุ ตัวอย่าง ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ในเร่ืองน้ี ไดแ้ ก่ ที่ใชใ้ นการวจิ ยั ในเรื่องน้ี ไดแ้ ก่

นกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ท่ี 2/1 ภาคเรียนที่ 2 / 2562 วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง อ.เมือง
จ.ระยอง จานวน 30 คน ซ่ึงไดม้ าโดยการเลือกแบบเจาะจง

3. ตวั แปรทใี่ ช้ในการวจิ ัย
3.1 ตวั แปรอิสระ ไดแ้ ก่ การสอนโดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะทางการเรียน เร่ือง มารยาทชาวพทุ ธ

ของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ท่ี 2/1 วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง จานวน 30 คน
3.2 ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าหนา้ ที่พลเมืองและศีลธรรม

เรื่อง มารยาทชาวพุทธ ของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ที่ 2/1 ท่ีใชแ้ บบฝึกทกั ษะ
ทางการเรียน

นิยามศัพท์เฉพาะ

1. แบบฝึกทกั ษะการเรียน หมายถึง แบบฝึกทกั ษะท่ีผคู้ น้ ควา้ สร้างข้ึนโดยใชเ้ น้ือหาวชิ าหนา้ ท่ี
พลเมืองและศีลธรรม ในระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ท่ี 2/1

2. นกั เรียน หมายถึง นกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ท่ี 2/1 วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง
จานวน 30 คน

3. แบบทดสอบ หมายถึง แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าหนา้ ที่พลเมืองและ
ศีลธรรม เร่ือง มารยาทชาวพุทธ ที่ผรู้ ายงานสร้างข้ึน เพื่อทดสอบนกั เรียนระดบั
ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ที่ 2/1 ก่อนและหลงั การทดลอง

4. แผนการจดั การเรียนรู้ หมายถึง แผนการจดั การเรียนรู้วชิ าหนา้ ท่ีพลเมืองและศีลธรรม
เก่ียวกบั เรื่องมารยาทชาวพุทธ การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าวชิ าหนา้ ที่พลเมืองและศีลธรรม
เร่ือง มารยยาทชาวพทุ ธ ของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ที่ 2/1 โดยใช้ แบบฝึกทกั ษะ
การเรียนที่ผรู้ ายงานสร้างข้ึน

5. โรงเรียน หมายถึง วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ. ระยอง 21000
6. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คะแนนท่ีนกั เรียนทาไดจ้ ากแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนที่ผศู้ ึกษาสร้างข้ึน
7. ประสิทธิภาพของชุดฝึกทกั ษะการเรียน ผศู้ ึกษาไดก้ าหนดไวท้ ่ี 80 / 80

80 ตวั แรก หมายถึง คะแนนเฉลี่ยร้อยละของประสิทธิภาพของการฝึก
80 ตวั หลงั หมายถึง คะแนนเฉลี่ยร้อยละของการทดสอบหลงั เรียน

5

บทที่ 2

เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วข้อง

ในการศึกษาเอกสารงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การเพ่ิมผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าหนา้ ท่ีพลเมือง
และศีลธรรม ของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ที่ 2/1สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์
วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะทางการเรียน
ผศู้ ึกษาไดค้ น้ ควา้ เอกสารงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง โดยลาดบั เน้ือหาที่เป็นสาระสาคญั ดงั ต่อไปน้ี

1. ความหมายของแบบฝึกทกั ษะ
2. แนวคิด/ทฤษฎีในเรื่องแบบฝึ กทกั ษะ
3. ความสาคญั ของแบบฝึกทกั ษะ
4. องคป์ ระกอบของแบบฝึกทกั ษะ
5. งานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง

- งานวจิ ยั ในประเทศ

ความหมายของแบบฝึ กทกั ษะ

พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน 2525 ( 2525. 2526 : 483 ) ไดใ้ หค้ วามหมายของแบบฝึก
ไวว้ า่ แบบฝึกหมายถึง แบบตวั อยา่ ง ปัญหา หรือคาสั่ง ท่ีต้งั ข้ึนเพื่อใหน้ กั เรียนฝึกตอบ

สุนนั ทา สุนทรประเสริฐ 2543 : 2 กล่าววา่ “เม่ือครูไดส้ อนเน้ือหา แนวคิด หรือหลกั การเรื่อง
ใดเรื่องหน่ึงใหก้ บั นกั เรียน และนกั เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจในเร่ืองน้นั แลว้ ข้นั ตอ่ ไปครูจาเป็ นตอ้ งจดั
กิจกรรมให้นกั เรียนไดฝ้ ึ กฝน เพ่ือให้เกิดความชานาญ คล่องแคล่ว ถูกตอ้ งแม่นยา และรวดเร็ว หรือท่ี
เรียกวา่ ฝึกฝนเพอ่ื ใหเ้ กิดทกั ษะ”

สานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ( 2543: 190 ) กล่าววา่ “แบบฝึ กหดั เป็ น
สื่อการเรียนประเภทหน่ึงสาหรับให้นกั เรียนฝึ กปฏิบตั ิเพ่อื ให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจและทกั ษะเพ่ิมข้ึน
ส่วนใหญ่หนังสือเรียนจะมีแบบฝึ กหัดอยู่ท้ายบทเรียน แบบฝึ กหัดส่วนใหญ่จะจดั ทาในรูปของ
แบบฝึ กหดั หรือชุดฝึ กซ่ึงนกั เรียนจะฝึ กหัดเรียนดว้ ยตนเอง และจดั ทาเป็ นชุดเน้นพฒั นา หรือเสริม
ทกั ษะเรื่องใดเร่ืองหน่ึง”

6

สุนนั ทา สุนทรประเสริฐ ( 2543 : 2 ) กล่าววา่ “ความสาคญั ของแบบฝึ ก หรือแบบฝึ กหดั พอ
สรุปไดว้ ่า แบบฝึ กหรือแบบฝึ กหัด คือสื่อการเรียนการสอนชนิดหน่ึง ท่ีใช้ฝึ กทกั ษะให้กบั ผูเ้ รียน
หลงั จากเรียนจบเน้ือหาในช่วงหน่ึงๆ เพื่อฝึ กฝนให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจ รวมท้งั เกิดความชานาญใน
เร่ืองน้นั ๆอยา่ งกวา้ งขวางมากข้ึน”

จากที่กล่าวมาขา้ งตน้ พอสรุปไดว้ า่ แบบฝึก หมายถึง ส่ือการสอนชนิดหน่ึงที่สร้างข้ึนเพ่อื
เป็นแนวทางในการฝึกทกั ษะใหแ้ ก่ผเู้ รียน จะมีแบบฝึกหดั เป็นกิจกรรมใหน้ กั เรียนไดฝ้ ึกฝนและ
กิจกรรมควรมีรูปแบบท่ีหลากหลายดงั น้นั แบบฝึกหดั จึงมีความสาคญั ต่อผเู้ รียนเป็ นอยา่ งมากในการ
ช่วยเสริมสร้างทกั ษะใหก้ บั ผเู้ รียนไดเ้ กิดการเรียนรู้และเขา้ ใจไดร้ วดเร็วข้ึน ชดั เจนข้ึน กวา้ งขวางข้ึน
ทาใหก้ ารสอนของครูและการเรียนของนกั เรียนประสบผลสาเร็จอยา่ งมีประสิทธิภาพ

ดงั น้นั แบบฝึกจึงมีความสาคญั ต่อผเู้ รียนไม่นอ้ ย ในการที่จะช่วยเสริมสร้างทกั ษะ
ใหก้ บั ผเู้ รียนไดเ้ กิดการเรียนรู้และเขา้ ใจไดเ้ ร็วข้ึน ชดั เจนข้ึน กวา้ งขวางข้ึน ทาใหก้ ารสอน
ของครู และการเรียนของนกั เรียนประสบผลสาเร็จอยา่ งมีประสิทธิภาพ

แนวคดิ /ทฤษฎใี นเรื่องแบบฝึ กทกั ษะ

ทฤษฎพี ฒั นาการทางสติปัญญาของ Jean Piaget ซ่ึงเป็ น Cognitive Psychologist ท่ีศึกษา
เก่ียวกบั เรื่องที่วา่ “คนเราคิดไดอ้ ยา่ งไร” การเรียนรู้ที่จะคิดแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งไร ลกั ษณะของ
ความสามารถในการคิดเป็ นอยา่ งไรเมื่อตอ้ งเผชิญกบั ปัญหาตา่ ง ๆ ความคิดในเรื่องเหล่าน้ีจะช่วยให้
ครูมีความสามารถท่ีจะพฒั นาสติปัญญาของผเู้ รียนใหเ้ พมิ่ พนู ข้ึน และสามารถเลือกใชว้ ธิ ีสอนให้
เหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั ความสามารถทางสติปัญญาของผเู้ รียน (กิ่งฟ้ า สินธุวงษ์ 2526, หนา้
139 – 149)

ทฤษฎกี ารลองผดิ ลองถูกของ ธอร์นไดค์ ซ่ึงไดส้ รุปเป็นกฎเกณฑก์ ารเรียนรู้ ดงั น้ี
1) กฎความพร้อม หมายถึง การเรียนรู้จะเกิดข้ึนเม่ือบุคคลพร้อมที่จะกระทา
2) กฎผลที่ไดร้ ับ หมายถึง การเรียนรู้จะเกิดข้ึนเพราะบุคคลกระทาซ้า และยง่ิ ทามาก

ความชานาญจะเกิดข้ึนไดง้ ่าย
ไพบูลย์ เทวรักษ์ (2540) ไดก้ ล่าวถึงกฎการฝึกหดั ไวว้ า่ การฝึกหดั ใหบ้ ุคคลทากิจกรรมต่าง

ๆ น้นั ผฝู้ ึกจะตอ้ งควบคุมและจดั สภาพการใหส้ อดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคข์ องตนเอง บุคคลจะถูก
กาหนดลกั ษณะพฤติกรรมท่ีแสดงออก

ดงั น้นั ผสู้ ร้างแบบฝึกจึงจะตอ้ งกาหนดกิจกรรมตลอดจนคาสั่งต่าง ๆ ในแบบฝึก ใหผ้ ฝู้ ึกได้
แสดงพฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคท์ ่ีผสู้ ร้างตอ้ งการ

ทฤษฎพี ฤติกรรมนิยมของสกนิ เนอร์ ซ่ึงมีความเช่ือวา่ สามารถควบคุมบุคคลใหท้ าตามความ
ประสงค์ หรือแนวทางท่ีกาหนดไดโ้ ดยไม่ตอ้ งคานึงถึงความรู้สึกทางจิตใจของบุคคลผนู้ ้นั วา่ จะรู้สึก

7

นึกคิดอยา่ งไร โดยมีการเสริมแรงเป็ นตวั การ เม่ือบุคคลตอบสนองการเร้าของส่ิงเร้าควบคู่กนั ใน
ช่วงเวลาที่เหมาะสม สิ่งเร้าน้นั จะรักษาระดบั หรือเพ่ิมการตอบสนองใหเ้ ขม้ ข้ึน

วธิ ีการสอนของกาเย่ ซ่ึงมีความเห็นวา่ การเรียนรู้มีลาดบั ข้นั และผเู้ รียนจะตอ้ งเรียนรู้เน้ือหาที่
ง่ายไปหายาก

พรรณี ช.เจนจิต (2538) ไดก้ ล่าวถึงแนวคิดของกาเย่ ไวด้ งั น้ี
การเรียนรู้มีลาดบั ข้นั ดงั น้นั ก่อนที่จะสอนเดก็ แกป้ ัญหาไดน้ ้นั เดก็ จะตอ้ งเรียนรู้

ความคิดรวบยอด หรือกฎเกณฑม์ าก่อน ซ่ึงในการสอนใหเ้ ดก็ ไดค้ วามคิดรวบยอดหรือกฎเกณฑน์ ้นั
จะทาใหเ้ ดก็ เป็นผสู้ รุปความคิดรวบยอดดว้ ยตนเองแทนที่ครูจะเป็นผบู้ อก การสร้างแบบฝึกจึงควร
คานึงถึงการฝึกตามลาดบั ข้นั จากง่ายไปหายาก

แนวคดิ ของบลูม ซ่ึงกล่าวถึงธรรมชาติของผเู้ รียนแตล่ ะคนวา่ มีความแตกตา่ งกนั ผเู้ รียน
สามารถเรียนรู้เน้ือหาในหน่วยยอ่ ยตา่ ง ๆ ไดโ้ ดยใชเ้ วลาเรียนที่แตกตา่ งกนั

ดงั น้นั การสร้างแบบฝึกจึงตอ้ งมีการกาหนดเงื่อนไขที่จะช่วยใหผ้ เู้ รียนทุกคนสามารถผา่ น
ลาดบั ข้นั ตอนของทุกหน่วยการเรียนไดถ้ า้ นกั เรียนไดเ้ รียนตามอตั ราการเรียนของตน ก็จะทาให้
นกั เรียนประสบความสาเร็จไดม้ ากข้ึน

สุจริต เพียรชอบ ( 2536:65-73 ) กล่าวถึง การสร้างแบบฝึ กว่า ตอ้ งยึดตามทฤษฎีการ
เรียนรู้ทางจิตวทิ ยา ดงั น้ี

1. ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ( Individual Difference ) นกั เรียนแต่ละคนมีความรู้ ความ
ถนดั ความสามารถและความสนใจทางภาษาแตกต่างกนั ก่อนสอนควรมีการทดสอบความสามารถ
ทางภาษาของเด็กก่อน เด็กท่ีมีความสามารถสูงก็ให้การสนบั สนุนให้มีทกั ษะสูงข้ึน ส่วนเด็กคนใดมี
ทกั ษะต่า กพ็ ยายามสอนซ่อมเสริมใหเ้ ป็นพิเศษ

2. การเรียนรู้โดยการกระทา ( Learning by Doing ) นกั เรียนสามารถเรียนรู้ทกั ษะการเขียน
ไดค้ ล่องแคล่วชานาญ ก็เพราะมีประสบการณ์ตรงจากการลงมือฝึ กกระทาดว้ ยตนเอง จึงมีโอกาสท่ี
จะไดร้ ับประโยชนจ์ ากการเรียนรู้มากที่สุด

3. การเรียนรู้จากการฝึกฝน ( Law of Exercise ) การฝึกฝนเป็ นกฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (
Thorndike ) ไดก้ ล่าวไวว้ ่า การเรียนรู้จะเกิดข้ึนได้ดีก็ต่อเม่ือไดฝ้ ึ กฝน หรือกระทาซ้า ผูเ้ รียนจะมี
ทกั ษะทางภาษาดี มีความรู้ความเขา้ ใจ และเกิดทศั นะคติท่ีดี ถ้าผูเ้ รียนได้ฝึ กฝน ไดใ้ ช้ภาษามาก
เทา่ ใดก็จะช่วยใหม้ ีทกั ษะดีมากข้ึนเท่าน้นั

4. กฎแห่งผล ( Law of effect ) นกั เรียนไดเ้ รียนรู้แลว้ ยอ่ มตอ้ งการทราบผลการเรียนของ
ตนวา่ เป็ นอยา่ งไร เพราะฉะน้นั เมื่อมีงานใหน้ กั เรียนทา ครูควรรีบตรวจและคืนนกั เรียนโดยเร็ว
ผเู้ รียนจะมีความพึงพอใจท่ีไดร้ ับผลการเรียน

5. กฎการใช้และไม่ไดใ้ ช้ ( Law of Use and Disuse ) ภาษาเป็ นวิชาทกั ษะตอ้ งมีการฝึ กฝน
อยเู่ สมอ จึงจะคล่องแคล่วและชานาญ ถา้ เรียนแลว้ ไมไ่ ดใ้ ชน้ านๆ กล็ ืมหรือมีทกั ษะไม่ดีเท่าท่ีควร

8

6. แรงจูงใจ ( Motivation ) เป็นสิ่งสาคญั มากเพราะเป็นสิ่งเร้าเพ่ือจงู ใจใหน้ กั เรียนสนใจเรียน
ต้งั ใจฝึกฝน และมีทศั นคติท่ีดีต่อการเรียน

สุจริต เพยี รชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์ (2522) ไดแ้ นะนาหลกั จิตวทิ ยาท่ีควรนามา
สร้างแบบฝึก พอสรุปไดด้ งั น้ี

1. กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Thorndike) เกี่ยวกบั การฝึกหดั ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั การทดลอง
ของวตั สนั (Watson) นน่ั คือสิ่งใดก็ตามท่ีมีการฝึกหดั หรือกระทาบ่อย ๆ ยงิ่ ทาใหผ้ ฝู้ ึกคล่องแคล่ว
สามารถทาไดด้ ี ในทางตรงขา้ มสิ่งใดกต็ ามที่ไม่ไดร้ ับการฝึก ทอดทิ้งไปนานแลว้ ยอ่ มทาไดไ้ ม่ดี
เหมือนเดิม ต่อเมื่อมีการฝึกฝนหรือกระทาซ้าก็จะช่วยใหเ้ กิดทกั ษะเพมิ่ ข้ึน

2. ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ครูควรคานึงวา่ นกั เรียนแตล่ ะคนมีความรู้ ความถนดั
ความสามารถและความสนใจท่ีต่างกนั ฉะน้นั ในการสร้างแบบฝึก จึงควรพิจารณาถึงความเหมาะสม
ไมย่ ากหรือง่ายเกินไป และควรมีหลายแบบ

3. การจงู ใจผเู้ รียน สามารถทาไดโ้ ดยจดั แบบฝึกจากง่ายไปหายาก เพ่อื ดึงดูดความสนใจของ
ผเู้ รียน เป็นการกระตุน้ ใหต้ ิดตามตอ่ ไป และทาใหน้ กั เรียนประสบผลสาเร็จในการทาแบบฝึก
นอกจากน้นั การใชแ้ บบฝึกส้ัน ๆ จะช่วยไมใ่ หผ้ เู้ รียนเบื่อหน่าย

4. การนาสิ่งที่มีความหมายต่อชีวติ และการเรียนรู้มาใหน้ กั เรียนไดท้ ดลองทาภาษาที่ใชพ้ ดู ใช้
เขียนในชีวติ ประจาวนั ทาให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนและทาแบบฝึ กในส่ิงที่ใกลต้ วั นอกจากจาไดแ้ ม่นยาแลว้
นกั เรียนยงั สามารถนาหลกั และความรู้ท่ีไดร้ ับไปใชป้ ระโยชนอ์ ีกดว้ ย

นอกจากน้ี พรรณี ชูทยั (2522) ไดเ้ สนอการนาหลกั จิตวทิ ยาการศึกษามาใชใ้ นการสร้าง
แบบฝึก พอสรุปไดด้ งั น้ี

1. การสาธิตและการอธิบายแนะนา เร่ิมแรกควรบอกใหน้ กั เรียนทราบวา่ จะทาอยา่ งไร ช้ีแจง
ใหเ้ ห็นความสาคญั ของส่ิงที่จะเรียนน้นั เพื่อเร้าใหเ้ ด็กเกิดความสนใจ

2. ใหเ้ ด็กไดม้ ีโอกาสฝึกทนั ทีหลงั จากการสาธิต และส่ิงที่ตอ้ งคานึงถึงกค็ ือ การทาซ้าและการ
เสริมแรง ควรให้โอกาสเด็กไดฝ้ ึกซ้า ๆ และควรใหไ้ ดร้ ับการเสริมแรงอยา่ งทว่ั ถึง

3. ในขณะท่ีฝึกหดั ควรมีการใหค้ าแนะนาเพ่ือให้เดก็ ไดฝ้ ึ กทกั ษะน้นั ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง
4. ใหค้ าแนะนาที่อยใู่ นบรรยากาศที่สบาย ๆ ครูผสู้ อนตอ้ งใจเยน็ ไม่ดุ บรรยากาศไมต่ รึง
เครียด จะยว่ั ยใุ หเ้ ด็กเกิดความพยายามท่ีจะฝึก
5. ส่ิงที่จะทาใหผ้ เู้ รียนพบปัญหายงุ่ ยากในการฝึกทกั ษะใหม่ คือการท่ีทกั ษะเก่าของผเู้ รียนจะ
มารบกวนการเรียนทกั ษะใหม่ ซ่ึงควรแกไ้ ขดว้ ยการอธิบายใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจวา่ ทกั ษะใหมท่ ่ีจะฝึกฝน
น้นั จะมีวธิ ีการของมนั เอง ซ่ึงตา่ งไปจากวธิ ีการของทกั ษะเก่า และพยายามกระตุน้ นกั เรียนใหร้ ะลึก
อยา่ งเสมอวา่ เขากาลงั เรียนทกั ษะใหม่

9

หลกั จิตวทิ ยาดงั กล่าว ผศู้ ึกษาคน้ ควา้ นามาเป็ นแนวทางในการสร้างแบบฝึกใหน้ ่าสนใจ
เหมาะสมกบั วยั ความสามารถและความถนดั ของนกั เรียน เพ่อื ใหก้ ารเรียนการสอนสนุกสนาน
นกั เรียนมีความพอใจท่ีจะเรียนและประสบความสาเร็จในการเรียนน้นั ๆ

ในการสร้างแบบฝึกหดั ตอ้ งอาศยั หลกั สาคญั ตามทฤษฎีการเรียนรู้ทางจิตวทิ ยาประกอบดว้ ย
1. ความใกลช้ ิด ( Contiquition ) การใชส้ ิ่งเร้าและการตอบสนองท่ีเกิดข้ึนในเวลา
ใกลเ้ คียงกนั จะสร้างความพอใจใหก้ บั ผเู้ รียน
2. แบบฝึ กหัด ( Practice ) คือการให้ผูเ้ รียนไดก้ ระทากิจกรรมท่ีซ้าๆ เพ่ือช่วยในการสร้าง
ความแม่นยาชานาญ
3. กฎแห่งผล ( Law of Effect ) คือการใหผ้ เู้ รียนไดท้ ราบผลการทางานของตน
โดยรวดเร็ว ซ่ึงนอกจากจะกระทาให้ผเู้ รียนไดท้ ราบวา่ ผลการทางานของตนเองเป็ นอยา่ งไร แลว้ ยงั
เป็นการสร้างความพอใจใหก้ บั ผเู้ รียนอีกดว้ ย
4. การจูงใจ ( Motivation )ไดแ้ ก่การเรียงแบบฝึกหดั จากง่ายไปหายากและจากแบบฝึกหดั
ท่ีส้ันไปสู่ท่ียาวข้ึน ท้ังน้ีเรื่องท่ีจะนามาสร้างแบบฝึ กควรมีหลายรสและหลายรูปแบบตลอดจนมี
ภาพประกอบเร่ืองเพอื่ เร้าความสนใจของนกั เรียนมากข้ึน
กรมวชิ าการ ( 2543 : 20 ) ไดน้ าเสนอไวว้ า่ “การเรียนรู้เป็ นกระบวนการของการตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้า เช่นแนวคิดของธอร์นไดด์ เช่ือว่าการเรียนรู้จะเกิดข้ึนเม่ือมีส่ิงเร้ามาเร้าและผูเ้ รียนจะเลือก
ตอบสนองจนเป็ นที่พอใจของผูเ้ รียน การตอบสนองใดไม่พึงพอใจก็จะถูกตดั ทิ้งไป แนวคิดน้ีมี
อิทธิพลต่อการจดั การเรียนการสอนของไทยมานาน นับต้งั แต่ไทยรับความคิดทางการศึกษามาจาก
สหรัฐอเมริกา”
จากท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ ทาใหท้ ราบวา่ การสร้างแบบฝึกจะตอ้ งคานึงถึงจิตวทิ ยาเพื่อใหไ้ ดแ้ บบ
ฝึกท่ีเหมาะสมกบั วยั และความสามารถของนกั เรียน และยงั เป็นแนวทางในการจดั กิจกรรมการเรียน
การสอน เพ่ือใหน้ กั เรียนไดเ้ กิดความพึงพอใจที่จะทาแบบฝึก ครอบคลุมเน้ือหา รูปแบบน่าสนใจ
ไดร้ ับประสบการณ์ตรง เหมาะสมกบั วยั ของผเู้ รียน มีความชดั เจนของคาสงั่ และไดล้ งมือกระทาเอง
จนเกิดทศั นคติที่ดีต่อการเรียน และสามารถประเมินผลพฒั นาการของผเู้ รียนไดด้ ว้ ย ซ่ึงจะนาไปสู่
ความสาเร็จในดา้ นการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

ความสาคญั ของแบบฝึ กทักษะ

สานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2537) ไดก้ ล่าวถึงประโยชนข์ องแบบ
ฝึกเสริมทกั ษะ ดงั น้ี

1. เป็นส่วนเพิ่มเติม หรือเสริมหนงั สือเรียน
2. ช่วยเสริมทกั ษะการใชภ้ าษาใหด้ ีข้ึน แต่ท้งั น้ีจะตอ้ งอาศยั การส่งเสริมและความ
เอาใจใส่จากครูผสู้ อนดว้ ย

10

3. ช่วยในเร่ืองความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เพราะการที่ใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั ที่
เหมะสมกบั ความสามารถของเขาจะช่วยใหน้ กั เรียนประสบความสาเร็จ

4. แบบฝึกช่วยเสริมทกั ษะทางภาษาคงทน
5. การใหน้ กั เรียนทาแบบฝึก ช่วยใหค้ รูมองเห็นจุดเด่นหรือจุดบกพร่องของนกั เรียน
ไดช้ ดั เจน ซ่ึงจะช่วยใหค้ รูดาเนินการปรับปรุง แกไ้ ขปัญหาน้นั ๆ ไดท้ นั ทว่ งที
6. แบบฝึกท่ีจดั พิมพไ์ วเ้ รียบร้อยแลว้ จะช่วยใหค้ รูประหยดั แรงงาน และเวลาในการ
ท่ีจะเตรียมการสร้างแบบฝึก นกั เรียนไม่ตอ้ งเสียเวลาในการคดั ลอกแบบฝึก ทาใหม้ ีเวลาและโอกาสได้
ฝึ กฝนมากข้ึน
ประทีป แสงเปี่ ยมสุข (2538) กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึกไว้ ดงั น้ี
1. เป็นอุปกรณ์ช่วยลดภาระของครู
2. ช่วยใหน้ กั เรียนไดฝ้ ึกทกั ษะในการใชภ้ าษาใหด้ ีข้ึน
3. ช่วยในเร่ืองความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ช่วยใหน้ กั เรียนประสบผลสาเร็จในทาง
จิตใจมากข้ึน
4. ช่วยเสริมทกั ษะทางภาษาใหค้ งทน
5. เป็นเคร่ืองมือวดั ผลการเรียนหลงั จากเรียนบทเรียนแลว้
6. ช่วยใหเ้ ด็กสามารถทบทวนไดด้ ว้ ยตนเอง
7. ช่วยใหค้ รูมองเห็นปัญหาต่าง ๆ ของนกั เรียนไดช้ ดั เจน
8. ช่วยใหน้ กั เรียนฝึกฝนไดเ้ ตม็ ที่ นอกเหนือจากที่เรียนในบทเรียน
9. ช่วยใหผ้ เู้ รียนเห็นความกา้ วหนา้ ของตนเอง
10. ช่วยใหผ้ เู้ รียนมีทศั นคติท่ีดีตอ่ การสะกดคา
อดุลย์ ภปู ล้ืม (2539) ไดก้ ล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึกไว้ ดงั น้ี
1. ช่วยใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจบทเรียนไดด้ ีข้ึน
2. ช่วยใหจ้ ดจาเน้ือหา และคาศพั ทต์ ่าง ๆ ไดค้ งทน
3. ทาใหเ้ กิดความสนุกสนานในขณะเรียน
4. ทาใหท้ ราบความกา้ วหนา้ ของตนเอง
5. สามารถนาแบบฝึกหดั มาทบทวนเน้ือหาเดิมดว้ ยตนเองได้
6. ทาใหท้ ราบขอ้ บกพร่องของนกั เรียน
7. ทาใหค้ รูประหยดั เวลา
8. ทาใหน้ กั เรียนสามารถนาภาษาไปใชส้ ื่อสารไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
แบบฝึ กมีประโยชน์ต่อการเรียนวิชาทกั ษะมาก เพ็ตตี ( สุจริตา ศรีนวล 2538 : 62 ; อา้ งอิง
จาก Petty. 1963 : 469-472 ) ไดก้ ล่าวไวด้ งั น้ี

11

1. เป็ นส่วนเพ่ิมหรือเสริมหนังสือเรียนในการเรียนทกั ษะ เป็ นอุปกรณ์การสอนท่ีช่วยลด
ภาระของครูไดม้ าก เพราะแบบฝึกเป็นสิ่งท่ีจดั ทาข้ึนอยา่ งเป็นระบบระเบียบ

2. ช่วยเสริมทกั ษะทางการใชภ้ าษา แบบฝึ กเป็ นเครื่องมือท่ีช่วยให้เด็กไดฝ้ ึ กทกั ษะการใช้
ภาษาใหด้ ีข้ึน แตจ่ ะตอ้ งอาศยั การส่งเสริมและความเอาใจใส่จากครูผสู้ อนดว้ ย

3. ช่วยในเร่ืองความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เนื่องจากเด็กมีความสามารถทางภาษาแตกต่าง
กนั การให้เด็กทาแบบฝึ กหัดท่ีเหมาะสมกบั ความสามารถของเขาจะช่วยให้เด็กประสบผลสาเร็จใน
ดา้ นจิตใจมากข้ึน

4. แบบฝึกช่วยเสริมใหท้ กั ษะทางภาษาคงทน โดยกระทาดงั น้ี
4.1 ฝึกทนั ทีหลงั จากเด็กไดเ้ รียนรู้ในเรื่องน้นั ๆ
4.2 ฝึกซ้าหลายๆ คร้ัง
4.3 เนน้ เฉพาะเร่ืองท่ีตอ้ งการฝึก

5. แบบฝึกที่ใชจ้ ะเป็นเคร่ืองมือวดั ผลการเรียนหลงั จากจบบทเรียนในแตล่ ะคร้ัง
6. แบบฝึ กท่ีจดั ทาข้ึนเป็ นรูปเล่มเด็กสามารถเก็บรักษาไวใ้ ช้เป็ นแนวทางเพ่ือ ทบทวนดว้ ย
ตนเองไดต้ ่อไป
7. การใหเ้ ด็กทาแบบฝึ ก ช่วยใหค้ รูมองเห็นจุดเด่นหรือปัญหาตา่ งๆ ของเดก็ ไดช้ ดั เจน ซ่ึงจะ
ช่วยใหค้ รูดาเนินการปรับปรุงแกไ้ ขปัญหาน้นั ๆ ไดท้ นั ทว่ งที
8. แบบฝึ กที่จดั ข้ึนนอกเหนือจากที่มีอยูใ่ นหนังสือแบบเรียน จะช่วยให้เด็กไดฝ้ ึ กฝนอยา่ ง
เตม็ ที่
9. แบบฝึ กที่จดั พิมพไ์ วเ้ รียบร้อยจะช่วยให้ครูประหยดั ท้งั แรงงานและเวลาในการท่ีจะตอ้ ง
เตรียมสร้างแบบฝึ กอยเู่ สมอ ในดา้ นผเู้ รียนก็ไม่ตอ้ งเสียเวลาลอกแบบฝึกจากตาราเรียนทาใหม้ ีโอกาส
ไดฝ้ ึกฝนทกั ษะตา่ งๆ มากข้ึน
10. แบบฝึ กช่วยประหยดั ค่าใชจ้ ่าย เพราะการจดั พิมพเ์ ป็ นรูปเล่มท่ีแน่นอนยอ่ มลงทุนต่ากวา่
ท่ีจะพิมพ์ลงในกระดาษไขทุกคร้ัง ผูเ้ รียนสามารถบนั ทึกและมองเห็นความกา้ วหน้าของตนเองได้
อยา่ งมีระบบและเป็นระเบียบ
วญั ญา วศิ าลาภรณ์ ( 2533 : 23 ) สรุปคุณประโยชนข์ องแบบฝึกไวว้ า่ เป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยให้
ครูทราบผลการเรียนของนกั เรียนอยา่ งใกลช้ ิด แบบฝึกเป็นเครื่องมือที่จาเป็นตอ่ การฝึกทกั ษะทางภาษา
ของนกั เรียน เป็นประโยชน์สาหรับครูในการสอน ทาใหท้ ราบพฒั นาการทางทกั ษะท้งั สี่คือ ฟัง พูด
อ่าน และเขียน โดยเฉพาะทกั ษะการเขียน ครูสามารถเห็นขอ้ บกพร่องในการใชภ้ าษาของนกั เรียน
ซ่ึงจะไดห้ าทางแกไ้ ขปรับปรุงไดท้ นั ท่วงที ทาใหน้ กั เรียนประสบผลสาเร็จในการเรียน
จากประโยชน์ของแบบฝึกท่ีกล่าวมา สรุปไดว้ า่ แบบฝึกที่ดีและมีประสิทธิภาพ
ช่วยทาใหน้ กั เรียนประสบผลสาเร็จในการฝึกทกั ษะไดเ้ ป็นอยา่ งดี แบบฝึกท่ีดีเปรียบ

12

เสมือนผชู้ ่วยท่ีสาคญั ของครู ทาใหค้ รูลดภาระการสอนลงได้ ทาใหผ้ เู้ รียนพฒั นาตนเองตาม
ความสามารถของตน เพอ่ื ความมนั่ ใจในการเรียนไดเ้ ป็นอยา่ งดี

องค์ประกอบของแบบฝึ กทกั ษะการเรียน

ในการสร้างแบบฝึ กมีองค์ประกอบหลายประการ ซ่ึ งนักการศึกษาหลายท่านได้ให้
ขอ้ เสนอแนะ เกี่ยวกบั องคป์ ระกอบของแบบฝึกไวด้ งั น้ี

ฉลองชยั สุรวฒั นบูรณ์ (2528 : 130) ไดก้ ล่าววา่ แบบฝึกควรมีองคป์ ระกอบดงั น้ี
1. คาช้ีแจงการใชค้ ูม่ ือ
2. สาระท่ีเรียน ปัญหา หรือคาถาม แบบฝึกหดั และกิจกรรมที่ตอ้ งการใหผ้ เู้ รียนคิดและทา
3. ที่วา่ งสาหรับใหผ้ เู้ รียนเขียนคาถาม
4. เฉลยคาตอบหรือแนวทางในการตอบ
5. คาแนะนาและแหล่งขอ้ มลู ที่ผเู้ รียนสามารถไปศึกษาคน้ ควา้ เพ่มิ เติม
จากแนวคิดขา้ งตน้ แบบฝึกควรมีองคป์ ระกอบดงั น้ี
1. คาช้ีแจง
2. แบบฝึก
3. จุดประสงค์
4. เน้ือหา
นิตยา ฤทธิโยธี. 2520.40 - 41 กล่าวถึงลกั ษณะของแบบฝึ กไวว้ า่ การเขียนแบบฝึ กตอ้ งแน่ใจ
ในภาษาที่ใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั นกั เรียนและสร้างโดยใชห้ ลกั จิตวทิ ยาในการเร้าและตอบสนอง ดงั น้ี

1. ใชแ้ บบฝึกหลายๆ ชนิดเพือ่ เร้าใหน้ กั เรียนเกิดความสนใจ
2. แบบฝึกท่ีทาข้ึนน้นั ตอ้ งใหน้ กั เรียนสามารถแยกออกมาพิจารณาไดว้ า่ แต่ละ
แบบแตล่ ะขอ้ ตอ้ งการใหท้ าอะไร
3. ใหน้ กั เรียนไดฝ้ ึกการตอบแบบฝึกแตล่ ะชนิดแต่ละรูปแบบวา่ มีวธิ ีการตอบ
อยา่ งไร
4. ใหน้ กั เรียนไดม้ ีโอกาสตอบสนองสิ่งเร้าดงั กล่าวดว้ ยการแสดงออกทาง
ความสามารถและความเขา้ ใจลงในแบบฝึก
5. นกั เรียนไดน้ าส่ิงท่ีเรียนรู้จากการเรียนมาตอบในแบบฝึกใหต้ รงเป้ าหมาย
ท่ีสุด
นิตยา ฤทธิโยธี ยงั ไดก้ ล่าววา่ “ แบบฝึ กท่ีดีควรมีขอ้ แนะนาการใชท้ ี่ชดั เจน ควรใหม้ ีการเลือกตอบท้งั
แบบตอบจากดั และแบบตอบอยา่ งเสรี คาสงั่ หรือตวั อยา่ งที่ยกมาน้นั ไม่ควรยาวเกินไป และยากแก่การ
เขา้ ใจ ถา้ ตอ้ งการให้ศึกษาดว้ ยตนเอง แบบฝึกน้นั ควรมีหลายรูปแบบ และมีความหมายแก่ผทู้ า” และ
ยงั กล่าววา่ ลกั ษณะของแบบฝึกท่ีดี คือ

13

1. เก่ียวขอ้ งกบั บทเรียนที่เรียนมาแลว้
2. เหมาะสมกบั ระดบั วยั หรือความสามารถของเด็ก
3. มีคาช้ีแจงส้นั ๆ ที่ทาใหเ้ ดก็ เขา้ ใจวธิ ีทาไดง้ ่าย
4. ใชเ้ วลาเหมาะสม คือไม่ใชเ้ วลานานหรือเร็วเกินไป
5. เป็นส่ิงท่ีน่าสนใจและทา้ ทายใหแ้ สดงความสามารถ
ไพรัตน์ สุวรรณแสน ( จิรพา จนั ทะเวียง. 2542 : 43 ; อ้างอิงจากไพรัตน์ สุวรรณแสน.
ม.ป.ป. ) กล่าวถึงลกั ษณะของแบบฝึกที่ดี ดงั น้ี
1. เก่ียวขอ้ งกบั บทเรียนที่เรียนมาแลว้
2. เหมาะสมกบั ระดบั วยั หรือความสามารถของเด็ก
3. มีคาช้ีแจงส้นั ๆ ท่ีจะทาใหเ้ ด็กเขา้ ใจ คาช้ีแจงหรือคาสั่งตอ้ งกระทดั รัด
4. ใชเ้ วลาเหมาะสม คือไมใ่ ชเ้ วลานานหรือเร็วเกินไป
5. เป็นส่ิงท่ีน่าสนใจและทา้ ทายใหแ้ สดงความสามารถ
ศศิธร สุทธิแพทย์ (2517) ไดก้ ล่าวถึงลกั ษณะของแบบฝึกไว้ ดงั น้ี

1. ใชห้ ลกั จิตวทิ ยา
2. สานวนภาษาไทย
3. ใหค้ วามหมายตอ่ ชีวติ
4. คิดไดเ้ ร็วและสนุก
5. ปลุกความสนใจ
6. เหมาะสมกบั วยั และความสามารถ
7. อาจศึกษาไดด้ ว้ ยตนเอง
วรสุดา บุญไวโรจน์ ( 2536:37 ) ( อา้ งถึงใน สุนนั ทา สุนทรประเสริฐ2543 :
9-10 ) กล่าวแนะนาใหผ้ สู้ ร้างแบบฝึกไดย้ ดึ ลกั ษณะของแบบฝึกท่ีดีไวด้ งั น้ี
1. แบบฝึ กท่ีดีควรชดั เจนท้งั คาส่ังและวิธีทา ตวั อยา่ งแสดงวิธีทาไม่ควรยาวเกินไป เพราะ
จะทาใหเ้ ขา้ ใจยาก ควรปรับปรุงใหง้ ่ายเหมาะสมกบั ผเู้ รียน
2. แบบฝึ กหดั ที่ดีควรมีความหมายต่อผเู้ รียนและตรงตามจุดประสงคข์ องการฝึ ก ลงทุนนอ้ ย
ใชไ้ ดน้ านทนั สมยั อยเู่ สมอ
3. ภาษาและภาพที่ใช้ในแบบฝึ กหัดควรเหมาะสมกบั วยั และพ้ืนฐานความรู้ของผูเ้ รียน
แบบฝึ กหัดที่ดีควรแยกฝึ กเป็ นเรื่องๆ แต่ละเรื่องไม่ควรยาวเกินไป แต่ควรมีกิจกรรมหลายรูปแบบ
เพื่อเร้าให้นักเรียนเกิดความสนใจ ไม่เบื่อหน่ายในการทา และเพื่อฝึ กทกั ษะใดทกั ษะหน่ึงจนเกิด
ความชานาญ
4. แบบฝึ กหัดท่ีดีควรมีท้งั แบบกาหนดคาตอบให้ ให้ตอบโดยเสรี การเลือกใชค้ าขอ้ ความ
หรือรูปภาพในแบบฝึ กหัด ควรเป็ นส่ิงที่คุน้ เคยตรงกบั ความในใจของนกั เรียน เพื่อวา่ แบบฝึ กหดั ท่ี

14

สร้างข้ึน จะไดก้ ่อให้เกิดความเพลิดเพลินและพอใจแก่ผูใ้ ช้ ซ่ึงตรงกบั หลกั การเรียนรู้ท่ีวา่ เด็กมกั จะ
เรียนรู้ไดเ้ ร็ว ในการกระทาท่ีก่อใหเ้ กิดความพงึ พอใจ

5. แบบฝึกหดั ที่ดีควรเปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนไดศ้ ึกษาดว้ ยตนเอง รู้จกั คน้ ควา้ รวบรวมสิ่งที่พบ
เห็นบ่อยๆ จะทาให้นกั เรียนเขา้ ใจเรื่องน้ันๆมากย่ิงข้ึน และรู้จกั นาความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้
อยา่ งถูกตอ้ ง มีหลกั เกณฑ์ และมองเห็นวา่ ส่ิงที่เขาไดฝ้ ึกน้นั มีความหมายต่อเขาตลอดไป

6. แบบฝึกหดั ที่ดีควรตอบสนองความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล ผเู้ รียนแต่ละคนมีความแตกต่าง
กนั ในหลายๆดา้ น เช่น ความตอ้ งการ ความสนใจ ความพร้อม ระดบั สติปัญญา ประสบการณ์ ฉะน้นั
การทาแบบฝึ กหดั แต่ละเร่ืองควรจดั ทาให้มากพอ มีทุกระดบั ต้งั แต่ง่ายปานกลาง จนถึงค่อนขา้ งยาก
เพื่อให้ท้งั เด็กเก่ง ปานกลาง และอ่อน จะไดเ้ ลือกทาตามความสามารถ เพ่ือให้เด็กทุกคนประสบ
ความสาเร็จในการทาแบบฝึ กหดั

7. แบบฝึกหดั ที่ดีควรเร้าใจต้งั แตป่ กไปจนถึงหนา้ สุดทา้ ย
8. แบบฝึกหดั ท่ีดีควรปรับปรุงควบคู่ไปกบั หนงั สือเรียน ควรใชไ้ ดด้ ีท้งั ในและนอกหอ้ งเรียน
9.แบบฝึ กหัดที่ดีควรเป็ นแบบฝึ กหัดท่ีสามารถประเมิน และจาแนกความเจริญงอกงามของ
เด็กไดด้ ว้ ย
จากที่กล่าวมาขา้ งตน้ แบบฝึ กที่ดีควรมีหลายแบบหลายชนิดใหน้ กั เรียนไดท้ า เพ่อื ไม่ให้
นกั เรียนเกิดความเบื่อหน่ายในการเรียน การใชถ้ อ้ ยคาควรเลือกใหเ้ หมาะสมกบั วยั ของนกั เรียน
นอกจากน้ีควรสร้างใหม้ ีลกั ษณะยวั่ ยุ ทา้ ทายความรู้ความสามารถของนกั เรียนเพื่อฝึกใหน้ กั เรียนรู้จกั
แกป้ ัญหาและก่อใหเ้ กิดความคิดสร้างสรรคอ์ ีกดว้ ย จากเอกสารที่เก่ียวขอ้ งกบั แบบฝึกดงั กล่าว สรุปได้
วา่ แบบฝึกเป็นเครื่องมือท่ีจาเป็นต่อการฝึกทกั ษะทางภาษาของนกั เรียน เป็ นส่วนช่วยเพิ่มเติมในการ
เรียนทกั ษะ เป็นอุปกรณ์การสอนท่ีช่วยลดภาระของครูไดม้ าก เพราะแบบฝึกเป็นส่ิงท่ีถูกจดั ทาข้ึน
อยา่ งมีระบบ ช่วยเสริมทกั ษะการใชภ้ าษาใหด้ ียงิ่ ข้ึน แต่ตอ้ งอาศยั ความเอาใจใส่จากครูดว้ ย แบบฝึก
ช่วยในเร่ืองความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล เหมาะกบั ความสามารถของเด็กจะทาใหเ้ กิดผลดีทางดา้ น
จิตใจ ช่วยเสริมทกั ษะทางภาษาใหค้ งทน เพราะเดก็ ฝึกทาซ้าๆ หลายคร้ังในเรื่องท่ีตนบกพร่อง แบบ
ฝึกยงั ใชเ้ ป็นเคร่ืองมือวดั ผลทางการเรียนหลงั จากจบบทเรียนแลว้ ช่วยใหค้ รูเห็นปัญหาของเด็กได้
อยา่ งชดั เจน ทาใหค้ รูไดแ้ กป้ ัญหาของเดก็ ไดท้ นั ท่วงที ตวั เดก็ ก็สามารถเก็บแบบฝึกไวใ้ ชเ้ ป็น
เคร่ืองมือในการทบทวนความรู้ได้ นอกจากน้ี แบบฝึกยงั ช่วยใหค้ รูและนกั เรียนประหยดั เวลา แรงงาน
และค่าใชจ้ า่ ยในการฝึกฝนแต่ละคร้ัง

คู่มอื การใช้แบบฝึ ก
เป็นเอกสารสาคญั ประกอบการใชแ้ บบฝึกวา่ ใชเ้ พื่ออะไร และมีวธิ ีการใชอ้ ยา่ งไร เช่น ใชเ้ ป็น

งานฝึกทา้ ยบทเรียน ใชเ้ ป็ นการบา้ น หรือใชส้ อนซ่อมเสริม ควรประกอบดว้ ย

15

- ส่วนประกอบของแบบฝึก จะระบุวา่ ในแบบฝึกชุดน้ี มีแบบฝึกท้งั หมดก่ีชุด
อะไรบา้ ง และมีส่วนประกอบอื่น ๆ หรือไม่ เช่น แบบทดสอบ หรือแบบบนั ทึกผลการประเมิน

- สิ่งท่ีครูหรือนกั เรียนตอ้ งเตรียม (ถา้ มี) จะเป็นการบอกใหค้ รูหรือนกั เรียนเตรียมตวั
ใหพ้ ร้อมล่วงหนา้ ก่อนเรียน

- จุดประสงคใ์ นการใชแ้ บบฝึ ก
- ข้นั ตอนในการใช้ บอกข้นั ตอนตามลาดบั การใช้ และอาจเขียนในรูปของแนวการ
สอนหรือแผนการสอน จะชดั เจนยงิ่ ข้ึน
- เฉลยแบบฝึกในแตล่ ะชุด
แบบฝึ ก
เป็นสื่อท่ีสร้างข้ึนเพือ่ ให้ผเู้ รียนฝึกทกั ษะ เพ่อื ใหเ้ กิดการเรียนรู้ที่ถาวร ควรมี
องคป์ ระกอบดงั น้ี
- ชื่อชุดฝึกในแตล่ ะชุดยอ่ ย
- จุดประสงค์
- คาสั่ง
- ตวั อยา่ ง
- ชุดฝึก
- ภาพประกอบ
- ขอ้ ทดสอบก่อนและหลงั เรียน
- แบบประเมินบนั ทึกผลการใช้

รูปแบบของการสร้างแบบฝึ ก
การสร้างแบบฝึก รูปแบบกเ็ ป็นสิ่งสาคญั ในการที่จะจงู ใจใหผ้ เู้ รียนไดท้ ดลองปฏิบตั ิ

แบบฝึกจึงควรมีรูปแบบที่หลากหลาย มิใช่ใชแ้ บบเดียวจะเกิดความจาเจ น่าเบื่อหน่ายไมท่ า้ ทายให้
อยากรู้อยากลอง จึงขอเสนอรูปแบบของแบบฝึกที่เป็นหลกั ใหญ่ไวก้ ่อน ส่วนผสู้ ร้างจะนาไป
ประยกุ ตใ์ ชป้ รับเปล่ียนรูปแบบอ่ืน ๆ ก็แลว้ แต่เทคนิคของแต่ละคน ซ่ึงจะเรียงลาดบั จากง่ายไปหายาก
ดงั น้ี

1. แบบถูกผดิ
2. แบบจบั คู่
3. แบบเติมคาหรือขอ้ ความ
4. แบบหลายตวั เลือก

16

ข้นั ตอนการสร้างแบบฝึ กเสริมทกั ษะ
สานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2538) กล่าวถึง

ข้นั ตอนการสร้างแบบฝึกเสริมทกั ษะ ดงั น้ี
1. ศึกษาปัญหาและความตอ้ งการ โดยศึกษาจากการผา่ นจุดประสงค์ การเรียนรู้และ

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หากเป็นไปได้ ควรศึกษาความต่อเน่ืองของปัญหาในทุกระดบั ช้นั
2. วเิ คราะห์เน้ือหาหรือทกั ษะที่เป็นปัญหา ออกเป็นเน้ือหาหรือทกั ษะยอ่ ย ๆ เพื่อใช้

ในการสร้างแบบทดสอบและแบบฝึ กหดั
3. พจิ ารณาวตั ถุประสงค์ รูปแบบ และข้นั ตอนการใชแ้ บบฝึก เช่น จะนาแบบฝึกไป

ใชอ้ ยา่ งไร ในแต่ละชุดจะประกอบไปดว้ ยอะไรบา้ ง
4. สร้างแบบทดสอบ ซ่ึงอาจมีแบบทดสอบเชิงสารวจ แบบทดสอบเพอ่ื วนิ ิจฉยั

ขอ้ บกพร่อง แบบทดสอบความกา้ วหนา้ เฉพาะเร่ือง เฉพาะตอน แบบทดสอบท่ีสร้างจะตอ้ งสอดคลอ้ ง
กบั เน้ือหาหรือทกั ษะท่ีวเิ คราะห์ไวใ้ น ขอ้ ที่ 2

5. สร้างแบบฝึกหดั เพื่อใชพ้ ฒั นาทกั ษะยอ่ ยแตล่ ะทกั ษะ แต่ละบตั รจะมีคาถามยอ่ ย
ใหน้ กั เรียน การกาหนดรูปแบบ ขนาดของบตั ร พิจารณาตามความเหมาะสม

6. สร้างแบบอา้ งอิง เพ่ือใชอ้ ธิบายคาตอบหรือแนวทางการตอบแต่ละเร่ือง การสร้าง
บตั รอา้ งอิงน้ี อาจทาเพม่ิ เติมเมื่อไดน้ าบตั รฝึกหดั ไปทดลองใชแ้ ลว้

7. สร้างแบบบนั ทึกความกา้ วหนา้ เพ่ือใชบ้ นั ทึกผลการทดสอบหรือผลการเรียน
โดยจดั ทาเป็นตอน เป็นเร่ือง เพือ่ ใหเ้ ห็นความเจริญกา้ วหนา้ เป็นระยะ ๆ สอดคลอ้ งกบั แบบทดสอบ
ความกา้ วหนา้

8. นาแบบฝึกไปทดลองใช้ เพ่ือหาขอ้ บกพร่องคุณภาพแบบฝึก และคุณภาพของ
แบบทดสอบ

9. ปรับปรุงแกไ้ ข
10. รวบรวมเป็นชุด จดั ทาคาช้ีแจง คู่มือการใช้ และสารบญั เพือ่ ใชป้ ระโยชน์ตอ่ ไป
ข้นั ตอนการสร้างแบบฝึก จะคลา้ ยคลึงกบั การสร้างนวตั กรรมทางการศึกษาประเภทอ่ืน ๆ ซ่ึง
มีรายละเอียด ดงั น้ี
1. วเิ คราะห์ปัญหาและสาเหตุจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน เช่น

- ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในขณะทาการสอน
- ปัญหาการผา่ นจุดประสงคข์ องนกั เรียน
- ผลจากการสงั เกตพฤติกรรมท่ีไมพ่ ึงประสงค์
- ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
2. ศึกษารายละเอียดในหลกั สูตร เพื่อวเิ คราะห์เน้ือหา จุดประสงคแ์ ตล่ ะ
กิจกรรม

17

3. พจิ ารณาแนวทางแกป้ ัญหาท่ีเกิดข้ึนจากขอ้ 1 โดยการสร้างแบบฝึก และเลือก
เน้ือหาในส่วนท่ีจะสร้างแบบฝึกน้นั วา่ จะทาเรื่องใดบา้ ง กาหนดเป็ นโครงเร่ืองไว้

4. ศึกษารูปแบบของการสร้างแบบฝึกจากเอกสารตวั อยา่ ง
5. ออกแบบชุดฝึกแตล่ ะชุดใหม้ ีรูปแบบที่หลากหลาย น่าสนใจ
6. ลงมือสร้างแบบฝึกในแต่ละชุด พร้อมท้งั ขอ้ ทดสอบก่อนและหลงั เรียนให้
สอดคลอ้ งกบั เน้ือหา และจุดประสงคก์ ารเรียนรู้
7. ส่งใหผ้ เู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบ
8. ทาไปทดลองใช้ แลว้ บนั ทึกผลเพอื่ นามาปรับปรุงแกไ้ ขส่วนท่ีบกพร่อง
9. ปรับปรุงจนมีประสิทธิภาพตามเกณฑท์ ี่ต้งั ไว้
10. นาไปใชจ้ ริงและเผยแพร่ต่อไป

ข้อเสนอแนะในการสร้างแบบฝึ ก
การสร้างแบบฝึกเพ่ือใชป้ ระกอบในการจดั การเรียนการสอน ในวชิ าต่าง ๆ น้นั จะ

เนน้ ส่ือการสอนในลกั ษณะเอกสารแบบฝึกหดั เป็นส่วนสาคญั ดงั น้นั การสร้างจึงควรใหม้ ีความ
สมบูรณ์ท่ีสุด ท้งั ในดา้ นเน้ือหา รูปแบบ และกลวธิ ีในการนาไปใช้ ซ่ึงควรเป็นเทคนิคของแต่ละคน
ในที่น้ีจะขอเสนอแนะ ดงั น้ี

1. พึงระลึกเสมอวา่ ตอ้ งใหผ้ เู้ รียนศึกษาเน้ือหาก่อนใชแ้ บบฝึก
2. ในแตล่ ะแบบฝึก อาจมีเน้ือหาสรุปยอ่ หรือเป็ นหลกั เกณฑไ์ วใ้ หผ้ เู้ รียนไดศ้ ึกษา
ทบทวนก่อนกไ็ ด้
3. ควรสร้างแบบฝึกใหค้ รอบคลุมเน้ือหา และจุดประสงคท์ ี่ตอ้ งการและไม่ยากหรือ
ง่ายจนเกินไป
4. คานึงถึงหลกั จิตวทิ ยาการเรียนรู้ของเด็ก ตอ้ งให้เหมาะสมกบั วฒุ ิภาวะและความ
แตกตา่ งของผเู้ รียน
5. ควรศึกษาแนวทางการสร้างแบบฝึกใหเ้ ขา้ ใจก่อนปฏิบตั ิการสร้าง อาจนาหลกั การ
ของผอู้ ่ืน หรือทฤษฎีการเรียนรู้ของนกั การศึกษาหรือนกั จิตวทิ ยามาประยกุ ตใ์ ชใ้ ห้เหมาะสมกบั เน้ือหา
และสภาพการณ์ได้
6. ควรมีคู่มือการใชแ้ บบฝึกเพอื่ ใหผ้ สู้ อนคนอ่ืนนาไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง หากไม่
มีคู่มือ ตอ้ งมีคาช้ีแจงข้นั ตอนการใชท้ ่ีชดั เจนแนบไปในแบบฝึกหดั ดว้ ย
7. การสร้างแบบฝึก ควรพจิ ารณารูปแบบใหเ้ หมาะสมกบั ธรรมชาติของแตล่ ะ
เน้ือหาวชิ า รูปแบบจึงควรแตกตา่ งกนั ตามสภาพการณ์

18

8. การออกแบบชุดฝึกควรมีความหลากหลาย ไมซ่ ้าซาก ไมใ่ ชร้ ูปแบบเดียว เพราะ
จะทาใหผ้ เู้ รียนเกิดความเบื่อหน่าย ควรมีแบบฝึกหลาย ๆ แบบ เพ่อื ฝึกใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ ึกทกั ษะอยา่ ง
กวา้ งขวาง และส่งเสริมความคิดสร้างสรรคอ์ ีกดว้ ย

9. การใชภ้ าพประกอบเป็ นส่ิงสาคญั ที่จะช่วยใหแ้ บบฝึกน้นั น่าสนใจและยงั เป็นการ
พกั สายตาใหก้ บั ผเู้ รียนอีกดว้ ย

10. การสร้างแบบฝึก หากตอ้ งการใหส้ มบูรณ์ครบถว้ น ควรสร้างในลกั ษณะของ
เอกสารประกอบการสอน (ศึกษารายละเอียดจากคูม่ ือ การฝึกอบรมการปฏิบตั ิการ”การผลิตเอกสาร
ประกอบการสอน”)แต่จะเนน้ ความหลากหลายของแบบฝึกมากกวา่ และเน้ือหาที่สรุปไวจ้ ะมีเพยี ง
ยอ่ ๆ

11. แบบฝึกตอ้ งมีความถูกตอ้ ง อยา่ ใหม้ ีขอ้ ผดิ พลาดเดด็ ขาด เพราะเหมือนกบั ยนื่ ยา
พิษใหก้ บั ลูกศิษยโ์ ดยรู้เทา่ ไมถ่ ึงการณ์ เขาจะจาในส่ิงท่ีผดิ ๆ ตลอดไป

12. คาส่ังในแบบฝึกเป็นส่ิงสาคญั ที่มิควรมองขา้ มไป เพราะคาสง่ั คือประตูบาน
ใหญ่ที่จะไขความรู้ ความเขา้ ใจของผเู้ รียนที่จะนาไปสู่ความสาเร็จ คาสั่งจึงตอ้ งส้นั กะทดั รัด และเขา้ ใจ
ง่าย ไมท่ าใหผ้ เู้ รียนสบั สน

13. การกาหนดเวลาในการใชแ้ บบฝึก แต่ละชุดควรใหเ้ หมาะสมกบั เน้ือหาและ
ความสนใจของผเู้ รียน

14. กระดาษท่ีใช้ ควรมีคุณภาพเหมาะสม มีความเหนียวและทนทาน
ไมเ่ ปราะบางหรือขาดง่ายจนเกินไป

งานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วข้อง

นางผสมพร ประจนั ตะเสน ไดศ้ ึกษาการเพม่ิ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าสังคมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม เร่ือง ลกั ษณะภมู ิประเทศของไทย ของนกั เรียนช้นั ม.1/3 โรงเรียนบา้ นกร่างวทิ ยาคม
ปี การศึกษา 2550 จานวน 15 คน โดยใช้ ชุดฝึกการเรียน ผลการศึกษาพบวา่ นกั เรียนช้นั ม.1/3 จานวน
15 คน มีค่าเฉล่ียการประเมินโดยการใชช้ ุดฝึกการเรียนในแต่ละชุด โดยภาพรวมดีข้ึนและมีผลการ
เรียนหลงั การใชช้ ุดฝึกดีกวา่ ก่อนการใชช้ ุดฝึกทุกชุดการฝึก แสดงใหเ้ ห็นวา่ การใชช้ ุดฝึกแบบให้
นกั เรียนฝึกเองทีละส่วนแบบจ๊ิกซอร์ทาใหน้ กั เรียนเขา้ ใจไดง้ ่ายและจาไดแ้ ม่นยาข้ึน ทาใหผ้ ลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรียนของนกั เรียนสูงข้ึน ดงั น้นั ผวู้ จิ ยั จึงควรมีการหาชุดฝึกแบบจ๊ิกซอร์ใหน้ กั เรียนทาใหม้ าก
ยง่ิ ข้ึน

นางอจั ฉรา มณีนิล ( 2545 ) ไดศ้ ึกษาเรื่องการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วชิ าสงั คม
ศึกษาระหวา่ ง การสอนโดยใชบ้ ทเรียนสาเร็จรูปกบั การสอนแบบปกติเร่ืองลกั ษณะภมู ิประเทศ ของ
ประเทศออสเตรเลียระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 จากผลการวจิ ยั พบวา่ การใชช้ ุดการเรียนดว้ ยตนเอง ทา
ใหน้ กั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน สูงข้ึน กล่าวคือ มีคะแนนเฉล่ีย 2.37 ซ่ึงสูงกวา่ มาตรฐานที่

19

กาหนดไวค้ ือ 2.30 และสามารถลดจานวน นกั เรียนที่ไดผ้ ลการเรียน 0 ร และ มส. เหลือเพียงร้อยละ
1.087 นอ้ ยกวา่ มาตรฐานที่กาหนดคือ ร้อยละ 1.5 แสดงใหเ้ ห็นวา่ ชุดการเรียนดว้ ยตนเอง เป็น
นวตั กรรมที่สามารถนามาพฒั นาสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของนกั เรียนได้

นางองั คณา ณ พกิ ลุ ไดศ้ ึกษาวธิ ีการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าสังคมศึกษา 3 (ส
33101) ของนกั เรียนช้นั ม.3 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2549 โรงเรียนเมง็ รายมหาราชวิทยาคม จาก
ผลการวจิ ยั พบวา่ 1. นกั เรียนทางานส่งครบตามที่กาหนด (3 ช่วงเวลา) ถึงแมว้ า่ จะมีบางส่วนท่ีส่ง
งานชา้ แตเ่ ม่ือ ครบ 3 ช่วงเวลา ก็ส่งงานครบทุกคน ยกเวน้ นกั เรียนท่ี ออกจากโรงเรียน แตย่ งั ไม่มา
ลาออก 2. การกาหนดกิจกรรมเสริมให้นกั เรียนทาส่ง หรือเขา้ ร่วมกิจกรรม สามารถช่วยใหน้ กั เรียน
ทาคะแนนในรายวชิ าสงั คมศึกษา 3 ( ส33101) ดีข้ึน ทาใหม้ ีโอกาสที่จะมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนใน
รายวชิ าน้ี สูงข้ึน 3. นกั เรียนที่ไม่สนใจส่งงานหรือทากิจกรรมตามท่ีครูกาหนด มกั จะเป็น
นกั เรียนที่ ไม่ต้งั ใจเรียน ชอบเล่นในเวลาเรียน ครูตอ้ งกาหนดบทลงโทษ และปฏิบตั ิตามอยา่ ง
เคร่งครัด และตอ้ งมีความเสมอตน้ เสมอปลาย และใชเ้ หตุผลในการลงโทษ ไม่ใชอ้ ารมณ์
4. นกั เรียนที่ไม่สนใจทากิจกรรมการเรียน ครูตอ้ งคอยเสริมแรง ใหก้ าลงั ใจ ใหค้ วามเป็น
กนั เอง และใหโ้ อกาสแก่เด็ก ทาใหน้ กั เรียนกลา้ มาพบครูและทางานส่ง ถึงจะล่าชา้ บา้ ง 5. การ
ติดตามเรื่อง การส่งงาน ของนกั เรียน และตรวจงานโดยเนน้ เร่ืองการตรงเวลา และแจง้ คะแนนให้
นกั เรียนทราบอยตู่ ลอดเวลา ส่งผลใหน้ กั เรียนส่งงานตามเวลาดีข้ึน และมีการติดตามสอบแกต้ วั ทา
ใหม้ ีโอกาสที่จะมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนในรายวชิ าน้ี สูงข้ึน 6. นกั เรียนช้นั ม. 3 เป็ นวยั ท่ีชอบ
ความมีเหตุผล ไมช่ อบใหใ้ ชอ้ ารมณ์ ดงั น้นั การพดู ชกั จูงนกั เรียนเร่ืองการทากิจกรรม และการส่ง
งาน โดยใชเ้ หตุผล ไม่ใชอ้ ารมณ์ ส่งผลใหน้ กั เรียนส่งงานมากข้ึน ถึงแมว้ า่ จะส่งงานล่าชา้ กต็ าม
รายงานการพฒั นาการจดั การเรียนรู้ โดยใชช้ ุดการเรียน แบบศูนยก์ ารเรียน

นางพชั รบลู ย์ ภมู ิพนั ธุ์ ( 2550 ) ไดศ้ ึกษาเร่ือง อาณาจกั รสุโขทยั กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม
ศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 จานวน 50 คน ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
2550 โรงเรียนผดุงนารี สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามหาสารคามเขต 1 ซ่ึงไดม้ าโดยการเลือกแบบ
เจาะจง(Purposive Sampling) ผลการศึกษาคน้ ควา้ พบวา่ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชศ้ นู ยก์ าร
เรียน เรื่องอาณาจกั รสุ โขทยั มีประสิทธิภาพ 81.40/83.28 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑท์ ่ีต้งั ไว้ 80/80 และมีคา่
ดชั นีประสิทธิผลเท่ากบั 0.59แสดงวา่ ผเู้ รียนมีความรู้เพิ่มข้ึนร้อยละ 59.00 และนกั เรียนช้นั
มธั ยมศึกษาปี ที่ 103 มีความพงึ พอใจอยมู่ นระดบั มากท่ีสุด

มิส สิริพร ศรีสมวงษ์ ( 2549 ) ไดศ้ ึกษาการแกป้ ัญหาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนต่า
โดยการใชก้ ารอา่ นหนงั สือช่วงเชา้ ของนกั เรียนระดบั ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 / 8 ผลการวิจยั พบวา่ 1.
จากผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนในภาคเรียนที่ 2 พบวา่ นกั เรียนที่มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนต่าในภาคเรียน
ท่ี1 ที่มาอ่านหนงั สือช่วงเชา้ อยา่ งสม่าเสมอมีผลการเรียนที่ดีข้ึนท้งั 2 วชิ า 2. นกั เรียนท่ีมีผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรียนต่าและไมไ่ ดม้ าอ่านหนงั สือช่วงเชา้ อยา่ งสม่าเสมอ ยงั มีผลการเรียนต่าเช่นเดิม หรือแยล่ ง

20

นางสาวดวงฤดี แสงไกร ไดศ้ ึกษาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน รายวชิ า ส 43101 สงั คมศึกษา
ศาสนาและวฒั นธรรม ผลการวจิ ยั สรุปไดด้ งั น้ี 1. การใชร้ ูปแบบโครงงานในการจดั กิจกรรมการ
เรียนรู้วชิ าสังคมศึกษา เป็นกิจกรรมท่ีให้นกั เรียนมี ส่วนร่วมท้งั ทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และ
สังคม นกั เรียนไดม้ ีการลงมือปฏิบตั ิจริงทาใหส้ ามารถสร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง และมีปฏิสัมพนั ธ์
ระหวา่ งเพ่ือนและครู โดยมีการฝึกการทางานเป็นทีม นกั เรียนมีส่วนร่วมใน การทากิจกรรม และ
นกั เรียนมีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก โดยมีคา่ เฉล่ีย 2.78 2. ผลสัมฤทธ์ิในการเรียนของนกั เรียน
ก่อนเรียนและหลงั เรียน มีความแตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติ ที่ระดบั .05

21

บทที่ 3

วธิ ีดาเนินการวจิ ยั

วธิ ีดาเนินการวจิ ยั เรื่อง การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าวชิ าหนา้ ที่พลเมือง
และศีลธรรม ของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ที่ 2/1สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์
วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะทางการเรียนผศู้ ึกษาไดด้ าเนินการศึกษาคน้ ควา้
โดยลาดบั ดงั น้ี

1. กลุ่มเป้ าหมาย
2. เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการศึกษา
3. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
4. การจดั กระทาขอ้ มูล
5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล
6. สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

ประชากร/กล่มุ ตัวอย่าง

ประชากร ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ในเรื่องน้ี นกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ที่ 2/1
สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง จานวน 30 คน

กล่มุ ตัวอย่าง ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ในเรื่องน้ี ไดแ้ ก่ นกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี
ที่ 2/1สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง จานวน 30 คน ซ่ึงไดม้ าโดยการเลือกแบบเจาะจง

เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการวจิ ยั

1. นวตั กรรม
ชุดฝึกการเรียน เร่ือง มารยาทชาวพุทธ สาหรับนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั ร

วชิ าชีพช้นั ปี ที่ 2/1สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ ที่ผศู้ ึกษาสร้างข้ึน จานวน 5 ชุด เวลา 10 ชวั่ โมง
ดงั น้ี

2.1 แบบฝึกการเรียนชุดท่ี 1 เร่ือง การกราบ
2.2 แบบฝึกการเรียนชุดที่ 2 เร่ือง การไหว้
2.3 แบบฝึกการเรียนชุดที่ 3 เรื่อง การนง่ั
2.4 แบบฝึกการเรียนชุดท่ี 4 เร่ือง การเดิน
2.5 แบบฝึกการเรียนชุดที่ 5 เรื่อง การยนื

22

2. เครื่องมอื ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการวชิ าหนา้ ท่ีพลเมืองและศีลธรรม

เร่ืองมารยาทชาวพธุ ของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ท่ี 2/1 สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์
เป็นแบบทดสอบแบบปรนยั ชนิดเลือกตอบ 4 ตวั เลือก ที่ผศู้ ึกษาสร้างข้ึน จานวน 20 ขอ้ โดยใช้
ทดสอบก่อนการใชช้ ุดฝึกทกั ษะทางการเรียนและเม่ือใชช้ ุดฝึกทกั ษะทางการเรียนเสร็จสิ้นแลว้ ก็ใช้
แบบทดสอบชุดเดิมทดสอบหลงั การใชช้ ุดฝึก

3. แผนการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงใชค้ วบคู่ชุดฝึกทกั ษะการเรียนสาหรับนกั เรียนระดบั
ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั ปี ที่ 2/1 จานวน 5 แผน

วธิ ีการสร้างเครื่องมอื

1. การพฒั นาชุดฝึ กทกั ษะการเรียน
ผวู้ จิ ยั ไดพ้ ฒั นาชุดฝึกทกั ษะการเรียน สาหรับนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ

ช้นั ปี ท่ี 2/1ดงั น้ี
1.1 วารสาร บทความ งานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การพฒั นา

ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เร่ือง ภูมิศาสตร์ และรายละเอียด
วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา เพ่ือเป็นแนวทางในการสร้างชุดฝึกการเรียน

1.2 สร้างชุดฝึกทกั ษะการเรียน สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 จานวน
5 ชุด

1.3 นาชุดฝึกทกั ษะที่สร้างข้ึน เสนอผเู้ ชี่ยวชาญเพื่อขอคาแนะนาในส่วนท่ียงั
บกพร่อง แลว้ นามาปรับปรุงแกไ้ ข จานวน 1 ท่าน ซ่ึงประกอบดว้ ย

1.3.1 นางบุษกร อิศรเดช หวั หนา้ แผนกสามญั สัมพนั ธ์
วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง

1.4 นาแบบฝึกทกั ษะการเรียน ที่ไดร้ ับการปรับปรุงแกไ้ ข มาใชส้ อนจริง โดยใชค้ ู่
กบั แผนการจดั การเรียนรู้ มาจดั กิจกรรมสอนซ่อมเสริม ในข้นั สรุปบทเรียนของแผนการจดั การเรียนรู้
แตล่ ะแผน กบั นกั เรียน สปั ดาห์ละ 1 วนั วนั ละ 2 ชวั่ โมง ใน เวลา 10.30 -12.30 น.

1.5 หลงั จากทดลองใชช้ ุดฝึกทกั ษะคูก่ บั แผนการจดั การเรียนรู้เสร็จสิ้นแลว้ นา
แบบทดสอบชุดเดิมกบั ก่อนเรียนมาทาการทดสอบหลงั เรียนอีกคร้ัง แลว้ นาผลการทดสอบมา
วเิ คราะห์เพอ่ื หาประสิทธิภาพของชุดฝึกทกั ษะ ตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 หมายถึง คะแนนของ
กระบวนการเรียนต่อคะแนนสอบหลงั เรียน

80 ตวั แรก หมายถึง คะแนนเฉลี่ยร้อยละของประสิทธิภาพของการฝึก
80 ตวั หลงั หมายถึง คะแนนเฉลี่ยร้อยละของการทดสอบหลงั เรียน

23

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

ผคู้ น้ ควา้ ไดด้ าเนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ดงั น้ี
1. ช้ีแจงวตั ถุประสงค์
2. ทดสอบก่อนเรียน โดยใชแ้ บบทดสอบก่อนและหลงั เรียนกบั กลุ่มตวั อยา่ ง
3. เริ่มดาเนินการสอน โดยใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้และชุดฝึกทกั ษะท่ีสร้างข้ึน

ใชเ้ วลาท้งั หมด จานวน 10 ชว่ั โมง โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ ท้งั หมด จานวน 5 ชุด
4. เมื่อสอนเสร็จแต่ละแผนการจดั การเรียนรู้ จะมีการประเมินผลโดยใชช้ ุดฝึก

มีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ถา้ ไม่ผา่ นเกณฑก์ ส็ อนซ่อมเสริม
5. เม่ือทดลองใชช้ ุดฝึกทกั ษะจนครบท้งั 5 ชุดฝึกแลว้ กท็ ดสอบหลงั เรียน โดยใช้

แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียนชุดเดิม

การวเิ คราะห์ข้อมูล

การวเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยนาขอ้ มลู ท่ีไดม้ าหาความถี่แลว้ วเิ คราะห์ บรรยายเป็นความเรียง
ประกอบตาราง โดยเปรียบเทียบความแตกตา่ งคะแนนเฉล่ีย คา่ ร้อยละ ระหวา่ งการทดสอบคร้ังแรก
กบั คร้ังหลงั ของกลุ่มตวั อยา่ งและเปรียบเทียบคะแนนการทาแบบฝึกทกั ษะกบั คะแนนทดสอบหลงั
เรียน

สถติ ทิ ใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล

สถิตทิ ใ่ี ช้
1.หาค่าคะแนนเฉลี่ย

X = X/N

เมื่อ X แทน คะแนนเฉลี่ย
 X แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมด
N แทน จานวนนกั เรียนในกลุ่มตวั อยา่ ง

2. หาค่าประสิทธิภาพ ใชส้ ูตร ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ (2537)
สูตรที่ 1

E1 = X / N  A  100

24

เมื่อ E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ
X แทน คะแนนรวมของแบบฝึกหดั หรืองาน
A แทน คะแนนเกบ็ ของแบบฝึกหดั ทุกชิ้นรวมกนั
N แทน จานวนผเู้ รียน

สูตรท่ี 2

E2 = F/N  B  100

เมื่อ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์
F แทน คะแนนรวมของผลลพั ธ์หลงั เรียน
B แทน คะแนนเตม็ ของการสอบหลงั เรียน

N แทน จานวนผเู้ รียน


Click to View FlipBook Version